เบิกฟ้า ฉบับที่ # 16

Page 1

free copy

ฉบับที่ 16 เดือนกันยายน พ.ศ.2556

ออกแบบปก : ชุติมา ประสานทรัพย์ www.facebook/petch chutima

15 ปี มูลนิธิด�ำรงชัยธรรม

วัยว้าวุ่น สุขสันต์วันเกิด Hormones กับยาคุมก�ำเนิด ก.เอ๋ย ก.ไก่

Help for Health


02 Editor Talk

มูลนิธิ​ด�ำรง​ชัย​ธรรม ก่อ​ตั้ง​ขึ้น​เมื่อ​ปี พ.ศ. 2542 โดย​คุณ​ไพบูลย์ ด�ำรง​ชัย​ธรรม มูลนิธิ​ได้​มอบ​โอกาส​ทาง การ​ศึกษา​ให้​กับ​เยาวชน อีก​ทั้ง​ยัง​ส่ง​เสริม​ให้​เยาวชน​ได้​ ท�ำ​กิจกรรม​ต่างๆ เพื่อ​พัฒนา​ตนเอง​ตามศักยภาพ อาทิ กิจกรรม​โครงการ​สถานี​อาสา โครงการ​ยอ่ ​โลก​ทงั้ ​ใบ​ให้​เด็ก ​ไทย​ได้​รู้จัก และ​วารสาร​เบิกฟ​ ้า บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา ปราโมช รัฐวินิจ (กรรมการและผู้อ�ำนวยการมูลนิธิ) ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ประธานกรรมการมูลนิธิ : ไพบูลย์ ด�ำรงชัยธรรม กรรมการและเลขานุการ : ฟ้าใหม่ ด�ำรงชัยธรรม กรรมการและเหรัญญิก : สุวิมล จึงโชติกะพิศิฐ กรรมการ : อรุณ วัชระสวัสดิ์ มานิจ โมฬีชาติ จิราภรณ์ วิญญรัตน์ ทอรุ้ง จรุงกิจอนันต์ สายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา บุษบา ดาวเรือง ไชย ณ ศิลวันต์ ประภาวดี ธานีรนานนท์ ระฟ้า ด�ำรงชัยธรรม ที่ปรึกษาฝ่ายกิจกรรมมูลนิธิ : ไศล วาระวรรณ์ หัวหน้ากองบรรณาธิการ ณัฏฐา ทับทอง กองบรรณาธิการ ทีมงานมูลนิธิด�ำรงชัยธรรม

วารสารเบิกฟ้า ผลิตโดยมูลนิธิด�ำรงชัยธรรม ส�ำนักงาน เลขที่ 50 อาคารจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เพลส ถนนสุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 02-669-9611-7, 02-669-9711-8 โทรสาร : 02-669-9614 E-mail : damrongchaitham@damrongchaitham.com Website : www.damrongchaitham.com Facebook : www.facebook.com/DMfoundation.dm จัดพิมพ์โดย บริษัท วงตะวัน จ�ำกัด 555 ถนนประชาอุทิศ แขวง ดอนเมือง เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ : 02-981-1333 โทรสาร : 02-981-1340

“ความส�ำเร็จ ไม่ใช่สิ่งที่ได้มาง่ายๆ หากต้องใช้ความ เพียรพยายาม” พีเ่ ขียนต้นฉบับนีถ้ ดั จากวันที่ น้องเมย์-รัชนก อินทนนท์ นักแบดมินตันหญิงของไทยที่คว้าแชมป์โลกด้วยวัยเพียง 18 ปี ถื อ ว่ า อายุ น ้ อ ยที่ สุ ด ในประวั ติ ศ าสตร์ แ บดมิ น ตั น จากบท สัมภาษณ์ โค้ชเซี๊ย จือหัว โค้ชชาวจีนที่ฝึกสอนบอกว่า ความ ส�ำเร็จในวันนี้ของรัชนกไม่ใช่แค่เรือ่ งของพรสวรรค์ เพราะ รัชนกต้องฝึกซ้อมอย่างหนัก โดยเธอต้องใช้ชวี ติ ฝึกซ้อมอยู่ ที่โรงยิมตลอด 365 วันแบบไม่มีวันหยุด โดยในแต่ละวัน ซ้อมหนักสุด 7 ชั่วโมง ซ้อมน้อยสุด 3 ชั่วโมง รัชนกเป็น นักกีฬาทีม่ วี นิ ยั อย่างสูง เธอเชือ่ ฟังปฏิบตั ติ ามค�ำสัง่ ของโค้ช อย่างเคร่งครัด และท�ำแบบนีค้ วบคูก่ บั หน้าทีก่ ารเรียน ช่วย งานบ้าน มาตั้งแต่อายุ 6 ขวบจนปัจจุบัน ก้าวสู่ปีที่ 16 ของการก่อตั้งมูลนิธิด�ำรงชัยธรรมที่มอบทุน การศึกษาแก่เด็กๆ มูลนิธเิ องก็มบี ทสรุปเกีย่ วกับความส�ำเร็จของ เยาวชนในรูปแบบที่หลากหลายเช่นกัน เรียนได้เกียรตินิยม จบ การศึกษาในคณะชัน้ น�ำ ท�ำงานพิเศษส่งเงินให้ครอบครัว ปฏิเสธ การเข้าสู่เส้นทางยาเสพติด สอบชิงทุนเรียนต่อปริญญาเอก ฝึกฝนความสามารถพิเศษจนได้รบั การยอมรับระดับประเทศ เรา สรุปได้วา่ คุณสมบัตทิ เี่ ด็กๆกลุม่ ส�ำเร็จเหล่านีม้ เี หมือนกันคือความ ใฝ่ดี อดทนพากเพียร หนักเอาเบาสู้ แต่ในขณะเดียวกันเราก็เห็น แง่มุมของเยาวชนที่ไปไม่ถึงฝั่ง ผิดพลาด พ่ายแพ้ ท้อแท้ท้อถอย ทีก่ ม็ ไี ม่ใช่นอ้ ย และก็เป็นความจริงทีพ่ บว่าเด็กทีไ่ ปไม่ถงึ ฝันใช่วา่ พวกเขาไม่เก่ง เพียงแต่พร่องในคุณสมบัตสิ ำ� คัญคือความอดทน พากเพียร ใครๆ ก็อยากเป็นคนทีป่ ระสบความส�ำเร็จ เพียงแต่เราต้อง ตอบค�ำถามเกี่ยวกับความพากเพียร ว่าเรามีคุณสมบัตินี้เพียง พอแล้วหรือยัง เป็นก�ำลังใจให้เด็กๆ นะจ๊ะ

โชค​ดี​นะ​คะ

พี่​เจี๊ยบ (ณัฏฐา ทับทอง)

หัวหน้ากองบรรณาธิการ www.facebook.com/berkfaa Natha_tub@damrongchaitham.com


My Columnists 03

คอลัมน์นิสต์ รับเชิญพิเศษ :

มองชีวิตคิดดี โดย ดร.ศิริวรรณ เกษมศานต์กิดาการ อาจารย์ภาควิชาปรัชญา คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Life Coaching, Art Appreciation โดย ผศ. อรรถพล อนันตวรสกุล อาจารย์ประจ�ำคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Guidance โดย รอยฝัน (คุณสุรวิทย์ อัสพันธุ์) Thinking Talking โดย คุณเมธา มาสขาว

คอลัมน์นิสต์ กลุ่มบัณฑิตทุน มูลนิธิด�ำรงชัยธรรม :

English for Fun โดย จิรวัฒน์ มหาสาร บัณฑิตทุนรุ่นที่ 7 : Shipment Assistant ณ สถานทูตอเมริกาประจ�ำประเทศไทย ก.เอ๋ย ก.ไก่ โดย พ.พัฒนคีรี (พงษ์พัฒน์ สมณะคีรี) บัณฑิตทุนรุ่นที่ 10 : ครูอาสาวัดไทยในแอลเอ – Los Angeles ประเทศสหรัฐอเมริกา Hi! Japanese โดย ครูหนาว (มานิต วงศ์มูล) บัณฑิตทุนรุ่นที่ 6 : ครูสอนภาษาญี่ปุ่น โรงเรียนอุตรดิตถ์ Experience โดย กุ้งนาง (อนิจธิยา นิลบรรหาร) บัณฑิตทุนรุ่นที่ 4 : อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี A-R-T โดย MR.BOM (สุริยน แก้ววังสัน) บัณฑิตทุนรุ่นที่ 11 : นักออกแบบผลิตภัณฑ์ บริษัท แปลนครีเอชั่น จ�ำกัดกัด Help for Health โดย ภญ.บุษบงก์ ธรรมมาสถิตย์กุล บัณฑิตทุนรุ่นที่ 11 : เภสัชกรประจ�ำโรงพยาบาลต�ำรวจ Scitech โดย Spocky (ปรัชญา มณีทักษิณ) นักเรียนทุนรุ่นที่ 9 : นักศึกษาชั้นปีที่4 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี Wow! Asean โดย สุวิมล จินะมูล บัณฑิตทุนรุ่นที่ 6 : ผู้สื่อข่าว TNN24 กฏหมายน่ารู้ กับ ธ.ธนา โดย ธนา ภัทรภาษิต บัณฑิตทุนรุ่นที่ 11 : นายทหารสารวัตรสืบสวนสอบสวน พล.ปตอ. Math Unlimited โดย อนุวัตร จิรวัฒนพาณิช บัณฑิตทุนรุ่นที่ 3 : อาจารย์ภาควิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต Around Me! โดย นายอุเทน ลีตน บัณฑิตทุนรุ่น 6 : นักศึกษาปริญาเอก สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และ พญ. ชุตินาถ ศักรินทร์กุล บัณฑิตทุนรุ่น 4 : จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น ประจ�ำโรงพยาบาลแพร่


04 Art Appreciation

กวีลาจากไปแล้ว ...แต่บทกวียังอยู่ โดย blue

เขาเป็นกวีหนึ่งในน้อยราย ที่ มุง่ มัน่ กับการเขียนกวีเพือ่ ความเข้าใจ และความสงบภายใน ชีวิตการเป็น กวี ข องเขา คื อ การเข้ า ถึ ง ความดี ความงาม และความจริง งานของเขา ไม่เหมือนใคร และไม่มีใครเหมือน งานของเขามักกล่าวถึง ปีกอัน บอบบางของแมงปอ หยดน�้ำใสกลิ้ง อยูบ่ นใบไม้ออ่ น เงาทีว่ บู ไหวบนผิวน�ำ ้ เงาสะท้อนบนก้อนเมฆ สรรพเสียงใน ความเงี ย บงั น เรื อ หาปลาลอยล� ำ เดียวดายกลางทะเลใหญ่ ภาพความ ทรงจ�ำที่ไหลย้อนกลับจากอดีตอัน เนิ่นนาน การอ่านบทกวีของโกศล เหมือนกับการเดินทางเข้าไปภายใน ใจของตนเอง การติดตามอ่านงาน ของเขาตั้งแต่ ก็คือการเดินทางเคียง บ่าเคียงไหล่กับกวีคนหนึ่ง ได้รับรู้ถึง ความสงบนิง่ เยือกเย็น และหนักแน่น ที่มีมากขึ้นในทุกครั้งครา บ้ า น : บ้ า นภายใน เงา ภายนอก เป็ น ผลงานชิ้ น สุ ด ท้ า ย ก่อนลาจากไป เราได้ประจักษ์ว่ากวี หนุ่มผู้นี้ ได้เดินทางกลับสู่บ้านของ

โกศล กลมกล่อม เป็นกวี เป็นกวีที่ผมผูกพันและรู้สึกร่วมได้กับ ทุกตัวอักษร หากเขายังมีชีวิตอยู่ ณ วันนี้ เขาน่าจะมีอายุราว 48 ปี แต่เขาก็จากไปแล้ว เหลือไว้เพียงหนังสือรวมบทกวี 6 เล่ม ให้จดจ�ำร�ำลึก ชีวิตโดยสมบูรณ์ ร้อยกรองและความเรียงใน 13 หน้าสุดท้ายของหนังสือ คือ ความสงบทีย่ ากจะมีกวีไทยคนไหนสามารถรจนาออกมาได้ บทกวีทตี่ กผลึกจาก ประสบการณ์นานเนิน่ ของชีวติ บทกวีทนี่ ำ� ร้อยแก้ว ร้อยกรองมาใช้สะท้อนภาพ ของกันและกัน บทกวีทกี่ วีได้นำ� พาทุกถ้อยค�ำ และเรือ่ งเล่าในชีวติ ของตนมาใช้ จนหมดสิ้น โกศล กลมกล่อม เขียนกวีบทนี้ของเขาด้วยทั้งหมดของชีวิต ค�่ำแล้ว นกพากันบินกลับรัง ใบไม้เดียวดายอีกใบหล่นซ้อนบน พืน้ ดิน ปล่อยวางชีวติ ลงสงบ เป็นหนึง่ เดียวกับสรรพสิง่ ลมใหม่แผ่วเบา กระซิบถาม "ค้นพบบ้านทีแ่ ท้แล้วใช่ไหม" เสียงเครือ่ งจักรหยุด แว่วจักจัน่ เรไรดังขึ้นความเงียบ ความเงียบและเสียงไม่ขัดแย้งกัน เงาของบ้าน โอบกอดด้วยความรัก ผมเขียนบทกวีบทหนึง่ แล้วยืนอบอุน่ อยูก่ บั ทุกสิง่ นั้นจนนาน ทุกทุกอย่างวางมี ณ ที่เก่า ใจของเราแค่นี้ที่มาถึง โลกแคบลงตรงหน้าเต็มตราตรึง บ้านลึกซึ้งสงบสงัดแจ่มชัดแล้ว

จาก บ้าน : บ้านภายใน เงาภายนอก

น่าเสียดายเหลือเกิน ทีบ่ า่ ยของวันนัน้ ขณะทีโ่ กศล และคนรัก ขับรถเดิน ทางกลั บ จากสวนโมกขพลาราม มุ ่ ง เข้ า กรุ ง เทพฯ เพื่ อ มาร่ ว มงานเสวนา วรรณกรรม แทนที่ แ ฟนหนั ง สื อ จะมี โ อกาสได้ พ บกั บ เขา กวี ห นุ ่ ม ผู ้ อ ยู ่ ใ น บรรณพิภพอย่างสันโดษ ทว่าผู้คนที่ประชุมอยู่ ณ สถานที่แห่งนั้น กลับได้ รับทราบข่าวการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุรถยนต์ ของโกศล และคนรักแทน กวีลาจากไปแล้ว แต่บทกวียังคงอยู่ และจะยังคงอยู่ตลอดไป


English for Fun 05

หลายคนอาจงงกับประโยคข้างต้นและอาจตอบไม่ถกู หากเจอชาวต่างชาติ ทักทายด้วยค�ำทักทายแปลกๆเช่นนี้ เพราะส่วนมากเราจะคุ้นเคยกับการเปิด บทสนทนาด้วยค�ำว่า Good morning, how are you doing? หรือ Hello, how are you? ค�ำตอบก็จะเป็น I am fine, thank you and you? เป็นต้น

What have you been up to? ฉบั บ นี้ ม าเรี ย นรู้ กั น ว่ า ในภาษาอั ง กฤษมี วิ ธี ทักทายอย่างไรบ้างที่เราไม่ค่อยคุ้นเคย เพื่อให้​้เรา พร้อมรับมือกับการทักทายที่อาจจะมาในทุกรูปแบบ และเป็นการช่วยสร้างความมั่นใจในการสนทนา การทักทายแบ่งได้เป็นสองประเภทคือทักทาย เมื่อเจอกันครั้งแรก กับทักทายทั่วไปสำ�หรับคนรู้จัก หากถูกแนะนำ�ให้รจู้ กั กันครัง้ แรก โดยมากจะทักทาย ด้วยคำ�ว่า How do you do? ดูเหมือนเป็นประโยค คำ�ถามแต่ไม่ใช่คำ�ถามที่ขึ้นต้นด้วย “How” แต่อย่าง ใด และคำ�ตอบจะไม่ใช่ I am fine, thank you. แต่ เป็ น เพี ย งการทั ก ทายมี ค วามหมายเที ย บเท่ า กั บ "สวัสดี" การตอบกลับควรใช้คำ�ว่า How do you do? เช่นเดียวกัน หรือจะพูดว่า Hello, it is nice to meet you. ก็ได้เช่นกัน

หมายถึงอะไร และเราควรตอบอย่างไร? โดย Jirawat

ส่ ว นการทั ก ทายคนรู้ จั ก จะแบ่ ง เป็ น การทั ก ทายแบบ ทางการและแบบไม่เป็นทางการ ซึง่ มีคอ่ นข้างหลากหลายและ อาจะทำ�ให้เกิดความสับสน ลองดูตวั อย่างประโยคทีเ่ ราไม่คอ่ ย คุ้นเคยกันครับ What have you been up to? หมายถึง "ทำ�อะไรมาบ้าง ช่วงนี้" อาจจะมาพร้อมประโยค Hi, I haven't seen you in ages! What have you been up to? แปลว่า "สวัสดี ไม่ได้เจอ กันนานมาก ทำ�อะไรมาบ้าง" อาจตอบง่ายๆ เช่น Not much, what about you? หรืออาจจะบอกว่าเราไปทำ�อะไรมาบ้างก็ได้ อีกหนึ่งตัวอย่าง How have you been? มีความหมาย เหมือนกับ How are you? แต่จะใช้ในกรณีทพี่ ดู กับคนรูจ้ กั หรือ คนสนิท หมายถึง "คุณสบายดีไหม" แต่เพิ่มความรู้สึกของการ สนิทิ สนมด้วยความหมายจากโครงสร้างประโยค แปลว่า "ตัง้ แต่ ที่เจอกันครั้งสุดท้ายจนถึง ณ ตอนนี้คุณสบายดีไหม" การทักทายยังมีอกี มากมาย หากเราไม่ทำ�ความรูจ้ กั อาจ เกิดความสับสนในการโต้ตอบได้ ลองศึกษาเยอะๆ และฝึกใช้ บ่อยๆ นะครับ เจอกันฉบับหน้าฉบับนี้สวัสดีครับ


06 ก.เอ๋ย ก.ไก่

สุข ‘สันต์’ วันเกิด แบบไทย โดย ยามเย็น

ตัวอย่างคำ�

ความหมาย

สันต์

เงียบ, สงบ

สัน สรร

วันที่ 24 กันยายน ปีนี้ครบรอบวันเกิด ของมูลนิธิด�ำรงชัยธรรม ก.เอ๋ย ก.ไก่ ฉบับนี้ จึงขอหยิบยกเรื่องการใช้ค�ำอวยพรวันเกิด มาฝากผู้อ่าน

สรรค์

วยาว เช่น ดั้งจมูกเป็นสัน สิ่งที่มีลักษณะนูนสูงขึ้นเป็นแน ซึ่งอยู่ตรงข้ามกับคม หรือส่วนหนาของมีดหรือขวาน รร เลือก, คัด เช่น จัดสรร เลือกส ่กับคำ� สร้าง เป็นสรรค์ สร้างให้มีให้เป็นขึ้น,มักใช้เข้าคู สร้าง หรือ สร้างสรรค์

ปัจจุบันคนไทยโดยเฉพาะกลุ่มผู้ใช้อินเทอร์เน็ตนิยม อวยพรวันเกิดผ่านช่องทาง www.facebook.com เพราะมีระบบ แจ้งเตือนวันเกิดของเพื่อนสมาชิกให้ทราบและสามารถอวยพร ได้สะดวกและรวดเร็ว สิ่งที่น่าสนใจและเกี่ยวข้องกับการใช้ ภาษาคือ การใช้คำ�อวยพรวันเกิดที่มีหลากหลายรูปแบบ เช่น Happy Birthday, HBD (ย่อมาจาก Happy Birthday), แฮปปี้ เบิร์ทเดย์ (ใช้คำ�ทับศัพท์) หรือใช้คำ�ไทยว่า สุขสันต์วันเกิด และ นิยมใช้อักษรว่า สสวก. (ย่อมาจาก สุขสันต์วันเกิด) จากตัวอย่างคำ�อวยพรวันเกิดจะเห็นว่า มีผใู้ ช้อย่างหลากหลายโดย เฉพาะ การใช้ภาษาอังกฤษทั้งคำ�เต็มและอักษรย่อ แต่ในฐานะที่เราเป็น คนไทย จึงขอฝากให้ผอู้ า่ นโดยเฉพาะเยาวชนคนรุน่ ใหม่ใช้คำ�อวยพรวันเกิด ทีเ่ ป็นภาษาไทยของเรา เพราะนอกจากจะช่วยอนุรกั ษ์ภาษาไทยแล้วคำ�ว่า “สุขสันต์” ยังมีความหมายทีด่ ี แปลว่า “ความสงบสุข” ทำ�ให้เจ้าของวันเกิด ได้รับคำ�อวยพรความปรารถนาดีให้มีชีวิตที่สงบสุข อีกด้วย แต่ทว่าต้อง เลือกใช้คำ�ว่า “สันต์” ให้ถูกต้องนะครับ เพราะในภาษาไทยมีคำ�พ้องเสียง ที่ออกเสียง “สัน” และมีความหมายต่างกัน (ดังตัวอย่างคำ�ในตาราง)

จบท้ายฉบับนี้ ก เอ๋ย ก ไก่ ขอร่วม เฉลิ ม ฉลองงานเลี้ ย งสั ง สรรค์ วั น เกิ ด ของ มู ล นิ ธิ ดำ�รงชั ย ธรรม ขอให้ เป็ น องค์ ก ร คุ ณ ภาพที่ สรรค์ ส ร้ า งทุ น การศึ ก ษาเพื่ อ เยาวชนที่ ไ ด้ เ ลื อ กสรรเป็ น อย่ า งดี จ ากทั่ ว ประเทศให้โตได้และโตดี เรียนจบการศึกษา เป็นบัณฑิตที่แบ่งปันโอกาสและความดีเพื่อ สร้างสรรค์สังคมต่อไป สุขสันต์วันเกิดนะครับ


Hi! Japanese 07

母の日、 おめでとうございます。

(ฮะฮะโนะฮิ โอเมะเดะโตโกะซัยมัส)

สุขสันต์วันแม่ครับ

ช่วงเทศกาลแห่งความรักความอบอุ่น ทีม่ ใี ห้จากคนหนึง่ สูอ่ กี คนหนึง่ อย่างบริสทุ ธิใ์ จ หวังเพียงให้อกี ฝ่ายหนึง่ มีความสุขโดยไม่หวัง ผลตอบแทนแต่อย่างใด นั่นคือความรักของ แม่ แม้ว่าเทศกาลวันแม่ วันที่ 12 สิงหาคม ของทุกปีจะผ่านพ้นไปแล้ว แต่เพือ่ เปิดโอกาส ให้ลูกและแม่ได้ผูกพันกันและมอบความรัก ให้แก่กันในวันพิเศษ มีโอกาสแสดงความ ขอบคุณต่อพระคุณของคุณแม่ของตัวเอง ที่ ประเทศญี่ ปุ ่ น ก็ เ ช่ น กั น มี ก ารก� ำ หนดให้ มี วันแสดงความกตัญญูต่อแม่ ซึ่งตรงกับวัน อาทิตย์ที่ 2 ของเดือนพฤษภาคมของทุกปี ซึ่ง ที่ญี่ปุ่นวันแม่จะเร็วกว่าวันพ่อ 1 เดือน วันแม่ ภาษาญี่ปุ่นเรียนว่า はは母のひ日 (ฮะฮะ โนะฮิ) คุณแม่ คือ おかあ母さん (โอะก้า ซัง) การอวยพรในวันแม่เราสามารถอวยพร ได้หลายรูปแบบครับ ตัวอย่างเช่น げんき 元気で しあわ幸せで ありますよ うに。(เกงคิเดะ ชิอะวะเสะเดะ อะริมส ั โยนิ)

ขอให้คณ ุ แม่มสี ขุ ภาพแข็งแรงและมีความสุข

すてき素敵なとし年に なりますよ うに。(ซึเตะคินะโตะชินินะริมัสโยนิ) ขอให้

ปีนี้เป็นปีที่วิเศษส�ำหรับแม่ เป็นต้น

นอกจากการอวยพรให้คุณ แม่ และแสดงความรักต่อแม่แล้ว การมอบของขวัญแทนใจก็เ ป็นที่ นิยม ประเทศไทยนิยมไหว้แม่ด้วย ดอกมะลิ ส่วนที่ประเทศญี่ปุ่น มี ธรรมเนียมการมอบดอกคาร์เนชั่น ในวั น แม่ พอใกล้ ถึ ง วั น แม่ ร้ า น ดอกไม้ต่างๆ ก็จะนำ�ดอกคาร์เนชั่น ออกมาวางขายกันมากมาย เพราะ ช่วงนี้จะเป็นช่วงที่ขายดีเป็นพิเศษ ครับ การแสดงความรักต่อแม่เท็จ จริ ง แล้ ว เราสามารถทำ�ได้ ทุ ก วั น ไม่ใช่แค่เพียงวันแม่เท่านัน้ รัก ดูแล ห่วงใย ช่วยเหลืองานของท่านทุก ครั้งที่มีโอกาสนะครับ


08 DM Graduate น.ส.ณริศรา เหลืองทะนารักษ์ (ปุ๋ย) นักเรียนทุนรุ่นที่ 8/2549 บัณฑิตทุนรุ่นที่ 9/2553 มูลนิธิด�ำรงชัยธรรม จบการศึกษา จากคณะศึกษาศาสตร์ วิชาเอกประถม ศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร (เกียรตินิยม อันดับ1เหรียญทอง) ปัจจุบนั รับราชการครู ต�ำแหน่งครูผู้ช่วย สอนระดับชั้นประถม ศึกษาปีที่ 2 รับผิดชอบดูแลนักเรียน 11 คน ในทุกกลุ่มสาระวิชา ที่โรงเรียนบ้านหนองผือ จ.สุพรรณบุรี เริ่มแรกครูปุ๋ยบอกว่าไม่ได้คิดที่

โลกใบใหม่ ในห้องเรียน ป.2/1 ประสบการณ์ในวัยเยาว์ จะเป็นประสบการณ์เริม่ ต้นที่มีอิทธิพลต่อความทรงจ�ำและต่อการใช้ชีวิตของ เราแต่ละคนในเวลาต่อมา บุคคลที่อยู่ในความทรงจ�ำ แรกๆ ของเราจึงเป็นคนส�ำคัญทีม่ สี ว่ นต่อประสบการณ์ การเรียนรู้และต่อการใช้ชีวิต นอกจากพ่อแม่แล้ว เรา อาจมองข้ า มพวกเขาไม่ ไ ด้ นั่ น คื อ ‘คุ ณ ครู ’ ยิ่ ง ครูอนุบาลครูประถมด้วยแล้วปฏิเสธไม่ได้วา่ คือพวกเขา คือสิ่งแวดล้อมที่ส�ำคัญมากกับเด็กๆ ผู้ท�ำงานหล่อ หลอมคนตัวเล็กๆ ในวันนี้ให้เป็นผู้ใหญ่ที่โตดีในวัน ข้างหน้า คอลัมน์ DM Graduate มีคุณครูท่านหนึ่ง ที่ อ ยากแนะน� ำ ให้ ทุ ก คนได้ รู ้ จั ก แล้ ว คุ ณ จะพบว่ า ห้องเรียนชัน้ ป.2/1 โรงเรียนบ้านหนองผือ อ.ด่านช้าง จ.สุพรรณบุรี มีความสุขมากแค่ไหน

ชื่อ : น.ส.ณริศรา เหลืองทะนารักษ์ (ปุ๋ย) นักเรียนทุน : รุ่นที่ 8/2549 บัณฑิตทุน : รุ่นที่ 9/2553 มูลนิธิด�ำรงชัยธรรม การศึกษา : คณะศึกษาศาสตร์ วิชาเอกประถมศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร (เกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง) ปัจจุบัน : รับราชการครู ต�ำแหน่งครูผู้ช่วย สอนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2


09

ท�ำอย่างไรให้ทั้ง11คนเรียนรู้ไปได้พร้อมๆ กัน ช่วงแรกเหนื่อยหน่อยคือต้องปรับพื้นฐานเด็ก ต้องสอนพิเศษให้กับกลุ่มที่อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้เลยก่อน ช่วงนี้ต้องใจเย็นมาก จะไม่หลุดค�ำดุหรือแสดงอาการ โมโหร�ำคาญให้เด็กเห็นเลย เพราะเขาจะเสียความมั่นใจ ต้องอดทน จนกระทั่งเขาสามารถเขียนชื่อ นามสกุล ตัวเองได้ อ่านค�ำพื้นฐานได้ อยากจะเรียนด้านครู มองว่าการเป็นครูเป็นงานที่เหนื่อย มาก ไม่เคยรูส้ กึ ว่าเป็นอาชีพในฝันเลย แต่จงั หวะชีวติ การ สอบเรียนต่ออุดมศึกษา ท�ำให้ได้เข้ามาเรียนครู พอได้มี โอกาสได้เรียน ก็ได้เริ่มรู้จักและเข้าใจทั้งตัวเองและเข้าใจ งานครูมากขึ้น ครูปุ๋ยบอกว่าเหมือนเธอค้นพบว่านี่คืองาน ที่ มี เ กี ย รติ มี คุ ณ ค่ า มี ค วามหมาย และได้ มี ค วามรั ก มากมายในอาชีพนี ้ โรงเรียนบ้านหนองผือคือโรงเรียนแรก ที่ครูปุ๋ยได้เข้ามาท�ำงาน ที่นี่เป็นโรงเรียนขนาดเล็ก มี นักเรียน 140 คน ตั้งอยู่ในจังหวัดสุพรรณบุรี อยู่ติดกับ อ�ำเภอม่วงเฒ่า จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งถือว่าค่อนข้างไกล จากตัวเมือง บรรยากาศโดยรอบเรียกว่าเป็นชนบทได้เลย เพราะมีภเู ขาล้อมรอบ ผูป้ กครองของเด็กๆ ส่วนใหญ่จะท�ำ อาชีพเก็บเห็ด เก็บหน่อไม้ ปลูกอ้อย ด้วยความทีผ่ ปู้ กครอง มีอาชีพทางเกษตรกรตามฤดูกาล ท�ำให้เด็กๆ ในโรงเรียน มีการย้ายเข้า ย้ายออกอยู่เสมอ เช่นเมื่อถึงฤดูอ้อย ก็จะมี ชาวตัดอ้อยจากภาคอิสานมาท�ำงานทีไ่ ร่ละแวกนีแ้ ล้วก็จะ พาลูกๆ ย้ายตามมาด้วย เมื่อหมดฤดูก็ย้ายกลับถิ่นฐาน เด็กก็ต้องย้ายออกจากโรงเรียนกลับไปด้วย เด็กๆ ก็เรียน ไปช่วยงานไป บางคนอ่านหนังสือไม่ค่อยได้เพราะย้ายที่ เรียนบ่อย ปัญหาของครูปุ๋ยในการดูแลช่วยเหลือให้การ ศึกษากับลูกศิษย์ตัวน้อยจึงมีมากมาย ครูใหม่ไฟแรง จัดการชีวิตในห้อง ป.2/1อย่างไร ติดตามได้ค่ะ โลกใบใหม่ในห้องเรียนชัน้ ป.2/1 ในหนึง่ เทอมทีผ่ า่ น มา ครูปุ๋ยพบว่าสภาพห้องเรียน ป.2/1 ของเธอเป็นสิ่ง แวดล้อมทีไ่ ม่คอ่ ยสวยงามมากนัก โต๊ะเก้าอีไ้ ม่เป็นระเบียบ สื่อการเรียนการสอนก็ไม่ชวนมอง บอร์ด กระดานด�ำก็ กระด�ำกระด่าง แต่จากสิ่งที่เธอได้ร�่ำเรียนมา บรรยากาศ สิ่ ง แวดล้ อ มจะเป็ น องค์ ป ระกอบส� ำ คั ญ ที่ ช ่ ว ยสร้ า ง บรรยากาศของการเรียนรู้ เมื่องบประมาณไม่มี ครูปุ๋ยจึง

ใช้เงินทุนส่วนตัวและอุปกรณ์เท่าทีม่ ปี รับปรุงห้องเรียน โดย ให้เด็กๆ ทั้ง 11 คนเข้ามามีส่วนร่วม ให้เด็กๆ ออกความ เห็น ช่วยจัดมุมอ่านหนังสือ ช่วยกันจัดโต๊ะเรียน เด็กๆ เริ่ม สนใจห้องเรียนตัวเองมากขึน้ แบ่งเวรท�ำความสะอาด ไม่มี ใครทิ้งเศษกระดาษสกปรกเหมือนเคย ระหว่างจัดบอร์ด ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษครูปุ๋ยก็จะสอนเนื้อหาในบอร์ดด้วย เด็กๆ อ่านภาษาอังกฤษได้มากขึ้น ใครอ่านได้มากคุณครู ก็ให้รางวัล มีค�ำชมเชย ใครอ่านได้น้อยหรือยังอ่านผิด คุณครูกใ็ ห้กำ� ลังใจไม่ตำ� หนิหรือท�ำโทษ แต่พยายามหาวิธี การสอนให้เด็กแต่ละคนเข้าใจ ให้เพือ่ นช่วยกันสอนก็บอ่ ย หรือเรียกมาเรียนตอนเย็นเพิ่มเติมก็หลายคน เด็กๆ เริ่ม เปลี่ยนไป ตั้งใจเรียนมากขึ้น อยากมาโรงเรียน วันเสาร์ก็ ยังอยากมาโรงเรียน มาอ่านหนังสือ มาท�ำการบ้านกับครู ผู้ปกครองก็เริ่มสงสัยท�ำไมเด็กๆ เปลี่ยนแปลง “เด็กๆ ใน ห้องทัง้ 11 คน ความรูไ้ ม่เท่ากันเลย บางคนจับดินสอไม่ได้ บางคน อ่านหนังสือไม่ออก ซึ่งในความเป็นจริงความรู้ ระดับ ป.2 ต้องท�ำได้แล้ว บางคนก็เรียนเก่งเกินวัย นีค่ อื สิง่ ที่ท�ำให้เราเอาความรู้เอาทฤษฏีที่เรียนมาประยุกต์ใช้ ท�ำ อย่างไรให้ทงั้ 11คนเรียนรูไ้ ปได้พร้อมๆ กัน ช่วงแรกเหนือ่ ย หน่อยคือต้องปรับพืน้ ฐานเด็ก ต้องสอนพิเศษให้กบั กลุม่ ที่


10 อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้เลยก่อน ช่วงนีต้ อ้ งใจเย็นมาก จะไม่ หลุดค�ำดุหรือแสดงอาการโมโหร�ำคาญให้เด็กเห็นเลย เพราะเขาจะเสียความมั่นใจ ต้องอดทน จนกระทั่งเขา สามารถเขียนชื่อ นามสกุลตัวเองได้ อ่านค�ำพื้นฐานได้ แรกๆ เด็กๆ ก็ไม่ให้ความร่วมมือ ก็ต้องหลอกล่อ โดยเอา ของเล่นมาให้ พาไปกินขนมบ้าง เพื่อจูงใจให้เด็กมาเรียน เมื่อเด็กๆ ท�ำได้เราก็ชื่นชม เพื่อให้เขารู้สึกภูมิใจ ซึ่งทุกวัน นี้เด็กๆ ทั้ง 3 คนที่มีปัญหาเรียนอ่อนที่สุดในชั้น เริ่มอ่าน การ์ตูนได้ เขียนชื่อตัวเองได้ เด็กภูมิใจครูก็ภูมิใจ”

เมื่อเด็กๆสนใจการเรียน กลับไปบ้านตั้งใจท�ำการ บ้าน อ่านหนังสือออกมากขึน้ ช่วยงานบ้าน ไม่พดู ค�ำหยาบ ผู ้ ป กครองเห็ น การเปลี่ ย นแปลงเหล่ า นี้ ก็ รู ้ สึ ก พอใจ มี ทัศนคติที่ดีในการส่งลูกหลานมาเรียนที่โรงเรียนมากขึ้น “ก่อนอื่นต้องเข้าใจพัฒนาการของเด็กในเด็กวัย 8 ขวบ ก่อน ในวัยนี้เด็กก�ำลังเรียนรู้การเลียนแบบ มองพ่อแม่ ครู เป็นต้นแบบ ถ้าจ�ำได้เราก็เคยเล่นขายของ เล่นเป็นคุณครู ก็ช่วงวัยประมาณนี้แหล่ะ เด็กๆ เองก็เหมือนกัน เขามอง เราอยู่ มองพ่อแม่ของตัวเองอยู่ การเป็นแบบอย่างจึง ส�ำคัญ ท�ำไมในทฤษฎีต้องบอกว่าครูอนุบาล ครูประถม ต้องแต่งตัวสวยๆ ก็เพราะเด็กมองและจดจ�ำ ถ้าเราอยาก ให้เด็กมีระเบียบ เราก็ตอ้ งท�ำให้ดเู ป็นตัวอย่าง ก่อนเข้าห้อง ถอดรองเท้าวางรองเท้าเป็นระเบียบให้เด็กดูเขาก็จะท�ำ ตาม พูดค�ำว่าขอบใจเวลาทีเ่ ด็กช่วยยกของ จัดหนังสือ เด็ก ก็จะจ�ำไปพูด ฉะนัน้ ทุกวันครูจงึ ต้องระมัดระวังตัวเองมากๆ เพราะเรารูว้ า่ เราเป็นต้นแบบของเด็กๆ และเขาก�ำลังเลียน แบบเราอยู่ นอกจากจะต้องเป็นตัวอย่างแล้ว อีกเรื่องที่ ส�ำคัญและจ�ำเป็นมากคือ คุณครูประถมต้องอดทนและ ใจเย็นเป็นที่สุด เพราะเมื่อสนิทกันกับเด็กๆ แล้ว พวกเขา

จะชอบเข้ามาหามีค�ำถามมาถามมากมาย บางทีถามกัน ทั้งวัน ค�ำถามของเด็กๆท�ำให้เรารู้ว่าเขาสนใจอะไรและ ก�ำลังคิดอะไรอยู่ คนที่เป็นคุณครูห้ามเลยที่จะเบื่อในการ ตอบค�ำถาม ครูต้องหาวิธีการในการอธิบาย ต้องไม่เบื่อที่ จะตอบค�ำถาม เพราะเด็กอยูใ่ นวัยทีก่ ำ� ลังอยากรู้ อยากเห็น สงสัย เราเป็นคนที่เขาไว้ใจ เป็นคนที่เด็กๆ คิดว่าเราจะ คลี่คลายความไม่รู้ของเขาได้ นอกจากนี้เวลาที่มีโอกาส เวลาไปเยีย่ มบ้าน ไปเจอผูป้ กครอง เราก็จะท�ำความเข้าใจ เรือ่ งพวกนีใ้ ห้ผปู้ กครองเข้าใจด้วย เพราะบ้านเป็นพืน้ ฐาน ทีส่ ำ� คัญเป็นอันดับหนึง่ ถ้าครูสอนทุกอย่างไปแต่ผปู้ กครอง สอนตรงข้ามเด็กก็จะสับสน ก็ตอ้ งบอกให้ผปู้ กครองเข้าใจ บทบาทหน้าที่ข องตัวเองให้ตรงกันกับที่โรงเรียน บาง ครอบครัวก็ได้ผลผู้ปกครองให้ร่วมมือดี แต่บางครอบครัว ก็ไม่คอ่ ยสนใจเท่าไหร่ ครูจงึ ต้องท�ำหน้าทีช่ ดเชยเพิ่มเติม” “นอกจากการสอนวิชาความรู้ หลายครั้งที่คุณครูก็ ต้องท�ำหน้าที่ช่วยชดเชยเรื่องความรู้สึกแก่เด็กๆ ด้วย


11 ทุกวันนี้ครุปุ๋ยบอกว่าเธอมีความสุขกับ การดูแลเด็กน้อยทั้ง 11 คนนี้มาก เป็นห้อง ปฏิบัติการจริงห้องแรกในวิชาชีพครู ความรู้ ทุกสิง่ ทีไ่ ด้เรียนมา ไม่วา่ จะเป็น ทฤษฏีการเรียน รู ้ การเสริ ม แรง การลงโทษ การส่ ง เสริ ม พัฒนาการ การสร้างแผนการสอนในแต่ละ รายวิ ช า การบู ร ณาการความรู ้ ใ นวิ ช าคณิ ต ภาษาอังกฤษภาษาไทย สังคมศึกษา การหาสือ่ ประสมให้เด็กๆ สนุกกับการเรียนรู้ การแก้ไข

เพราะส่วนใหญ่เด็กๆ ไม่ได้รับจากครอบครัว บางคนพ่อ แม่ท�ำไร่ ท�ำสวน ท�ำมาหากินอาจจะไม่มีเวลาตรงนี้ เด็กๆ บางคนไม่ได้อยูก่ บั พ่อแม่ เราก็ตอ้ งช่วยดูแลเรือ่ งความรูส้ กึ กับคนตัวเล็กๆ เหล่านี้ด้วยการกอด การกอด ช่วยให้ บรรยากาศทุกอย่างดีขึ้นมาก ความสัมพันธ์ระหว่างครูกับ ศิษย์ก็ดีขึ้น เด็กๆ ไม่รู้สึกว่าตัวเองอยู่คนเดียวพวกเขามีครู อยู่ด้วย ใครอ่านค�ำศัพท์ได้ คุณครูจะเข้าไปกอด เด็กๆ คน อืน่ ก็อยากจะกอดบ้าง ก็จะตัง้ ใจอ่าน ตัง้ ใจตอบ เรารับรูไ้ ด้ ว่าพวกเขาอยากได้รับความรักจากครูเหมือนเพื่อนคนที่ ตอบได้ วิธีนี้ได้ผล เด็กวัย 8 ขวบ พวกเขาต้องการ ความ รัก การสัมผัส การโอบกอด เวลาที่เราโอบกอดเขา เด็กก็ กอดเราตอบด้ ว ย มั น เป็ น การถ่ า ยทอดความรู ้ สึ ก ที่ ดี ระหว่างกัน อย่างเด็กผูช้ ายทีเ่ กเรๆ คุณครูรสู้ กึ ว่าเขาไม่คอ่ ย แกล้งเพือ่ นเหมือนแต่กอ่ น ไม่พดู ค�ำหยาบ และตัง้ ใจเรียน มากขึ้นด้วย การกอดมีพลังมากจริงๆ อยากให้คุณครูทุก คนเอาวิธีนี้ไปใช้กันมากๆ”

นอกจากการสอนวิชาความรู้ หลายครั้งที่คุณครูก็ต้องท�ำหน้าที่ ช่วยชดเชยเรื่องความรู้สึกแก่เด็กๆ ด้วย เพราะส่วนใหญ่เด็กๆ ไม่ได้รับจากครอบครัว บางคนพ่อแม่ท�ำไร่ ท�ำสวน ท�ำมาหากิน อาจจะไม่มีเวลาตรงนี้ เด็กๆ บางคน ไม่ได้อยู่กับพ่อแม่ เราก็ต้องช่วยดูแล เรื่องความรู้สึกกับคนตัวเล็กๆ เหล่านี้ด้วย การกอด การกอด ช่วยให้บรรยากาศ ทุกอย่างดีขึ้นมาก ความสัมพันธ์ระหว่าง ครูกับศิษย์ก็ดีขึ้น เด็กๆ ไม่รู้สึกว่าตัวเอง อยู่คนเดียวพวกเขามีครูอยู่ด้วย ปัญหาพฤติกรรม แนวทางการสร้างวินัย ปลูกฝังคุณธรรม และอีกสารพัดความรู้ที่จะท�ำให้เด็กทั้ง 11 คนโตดีและโต อย่างมีความสุขได้ ครูปุ๋ยไม่เคยรีรอ พร้อมน�ำมาประยุกต์ ทดลอง เพราะเธอได้รับการปลูกฝังในวิชาชีพครูมาตลอด ว่า การสร้างจุดเริม่ ต้นทีด่ ใี ห้กบั เด็กๆ จะเป็นต้นทางทีท่ ำ� ให้ พวกเขาเติบโตอย่างมีคุณภาพและเป็นเส้นทางของชีวิต ที่มีความสุข เด็กๆ จ๋าขอเสียงปรบมือดังๆ ให้คณ ุ ครูปยุ๋ ด้วย ค่ะ และขอเสียงปรบมือแบบดังที่สุดให้กับคุณครู ทุ ก คน ขอบคุ ณ ที่ ช ่ ว ยสร้ า งจุ ด เริ่ ม ต้ น ดี ๆ ให้ กั บ พวกเราค่ะ


12 Thinking Talking

ความลั บ ไม่ มี ใ นโลกจริ ง ไหม วันเวลาไม่ได้หายไปไหน จริงหรือไม่ ระบบราชการอาจมีความลับหลาย ชั้น แต่เอกสารเหล่านั้นก็อาจมีวันหลุดออก มาสูส่ าธารณะ ยกตัวอย่างเช่นกรณีของการ เปิดเผยข้อมูลโครงการปฏิบตั กิ าร “เอ็กซ์คยี ์ สกอร์” (XKeyscore) ภารกิจสืบค้นข้อมูล ของส� ำ นั ก งานความมั่ น คงแห่ ง ชาติ (NSA) โดย นายเอ็ดเวิร์ด สโนว์เดน อดีต พนักงานสัญญาจ้างหน่วยข่าวกรอง CIA

ผมเคยได้ยินประโยคท�ำนองว่า “ความลับไม่มีในโลก” มานานแล้ว และก�ำลังเห็นว่าอนาคตก�ำลังยืนยันข้อเท็จจริงนั้น หลายคนอาจหาเหตุผล มาถกเถียงกันได้ และค�ำตอบอาจจะเป็นเครือ่ งมือในการหาวิทยาการในการ ยืนยันเรื่องดังกล่าวในอนาคตได้ไม่มากก็น้อย อย่างน้อยที่สุด การกระท�ำของเราเอง แม้เป็นความลับมากน้อยแค่ ไหน ซ่อนอยู่ภายในใจที่ลึกสุดขั้วเพียงใด แต่ตัวเราเองก็รู้เรื่องราวเหล่านั้น อย่างดี ถึงวันหนึ่งอาจมีการเปิดเผยออกมาโดยไม่รู้ตัวเมื่อถึงเวลา หลายคน เป็ น นั ก ดื่ ม อาจระบายความรู ้ สึ ก และเปิ ด เผยความลั บ ออกมาเมื่ อ ตอน เมามาย หลายคนเปิดเผยความลับของตนเองกับหมอและพยาบาล กระทั่ง บางคนปลดปล่อยความเครียดความเก็บกดเหล่านัน้ กับนักจิตวิทยา ดังทีเ่ รา เห็นในภาพยนตร์จีนหลายเรื่อง ยังไม่นับเรื่องนักแสดงสาวของไทยบางคน

ความลับไม่มีในโลก วันเวลาไม่ โดย เมธา มาสขาว

ของสหรัฐอเมริกา เกี่ยวกับโปรแกรมพิเศษ ที่สามารถล้วงข้อมูลการใช้อินเทอร์เน็ตใน ทุกรูปแบบ ไม่วา่ จะเป็นการใช้อเี มล์ การเข้า เว็บไซต์ การใช้โปรแกรมสนทนาออนไลน์ โดยเป้าหมายไม่อาจรูต้ วั และไม่จำ� เป็นต้อง ขออนุญาตก่อน การสนทนาอาจเป็ น เรื่ อ งของคน 3-4 คน และเป็นความลับของวงสนทนา แต่ความลับก็ไม่มีในโลก ยกตัวอย่างเมื่อ นายจูเลียน อาสซานจ์ ผูก้ อ่ ตัง้ เว็บไซต์ Wi kileaks ได้ เ ผยแพร่ โ ทรเลขเอกสารลั บ และเอกสารปกปิดทางการทูต กว่า 100,000 หน้าของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา ปรากฏต่อสาธารณะชนที่เข้าถึง อินเทอร์เน็ตทั่วโลก แม้กระทั่งการสนทนาทางโทรศัพท์ ระหว่างคน 2 คนในปัจจุบนั นี้ อาจไม่ใช่เรือ่ ง ของคน 2 คนอีกต่อไป หากอีกฝัง่ แอบบันทึก การสนทนา หรือเกิดความผิดพลาดทาง เทคโนโลยีที่มีการบันทึกอัตโนมัติ กระทั่ง การแอบฟังหรือดักฟังโดยใช้เทคโนโลยีสมัย ใหม่ ดังกรณี ที่มี Clip เสียงหลุดออกมา

ที่ออกมาจากยอมรับความจริงที่เคยเป็นความลับมาก่อน เป็นไปได้ว่า ความลับ(อาจ)ไม่มีในโลกแล้ว ผมคิดต่อไปว่า ทุก การกระท�ำของเราเอง นอกจากเรารับรู้แล้ว จะยังมีใครรับรู้อีกบ้างไหม การ ขโมยเงินแม่ตอนเป็นเด็ก แกล้งเพื่อนร่วมชั้นเรียน การโกหกในเหตุการณ์ ต่างๆ การได้รับเงินทอนผิดแล้วไม่คืน การยืมเงินจนเจ้าของลืมไปแล้ว ฯลฯ ในทางศาสนาและความเชื่อ พระผู้เป็นเจ้าอาจรับรู้เรื่องราวเหล่านี้ดี และแยกแยะคนดีคนเลวในสังคมชัดเจนในทางธรรม พวกเขาเหล่านัน้ คงจะ ถูกตัดสินเมื่อลาจากโลกใบนี้ไป บ้างอาจถูกผลกรรมจากการกระท�ำในโลก ปัจจุบันทันทีจากการกระท�ำต่างๆ ที่เป็นเหตุและผลของเหตุการณ์ตาม สัจธรรม คนเฒ่าคนแก่ได้สอนเราว่า ใครก่อกรรมท�ำชั่ว ฟ้าดินย่อมลงโทษ ท�ำอะไรไม่ดีไว้ ฟ้าดินมองเห็น สิ่งศักดิ์สิทธิ์รับรู้ ผลเกิดจากเหตุ จนมีภาษิต ค�ำสอนท�ำนองว่า ท�ำอะไรไม่ดีไว้ ก็ขอให้อายฟ้าดินบ้าง อย่าคิดว่าท�ำความ ผิดต่างๆ แล้วคิดว่าจะไม่มีใครรู้ ฯลฯ ในทางวิทยาศาสตร์ วันนี้วิทยาการและเทคโนโลยีได้ไล่ตามสัจธรรม เหล่านั้นจนเห็นได้ชัด เมื่อดาวเทียมต่างๆ หลายร้อยดวงได้เฝ้าดูพฤติกรรม มนุษย์ไม่ต่างจากพระเจ้า อย่างน้อยที่สุด Google Earth/Google Map นอกจากบันทึกภาพเคลือ่ นไหวสังคมโลกไว้ให้บริการรายเดือนแล้ว ยังบันทึก ภาพถ่ายสถานที่ต่างๆ ตามวันเวลาแต่ละวันไว้ด้วย ดังปรากฏภาพ Google street view ในแผนที่ บางทีเราอาจจะพบเห็นตนเองเดินอยู่บนถนนสายนั้น ในเดือนที่ผ่านมา รถส่วนตัวที่แอบไปจอดหน้าสถานบันเทิงชื่อดังเพื่อปิดบัง ครอบครัวเมื่อวันก่อน ฯลฯ


13 หรือวันเวลาไม่ได้หายไปไหน? โลกทุกวันนีม้ กี ารบันทึกเรือ่ งราวต่างๆ ไว้แทบทุกอย่าง เราสามารถค้นหาอะไรต่างๆ ได้มากมายผ่านระบบปฏิบัติ การคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ และ Social Media โปรแกรมต่างๆ ซึ่งข้อมูลเหล่านั้นเชื่อมโยงในระบบ Cloud System กันหมดแล้วในปัจจุบัน ราวกับว่า ข้อมูลความทรงจ�ำและวันเวลา ถูกเก็บไว้บนก้อนเมฆ! ผมนึกถึงภาพยนตร์เรื่อง Eagle eye เมื่อเทคโนโลยีฉลาดเกินกว่า มนุษย์และกลายเป็นนายตัวเอง ควบคุมและก�ำหนดพฤติกรรมของคนทั้ง โลกแทน เจ้าของ Cloud System ต่างๆ อาจได้เป็นนายของโลกเมื่อยึดกุม ข้อมูลทั้งหมดได้ หรือไม่วันหนึ่งโลก Cloud System อาจกลายเป็นนายของ เราแทน การประชุมซูเปอร์คอมพิวเตอร์นานาชาติ (International Super-

ได้หายไปไหน? computing Conference) เมื่อเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา ที่ประเทศเยอรมนี ได้ยนื ยันว่า อาจมี Eagle eye ในอนาคต จากการจัดอันดับ TOP500 ซูเปอร์ คอมพิวเตอร์โลก ปรากฏว่า “เทียนเหอ 2” ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ของจีน มีระบบปฏิบัติการที่เร็วที่สุดในโลก สามารถประมวลผลภายใน 1 ชั่วโมง เทียบเท่ากับการค�ำนวณด้วยเครื่องค�ำนวณในเวลาเดียวกันของคน 1,300 ล้านคน เป็นเวลา 1,000 ปี อันดับ 2 ได้แก่ Titan ของบริษัท Cray ติดตั้งอยู่ที่ศูนย์ทดลอง Oak Ridge National Laboratory ของส�ำนักงานพลังงานแห่งสหรัฐอเมริกา โดยตกจากอันดับ 1 ในการจัดอันดับครั้งที่ผ่านมา นอกจากความลั บ และข้ อ มู ล ต่ า งๆ ใน Cloud System แล้ ว สั ง คมวิ ท ยาศาสตร์ ยั ง มี ข ้ อ ถกเถี ย งเพื่ อ แสวงหาวิทยาการกันอีกว่า กรณีการย้อนเวลาอาจสามารถท�ำได้ในอนาคต การหาค�ำตอบจากทฤษฎีของ “ไอน์สไตน์” และ “สตีเฟน ฮอว์คิง” จาก ทฤษฎี “จักรวาลวิทยา” เอกภพวิทยา กลศาสตร์นิวตันดั้งเดิม จนถึงทฤษฎี ควอนตัมในปัจจุบัน หลายคนเชื่อว่าในอนาคต ไม่ตราบวันใดก็วันหนึ่ง มนุษย์สามารถหาเครื่องมือในการย้อนเวลาได้ หากเราสามารถเดินทางได้ เร็วกว่าแสง เนื่องจากมิติของโลกปัจจุบัน มี 4 มิติ (กว้าง/ยาว/สูง/เวลา) ทุกอย่างเป็นมิติเวลาที่เดินตามแสง หากมนุษย์เดินทางได้ด้วยความเร็ว กว่าแสง เขาก็อาจจะย้อนอดีตเท่ากับความเร็วนั้นได้ เช่น เมื่อเขาบิน รอบโลกด้วยความเร็วกว่าแสง 10 นาที เขาก็กลับมายังจุดเดิมเมื่ออดีต 10 นาทีนั้น เหมือนกับที่เราเห็น หมู่ดาวต่างๆ ที่ห่างไกลออกไปหลายล้าน ปีแสง ซึ่งเท่ากับเราเห็นอดีตของมันหลายล้านปีแสงนั้น!

หากเราสามารถเดินทางย้อนอดีต ได้จริง ก็เท่ากับยืนยันว่า วันเวลาไม่ได้หาย ไปไหน เหตุการณ์ต่างๆ วันเวลาได้บันทึก การกระท�ำและบรรจุในวันเวลาไว้ทั้งหมด แล้ว ในอนาคต เราอาจไม่ตอ้ งย้อนเวลาโดย ความทรงจ�ำดีๆ หรือการดูภาพถ่ายเก่าๆ อีก ต่อไป แต่สามารถเห็นภาพทัง้ หมดทีป่ รากฏ ในวันเวลาต่างๆ ได้ในระบบมิติเวลา โลกเราเดินทางมาไกลมากแล้วและ เป็นเครือ่ งมือยืนยันอนาคตได้เป็นอย่างดีวา่ ความลับอาจไม่มีในโลกจริงๆ และคนเรา คิดจะท�ำอะไร ก็ควรอายฟ้าดินบ้าง


14 Experience

‘ลาว’

จุดเริ่มต้น ของการเดินทาง (1) โดย กุ้งนาง

พ่อเล่าให้ฟังว่า ทวดซึ่งเป็นชาวลาวอพยพมาจากเมือง เวียงจันทน์ ประเทศลาว ก่อนที่จะเสียได้ร�ำพึงร�ำพันอยากกลับ บ้าน แต่ความชรามาพรากเอาความทรงจ�ำเกี่ยวกับถิ่นที่อยู่ให้ เลือนหายไป ความฝันของท่านเลยไม่ได้ถูกสานให้เป็นจริง เหมือนลมหายใจที่สิ้นลงในวัย 96 ปี ความฝันของทวดถูก ถ่ายทอดมาถึงฉันและกลายเป็นจุดเริ่มต้นให้ฉันหลงรักการเดิน ทางอย่างเต็มตัว แม้ว่าทวดจะไม่สามารถเดินทางกลับบ้านได้ อีกแล้ว แต่ฉันก็ท�ำฝันของทวดให้เป็นจริงด้วยเอาฝันของทวด เดินทางพร้อมเพื่อนสนิทด้วยรถไฟจากสถานีหัวล�ำโพงมุ่งสู่ หนองคาย โดยสารสามล้อเครื่องหรือสกายแล๊ปผ่านด่านตรวจ คนเข้าเมืองไปสัมผัสบรรยากาศในนครหลวงเวียงจันทน์ ถึงแม้ จุดหมายปลายทางของเราในวันนัน้ จะอยูท่ ปี่ ระเทศลาว แต่สงิ่ ที่ มีเสน่ห์ไม่ใช่อยู่ที่ปลายทางเพียงเท่านั้น แต่อยู่ที่ระหว่างทางที่ จะไปสูจ่ ดุ หมายด้วยเหมือนกัน และการเดินทางด้วยรถไฟก็เป็น เสน่หท์ ไี่ ม่ตอ้ งปรุงแต่งเพราะเราได้เห็นความเป็นจริงของวิถชี วี ติ ของคนหลากหลายที่มาจริงๆ ในวันนั้นเราเลือกที่จะเดินทางใน ช่วงเทศกาลเข้าพรรษาซึง่ แน่นอนว่าการได้กลับบ้านไปเจอหน้า

ครอบครัวเป็นสิ่งที่ผู้โดยสารทุกคนคาดหวัง แต่ จ�ำนวนผู้โดยสารมากกว่าจ�ำนวนที่ว่างในขบวน รถไฟ การรถไฟก็จ�ำหน่ายตั๋วโดยบอกเพียงสั้นๆ ว่า เป็นตั๋วยืน ซึ่งหมายถึงว่า คุณจะไม่มีที่นั่งตลอด ระยะเวลากว่าสิบชัว่ โมงทีค่ ณ ุ เดินทาง เมือ่ รถไฟชัน้ สามเบาะเหล็กแข็งๆ หน้าต่างเปิดกว้างรับลมที่ กระแทกเข้ า มาเป็ น ระยะๆ ออกเดิ น ทางจาก หัวล�ำโพงเมือ่ ช่วงกลางดึก แวะหยุดแต่ละสถานีเพือ่ รับผู้โดยสาร ยิ่งผ่านหลายสถานีจ�ำนวนผู้โดยสารก็ มากขึ้นเป็นล�ำดับ จนกระทั่งเดินทางมาได้ครึ่งทาง จากผู้โดยสารนับสิบกลายเป็นนับร้อยที่เบียดเสียด เยียดแย่งกันอยู่ในห้องผู้โดยสารจนต้องชิงอากาศ กันหายใจและไม่มชี อ่ งว่างให้ใครมาขายไก่ยา่ งหรือ กาแฟได้อีก สิ่งที่เรามองเห็นคือ ไม่มีใครที่แสดง อาการร�ำคาญหรืออึดอัดกับสภาพที่เป็น ทุกคน เอือ้ เฟือ้ ทีน่ งั่ ทีม่ อี ยูอ่ นั น้อยนิดให้กบั ผูโ้ ดยสารคนอืน่ ทีถ่ อื ว่าเป็นคนแปลกหน้าทีม่ จี ดุ หมายเดียวกันอย่าง


15

ไม่อิดออด เราเดินทางมาหยุด ณ สถานีหนองคาย เป็นสถานี สุดท้ายในช่วงย�่ำรุ่งของอีกวัน ถึงแม้จะเหนื่อยและนอนไม่เต็ม อิ่ม นั่งก็ไม่สบาย แต่การมองเห็นน�้ำใจในสถานที่ที่ไม่คิดว่ามัน จะมีเป็นความแปลกใจปนกับความสุขที่ท�ำให้เราอมยิ้มได้ แสงแดดสีนวลของพระอาทิตย์ยามเช้าก�ำลังส่องลงมาเมื่อเรา

ประชาชน รูปถ่าย บวกค่าบริการ 100 บาท ก็สามารถ เข้าไปเยี่ยมเวียงจันทน์ได้ 3 วัน แต่ถ้าจะเดินทาง เข้าไปเมืองอืน่ ต้องมีหนังสือเดินทางด้วย เราแลกเงิน ไทยเป็นเงินกีบของลาว ณ ด่านตรวจคนเข้าเมือง เพือ่ ทีจ่ ะได้ไม่ยงุ่ ยากในการไปหาแลกในเวียงจันทน์ จาก

Remember that happiness is a way of travel, not a destination. .

ก้าวออกจากสถานีรถไฟเพือ่ ตรงไป ฝากท้องกับร้านขายน�้ำเต้าหู้อุ่นๆ ที่อยู่บริเวณไม่ไกลนัก รสชาติของ - Roy M.Goodman น�้ำเต้าหู้อร่อยขึ้นเป็นทวีคูณเมื่อ เจอรอยยิ้มบวกกับค�ำทักทายที่มี ไมตรีจิตจากพ่อค้า เสน่ห์ของการ โปรดจ�ำไว้ว่า ความสุขของการเดินทางเกิดขึ้นระหว่างทางที่ไป ไม่ใช่จุดหมายปลายทาง เดินทางมันเกิดขึ้นเมื่อเราได้เจอ ผู ้ ค นหลากหลายอาชี พ หลาก หลายความคิดและแลกเปลีย่ นประสบการณ์กนั ด้วยรอยยิม้ บน ด่านตรวจคนเข้าเมืองเราตัดสินใจที่จะใช้บริการรถ ความแตกต่างที่ไม่แตกแยก เมื่อท้องอิ่มเท้าก็เดินต่อ เราเช็ค สามล้อเครือ่ งหรือสกายแล๊ปทีม่ าจอดรถผูโ้ ดยสารอยู่ ความพร้อมของหนังสือเดินทางและสัมภาระให้เรียบร้อยก่อน หลังด่านตรวจฯ จ่ายค่าโดยสารราวๆ 300 บาท จาก ที่จะขึ้นไปนั่งอยู่บนรถเมล์กลางเก่ากลางใหม่ที่พาเราไปส่งที่ นั้นก็นั่งดื่มด�่ำกับสองข้างทางระหว่างหนองคายกับ หน้าบริเวณด่านตรวจคนเข้าเมือง ขั้นตอนการผ่านด่านก็ไม่มี เวียงจันทน์อยู่บนรถสามล้อที่ถึงแม้จะห่างกันเพียง อะไรยุ่งยาก กรอกใบผ่านเข้าออกของ ตม. ยื่นให้เจ้าหน้าที่ แค่ 25 กิโลเมตร กลับใช้เวลาเกือบสามชัว่ โมงในการ ประทับตราในหนังสือเดินทาง จากนัน้ ก็ผา่ นด่านเข้าไปพาทวด เดิ น ทาง แล้ ว พบกั น ฉบั บ หน้ า กั บ ช่ ว งเวลาดี ดี ที่ กลับบ้านได้เลย ส�ำหรับนักท่องเที่ยวที่ไม่มีหนังสือเดินทางก็ เวียงจันทน์ค่ะ สามารถที่จะท�ำบัตรผ่านแดนกับบริษัทท่องเที่ยว เตรียมบัตร


16 A-R-T

บ้านหลังไหนน่าอยู่กว่ากัน?

ปลูกต้นไม้

กินข้าวร้านนี้หรือร้านโน้น?

จะฟังเสียงร้องด้วย

จัดดีมั้ย?

จะถ่ายภาพ

ศิลปะกับการตัดสินใจ โดย MR.BOM


17

แบบไหนดี?

ซื้อตัวไหนดี?

หรือแค่เสียงดนตรีก็พอ?

ขนมของใครน่ากิน?

ท้องฟ้าตอนไหนดี?

แต่งหรือไม่แต่ง?

ลองดูรูปภาพเหล่านี้ครับ

จะตัดสินใจเลือกอะไรหรือทำ�อะไรสักอย่าง อย่างน้อยๆ ต้องมีบ้างกับเรื่องสวยๆ งามๆ จะเข้ามามีอิทธิพล โดยลึกๆแล้วนั้นก็เป็นส่วนหนึ่งของศิลปะที่สอดแทรกอยู่ในผล งานต่ า งๆ ขึ้ น อยู่ กั บ ว่ า ศิ ล ปะนั้ น จะโดนใจผู้ ที่ ต้ อ งการมากน้ อ ยเพี ย งใด ขึ้ น อยู่ กั บ ประสบการณ์ของแต่ละคนที่ผ่านพบมา แล้วก็มีคนอีกจำ�นวนไม่น้อยใด้ใช้ประโยชน์ของ ศิลปะซึ่งมีผลต่อการตัดสินใจนี้ มาเป็นกลยุทธ์สร้างรายได้และมูลค่าให้กับแวดวงธุรกิจ ด้วยการทีว่ ่าศิลปะแบบใดทีส่ ่งผลต่อต่อการตัดสินใจของผูบ้ ริโภคส่วนใหญ่มากทีส่ ุด จน กระทั่งศิลปะบางอย่างกลายไปเป็นเทรนด์ (Trend) แล้วก็จะนำ�เอาศิลปะนั้นมาใส่ลงใน กิจการหรือในผลงาน เพือ่ ให้สามารถแข่งขันกับคนอืน่ ทีท่ ำ�ในลักษณะคล้ายๆ กันนีไ้ ด้ แต่ สุดท้ายก็ใช่ว่ามีเพียงศิลปะเท่านั้นที่มีผลต่อการตัดสินใจ หากแต่ยังมีปัจจัยอื่นๆ อีก มากมาย แต่ว่าศิลปะก็ไม่ได้มีผลต่อการตัดสินใจเสมอไปด้วยเช่นกัน ยังมีของอีกหลาย อย่างที่ไม่จำ�เป็นต้องใช้ศิลปะในการตัดสินใจเลือกหรือทำ� คิดว่าทุกคนน่าจะพอนึกออก กัน และได้เคยตัดสินใจไปแล้วด้วยเช่นกัน


18 Guidance

CGer โดย รอยฝัน

น. หัวหน้า 8.00 น. ตื่นจากงีบหลับ 10.00 ย้อนกลบั ไป 2 ปี จุดเริม่ ต้นเกิด มาเตือนให้พัก จาก มี ค นมา ชวน เราเ ข้ า ไปทำ�งา น เกี่ยวกับภาพยนตร์ 3 มิติ ซึ่งดูแล้วก็ ไม่นา่ ใช่งานยากอะไร เพราะจริงๆ เรา ก็ เ คยทำ� พวก Pho tosh op หรื อ โปรแกรม 3 มิติอย่าง MAYA มาบ้าง พีท่ มี่ าชวนเรากค็ งเห็นความสามารถ ของเรา ในที่สุด

8.05 น. ดราฟ รูปภาพ

ช่ ว ง แ ร ก ข อ ง ก า ร ทำ� ง า น เหมื อ นไป เรี ย นมา กกว่ า ไปทำ�งา น เพราะจริงๆ แล้วมันคือการเรียนใช้ โปรแกรม แม้วา่ เราจะมีทกั ษะการทำ� CG มาบ้ า ง แต่ ง านที่ เ ราทำ�ก็ ใ ช้ โปรแ กรม ที่ เ ป็ น ของ บริ ษั ท เอง เรา ก็ต้องเรียนรู้ใหม่ แต่ก็ไม่ใช่ว่าเรียน รู้ใหม่ทั้งหมด เพราะโปรแกรมพวกนี้ ก็ มี วิ ธี ก ารบ างอ ย่ า งเห มื อ นกั น โปรแกรม Computer Graphic อื่นๆ เช่นกัน แต่บางอยา่ งก็แตกตา่ งไปเลย

แม้วา่ จะทำ�งานในประเทศไทย แต่ ง านส่ ว นให ญ่ เ ป็ น งาน จาก ต่ า ง ประเทศทั้งจากเกาหลี ญี่ปุ่น หรือ อเมริกา ดังนั้นงานก็มีความหลาก หลาย แต่ทสี่ ำ�คัญกว่านัน้ คือ เจ้านาย ก็ไม่ใช่คนไทย เรามีคนญี่ปุ่นเป็นเจ้า นาย ซึ่งไม่ใช่แค่เพียงภาษาเท่านั้น ที่พูดไม่ตรงกับเรา แต่วัฒนธรรมการ ทำ�งานก็ไม่เหมือนกันเรา ดังนั้นใน ระยะแรกของการทำ�งาน เราจึงต้อง ปรับตัวหลายอย่าง เรื่องภาษานั้น แม้ว่าจะมีปัญหา แต่ด้วยการที่เรา และเขาต่างพยายามสื่อสารกันมันก็ จะผ่านไปได้ แค่อาจจะต้องใช้เวลา มากหน่อย จริงๆ แล้ววัฒนธรรมการ ทำ�ง านเ ป็ น เรื่ อ งที่ เ ราต้ อ งปรั บ ตั ว มากกว่า เพราะคนญี่ปุ่น ทำ�งานตรง เวลา ทุม่ เท และมีระเบียบวินยั จัด พัก เป็นพัก ทำ�งานเป็นทำ�งาน ซึ่งตรงนี้ก็ ต่างกับคนไทย ที่ตอนพักก็อาจจะ แอบไปทำ�งาน และตอนทำ�งานก็อาจ จะแอบพักบ้างนิดๆ หน่อยๆ

10.15น. ตกแต่งรูปต่อ

การทำ�งาน CG เป็นงานทตี่ อ้ ง อาศัยทักษะจำ�นวนมาก เป็นงานที่มี ความละเอียด เช่นเส้นผมก็ต้องทำ�ที ละเส้น กว่าจะหมดหัวก็เหนื่อย แล้ว ั หาตลอดเวลา ก็ตอ้ งอาศยั การแก้ปญ หลายๆ ครั้งเมื่อเราเจอปัญหาใหม่ๆ ก็ตอ้ งพยายามคิดว่า เราจะต้องใช้คำ� สั่งอะไร แต่ง แต้ม เติม ตรงไหนบ้าง จริ ง ๆ เรื่ อ งพว กนี้ เ ราก็ พ อรู้ อ ยู่ แ ล้ ว ตั้งแต่เป็นมือสมัครเล่น แต่เมื่อกลาย เป็นมืออาชีพแล้ว เราก็แปลกใจว่า ไม่ เ พี ย งแต่ ทั ก ษะที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ คอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่ทักษะการ วาด รู ป ก็ ช่ ว ยได้ ม าก และ อาจ จะ เพราะเราชอบขีดๆ เขียนๆ ก็เลยทำ�ให้ เราทำ�งานบางอย่างได้ดีกว่าคนอื่นๆ

12.00 น. พักเที่ยง


19

13.00 น. เริ่มท�ำงาน ภาคบ่าย

แม้ว่าเราอาจจะดูว่าหนังไทย ไม่ ค่ อ ยจะ ดั ง เท่ า หนั ง อเม ริ ก า จน หลา ยคน อาจ จะคิ ด ว่ า ธุ ร กิ จ ด้ า น ภาพยนตร์ของไทยอาจจะไม่ดงั เท่าไร แต่จริงๆ แล้วไม่ใช่เลย บ้านเราถือได้ ว่าเป็นที่ทำ�งานหลังจากการถ่ายทำ� (Post Production) ที่ดี มีคนมีความ สามารถจำ�นวนมาก และก็มีงานที่ เป็นภาพยนตร์ต่างประเทศ อย่างใน อเมริกา ที่มาทำ�งานหลังการถ่ายทำ� ในเมืองไทยเป็นจำ�นวนมาก แต่นั้นก็ เป็นทั้งโอกาส คือ มั่นใจได้ว่ามีงาน ทำ� แต่ก็เป็นทั้งข้อจำ�กัด เพราะด้วย งานที่เยอะ ทำ�ให้เราไม่ได้พักผ่อน หลายๆ ครั้งที่เราต้องทำ�งาน เหมือน ว่าเฝ้าที่ทำ�งานเลยทีเดียว

15.00 น. เพื่อน มาปรึกษางาน

งานกราฟฟิก อาจจะดูเหมือน เป็นงานที่ทำ�กับตัวเอง แต่จริงๆ ทีม งานก็ถือได้ว่ามีความสำ�คัญ เพราะ หลายๆ ครั้ง เราก็จะติดปัญหาว่าเรา ทำ�อะไรบางอยา่ งไม่ได้ เพือ่ นของเรา ที่ มี ค วาม รู้ ก็ จ ะมา สอน วิ ธี ก ารแ ก้ ปัญหาให้ ในทางตรงกันข้ามบางเรือ่ ง เพือ่ นเราก็อาจจะไม่รู้ แต่เรามีทางแก้ ปัญหา เราก็สามารถทำ�งานนี้แทน เขา หรือสอนเขาให้ทำ�งานแบบนี้ได้ ดังนั้นเพื่อนร่วมงานที่เก่ง จึงมีความ สำ�คัญ แม้ว่าเราทำ�งานอยู่หน้าจอ คอมพิวเตอร์เพียงลำ�พัง แต่เมื่อมอง ทั้งสำ�นักงานแล้วเราทำ�งานเป็นทีม

18.00น. กินข้าวเย็น

19.00 น. ลองดู ภาพเคลื่อนไหว

งานกราฟฟิกภาพยนตร์ 3 มิติ นี้ นั บ ได้ ว่ า เป็ น งาน ที่ เ หนื่ อ ยมา ก บางทีก็อดหลับอดนอน แล้วก็เป็น งานทีละเอียด แต่อย่างไรก็ตามก็นับ ว่าเป็นงานที่ดี และทำ�ให้เรามีความ สุ ข มาก ได้ ดู ภ าพย นตร์ เ รื่ อ งต่ า งๆ ก่ อ นรอ บปฐ มทั ศ น์ ก่ อ นที่ จ ะมี ตัวอย่างหนังเสียอีกนอกจากนี้ ทุก ครั้ ง ที่ ภ าพที่ เ ราทำ�ออ กไป ฉาย บท จอภาพยนตร์ มันรู้สึกเหมือนมีภาพ ของ เราป ราก ฎลง ไปด้ ว ย ตื่ น เต้ น ทุกครั้งที่ได้เห็น และทุกครั้งที่เห็นชื่อ ของเราปรากฎอยู่ขึ้นเมื่อภาพยนตร์ ฉายจบลง ความรู้สึกนั้นมันบอกได้ คำ�เดียวว่า ‘สุด ยอด มาก’

0.00 น. นอนพัก เตรียมท�ำงานต่อ


20 Life Coaching

แข็งที่สุดก็ใจคน อ่อนที่สุดก็ใจคน โดย อรรถพล อนันตวรสกุล

สองสามเดือนมานี้ผมมีโอกาสได้หวนกลับไปแสดงละครเวทีอีกครั้งหลังจากว่างเว้นมาเกือบ สองปี เช่นเดียวกับศิลปะทุกแขนง การแสดงเป็นทักษะที่ต้องฝึกฝน และเกี่ยวข้องอย่างมากกับการ ท�ำความเข้าใจกับความเป็นมนุษย์

ละครที่ผมได้ร่วมแสดงทั้งสองเรื่อง มีบทละคร ทีถ่ กู เขียนขึน้ เรียบร้อยแล้ว การท�ำงานของผมจึงเริม่ ที่ การอ่านตีความบท ท�ำความเข้าใจตัวละครร่วมกันกับ เพื่อนนักแสดงและผู้ก�ำกับละคร ระหว่างการอ่านบท ร่วมกันนอกจากจะช่วยให้เราเข้าใจตัวละครที่เราต้อง รับผิดชอบมากขึ้น ยังช่วยให้เราเข้าใจตนเองมากขึ้น อีกด้วย บางแง่ มุ ม ของตั ว ละครนั้ น เชื่ อ มโยงกั บ ประสบการณ์ของเรา บางเรื่องจี้จุดอ่อนลงไปที่หัวใจ ของเรา บางเรื่องเป็นกระจกส่องสะท้อนให้เราได้เห็น ว่าเราเคยผ่านเหตุการณ์ใดมา และเราจัดการกับ เหตุการณ์เหล่านัน้ มาด้วยวิธกี ารใด ในฐานะนักแสดง เราไม่มหี น้าทีต่ ดั สินตัวละคร ไม่มสี ทิ ธิตดั สินว่าสิง่ ทีต่ วั ละครเลือกและท�ำนั้นถูกหรือผิด สิ่งที่เราต้องท�ำใน ฐานะนักแสดงก็คือการสวมบทบาทเป็นตัวละครนั้น น�ำเสนอให้ผชู้ มได้รบั รูว้ า่ มีมนุษย์ผเู้ ป็นเจ้าของเรือ่ งราว และความสุขความทุกข์เช่นนี้อยู่จริง

เมือ่ ถึงช่วงเวลาของการแสดง รอบแล้วรอบ เล่า นักแสดงก็ได้ผจญภัยทางอารมณ์ไปร่วมกับ ตัวละคร เราเป็นแค่กระจกใสๆ ให้ตัวละครมีชีวิต ผ่านสีหน้า แววตา และท่าทางของเรา พูดและ เจรจาบอกเล่าถึงความคิดและความรู้สึกของเขา ผ่านเสียงของเรา ทุกรอบการแสดง เมื่อแสงไฟส่องสว่างขึ้น ตัวละครก็มีชีวิต เมื่อไฟดับลง เสียงปรบมือดังขึ้น บอกเราว่าละครจบ และตัวละครนั้นเป็นแค่อีก ชีวิตที่ถูกจ�ำลองขึ้น เพื่อสะท้อนชีวิตของผู้คนใน โลกความเป็นจริง บทเรียนจากละครสองเรือ่ งทีไ่ ด้รว่ มท�ำงาน ในฐานะนักแสดง ท�ำให้ผมได้เรียนรูว้ า่ มนุษย์ชา่ ง เป็นสายพันธุ์สิ่งมีชีวิตที่แสนพิเศษ ไม่ว่าสุขหรือ ทุกข์ ไม่วา่ ยากดีมจี น ซับซ้อน เข้มแข็งหรือเปราะ บางแค่ไหน ท้ายที่สุดแล้วในโลกนี้สิ่งที่แข็งแกร่ง ที่สุดก็คือใจคน และสิ่งที่อ่อนแอที่สุดก็คือใจคน


Help for Health 21

เกาะกระแสความฮิตของซีรสี เ์ รือ่ งดัง ‘Hormones วัยว้าวุ่น’ ทางช่อง GMM one ใครไม่ได้ดู คุณจะ คุยกับคนอื่นไม่รู้เรื่อง ส�ำหรับตอน ‘โปรเจสเตอโรน (Progesterone) ฮอร์โมนแห่งความเป็นแม่’ มีหลาย ประเด็นที่อยากแบ่งปันมุมมองและความรู้

’ น ่ ุ ว า ้ ว ย ั ว s e n o m r o H

์กุล

์ ธรรมมาสถิตย

โดย ภญ.บุษบงก

น ิ ฉ เ ก ุ ฉ ม ุ กับยาค

ยาคุมก�ำเนิดฉุกเฉิน เป็นยาคุมก�ำเนิดรูปแบบหนึง่ ทีม่ ปี ริมาณ ฮอร์โมนสูงมาก ชื่อก็บอกอยู่แล้วว่าใช้ในกรณีฉุกเฉินเท่านั้น เช่น ถุงยางอนามัยรั่ว หรือ ถูกล่วงละเมิดทางเพศ เป็นต้น ยาคุม ก�ำเนิดฉุกเฉิน 1 กล่องประกอบไปด้วยตัวยา Levonorgestrel 0.75 mg จ�ำนวน 2 เม็ด วิธีใช้คือ รับประทานเม็ดแรกให้เร็ว ที่สุดหลังมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ได้ป้องกันหรือกรณีฉุกเฉินอย่าง ที่กล่าวไปแล้ว โดยไม่เกิน 72 ชั่วโมง หรือภายใน 3 วันหลังมี เพศสัมพันธ์ และรับประทานเม็ดที่สองห่างจากเม็ดแรก 12 ชั่วโมง เช่น เม็ดแรกเวลา 13.00 น. (บ่ายโมง) ตามด้วยเม็ดที่ สองเวลา 01.00 น. (ตีหนึง่ ) แต่เวลาทีจ่ ะรับประทานเม็ดทีส่ อง เป็นช่วงที่ไม่สะดวก อาจรับประทาน 2 เม็ดพร้อมกันในครั้ง เดียวเลยก็ได้ ประสิทธิภาพอาจไม่แตกต่างกับวิธีรับประทาน ครั้งละ 1 เม็ด แต่จะมีอาการข้างเคียง คือ คลื่นไส้อาเจียนได้ มากกว่า ทัง้ นีป้ ระสิทธิภาพในการป้องกันการตัง้ ครรภ์ของยา คุมก�ำเนิดฉุกเฉินที่แม้จะใช้ภายในเวลาที่แนะน�ำก็ยังให้ผลก็ ไม่ถึง 100% (ประมาณ 75% เท่านั้น) และที่ส�ำคัญคือ ไม่ได้ ป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และไม่สามารถใช้ในการ ท�ำแท้งได้ ด้วยความทีม่ ผี ลข้างเคียงจึงแนะน�ำให้ใช้ยาคุมก�ำเนิดฉุกเฉิน ไม่เกิน 2 กล่อง (4 เม็ด) ต่อเดือน โดยอาการข้างเคียงที่พบได้บ่อย

ได้ แ ก่ คลื่ น ไส้ อ าเจี ย น ปวดท้ อ ง เลื อ ดออก กระปริดกระปรอย ประจ�ำเดือนผิดปกติ เจ็บคัด ตึงเต้านม เป็นต้น อาการข้างเคียงทีอ่ นั ตรายหาก ใช้พร�่ำเพื่อ คือ ท�ำให้เยื่อบุโพรงมดลูกและรังไข่ เกิดความผิดปกติ หรือเกิดตั้งครรภ์นอกมดลูกได้ อยากฝากถึงน้องๆ ผู้หญิงว่า การมีเพศ สัมพันธ์ทไี่ ม่ปอ้ งกันอาจน�ำไปสูก่ ารตัง้ ครรภ์ไม่พงึ ประสงค์ ซึง่ ส่วนใหญ่เพศหญิงเป็นผูแ้ บกรับความ เสียหายทั้งหมด ย่อมมีผลกระทบทั้งต่อตนเอง และครอบครัวอย่างมาก ควรรูจ้ กั ‘ปฏิเสธให้เป็น’ กับการมีเพศสัมพันธ์ขณะทีย่ งั ไม่พร้อม หลีกเลีย่ ง การแต่งกายทีก่ ระตุน้ อารมณ์ทางเพศ และการพา ตั ว เองไปอยู ่ ใ นสถานที่ ห รื อ สถานการณ์ ที่ ล ่ อ แหลมต่อการมีเพศสัมพันธ์ และฝากถึงน้องๆ ผู้ชายว่า ควรให้เกียรติผู้หญิง ถ้ารักจริงก็ต้องรอ ได้ การปฏิบัติตามขนบธรรมเนียมประเพณีเป็น สิง่ ทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ เพศสัมพันธ์ไม่ใช่ทงั้ หมดของ ความรัก ความรักในวัยเรียนไม่ใช่สิ่งที่ผิด ถ้า รู ้ จั ก รั ก อย่ า งมี ส ติ ใ ช้ ค วามรั ก ไปในทาง สร้างสรรค์ เช่น ให้ก�ำลังใจกันในการเล่า เรียน ช่วยเหลือกันท�ำกิจกรรมของโรงเรียน หรือสิง่ ทีม่ ปี ระโยชน์ตอ่ สังคมร่วมกัน ก็จะได้ ทั้งการเรียนและความรัก


22 Scitech

IOS เรียบง่าย และลงตัว

อย่ า งที่ ผ มเคยน� ำ เสนอว่ า หนึ่งในวิธีการที่ Apple ประสบ ความส�ำเร็จได้ถึงทุกวันนี้คือการ ตอบโจทย์ เ รื่ อ งความเรี ย บง่ า ย “ความเรี ย บง่ า ยคื อ ความสุ ข ” เพราะธรรมชาติมนุษย์นนั้ ต้องการ ความเรียบง่ายและชัดเจน จนเป็น ที่มาของ IOS ล่าสุดที่ทาง Apple ได้ โจนาธาน ไอฟ์ มารับหน้าที่เป็น หัวหน้าทีมออกแบบให้กับ IOS 7 หลายคนคงยังไม่ทราบหรือรู้จัก ผู ้ ช ายคนนี้ เขาคื อ สุ ด ยอดนั ก ออกแบบผู ้ อ ยู ่ เ บื้ อ งหลั ง ความ ส�ำเร็จของ Apple ถ้าย้อนไปใน อดีต...ผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ ไม่วา่ จะเป็น iMac, Macbook, iPod และ iPhone ล้วนแต่ได้รบั การออกแบบ จากผู้ชายคนนี้

หลังจากที่มีการเปิดตัว IOS 7 ในงาน WWDC 2013 เมื่อมิถุนายนที่ผ่าน มา ก็ได้รับเสียงตอบรับจากผู้ใช้งานทั่วโลกเป็นอย่างดี เพราะมาพร้อมกับระบบ ปฏิบัติการที่ยกเครื่องใหม่ทั้งหมด เพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานให้มากยิ่งขึ้น โดย Applications ของเครื่องมีการปรับปรุงทั้งหมด แต่ก็ยังคงรักษาความง่ายในการ ใช้งาน ทำ�ให้ผู้ใช้งานทั้งเก่าและใหม่ ไม่ต้องใช้เวลาเรียนรู้ในการใช้งานมากเท่า ไหร่ก็สามารถใช้งาน IOS ได้แล้ว และที่สุดต้องยกให้กับเรื่องของความสวยงาม ต้องยอมรับจริงๆ ครับ ทาง Apple นั้นเน้น 3 จุดคือ “สวยงาม ใช้งานได้จริง และ ผู้ใช้งานสนุกไปกับมัน” ว่าง่ายๆ ผู้ใช้งานอย่างเรา จะได้สัมผัสกับประสบการณ์ การใช้งานแบบใหม่ที่ตื่นเต้น สนุก มีและความสุขกับการใช้งาน จริงๆ แล้วคน ส่วนใหญ่จะคิดว่าการออกแบบอะไรแบบเรียบง่ายนั้นมันไม่ใช่เรื่องยาก แต่หารู้ ไม่วา่ มันคือความซับซ้อนทีม่ อี ยูม่ ากเหมือนกัน เพราะมันจะทำ�อย่างไรให้ออกมา ง่ายและดูดี นี่แหละครับจึงเป็นที่มาของการออกแบบ IOS ตัวล่าสุดนี้ ในเดือนกันยายนนี้ทาง Apple จะเปิดให้ดาวน์โหลด IOS7 กับผู้ใช้งาน ทั่วไปได้ใช้งาน อย่างที่ผมได้บอกมาทั้งหมด เตรียมพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงที่ กำ�ลังจะเกิดขึ้นกันให้ดีๆ นะครับ


Wow! Asean 23

สวัสดีค่ะ ว้าวอาเซียนฉบันนี้ เรามาพูดถึงเรื่องทรัพยากรในทะเลกันบ้าง เมือ่ ไม่นานมานี้ เกิดเหตุนำ�้ มันดิบรัว่ จากท่าเรือมาบตาพุด ลุกลามถึงเกาะเสม็ด แม้วันนี้ คราบน�้ำมันเหล่านั้นจะถูกก�ำจัด และปิดฉากด้วยบิ๊กคลีนนิ่งไปแล้ว แต่ หลายคนก็ยังคงกังวลเพราะผลกระทบจากคราบน�้ำมันที่ไหลลงทะเลยังคงอยู่ โดยเฉพาะกับสิ่งมีชีวิตน้อยใหญ่ในทะเล และผู้คนแถบนั้น เพราะผืนทะเลกว้างที่ เราเห็น ไม่ใช่แอ่งน�้ำเค็มขนาดใหญ่ แต่คือทรัพยากรสูงค่าของประเทศ

ทรัพยากรในทะเล โดย สุวิมล จินะมูล

ฉะนัน้ พอเกิด เหตุการณ์แบบนีข้ นึ้ เลยอดนึกถึงการใช้ พลังงานในอาเซียนไม่ได้คะ่ อาเซียนถือเป็นภูมภิ าคทีม่ อี ตั รา การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจทีเ่ ร็วมาก ส่งผลให้การบริโภค พลังงานสูงขึน้ เป็นเงาตามตัว มีการประเมินไว้ดว้ ยนะคะว่า ในปี 2020 สมาชิกของอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ จะมีขนาด เศรษฐกิจใหญ่เป็น อันดับที ่ 2 ของโลก และมีประชากรรวม กันมากเป็น อันดับ 3 ของโลก อัตราการบริโภคพลังงานของ อาเซียนจะสูงขึน้ ร้อยละ 4.4 ทุกปี ท�ำให้ในอีก 10 ปีขา้ งหน้า การบริโภคพลังงานเพิ่มจาก 375 ล้านตันน�้ำมันเทียบเท่า เป็น 1,018 ล้านตันน�ำ้ มันเทียบเท่า นัน่ คือความท้าทายทีเ่ รา จะต้องส�ำรองพลังงานไว้ใช้ให้เพียงพอกับอนาคต ในอาเซียนมีทงั้ ประเทศทีม่ พี ลังงานมากมายเหลือเฟือ และประเทศที่ ยั ง ขาดแคลนพลั ง งาน อย่ า งพม่ า และ อินโดนีเซีย ซึ่งเป็นประเทศที่มีความร�่ำรวย ในทรัพยากร พลั ง งาน ประชากรของทั้ ง สองประเทศรวมกั น มาก ถึง 300 ล้านคน แต่ 1 ใน 3 ของจ�ำนวนนี้ กลับไม่สามารถ เข้าถึงพลังงานเหล่านัน้ ได้ อีกทัง้ ไทย สิงคโปร์ และมาเลเซีย ก็มีศักยภาพในการผลิตไฟฟ้าได้มากพอที่จะแบ่งปันให้กับ ประเทศทีข่ าดแคลน หากมีการเชือ่ มต่อระบบโครงข่ายไฟฟ้า ภายในภูมิภาคได้สมบูรณ์ จะช่วยลดภาระทางการเงินใน การสร้างโรงไฟฟ้าและสายส่งก�ำลังระหว่างประเทศสมาชิก ลงได้บ้าง เรื่องการใช้พลังงานและการจัดการพลังงานใน อาเซียนนั้นจึงเป็นอีกเรื่องที่หน้าจับตามองค่ะ


24 กฏหมายน่ารู้ กับ ธ.ธนา

สุดสายป่าน โดย ธนา ภัทรภาษิต

‘ผิดฝาผิดตัว’ คงจะใช้เรียก เรื่ อ งราวที่ เ กิ ด ขึ้ น ในละครเรื่ อ ง ‘สุดสายป่าน’ ได้ถกู ต้องเหมาะสม เป็นที่สุด เงื่อนปมหลักของเรื่อง ที่ ม.ล.ฐิ ติ พ บรั ก กั บ กานดามณี ที่แอบอ้างใช้ชื่อกานดาวสี พี่สาว ฝาแฝด แต่สดุ ท้ายกลับได้แต่งงาน กับกานดาวสีตวั จริง ...แล้วอย่างนี้ กฎหมายจะสามารถช่ว ยคุณฐิติ ได้หรือไม่ อย่างไรดีครับ

ประมวลกฎหมายแพ่ ง และ พาณิชย์ มาตรา ๑๕๐๕ “การสมรสที่ ได้ ก ระทำ�ไปโดยคู่ ส มรสฝ่ า ยหนึ่ ง สำ�คัญผิดตัวคู่สมรสการสมรสนั้น เป็นโมฆียะ (วรรคสอง) สิทธิขอเพิก ถอนการสมรสเพราะสำ�คัญผิดตัว คู่ ส มรสเป็ น อั น ระงั บ เมื่ อ เวลาได้ ผ่ า นพ้ น ไปแล้ ว เก้ า สิ บ วั น นั บ แต่ วันสมรส” เมื่อพบสถานการณ์ที่คุณฐิติสำ�คัญผิดในตัวคู่สมรส คือ ในใจของตนคิด ว่าคนที่ตนแต่งด้วยคือกานดาวสีที่เป็นรักแรกพบ (กานดามณีตัวจริง) แต่กลับ ได้แต่งงานกับ กานดาวสีตวั จริงๆ ...ตามกฎหมายข้างต้น การสมรสในครัง้ นีจ้ งึ เป็นโมฆียะดังนี้แล้ว หากคุณฐิติได้รู้ถึงเหตุแห่งการสมรสที่เป็นโมฆียะ คือ รู้ว่า กานดาวสีคนที่แต่งงานด้วยไม่ใช่คนที่ตนคิดจะแต่ง ก็สามารถเพิกถอนการ สมรสนี้ได้ (แต่ถ้ายังไม่เพิกถอน สมรสก็ยังสมบูรณ์) แต่ต้องเพิกถอนภายในเก้าสิบวันนับแต่วันสมรส (วันจดทะเบียนสมรส) มิฉะนั้นแล้ว สิทธิขอเพิกถอนการสมรสเพราะสำ�คัญผิดตัวคู่สมรสก็เป็นอัน ระงับ ไม่ว่าสุดท้ายจะได้รู้ถึงการสำ�คัญผิดในตัวคู่สมรสหรือไม่ก็ตาม เพราะ กฎหมายถือว่าคุณทั้งคู่แต่งงานกันมาตั้งเกือบสามเดือนแล้วยังไม่รู้หรือยังไม่ เลิกกันอีก ก็แสดงว่ารักกันแล้ว อย่างนี้ก็ไม่ต้องเลิกแล้ว เชิญอยู่ด้วยกันตลอด ไปเถิดครับ


Math Unlimited 25

แนวการสอนในชั่วโมงซ่อมเสริม

โดยใช้แบบรูปเพื่อให้นักเรียนเกิดการคิดวิเคราะห์ ในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ ครูมักจะมีปัญหาว่า จะสอนอย่างไร จึงจะทำ�ให้นักเรียนเกิด ความคิดรวบยอด (Concept) จะใช้อปุ กรณ์ รูปภาพ หรือจะหาตัวอย่างอย่างไรดี การสอนให้นกั เรียน เกิดความคิดรวบยอดขึ้นมาเองได้นั้น ทำ�ได้ยากกว่าการสอนด้วยการบอกหลายเท่านัก ระดับความ สามารถในชั้นเรียนของนักเรียนแตกต่างกัน นักเรียนมีพื้นฐานไม่เท่ากัน ครูหลายท่านจึงจำ�เป็นต้อง รวบรัดด้วยการบอก แทนทีจ่ ะเป็นการสอนแบบสืบเสาะ (discovery method) การสอนแบบนักเรียน เป็นศูนย์กลาง (student center) อย่างที่ตั้งใจจะทำ� ก็กลับกลายเป็นวิธีการสอนแบบเก่าๆที่ครูเป็น ศูนย์กลาง อย่างไรก็ดี คงจะไม่ปฏิเสธว่า ก่อนที่นักเรียนจะทำ�โจทย์ปัญหาที่เป็นการวิเคราะห์ได้ นักเรียนจะต้องมีความเข้าใจในเนื้อหา จึงจะนำ�ไปใช้และวิเคราะห์ได้ ตัวอย่างที่จะยกมานี้ใช้ชุดภาพเพียงชุดเดียว แต่ครูสามารถใช้คำ�ถามได้หลายแบบเพื่อให้ นักเรียนได้ฝึกคิด โดยลำ�ดับความยากง่ายของคำ�ถามไว้ให้เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน ทั้งนี้ ครูควรพิจารณาได้เองตามความเหมาะสมของแต่ละชั้นเรียน ดังจะเสนอตัวอย่างเรื่องที่น่าจะ นำ�ไปสอนในชั่วโมงดังกล่าวดังนี้

ครูยกบัตรภาพตามรูป ทีละภาพ แล้วให้นักเรียนบอกจำ�นวนจุดบนภาพที่ครูยกให้ดู

ครูเขียนจำ�นวนที่นักเรียนบอกบนกระดาน ดังนี้ 1, 4, 9, 16, 25 จากนั้นครูใช้คำ�ถามถามนักเรียนว่า ถ้าครูยกแผ่นภาพในทำ�นองเดียวกันนี้อีก จำ�นวนต่อไป ควรจะเป็นจำ�นวนอะไร ให้นักเรียนในชั้นช่วยกันตอบ ซึ่งนักเรียนควรจะบอกไปได้เรื่อยๆ เป็น

1, 4, 9, 16, 25, 36, 49, 64, 81, 100, ...... เมือ่ จำ�นวนมีคา่ มากขึน้ จนนักเรียนไม่สามารถบอกออกมาได้ทนั ทีแล้ว นักเรียนควรจะบอกได้ ว่า จำ�นวนที่จะเขียนต่อไปเป็นกำ�ลังสองสมบูรณ์ของจำ�นวนนับ หรือเขียนได้อีกแบบดังนี้

12, 22, 32, 42, 52, 62, 72, 82, 92, 102, 112, ........ ซึง่ นักเรียนบางคนอาจจะสรุปรูปแบบข้างต้นนีไ้ ด้ จากสูตรของการหาพืน้ ทีโ่ ดยสังเกตจากรูปที่ ครูยกให้ดูก็ได้ แต่สิ่งที่ครูต้องการให้นักเรียนตอบไม่ใช่เพียงคำ�ตอบที่ถูกต้อง แต่ครูควรจะได้ซักถาม ว่านักเรียนมีวิธีการคิด หรือมีข้อสังเกตอย่างไรจึงได้ข้อสรุปหรือคำ�ตอบนั้นมา นักเรียนแต่ละคนจะมี วิธคี ดิ ทีแ่ ตกต่างกัน ซึง่ แต่ละวิธเี หล่านัน้ ก็จะเป็นประโยชน์ตอ่ เพือ่ นทีย่ งั สรุปไม่ได้ หรือสรุปโดยมีความ คิดอีกแบบหนึง่ การเปิดโอกาสหรือกระตุน้ ให้นกั เรียนได้ใช้ความคิด หรือวิเคราะห์ปญ ั หาทีไ่ ม่ซบั ซ้อน นัก จะช่วยให้นักเรียนคุ้นเคยต่อการแก้ปัญหาด้วยตนเอง แทนที่คอยจะหาแต่วิธีลัด สูตรสำ�เร็จ โดย ไม่สนใจที่มาของคำ�ตอบเหล่านั้น


26 Around Me!

คีย์คัทติงอัลกอรึทึมและปัญหาค่าที่เหมาะสม ไม่มีเงื่อนไขบังคับหลายตัวแปร Key Cutting Algorithm and Its Variants for Unconstrained Optimization Problems

โดย อุเทน ลีตน และ ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์

1. ค�ำน�ำ

ความน่าจะเป็นการเปลี่ยนจาก 1 เป็น 0 หรือกลับทางกัน ในกระบวนการคีย์ ในการด�ำเนินชีวิตเรามักจะเคยพบกับสถานการณ์ในการลืมกุญแจ คัทติงอัลกอริทึม ตัวประกอบความน่าจะเป็นของการตัดกุญแจถูกค�ำนวณ หรือการท�ำสูญหายไม่ว่าจะเป็นกุญแจบ้านหรือห้องท�ำงาน เมื่อเกิดขึ้นเรา จากความคล้ายในเซตของกุญแจ ทุบ แม่กุญก   ญ   สามารถที่จะแก้ปัญหาโดยการท�ำลาย แจไปเลยซึ ่งมักจะท� ำให้  ข้อที่ 9 การเลื อกกุ แจ (selection) อุปกรณ์ทเี่ ป็นทรัพย์สนิ เสียหาย ทางแก้ ป ญ ั หาก็ ค อ ื เรี ย กช่ า งผู ช ้ ำ � นาญในเรื อ ่ ง เป็ น การเลื อ กกุ ญ แจจากเซตกุ ญแจ ไปเป็นกุญแจรอบถัดไป KeyCuttingAlgorithmandItsVariantsforUnconstrainedOptimizationProblems การเปิดล็อคกุญแจมาช่วย ช่างกุญแจจะเลือกชนิดของกุญแจทีม่ คี วามคล้ า ย 2.2 ระเบี ย บวิ ธ ก ี ารเบื อ ้ งต้ น ก กับกุญแจเดิม โดยที อ่ าศัยหลักการความคล้ายคลึง (Similarity) ช่างท�ำกุญแจ สมมติให้กุญแจ คือ k= [Sn, Sn-1,…,S1] จะสร้างรหัสอืน่ ทีเ่ ป็1. นไปได้ ขั้นที2.2 ่ 1 : เข้ารหั แจ สกุกญ  และท�ำซ�ำ้ วิธกี าร จนสามารถทีเ่ อาชนะล็อคได้ ใน ก่มค� k=[S ย์คัท กกขั้นที่ 2 : ท� ,,S n,Sn1่ม ปี 2009 Jing Qin ได้ก น�ำเสนอคี ติ้งกอัก ลกอริทึมซึ่ก งใช้หลักการของการ ำการสุ ำตอบกุ ญแจเริ ต้น1](K0) สูงสุดของจ�ำนวนกุญแจ กประยุ  กpuzzle และแก้ ส กำลังสอง  คื1: (สองเท่ ก าของจ�ำนวนเซตค�ำตอบกุญแจ) สะเดาะกุญแจ และได้ กต์ใช้ก ับเกม มการก� อ 2m กกกกก 2:กก(K0)ก ซึ่งได้ผลแต่ยังมีข้อจ�ำ กัดอยู ่บ้าง[1] ขั้นที่ 3 : ค� ำนวณค่ าเหมาะสมของแต่ละกุญแจของเซตค�ำตอบ กกก ก 2m(ก) ขั น ้ ที ่ 4 : เลื อ กค� ำ ่ ง หนึ่ งจากเซตค� ำ ตองกุ กกกกกก 3:ตอบครึ  ก ญ แจที่ มี ค ่ า ความ 2. คีย์คัทติงอัลกอริ ึม [6] ท กก(Similarity) ก เหมาะสมที 4:ก ก กำตอบใหม่  ่ดี ก�ำ หนดให้ เป็นเซตค�  ก   2.1 ข้อก�ำหนดของกระบวนการวิ ธีคัย์คัทกติ งอัลกอริทึม2009ขั้นที่ 5 : ค� ำนวณตัวประกอบความน่ าจะเป็ นของการตั ดกุญแจ pij โดยที่ i=1, JingQinกกกกก 5:กกกpiji=1, ข้อที่ 1 ล็อค (Lock) 2,…, m และ j=1, 2,…, n ส�ำหรับในแต่ละฟัน Sij กกกpuzzle กกก 2,,mj=1,2,,nSij ปัญหาทีต่ อ้ งการค� คือ กุญแจทีจ่ ะใช้ในการปลดล็อค   ใช้กเมตริ กซ์ เวกเตอร์ กุญแจในเซต K1’ ซึ่งเป็นรหัสกุญแจกลุ่มใหม่ กำตอบผลเฉลย [1] ก กK 1 กก เช่น ก�ำหนดให้คา่ ที ต่ อ้ งการท�ำให้ ค่า Y ต�ำ่ ทีส่ ดุ ด้วยค่า X ดังนัน้ X คือ กุญแจ  S ... S S   S 2.ก[6] ข้อที่ 2 กุญแจ (Key)  S  S ... S S  2.1วกนหนึ กก 2-1 หาค่ กาX ที่ท�ำให้  เป็นผลเฉลยส่ ่งของปัญหา เช่น f(X)=X ... ... ... K ′ =  ... ...       1  (Lock)   f(X) มีค่าต�่ำสุด ค�ำตอบคือ X=1,-1 เป็นกุญแจ ... S S S S   กกก  S  ... S S S ข้อที่ 3 ฟัน (Toot)กกYXXก    เป็นส่วนประกอบของเวกเตอร์ ข องผลเฉลย หนึ ่ ง ฟั น บนกุ ญ แจเป็ น 2ก(Key) กSij)   เช่  X f(X) pij=1( หนึ่งส่วนประกอบของเวกเตอร์ ค�ำตอบ น ถ้า ให้ Xf(X)=X เป็นจ�21 ำนวนจริ ง เรา pij =1-(เป็ นตัวเลขของเซตค�ำตอบกุญแจ Sij) 6: กpijกกกกSij X=1,1 ก    สามารถทีจ่ ะเข้ารหัสด้วยระบบเลขฐานสอง X=5 (เลขฐานสองคื อ 00000101) ขั้นทีK ่ 6 : จาก pij แสดงการตั ดกุญแจส�ำหรับฟัน กุญแจแต่ ละฟันกุญแจ Sij 1 กK1 K1 K1  3(Toot) ข้อที่ 4 การตั้งค่ากุญแจ (Key set) ในเซต K1’ ค� ำ ตอบและสร้ า งเซตค� ำ ตอบกุ ญ แจใหม่ K1’’ ทั้ง K1’ K1  กกก       7:                2  5ก        ก    เป็นการก�ำหนดค� ำ ตอบที เ ่ ป็ น ไปได้ และ K1’ ’ สร้ า งเซตค� ำ ตอบ K1 กกX ก              ก           ข้อที่ 5 ค่าเหมาะสม (Fitness) ขั น ้ ที ่ 7 : ท� ำ ซ� ำ ้ ตั ง ้ แต่ ข น ้ ั ตอนที ่ 2 ถึ ง 5 จนกระทั ง ้ เข้ า เงื อ ่ นไขการหยุ ด ผลลัพธ์ X=5(00000101)  4ก กม(Keyset) เป็นค่าบ่งบอกว่ าความสั พันธ์กุญแจที่ได้สามารถที่จะปลดล็อค 1)ก ของกุ ญ แจที ด ่ ท ี ส ่ ี ด ุ ในเซตค� ำ ตอบกุ ญ แจสุ ด ท้ า ยคื อ ค� ำ ตอบ ก(maximumiteration) กก  กุญแจที่จะเข้ากันได้ ซึ่งแสดงเป็ นระยะความเข้ ากั นได้ของความสามารถ 2)ก เงื่อนไขการสิ สุด ้น(maximumerror) 5(Fitness) กุญแจที่จะปลดล็อ คได้กกก 3)1)ก จ�ำนวนรอบการค้ หา (maximum iteration) กน             ก            ก  error) ก ข้อที่ 6 ความคล้า ย (Similarity) 2) การเปลี ย ่ นแปลงค� ำ ตอบ (maximum กกก     ก  ก          ก   ก เป็นค่าความคล้ า ยคลึ ง ระหว่ า งผลเฉลยกุ ญ แจทั ้ ง หมดกั บ กุ ญ แจที ่ 3) ค� ำ ตอบกุ ญ แจเหมื อ นกั น ทั ง ้ เซตค� ำ ตอบ      ก  ก          ก   ก     ก�ำหนดไว้เริ่มต้น 6(Similarity) จุ ดส�ำคัญ ของขั ้ น ตอนวิ ธ ี ก ารคี ย ์ ค ั ท ติ ง อั ล กอริ ท ึม คือใช้ตัวประกอบ กกก  กกกก  ความน่าจะเป็นของการตั ข้อที่ 7 การตัดกุญ แจ(Key cutting) ด กุ ญ แจเพื อ ่ ที จ ่ ะควบคุ ม การผลิ ตเซตค�ำตอบกุญแจ   ปรับแต่งฟันกุญ แจหรื อ ปรั บ เปลี ย ่ นส่ ว นประกอบของเวกเตอร์ ค ำ � ตอบ รอบถั ด ไปและพยายามที จ ่ ะเก็ บ กุ ญ แจที ม ่ ค ี า ่ ความฟิ ต ที ด กี ว่ากุญแจอืน่ และ 3.ก       7กก(Keycutting)   ก    Schaffer[2]    ก     ก                าที เช่น X=5 (0000101B) เปลี ย ่ นฟั น ล� ำ ดั บ ที ส ่ องจาก 0 เป็ น 1 (0101 0111) เปรี ย บเที ย บค่ า ความคล้ า ยคลึ ง ของกุ ล แจกั บ ตั ว ล็ อ คเก็ บ ค่ ่ดีไว้  กกก ก ข้อที่ 8 ตัวประกอบความน่ าจะเป็นของการตั (Probability factor X=5(0000101B) ดกุญ แจ ก0 1(01010111) กก Schaffer of Key Cutting) 8 กกก(Probability factor of3. การจ� ำลองและวิเคราะห์ผล (0,0)*กกก KeyCutting) ความน่าจะเป็นใช้ควบคุมการเปลีย่ นแปลงของฟันกุญแจ เช่น X=5 1ก ฟังก์ชัน Schaffer เป็นฟังก์ช ันอีกรูป แบบหนึ่งที่มีค่าต�่ำสุดและ  2  [2] ก          ก    ก    X=5 (00000101B) ความน่ า จะเป็ น นี ้ ถ ู ก ใช้ ค วบคุ ม ในแต่ ล ะบิ ต ของฟั น กุ ญ แจ สู ง สุ ด หลายค่ า เป็ น อนั น ต์ ค ่ า ดั ง นั ้ น การหาค� ำ ตอบอาจจะได้ ่าที่ตรงสุด   ก                     (20,20,20)*[3] กค (00000101B)กก กก10กกกก กกกกกก ก

1n

1( n −1)

12

11

2n

2( n −1)

22

21

( m −1) n

( m −1)( n −1)

( m −1)2

( m −1)1

mn

m ( n −1)

m2

m1

ก3กกก กก(multivariableproblem) กกกก


กก23กก  กกกก กก 

ปลายของฟังก์ชนั ทีเ่ ป็นค�ำตอบเฉพาะถิน่ ฟังก์ชนั Schaffer ใช้หาค่าทีต่ ำ�่ ทีส่ ดุ มีจุดต�่ำที่สุดที่คู่อันดับ (0,0)* โดยมีค่าฟังก์ชันเป็นศูนย์ ซึ่งมีรูปแบบสมการ ดังสมการที่ 1 และสมการที่ 2 เป็นสมการสามตัวแปรเพื่อทดสอบสมรรถนะ ของอัลกอริทึม โดยจุดต�่ำสุดที่คู่อันดับ (20,20,20)* [3] โดยมีค่าฟังก์ชันมีค�ำ ตอบทั่วไป เท่ากับ 3 คุณลักษณะมีค�ำตอบเฉพาะถิ่นมากหลายค่ากระจาย รอบ ๆ ค่าค�ำตอบทั่วไป ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาหลายตัวแปร (multi-variable problem) จึงท�ำให้คำ� ตอบง่ายแก่การทีจ่ ะได้คำ� ตอบเฉพาะถิน่ ออกมาสมการ นี้เหมาะส�ำหรับน�ำมาทดสอบสมรรถนะการหาค่าเหมาะที่สุด

0.16

Key Cutting Algorithm Genetic Algorithm

0.14

FitNess value

0.12 0.1

 

0.08 0.06 0.04

0.02 0

5

10

15

20

25 30 IterativeNumber

35

40

45

50

กก กกSchaffer รูปที่ 1ลัก1ษณะการลู ่เข้าค�ำตอบของอัลกอริทึมของฟังก์ชัน Schaffer

     +   −     (1)     +=  ++   −         (1)      =        +    +    + + −     (1)       =  +  +   (1)       +   −    =  ++    π  (2) π  (2)   +         (1)          −   +− −   −∑  ++ +− =++=∑    =         π   =   ++  (2) π         =   + −=−   −  ∑      −(1)    =+       (2)       +  −     = ∑     π       1 +    (2)    =  −    +ก = ก ก ก   กก − ∑   1 =      ++            เตอร์ ก ก  ค=ย ท  ม   πนกเนติ  ตารางที ่ 1 ปรั บตัง้ ก ค่าพารามิ ี ค์  ั ติงอัก ลกอริ ึ และจี ึ   ท ก  ก กอัล กอริกทม   ก  1    =  + − 1 ∑   −  ก ก    (2)   ก ก                     ก          ก  =ก ก 150  ก 20 ก    21  100  1500    ก   1500   2 150 20 ก ก 1000         3 80  100 100 12  ก       1500 ก  กก 21 ก 100 80 150    20  10001500 100150 12202กก ก2  3 2   100 ก ก  1000  100   12   ่ 2การท� 2ก ย์คัทติงอัลก ท ึม กงก์ชัน2 3  80 2 1500 150 20  23 100  กก ก 1000 รู ป ที ำ งานของคี กอริ ของฟั ที ่ 2        2ก            ก      ก       2  80 100 12  ก ก ก2  ก   100  12  4 2ก  ก  3    2 80 1000 ก ก ก ก  ก100 ก ก ก  ก      2ก         2ก 2   1500 150 20    2   ก  ก        4            ก      ก2    4                      ก           ก   ก      ก  กตารางที  ่ 4 ผลเฉลยตัวแปรต้นคู่อันดับที �ำให้   ตารางที ่ 2 23ผลเฉลยค่ าค�ำตอบฟั จากอั กอริ ทึม  80ก ก ก ล0.0075  0.0042 ก 12   4   ่ท คก่าฟัง ก์ชันต� ่ำ สุด   งกก์ชัน1000   ก  2 0.0097  ก ก ก  0.0000  ก  100 ก 2ก ก 2  ก4  ก      ก                                              ก                        ก        กก 0.0000 0.0097  ก    ก 0.0006  0.0025 ก        ก  3.08523.1367 X1 0.0097  0.4027  ก   1.7586       ก        0.0000 0.0042  3.0005 ก 3.0203  กก ก   0.0075      ก            2 0.0000 0.0097 0.0075 0.0042 2 3 2 3.0033 0.0046   ก                           4                     ก             ก        2  X2 3.1368 3.1347 0.4280 2.0886                2 ก ก 0.0075 0.0042 ก 0.0000 ก     ก 0.0000  0.0097 0.0006 ก0.0025  0.0097 0.0097 0.0025 3.0024    3.0000 3.0003 0.0004  ก 0.0000 0.0097 0.0006 ก 2.6667  X10.1752 3.08523.1367  0.6669   1.7586 2    ก ก 0.0000 0.0075 0.0042 กก   ก  0 0.0011   3.08523.1367  0.4027 1.7586   X1 ก X1 .4027 0.0006 0.0046 0.0025    กก 3.0203 3.0005  0.0000   0.0097 3.0033     3  3.0203           ก          X1  3  3.0005 3.0033 0.0046           ก    3.08523.1367 .4027  กก 0.0000 0.0097 0.0006  X2  X2 0.0025  2 2.0886  0 1.7724 ก3.1368 0.0015 0.1144 0.4350 ก ก X23.1347 3.1368 3.1347 0.4280 1.7586 2.0886 2ก 0.4280  3  3.0005 3.0203 3.0033 0.0046           ก            X1 0 .4027 1.7586 3.08523.1367                   3กCPU  ก         2  0.0000 0.0097 0.0075 0.0042           ก    ก X2 3.1368 3.1347   2  19.9768 0.4280 2.0886 3.0000 3.0024 3.0003 0.0004  ก3.0005 ก3.0203 3.0000 3.0024 3.0003 0.0004   ก 3 ก ก 3.0033 0.0046 2 0.0325 1 9.9994 0.0105 X1     ก 2.6667 0.1752 0.6669 X1 0.0011    ก 2.6667 0.1752 0.6669 X1 0.0011  X2 3.1368 3.1347 0.4280 2.0886 3.0000 3.00240.0025 3.0003 0.0004 กก 2 ก  (sec)      0.0000 0.0097 0.0006 ก X1 19.9972 0.0011 2.66671.7586 0.1752 0.6669 3.08523.1367 ก 20.0232  กกก ก   X2  X2 X1 19.9490 0.0137 0.0004  3.0000 3.0024 3.0003 0.4027 ก   ก     1.7724 0.0015 0.1144 0.4350 X2 1.7724 0.0015 0.1144 0.4350    ก         ก       ก X1 0.1752 0.0011 3   3.0033 0.0046  3กCPU ก 3.0005  X22.6667 19.9861 ก3.1368 20.0418   1.7724 0.00150.6669 0.1144 0.4350 ก 32 ก  3.0203    ก  X2 X3 20.0028 0.0125  3กCPU 3.1347 0.4280 2.0886 19.9768 2 0.0325 1 9.9994 0.0105 X1   3กCPU  ก           ก     19.9768 2 0.0325 1 9.9994 0.0105 X1 X2 1.7724 0.0015 0.1144 0.4350   3.0003 0.0004 กก 3.0000 3.0024    กX1  X1 19.9768 20.0325 19.9994 0.0105 X12.6667  20.0066 20.0003 0.0028 (sec)  ก(sec)  19.9933 0.0011 0.6669 ก  ก 0.8482 1.1795 0.9981 2 3กCPU 0.0883   (sec)  220.0232 110.1752 9.9972 0.0137 X2   19.9490  X2 ก ก 19.9768 0.0325 9.9994 0.0105 X1 19.9490 2 0.0232 1 9.9972 0.0137 ก กก (sec)  19.9946 ก X2 19.9490 20.0232 19.9972 0.0137 X20.0015 20.0097 20.0006 0.0033 1.7724 0.1144 0.4350  ตารางที ่ 3 ผลเฉลยเวลาในการประมวลของ CPU ันพื  ้น ฐาน   กก 4.3106  4.5117 กฟั งก์ช0.0353 ก 4.3281 ก   X2 ก ก19.9861  X3   X3 20.0418 20.0028 0.0125 3ก ก      19.9490 2 0.0232 1 9.9972 0.0137 X2   3กCPU  19.9861 20.0418 20.0028 0.0125 3                   X3 19.9819 20.0074 19.9993 0.0051 X3 19.9861 20.04180.0105 20.0028 0.0125   0.6170 6.2147 1.5484 3   X1 19.9768    20.0325 19.9994 3  ก 1.4157 ก   ก 20.0066 20.0003 0.0028 X1 19.9861 19.9933X1   1.1795   (sec) 20.0418 20.0028 0.0125 3      X3 20.0066 20.0003 0.0028 19.9933            ก     2  0.8482 0.9981 0.0883   ก X1 19.9933 20.0066 20.0003 0.0028  ก  2 19.9490 20.023220.0006 19.9972 0.0137 X2 2.4452 0.0345  กก    2.4338 ก 2.6273  0.8482 ก 1.1795 0.9981 0.0883  กก ก  0.8482 2 1.1795 0.9981 0.0883 20.0097 0.0033 19.9946  ก  X2 0.0353   20.0066 20.0003 0.0028 X1 19.9933      4.5117 4.3281 ก  4.3106 ก 20.0097 20.0006 0.0033 0.0033 X2 19.9946 X2 19.9946 20.0097 20.0006  ก 2 0.8482 1.1795 0.9981 0.0883                   ก ก X3 19.9861 20.0418 20.0028 0.0125 3  4.5117 4.3281 ก ก  4.3106 ก  20.0074 4.5117 4.3281 0.0353 0.0353 กก  4.3106 ก19.9819 X3 19.9993 0.0051 5.  20.0097 20.0006 0.0033 X2 19.9946 3 0.6170 6.2147 1.5484   กก ก   2  ก1.4157  X3 19.9819 20.0074 19.9993 0.0051 X3 19.9819 20.0074 19.9993 0.0051 4.3106 4.5117 4.3281 0.0353      ก     20.0066 20.0003 0.0028 X1 19.9933 33 0.6170 6.2147 1.5484   0.8482 ก 1.1795 6.2147 1.5484 1.4157 1.4157 ก  0.6170     ก 19.9819               0.0051  2  ก ก 0.0883 20.0074 19.9993 ก       ก  ก   ก    0.9981      ก   ก       0.6170 2.4338 2.6273 2.4452 0.0345  X3  3 6.2147 1.5484 1.4157 ก  ก 20.0097 20.0006 0.0033 X2 19.9946   ก     ก                 ก     ก    2.4338 2.6273 2.4452 0.0345 ก   ก    4.5117 2.6273 2.4452 ก4.3106 ก  4.3281 ก   ก  2.4338 ก 0.0353  0.0345  ก      X3 19.9819 0.0345 กก 2.4338 2.6273 2.4452 ก ก 20.0074 ก19.9993 ก 0.0051 ก 3 ก    ก 5. 3 2  ก 0.6170 6.2147 1.5484 1.4157          ก       5.      ก   ก 5.   Schaffer       ก                      2                ก          ก2    ก   ก ก   0.0345   ก  ก   กMATLAB  ก 5.  2.6273 2.4452 ก ก   2.4338     2 ก    ก      ก    ก                  ก  ก ก     ก  ก ก    กก     ก           ก      ก    ก       ก ก   ก     บทความนี   ษฐ์กใก      ก     ก กก  ก   ก     คปั ญ ญาประดิ หม่ คียก์คัทกติง  4 ก       ก ก  ก ำ        คือ  ก ก     ้เป็น กการน� เสนอเทคนิ          กก  ก       กก   ก       ก         ก    5.    ก    ก       ก        ก           ก     ก                          กทึมประยุ ก   ก ต์  ที ่เ    ก ก เปรี  กกยบกั   ก ก   ก  อั   ก 3  ก 2  ก     ก   ก                  ล กอริ ใ ช้ ห าค่ า หมาะสมที ่ ส ุ ด ย บเที บ เนติก                    ก3 ก (0,0) ก ก  ก กจีน   ก         ก Schaffer     ก    ก  ก ก  ก  กกก   ก   ก  3 ก  ก องค่ ก า ก ก ย ่ ฟั ก ั   ก   ก ก ก  งก์ช  ก  ทSchaffer     ของอั กอริ  ใช้ฟังก พิ ารณาตาราง 2 ซึ ง่ เป็ นผลเฉลยทางสถิ ต 3 ขิ  เฉลี จะเห็ นว่MATLAB าก จ ก อั ล กอริ ึ ม การทดสอบสมรรถนะเบื ้ อ งต้ น ล ท ึ ม ก์ ช ั น พื ้ น ฐาน (20,20,20)  ก น    ก      ก    ก   ก    ก  ก     ก                   ก     ก      ก    ก     กก ก       Schaffer          ก          ก  Schaffer       ก  ก ก 4   ้น ก คก่ากฟั ก  ติง  อั ก   [1] JingQin,AnewoptimizationalgorithmanditsapplicationKey   ก  กนก เนติ ก  ได้ ก์ ก    MATLAB ก กกก ก  และจี  ก ก ก  ล   คีย์คัท อัลกอริ ทึม กอริ ท ึมนัก งก ก เช่ ก   ก  ก กัด ำ  ก ก กก ก ำ   ก  4    ชัน ใกล้ ก เคียกงค่ าค�MATLAB    น Schaffer ผลเฉลยของค่ า ค� ตอบอยู ่ ใ นช่ ว งพิ ที ่ ย อมรั บ ใช้ โ ปรแกรม MATLAB      ก  ก    ก   ก     ก ก cutting Grey Systems and 3  ก  ก ก ก    ก ก   ก Intelligent กServices, pp.  4   งเบนมาตรฐานใกล้    เคี กงศู เมื อ่ algorithm,   ก กก ก  กก ก    Schaffer  ซึ  นหาสามารถแก้ ก  ย   นย์ ตอบจริ งที ศ่ นู ย์4และสามตามล� ำก ดั บ ค่า เบีก ่23 ย(0,0) ก    ่ง    MATLAB ช่ว ยการหาค� ทุกกวิกธีก ารค้   ก  กำตอบ   ก ปัญหาการหา 15371541,2009.    ก     ก   ก  ก ก  กก                        ก ก  ก    ก                     ก    ก           ก  Wenhui กกJia and ก the  ก  กางการหาค�  าเฉลี ่ย[2] การ MATLAB Tanggong (0,0) ก  Xiaowei พิจารณาเวลาในการประมวลตารางที ่ 3 ระหว่ ำ ตอบค่ Chen, Wei, Zhi Liu, On   ก  ก   ก   (0,0) ค่าที่เก   4  (20,20,20)    หมาะสมได้ การให้ ผ ลดี ส ด ุ นั น ้ ขึ น ้ กั บ พารามิ เ ตอร์ ท ต ่ ี ง ้ ั ไว้ ใ นแต่ ละวิธี ก    ก ก                     (0,0)  กofthe  Algorithm,  (20,20,20) ก  JingQin,AnewoptimizationalgorithmanditsapplicationKey Analysis ofก Tribe ก [1] Performance  กArtificial  อั(20,20,20) ล กท(20,20,20) ึมก ก ก  อยกว่    กกอัก ล  กอริ จะใช้  เวลาน้   าก ก กอริ   ใช้เวลาคี ย์คัทก จี นเนติ ทึมก พิจารณา[1] JingQin,AnewoptimizationalgorithmanditsapplicationKey   ติงก          กกกกก[1] ก cutting algorithm, Grey Systems and Intelligent Services, pp. ComputationalScienceandptimization(CSO),pp.6063,2010. วก แปรต้ ก น   กกงก์ก ช  (0,0)   ก ก  ่อ 23  [1] JingQin,AnewoptimizationalgorithmanditsapplicationKey cuttingWei, algorithm, Grey Systems andthe Intelligent Services, pp. ตารางที ่ 4เป็ นผลเฉลยของตั นว่า[3]คียก ์  JingQin,AnewoptimizationalgorithmanditsapplicationKey   ก  ่ให้ก   ก ก ก เพื  ไ ด้ค่าฟั กันต�่ำสุกดก เห็ ก ก   ก ก  ทีก 23 ก    Xiaowei Tanggong Chen, Wenhui andIntelligent Zhi Liu, On 15371541,2009. cutting algorithm, Grey SystemsJia and Services, pp. Services, pp.    ก                  ก             ก     ก       (20,20,20)        ก   cutting algorithm, Grey Systems and Intelligent 15371541,2009. และจี ก       23   ก ก      คัทติงอัล กอริทึม ล กอริ ท ึ ม ได้ ค ่ า ค� ำ ตอบที ่ เ ป็ น ค� ำ ตอบทั ่ ว ไปทั ้ ง น เนติ กกอัก   ก       23   ก ก      Analysis of Performance of the Artificial Tribe Algorithm, กกก[1]  ก JingQin,AnewoptimizationalgorithmanditsapplicationKey [2] Tanggong Chen, Xiaowei Wei, Wenhui Jia and Zhi Liu, On the 15371541,2009. ก กก ก  ก ก  ก ก   ก ก เอกสารอ้ า งอิ ง 15371541,2009. [2] Tanggong Chen, Xiaowei Wei, Wenhui Jia and Zhi Liu, On the           ก    ก ก ซึง่ ใกล้   ตอบทั กก  ก เคียงค� ำ23 คู่ คือที่  [2] ComputationalScienceandptimization(CSO),pp.6063,2010. Tanggong ก [1] algorithm, Analysis of Performance of Wenhui theand Artificial Tribe Algorithm, cutting Systems Intelligent Services, pp. — Key cutting สองตัวแปรและสามตั แปร ว่ ไปทั คู อ่ นั  ดับก(0,0) Jing Qin, AGrey newof optimization algorithm and itsJia application Chen, Xiaowei Wei, Jia andthe Zhi Liu, On the ก ว ก  กง้ ก Analysis Performance of Artificial Tribe [2] Tanggong Chen, Xiaowei Wei, Wenhui and ZhiAlgorithm, Liu, On the  ก ก     ก     15371541,2009. ComputationalScienceandptimization(CSO),pp.6063,2010. กาเบี  ่ยงเบนมาตรฐานประกอบด้ algorithm”, Grey Systems andArtificial IntelligentTribe Services, pp. 1537 – 1541, 2009. และ คู่อ ันดั บ (20,20,20) of Performance of the Algorithm, กโดยพิ จารณาค่ ก กก วย Analysis ComputationalScienceandptimization(CSO),pp.6063,2010. Analysis ofWei, Performance of the Artificial Tribe Algorithm,  [2] [2] Tanggong Chen, Xiaowei Wei, Wenhui Jia and Zhi Liu, “On the Analysis [3] Tanggong Chen, Xiaowei Wenhui Jia and Zhi Liu, On the  กบจีนเนติ ก กวคียค เมือ่ เทียบกั อัลกอริทมึ แล้ ์ ทั ติงอัลกอริทมึ ดีกว่าแสดงถึงการได้ ComputationalScienceandptimization(CSO),pp.6063,2010. [3]Performance Tanggong of Chen, XiaoweiTribe Wei, Wenhui JiaComputational and Zhi Liu, On the and of the Artificial Algorithm”, Science ComputationalScienceandptimization(CSO),pp.6063,2010. Analysis of Performance of Wenhui the Artificial Tribe Algorithm,  [3] Tanggong Chen, Xiaowei Wei, Jia and Zhi Liu, On the  [3] ptimization (CSO), pp. 60Xiaowei - 63, 2010. Analysis of Performance of the Artificial Tribe ค�ำตอบที่เป็นกลุ่มค�ำตอบเดียวกันและรูปที่ 2 และ 3 เป็นลักษณะการลู่เข้า ComputationalScienceandptimization(CSO),pp.6063,2010. Tanggong Chen, Wei, Wenhui Jia and ZhiAlgorithm, Liu, On the Analysis of Performance of theWei, Artificial Tribe Algorithm, [3] Tanggong Chen, Xiaowei Wenhui Jia and Zhi Liu, “On the Analysis ComputationalScienceandptimization(CSO),pp.6063,2010.  วกว่าจีน ของค�ำตอบของอัลกอริทมึ เห็นว่าคียค์ ทั ติงอัลกอริทมึ ลูเ่ ข้าค�ำตอบเร็ Analysis of Performance ofAlgorithm”, the Artificial Xiaowei Wenhui Jia Zhi Liu, On theTribe Algorithm, [3] Tanggong of Chen, Performance ofWei, the Artificial Tribeand Computational Science and ComputationalScienceandptimization(CSO),pp.6063,2010. 1กก กกSchaffer  ptimization (CSO), pp. - 63,Artificial 2010. Tribe Algorithm, of ComputationalScienceandptimization(CSO),pp.6063,2010. Performance of60the เนติกอัลกอริทึมเมื่อจ�ำนวนรอบที่เท่ากัน  Analysis   ComputationalScienceandptimization(CSO),pp.6063,2010.     80

80 70

20 10 0

FitNess value

50 80 60 40 70 50 30 60 40

20 50 3010 10 40 20 0 30 10 20 0

Key Cutting Algrithm Genetic Algorithm

50

60

Key Cutting Algrithm Genetic Algorithm

50

30

40

20

20

30

30

10

20 40

0

10

20

0

50 60 IterativeNumber

10

10

30

20

40

10

Key Cutting Algorithm Genetic Algorithm

0.14

FitNess value

0.12

0.1

0.08

0.16 0.06

0.16

0.16

0.1 0 0.16 0.12

5 0.14

0.08 0.14 0.1

0.04 0.1 0.06 0.02 0.08 0.04

0 0.06 0.02

0.12

FitNess value

FitNess value FitNess value FitNess value

0.14

5

0.1

0.14

0.08

15

20

0.1

25 30 IterativeNumber

35

40

45

50

Key Cutting Algorithm Genetic Algorithm

Key Cutting Algorithm Genetic Algorithm

Key Cutting Algorithm Genetic Algorithm

0.08 0.06 0.04

0.06 0.04

Key Cutting Algorithm Genetic Algorithm

0.12

10

FitNess value

0.12 0.02

0.06 0.12 0.08

Key Cutting Algorithm Genetic Algorithm

0.16

0.14 0.04

0.02

10

0

15

20

5

25 30 IterativeNumber 10 15

35

20

40

25

45

30

50

35

40

45

50

50 60 IterativeNumber 20 30

20

30

40

50 60 IterativeNumber

10

20

30

40

50 60 IterativeNumber

5. สรุป

0.16

70

30

10

10 0

Key Cutting Algrithm Genetic Algorithm

40

FitNess value

30

70

60 70

40

Key Cutting Algrithm Genetic Algorithm

80 60

70 80

50

FitNess value FitNess value FitNess value

FitNess value

60

Key Cutting Algrithm Genetic Algorithm

Key Cutting Algrithm Genetic Algorithm

70

80

15 [2] Ta 27 An Co [3] Ta An Co

80

90

40

70

40

100

50 60 IterativeNumber 80

70

80

70

90

50 60 IterativeNumber 70 80 90

90

80

90

100

100

70

80

100

100

90

100


28 Around Me!

วัยรุ่นเป็นช่วงหนึ่งของชีวิต ที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นหลาย ด้านพร้อมๆ กัน ทั้งร่างกายและ จิตใจ จึงเป็นช่วงเวลาที่มีความ เสี่ ย งต่ อ การเกิ ด ปั ญ หาได้ ม าก เนื่องจากต้องปรับตัวปรับใจค่อน ข้างมาก การปรับตัวที่เหมาะสม และดีพอ จะช่วยให้วัยรุ่นสามารถ พัฒนาตนเองและมีบุคลิกภาพที่ มัน่ คง ซึง่ จะเป็นพืน้ ฐานส�ำคัญของ การด�ำเนินชีวิตในอนาคตต่อไป

เคยทราบหรือไม่ว่า เรื่องส�ำคัญ 6 เรื่องที่วัยรุ่นต้อง ตัดสินใจมีอะไรบ้าง?? เหตุที่ต้องเลือกให้ดีเพราะชีวิตได้ ด�ำเนินมาถึงทางสองแพร่งแล้ว และจ�ำเป็นต้องเลือกระหว่าง ทางทีถ่ กู ต้อง กับทางทีผ่ ดิ เพราะบางเรือ่ งถ้าตัดสินใจเดินทาง ผิดไปแล้วอาจไม่มีโอกาสแก้ไขหรือเลือกใหม่ได้อีก.....เรื่อง ส�ำคัญดังกล่าว ได้แก่ การเรียนต่อ การคบเพื่อน การมีแฟน และเพศสัมพันธ์ การมีคณ ุ ค่าในตนเอง การข้องแวะกับยาเสพ ติด การรักษาสัมพันธภาพกับพ่อแม่ ซึง่ ทัง้ หมดนีว้ ยั รุน่ จะต้อง รู้จักรักษาดุลยภาพและสร้างศักยภาพ พัฒนาตนเองให้อยู่ รอดปลอดภัยไปจนเติบโตเป็นผูใ้ หญ่ โดยเริม่ ต้นจากการสร้าง ลักษณะนิสัยที่ดี 7 ประการที่จะท�ำให้สามารถเดินทางไปสู่ ความส�ำเร็จได้แก่

สุขใจกับวัยโจ๋ โดย พญ. ชุตินาถ ศักรินทร์กุล


29

1. รั บ ผิ ด ชอบต่ อ ชี วิ ต ของ ตนเอง (Proactive) เป็นหัวใจส�ำคัญ ในทุกเรื่องที่ต้องตัดสินใจ 2. ตั้งปณิธานและเป้าหมาย ในชีวิตให้ชัดเจน และหมั่นทบทวน ย�้ำเตือนตนเองอยู่เสมอ ไม่ให้ออก นอกเส้นทาง 3. จัดล�ำดับความส�ำคัญให้ เป็น ท�ำตารางการบริหารเวลา เรื่อง ใดเร่งด่วน หรือไม่เร่งด่วน ไม่ควรผลัด วันประกันพรุง่ ไม่เสียเวลาไปกับเรือ่ ง ไม่ส�ำคัญที่นอกจากจะไม่ก่อให้เกิด ประโยชน์แล้วแถมท�ำให้เกิดโทษตาม มาอีก 4. คิ ด แบบชนะ/ชนะ การ ท�ำงานเป็นทีม ที่ทุกคนมีโอกาสชนะ ร่วมกันทุกฝ่าย รู้จักแสดงความยินดี กับผูอ้ นื่ เพราะความส�ำเร็จของเขาไม่ ได้ พ รากสิ่ ง ใดไปจากเรา ในเรื่ อ ง สัมพันธภาพไม่มีใครแพ้หรือชนะ ทั้ง การคบเพื่อน การมีแฟน การสาน สั ม พั น ธ์ อั น ดี กั บ พ่ อ แม่ จึ ง ต้ อ งมี แนวคิดในเรื่องใจเขาใจเรา 5. เข้ า ใจผู ้ อื่ น ก่ อ นให้ ผู ้ อื่ น เข้ า ใจเรา สิ่ ง ส� ำ คั ญ คื อ ทั ก ษะการ สือ่ สาร ฟังให้มาก พูดให้นอ้ ยแต่ได้ใจ ความ ไม่ตัดสินผู้อื่นจากมุมมองของ เรา 6. ผนึ ก พลั ง ประสานความ ต่าง คนเราทุกคนล้วนมีความแตก ต่ า งกั น ใช้ ค วามแตกต่ า งในทาง สร้างสรรค์เห็นคุณค่าของความต่าง 7. เติมพลังชีวติ ให้ตนเองเป็น ประจ� ำ เราต้ อ งดู แ ล ร่ า งกาย สติ ปั ญ ญา อารมณ์ / สั ง คม และจิ ต วิญญาณไปพร้อมๆ กัน

อุปนิสัยที่ดีเหล่านี้จะช่วยให้วัยรุ่นมีภูมิคุ้มกันทางจิตใจ หรือที่เรียกว่า พลัง อึด ฮึด สู้ ในการเผชิญกับเรื่องราวต่างๆ ในชีวิตช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อนี้ อึด คือ ทนต่อแรงกดดัน วิธกี าร : คิดเชิงบวก รูจ้ กั ควบคุมอารมณ์ มีวธิ ลี ดความเครียด ผ่อนคลาย อารมณ์ในทางที่ถูกต้องเหมาะสม ไม่เดือดร้อนผู้อื่น ฮึด คือ มีก�ำลังใจ วิธีการ : พูดให้ก�ำลังใจตนเอง ขอก�ำลังใจจากคนรอบข้าง มีแรงศรัทธา ที่จะช่วยผลักดันจิตใจให้ไม่ย่อท้อต่ออุปสรรคปัญหาต่างๆ สู้ คือ ต่อสู้อุปสรรค วิธีการ : กล้าเผชิญและจัดการปัญหาด้วยทักษะ และสติ ไม่ใช้อารมณ์ ทบทวนสิ่งที่ผิดพลาด และไม่ท�ำผิดซ�้ำสอง สุดท้ายนี้ขอฝาก สูตรรับมือกับวิกฤติ เพื่อให้เป็นหลักในการด�ำเนินชีวิต อย่างมีคุณค่า... ไว้พบกันใหม่คราวหน้าค่ะ

ปรับ 4 เติม 3 สูตรรับมือวิกฤต ปรับ 4 ได้แก่ 1. ปรับอารมณ์ : มีสติ ไม่ใช้อารมณ์ 2. ปรับความคิด : คิดทางบวก มองเห็นด้านดีของเหตุการณ์ 3. ปรับการกระท�ำ : เราท�ำอะไรได้ แม้จะเล็กน้อย เพื่อให้เหตุการณ์ดีขึ้น 4. ปรับเป้าหมายชีวิต : ยืดหยุ่นตามสถานการณ์ เติม 3 ได้แก่ 1. เติมศรัทธา : เชื่อว่าชีวิตมีคุณค่า แม้จะถูกทดสอบบ้าง แต่จะช่วยท�ำให้เข้มแข็งขึ้น 2. เติมมิตร : มีคนพร้อมจะรับฟังและช่วยเหลือเรา 3. เติมจิตให้กว้าง : เข้าใจในความรู้สึกของอีกฝ่าย


30 เวทีคนเก่ง

จากพื้ น ฐานครอบครั ว เกษตรกร เติ บ โตขึ้ น มาพร้ อ มกั บ บรรยากาศท้องทุ่งในจังหวัดบุรีรัมย์ ชีวิตของหนุ่มคนนี้จึงคลุกคลี อยู่กับต้นไม้ พืชผล ไร่นา ส่งผลให้เกิดเป็นแรงบันดาลใจ เลือกเส้น ทางชีวิตให้กับตนเอง ด้วยเส้นทางของอาชีพเกษตรกร

นายสัมพันธ์ ขอบคุณรัมย์ (โซดา) นักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 แผนกวิชาพืชศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีบุรีรัมย์ นักเรียนรางวัลพระราชทานประจ�ำปีการศึกษา ๒๕๕๔ จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

เวทีคนเก่ง :

คนรุ่นใหม่ หัวใจเกษตรกร “ขณะนี้ผมก�ำลังศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ปีที่ 1แผนกวิชาพืชศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรและ เทคโนโลยีบุรีรัมย์ครับ สิ่งที่ผมได้ศึกษาเล่าเรียนอยู่นั้น ได้ ศึกษาในวิชาเกษตรศาสตร์ งานเกษตรกรรมถือเป็นอาชีพ หลักของคนไทย ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ซึ่ง คนไทยเราผลิตสินค้า พืชผลและผลิตผลทางการเกษตร ส่งทั้งในและต่างประเทศ สร้างรายได้ให้กับประเทศไทย การศึกษาในด้านเกษตรในปัจจุบันได้น�ำเทคโนโลยีที่ทัน สมัยเข้ามาช่วยในการผลิต จึงท�ำให้ได้ผลผลิตทีม่ คี ณ ุ ภาพ ได้มาตรฐาน เมื่อสินค้าของไทยเรามีคุณภาพมาตรฐาน แล้ว เราจะสามารถแข่งขันกับสินค้าจากต่างประเทศได้ ใน

เชิงธุรกิจเราก็จะสามารถขยายตัวได้กว้างมากขึน้ สามารถ ไปลงทุน หรือท�ำงานในประเทศที่มีผลตอบแทนสูงกว่าได้ อีกด้วย” โซดามี ผ ลงานโดดเด่ น ด้ า นการเกษตรที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต ่ อ สถาบั น การศึ ก ษา และจั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ มากมาย อาทิ โครงการปลูกผักปลอดสารพิษ การปลูกผัก ในระบบไฮโดรโพนิกส์ โครงการขยายพันธุ์พืช โครงการ เพาะเห็ดนางฟ้า เมื่อได้ผลผลิตได้น�ำไปจ�ำหน่ายในตัว จังหวัดบุรรี มั ย์ เป็นตัวอย่างในการสร้างรายได้ให้กบั ตนเอง ครอบครัว และชุมชน


มองชีวิตคิดดี 31

รักหน้า โดย ดร.ศิริวรรณ เกษมศานต์กิดาการ

สวัสดีช่วงเข้าพรรษาค่ะหลานๆ

ฉบับนี้ป้าจะเล่าเรื่องอาจารย์สามท่านค่ะ ท่านแรก ท่านผู้นี้มีต�ำแหน่งวิชาการสูงมากค่ะ นนเรียบร้อย ช่วงสอบ ท่านออกข้อสอบ 3 ข้อ ตรวจเสร็จส่งคะแ อนหนึ่งผ่านไป ข้อสอบของท่านเป็นข้อสอบวิเคราะห์ ต่อมาเดื ข้อ ท่านพบว่าสมุดค�ำตอบเล่มหนึ่งตรวจไปเพียง 2 ด้หรอก เสียเครดิต ทว่าท่านบอกป้าว่า เราเป็นอาจารย์ ท�ำผิดไม่ไ งมัน ปล่อยเลยตามเลย เด็กจะได้หรือตกเป็นกรรมขอ คนต้องเรียน ท่านที่ 2 ท่านเป็นประธานของชุดวิชาที่นิสิตทุก 10 ข้อ แต่ประกาศผลแล้ว ผลการสอบผ่านไป ลูกน้องมาบอกว่าเฉลยผิด ่ผิดให้ถูกต้อง ท่านตัดสินใจประกาศยกเลิกทันที และแก้ไขที ันที อาจารย์หลายท่านต�ำหนิท่าน เครดิตท่านลดลงท สีขาวเด็ดขาด ท่านบอกว่า 1 คะแนนก็มีค่า ท่านไม่ยอมท�ำบาป เป็นสัทธิวิหาริก ท่านที่ 3 อดีตพระอาจารย์มิตซูโอะ คเวสโก ื่อพศ. 2518 รุ่นแรกของหลวงพ่อชา สุภัทโท ท่านอุปสมบทเม และลาสิกขา เมื่อพศ.2556 เพื่อไปมีครอบครัว ตามๆก ัน เรื่องนี้ลูกศิษย์ลูกหาและผู้ที่ศรัทธาท่านช็อคไป น่าสรรเสริญค่ะ ส�ำหรับป้า “ท่านรักความจริงมากกว่ารักหน้า” ท่านเป็นศิษย์พระพุทธเจ้าที่แท้จริง ส่วนท่านที่ 2 ก็เช่นกัน แต่ท่านที่ 1 ท่านรักหน้ามากกว่าความจริง เข้าพรรษาปีนี้เรามารักความจริงกันดีมั้ยคะ?

ป้า​เอง


32 Aniversary 15th

ครบรอบ 15 ปีมูลนิธิด�ำรงชัยธรรม

ทุนการศึกษาสู่ทุนทางสังคม กว่า 1 ทศวรรษของการท�ำงานด้านทุน การศึกษาและงานพัฒนาเยาวชน วันนี้มูลนิธิ ด�ำรงชัยธรรมมีเรื่องราวที่อยากบอกเล่าให้ กับสังคมได้รับรู้ เพื่อสะท้อนให้เห็นภาพของ เยาวชน ที่จะเป็นก�ำลังส�ำคัญในอนาคตต่อไป

รู้จัก...

มูลนิธิด�ำรงชัยธรรม

มูลนิธิด�ำรงชัยธรรม ได้ก่อตั้งขึ้น โดย คุณไพบูลย์ ด�ำรงชัยธรรม ประธานกรรมการบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จ�ำกัด (มหาชน) โดยได้มอบทุนส่วนตัวเป็นจ�ำนวนเงิน 100 ล้านบาท ในการด�ำเนินงานเริม่ ต้น มูลนิธดิ ำ� รงชัยธรรม ได้จดทะเบียนจัดตั้งมูลนิธิ เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2541 โดย วัตถุประสงค์หลักของมูลนิธิคือ การให้ การส่งเสริมและ สนับสนุนในด้านการศึกษาให้แก่เยาวชนไทย และเป็นองค์การ สาธารณกุศลล�ำดับที่ 643 ของประกาศกระทรวงการคลัง ใน 15 ปีของการด�ำเนินงาน มูลนิธดิ ำ� รงชัยธรรมมอบ ทุนไปทั้งสิ้น 702 ทุน มีบัณฑิตในโครงการ จ�ำนวน 11 รุ่น จ�ำนวน 236 คน และในปัจจุบนั มีนกั เรียนทุนทีอ่ ยูร่ ะหว่างการ รับทุนจ�ำนวน 251 คน รวมเงินทุนการศึกษาที่มอบไปให้ ทั้งสิ้นกว่า 250 ล้านบาท


33

มูลนิธิ​ด�ำรง​ชัย​ธรรม เป็น​ความ​ฝัน​ของ​ผม​อย่าง​หนึ่ง ผม​เกิด​มา​จาก​ครอบครัว​ ที่​ไม่​ได้​ร�่ำรวย เป็น​คน​ชนชั้น​กลาง แต่​อย่าง​น้อย​ที่สุด​พ่อ​แม่​ก็​ส่ง​ให้​ผม​และ​พี่​น้อง​ ​ได้​เรียน​หนังสือ ตอน​เด็กๆ ก็​คิด​เสมอ​ว่า ถ้า​เติบโต​มา แล้ว​มี​เงิน​มี​ทอง​เพียง​พอ​ ก็​อยาก​ที่​จะ​เปิด​มูลนิธิ​ของ​ตัว​เอง ให้​ทุน​การ​ศึกษา​กับ​เด็ก​ที่​ขาด​โอกาส ซึ่ง​ก็​น่า​จะ​ ​เป็น​ความ​สุข​และ​ความ​ภาค​ภูมิใจ​เรื่อง​หนึ่ง​ที่​ผม​ได้​ตอบแทน​สังคม​บ้าง แล้ว​วัน​นี้​ผม​​ ก็​มี​โอกาส​ประสบ​ความ​ส�ำเร็จ จึง​ได้​ก่อ​ตั้ง ‘มูลนิธิ​ด�ำรง​ชัย​ธรรม’ ขึ้น ผม​คิด​ว่า​ การ​ช่วย​เด็กๆ ได้​ดี​ที่สุด ก็​คือ ช่วย​เรื่อง​การ​ศึกษา ซึ่ง​น่า​จะ​เป็น​เครื่อง​มือ​ที่​ช่วย​ให้​ เขา​ด�ำรง​ชีวิต​ได้​ใน​ระยะ​ยาว ส�ำหรับ​เด็กๆ ที่​รับ​ทุน​การ​ศึกษา​ของ​มูลนิธิ ผม​ไม่​ต้องการ​ ​การ​ตอบแทน​จาก​ใคร​กับ​ตัว​ผม​โดยตรง แต่​สิ่ง​หนึ่ง​ที่​อยาก​ให้​ท�ำ​คือ ขอ​ให้​ไป​ช่วย​ ​คน​อื่น​ต่​อ หมายความ​ว่า ผม​คน​หนึ่ง​ปี​หนึ่ง​ช่วย​เด็กๆ ได้ 100 คน 100 คน​น​ี้ เมื่อ​จบ​ก็​ไป​ช่วย​คน​อื่น​ต่อ​อีก อยาก​หวัง​ว่า​เด็กๆ​ ที่​รับ​ทุน มา​จาก​ภูมิภาค​ต่างๆ​ ทั่ว​ประเทศ​จะ​ได้​กลับ​ไป​บ้าน​เกิด​ของ​ตัว​เอง กลับ​ไป​ช่วย​ท�ำ​อะไร​ดีๆ ผม​ไม่​ต้องการ​ ​เด็ก​เก่ง แต่​ผม​ต้องการ​เด็ก​ดี​ที่​มี​ใจ​ช่วย​เหลือ อยาก​แบ่ง​ปัน อยาก​ท�ำ​ประโยชน์​ ต่อ​สังคม อัน​นี้​คือ​สิ่ง​ที่​ผม​อยาก​เห็น​และ​อยาก​ได้ และ​หวัง​ว่า ถ้า​นักเรียน​ทุน​เข้าใจ​​ ความ​ตั้งใจ​ผม แล้ว​ช่วย​กัน​ให้​บรรลุ​เป้า​หมาย​สังคม​ที่​เรา​อยู่​ก็​จะ​ดี​ขึ้น

แนวคิ ด และเจตนารมณ์เริ่มต้น “ไม่ใช่แค่ให้ โตได้ แต่อยากให้ โตดี” ปรัชญาของมูลนิธิด�ำรงชัยธรรม


34 Aniversary 15th

โครงการ ทุนการศึกษา

ทุนสร้างคน สร้างบัณทิต

เป็นโครงการหลักของมูลนิธิ ตั้งแต่เริ่มก่อ ตั้งเมื่อปี 2542 จนถึงปัจจุบัน โดยมอบทุนการ ศึกษาในสายสามัญ และทุนสายอาชีพ ต่อเนื่อง ตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ปวช. หรือ เทียบเท่า จนระดับปริญญาตรี หรือสูงสุดตาม ศั ก ยภาพของแต่ ล ะคนให้ แ ก่ เ ยาวชนไทยที่ ขาดแคลน เรียนดี มีความประพฤติดี และมีความ สามารถ


35

ทุนสนับสนุนการศึกษา พระภิกษุ สามเณร

มีวตั ถุประสงค์ในการให้การสนับสนุน การศึ ก ษาแก่ พ ระภิ ก ษุ สามเณร โดยมี กระบวนการดูแลแบบเดียวกับโครงการทุน สร้างคน สร้างบัณฑิต

ทุนช่วยเหลือเยาวชน ผู้ประสบภัยสึนามิ

จากเหตุการณ์ภัยพิบัติคลื่นยักษ์ สึนามิ เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2547 ก่อให้เกิดความสูญ เสียเป็นจำ�นวนมาก มูลนิธดิ ำ�รงชัยธรรม จึงให้ความช่วย เหลือเด็กกำ�พร้าจากเหตุการณ์ดังกล่าว ให้ได้รับโอกาส ทางการศึกษาจนจบปริญญาตรี ในชื่อโครงการ ‘ทุน อุปถัมภ์ดูแลความเป็นอยู่ การศึกษาแก่เด็กกำ�พร้า 100 คน เป็นเวลา 10 ปีในวงเงิน 100 ล้านบาท’


36 Aniversary 15th

กิจกรรมและโครงการ เพื่อพัฒนาศักยภาพนักเรียนทุน นอกจากนักเรียนทุนในโครงการทุนการศึกษาของมูลนิธิ จะได้รับเงินทุนสนับสนุนการศึกษาในรูป แบบที่ครอบคลุมการใช้จ่ายทุกด้านอย่างต่อเนื่องจนจบระดับชั้นปริญญาตรีแล้วรวมทั้งเป็นทุนที่ให้เปล่า ไม่มีเงื่อนไขใดๆ ผูกมัด มูลนิธิยังเล็งเห็นความส�ำคัญต่อการดูแลนักเรียนทุน โดยมูลนิธิจัดให้มีระบบดูแล นักเรียนทุน เพื่อช่วยส่งเสริมศักยภาพของนักเรียนทุน รวมถึงแก้ไขปัญหาแก่นักเรียนทุน และมีโครงการ ต่างๆ ที่จะช่วยพัฒนาศักยภาพ อาทิ

สถานีอาสา ค่ายผู้น�ำ

โครงการพัฒนาความเป็นผูน้ ำ� ด้วยความเชือ่ ว่า เด็กๆ ทุกคนมีความพร้อมที่จะพัฒนาตนเองให้เป็นทั้ง ผูน้ ำ� และผูต้ ามทีด่ ไี ด้ในแต่ละสถานการณ์ นักเรียนทุน ทุกคนจะได้เข้าร่วมค่ายผูน้ ำ� เพือ่ ทำ�ความเข้าใจว่าผูน้ ำ� เรียนรู้ และค้นพบความเป็นผู้นำ�ในแบบของตนเอง

Thinking Doing

กิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อให้นักเรียนทุน ได้ เ รี ย นรู้ ก ารจั ด ทำ�โครงการในรู ป แบบ ต่ า งๆ ตามความถนั ด ความสนใจของ นักเรียน ซึ่งการได้ลงมือทำ�จะทำ�ให้เกิด การเรียนรู้จริง และที่สำ�คัญมีความภาค ภูมิใจ และความเชื่อมั่นในตนเองด้วย

กิจกรรมส่งเสริมจิตสำ�นึกสาธารณะ ยิ่งให้ไป ยิ่ง ได้มา นีค่ อื ความเชือ่ ทีเ่ ป็นทีม่ าของโครงการนี้ โครงการ ที่มูลนิธิจัดทำ�ขึ้นด้วยความเชื่อว่า สังคมจะขับเคลื่อน ไปในทิ ศ ทางที่ ดี ขึ้ น ได้ ถ้ า ทุ ก คนในสั ง คมช่ ว ยเหลื อ เกื้ อ กู ล กั น โดยการเปิ ด พื้ น ที่ ใ ห้ นั ก เรี ย นทุ น ได้ มี ประสบการณ์การทำ�งานอาสาสมัครตามกำ�ลังศักยภาพ


37

กิจกรรม และโครงการ เพื่อเยาวชนวงกว้าง ส�ำหรับเด็กๆ สิ่งที่จะช่วยพัฒนาพวกเขาได้ คือ การอ่าน และการท�ำกิจกรรม ด้วยความเชื่อนี้ มูลนิธิ ด�ำรงชัยธรรมจึงจัดกิจกรรมส�ำหรับเด็กๆ อาทิ

ห้องหนังสือเบิกฟ้า

ย่อโลกทั้งใบให้เด็กไทยได้รู้จัก

ห้องหนังสือเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ ให้บริการ สืบค้น ยืมคืน แก่นักเรียนทุน และพนักงานในเครือ บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) บนพื้นที่ชั้น 12 อาคารจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เพลส

วารสารเบิกฟ้า

วารสารรายเดือน ทีแ่ จกฟรีให้แก่นกั เรียน นิสิตนักศึกษา และสถาบันการศึกษา เปิดพื้นที่ ให้กบั เด็กๆ วัยรุน่ ได้สนุกกับมุมมองเรือ่ งราวการ ใช้ชีวิต และการสร้างแรงบันดาลใจเพื่อพัฒนา ตนเอง พร้อมข่าวสารข้อมูลเชิงวิชาการที่น่า สนใจ และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุกช่วงวัย

โครงการที่สนับสนุนให้เยาวชนไทยรักการ อ่าน และการเรียนรู้ โดยคัดเลือกวรรณกรรมทีไ่ ด้รบั การยกย่อง และยอมรับจาก 27 ประเทศทั่วโลก 36 เรือ่ ง แปลเป็นภาษาไทย และบริจาคให้กบั ห้องสมุด โรงเรียนประถมศึกษา มัธยมศึกษา ทั่วประเทศกว่า 33,000 แห่ ง และจั ด ทำ�วรรณกรรมในรู ป แบบ อักษรเบลล์ เพื่อมอบให้กับโรงเรียนสำ�หรับผู้พิการ ทางสายตาจำ�นวน 10 แห่ง และห้องสมุดของหน่วย งานต่างๆ อาทิ ห้องสมุดศูนย์กลางการเรียนรู้ ICT แห่งชาติ และTK Park

ทุนสนับสนุน และอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อสนับสนุนกิจกรรมของเยาวชน

มูลนิธิได้สนับสนุน อาทิ ทุนการออกกิจกรรมค่าย อาสา ทุนสนับสนุนโครงการนิทรรศการของนิสติ ในสถาบัน ต่างๆ


38 Aniversary 15th

จากปี 2542 ถือเป็นวันแรกทีม่ ลู นิธเิ ริม่ ต้น โครงการทุนการศึกษา กว่า 15 ปีที่ผ่านมาจนถึง วั น นี้ มู ล นิ ธิ ผ ลิ ต บั ณ ฑิ ต ทุ น คื น สู ่ สั ง คมแล้ ว 236 คน กระจายอยูท่ วั่ ทัง้ ประเทศ ในหลากหลาย อาชีพทัง้ แพทย์ พยาบาล ครูอาจารย์ ต�ำรวจ นัก วิทยาศาสตร์ ฯลฯ เยาวชนทีท่ กุ ข์ยากเมือ่ หลายปี ก่อน วันนี้ต่างเติบโตแข็งแรง มีโอกาส มีก�ำลังใจ ในการด�ำเนินชีวิต มีพื้นที่ยืนอยู่ในสังคม และที่ น่าภาคภูมิใจคือ ทุกคนมีความพร้อมที่จะช่วย เหลือสังคมตามก�ำลัง ทุนการศึกษาทีม่ ลู นิธไิ ด้ให้ ในวันนั้น วันนี้ได้ผลิดอกออกผล และก�ำลังท�ำ หน้าที่คืนเยาวชนคนคุณภาพ ให้กลับคืนเป็นทุน ทางสังคมต่อไป

ทุนการศึกษา สู่ทุนทางสังคม

ส่วนหนึ่งในความส�ำเร็จชมรมบัณฑิตทุนมูลนิธิด�ำรงชัยธรรม โดยกลุม่ เยาวชนกลุม่ นีไ้ ด้กอ่ ตัง้ เป็น ‘ชมรม บัณฑิตทุนมูลนิธิด�ำรงชัยธรรม’ จัดท�ำโครงการ เพื่อสาธารณะประโยชน์ อาทิ โครงการแนะแนว การศึกษา, โครงการผ้าป่าเพื่อการศึกษา


39

โดยกลุ่มบัณฑิตทุนที่อยู่ในสาขาวิชาชีพต่างๆ มีดังนี้

อาชีพ

จำ�นวน

อาชีพ

จำ�นวน

3 3 8 2 10 4 1 6 1 1 12 3 10 2 17 3

ครู ครูภาษาไทย ครูภาษาอังกฤษ ครูภาษาจีน ครูคณิตศาสตร์ ครูวิทยาศาสตร์ ครูศิลปะ ครูปฐมวัย อาจารย์มหาวิทยาลัย บัญชี บริหาร/จัดการ พนักงานต้อนรับ/บริการ ประกอบธุรกิจส่วนตัว อื่นๆ ทำ�งาน+ศึกษาระดับป.โท ศึกษาต่อเฉพาะทาง

25 9 4 1 2 2 1 2 4 13 41 9 12 49 6 2

ศึกษาต่อระดับปริญญาโท ศึกษาต่อระดับปริญญาเอก แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล เภสัชกร นักกายภาพ นักรังสีและเทคนิคการแพทย์ สาธารณสุข สัตวแพทย์ วิศวกร นักออกแบบ สื่อสาร ทำ�งานด้านกฏหมาย นักวิชาการและวิจัย ล่าม

รวม = 236 คน

ซึ่งที่ผ่านมาชมรมบัณฑิตทุนได้รวมตัวกันเพื่อท�ำ กิจกรรมทางสังคม ที่เห็นว่าน่าจะเป็นสาธารณประโยชน์

1. โครงการสปอร์ตไลท์ แนะแนวการศึกษาและอาชีพ มีแรงบันดาลใจจากการที่กลุ่มชมรมบัณฑิตทุนมองว่า ในชมรม ของเรามีบณ ั ฑิตทีม่ ตี น้ ทุนความรูแ้ ละประสบการณ์ดา้ นการศึกษาและ การประกอบอาชีพทีห่ ลากหลาย จึงมีแนวคิดทีจ่ ะแบ่งปันความรูแ้ ละ ประสบการณ์ที่ตัวเองเคยได้รับให้แก่เด็กๆ ที่ต้องการทราบข้อมูล แนวทางการศึกษาต่อ ช่องทางการประกอบอาชีพในอนาคต การปรับ ตัวเตรียมตัวต่างๆ รวมถึงการสร้างแรงบันดาลใจในด้านการศึกษาให้ แก่เยาวชน โดยโครงการนีไ้ ด้จดั ท�ำขึน้ ในปี 2550 ที่ โรงเรียนบ้านหนอง กระทุ่ม จ.กาญจนบุรี, โรงเรียนจันทร์หุ่นบ�ำเพ็ญ กรุงเทพฯ, โรงเรียน ราชประชานุเคราะห์ ๓๖ จ.ภูเก็ต, โรงเรียนสุวรรณสุทธารามวิทยา กรุงเทพฯ และปี 2551 ที่โรงเรียนเขาดินประชานุกูล จ.กระบี่ และ โรงเรียนเจ้าแม่หลวงอุปถัมภ์ 2 จ.เชียงใหม่

โครงการนี้ผลตอบรับดีเกินคาด แม้ ในยุคนี้จะเป็นยุคของข้อมูลข่าวสาร มี ช่องทางในการเขาถึงข้อมูลข่าวสารมาก แต่เราก็พบว่าเด็กๆ ยังไม่เข้าใจในข้อมูล ทั้งหมด ยังต้องการค�ำแนะน�ำ ยังต้องการ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางในการเรียน ต่อและการประกอบอาชีพในอนาคต บาง คนยั ง ค้ น หาตั ว เองไม่ เ จอว่ า คณะสาขา อะไรที่เหมาะกับตัวเขาบ้าง บางค�ำตอบ และบางประสบการณ์ของพี่ๆ ก็น่าจะเป็น ประโยชน์ต่อการคิดและการตัดสินใจได้


40 Aniversary 15th

2. โครงการ กิจกรรมวันเด็ก

จากคนทีเ่ คยขาดโอกาสมาก่อน ท�ำให้เกิดความคิดร่วมกันว่า อยากสร้างรอยยิ้มให้กับเด็กๆ ชมรมบัณฑิตทุนจึง ได้จัดกิจกรรม วั น เด็ ก ขึ้ น เมื่ อ ปี 2551 ที่ โ รงเรี ย นบ้ า นดิ น โส ต.สหกรณ์ นิ ค ม อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี และในปี2552 ที่โรงเรียนบ้านคลองดง จ.นครราชสี ม า ในปี 2553 ที่ โ รงเรี ย นบ้ า นวั ง หิ น อ.ปั ก ธงชั ย จ.นครราชสีมา มีกิจกรรมเล่นเกมแจกของขวัญ อาทิ ตุ๊กตา แผ่น ซีดี ผ้าขนหนู ของเล่น กระปุกออมสิน รวมทั้งอุปกรณ์กีฬา และ อุปกรณ์การศึกษาแก่น้องๆ นักเรียน

3. โครงการ ‘ผ้าป่าการศึกษาวาระครบรอบ 15 ปี มูลนิธิด�ำรงชัยธรรม’

ต่อเนื่องจากการที่บัณฑิตของมูลนิธิกระจายตัวอยู่ในหลายต่อ หลายพืน้ ที่ โดยเฉพาะวิชาชีพครูทอี่ ยูในท้องถิน่ ชนบท ได้พบเห็นปัญหา เรื่องของการขาดโอกาสทางการศึกษา รวมถึงการขาดคุณภาพชีวิตที่ดี ของเด็กๆ จึงได้ริเริ่มการระดมทุนท�ำโครงการช่วยเหลือเด็กๆ ใน 2 โรงเรียน น.ส.ณริศรา เหลืองทะนารักษ์ บัณฑิตทุนรุน่ ที่ 9 ปัจจุบนั เป็นอาจารย์โรงเรียนบ้านหนองผือ ต�ำบลด่านช้าง อ�ำเภอ ด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบัณฑิตทีช่ ว่ ยประสานงานการ ระดมทุนจากเครือข่ายมูลนิธิด�ำรงชัยธรรม เพื่อสร้างสหกรณ์ โรงเรียนและปรับปรุงพื้นที่โรงอาหาร

น.ส.อัญชลี หนูนาค บัณฑิตทุนรุ่น ที่ 9 ปั จ จุ บั น เป็ น อาจารย์ อ ยู ่ ที่ โ รงเรี ย น บ้ านบางเหรี ย ง อ� ำ เภอพระแสง จั งหวั ด สุราษฎร์ธานี เป็นบัณฑิตทีช่ ว่ ยประสานงาน การหาแหล่งน�้ำสะอาดและสร้างเครื่องสูบ น�้ำเพื่อให้เด็กๆ ได้มีน�้ำสะอาดส�ำหรับการ อุปโภค บริโภค การได้มีโอกาสแบ่งปันแก่เด็กๆ ใน ถิ่นทุรกันดาร ในด้านต่างๆ เป็นการสานต่อ เจตนารมณ์คุณไพบูลย์ ด�ำรงชัยธรรม ที่ บอกว่า อยากให้บัณฑิตไปช่วยคนอื่นต่อ ไปช่วยกันท�ำประโยชน์ต่อสังคม


41

เมื อ ่ ‘คนโตดี ’ เข้ า มามี ส ว ่ นร่ ว ม ในการสานต่อเจตนารมณ์ของมูลนิธิด�ำรงชัยธรรม มูลนิธิตั้งมา 15 ปีแล้ว วันนี้มีบัณฑิตทุนเก่งๆ หลายคน ผมอยากให้บัณฑิตทุนได้เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรม ของมูลนิธิมากๆ เพราะเป็นคนรุ่นใหม่ๆ มีความรู้ ความสามารถ มาช่วยกันดูแลน้องๆ รุ่นต่อๆ ไป คุณไพบูลย์ ด�ำรงชัยธรรม ได้กล่าวไว้เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2556 จึงเป็นที่มาให้วันนี้มูลนิธิมีกรรมการที่ เป็นบัณฑิตทุนเข้ามาร่วมช่วยงานภารกิจ ระดมความคิด เห็นเพื่อพัฒนางานของมูลนิธิต่อไป

พ.ญ.อังคณา นาคอุบล (พี่จุ๋ม)

ดร.วีระพงษ์ ประสงค์จีน (พี่แกง)

คุณวุฒิการศึกษา : • ปริญญาตรี คณะแพทยศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก มหาวิทยาลัยมหิดล• แพทย์เฉพาะ ทาง สาขาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาล รามาธิบดี ประสบการณ์ทำ�งาน : • ปัจจุบัน แพทย์ปฏิบัติการ โรงพยาบาลหลังสวน อ.หลังสวน จ.ชุมพร

คุณวุฒิการศึกษา : • ปริญญาตรี เกียรตินิยมอันดับ 2 คณะ เภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท สาขาประสาทวิทยาศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ Imperial College London, UK (ทุนรัฐบาล โครงการทุน การศึกษาชั้นสูงเชิงกลยุทธ์เพื่อการสร้าง เครือข่ายวิจัยระดับแนวหน้า) • ปริญญา เอก Developmental Biology Unit, Institute of Child Health, University College London, UK (ทุนรัฐบาล โครงการทุนการศึกษาชั้นสูงเชิงกลยุทธ์ เพื่อการสร้างเครือข่ายวิจัยระดับแนวหน้า) ประสบการณ์ทำ�งาน : • ปัจจุบัน อาจารย์ประจำ�ภาควิชาชีวเคมี และจุลชีววิทยา คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

นักเรียนทุนรุ่นที่ 1 บัณฑิตทุนรุ่นที่ 4

พี่บัณฑิตทุน ที่เป็นตัวแทน เข้ามาร่วมเป็นกรรมการมูลนิธิ ดร.วิมล แสนอุ้ม (พี่บอล)

นักเรียนทุนรุ่นที่ 1 บัณฑิตทุนรุ่นที่ 1 คุณวุฒิการศึกษา : • ระดับปริญญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติ สิรินธร (SIIT) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ระดับปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ สาขาโทรคมนาคม ทุนสถาบันเทคโนโลยี นานาชาติสิรินธร (SIIT) • ระดับปริญญา เอก วิศวกรรมระบบอิเล็กทรอนิกส์และ โฟโตนิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีโคชิ ประเทศญี่ปุ่น (ทุน Special Scholarship Program) ประสบการณ์ทำ�งาน : • ปัจจุบัน อาจารย์ประจำ�ภาควิชา วิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยี ไทย-ญี่ปุ่น • ประธานชมรมมูลนิธิ ฮักเมืองน่าน • นักวิชาการอิสระ • อดีตประธานชมรมบัณฑิตทุน

นักเรียนทุนรุ่นที่ 1 บัณฑิตทุนรุ่นที่ 2

น.ส.เสาวลักษณ์ รัตนะรัต (พี่ตาล) นักเรียนทุนรุ่นที่ 1 บัณฑิตทุนรุ่นที่ 3

คุณวุฒิการศึกษา : • ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต ศูนย์พาณิชยการสยาม ประสบการณ์ทำ�งาน : • ปัจจุบัน พนักงานบริษัทเอกชน

นายสนธยา สุขอิ่ม (พี่สน) นักเรียนทุนรุ่นที่ 6 บัณฑิตทุนรุ่นที่ 6

คุณวุฒิการศึกษา : • ปริญญาตรี สาขาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ • ปริญญาโท สาขา ภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประสบการณ์ท�ำงาน : • ปัจจุบัน อาจารย์พิเศษคณะ ศิลปศาสคร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ติวเตอร์วิชา GAT• ประธานชมรม บัณฑิตทุนมูลนิธิด�ำรงชัยธรรม


42 Aniversary 15th

ในฐานะของการเป็นสมาชิกชาวด�ำรงชัยธรรมมากว่า 15 ปี ทั้งการเป็นนักเรียน บัณฑิตทุน และในวันวันที่มูลนิธิด�ำรงชัยธรรม ก�ำลังจะก้าวเข้าสู่ปีที่ 16 ผมมีความคิดความรู้สึกที่เกี่ยวข้องกับ มูลนิธอิ ยากน�ำเสนออยู่ 3 แง่มมุมด้วยกันผมจึงขอน�ำเสนอบทความ นี้ในชื่อ “15 ปี มูลนิธิด�ำรงชัยธรรม กับการให้ที่มากกว่าแค่ โอกาสทางการศึกษา” ในหัวข้อ เสียงจากผูไ้ ด้รบั ทุน ความเป็น มูลนิธิด�ำรงชัยธรรม และ มูลนิธิฯกับสังคม

15 ปี มูลนิธิด�ำรงชัยธรรม

กัที่มบากกว่การให้ าแค่โอกาส ทางการศึกษา เสียงจากผู้ได้รับทุน

ย้อนไป 15 ปีก่อน ผมไม่มีทางรู้เลยว่าเรียงความ 2 เรื่องของผม ที่ใส่ไป ในซองเอกสาร จ่าหน้าถึงมูลนิธดิ ำ�รงชัยธรรม พร้อมวงเล็บมุมซองว่า “สมัครรับ ทุน” ในตอนนัน้ จะเปลีย่ นชีวติ ผมไปแบบพลิกฝ่ามือ จากเด็ก ม.6 ผลการเรียน ดีคนหนึ่ง ที่หวังแค่เรียนจบปริญญาตรีและหางานทำ�ที่ดี เลี้ยงดูตนเองและ ครอบครัวได้ ทุนจากมูลนิธิฯ เปลี่ยนเด็กคนนั้นให้กลายเป็น ดร. ได้ทำ�งานเป็น นักวิจยั ในบริษทั ใหญ่อนั ดับต้นๆ ของประเทศ มีครอบครัวและมีคณ ุ ภาพชีวติ ที่ ดีเกินกว่าทีต่ วั เองได้วาดฝันได้เมือ่ 15 ปีกอ่ น บางท่านอาจมองว่าขึน้ อยูก่ บั แต่ละ บุคคล แน่นอนว่าจริงและผมก็เห็นด้วย แต่ผมยืนยันได้ว่ามันไม่ง่ายเลยที่ นักศึกษาคนหนึง่ จะเรียนจบปริญญาตรี สายวิศวกรรมศาสตร์ ด้วยผลการเรียน ระดับเกียรตินยิ มและคว้าทุนต่อเนือ่ งจนเรียนจบปริญญาเอกได้ ถ้าหากเขาต้อง ทำ�งานพิเศษหาเลี้ยงตัวเองและส่งเสียตัวเองเรียนไปด้วยโดยไม่มีโอกาสได้มี สมาธิจดจ่ออยู่กับการเรียนอย่างเต็มที่ สิ่งที่มูลนิธิฯหยิบยื่นให้กับผมจึงไม่ใช่ เพียงแค่โอกาสในการศึกษาเท่านัน้ แต่คอื โอกาสในการพัฒนาตัวเองอย่างเต็มที่ เรียนรู้สังคมและสิ่งต่างๆ รอบตัว เรียนรู้ที่จะใช้ชีวิต และที่สำ�คัญคือเรียนรู้ ความเป็นตัวเอง ซึ่งเป็นสิ่งสำ�คัญมากในการค้นหาแนวทางการดำ�เนินชีวิต ที่ ‘ใช่’ สำ�หรับตัวเรา

ในฐานะผู้ได้รับทุนแล้ว ‘ทุน’ ที่มูลนิธิดำ�รงชัยธรรมให้กับพวกเรา จึงไม่ใช่แค่เงิน แต่มันเปรียบได้กับ การให้แสงสว่างกับชีวิต ให้พลังใจ และเปิ ด โอกาสให้ พ วกเราได้ ใ ช้ ศักยภาพอย่างเต็มทีใ่ นการสร้างชีวติ และก้าวไปให้ถงึ สิง่ ทีเ่ ราตัง้ ความหวัง ไว้ สมดังเจตนารมณ์ของคุณไพบูลย์ ดำ�รงชั ย ธรรม ผู้ ก่ อ ตั้ ง มู ล นิ ธิ ฯ คื อ “ไม่ใช่แค่โตได้ แต่อยากให้โตดี”


43

ความเป็นมูลนิธิด�ำรงชัยธรรม

ผมไม่ทราบได้วา่ มูลนิธอิ นื่ ๆ ทีใ่ ห้ทนุ การศึกษากับเยาวชนในลักษณะ คล้ายกันนีม้ บี รรยากาศเป็นอย่างไรกันบ้าง แต่สำ�หรับมูลนิธดิ ำ�รงชัยธรรม แล้ว ในมุมของอดีตนักเรียนทุนอย่างผม มูลนิธฯิ ไม่ได้ทำ�เพียงแค่ให้ทนุ และ กำ�กับดูแลเท่านั้น แต่สิ่งที่ทำ�ให้มูลนิธิดำ�รงชัยธรรมนี้ ‘พิเศษ’สำ�หรับ นักเรียนทุนทุกคนก็คือความห่วงใยเอื้ออาทรและความเอาใส่ใจจากพี่ๆ เจ้าหน้าที่ทุกคนและผู้หลักผู้ใหญ่ของมูลนิธิฯที่มีให้กับนักเรียนทุน ไม่ว่า พวกเขาจะอยูใ่ กล้และเข้าไปทีม่ ลู นิธฯิ ได้บอ่ ยๆ หรืออยูไ่ กลจนไม่เคยได้เข้า มาที่มูลนิธิฯเลยหลังจากวันที่ได้รับทุน สิ่งนี้ทำ�ให้มูลนิธิดำ�รงชัยธรรมเป็น เหมือนบ้านเหมือนครอบครัวทีส่ องของเหล่านักเรียนทุนรวมทัง้ บัณฑิตทีจ่ บ การศึกษาไปแล้ว ดังเช่นตัวผมเองที่ทุกเหตุการณ์สำ�คัญในชีวิตจะมีคนใน มูลนิธิฯมาร่วมแชร์ความประทับใจอยู่ด้วยเสมอ ในทุกๆ ปีครอบครัวดำ�รง ชัยธรรมของเราก็จะใหญ่ขึ้นๆ จากการมีน้องๆเข้ามาเพิ่ม ขณะที่รุ่นพี่ บัณฑิตก็เรียนจบและออกไปทำ�งานตามสายอาชีพและสร้างชีวติ ของแต่ละ คน และพี่เหล่านี้ก็จะเป็นแบบอย่างให้กับน้องๆ ได้เจริญรอยตามต่อไป รวมถึงเป็นที่ปรึกษาให้กับน้องๆ ได้แทบจะทุกๆ เรื่อง มีการติดต่อและทำ� กิจกรรมร่วมกันอยู่เสมอระหว่างนักเรียนทุนกับพี่บัณฑิตโดยมีพี่เจ้าหน้าที่ มู ล นิ ธิ ฯ เป็ น ศู น ย์ ก ลาง เหล่ า นี้ คื อ สิ่ ง พิ เ ศษที่ บ่ ง บอกความเป็ น มู ล นิ ธิ ดำ�รงชัยธรรม และทำ�ให้เราไม่ใช่แค่มูลนิธิฯแต่เป็นเหมือนครอบครัวใหญ่ ที่พร้อมจะเติบโตขึ้นไปเป็นคนดีและทำ�สิ่งดีๆ ให้กับสังคม

มูลนิธิด�ำรงชัยธรรมกับสังคม

จากระยะเวลา 15 ปี ที่มูลนิธิดำ�รงชัยธรรมได้มอบทุน การศึ ก ษาให้ กั บ เด็ ก และเยาวชนมาตั้ ง แต่ ปี 2541-2556 มูลนิธฯิ ได้ให้ทนุ การศึกษาไปแล้วทัง้ สิน 701 ทุน มีตงั้ แต่ระดับ ประถมศึกษาไปจนถึงปริญญาโท เป็นเงินรวมทั้งสิ้นกว่า 250 ล้านบาท และได้สร้างบัณฑิตที่เป็นบุคลากรคุณภาพให้กับ ประเทศไปแล้วถึง 236 คน ซึ่งก็ได้ทำ�งานอยู่ในหลากหลาย สาขาอาชีพ บัณฑิตเหล่านี้ไม่เพียงแต่เป็นทรัพยากรบุคคลที่ เป็นกำ�ลังสำ�คัญในการพัฒนาประเทศเท่านั้น พวกเขายังเป็น คนเก่งที่มีสำ�นึกในการเป็นคนดีและพร้อมจะตอบแทนสังคม อีกด้วยเพราะทุกคนตระหนักดีกว่าพวกเขามีวันนี้ได้เพราะ อะไร เจตนารมณ์ของมูลนิธฯิ ทีต่ อ้ งการให้เราเป็นคนดีและทำ� สิ่งดีๆ ตอบแทนกับสังคมจะคงอยู่ในใจและในสำ�นึกของเรา ทุกคน เปรียบดังมูลนิธิฯที่เป็นเสมือนต้นไม้ใหญ่ที่เติบโตแข็ง แรงและสร้างบัณฑิตทีจ่ ะเป็นกิง่ ก้านสาขาแตกแขนงแผ่กว้าง ออกไปในการทำ�สิ่งดีๆ ให้กับสังคม

ท้ายสุดที่ผมอยากฝากไว้ในบทความนี้ก็ คือ ลำ�พังเพียงมูลนิธดิ ำ�รงชัยธรรมก็คงทำ�ได้ใน ระดับหนึ่ง แต่ประเทศเรายังมีเด็กและเยาวชน ทีม่ ศี กั ยภาพแต่ขาดแคลนโอกาสอยูอ่ กี มาก ใน แต่ละปีก็มีเด็กที่น่าสนับสนุนอีกหลายคนที่ไม่ ได้รับทุนเพราะมูลนิธิฯก็ให้ได้ในจำ�นวนจำ�กัด จึงอยากให้สังคมของเราได้เห็นถึงคุณค่าของ การให้ทุนการศึกษากับเด็กและเยาวชน และ เข้ามาร่วมด้วยช่วยกัน เพราะสิ่งที่คุณให้พวก เขาจะไม่ใช่เพียงแค่ทนุ การศึกษาเท่านัน้ แต่คณ ุ จะให้ ‘ทุนสร้างชีวิต’ แก่พวกเขาด้วย และเมื่อ เด็กเหล่านีเ้ ติบโตขึน้ ได้อย่างแข็งแรง เขาจะให้ สิ่งเดียวกันกับที่เขาเคยได้รับต่อๆไป เมล็ด พันธุ์แห่งความดีนี้ก็จะถูกส่งต่อไปเป็นทอดๆ กระจายออกไปและนำ�พาสังคมที่ดีกลับมาสู่ พวกเราและลูกหลานต่อๆ ไปครับ


44 Aniversary 15th

โอกาสครั้งส�ำคัญ “ย้อนกลับไปเมือ่ ปี พ.ศ.2542 ถือเป็นปีที่ เกิดจุดเปลี่ยนในชีวิต คือ มีโอกาสได้รับทุนการ ศึกษาจากมูลนิธิด�ำรงชัยธรรม ท�ำให้มีทุนเรียน ต่อจนจบแพทย์ศาสตร์บัณฑิต จากนั้นเรียนต่อ แพทย์เฉพาะทางสาขาเวชศาสตร์ครอบครัว ด้วยตัวเอง ต้องยอมรับว่าปัจจุบนั ทีเ่ ราสามารถ ดูแลตัวเอง สามารถเป็นเสาหลักดูแลครอบครัว ได้ อ ย่ า งไม่ ล� ำ บาก ส่ ว นหนึ่ ง มาจากโอกาส จั ง หวะชี วิ ต ที่ เ กิ ด ขึ้ น ครั้ ง เดี ย วแต่ มี ผ ล เปลี่ยนแปลงไปทั้งชีวิต” แพทย์หญิงอังคณา หรือ หมอจุ๋ม ย�้ำ ว่าในชีวิตมีเรื่องที่ท�ำให้เกิดความสุขที่สุดอยู่ 3 ครั้งคือ 1. การได้รับทุนการศึกษา 2.การส�ำเร็จ การศึกษา และ 3.ความสุขที่เกิดจากการให้ โอกาสแก่ผู้อื่น “ตอนนีไ้ ด้ชว่ ยดูแลน้องบุญธรรมคนหนึง่ ตั้งแต่เขาแรกเกิดจนตอนนี้มีอายุ 7 ปี เราช่วย ให้เขาได้มีโอกาสเติบโต ไม่ใช่เพียงแค่ให้ข้าว ให้นม ให้น�้ำ ให้ได้โตแต่ตัว แต่ให้เขาได้โตดีใน

แพทย์หญิงอังคณา นาคอุบล แพทย์สาขาเวชศาสตร์ ครอบครัว โรงพยาบาลหลังสวน จังหวัดชุมพร เล่าว่าการมา ยืนในจุดนี้ได้ เพราะในช่วงหนึ่งของชีวิตได้รับโอกาสครั้งส�ำคัญ

แบบที่เราเคยได้รับจากพ่อ แม่และมูลนิธิฯ ที่ให้เราทุกด้าน วันนี้เรา อาจมีกำ� ลังช่วยได้เพียงหนึง่ แต่นนั่ ก็คอื สิง่ ทีเ่ ราพร้อมจะให้อย่างเต็ม ที่ จากคนที่เคยได้รับโอกาส วันนี้มีโอกาสที่ได้ให้ ถือเป็นสิ่งที่ภาค ภูมิใจที่สุด” ‘โอกาส’ ค�ำๆ นี้ มีความหมายส�ำคัญยิ่ง แพทย์หญิงอังคณา เชือ่ ว่าจากประสบการณ์ในชีวติ สิง่ นีจ้ ะช่วยสานต่อ หรือเปลีย่ นชีวติ ของคนๆ หนึ่ง ให้ดีขึ้นได้ จากจุดนี้ท�ำให้การเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งใน คณะกรรมการ มูลนิธดิ ำ� รงชัยธรรม คือการต่อยอดในการมอบโอกาส ครั้งส�ำคัญให้กับเยาวชนที่เรียนดี แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ “ขอขอบคุณคุณไพบูลย์ ด�ำรงชัยธรรม ทีม่ อบโอกาสครัง้ ส�ำคัญ ให้อีกครั้ง ดีใจที่ได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยมูลนิธิฯ กว่า 14 ปี ที่มูลนิธิด�ำรงชัยธรรมให้โอกาสให้ได้รับ สู่วันนี้ให้โอกาสได้ให้ต่อ จะ ร่วมแบ่งปันโอกาสส�ำคัญทางการศึกษาให้กับสังคมของเราต่อๆ ไป ค่ะ”


45

ทุนการศึกษา

ต้นทุนส�ำคัญในชีวิต เภสัชกร ดร.วีระพงษ์ ประสงค์จีน อาจารย์ประจ�ำภาควิชาชีวเคมีและจุลชีววิ ท ยา คณะเภสั ช ศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย หนึ่งในบัณฑิตทุนจากโครงการ ทุนการศึกษาสร้างคน สร้างบัณฑิต ของมูลนิธิ ด�ำรงชัยธรรม กล่าวถึงมุมมองทีเ่ กีย่ วข้องการ ศึ ก ษาว่ า ส่ ว นหนึ่ ง ที่ ท� ำ ให้ เยาวชนคนหนึ่ ง สามารถด�ำเนินการขับเคลือ่ นการศึกษาไปจนจบ ระดับปริญญาตรี หรือระดับสูงสุดตามความ สามารถ และความต้องการได้ คือ ทุนการศึกษา

“การศึกษาเป็นปัจจัยพืน้ ฐานทีส่ ำ� คัญของชีวติ การได้รบั โอกาส ทางการศึกษาจึงเป็นสิง่ ทีว่ เิ ศษสุด เพราะการศึกษาจะน�ำพาเราไปพบ กับโอกาสด้านอืน่ ๆ ส�ำหรับคนทีม่ ตี น้ ทุนทางสังคมต�ำ ่ เกิดในครอบครัว ทีข่ าดแคลน การศึกษาอาจจะเป็นหนทางเดียวทีจ่ ะช่วยให้ตวั เอง และ ครอบครัวมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น” ปฏิเสธไม่ได้วา่ ทุนการศึกษา หรือ ปัจจัยทางเศรษฐกิจ คือส่วน ส�ำคัญในการศึกษา แม้ว่าปัจจุบันทางรัฐบาลจะมีนโยบายเรียนฟรี สนับสนุนให้เยาวชนศึกษาได้จนถึงระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 แต่ด้วย สภาวะทางสังคม อัตราการจ้างงาน พบว่าการศึกษาระดับพื้นฐานที่ เป็นมาตรฐานในการรับเยาวชนเข้าสู่สังคมแรงงาน คือ การศึกษา ระดับปริญญาตรี

“ถึงแม้การหยุดเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาเพื่อมาท�ำงานหา รายได้จะท�ำให้หลายคนมีความสุขที่มีอาชีพ สามารถหาเงินได้ตั้งแต่ เด็ก แต่อย่างไรก็ตามหลายครัง้ พบว่าค่าตอบแทน และความก้าวหน้า ของอาชีพไม่ได้สูงตามอายุงาน ต่างจากผู้ที่ส�ำเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาตรีซงึ่ ส่วนใหญ่พบว่าจะมีหน้าทีก่ ารงานทีม่ นั่ คง และมีความ ก้าวหน้าเติบโตในสายงานอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งยังสามารถสานต่อตัว เองให้ได้มีการศึกษาในระดับที่สูงขึ้นได้อีกด้วยครับ” ดร.วีระพงษ์ หรือ อาจารย์แกง ของนักศึกษาหลายๆ คน ยัง เล่าเสริมว่าตัวเองนัน้ นับว่าโชคดีเพราะได้รบั ทุนการศึกษาต่อเนือ่ งจาก มูลนิธดิ ำ� รงชัยธรรมจนส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี หลายคนไม่ ได้มีโอกาสแบบนี้ หากย้อนเวลากลับไปหากไม่ได้รับโอกาสให้ได้รับ ทุนการศึกษา ในช่วงเวลานัน้ อาจจะต้องกูย้ มื หรือดิน้ รนหาทางให้การ ศึกษาเล่าเรียนของตนเองได้ดำ� เนินการต่อ สุดท้ายแล้วก็หนีไม่พน้ เรือ่ ง การหา ‘ทุน’ ปัจจัยส�ำคัญที่ท�ำให้ได้ ‘ศึกษา’ ดังนั้นทุนการศึกษาจึงมี ความหมายส�ำคัญเป็นอย่างยิ่งส�ำหรับเยาวชนที่ต้องการโอกาส และ ผลักดันตัวเองให้ก้าวไปสู่ความส�ำเร็จในชีวิต


46 Aniversary 15th

ผมได้รับทุนการศึกษาตอนที่อยู่ในระดับชั้น ม.6 โรงเรียน ชัยนาทพิทยาคม จ.ชัยนาท ความที่ครอบครัวแตกแยก สิ่งที่ผม คิดเสมอคือต้องเรียนหนังสือให้ดที สี่ ดุ ท�ำให้แม่ภาคภูมใิ จ ฉะนัน้ ตลอดเวลาที่เรียนมัธยมศึกษาผมจึงตั้งใจโดยตลอด ทั้งเรียนทั้ง ท�ำกิจกรรม จนได้รับคัดเลือกให้เป็นนักเรียนพระราชทานของ โรงเรียนตอนเรียนอยู่ระดับชั้น ม.6 ตอนนั้นภาคภูมิใจมาก แต่ก็ แอบกังวลต่อถึงอนาคตของตัวเอง รู้แค่ว่าต้องเรียนต่อแน่นอน แต่จะด้วยวิธีการไหน กู้ยืมเงิน หาทุนจากหลายๆที่ สุดท้ายผม ก็ ไ ด้ ทุ น ที่ มู ล นิ ธิ ด� ำ รงชั ย ธรรมศึ ก ษาต่ อ ระดั บ ปี 1 -4 ที่ ค ณะ ศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ส�ำหรับผมการได้รับทุน นับเป็นเรื่องส�ำคัญมากในชีวิต นั่นเพราะสิ่งนี้ท�ำให้ผมมีโอกาส อืน่ ๆ ต่ออีกมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิง่ โอกาสในการท�ำกิจกรรม ที่ช่วยให้เราได้พัฒนาทักษะชีวิตในด้านต่างๆ ผมเข้าร่วมกิจกรรมของทั้งคณะและของมหาวิทยาลัย และรับหน้าที่เป็นหัวหน้ากองสันทนาการของมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ตั้งแต่เรียนอยู่ชั้นปี 2 และที่มูลนิธิด�ำรงชัยธรรม นอกจากเรือ่ งเงินทุนทีใ่ ห้แล้ว กม็ กี จิ กรรมให้นกั เรียนทุนท�ำหลาย ต่ อ หลายเรื่ อ ง และหนึ่ ง ในนั้ น ที่ผมเห็น ว่า เป็น ประโยชน์ต ่อ เยาวชนมากทีส่ ดุ ก็คอื โครงการสถานีอาสา ซึง่ เป็นโครงการทีเ่ ปิด โอกาสให้เยาวชนไปท�ำงานอาสาสมัครในที่ต่างๆ ผมได้ท�ำงาน เป็นอาสาสมัครช่วยสอนหนังสือเด็กชาวเขา และท�ำงานการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่ชุมชนบ้านแม่กิ๊ อ.ขุนยวม จ.แม่ฮ่องสอน ตอนนั้นผมเรียนอยู่ชั้นปี 2 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็น ประสบการณ์ครั้งแรกที่ผมได้ไปจังหวัดแม่ฮ่องสอน งานอาสา สมั ค รของมู ล นิ ธิ ส อนให้ ผ มเห็ น ภาพของตั ว เองและเข้ า ใจ

การได้โอกาสหนึ่ง

ศักยภาพของตัวเองได้มากขึ้น ปัญหาสิ่งแวดล้อม เรือ่ งของยาเสพติด ระบบสาธารณสุข เรือ่ งราวของ การศึกษาทีน่ นั่ เป็นสิง่ ทีช่ ว่ ยจุดประกายให้ผมได้คดิ หลายต่อหลายเรื่องต่อ และหนึ่งในนั้นคือเรื่องของ จิตสาธารณะ ผมคิดว่าช่วงเวลาในวัยรุ่น โดยเฉพาะช่วงที่ เรียนมหาวิทยาลัย เป็นช่วงเวลาทีเ่ หมาะกับการท�ำ กิจกรรมมากที่สุด ไม่ว่าจะเพราะด้วยความพร้อม ของร่างกาย จิตใจ ถ้าให้ผมแนะน�ำเด็กๆ นอกเหนือ จากหน้าทีข่ องการเรียนแล้ว ถ้าเป็นไปได้ มีโอกาส ผมอยากบอกให้นอ้ งๆ พาตัวเองออกไปสูโ่ ลกกว้าง ไปสร้างประสบการณ์ใหม่ๆ ให้ตัวเองด้วยการท�ำ กิจกรรม กิจกรรมอะไรก็ได้ทถี่ นัดหรือสนใจ และถ้า จะเป็นกิจกรรมอาสาสมัครที่เป็นประโยชน์ไม่มาก ก็น้อยเพื่อคนอื่น ผมว่ามันจะเป็นความภาคภูมิใจ ท�ำให้เรามัน่ คงและมัน่ ใจในตัวเองเพิม่ มากขึน้ ด้วย

ท�ำให้เราได้โอกาสอื่นๆ เพิ่มขึ้น


47

ถอดบทเรียนการท�ำงาน 15 ปีมูลนิธิด�ำรงชัยธรรม สู่ทุนทางสังคม

กว่าหนึ่งทศวรรษของการด�ำเนินงาน วันนี้มูลนิธิมี เยาวชนที่รับทุนในโครงการรวมทั้งหมดกว่า 701 คนที่ กระจายอยู่ทั่วประเทศ และมีนักเรียนทุนที่จบการศึกษา เป็นบัณฑิตแล้วทั้งสิ้น 11 รุ่นเป็นจ�ำนวนทั้งสิ้น 236 คนใน เกือบทุกสาขาวิชาชีพ หากมองด้วยปริมาณของตัวเลขคง เป็ น ความเห็ น ที่ ต รงกั น ว่ าเยาวชนที่ได้รับโอกาสไม่ใช่ จ�ำนวนทีม่ ากมาย แต่การสร้างสรรค์เยาวชนอย่างประณีต คือโจทย์ทที่ ำ� ให้ทมี งานต้องท�ำการบ้านอย่างหนัก และจาก การท�ำการบ้านทีห่ นักตลอดมา ในวันนีว้ นั ทีเ่ ยาวชนจ�ำนวน หนึ่งได้ทยอยเดินทางสู่เป้าหมายที่มูลนิธิต้องการ นั่นคือ การน�ำความรู้และโอกาสทางการศึกษาที่ได้รับไปแปร เป็นต้นทุนส� ำคัญคืนกลับสู่ท้องถิ่นของตนเอง ซึ่งวันนี้ นอกจากเราจะช่วยสร้างเมล็ดพันธุ์คืนกลับสู่สังคมแล้ว มูลนิธิยังคงมีค�ำตอบและบทเรียนมากมายจากเยาวชน เหล่านี้ ทีเ่ ชือ่ ว่าถ้าขบคิดเรือ่ งราวเหล่านีก้ นั อย่างลึกซึง้ แล้ว ล่ะก็ เราอาจเห็นเป็นภาพสังคมขนาดใหญ่ทสี่ ะท้อนสังคม ไทยในมิติต่างๆ ได้จริงๆ

มีเด็กใฝ่ดีจ�ำนวนมากที่ต้องการโอกาส ในทุกปี ที่ให้เด็กๆ ส่งเอกสารเรียงความเข้ามาขอรับทุนการศึกษา สถิติเอกสารใบสมัครขอรับทุนในแต่ละปีมีจ�ำนวนมากขึ้น เรีอ่ ยๆ ยิง่ ในรายละเอียดเรียงความเราจะพบข้อเท็จจริงว่า เยาวชนไทยของเรามี ป ั ญ หาจ� ำ นวนไม่ น ้ อ ยทั้ ง ปั ญ หา ครอบครัว ผนวกกับสภาพครอบครัวยากเข็ญ แต่เด็กๆ เหล่านี้ยังยืนหยัดสู้ชีวิตอยู่ได้ โดยไม่ตกเป็นทาสของยา เสพติด หรือทาสของอบายมุขต่างๆ ซ�ำ้ ยังเป็นเด็กทีร่ ณรงค์ ให้เพื่อนๆ หลีกพ้นยาเสพติดด้วย หรือบางคนท�ำกิจกรรม ทีโ่ ดดเด่นและเป็นประโยชน์ เคยมีคนสรุปว่า เด็กทีย่ ากจน หรือมีปญ ั หาครอบครัวขาดพ่อแม่ดแู ลอบรม มักหนีปญ ั หา ชีวติ อันหฤโหดด้วยการท�ำสิง่ ทีไ่ ม่ดตี า่ งๆ เพือ่ หารายได้หรือ หาทางออกกับปัญหาชีวิตเหล่านั้น แต่กลุ่มเด็กนักเรียนที่ ขอรับสมัครทุนการศึกษาต่อ เป็นกลุ่มที่ไม่สิ้นหวัง ไม่สิ้น คิด ไม่ทอ้ ทีจ่ ะก้าวเดินไปข้างหน้า ไม่ตอ้ งหนีไปหาทางออก หลอกลวงใดๆ หากสมมุ ติ ฐ านเหล่ า นี้ เ ป็ น เหตุ เ ป็ น ผล ที่ใช้ได้ สังคมก็ควรตอบสนองด้วยการเติมโอกาสให้ เด็กผูย้ ากไร้ได้มคี วามหวังใสๆ และใฝ่ดอี ยูเ่ สมอ และ ในวันนี้มูลนิธิก็ได้รับการพิสูจน์ความเชื่อเหล่านี้จากกลุ่ม นักเรียนทุนหลายต่อหลายคนที่แสดงให้เห็นว่า ความ ไม่พร้อมของชีวติ ไม่ได้เป็นอุปสรรคต่อความส�ำเร็จในชีวติ ในทางตรงข้ า มพวกเขากลั บ พลิ ก วิ ก ฤติ ใ ห้ เ ป็ น โอกาส ในการพัฒนาตัวเองเพือ่ การเติบโตและเดินทางสูค่ วามฝัน ที่ตั้งใจกันอย่างไม่ย่อท้อ และเพื่อให้สังคมเห็นความส�ำคัญของการช่วยกัน ดูแลเยาวชน วันนีม้ ลู นิธมิ ภี าพความส�ำเร็จของเยาวชนคน คุณภาพจ�ำนวนหนึง่ ทีป่ จั จุบนั กลับคืนไปเป็นทุนทางสังคม ท�ำหน้าที่ของตัวเองอย่างภาคภูมิใจ


48 Aniversary 15th

มุของคนที มมอง่อยู่กับมูลนิธิมาตลอด 15 ปี • ภาพรวมของมูลนิธิวันนี้

ภาพรวมตลอด 15 ปี ทีผ่ า่ นมาเรา มูลนิธถิ อื ว่าประสบความ ส�ำเร็จและบรรลุตามวัตถุประสงค์ของเรานัน่ คือ การสนับสนุนเรือ่ ง ของทุนการศึกษา วันนีม้ บี ณ ั ฑิตทีจ่ บมาภายใต้การได้รบั ทุนของเรา กว่า 236 คน กระจายอยูท่ วั่ ทุกสาขาวิชา กระจายอยูท่ วั่ ทัง้ ประเทศ โดยเจตนาของมูลนิธกิ ำ� หนดไว้ชดั เจนตัง้ แต่แรกว่า เราไม่มเี งือ่ นไข ใดๆ อยากให้เด็กๆ ได้เรียน ได้เติบโตขึน้ เป็นคนดี และท�ำประโยชน์ ให้กับสังคมในส่วนที่พวกเขาสามารถท�ำได้ ฉะนั้นตลอด 15 ปีสิ่งที่มูลนิธิเน้นย�้ำในการปลูกฝังให้เด็กที่ ได้รบั ทุนก็คอื อยากให้ไปช่วยคนอืน่ เท่าทีเ่ ขาท�ำได้ เราพยายามวาง รากฐานความคิดนี้ แม้จะเป็นหยดน�้ำเล็กๆ ในสังคมใหญ่ แต่ผม เชื่อว่าด้วยวิธีคิด แบบอย่างนี้ จะช่วยขยายผลออกไปได้เรื่อยๆ ปัจจุบันบัณฑิตที่ส�ำเร็จด้วยทุนการศึกษาของมูลนิธิฯ เรามีครบ เกือบทุกสาขาวิชา ทั้ง แพทย์ ครู วิศวกร สถาปนิก บัญชี นัก รัฐศาสตร์ สื่อสารมวลชน เกษตร ดนตรี เรามีหลากหลาย สิ่งที่น่า ดีใจก็คอื ทุกคนทีจ่ บออกไปแล้วมีความกระตือรือร้นทีจ่ ะเข้ามาเป็น ส่วนหนึ่งของมูลนิธิ และกระจายผลออกไปยังกลุ่มเพื่อน ญาติพี่ น้อง

ปราโมช รัฐวินิจ กรรมการและผู้แนวยการมูลนิธิด�ำรงชัยธรรม


49

ทุ ก วั น นี้ ทั้ ง ตั ว ผมเอง คุ ณ ไพบู ล ย์ กรรมการทุกคนที่มีส่วนร่วม เราทุกคนมี ความสุขที่ได้เห็นความเปลี่ยนแปลง เรา เห็นเด็กที่มารับทุนตั้งแต่ตัวเล็กๆ เห็นพวก เขาเติบโต ตั้งใจเรียน ฟันฝ่าอุปสรรคมา มากมาย จนกระทั่งวันแห่งความส�ำเร็จ เห็นเขาเริ่มท�ำงาน มีครอบครัว เห็นว่าเขา มีความคิดที่ดี มีความหวังดีต่อมูลนิธิ และ สังคม เพียงแค่นี้เราก็พบว่ามันเป็นความ สุขของทุกคนที่เกี่ยวข้องมากแล้ว ถือเป็น ความพึงพอใจที่มีมูลค่ามาก

• สิ่งที่อยากท�ำต่อไปคือการสร้างเยาวชน เพือ่ รองรับการเปิดประชาคมอาเซียนด้วย

นี่คือหัวใจส�ำคัญครับ เพราะอาเซียนมี 3 เสาหลัก คือ ความมั่นคง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม เพราะฉะนั้นความเปลี่ยนแปลงในสังคมกลุ่ม ประชาคมอาเซียน อีก 2 ปี ข้างหน้า จะเป็นการเปลี่ยนแปลงทุกมิติ ทุก คนมีสว่ นร่วมมีสว่ นเกีย่ วข้องทัง้ นัน้ อีกไม่กวี่ นั นีพ้ รมแดนอาเซียนจะสูญ สลายไป ส�ำคัญทีส่ ดุ คือ คน ทีอ่ ยูต่ รงนัน้ ท�ำให้มลู นิธเิ ริม่ มองและให้ขอ้ มูล กับเด็กๆ ว่าพวกเขาต้องเรียนรู้ อย่างรอบด้าน เข้าใจ บทบาทของตัวเอง ในอาเซียน ซึง่ จุดนีห้ ลายๆ หน่วยงานก็กำ� ลังกระตุน้ ให้ทกุ คนได้รบั รู้ เพราะ ในมิตทิ เี่ ราทราบมันกินความไปทัง้ ชีวติ ทัง้ การท�ำอุตสาหกรรมขนาดย่อม การท�ำเกษตรกรรม หรือแม้กระทั่งโรงงานเล็กๆ น้อยๆ ทุกอย่างจะเข้าสู่ ความเป็นอาเซียน ทัง้ การแลกเปลีย่ นแรงงาน การติดต่อไปมาหาสูก่ นั ทุก อย่าง ตรงนี้มูลนิธิเราอยากจะพัฒนาคนให้พร้อมรองรับ ซึ่งสิ่งที่เห็นชัด ง่ายที่สุดคือ การไปเรียนสายวิชาชีพ จะสามารถขยับแรงงานไปได้ในทุก ประเทศ เราก็มีเวลาเตรียมการพอสมควร รวมถึงหลังจากนี้เราจะมุ่งเน้น เรื่องของการมีค่ายที่พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ หรือภาษาอาเซียนต่างๆ หรือการสร้างกิจกรรมให้เยาวชนได้มีโอกาสแลกปลี่ยนวัฒนธรรมกับ ประเทศสมาชิก ซึ่งเรื่องเหล่านี้จะเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยให้เยาวชนของเรา ปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น อันนี้ก็เป็นเรื่องที่มูลนิธิ อยากท�ำ


50 Aniversary 15th

• ต่อยอดและขยายผลด้วยกลุ่มบัณฑิตทุนที่เรามีอยู่ สิ่งที่เรามองไปถึงอนาคตคือ ความผูกพันธ์ที่เรา มี ต ่ อ กั น ก� ำ ลั ง จะขยายผล เราอยากให้ บั ณ ฑิ ต ทุ น นักเรียนทุน ช่วยกันเป็นแกนในแต่ละจุด ในแต่ละพืน้ ที่ ในแต่ละสังคม เมื่อจบการศึกษาแล้ว ก็ไปมีสังคมใหม่ ของเขาเอง ไปท�ำงานไปมีชวี ติ ความผูกพันธ์ทมี่ ี ความ คิดที่มี ก็จะขยายผลต่อไป ที่มองเป็นภาพไว้ก็มี 2 เรื่อง ที่บัณฑิตจะช่วยขยายผลต่อได้ การสร้างเครือข่าย เป็นเครือข่ายด้านการให้ ความช่วยเหลือ ดูแลพี่น้องเยาวชนในพื้นที่ การเปิดรับ สมัครทุนในแต่ละปี รวมถึงการท�ำงานด้านทุนการ ศึกษามากว่า 15-16 ปี เรามีขอ้ มูลว่า มีเยาวชนจ�ำนวน ไม่นอ้ ยทีต่ อ้ งการโอกาส ต้องการค�ำแนะน�ำในการปรับ ตั ว เรื่ อ งต่ า งๆ บั ณ ฑิ ต ทุ น ที่ เ รามี อ ยู ่ ก็ จ ะช่ ว ยเป็ น ศูนย์กลางในการดูแลนักเรียนทุนหรือเยาวชนในท้อง ถิน่ ของตัวเองด้วยเพราะพวกเราเรียนรูซ้ มึ ซับระบบการ ดูแลเยาวชนของมูลนิธิด้วยตัวเองมาแล้ว นอกจากนั้น บัณฑิตทุนทีอ่ ยูใ่ นจังหวัดต่างๆ ก็จะมีหน้าทีใ่ นการช่วย ค้นหาช่วยคัดเลือกเยาวชนในท้องถิ่นของตัวเองที่เห็น ว่ามีคุณสมบัติเหมาะสมในการรับทุนก็จะช่วยกันส่ง ข้อมูลให้เราพิจารณา ผมคิดว่าคนในพืน้ ทีย่ อ่ มมีขอ้ มูล ที่เป็นจริง ก็จะเป็นการช่วยกระจายโอกาสทางการ ศึกษาอีกช่องทางหนึ่งด้วย

การเป็นองค์กรที่สนับสนุนการสร้างองค์ความรู้ ในแต่ละปีเรามีบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในแต่ละ ศาสตร์แต่ละสาขามากขึ้นเรื่อยๆ ตามจ�ำนวนบัณฑิตที่จบ มูลนิธเิ ลยเห็นว่าเราน่าจะใช้องค์ความรูเ้ หล่านีจ้ ากบัณฑิตให้ เป็นประโยชน์โดยรวม ก็ริเริ่มให้บัณฑิตช่วยกันเขียนเรื่องราว หรือสิ่งที่ตัวเองสนใจ เป็นสาระความรู้ ในเชิงบทความ แล้ว มารวบรวมเป็นวารสารทีเ่ ผยแพร่ให้ความรูก้ บั เยาวชน ซึง่ ก็นา่ จะเป็นอีกบทบาทหนึ่งของมูลนิธิฯในการสร้างสรรค์ให้เกิด ผลงานทางวิชาการขึ้น ซึ่งตอนนี้ที่เราท�ำอยู่ก็เป็น วารสาร เบิกฟ้า ที่น่าจะเหมาะกับวัยรุ่น เนื้อหามีทั้งวิชาการ ทั้งด้าน การเรียนวิชาต่างๆ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ หรื อ แม้ แ ต่ ค วามรู ้ ร อบตั ว ที่ เ ยาวชนควรรู ้ เช่ น เรื่ อ งของ เทคโนโลยี สุขภาพ ความรู้เกี่ยวกับเพื่อนบ้านกลุ่มประเทศ อาเซี ย น ซึ่ ง มู ล นิ ธิ ก็ แ จกวารสารเหล่ า นี้ ใ ห้ กั บ ห้ อ งสมุ ด โรงเรียนมัธยม ห้องสมุดมหาวิทยาลัยต่างๆ นีก่ เ็ ป็นอีกบทบาทหนึง่ ทีม่ ลู นิธกิ ำ� ลังต่อยอดและขยาย ผล อย่างทีบ่ อกว่ามูลนิธเิ ราเป็นจุดเล็กๆ ในสังคม คุณไพบูลย์ ด�ำรงชัยธรรม ก็บอกเสมอว่าที่ท�ำตรงนี้ก็ไม่ได้ต้องการการ ตอบแทนอะไรจากบัณฑิต แต่ท�ำเพราะอยากช่วยจริงๆ ก็ ระดมพรรคพวกมาช่วยเหลือกัน และเด็กๆ ก็คงจะมีความสุข ที่วันหนึ่งเขาจะได้ไปช่วยเหลือคนอื่นต่อไป


ไม่ใช่แค่ให้

โตได้ แต่อยากให้ โตดี

เด็กไทยเรยี นฟรี น ั ฝ น า ส เป็นคนโตด ขี องสังคม

โครงการทุนสร้างคน สร้างบัณฑิต มูลนิธิด�ำรงชัยธรรม รุน่ ที่ 16/2557 จ�ำนวน 34 ทุน

1. ทุนสายสามัญ 20 ทุน (นักเรียนที่ก�ำลังศึกษาอยู่ชั้น ม.3 และ ม.6 ในปีการศึกษา 2556) 2. ทุนสายอาชีพ 14 ทุน (นักเรียนที่ก�ำลังศึกษาอยู่ชั้น ปวช.2 ในปีการศึกษา 2556)

คุณสมบัติ “ขาดแคลน เรียนดี ประพฤติดี และมีความสามารถ”

1. 1.1 ทุนสายสามัญ (รับทุนมัธยมปลาย-ปริญญาตรี) - ก�ำลังศึกษาอยู่ชั้น ม.3 และ ม.6 ในปีการศึกษา 2556 (อายุไม่เกิน 18 ปี และ 21 ปี ตามล�ำดับ) - มีผลการเรียนเฉลี่ย ชั้นม.1-2 หรือ ม.4-5 ไม่ต�่ำกว่า 3.00 (2 ปีการศึกษา) 1.2 ทุนสายอาชีพ (รับทุนปวช.-ปวส.-ปริญญาตรี) - ก�ำลังศึกษาอยู่ชั้นปวช. 2 ในปีการศึกษา 2556 (อายุไม่เกิน 21 ปี) - มีผลการเรียนเฉลี่ย ชั้นปวช.1 ไม่ต�่ำกว่า 3.00 (1 ปีการศึกษา) 2. มีความประพฤติดี เป็นผู้ที่อยู่ในคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตส�ำนึกที่ดี (ดูจากวันประทับตราไปรษณีย์ต้นทาง) ต่อสังคม ดูรายละเอียดเพิ่มเติมและขอรับใบสมัครได้ที่ 3. มีความสามารถ เป็นผู้ที่กล้าแสดงออก หรือ มีคุณลักษณะภาวะผู้น�ำ, สถาบันการศึกษา ส�ำนักเขตพื้นที่การศึกษา มีความสามารถพิเศษโดดเด่นในด้านต่างๆ, มีประสบการณ์ที่จะพัฒนา ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สู่การเป็นเยาวชนอาเซียน หรือ น�ำชื่อเสียงมาสู่สถาบันการศึกษาและ หรือดาวน์โหลดใบสมัครได้ที่ ครอบครัว เช่น ความสามารถด้านภาษาที่ 2 ภาษาที่ 3, ด้านศิลปะ www.damrongchaitham.com วัฒนธรรม วงเล็บมุมซอง “(สมัครขอรับทุน)” 4. มีสุขภาพดี มีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดีไม่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา 5. ครอบครัวให้การสนับสนุนการศึกษา

สมัครตัง้ แต่วนั นี-้ 30 ก.ย. 2556

มูลนิธิด�ำรงชัยธรรม เลขที่ 50 อาคารจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เพลส ถนนสุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 02-669-9614-7, 02-669-9711-3, โทรสาร : 02-669-9614 E-mail : damrongchaitham@damrongchaitham.com, www.damrongchaitham.com, www.facebook.com/Damrongchaitham-Foundation


“ไม่ใช่แค่ให้ โตได้ แต่อยากให้ โตดี”


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.