สารวลัยลักษณ์ ประจำเดือนธันวาคม 2557

Page 1


NEWS Walailak University Newsletter

ม.วลัยลักษณ์จดั กิจกรรมเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั

www.wu.ac.th

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จัดกิจกรรมเทิดพระเกียรติเนื่องใน วโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 5 ธันวาคม 2557 ด้วยความจงรักภักดี เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2557 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์จัด กิ จกรรมเทิ ด พระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว “รวมใจ น้อมเกล้า เทิดไท้ 5 ธันวา มหาราช” เนื่องในวโรกาสมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษา 87 พรรษา 5 ธันวาคม 2557 โดยมีคณะผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่และนักศึกษา ของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ตลอดจนประชาชนรายรอบมหาวิทยาลัย เข้าร่วมประมาณ 200 คน ณ บริเวณโถงกลาง อาคารบริหาร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ กิจกรรมเทิดพระเกียรติฯ เริ่มด้วยการชมวีดิทัศน์สารคดี เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ซงึ่ พระองค์ทรงฏิบตั ิ พระราชกรณียกิจอย่างหนักเพือ่ ประโยชน์สขุ ของอาณาประชาราษฎร์ ปรากฏเป็นทีป่ ระจักษ์ทงั้ หมูป่ ระชาชนชาวไทยและประชาชนทัว่ โลก จากนั้นผู้แทนทุกหน่วยงานของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ผู้แทนนักศึกษา และผูน้ ำ� ชุมชนสาธิตมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ถวายเครือ่ งราชสักการะ

2

พุ่มทอง - พุ่มเงิน เบื้องหน้าพระบรมสาทิสลักษณ์ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว จากนั้ น ดร.สุ เ มธ แย้ ม นุ ่ น รั ก ษาการแทนอธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ประธานในพิธีเปิดพานธูปเทียนแพ และ ถวายเครื่องราชสักการะ พุ่มทอง – พุ่มเงิน พร้อมอ่านบทถวาย พระพรพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ผู้มาร่วมพิธีร่วมแสดงออกซึ่ง ความจงรักภักดีผ่านบทเพลงสรรเสริญพระบารมี และเพลงสดุดี มหาราชา พร้อมร่วมลงนามถวายพระพร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั อนึ่ง มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ได้จัดกิจกรรมเทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อย่างต่อเนื่องเป็นประจ�ำทุกปี เพื่อ แสดงออกถึงความจงรักภักดี และส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ ทีพ่ ระองค์ทรงมีตอ่ พสกนิกรชาวไทยนานัปการ ซึง่ ในปีนนี้ อกจากการ จัดกิจกรรมดังกล่าวแล้ว ยังมีการจัดกิจกรรมอืน่ ๆอาทิ กิจกรรมต้นไม้ บอกรักพ่อ กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ กิจกรรมปลูกต้นไม้ กิจกรรม บ�ำเพ็ญประโยชน์และการมอบหนังสือและธงอาเซียนให้กับโรงเรียน วัดสโมสรอีกด้วย


Walailak University Newsletter

NEWS

รศ.ดร.มณฑล เลิศคณาวนิชกุล : เน้นศึกษางานทางด้านเภสัชศาสตร์ชีวภาพ ใช้กับผลิตภัณฑ์เจลแต้มสิว น�้ำยาบ้วนปาก หรือน�ำไปเป็นสารต้นแบบ ส�ำหรับใช้เป็นสารปฏิชวี นะทดแทนยาเคมีสงั เคราะห์เพือ่ ต้านแบคทีเรียดือ้ ยาเมธิซลิ ลินในกลุม่ Staphylococcus aureus (methicillin resistant Staphylococcus aureus) โดยในขณะนีไ้ ด้มกี ารเก็บรวบรวมแบคทีเรียที่ มีสมบัตดิ งั กล่าวจากแหล่งธรรมชาติไว้อย่างมากมาย ได้แก่ กลุม่ สเตรปโต มัยสีท (Streptomyces) บาซิลลัส (Bacillus) และแบคทีเรียกรดแลคติค (Lactic Acid Bacteria) ซึง่ บางส่วนของแบคทีเรียทีม่ ปี ระโยชน์เหล่านีไ้ ด้ ถูกน�ำไปแยกวินจิ ฉัยด้วยการหาล�ำดับยีน 16S rDNA และน�ำข้อมูลล�ำดับ ยีนดังกล่าวไปวางไว้ในฐานข้อมูลของ GenBank (National Center for Biotechnology Information: NCBI) เพือ่ เป็นแหล่งสือ่ กลางสาธารณะ ในการเข้าถึงของผูท้ มี่ คี วามสนใจงานวิจยั ทางด้านจุลชีววิทยา นอกจากนี้ รองศาสตราจารย์ ดร.มณฑล ยังได้เป็นสมาชิกของ ศูนย์ชวี วัสดุประเทศไทย (Thailand Bioresources Research Center : TRBC) ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรม (BIOTECH) เพือ่ ขอจัดเก็บรวบรวมแบคทีเรีย ทีค่ ดั แยกได้จากแหล่งธรรมชาติไม่ให้สญู หายไป นับว่าเป็นการใช้ประโยชน์ จากความหลากหลายของจุลินทรีย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเผยแพร่ ข้อมูลทีไ่ ด้จากการวิจยั เพือ่ ให้นกั วิจยั รุน่ ใหม่ได้ใช้เป็นแนวทางการศึกษา ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างสูงสุด จากความเชีย่ วชาญทางด้านการใช้ประโยชน์จากความหลากหลาย ทางชีวภาพ ด้านแบคทีเรีย และความปลอดภัยของอาหารทางด้าน จุลชีววิทยา รวมทัง้ ความสนใจทางด้านแบคทีเรียโปรไบโอติค แบคเทอริโอซิน การน�ำแบคทีเรียที่มีประโยชน์มาท�ำเป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และ แบคทีเรียดือ้ ยาต้านจุลชีพ ท�ำให้ รองศาสตราจารย์ ดร. มณฑล ได้รบั เงิน ทุนสนับสนุนการวิจยั ทัง้ จากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) งบประมาณแผ่นดิน และ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เป็นต้น โดยมีผลงานวิจยั ทีไ่ ด้รบั การตีพมิ พ์เผย แพร่ในวารสารทัง้ ในและต่างประเทศ จ�ำนวน 61 เรือ่ ง และได้นำ� เสนอ บทความวิจยั ทีป่ ระชุมวิชาการ จ�ำนวน 55 เรือ่ ง ทีส่ ำ� คัญได้รบั สิทธิบตั ร การประดิษฐ์ “เจลแต้มสิวทีม่ ผี ลด้านแบคทีเรียก่อสิวทีป่ ระกอบด้วยโปรตีน ชีวสารกึง่ บริสทุ ธิ”์ อีกด้วย นอกจากนี้ ยังได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการน�ำ จุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์อย่างต่อเนื่อง ได้แก่ การน�ำจุลินทรีย์มาใช้เป็น โปรไบโอติก การใช้แบคเทอริโอซินทีผ่ ลิตจากแบคทีเรียไปต้านจุลนิ ทรีย์ ก่อโรค การใช้จลุ นิ ทรียม์ าเป็นอาหารเพือ่ ลดระดับโคเลสเตอรอล รวมทัง้ การศึกษาอุบตั กิ ารณ์ของจุลนิ ทรียด์ อื้ ยาทีม่ ปี นเปือ้ นอยูใ่ นห่วงโซ่อาหาร ขณะเดียวกัน รองศาสตราจารย์ ดร. มณฑล ยังได้พยายามใช้วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ สูงโดยอาศัยเทคนิคทางพันธุวศิ วกรรม เพือ่ ท�ำการตัดต่อยีนทีเ่ กีย่ วข้อง กับการผลิตสารออกฤทธิป์ ฏิชวี นะทีส่ นใจท�ำให้ให้จลุ นิ ทรียม์ ปี ระสิทธิภาพ สูงขึน้ และเป็นประโยชน์มากขึน้ “การมุง่ เน้นท�ำงานวิจยั พร้อมกับการสอนทีส่ อดแทรกคุณธรรมให้ แก่บณ ั ฑิตทุกรุน่ เพือ่ พัฒนาบัณฑิตให้มคี วามรูค้ คู่ วามดี และเกิดทักษะด้าน การวิจยั เป็นทรัพยากรทีม่ คี ณ ุ ภาพต่อประเทศชาติ ท�ำให้ได้รบั มอบโล่เชิดชู เกียรติบคุ ลากรดีเด่นตามภารกิจหลักของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ (มวล.) ด้านการวิจยั เนือ่ งในโอกาสวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัย ครบปีที่ 22 ประจ�ำปี พ.ศ. 2557” ถือเป็นหนึง่ ในความภาคภูมใิ จของ รองศาสตราจารย์ ดร. มณฑล เลิศคณาวนิชกุล ทัง้ ในฐานะอาจารย์และนักวิจยั 3

www.wu.ac.th

รองศาสตราจารย์ ดร. มณฑล เลิศคณาวนิชกุล อาจารย์ประจ�ำ ส� ำ นั ก วิ ช าสหเวชศาสตร์ แ ละ สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์ มุ่งเน้นศึกษาในระดับ ลึ ก ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ งานทางด้ า น เภสัชศาสตร์ชวี ภาพ (Biopharmaceutical Sciences) โดยน�ำเอา จุลินทรีย์หรือผลิตภัณฑ์ออกฤทธิ์ทางเภสัชที่ผลิตโดยจุลินทรีย์ไปใช้ให้ เกิดประโยชน์ในด้านการแพทย์ และงานด้านอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับสุขภาพ รองศาสตราจารย์ ดร. มณฑล ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทางด้าน จุลชีววิทยา เกียรตินยิ มอันดับ 2 จากมหาวิทยาลัยบูรพา จากนัน้ ศึกษาต่อ ระดับปริญญาโทและเอกทางด้านเภสัชศาสตร์ชวี ภาพจากมหาวิทยาลัย มหิดล โดยมุง่ เน้นศึกษาในระดับลึกทีเ่ กีย่ วข้องกับงานทางด้านเภสัชศาสตร์ ชีวภาพ ด้วยการน�ำจุลนิ ทรียห์ รือผลิตภัณฑ์ทผี่ ลิตออกมาโดยจุลนิ ทรียไ์ ปใช้ ให้เกิดประโยชน์ในด้านการแพทย์ จึงอาจกล่าวได้วา่ เป็นผูม้ คี วามช�ำนาญ การเกีย่ วกับจุลนิ ทรียท์ งั้ ทีเ่ ป็นโทษและทีเ่ ป็นประโยชน์ เมือ่ พูดถึงจุลนิ ทรีย์ รองศาสตราจารย์ ดร. มณฑล เล่าให้ฟงั ว่า “จุลนิ ทรียม์ คี วามเกีย่ วข้องกับชีวติ มนุษย์หลายด้าน เช่น ด้านการแพทย์ และสัตวแพทย์ ด้านสาธารณสุข ด้านการเกษตร ด้านอุตสาหกรรม เป็นต้น ยิง่ ไปกว่านัน้ จุลนิ ทรียย์ งั มีบทบาทในชีวติ ประจ�ำวันของมนุษย์อย่างหลีก เลีย่ งไม่ได้ เนือ่ งจากสิง่ มีชวี ติ ขนาดเล็กเหล่านีอ้ ยูร่ อบตัวเรา ทัง้ ในอากาศ น�ำ ้ และอาหาร มีทงั้ กลุม่ จุลนิ ทรียท์ เี่ ป็นประโยชน์ ซึง่ มนุษย์ตงั้ แต่โบราณ แม้ไม่เคยรูจ้ กั จุลนิ ทรียม์ าก่อนแต่กไ็ ด้เคยใช้ประโยชน์จากจุลนิ ทรียม์ าแล้ว แทบทั้งสิ้น และก็ยังคงพบกลุ่มจุลินทรีย์ที่เป็นโทษอยู่บ้างที่เป็นสาเหตุ ก่อให้เกิดโรคต่างๆ ทัง้ กับมนุษย์และสัตว์ แต่กเ็ ป็นสัดส่วนทีน่ อ้ ยกว่ากลุม่ จุลนิ ทรียท์ มี่ ปี ระโยชน์” อย่างไรก็ตาม ยังคงมีความเข้าใจผิดๆ เกีย่ วกับจุลนิ ทรีย์ ไม่วา่ จะ ด้วยความเชือ่ ของตนเองหรืออิทธิพลของสือ่ ต่างๆ ท�ำให้เกิดความเกลียด กลัวจุลนิ ทรีย์ เนือ่ งจากเห็นว่าเป็นสิง่ สกปรกและน�ำมาซึง่ ความเจ็บป่วย แต่ในความเป็นจริงแล้วได้มกี ารน�ำจุลนิ ทรียม์ าใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ มากมาย ได้แก่ จุลนิ ทรียก์ บั สิง่ แวดล้อม เช่น การน�ำจุลนิ ทรียม์ าช่วยรักษา สิง่ แวดล้อม บ�ำบัดสารมลพิษทีย่ อ่ ยสลายยากทัง้ ทีเ่ ป็นสารอินทรียแ์ ละสาร อนินทรีย์ จุลนิ ทรียก์ บั การแพทย์ เช่น การน�ำจุลนิ ทรียม์ าใช้เป็นตัวกลาง ในการผลิตสารที่จ�ำเป็นบางอย่างที่เกี่ยวข้องกับทางการแพทย์และการ รักษาโรค จุลนิ ทรียก์ บั อุตสาหกรรม เช่น การน�ำจุลนิ ทรียม์ าใช้เกีย่ วกับ อุตสาหกรรมอาหาร จุลนิ ทรียก์ บั การเกษตร เช่น การน�ำจุลนิ ทรียม์ าท�ำ เป็นเชือ้ EM (ปุย๋ ชีวภาพ) จากความเกี่ยวข้องระหว่างจุลินทรีย์กับสิ่งมีชีวิตหรือแม้แต่ เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ท�ำให้ รองศาสตราจารย์ ดร. มณฑล มีความสนใจทีจ่ ะศึกษาวิจยั เพือ่ น�ำจุลนิ ทรียม์ าใช้ประโยชน์ จนเกิดความช�ำนาญเกี่ยวกับจุลินทรีย์ทั้งที่เป็นประโยชน์และเป็นโทษ เพือ่ เฝ้าระวัง ป้องกัน และใช้จลุ นิ ทรียเ์ ป็นตัวควบคุมคุณภาพของอาหาร ให้ปลอดภัยต่อการน�ำมาบริโภค การน�ำจุลินทรีย์มาใช้เป็นอาหาร รวม ทัง้ น�ำเอาสารออกฤทธิท์ างชีวภาพทีจ่ ลุ นิ ทรียผ์ ลิตออกมาในระหว่างการ เจริญเติบโตมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ซึง่ ในเบือ้ งต้นได้ศกึ ษาโดยน�ำไปผสม


NEWS

Walailak University Newsletter

ชมรมประดู่อาสาพยาบาลได้รับรางวัล รองชนะเลิศอันดับ 2 ในการแข่งขัน EMS Rally ชมรมประดู่อาสาพยาบาล มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ได้เข้าร่วม “โครงการสานสัมพันธ์เครือข่ายเด็กไทยหัวใจจิตอาสา ครั้งที่ 3” ระหว่างวันที่ 22- 24 ธันวาคม 2557 ณ มหาวิทยาลัย ราชภัฏมหาสารคาม โดยมีสถาบันการศึกษาเข้าร่วม 9 สถาบัน ดังนี้ ชมรมนครา มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ ,ชมรมนักวิทยุสมัครเล่นและ อาสาสมัครกูภ้ ยั มหาวิทยลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฏร์ธานี , กองกิจกรรมอาสานาคบุตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช , ชมรมวิทยุสื่อสารและอาสาพยาบาล มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา , ชมรมสุริยะพยาบาล มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา , ชมรมกู้ภัยสระหงษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ,ชมรมกู้ภัยอีสาน ล้านช้าง มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ ,ชมรมกูภ้ ยั พระเจ้าศรีโสภณ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม และชมรมประดู่อาสาพยาบาล มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โดยมี รศ.สมชาย วงศ์เกษม อธิการบดี ให้เกียรติมาเป็นประธานกล่าวเปิดงาน ณ ห้องประชุมชัน้ 5 อาคาร เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา ทัง้ นีไ้ ด้มกี ารแลกเปลีย่ นเรียนรูร้ ะบบการท�ำงาน การกระชับ ความสัมพันธ์ระหว่างสถาบัน การก�ำหนดแนวทางการขับเคลื่อน เครือข่ายและร่วมลงปฏิญญาเด็กไทยหัวใจจิตอาสา 9 สถาบันการ ศีกษา และศึกษาดูงานด้านวัฒนธรรมและวิถีชุมชน พุทธมลฑล

อีสานพระบรมธาตุนาดูน จ.มหาสารคาม ทัง้ นี้ มีการจัดการแข่งขัน EMS Rally (Emergency Medical Services Rally) ชิงถ้วย พระราชทานกระทรวงสาธารณสุข โดยชมรมกูภ้ ยั พระเจ้าศรีโสภณ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ได้รับรางวัล ชนะเลิศอันดับ 1 , กองกิจกรรมอาสานาคบุตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ได้รับรางวัล รองชนะเลิศอันดับ 1 และชมรมประดู่อาสาพยาบาล ได้รับรางวัล รองชนะเลิศอันดับ 2 และในวันที่ 25 ธันวาคม 2557 ทางชมรมได้รว่ มลงนามถวายพระพร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และวางแจกันดอกไม้ ณ ศาลาศิริราช 100 ปี โรงพยาบาลศิริราช

www.wu.ac.th

หลักสูตร “สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต” เปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ รุ่นที่ 1 ประจ�ำปีการศึกษา 2558

4

ส�ำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เปิดหลักสูตรใหม่ “สาธารณสุขศาสตร บัณฑิต” เป็นหลักสูตรใหม่ที่พัฒนาขึ้นภายใต้ขอบเขตของพระราชบัญญัติวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน พ.ศ. 2556 เปิดรับ สมัครเข้าศึกษาประเภท “รับตรง” ทั่วประเทศ และ “แอดมิชชั่น” ผู้สนใจสามารถสมัครออนไลน์ผ่านทางเว็บไซต์ได้ที่ http://www.wu.ac.th/th/view/apply หรือติดต่อโดยตรงทีผ่ ศ.ดร.จ�ำนงค์ ธนะภพ หัวหน้าสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ โทร. 0-7567-2188 ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ข้อมูลหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต : http://ihh.wu.ac.th/cms_menudetail?menu_id=76


Walailak University Newsletter

NEWS

นักศึกษาส�ำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร ได้รับรางวัล ที่ 3 (Third Prize) ในงาน 2014 Asia Pacific Agriculture Undergraduate Student Project Competition ณ ประเทศใต้หวัน

นักศึกษาส�ำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร นางสาววิภารัตน์ เรืองชุม ได้เข้าแข่งขันเสนอผลการวิจัยระดับปริญญาตรี ในงาน 2014 Asia Pacific Agriculture Undergraduate Student Project Competition ในวันที่ 3 พฤศจิกายน 2557 ณ National Pingtung University of Science and Technology ประเทศ ไต้หวัน ซึ่งมีนักศึกษาระดับปริญญาตรีจากประเทศอินโดนีเซีย ใต้หวัน และไทย เข้าร่วมแข่งขัน โดย นางสาววิภารัตน์ เรืองชุม

ได้รางวัล ที่ 3 (Third Prize) ได้รับเกียรติบัตรและเงินรางวัล 3,000 เหรียญ (ใต้หวัน) ทั้งนี้งานวิจัยนี้ มีอาจารย์ที่ปรึกษางาน วิจัย คือ อาจารย์ ดร. นพวรรณ ฉิ้มสังข์ อาจารย์ประจ�ำส�ำนัก วิ ช าเทคโนโลยี ก ารเกษตร มหาวิ ท ยาลั ย วลั ย ลั ก ษณ์ และ ผศ.ดร.สุภฎา คีรีรัฐนิคม อาจารย์ประจ�ำคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ร่วมเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน “จักรยานทางไกลนครศรีธรรมราช ครั้งที่ 2 Tour of Srivichai” มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ได้รบั เกียรติรว่ มเป็นเจ้าภาพหลัก การจัดการแข่งขัน “จักรยานทางไกลนครศรีธรรมราช ครั้งที่ 2 Tour of Srivichai” เมื่อในวันที่ 22 มิถุนายน 2557 ที่ผ่านมา ณ กองทัพภาคที่ 4 ค่ายวชิราวุธ โดยได้รับเกียรติจากที่ปรึกษา แม่ทัพภาคที่ 4 พลตรีอภิไทย สว่างภพ เป็นประธานเปิดการ แข่งขัน ซึ่งมีผู้สนใจจาก 14 จังหวัดภาคใต้ รวม 2,150 คน เข้าร่วมการแข่งขันในครั้งนี้

นักศึกษานิเทศฯ มวล. คว้ารางวัล ประกวดโฆษณาเพื่อสังคม ก� ำ ห น ด เ ดิ น ท า ง ไ ป ทั ศ นศึ ก ษา ชมศิ ล ปะ ธรรมชาติ วั ฒ นธรรม เทคโนโลยี และดูงาน เ อ เจ น ซี่ ร ะ ดั บ โ ล ก ณ ประเทศญี่ ปุ ่ น ใน เดื อ นมเษายน 2558 ส�ำหรับภาพบรรยากาศ การประกวดรอบชิงชนะเลิศ ทรูวิชั่นส์จะผลิตสกู๊ปไฮไลท์สรุปผล การประกวดฯ ออกอากาศผ่านช่องรายการต่างๆ จ�ำนวน 24 ช่อง รายการ ติดตามได้ต่อไปทางทรูวิชั่นส์

www.wu.ac.th

นายธเนศ ค�ำคง และนายจักรกฤษณ์ ทนวิรกั ษ์ นักศึกษา หลักสูตรนิเทศศาสตร์ ส�ำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์ (มวล.) ซึ่งมีอาจารย์ธนภร เจริญธัญสกุล อาจารย์ ประจ�ำหลักสูตรดังกล่าวเป็นที่ปรึกษา ภายใต้ชื่อทีมมาตราไทย คว้ารางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 การประกวดภาพยนตร์โฆษณา เพื่อสังคม ถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี ครั้งที่ 10 True Young Producer Award 2014 ประเภท Viral VDO ได้รับโล่เกียรติยศ เกียรติบัตร พร้อมเงิน รางวัลจ�ำนวน 20,000 บาท เมื่อเร็วๆนี้ ที่ห้องออดิทอเรี่ยม ชั้น 5 อาคารทิปโก้ ถนนพระราม 6 กรุงเทพมหานคร โดยที ม ที่ ไ ด้ ร างวั ล ชนะเลิ ศ พร้ อ มอาจารย์ ที่ ป รึ ก ษา มี

5


NEWS Walailak University Newsletter

www.wu.ac.th

วช. จับมือ สกว. ร่วมกับ ม.วลัยลักษณ์ ผลักดันจังหวัดกระบี่เป็นแหล่งท่องเที่ยวระดับโลก

6

หน่วยวิจัยการบริโภคและเศรษฐกิจยั่งยืน มหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์ ด�ำเนินงานวิจัยในจังหวัดกระบี่ภายใต้รูปแบบพันธกิจ สัมพันธ์กับองค์กรชุมชน (University Community Engagement) เพื่อพัฒนาโจทย์วิจัยโดยการขับเคลื่อนร่วมกันระหว่างนักวิจัย แหล่ง ทุนวิจัย ชุมชนเจ้าของพื้นที่ หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง กับการบริหารจัดการในเรื่องนั้น ๆ โดยร่วมมือกับส�ำนักงานคณะ กรรมการวิจยั แห่งชาติ (วช.) และส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) ด�ำเนินการอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2555 จนถึงปัจจุบัน เพื่อ บรรลุเป้าหมายร่วมกัน โดยเจ้าของพืน้ ทีส่ ามารถขับเคลือ่ นชุมชนและ บริหารจัดการได้ด้วยตนเอง และผลักดันจังหวัดกระบี่ให้เป็นแหล่ง ท่องเทีย่ วระดับโลก โดยเฉพาะพุนำ�้ ร้อนเค็มคลองท่อมทีม่ ศี กั ยภาพใน การพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเทีย่ วทีส่ ำ� คัญอีกแห่งหนึง่ ของจังหวัดกระบี่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป์ หัวหน้า หน่วยวิจยั การบริโภคและเศรษฐกิจยัง่ ยืน เล่าให้ฟงั ว่า “จังหวัดกระบี่ มีปฏิญญาการท่องเที่ยวยั่งยืนเป็นแนวปฏิบัติและเป็นกรอบในการ พัฒนาการท่องเทีย่ ว โดยได้ระบุรายละเอียดทีช่ ดั เจนเกีย่ วกับการวาง ต�ำแหน่งผลิตภัณฑ์ของแต่ละพืน้ ที่ รวมไปถึงขอบเขตหน้าทีข่ องหน่วย งานภาครัฐและองค์กรที่เกี่ยวข้อง รวมถึงกลุ่มธุรกิจ ผู้ประกอบการ และภาคประชาชน ทั้งนี้ ในระดับนโยบายจังหวัดกระบี่ต้องการที่จะ ขายสินค้าการท่องเที่ยวที่แตกต่างจากที่อื่นในประเทศไทยเพื่อสร้าง มูลค่าเพิม่ ไม่ตอ้ งการสินค้าทีซ่ ำ�้ กับแหล่งท่องเทีย่ วอืน่ หรือจังหวัดอืน่ ดังนัน้ จังหวัดกระบีจ่ งึ มุง่ เน้นในการพัฒนาจังหวัดกระบีเ่ ป็นเมืองท่อง เที่ยวคุณภาพเน้นการท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่มีชื่อเสียงระดับโลก โดยสิง่ ทีท่ กุ ภาคส่วนในจังหวัดกระบีไ่ ด้รว่ มกันพัฒนาและวางแผนการ บริหารจัดการให้สอดคล้องกับเป้าหมายด้านการท่องเทีย่ วของจังหวัด อย่างเช่น น�้ำทะเล หาดทรายที่สวย สะอาด ปราศจากมลพิษหรือสิ่ง ที่มารบกวน ที่จะท�ำให้เสียมูลค่าทางการท่องเที่ยว เราจึงไม่เห็นร่ม ชายหาด และเตียงผ้าใบตามแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ ในจังหวัดกระบี่ เพราะต้องการส่งเสริมให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีด้านการท่องเที่ยว ที่ ส�ำคัญชาวจังหวัดกระบีย่ อมรับบริบทการเปลีย่ นแปลง แต่ไม่ใช่ให้การ เปลีย่ นแปลงมาเป็นตัวชีน้ ำ � อันจะส่งผลให้ขาดความเป็นตัวของตัวเอง

หรือมาชี้น�ำทิศทางการท่องเที่ยวของจังหวัดกระบี่ การท่องเที่ยวใน จังหวัดกระบี่ต้องน�ำสินค้าการท่องเที่ยวของจังหวัดกระบี่เป็นตัวตั้ง แล้วเลือกลูกค้าหรือนักท่องเที่ยวกลุ่มเป้าหมายที่มีรสนิยมสอดคล้อง กับสินค้าทางการท่องเที่ยวจังหวัดกระบี่” ด้านอาจารย์สุชาติ ฉันส�ำราญ อาจารย์ประจ�ำส�ำนักวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เล่าว่า หน่วยวิจัยการบริโภคและเศรษฐกิจ ยัง่ ยืน ได้ดำ� เนินการศึกษาวิจยั ในจังหวัดกระบีม่ าอย่างต่อเนือ่ ง ตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2555 ถึงปัจจุบัน จากข้อมูลพื้นฐานของจังหวัดกระบี่ที่เป็น พืน้ ทีท่ มี่ ศี กั ยภาพทางการท่องเทีย่ วสูง มีนกั ท่องเทีย่ วเข้ามาท่องเทีย่ ว ประมาณ 3 ล้านคนต่อปี มีทรัพยากรธรรมชาติที่สวยงาม วัฒนธรรม ที่หลากหลาย มีเอกลักษณ์เฉพาะ โดยในปี พ.ศ. 2555 ได้ด�ำเนินการ ศึกษาศักยภาพและมูลค่าผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวต่อการสร้างรายได้ ในพื้นที่ภาคใต้ โดยมี ดร.ปิยะ ปานผู้มีทรัพย์ เป็นผู้อ�ำนวยการแผน งานวิจัย มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ศักยภาพและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ทางการท่องเที่ยวในพื้นที่ภาคใต้ซึ่งครอบคลุมจังหวัดกระบี่ด้วย ต่อมาในปี พ.ศ. 2556 ได้พฒ ั นาแผนงานวิจยั ทีม่ งุ่ สนับสนุนการ จัดการการท่องเทีย่ วจังหวัดกระบีใ่ นทางปฏิบตั ใิ ห้เกิดความยัง่ ยืน ซึง่ ผู้ ว่าราชการจังหวัดกระบีใ่ นขณะนัน้ คือ นายประสิทธิ์ โอสถานนท์ ได้ จัดเวทีพัฒนาโจทย์วิจัยร่วมกับส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) เพือ่ ผลักดันงาน วิจัยให้น�ำไปสู่การใช้ประโยชน์ตามปฏิญญากระบี่ที่ทุกภาคส่วนใน จังหวัดกระบี่ได้ร่วมกันพัฒนาขึ้น เพราะในขณะนั้นอุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยว จังหวัดกระบี่ก�ำลังเผชิญกับจ�ำนวนนักท่องเที่ยวมหาศาล จากประเทศรัสเซียและจีนที่อาจจะส่งผลต่อสัดส่วนโครงสร้างตลาด ปัญหาด้านทุนมนุษย์ในภาคท่องเทีย่ ว และปัญหาด้านความยัง่ ยืนของ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยมีดร.พิมพ์ลภัส พงศกรรัง ศิลป์ เป็นผู้อ�ำนวยการแผนงานวิจัย ในปี พ.ศ. 2557 ทางส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ได้ให้การสนับสนุนงานวิจัย ที่จังหวัดกระบี่จ�ำนวน 2 แผนงานวิจัย ซึ่งเป็นการต่อยอดผลการ ศึกษาในปี พ.ศ. 2556 เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของอุตสาหกรรม


Walailak University Newsletter

ท่องเที่ยวกระบี่ โดยแผนงานแรกได้แก่ การศึกษาศักยภาพ และผลกระทบการประยุกต์ใช้ดจิ ทิ ลั แพลตฟอร์ม (Digital Platform) ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการ แข่งขันของผูป้ ระกอบการในจังหวัดกระบี่ โดยเป็นการด�ำเนินงานร่วม กันระหว่างศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ หรือ NECTEC และหน่วยวิจยั การบริโภคเศรษฐกิจยัง่ ยืน มหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์ และแผนงานการพัฒนาพุน�้ำร้อนเค็มคลองท่อม จังหวัด กระบี่ อย่างยั่งยืนที่มี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป์ เป็นผู้อ�ำนวยการแผนงานวิจัย ภายใต้ความร่วมมือกับนักวิจัยจาก มหาวิทยาลัยอื่น ได้แก่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฎภูเก็ต มหาวิทยาลัยศิลปากร และทาง วช. และ สกว. โดย ได้ตั้งเป้าหมายที่จะพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวพุน�้ำร้อนเค็มให้เป็นแหล่ง ท่องเที่ยวระดับโลก เนื่องจากศักยภาพของทรัพยากรการท่องเที่ยว และเอกลักษณ์เฉพาะของพุน�้ำร้อนเค็มคลองท่อม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป์ เล่าให้ฟัง เกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวพุน�้ำร้อนเค็มว่า จากการลงพื้น ที่ ส� ำ รวจแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วพุ น�้ ำ ร้ อ นเค็ ม คลองท่ อ ม ร่ ว มกั บ ผู ้ ท รง คุณวุฒิจากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย พบว่า พุน�้ำร้อนเค็ม คลองท่อมมีศกั ยภาพในการพัฒนาเป็นแหล่งท่องเทีย่ วทีส่ ำ� คัญอีกแห่ง หนึ่งของจังหวัดกระบี่ โดยเฉพาะพื้นที่บ่อพุน�้ำร้อนที่อยู่ในบริเวณป่า และยังไม่มีการพัฒนาให้นักท่องเที่ยวเข้าไปท่องเที่ยว ชุมชนมีความ ต้องการพัฒนาพื้นที่ป่าชุมชนทั้งหมด 137 ไร่ และต้องการเข้าไปมี ส่วนร่วมในการบริหารจัดการการท่องเทีย่ ว ซึง่ อาจจะมีการผลักดันให้ เกิดการบริหารจัดการแบบ Social Enterprise โดยทีช่ มุ ชนมีโอกาสมี ส่วนร่วมในการด�ำเนินงาน ขณะเดียวกันยังมีข้อเสนอโครงการวิจัยที่ ก�ำลังร่วมกันพัฒนาคือ การพัฒนาภาพลักษณ์ตราสินค้าการท่องเทีย่ ว สีเขียวของจังหวัดกระบี่ที่จะเป็นปัจจัยหนึ่งในการผลักดันให้การ ท่องเที่ยวจังหวัดกระบี่สู่การเป็นเมืองท่องเที่ยวคุณภาพที่มีชื่อเสียง ระดับโลกตามปฏิญญาการท่องเที่ยวกระบี่อีกด้วย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิวฤทธิ์ เล่าต่อว่า จากนโยบายของ ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ (วช.) ทีม่ งุ่ เน้นการน�ำการวิจยั ไป ใช้ประโยชน์ ด้วยการสนับสนุนและการผลักดันจาก วช.และ สกว. ใน การมุ่งเน้นให้เกิดการน�ำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ทั้งทางด้านข้อมูล

NEWS

ที่จะน�ำไปใช้ในการตัดสินใจเชิงนโยบายของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ การบริหารจัดการแหล่งท่องเทีย่ วในพืน้ ทีศ่ กึ ษา รวมไปถึงภาคธุรกิจที่ สามารถน�ำข้อมูลดังกล่าวไปพัฒนาผลิตภัณฑ์ นั่นคือ “โปรแกรมการ ท่องเทีย่ วใหม่” โดยโปรแกรมการท่องเทีย่ วใหม่ซงึ่ เป็นหนึง่ ในผลผลิต ของโครงการขับเคลือ่ นอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วจังหวัดกระบีส่ กู่ าร เป็นเมืองท่องเทีย่ วสีเขียว ได้ถกู น�ำไปใช้ในทางปฏิบตั ภิ ายใต้โครงการ “การเชือ่ มโยงผลงานวิจยั ไปสูก่ ารใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์” ในงาน มหกรรมท่องเที่ยว: ITB BERLIN 2014 (International Tourisms Borse) ณ กรุงเบอร์ลิน ประเทศสหพันธรัฐเยอรมนี ระหว่างวันที่ 3-12 มีนาคม 2557 ที่ผ่านมา โดยส�ำนักประสานงานโครงการวิจัย อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการ โดยความร่วมมือระหว่าง ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และส�ำนักงาน คณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ (วช.) ภายใต้เครือข่ายองค์กรบริหารงาน วิจัยแห่งชาติ (คอบช.) อนึ่ง เมื่อเร็วๆ นี้ ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) ฝ่ายอุตสาหกรรมร่วม กับศูนย์เทคโนโลยีอเิ ลคทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ และหน่วย วิจัยการบริโภคและเศรษฐกิจยั่งยืน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ได้จัด ประชุมการบูรณาการงานวิจัยเชิงรุกกับการพัฒนาอุตสาหกรรม การท่องเที่ยว จังหวัดกระบี่ ณ โรงแรม พีชลากูน่า รีสอร์ท อ่าวนาง จังหวัดกระบี่ เพือ่ ผลักดันจังหวัดกระบีเ่ ป็นแหล่งท่องเทีย่ วระดับโลก โดยมี น างวิ ย ะดา ศรี ร างกู ล ผู ้ อ� ำ นวยการการท่ อ งเที่ ย วแห่ ง ประเทศไทย ส�ำนักงานกระบี่ ได้พูดถึงนโยบายและแนวทางการ ด�ำเนินการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมท่องเที่ยวจังหวัดกระบี่ด้วยฐาน งานวิจยั ทีม่ คี ณาจารย์จากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ทเี่ ข้ามาด�ำเนินการ อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 และทิศทางการขับเคลื่อน อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวจังหวัดกระบี่สู่การเป็นเมืองท่องเที่ยว สี เขี ย ว และนางสุ นั น ทา สมพงษ์ ที่ ป รึ ก ษาด้ า นการวิ จั ย ทาง วิทยาศาสตร์ และผู้อ�ำนวยการกองบริหารแผนและงบประมาณ การวิจัย ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ได้พูดถึงนโยบายของ ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ที่มุ่งเน้นการน�ำการวิจัย ไปใช้ประโยชน์ ทั้งนี้ มีผู้เข้าร่วมประชุมจากทุกภาคส่วนกว่า 100 คน

www.wu.ac.th

7


NEWS Walailak University Newsletter

มวล.ร่วมภาคีเครือข่าย จัดนิทรรศการภาพถ่าย “แสงศิลป์ ถิ่นเรา ครั้งที่ 7”

www.wu.ac.th

มหาวิ ท ยาลั ย วลั ย ลั ก ษณ์ ( มวล.) ร่ ว มภาคี เ ครื อ ข่ า ย จัดนิทรรศการภาพถ่าย แสงศิลป์ ถิ่นเรา ครั้งที่ 7 “ลิกอร์ ลังกา” เมือ่ เร็วๆนี้ โดยมีผชู้ นื่ ชอบการถ่ายภาพทัง้ มืออาชีพและมือสมัครเล่น ร่วมโชว์ผลงานกว่า 100 ผลงาน พร้อมเชิญ วรรณสิงห์ ประเสริฐกุล พิธีกรชื่อดังซึ่งเดินทางไปในประเทศต่างๆทั่วโลก ร่วมถ่ายทอด ประสบการณ์ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ร่วมกับ ชมรมถ่ายภาพมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ WPC กลุม่ สห+ภาพ FOTOUNITED จัดนิทรรศการภาพถ่าย แสงศิลป์ ถิ่นเรา ครั้งที่ 7 “ลิกอร์ ลังกา” เพื่อเป็นเวทีถ่ายทอดแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ทางด้านการถ่ายภาพ โดยในปีนี้ได้รับเกียรติจาก คุณวรรณสิงห์ ประเสริฐกุล นักคิด นักเขียน นักเดินทางและพิธกี รชือ่ ดัง ร่วมถ่ายทอด แง่คิด ประสบการณ์ที่ได้จากการเดินทางไปยังสถานที่ต่างๆทั่วโลก

8

มีนกั ศึกษา อาจารย์ บุคลากร ม.วลัยลักษณ์เข้าร่วมประมาณ 100 คน นิ ท รรศการภาพถ่ า ย “แสงศิ ล ป์ ถิ่ น เรา” จั ด ขึ้ น โดยมี วัตถุประสงค์เพือ่ เป็นเวทีถา่ ยทอดแลกเปลีย่ นประสบการณ์ทางด้าน การถ่ายภาพ และน�ำภาพถ่ายมาใช้เป็นเครื่องมือสื่อสาร รณรงค์ใน ด้านต่างๆตลอดจนช่วยสร้างความสัมพันธ์ในกลุ่มผู้รักการถ่ายภาพ ซึ่ ง 6 ครั้ ง ที่ ผ ่ า นมาได้ รั บ การตอบรั บ เป็ น อย่ า งดี มี ผู ้ เข้ า ร่ ว มชม นิทรรศการจ�ำนวนมาก ในปีนี้จัดขึ้นภายใต้ชื่อชุด “ลิกอร์ ลังกา” ถ่ า ยทอดภาพถ่ า ยสายสั ม พั น ธ์ วั ฒ นธรรม วิ ถี ชี วิ ต ระหว่ า ง นครศรีธรรมราชและประเทศศรีลังกา โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ เป็นนักศึกษาจ�ำนวน 47 คน ผู้นิยมการถ่ายภาพทั้งมืออาชีพและ มือสมัครเล่น 34 คน โดยมีผลงานจากศิลปินรับเชิญ 5 คน คือ คุณจิระนันท์ พิตรปรีชา คุณช�ำนิ ทิพย์มณี นพ.รังสิต ทองสมัคร์ นพ.พนม อาชาฤทธิ์ และคุณเอกรินทร์ เอกอัจฉริยะวงศ์


Walailak University Newsletter

นานาสาระ

บันทึกความในใจ นายศักดา ไชยภาณุรักษ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 1 หลักสูตรไทยศึกษาบูรณาการ ส�ำนักวิชาศิลปศาสตร์ ในบางครั้งที่ผมอาจรู้สึกสิ้นหวัง เหนื่อยล้าเเละท้อถอย ไม่ว่าจะในเรื่องเรียนหรือเรื่องของการท�ำงาน ต่ า งๆที่ ห นั ก ขึ้ น เรื่ อ ยๆในระดั บ มหาวิ ท ยาลั ย บนโต๊ ะ ที่ ผ มนั่ ง ท� ำ งาน อ่ า นหนั ง สื อ จะมี ป ฏิ ทิ น ที่ มี รู ป พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอยู่ใกล้ๆ เมื่อมองไปก็ได้รับความรู้สึกบางอย่างที่ส่งผลต่อจิตใจของผม ซึ่งมันก็บอกไม่ถูกว่าความรู้สึกนั้นเป็นอย่างไร รู้เเต่ว่าผมมักจะมีเเรงที่จะต้องเพียรพยายามสู้ต่อไป ในชีวิตที่อาจจะเต็มไป ด้วยอุปสรรคขวากหนาม แต่ผมรู้เสมอว่า ผมยังได้รับความรักความเมตตาจากบุคคลผู้ยิ่งใหญ่เสมอมา ที่ถูกส่งผ่านมาในรูป ของค�ำสอน พระบรมราโชวาท พระราชด�ำรัสต่างๆ ที่ผมมักจะไปค้นหามาเพื่อที่จะเป็นเเนวทางในการด�ำเนินชีวิตต่อไป พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงเป็ น มากกว่ า กษั ต ริ ย ์ ทรงเป็ น เเบบอย่ า งเเทบทุ ก ๆด้ า นของการใช้ ชี วิ ต เเละเป็ น ศูนย์กลางใจของปวงชนชาวไทยทุกๆคน ให้อยู่อย่างร่มเย็นเป็นสุขใต้ร่มพระบารมีและนั่นจึงเป็นเหตุผลที่ทุกคนรักเเละเทิดทูน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวของเรา

นักศึกษาแพทย์ปฏิปัน จันทามงคล นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ส�ำนักวิชาแพทยศาสตร์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงเป็นมากกว่ากษัตริย์ ทรงเป็นนักนวัตกรรมที่ยิ่งใหญ่ นักบริหาร นักพัฒนาที่เกรียงไกร ทรงเป็นครูของแผ่นดิน ทรงเป็นแบบอย่างในการใช้ชีวิต พ่อไม่เคยบอก ให้เรารักพ่อ พ่อบอกเพียงให้เรารักกัน ด้วยเหตุนี้เราจึงรักพ่อ

นางสาวกรองกาญจน์ ยกสุวรรณ

www.wu.ac.th

นักศึกษาชั้นปีที่ 1 หลักสูตรไทยศึกษาบูรณาการ ส�ำนักวิชาศิลปศาสตร์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงเป็นเสมือนศูนย์รวมใจของปวงชนชาวไทย ทั้งยังทรงเป็นแบบอย่างที่ให้เหล่าประชาชนทั้งในและต่างประเทศ ทรงมีพระราชกรณียกิจหลายอย่าง อาทิ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเป็นปรัชญาที่ชี้ถึงแนวทางการด�ำรงชีวิตและปฏิบัติตนของประชาชน ทุกระดับ ตัง้ แต่ระดับครอบครัวถึงระดับรัฐทัง้ ในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำ� เนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพือ่ ให้กา้ วทันโลกยุคนีท้ ำ� ให้คนต่างชาติเล็งเห็นและยอมรับในพระอัจฉริยภาพของในหลวงของเรา ยังไม่หมดเพียงเท่านี้ พระองค์ยังทรงมีความสามารถอีกหลายด้าน ทรงเป็นผู้ที่สั่งสอนประชาชนให้เป็นคนดีและรู้จักมีความรัก ความสามัคคีซึ่งกันและกัน พระมหากษัตริย์ไทยของเราทรงมีโครงการหลายอย่างมากมายเพื่อบ�ำบัดทุกข์บ�ำรุงสุขให้ประชาชน ของพระองค์ อาทิ โครงการส่งเสริมอาชีพ โครงการแก้มลิง โครงการแกล้งดิน เป็นต้น ด้วยพระเมตตาของในหลวงของเรา ที่ทรงเหน็ดเหนื่อยจากภาระงานอันหนักอึ้งที่ทรงช่วยดูแลเหล่าพสกนิกรของพระองค์ ท�ำให้ชาวไทยทุกวันนี้เป็นอยู่อย่างสะดวก สบายไม่ถูกรุกรานจากต่างชาติ ทั้งยังเป็นที่รู้จักและยอมรับจากชาติต่างๆ ทั่วโลก ใครๆ ก็ต่างอิจฉาที่ไทยเรามีพระมหากษัตริย์ ที่ ทรงพระปรีชาสามารถทั้งด้านศาสตร์และศิลป์ รวมถึงทรงไม่ถือพระองค์และยังทรงรักประชาชนของพระองค์เหนือสิ่งอื่นใด สุดท้ายนี้ ดิฉันอยากให้พระองค์ท่านอยู่เป็นร่มโพธิ์ร่มไทรให้เหล่าปวงชนชาวไทยตลอดกาล ขอทรงพระเกษมส�ำราญ ตลอดกาล ตลอดไป...ดิฉนั ยังคงเชือ่ และจะเชือ่ ตลอดไปว่าปวงชนชาวไทยทุกคนรักชาติศาสนาและเหนือสิง่ อืน่ ใด คือ “พระมหากษัตริย์”

9


นานาสาระ

Walailak University Newsletter

สีสัน แห่ง ภาษา

โดย อาจารย์สมใจ สมคิด สำ�นักวิชาศิลปศาสตร์

คือพ่อ พ่ออุ้มร่างทั้งที่รู้ว่าต้องเสี่ยง อุ้มลูกอุ้มศพครั้งสุดท้าย ตอนเล็กเคยอุ้มไว้แอบอก อาบน�้ำให้นอนเปลคอยเห่ไกว ทิ้งพ่อไว้กับบ้านกับงานเดิม ลูกเรียนต�่ำเป็นกรรมกรก็ฝืดเคือง ลูกจ้างร้านซื้อของเก่าลูกท�ำได้ ข่าวโชคร้ายหมายซ�้ำท�ำลูกพลัน วันที่พ่อเห็นภาพน�้ำตาตก เหลือเพียงหนังหุ้มกระดูกหนอลูกเรา ครั้นศพลูกจะเผาถูกเขาต้าน จะวัดนี้วัดไหนไม่ต้องการ พ่อจ�ำนนจนตรอกบอกศพลูก เพราะพ่อจนศพลูกจึงเหลือแต่ตัว

ในใจพ่อขอเพียงสื่อความหมาย ก่อนที่ร่างกายมลายไป ดั่งลูกนกพ่อป้อนนมป้อนข้าวให้ พอเติบใหญ่ลูกก็บินสู่ถิ่นเมือง กับหนี้สินที่เพิ่มพ่อหน้าเหลือง หมดหนทางปลดเปลื้องหนี้สินนั้น ขอเพียงให้มีกินยากจะฝัน สารโคบอลต์อะไรนั่นมันฆ่าเอา มันร้อนรุ่มในอกดั่งไฟเผา เกินกว่าเศร้าเมื่อเป็นศพจบสิ้นงาน กลัวแพร่สารพิษสู่เข้าหมู่บ้าน ทั่วทุกย่านต่างรังเกียจและเกลียดกลัว แม้บ้านเกิดก็ยังถูก-เหมือนลูกชั่ว สังคมมันรวมหัวแล้งน�้ำใจ

www.wu.ac.th

กินยาแก้ไอให้ถูกวิธี

10

ยาแก้ไอน�้ำด�ำ เป็นยาแก้ไอที่ผู้คนนิยมเพราะมีราคาถูก รับประทานง่าย ใช้รกั ษาอาการไอแห้งๆ ไม่มเี สมหะ การรับประทานยานีท้ ถี่ กู ต้อง ควรรับประทาน ตามเวลาที่ก�ำหนด คือวันละ 3 – 4 ครั้ง แต่ส่วนใหญ่นิยมจิบบ่อยๆ เวลาไอ ซึ่งอันที่จริงอาจเป็นอันตรายได้ เนื่องจากได้รับทิงเจอร์ ฝิ่น มากเกินไป อาจท�ำให้ ง่วง มึน งง คลื่นไส้ ท้องผูก ยานี้มีข้อห้ามใช้ในเด็กเล็ก หญิงมีครรภ์ และในคนทีไ่ อ มีเสมหะเหนียวหรือไอจากความผิดปกติอื่นๆ เช่น หลอดลมอักเสบ ปอดอักเสบ จะท�ำให้เสมหะเหนียว อุดตันทางเดินหายใจเป็นอันตรายได้ อยากแนะน�ำการรักษาแบบง่ายๆ ที่ปลอดภัย นั่นคือ การดื่ม น�้ำอุ่นบ่อยๆ ในระหว่างวัน และการใช้ยาอม เช่น ยาอมมะแว้ง สามารถช่วยลดอาการไอได้ ที่ส�ำคัญ ต้องใช้ยาให้ถูกโรค ถูกเวลา และถูกขนาด แต่ถ้าหากใช้ยาถูกต้องตามนี้แล้วอาการยังไม่ดขี ึ้น ควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกร สนับสนุนข้อมูลโดย เภสัชกรร้านอาศรมยาวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์


Walailak University Newsletter

NEWS

ม.วลัยลักษณ์ ร่วมกับเครือข่ายแถลงผลด�ำเนินการอุดมศึกษาภาคใต้ปลอดเหล้า

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ร่วมกับเครือข่ายสถาบันอุดมศึกษา ภาคใต้ รวม 16 สถาบัน แถลงผลการด�ำเนินการมหาวิทยาลัยภาคใต้ ปลอดเหล้า พร้อมยื่นข้อเสนอให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีมาตรการ ควบคุมร้านขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างจริงจัง เมื่อวันอาทิตย์ที่ 23 พฤศจิกายน 2557 ณ ห้องประชุมชมพู พลแกรนด์ โรงแรมเมืองลิกอร์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มารวย เมฆานวกุล รักษาการแทน รองอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยพั ฒ นานั ก ศึ ก ษา ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ พร้อมด้วยนายศิริพัฒ พัฒกุล รองผู้ว่า ราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช รองศาสตราจารย์ ดร.สืบพงศ์ ธรรมชาติ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ และเภสัชกรสงกรานต์ ภาคโชคดี ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก งานเครื อ ข่ า ยองค์ ก รงดเหล้ า ร่วมแถลงผลการด�ำเนินงานเครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาภาคใต้ ปลอดเหล้า โดยมีสื่อมวลชนทั้งสื่อวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ สื่อสิ่งพิมพ์ ส�ำนักประชาสัมพันธ์ ส�ำนักข่าวท้องถิ่น นักศึกษา ส�ำนักงานเครือข่ายงดเหล้าเข้าร่วมกว่า 120 คน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มารวย เมฆานวกุล กล่าวว่า เนื่องจากสถานการณ์ปัจจุบันมีการประกอบธุรกิจจ�ำหน่ายเครื่อง ดื่มแอลกอฮอล์รายรอบสถาบันอุดมศึกษามีแนวโน้มเพิ่มจ�ำนวน มากขึน้ และมีกลยุทธ์ทางการตลาดต่างๆให้นสิ ติ นักศึกษามีโอกาส เข้าถึงการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ได้โดยง่าย ส่งผลกระทบ ต่อปัญหาการใช้ชีวิตของนักศึกษาตามมา เช่น ปัญหาการมีผลการ เรียนต�ำ ่ การพ้นสภาพการศึกษา ปัญหาอุบตั เิ หตุ การทะเลาะวิวาท ปัญหาเรื่องชู้สาว การขายบริการทางเพศ และการใช้สารเสพติด ประเภทอื่นที่รุนแรงมากขึ้น ตลอดจนปัญหาสังคมอื่นๆที่ตามมา อีกมากมาย ซึ่งส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ได้เล็งเห็นความส�ำคัญ และได้สนับสนุนการขับเคลื่อนการป้องกัน

และการแก้ไขปัญหาดังกล่าวมาอย่างต่อเนื่อง โดยให้มหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์เป็นแกนน�ำประสานภาคีเครือข่ายสถาบันอุดมศึกษา ภาคใต้ ร่วมกันจัดกิจกรรมต่างๆขึ้น มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา ศักยภาพเครือข่ายนิสิตนักศึกษาให้มีส่วนร่วมในการบังคับใช้ กฎหมาย นโยบาย มาตรการใหม่ การร่วมเฝ้าระวังการขยายตัวทาง ธุรกิจเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ สร้างความเข้มแข็งให้เครือข่ายนักศึกษา ในการประสานงานกับภาคประชาคมงดเหล้า หน่วยงานของรัฐ และเอกชนและชุมชนรอบสถาบันเพือ่ ป้องกันและแก้ไขปัญหาการ บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในพื้นที่ อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมให้ นิสิต นักศึกษาพัฒนากิจกรรมสร้างสรรค์ในรูปแบบต่างๆ เพื่อร่วม สร้างกระแสสังคมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการบริโภคเครือ่ ง ดื่มแอลกอฮอล์ในสถาบันการศึกษาและชุมชนชนโดยรอบ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มารวย กล่าวต่อไปว่า โครงการ เครือข่ายอุดมศึกษาภาคใต้รวมใจต้านภัยเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์เริม่ ด�ำเนินการในระยะที่ 1 ใน ปี 2557 มีสถาบันการศึกษาในภาคใต้ เข้าร่วมทั้งหมด 16 สถาบัน มีการลงนามบันทึกข้อตกลงในการท�ำ กิจกรรมต่างๆ ได้แก่ การส�ำรวจข้อมูลร้านเหล้า และพื้นที่เสี่ยง รายรอบสถาบัน การพัฒนาแกนน�ำนักศึกษา การจัดกิจกรรมรณรงค์ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ในโอกาสที่ได้มีการขับเคลื่อน โครงการดังกล่าวมาครบรอบ 1 ปี จึงจัดให้มีการประชุมสัมมนา เพื่อให้มีการน�ำเสนอผลงานที่ผ่านมาของนักศึกษา แนวทางใน การท�ำงานที่จะเกิดขึ้นในอนาคต การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง สถาบัน และการประสานความร่วมมือกับภาคีภาคประชาสังคม งดเหล้าของจังหวัดในภาคใต้ ภาคีเครือข่ายต่างๆ ตลอดจนการ เผยแพร่ ข้อมูลต่อสาธารณะ และผลักดันในเชิงนโยบายต่อหน่วย งานที่เกี่ยวข้องต่อไป โอกาสนี้ ทางเครือข่ายฯ ได้ร่วมกันท�ำหนังสือเสนอไปยัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวง สาธารณสุข และประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ ขอให้เร่งผลักดันให้ เกิดมาตรการควบคุมร้านขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ให้ห่างจาก สถานศึกษาให้รัศมีอย่างน้อย 300 เมตร และมีความเข้มงวดใน การบังคับใช้กฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และกฎหมาย สถานบริการ นอกจากนี้ยังฝากการพัฒนาส่งเสริมคุณภาพชีวิต เด็ก-เยาวชน รวมถึงการป้องกันปัจจัยเสี่ยงที่เกิดจากเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์-บุหรี่ และยาเสพติดในพื้นที่รายรอบสถานศึกษาเป็น วาระส�ำคัญสู่เวทีการปฏิรูปในมิติสังคมอีกด้วย

www.wu.ac.th

11


รับฟังรายการ “นานาสาระ” ทางสถานี

สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา จ.สุราษฎร์ธานี FM 88.75 MHz. AM. 1242 MHz. ทุกวันศุกร์ เวลา 17.30 - 18.00 น. สวท.ระนอง FM107.25 MHz ทุกวันเสาร์ เวลา 15.05 - 15.35 น. สวท.ตะกั่วป่า จ.พังงา FM 90.25 MHz. ทุกวันเสาร์ เวลา 11.05 - 11.35 น. สถานีวทิ ยุเทศบาลนครศรีธรรมราช FM 88.5 MHz. ทุกวันเสาร์ เวลา 10.00 - 10.30 น. สถานีวทิ ยุทา่ ม้าซิตเ้ี รดิโอ FM 88.00 MHz ทุกวันอาทิตย์ เวลา 09.30 - 10.00 น. สวท.นครศรีฯ FM 93.50 MHz ทุกวันอาทิตย์ เวลา 17.05 - 17.35 น. สถานีวทิ ยุเพื่อการศึกษา จ.สงขลา AM 558 KHz. ทุกวันจันทร์ เวลา 19.30 - 20.00 น. สถานีวทิ ยุเพื่อการศึกษา จ.กระบี่ AM 963 KHz. ทุกวันจันทร์ เวลา 06.30 - 07.00 น. สถานีวิทยุกองทัพภาคที่ 4 AM 1044/684 KHz. ทุกวันจันทร์-อังคาร เวลา 21.10 - 21.35 น. สวท.ภูเก็ต FM 96.75 MHz. ทุกวันอังคาร เวลา 18.30 - 19.00 น. สถานีวทิ ยุเพื่อการศึกษา กรุงเทพมหานครและเครือข่ายทัว่ ประเทศ FM 92 MHz. AM 1161 KHz. ทุกวันพุธ เวลา 18.30 - 19.00 น.

เชิญชมรายการ

“วลัยลักษณ์สู่สังคม”

ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย จังหวัดนครศรีธรรมราช

ทุกวันอังคาร เวลา 16.30 - 17.00 น.

และรับชมย้อนหลังได้ที่ http://dpr.wu.ac.th

ฟังรายการวิทยุ

ปริทัศน์วัฒนธรรม

สวท.ทุ่งสง FM 97 MHz. ทุกวันอาทิตย์ เวลา 08.30 - 09.00 น. สวท.สตูล FM 95.5 MHz. ทุกวันเสาร์ เวลา 16.30 - 17.00 น. สวท.ทุ่งสง AM 963 MHz. ทุกวันเสาร์ เวลา 08.30 - 09.00 น. สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา จ.กระบี่ ทุกวันอาทิตย์ เวลา 08.00 - 08.30 น.


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.