I-Care Magazine issue7/2017

Page 1

ก้าวใหม่ของเวชศาสตร์ฟื้นฟู... กับเทคนิคฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหัวใจ

NEED TO KNOW.....(PAGE30)

I- C A R E A PUBLICATION OF HEALTHY & LIFESTYLE.

7 INGREDIENTS อาหารบำารุงหัวใจ

FREE COPY

HEALTHY

ISSUE 7: DECEMBER 2017 MAGAZINE BY SUKUMVIT HOSPITAL

PLอUงลSูกน้อย

วัคซีนข -4 ขวบ... ช่วง 1 งรู้ ที่ต้อ

C A I D R A C

A I M H T Y H ARหัวRใจเต้นผิดจังหวะ…

ภาวะที่คนส่วนใหญ่มักไม่รู้ตัว HIFU เทรนด์ดูแล

ผิวสวยสุดลำา! เทรนด์ใหม่ของ การยกกระชับผิว อ่านต่อหน้า 12

5 STEPS!

ที่จะช่วยให้การฟิต

หน้าท้องนัน้ เวิรค์ ทีส่ ดุ อ่านต่อหน้า 14

DENGUE VIRUS

อย่าปล่อยให้ “ไข้เลือดออก” มาท�าร้ายคนทีค่ ณ ุ รัก อ่านต่อหน้า 29


C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


** **ตรวจได ตรวจได ทง้ั ท2ง้ั รายการ 2 รายการ

หมายเหตุ หมายเหตุ: : - ราคาทุ - ราคาทุ กโปรแกรมรวมค กโปรแกรมรวมค าแพทย าแพทย เฉพาะทางโรคหั เฉพาะทางโรคหั วใจและค วใจและค าบริ าบริ การโรงพยาบาลแล การโรงพยาบาลแล ว ว - โรงพยาบาลขอสงวนลิ - โรงพยาบาลขอสงวนลิ ขสิขทสิธิทใ์ ธินการเปลี ใ์ นการเปลี ย่ นแปลงเงื ย่ นแปลงเงื อ่ นไขโดยไม อ่ นไขโดยไม ตอ ตงแจ อ งแจ งใหงให ทราบล ทราบล วงหน วงหน าา - ราคาทุ - ราคาทุ กโปรแกรมไม กโปรแกรมไม สามารถใช สามารถใช สทิ สธิทิ ร์ ธิว ร์ มกั ว มกั บโปรโมชั บโปรโมชั น่ อืน่ น่ อืๆของพยาบาลได น่ ๆของพยาบาลได

วันวันีน้ นี- ้ 31 - 31มีนมีาคม นาคม2561 2561


I - C A R E : LETTER

ISSUE 7: DECEMBER 2017

EDITOR’S TALK สวัสดีครับ ท่านสมาชิกโรงพยาบาลสุขุมวิท และท่านผู้ที่สนใจทุกท่าน I-CARE ฉบับนี้ก็จะประกอบด้วยเรื่องที่น่าสนใจหลายเรื่องอันดับแรกหัวใจเต้นผิด จังหวะ เป็นภาวะที่คนส่วนใหญ่ไม่รู้จัก อ่านแล้วท�าความเข้าใจให้ดีนะครับ มีข้อสงสัย ปรึกษาแพทย์หัวใจได้ครับ HIFU (High Intensity Focus Ultrasound) เป็นเครื่องช่วยกระชับผิวแบบไม่ต้อง ผ่าตัด เหมาะกับหญิง (ชาย) ที่มีความกังวลเรื่องริ้วรอย ความหย่อนยาน สามารถช่วย กระชับได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ I-CARE ยังได้แนะน�าส่วนประกอบในอาหาร บ�ารุงหัวใจอีกด้วยครับ และเทคนิคฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหัวใจ กรุณาค่อยๆ อ่าน ท�าความเข้าใจทุกเรือ่ งได้นะครับ I-CARE ฉบับนี้ ขอสวัสดีสง่ ท้าย ปีเก่านะครับ

Editorial

Editor-in-Chief นายแพทย์ ดาวิน นารูลา ผู้อ�ำนวยกำรโรงพยำบำลสุขุมวิท

Editorial Coordinator นายแพทย์ ภมรศักดิ์ เธียรประสิทธิ์ ทันตแพทย์ ฐิติ ชนะภัย คุณธฤต ชื่นอิ่ม

C

M

Advertising & Promotion คุณกมลวรรณ ถือทอง คุณพรอุมา สมานพงษ์ Contact - (66)2-391-0011 # 860, 861 E-mail: bus@sukumvithospital.com

Y

CM

MY

CY

CMY

K

สวัสดีครับ นายแพทย์ ดาวิน นารูลา ผู้อ�ำนวยกำรโรงพยำบำลสุขุมวิท

นิตยสาร I-Care เป็นนิตยสารของโรงพยาบาลสุขุมวิท เพื่อแจกจ่าย ข้อเขียนและรูปภาพทุกชิ้นในนิตยสารนี้เป็นลิขสิทธิ์ของโรงพยาบาล สุขุมวิท ห้ามพิมพ์ซ�้า หรือ กระท�าการใดๆ ที่เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์เว้นแต่จะได้รับความยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษรจากโรงพยาบาลสุขุมวิท ข้อความในเนื้อที่โฆษณาของนิตยสารฉบับนี้มิได้เป็นของโรงพยาบาลสุขุมวิท ถือเป็นความเห็นส่วนตัวของเจ้าของผลิตภัณฑ์และบริการ โรงพยาบาลสุขุมวิทไม่มีเจตนาให้การรับรองคุณภาพสินค้า บริการ หรือ ข้อความที่ปรากฎแต่อย่างใด

04

I-CARE

DECEMBER 2017


HIFU ã¤Ãæ¡çªÍº¤ÇÒÁªÑ´à¨¹ â´Â੾ÒмٌËÞÔ§

“ á¡Œ»Þ˜ ËÒË‹͹¤ÅŒÍ ᡌÁˌ͠ÁÒËÇÁÊÌҧ¤ÇÒÁªÑ´à¨¹¢Í§¡Ãͺ˹ŒÒ

â´Â·ÕÁᾷ ੾Òзҧ

´ŒÇÂà·¤¹Ô¤Â¡¡ÃЪѺ»ÃÒȨҡà¢çÁ

ÃÒ¤ÒàÃÔèÁµŒ¹

10,000 ºÒ·

วันนี้ - 31 มีนาคม 2561

Èٹ ¼ÔÇ˹ѧáÅФÇÒÁ§ÒÁ âç¾ÂÒºÒÅÊØ¢ØÁÇÔ· ʹã¨Êͺ¶ÒÁà¾ÔèÁàµÔÁä´Œ·Õè 02-391-0011 µ‹Í 369-370


no. 07 / 2017

I - C A R E : TABLE OF CONTENTS

ISSUE 7: DECEMBER 2017

I CARE

I STYLE

I ASTROLOGY

จังหวะ… ภาวะที่ คนส่วนใหญ่มัก ไม่รู้ตัว

แรง...มากล้าๆ เปลี่ยนลุครับปี 2018 กันหน่อย

แม่นมาก

8 หัวใจเต้นผิด

20 8 เทรนด์

I BEAUTIFUL

I ESCAPE

12 HIFU เทรนด์ ดูแลผิวสวย สุดล�้า!

22 หนีเที่ยวหน้า

หนาวนี้ให้ฟิน... ต้องไปไหนดี!

I SPORT

I PLAY

ช่วยให้การฟิต หน้าท้องนั้นเวิร์ค ที่สุด

ลูกน้อยช่วง 1-4 ขวบ... มีอะไรบ้างที่ พ่อแม่ต้องรู้

14 5 steps ที่จะ

I HEALTHY

16 7 Ingredients

อาหารอร่อย บ�ารุงหัวใจให้ Healthy

I EXCLUSIVE STORY

24 วัคซีนของ

22

28 ดวงประจ�าวัน I CHECK

29 อย่าปล่อยให้

“ไข้เลือดออก” มาท�าร้ายคน ที่คุณรัก

I SPECIAL

30 ก้าวใหม่ของ

เวชศาสตร์ฟื้นฟู... กับเทคนิคฟื้นฟู ผู้ป่วยโรคหัวใจ

14 CC

MM

I SMART

YY

26 ให้รางวัล

CM CM

ตัวเองด้วย แก็ดเจ็ตสุดคูล แห่งปี!

MYMY

CYCY

CMY CMY

KK

18 เพราะอยาก หายขาด... จึงตัดสินใจ เข้ามาหาหมอ

16

I CARE 12 29 18 06

I-CARE

DECEMBER 2017

8


µŒÍ¡ÃШ¡ ËÁ´»˜ÞËÒ

ÊÒµҾË Ò ÁÑ Ç ÁͧäÁ‹ ª Ñ ´

แพคเกจผา่ตดัตอ้กระจก (ทำตาข้างเดียว) • ¤‹Òˌͧ¼‹ÒµÑ´áÅоÂÒºÒżٌª‹ÇÂá¾·Â ¼‹ÒµÑ´ • ¤‹Òˌͧ¾Ñ¡¿„œ¹ËÅѧ¡Òü‹ÒµÑ´ 3-6 ªÑ่ÇâÁ§ (㹡óըÓ໚¹) • ¤‹ÒÍØ»¡Ã³ ·Ò§¡ÒÃá¾·Â ¤‹ÒàǪÀѳ± ·Õ่㪌㹡Ò÷Ӽ‹ÒµÑ´ • ¤‹ÒÂÒ·Õ่¨Ó໚¹ÊÓËÃѺ¡Òü‹ÒµÑ´ • ¤‹ÒàÅ¹Ê »¡µÔ (Mono) • ¤‹Òá¾·Â ¼ÙŒ·Ó¡Òü‹ÒµÑ´ Çѹ¹Õ้ - 31 ÁÕ¹Ò¤Á 2561 -กรณีใช้ เลนส์พิเศษ นอกเหนือที่ระบุ ต้องชำระค่าเลนส์ส่วนต่างดังกล่าวเพิ่มเติม -ราคาดังกล่าวใช้สำหรับคนไทยเท่านั้น -ราคาโปรแกรมอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม โดยไม่ต้องแจ้งให้ท่านทราบล่วงหน้า

ÃÒ¤Ò

47,000

ºÒ·

µÔ´µ‹ÍÊͺ¶ÒÁÃÒÂÅÐàÍÕ´à¾Ô่ÁàµÔÁä´Œ·Õ่ Èٹ µÒ â·Ã 0 2391 0011 µ‹Í 601


I

C

are

หัวใจเต้นผิดจังหวะ… ภาวะที่คนส่วนใหญ่มักไม่รู้ตัว

08

I-CARE

DECEMBER 2017


CARDIAC ARRHYTHMIA เรื่องของหัวใจเรามักจะได้คุ้นชินกับคำาว่าหัวใจ วาย, หัวใจหยุดเต้น, หรือโรคหัวใจกันซะมากกว่า แต่หลายคนยังไม่รู้จักกับ “ภาวะหัวใจเต้นผิด จังหวะ” ทำาให้เกิดการละเลยหรือมองไม่เห็นถึง สาเหตุของอาการต่างๆ ที่เกิดขึ้น เพราะอาการ ไม่ได้บ่งชี้ชัดจนบางครั้งเราก็มองข้ามเรื่องของ โรคหัวใจไป นพ.อภิชัย โภคาวัฒนาขอไขความ ไม่รู้ของหลายๆ คนให้เกิดความเข้าใจ นพ.อภิชัย โภคาวัฒนา สาขาวิชาอายุรกรรมโรคหัวใจ และหลอดเลือด

รู้จักก่อนว่า... หัวใจปกติ ทำางานอย่างไร

หัวใจมีหน้าทีใ่ นการสูบฉีดเลือดไป เลี้ ย งยั ง ส่ ว นต่ า งๆ ของร่ า งกาย หัวใจมีทั้งหมด 4 ห้อง หัวใจห้อง บนจะบีบส่งเลือดไปยังห้องล่าง และหัวใจห้องล่างจะบีบส่งเลือด ยังส่วนต่างๆ ของร่างกายต่อไปอีก ทีหนึง่ จังหวะการเต้นของหัวใจคน ปกติจะอยูที่ 60 -150 ครั้งต่อนาที แต่ถ้าหัวใจมีการเต้นช้าหรือเต้น เร็วกว่านี้ เราเรียกว่า “หัวใจเต้นผิด จังหวะ”

หั ว ใจเต้ น เร็ ว หรื อ เต้ น ช้ า สาเหตุต่างกัน

นพ.อภิชัยเล่าถึงสาเหตุของภาวะ การเต้ น ของหั ว ใจผิ ด ปกติ ว ่ า ... “การเต้นของหัวใจผิดจังหวะไม่วา่ จะเต้นช้าหรือเต้นเร็ว สาเหตุต่าง กัน การรักษาก็จะแตกต่างกัน” ภาวะหัวใจเต้นเร็วผิดจังหวะ คือ การที่หัวใจเต้นเกิน 100 ครั้งต่อ นาที แต่สาเหตุการเกิดอาจจะเกิด

สาเหตุหลักๆ ของการที่หัวใจเต้น ช้าผิดปกติคือ เกิดจากต้นก�าเนิด การเต้นของหัวใจท�างานช้าลงหรือ เริ่มเสื่อม ทางเดินไฟฟ้าหัวใจเกิด ความเสียหาย ท�าให้น�าสัญญาณ ได้ไม่ดี หัวใจจึงเต้นช้าลง เราจึง สังเกตได้ว่าภาวะหัวใจเต้นช้าผิด ปกตินมี้ กั จะเกิดกับผูส้ งู อายุ เพราะ เกิดจากความเสือ่ มของการท�างาน ของหัวใจนัน่ เอง แต่ตอ้ งระวังให้ด!ี สาเหตุ ที่ ท� า ให้ หั ว ใจเต้ น ช้ า ผิ ด จังหวะอาจเกิดจากปัจจัยอื่นเช่น ในบางครั้งผู้ที่ทานยาลดความดัน อาจท�าให้หัวใจเต้นช้าลงด้วยเช่น ภาวะหัวใจเต้นช้าผิดจังหวะ คือ กั น หรื อ ผู ้ ที่ มี ภ าวะไทรอยด์ ต�่ า ภาวะทีห่ วั ใจเต้นช้ากว่า 60 ครัง้ ต่อ ท�าให้น�้าหนักขึ้น อ่อนเพลีย ไม่มี นาที แต่อย่างไรก็ตามในขณะทีเ่ รา แรง และหัวใจเต้นช้ากว่าปกติได้ นอนมีโอกาสที่หัวใจเต้นช้าได้ถึง 45 ครั้งต่อนาทีก็ได้เพราะร่างกาย ใจสั่ น หน้ า มื ด วิ ง เวี ย น ้ งต้นทีค่ วรสงสัย ไม่ได้ใช้พลังงานหรืออยู่ในช่วงพัก อาการเบือ ผ่อน แต่ถ้าในขณะปกติหัวใจเต้น ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะมักจะมี ช้ากว่า 60 ครั้งต่อนาทีถือว่าผิด อาการที่ไม่ชัดเจน จนคนทั่วไปนึก ปกติแน่นอน และไม่วา่ จะออกแรง ไม่ ถึ ง ว่ า จะมี ภ าวะหั ว ใจเต้ น ผิ ด แค่ไหนหัวใจก็ไม่ได้เต้นเร็วขึ้น ซึ่ง จังหวะ หรือนั่นก็คือ “อาการใจสั่น

ได้จากการทีเ่ ราตัง้ ใจให้มนั เต้นเร็ว ขึน้ เองได้จากการเล่นกีฬาหรือออก ก�าลังกาย ท�าให้มีเลือดสูบฉีดไป เลีย้ งกล้ามเนือ้ มากขึน้ ยิง่ ถ้าคนอา ยุนอ้ ยๆ หัวใจสามารถเต้นเกิน 150 ครัง้ ต่อนาทีกเ็ ป็นได้ แต่สาเหตุของ โรคที่แท้จริงหรือที่เราไม่ได้ต้ังใจ แต่หัวใจเต้นเร็วผิดจังหวะเองคือ วงจรไฟฟ้าที่หัวใจผิดปกติ มีจุด ก�าเนิดไฟฟ้าที่หัวใจผิดปกติ บาง คนเป็นตั้งแต่เกิด แล้ ว แต่ ยัง ไม่ แสดงอาการอาจจะแสดงอาการ ในช่วงวัยรุ่นก็ได้

หน้ามืด หมดสติ” ซึ่งเป็นอาการ เบื้องต้นของโรคอื่นๆ ได้เช่นกัน โดยเฉพาะในผู้สูงวัยอาการหน้า มืด วิงเวียน หมดสติ อาจเกิดได้ บ่อยจนคนไม่คาดคิดว่าเป็นภาวะ หัวใจเต้นผิดจังหวะ เพราะอาจเกิด จากยาความดันที่รับประทานมา หลายปี หรืออาจเกิดภาวะหัวใจ เต้ น ผิ ด จั ง หวะก็ ไ ด้ และสุ ด ท้ า ย อาจเกิดจากโรคทางสมองก็ได้ แต่ โรคทางสมองจะแสดงอาการอื่นๆ ร่ ว มด้ ว ย หรื อ ผู ้ สู ง อายุ ที่ มี โ รค แทรกซ้อนเช่น เบาหวาน ความดัน เหล่านี้เป็นเหตุให้เส้นเลือดหัวใจ ตีบ และเมื่อเส้นเลือดหัวใจตีบก็ อาจจะเป็ น ผลให้ หั ว ใจเต้ น ผิ ด จังหวะได้เหมือนกัน และอาการ เบื้องต้นเหล่านี้อาจจะแสดงบ่อย หรื อ ไม่ บ ่ อ ยก็ ไ ด้ บางครั้ ง นั่ ง อยู ่ เฉยๆ ก็แสดงอาการออกมา ดังนั้น หากเรารู ้ สึ ก มี อ าการของภาวะ หัวใจเต้นผิดจังหวะบ่อยๆ สิ่งแรก ทีเ่ ราสามารถท�าได้เลยคือ “การจับ ชีพจร” เพื่อวัดการเต้นของหัวใจ

I-CARE

DECEMBER 2017

09


I

C

are

เบื้องต้น วิธีการคือ คล�าที่บริเวณ ข้อมือสองนิว้ ชีพจรมีลกั ษณะตุบ้ ๆ เหมือนเลือดสูบฉีด นับ 15 วินาที 4 ครั้ง ถ้ายังมีอัตราการเต้นอยู่ที่ 60 - 100 ครัง้ ถือว่าปกติ หรืออีกวิธี หนึ่งคือ การใช้เครื่องวัดความดัน ในบางเครื่องสามารถวัดชีพจรได้ เช่ น กั น สิ่ ง ที่ ท� า ให้ เ ราไม่ แ น่ ใ จ ไม่มนั่ ใจกับภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ ก็ คื อ อาการที่ แ สดงออกมาไม่ สม�่าเสมอ เมื่อเกิดอาการแล้วมา พบแพทย์ ก็ มั ก จะหายเป็ น ปกติ ก่อน ดังนั้นหากรู้ตัวว่าภายใน 1 สัปดาห์มอี าการมากกว่า 2 – 3 ครัง้ ควรบันทึกอาการเบื้องต้นก่อนว่า เป็นอย่างไร กีโ่ มงบ้าง หลังจากนัน้ จึงเข้าพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัย หาสาเหตุที่แท้จริงต่อไป ถ้ารู้ว่ามี อาการเบือ้ งต้นแล้วอย่านิง่ นอนใจ เพราะอาจก่อให้เกิดภาวะใจเต้น ผิดจังหวะแบบรุนแรงได้ถ้าปล่อย ไว้ และการมาตรวจอาจท�าให้เรา ทราบถึ ง โรคแทรกซ้ อ นของคนๆ นัน้ ก็ได้ เพราะถ้าหัวใจห้องล่างเต้น ผิดจังหวะ เราอาจบอกได้วา่ คนคน นี้อาจจะมีโรคเส้นเลือดหัวใจตีบ ซ่อนอยู่ก็ได้

ปลดความน่ากลัวการรักษา “ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ” ภาวะหัวใจเต้นเร็วผิดจังหวะสามารถรักษาได้ดว้ ยกัน 3 วิธคี อื 1) การรับประทานยา เพือ่ เข้าไปลดการ ท�างานของการผิดปกติ ลดการปล่อยสัญญาณไฟฟ้าผิดจากจุดบางจุดในห้องของหัวใจ แม้วา่ การรับ ประทานยาจะมีความเสีย่ งน้อย แต่การรักษาให้หายก็ไม่ได้ 100% เช่นกัน อีกทัง้ ในผูป้ ว่ ยรับประทาน ยาอาจมีผลข้างเคียงของอาการซึมเศร้าได้ แม้ว่าจะรับประทานยาได้ไม่นานก็เกิดผลข้างเคียงได้เช่น กัน หรือคนที่เป็นหอบหืดอยู่แล้วก็อาจจะเป็นมากขึ้น ดังนั้นนพ.อภิชัยจึงได้แนะน�าวิธีการรักษาที่ หายขาดและได้ผลลัพธ์อย่างน่าพึงพอใจคือ 2) การรักษาด้วยการจี้ไฟฟ้าหัวใจ จะมีการเอาสายน�า สัญญาณเข้าไปในร่างกายผ่านเส้นเลือดเข้าไปยังหัวใจห้องต่างๆ และบันทึกสัญญาณไฟฟ้าหัวใจว่า มีความผิดปกติแบบไหน กระตุน้ ให้เกิดการเต้นผิดจังหวะและหาจุดทีผ่ ดิ ปกติ เมือ่ เจอแล้วก็จะท�าการ ใช้คลื่นวิทยุหรือคลื่นความร้อนเข้าไปท�าลาย อาการเต้นผิดจังหวะของหัวใจก็จะค่อยๆ ดีขึ้นและหาย ไป โดยวิธกี ารนีม้ โี อกาสหายมากถึง 95% และในแง่ของผลข้างเคียงก็ไม่ได้มผี ลกับผูป้ ว่ ย และ 3)การ รักษาด้วยเครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ ในกรณีสุดท้ายนี้ใช้กับผู้ป่วยมีภาวะการเต้นของหัวใจผิดจังหวะ แบบรุนแรง ใช้การรักษาด้วยการจี้ไฟฟ้าไม่ได้ โดยการฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจไว้ที่หน้าอกซ้าย หรือขวา โดยเครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจนี้จะคอยบันทึกการเต้นของหัวใจ ถ้ามีการเต้นผิดจังหวะแบบ รุนแรง เครือ่ งจะช็อตไฟฟ้าให้หวั ใจกลับมาเต้นปกติ การรักษาด้วยวิธนี จี้ ะท�าเพียงไม่กรี่ ายเท่านัน้ หรือ ในกรณีจ�าเป็นเช่น ผู้ป่วยมีเส้นเลือดหัวใจตีบ ผู้สูงอายุ ภาวะหัวใจเต้นช้าผิดจังหวะสามารถรักษาได้ด้วยเพียงวิธีเดียวเท่านั้นคือ “การฝังเครื่อง กระตุ้นหัวใจถาวร” การรับประทานยาหรือการจี้ไฟฟ้าไม่สามารถท�าให้หัวใจกลับมาเต้นปกติได้

แม้ว่าการฝังเครื่องกระตุ้นหัวใจถาวรจะท�าให้ใครหลายๆ คนเกิดความกลัวว่าจะเจ็บหรือไม่ จะส่งผล เสียต่อร่างกายหรือไม่ เพื่อเราจะต้องเอาเครื่องอะไรสักอย่างหนึ่งเข้าไปอยู่ในร่างกายตลอดเวลา นพ.อภิชัยบอกเอาไว้ว่า... “การใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจไม่น่ากลัว ไม่ต้องใช้ยาสลบเพียงแค่ฉีดยาชา และผ่าเอาอุปกรณ์ลงตรงที่ต้องการจะฝังเครื่องกระตุ้นไว้ หลังจากการฝังเครื่องกระตุ้นลงไปแล้ว จะ เห็นว่าแผลมีขนาดไม่เกินเหรียญสิบบาทเท่านั้นเอง” แม้ว่าการใช้เครื่องกระตุ้นหัวใจจะช่วยให้ผู้ป่วย หายจากภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ แต่ยังมีข้อระวังอยู่บ้างหลังจากที่ฝังเครื่องเข้าไปแล้วคือ 1. ในช่วงแรกคือ 1-2 เดือนแรก จะต้องไม่ใช้แขนข้างทีฝ ่ งั เครือ่ งกระตุน้ หัวใจมาก เพราะอาจจะท�าให้ อุปกรณ์หลุดได้ 2. หมั่นเข้ามาตรวจเช็คอาการและอุปกรณ์เป็นระยะๆ ตามที่แพทย์ก�าหนด 3. เครือ่ งกระตุน ้ ไฟฟ้ามีลกั ษณะเป็นโลหะ ดังนัน้ เมือ่ ไปเข้าเครือ่ งสแกนโลหะตามสถานทีต่ า่ งๆ เครือ่ ง สแกนก็จะดัง หรือแม้กระทั่งการท�า MRI ถ้ารู้ตัวว่าจะต้องท�าหัตถการที่ผ่านเครื่อง MRI จะต้องมีการ ปรับจูนเครื่องก่อน เพราะเครื่อง MRI สามารถเข้าไปกวนการท�างานของเครื่องกระตุ้นหัวใจได้

10

I-CARE

DECEMBER 2017


CARDIAC ARRHYTHMIA เลี่ยงการเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะได้

นพ.อภิชยั แนะน�าการเลีย่ งภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ไว้ว่า... แม้ว่าจะไม่มีการป้องกันภาวะหัวใจเต้นผิด จังหวะได้ โดยเฉพาะภาวะหัวใจเต้นช้าผิดจังหวะ แต่ เราควรที่ จ ะระวั ง อาการต่ า งๆ ให้ ดี ม ากกว่ า แต่ ส�าหรับภาวะหัวใจเต้นเร็วผิดจังหวะควรจะระวังใน เรื่องความเครียด การดื่มชา กาแฟ และแอลกอฮอล์ รวมถึงสูบบุหรี่ โรคความดัน เบาหวาน จะท�าให้เป็น โรคเส้นเลือดหัวใจตีบ และน�าไปสู่หัวใจเต้นเร็วผิด จังหวะได้ แต่อย่างไรก็ตามส�าหรับคนทีเ่ ป็นมาตัง้ แต่ เกิดอาจจะป้องกันและระวังไม่ได้ เพราะส่วนใหญ่ เกิดจากความผิดปกติของตัวเองตั้งแต่เกิด แต่บาง ครั้งก็เกี่ยวข้อกับกรรมพันธุ์ ดังนั้นการเฝ้าระวังและ หมั่นเช็คอาการและชีพจรของตัวเองคือวิธีที่ดีที่สุด

นพ.อภิชัยอยากบอก...

“ครึ่งหนึ่งของคนไข้ยังไม่รู้ว่า ตัวเองเป็นโรค ถ้าเกิดมีอาการ ที่ไม่แน่ใจ ใจสั่น ใจเต้นเร็ว วูบ หน้ามืด หมดสติ และไม่รู้ ว่าตัวเองเป็นโรคนี้หรือเปล่า แนะน�าให้มาตรวจพิสูจน์ ถ้า ไม่ได้เป็นจะได้สบายใจ เราก็ อยากให้นึกถึงไว้ก่อน ว่าควร จะตรวจถ้าหาสาเหตุให้ไม่ได้ ว่ า อาการดั ง กล่ า วเกิ ด จาก อะไร และบ่ อ ยครั้ ง คนส่ ว น ใหญ่ จะไปพบจิตแพทย์แทน เพราะอยู่ๆ มีอาการใจเต้น เร็ว อาการใจสัน่ ซึง่ จะน�าไปสู่ การท�างานของหัวใจที่ไม่ดีได้ และอาจเป็ น การเต้ น ที่ ผิ ด จั ง หวะแบบรุ น แรงและเสี ย ชีวิตได้”

I-CARE

DECEMBER 2017

11


I

B

eautiful

HIFU

เทรนด์ดูแลผิวสวยสุดลำ้า! I-Care ฉบับนี้คุณหมอสิรีธร สุขุมวาท แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านผิวหนังและความ งาม ขอแนะนำาเทรนด์ใหม่ของการยก กระชับผิวแบบไม่ต้องผ่าตัด ไม่ต้องมี แผล ทำาเสร็จกลับบ้านได้เลยโดยไม่มีใคร รู้ เป็นนวัตกรรมล่าสุดที่ช่วยตอบโจทย์ ให้ผหู้ ญิง (และผูช้ าย) ทีก่ งั วลเรือ่ งความ หย่อนคล้อยได้ดีที่สุด พญ.อสิรีธร สุขุมวาท แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านผิวหนังและความงาม

Hifu คืออะไร?

HIFU ย่ อ มาจากค� า ว่ า High Intensity Focused Ultrasound เป็นเทคโนโลยีทางการ แพทย์ความปลอดภัยสูง ผ่านมาตราฐาน FDA จึงมั่นใจได้ในคุณภาพการรักษา HIFU ท�าหน้าที่ส่งพลังงานผ่านคลื่นอัลตราซาวน์ ความถีส่ งู ลงสูช่ นั้ ใต้ผวิ หนัง SMAS ท�าให้เกิด การหดของชัน้ ผิวหนังและยังสร้างคอลลาเจน ขึ้นใหม่อีกด้วย จึงช่วยลดริ้วรอย ยกกระชับ และชะลอความเสื่อมของผิวบริเวณที่ได้รับ การรักษา โดยที่ชั้นผิวด้านบนไม่ถูกท�าลาย จึงไม่เกิดแผลหลังท�าและมีความปลอดภัยสูง สามารถท�าได้ในทุกสภาพผิว ซึ่งระยะเวลา 12

I-CARE

DECEMBER 2017

ในการรักษา ประมาณ 30-60 นาทีต่อครั้ง ขณะท�าจะมีเพียงความรู้สึกจี๊ด ตึงๆ ใต้ผิว เท่านั้น จึงเป็นความรู้สึกที่โดยทั่วไปสามารถ ทนได้

บริเวณที่สามารถทำา HIFU ได้

• ลดริ้วรอยหน้าผาก หางตา เส้นบริเวณคอ • ยกคิ้ว ช่วยให้ดวงตาดูโตและสดใสขึ้น • ลดร่องบริเวณร่องแก้ม และร่องมุมปาก • ลดไขมั น บริ เ วณแก้ ม และใต้ ค าง ท� า ให้ ใบหน้ า ยกกระชั บ และกรอบหน้ า คมชั ด ขึ้ น ท�าให้ใบหน้าดูสวยมีมิติมากขึ้น

หลังรับการรักษาจะรู้สึกได้ถึงใบหน้า ที่ยกกระชับได้รูปมีมิติ ผิวเรียบเนียน ทันทีและ เห็นได้ชัดขึ้นใน 2-3เดือน อาจมีบางรายทีม่ คี วามรูส้ กึ บวมตึงซึง่ จะดีขนึ้ เองใน 1-2 สัปดาห์ และหลังท�า HIFU แล้ว สามารถแต่งหน้าใช้ชีวิต ประจ�าวันได้ตามปกติเนื่องจากการ รักษาไม่ก่อให้เกิดแผลที่ผิว แต่ควร ดูแลเพิ่มด้วยการทาครีมบ�ารุงและ ครีมกันแดด เป็นประจ�า เพื่อให้ผล การรักษาที่ดียิ่งขึ้น สามารถท�าซ�้าได้ ทุก 4-6 เดือน


HIFU BEAUTY TIPS

การเตรียมผิวของว่าที่เจ้าสาว

พญ.ญาดา มโนมัยพันธุ โดย พญ.ญาดา มโนมัยพันธุ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านผิวหนังและความงาม แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านผิวหนังและความงาม ใกล้จะเข้าสู่หน้าหนาวกันแล้วนะคะ ช่วงนี้คงจะหนีไม่พ้นเทศกาลแต่งงานที่จ่อคิวยาว ไปถึงต้นปีหน้า วันนีห้ มอมีเคล็ด(ไม่)ลับ ส�าหรับเตรียมผิวให้กบั ว่าทีเ่ จ้าสาว ให้พร้อมส�าหรับ วันส�าคัญที่สุดนะคะ หลายคนคงเคยได้ยนิ เกีย่ วกับการฉีดสารโบทูลนิ มั่ ท๊อกซินหรือว่า Botox สารทีน่ า� มาใช้ ในวงการแพทย์มาหลายสิบปีเพือ่ รักษาโรคระบบประสาทและกล้ามเนือ้ ต่อมาก็พฒ ั นามา ใช้อย่างแพร่หลายในวงการผิวหนังและความงาม นอกจากลดริ้วรอยแล้ว สารโบทูลินั่ม ท๊อกซินนี้ จะช่วยเพิ่มความเป๊ะให้ว่าที่เจ้าสาวได้อย่างไรบ้าง

ริ้วรอยจ๋า ขอลาก่อน ถ้าหยิบกระจกขึ้นมาส่องแล้วลองยิ้มสุดๆ หัวเราะ เลิกหน้าผาก

หรือขมวดคิ้วดูนะคะ ริ้วรอยที่เกิดจากการแสดงสีหน้าเหล่านี้สามารถลดลงหรือหายไปได้ ใช้เวลาออกฤทธิ์ประมาณ 1-2 สัปดาห์หลังฉีดสารโบทูลินั่มท๊อกซินค่ะ

หน้าบาน ถ่ายรูปไม่มั่นใจ สารโบทูลินั่มท๊อกซินใช้ฉีดเพื่อลดขนาดของกล้ามเนื้อกรามให้

เล็กลง หน้า V-shape ได้แบบไม่ต้องผ่าตัด โดยเฉลี่ยกรามจะเริ่มขนาดเล็กลงหลังฉีด

วงแขนเฉอะแฉะมีกลิน่ ส่วนมากชุดเจ้าสาวมักเป็นเกาะอก สายเดีย่ ว ว่าทีเ่ จ้าสาวหลายคน

อาจกังวลเรื่องใต้วงแขน ว่าจะมีกลิ่นมั้ย ยืนถ่ายรูปนานๆ เหงื่อจะออกเยอะมั้ย หมอขอ แนะน�าการฉีดสารโบทูลินั่มท๊อกซิน บริเวณรักแร้ เพื่อยับยั้งการหลั่งเหงื่อและลดกลิ่น ใน คนที่มีปัญหาเหงื่อออกเยอะ หลังฉีดจะเริ่มเห็นผลประมาณ 1-2 สัปดาห์ค่ะ

น่องโป่ง ไม่กล้าโชว์เรียวขา สาวๆ หลายท่าน อาจจะอยากใส่ชุดสั้นในวันส�าคัญ แต่พอ

เน้นเรื่องความสวย&ปลอดภัย

เทคโนโลยี Hifu นีเ้ ป็นอัลตร้าซาวน์ทใี่ ช้ใน การรักษาทางการแพทย์มานานกว่า 50 ปีแล้ว มีงานวิจัยของ FDA ที่ยืนยันถึง ความเปลี่ยนแปลงที่เห็นผลหลังจากท�า Hifu มาแล้ว และมีแพทย์ผิวหนังใช้ใน การรักษาอย่างแพร่หลาย ช่วยให้คนไข้ที่ เข้ามารับบริการรับรูถ้ งึ ผลการรักษาอย่าง ชัดเจนตั้งแต่ครั้งแรกที่ท�า และจะค่อยๆ ดี ข้ึ น ภายใน 3 เดื อ น ซึ่ ง เป็ น ช่ ว งที่ คอลลาเจนและเนือ้ เยือ่ ฟืน้ ฟูอย่างเห็นได้ขดั HIFU

ใส่สน้ สูง ส่องกระจกแล้วอาจเริม่ ไม่มนั่ ใจกับกล้ามเนือ้ น่องทีโ่ ป่งออก สารโบทูลินมั่ ท๊อกซิน สามารถฉีดเพือ่ ลดขนาดของกล้ามเนือ้ น่องได้ดว้ ย โดยอาจใช้ปริมาณในการฉีดมากหน่อย และต้องใช้เวลาประมาณ 3- 4 สัปดาห์ ถึงจะเริ่มเห็นน่องเรียวๆ ค่ะ สารโบทูลินมั่ ท๊อกซินสามารถเนรมิตความสวยได้ทุกส่วนส�าหรับวันส�าคัญของสาวๆ แต่สิ่ง ส�าคัญทีส่ ดุ ทีห่ มออยากจะฝากไว้คอื การเลือกรับบริการในโรงพยาบาล หรือสถานพยาบาล ที่มีมาตรฐานเท่านั้น เนื่องจากปัจจุบันมีปัญหาเรื่องการปลอมแปลงสารโบทูลินั่มท๊อกซิน และรายงานการดื้อยาเพิ่มมากขึ้น เพื่อความปลอดภัยและความพึงพอใจสูงสุดในผลการ รักษาค่ะ หากสาวๆ ยังไม่แน่ใจว่าจะเริ่มตรงไหนดี สามารถแวะมาขอค�าปรึกษากับแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญด้านผิวหนังและความงามได้ทุกวัน ที่แผนกผิวหนัง รพ.สุขุมวิท ค่ะ

อยู่ได้นานแค่ไหน

หลังจากท�า Hifu ไปแล้วก็ต้องหมั่นดูแล ตัวเองด้วยเช่นกัน เช่นการบ�ารุงผิวหน้า การนอนหลับพักผ่อน หากดูแลตัวเอง อย่างดี ก็นา่ จะสามารถยกกระชับได้นาน อย่างน้อย 6 เดือน - 1 ปีขึ้นไป I-CARE

DECEMBER 2017

13


S

I

s p e t s 5 port

ที่จะช่วยให้การฟิต หน้าท้องนั้นเวิร์คที่สุด

ไม่ว่าจะเป็นกล้ามซิกแพคคมๆ ของหนุ่มๆ หรือหน้าท้อง แบนราบเห็นกล้ามเล็กๆ ที่สาวๆ ใฝ่ฝัน เราขอบอกชาว I-Care เลยว่า จะเล่นหน้าท้องให้ได้ผลไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ก็ ไม่ยาก... หากเราทำาความรู้จักกล้ามเนื้อหน้าท้องให้ดี พร้อมเทคนิคขั้นตอนเหล่านี้ ขั้นที่ 1: แยกกล้ามเนื้อหน้าท้องแต่ละส่วนให้ออก

กล้ามเนื้อหน้าท้องแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ กล้ามท้องส่วนบน (Upper Rectus Abdominis) กล้ามท้องส่วนล่าง (Lower Rectus Abdominis) และกล้ามท้องส่วนข้าง (External Obliques) นั่นจึงเป็นเหตุผลว่าท�าไมการจะมีซิกแพคชัดๆ ถึงได้ยากนักหนา ก็เพราะว่า กล้ามท้องแต่ละส่วนต้องใช้ทา่ เวิรค์ เอาท์ทแี่ ตกต่างกันนัน่ เอง เอาล่ะ...ใครทีเ่ อาแต่ตงั้ หน้า ตั้งตาซิทอัพมาตลอด เรามาเริ่มกันใหม่ด้วยท่าเหล่านี้...

กล้ามท้องส่วนบน: คือส่วนซิกแพคช่วงบนที่เห็นได้ง่ายที่สุด และมักจะโชว์ให้เห็นเป็น

ส่วนแรกๆ เมื่อเล่นหน้าท้องอย่างสม�่าเสมอ ท่าเวิร์คเอ้าท์ของส่วนนี้คือท่า Crunch, V-Crunch หรือ Bench Crunch

กล้ามท้องส่วนข้าง: หรือที่เราเรียกว่า “เอว” นั่นเอง กล้ามเนื้อด้านข้างนี้แยกออกจาก

กล้ามเนือ้ ส่วนบนและส่วนล่าง การเวิร์คเอาท์กล้ามเนือ้ ส่วนนี้นอกจากช่วยให้แข็งแรงขึ้น เปลี่ยนไขมันช่วงเอวให้เป็นกล้ามเนื้อ ยังช่วยเสริมการท�างานของกล้ามเนื้อในการพับงอ ตัวหรือบิดเอวซ้ายขวาให้ทา� ได้ดยี งิ่ ขึน้ ด้วย ทีส่ า� คัญการมองเห็นกล้ามเนือ้ ข้างยังเพิม่ ความ เซ็กซี่ให้ท้ังหนุ่มๆ และสาวๆ อีกด้วย ท่าที่เหมาะกับกล้ามท้องส่วนข้างก็คือ ท่า Side Crunch, Twist Crunch และการท�า Side Plank

กล้ามท้องส่วนล่าง: หรือที่เราเรียกมันว่า “พุง” นั่นล่ะ และนี่คือกล้ามเนื้อหน้าท้องที่เรา

เอาชนะได้ยากทีส่ ดุ เพราะเป็นจุดทีม่ ชี นั้ ไขมันอยูม่ ากทีส่ ดุ และเป็นผลกระทบโดยตรงจาก พฤติกรรมการกินของเรานัน่ เอง ยังไงก็ตามให้ทา� ควบคูก่ บั ท่าเวิรค์ เอาท์หน้าท้องส่วนล่าง อย่าง ท่า Leg Raise, Flutter Kicks หรือ Scissor

14

I-CARE

DECEMBER 2017


ABDOMINAL MUSCLES น.ท.นพ.เอกพงษ์ โกมลหิรัณย์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ สาขาศัลยกรรม กระดูก

ขั้นที่ 2: ควบคุมการหายใจ

ดร.โจเอล ซีดแมน ทีป่ รึกษาด้านฟิตเนสและโภชนาการ บอกว่า “เพราะระบบการหายใจเกี่ยวข้องโดยตรงกับ การท�างานของกล้ามเนือ้ โดยเฉพาะกล้ามเนือ้ หน้าท้อง จังหวะการหายใจที่ถูกต้องจึงช่วยให้การเล่นหน้าท้อง ได้ ผ ลเร็ ว ยิ่ ง ขึ้ น ” ซึ่ ง จั ง หวะการหายใจที่ ถู ก ต้ อ งคื อ หายใจเข้าเมือ่ ต้านแรง และหายใจออกเมือ่ ออกแรง เช่น เวลาเล่นท่า Crunch ให้หายใจเข้าตอนเปิดตัวออก แล้ว พ่นลมหายใจออกให้สุดเมื่อบีบหน้าท้องเข้าหากัน

ขั้นที่ 3: โฟกัสที่กล้ามเนื้อให้ตรงมัด

ในการจะเล่นหน้าท้องให้ได้ผลเร็วและดีอกี อย่างคือ เรา ต้องรูว้ า่ ท่านัน้ ๆ เราเล่นเพือ่ กล้ามเนือ้ มัดไหน และโฟกัส ไปทีก่ ล้ามเนือ้ มัดนัน้ ตลอดการเล่น นอกจากเพือ่ ป้องกัน การบาดเจ็บเพราะเคลือ่ นไหวผิดมุมแล้ว การโฟกัสช้าๆ และชัดๆ ยังท�าให้การเคลื่อนไหวทุกครั้ง เน้นได้ตรงมัด กล้ามเนื้อไม่เสียแรงเปล่าอีกด้วย

ขั้นที่ 4: ลดชั้นไขมันให้เห็นกล้ามเนื้อ

เพราะอย่างที่เราได้ยินกันบ่อยๆ ว่าคนทุกคนมีซิกแพค มากับตัวตัง้ แต่เกิดแล้ว แต่ทเี่ รามองไม่เห็นเพราะมันไม่ ใหญ่พอและยังถูกชั้นไขมันที่หนาปิดบังเอาไว้ ดังนั้น เมือ่ เล่นกล้ามหน้าท้องให้ใหญ่ขนึ้ แล้ว การจะเห็นชัดได้ ก็ยังต้องก�าจัดชั้นไขมันที่ปกคลุมอยู่ออกไปด้วย ด้วย 2 วิธีคือ ควบคุมการกินไขมันให้น้อยลง และก�าจัดไขมัน ที่มีอยู่ด้วยการออกก�าลังกายแบบคาร์ดิโอนั่นเอง หาก ท�าควบคู่กันไป จะยิ่งเสริมให้ซิกแพคแต่ละมัดโชว์ออก มาให้ชัดโดยเร็ว

ขั้นที่ 5: ฝืนทำาเพิ่มอีก 3 ครั้งหลังครบเซ็ท

เทรนเนอร์หลายๆ คนแอบบอกความลับมาว่า การเล่น ท่าบอดี้เวทต่างๆ นั้น จะได้ผลเน้นๆ ที่สุดใน 3 ครั้ง สุดท้ายของแต่ละเซ็ท เช่น การท�าท่า Crunch 15 ครั้ง เมื่อถึงครั้งหลังๆ ที่เราเริ่มจะกัดฟันฝืนนั่นล่ะ กล้ามเนื้อ จะท�างานเต็มที่ที่สุด ดังนั้นเทคนิคก็คือ เมื่อท�าครบเซ็ท แล้วให้นบั เพิม่ ไปอีก 3 ครัง้ แล้วโฟกัสเน้นๆ ช้าๆ รับรอง เลยว่าหน้าท้องสวยๆ ซิกแพคหล่อๆ จะมาในไม่ช้า

ASK THE EXPERT!

ปฐมพยาบาลเบื้องต้นหากบาดเจ็บจาก การออกกำ า ลั ง กาย โดย น.ท.นพ.เอกพงษ์

โกมลหิรณ ั ย์ แพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญสาขาศัลยกรรมกระดูก แบ่งได้เป็น 2 ช่วง ดังนี้

• ระยะแรก ภายใน 48 - 72 ชั่วโมง ระยะนี้จะมี

เลือดออกจากกล้ามเนือ้ หรือเส้นเอ็นทีบ่ าดเจ็บท�าให้ มีการบวม ระยะนี้ห้ามนวดบริเวณที่บาดเจ็บ การ ปฐมพยาบาลท�าได้โดยใช้หลัก “ RICE ” R = Rest (พัก) พักการใช้งานส่วนที่บาดเจ็บ I = Ice (น�้าแข็ง) ใช้น�้าแข็งประคบบริเวณที่บาดเจ็บ ครั้งละ 10 – 30 นาที วันละ 2 – 3 ครั้ง ความเย็นจากน�้าแข็งจะท�าให้ เส้นเลือดหดตัว ช่วยลดปริมาณเลือดที่จะมาเลี้ยง บริเวณที่บาดเจ็บ ท�าให้ไม่บวมมากขึ้น C = Compression (พัน) การพันโดยรอบบริเวณอวัยวะทีบ่ าด เจ็ บ ช่ ว ยป้ อ งกั น เลื อ ดออกจากเส้ น เลื อ ดเล็ ก ๆ บริเวณโดยรอบทีบ่ าดเจ็บ ท�าให้ไม่บวม การพันควร ใช้สา� ลีหนาๆ รองไว้โดยรอบก่อน แล้วจึงพันทับด้วย ผ้ายืดอีกที และไม่ควรพันจนแน่นเกินไป เพราะจะ ท�าให้อวัยะส่วนปลายจุดทีพ่ นั ไว้บวมได้ E = Elevation (ยกสูง) ยกอวัยวะที่บาดเจ็บให้สูงขึ้นกว่าระดับ ของหัวใจ เพือ่ ให้เลือดไหลกลับได้สะดวกขึน้ จะช่วย ลดอาการบวมได้

• ระยะที่ 2 เกิน 72 ชั่วโมงไปแล้ว ระยะนี้ จะไม่มี

เลือดออกมากขึ้น การปฐมพยาบาลจะท�าโดยใช้ หลั ก “ HEAT ” H = Hot ความร้ อ นจะช่ ว ยให้ เส้นเลือดขยายตัว ช่วยให้มกี ารไหลเวียนเลือดทีอ่ อก ในบริเวณที่บาดเจ็บกลับเข้าสู่ร่างกาย ท�าให้อาการ บวมลดลง E = Elementary Exercise ท�าการออก ก�าลังกายโดยการเกร็งกล้ามเนื้อแบบอยู่กับที่ ร่วม กับการออกก�าลังกายแบบเคลื่อนไหวเบาๆ จะช่วย ให้เกิดการคลายตัวของเนือ้ เยือ่ และมีการหดตัวของ กล้ามเนื้อ A = Advanced Exercise เป็นการออก ก�าลังกายแบบมีแรงต้านต่อกล้ามเนื้อ โดยใช้น�้า หนักหรือสปริง ช่วยเพิ่มเสริมสร้างก�าลัง T = Training ภายหลังท�าการฝึกกล้ามเนื้อได้เต็มที่แล้ว จะ ต้องท�าการฝึกทักษะและการเคลื่อนไหวของกีฬา แต่ละชนิดด้วย I-CARE

DECEMBER 2017

15


I

H

EALTHY

7 INGREDIENTS อาหารอร่อยบำารุงหัวใจให้ HEALTHY ในแต่ละปีมีผู้ป่วยโรคหัวใจเพิ่มขึ้นเป็นจำานวนมาก ซึ่งหนึ่งในสาเหตุนั่นก็ คือพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่ไม่ระมัดระวัง ทั้งความเครียดจากการทำางาน หรือแม้แต่อาหารการกินที่คุณเลือกทาน... อย่าปล่อยให้ “ความละเลย” ย้อนกลับมาทำาร้าย “หัวใจ” ของคุณ วันนี้เรามี 7 อาหารบำารุงหัวใจ เพื่อเติมเต็มความแข็งแรงมาฝากกัน

1

2

ถั่วฝักยาว

ถัว่ ฝักยาวเป็นหนึง่ ในพืชตระกูลถัว่ ทีน่ บั ว่าเป็น แหล่งโปรตีนชัน้ เลิศทีไ่ ม่มไี ขมันเลว มีการศึกษา ว่าคนทีก่ นิ พืชตระกูลถัว่ ไม่วา่ จะเป็นถัว่ ฝักยาว ถั่วพู หรือถั่วแขก ให้ได้อย่างน้อย 4 วันต่อ สัปดาห์ จะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรค หัวใจลงไปได้ถงึ 22% รวมถึงช่วยควบคุมระดับ น�้าตาลในเลือดของคนที่เป็นเบาหวาน เพราะ หนึง่ ในโรคแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน นัน่ ก็คอื โรคหัวใจ

4 16

I-CARE

DECEMBER 2017

บีทรูท

บีทรูทเป็นผลไม้ที่อุดมไปด้วยไนเตรทซึ่งเป็น สารที่ช่วยลดการสะสมของไขมัน และลดการ อุดตันในกระแสเลือด อีกทัง้ ยังช่วยเพิม่ การไหล เวียนของเลือดให้ไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ได้ดียิ่งขึ้น และแน่นอนว่าบีทรูทยังสามารถช่วยลดความ เสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจได้อีกด้วย หลังทาน อาหารมื้อหน้า ลองหาน�้าบีทรูทสกัดเย็นดื่มสัก แก้ว เพื่ออัพความแข็งแรงของสุขภาพหัวใจให้ ห่างไกลโรคกัน

กระเทียม

3

แซลมอน

พูดถึง “แซลมอน” ต้องยอมรับเลยว่านีค่ อื แหล่ง โอเมก้า-3 ชั้นดี ที่นอกจากจะช่วยบ�ารุงสมอง เสริมความจ�าแล้ว ยังสามารถลดความเสีย่ งใน การเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ (irregular heart beat) ได้อีกด้วย เพราะในปลาแซลมอน นั้นอุดมไปด้วยกรดอีโคซะเพนตะอีโนอิก และ กรดดีเอชเอ ที่มีส่วนในการช่วยลดการติดเชื้อ ป้องกันไม่ให้หลอดเลือดแข็งตัว การเกิดหัวใจ วาย และลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอด เลือดสมอง โรคความดัน รวมถึงไตรกลีเซอไรด์ ในเลือดสูงได้อีกด้วย

ไม่วา่ จะท�าเมนูไหน กระเทียมก็แทบจะเป็นวัตถุดบิ หลักทีข่ าดไม่ได้ และสิง่ ทีเ่ รารับรูห้ รือได้ยนิ กัน มาตลอดนั่นก็คือ กระเทียมเป็นสิ่งที่ช่วยควบคุมระดับคอเลสเตอรอลอย่างดี โดยการช่วยท�าลาย คอเลสเตอรอลและไขมันทีต่ ดิ อยูก่ บั ผนังด้านในของหลอดเลือด และท�าให้เกิดความยืดหยุน่ เมือ่ เลือดไหลเวียนสะดวก หลอดเลือดแข็งแรง ก็ส่งผลดีต่อสุขภาพของหัวใจ


HEALTHY INGREDIENTS

5

6

เหล่าช็อกโกแลตเลิฟเวอร์เตรียมตัวเฮกันได้เลย เพราะมีการศึกษามาแล้วว่าดาร์กช็อกโกแลต นั้ น มี ส ารฟลาโวนอยด์ ช นิ ด หนึ่ ง ที่ เ รี ย กว่ า โพลีฟีนอล ที่ช่วยในเรื่องของความดันโลหิต ลดปั จ จั ย ที่ ท� า ให้ เ กิ ด การแข็ ง ตั ว ของเลื อ ด รวมถึงช่วยลดอาการหัวใจวายและโรคหลอด เลือดสมองในคนทีม่ คี วามเสีย่ งสูงได้ แต่กไ็ ม่ใช่ ว่ า ช็ อ กโกแลตทุ ก อย่ า งจะดี ต ่ อ ใจ เพราะ ช็อกโกแลตที่เราบอกมานั้น จะต้องท�ามาจาก โกโก้อย่างน้อย 60-70% ไม่ใช่ช็อกโกแลตนม แสนอร่อยที่มีโกโก้อยู่น้อยนิด

ความจริ ง แล้ ว ไม่ ใ ช่ แ ค่ บ ลู เ บอรี่ เ ท่ า นั้ น ที่ มี ประโยชน์ แต่ผลไม้ในตระกูลเบอรี่อื่นๆ ทั้ง สตรอเบอรี่ ราสเบอรี่ ต่างก็มปี ระโยชน์ตอ่ หัวใจ มากเช่นกัน ยิ่งถ้าในกลุ่มคนที่อายุตั้งแต่ 25 ปี ขึ้นไป ถ้าได้ทานผลไม้ตระกูลนี้เป็นประจ�า มัก พบว่าสามารถช่วยลดความเสี่ยงของอาการ หัวใจวายลงได้ถึง 32% เมื่อเทียบกับคนที่ไม่ ค่อยทาน เพราะในผลไม้ตระกูลนี้มีสารแอนโท ไซยานินและฟลาโวนอยด์ ทีเ่ ป็นสารต้านอนุมลู อิสระชั้นดี ที่ช่วยลดความดันโลหิตและขยาย หลอดเลือดหัวใจได้ดี

ดาร์กช็อกโกแลต

บลูเบอร์รี่

7

แป๊ะก๊วย

หนึ่งในสมุนไพรชั้นเลิศที่ขึ้นชื่อเรื่องของการ บ�ารุงสมอง ช่วยให้มีความจ�าดีข้ึน ลดอาการขี้ หลงขี้ ลื ม เรี ย กว่ า เป็ น ยาธรรมชาติ ที่ มี ประสิทธิภาพในการรักษาโรคหลอดเลือดสมอง นอกจากนี้ใบแปะก๊วยก็ยังมีสรรพคุณในการ ช่วยขยายหลอดเลือด ช่วยให้เลือดไหลเวียนได้ ดีขึ้น ช่วยป้องกันและลดการแข็งตัวของเกล็ด เลือด เพราะถ้าเลือดสามารถไหลเวียนไปเลี้ยง ส่วนต่างๆ ได้ดี ก็ถือว่าเป็นการช่วยลดความ เสี่ยงในการเกิดโรคต่างๆ ที่เกี่ยวกับหัวใจได้ เหมือนกัน

HEALTHY TIPS อร่อยบำารุงหัวใจ

โดย คุณณรงค์ เติมพรเลิศ นักก�าหนดอาหาร อาหารที่กินแล้วดีต่อหัวใจ เช่น การเลือกรับประทานผักและผลไม้ให้หลากหลาย เลือกอาหารที่ใช้น�้ามันในการปรุง

คุณณรงค์ เติมพรเลิศ นักก�าหนดอาหาร

กรณีทำาอาหารกินเองที่บ้าน

ควรเลือกที่มีไขมันต�่า เช่น เนื้อสัตว์ไม่ติดหนังและมัน (ปลาทะเล, ปลาทู, ปลาทูน่า, ปลาแซลมอน, ไข่ขาว) หลีกเลี่ยงอาหารแปรรูป ได้แก่ ไส้กรอก กุนเชียง หมูยอ หมูหยอง หมูแผ่น ฯลฯ เลือกใช้น�้ามันพืชให้เหมาะสมกับวิธีการปรุงอาหาร โดยใช้ น�้ามันมะกอก, น�้ามันถั่ว เหลือง ส�าหรับผัด หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันทรานส์ ซึ่งส่วนใหญ่พบได้ในผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ และอาหาร ทอดซ�้า รับประทานอาหารรสชาติอ่อนเค็ม , ไม่ควรเติม เครือ่ งปรุงทีม่ รี สเค็มต่างๆ เช่น ซีอวิ๊ ขาว, น�า้ ปลา, เกลือ, น�า้ มันหอย ควรใช้เครือ่ งเทศหรือสมุนไพรเพือ่ ช่วยเพิม่ รสชาติอาหารแทน เช่น ตะไคร้ ใบมะกรูด มะนาว เพิม่ ปริมาณใยอาหารจาก ผัก, ผลไม้, ข้าว หรือ แป้ง ไม่ ขัดสี และถั่วเมล็ดแห้งต่างๆ รับประทานผักและผลไม้ให้หลากหลาย ครบ 5 สี ตัวอย่างเมนู อาหาร (เขียว, ขาว, แดง, ม่วง, เหลืองเข้ม) ขนมปังโฮลวีทไส้ รวมทั้งออกก�าลังกายให้เหมาะสม สัปดาห์ละ 150 ทูน่ำ+ผักสลัด, นาที ต้มย�ำปลำผักรวม I-CARE

DECEMBER 2017

17


S

I

Exclusive tory

เพราะอยากหายขาด... จึงตัดสินใจเข้ามาหาหมอ

ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะมีทั้งแบบเต้นเร็วผิดจังหวะและเต้นช้าผิดจังหวะ ในเคสนี้คุณพีระ ต.สุวรรณ มี ภาวะหัวใจเต้นช้ากว่าปกติหรือเต้นช้ากว่า 60 ครั้งต่อนาที ซึ่งสาเหตุอาจเกิดได้จากการเสื่อมหรือการ ทำางานช้าลงของต้นกำาเนิดการเต้นของหัวใจ หรือทางเดินไฟฟ้าของหัวใจนำาสัญญาณได้ไม่ดี หัวใจจึง เกิดอาการเต้นช้าลง และความเสื่อมนี้เองก็มักจะเกิดกับผู้สูงอายุ

18

I-CARE

DECEMBER 2017


ARRHYTHMIA

คุณพีระ ที่มีอำยุ 85 ปี ตัดสินใจมำหำหมอเพรำะต้องกำรรักษำอำกำรให้ หำยขำด เพื่อให้สำมำรถกลับมำใช้ชีวิตได้ปกติ

อาการก่ อ นตั ด สิ น ใจมา รักษา “ภาวะหัวใจเต้นผิด จังหวะ”

“ผมรู้สึกหัวใจเต้นช้ามาก เหนื่อย เร็ว เหมือนเลือดไปเลี้ยงร่างกาย น้อย ตอนทีว่ ดั ชีพจรก็เห็นแล้วว่า... หัวใจเต้นแค่ 45 ครั้งต่อนาทีน้อย กว่าคนปกติ มีอาการใจสัน่ เพลียๆ ตอนแรกก็เริ่มเป็นนิดหน่อย และ มากขึ้นเรื่อยๆ จนถึงจุดหนึ่งทนไม่ ไหวต้องนั่ง ไม่มีอาการเจ็บปวด อะไร เพียงแต่วา่ ใจมันสัน่ แล้วก็จะ รู ้ สึ ก ว่ า จะวู บ และในช่ ว งก่ อ น ตั ด สิ น ใจมาหาคุ ณ หมอก็ เ ป็ น ความดันโลหิตสูงอยู่แล้ว พอบวก กับการกินยาลดความดันเข้าไป ด้วย เลยยิ่งรู้สึกว่าหัวใจเต้นช้าลง ไปอีก เหมือนจะวูบ จนสุดท้ายก็ ต้องมาหาหมอรักษาเรื่องอาการที่ ว่านี่แหละ”

เริม่ หาข้อมูล...เพือ่ ตัดสินใจ เลือกสิ่งที่ดีที่สุด

“ก่อนที่จะเข้ารับการรักษา ผมก็ ศึกษาจากในอินเทอร์เน็ตเอาก่อน ครับ แต่ในนั้นก็มีข้อมูลอยู่เยอะ มาก แต่ข้อมูลส�าคัญที่ได้คือ การ จะต้องใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจหรือ

Pacemaker และการใส่เครื่องนี้ก็ ไม่ได้มีผลข้างเคียงอะไรเลย มีแต่ จะช่ ว ยให้ ดี ขึ้ น การผ่ า ตั ด ก็ เ ป็ น แผลเล็ ก ไม่ ต ้ อ งวางยาสลบแค่ ฉีดยาชา และนอนที่โรงพยาบาล ไม่เกิน 2 คืนเท่านั้น” นั่นท�าให้เขา รูส้ กึ ได้วา่ การรักษานัน้ อาจจะไม่ใช่ สิ่งที่น่ากลัวอย่างที่คิด

ยิง่ เจอหมอเก่ง...ยิง่ เติมเต็ม ความมั่นใจในการรักษา

“พอเราทราบว่าคุณหมอนิวธิ ท่าน เก่งทางเรือ่ งโรคหัวใจ และนพ.อภิชยั ซึ่ ง เป็ น แพทย์ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า น โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ เราก็โทร มานั ด เวลากั บ ทางโรงพยาบาล แล้วก็มาพบท่าน และหลังจากที่ หมอได้ให้ค�าแนะน�าในการติดตั้ง เครื่ อ งกระตุ ้ น ไฟฟ้ า หั ว ใจก็ รู ้ สึ ก มั่นใจเข้าไปอีก” และการตัดสินใจ ในครั้งนั้น ก็ไม่ท�าให้เขาผิดหวัง “เมือ่ ปรึกษาแพทย์แล้ว แพทย์เห็น ว่ า สมควรท� า ผมก็ เ ชื่ อ ว่ า เป็ น ค�าตอบที่ดีที่สุด ไม่งั้นชีวิตเราจะ ขาดอะไรไปเยอะ การที่ เ ราไม่ สบายบ่ อ ยๆ ท� า ให้ รู ้ สึ ก ร� า คาญ เพราะด้วยความทีม่ นั ค่อนข้างเกิด ขึ้นบ่อย และไม่ได้หายขาด ท�าให้

มีปัญหากับการนอน เพราะเวลา กลางคืนก็จะมีอาการท�าให้ตอ้ งตืน่ ทุกครั้ง”

ผ ล ก า ร รั ก ษ า . . . ทำ า ใ ห ้ คุณภาพชีวิตดีขึ้น

หลั ง จากได้ รั บ การติ ด ตั้ ง เครื่ อ ง กระตุ ้ น ไฟฟ้ า หั ว ใจแล้ ว ความ กั ง วลต่ างๆ ที่ เขาเคยมีก็ห ายไป เรียกว่าหลังจากทีห่ วั ใจเต้นต�า่ กว่า 60 ครั้งต่อนาทีก็เต้นมากขึ้นกว่า เดิม และก่อนการรักษาผู้ป่วยเป็น คนท�างานเยอะ ท�างานทั้งๆ ที่รู้สึก ไม่สบายฝืนใจท�า แต่หลังผ่าตัดก็ มีความมั่นใจว่าชีวิตจะไม่กลับไป เป็นเหมือนก่อนหน้านี้ เพราะการ เป็นโรคบ่อยๆ มันน่าร�าคาญ ไม่มี ความสุข เคสการรักษาภาวะหัวใจ เต้นผิดจังหวะนีย้ งั ได้ทงิ้ ท้ายเอาไว้ ว่ า ...“การที่ ไ ด้ ใ ส่ เ ครื่ อ งกระตุ ้ น ไฟฟ้าหัวใจเป็นอะไรที่สมควรท�า ที่ สุ ด คุ ้ ม ค่ า ที่ สุ ด และก็ ไ ม่ มี อันตรายทั้งนั้น ถ้าเทียบกับการที่ เราจะมีชีวิตอยู่ไปอีกหลายปีมัน คุ้มค่ามาก”

I-CARE

DECEMBER 2017

19


I

S

tyle

BELT IS BACK

อย่า...บอกคุณแม่วา่ อย่าเพิง่ เอาไป ทิ้ง เข็มขัดรัดเอวที่เคยปังเมื่อสิบปี ก่อน ตอนนี้เธอกลับมาแล้วจ้า ไม่ ว่ า จะเส้ น หนาคาดทั บ ชุ ด เดรส ลู ก ไม้ หรื อ เส้ น บางๆ คาดกั บ กางเกงเอวสูง คาดทับสเวทเตอร์ตวั โคร่ง ก็ไม่ใช่เรื่องแปลกอีกต่อไป หรื อ จะใส่ เ บลเซอร์ สู ท แล้ ว คาด เข็มขัดทับก็ยังได้เลย

TRANSPARENCY เทรนด์โปร่งใสนีก้ ก็ ลับมาอีกแล้ว ถึงต้องใช้ ความกล้าสักหน่อยในการแต่งลุคนี้ แต่ถ้า เลือกดีๆ ก็จะสามารถกันยุงได้ด้วย ถ้าจะ เป็นกระโปรงผ้าโปร่งเลเยอร์หลายๆ ชั้น แล้วเบรคด้วยเสื้อยืดร็อคๆ สักตัวก็จะได้ ลุคลิลลี่ อัลเลนสมัยอัลบั้มแรกๆ หรือเป็น เชิ้ตทรานสพาเรนส์ไปเลย ใส่ทับเสื้อครอป ข้างในก็เก๋ๆ ดี

CHECK TROUSER

R a e Y w Ne

k o o L w e N 8

ๆ า ้ ล ก า ม . . . เทรนด์แรง กันหน่อย

8 1 0 2 ี ป บ ั ร เปลี่ยนลุค

ใครว่ า ผู ้ ช ายจะใส่ ไ อเท็ ม ลายๆ ไม่ได้ เราบอกเลยว่า กางเกงสแล็คลายตาราง คือ คีย์พีซที่หนุ่มๆ ทุกคนควรรีบ หามาไว้ ใ นปี นี้ เลื อ กทรง หลวมนิดๆ อย่าฟิตก้นเกินไป แล้ ว จะใส่ กั บ เบลเซอร์ สู ท เรียบๆ หรือเสื้อยืดตัวเดียวก็ คูลแล้ว 20

I-CARE

DECEMBER 2017

ปีหน้านี้บอกเลยว่าเราจะไม่ได้ยินคำาว่า มินิมอลลิสท์กันไปอีกนาน เพราะแต่ละ เทรนด์ของแฟชั่นในปี 2018 นี้จะมีแต่ แสบๆ ทั้งนั้น เราคัด 8 เทรนด์ที่บอก เลยว่า New Year New Look ของ จริ ง ปี ห น้ า ฟ้ า ใหม่ แ บบนี้ มากล้ า ๆ เปลี่ยนลุคกันสักหน่อยนะ


TREND UPDATE

HIPPIE HOORAY เ ด ร ส ส ไ ต ล ์ ฮิ ป ป ี ้ ก็ ยั ง คลาสสิ ค ตลอดกาล อาจ เพราะว่าเทรนด์ของการแห่ ไปมิ ว สิ ค เฟสติ วั ล นั้ น ก็ ยั ง มาอยู่เนืองๆ ไม่ว่าจะเดรส สั้น เดรสยาว หรือเสื้อเชิ้ต ผ้ า เบา ขอแค่ ล ายปริ๊ น ท์ จัดๆ ทั้งตัว แมทช์กับหมวก สักใบก็เอาอยู่

LOOSE LOOSE

WORKING

UNIFORM

ORANGE IS THE NEW BLACK

ชุดหมีสไตล์ชา่ งอ๊อกเหล็กนี้ เชือ่ ไหมว่าก็กลาย เป็นลุคสุดฮิตของเหล่าคนเก๋ที่ไปดูลอนดอน แฟชั่นวีคล่าสุดมานะ ไม่ว่าจะเป็นชุดจั๊มสูท แบบมิลลิแทรี่ หรือสีนา�้ เงินสไตล์ชา่ งซ่อมรถ ลองมาแมทช์กับรองเท้าส้นสูงส�าหรับสาวๆ หรือรองเท้าแตะสวมส�าหรับหนุ่มๆ ก็กลาย เป็นลุคแบบสตรีทสไตล์ได้เลย

ไม่เอาน่ะไม่ฟิต... เราก�าลังพูดถึงเทรนด์ หลวมโครกทีก่ า� ลังมาแรง และใช้ได้กบั ทัง้ หนุ่มๆ สาวๆ เลยนะ ไม่ว่าจะเป็นเสื้อเชิ้ต ตัวโคร่ง สเวตเตอร์ตัวใหญ่มากๆ หรือ กางเกงทรงหลวมมากๆ เสมือนว่าเราแอบ เอากางเกงคุ ณ พ่ อ มาใส่ เ มื่ อ ตอนแปด ขวบ แต่การแมทช์ไอเท็มหลวมๆ มารวม กันแล้วนี่ เอ้า...เท่เฉยเลย

BIG TROUSER เพราะว่าหมดยุคของ กางเกงสกิ น นี่ อ ย่ า ง เป็นทางการแล้ว และ สไตล์เคป็อปส�าหรับ หนุ่มๆ สตรีทในโซลก็ มาแรง แทนที่ จ ะใส่ แต่กางเกงขาสัน้ ในวัน หยุดเสาร์อาทิตย์ พี่ๆ น้ อ งๆ ลองหากาง เกงสแล็ ค ทรงหลวม แบบนี้มาใส่กันดู คุณ อาจจะกลายเป็นอป ป้าสุดฮอตขึ้นมาทันที

หลังจากการใส่สีสันแสบๆ ถูกมองว่าไม่เท่มานาน คนคูลๆ ต้องใส่สีด�าออลแบล็คเท่านั้นสิ ขอบอกว่า ไม่จริงอีกต่อไป เพราะในซีซนั่ นี้ สีสม้ สดได้กลายเป็น คีย์พีซเปิดตัวปังไปซะแล้ว ไม่เชื่อก็ลองหาชิ้นสีส้ม ที่สุดในแพนโทนมาสักชิ้น จู่ๆ เราก็จะพบว่า มัน สามารถแมทช์กบั อะไรก็ดคู ลู ไปหมดซะงัน้ ลองดูนะ I-CARE

DECEMBER 2017

21


I

E

SCApe

หนีเทีย่ วหน้าหนาวนีใ้ ห้ฟนิ ...

ต้องไปไหนดี เพราะฤดูหนาวกับเมืองไทยนัน้ ไม่คอ่ ยจะวน มาเจอกันสักเท่าไหร่ เมือ่ ไหร่ทลี่ มหนาวพัด มา จึงเป็นเรือ่ งตืน่ เต้นของพวกเราทุกครัง้ ไป แล้วพอสิ้นปีปุ๊บ แพลนทริปเที่ยวก็ลอย มาพร้อมอากาศหนาวทันที มีที่ไหนที่เราจะ ไปฟินสุดๆ ได้บ้าง...มาดูกัน

อาบทะเลหมอกที่เขาพะเนินทุ่ง

เดินป่าศึกษาธรรมชาติที่กิ่วแม่ปาน ถ้าอยากสัมผัสอุณหภูมิ 0 องศา ในเมืองไทย ลองไปทีก่ วิ่ แม่ปาน แถมยังจะได้สมั ผัสประสบการณ์ เดินป่าแบบของจริง กับเส้นทาง ศึกษาธรรมชาติกิ่วแม่ปาน อยู่ ในเขตพื้ น ที่ อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ ที่เขาเปิดให้เราได้เดินตามเส้น ทางรอบวงกิว่ แม่ปานความยาว 22

I-CARE

ประมาณ 3.2 กิโลเมตร ใช้เวลา ประมาณ 2-3 ชั่ ว โมง ผ่ า น ภูมทิ ศั น์ทหี่ ลากหลายของป่าทัง้ เขา ผ่ า นป่ า สนและทุ ่ ง หญ้ า ที่ ร าบ กั บ ผู ้ น� า ทางที่ จ ะคอย อธิบายให้ความรู้ทางธรรมชาติ ตลอดการเดินป่า เราจะได้เจอ น�้าตกขนาดเล็ก ที่ใครจะคิดว่า นี่ ล ่ ะ คื อ ต้ น น�้ า ของแม่ น�้ า สาย

DECEMBER 2017

ใหญ่ด้านล่าง และหากอากาศ ลดลงต�่ามากในตอนเช้าถึงขั้น ติดลบ จะได้เห็นน�า้ แข็งเกาะบน ยอดไม้ ที่ เ รี ย กกั น ว่ า แม่ ค ะนิ้ ง อี ก ด้ ว ยนะ อากาศเย็ น สบาย แบบนี้ เดินป่ายังไงก็สดชื่น ใคร สนใจสามารถติ ด ต่ อ อุ ท ยาน แห่ ง ชาติ ด อยอิ น ทนนท์ โทร. 053-286730, 053-286728

ใครว่าจะดูทะเลหมอกต้องขึ้นเหนือ เท่านัน้ ...เพราะทีเ่ ทีย่ วหนาวจับใจ แต่ อยูใ่ กล้กรุงเทพก็มี อย่างเขาพะเนินทุง่ อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน จังหวัด เพชรบุ รี ยอดเขาที่ สู ง จากระดั บ น�้ า ทะเลถึง 1,207 เมตรกับความอุดม สมบูรณ์ของป่าดงดิบในอุทยานแห่ง ชาติที่ยังสมบูรณ์มากที่สุดแห่งหนึ่ง ท�าให้เกิดทะเลหมอกออกมาให้เห็นได้ เกื อ บทั้ ง ปี นอกจากรอสู ด อากาศ หนาวและดูทะเลหมอกขาวหนาใน ตอนเช้าแล้ว ถ้าโชคดียงั จะได้เจอสัตว์ ป่ า หายากที่ อ ยู ่ ใ นอุ ท ยานแห่ ง ชาติ แก่ ง กระจานอย่ า ง นกเงื อ กหลาก หลายชนิด ไปจนถึงค่างแว่นด้วยนะ ติ ด ต่ อ ได้ ที่ อุ ท ยานแห่ ง ชาติ แ ก่ ง กระจาน โทร. 032 459 293


TRAVEL

ไปแคมปิ้งที่เชียงใหม่ จะมีโอกาสสักกีค่ รัง้ ทีเ่ ราจะได้เล่นบทเป็นชาวแคมป์ นอนเต็นท์ ผิงไฟ ปิ้งบาร์บีคิว แหงนหน้ามองฟ้าก็เห็นดาวระยิบระยับ อาบน�้าท่าม กลางป่าเขา สูดอากาศหนาวเข้าปอด เราท�าได้ที่เมืองไทยในเฉพาะ ฤดูหนาวนี้ล่ะ ที่ Camp Chiangmai เป็นที่พักสไตล์แคมปิ้ง ตั้งอยู่ กลางป่าในอ�าเภอแม่ริม เขาให้เราได้ใช้ชีวิตเหมือนที่เคยฝันไว้ตอน เด็กๆ ได้นอนในเต้นท์สีขาวสะอาด กับเตียงอุ่นๆ นุ่มสบาย หรือจะ มารวมตัวกันรอบกองไฟ กินอาหารสไตล์ปิ้งย่าง นอนเปลดูดาว ได้ ใช้เวลากับครอบครัวหรือเพือ่ นฝูงอย่างเต็มที่ ไม่ตอ้ งอาศัยเทคโนโลยี ใดๆ จะให้ได้บรรยากาศฟูลออฟชั่นขนาดนี้ ต้องไปช่วงหน้าหนาวนี้ แหละ www.thecampchiangmai.com

ดู “มอหินขาว” สโตนเฮนจ์เมืองไทย เราคนหนึง่ ล่ะ ทีเ่ พิง่ รูว้ า่ สโตนเฮนจ์ก็ มี อ ยู ่ ท่ี เ มื อ งไทยด้ ว ย แถมอยู ่ ที่ จังหวัดชัยภูมินี่เอง เขาเรียกกันว่า “มอหินขาว” คือกลุม่ แท่งหินและเสา หินที่กระจายตัวอยู่ในอุทยานแห่ง ชาติภูแลนคา อ�าเภอเมือง จังหวัด ชัยภูมิ แท่งหินทีเ่ กิดจากการกัดเซาะ ทางธรรมชาติ ว่ า กั น ว่ า มี อ ายุ ประมาณ 190 กว่าล้านปีมาแล้ว ที่ เขาเรียกว่ามอหินขาวเพราะมีเรื่อง เล่าว่าในอดีต ทุกๆ คืน15 ค�่า และ 8 ค�า่ จะมีแสงสีขาวส่องขึน้ มาจากหิน

หรือจากมุมทีอ่ ธิบายได้กน็ า่ จะเกิด จากแสงสะท้อนของดวงจันทร์ใน คื น นั้ น นั่ น เอง แนะน� า ให้ ไ ปพั ก ที่ ลานกางเต็ นท์ ที่ท างอุท ยานแห่ง ชาติจัดไว้ให้ ถ้าเป็นฤดูฝนคงจะ เฉอะแฉะเกินไป ฤดูร้อนฝุ่นก็จะ ตลบ ดั ง นั้ น ฤดู ห นาวนี่ ล ่ ะ เหมาะ ที่ สุด แล้ ว รอดู พระอาทิต ย์ต กใน ตอนเย็น หินทัง้ หมดจะสะท้อนแสง สวยกลายเป็นสีสม้ ฟินสุดๆ ไปเลย ติดต่อได้ที่ อุทยานแห่งชาติภูแลน คา โทร. 044-810-902

ADVICE TIPS!!

ธีป้องกันหูอื้อจากการโดยสารเครื่องบิน ป้ อ งกั น หู อื้ อ จากการโดยสาร วิ• ควรป้ องกันตัวเองไม่ให้เป็นหวัด หรือไซนัสอักเสบระหว่างเดินทาง เนือ่ งจากถ้ามีการอักเสบ เครือ่ งบิน โดย พญ. ธิตมิ า โชคทวีกาญจน์ ในโพรงจมู กจะส่งผลต่อรูเปิดของยูสเตเชียน เช่น หลีกเลีย่ งความเครียด นอนหลับให้เพียงพอ

แพทย์ผู้เชี่ยวชาญสาขา หู คอ จมูก โดยปกติ ร ่ า งกายจะมี ท ่ อ ยู ส เตเชี ย น (Eustachian Tube) ซึง่ เป็นท่อทีเ่ ชือ่ มระหว่าง หู ชั้ น กลาง (Middle ear) และหลังโพรงจมูก (Nasopharynx) ท�าหน้าที่ปรับความดันของหูชั้นกลางให้เท่ากับบรรยากาศ ภายนอก เมื่ อ ท่ อ นี้ ท� า งานผิ ด ปกติ ไ ป (Eustachian Tube Dysfunction) เช่น เวลาเครื่องบินขึ้นหรือลงเร็วๆ จะท�าให้เกิด อาการหูอื้อ ปวดหู หรือมีเสียงดังในหูได้

พญ. ธิติมา โชคทวีกาญจน์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญสาขา หู คอ จมูก

• ถ้ามีอาการทางจมูก เช่น จาม น�้ามูก คัดจมูก ควรใช้ยาบรรเทาอาการ เช่น ยาแก้แพ้ (Antihistamine) ยาลดอาการคัดจมูก (Nasal Decongestant) หรือยาหดหลอดเลือด (Topical Decongestant) พ่นจมูก • ควรท�าให้ท่อยูสเตเชียนท�างานเปิดปิดตลอดระหว่างเครื่องบินขึ้นและลง เช่น เคี้ยวหมาก ฝรั่ง กลั้นน�้าลายบ่อยๆ ท�า Toynbee Maneuver คือบีบจมูก 2 ข้าง แล้วกลืนน�้าลาย 1 ครั้ง (ท่อยูสเตเชียนจะปิด) และเอามือที่บีบจมูกออกแล้วกลืนน�้าลาย 1 ครั้ง (ท่อยูสเตเชียนจะ เปิดและปิด) ไม่ควรบีบจมูกแล้วเป่าลมเข้ารูเปิดของยูสเตเชียน (Valsalva Maneuver) เพราะ จะท�าให้เชื้อโรคเข้าไปสู่หูชั้นกลางได้ I-CARE

DECEMBER 2017

23


I

P

lay

วัคซีนของลูกน้อยช่วง 1-4 ขวบ...

มีอะไรบ้างที่พ่อแม่ต้องรู้ เด็ ก น้ อ ยในยุ ค นี้ เ ข้ า ออกโรง พยาบาลบ่อยกันเป็นว่าเล่นกว่า ยุคทีเ่ รายังเป็นเด็กซะอีก เดีย๋ วเป็น ไข้หวัด เดี๋ยวเป็นภูมิแพ้ I-Care ฉบับนี้ พญ.วาสินี สรรพดิลก กุมารแพทย์ จะชวนคุณพ่อคุณแม่ มือใหม่ มาลองเช็คกันหน่อยว่า ป้องกันลูกน้อยด้วยว้คซีนจำาเป็น สำาหรับเด็กเล็กได้ครบหรือยัง?

24

I-CARE

DECEMBER 2017


DENGUE HEMORRHAGIC FEVER แรกเกิด - ขวบปีแรก

ในช่วง 1 ถึง 12 เดือนแรก ถึงจะเป็นเด็กน้อยวัยสุ่มเสี่ยงแต่คุณพ่อคุณแม่อาจจะยังสบายใจได้ เพราะต้ อ งพาลู ก เข้ า ไปรั บ วั ค ซี น ตามที่ คุ ณ หมอนั ด ไว้ อ ยู ่ แ ล้ ว อย่ า งวั ค ซี น ป้ อ งกั น วั ณ โรค หรือวัคซีนบีซจี ี ทีต่ อ้ งฉีดตัง้ แต่ทารกเพิง่ เกิด นัน่ เพราะวัณโรคอันตรายมากและมักก่อให้เกิดความ รุนแรงในเด็กเล็ก วัคซีนตับอักเสบบีมักฉีดในเด็กหลังคลอด เพื่อป้องกันการติดเชื้อตับอักเสบบี และนัดฉีดเข็มที่สองที่อายุ 1-2 เดือน และเข็มที่สามตอนอายุ 6 เดือน และวัคซีนป้องกันคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน ควบคู่กับวัคซีนป้องกันโปลิโอ ในช่วงเดือนที่ 2, เดือนที่ 4 และเดือนที่ 6 และ เมื่อใกล้ครบ 1 ขวบ ลูกน้อยจะต้องไปฉีดวัคซีนป้องกันหัดเยอรมันและคางทูม แต่เมื่อครบ 1 ขวบ แล้วนี่สิ คุณพ่อคุณแม่มักจะลืมและหยุดพาลูกน้อยไปรับวัคซีน มาดูกันว่าหลังจาก ขวบปีแรก มีวัคซีนอะไรที่จ�าเป็นกับเด็กอีกบ้าง

พญ.วาสินี สรรพดิลก กุมารแพทย์

วัคซีนทางเลือก

ทางเลือกในช่วงอายุ 1 ปี วัคซีนไข้หวัดใหญ่ สามารถฉีดได้ในเด็กอายุ 6 เดือนขึ้นไป โดยปีแรก ฉีดสองเข็ม ห่างกัน 1 เดือน

วัคซีนป้องกันอีสุกอีใส

ที่หลายๆ คนอาจมองว่าไม่จ�าเป็น นั่นเพราะโดยธรรมชาติแล้ว เชื่อว่าเราทุกคนต้องได้รับเชื้อนี้ อย่างน้อย 1 ครั้ง และเมื่อเป็นแล้วโอกาสจะเกิดซ�้าก็น้อยมาก แต่ยังไงก็ตามวัคซีนอีสุกอีไสนี้ สามารถป้องกันเชื้อได้มากถึง 70% และลดความรุนแรงเมื่อได้รับเชื้อลงถึง 90% เลยทีเดียว

เมื่อครบ 1 ปี

วัคซีนป้องกันโรคไข้สมองอักเสบ (JE)

ไข้สมองอักเสบเป็นโรคที่รุนแรงถึงชีวิต และที่ส�าคัญคือสามารถติดต่อได้โดยมียุงเป็นเป็นพาหะ หากโดนยุงที่มีเชื้อไวรัสนี้กัด ผ่านเข้าทางเลือดโดยตรง เชื้อก็จะเพิ่มจ�านวนขึ้นเรื่อยๆ จนติดเชื้อที่ สมอง การฉีดวัคซีนชนิดนี้ จะฉีด 2 ครั้ง เข็มแรก 1 ปี และ เข็มที่สอง ห่างจากเข็มแรก 1 ปี

1 ปี 6 เดือน

วัคซีนป้องกันคอตีบ ไอกรน และบาดทะยัก และโปลิโอ ครั้งที่ 4

หลังจากฉีดไป 3 ครั้งในช่วงขวบปีแรก คุณพ่อคุณแม่ควรพาลูกไปฉีดกระตุ้น คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก และโปลิโอ ครั้งที่4 เพราะโรคนี้ติดต่อได้ทางการไอ จาม น�้ามูก หลังจากครั้งที่ 4 นี้จะ ฉีดกระตุ้นอีกครั้งตอนครบ 4 ขวบ

ADVICE TIPS

พญ.วาสินี สรรพดิลก ยัง แนะนำ า ต่ อ ว่ า วั ค ซี น เสริ ม จำาเป็นสำาหรับเด็กแค่ไหน?

จริงๆ แล้ววัคซีนเสริม หรือ วัคซีน ทางเลือก (optional vaccine) คือ วัคซีนที่มีประโยชน์ และป้องกัน โรคได้ดีด้วย แต่วัคซีนเหล่านี้ยัง ไม่มีความส�าคัญด้านสาธารณสุข ในล�าดับต้นๆ หรือราคาวัคซีนสูง ผู้ ทีต่ อ้ งการฉีดต้องเสียค่าใช้จา่ ยเอง

ในช่วงขวบปีแรก วัคซีนเสริมที่ ควรได้รับ ได้แก่ นิวโมคอกคัสวัคซีน ซึ่งช่วยลด

2 ปี

ความรุนแรงของการติดเชือ้ แบคที เรียนิวโมคอกคัสได้ ลดโอกาสติด เชื้ อ ในระบบทางเดิ น หายใจ, กระดูกและข้อ และเยื่อหุ้มสมอง

ฉีดกระตุ้นหลังจากเข็มแรก 1 ปี

วัคซีนโรต้า เป็นวัคซีนรับประทาน

วัคซีนป้องกันโรคไข้สมองอักเสบ (JE) ครั้งที่ 2

2 ปี ครึ่ง

วัคซีนป้องกันโรคหัด หัดเยอรมัน และ คางทูม ครั้งที่ 2

หลังจากครั้งแรกในช่วงขวบปีแรก จ�าเป็นจะต้องฉีดอีกเข็มในช่วงนี้ การฉีดวัคซีนหัดเยอรมันช่วย ป้องกันโรคนี้ได้ตลอดชีวิต และยังป้องกันได้ทั้ง 3 โรค โดยฉีดหนึ่งเข็มตอนอายุ 9-12 เดือนขึ้นไป และแนะน�าฉีดกระตุ้นอีกครั้งตอนอายุ 2 ปีครึ่ง

วัคซีนป้องกันคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก โปลิโอ ครั้งที่ 5

หากคุณพ่อคุณแม่กังวลว่า เมื่อถึงเวลาจะลืมพาลูกน้อยไปฉีดวัคซีนตามแต่ละช่วงปี เราแนะน�า ให้ลงตารางเตือนในปฏิทนิ ไว้เลย เพราะการป้องกันทีแ่ น่นหนา ท�าให้เรามัน่ ใจว่าจะช่วยลดโอกาส การเกิดโรคร้ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ

เพื่อลดโอกาสการติดเชื้อโรต้า ซึ่ง เป็นสาเหตุของการท้องเสียในเด็ก เล็ก ในเด็กที่สามารถรับวัคซีนเสริมก็ จะช่ ว ยลดความรุ น แรง และลด โอกาสที่จะเกิดโรคได้ และในเด็ก ที่ ส ามารถรั บ วั ค ซี น ไข้ ห วั ด ใหญ่ และอีสกุ อีใสได้ ก็จะช่วยลดโอกาส การติ ด เชื้ อ เช่ น กั น แนะน� า ให้ ปรึกษากุมารแพทย์ เพื่อรับวัคซีน ตามช่วงเวลาค่ะ

I-CARE

DECEMBER 2017

25


I

S

Mart

New Gadget Update! ให้รางวัลตัวเองด้วยแก็ดเจ็ตสุดคูลแห่งปี! ใน I-Care ฉบับนี้ เราจะพาทุกคน มาอั พ เดตแก็ ด เจ็ ต คู ล ๆ ที่ ม าใน คอนเซ็ปต์เรโทร ดูภายนอกอาจจะ เรียบง่าย แต่รบั รองเลยว่าแต่ละชิน้ ฟังก์ชั่นนั้นอัดแน่นด้วยเทคโนโลยี สุ ด ลำ้ า ในแบบที่ คุ ณ เห็ น แล้ ว ต้ อ ง ร้องว้าวเลยล่ะ LEGO INSTANT CAMERA

อี ก หนึ่ ง ต� า นานของความ คลาสสิ ค กล้ อ งตั ว นี้ เ ป็ น ผล งานสุดครีเอทีฟของ Alberto ช่างภาพชาวฮ่องกงที่น�าเสนอ จินตนาการในวัยเด็กด้วยการ ใช้ เ ลโก้ ส ร้ า งกล้ อ งถ่ า ยรู ป ที่ สามารถถ่ายภาพได้จริง กล้อง ตัวนี้ใช้กลไกการท�างานของ กล้องขนาดเล็กอย่าง Fuji Instax และกล้ อ ง Yashica 80mm. F3.5 มาเป็นต้นแบบ และที่ ส� า คั ญ ไปกว่ า นั้ น คื อ สามารถพิ ม พ์ ภ าพได้ ทั น ที เหมือนกับฟังก์ชั่นอันโดดเด่น ของกล้องโพลารอยด์ และยัง มาพร้ อ มเลนส์ คู ่ แ บบกล้ อ ง ญี่ ปุ ่ น โบราณ แถมยั ง มี ห น้ า จอแสดงตัวอย่างรูปที่ถ่ายให้ ดู ไ ด้ อี ก ด้ ว ย เรี ย กว่ า ท� า ให้ ตากล้ อ งมื อ สมั ค รเล่ น กลาย เป็นมืออาชีพกับเขาได้เลยล่ะ Source: www.lomography.com 26

I-CARE

PAPER TORCH Paper Torch คื อ ไฟฉายกระดาษที่ ท� า มาจาก กระดาษชนิดพิเศษที่เรียกว่า YUPO ซึ่งเป็นกระ ดาษทีป่ ระเทศญีป่ นุ่ ใช้ลงคะแนนเสียงในการเลือก ตั้ง มีความโดดเด่นเรื่องของความทนทาน เกิดการ หดตัวน้อยและกันน�้าได้ด้วย ซึ่งไอเดียนี้เป็นของ Nendo ทีน่ า� มาออกแบบโดยใช้เทคโนโลยีการพิมพ์ วงจรไฟฟ้าลงบนพื้นผิวทั้ง 2 ด้านของกระดาษ พร้อมกับหลอดไฟ LED ชนิดพิเศษจ�านวน 7 ดวง ที่ทากาวติดไว้ โดยให้กาวท�าหน้าที่เป็นสื่อกระแส ไฟ เมื่อม้วนกระดาษเข้าหากันก็จะสร้างแสงสว่าง ออกมาได้ และยังควบคุมความสว่างของไฟฉายได้ ด้วยการปรับความแน่นของการม้วน เช่น ถ้าอยาก ให้สว่างมากก็ม้วนให้แน่นหน่อย นอกจากนี้ยัง สามารถเปลี่ยนสีไฟเป็นสีเหลืองและขาวได้ด้วย เทคนิคการม้วนเช่นกัน Source: www.designboom.com

DECEMBER 2017

PENNA

คีย์บอร์ดสุด Classy ที่อัดแน่นด้วยฟังก์ชั่นสุดล�้า ฝีมือการออกแบบของบริษัท Electron ที่ลุกขึ้นมา ฉีกทุกกฎ ท�า Smart Keyboard ให้ตอบโจทย์ชีวิต ดิจิตอลภายใต้คอนเซ็ปต์เรโทร ที่ได้แรงบันดาลใจ มาจาก “เครื่องพิมพ์ดีด” ในยุคเก่าที่น�ามาต่อยอด จนกลายเป็น PENNA นอกจากนีเ้ ครือ่ งนีย้ งั มีระบบ Cherry Switch ตอกย�้าความแม่นย�าและคงทน เพิ่มความพิเศษด้วยระบบช่วยจดจ�าค�าที่ใช้บ่อย ด้วยปุ่ม Macro Bar สามารถท�างานเชื่อมต่อด้วย Bluetooth 4.2 ที่ เ ข้ า ได้ กั บ ทั้ ง แท็ บ เล็ ต และ สมาร์ทโฟน ในทุกระบบปฏิบัติการไม่ว่าจะเป็น Windows, Android หรือ iOS Source: www.elretron.com


UPDATE! นพ.นิวิธ กาลรา แพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรค หัวใจและหลอดเลือด

ADVICE TIPS!!

SENSTONE

ใครเป็นสายครีเอทีฟรับรองเลยว่าตัวนี้คือ MUSTHAVE ไอเท็มของคุณเลยล่ะ เพราะเมื่อไหร่ที่คุณ เกิดปิ๊งไอเดียดีๆ ขึ้นมาในขณะที่ก�าลังท�ากิจกรรม อื่นๆ อยู่ เพียงแค่แตะที่อุปกรณ์และพูดออกไป SENSTONE เครือ่ งนีก้ จ็ ะบันทึกในสิง่ ทีค่ ณ ุ พูด แล้ว แปลงค�าพูดนั้นเป็นข้อความ แถมยังจดเรียงอย่าง เป็นระเบียบโดยอัตโนมัติได้อีกด้วย เรียกว่าเป็น เครื่องอ�านวยความสะดวกชั้นดีส�าหรับหนุ่มสาว สายครีเอทีฟที่ห้ามพลาดเลยล่ะ และที่เจ๋งไปกว่า นั้นก็คือ SENSTONE ยังสามารถยึดติดกับสิ่งของ ทีอ่ ยูบ่ นตัวเราได้ไม่วา่ จะเป็นเสือ้ ผ้า กระเป๋า เนคไท หรือท�าเป็นเครื่องประดับเก๋ๆ อย่างสร้อยคอหรือ สร้อยข้อมือก็ได้เช่นกัน Source: www.kickstarter.com

นอกจากแก็ดเจ็ตสุดคูลแล้ว เราก็ยังมี เทคนิคการดูแลสุขภาพมาฝากกันด้วย เป็นข้อมูลดีๆ จาก นพ.นิวธิ กาลรา แพทย์ ผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจและหลอดเลือด ที่ จะมาบอกว่ า เมื่ อ “หั ว ใจเต้ น ผิ ด จังหวะ” ต้องท�าตัวอย่างไร • สังเกตลักษณะอาการ • เป็นระยะเวลานานแค่ไหน • เป็นถี่แค่ไหน • เป็นขณะท�ากิจกรรมอะไร • มีเหตุปัจจัยที่ท�าให้เป็นถี่ เช่น พักผ่อน น้อย, ออกแรงหนัก, ทานน�้าน้อย • สังเกตยาที่รับประทานอยู่ • เวลามีอาการให้หยุดพัก แล้วดูสวิ า่ หลัง จากพักแล้วดีขึ้นไหม • ถ้าเป็นบ่อยจนรบกวนชีวิตประจ�าวัน แนะน�าควรพบแพทย์โดยน�ายาทีท่ านอยู่ มาด้วย

SPINBOX

อีกหนึง่ แก็ดเจ็ตทีด่ ตี อ่ ใจ โดยใช้เสียงเพลงสร้างความผ่อน คลายในวันที่เหนื่อยล้าจากสิ่งรอบตัว SPINBOX เป็น เครื่องเล่นแผ่นเสียงจากยุคอนาล็อกที่ทรงประสิทธิภาพ และมีกมิ มิคซ่อนอยูม่ ากมาย ไม่วา่ จะเป็นการใช้กระดาษ รีไซเคิลกันน�้าได้ เป็นวัสดุหลักส�าหรับโครงสร้าง ที่มา พร้อมแนวคิด All in One มีล�าโพงในตัวถึง 2 ตัว และ สามารถเชือ่ มต่อกับอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์อนื่ ๆ ได้อกี ด้วย SPINBOX ท�างานด้วยพลังงานไฟฟ้าทีส่ ง่ ผ่าน Micro USB สามารถชาร์จไฟได้ด้วย Adapter แถมยังเล่นแผ่นเสียง ได้มากถึง 3 ขนาด (7 นิ้ว, 10 นิ้ว, 12 นิ้ว) และที่คูลสุดนั่น ก็คือ คุณสามารถประกอบเองได้ภายใน 5 ขั้นตอน เรียก ว่าเป็นแก็ดเจ็ตที่พกพาสะดวกคุณภาพดีงาม เพราะน�้า หนักเบา ไซส์กระทัดรัด แถมฟังก์ชั่นแน่น Source: spinbox.cc I-CARE

DECEMBER 2017

27


I

A

strology

I-Care ฉบับนี้จะพาคุณไปเช็คดวงชะตา เตรียมตัวให้พร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในช่วงนี้

Monday

Tuesday

เพลียใจกับภาระหน้าทีท่ ที่ า� ให้คณ ุ ต้ อ งฝึ ก ฝนการเป็ น ผู ้ ใ หญ่ แต่ บทบาทนี้จะท�าให้คุณรู้สึกท้าทาย ความสามารถ ทีส่ า� คัญคุณยังสร้าง ผลงานที่เป็นที่ถูกอกถูกใจผู้ใหญ่ ยิ่งท�าให้ได้รับความไว้วางใจมาก ขึ้นไปเรื่อยๆ จนมีโอกาสได้ฝึกฝน งานหลากหลายรูปแบบในช่วงนี้ และเร็ ว ๆ นี้ คุ ณ จะต้ อ งเดิ น ทาง อย่างกระทันหันท�าให้แพ็คกระเป๋า แทบจะไม่ทนั บอกเลยว่าช่วงนีค้ ณ ุ เหนื่อยแทบขาดใจ ส่วนสุขภาพ ปวดเมื่อยตามร่างกายโดยเฉพาะ บริเวณข้อเข่าท�าให้คุณรู้สึกเดิน ล�าบาก

พยายามเข้าใจกับความเปลีย่ นแปลง ที่ก�าลังเป็นไป ทางที่ดีอย่าคิดมาก เรี ย นรู ้ ที่ จ ะปรั บ ตั ว รั บ รองว่ า จะ ท�าให้มมี มุ มองต่างๆ แตกต่างออก ไป ทีส่ า� คัญคุณจะเป็นคลืน่ ลูกใหม่ ในอนาคตอันใกล้ และได้รบั โอกาส ที่ท้าทายความสามารถ นอกจาก นัน้ ให้ระวังความขีห้ ลงขีล้ มื ของตัว เองจนงานเอกสารล่าช้าผิดพลาด ท�าให้ต้องท�างานซ�้า ส่วนสุขภาพ ให้ระวังอาการกรดไหลย้อน อันมี ที่ ม าจากการทานอาหารไม่ เ ป็ น เวลาของคุณเอง รีบเปลี่ยนนิสัย ด่วนๆ ก่อนที่จะทรมานจากการ เจ็บป่วยเรื้อรัง

Friday

Saturday

Sunday

วุ ่ น วายใจกั บ สิ่ ง ที่ จ ะต้ อ งรั บ มื อ คุณเหน็ดเหนือ่ ยกับความเอาแต่ใจ ของเจ้านายและเพือ่ นร่วมงานทีไ่ ม่ ค่อยรักษาค�าพูด แถมในใจลึกๆ ยัง รู ้ สึ ก อึ ด อั ด กั บ ภาระหน้ า ที่ ที่ ต ้ อ ง แบกรับในตอนนี้ คือ การที่จะต้อง รับผิดชอบในสิ่งที่ตัวเองไม่ได้เป็น คนสร้างปัญหา แต่ด้วยความเป็น ผูน้ า� ท�าให้คณ ุ ต้องฝึกยอมรับผิดใน สิ่งที่ตนเองไม่ได้ก่อ ขอเพียงคุณ ฝึ ก ฝนที่ จ ะยอมรั บ ผิ ด และแก้ ไ ข มากกว่าที่จะแก้ตัวรับรองว่าเวลา จะช่ ว ยท� า ให้ คุ ณ แข็ ง แกร่ ง ขึ้ น ได้อย่างแน่นอน นอกจากนั้นแล้ว ช่วงนี้ขอให้ระวังอาการเจ็บแน่น กลางอกหายใจไม่คอ่ ยสะดวกบ่อยๆ

Thursday

มีข่าวดีมากมายที่ท�าให้ทุกคนมี รอยยิ้ ม จนคุ ณ อารมณ์ ดี ไ ปด้ ว ย หน้าที่การงานก็เข้าที่เข้าทาง จน คุณเองเบาใจกับความไม่ชดั เจนที่ ผ่านมา นอกจากนัน้ แล้วคุณก�าลัง วางแผนเทีย่ วเพือ่ สร้างแรงบันดาล ใจในการใช้ชีวิต ซึ่งคุณอาจจะได้ เดิ น ทางมากกว่ า 1 ครั้ ง ส่ ว น สุ ข ภาพให้ ร ะวั ง อาการเวี ย นหั ว ปวดหัวเพราะพักผ่อนไม่เป็นเวลา ทางที่ดี อย่าปล่อยให้เป็นเรื่องที่ คุณละเลยไม่เช่นนั้นเรื่องเล็กอาจ กลายเป็นเรือ่ งใหญ่ในตอนสุดท้าย

28

I-CARE

ก� า ลั ง หงุ ด หงิ ด ตั ว เองกั บ การ ท� า งานที่ ข าดระบบระเบี ย บของ เพื่อนร่วมงานที่ท�าให้คุณจะต้อง โดนต�าหนิอันเกิดจากความล่าช้า ท�าให้งานที่รับผิดชอบอยู่ไม่เสร็จ ตามก�าหนดที่ตั้งเป้าหมายเอาไว้ อย่างไรก็ดีสุดท้ายคุณอาจจะต้อง ปรั บ เปลี่ ย นที ม งานใหม่ ทั้ ง หมด เพื่อให้ประสิทธิภาพของงานกลับ มาเป็นระบบได้อย่างเดิม นอกจาก นั้ น ให้ ร ะวั ง อาการเคล็ ด ขั ด ยอก ตามร่างกายเพราะความเร่งรีบของ คุณเอง ส่วนสุขภาพมีปญ ั หาผดผืน่ แพ้คันบริเวณใบหน้าและผิวอัน เกิดจากแพ้อากาศ

DECEMBER 2017

อย่ า เอาแต่ คิ ด มากจนตั ว เองไม่ กล้าที่จะเปลี่ยนแปลงกับสิ่งที่เข้า มาใหม่ๆ คุณอาจจะต้องเหนือ่ ยกับ การท� า ความเข้ า ใจกั บ คนหลาก หลายรู ป แบบและหลากหลาย ทั ศ นคติ ที่ ท� า ให้ คุ ณ จะต้ อ งคอย รับมือ จนบางครัง้ อยากยอมแพ้อยู่ คนเดียวเงียบๆ แต่สงิ่ ทีค่ ณ ุ อาจจะ ไม่ทนั ได้นกึ ถึงคือสิง่ ทีค่ ณ ุ เคยตาม หา ความฝั น ที่ เ คยหายไปจะมี โอกาสกลับมาลงมือเริม่ ต้นท�าใหม่ ในตอนนี้ ส่ ว นสุ ข ภาพมี ป ั ญ หา เกี่ ย วกั บ อาการร้ อ นใน หาเวลา พักผ่อนและดื่มน�้าระหว่างวันให้ มากกว่าปกติอาจจะช่วยบรรเทา อาการลงได้บ้าง

Wednesday

หวั่ น ไหวบ้ า งในบางครั้ ง กั บ สิ่ ง ที่ ก�าลังรายล้อมอยู่รอบตัวคุณ ให้ ระวังใจตัวเองอาจจะตัดสินใจผิด พลาดเพราะใช้อารมณ์อยู่เหนือ เหตุผล ค�าพูดของคุณจะน�ามาซึ่ง ปัญหา ช่วงนีท้ า� อะไรต้องพยายาม รับผิดชอบค�าพูดของตัวเองให้ได้ ไม่เช่นนั้นคุณจะกลายเป็นคนไม่ น่ า เชื่ อ ถื อ เพราะคนอื่ น เอาไป ตีความในทางอืน่ นอกจากนัน้ แล้ว อาจจะมีอาการเครียดสะสมอย่าง ไม่มีสาเหตุ ส่วนสุขภาพให้ระวัง อาการเจ็ บ คอและเป็ น ไข้ ห วั ด เพราะอากาศเปลีย่ นแปลงบ่อยใน ช่วงนี้


C

I

DENGUE HEMORRHAGIC FEVER

heck

อย่าปล่อยให้

“ไข้ เ ลื อ ดออก” มาทำาร้ายคนที่คุณรัก

พญ.เพลินพิศ ตัณฑจินะ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญสาขา อายุรกรรม-โรคติดเชื้อ

วิธีสังเกตอาการไข้เลือดออก

โดย พญ.เพลินพิศ ตัณฑจินะ แพทย์ผเ้ ู ชีย่ วชาญสาขาอายุรกรรม-โรคติดเชือ้

เรามักจะได้ยนิ กันอยูบ่ อ่ ยๆ ว่าให้ระวังโดนยุงลายกัด เพราะเดีย๋ วจะเป็นไข้เลือด ระยะแรก ออก แต่จะมีสักกี่คนที่รู้จักโรคนี้กันจริงๆ I-Care ฉบับนี้จะพาทุกคนมา ผู้ป่วยจะมีไข้สูงเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน ส่วน จะมีไข้สูงลอยประมาณ 2-7 วัน ร่วมกับ ทำาความรูจ้ กั กับโรคนีใ้ ห้มากขึน้ เพือ่ ป้องกันทัง้ ตัวคุณเองและคนทีค่ ณ ุ รักให้ ใหญ่ อาการอื่นๆ เช่น ปวดศีรษะ ปวดกระบอกตา ห่างไกลอันตรายจากโรคนี้กัน ปวดเมือ่ ยกล้ามเนือ้ ปวดข้อ ปวดกระดูก อาจพบ เดงกี...ตัวการร้ายของ “โรคไข้เลือดออก”

โรคไข้เลือดออกเกิดจากการติดเชือ้ ไวรัสทีช่ อื่ ว่า “เดงกี” (dengue virus) ที่มีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 4 สายพันธุ์ ทั้ง DEN-1, DEN-2, DEN-3 และ DEN-4 โดยมียงุ ลายเป็นพาหะ ซึง่ จากสถิตขิ อง องค์การอนามัยโลกนั้นพบว่าสถานการณ์การ ระบาดของโรคไข้เลือดออกในหลายประเทศ โดยเฉพาะในเขตร้อนนั้นมีอัตราสูงขึ้นเรื่อยๆ และสิง่ ทีห่ ลายคนไม่รกู้ ค็ อื โรคนีส้ ามารถเกิดได้ ตลอดทั้งปี ไม่ใช่แค่เฉพาะหน้าฝนอย่างที่ใคร หลายคนเข้าใจ เพียงแต่วา่ หน้าฝนในช่วงเดือน พฤษภาคมจนถึงกันยายนนัน้ เป็นช่วงทีม่ โี อกาส เกิดน�า้ ขังทีเ่ ป็นแหล่งเพาะพันธุย์ งุ ลายชัน้ ดีมาก ที่สุดนั่นเอง

การรักษาเองแบบผิดๆ ยิ่งทำาให้โรครุนแรง

เนื่องจากในปัจจุบันยังไม่มีการพัฒนายาฆ่า เชื้อไวรัสเดงกี ท�าให้การรักษาโรคนี้จะเป็นการ รักษาไปตามอาการ ซึ่งมีการใช้ยาลดไข้ การ เช็ดตัว และการป้องกันภาวะช็อคซึ่งแม้จะไม่

ได้มีการรักษาเฉพาะ แต่ก็ควรอยู่ในความ ดูแลของแพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญ การซือ้ ยาลดไข้มา ทานเองแบบผิดๆ จะยิง่ ท�าให้ความรุนแรงของ โรคเพิม่ ขึน้ ซึง่ ยาลดไข้ชนิดทีห่ า้ มทานโดยเด็ด ขาดคือแอสไพรินและไอบูโพรเฟน เนื่องจาก ยาสองตัวนี้จะยิ่งไปกระตุ้นท�าให้เกิดภาวะ เลือดออกผิดปกติจนเกิดอันตรายต่อผูป้ ว่ ยได้ ทางที่ดีควรไปพบแพทย์จะดีที่สุด

วัคซีนไข้เลือดออก... สิ่งจำาเป็นที่ไม่ควรมองข้าม

วัคซีนไข้เลือดออกนัน้ ท�ามาจากเชือ้ ทีเ่ ป็นเชือ้ ไวรัสของทั้ง 4 สายพันธุ์ ในการฉีด 1 เซ็ต จะ มีอยู่ 3 เข็ม โดยเข็มที่หนึ่งและเข็มที่สองควร ห่างกัน 6 เดือน ส่วนเข็มที่สามก็ควรห่างจาก เข็มแรกประมาณ 12 เดือน หรือ 1 ปี ซึ่งจาก การศึกษาพบว่า วัคซีนนี้สามารถป้องกันโรค ไข้เลือดออกได้สูงถึง 60-90% เลยทีเดียว นอกจากนี้วัคซีนไข้เลือดออกยังสามารถลด ความรุนแรงของโรค ลดอัตราการป่วย ลดค่า ใช้จ่ายในการรักษา และสุดท้ายคือลดอัตรา การเสียชีวิต

มีหน้าแดง แต่มักไม่มีอาการของไข้หวัดอื่นๆ เช่น น�้ามูกไหล หรือไอ ผู้ป่วยมักมีอาการเบื่อ อาหาร อาเจียน บางรายอาจมีอาการปวดศีรษะ ร่ ว มด้ ว ย ซึ่ ง อาจจะปวดทั่ ว ๆ ไป หรื อ ปวด ชายโครงขวาในระยะที่มีตับโต

ระยะวิกฤติ

เป็นระยะที่มีการรั่วของพลาสมา ซึ่งส่วนใหญ่ จะเกิ ด ขึ้ น พร้ อ มๆ กั บ ช่ ว งที่ มี ไ ข้ ล ดลงอย่ า ง รวดเร็ว โดยผู้ป่วยอาจมีอาการกระสับกระส่าย มือเท้าเย็น ชีพจรเบาเร็ว ผู้ป่วยบางรายอาจมี ระบบการไหลเวียนโลหิตล้มเหลว อาจพบมี เลือดออกผิดปกติ เช่น มีเลือดก�าเดา อาเจียน เป็นเลือด หรือถ่ายเป็นเลือด

ระยะพักฟื้น

ผู้ป่วยจะมีอาการดีขึ้น เป็นระยะสุดท้ายหลัง จากไข้ลง ในระยะนี้เกล็ดเลือดที่เคยลดต�่าลง จะกลับมาสูงขึ้น ระบบการไหลเวียนของเลือด ในร่างกายดีขึ้น มีความอยากอาหารมากขึ้น อาจตรวจพบผื่นที่มีลักษณะเป็นวงกลมเล็กๆ สีขาวท่ามกลางผืน่ แดง ความดันโลหิตก็จะดีขนึ้ จนทุกอย่างเริ่มกลับสู่สภาวะปกติ I-CARE

DECEMBER 2017

29


I

S

pecial

นพ.ปัณณวิชญ์ วงศ์วิวัฒนานนท์ แพทย์ผู้เขี่ยวชาญ ด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟู

Cardiac Rehabilitation ก้าวใหม่ของเวชศาสตร์ฟื้นฟู... กับเทคนิคฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหัวใจ

C

M

Y

แม้ว่าผู้ป่วยโรคหัวใจได้รับการดูแลรักษาจากแพทย์ อย่างดีจนอาการคงที่แล้ว แต่ก็จำาเป็นต้องได้รับการ ฟืน้ ฟูสภาพเพือ่ ให้รา่ งกายสามารถกลับมาแข็งแรงและ ทำางานได้อย่างมีประสิทธิภาพอีกครั้ง ซึ่งในปัจจุบัน “เวชศาสตร์ฟื้นฟู” ได้เข้ามามีบทบาทสำาคัญมาก เราจึงถือโอกาสไปนั่งพูดคุยกับ นพ.ปัณณวิชญ์ วงศ์วิวัฒนานนท์ แพทย์ผู้เขี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์ ฟื้นฟู เกี่ยวกับเรื่องนี้มาฝากกัน

สร้างความเข้าใจ...เพื่อการ พัฒนาอย่างยั่งยืน

คุณหมอบอกว่าศูนย์นี้เหมาะกับ ผูป้ ่ วยโรคหัวใจส�าคัญๆ ที่จ�าเป็น ต้องได้รับการฟื้นฟู เช่น โรคหลอด เลือดหัวใจ ภาวะหัวใจล้ม เหลว โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ และภาวะ หลั ง การผ่ า ตั ด หรื อ จี้ หั ว ใจ ซึ่ ง นอกจากรั ก ษาด้ ว ยยาหรื อ การ ผ่าตัดแล้ว สิ่งส�าคัญคือต้องเข้าใจ ถึงปัจจัยเสี่ยงและสาเหตุของโรค ทั้งที่เกิดจากทางกายและวิถีการ ด�าเนินชีวิตของตัวผู้ป่วยเอง เพื่อ ป้องกันโอกาสในการเกิดซ�า้ ทีอ่ าจ 30

I-CARE

DECEMBER 2017

ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการฟืน้ ฟู โรคหัวใจในระยะที่อาการของโรค คงที่ ซึง่ มีงานวิจยั มากมายทีร่ องรับ ว่ า เวชศาสตร์ ฟ ื ้ น ฟู โ รคหั ว ใจมี ประสิ ท ธิ ภ าพและช่ ว ยให้ ผู ้ ป ่ ว ย สามารถมีชีวิตที่ใกล้เคียงปกติได้ มากที่สุด

พัฒนาอย่างเต็มที่... ทั้งเครื่องมือและเทคโนโลยี

ในศูนย์เวชศาสตร์ฟน้ื ฟูนนั้ ได้มกี าร จัดเตรียมความพร้อมในการดูแล ผูป้ ว่ ยโรคหัวใจ ไม่วา่ จะเป็นเครือ่ ง ออกก�าลังกายเพื่อช่วยเพิ่มความ แข็งแรง ทีส่ ามารถปรับขึน้ น�า้ หนัก แรงต้านในการฝึกได้อย่างละเอียด และปลอดภัย หรือจะเป็นเครื่อง ออกก� า ลั ง กายที่ ช ่ ว ยเพิ่ ม ความ คงทน ทั้ ง จั ก รยานและลู ่ วิ่ ง ที่ ออกแบบมารองรับการฝึกฝนกับ ผู้ป่วยโรคหัวใจโดยเฉพาะ รวมถึง เครื่องช่วยเพิ่มออกซิเจนส�าหรับ ผู้ป่วยหัวใจที่ขาดเลือด ที่ต้องการ อ อ ก ซิ เ จ น ภ า ย ใ ต ้ ค ว า ม ก ด บรรยากาศสูง

หลักการฟื้นฟู...ที่ช่วยคืน คุณภาพชีวิตที่ดีให้อีกครั้ง

แต่อย่างไรก็ตาม ในการฟืน้ ฟูหวั ใจ ที่ป่วยจากโรคต่างๆ นั้นมีขั้นตอน และกิจกรรมที่แตกต่างกันไป ซึ่ง โดยหลักการแล้ว อาจจะเริ่มจาก การฝึกฝนให้ทา� กิจกรรมต่างๆ เช่น ลุ ก ยื น เดิ น หรือ ออกก�าลัง กาย และค่อยๆ เพิ่มความแข็งแรงและ ต่อเนื่องอย่างเป็นขั้นตอน มีระยะ การอุ ่ น เครื่ อ ง ระยะเบาเครื่ อ งที่ ยาวนานกว่าผู้ป่วยทั่วไป รวมถึง ระหว่ า งการฝึ ก ก็ จ ะมี ก ารก� า กั บ ความเร็วชีพจรและความดันโลหิต เพื่อไม่ให้ผู้ฝึกรู้สึกเหนื่อยเกินไป จะเห็นได้ว่าการฟื้นฟูสมรรถภาพ หัวใจนั้นเป็นเรื่องละเอียดอ่อนที่ ต้องได้รับการดูแลจากทีมงานที่ เชี่ ย วชาญ ที่ มี ก ารวางแผนและ ฝึกฝนอย่างเป็นขัน้ ตอนและเหมาะ สม ทั้งนี้ก็เพื่อให้ผู้ป่วยโรคหัวใจ ฟื ้ น คื น สมรรถภาพได้ อ ย่ า ง ปลอดภั ย ในเวลาที่ เ หมาะสม นั่นเอง

CM

MY

CY

CMY

K


â»Ãá¡ÃÁ

ÃÒ¤Ò/¤ÃÑ ้ § (ºÒ·)

Ê‹ Í §¡ÅŒ Í §¡ÃÐà¾ÒÐÍÒËÒà (Gastroscopy)

11,000

Ê‹ Í §¡ÅŒ Í §ÅÓäÊŒ ã ËÞ‹ (Colonoscopy)

17,000

Ê‹ Í §¡ÅŒ Í §¡ÃÐà¾ÒÐÍÒËÒà + ÅÓäÊŒ ã ËÞ‹

24,000

(Gastroscopy + Colonoscopy)

วันนี้ - 31 มีนาคม 2561


ชาํระคาฝากสงรายเดอืน ใบอนญ ุ าตพเิศษที 252/59 ปณศ.(พ) พระโขนง 10110

@sukumvitHospital


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.