รายงานประจำปี 2557 part02

Page 1

Annual Report 2014

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

หนี้ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น กับภาระทางการคลัง : เสี่ยงหรือไมเสี่ยง ? นายฐิติเทพ สิทธิยศ เศรษฐกรชํานาญการพิเศษ นางสาวอรนุช ใจดี นักวิชาการคลังปฏิบัติการ

ในการพัฒนาทองถิ่น องคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) ไดรับงบประมาณรวมทั้งเงินอุดหนุนจากรัฐบาล เปนหลัก ประกอบกับใชรายไดที่ อปท. จัดเก็บได อยางไรก็ดี หากรายรับไมเพียงพอกับรายจาย อปท. สามารถกอหนีไ้ ดเอง ซึง่ การกอหนีน้ นั้ สามารถดําเนินการได โดยการออกพันธบัตร การกูเงินจากธนาคารพาณิชยและ/หรือสถาบันการเงิน และ การกูเงินจากหนวยงานภาครัฐ เปนตน ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับ กฎหมายจัดตั้ง อปท. นั้น ๆ วาใหอํานาจ อปท. กอหนี้ได โดย วิธีใด ซึ่งหนี้ที่ อปท. กอ หากนําไปใช ในโครงการที่กอใหเกิด ประโยชนตอทองถิ่น ก็อาจสงผลให อปท. สามารถเก็บภาษี และ/หรือมีรายไดอื่นมาชําระคืนหนี้ที่กอได แตถาหนี้ที่ อปท. กอนั้น ไมไดนําไปใช ในโครงการที่เปนประโยชนหรืออาจ เกิดเหตุการณที่ไมคาดการณมากอนลวงหนา สงผลให ทายทีส่ ดุ แลว อปท. ไมสามารถจัดเก็บหรือไมมรี ายไดมาใชคนื หนีท้ กี่ อ ไว หนีท้ ี่ อปท. กออาจเปนภาระตอประชาชนในทองถิน่ และตอรัฐบาล ซึ่งในปจจุบัน การกอหนี้ของ อปท. ยังขาด

การกํากับดูแลและติดตามผล รวมทั้งการบริหารความเสี่ยง ที่ชัดเจนจากหนวยงานภาครัฐและจาก อปท. เอง (วิสุทธิ์ จันมณี, 2555) ในการกํากับดูแลและติดตามผลการกอหนี้ รวมทัง้ การ บริหารความเสี่ยงหนี้ของ อปท. จากหนวยงานภาครัฐและ จาก อปท. นั้น จําเปนอยางยิ่งที่หนวยงานที่เกี่ยวของจะตอง มีขอมูลการกอหนี้ของ อปท. ที่ถูกตองครบถวนสมบูรณ ใหมากทีส่ ดุ เทาทีจ่ ะเปนไปไดและอยูในรูปแบบทีเ่ ปนประโยชน ต อ การวิ เ คราะห ทั้ ง ในระดั บ จุ ล ภาคและระดั บ มหภาค พศุตมณิชา จําปาเทศ และคณะ (2555) ตั้งขอสังเกตวา ขอมูลการกูเงินและสถานะหนี้ของ อปท. เปนขอมูลที่สําคัญ ทําใหทราบถึงขนาดและศักยภาพของการกอหนี้ของ อปท. แตละแหงและในภาพรวมของประเทศ การมีขอมูลการกอหนี้ ของ อปท. ที่ครบถวนทําใหหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ สามารถนําไปประกอบการกําหนดระเบียบและหลักเกณฑ ที่ใช ในการกํากับดูแลการกูเงินของ อปท. ใหมีความรัดกุม และสอดคลองกับสถานการณ นอกจากนี้ ขอมูลการกูเงิน และสถานะหนี้ของ อปท. ยังมีความสําคัญตอการประเมิน ภาพรวมของสถานะหนีข้ องประเทศ และการดําเนินนโยบาย กํากับหนี้สาธารณะของประเทศใหเปนไปในทิศทางที่เหมาะสม แมวาในปจจุบัน หนี้ของ อปท. ในสวนที่ทองถิ่นมีอํานาจ ตามกฎหมายในการก อ หนี้ ไ ด เ องจะไม ถู ก นั บ รวมอยู  ใ น หนี้สาธารณะ1 แตหากทองถิ่นมีการผิดนัดชําระหนี้ ผลของ การผิดนัดชําระหนี้นั้นทายที่สุดแลวรัฐบาลอาจตองเขามา รับภาระและกลายเปนหนี้สาธารณะซึ่งอาจสงผลกระทบตอ ฐานะการคลังของรัฐบาลและความเสี่ยงตอเศรษฐกิจไทย ในภาพรวมได

1

หากตีความตามพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 มาตรา 25 หนี้ของ อปท. จะถูกนับรวมเปนหนี้สาธารณะในกรณีที่กระทรวง การคลังกูเพ�อนํามาให อปท. กูตอเทานั้น หนี้ที่ อปท. กูตามกฎหมายจัดตั้ง อปท. ไมถือวาเปนหนี้สาธารณะ แตเปนภาระผูกพันแฝงทางการคลัง (Implicit Contingent Fiscal Liabilities)

81


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.
รายงานประจำปี 2557 part02 by pdmo pdmo - Issuu