สารวลัยลักษณ์ ประจำเดือน มกราคม 2559

Page 1

www.wu.ac.th


NEWS Walailak University Newsletter

ม.วลัยลักษณ์ลงนามสัญญารับทุนมูลค่า 950,000 บาท กับบริษัท อิมพีเรียลแอสตา จ�ำกัด

www.wu.ac.th

เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2558 ที่ผ่านมา ณ ห้องโมคลาน อาคารบริหาร ดร.เลิศชาย ศิริชัย รักษาการแทนรองอธิการบดี ฝ่ายวิจัยและเครือข่ายสังคม ในนามมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ลงนามในสั ญ ญารั บ ทุ น โครงการวิ จั ย เรื่ อ ง “Continuous Astaxanthin Production by Green Alga Haematococcus pluvialis : การผลิตแอสตาแซนธินแบบต่อเนื่องโดยใช้สาหร่าย สีเขียว Haematococcus pluvialis” กับคุณสรัล ลีสวรรค์ กรรมการบริหาร บริษัท อิมพีเรียลแอสตา จ�ำกัด มูลค่าโครงการ 950,000 บาท โดยมี ดร.พงศธร เดชาติวงศ์ ณ อยุธยา อาจารย์ ประจ� ำ ส� ำ นั ก วิ ช าวิ ศ วกรรมศาสตร์ แ ละทรั พ ยากร หั ว หน้ า โครงการ และ รองศาสตราจารย์ ดร.ชิตณรงค์ ศิริสถิตย์กุล ผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา ร่วมลงนามเป็นพยาน โครงการวิจัยเรื่อง “การผลิตแอสตาแซนธินแบบต่อ เนื่องโดยใช้สาหร่ายสีเขียว Haematococcus pluvialis” เป็น ความร่วมมือด้านงานวิจัยระหว่าง มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ กับ บริษัท อิมพีเรียลแอสตา จ�ำกัด เพื่อพัฒนาระบบเลี้ยงสาหร่าย สีเขียวแบบใหม่ที่ทันสมัย สามารถน�ำไปสู่การลดต้นทุนของการ ผลิตแอสตาแซนธินในระดับอุตสาหกรรม โดยแหล่งของแอสตา แซนธินที่ใช้ในการศึกษาคือ H. pluvialis ซึ่งเป็นสาหร่ายน�้ำจืด สีเขียวขนาดเล็ก สามารถสังเคราะห์แสงได้ มีคุณลักษณะเฉพาะ คือ สามารถผลิตและสะสมแอสตาแซนธินภายในเซลล์ในปริมาณ มากภายใต้สภาวะแวดล้อมทีเ่ หมาะสม (Boussiba, 2000) โดยมี คณะผูร้ ว่ มวิจยั ประกอบด้วย ดร.พงศธร เดชาติวงศ์ ณ อยุธยา

2

หลักสูตรวิศวกรรมเคมี ส�ำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร รองศาสตราจารย์ ดร. วรรณา ชูฤทธิ์ และ ดร. วลัยลักษณ์ พั ฒ นมณี หลั ก สู ต รไบโอเทคโนโลยี ส� ำ นั ก วิ ช าเทคโนโลยี การเกษตร อนึ่ ง แอสตาแซนธิ น (Astaxanthin) (Lorenz, 1999) เป็นสารกลุ่มแคโรทีนอยด์ (Carotenoid) สีแดงเข้ม มี ประสิทธิภาพสูงในการต้านอนุมูลอิสระ (Antioxidant) จึงได้ รับความสนใจอย่างแพร่หลาย และถูกน�ำมาใช้ประโยชน์ในด้าน เภสัชโภชนศาสตร์ และเวชส�ำอางค์ นอกจากนี้แอสตาแซนธิน ยังมีคุณประโยชน์ทางด้านการแพทย์ สามารถใช้เป็นสารอาหาร บ�ำรุงสายตา หัวใจ รักษาอาการอักเสบ เสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรค ตลอดจนลดความเสี่ยงของการเกิดมะเร็ง (Guerin, Huntley and Olaizola, 2003) ทั้งนี้ แอสตาแซนธินที่ใช้ในประเทศไทย ทัง้ หมดได้นำ� เข้าจากต่างประเทศ และจากข้อก�ำหนดการใช้แอส ตาแซนธินกับคน ต้องมีกรรมวิธีการผลิตสารด้วยวิธีทางชีวภาพ เท่านั้น ผู ้ส นใจต้ องการทราบรายละเอีย ดเพิ่มเติม เกี่ย วกั บ โครงการวิ จัย หรื อ ทุ นการศึ ก ษาเพื่ อท� ำ งานวิ จัย ร่ ว มกั บคณะ ท�ำงาน ติดต่อได้ที่ ดร.พงศธร เดชาติวงศ์ ณ อยุธยา ส�ำนัก วิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โทรศัพท์ 075-672-387 หรือ อีเมล์ pongsathorn.dechatiwongse@gmail.com


Walailak University Newsletter

NEWS

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชูชาติ พันธ์สวัสดิ์ ศึกษาพยาธิก�ำเนิดของมาลาเรียขึ้นสมองและภาวะปอดบวมน�้ำ มาลาเรียซึง่ เหนีย่ วน�ำให้เกิดการตายของเซลล์ในสมอง จนเกิดมีอาการรุนแรงต่างๆ ตามมา ผลการศึกษาชิน้ เนือ้ สมองของผูป้ ว่ ยทีเ่ สียชีวติ จากโรคมาลาเรีย ช่วย ท�ำให้เข้าใจกลไกการเกิดโรคมาลาเรียขึน้ สมองเพิม่ มากขึน้ และท�ำให้ทราบว่าโปรตีน NF-KB p65 เป็นโปรตีนทีส่ ง่ สัญญาณเหนีย่ วน�ำให้เกิดกระบวนการตายของเซลล์บุ ผนังหลอดเลือด และเม็ดเลือดขาวทีอ่ ยูใ่ นหลอดเลือดในชิน้ เนือ้ สมอง ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชูชาติกล่าวว่า จากผลงานวิจยั ครัง้ นีจ้ ะมีการน�ำไปประยุกต์ ทางด้านคลินกิ เพือ่ พัฒนายาทีจ่ ะช่วยยับยัง้ การสร้างโปรตีน NF-KB p65 โดยใช้ ร่วมกับยาต้านมาลาเรียในปัจจุบนั เพือ่ ช่วยยับยัง้ ภาวะการตายของเซลล์ตา่ งๆใน ร่างกาย โดยคาดหวังว่าคนไข้ทตี่ ดิ เชือ้ รุนแรงจะมีอาการดีขนึ้ เป็นการลดอัตราการ เสียชีวติ ในทีส่ ดุ ในส่วนของภาวะปอดบวมน�ำ้ เป็นภาวะทีม่ กี ารคัง่ ของสารน�ำ้ ในถุงลม ของเนือ้ ปอดท�ำให้ไม่สามารถท�ำหน้าทีแ่ ลกเปลีย่ นก๊าซได้ตามปกติ ซึง่ เป็นอีกภาวะ แทรกซ้อนหนึง่ ทีส่ ำ� คัญและเป็นสาเหตุของการเสียชีวติ ของผูป้ ว่ ยโรคมาลาเรียฟัลซิ พารัมชนิดรุนแรง พบอัตราการตายของผูป้ ว่ ยมาลาเรียจากภาวะปอดบวมน�ำ้ ร้อย ละ 85 โดยร้อยละ20-30 ของผูป้ ว่ ยมาลาเรียฟัลซิพารัมชนิดรุนแรงทีร่ กั ษาตัวอยู่ ในห้องหออภิบาลผูป้ ว่ ยหนักมีโอกาสพัฒนาไปสูภ่ าวะหายใจล้มเหลวเฉียบพลันซึง่ ปัจจุบนั ยังไม่ทราบสาเหตุทแี่ น่ชดั ดังนัน้ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชูชาติ พร้อมด้วยทีม วิจยั จึงได้ตงั้ สมมติฐานว่าการตายของเซลล์ในเนือ้ เยือ่ ปอดน่าจะเป็นสาเหตุของการ เกิดภาวะปอดบวมในผูป้ ว่ ยโรคมาลาเรียจึงเป็นทีม่ าของการศึกษากลไกส่งสัญญาณ การตายของเซลล์ในปอดของผูป้ ว่ ยโรคมาลาเรียฟัลซิพารัมชนิดรุนแรง โดยได้รบั ทุน สนับสนุนโครงการวิจยั ประเภทเพิม่ ขีดความสามารถนักวิจยั จากสถาบันวิจยั และ พัฒนา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จากผลการศึกษาพยาธิสภาพของปอดในโรคมาลาเรียฟัลซิพารัมชนิด รุนแรง พบสารน�ำ้ อยูใ่ นถุงลมมีเลือดคัง่ ในหลอดเลือดฝอยและพบเม็ดเลือดแดงที่ ติดเชือ้ มาลาเรียและเม็ดเลือดแดงปกติรวมถึงพบนิวโทรฟิลและเซลล์แมคโครฟาจ ทีจ่ บั กิน malaria pigmentในถุงลมทัง้ ยังได้คน้ พบว่ามีการแสดงออกของโปรตีน Fas และ Fasligandเพิม่ ขึน้ อย่างมีนยั ส�ำคัญในปอดของกลุม่ ผูป้ ว่ ยทีเ่ สียชีวติ จากโ รคมาลาเรียฟัลซิพารัมทีม่ ภี าวะปอดบวมน�ำ้ เมือ่ เปรียบเทียบกับกลุม่ ผูป้ ว่ ยทีเ่ สียชีวติ จากโรคมาลาเรียฟัลซิพารัมทีไ่ ม่มภี าวะปอดบวมน�ำ้ และกลุม่ ชิน้ เนือ้ ปอดปกติ และ พบมีการแสดงออกของเอนไซม์caspase-8 และ caspase-3 เพิม่ ขึน้ อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตใิ นชิน้ เนือ้ ปอดของกลุม่ ผูป้ ว่ ยทีเ่ สียชีวติ จากโรคมาลาเรียฟัลซิพารัม ทีม่ ภี าวะปอดบวมน�ำ้ เมือ่ เปรียบเทียบกับกลุม่ ผูป้ ว่ ยทีเ่ สียชีวติ จากโรคมาลาเรียฟัล ซิพารัมทีไ่ ม่มภี าวะปอดบวมน�ำ้ และกลุม่ ชิน้ เนือ้ ปอดปกติ จากการศึกษานีส้ ามารถสรุปได้วา่ กระบวนการตายของเซลล์ในปอดของผูป้ ว่ ยโรค มาลาเรียฟัลซิพารัมชนิดรุนแรงเกิดจากการกระตุน้ ผ่านการตายแบบวิถภี ายนอก (Death receptor-induced extrinsic pathway) ซึง่ เกิดจากการจับกันของFas และ Fas ligand ส่งผลให้เกิดการกระตุน้ เอนไซม์caspase-8 และ caspase-3 ภายในเซลล์และเหนีย่ วน�ำให้เกิดการตายของเซลล์ปอดซึง่ น�ำไปสูก่ ารเกิดภาวะ ปอดบวมน�้ำดังนั้นถ้าหากมีการคิดค้นหรือพัฒนายาที่สามารถยับยั้งการจับกัน ระหว่าง Fas และ Fasligandก็จะส่งผลให้ไม่เกิดการตายของเซลล์ในเนือ้ เยือ่ ปอ ดและช่วยป้องกันการเกิดภาวะปอดบวมน�ำ้ ในผูป้ ว่ ยโรคมาลาเรียฟัลซิพารัมชนิด รุนแรงได้ “ปัจจุบนั ทางทีมวิจยั ยังคงมุง่ มัน่ พัฒนาการศึกษาวิจยั ด้านพยาธิวทิ ยา และพยาธิกำ� เนิดของโรคมาลาเรียฟัลซิพารัมชนิดรุนแรงในเชิงลึกอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ สร้างองค์ความรูใ้ หม่ๆ ทีช่ ว่ ยให้เข้าใจกลไกการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ในโรค มาลาเรียและน�ำมาประยุกต์ใช้ในทางด้านคลินกิ ส�ำหรับการเฝ้าระวัง และพัฒนาการ รักษามาลาเรีย โดยเฉพาะการติดเชือ้ มาลาเรียชนิดรุนแรงโดยมีจดุ มุง่ หมายเพือ่ ช่วย ลดอัตราการเสียชีวติ จากโรคมาลาเรียในอนาคต”ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชูชาติ พันธ์สวัสดิ ์ กล่าวในตอนท้าย พร้อมฝากข้อมูลเกีย่ วกับป้องกันและการรักษาโรค มาลาเรียไว้สำ� หรับดูแลตนเอง ว่า“เมือ่ จะเดินทางเข้าป่า หรือเข้าไปในพืน้ ทีเ่ สีย่ งต่อ การติดเชือ้ มาลาเรีย สิง่ ส�ำคัญทีส่ ดุ คือต้องหลีกเลีย่ งไม่ให้ยงุ กัด พยายามใส่เสือ้ ผ้า ทีป่ ดิ มิดชิด และนอนในมุง้ หรือในบ้านทีม่ มี งุ้ ลวดเสมอ โดยปกติยงุ ก้นปล่องซึง่ น�ำ เชือ้ มาลาเรียจะออกหากินตอนกลางคืน ดังนัน้ ในช่วงเวลาดังกล่าวต้องเพิม่ ความ ระมัดระวังเรือ่ งยุง อย่างไรก็ตามมาลาเรียเป็นโรคทีร่ กั ษาให้หายขาดได้ แต่ตอ้ งได้ รับการวินจิ ฉัยและรักษาตัง้ แต่เนิน่ ๆ ซึง่ แพทย์จะเป็นผูพ้ จิ ารณาในการให้ยารักษา มาลาเรีย ตามชนิดของเชือ้ ความรุนแรงของโรค และสภาวะสุขภาพของผูป้ ว่ ยแต่ละ ราย” 3

www.wu.ac.th

ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.ชู ช าติ พันธ์สวัสดิ์ อาจารย์ประจ�ำส�ำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ร่วมกับรองศาสตราจารย์ ดร.พญ.พรรณเพ็ญ วิรยิ เวชกุล สังกัดภาควิชาพยาธิ วิทยาเขตร้อนคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัย มหิดล ศึกษาพยาธิก�ำเนิดของมาลาเรียขึ้นสมองและ ภาวะปอดบวมน�ำ้ ในผูป้ ว่ ยโรคมาลาเรียฟัลซิพารัมชนิด รุนแรงพบว่า พยาธิกำ� เนิดของมาลาเรียขึน้ สมองเกีย่ วข้องกับการกระตุน้ การท�ำงาน ของโปรตีน NF-KB p65 โดยเชือ้ มาลาเรียซึง่ เหนีย่ วน�ำให้เกิดการตายของเซลล์ใน สมอง ส่วนภาวะปอดบวมน�ำ้ ในผูป้ ว่ ยมาลาเรียมีสาเหตุจากการตายของเซลล์ในปอด แบบอะพอพโทซิสผ่านวิถภี ายนอก หรือวิถตี วั รับการตาย (extrinsic pathway หรือ death receptor pathway) ซึง่ เกิดจากการจับของลิแกนด์ (death ligands) จาก ภายนอกเซลล์ เริม่ จากการจับกันของ Fas และ Fas ligand ส่งผลให้เกิดการกระตุ้ นการท�ำงานของเอนไซม์ caspase-8 และ caspase-3และมีผลให้เกิดการตายแบ บอะพอพโตซิสของเซลล์และน�ำไปสูภ่ าวะปอดบวมน�ำ้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชูชาติ เล่าว่า โรคมาลาเรียเกิดจากเชื้อโปร โตซัว ซึง่ เป็นสัตว์เซลล์เดียวในจีนสั พลาสโมเดียม (Plasmodium) ซึง่ มีมากกว่า 100 ชนิด ปัจจุปนั พบเพียง 5 ชนิดทีก่ อ่ โรคในคน ได้แก่ พลาสโมเดียม ฟัลซิพา รัม (Plasmodium falciparum) พลาสโมเดียม ไวแว็กซ์ (P.vivax) พลาสโมเดีย ม มาลาริอี่ (P.malariae) พลาสโมเดียม โอวาเล่ (P.ovale) และชนิดสุดท้ายคือ พลาสโมเดียม โนวไซ (P. knowlesi) ซึง่ เดิมเป็นเชือ้ ก่อโรคมาลาเรียทีพ่ บในลิงแสม และลิงกังโรคมาลาเรียหรือไข้จบั สัน่ ถือเป็นปัญหาสาธารณสุขทีส่ ำ� คัญของประเทศ ต่างๆในแถบแอฟริกาและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในส่วนของประเทศไทยพบมาก ในแถบชายแดนทีม่ ปี า่ เขาหนาแน่นได้แก่บริเวณรอยต่อชายแดนไทย-พม่าชายแดน ไทย-กัมพูชาชายแดนไทย-ลาวและทางภาคใต้ของประเทศไทยได้แก่ จังหวัดระนอง ปัตตานี ยะลา และสงขลาโดยองค์การอนามัยโลก หรือWorld Health Organization (WHO)ประเมินว่าในปี 2556มีผปู้ ว่ ยจากโรคมาลาเรีย198 ล้านคน และมีผเู้ สีย ชีวติ จากโรคมาลาเรีย จ�ำนวน 584,000 คนทัว่ โลก โรคมาลาเรียสามารถติดต่อได้โดยการถูกยุงกัด ซึง่ ยุงทีเ่ ป็นพาหะน�ำโรค คือยุงก้นปล่องเพศเมีย (female Anopheles spp.) ทีเ่ รียกอย่างนีเ้ นือ่ งจากเวลาที่ ยุงก้นปล่องกัดคน มันจะเกาะโดยยกส่วนท้องขึน้ ท�ำมุมกับผิวหนัง 45 องศาซึง่ เชือ้ ทีพ่ บในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นชนิด พลาสโมเดียม ฟัลซิพารัม (P. falciparum) และ พลาสโมเดียม ไวแว็กซ์(P. ovale)โดยมาลาเรียชนิดรุนแรงเกิดจากเชือ้ พลาส โมเดียมฟัลซิพารัม (P. falciparum)มีระยะฟักตัวประมาณ 7-14 วัน และใช้เวลา ในการแบ่งตัว 42-48 ชัว่ โมงเมือ่ เชือ้ นีเ้ ข้าสูก่ ระแสเลือดจะลงไปสูต่ บั จากนัน้ เข้า สูเ่ ม็ดเลือดแดง เมือ่ เม็ดเลือดแดงแตกออกเชือ้ จ�ำนวนมากก็จะถูกแพร่เข้าสูก่ ระแส เลือดไปสูเ่ ม็ดเลือดแดงใหม่ตอ่ ไป ทัง้ นีเ้ ม็ดเลือดแดงทีต่ ดิ เชือ้ เมือ่ อยูใ่ นกระแสเลือด จะไปเกาะติดทีผ่ นังเซลล์หลอดเลือดขนาดเล็ก ก่อให้เกิดการอุดตันท�ำให้เลือดและ ออกซิเจนไม่สามารถไปเลีย้ งอวัยวะต่างๆได้ เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่น ไตวาย ตับวาย ปอดบวมน�ำ ้ ภาวะน�ำ้ ตาลในเลือดต�ำ่ และมาลาเรียขึน้ สมอง เป็นต้น ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชูชาติ เล่าต่อว่า ปัจจุบนั ข้อมูลเกีย่ วกับพยาธิ วิทยาของสมองและปอดของผูป้ ว่ ยทีเ่ สียชีวติ จากโรคมาลาเรียยังมีไม่มากนักและไม่ ได้เป็นการศึกษาในเชิงลึก ทัง้ ยังไม่ทราบพยาธิกำ� เนิดทีแ่ น่ชดั ของการเกิดมาลาเรีย ขึน้ สมองและภาวะปอดบวมน�ำ้ ในผูป้ ว่ ยโรคมาลาเรียฟัลซิพารัมชนิดรุนแรงดังนัน้ จึง ได้ทำ� งานวิจยั ร่วมกับรองศาสตราจารย์ ดร.พญ.พรรณเพ็ญ วิรยิ เวชกุล จากภาควิชา พยาธิวทิ ยาเขตร้อนคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดลศึกษาพยาธิกำ� เนิด ของมาลาเรียขึน้ สมองและภาวะปอดบวมน�ำ้ ในผูป้ ว่ ยโรคมาลาเรียฟัลซิพารัมชนิด รุนแรง โดยเป็นภาวะแทรกซ้อนทีเ่ กิดขึน้ กับระบบประสาทและระบบหายใจ ซึง่ ภาวะดังกล่าวเป็นสาเหตุสำ� คัญทีท่ ำ� ให้ผปู้ ว่ ยเสียชีวติ ผลจากการวิจัยพบว่าเซลล์ประสาทเซลล์ค�้ำจุนประสาทเซลล์บุผนัง หลอดเลือด และเซลล์เม็ดเลือดขาวในเนือ้ สมองของผูป้ ว่ ยทีเ่ สียชีวติ จากมาลาเรีย ขึน้ สมอง มีการกระตุน้ และการแสดงออกของโปรตีน NF-KB p65เพิม่ สูงขึน้ เมือ่ เป รียบเทียบกับสมองผูป้ ว่ ยทีไ่ ม่ได้เสียชีวติ จากมาลาเรียขึน้ สมองและกลุม่ ชิน้ เนือ้ สม องปกติ นอกจากนีย้ งั พบดัชนีการตายและการแสดงออกของโปรตีน NF-KB p65 ในนิวเคลียสของเซลล์เม็ดเลือดขาว และเซลล์บผุ นังหลอดเลือดเพิม่ ขึน้ อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ เมือ่ เทียบกับสมองผูป้ ว่ ยทีไ่ ม่ได้เสียชีวติ จากมาลาเรียขึน้ สมองและ กลุม่ ชิน้ เนือ้ สมองปกติ ซึง่ ท�ำให้เข้าใจถึงสมมติฐานหนึง่ ของพยาธิกำ� เนิดของมาลาเรีย ขึน้ สมองว่าสามารถเกิดจากการกระตุน้ การท�ำงานของโปรตีน NF-KB p65 โดยเชือ้


NEWS

Walailak University Newsletter

ผูบ้ ริหาร ม.วลัยลักษณ์ เข้าเยีย่ มคารวะสวัสดีปใี หม่ 2559

www.wu.ac.th

ดร.สุเมธ แย้มนุน่ รักษาการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วัลลา ตันตโยทัย รักษาการ แทนรองอธิการบดีฝา่ ยวิชาการ พลตรีศรีศกั ดิ์ เลิศล�ำ้ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝา่ ยกิจการพิเศษ คุณจิตตนา หนูณะ หัวหน้าส่วน ประชาสัมพันธ์ พร้อมด้วยบุคลากรส่วนประชาสัมพันธ์ เข้าเยีย่ มคารวะและมอบกระเช้าของขวัญ สวัสดีปใี หม่ 2559 แด่ผมู้ อี ปุ การคุณ กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ หัวหน้าส่วนราชการ และสือ่ มวลชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช

4


Walailak University Newsletter

NEWS

โอกาสเดียวกันนี้ เมื่อวันที่ 21- 26 ธันวาคม 2558 ที่ผ่านมา รองศาสตราจารย์ ดร.สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายบริหาร คุณจิตตนา หนูณะ หัวหน้าส่วนประชาสัมพันธ์ พร้อมด้วยบุคลากรส่วนประชาสัมพันธ์และตัวแทน นักศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เข้าพบปะและสวัสดีปใี หม่สอื่ มวลชน สายข่าวการศึกษา กรุงเทพมหานคร และจังหวัดสงขลา เพือ่ แสดงความขอบคุณ พร้อมทัง้ สร้างความสัมพันธ์ อันดีกับสื่อมวลชนทุกแขนงที่ให้การสนับสนุนมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ด้วยดีตลอดมา

www.wu.ac.th

5


NEWS

Walailak University Newsletter

ม.วลัยลักษณ์ลงนามร่วม 24 สถานประกอบการบนเกาะสมุย ส่งนักศึกษาฝึก Work-Based Learning

www.wu.ac.th

เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม ที่ผ่านมา รองศาสตราจารย์ ดร.สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่าย บริหาร และคณบดีสำ� นักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เป็นประธานในพิธลี งนามบันทึกความตกลงความร่วมมือโครงการ การเรียนรู้โดยใช้การท�ำงานเป็นฐาน (Work-Based LearningWBL) ร่วมกับผูบ้ ริหารโรงแรม บริษทั ทัวร์ หน่วยงานภาครัฐ ภาค เอกชน บนเกาะสมุย รวมทั้งสิ้น 24 หน่วยงาน เพื่อส่งนักศึกษา ฝึกการเรียนรูโ้ ดยใช้การท�ำงานเป็นฐาน โดยมีคณาจารย์ นักศึกษา จากส�ำนักวิชาการ ตลอดจนแขกผูม้ เี กียรติ เข้าร่วมเป็นสักขีพยาน ที่ห้องประชุม Nora Conferrence Centre โรงแรม Nora Buri Resort & Spa รองศาสตราจารย์ ดร. สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์ กล่าว ว่า ในศตวรรษนีแ้ นวคิดการจัดการศึกษาเพือ่ ให้คนได้ใบปริญญา ไม่ใช่หนทางแห่งความส�ำเร็จอีกแล้ว แต่การจัดการศึกษาเพื่อให้ คนมีงานท�ำ ท�ำงานได้จริง ถือเป็นสิ่งที่ส�ำคัญที่สุด ส�ำนักวิชาการ จัดการจึงมุ่งมั่นพัฒนาหลักสูตรเพื่อให้สอดคล้องกับบริบทที่ เปลีย่ นแปลงไปอย่างต่อเนือ่ งกว่า 20 ปี ซึง่ หลังจากน�ำการจัดการ เรียนการสอนแบบ Work-Based Learning หรือการเรียนรูโ้ ดยใช้ การท�ำงานเป็นฐานมาใช้กบั นักศึกษา พบว่าแนวคิด Work-Based Learning ท�ำให้ความสมบูรณ์ในการจัดการศึกษาก้าวล�ำ้ น�ำยุคไป อย่างมาก นักศึกษาทีเ่ ข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความสามารถและ พร้อมท�ำงานอย่างที่สุด รองศาสตราจารย์ ดร. สมนึก กล่าวอีกว่า บัณฑิตที่ ส�ำนักวิชาการจัดการมุ่งหวังคือเป็นคนเก่ง ท�ำเป็น เด่นน�้ำใจ นักศึกษาต้องคิดเป็น มีความพร้อมในการท�ำงานโดยต้องมีความ รู้ในวิชาชีพ มีความคิดสร้างสรรค์ มีความเป็นมืออาชีพและใจ บริการ ภายใต้กรอบแนวคิด 2 ปี ในมหาวิทยาลัย 2 ปี นอกจาก นักศึกษาจะได้เข้าร่วมโครงการ Work-Based Learning แล้วยัง มีเครื่องมืออย่างอื่นที่จะหล่อหลอมนักศึกษาให้ไปถึงจุดนั้น เช่น สหกิจศึกษา โครงการ In-Country Program โครงการพันธกิจ สัมพันธ์ชุมชนต่างๆ ด้วย

6

การลงนามความร่วมมือในครัง้ นี้ มีสถานประกอบการใน อ�ำเภอเกาะสมุยเข้าร่วม ประกอบด้วยโรงแรมFair House Villas & Spa Samui ,Fair House Beach Resort & Hotel ,Impiana Resort Chaweng Noi Koh Samui , Lamai Wanta Beach Resort Koh Samui, Mercure Samui Chaweng Tana, New Star Beach Resort, Nora Beach Resort & Spa , Nora Buri Resort & Spa , Nora Chaweng Hotel Koh Samui, Nora Lake View Hotel Koh Samui , Samui Natien Resort , Santiburi Beach Resort & Spa ,Sheraton Samui Resort , Six Senses Samui ,Vana Bells,a Luxury Collection Resort Koh Samui บริษทั Grand Sea Discovery ,Buffalo Tour , South East Asia International Holidays , STS Samui Leisure , The Glory Worldwide Travel , Trans Island Travel , รวม ทั้งเทศบาลนครเกาะสมุย Thai Hotel Association(Southern Chapter East Coast) และMalaysian Hospitality College ทั้งนี้การลงนามความร่วมมือโครงการการเรียนรู้โดย ใช้การท�ำงานเป็นฐานในครั้งนี้ มีนักศึกษาส�ำนักวิชาการจัดการ หลักสูตรการจัดการการท่องเที่ยวและบริการ ชั้นปีที่ 2 เข้าร่วม จ�ำนวน 86 คน โดยจะท�ำการฝึกปฏิบตั งิ านในสถานประกอบการ ดังกล่าว ในภาคการศึกษาที่ 2/2558


Walailak University Newsletter

NEWS

ผู้บริหารม.วลัยลักษณ์ได้รับเชิญเป็น Invited Speaker ในงาน World Diabetes Congress 2015

พัฒนาการบริบาลผู้ป่วยเบาหวาน เป็นระยะเวลา 3 ปี ซึ่งเมื่อส่ง Finalreport ไปยัง IDF BRIDGESได้รับค�ำชื่นชมว่าผลงานมีควา มน่าสนใจ ควรที่จะให้ประเทศอื่นได้เรียนรู้ด้วย โครงการวิจัยเรื่อง Community-based Diabetes Prevention Program in Thai Population เป็นTranslational research ที่ใช้กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management, KM) ในการสร้างโปรแกรมการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม ชีวติ ของผูท้ ม่ี คี วามเสีย่ งสูงต่อการเกิดเบาหวานคือผูท้ มี่ ภี าวะ impaired glucose tolerance (IGT)และใช้แนวคิด Participatory learning ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูใ้ ห้กบั กลุม่ เสีย่ งด�ำเนินการ ณ พื้นที่ 8 จังหวัด ใน 4 ภาคของประเทศที่มีแกนน�ำของเครือ ข่ายเบาหวานท�ำงานอยู่คือ นครราชสีมา นครพนม พิษณุโลก แพร่ นครนายก สมุทรสาคร นครศรีธรรมราช และ ตรัง การด�ำเนินงานวิจัยครั้งนี้ได้ท�ำการคัดกรองประชาชน ด้วยการท�ำ 75g OGTT จ�ำนวนมากถึง 11,449 คน ซึ่งพบว่า มีความผิดปกติ 5,232 คน (45.7%) โดยเป็นผู้ที่มี impaired fasting glucose (IFG) 1,409 คน (12.3%) impaired glucose tolerance (IGT) 1,372 คน (12.0%) มีทั้ง IFG และ IGT 1,009 คน (8.8%) และเป็นเบาหวาน 1,442 คน (12.6%)มีผู้ที่เป็น IGT และ IFG+IGT สมัครใจเข้าร่วมโครงการวิจัยจ�ำนวน 1,926 คน แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 883 คน และกลุ่มทดลอง 1,043 คน ขณะนีท้ มี วิจยั ในจังหวัดต่างๆ ก�ำลังทยอยปิดโครงการตามระยะ เวลาที่ก�ำหนด ผลงานวิจัยชิ้นแรกของโครงการได้รับการตีพิมพ์ ใน Journal of Diabetes Research ซึ่งมี Impact factor = 2.164 สามารถอ่านและ download เอกสารได้ที่ http://www. hindawi.com/journals/jdr/2015/396505/

www.wu.ac.th

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัลลา ตันตโยทัย รักษาการ แทนรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ อดีตคณบดีส�ำนักวิชาพยาบาล ศาสตร์ ได้รับเชิญเป็น Invited Speaker ใน Symposium เรื่อง Successful IDF Translational Research worldwide : strategies and tools to improve diabetes prevention and care และเข้าประชุม Meeting on reversal to normal glucose during prevention studies ใน World Diabetes Congress 2015 ที่จัดขึ้นระหว่างวันที่ 30 พฤศจิกายน –4 ธันวาคม 2558 mี่ ผ่านมา ณ Vancouver Convention Centre เมือง Vancouver ประเทศแคนาดา การประชุม World Diabetes Congress เป็นการ ประชุมวิชาการด้านสุขภาพระดับนานาชาติขนาดใหญ่ที่จัดขึ้น ทุก 2 ปี โดย International Diabetes Federation (IDF) ใน ช่วงปลายเดือนพฤศจิกายนถึงต้นเดือนธันวาคม ผู้เข้าประชุม ประกอบด้วยนักวิชาการ นักปฏิบัติในสาขาวิชาชีพต่างๆ ผู้ที่ ท�ำงานในองค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs) อาสาสมัคร ที่ท�ำงาน เกี่ยวข้องกับการดูแลรักษาและการป้องกันโรคเบาหวาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัลลา ตันตโยทัย กล่าวว่า การ ได้รับเชิญในครั้งนี้เนื่องจากได้ท�ำหน้าที่เป็นผู้ประสานงานเครือ ข่ายจัดการความรู้การดูแลผู้ป่วยเบาหวานหรือเครือข่ายเบา หวานที่ด�ำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 และเป็น Principal Investigator ของโครงการวิจัยเรื่อง Community-based Diabetes Prevention Program in Thai Population ซึ่ง ได้รับทุนสนับสนุนจากโครงการ BRIDGES ของ International Diabetes Federation (IDF) เป็นระยะเวลา 2 ปี 6 เดือน ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) และมูลนิธิเพื่อ

7


NEWS

Walailak University Newsletter

สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ จัดประชุมวิชาการเทคนิคการแพทย์วลัยลักษณ์ ครั้งที่ 2 ประจ�ำปี 2558

www.wu.ac.th

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วาริท เจาะจิตต์ คณบดีส�ำนักวิชาสหเวชศาสตร์ และสาธารณสุขศาสตร์ เป็นประธานเปิด การประชุ ม วิ ช าการเทคนิ ค การแพทย์ วลัยลักษณ์ ครั้งที่ 2 ประจ�ำปี 2558 ภาย ใต้ชื่อโครงการ “Non Communicable Disease (NCD) ในบริบททางเทคนิคการแพทย์” เมื่อวันที่ 17-18 ธันวาคม 2558 ที่ผ่านมา ณ ห้องอรพินท์ โรงแรมทวิน โลตัส จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมจากหลาก หลายหน่วยงาน อาทิ นักเทคนิคการแพทย์ อาจารย์พิเศษทาง คลินิก ผู้สนใจ ผู้สนับสนุนการจัดงาน ตัวแทนบริษัทขายน�้ำยา และอุปกรณ์ทางการแพทย์ ศิษย์เก่าเทคนิคการแพทย์และ คณาจารย์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ กว่า 100 คน สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ ส�ำนักวิชาสหเวชศาสตร์ และสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จัดโครงการ ประชุมวิชาการเทคนิคการแพทย์วลัยลักษณ์ ครั้งที่ 2 ประจ�ำ ปี 2558 เพื่อเผยแพร่และน�ำเสนอองค์ความรู้ด้านโรคไม่ติดต่อ เรื้อรัง และการน�ำเสนอผลงานทางวิชาการ ที่เป็นประโยชน์ต่อ การประกอบวิชาชีพแก่นักเทคนิคการแพทย์ โดยเฉพาะในเขต ภาคใต้ โดยมี รองศาสตราจารย์ พญ. จิราพร สิทธิถาวร คณะ

8

แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พญ.วิไลรัตน์ นุชประมูล ที่ปรึกษาผู้อ�ำนวยการศูนย์การแพทย์ กาญจนาภิเษก มหาวิทยาลัยมหิดล และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นุ ช จรี จี นด้ วง ส� ำ นั ก วิ ช าสหเวชศาสตร์ แ ละสาธารณสุ ข ศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เป็นวิทยากร NCD หรือกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสุขภาพ ของคนไทยที่นับวันจะยิ่งเพิ่มจ�ำนวนสูงขึ้น ไม่ว่าจะเป็นโรค หลอดเลือดสมอง โรคหัวใจขาดเลือด โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรค มะเร็ง รัฐต้องเสียค่าใช้จ่ายเพื่อการรักษาที่เกิดจากความเจ็บ ป่วยสูงมากนับพันล้านบาทต่อปี หลายภาคส่วนต่างตระหนักถึง ความส�ำคัญของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ทั้งนี้ ในส่วนวิชาชีพเทคนิค การแพทย์ ถือว่าเป็นผู้ที่มีบทบาทส�ำคัญในการตรวจวินิจฉัย ทางห้องปฏิบัติการเพื่อการค้นหาผู้ป่วย ติดตามประเมินผล การรักษา และควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ร่วมกับสาขา วิชาชีพทางการแพทย์สาขาอื่นๆ ดังนั้น การจัดประชุมวิชาการ ในครั้งนี้ จึงมีประโยชน์อย่างยิ่งที่จะช่วยเพิ่มพูนความรู้ ความ เข้าใจ ที่เกี่ยวข้องกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ทั้งในแง่ของนโยบาย และบทบาทของวิชาชีพสุขภาพ สถานการณ์ปัจจุบัน แนวทาง การตรวจวินิจฉัย การสร้างงานวิจัยจากงานประจ�ำ ซึ่งเป็น ประโยชน์ต่อการประกอบวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ต่อไป


Walailak University Newsletter

NEWS

สีสัน แห่ง ภาษา

โดย อาจารย์สมใจ สมคิด สำ�นักวิชาศิลปศาสตร์

เปลีย่ นโอกาสเป็นวิกฤต ภาพหัวจ�้ำปั๊มหัวใจไวเกินคาด จิตกุศลเธอพลุ่งพุเป็นธุระ กระชับมั่นกระชั้นถี่รี่เร่งรุด กดซ�้ำซ�้ำผมส่ายสั่นงันงันงก ดั่งถ่ายทอดพลังวัฏวิทยายุทธ์ ใบหน้าเพรื่อเหงื่อพลั่งพลั่งดั่งนักรบ ภาพยื้อแย่งแข็งขืนขัดมัจจุราช ข้างถนนรนแคมอัตคัด เที่ยวปีใหม่ที่หมายปองเธอต้องพลาด ปฏิบัติหน้าที่ช่วยชีวิต เป็นของขวัญปีใหม่ที่ใสสด เรื่องเล็กเล็กสะกิดใจในจาคะ

หนุ่มต่างชาติขาดการเต้นเห็นจะจะ สองมือปะ ประกบอก ยก-กด-ยก นั่งยองยอง ก้มหน้างุด หัวผงก ท่ากระโดดโลดกระดกตกกระทบ คลี่คลายจุดฉุดหัวใจเลิกไสลสลบ เคล็ดวิชาท่าสยบตะปบฟัด สาวไทยช่วยหนุ่มต่างชาติอยู่หลัดหลัด สองมือเปล่าเข้าสกัดอัดแรงฤทธิ์ พบเหตุการณ์เปลี่ยนโอกาสเป็นวิกฤต ตะกอนจิตพยาบาลพล่านพละ เป็นภาพที่ปรากฏกันจะจะ ธรรมดานะไม่ธรรมดาถ้าฉุกคิด.

*แรงบันดาลใจจากภาพดีๆ ช่วงปีใหม่ริมถนนสายสุราษฎร์- นาสาร ของ น.ส.ศรีธัญญา เชื้อรบ พยาบาล รพ.สุราษฎร์ธานี

www.wu.ac.th

9


NEWS

Walailak University Newsletter

www.wu.ac.th

การสัมมนาร่วมเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และพัฒนาการเรียนการสอน ระหว่างส�ำนักวิชา ศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และ Hai Phong University ประเทศเวียดนาม

10

เมือ่ เร็วๆ นี้ ดร.เลิศชาย ศิรชิ ยั คณบดีสำ� นักวิชาศิลปศาสตร์ พร้อมด้วย ผศ.ดร.นิพนธ์ ทิพย์ศรีนิมิต รองคณบดี และตัวแทน คณาจารย์หลักสูตรหลักสูตรอาเซียนศึกษา หลักสูตรภาษาอังกฤษ หลักสูตรภาษาจีน หลักสูตรไทยศึกษาบูรณาการ หลักสูตรรัฐศาสตร์ หลักสูตรนิตศิ าสตร์ รวมทัง้ สิน้ 11 คน ได้เดินทางไปยังเมืองไฮฟอง ประเทศเวียดนาม เพื่อส่งนักศึกษาไปเรียนภาษาและวัฒนธรรม เวียดนาม ณ Hai Phong University เป็นระยะเวลาสองภาคการ ศึกษา หรือประมาณ 6-7 เดือน นับตัง้ แต่เดือนธันวาคม 2558 ถึง ประมาณเดือนมิถนุ ายน 2559 นักศึกษากลุม่ นีเ้ ป็นนักศึกษารุน่ ทีส่ องของหลักสูตรอาเซียน ศึกษาทีไ่ ด้เดินทางไปศึกษาภาษาและวัฒนธรรมในประเทศเวียดนาม ภายใต้โครงการ In-Country Language and Cultural Studies Program (การศึกษาภาษาและวัฒนธรรมในประเทศเจ้าของภาษา) ที่ด�ำเนินการโดยหลักสูตรอาเซียนศึกษา มาเป็นเวลากว่าสิบปีกับ สถาบันการศึกษาในประเทศอินโดนีเซียและมาเลเซีย โดยในระยะ หลังได้ขยายความร่วมมือเพิม่ เติมไปยังสถาบันอุดมศึกษาในประเทศ เวียดนาม ส�ำหรับนักศึกษารุน่ ทีส่ องของการเรียนภาษาและวัฒนธรรม เวียดนามนี้ Hai Phong University ได้ปรับเปลี่ยนระบบหลาย ประการเพิม่ เติมเพือ่ ให้การดูแลนักศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มากขึน้ เช่น การเพิม่ ระบบเพือ่ นอาสาสมัคร (volunteer buddy) เพือ่ ช่วยให้นกั ศึกษาไทยสามารถปรับตัวในสิง่ แวดล้อมใหม่ๆ ได้เร็ว ขึน้ และเรียนรูภ้ าษาได้อย่างรวดเร็ว รวมทัง้ ยังเพิม่ จ�ำนวนอาจารย์ ในการดูแลนักศึกษากลุ่มนี้อีกด้วย ตลอดจนปรับแผนการเรียน การสอนโดยก�ำหนดเปิดรายวิชาทีน่ า่ สนใจเพิม่ เติม เช่น การศึกษา ประวัตศิ าสตร์ทอ้ งถิน่ ของเมืองไฮฟอง การศึกษาวรรณกรรมร่วมสมัย ของเวียดนาม เป็นต้น นอกเหนือไปจากการเรียนภาษาและวัฒนธร รมอืน่ ๆ ทีเ่ ป็นรายวิชาหลักอยูแ่ ต่เดิม Hai Phong University ถือเป็นมหาวิทยาลัยทีส่ านความ ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์อย่างต่อเนือ่ งนับตัง้ แต่ผบู้ ริหาร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ได้เดินทางเยือนและลงนามบันทึกข้อตกลง ความเข้าใจ (MOU) ว่าด้วยความร่วมมือทางวิชาการ ณ Haiphong University ในเดือนพฤศจิกายน 2556 จากนัน้ ในเดือนมิถนุ ายน 2557 คณะผูบ้ ริหารจาก Haiphong University ก็ได้เดินทางเยือน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์และลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ทางวิชาการ (MOA) ว่าด้วยการแลกเปลีย่ นนักศึกษาระหว่างกัน รวม ทัง้ หารือถึงความร่วมมือทางวิชาการด้านอืน่ ๆ เพิม่ เติม ส�ำหรับการเดินทางเยือนครัง้ นี้ ผูบ้ ริหารและคณาจารย์จาก Hai Phong University ประกอบด้วย รองอธิการบดี หัวหน้าภาค วิชาภาษาและวรรณกรรม หัวหน้าภาควิชาการท่องเทีย่ ว ผูอ้ ำ� นวย

การฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักหอสมุด รองผูอ้ ำ� นวยการ ฝ่ายฝึกอบรม รองผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายกิจการนักศึกษา และคณาจารย์ผู้ สอนจากหลักสูตรต่างๆ ได้ให้การต้อนรับคณาจารย์จากมหาวิทยาลัย ลักษณ์เป็นอย่างดี พร้อมทัง้ น�ำชมมหาวิทยาลัยและหน่วยงานต่างๆ ทีท่ ำ� หน้าทีส่ นับสนุนการศึกษา เช่น ส�ำนักหอสมุด ศูนย์บริการการ ศึกษา ฝ่ายหอพักนักศึกษา ฯลฯ โดยในวันที่ 4 ธันวาคม 2558 ทาง Hai Phong University ได้จัดพิธีเปิดโครงการศึกษาภาษาและ วัฒนธรรมในประเทศเวียดนามอย่างเป็นทางการ โดยมีนักศึกษา เวียดนามและนักศึกษาต่างชาติทศี่ กึ ษาอยู่ ณ Hai Phong University เข้าร่วมและจัดการแสดงเพือ่ ต้อนรับคณะจากมหาวิทยาลัยวลัย ลักษณ์ดว้ ย กิจกรรมทีส่ ำ� คัญอีกประการหนึง่ ของส�ำนักวิชาศิลปศาสตร์ใน การเดินทางเยือนครัง้ นีค้ อื การแลกเปลีย่ นความรูแ้ ละประสบการณ์ ทางด้านการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนานักศึกษา ดังนั้น ทัง้ สองมหาวิทยาลัยจึงประสานความร่วมมือระหว่างกันในการจัด โครงการสัมมนาร่วมเพือ่ แลกเปลีย่ นประสบการณ์และพัฒนาการ เรียนการสอน ส�ำนักวิชาศิลปศาสตร์ – Hai Phong University ประเทศเวียดนาม ซึง่ ประกอบด้วยการเข้าร่วมสังเกตการณ์การเรียน การสอนและเยีย่ มชมบรรยากาศในชัน้ เรียนของหลักสูตรทีเ่ กีย่ วข้อง และการสัมมนาร่วมในประเด็นเรือ่ งการจัดการเรียนการสอนด้าน สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ระดับอุดมศึกษา ซึ่งครอบคลุมทั้ง ประเด็นเกีย่ วกับวิธกี ารสอน การวัดและประเมินผลนักศึกษา การ จัดกิจกรรมนักศึกษา ปัญหาของนักศึกษา การบริหารจัดการหน่วย งาน การบริหารงานบุคคล เป็นต้น การเดินทางเยือน Hai Phong University ครัง้ นีถ้ อื เป็นการ สานสัมพันธ์และกระชับความร่วมมือระหว่างกันยิ่งขึ้นระหว่าง ทั้งสองมหาวิทยาลัย และเอื้อประโยชน์ต่อคณาจารย์ที่เข้าร่วม ในการที่จะได้น�ำความรู้และประสบการณ์ที่แลกเปลี่ยนระหว่าง กันนี้มาปรับปรุงและพัฒนาระบบการเรียนการสอนของตนให้มี ประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้


Walailak University Newsletter

NEWS

เยาวชนกว่า 2 หมื่นคน ร่วมงานวันเด็กแห่งชาติที่ ม.วลัยลักษณ์ เครือข่ายความร่วมมือในอีกหลายหน่วยงานท�ำให้กจิ กรรมยิง่ ใหญ่ สมดังวัตถุประสงค์ และขออวยพรให้เด็กและเยาวชนคิด และท�ำ ในสิง่ ทีด่ ี เชือ่ ฟังครู อาจารย์ พ่อ แม่ ตัง้ ใจเรียน มีระเบียบวินยั มี น�ำ้ ใจ คิด และท�ำในสิงทีด่ เี ป็นประโยชน์ตอ่ ตนเองและส่วนรวม เด็กหญิงอลิตา หมิดหวัง หรือน้องอุสา เยาวชนทีม่ าเทีย่ ว มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์รว่ มกับหน่วยงานภาคีเครือข่าย จัด งานวันเด็กแห่งชาติที่ ม.วลัยลักษณ์ บอกว่า มาเทีย่ วงานวันเด็ก งานวันเด็กประจ�ำปี 2559 “เด็กดี หมัน่ เพียร เรียนรู้ สูอ่ นาคต” โดย ทีม่ หาวิทยาลัยจัดตัง้ แต่เวลา 8 โมงเช้า ปีนมี้ าเป็นปีที่ 2 แล้ว มา ได้รบั ความสนใจจากผูป้ กครอง น�ำเด็กและเยาวชน ร่วมเทีย่ วงาน งานวันเด็กในปีนไี้ ด้รว่ มเล่นกิจกรรมต่างๆ ได้รบั ของรางวัลเป็นสมุด กว่า 2 หมืน่ คน ปากกา ดินสอ และได้กนิ ไอศกรีมฟรี ประทับใจพีๆ่ ทหารมากทีส่ ดุ เมือ่ วันที่ 9 มกราคม 2559 ทีผ่ า่ นมา ซึง่ เป็นวันเด็กแห่ง ค่ะ ชาติ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ร่วมกับสโมสรโรตารีท่าศาลา- เด็กชายกฤตนนท์ รอบคอบ น้องปาล์ม เล่าว่า มาเทีย่ วงาน นครศรี อ�ำเภอท่าศาลา ส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา วันเด็กตัง้ แต่ตอนเช้า เดินทางมาจากชุมชนโมคลานกับผูป้ กครอง นครศรีธรรมราช เขต 4 หน่วยงาน ธนาคารต่าง ๆ ในอ�ำเภอท่าศาลา และเพือ่ น ปีนมี้ าเป็นครัง้ ที3่ แล้ว ประทับใจการแสดงบนเวที เพราะ และในจังหวัดนครศรีธรรมราช จัดงานวันเด็กแห่งชาติ ประจ�ำปี มีเพลงสนุกๆและได้จับของขวัญด้วย ความฝันโตขึ้นอยากเป็น 2559 “เด็กดี หมัน่ เพียร เรียนรู้ สูอ่ นาคต” โดยบรรยากาศในปีนี้ ทหาร เพราะจะได้ชว่ ยปกป้องประเทศและเป็นคนมีวนิ ยั อยากให้ เป็นไปอย่างสนุกสนาน มีผปู้ กครองจากชุมชนรายรอบมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์จดั งานวันเด็กไปอย่างต่อเนือ่ ง น�ำบุตรหลานมาเทีย่ วชมงาน พร้อมร่วมสนุกกับซุม้ กิจกรรมต่างๆ น้องเชียร์ เด็กหญิงนภิสรา อินณรงค์ เรียนอยูช่ นั้ ป.4 จาก กว่า 50 รายการ รับของขวัญกลับบ้านกันอย่างจุใจ โรงเรียนท่าศาลา กล่าวว่า มาเทีย่ วงานวันเด็กกับคุณแม่ ความฝัน พิ ธี เ ปิ ด งานวั น เด็ ก แห่ ง ชาติ ณ อาคารหั ว ตะพาน โตขึน้ อยากจะเป็นคุณครู เพราะว่าเราจะได้แบ่งปันความรูใ้ ห้กบั มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ในปีนี้ ได้รับเกียรติจากพลตรีศรีศักดิ์ คนอืน่ ได้ เข้าร่วมกิจกรรมท�ำขนมเค้ก และร่วมสนุกกับพีๆ่ ทีม่ าจัด เลิศล�ำ ้ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝา่ ยกิจการพิเศษ เป็นประธาน กิจกรรมได้รบั ของรางวัลเป็นตุก๊ ตา นอกจากนีย้ งั ได้เข้าไปเยีย่ มชม พร้อมลั่นฆ้องเปิดงาน โดยมีนายไตรรัตน์ ไชยรัตน์ นายอ�ำเภอ นิทรรศการไดโนเสาร์ในพืน้ ทีอ่ ทุ ยานวิทยาศาสตร์ ท�ำให้ได้รบั ความ ท่าศาลา กล่าวต้อนรับ แพทย์หญิงอรทัย เทีย่ งธรรม นายกสโมสร รูอ้ กี มากมายด้วย โรตารีทา่ ศาลา-นครศรีธรรมราช กล่าวรายงาน และ นายอ�ำนาจ เด็กชายสนิศร คงแก้ว หรือน้องน็อต อายุ 11 ปี บอกว่า มา สุทนิ รองผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา เทีย่ วงานวันเด็กทีม่ หาวิทยาลัยวลัยลักษณ์เป็นครัง้ ที่ 5 แล้ว วันนี้ นครศรีธรรมราช เขต 4 อ่านสารวันเด็กแห่งชาติประจ�ำปี 2559 มาเที่ยวกับพี่สาวสองคน โดยได้เข้าร่วมซุ้มกิจกรรมต่างๆได้ของ พลตรีศรีศักดิ์ เลิศล�้ำ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่าย รางวัลเป็นสมุด ปากกา และของเล่นอีกมากมาย ความฝันโตขึน้ กิจการพิเศษ กล่าวว่า การจัดงานวันเด็กแห่งชาติ ประจ�ำปี 2559 อยากเป็นหมอ เพราะอยากจะช่วยเหลือคนอืน่ ประทับใจงานวัน ทีม่ หาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โดยความร่วมมือทีย่ าวนานของ สโมสร เด็กทีม่ .วลัยลักษณ์เป็นอย่างมาก และในฐานะเยาวชนจะเป็นเด็ก โรตารีทา่ ศาลา-นครศรีฯ หน่วยงาน องค์กร ธนาคารต่างๆในอ�ำเภอ ดีของพ่อแม่ ครูอาจารย์ และอยากให้มหาวิทยาลัยจัดงานวันเด็ก ท่าศาลา และจังหวัดนครศรีธรรมราชได้รว่ มจัดงาน และได้ขยาย แห่งชาติเพือ่ เด็กๆต่อไป

www.wu.ac.th

11


รับฟังรายการ “นานาสาระ” ทางสถานี

สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา จ.สุราษฎร์ธานี FM 88.75 MHz. AM. 1242 MHz. ทุกวันศุกร์ เวลา 17.30 - 18.00 น. สวท.ระนอง FM107.25 MHz ทุกวันเสาร์ เวลา 15.05 - 15.35 น. สวท.ตะกั่วป่า จ.พังงา FM 90.25 MHz. ทุกวันเสาร์ เวลา 11.05 - 11.35 น. สถานีวทิ ยุเทศบาลนครศรีธรรมราช FM 88.5 MHz. ทุกวันเสาร์ เวลา 10.00 - 10.30 น. สถานีวทิ ยุทา่ ม้าซิตเ้ี รดิโอ FM 88.00 MHz ทุกวันอาทิตย์ เวลา 09.30 - 10.00 น. สวท.นครศรีฯ FM 93.50 MHz ทุกวันอาทิตย์ เวลา 17.05 - 17.35 น. สถานีวทิ ยุเพื่อการศึกษา จ.สงขลา AM 558 KHz. ทุกวันจันทร์ เวลา 19.30 - 20.00 น. สถานีวทิ ยุเพื่อการศึกษา จ.กระบี่ AM 963 KHz. ทุกวันจันทร์ เวลา 06.30 - 07.00 น. สถานีวิทยุกองทัพภาคที่ 4 AM 1044/684 KHz. ทุกวันจันทร์-อังคาร เวลา 21.10 - 21.35 น. สวท.ภูเก็ต FM 96.75 MHz. ทุกวันอังคาร เวลา 18.30 - 19.00 น. สถานีวทิ ยุเพื่อการศึกษา กรุงเทพมหานครและเครือข่ายทัว่ ประเทศ FM 92 MHz. AM 1161 KHz. ทุกวันพุธ เวลา 18.30 - 19.00 น.

เชิญชมรายการ

“วลัยลักษณ์สู่สังคม”

ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย จังหวัดนครศรีธรรมราช

ทุกวันอังคาร เวลา 16.30 - 17.00 น.

และรับชมย้อนหลังได้ที่ http://dpr.wu.ac.th

ฟังรายการวิทยุ

ปริทัศน์วัฒนธรรม

สวท.ทุ่งสง FM 97 MHz. ทุกวันอาทิตย์ เวลา 08.30 - 09.00 น. สวท.สตูล FM 95.5 MHz. ทุกวันเสาร์ เวลา 16.30 - 17.00 น. สวท.ทุ่งสง AM 963 MHz. ทุกวันเสาร์ เวลา 08.30 - 09.00 น. สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา จ.กระบี่ ทุกวันอาทิตย์ เวลา 08.00 - 08.30 น.


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.