I-Care Magazine issue11/2019

Page 1

ISSUE 11/2019

A PUBLICATION OF HEALTHY & LIFESTYLE

I LOVE TECHNOLOGY • UKA การผ่าตัดเปลี่ยนผิวข้อเข่าบางส่วน

I CARE HEALTH

I UPDATE

การดูแลสุขภาพกระดูกและข้อ ฉบับผู้สูงวัย

ของผู้ป่วยโรคข้อวัย 70 ปี

เคล็ด(ไม่)ลับ

I MEDICAL CENTER

ความล�้ำหน้าของเทคโนโลยี ในการรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานขึ้นตา โดยโรงพยาบาลสุขุมวิท

รับมือข้อเข่าเสื่อม ด้วยเทคโนโลยีใหม่ แผลเล็ก เจ็บน้อย ฟื้นตัวเร็ว

โดยศูนย์โรคข้อ โรงพยาบาลสุขุมวิท

@sukumvithospital

ชีวิตใหม่หลังการผ่าตัดเปลี่ยนผิวข้อเข่าเทียมบางส่วน




E DITO R’S สวัสดีครับ ท่านสมาชิกโรงพยาบาลสุขุมวิทและท่านผู้ที่สนใจ

ดังเช่นที่ทราบกันเป็นอย่างดีครับว่า ประเทศไทยก�ำลังก้าว เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ Ageing Society อย่างเต็มรูปแบบ และใน ท่ามกลางสภาวการณ์ทปี่ ระชากรสูงวัยมีจำ� นวนเพิม่ ขึน้ นี้ โรคเกีย่ ว กับข้อ โดยเฉพาะโรคข้อเข่าเสื่อมคือโรคที่ตรวจพบมากล�ำดับต้นๆ หากข้อจ�ำกัดด้านการรักษาในอดีตทีผ่ า่ นมา ยังความกังวลใจให้กบั คนไข้ โดยเฉพาะกลุ่มคนที่ต้องเข้ารับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเป็น อย่างมาก ทว่า ปัจจุบันเทคโนโลยีทางการแพทย์ก้าวล�้ำมาไกล โรงพยาบาลสุขุมวิทเองก็ได้จัดตั้ง ‘ศูนย์โรคข้อ’ ขึ้นมาเพื่อรองรับ คนไข้กลุม่ นี้ พร้อมกับเครือ่ งมือทางการแพทย์อนั ทันสมัยทีเ่ หมาะกับ การรักษาผูป้ ว่ ยโรคข้อในแต่ละระดับอาการ โดยสาระเรือ่ งราวทัง้ หมด เรารวบรวมไว้ใน I-CARE ฉบับนี้ ไม่เพียงเท่านี้ ภายในเล่มยังมีเรื่องราวเกี่ยวกับโรคภัยไข้เจ็บ ที่มากับฤดูร้อน เทคโนโลยีในการรักษาเบาหวานขึ้นตา ประเด็น ด้านสุขภาพ อาหาร และการดูแลตัวเองที่น่าสนใจต่างๆ อื่นๆ อีกมากมายในเล่ม ด้วยหวังใจให้คนไทยห่างไกลโรคและมีคุณภาพชีวิตที่ดี

TA LK

ISSUE 11/2019

Editorial Editor-in-Chief

นายแพทย์ ภมรศักดิ์ เธียรประสิทธิ์

Editorial Coordinator

นายแพทย์ ภมรศักดิ์ เธียรประสิทธิ์ คุณธฤต ชื่นอิ่ม

Advertising & Promotion Contact : E-mail : Facebook : Line : Issue :

คุณนรากร ณิชกุลธัญกร คุณเนตรหทัย ไชยมุติ คุณอโนมา อุดมถิรพันธุ์ (66)2-391-0011 # 860, 861 bus@sukumvithospital.com @sukumvithospital @sukumvithospital Sukumvit Hospital

นายแพทย์ ภมรศักดิ์ เธียรประสิทธิ์

นิตยสาร I-CARE เป็นนิตยสารของโรงพยาบาลสุขุมวิท เพื่อแจกจ่าย ข้อเขียนและรูปภาพทุกชิ้นในนิตยสารเป็น ลิขสิทธิ์ของโรงพยาบาลสุขุมวิท ห้ามพิมพ์ซ�้ำ หรือ กระท�ำการใดๆ ที่เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์เว้นแต่จะได้รับความยิมยอม เป็นลายลักษณ์อักษรจากโรงพยาบาลสุขุมวิท ข้อความในเนือ้ ทีโ่ ฆษณาของนิตยสารฉบับนีม้ ไิ ด้เป็นของโรงพยาบาลสุขมุ วิท ถือเป็นความเห็นส่วนตัวของผลิตภัณฑ์ และบริการ โรงพยาบาลสุขุมวิทไม่มีเจตนาให้การรับรองคุณภาพสินค้า บริการ หรือ ข้อความที่ปรากฏแต่อย่างใด ออกแบบโดย บริษัท จี เซเว่น จ�ำกัด โทร. 02 183 0781



C O N T E N T S สารบัญ

10-13 I HEALTHY

ศูนย์โรคข้อ โรงพยาบาลสุขุมวิท…

ความก้าวล�้ำทางการแพทย์เพื่อผู้ป่วยโรคข้อ รักษาข้อเข่าเสื่อมด้วยเทคโนโลยีใหม่ ผ่าตัดเปลี่ยนผิวข้อเข่าบางส่วน ฉีดเกล็ดเลือด แผลเล็ก เจ็บน้อย ฟื้นตัวเร็ว

8-9 I CARE HEALTH

เคล็ด(ไม่)ลับ การดูแลสุขภาพกระดูกและข้อฉบับผู้สูงวัย

14-15

I EAT HEALTHY

โภชนาการบ�ำรุงกระดูกและข้อในแต่ละช่วงวัย

16-17 I UPDATE

ชีวิตใหม่หลังการผ่าตัดเปลี่ยนผิวข้อเข่าเทียมบางส่วน (UKA-Unicompartment Knee Arthroplasty) ของผู้ป่วยโรคข้อวัย 70 ปี

18-19

I LOVE TECHNOLOGY การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าบางส่วน UKA

20-21 I KIDS

รับมือโรคที่มากับฤดูร้อนส�ำหรับเด็ก “ โรคลมชัก”

22-23 I MEDICAL CENTER

ความล�้ำหน้าของเทคโนโลยีในการรักษา ผู้ป่วยโรคเบาหวานขึ้นตา โดยโรงพยาบาลสุขุมวิท

24-25 I CARE STORY

เปลี่ยนชีวิตใหม่! ด้วยการผ่าตัดผ่านกล้องทางนรีเวช คุณวัชราภรณ์ จ�ำภวังค์

26-27 I EASY STEP 28-29 I ENJOY LIFE

การกายภาพบ�ำบัดของข้อต่อและกล้ามเนื้อ

KINSHIRO คลายร้อนรับซัมเมอร์ ในบรรยากาศสุดชิล

30 I SAY GOOD BUY



8

APRIL 2019

I CARE HEALTH

นพ.สุรพล เกษประยูร DR. SURAPHOL KESPRAYURA แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านศัลยกรรมกระดูกและข้อ เวชศาสตร์การกีฬา Overuse injury

Overuse injury เป็นการบาดเจ็บของกล้ามเนือ้ ข้อต่อต่างๆ หรือ เส้นเอ็นทีเ่ กิดจากการพยายามฝึกหรือออกก�ำลังเกินความสามารถหรือ เร่งให้เร็ว เพื่อเอาชนะขีดจ�ำกัดของร่างกายหรือเสริมสร้างกล้ามเนื้อ แบบผิดเทคนิค เพือ่ ให้ได้มาซึง่ รูปร่างทีช่ วนมองและสมรรถนะทีแ่ ข็งแกร่ง ขึ้นทั้งในนักกีฬาระดับอาชีพและสมัครเล่น

รศ.นพ. วัชระ วิไลรัตน์ DR. VAJARA WILAIRATANA

แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านศัลยกรรมข้อเข่า และข้อสะโพก

การบาดเจ็บที่พบบ่อยๆ ใน overuse injury ได้แก่

Tennis elbow คืออาการอักเสบและปวดปุ่มกระดูกข้อศอกด้านนอก พบบ่อยในนักกีฬา เทนนิสที่ชอบเล่นแบ็คแฮนด์มือเดียว นักแบดมินตัน และพวกที่ยกของหนักๆ เช่น นักยกน�้ำหนัก ขว้างค้อน เป็นต้น

สาเหตุของ overuse injury ได้แก่

Training error คือการฝึกหนักเกินไป เร็วเกินไป ฝึกนานเกินไปและข้ามขั้นตอนมาตรฐาน ขาดความรู้ความช�ำนาญของผู้ผึกสอน Technique error คือการใช้เทคนิคที่ผิดท�ำให้เกิดความเครียดต่อกล้ามเนื้อหรือข้อหรือ การฝึกโดยใช้กล้ามเนือ้ ผิดมัด เช่นการสวิงกอล์ฟ การขว้างลูกเบสบอล การกระโดดชูต๊ ลูกบาสเกตบอล การยกน�้ำหนักเพื่อสร้างกล้ามเนื้อ เป็นต้น

ปัจจัยเสี่ยงของ overuse injury

การเกิด overuse injury สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคน ทุกเพศ ทุกกลุ่มอายุ และจะเพิ่มขึ้น เมื่ออายุมากขึ้น จึงมีความจ�ำเป็นต้องปรึกษาผู้เชี่ยวชาญหรือแพทย์เสียก่อน เช่น การพบว่ามี กล้ามเนือ้ บางมัดอ่อนแรงหรือไม่แข็งแรงเท่าทีค่ วรเป็นบางมัดรอบสะโพก รอบเข่า หรือรอบข้อเท้า เป็นต้น การใช้ชุดหรืออุปกรณ์ที่เหมาะสม เช่น รองเท้าวิ่ง ควรเปลี่ยนทุก 6 เดือน การรู้ขีดความ สามารถของตนเองเป็นสิ่งส�ำคัญ อย่าท�ำอะไรเกินก�ำลัง ไม่ต้องแข่งกับคนอื่นนอกจากตัวเอง การกดดันตัวเองมากเกินไปเกินสองสามวันก็สามารถท�ำให้เกิด overuse injury ได้ เราสามารถแบ่งการออกก�ำลังเป็นช่วงๆ สัน้ ๆ หลายๆ ช่วงได้ เช่น ช่วงละ 10 นาที 3 ช่วงเวลา แทนที่จะเป็น 30 นาทีช่วงเวลาเดียว รวมทั้งต้องพยามท�ำการ warm up และ cool down ก่อนและหลังการออกก�ำลังด้วย การผสมผสานการออกก�ำลังกายหลายๆ ประเภทสลับกันก็เป็นการ ช่วยป้องกันการเกิด overuse injury ได้ เช่น การเดิน การปั่นจักรยาน ว่ายน�้ำ jogging เข้าห้องยิม เพราะจะท�ำให้กล้ามเนื้อมัดต่างๆ ได้สลับกันท�ำงานอย่างเต็มที่ กรณีสงสัยว่าจะมี overuse injury ควรปรึกษาแพทย์อาจต้องหยุดพักกีฬาประเภทนั้นก่อน ทั้งนี้สามารถเล่นกีฬาหรือออกก�ำลังกายอื่นที่ไม่ท�ำให้เกิดความเครียดต่อกล้ามเนื้อหรือข้อ ที่บาดเจ็บอยู่ได้ การท�ำกายภาพบ�ำบัดเพื่อฟื้นฟู ความแข็งแรง ความคล่องตัว ความยืดหยุ่น เพื่อสร้างสมดุล ก่อนการกลับไปเล่นกีฬา มีความส�ำคัญเพื่อป้องกันการบาดเจ็บซ�้ำในอนาคต

โรคกระดูกและข้อที่พบในคนอายุ 40 ปี โรคทีเ่ กีย่ วข้องกับกระดูกและข้อทีพ่ บบ่อยในคนอายุ 40 ปีขนึ้ ไปคือ โรคข้อเข่าเสื่อมซึ่งผู้ที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคชนิดนี้คือกลุ่มที่มี โรคประจ�ำตัว เช่น โรครูมาตอยด์ โรคแพ้ภูมิตัวเองหรือโรค SLE (Systemic Lupus Erythematosus) หรือผู้ที่ได้รับอุบัติเหตุ และ ในกลุ่มที่ดูแลตัวเองได้ไม่ดี เช่น มีน�้ำหนักตัวมาก ไม่ออกก�ำลังกาย มีการบริหารร่างกายน้อยซึ่งก็ถือว่าเป็นปัจจัยเสี่ยงที่อาจท�ำให้เกิด โรคข้อเข่าเสื่อมเร็วกว่าวัยอันควร ในวัยนี้ความรุนแรงของโรคยังไม่มีมากซึ่งสามารถรักษาหรือ แก้ไขได้ ถ้ามาพบแพทย์ในระยะเริ่มต้นบริเวณผิวข้อยังไม่เสื่อม ไม่ สึกหรอมาก แพทย์จะท�ำการชะลออาการของโรคด้วยการทานยา หรือว่ารักษาด้วยการบริหารทางกายภาพ บริหารกล้ามเนือ้ ในส่วน นีก้ จ็ ะสามารถชะลอความรุนแรงของโรคได้ แต่เมือ่ ไรทีเ่ ริม่ เป็นตัง้ แต่ อายุ 40 ปี ความรุนแรงของโรคจะยิ่งเพิ่มมากขึ้นตามล�ำดับ เพราะ ฉะนั้นแนวทางการป้องกันจึงเป็นสิ่งส�ำคัญโดยสามารถป้องกันได้ ส�ำหรับผู้ที่มีน�้ำหนักตัวมากต้องให้ควบคุมน�้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ มาตรฐานและออกก�ำลังกายเพื่อให้เสริมสร้างความแข็งแรงของ กล้ามเนื้อ เพราะส่วนใหญ่ปัญหาของการเกิดโรคอยู่ที่ตัวผู้ป่วยไม่ ค่อยได้ดูแลตัวเองทั้งการควบคุมน�้ำหนัก การรับประทานอาหาร พยายามเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ หมั่นออกก�ำลังกาย ส่วนผู้ที่ป่วยเป็นโรครูมาตอยด์หรือว่าโรคอื่นๆ ถ้าเริ่มมีอาการผิด ปกติ เช่น มีอาการบวมบริเวณข้อเข่า มีการอักเสบเป็นๆ หายๆ อยู่ เป็นประจ�ำต้องรีบมาพบแพทย์เพื่อท�ำการวินิจฉัยข้อเข่าทันที


A PUBLICATION OF HEALTHY & LIFESTYLE

9

นพ.ชัยสิทธิ์ ศุภประการ DR. CHAIYASIT SUPPAPRAKARN

ดร.นพ. พีร์ วิทูรพณิชย์ DR. BHEE WITOONPANICH

ความเปลี่ยนแปลงทางด้านกระดูกและข้อของคนในช่วงวัย 50 ปี

โรคกระดูกและข้อที่พบในคนอายุ 60 ปี

มวลกระดูกความหนาแน่นของกระดูกของคนในวัย 50 ปีจะค่อยๆ ลดลงหลังจากอายุ 30 ปี โดยเฉพาะในผู้หญิงหลังหมดประจ�ำเดือน ความ หนาแน่นของกระดูกจะลดลงเร็วกว่าผูช้ าย ข้อต่อทุกส่วนจะเริม่ เสือ่ มตามวัย โดยเฉพาะข้อทีร่ บั น�ำ้ หนัก เช่น หมอนรองข้อกระดูกสันหลัง น�ำ้ ทีเ่ ป็นองค์ประกอบ ของหมอนรองข้อกระดูกจะลดลงท�ำให้หมอนรองข้อกระดูกค่อยๆ ทรุดตัวลง ข้อกระดูกหลังก็จะเสื่อมตามมา กระดูกสันหลังก็จะค่อยๆ ค่อมลง ท�ำให้ ความสูงลดลง อาการกระดูกและข้อที่พบบ่อยส�ำหรับวัยนี้จะมีอาการปวดเข่า จาก ข้อเข่าเสื่อม ถ้ามีอาการน้อยจะปวดเข่าและปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ น่อง ต้นขา ข้อพับ เวลาใช้งานมาก เดินมาก ทั้งนี้ความเสี่ยงของการเกิดโรคเรียกว่ามี โอกาสเกิดขึ้นกับทุกคน โดยเฉพาะกลุ่มคนที่ต้องยืน เดิน ยกของหนัก ร่วม กับน�้ำหนักตัวที่มากก็ยิ่งจะท�ำให้เกิดความเสื่อมของข้อเร็วขึ้น เพราะฉะนั้น การป้องกันควรลดปัจจัยที่ท�ำให้เกิดความเสื่อมของข้อ เช่น หากน�้ำหนักตัว ลดลงก็จะช่วยลดโอกาสเสื่อมของข้อได้และยังช่วยลดความดันโลหิตที่สูงให้ ลดลง ลดระดับน�้ำตาลในเลือด ลดคอเลสเตอรอล อย่างไรก็ตาม ควรลดการแบก หิ้ว ยกของหนัก พยายามหลีกเลี่ยงท่า ที่ไม่ดีต่อหลังและเข่า เช่น นั่งบนพื้นลาด นั่งขัดสมาธิ นั่งพับเพียบ นอกจาก นี้การออกก�ำลังกายจะช่วยเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ เช่น การว่ายน�้ำ เหมาะสมส�ำหรับคนทีม่ ปี ญ ั หาเกีย่ วกับกระดูกหลังและเข่าเสือ่ ม ส่วนขัน้ ตอน การรักษาแพทย์จะสัง่ พักร่วมกับการกินยาและท�ำกายภาพ ในกรณีทเี่ ป็นมาก ควรได้รับการผ่าตัดเพื่อแก้ไข

โรคกระดูกที่ได้พบบ่อยในคนอายุ 60 ปีมักจะมีโรคกระดูกเสื่อม โรคหมอนลองกระดูกทับเส้น โรคกระดูกบาง โรคกระดูกพรุน โดยหลักๆ แล้ว โรคข้อเข่าเสื่อมเกิดจากความเสื่อมของกระดูกอ่อนที่บริเวณข้อเข่า วิธีการ ป้องกันโรคกระดูกและข้อในคนอายุ 60 ปี ควรพยายามควบคุมน�้ำหนักไม่ ให้มีน�้ำหนักตัวเยอะจนเกินไป ลดหรือหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่จะท�ำให้น�้ำหนัก กดลงไปที่เข่าสูง เช่น การวิ่ง การกระโดด หรือแม้แต่การนั่งโดยเฉพาะท่าที่ ต้องงอเข่าเยอะๆ หรืองอเข่านานๆ ซึ่งการงอเข่าเยอะๆ หรืองอเข่านานๆ จะ เกิดแรงกดต่อตัวข้อเข่าและท�ำให้มีอาการปวดเข่าได้ เมื่อผู้ป่วยมีอาการโรคกระดูกและข้อ ขั้นตอนการรักษาจะถูกแบ่งออก เป็น 2 วิธี คือการรักษาแบบไม่ผ่าตัดและการรักษาแบบผ่าตัดการรักษา แบบไม่ผ่าตัด แพทย์จะให้ค�ำแนะน�ำให้ผู้ป่วยด้วยการปรับเปลี่ยนกิจวัตร ประจ�ำวันให้เหมาะสมกับตัวโรคมากขึ้น เช่น ไม่ท�ำกิจกรรมที่จะท�ำให้ น�้ำหนักกดลงไปที่ข้อเข่าเยอะ กิจกรรมที่ท�ำแล้วปวดข้อเข่าก็ควรหลีกเลี่ยง การออกก�ำลังกายก็ควรเน้นการออกก�ำลังกายที่มีแรงกระท�ำต่อข้อเข่าน้อย เช่น การเดิน การว่ายน�้ำ การร�ำมวยจีนหรือการร�ำไทเก๊ก ถ้าเป็นผู้ป่วยที่ ต้องได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า การปฏิบัติตัวหลังการผ่าตัดจะต้องมีการ ท�ำกายภาพบ�ำบัด ปรับกิจวัตรประจ�ำวันจากเดิมอะไรทีเ่ คยท�ำได้อาจจะต้อง ใช้ความระมัดระวังมากขึ้น เนื่องจากคนในวัย 60 ปี จะเริ่มมีความเสื่อมของร่างกาย ฉะนั้นความ ส�ำคัญของคนในวัยนีค้ อื ควรจะต้องดูแลร่างกายตัวเองให้อยูใ่ นสภาพทีพ่ ร้อม ใช้งานและพยายามเจ็บป่วยให้น้อยที่สุด เริ่มจากการรับประทานอาหารที่มี ประโยชน์ การนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอและการออกก�ำลังกายทีเ่ หมาะสม เพื่อที่จะป้องกันโรคและป้องกันความเสื่อมที่จะตามมาในอนาคต

แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านศัลยกรรมกระดูกและข้อ

แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านศัลยกรรมกระดูกและข้อ


10

APRIL 2019

I HEALTHY

ศูนย์โรคข้อ

โรงพยาบาลสุขุมวิท… ความก้าวล�้ำทางการแพทย์ เพื่อผู้ป่วยโรคข้อ

รักษาข้อเข่าเสื่อมด้วยเทคโนโลยีใหม่ ผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าบางส่วน ฉีดเกล็ดเลือด แผลเล็ก เจ็บน้อย ฟื้นตัวเร็ว “ภายในอีก 5-6 ปีข้างหน้า ประชากร ผู ้ สู ง อายุ ข องประเทศไทยจะเพิ่ ม ขึ้ น อี ก ประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ คือมีปริมาณเยอะ ขึ้นอย่างชัดเจน เพราะฉะนั้น หลีกเลี่ยงไม่ได้ เลยว่าประชากรเหล่านีจ้ ะมีปญ ั หาเรือ่ งโรคข้อ เพิ่มขึ้น”…

ทว่า ปัจจุบันนี้ วิวัฒนาการทางการแพทย์ ทีก่ า้ วล�ำ้ มาไกลได้เอือ้ ต่อการรักษาคนไข้ทเี่ ป็นโรค ข้อเข่าเสื่อมมากยิ่งขึ้น โดยมีเทคโนโลยีที่ผู้เข้ารับ การรักษาจะมีบาดแผลจากการผ่าตัดขนาดเล็กลง ทั้งยังเจ็บน้อยกว่า และสามารถฟื้นตัวได้เร็ว โรงพยาบาลสุขมุ วิท หนึง่ ในผูน้ ำ� ด้านการรักษาโรคข้อ ก็ได้น�ำนวัตกรรมการผ่าตัดเปลี่ยนผิวข้อเข่าเพียง นพ.พูนศักดิ์ อาจอ�ำนวยวิภาส หัวหน้าศูนย์- บางส่วน (UKA) เข้ามาใช้ในการรักษาคนไข้ ตลอด ศัลยกรรมกระดูกและข้อ โรงพยาบาลสุขุมวิท จนการรักษาด้วยวิธกี ารฉีดซีรมั่ เกล็ดเลือด (PRP) เปิ ด เผยถึ ง อี ก หนึ่ ง ปั จ จั ย ส� ำ คั ญ ของการเกิ ด และการดูแลคนไข้ด้วยเทคโนโลยีอันทันสมัยอื่นๆ ‘โรคข้อ’ ในคนไทยโดยโรคที่พบมากที่สุดในกลุ่ม อย่างครอบคลุม ซึ่งเทคโนโลยีดังกล่าวนี้มีข้อดี โรคข้อ ณ ปัจจุบัน ได้แก่ โรคข้อเข่าเสื่อม หลายอย่าง ทั้งแผลเล็ก เจ็บน้อย ฟื้นตัว ได้เร็ว อย่างไรก็ดี ในอดีตที่ผ่านมา เรื่องน่าหนักใจ “เราพบว่าผูป้ ว่ ยทีเ่ ข้ามารับการรักษาในแผนก ประการหนึง่ ของคนไข้ทตี่ อ้ งเข้ารับการรักษาอาการ กระดูกและข้อ หลักๆ จะมีอยู่ 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม ข้อเข่าเสื่อมคือการที่ต้องผ่าตัดเปลี่ยนผิวข้อเข่า ที่ปวดข้อ และกลุ่มที่ปวดหลัง แต่กลุ่มโรคข้อเป็น โดยจะต้องเปลีย่ นทัง้ หมด ส่งผลให้คนไข้ตอ้ งสูญเสีย กลุ่มใหญ่ซึ่งจะมีอยู่ 3 กลุ่ม ได้แก่ ข้อเข่า ข้อไหล่ ผิวข้อเข่าบริเวณที่ไม่เกี่ยวข้องไปด้วยโดยไม่ม ี และข้อสะโพก นอกจากนั้นก็จะมีข้ออื่นๆ เช่น ความจ�ำเป็น ข้อเท้า ข้อศอก ข้อมือ โดยหลักแล้วเราก็พบว่า คนไข้มีมากขึ้นเรื่อยๆ ตามปริมาณของประชากร สูงอายุที่เพิ่มขึ้นซึ่งภายในอีก 5-6 ปีข้างหน้าจะ เพิม่ ขึน้ อีก 20 เปอร์เซ็นต์ ซึง่ หลีกเลีย่ งไม่ได้เลยว่า ประชากรเหล่านี้จะมีปัญหาเรื่องโรคข้อเพิ่มขึ้น โรงพยาบาลสุขมุ วิทจึงเปิดศูนย์โรคข้อขึน้ มารองรับ และดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ เพื่อการดูแลผู้ป่วยอย่างมี ประสิทธิภาพและสมบูรณ์แบบยิ่งขึ้นครับ”

โรคข้อเข่าเสื่อม อันดับ 1 โรคข้อที่พบในคนไทย

“โรคเกี่ยวกับข้อที่พบบ่อยและคนไทยเป็น มากที่สุดอันดับหนึ่ง คือ โรคข้อเข่าเสื่อมครับ อันดับสองเป็นเรื่องของอาการปวดหลัง นอกนั้น ก็จะเป็นเรื่องปวดไหล่ ปวดข้อเท้า ปวดสะโพก ลดหลั่นกันไป อาการปวดข้อมักจะพบบ่อยใน 2 กลุ่ม คือ กลุ่มสูงอายุ ได้แก่ วัยตั้งแต่ 50 ปี ขึน้ ไป กลุม่ นีจ้ ะเป็นโรคข้อเสือ่ มหรือโรคข้อเข่าเสือ่ ม นั่นเอง ส่วนนี้จะมีปริมาณมากที่เข้ามารับบริการ ทุกวัน อีกกลุ่มคือกลุ่มที่อายุต�่ำกว่า 50 ปี คือ ตั้งแต่อายุประมาณ 20 ปีขนึ้ ไปจนถึง 50 ปี กลุม่ นี้ จะเป็นกลุม่ ที่ได้รับการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุหรือ จากการเล่นกีฬาซึง่ ก็จะเป็นการปวดข้ออีกแบบหนึง่ คือ ได้รบั การบาดเจ็บ อาจจะมีเส้นเอ็น หมอนรอง กระดูกฉีกขาดในข้อเข่าซึง่ ลักษณะพยาธิสภาพจะ แตกต่างจากผูส้ งู อายุ นอกจากนีแ้ ล้ว กลุม่ ทีม่ ปี ริมาณ น้อยๆ ลงไปได้แก่ โรคกลุ่มติดเชื้อ โรคข้อเรื้อรัง เช่น รูมาตอยด์ กลุม่ นีก้ ย็ งั มีประปรายให้เห็นอยูบ่ า้ ง”


A PUBLICATION OF HEALTHY & LIFESTYLE

ส�ำหรับสาเหตุของโรคข้อเข่าเสือ่ มประกอบด้วย หลายปัจจัย ได้แก่ อายุที่เพิ่มมากขึ้น เมื่ออายุ มากขึ้นผิวข้อก็จะมีความเสื่อมสภาพลงตามวัย ค�ำว่าเสื่อมสภาพหมายถึง ปริมาณน�้ำในผิวข้อ ความแข็งแรง ความยืดหยุ่นของข้อน้อยลงซึ่งจะ ส่งผลให้เกิดการแตกพังได้งา่ ย เมือ่ ใช้งานไปเรือ่ ยๆ ก็จะเกิดการแตก มีการเสื่อมสภาพ ลักษณะการ เสื่อมสภาพคือผิวข้อจะบางลง เป็นแผลมากขึ้น หลังจากนัน้ จะเกิดการเสียดสีกนั ขึน้ จะเกิดกระดูก งอก อักเสบ สุดท้ายแล้วจะเกิดปัญหาเรื่อง ข้อทรุด ข้อเบี้ยว ข้อเอียงซึ่งจะน�ำไปสู่การรักษา นอกจากนี้ อีกปัจจัยหนึ่งที่ท�ำให้เกิดการ เสื่อมสภาพของข้อคือการใช้งานผิดประเภท เช่น การนั่งพับเพียบ นั่งงอเข่าหรือนั่งคุกเข่านานๆ ลักษณะนี้จะท�ำให้ข้อเข่าพังได้เร็ว นอกจากนี้การ ได้รบั อุบตั เิ หตุมา เช่น รถชน มอเตอร์ไซค์ชน หรือ หกล้มเข่ากระแทกพื้นท�ำให้ขอ้ แตก ลักษณะเช่นนี้ ก็จะท�ำให้เกิดเป็นแผลในข้อเข่าซึง่ ต่อมาน�ำไปสูภ่ าวะ ข้อเข่าเสื่อมได้เช่นกัน

ผู้หญิงวัยหมดประจ�ำเดือน และผู้ชายวัย 70 ปีขึ้นไป ช่วงวัยนี้ต้องรับมือกับโรค ข้อเข่าเสื่อม

“เนือ่ งจากผูห้ ญิงวัยหมดประจ�ำเดือนคืออายุ 45 ปีขนึ้ ไปปริมาณฮอร์โมนจะลดลงอย่างรวดเร็ว ท�ำให้ข้อเสื่อมเร็วขึ้นประมาณ 3 เท่าตัว แล้วจะ ท�ำให้ความชุม่ ชืน้ ความแข็งแกร่งของผิวข้อลดลง เกิดการเสียดสีได้งา่ ยขึน้ นัน่ คือจุดเริม่ ต้นของการ มีข้อเข่าเสื่อมแล้ว “แต่อันที่จริงทุกรายมีข้อเข่าเสื่อมหมดนะ ครับ โดยช่วงอายุที่โรคเหล่านี้มักจะมาหาเราคือ ตั้งแต่อายุประมาณ 60 ปีขึ้นไปที่จะมีอาการ แต่ เราป้องกันให้มนั ชะลอได้และสามารถป้องกันทีจ่ ะ ไม่ให้มีอาการปวดได้ อันดับแรกเลยคือการดูแล หลังหมดประจ�ำเดือน หากหมดประจ�ำเดือนเร็ว กว่าปกติอาจจะมีการรับประทานฮอร์โมนเสริม หรือผูห้ ญิงทีห่ มดประจ�ำเดือนตามระยะเวลาก็อาจ จะบริหารร่างกาย บริหารเข่า ควบคุมน�้ำหนัก ปรับเปลีย่ นการใช้งานไม่ให้เกิดการกระแทกกระเทือน ตรงข้อเพือ่ ทีเ่ ราจะสามารถใช้ขอ้ เข่าได้นานขึน้ ส่วน กลุม่ ผูช้ ายส่วนใหญ่แล้วจะเริม่ มีอาการปวดให้เห็น

11

ชัดเจนตั้งแต่อายุ 70 ปีขึ้นไป เนื่องจากผู้ชายไม่ ได้มปี ญ ั หาเรือ่ งฮอร์โมน เรือ่ งน�ำ้ หนักและการใช้งาน เว้นแต่วา่ จะมีภาวะการบาดเจ็บทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ สมัย ยังหนุ่มซึ่งจะท�ำให้เกิดภาวะการเสื่อมขึ้นได้”

รู้ตัวว่าเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมแล้วไม่เข้ารับ การรักษา อาการหนักถึงเดินไม่ได้

“เคสหนักสุดทีเ่ คยเจอคือมีขอ้ เข่าเสือ่ มมาก จนเคลื่อนออกมา แล้วเข่าก็โก่งมาก คนไข้ไม่ สามารถเดินได้เนือ่ งจากกระดูกทรุดลงมา จะเจ็บ มากและบวมตลอดเวลา เรียกว่าแย่มากนะครับ ต้องท�ำการผ่าตัด ไม่เช่นนั้นคนไข้ก็เดินไม่ได้ แล้ว ข้อเข่าก็จะพังไป ฉะนัน้ เมือ่ รูว้ า่ ตัวเองเป็นข้อเข่าเสือ่ ม แล้วไม่ได้รบั การปรับตัว ไม่มกี ารบริหารข้อเข่าทีด่ ี อาการของข้อเข่าเสือ่ มก็จะแสดงให้เห็นตามล�ำดับ เช่น รู้สึกขัดๆ ในข้อเข่า ต่อมาจะเริ่มมีอาการ เจ็บเข่า เวลาใช้งาน อย่างเช่นการนั่งกับพื้น ขึน้ ลงบันได จากนัน้ จะเริม่ มีอาการบวม ปวด สุดท้าย คือปวดตลอดเวลา ลงน�ำ้ หนักไม่ไหว เจ็บ ทีส่ ดุ แล้ว คือเดินไม่ได้ นี่คือลักษณะอาการของข้อเข่าเสื่อม


12

APRIL 2019

I HEALTHY โดยหลักแล้วพบว่า มีผู้ป่วยกลุ่มโรคข้อเข้ามารับ การรักษาที่รพ.สุขุมวิทเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ตามปริมาณของประชากรสูงอายุ ที่มีเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน จึงได้มีการเปิดศูนย์โรคข้อขึ้นมา เพื่อรองรับและดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ เพื่อการดูแลได้มีประสิทธิภาพและ สมบูรณ์แบบยิ่งขึ้น

“ส่วนขั้นตอนการรักษา จะมีการแบ่งผู้ป่วย ออกเป็น 3 ระดับนะครับ ระดับแรก คือเริ่มต้น เป็น อายุนอ้ ย กรณีนกี้ ารรักษาส่วนใหญ่จะเป็นการ ให้รบั ประทานยาลดอาการอักเสบในช่วงแรก แล้ว แนะน�ำเรื่องการบริหารร่างกายให้กล้ามเนื้อเข่า แข็งแรงเพื่อที่จะควบคุมเข่าได้ดี น�้ำหนักที่ลงไปก็ จะผ่านทางกล้ามเนื้อ ผ่านทางข้อเข่าน้อยลง ข้อเข่าก็จะบาดเจ็บน้อยลง อาการปวดก็จะดีขึ้น และหายไป ส่วนระยะกลาง เมื่อมีอาการเจ็บเข่า บ่อยขึ้น แล้วอายุก็มากขึ้น การรักษานอกจากจะ รับประทานยาลดการอักเสบและการบริหารข้อเข่า แล้วก็ควรที่จะได้รับการฉีดน�้ำไขข้อหล่อลื่นเข้าไป ในเข่าซึง่ น�ำ้ ไขข้อถูกผลิตให้มสี ารโปรตีนเหมือนใน ข้อเข่าปกติ โดยทั่วไปแล้วน�้ำไขข้อควรได้รับการ ฉีดประมาณ 1 หรือ 2 ครั้งต่อปี ขึ้นอยู่กับชนิด ของน�้ำไขข้อ จุดนี้ก็จะเพิ่มการหล่อเลี้ยงข้อเข่า ให้การใช้งานข้อเข่าดีขึ้น ส่วนระยะสุดท้ายที่แย่ มากๆ คือข้อเข่ามีการสึกมาก จนเอียง ไม่สามารถ เดินได้ ก็ตอ้ งท�ำการผ่าตัดเปลีย่ นข้อเข่าเทียมเพือ่ ที่จะให้สามารถใช้งานได้ใหม่ “แต่อย่างไรก็ดี โครงสร้างของร่างกายมนุษย์ จะมีการเปลีย่ นแปลงตามวัยของเรา เพราะฉะนัน้ การรักษามุง่ เน้นไปทีเ่ รือ่ งของการลดภาวะแทรกซ้อน ลดอาการปวด และชะลอการเสื่อมสภาพให้มาก ที่สุดเท่าที่จะท�ำได้ เช่น การลดการกระแทก การบริหารกล้ามเนื้อให้แข็งแรง การลดน�้ำหนัก การฉีดน�ำ้ ไขข้อเข้าไป เหล่านีเ้ ป็นการรักษาประคอง สภาพเข่าให้สามารถใช้งานได้นานทีส่ ดุ เท่าทีท่ ำ� ได้ ในกรณีที่ข้อเข่าเสื่อมมากแล้ว การผ่าตัดเปลี่ยน ข้อเข่าเทียมก็มีความส�ำคัญโดยจะท�ำให้คนไข้

สามารถเดินได้อีกครั้ง โดยการผ่าตัดข้อเข่าเทียม ควรจะท�ำเมื่ออายุเหมาะสม แต่ก็ไม่ควรจะนาน เกินไป อายุเหมาะสมทีค่ วรจะท�ำคือเฉลีย่ ประมาณ 65 ปีขึ้นไป ยกเว้นคนไข้ที่มีสภาพข้อเข่าเสื่อม มาก ก็ท�ำเร็วกว่านั้นได้ หลังจากท�ำข้อเข่าเทียม แล้วคนไข้จะได้ผลทีด่ นี นั้ เส้นเอ็นยังต้องใช้งานได้ดี แต่บางท่านบางทีทิ้งจนอายุประมาณ 70-80 ปี แล้วมาท�ำ ผลการรักษาก็มกั จะไม่คอ่ ยดี เนือ่ งจาก การเปลีย่ นข้อเข่าเทียมเราจะเปลีย่ นเฉพาะผิวข้อ ไม่ได้เปลี่ยนเส้นเอ็น เส้นเอ็นยังใช้ชุดเดิม บางที ถ้าเส้นเอ็นยืด อักเสบมาก แม้จะผ่าตัดเปลี่ยนผิว ข้อเข่าเส้นเอ็นก็ยังใช้ชุดเดิม ก็ยังเดินก้อกแก้กๆ คนสมัยก่อนจึงมักบอกว่า เปลีย่ นข้อเข่าเทียมแล้ว ยังเดินได้ไม่ดเี นือ่ งจากระยะเวลาในการเปลีย่ นนาน เกินไปหรือเข่าเอียงมากเกินไป ท�ำให้ประสิทธิภาพ ผลการรักษาไม่ดีเท่าที่ควร”

รับมือโรคข้อเข่าเสื่อมอย่างปลอดภัย

“โรคข้อเข่าเสือ่ มเกีย่ วข้องกับอายุทมี่ ากขึน้ เกิดขึน้ ทุกคนแน่นอน แต่กไ็ ม่อยากให้มคี วามกังวล อยากให้ทราบว่าสามารถดูแลและใช้ข้อเข่าได้จน แก่เฒ่าโดยไม่ตอ้ งผ่าตัดก็ได้ หากดูแลได้ถกู วิธี การ ใช้งานเข่าควรจะต้องมีการระมัดระวังความเสี่ยง ที่ท�ำให้เข่าเสียได้ กีฬาที่อันตรายก็ควรหลีกเลี่ยง ถ้าไม่จ�ำเป็น นอกจากนี้แล้ว การควบคุมน�้ำหนัก ก็มีความส�ำคัญเช่นกัน อย่างไรก็ตามหากมีการ ปวดเข่าเกิน 2 อาทิตย์ก็ควรที่จะพบแพทย์เพื่อ ตรวจดูวา่ มีปญ ั หาภาวะของเข่าหรือไม่ หากพบว่า มีปญ ั หาข้อเข่าเสือ่ มจริง ท่านก็จะได้รบั ค�ำแนะน�ำ ที่ถูกต้อง เพื่อการดูแลข้อเข่าที่ดีต่อไป”

ทางเลือกใหม่ และเทคโนโลยีในการรักษา โรคข้อเข่าเสื่อม โรงพยาบาลสุขุมวิท

“โรคข้อเป็นโรคทีเ่ ป็นกันเยอะ ในบรรดาคนไข้ ทีเ่ ดินเข้ามาหาหมอกระดูกมีคนเป็นโรคทีเ่ กีย่ วกับ ข้อเป็นอันดับหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นคนอายุน้อย วัยกลางคน จนถึงขัน้ สูงอายุจะมีปญ ั หาเกีย่ วกับข้อ เต็มไปหมด หลายเรื่องหลายสาเหตุซึ่งการที่แยก ศูนย์โรคข้อออกมาก็จะท�ำให้คนไข้มนั่ ใจว่า ปัญหา ข้อทีเ่ ขามีอยูจ่ ะได้รบั การตรวจ ดูแล โดยทีมแพทย์ ทีเ่ ชีย่ วชาญโดยเฉพาะ มีการรักษาทีเ่ ฉพาะเจาะจง เป็นไฮ-เทคโนโลยี ได้ผลการรักษาที่ดี มีปัญหา แทรกซ้อนน้อย”….น.ท.นพ.เอกพงษ์ โกมลหิรณ ั ย์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านศัลยกรรมกระดูกและข้อ, เวชศาสตร์การกีฬา โรงพยาบาลสุขุมวิท กล่าว “สิ่งที่เรามีนับว่าทันสมัย เมื่อเทียบกับ โรงพยาบาลทัว่ ๆ ไปคือการรักษาด้วยวิธกี าร 3 แบบ ใหม่ ส�ำหรับคนที่เป็นข้อเสื่อม 3 ขั้น ตั้งแต่เป็น น้อย ปานกลาง และเป็นมาก เทคโนโลยีในการ รักษาที่เราน�ำมาใช้ในกรณีที่เป็นน้อย ได้แก่ การใช้เกล็ดเลือดเข้มข้นฉีดเข้าไปในข้อเข่า (PRP) ส�ำหรับคนทีเ่ ป็นปานกลางเราก็จะใช้วธิ กี ารผ่าตัด เปลีย่ นผิวข้อเข่าเทียมบางส่วน (UKA) กรณีทเี่ ป็น ข้อเข่าเสือ่ มมาก ขัน้ รุนแรงแล้ว ก็จะมีวธิ กี ารแบบ ใหม่ทเี่ รียกว่าการผ่าตัดเปลีย่ นผิวข้อเข่าเทียมด้วย คอมพิวเตอร์เข้าช่วย (TKA)”


A PUBLICATION OF HEALTHY & LIFESTYLE

การรักษาด้วยเกล็ดเลือดเข้มข้น ( PRP-Platelet Rich Plasma )

ปัญหาหลายอย่างในแง่ของการใช้งาน เช่น แผล ผ่าตัดใหญ่ เจ็บตัวเยอะ ปวดแผลมาก กว่าจะฟื้น ตัวได้ใช้เวลานาน และต่อให้ฟื้นตัวแล้ว ใช้งานได้ คงทีแ่ ล้ว ก็ไม่คอ่ ยเหมือนธรรมชาติ 100 เปอร์เซ็นต์ เพราะฉะนั้น โรงพยาบาลสุขุมวิทจึงใช้วิธีใหม่ ในการรักษา ด้วยการผ่าตัดที่ผิวข้อเข้าที่เสื่อมไป เพียงแค่บางส่วน ส่วนไหนเสือ่ มก็เปลีย่ นแค่สว่ นนัน้ ซึ่งข้อดีคือ แผลผ่าตัดเล็กลง เสียเลือดน้อยลง กล้ามเนื้อหรือเส้นเอ็นที่ถูกตัดก็จะเหลือน้อยลง ท�ำให้เจ็บน้อย เสียเลือดน้อย การฟื้นตัวก็เร็วขึ้น สามารถเดินได้คล่องเหมือนคนปกติ ภายในระยะ เวลาไม่เกิน 1 เดือนเมื่อเทียบกับการผ่าเปลี่ยน ข้อเข่าเทียมแบบเดิม

การผ่าตัดเปลี่ยนผิวข้อเข่าเทียมบางส่วน (UKA-Unicompartment Knee Arthroplasty) การรักษาด้วยวิธกี ารผ่าตัดเปลีย่ นผิวข้อเข่า

การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม ด้วยวิธีการส่องกล้อง

การรักษาด้วยการฉีดเกล็ดเลือดเข้มข้นเป็น เทคโนโลยีใหม่ในการรักษา เกล็ดเลือดจะอยู่ใน เลือดของร่างกายของเราเอง ในเลือดเราจะประกอบ ไปด้วย เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว น�้ำเหลือง และเกล็ดเลือดซึ่งในเกล็ดเลือดนี้จะมีสารที่เรียก ว่า Growth Factor เมื่อฉีดเข้าไปที่จุดไหนของ ร่างกายแล้ว ไม่วา่ จะเป็นข้อเข่าเสือ่ มหรือจุดอืน่ ๆ จะไปกระตุ้นให้ร่างกายสร้างหรือซ่อมแซมตัวมัน เอง เช่น ถ้าฉีดเข้าไปในข้อเข่า กระดูกอ่อนก็จะมี การสร้างหรือซ่อมแซมตัวมันเอง จึงสามารถรักษา โรคข้อเข่าเสื่อมได้

เทียมบางส่วนจะใช้ในกรณีทคี่ นไข้เป็นข้อเข่าเสือ่ ม ระยะปานกลาง หรือข้อเข่าที่เสื่อมและสึกไปบาง ส่วน เนื่องจากแต่เดิมคนไข้ที่ทานยาหรือฉีดยา แล้วไม่หายจะมีการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมซึ่ง จะเปลีย่ นทัง้ หมด นัน่ หมายความว่า ข้อเข่าบางส่วน ที่ยังดีอยู่จะถูกตัดทิ้งไปด้วย ขณะที่ข้อเข่าเทียมก็ ไม่สามารถใช้งานได้ดีดังเดิม ฉะนั้น คนที่ผ่าตัด เปลี่ยนข้อเข่าเทียมทั้งหมดแบบสมัยก่อนจึงมี

“การผ่าตัดส่องกล้องมีมานานแล้ว แต่สมัย ก่อนท�ำได้ไม่กี่ต�ำแหน่งและรักษาได้ไม่กี่โรค เช่น กรณีเอ็นไขว้หน้าฉีกขาดหรือหมอนรองเข่าฉีก เป็นต้น แต่ปจั จุบนั เทคโนโลยีการส่องกล้องมีการ พัฒนาไปมาก ท�ำให้สามารถใช้รกั ษาโรคข้อได้ แทบ จะทุกข้อในร่างกาย จ�ำนวนโรคทีจ่ ะสามารถรักษา ด้วยการส่องกล้องก็มีมากขึ้นด้วย ถ้ารักษาด้วย วิธีพื้นๆ แล้วไม่หาย ทานยาหรือฝังเข็มแล้วไม่ หาย ส่วนใหญ่สามารถจบได้ด้วยการส่องกล้อง มากกว่าการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเสียอีก ที่ส�ำคัญเมื่อ รักษาด้วยการส่องกล้องแล้วคนไข้จะได้ข้อเดิม เป็นข้อเดิมที่เราซ่อม รักษา ฟื้นฟูสภาพให้มันดี เพราะฉะนัน้ คนไข้จะยังใช้งานได้เหมือนธรรมชาติ ผลการรักษาจากการส่องกล้องจึงดีมากๆ

ข้อมูลโดย... นพ.พูนศักดิ์ อาจอ�ำนวยวิภาส หัวหน้าศูนย์ศัลยกรรม กระดูกและข้อ โรงพยาบาลสุขุมวิท

โรคข้อเข่าเสื่อมเกี่ยวข้องกับอายุที่ มากขึ้นและเกิดขึ้นทุกคนแน่นอน แต่สามารถดูแลและใช้ข้อเข่าได้จน แก่เฒ่า หากดูแลถูกวิธี

“สรุปว่าโรคข้อเข่าเสื่อมสามารถรักษา ได้หลายวิธี ไม่ว่าคนไข้จะเป็นน้อย เป็น ปานกลาง หรือเป็นมาก เราสามารถรักษา ได้หมด ผลการรักษาก็ดีมาก เมื่อเทียบกับ การรักษาสมัยก่อน ผู้ป่วยที่รู้สึกว่าตัวเอง ก�ำลังเป็นควรรีบเข้ามารักษา เพราะยิ่งเข้า รับการรักษาได้เร็วแค่ไหน การรักษาก็จะ ง่ายกว่า ปลอดภัยกว่า และประหยัดเงินกว่า แล้วผลการรักษาก็จะดีกว่าครับ”

ข้อมูลโดย... น.ท.นพ.เอกพงษ์ โกมลหิรัณย์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านศัลยกรรมกระดูกและข้อ, เวชศาสตร์การกีฬา โรงพยาบาลสุขุมวิท

13


14

APRIL 2019

I EAT HEALTHY

โภชนาการบ�ำรุงกระดูกและข้อ ในแต่ละช่วงวัย

สารอาหารหลักที่ช่วยในการบ�ำรุงกระดูกและข้อ ได้แก่ แคลเซียม และวิตามิน D ความต้องการแคลเซียมในแต่ละช่วงวัยนั้น • ผู้ใหญ่อายุ 19-50 ปี ควรได้รับแคลเซียม 1,000 mg/d • 50 ปีขึ้นไป ควรได้รับแคลเซียมที่มากขึ้น 1,200 mg/d


A PUBLICATION OF HEALTHY & LIFESTYLE

แหล่งอาหารที่มีแคลเซียมสูง ได้แก่ 1 ผักใบเขียว เช่น บล็อกโคลี่ คะน้า

อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง

• อาหารที่มีโซเดียมสูง เช่น อาหารแปรรูป ดอกกะหล�่ำ ผักกาดเขียว ผักกวางตุ้ง เนื้อสัตว์แปรรูป อาหารหมักดอง เครื่องปรุงรสที่ 2 นม ส�ำหรับผูท้ แี่ พ้นมวัว สามารถเปลีย่ น มีรสเค็มต่างๆ เป็นนมถั่วเหลืองที่มีการเสริมแคลเซียมแทนได้ • น�ำ้ อัดลม เนือ่ งจากมีสารฟอสเฟตสูง ท�ำให้ โดยแนะน�ำให้ดื่มนมอย่างน้อย 1-2 แก้ว/วัน ร่างกายดึงแคลเซียมจากกระดูกมาใช้มากขึ้น 3 ผลิตภัณฑ์จากนม เช่น ชีส เนย ส่งผลท�ำให้กระดูกบางลง โยเกิร์ต ควรเลือกชนิดไขมันต�่ำ • กาแฟ ชา ที่มีคาเฟอีนสูง รวมถึงควรงด 4 เนื้อสัตว์ โดยเฉพาะ ปลาทะเล การสูบบุหรี่ งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ฯลฯ ปลาซาร์ดีน ปลาแซลมอน ปลาตัวเล็กที่สามารถ รับประทานได้ทั้งก้าง ควรรับประทานอย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์ สุดท้าย หากรับประทานแคลเซียมจากอาหาร ทีไ่ ม่เพียงพอ สามารถทานอาหารเสริมจากยาเม็ด วิตามิน D แคลเซียมหรือผลิตภัณฑ์เสริมแทนได้ ทั้งนี้ควร ร่างกายสามารถสร้างเองได้ โดยสัมผัสกับ ปรึกษาแพทย์กอ่ นการใช้ยาหรือผลิตภัณฑ์อาหาร แสงอาทิตย์ออ่ นๆ ตอนเช้า แต่จากกิจวัตรประจ�ำวัน ทุกครั้ง (ในเมือง) มีการหลีกเลีย่ งแสงแดด ท�ำให้รา่ งกาย ได้รับวิตามิน D ไม่เพียงพอต่อความต้องการของ ร่างกาย ซึง่ สามารถหาแหล่งอาหารทีม่ วี ติ ามิน D รับประทานเพิม่ ได้ เช่น น�ำ้ มันตับปลา ปลาแซลมอน ข้อมูลโดย... คุณณรงค์ เติมพรเลิศ ต�ำแหน่ง นักก�ำหนดอาหาร ประจ�ำโรงพยาบาลสุขุมวิท

15


16

APRIL 2019

I UPDATE

ชีวิตใหม่หลังการผ่าตัด เปลี่ยนผิวข้อเข่าเทียมบางส่วน (UKA-UNICOMPARTMENT KNEE ARTHROPLASTY) ของผู้ป่วยโรคข้อวัย 70 ปี

แม้เข้าสู่ช่วงบั้นปลาย หากเชื่อว่าผู้สูงวัย หลายท่านปรารถนาจะรักษาสภาพร่างกายให้ สมบูรณ์แข็งแรงไว้ให้ได้มากที่สุด เพื่อลดภาระ ของลูกหลานและเพื่อการด�ำรงชีวิตอย่างมี ความสุข ทว่า โรคภัยไข้เจ็บบางครั้งเป็นสิ่งที่ไม่ ได้ถามหา แต่จะมาพร้อมกับอายุที่เพิ่มมากขึ้น อย่างขาดเสียไม่ได้ ทางออกที่ดีสุดส�ำหรับ คนวัยนี้นอกจากพยายามดูแลตัวเองให้ดีที่สุด เท่าที่จะสามารถท�ำได้แล้ว การได้รับการรักษา ที่ตรงจุดกับอาการของโรคที่เป็นแล้วย่อมน�ำมา เข้ารับการรักษาด้วยการฝังเข็มแต่สุดท้ายก็ไม่ ซึ่งความสุขกายสบายใจ สามารถพึง่ พาวิธกี ารนีไ้ ด้อกี วันหนึง่ โชคก็เข้าข้าง

คุณนกเล็กมีปัญหา เรื่องข้อเข่าเสื่อมทั้งสองข้าง ข้างขวาเป็นมากแล้ว ส่วนข้างซ้าย เป็นระยะเริ่มต้น ข้างขวาจากการ ตรวจร่างกายและเอ็กซ์เรย์แล้ว พบว่า ผิวข้อที่สึก สึกไปเฉพาะ ด้านเดียว คือด้านใน ส่วนด้านนอก และผิวใต้สะบ้ายังดีอยู่ เพราะฉะนั้น ก็เข้าเกณฑ์การผ่าตัดเปลี่ยน ผิวข้อเข่าเทียมบางส่วนได้ซึ่งคนไข้ ก็ตัดสินใจท�ำตามที่เราแนะน�ำ หลังจากผ่าตัดแล้วคนไข้นอน โรงพยาบาล 4-5 คืน ก็กลับบ้านได้ ในสภาพที่เดินเหินได้ด้วยตัวเอง ไม่ต้องนั่งรถเข็น ใช้ไม้เท้าประคอง เป็นบางครั้งที่ต้องเดินทางไปไกลๆ

คุณนกเล็ก หญิงสูงวัยชาวจังหวัดน่านทีท่ ำ� งาน หนักมาตลอดกว่า 70 ปี เธอพบว่าตัวเองเป็นโรค ข้อเข่าเสือ่ มทัง้ 2 ข้างซึง่ เธอยอมรับว่านีค่ อื อุปสรรค ส�ำคัญต่อการด�ำเนินชีวิต เนื่องจากตัวเธอเองยัง มีเหตุให้ตอ้ งเดินทางไปต่างประเทศเป็นระยะ เคย

เธอทราบข่ า วความก้ า วหน้ า ของเทคโนโลยี การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมของโรงพยาบาลสุขุมวิท จึงตัดสินใจเดินทางจากภาคเหนือมาเพื่อรับการ รักษา ภายใต้ความดูแลของ น.ท.นพ.เอกพงษ์ โกมลหิรัณย์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านศัลยกรรม กระดูก โรงพยาบาลสุขุมวิท


A PUBLICATION OF HEALTHY & LIFESTYLE

ผลจากการวินิจฉัยทางการแพทย์ คุณหมอ ตรวจพบว่าคุณนกเล็กมีปัญหาเรื่องข้อเข่าเสื่อม ทั้งสองข้าง ข้างขวาเป็นมากแล้ว ส่วนข้างซ้าย เป็นในระยะเริ่มต้นซึ่งจากการตรวจร่างกายและ เชคเอ็กซ์เรย์แล้วพบว่า ผิวข้อที่สึก สึกไปเฉพาะ ด้านเดียวคือด้านใน ส่วนด้านนอกและผิวใต้สะบ้า ยังดีอยู่ซึ่งสามารถรักษาได้ด้วยการผ่าตัดเปลี่ยน ผิวข้อเข่าเทียมบางส่วน (UKA-Unicompartment Knee Arthroplasty) การผ่าตัดเปลีย่ นผิวข้อเข่าเทียมบางส่วน หรือ UKA คือการผ่าตัดผิวข้อเข่าเฉพาะส่วนที่เสื่อม ออก โดยเก็บรักษาผิวข้อเข่าในส่วนทีย่ งั อยูใ่ นสภาพ ดีไว้ แล้วทดแทนด้วยผิวข้อเทียมเพียงบางส่วน ซึ่งในอดีตผู้ป่วยที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อม มักนิยม ผ่าตัดเปลีย่ นผิวข้อเข่าเทียมทัง้ หมด (TKA) ส่งผล ให้ต้องสูญเสียผิวข้อเข่าส่วนที่ยังอยู่ในสภาพดี ไป ท�ำให้ไม่สามารถใช้ข้อเข่าได้เหมือนธรรมชาติ ไม่สามารถนัง่ กับพืน้ นัง่ ยองๆ พับเพียบ ขัดสมาธิ รวมทั้งวิ่งหรือออกก�ำลังกายได้ ดังนั้น การผ่าตัด เปลี่ยนผิวข้อเข่าเทียมบางส่วนจึงเป็นวิธีที่ท�ำให้ สามารถใช้งานข้อเข่าเดิมได้อย่างเป็นธรรมชาติ โดยจุดเด่นของการรักษาด้วยวิธีการนี้คือ จะ ช่วยให้บาดแผลมีขนาดเล็กลงมาก เจ็บน้อย เสีย เลือดในการผ่าตัดลดลง และผูป้ ว่ ยจะสามารถกลับ

17

เท่านัน้ เอง แล้วก็ปวดน้อยมาก เสียเลือดนิดหน่อย หลังจากผ่าตัดประมาณ 300 ซีซี ถือว่าไม่เยอะ เลย หลังผ่าเริ่มฝึกเดินกายภาพประมาณวันที่ 2 คนไข้นอนโรงพยาบาล 4-5 คืนก็กลับบ้านได้ใน สภาพที่เดินเหินได้ด้วยตัวเอง ไม่ต้องมีใครช่วย พยุง ไม่ต้องนั่งรถเข็น ใช้ไม้เท้าประคองเป็นบาง ครัง้ ทีต่ อ้ งเดินทางไปไกลๆ แต่ถา้ เดินอยูใ่ นห้อง ใน บ้านไม่ตอ้ งใช้ไม้เท้า ระหว่างนีย้ งั จะต้องมีนดั กลับ มาตรวจอีกเป็นระยะๆ หลังจากผ่าตัด “คนไข้เดินทางมาไกลมากซึ่งเขาไม่เคยรู้จัก โรงพยาบาลเรามาก่อน เขาดูหนังสือพิมพ์หรือ รายการโทรทั ศ น์ ที่ ท างโรงพยาบาลสุ ขุ ม วิ ท ได้ประชาสัมพันธ์ออกไป แล้วสนใจจึงโทรเข้ามา แล้วก็ท�ำนัดเข้ามาตรวจซึ่งก็ถือว่าน่าประทับใจ มากทีค่ นไข้ซงึ่ อยูไ่ กลถึงจังหวัดน่านยังให้ความเชือ่ ถือเรา แล้วก็เข้ามารับการรักษา มาผ่าตัดที่เรา ผลการรักษาก็นับว่าน่าพอใจอย่างยิ่งครับ” มาเดินได้เร็วกว่าการผ่าตัดด้วยวิธีแบบเดิม คือ ภายใน 1-2 วันหลังการผ่าตัด และท�ำงานได้ตาม ปกติภายใน 3-4 สัปดาห์ ทั้งยังสามารถเก็บเส้น เอ็นและผิวข้อเข่าส่วนที่ดีไว้ได้ มีภาวะแทรกซ้อน น้อย และสามารถใช้ข้อเข่าได้ดีใกล้เคียงธรรมชาติ “คุณนกเล็กมีปัญหาเรื่องข้อเข่าเสื่อมทั้งสอง ข้าง คนไข้เคยกินยา เคยฉีดเสตียรอยด์มาแล้วก็ ยังไม่หาย หมอจึงแนะน�ำเรื่องการฉีดเกล็ดเลือด เข้มข้นให้หรือ PRP ซึ่งตอนนี้ก็ฉีดไป 2 รอบแล้ว สุดท้ายจะนัดมาฉีดอีกรอบหนึง่ เพราะปกติเราฉีด ทั้งหมด 3 รอบส�ำหรับคนที่เป็นข้อเข่าเสื่อม นะครับ ส่วนข้างขวาที่ผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม บางส่วนไป แผลผ่าตัดก็อยูป่ ระมาณสัก 5-6 ซม.

ขอบคุณข้อมูล : น.ท.นพ.เอกพงษ์ โกมลหิรัณย์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านศัลยกรรมกระดูกและข้อ, เวชศาสตร์การกีฬา โรงพยาบาลสุขุมวิท


18

APRIL 2019

I LOVE TECHNOLOGY

รู้จัก! เทคโนโลยีการผ่าตัด

เปลี่ยนผิวข้อเข่าเทียมบางส่วน UKA

UKA UNICOMPARTMENT KNEE ARTHROPLASTY

ในอดีตผูป้ ว่ ยทีม่ ภี าวะข้อเข่าเสือ่ ม มักนิยม ผ่าตัดเปลี่ยนผิวข้อเข่าเทียมทั้งหมด (TKA) ซึง่ พบว่าต้องยอมสูญเสียผิวข้อเข่าทีย่ งั อยูใ่ น สภาพดีไป ท�ำให้ไม่สามารถใช้ขอ้ เข่าได้เหมือน ธรรมชาติ ไม่สามารถนั่งกับพื้น นั่งยองๆ พับเพียบ ขัดสมาธิรวมทัง้ วิง่ หรือออกก�ำลังกาย ได้ ดังนั้นการผ่าตัดเปลี่ยนผิวข้อเข่าเทียม บางส่วนจึงเป็นวิธีที่ท�ำให้สามารถใช้งาน ข้อเข่าเดิมได้อย่างเป็นธรรมชาติ ปัจจุบันนี้ วิวัฒนาการทางการแพทย์ ก้าวล�้ำมาไกลได้เอื้อต่อการรักษาคนไข้ที่เป็น โรคข้อเข่าเสื่อมมากยิ่งขึ้น โดยมีเทคโนโลยี ทีผ่ เู้ ข้ารับการรักษาจะมีบาดแผลจากการผ่าตัด ขนาดเล็กลง เจ็บน้อยลง และสามารถฟื้นตัว ได้เร็ว “เราพบว่าผู้ป่วยที่เข้ามารับการรักษาใน แผนกกระดูกและข้อหลักๆ มีอยู่ 2 กลุ่ม คือ กลุม่ ปวดข้อ และกลุม่ ทีป่ วดหลัง โดยหลักแล้ว เราก็พบว่าคนไข้มเี ยอะขึน้ เรือ่ ยๆ และหลีกเลีย่ ง ไม่ได้เลยว่าประชากรเหล่านี้อาจจะมีปัญหา เรื่องโรคข้อเพิ่มขึ้น”


A PUBLICATION OF HEALTHY & LIFESTYLE

UKA คืออะไร

UKA คือการผ่าตัดเอาผิวข้อเข่าเฉพาะส่วนที่เสื่อมออก โดยเก็บรักษาผิวข้อเข่าในส่วนที่ยังอยู่ในสภาพดีไว้ แล้วทดแทนด้วยผิวข้อเทียมในบางส่วน

ข้อดีของการรักษา

• บาดแผลผ่าตัดมีขนาดเล็กลงมาก เจ็บน้อย • เสียเลือดในการผ่าตัดลดลง • สามารถท�ำให้ผู้ป่วยเดินได้เร็วกว่าการผ่าตัดด้วยวิธีแบบเดิม • ผู้ป่วยเริ่มเดินได้ภายใน 1-2 วันหลังการผ่าตัด และท�ำงานได้ตามปกติภายใน 3-4 สัปดาห์ • มีภาวะแทรกซ้อนน้อยลง • สามารถเก็บเส้นเอ็น และผิวข้อเข่าส่วนที่ดีเอาไว้ได้ • สามารถใช้ข้อเข่าได้ดีใกล้เคียงธรรมชาติ เช่น นั่งกับพื้น นั่งยองๆ พับเพียบ ขัดสมาธิ รวมทั้งวิ่ง หรือออกก�ำลังกายได้

ข้อจ�ำกัด

• การผ่าตัดวิธีนี้ท�ำได้ยากกว่าการผ่าตัดด้วยวิธีแบบเดิม จ�ำเป็นต้องใช้แพทย์ที่มีความช�ำนาญในการผ่าตัดเป็นพิเศษ • ไม่เหมาะที่จะท�ำการผ่าตัดในผู้ป่วยที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมมาก • ผู้ป่วยที่มีภาวะกระดูกพรุนขั้นรุนแรง หรือมีน�้ำหนักตัวมากอาจไม่เหมาะสม

ข้อแนะน�ำ

การรักษาภาวะข้อเข่าเสื่อมโดยการ ผ่าตัดเปลีย่ นผิวข้อเข่าเทียมบางส่วน(UKA) ผู้ป่วยจ�ำเป็นต้องมาพบแพทย์ โดยเร็ว ก่อนที่ภาวะข้อเข่าเสื่อมจะเป็นมากเกินไป และจ�ำเป็นต้องท�ำการผ่าตัดโดยแพทย์ที่ มีความช�ำนาญในการผ่าตัดด้วยวิธีน้ี เท่านั้น

19


20

APRIL 2019

I KIDS ลักษณะอาการของโรค

โรคลมชักมีหลายประเภท ได้แก่ การชัก ที่ มี ผ ลต่ อ ทุ ก ส่ ว นของสมองที่ เ รี ย กว่ า “Convulsions หรือ Generalized Seizures” และการชักทีม่ ผี ลต่อส่วนใดส่วนหนึง่ ของสมอง ที่เรียกว่า “Partial Seizures”

1 การชักที่มีผลต่อทุกส่วนของสมอง

(Generalized Seizures) หรือทีค่ นทัว่ ไปเรียกว่า “ลมบ้าหมู” อาการ ของลมชักประเภทนีม้ กั เกิดขึน้ โดยไม่มสี ญ ั ญาณ เตือน อาการแสดงที่พบได้บ่อยที่สุดของโรค ลมชักประเภทนี้ คือ “อาการชักเกร็งทั้งตัว” โดยช่วงแรกของการชัก ผูป้ ว่ ยจะมีอาการเกร็ง และอาจหกล้ม หลังจากนัน้ กล้ามเนือ้ จะมีการ คลายตัวและตึงตัวเป็นจังหวะสลับกัน หลังจาก การชักผูป้ ว่ ยอาจรูส้ กึ เหนือ่ ย สับสน ปวดศีรษะ และอาจต้องการพักผ่อนเพือ่ กลับสูส่ ภาวะปกติ นอกจากอาการชักเกร็งทั้งตัวหรือลมบ้าหมู แล้ว ยังมีอาการชักแบบอื่นๆ อีก ที่จัดเป็น อาการชักทีเ่ กิดจากการท�ำงานผิดปกติทที่ กุ ส่วน ของสมอง เช่น อาการเหม่อลอย หรือเรียกว่า คนไทยมีคนเป็นโรคลมชักประมาณ 600,000 คน ในเด็กไม่ทราบจ�ำนวนที่แน่นอน Absence Seizures แต่สามารถประมาณได้ ถ้าเด็กคือคนที่มีอายุน้อยกว่า 15 ปี ประเทศไทยจะมีเด็ก 6 ล้านคน 2 การชักทีม่ ผี ลต่อส่วนใดส่วนหนึง่ ของสมอง รวมชาย หญิง โรคลมชักตัวเลขทั้งโลกประมาณ 0.5-1% ของประชากรเด็ก ในประเทศเจริญ (Partial Seizures) พบน้อยกว่า ประเทศพัฒนาน้อยพบมากกว่า ดังนัน้ โดยประมาณเราน่าจะมีเด็กทีเ่ ป็นโรคลมชัก อาการของลมชักประเภทนี้ สมองจะถูก รบกวนเพียงบางส่วน บางครัง้ เรียกว่า “Focal 30,000-60,000 คน ทั่วประเทศ Seizures” อาการแสดงของผู้ป่วยจะขึ้นกับ โรคลมชัก พบได้ในทุกช่วงอายุ โดยจะพบ สมองมักจะแสดงให้เห็นถึงความผิดปกติทเี่ กิด ต�ำแหน่งของสมองที่ได้รับผลกระทบ การชัก ในคนอายุน้อยแรกเกิดมากสุด ค่อยลดลงเมื่อ ขึ้น Idiopathic Epilepsy เป็นโรคลมชักที่ไม่มี ชนิดนี้แบ่งเป็น 2 ประเภท โดยการรู้ตัวของ อายุมากขึ้น และสูงขึ้นอีกเมื่ออายุมากขึ้น ใน สาเหตุชัดเจน แต่เชื่อว่าน่าจะมีส่วนมาจาก ผู้ป่วยคือ “Simple Partial Seizures” และ ผู้สูงอายุ โรคลมชักพบในเด็กมากกว่าผู้ใหญ่ กรรมพันธุ์ โดยที่ผู้ช่วยหรือคนในครอบครัว “Complex Partial Seizures” ถ้าผู้ป่วยมีสติ สาเหตุของการเกิดโรคลมชัก จะมีความต้านทานต่อการชักในระดับต�่ำกว่า ขณะชักจัดเป็น “Simple Partial Seizures” สาเหตุ ข องการชั ก แบ่ ง ได้ ก ว้ า งมาก ปกติ ผู้ป่วยในกลุ่มนี้มักจะไม่มีความผิดปกติ ผู้ป่วยอาจมีอาการกระตุกของกล้ามเนื้อแขน โรคลมชักเกิดได้จากทุกสาเหตุที่มีผลกระทบ อย่างอื่นร่วมด้วย Cryptogenic Epilepsy หรือขาข้างใดข้างหนึง่ เป็นจังหวะ หรือการรับรู้ ต่อสมอง อย่างไรก็ตามไม่ใช่เรื่องแปลกถ้า เป็นสาเหตุที่ไม่สามารถจัดอยู่ใน 2 กลุ่มแรก รสผิดปกติ หรือการรับสัมผัสที่ผิดปกติใน ผูป้ ว่ ยโรคลมชักบางรายจะหาสาเหตุของโรคนี้ ได้ เนือ่ งจากไม่ทราบสาเหตุของการชัก จะจัด บางส่วนของร่างกาย บางครัง้ Simple Partial ไม่พบ โดยทัว่ ไปสาเหตุของโรคลมชักสามารถ ผู้ป่วยอยู่ในกลุ่มนี้ถึงแม้ว่าจะไม่พบสาเหตุที่ Seizures อาจถือเป็นอาการเตือนบอกเหตุ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ ชัดเจน แต่เชื่อว่าน่าจะมีความผิดปกติทาง ถ้าการชักของผูป้ ว่ ยท�ำให้เกิดการเปลีย่ นแปลง Symptomatic Epilepsy เป็นโรคลมชัก ร่างกายการป้องกันคือป้องกันการกระทบ หรือมีผลกระทบต่อการรูต้ วั จัดเป็น “Complex ที่มีสาเหตุชัดเจน เช่น การที่สมองได้รับความ กระเทือนของสมอง ส่วนรายที่ไม่มีสาเหตุมัก Partial Seizures” ผู้ป่วยอาจจ�ำเหตุการณ์ กระทบกระเทือนจากอุบัติเหตุ การติดเชื้อใน เกิดจากสาเหตุด้านพันธุกรรม ป้องกันไม่ได้ ขณะชักได้เล็กน้อยหรือจ�ำไม่ได้เลย การชักอาจ สมอง หรือ การที่สมองขาดเลือด หรือมีรอย มักถ่ายทอดความผิดปกติจากพ่อหรือแม่ หรือ แสดงอาการโดยการเปลีย่ นแปลงการรับรูพ้ ร้อม กับการเคลื่อนไหวโดยอัตโนมัติ เช่น การจับ แผลเป็นในสมอง โดยทัว่ ๆ ไป การตรวจสแกน คนในครอบครัว

รับมือโรคที่มากับฤดูร้อนส�ำหรับเด็ก

“โรคลมชัก”


A PUBLICATION OF HEALTHY & LIFESTYLE

เสื้อผ้าหรือสิ่งของ การพูดพึมพ�ำ หรือการ เคี้ยวซ�้ำๆ อย่างไร้จุดหมาย และสับสนบาง ครั้งในบางกรณี ผู้ป่วยอาจตอบสนองถ้าพูด ด้วย อาการชักประเภทนี้มักเกิดจากความผิด ปกติใน Temporal Lobes จึงอาจเรียกว่า “Temporal Lobe Epilepsy” อย่างไรก็ตาม อาการชักประเภทนีอ้ าจเกิดจากความผิดปกติ ของสมองส่วน Frontal lobe, Parietal lobe และ Occipital lobe ได้เช่นกัน ส�ำหรับผู้ป่วย บางราย การชักที่มีผลต่อส่วนหนึ่งของสมอง หรือ Partial Seizures ทั้ง 2 ประเภทนี้ อาจ ลุกลามไปมีผลต่อทุกส่วนของสมองได้ซึ่งหาก เกิดขึ้นเราจะเรียกภาวะนี้ว่า “Secondarily Generalized Seizure” ผู้ป่วยจะไม่รู้สึกตัว ขณะชัก และถ้าอาการลุกลามอย่างรวดเร็วจน ท�ำให้ผู้ป่วยไม่ทราบว่าตัวเองมีอาการชักแบบ Partial นัน้ มาก่อนดังทีไ่ ด้กล่าวมาแล้วข้างต้น เมื่อผู้ป่วยมีการชักเกิดขึ้น โดยเฉพาะการชัก แบบ Generalized หรือ Complex Partial Seizures ผู้ป่วยอาจจ�ำเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไม่ ได้ ดังนั้น ข้อมูลการชักของผู้ป่วยจากบุคคล ใกล้ชิดจะเป็นประโยชน์อย่างมาก นอกจากนี้ ในการวินจิ ฉัยโรคลมชักยังต้องอาศัยการตรวจ วิเคราะห์ด้วยวิธีต่างๆ เช่น การตรวจเลือด การตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง (EEG) การตรวจ สแกนสมอง เช่น การถ่ายภาพเอ็กซเรย์ด้วย เครื่องคอมพิวเตอร์ (CT) หรือการตรวจด้วย คลื่นแม่เหล็ก (MRI) โดยทั่วไปการวินิจฉัยว่า ผูป้ ว่ ยเป็นโรคลมชักนัน้ จะท�ำหลังจากทีผ่ ปู้ ว่ ย เคยมีอาการชักมากกว่า 1 ครั้ง นอกจากนี ้ ผู้ป่วยโรคลมชักอาจเคยมีประสบการณ์ชักได้ มากกว่าหนึ่งประเภท สิ่งส�ำคัญที่พึงตระหนัก คือ ไม่มีการตรวจโดยวิธีใดๆ ที่จะสามารถ ยืนยันหรือวินิจฉัยโรคลมชักได้

วิธีรับมือกับโรคลมชัก การดูแล รักษา

พบว่า 70% ของผูป้ ว่ ยโรคลมชักสามารถ ค�ำแนะน�ำจากคุณหมอเมื่อการชักเกิดขึ้น ควบคุมอาการชักได้โดยการใช้ยากันชัก ยากัน ควรท�ำอย่างไร ชักนีส้ ามารถป้องกันการชักได้ แต่อย่างไรก็ตาม •ท�ำตัวให้สบาย โรคลมชักนั้น ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ •อย่ า บั ง คั บ หรื อ พยายามหยุ ด การ ในปัจจุบัน ยากันชักมีด้วยกันหลายชนิด การ เคลื่อนไหวของผู้ป่วย ใช้ยาในแต่ละชนิดจะขึน้ กับลักษณะของอาการ •จับเวลาของการชัก เพื่อดูระยะเวลา การชัก และประเภทของโรคลมชักทีผ่ ปู้ ว่ ยเป็น ของการชัก อยู่ ในผู้ป่วยบางราย เมื่อใช้ยากันชักไประยะ •จัดพืน้ ทีใ่ ห้ผปู้ ว่ ยปลอดภัยขณะชักจาก หนึง่ จะมีแนวโน้มของการชักลดลง ท�ำให้สามารถ วัตถุหนักและแหลมคม หยุดการใช้ยากันชักได้ แต่ในผู้ป่วยบางราย • คลายเนคไท หรือสิ่งที่อยู่บริเวณคอ อาจจ�ำเป็นต้องใช้ยากันชักเป็นระยะเวลานาน ผู้ป่วยที่อาจท�ำให้เกิดการหายใจล�ำบาก หรือตลอดชีวิต แม้ว่าจะหยุดชักแล้วก็ตาม •หาวัสดุทแี่ บน และอ่อนนุม่ หนุนบริเวณ ตัวอย่างเช่น ในผูป้ ว่ ยทีม่ รี อยแผลเป็นในสมอง คอด้านหลังของผู้ป่วย เช่น เสื้อคลุม หรือ ยังคงมีอยู่ ผู้ป่วยบางรายไม่สามารถควบคุม หมอนรองนั่ง อาการของโรคลมชักได้อย่างสมบูรณ์ แม้วา่ จะ •เคลื่อนย้ายผู้ป่วย หากขณะชักผู้ป่วย ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องและเหมาะสมกับ อยูใ่ นสถานทีอ่ นั ตราย เช่น บนขัน้ บันได หรือ ชนิดของการชักทีเ่ ป็นอยู่ ถ้าผูป้ ว่ ยไม่ตอบสนอง ถนน เท่านั้น ต่อการใช้ยากันชัก ยังมีอกี หลายวิธใี นการรักษา •อย่าจ�ำกัดหรือผูกมัดการเคลื่อนไหว โรคลมชัก อย่างไรก็ตาม วิธีการรักษาเหล่านี้ ของผู้ป่วยขณะชัก เนื่องจากอาจท�ำให้ผู้ป่วย อาจไม่เหมาะกับผูป้ ว่ ยทุกท่าน ทีไ่ ม่ตอบสนอง และผู้ช่วยเหลือเกิดการบาดเจ็บได้ ต่อยากันชัก การรักษาโรคลมชักโดยการผ่าตัด •จับผู้ป่วยตะแคงข้าง ข้างใดข้างหนึ่ง (Epilepsy Surgery) ท�ำในผูป้ ว่ ยจ�ำนวนเล็ก อย่างนุ่มนวล ทั้งนี้เพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง น้อยที่อาจรักษาได้ผลด้วยวิธีการผ่าตัด การ •อย่าพยายามอ้าปากผู้ป่วยด้วยวัสดุ แข็งหรือนิ้วมือ เนื่องจากเป็นความเชื่อที่ผิด ผ่าตัดจะถูกน�ำมาพิจารณา ถ้า..... 1 สามารถระบุตำ� แหน่งของรอยโรคใน ว่าผู้ป่วยอาจกลืนลิ้นตัวเองขณะชัก •อยู่กับผู้ป่วยจนกว่าผู้ป่วยจะหยุดชัก สมองที่ท�ำให้เกิดการชักได้ •เป็นมิตรและท�ำให้ผปู้ ว่ ยอบอุน่ ใจจนกว่า 2 การใช้ยากันชักไม่ได้ผล 3 ต�ำแหน่งทีเ่ ป็นสามารถท�ำการผ่าตัด สติสัมปชัญญะของผู้ป่วยจะกลับสู่สภาวะ ได้ โดยไม่ท�ำความเสียหายให้เนื้อสมองส่วน ปกติ อื่น 4 ผู้ป่วยไม่มีผลกระทบจากการผ่าตัด เอาเนื้อสมองบางส่วนออก ก่อนการผ่าตัด จะมีการตรวจวินจิ ฉัยโดย การท�ำ MRI Scan, การบันทึกวีดีโอ/EEG และการทดสอบทางจิตเวชและระบบประสาท ก่อน มากกว่า 70% ของผู้ป่วยที่ได้รับการ ผ่าตัด จะหายขาดจากอาการชักได้ และสิ่ง ส�ำคัญที่ต้องระลึกเสมอคือ หลังการผ่าตัดยัง อาจจ�ำเป็นต้องใช้ยาต่อในบางครั้ง ส�ำหรับโรคลมชัก หากไม่ได้รับการรักษา ผูป้ ว่ ยจะมีสมองกระทบกระเทือนมากขึน้ พิการ ขอบคุณข้อมูล : แทรกซ้อน มากขึน้ คุณภาพชีวติ ลดลง ท�ำงาน นพ.นที รักษดาวรรณ ไม่ได้ ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ และเสียชีวิตก่อน แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารเวชศาสตร์ประสาทวิทยา โรงพยาบาลสุขุมวิท วัยอันควร

21


22

APRIL 2019

I MEDICAL CENTER

เทคโนโลยีการักษา

โรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา เมื่อเทียบสัดส่วนต่อประชากรคนไทยพบว่า มีผู้ป่วยโรคเบาหวานอยู่ประมาณ 10-15% โดย มีแนวโน้มเพิม่ สูงขึน้ เรือ่ ยๆ และมีแนวโน้มเกิดโรค ในกลุม่ คนทีม่ อี ายุนอ้ ยลง สาเหตุเกิดจากพฤติกรรม การรับประทานอาหารทีไ่ ม่เหมาะสม เช่น อาหาร ฟาสต์ฟูดส์ อาหารที่มีแคลอรีสูง มีน�้ำตาลสูง คาร์โบไฮเดรตสูง ท�ำให้สมดุลของการน�ำน�้ำตาล ไปใช้เป็นพลังงานกับส่วนทีเ่ หลือค้างในกระแสเลือด ผิดไปจากทีค่ วรจะเป็น ส่งผลให้เกิดโรคเบาหวานขึน้ นอกจากนี้พันธุกรรมยังเป็นอีกหนึ่งสาเหตุส�ำคัญ คือเมื่อพ่อแม่ป่วยเป็นเบาหวาน ลูกๆ ก็มีโอกาส เสี่ยงต่อโรคเบาหวานมากขึ้น เมื่อภาพรวมแนว โน้มอุบตั กิ ารณ์ของโรคเบาหวานในประชากรสูงขึน้ ย่อมส่งผลให้อุบัติการณ์ของโรคเบาหวานเข้าจอ ประสาทตาสูงขึ้นตามไปด้วย การรับมือกับ สถานการณ์ดังกล่าวนั้น จ�ำเป็นต้องปรับเปลี่ยน พฤติ ก รรมการรั บ ประทานอาหารและการ ออกก�ำลังกายให้เหมาะสม ต้องอาศัยความร่วม มือระหว่างอายุรแพทย์ผู้รักษาโรคเบาหวานและ จักษุแพทย์ประสานงานกันเพื่อให้ผู้ป่วยที่เป็น โรคเบาหวานทุกรายได้รบั การตรวจจอประสาทตา อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อให้สามารถรับการ วินจิ ฉัยโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาได้ในระยะ เริ่มแรก และให้การรักษาอย่างทันท่วงที

ความล�้ำหน้าของนวัตกรรมเกี่ยวกับการ ตรวจรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา ของโรงพยาบาลสุขุมวิท

การตรวจวินจิ ฉัยโรคเบาหวานเข้าจอประสาท ตาด้วยวิธีมาตรฐาน คือการตรวจจอประสาทตา ด้วยวิธีขยายม่านตา ซึ่งเป็นวิธีที่ใช้กันทั่วไป โดย พยาบาลจะหยอดยาขยายม่านตาให้แก่ผู้ป่วยทุก 5 นาที แล้วรอเวลาให้ม่านตาของผู้ป่วยค่อยๆ ขยายออกจนเต็มที่ โดยทั่วไปใช้เวลาประมาณ 1 ชัว่ โมง เมือ่ จักษุแพทย์สอ่ งกล้องตรวจจอประสาท ตาเสร็จแล้วม่านตาจะยังคงอยู่ในท่าขยายต่อไป ส่งผลให้ผปู้ ว่ ยมีอาการตามัวจากฤทธิข์ องยาขยาย ม่านตาต่อไปหลังการตรวจราว 4-6 ชั่วโมง นอกจากนี้ยาขยายม่านตาอาจส่งผลกระทบต่อ โรคประจ�ำตัวของผูป้ ว่ ยเช่นโรคหัวใจ โรคความดัน โลหิตสูงได้ อย่างไรก็ตามวิธีการตรวจดังกล่าวยัง

คงให้ผลการตรวจทีล่ ะเอียดทีส่ ดุ และยังคงเป็นวิธี มาตรฐานที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน โรงพยาบาลสุขุมวิทมีเครื่องมือที่ช่วยให้ การตรวจจอประสาทตาและรักษาเบาหวานเข้า จอประสาทตามีความสะดวกปลอดภัยและมีความ ถูกต้องแม่นย�ำมากขึ้นดังนี้ 1 กล้องถ่ายภาพจอประสาทตาโดยไม่ตอ้ ง ขยายม่านตา (Non-mydriatic Fundus Camera) ช่วยให้ผู้ป่วยได้รับการตรวจจอประสาทตาได้ใน รายทีไ่ ม่สะดวกทีจ่ ะรับการขยายม่านตา หรือมีขอ้ ห้ามบางประการเช่นความดันโลหิตสูงมาก โรค หัวใจ เป็นต้น แต่การตรวจจอประสาทตาด้วยวิธี ขยายม่านตาก็ยังคงให้รายละเอียดที่สูงกว่า 2 เครือ่ งสแกนจอประสาทตาด้วยแสงเลเซอร์ (Optical Coherence Tomography) เป็นอุปกรณ์ ทีส่ ามารถให้ภาพภาคตัดขวางของเนือ้ จอประสาท ตาที่มีความละเอียดสูงมาก คล้ายการท�ำ MRI scan สมอง เป็นวิธกี ารทีม่ คี วามปลอดภัยสูงมาก เนื่องจากไม่ต้องฉีดสารทึบรังสีใดๆเข้าสู่ร่างกาย และเลเซอร์ทใี่ ช้กม็ คี วามปลอดภัยต่อตาของมนุษย์ ช่วยให้เห็นรายละเอียดภายในชั้นเนื้อจอประสาท ตาว่ามีการบวมขนาดเล็ก มีของเหลวรั่วอยู่ใต้จอ ประสาทตา หรือมีพังผืดขนาดบางมากๆเกาะอยู่ บนผิวจอประสาทตาหรือไม่ ซึ่งเป็นข้อมูลที่อาจ ตรวจไม่พบจากการส่องกล้องตรวจปกติ ส่งผลให้ ท�ำการวินิจฉัยโรคและท�ำการรักษาได้ในระยะเริ่ม แรกมากขึ้น 3 กล้องถ่ายภาพจอประสาทตาชนิดใช้สาร ทึบแสง (Fundus Fluorescein Angiography) เป็นกล้องถ่ายภาพจอประสาทตาชนิดพิเศษที่ สามารถตรวจพบการรัว่ ของของเหลวปริมาณน้อย มากๆจากเส้นเลือดฝอยในเนื้อจอประสาทตาได้ ท�ำให้สามารถระบุตำ� แหน่งรอยรัว่ เพือ่ ท�ำการรักษา ด้วยเลเซอร์ได้อย่างถูกต้องแม่นย�ำ ช่วยให้การ บวมของจอประสาทตาลดลงและการมองเห็นฟืน้ ตัวดีขึ้น 4 เครื่องเลเซอร์จอประสาทตา (Argon Laser-532) เป็นอุปกรณ์กำ� เนิดแสงเลเซอร์เพือ่ ใช้ในการรักษาเบาหวานเข้าจอประสาทตาในระยะ ต่างๆ เพื่อให้โรคสงบลงและฟื้นการมองเห็นกลับ

คืนมา อุปกรณ์ดังกล่าวนี้สามารถใช้ในแผนกตาผู้ ป่วยนอกและสามารถเคลื่อนย้ายไปใช้ในการท�ำ ผ่าตัดจอประสาทตาในห้องผ่าตัดได้ด้วย 5 เครื่องผ่าตัดน�้ำวุ้นตาและจอประสาทตา (Vitrectomy Machine) เป็นเครื่องมือรุ่นใหม่ ล่าสุดในปัจจุบัน ใช้เพื่อท�ำผ่าตัดล้างเลือดออก จากช่องวุ้นตา และลอกพังผืดออกจากผิวจอ ประสาทตา หรือซ่อมแซมจอประสาทตาที่ขาด และลอกตัวจากเบาหวานได้

ระยะของเบาหวานเข้าจอประสาทตาและ ขั้นตอนการรักษา ระยะของเบาหวานเข้าจอประสาทตา

โดยทั่วไปถ้าควบคุมเบาหวานได้ดี ระดับ น�้ำตาลในเลือด (Fasting blood sugar) สูงไม่ เกิน 140 mg/dl ในระยะเวลาไม่เกิน 5 ปี ส่วน มากผู้ป่วยจะยังปลอดภัยจากเบาหวานเข้าจอ ประสาทตา ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงมักควบคุมระดับ น�้ำตาลในเลือดได้ไม่ดีและเป็นเบาหวานมานาน เกินกว่า 5 ปี สามารถแบ่งโรคเบาหวานเข้าจอ ประสาทตาได้เป็น 2 ระยะคือ ระยะเริ่มแรก (Non-proliferative diabetic retinopathy, NPDR) และระยะลุกลาม (Proliferative diabetic retinopathy, PDR) ระยะเริ่มแรกจะมีลักษณะ พบจุดเลือดออก และมีโปรตีนรัว่ บนเนือ้ จอประสาท ตา อาจพบศูนย์กลางจอประสาทตาบวมร่วมด้วย หรือไม่ก็ได้ ซึ่งจะเป็นสาเหตุของอาการตามัวใน ระยะนี้ ระยะลุกลามจะมีลกั ษณะพบเส้นเลือดฝอย ผิดปกติงอกใหม่ปรากฏบนเนือ้ จอประสาทตา อาจ มีเลือดออกในช่องวุ้นตา จอประสาทตาลอกจาก พังผืดดึงรั้งบนจอประสาทตา อาจพบศูนย์กลาง จอประสาทตาและขัว้ ประสาทตาบวมร่วมด้วยก็ได้ ระยะนี้เป็นระยะที่ส�ำคัญมาก หากรักษาไม่ทัน ท่วงทีจะส่งผลให้ตาบอดได้


A PUBLICATION OF HEALTHY & LIFESTYLE

23

ง่ายของโรค โดยทัว่ ไปใช้เวลาในการผ่าตัดประมาณ 1 ชั่วโมง ซึ่งการรักษาแบบผู้ป่วยนอกและไม่ต้อง ดมยาสลบนี้ส่งผลดีต่อผู้ป่วยที่มีโรคประจ�ำตัว หลายๆโรค ช่วยให้มีความปลอดภัยสูงขึ้นและ ประหยัดค่าใช้จ่ายในการรักษา

การปฏิบัติตัวหลังเข้ารับการรักษา

เครื่องสแกนจอประสาทตาด้วยแสงเลเซอร์ (OCT)

กาตรวจคัดกรองโรค

ผู้ป่วยเบาหวานทุกรายจ�ำเป็นต้องได้รับการ ตรวจคัดกรองว่ามีเบาหวานเข้าจอประสาทตาหรือ ไม่โดยเร็วที่สุด เนื่องจากในขณะที่อายุรแพทย์ วินจิ ฉัยโรคเบาหวานในครัง้ แรก ไม่ได้หมายความ ว่าผู้ป่วยเพิ่งเริ่มป่วยเป็นเบาหวาน พบว่าผู้ป่วย หลายรายได้รับการตรวจพบเบาหวานเข้าจอ ประสาทตาในระยะลุกลามแล้วในขณะทีเ่ พิง่ ได้รับ การวินิจฉัยว่าป่วยเป็นโรคเบาหวานในครั้งแรก ตามมาตรฐานขององค์การอนามัยโรค ผู้ป่วยเบา หวานทุกรายต้องได้รบั การตรวจคัดกรองเบาหวาน เข้าจอประสาทตาโดย •หากตรวจแล้วผลเป็นปกติ ควรได้รับการ ตรวจซ�้ำที่ 1 ปี •หากพบว่าเป็นเบาหวานระยะแรก ควรได้ รับการตรวจซ�้ำที่ 3 ถึง 6 เดือน •หากพบว่าเป็นเบาหวานระยะลุกลามหรือ พบศูนย์กลางจอประสาทตาบวม ต้องได้รับการ รักษาในทันที

ขั้นตอนการรักษา 1. เบาหวานเข้าจอประสาทตาระยะแรก

กรณีรับการรักษาด้วยเลเซอร์ผู้ป่วยสามารถ เดินทางกลับบ้านได้ทันที ใช้ชีวิตได้ตามปกติ ไม่มี ข้อห้ามใดๆ กรณีรับการรักษาด้วยการฉีดยาเข้าสู่ช่อง วุ้นตา ห้ามน�้ำเข้าตาเป็นเวลา 1-2 สัปดาห์เพื่อ ป้องกันการติดเชื้อ ส่วนการรักษาด้วยวิธีการผ่าตัด ระยะพักฟื้น จะขึ้นอยู่กับชนิดของการผ่าตัดโดยทั่วไปเฉลี่ย ประมาณ 2-4 สัปดาห์

ผลที่ได้จากการรักษาด้วยเทคโนโลยี ที่ทันสมัย

สามารถวินจิ ฉัยโรคเบาหวานเข้าจอประสาท ตาได้ในระยะเริ่มแรกมากขึ้น จึงสามารถให้การ รักษาอย่างทันท่วงทีป้องกันการลุกลามของโรค และรักษาการมองเห็นของผู้ป่วยเอาไว้ได้

ข้อคิดส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวาน

โรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาเป็นภัยเงียบ ทีม่ ากับโรคเบาหวาน ในระยะเริม่ แรกอาจไม่แสดง อาการใดๆเลย อย่าได้นงิ่ นอนใจว่าน่าจะไม่มอี ะไร ผิดปกติ การเพิ่งได้รับการวินิจฉัยว่าป่วยเป็นเบา หวานอาจไม่ได้หมายความว่าท่านเพิ่งป่วยเป็น เบาหวานเสมอไป ท่านอาจป่วยเป็นเบาหวาน มาระยะหนึ่งแล้วโดยไม่แสดงอาการก็ได้ ซึ่ง หมายความว่าเบาหวานอาจเข้าสู่จอประสาทตา ของท่านเรียบร้อยแล้ว

เมือ่ ใดทีท่ ราบว่าป่วยเป็นโรคเบาหวานจ�ำเป็น ต้องได้รบั การตรวจจอประสาทตาโดยเร็วทีส่ ดุ ท่าน จะมีความเสีย่ งสูงในกรณีทที่ า่ นมีประวัตบิ คุ คลใน ครอบครัวป่วยเป็นโรคเบาหวาน, มีภาวะน�้ำหนัก ตัวเกิน (Body mass index สูงกว่า 25), อยู่ใน ภาวะตั้งครรภ์และมีระดับน�้ำตาลในเลือดสูงเกิน ค่าปกติ การมีความดันโลหิตสูงและระดับไขมันใน เลือดสูงจะเป็นปัจจัยให้การด�ำเนินโรคแย่ลงเร็ว ขึ้น การตรวจคัดกรองและพบความผิดปกติใน ระยะเริม่ แรกจะช่วยให้ทา่ นสามารถรักษาการมอง เห็นและดวงตาของท่านเอาไว้ได้ จึงควรขอรับค�ำ ปรึกษาและรับการตรวจจอประสาทตาจากจักษุ แพทย์ทที่ า่ นไว้วางใจเพือ่ ดวงตาทีท่ า่ นรักจะยังคง การมองเห็นที่ชัดเจนตลอดไป ด้วยความปรารถนาดีจากศูนย์ตา โรงพยาบาลสุขุมวิท

กรณีไม่มีศูนย์กลางจอประสาทตาบวม ใช้วิธี นัดตรวจติดตามอาการทุก 3 ถึง 6 เดือน กรณีมีศูนย์กลางจอประสาทตาบวม มีทาง เลือกในการรักษาโดยการใช้เลเซอร์หรือการฉีดยา เข้าสู่ช่องวุ้นตา

2. เบาหวานเข้าจอประสาทตาระยะลุกลาม

มีทางเลือกในการรักษา 3 ทางคือ การใช้ เลเซอร์ การฉีดยาเข้าสู่ช่องวุ้นตา และการผ่าตัด จอประสาทตา โดยจักษุแพทย์สาขาจอประสาท ตาจะเป็นผู้ให้ค�ำแนะน�ำแก่ผู้ป่วย การรักษาทุกวิธขี า้ งต้นรวมถึงการผ่าตัดรักษา จอประสาทตา กว่า 90% เป็นการรักษาแบบผู้ ป่วยนอก ภายใต้ยาชาเฉพาะที่ ระยะเวลาในการ ท�ำผ่าตัดรักษาขึน้ อยูก่ บั ความรุนแรงและความยาก

เครื่องผ่าตัดวุ้นตาและจอประสาทตา (Vitrectomy Machine)

ข้อมูลโดย : นายแพทย์ธีระพัฏ จิตต์พูลกุศล จักษุแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง สาขาจอประสาทตาและวุ้นตา ศุนย์ตา โรงพยาบาลสุขุมวิท


24

APRIL 2019

I CARE STORY

เปลี่ยนชีวิตใหม่!

ด้วยการผ่าตัดผ่านกล้องทางนรีเวช คุณวัชราภรณ์ จ�ำภวังค์

โรคทีเ่ กีย่ วกับผูห้ ญิงนับวันยิง่ มีความซับซ้อน และรุ น แรงมากขึ้ น ซึ่ ง ปั ญ หากวนใจของ สุ ภ าพสตรี ส ่ ว นใหญ่ ค งหนี ไ ม่ พ ้ น อาการ ปวดประจ�ำเดือน บางรายอาจทนได้ แต่บางราย อาจปวดทรมานจนกระทบกับการใช้ชวี ติ ประจ�ำวัน จนหลายคนอาจเข้าใจว่าอาการปวดประจ�ำเดือน นั้นเป็นเรื่องธรรมชาติ แท้จริงแล้วอาการปวด ประจ�ำเดือนหรือปวดท้องอาจเป็นสัญญาณ บ่งบอกถึงโรคร้ายหลายชนิดทางนรีเวชวิทยา! ดังเช่น คุณวัชราภรณ์ จ�ำภวังค์ หนึ่งในอดีต ผูป้ ว่ ยโรคถุงน�ำ้ เดอร์มอยด์ซสี ต์ (Dermoid Cyst) หรือที่เรามักได้ยินกันในชื่อโรคซีสต์หรือถุงน�้ำที่ รังไข่ จากอาการผิดปกติปัสสาวะมีเลือดปนและ อาการปวดทีป่ กี มดลูกข้างซ้ายท�ำให้คณ ุ วัชราภรณ์ ตัดสินใจเข้ารับการรักษาจนตรวจพบเดอร์มอยด์ ซีสต์ทมี่ ขี นาดถึง 7 เซนติเมตร โดยทางเดียวทีจ่ ะ รักษานั่นก็คือการผ่าตัด

“โดยอาการช่วงแรกเวลาปัสสาวะจะมีเลือด ปนออกมาและมีอาการปวดที่ปีกมดลูกข้างซ้าย คุณหมอจึงได้ทำ� การอัลตราซาวน์จนเจอถุงน�ำ้ รังไข่ ที่มีขนาด 7 เซนติเมตรซึ่งทางเดียวในการรักษา ก็คอื คุณหมอแนะน�ำให้ผา่ ตัด แต่ดว้ ยตัวเราเองไม่ ได้มเี วลาในการพักฟืน้ นานและเราก็ไม่อยากผ่าตัด แบบเปิดหน้าท้อง ประกอบกับตอนนั้นก็กลัวว่า ถ้าเราผ่าตัดแบบแบบเปิดหน้าท้องจะต้องใช้เวลา พักฟื้นนานและระยะเวลาการพักฟื้นเราไม่ได้มี เยอะเหมือนคนอื่นๆ เลยตัดสินใจเปลี่ยนวิธีการ รักษามาเป็นวิธีการผ่าตัดแบบส่องกล้องดีกว่า “ส�ำหรับขั้นตอนการรักษาก็น�ำผลการรักษา ทัง้ ผลซีทสี แกน ผลการตรวจเลือด เข้ามานัง่ พูดคุย กับคุณหมอ ประกอบกับพอดีมคี นรูจ้ กั ท�ำการรักษา ด้วยวิธกี ารผ่าตัดส่องกล้องเขาจึงแนะน�ำโรงพยาบาล สุขุมวิทว่าเขามีการรักษาแบบส่องกล้องนะ เราก็ เลยลองเข้าไปดูหน้าเว็บไซต์ของทางโรงพยาบาล สุขมุ วิท เข้าไปศึกษาข้อมูลเกีย่ วกับแพทย์เฉพาะทาง ว่ามีแพทย์ทสี่ ามารถรักษาอาการทีเ่ ราเป็นได้ไหม หลังจากทีไ่ ด้ปรึกษากับคุณหมอและได้ทำ� การรักษา คุณหมอได้ผ่าตัดตรงปีกมดลูกซ้ายออกและเอา ก้อนเดอร์มอยด์ซสี ต์ออกจะท�ำให้อาการปวดทีเ่ คย ปวดเป็นประจ�ำก็หายไป “หลังจากได้รบั การผ่าตัดคือเรารูส้ กึ ว่าร่างกาย ของเราดีขนึ้ เราไม่รสู้ กึ ปวดเหมือนแต่กอ่ น สามารถ กลับมาใช้ชีวิตได้ปกติซึ่งคุณหมอให้ค�ำแนะน�ำว่า ถึงตัวมดลูกด้านซ้ายจะถูกตัดทิ้งไป แต่เราก็ยัง มี ป ี ก มดลู ก ทางขวาและยั ง สามารถมี บุ ต รได้ มีประจ�ำเดือนได้เป็นปกติซึ่งผลข้างเคียงจากการ รักษาก็ไม่ได้มีผลข้างเคียงจากการใช้ชีวิตและ ระยะเวลาในการพักฟืน้ หลังจากการผ่าตัดไม่นาน เลยค่ะ เอาจริงๆ หลังจากผ่าตัด 1 อาทิตย์อาการ ก็เริ่มดีข้ึนแล้วนะคะ คือจากที่เราเคยได้ยินมา ว่าการผ่าตัดแบบเปิดหน้าท้องจะใช้เวลาพักฟื้น ประมาณ 1 เดือน แต่ของเรา 1 อาทิตย์อาการ ก็เริม่ ดีขนึ้ สามารถเดินหรือท�ำงานได้ปกติแล้วแถม ขนาดแผลผ่าตัดยังมีขนาดเล็กและก็แผลก็ปดิ สนิท แห้งไว

อาการผิดปกติคือ มีปัสสาวะมีเลือดปน และอาการปวดที่ปีกมดลูกข้างซ้าย จนตรวจพบก้อนเดอร์มอยด์ซีสต์ ที่มีขนาดถึง 7 เซนติเมตร คุณวัชราภรณ์ จ�ำภวังค์

“วัชราภรณ์อยากจะบอกว่า ข้อดีของการผ่าตัด ส่องกล้องก็คอื ระยะเวลาการพักฟืน้ คือเราไม่ตอ้ ง พักฟื้นนาน ประมาณ 1 อาทิตย์ก็สามารถกลับ มาใช้ชีวิตได้ปกติและแผลจากการผ่าตัดมีขนาด ค่อนข้างเล็กมาก ถ้าไม่สังเกตเรียกว่ามองแทบ ไม่เห็น และที่ส�ำคัญระยะเวลาในการผ่าตัดก็ใช้ เวลาไม่นานนะคะ ไม่เจ็บตัวเยอะ นอกจากนีอ้ ยาก แนะน�ำให้ผหู้ ญิงทุกคนพยายามปรับเปลีย่ นพฤติกรรม การใช้ชวี ติ อย่าประมาทเรือ่ งสุขภาพ ไม่เกีย่ วกับ กรรมพันธุ์หรืออายุมากเท่าไร หากรู้ว่าตัวเอง ผิดปกติให้รีบมาพบแพทย์ทันที อีกอย่างที่อยาก แนะน�ำส�ำหรับผูห้ ญิงทุกคนคืออยากให้ทกุ คนตรวจ สุขภาพประจ�ำปีเพราะอาการปวดประจ�ำเดือน หรือปวดบริเวณท้องน้อย เกิดได้จากหลายสาเหตุ และมักน�ำไปสู่โรคหลายโรค”


A PUBLICATION OF HEALTHY & LIFESTYLE

25

ผู้หญิงทุกคน ควรตรวจสุขภาพประจ�ำปี เพราะการตรวจสุขภาพ ประจ�ำปีอาจท�ำให้ตรวจพบ ความผิดปกติของโรคบางชนิด ได้ชัดเจนและหากทราบก่อน ก็จะสามารถรักษาได้ทัน ก่อนที่โรคจะลุกลาม แพทย์หญิงนันทิวดี มาเมือง แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านสูตินรีเวช และการผ่าตัดผ่านกล้อง

ในปัจจุบันหากเราพูดถึงโรคของผู้หญิง ไม่ใช่แค่เพียงมะเร็งเต้านมเท่านั้นที่เป็นโรค ยอดฮิตคร่าชีวิตของผู้หญิงทั่วโลก แต่ยังมี อีกหลายโรคและนัน่ ก็คงหนีไม่พน้ โรคที่เกีย่ ว กับข้องทางนรีเวช โดยบทสรุปของการรักษา โรคทางนรีเวชส่วนใหญ่แล้วจะต้องได้รับการ รักษาด้วยผ่าตัดเปิดแผลบริเวณหน้าท้อง ก่อให้เกิดบาดแผลทีม่ ขี นาดใหญ่ และเกิดความ เจ็บป่วยแก่ผู้ป่วยมาก รวมถึงใช้ระยะเวลาใน การพักฟืน้ นานซึง่ ไม่ใช่สงิ่ ทีผ่ หู้ ญิงพึงปรารถนา แน่นอน แต่เมื่อระยะเวลาผ่านไปเทคโนโลยี ทางการแพทย์เริม่ มีการพัฒนาท�ำให้การผ่าตัด ทางนรีเวชไม่ใช่สิ่งที่น่ากลัวอีกต่อไป โดยในปัจจุบันทางการแพทย์ได้มีการใช้ เทคโนโลยีทเี่ รียกว่าการผ่าตัดผ่านกล้องทางนรีเวช (gynecologic lapanscopic surqery) เพือ่ ตรวจ วินิจฉัยและรักษาโรคนรีเวชในอุ้งเชิงกราน ทั้ง มดลูก ปีกมดลูก และรังไข่ แถมการผ่าตัดด้วยวิธี ส่องกล้องจะช่วยลดขนาดของแผล เจ็บแผลน้อย เพิ่มความคมชัด แม่นย�ำในการผ่าตัด รอยแผล เป็นหลังการผ่าตัดแทบมองไม่เห็น และใช้ระยะ เวลาสัน้ ๆ ในการพักฟืน้ การรักษาด้วยวิธนี จี้ งึ เป็น อีกหนึ่งทางเลือกในการผ่าตัดที่จะช่วยตอบโจทย์ ให้กบั ผูห้ ญิงในเรือ่ งการผ่าตัดผ่านกล้องทางนรีเวช แพทย์หญิงนันทิวดี มาเมือง แพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญ ด้านสูตินรีเวช โรงพยาบาลสุขุมวิท กล่าวว่า

“โรคทางนรีเวชที่ใช้ในการรักษาด้วยที่ผ่าตัด ผ่านกล้องที่พบบ่อยในผู้หญิง ได้แก่ โรคถุงน�้ำ ในรังไข่ หรือเนือ้ งอกรังไข่บางชนิด เนือ้ งอกมดลูก เยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่ ผู้หญิงที่มีอาการปวดท้อง น้อยเรือ้ รังโดยไม่ทราบสาเหตุ มีพงั ผืดในอุง้ เชิงกราน หรือผู้ที่มีภาวะมีบุตรยาก ท้องนอกมดลูกในบาง กรณี โดยโรคทางนรีเวชที่คนไข้มาพบหมอบ่อย ที่สุดคือ เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ซึ่งจะมาด้วย อาการปวดท้องน้อยเรื้อรัง ปวดประจ�ำเดือนมาก ซึ่งอาจเกิดจากการมีพังผืดอุ้งเชิงกรานหรือมี เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ โดยโรคเหล่านี้หาก รักษาด้วยยาหรือฮอร์โมนแล้วไม่ดขี นึ้ จะต้องได้รบั การผ่าตัด “ส�ำหรับขัน้ ตอนการเตรียมตัวผ่าตัดส่องกล้อง ก็เหมือนการผ่าตัดทั่วไป ผู้ป่วยต้องงดน�้ำและ อาหารอย่างน้อย 8 ชั่วโมง ก่อนเข้ารับการผ่าตัด เพราะต้องดมยาสลบ งดใส่คอนแทคเลนส์ หลีกเลีย่ ง เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ซึ่งก่อนท�ำการผ่าตัด แพทย์จะท�ำการวางแผนผ่าตัดให้เหมาะสมกับ ผูป้ ว่ ย รวมทัง้ ให้ความรูแ้ ละอธิบายถึงชนิดของโรค ให้ผู้ป่วยเข้าใจ พร้อมการอธิบายข้อดีและข้อเสีย ของการผ่าตัดว่ามีความเสีย่ งและอาจภาวะแทรกซ้อน ทีเ่ กิดขึน้ ได้หลังจากการผ่าตัด อย่างไรก็ตามขัน้ ตอน การเตรียมการผ่าตัดจะมีการเตรียมล�ำไส้โดยการ สวนถ่ายอุจจาระและสวนล้างช่องคลอดในบางกรณี พร้อมท�ำความสะอาดผิวหนัง หน้าท้อง เพื่อลด การติดเชื้อ

“เมือ่ ผูป้ ว่ ยเตรียมตัวพร้อมทีจ่ ะได้รบั การผ่าตัด แพทย์จะท�ำการผ่าตัดเจาะรูขนาดเล็กประมาณ 5-10 มิลลิเมตร ผ่านช่องท้องหรือผิวหนังใกล้ บริเวณอวัยวะที่ต้องการผ่าตัดจ�ำนวน 1-4 รู หลังจากนั้นจะใส่ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เพื่อให้ ช่องท้องขยายขนาดใหญ่ขึ้นซึ่งจะช่วยให้แพทย์ ท�ำการผ่าตัดได้สะดวกและชัดเจนมากขึน้ จากนัน้ แพทย์จงึ สอดกล้องขนาดเล็กทีส่ ามารถบันทึกภาพ อวัยวะภายในของผูป้ ว่ ยอย่างชัดเจนและส่งมายัง จอมอนิเตอร์เพือ่ ให้แพทย์ผผู้ า่ ตัดมองเห็นบริเวณ ที่ต้องการผ่าตัดได้ชัดเจน ท�ำให้ผลที่ได้หลังจาก การผ่าตัดมีความเที่ยงตรงและแม่นย�ำ อย่างไร ก็ตามแพทย์แนะน�ำให้ผู้หญิงทุกคนตรวจสุขภาพ ประจ�ำปี เพราะการตรวจสุขภาพประจ�ำปีอาจท�ำให้ ตรวจพบความผิดปกติของบางโรคได้ชัดเจนและ หากทราบก่อนก็จะสามารถรักษาได้ทนั ก่อนทีโ่ รค จะลุกลาม”


26

APRIL 2019

I EASY STEP

การกายภาพบ�ำบัด ของข้อต่อและกล้ามเนื้อ ขอบคุณข้อมูล : คุณวราโชติ คงจิตร์ หัวหน้าแผนกเวชศาสตร์ฟื้นฟู ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลสุขุมวิท

ความส�ำคัญของการรักษาฟื้นฟูทาง กายภาพบ�ำบัดในปัจจุบันเริ่มเป็นที่ต้องการ เพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากการรักษาทางกายภาพบ�ำบัด เป็นการฟืน้ ฟูรา่ งกายเพือ่ ให้ผปู้ ว่ ยกลับไปใช้ ชีวิตประจ�ำวันได้ตามปกติ โดยเฉพาะผู้ป่วย ทีม่ ปี ญ ั หาของข้อต่อและกล้ามเนือ้ ผลกระทบ โดยตรงของผูป้ ว่ ยเหล่านีค้ อื การเคลือ่ นไหว, การเดิน และไม่สามารถลงน�้ำหนักของข้อต่อ ต่างๆ ได้ ผู้ป่วยต้องเผชิญกับความเจ็บปวด จนท�ำให้การด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันลดลง เป้าหมายการรักษาทางด้านกายภาพบ�ำบัด ในผูป้ ว่ ยกลุม่ นีค้ อื ลดอาการปวด, เพิม่ ความ แข็งแรงของกล้ามเนื้อ, เพิ่มการเคลื่อนไหว ของข้อต่อส่วนต่างๆ ให้ใกล้เคียงปกติ และ เพิ่มความสามารถในการท�ำกิจกรรมให้ สอดคล้องกับชีวิตประจ�ำวัน ในปกติร่างกายของทุกคนจะมีองค์ประกอบ ของข้อต่อและกล้ามเนื้อซึ่งมีหน้าที่ส�ำคัญคือ การเคลื่อนไหวและทรงท่าทางของร่างกาย โดย ทุกข้อต่อของร่างกายจะมีโครงสร้างส�ำคัญทาง กายภาพ คือ กระดูก, เอ็นยึดกระดูก, เอ็นกล้ามเนือ้ , กล้ า มเนื้ อ , หลอดเลื อ ด และเส้ น ประสาท โครงสร้างหลักดังต่อไปนี้จะท�ำงานร่วมกันเมื่อ ข้อต่อมีการเคลื่อนไหว ดังนั้น หากผู้ป่วยมีความ ผิดปกติของส่วนใดส่วนหนึ่งจะส่งผลต่อการ เคลื่อนไหวได้ ปัจจุบันปัญหาที่นักกายภาพบ�ำบัดพบคือ ความเสื่อมของกระดูกและข้อต่อมีผลท�ำให้เกิด การจ�ำกัดการเคลือ่ นไหวของข้อต่อและอาการปวด เมื่อผู้ป่วยมาพบนักกายภาพบ�ำบัด จะได้รับการ ตรวจประเมินเพือ่ หาความผิดปกติของการท�ำงาน ของข้อต่อและกล้ามเนื้อ พร้อมทั้งตั้งเป้าหมาย การรักษาดังนี้


A PUBLICATION OF HEALTHY & LIFESTYLE

•ลดอาการปวด •เพิ่มการเคลื่อนไหวของข้อต่อให้ใกล้เคียง ปกติ •เพิม่ ความแข็งแรงของกล้ามเนือ้ รอบข้อต่อ •ฝึกการท�ำงานของข้อต่อให้สอดคล้องกับ กิจกรรม •เพิม่ ความยืดหยุน่ ของข้อต่อและกล้ามเนือ้ เพื่อลดการบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้นซ�้ำ •สอนการออกก�ำลังกายและการท�ำกิจกรรม ส�ำหรับการดูแลและออกก�ำลังกายที่เหมาะสม เป้าหมายการรักษาทางกายภาพบ�ำบัดนี ้ เป็นสิง่ ส�ำคัญพืน้ ฐานทีจ่ ะช่วยลดการบาดเจ็บและ

เพิ่มความสามารถในการท�ำงานของข้อต่อและ กล้ามเนื้อที่มีปัญหาให้กลับมาปกติมากยิ่งขึ้น ปัญหาความผิดปกติของข้อต่อและกล้ามเนือ้ ไม่วา่ จะมาจากสาเหตุหรือปัจจัยใด มักจะส่งผลต่อ การเดินและการเคลือ่ นไหว ดังนัน้ ท่านไม่ควรปล่อย ให้ปัญหาเหล่านี้ต้องด�ำเนินมาถึงตัวท่าน ท่าน สามารถหาแนวทางป้องกันได้ก่อนไม่ว่าจะการ รักษาโดยแพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญ หรือการท�ำกายภาพบ�ำบัด ซึ่งช่วยป้องกันไม่ให้เกิดเป็นความเจ็บปวด เรื้อรังจนน�ำไปสู่การจ�ำกัดการใช้ชีวิตประจ�ำวัน โดยวันนีไ้ ด้นำ� ตัวอย่างท่าออกก�ำลังกายเพิม่ ความ แข็งแรงของข้อเข่ามาให้ทา่ นได้ลองน�ำไปใช้กนั

27


28

APRIL 2019

I ENJOY LIFE

คลายร้อน รับซัมเมอร์ ในบรรยากาศสุดชิล

KINSHIRO (คินชิโร่) เข้าสู่ฤดูกาลที่เรียกว่าแสงแดดร้อนแรง ยิ่งกว่าไฟ การจะออกไปหาสถานที่นั่งรับอากาศ เย็นๆ ก็ยอ่ มเป็นอีกหนึง่ กิจกรรมทีจ่ ะช่วยให้จติ ใจ ได้ผอ่ นคลายจากอากาศร้อนลงได้บา้ ง ซึง่ ในวันนี้ เราจึงขอแนะน�ำร้านอาหารญี่ปุ่นในบรรยากาศ สบายๆ แอร์เย็นๆ อย่าง Kinshiro (คินชิโร่) จากจังหวัดนางาซากิ ประเทศญี่ปุ่น ที่จะช่วยให้ คุณอิ่มท้องและสัมผัสถึงกลิ่นไอของความ เป็นญี่ปุ่น เรียกว่าไม่ต้องไปถึงประเทศญี่ปุ่น ก็เปรียบเสมือนนั่งอยู่ในร้านอาหารญี่ปุ่น

KINSHIRO (คินชิโร่) เวลาเปิดร้าน : ร้านเปิดวันจันทร์ - เสาร์ (เปิดสองช่วง) เวลา 11.30 - 15.00 น. และ 17.00 - 23.00 น. วันอาทิตย์ (เปิดสองช่วง) เวลา 11.30 - 15.00 และ 17.00 - 22.00 น. สถานที่ตั้ง : บริเวณชั้น 3 โครงการ Rain Hill ซอยสุขุมวิท 47 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 02-261-7389


A PUBLICATION OF HEALTHY & LIFESTYLE

Rainbow Roll (เรนโบว์โรล์)

29

ซาชิมิ 3 อย่าง Beef Stripoin Steak

มาถึงร้านแล้วก็ตอ้ งประเดิมกันทีเ่ มนูแรก ทีเ่ ป็นกิมมิคของทางร้าน เรียกว่าทุกคนทีเ่ ข้ามา ในร้านส่วนใหญ่จะต้องสั่งเมนูนี้ก่อนกลับบ้าน นั่นคือ “Champon (จับปง)” เมนูเส้นใน ซุปกระดูกหมูจากจังหวัดนางาซากิ ซึง่ เรียกว่า เป็นเมนูที่ได้รับความนิยมจากประเทศญี่ปุ่น เมนูอาหารพืน้ บ้านทีใ่ ช้วตั ถุดบิ ทัง้ หมด 13 ชนิด น�ำไปผัดในกระทะแค่พอเกือบสุกและน�ำไปต้ม ต่อในน�ำ้ ซุปทงโคะสึหรือน�ำ้ ซุปกระดูกหมูสขี าว นวลเพียงชั่วครู่ แล้วจึงลวกเส้นใส่ลงไปได้ รสชาติแบบพอดิบพอดี รสชาติของน�้ำซุปรส หวานๆ เค็มๆ ไม่เลี่ยนจนเกินไปพร้อมเสิร์ฟ มาในชามใหญ่ยักษ์ มาต่อกันด้วยเมนูสำ� หรับคนรักสุขภาพกัน บ้างกับเมนู “Grilled Romaine Lettuce with Miso” หรือผักคอสย่างราดด้วยแอนโชวี่กับ มิโซะ สร้างความแตกต่างด้วยการน�ำผักคอส ทัง้ หัวมาย่างและราดด้วยซอสทีม่ สี ว่ นผสมของ มิโซะและแอนโชวี่เป็นเมนูที่มีกลิ่นอายของ อิตาลีและญี่ปุ่นรวมกัน ท�ำให้หน้าตาอาหารดู น่ากินและรสชาติกลมกล่อมถือเป็นว่าเมนูอีก หนึ่งเมนูที่ขายดี เมนูต่อมาเมื่อเข้ามาในร้าน อาหารญีป่ นุ่ ต้องห้ามพลาดกับ “ซาชิมิ 3 อย่าง” ชุดรวมปลาดิบที่คัดเนื้อปลาดิบทั้งปลามากุโร่ ปลาเซลม่อน ปลาเนือ้ ขาวชิโรมิ กุง้ หวาน และ

หอยโฮตาเตะ อัดแน่นมาในชามเรียกว่าเอาใจ คนรักปลาดิบ ทานพร้อมกับวาซาบิสดและโชยุ เมนูนี้ต้องห้ามพลาด ตบเท้ามาด้วยเมนูแนะน�ำของทางร้าน อีกหนึ่งเมนู “Beef Stripoin Steak” สเต็ก เนื้อสันนอกอัดแน่นด้วยความฉ�่ำของเนื้อ นุ่มละมุนลิ้น ทานคู่กับน�้ำจิ้มสูตรของทางร้าน หรือจะทานแบบไม่จมิ้ อะไรก็อร่อยด้วยตัวของ เนื้อคุณภาพดีอยู่แล้ว ขอบอกว่าเมื่อได้เคี้ยว ค�ำแรกหัวใจก็เต้นรัว เนือ้ นุม่ อร่อยเข้ม ละลาย ในปาก โดนใจสุดๆ และปิดท้ายด้วยเมนูเอาใจ คนรักอาหารญีป่ นุ่ “Rainbow Roll (เรนโบว์โรล์)” มากิ ไ ส้ ร วมสี สั น สดใส หน้ า ตาหน้ า ทาน ซึ่งความพิเศษของเมนูนี้จะอยู่ที่การน�ำปลา Champon (จับปง) Grilled Romaine Lettuce with Miso

หลากหลายชนิ ด มาประกอบเมนู ทั้ ง ปลา แซลม่อน ปลาทูน่า ที่สั่งตรงมาจากประเทศ ญีป่ นุ่ มีไส้ไข่หวาน ปูอดั แตงกวา ท�ำให้รสชาติ อร่อยถูกปากแล้วต้องอยากกิน นอกจากนี ้ ทางร้านยังมีเมนูอนื่ ๆ อีกมากมายพร้อมเสิรฟ์ เอาใจนักชิม ซึ่งเมนูทั้งหมดทางร้านคัดสรร วัตถุดิบที่มีคุณภาพทุกจาน เพื่อให้ลูกค้าได้สิ่ง ที่ดีที่สุด


30

APRIL 2019

I SAY GOOD BYE

การลดน�้ำหนักต้องมีความสม�่ำเสมอ คนทั่วไปที่ลดน�้ำหนักไม่ส�ำเร็จเพราะขาด ความสม�่ำเสมอ ท�ำแล้วก็หยุด เหนื่อยก็เลิก ไม่ต้องท�ำแบบ 100 เปอร์เซ็นต์ทุกวันก็ได้ ขอแค่วันละ 70 เปอร์เซ็นต์ก็พอ แต่ขอแค่ท�ำเรื่อยๆ แล้วเดี๋ยวได้เอง การออกก�ำลังกายไม่ได้ยากเลยค่ะ

ผู้หญิงทุกคนจะชอบพูดว่าตัวเองอ้วน อยากลดน�้ำหนักท�ำยังไงดี แค่เริ่มค่ะ เริ่มแล้ว ก็ตั้งใจ อยากให้ทุกคนตั้งชาเลนจ์ของตัวเอง พยายามท�ำให้ถึงเป้าหมาย เพราะการ ลดน�้ำหนักไม่ได้มีสูตรอะไรทั้งนั้น มันมีแค่ค�ำว่า ควบคุมอาหารและ ออกก�ำลังกาย แค่นั้นจริงๆ

คุณดาว-ภัทรพร สมบัติสนองคุณ เจ้าของแฟนเพจ Dao’s Healthy Diary

คุณพลอย - พลอยไพลิน สุรสิทธิ์ ผู้หญิงที่เคยมีน�้ำหนักตัวเกือบ 100 กิโลกรัม

ไม่มีใครเปลี่ยนตัวคุณได้ นอกจากตัวของคุณเอง คุณจะห้ามคนอื่น มาเรียกคุณว่าไอ้อ้วนไม่ได้ ถ้าเราอ้วนสิ่งที่เรา ท�ำได้คือลดน�้ำหนัก เราไปเปลี่ยนโลกนี้ไม่ได้ แต่เราเปลี่ยนตัวเองได้ เริ่มเปลี่ยนที่ตัวเองก่อน และโลกมันจะเปลี่ยนตามเรา

ปัจจุบันถ้ามองเรื่องของการออกก�ำลังกาย คนไทยส่วนใหญ่เป็นโรคอ้วนเยอะมาก ผมอยากให้ทุกคนเริ่มหันมาออกก�ำลังกาย ดีกว่า อยากเริ่มออกก�ำลังกายด้วยตัวเองหรือ ว่าจะออกก�ำลังกายเพราะหมอสั่ง การออกก�ำลังกายไม่ใช่เรื่องยาก แค่คุณลงมือท�ำ ถึงแม้ว่าครั้งแรกลองท�ำแล้ว อาจจะไม่ชอบ แต่ท�ำไมต้องท�ำ เพราะการออกก�ำลังกายมันเป็นสิ่งดี

สมายด์-ภาลฎา ฐิตะวชิระ

คุณปรินทร์ ปารีพันธ์ จากเด็กหนุ่มน�้ำหนัก 50 กิโลฯ สู่หุ่นนัก กล้ามได้ในระยะเวลา 8 ปี

อย่าไปคิดแค่ว่าอยากผอม อยากจะหุ่นดี แต่อยากให้ท�ำเพื่อสุขภาพที่ดีในระยะยาว พยายามโฟกัสที่สุขภาพในอนาคตดีกว่า อย่าปล่อยให้สายเกินแก้ ตอนนี้ถ้ามั่นใจว่า ของที่กินอยู่ทุกวันนี้ดี เป็นของเพื่อสุขภาพก็โอเค คุณบุศ-วรรณ์วรี สรรพกุลโรจน์ ครูสอนโยคะแนวอินเทอร์วัล (Interval Yoga) และโค้ชด้านสุขภาพศึกษา

ไม่มีใครสามารถมาลดน�้ำหนักแทนเราได้ ทุกอย่างมันอยู่ที่ตัวคุณเองว่าจะคุณจะลงมือ ท�ำไหม คิดบวกเข้าไว้ค่ะ เชื่อมั่นในตัวเองว่าเรา ต้องท�ำได้และเราก็จะท�ำได้ มีวินัย อดทน เคล็ดลับความส�ำเร็จอยู่ที่ใจค่ะ ใจคือสิ่งที่ส�ำคัญ ทุกคนต้องเข้มแข็งแล้ว ก็ให้ก�ำลังใจตัวเองเยอะๆ คุณไหม-บุษราคัม ชนิตรวงศ์ ผู้หญิงที่เคยมีน�้ำหนักตัว 85 กิโลกรัม ปัจจุบันน�้ำหนักตัว 55 กิโลกรัม



0-2391-0011 www.sukumvithospital.com


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.