สารวลัยลักษณ์ ประจำเดือน ตุลาคม 2558

Page 1


NEWS Walailak University Newsletter

www.wu.ac.th

สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เสด็จแทนพระองค์ พระราชทานปริญญาบัตรแก่บณ ั ฑิต ม.วลัยลักษณ์

2

วันที่ 9 กันยายน 2558 เวลา 14.00 น. ณ หอประชุมใหญ่ อาคารไทยบุรี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จังหวัดนครศรีธรรมราช พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จ พระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เสด็จ แทนพระองค์พระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษาจาก มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ประจ�ำปีการศึกษา 2557 ผูส้ ำ� เร็จการศึกษาทีเ่ ข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรในครัง้ นี ้ มีจำ� นวนรวมทัง้ สิน้ 1,491 คน ประกอบด้วย ผูส้ ำ� เร็จการศึกษา ระดับปริญญาเอก จ�ำนวน 12 คน ระดับปริญญาโท จ�ำนวน 94 คน และระดับปริญญาตรี จ�ำนวน 1,385 คน พร้อมด้วยผูเ้ ข้ารับ พระราชทานปริญญาปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ จ�ำนวน 3 คน ได้แก่ ศาสตราจารย์เกียรติคณ ุ นายแพทย์เทพ หิมะทองค�ำ สาขา สาธารณสุขศาสตร์ นายมูหามะสุกรี มะสะนิง สาขาศิลปศาสตร์ และรองศาสตราจารย์ ดร.วันชัย ศิรชิ นะ สาขาการจัดการ ผูไ้ ด้รบั โล่ประกาศเกียรติคณ ุ อาจารย์ดเี ด่น จ�ำนวน 2 คน บัณฑิตทีไ่ ด้รบั เหรียญรางวัล จ�ำนวน 13 คน และผูไ้ ด้รบั รางวัลศึกษิตแห่งปีที่ วลัยลักษณ์ จ�ำนวน 5 คน เข้ารับพระราชทานรางวัลด้วย

โอกาสนี ้ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ได้พระราชทานพระโอวาทแก่บณ ั ฑิต ความตอนหนึง่ ว่า...วิชาความรูท้ บี่ ณ ั ฑิตทัง้ หลายได้ศกึ ษาเล่าเรียนมา เป็นเครือ่ งมืออัน ทรงประสิทธิภาพ ซึง่ แต่ละคนจะได้นำ� ไปใช้สำ� หรับประกอบกิจการ งานในวันข้างหน้า แต่การจะใช้เครือ่ งมือนัน้ ให้บงั เกิดผลเป็นประโยชน์ แท้จริง ทัง้ แก่ตวั บัณฑิตเองและแก่สว่ นรวม จ�ำเป็นต้องอาศัยรากฐาน อันส�ำคัญยิง่ คือ ศรัทธา ความเชือ่ มัน่ ในความดี ศรัทธาความเชือ่ มัน่ ดังกล่าว เกิดมีขนึ้ ได้ดว้ ยการพิจารณาจนแจ้งชัดในเหตุและผล ว่า ความดีเท่านัน้ ทีส่ ามารถรักษาบุคคลและจรรโลงสังคมให้เจริญมัน่ คง ได้ ความเชือ่ มัน่ ทีบ่ งั เกิดขึน้ จากการพิจารณานี ้ จะน้อมน�ำให้บคุ คล มีความมุง่ มัน่ ตัง้ ใจทีจ่ ะประพฤติปฏิบตั แิ ต่สงิ่ ทีด่ ที ถี่ กู ต้อง เมือ่ จะ ประกอบอาชีพการงาน ก็เลือกท�ำเฉพาะงานทีส่ จุ ริต และเมือ่ จะน�ำ ความรูไ้ ปใช้ในการปฏิบตั งิ าน กใ็ ช้ในทางทีถ่ กู ทีเ่ จริญแต่ทางเดียว ไม่ น�ำไปใช้ให้บงั เกิดเป็นโทษ เป็นความเสือ่ ม จงึ ขอให้บณ ั ฑิตทุกคนสร้าง สมอบรมความเชือ่ มัน่ ในความดีให้งอกงามขึน้ ในตน จะได้สามารถน�ำ ความรูท้ มี่ อี ยู ่ ไปใช้ประกอบกิจการงานสร้างสรรค์ประโยชน์ทแี่ ท้จริง ให้แก่ตนเองและชาติบา้ นเมืองได้สบื ไป


Walailak University Newsletter

NEWS

ม.วลัยลักษณ์จัดงานเลี้ยงแสดงความยินดีแก่ผู้ได้รับพระราชทานปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต โล่ประกาศเกียรติคุณอาจารย์ดีเด่น และรางวัลศึกษิตแห่งปีที่วลัยลักษณ์

มหาวิ ท ยาลั ย วลั ย ลั ก ษณ์ ร ่ ว มกั บ ชาวจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช จั ด งานเลี้ ย งแสดงความยิ น ดี แ ก่ ผู ้ ไ ด้ รั บ พระราชทานปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จ�ำนวน 3 ท่าน โล่ประกาศเกียรติคุณอาจารย์ดีเด่น จ�ำนวน 2 ท่าน และรางวัลศึกษิตแห่งปีที่วลัยลักษณ์ ประจ�ำปีการศึกษา 2557 จ�ำนวน 5 คน เมื่อช่วงค�่ำของวันที่ 9 กันยายน 2558 ที่ผ่านมา ณ ห้องบงกชรัตน์ โรงแรมทวินโลตัส จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.วิจติ ร ศรีสอ้าน นายกสภามหาวิทยาลัย วลั ย ลั ก ษณ์ ดร.สุ เ มธ แย้ ม นุ ่ น รั ก ษาการแทนอธิ ก ารบดี มหาวิ ท ยาลั ย วลั ย ลั ก ษณ์ คณะกรรมการสภามหาวิ ท ยาลั ย วลัยลักษณ์ ตลอดจนคณะผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร ของ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และแขกผู้มีเกียรติ ร่วมแสดงความ ยินดี ส� ำ หรั บ การจั ด งานเลี้ ย งแสดงความยิ น ดี แ ก่ ผู ้ ไ ด้ รั บ พระราชทานปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต โล่ประกาศเกียรติคุณ อาจารย์ดีเด่น และรางวัลศึกษิตแห่งปีที่วลัยลักษณ์ มีการจัด ขึ้นเป็นประจ�ำทุกปีหลังจากเสร็จสิ้นพิธีพระราชทานปริญญา

บัตรแก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษา โดยในปีนี้มีผู้เข้ารับพระราชทาน ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จ�ำนวน 3 ท่าน ได้แก่ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์เทพ หิมะทองค�ำ สาขา สาธารณสุขศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.วันชัย ศิริชนะ สาขา การจัดการ และ นายมูหามะสุกรี มะสะนิง สาขาศิลปศาสตร์ ผู้เข้ารับพระราชทานโล่ประกาศเกียรติคุณอาจารย์ ดีเด่น มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จ�ำนวน 2 ท่าน คือ ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ดร.อัญชลี ชยานุวัชร อาจารย์ประจ�ำส�ำนัก วิ ช าศิ ล ปศาสตร์ อาจารย์ ดี เ ด่ น ด้ า นการเป็ น ครู และรอง ศาสตราจารย์ ดร.กฤษณะเดช เจริญสุธาสินี อาจารย์ประจ�ำ ส�ำนักวิชาวิทยาศาสตร์ อาจารย์ดีเด่นด้านการวิจัย ผู ้ เข้ า รั บ พระราชทานโล่ ร างวั ล ศึ ก ษิ ต แห่ ง ปี ที่ ว ลั ย ลักษณ์ ซึ่งเป็นผู้ท�ำกิจกรรมเพื่อสังคมเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เพือ่ น นักศึกษา จ�ำนวน 5 คน ประกอบด้วย นายเกียรติกร แทนสุวรรณ ส�ำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ หลักสูตรนิเทศศาสตร์ นางสาว เที ย นทิ พ ย์ เดี ย วกี่ ส� ำ นั ก วิ ช าสารสนเทศศาสตร์ หลั ก สู ต ร นิเทศศาสตร์ นายประวิทย์ ดารากัย ส�ำนักวิชาสหเวชศาสตร์ และสาธารณสุขศาสตร์ หลักสูตรอนามัยสิ่งแวดล้อม นายพิเชษ กรดกางกั้น ส�ำนักวิชาการจัดการ หลักสูตรบริหารธุรกิจ และ นายเอกพล แก้วเกตุ ส�ำนักวิชาศิลปศาสตร์ หลักสูตรรัฐศาสตร์

www.wu.ac.th

3


NEWS

Walailak University Newsletter

www.wu.ac.th

10 เรื่องราววิจัยที่น่าภาคภูมิใจ ในปีงบประมาณ 2558

4

สถาบันวิจัยและพัฒนา ขอยกย่องความวิริยะอุตสาหะ ของบุคลากรสายวิชาการ สายปฏิบัติการและนักศึกษา ที่สร้าง ความส�ำเร็จด้านการวิจัยเป็นไฮไลท์ของปีงบประมาณ 2558 ให้ ประชาคมมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ได้ร่วมกันภาคภูมิใจ และขอ เป็นก�ำลังใจให้กบั คณาจารย์ นักศึกษา ทีพ่ ากเพียรอยูบ่ นเส้นทาง วิชาการ อันจะน�ำมาซึ่งความส�ำเร็จในอนาคต ห้าความส�ำเร็จสู่ University-Social Engagement มหาวิทยาลัยในใจสาธารณชน 1) 1 ใน 6 งานวิจัยดีเด่นด้านชุมชนพื้นที่ สกว. ปี 2558: ผลงาน เรื่อง การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยวเพื่อรองรับการขยายตัว ของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวจังหวัดกระบี่ ของ ดร. พิมพ์ลภัส พงศกรรังศิลป์ และคณะ ได้รบั คัดเลือกเป็น 1 ใน 6 งานวิจยั ดีเด่น ด้านชุมชนพื้นที่ ประจ�ำปี 2558 ของส�ำนักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย โดยผลกระทบจากการวิจัย คือ การตื่นตัวต่อการด�ำเนิน การจัดการท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืนของชุมชนท่องเทีย่ ว ทัง้ ในแง่ของ การเสริมสร้างทุนทางวัฒนธรรมในด้านองค์ความรูท้ เี่ กีย่ วข้องกับ การบริหารจัดการการท่องเทีย่ ว การจัดการท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืน และการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม 2) 2 รางวัลระดับนานาชาติที่ไม่ห่างไกลชุมชน: ผลงาน ของ รศ.ดร. วัฒนพงศ์ เกิดทองมี และ รศ.ดร. จิตรบรรจง ตั้งปอง ที่ได้รับรางวัลสิ่งประดิษฐ์จาก 43rd International Exhibition of Inventions of Geneva และ ทุนจากมูลนิธิโทเรเพื่อการส่ง เสริมวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย พร้อมกัน เป็นตัวอย่างของงานทีม่ ี คุณค่าทางวิชาการระดับสากลควบคูไ่ ปกับคุณประโยชน์ในการใช้ ประโยชน์ในพืน้ ที่ โดย เครือ่ งพิมพ์ 3 มิตปิ ระกอบง่ายราคาถูก ของ รศ.ดร. วัฒนพงศ์ สามารถกระตุ้นความคิดนักเรียนให้สร้างสรรค์ นวัตกรรมในกระบวนการศึกษายุคใหม่ และ นาโนอีมัลชันโลชัน ทีม่ สี ว่ นผสมของพืชพืน้ ถิน่ รศ.ดร. จิตรบรรจง สามารถเพิม่ มูลค่า สมุนไพรท้องถิ่น 3) 3 กรณีศึกษาพันธกิจสัมพันธ์มหาวิทยาลัยกับสังคม ของ Engagement Thailand: ผลงาน 3 เรื่อง ของ มหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์ ได้แก่ 1) การสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนในบริบท ของการเปลี่ยนแปลง: กรณีชุมชนแม่เจ้าอยู่หัว อ. เชียรใหญ่ จ. นครศรีธรรมราช โดย ดร. เลิศชาย ศิริชัย และคณะ 2) การปรับปรุงกระบวนการผลิตไม้ยางพาราแปรรูปในโรงงาน อุตสาหกรรม โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิรันดร มาแทน และ คณะ และ 3) รูปแบบการแก้ปญ ั หาโรคไข้เลือดออกอย่างยัง่ ยืนใน พืน้ ทีเ่ สีย่ งสูงจังหวัดนครศรีธรรมราช: จากระดับต�ำบล“ก�ำแพงเซา โมเดล” ถึงระดับอ�ำเภอ “ลานสกาโมเดล” โดย รองศาสตราจารย์ ดร. จรวย สุวรรณบ�ำรุง และคณะ ผ่านการคัดเลือกเป็น 3 ใน ทั้งหมด 42 เรื่องของทั้งประเทศ เพื่อจัดท�ำเป็นหนังสือ “กรณี ศึกษาพันธกิจสัมพันธ์มหาวิทยาลัยกับสังคม” ของเครือข่าย Engagement Thailand โดย สถาบันคลังสมองของชาติ ร่วมกับ ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ซึ่งทุกกรณีเป็นผลจากการ ท�ำงานวิชาการของบุคลากรมหาวิทยาลัยกับชุมชนและผูป้ ระกอบ การต่อเนื่องยาวนานกว่า 10 ปี

4) 4 หน่ ว ยงานสานพั น ธกิ จ สั ม พั น ธ์ ลุ ่ ม น�้ ำ ปากพนั ง : มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ยังคงสืบสานภารกิจวิจัยและบริการ วิชาการ ในพืน้ ทีล่ มุ่ น�ำ้ ปากพนังอย่างต่อเนือ่ ง ร่วมกับศูนย์อำ� นวย การและประสานงานเพื่อพัฒนาพื้นที่ลุ่มน�้ำปากพนังอันเนื่อง มาจากพระราชด�ำริ ผ่านการด�ำเนินการด้วย 4 กลไกหลักของ มหาวิทยาลัย คือ 1) โครงการวิจยั เพือ่ พัฒนาพืน้ ทีล่ มุ่ น�ำ้ ปากพนัง สถาบันวิจัยและพัฒนา 2) คลินิกเทคโนโลยี ศูนย์บริการวิชาการ 3) โครงการศูนย์ WMS พันธกิจสัมพันธ์เพื่อสังคม ส�ำนักวิชาการ จัดการ และ 4) โครงการความร่วมมือเพือ่ พัฒนางานวิจยั เชิงพืน้ ที่ ระหว่างมวล. และ สกว. โดยมิติการท�ำงานในปัจจุบัน เน้นการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ และ การจัดการเพื่อส่งเสริมอาชีพที่อนุรักษ์วิถี ดั้งเดิมของชุมชน 5) 5 งานแสดงระดั บ ชาติ 10 งานวิ จั ย ติ ด ดิ น -กิ น ได้-ใช้ประโยชน์จริง: จากงบประมาณยุทธศาสตร์ ประจ�ำปี 2558 โครงการพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศเฉพาะทางและศูนย์ บริการ/แหล่งเรียนรู้เฉพาะทางด้านการเกษตรและอุตสาหกรรม การเกษตร ได้สร้างรูปแบบใหม่ในการด�ำเนินการสนับสนุนคนรุน่ ใหม่ 10 คน เข้าร่วมกับศูนย์วจิ ยั ความเป็นเลิศและหน่วยวิจยั ต่อย อดผลงานที่มีคุณค่า ขยายผลสู่งานพันธกิจสัมพันธ์มหาวิทยาลัย กับสังคมด้านการเกษตร นอกจากการวิจัยพัฒนานวัตกรรมใน มหาวิทยาลัย และ ลงพื้นที่บริการวิชาการถ่ายทอดเทคโนโลยีใน 10 หัวข้อ แล้ว โครงการยังท�ำให้มกี ารเผยแพร่ สือ่ สารงานวิชาการ ของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์สู่สาธารณชน ในเวทีระดับชาติ 5 โอกาส ได้แก่ 1) การประชุมวิชาการนานาชาติ Princess Maha Chakri Sirindhorn Congress 2) การประชุมวิชาการประจ�ำปี สวทช. ครั้งที่ 11 3) การประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยใน อุดมศึกษา ครั้งที่ 3 4) งาน Regional Research Expo 5) งาน Thailand Research Expo 2015 รวมทัง้ งานวลัยลักษณ์เกษตรแฟร์ ห้าความส�ำเร็จสู่ University Ranking มหาวิทยาลัย ในอันดับสากล 6) 1 ในผูร้ ว่ มสร้างภาพระดับเซลล์ดว้ ยอัลตราซาวด์ได้เป็น ครั้งแรกของโลก: Three-dimensional imaging of biological cells with picosecond ultrasonics ซึ่งเป็นผลงานแบบ First Author ของ ผศ.ดร. สรศักดิ์ ด่านวรพงศ์ ร่วมกับ นักวิจัย มหาวิทยาลัยฮอกไกโด ประเทศญีป่ นุ่ ได้รบั เกียรติให้เป็นบทความ ขึ้นปก และ Editor’s pick ของ Applied Physics Letters เป็น วารสารฟิสกิ ส์ชนั้ น�ำของโลก ทีจ่ ดั พิมพ์โดย American Institute of Physics (AIP) เป็นการสาธิตใช้อัลตราซาวด์ความถี่สูงมาก สร้างภาพระดับเซลล์ที่มีก�ำลังแยกสูง (150 นาโนเมตร)เมื่อเทียบ กับก�ำลังแยกของเครื่อง MRI มาตรฐานที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน (500 ไมโครเมตร) ซึง่ จะน�ำไปสูก่ ารพัฒนานวัตกรรมการตรวจสอบเซลล์ สิ่งมีชีวิต และเครื่องมือวินิจฉัยทางการแพทย์ ยุคใหม่ต่อไป 7) 1 ใน 5 ผู้แทนประเทศไทยในการประชุมสุดยอดนัก วิทยาศาสตร์เยาวชนโลก: ดร. พงษ์พิชิต จันทร์นุ้ย ได้รับการคัด เลือกเป็น 1 ใน 5 ผู้แทนประเทศไทยเข้าร่วมการประชุมสุดยอด นักวิทยาศาสตร์เยาวชนโลก Global Young Scientist Summit


Walailak University Newsletter

ระหว่างวันที่ 18 – 23 มกราคม 2558 ณ ประเทศสาธารณรัฐ สิงคโปร์ และในการนี้ได้รับโอกาสเข้าเฝ้าทูลละอองพระบาท สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี 8) จารึกผลงานไว้ให้อา้ งถึงในฐานข้อมูลวารสารโลก: จาก ผลงานวิจัยนานาชาติสะสมในฐานข้อมูล ISI ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2001 จนถึงปีงบประมาณ 2558 มากกว่า 460 บทความ ท�ำให้จ�ำนวน ครั้งในการอ้างถึงหรือ citation ผลงานเหล่านี้ ในฐานข้อมูล ISI เพิม่ ขึน้ เป็นล�ำดับในทุกปี รวมทัง้ หมด มากกว่า 2500 ครัง้ และค่า h-index สถาบันเพิ่มเป็น 23 ในขณะที่ h-index บุคคล สูงสุดยัง เป็นของ รศ.ดร. ก้าน จันทร์พรหมมา ที่ 16 ในส่วนวารสารในฐาน ข้อมูล SCOPUS บทความของ ดร. จิราพร ชินกุลพิทักษ์ ได้รับ citation ต่อเนื่องเป็นปีที่ 7 รวมเข้าสู่หลักร้อยครั้ง ซึ่งการอ้างถึง หรือ citation นี้ เป็นหนึ่งในสามเกณฑ์ส�ำคัญที่ใช้จัด University Rankings โดยสองสถาบันหลักของโลก คือ QS และ Times Higher Education 9) บัณฑิตศึกษา มวล. ประกาศคุณภาพในฐานข้อมูล วารสารโลก: ในปี 2558 จ�ำนวนบทความตีพิมพ์ในวารสาร วิชาการนานาชาติตามฐานข้อมูล ISI/Scopus ของมหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์ เข้าสู่หลักร้อยเรื่องเป็นปีที่สองติดต่อกัน ในจ�ำนวนนี้ มีผลงานวิจยั เพือ่ วิทยานิพนธ์ของนักศึกษาบัณฑิตหลักสูตรต่างๆ ของมหาวิทยาลัย ที่เผยแพร่ในวารสารชั้นน�ำที่มี ISI Journal Impact Factor (JIF) สูง ซึง่ สะท้อนถึงคุณภาพของการวิจยั ควบคู่

NEWS

กับการจัดการเรียนการสอนบัณฑิตที่เพิ่มขึ้น ตัวอย่างจากส�ำนัก วิชาเทคโนโลยีการเกษตร ได้แก่ ผลงานใน Applied Energy (JIF 5.613) และ Food Chemistry (JIF 3.259), จากส�ำนัก วิชาวิทยาศาสตร์ ได้แก่ ผลงานใน Dalton Transactions (JIF 4.197) และ Journal of Agricultural and Food Chemistry (JIF 3.107), จากส�ำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร ได้แก่ ผลงานใน Materials and Design (JIF 3.501) และ European Journal of Wood and Wood Products (JIF 1.105), จาก ส�ำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์ ได้แก่ ผลงานใน Lipids (JIF 2.353) และ Gastroenterology Research and Practice (JIF 1.749) 10) 1 ในวารสาร Top Ten จากประเทศไทยในฐานข้อมูล วารสารโลก: Walailak Journal of Science and Techology ได้รับค่า SJR (SCImago Journal Ranking) เท่ากับ 0.207 ซึ่ง เป็นค่าสูงล�ำดับที่ 10 จากวารสารไทย 26 วารสาร ที่อยู่ในฐาน ข้อมูล SCOPUS และได้รบั การสนับสนุนจากผูม้ ชี อื่ เสียงระดับโลก เจ้าของ Beall’s List คือ Jeffrey Beall ส่งค�ำอวยพร “ Best wishes for the success of the Walailak Journal of Science and Technology” นอกจากนี้ในปี 2558 WMS Journal of Management ของส�ำนักวิชาการจัดการ เข้าสู่วารสารกลุ่ม ที่ 1 ซึ่งเป็นกลุ่มสูงสุดของฐานข้อมูล Thai-Journal Citation Index (TCI)

แพทย์ มวล.จับมือ MedResNet จัดอบรม Good Clinical Practice

ลักษณ์และสถาบันภายนอกที่ท�ำวิจัยทางคลินิกมีความรู้ความเข้าใจ ทีถ่ กู ต้องเกีย่ วกับแนวทางการวิจยั ทางคลินกิ ตามมาตรฐานการปฏิบตั ิ การวิจัยที่ดี (Good Clinical Practice: GCP) และสามารถน�ำไปใช้ ในการวิจัยทางคลินิกได้อย่างถูกต้อง ดร.เลิศชาย ศิริชัย กล่าวว่า การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง แนวทางการปฏิบตั กิ ารวิจยั ทางคลินกิ ทีด่ ี (Good Clinical Practice, GCP) ซึง่ เป็นมาตรฐานสากลด้านจริยธรรมและวิชาการส�ำหรับวางรูป แบบ ด�ำเนินการ บันทึก และรายงานการวิจัยทางคลินิก จะเป็นการ รับประกันว่าสิทธิ ความปลอดภัย และความเป็นอยูท่ ดี่ ขี องอาสาสมัคร จะได้รับการคุ้มครองและรับประกันว่าข้อมูลจากการวิจัยมีความน่า เชื่อถือ ทั้งนี้งานวิจัยเป็นภารกิจหลัก 1 ใน 4 ของมหาวิทยาลัยวลัย ลักษณ์ ได้ให้การสนับสนุนการวิจัยในทุกสาขาทั้งด้านสังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ และวิทยาศาสตร์การ แพทย์ ซึ่งการอบรมในครั้งนี้นอกจากจะท�ำให้งานวิจัยทางคลินิกได้ รับการยอมรับในระดับสากลแล้ว ยังแสดงให้เห็นถึงความรับผิดชอบ และค�ำนึงถึงศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์ของอาสาสมัครอีกด้วย 5

www.wu.ac.th

ส� ำ นั ก วิ ช าแพทยศาสตร์ แ ละสถานวิ จั ย วิ ท ยาการสุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ย วลั ย ลั ก ษณ์ ร่ ว มกั บ เครื อ ข่ า ยวิ จั ย กลุ ่ ม สถาบั น แพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (MedResNet) จัดอบรมเชิงปฏิบัติ การเรื่อง การปฏิบัติการวิจัยทางคลินิกที่ดี Good Clinical Practice (GCP) ระหว่างวันที่ 17-18 กันยายน 2558 ณ ห้องตุมปัง อาคาร บริหาร ชั้น 3 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โดยในพิธีเปิดการอบรม ได้ รับเกียรติจาก ดร.เลิศชาย ศิริชัย รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่าย วิจัยและเครือข่ายสังคม เป็นประธาน และรองศาสตราจารย์ นพ. วีร วัฒน์ มหัทธนตระกูล อาจารย์ประจ�ำส�ำนักวิชาแพทย์ศาสตร์ม.วลัย ลักษณ์ กล่าวรายงาน รองศาสตราจารย์ นพ.วีรวัฒน์ มหัทธนตระกูล เปิดเผยว่า ปัจจุบันการฝึกอบรมการปฏิบัติการวิจัยทางคลินิกที่ดี (Good Clinical Practice: GCP) มีความส�ำคัญต่อการศึกษาวิจยั ทาง คลินิกในประเทศไทยเป็นอย่างมาก และการวิจัยทางคลินิกจะเพิ่ม จ�ำนวนขึ้นอย่างรวดเร็วในอนาคต ดังนั้นการอบรมในครั้งนี้จะท�ำให้ อาจารย์แพทย์ อาจารย์ นักศึกษา และนักวิจัยทุกคนของส�ำนักวิชา แพทยศาสตร์ และส�ำนักวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องของมหาวิทยาลัยวลัย


NEWS

Walailak University Newsletter

นักวิจัย มวล. คิดค้นบรรจุภัณฑ์ถาดอาหารที่ย่อยสลายได้จากใยไผ่ ทีมนักวิจยั ในห้องปฏิบตั กิ ารนวัตกรรมน�ำ้ มันหอมระเหย ส�ำหรับความปลอดภัยในอาหารและบรรจุภัณฑ์ น�ำโดย ผศ.ดร. นฤมล มาแทน อ.ดร.ทนง เอี่ยวศิริ และนางสาวกิติยา สุเหม ซึ่งได้ท�ำงานร่วมกับนักวิจัยของกลุ่มวิจัยคลื่นและการประยุกต์ ศูนย์วจิ ยั ความเป็นเลิศนวัตกรรมฟิสกิ ส์ยงั่ ยืนส�ำหรับอุตสาหกรรม เกษตร น�ำโดย ผศ.ดร.สรศักดิ์ ด่านวรพงศ์ และศูนย์ความเป็น เลิศวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมไม้ น�ำโดย ผศ.ดร.นิรนั ดร มาแทน พบวิธกี ารน�ำใยไผ่มาขึน้ รูปเป็นบรรจุภณ ั ฑ์ถาดอาหารโดยการน�ำ เลเซอร์มาช่วยเคลือบสารธรรมชาติบนผิวหน้าของบรรจุภัณฑ์ ใยจากต้นไผ่เป็นหนึ่งในวัสดุธรรมชาติที่น่าสนใจและมี ความเป็นไปได้สูงมากในการน�ำมาขึ้นรูปเป็นบรรจุภัณฑ์ส�ำหรับ ห่อหุ้มอาหาร ซึ่งใยไผ่มีลักษณะเป็นไฟเบอร์ที่มีความคงตัว และคงทนต่อการเสียดทานรวมถึงทนต่อการกัดกร่อนได้ ทั้งยัง สามารถผลิตได้ง่าย และต้นไผ่ยังพบเห็นอยู่ทั่วไปทุกฤดูกาล ทุก ภูมิภาค เนื่องจากเป็นพืชที่สามารถขยายพันธุ์ได้ง่าย ทั้งนี้ บรรจุภัณฑ์ที่พัฒนาขึ้นนี้จะน�ำมาใช้ในการใส่ อาหารเพือ่ ทดแทนกล่องโฟมและพลาสติก และเพือ่ เป็นการเพิม่ คุณสมบัตทิ ดี่ ขี องการเป็นบรรจุภณ ั ฑ์อาหารในการต้านออกซิเจน และต้านทานการซึมเข้าออกของน�ำ้ ระหว่างบรรยากาศภายนอก และอาหาร รวมถึงคุณสมบัติในการต้านทานเชื้อรา ผูว้ จิ ยั ได้ทำ� การปรับปรุงคุณภาพบรรจุภณ ั ฑ์โดยการน�ำ สารธรรมชาติกลุ่มของน�้ำมันหอมระเหยที่สามารถต้านทานการ เปียกน�ำ ้ รวมถึงเป็นสารทีใ่ ช้ในการป้องกันเชือ้ รามาร่วมปรับปรุง คุณสมบัติดังกล่าวของบรรจุภัณฑ์ ทั้งนี้ทีมนักวิจัยได้น�ำเลเซอร์ มาใช้ในการเคลือบสารธรรมชาติดงั กล่าวลงบนผิวหน้าของบรรจุ ภัณฑ์จากใยไผ่พบว่า บรรจุภณ ั ฑ์ทพี่ ฒ ั นาขึน้ ดังกล่าวมีอายุการใช้ งานเพิม่ ขึน้ กว่า 1 ปี ก่อนทีจ่ ะมีการสลายตัวได้เองตามธรรมชาติ

www.wu.ac.th

6

นอกจากนี้จากการ ทดลองน� ำ วิ ธี ก ารที่ ค ้ น พบ นี้ ม าออกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ อาหารเพื่ อ ใช้ ใ นการถนอม อาหารผลิตภัณฑ์ซีเรียลข้าว กล้องพบว่าผลิตภัณฑ์ซีเรียล ข้าวกล้องที่ไม่ได้เติมสารกัน บูดใดๆ มีอายุการเก็บรักษา ภายในบรรจุ ภั ณ ฑ์ อ าหาร จากใยไผ่ทผี่ า่ นการใช้เลเซอร์ ได้นานกว่า 3 เดือน โดยไม่ พบการเจริญของเชื้อรา และ ผลิตภัณฑ์ซีเรียลที่ผ่านการ เก็บรักษายังมีคณ ุ สมบัตติ า่ งๆ ผ่านตามมาตรฐานอาหารอีก ด้วย ผลงานวิจัยดังกล่าวได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากทุน งบประมาณแผ่นดินประจ�ำปี 2558 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์และ ทุนโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษกของส�ำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.) อ้างอิงจาก Kitiya Suhem, Narumol Matan, Nirundorn Matan, Sorasak Danworaphong, Tanong Aewsiri, 2015. Improvement of the antifungal activity of Litsea cubeba vapor by using a helium-neon (HeNe) laser against Aspergillus flavus on brown rice snack bars. International Journal of Food Microbiologydoi.org/10.1016/j.ijfoodmicro.2015.09.008 (Impact factor: 3.082). เว็บไซต์ http://essentialoil.wu.ac.th/

นักศึกษานิเทศศาสตร์ เข้ารับรางวัลชนะเลิศสารคดีเชิงข่าว

นกั ศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตร์ ชัน้ ปีที่ 3 ประกอบด้วย 1. นางสาวชนม์ชนก บุญนนท์ 2. นางสาววิภาวี มณเฑียรทอง 3. นายธัญเทพ ไชยเดช 4. นาย สุรศักดิ์ คุม้ เดช และ 5. นายศุภวงศ์ ยาอีด ซึง่ มีอาจารย์วรรณ รัตน์ นาที อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรดังกล่าวเป็นที่ปรึกษา ได้รับ รางวัลชนะเลิศ จากการส่งงานสารคดี เรือ่ ง “ดารุซซูฮดู ร์ โรงเรียน สอนชีวิต” เข้าร่วมประกวดสื่อต้นแบบสร้างสุข ปีที่ 2 ครั้งที่ 2 จัดโดยสมาคมเคเบิลทีวีแห่งประเทศไทยและ ส�ำนักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยเมื่อเร็วๆนี้กลุ่ม นักศึกษานิเทศศาสตร์ดงั กล่าวได้เดินทางเข้ารับโล่รางวัล เงินสด

จ�ำนวน 30,000 บาท พร้อมประกาศนียบัตรจากคณะกรรมการ การประกวด ณ ศูนย์ประชุมอิมแพค เมืองทองธานี สารคดี “ดารุซซูฮดู ร์ โรงเรียนสอนชีวติ ” เป็นผลงานส่วน หนึง่ ในการเรียนการสอนรายวิชา การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ ขัน้ ต้น โดยสารคดีชนิ้ นีม้ เี นือ้ หาเกีย่ วกับนักศึกษาในชมรมมุสลิม ของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ทีอ่ ทุ ศิ เวลาให้กบั การสอนศาสนาให้ แก่เด็กๆ ในชุมชนใกล้มหาวิทยาลัย นักศึกษาเหล่านีม้ เิ พียงได้ทำ� ประโยชน์ให้กบั ชุมชน แต่สงิ่ ทีพ่ วกเขาได้รบั จากการสอนศาสนา ในครัง้ นี้ ได้ชว่ ยสอนแนวทางการใช้ชวี ติ ของพวกเขาเช่นเดียวกัน อนึง่ การประกวดครัง้ นี้ มีผลงานทีส่ ง่ เข้าประกวดทัง้ สิน้ 93 ผลงาน มีผลงานทีผ่ า่ นรอบคัดเลือก จ�ำนวน 33 ผลงาน และมีผล งานได้รบั รางวัลจ�ำนวน 16 ผลงาน


Walailak University Newsletter

NEWS

ม.วลัยลักษณ์ ถวายราชสักการะแด่สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เนื่องในวันมหิดล

ได้มมี ติรว่ มกับประเทศไทยในการเฉลิมพระเกียรติพระองค์ทา่ นใน ฐานะทีเ่ ป็นบุคคลส�ำคัญของโลก เนือ่ งในวโรกาสมหามงคลวันคล้าย วันพระราชสมภพ 100 ปี ของพระองค์ เมือ่ วันที่ 1 มกราคม 2535 เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติและระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณที่ พระองค์ทา่ นได้ทรงบ�ำเพ็ญพระราชกรณียกิจอันเป็นประโยชน์สขุ ของผูอ้ นื่ ตลอดพระชนม์ชพี รองศาสตราจารย์ ดร. สุรสีห์ วัฒนวิกย์กจิ กล่าวว่า เนือ่ งใน วันมหิดล ซึง่ ตรงกับวันที่ 24 กันยายน เป็นวันคล้ายวันสวรรคต ของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (กรมหลวงสงขลานครินทร์) พระผูไ้ ด้รบั การถวายพระสมัญญาภิไธย จากแพทย์และประชาชนทัว่ ไปว่า “พระบิหาแห่งการแพทย์แผน ปัจจุบนั ของไทย” ด้วยพระราชกรณียกิจทีท่ รงบ�ำเพ็ญประโยชน์แก่ วงการแพทย์และการสาธารณสุขของประเทศไทย ท�ำให้ตลอดเวลา 120 ปีทผี่ า่ นมา ได้เสริมสร้างความเป็นปึกแผ่นของการสาธารณสุข ไทย ด้วยเหตุนนี้ กั ศึกษาด้านวิทยาศาสตร์สขุ ภาพทัง้ 4 ส�ำนักวิชา ได้แก่ วิชาแพทยศาสตร์ ส�ำนักวิชาเภสัชศาสตร์ ส�ำนักวิชาพยาบาล ศาสตร์ และส�ำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์ ได้รว่ ม กันจัดงาน “วันมหิดล” 24 กันยายน นี้ เพือ่ เป็นการถวายราชสัก การะแด่สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราช ชนก ด้วยคุณงามความดีของพระองค์ทา่ นจึงเกิดประเพณีอนั ดีงาม นีใ้ นมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ หลังจากเสร็จพิธวี างพวงมาลาถวายราชสักการะสมเด็จพระ มหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก แล้ว ได้มกี าร บรรยายพิเศษเนื่องในวันมหิดล หัวข้อ “สร้างพลังให้กับตัวเอง และเปลีย่ นความคิดใหม่” โดย คุณอัมพาพันธ์ อมรวานิชย์ ณ ห้อง ประชุม 4 อาคารปฏิบตั กิ ารเทคโนโลยีและพัฒนานวัตกรรม ในช่วง บ่ายเป็นกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์“ท�ำดีวนั มหิดล”ณ โรงอาหารตึก กิจกรรม และบริเวณหอพักนักศึกษา และกิจกรรม “เวทีสขุ ภาพ” ณ โรงเรียนชุมชนใหม่ ชุมชนสาธิตวลัยลักษณ์พฒ ั นา ทัง้ นี้ ในช่วง เช้าได้มพี ธิ ที ำ� บุญตักบาตรอีกด้วย

www.wu.ac.th

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จัดกิจกรรมเนือ่ งในวันมหิดล เพือ่ เป็นการถวายราชสักการะแด่สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดช วิกรม พระบรมราชชนก พระผูไ้ ด้รบั การถวายพระสมัญญาภิไธย ว่าทรงเป็น พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบนั ของไทย และองค์ พระราชบิดาแห่งการสาธารณสุขไทย โดยรักษาการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ น�ำคณาจารย์ เจ้าหน้าที่ นักศึกษา พร้อม ด้วยผูแ้ ทนหน่วยงานภายนอก วางพวงมาลาถวายราชสักการะ เมือ่ วันที่ 24 กันยายน 2558 ณ หอประชุมใหญ่ อาคารไทยบุรี ส� ำ นั ก วิ ช าพยาบาลศาสตร์ ส� ำ นั ก วิ ช าสหเวชศาสตร์ และสาธารณสุขศาสตร์ ส�ำนักวิชาเภสัชศาสตร์ และส�ำนักวิชา แพทยศาสตร์ ร่วมกับโครงการจัดตัง้ สถานวิจยั วิทยาการสุขภาพ จัดกิจกรรมเนือ่ งในวันมหิดล โดยมี ดร.สุเมธ แย้มนุน่ รักษาการ แทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เป็นประธานในพิธี และ รองศาสตราจารย์ ดร. สุรสีห์ วัฒนวิกย์กจิ คณบดีสำ� นักวิชาสห เวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์ กล่าวรายงาน ดร.สุเมธ แย้มนุน่ กล่าวว่า สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลย เดชวิกรม พระบรมราชชนก ทรงเสริมสร้างความเป็นปึกแผ่นให้แก่ โรงเรียนแพทย์ อีกทัง้ ได้ทรงพัฒนาการเรียนการสอน ตลอดจนการ ผลิตแพทย์ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ อันเป็นการวางรากฐาน แก่การแพทย์และการสาธารณสุขของไทยให้เจริญพัฒนา ก้าวหน้า ทัดเทียมอารยะประเทศ นอกจากนีพ้ ระองค์ยงั ทรงมีพระอัจฉริย ภาพในด้านต่างๆ อาทิ การศึกษา การต่างประเทศ การทหารเรือ และศิลปะ อันเป็นรากฐานของมรดกอันล�ำ้ ค่าทีพ่ ระองค์ทรงมอบ ไว้ให้แก่ชาวไทยจวบจนปัจจุบนั จากพระราชกรณียกิจของพระองค์ทา่ นทีไ่ ม่ทรงยินยอมให้ พระอิสริยยศ ฐานันดรศักดิอ์ นั สูงส่งมาขวางกัน้ การปฏิบตั พิ ระองค์ ตามพระปณิธานทีท่ รงมุง่ มัน่ อยูใ่ นอุดมการณ์ทเี่ ชิดชูชวี ติ ศักดิ์ และ ในฐานะทีเ่ ป็นมนุษย์ดว้ ยพระราชกรณียกิจทางด้านการแพทย์และ การสาธารณสุข ประกอบกับพระราชกรณียกิจในด้านอืน่ ๆ องค์การ ศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO)

7


NEWS

Walailak University Newsletter

ครู นักเรียนทั่วภาคใต้ ร่วมโครงการปชส.สู่โรงเรียน ที่ม.วลัยลักษณ์

www.wu.ac.th

เมือ่ วันที่ 10 กันยายน 2558 ส่วนประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์ จัดโครงการประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยสูโ่ รงเรียน : Walailak University show&share เพือ่ ประชาสัมพันธ์หลักสูตร การจัดการเรียน การสอนของมหาวิทยาลัยไปสูโ่ รงเรียน พร้อมมอบโล่รางวัลให้แก่โรงเรียน ต่างๆ ซึง่ มีศษิ ย์เก่ามาศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และสามารถ สร้างชื่อเสียงให้กับมหาวิทยาลัยในระดับประเทศ โดยมีผู้บริหาร ครู แนะแนว และนักเรียนจากโรงเรียนต่างๆทัว่ ภาคใต้ 60 โรงเรียน จ�ำนวน กว่า 650 คน เข้าร่วม ณ หอประชุมใหญ่ อาคารไทยบุรี โอกาสนี้ คุณจิตตนา หนูณะ หัวหน้าส่วนประชาสัมพันธ์ กล่าว รายงานการจัดโครงการ และ ดร.เลิศชาย ศิริชัย รักษาการแทนรอง อธิการบดีฝา่ ยกิจการนักศึกษา และรักษาการแทนรองอธิการบดีฝา่ ยวิจยั และเครือข่ายสังคม กล่าวต้อนรับผูเ้ ข้าร่วมโครงการ หัวหน้าส่วนประชาสัมพันธ์ กล่าวว่า โครงการประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยสูโ่ รงเรียน : Walailak University show&share จัดขึน้ มา อย่างต่อเนือ่ งทุกปี มีเป้าหมายเพือ่ สร้างเสริมภาพลักษณ์องค์กร ตลอดจน สร้างการรูจ้ กั ความสัมพันธ์อนั ดี เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ขอ้ มูลเรือ่ งราวที่ เป็นประโยชน์ของมหาวิทยาลัยไปยังโรงเรียน โดยในปีนมี้ กี จิ กรรมหลัก 2 กิจกรรม ประกอบด้วย การพบปะพูดคุยระหว่างมหาวิทยาลัยและผูบ้ ริหาร ครูแนะแนวของโรงเรียน และกิจกรรมการมอบโล่ โครงการชืน่ ชมคุณค่า นักศึกษาศิษย์ปจั จุบนั /ศิษย์เก่าทีไ่ ด้รบั รางวัลในระดับประเทศ โดยมีผเู้ ข้า ร่วม ประกอบด้วย ผูบ้ ริหาร ครู นักเรียนจากโรงเรียนต่างๆ ทัว่ ภาคใต้ 60 โรงเรียน ตลอดจนนักศึกษาของ ม.วลัยลักษณ์ รวมทัง้ สิน้ 650 คน ดร.เลิศชาย ศิรชิ ยั กล่าวต้อนรับคณะอาจารย์/ครู และนักเรียน จากโรงเรียนต่างๆ ทีเ่ ข้าร่วมโครงการ พร้อมบอกเล่าให้ฟงั ถึง มหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์มองว่าโรงเรียน คือ ผูท้ ตี่ อ้ งร่วมรับผิดชอบในเรือ่ งของการศึกษา ในฐานะเป็นสถาบันการศึกษาเหมือนกัน จึงจ�ำเป็นต้องจัดการศึกษาให้ ส�ำเร็จและมีประสิทธิภาพตามทีส่ งั คมคาดหวัง เพือ่ ให้สงั คมก้าวหน้า ซึง่ ปัจจุบนั สังคมก�ำลังเข้าสูก่ ารเปลีย่ นผ่านอีกครัง้ ความรูแ้ ละระบบคุณค่า

8

ใช้ได้นอ้ ยลง ห้องเรียนไม่ได้อยูแ่ ค่ในห้องสีเ่ หลีย่ มแบบเดิมๆเท่านัน้ มีพนื้ ที่ แหล่งเรียนรูใ้ หม่ทเี่ รียกว่าสังคมออนไลน์ทนี่ กั เรียน นักศึกษา สามารถเข้า ถึงข้อมูลใหม่ๆอีกนับไม่ถว้ น ดังนัน้ ทัง้ โรงเรียนและมหาวิทยาลัยต้องร่วม กันปฏิรปู ทัง้ ในเรือ่ งหลักสูตร กระบวนการเรียนรูแ้ ละกระบวนการประเมิน ผล เพือ่ การศึกษาทีด่ ขี นึ้ ในอนาคต “มหาวิทยาลัยและโรงเรียนจะต้องแลกเปลี่ยนประสบการณ์ แลกเปลีย่ นทรัพยากรร่วมกันอย่างไร เพือ่ ท�ำให้นกั เรียน นักศึกษา รูจ้ กั และ เห็นความส�ำคัญในการใช้ชวี ติ ร่วมกับผูอ้ นื่ เมือ่ ส�ำเร็จการศึกษาออกไปเป็น ทัง้ คนดีและคนเก่ง เป็นคนทีม่ คี ณ ุ ค่าต่อสังคม ทัง้ นีค้ าดว่าการจัดโครงการ ในครัง้ นีจ้ ะท�ำให้โรงเรียนได้รจู้ กั มหาวิทยาลัยและสร้างความเข้าใจให้กบั ครู และนักเรียนมากยิง่ ขึน้ ” ดร.เลิศชาย ศิรชิ ยั กล่าวในตอนท้าย จากนัน้ ดร.เลิศชาย ศิรชิ ยั และรองศาสตราจารย์ ดร.สมนึก เอือ้ จิระพงษ์พนั ธ์ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝา่ ยบริหาร มอบโล่ในโครงการ ชืน่ ชมคุณค่านักศึกษาศิษย์ปจั จุบนั /ศิษย์เก่าทีไ่ ด้รบั รางวัลในระดับประเทศ ให้แก่ผบู้ ริหารโรงเรียนต่างๆ ทีน่ กั ศึกษาเป็นศิาย์เก่า จ�ำนวน 26 โรงเรียน หลังจากนัน้ รองศาสตราจารย์ ดร.สมนึก เอือ้ จิระพงษ์พนั ธ์ ได้ บรรยายในหัวข้อ “บัณฑิตมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์กบั การรับใช้สงั คม” โดยมีใจความส�ำคัญว่า มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ตระหนักและเล็งเห็นถึง ความส�ำคัญในการผลิตบัณฑิตเพือ่ ออกไปรับใช้สงั คม ให้มคี วามพร้อมใน การท�ำงานและตรงกับความต้องการของสถานประกอบการ โดยมีการ พัฒนาหลักสูตร ก�ำหนดอัตลักษณ์บณ ั ฑิตวลัยลักษณ์ ซึง่ มีรปู แบบแนวทาง ทีโ่ ดดเด่นไม่เหมือนใคร นักศึกษาทุกหลักสูตรต้องออกไปท�ำงานร่วมกับ สังคม ตลอดจนมีการพัฒนาหลักสูตรร่วมกับสถานประกอบการทัง้ ภาค รัฐ เอกชน และองค์กรภายนอกต่างๆด้วย อย่างไรก็ตาม ผลสะท้อนกลับมาจากผู้ใช้บัณฑิต พบว่า เมื่อ ส�ำเร็จการศึกษาไปแล้วบัณฑิตมีความพร้อมในการท�ำงานเป็นอย่างมาก โดยนอกจากความรูค้ วามสามารถของบัณฑิตของ ม.วลัยลักษณ์จะเป็นที่ ยอมรับแล้ว สิง่ หนึง่ ทีน่ า่ ภาคภูมใิ จคือ บัณฑิต ม.วลัยลักษณ์ เป็นคนมีนำ�้ ใจ พร้อมจะช่วยเหลือองค์กรตลอดเวลา ทีส่ ำ� คัญเป็นทัง้ คนดีและคนเก่งตาม ค่านิยมทีม่ หาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ปลูกฝังตัง้ แต่กา้ วแรกทีเ่ ข้ามาศึกษา นอกจากนีบ้ นเวทีดงั กล่าวยังมีการพูดคุย หัวข้อ “ครูแนะแนว.. Student Idol” โดยผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุพศิ ฤทธิแ์ ก้ว ผูอ้ ำ� นวยการ ศูนย์บริการการศึกษา และนายสุวฒั น์ ขุนอินทร์ ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยวลัย ลักษณ์ รุน่ ที่ 1 และเป็นศึกษิตแห่งปีทวี่ ลัยลักษณ์ประจ�ำปีการศึกษา 2544 ปัจจุบนั เป็นผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การส่วนชุมชนสัมพันธ์ บริษทั ผูผ้ ลิตไฟฟ้า กลุม่ โรงไฟ ฟ้าบริษทั กัลฟ์ และกิจกรรมผูบ้ ริหาร คณบดีรว่ มแลกเปลีย่ นพูดคุย ตอบ ปัญหาและรับฟังข้อเสนอแนะจากโรงเรียน อีกด้วย


Walailak University Newsletter

NEWS

ศาลยกฟ้องกรณี ม.วลัยลักษณ์ยกเลิกสัญญาสร้างศูนย์การแพทย์ กับกิจการร่วมค้า พี วี ที

ดร.สุเมธ แย้มนุ่น เปิดเผยต่อว่า มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ได้บอกเลิกสัญญา กับ กิจการร่วมค้า พีวีที /ผู้รับจ้าง เพราะ ปลอมแปลงเอกสารด้านการเงิน ถึง 2 ครั้ง คือ ครั้งแรก หนังสือ ค�ำ้ ประกันปลอม (หลักประกันสัญญา) ในการท�ำสัญญาตัง้ แต่แรก เริม่ และครัง้ ทีส่ องหนังสือค�ำ้ ประกันทีน่ ำ� มาวางเพือ่ ขอรับเงินค่า จ้างล่วงหน้า ร้อยละ 15 คิดเป็นเงิน 323.70 ล้านบาท ของมูลค่า งานทัง้ หมด ในสัญญา ( 2,158 ล้านบาท ) ซึง่ เมือ่ มหาวิทยาลัยได้ ตรวจสอบและสอบยันกับธนาคารกสิกรไทย จ�ำกัด (มหาชน) และ ธนาคารได้มีหนังสือยืนยันว่า ธนาคารไม่ได้เป็นผู้ออกหนังสือค�้ำ ประกัน เมื่อผลปรากฏเป็นเช่นนี้ ตามหลักกฎหมายถือว่าสัญญา ดังกล่าวนั้นยังไม่เกิดมาตั้งแต่ต้น เพราะหลักประกันสัญญาไม่มี อยู่จริง ในตอนท้าย ดร.สุเมธ แย้มนุ่น กล่าวว่า มหาวิทยาลัยฯ โดยมีผมในฐานะรักษาการแทนอธิการบดีและคณะผู้บริหารชุด ปัจจุบัน ได้เดินหน้าแก้ไขปัญหาเรื่องการก่อสร้างโครงการ ศูนย์ การแพทย์จนเข้าสู่ภาวะปกติแล้ว โดยได้ประกวดราคาก่อสร้าง ครั้งใหม่ ได้บริษัทใหม่ที่มีความมั่นคง น่าเชื่อถือ คือ บริษัทเพา เวอร์ไลน์ เอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด (มหาชน) เป็นผู้ชนะการประกวด ราคาต�่ำสุดในวงเงินอยู่ที่ 2,128 ล้านบาทถ้วน และเมื่อวัน ที่ 29 กรกฎาคม 2558 ที่ผ่านมา ได้มีพิธีลงนามสัญญาจ้าง ก่อสร้างอาคารศูนย์การแพทย์พร้อมระบบสาธารณูปการฯ ซึ่ง การก่อสร้างก�ำหนดแล้วเสร็จในปี 2562 จะเปิดให้บริการพี่น้อง ประชาชนชาวจังหวัดนครศรีธรรมราชและจังหวัดใกล้เคียง ให้ ได้รับบริการด้านสุขภาพที่ดีและสะดวกยิ่งขึ้น อีกทั้งเป็นที่ผลิต บุคลากรทางการแพทย์ และสหวิชาชีพด้านวิทยาการสุขภาพเพือ่ ออกไปรับใช้สังคมประเทศชาติ

www.wu.ac.th

ดร.สุเมธ แย้มนุ่น รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์ เปิดเผยผลการพิจารณาคดีกรณีกิจการร่วมค้า พี วี ที ฟ้องต่อมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์กรณีมีหนังสือยกเลิกสัญญา โครงการก่อสร้างศูนย์การแพทย์ไม่ถูกต้อง ว่า ศาลจังหวัด นครศรีธรรมราชได้มีค�ำพิพากษายกฟ้อง เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2558 ที่ผ่านมา ผู้พิพากษา ศาลจังหวัดนครศรีธรรมราชได้ออกนั่งบัลลังก์ พิจารณาคดีหมายเลขด�ำ ที่ อ.4356/2557 ระหว่าง กิจการร่วม ค้า พีวีที /โจทก์ กับ นายกีร์รัตน์ สงวนไทร /จ�ำเลยที่ 1 นายสุเมธ แย้มนุ่น/จ�ำเลยที่ 2 นายอรรจน์ อิงคนินันท์ บัณฑิตย์/จ�ำเลยที่ 3 และ นายเลิศชาย ศิริชัย/จ�ำเลยที่ 4 ในคดีความอาญากรณีความ ผิดทีเ่ กีย่ วกับการบอกเลิกสัญญาโครงการก่อสร้างอาคารศูนย์การ แพทย์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์และระบบสาธารณูปการ สัญญา เลขที่ 7/2557 ลงวันที่ 22 มกราคม 2557 โดยศาลได้พิพากษา ยกฟ้อง เนื่องจากศาลได้พิจารณาจากพยานหลักฐานต่าง ๆ ที่ โจทก์ ได้ยนื่ ต่อศาลเพือ่ ประกอบข้อกล่าวหา และพยานหลักฐาน ของฝ่ายจ�ำเลยได้น�ำมาแสดงต่อศาลอย่างรอบคอบแล้ว มีความ เห็นว่า การที่จ�ำเลยมีหนังสือบอกเลิกสัญญานั้นเป็นการปฏิบัติ ราชการที่ถูกต้องแล้ว การกระท�ำดังกล่าวของฝ่ายจ�ำเลย จึงไม่ เป็นความผิดตามข้อหาที่โจทก์ฟ้องมาทั้งหมด การที่จ�ำเลยทั้งสี่ ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานของทางราชการย่อมต้องปฏิบัติ ราชการให้ถูกต้องและใช้สิทธิบอกเลิกสัญญากับโจทก์ ในทาง กลับกันหากจ�ำเลยไม่กระท�ำการดังกล่าวอาจจะเป็นความผิดทั้ง ทางวินยั และอาญา รวมทัง้ มีความผิดทางกฎหมายปกครอง และ อาจจะถูกฟ้องร้องทางแพ่งได้ด้วย ดังนั้น การบอกเลิกสัญญาจึง เป็นการกระท�ำที่ชอบด้วยกฎหมายแล้ว

9


NEWS Walailak University Newsletter

ม.วลัยลักษณ์ ส่งมอบงานวิจัยพัฒนาปืนยางฯให้แก่ศูนย์ฝึกอบรมต�ำรวจภูธรภาค 8

www.wu.ac.th

ดร.เลิ ศ ชาย ศิ ริ ชั ย รั ก ษาการแทนรองอธิ ก ารบดี ฝ่ า ยวิ จั ย และเครื อ ข่ า ยสั ง คม มหาวิ ท ยาลั ย วลั ย ลั ก ษณ์ รอง ศาสตราจารย์ ดร.จรัญ บุญกาญจน์ รักษาการแทนคณบดีสำ� นัก วิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร รองศาสตราจารย์ ดร.ชิต ณรงค์ ศิรสิ ถิตย์กลุ ผูอ้ ำ� นวยการสถาบันวิจยั และพัฒนา พร้อมด้วย ดร.ประชิด สระโมฬี อาจารย์ประจ�ำส�ำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ฯ ในฐานะหัวหน้าโครงการวิจยั ร่วมกันส่งมอบ โครงการวิจยั ปืนยาง ส�ำหรับช่วยฝึกนักเรียนต�ำรวจ ให้แก่ศนู ย์ฝกึ อบรมต�ำรวจภูธร ภาค 8 โดยมี พล.ต.ต.สุทศั น์ ชาญสวัสดิ์ ผูบ้ งั คับการศูนย์ฝกึ อบรมต�ำรวจ ภูธร ภาค 8 พร้อมด้วยต�ำรวจจากศูนย์ดงั กล่าวร่วมรับมอบ ณ ห้อง โมคลาน อาคารบริหาร ม.วลัยลักษณ์ เมือ่ วันที่ 6 ตุลาคม 2558 ที่ ผ่านมา ดร.ประชิ ด สระโมฬี อาจารย์ ป ระจ� ำ ส� ำ นั ก วิ ช า วิ ศ วกรรมศาสตร์ แ ละทรั พ ยากร หลั ก สู ต รวิ ศ วกรรมวั ส ดุ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ หัวหน้าโครงการวิจัยฯ เปิดเผยว่า สืบ เนือ่ งจากจ�ำนวนปืนพกส�ำหรับฝึกภาคปฏิบตั นิ กั เรียนต�ำรวจของ ศูนย์ฝึกอบรมต�ำรวจภูธร ภาค 8 ยังมีจ�ำนวนไม่เพียงพอต่อการ ฝึกและปืนที่ท�ำการฝึกที่มีอยู่ท�ำมาจากไม้เรซิน ซึ่งมีข้อด้อยด้าน รูปร่างและความแข็งแรงจึงไม่สามารถทีจ่ ะท�ำให้นกั เรียนต�ำรวจมี ความรูส้ กึ คุน้ เคยเหมือนกับปืนจริงได้ นอกจากนีย้ งั ต้องน�ำเข้าปืน พกจ�ำลองจากต่างประเทศ ซึง่ มีราคาแพง ตนพร้อมด้วยทีมวิจยั จึงได้รว่ มกันท�ำโครงการวิจยั เรือ่ ง พัฒนาปืนยางส�ำหรับใช้ชว่ ยฝึก นักเรียนนายสิบต�ำรวจ โดยท�ำการศึกษาลักษณะ รูปแบบและ คุณสมบัตขิ องปืนพกช่วยฝึกตามข้อก�ำหนดอ้างอิงกับปืนพกทีน่ ำ� เข้า จากต่างประเทศ พร้อมสัง่ ท�ำแบบพิมพ์สำ� หรับการขึน้ รูปปืนยางให้ มีขนาดใกล้เคียงกับอาวุธปืนจริงทีใ่ ช้ในราชการต�ำรวจ 10

นอกจากนีย้ งั พัฒนาสูตรยางคอมปาวด์ โดยได้ทำ� การศึกษา ค่าความหนาแน่น ความแข็ง ความแข็งแรงและความทนทาน เพือ่ ให้ได้ปนื ยางทีม่ นี ำ�้ หนักใกล้เคียงกับอาวุธปืนจริง และมีคณ ุ สมบัติ ที่เหมาะสมส�ำหรับใช้ในการฝึกนักเรียนต�ำรวจ พร้อมทั้งศึกษา กระบวนการอัดขึน้ รูปปืนยางต้นแบบ ด้วยกระบวนการอัดยางเข้า แบบพิมพ์โดยใช้แบบพิมพ์และเครือ่ งอัดร้อนในระดับห้องปฏิบตั ิ การ และทดลองน�ำไปใช้งานจริง ผลงานวิจยั ดังกล่าวท�ำให้ได้ปนื ยาง ทีม่ ขี นาดใกล้เคียงกับ อาวุธปืนจริงทีใ่ ช้ในราชการต�ำรวจ โดยปืนยางทีผ่ ลิตได้มขี นาดน�ำ้ หนัก 400 กรัมต่อกระบอก เปรียบเทียบกับปืนแดง (red gun) ซึ่งเป็นปืนฝึกนักเรียนต�ำรวจที่น�ำเข้าจากต่างประเทศมีน�้ำหนัก ประมาณ 397.30 กรัม/กระบอก มีความแข็งและแข็งแรงสูงแต่ ยืดหยุน่ ตกไม่แตก มีรปู ร่างลักษณะภายนอก และน�ำ้ หนักคล้าย ปืนจริงมาก ตลอดจนต้นทุนรวมเพียง 300 บาท/กระบอก เมื่อ เปรียบเทียบกับปืนยางทีน่ ำ� เข้าจากต่างประเทศประมาณ 2,800 บาท/กระบอก “ผลจากการน�ำปืนยางจากวิจยั ชิน้ ดังกล่าวไปใช้จริง พบว่า ผลการฝึกของนักเรียนต�ำรวจอยูใ่ นระดับดีมาก ผูร้ บั การฝึกและครู ฝึกพึงพอใจเป็นอย่างมาก โดยในปัจจุบนั มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ได้ ท�ำการส่งมอบปืนยางให้แก่ ศูนย์ฝกึ อบรมต�ำรวจภูธร ภาค 8 แล้ว จ�ำนวน 300 กระบอก อย่างไรก็ตามผลการวิจยั ชิน้ นีเ้ ป็นผลผลิต จากวัสดุธรรมชาติคือยางพารา ซึ่งเป็นการน�ำวัตถุดิบทางการ เกษตรมาใช้ประโยชน์และสร้างมูลค่าเพิม่ ได้ดว้ ย และในอนาคต จะมีการขยายระดับการผลิตปืนพกยางเพื่อใช้เป็นเครื่องช่วยฝึก ส�ำหรับสถานศึกษาอืน่ ในสังกัดส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติตอ่ ไปใน อนาคตด้วย” ดร.ประชิด กล่าวในตอนท้าย


Walailak University Newsletter

ประมวลภาพ

ม.วลัยลักษณ์ ปลูกข้าว 60 ไร่ เพื่อการเรียนการสอน วิจัย สืบสานประเพณี

แบ่งพืน้ ทีป่ ลูกข้าวพันธุน์ างกลายซึง่ เป็นพันธุพ์ นื้ เมือง จ�ำนวน 10 ไร่ ข้าวสังข์หยดซึง่ เป็นทีต่ อ้ งการของตลาดจ�ำนวน 45 ไร่ และอีก 5 ไร่ เป็นพืน้ ทีร่ องรับการเรียนการสอนและสร้างเสริมประสบการณ์การ ท�ำนาให้แก่นกั ศึกษา นอกจากนี้ ยังได้ปรับปรุงสภาพดินเพือ่ ขยาย แปลงนาเพิม่ เติมอีกจ�ำนวน 10 ไร่ อย่างไรก็ตาม การปลูกข้าวของ ม.วลัยลักษณ์ ยังคงปลูก ข้าวแบบเกษตรอินทรียโ์ ดยใช้ปยุ๋ หมักและปุย๋ คอกทีผ่ ลิตในฟาร์ม มหาวิทยาลัย และยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมทัง้ สอดแทรก ประเพณีดั้งเดิมของชาวไทยที่เกี่ยวข้องกับข้าว เช่น การหว่าน ข้าว การท�ำขวัญข้าว การเกีย่ วข้าว และพิธรี วบข้าว เพือ่ ต้องการ ให้นกั ศึกษา บุคลากร มีความรูค้ วามเข้าใจในเรือ่ งการท�ำนาและ วัฒนธรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับการท�ำนา ส�ำหรับกิจกรรมในพิธหี ว่านข้าวในครัง้ นีย้ งั มีการท�ำพิธบี ชู า พระแม่โพสพ กิจกรรมการแทงสัก การบรรยายหัวข้อ “วิถชี าวนา ไทย” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สืบพงศ์ ธรรมชาติ ผู้อ�ำนวย การอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์ การแสดงจากชมรมนาฎศิลป์ และกิจกรรมการแข่งขันด�ำนา โดยบรรยากาศเป็นไปด้วยความ สนุกสนานและอบอุน่ 11

www.wu.ac.th

เมือ่ วันที่ 7 ตุลาคม 2558 ดร.สุเมธ แย้มนุน่ รักษาการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ น�ำทีมผูบ้ ริหาร คณาจารย์ เจ้า หน้าทีแ่ ละนักศึกษาของมหาวิทยาลัย พร้อมด้วยแขกผูม้ เี กียรติจาก หน่วยงานต่างๆ รวมทัง้ สิน้ กว่า 1,000 คน ร่วมกันหว่านข้าว ใน โครงการปลูกข้าวเพือ่ การเรียน การสอน การวิจยั และท�ำนุบำ� รุง ศิลปะและวัฒนธรรม ครัง้ ที่ 11 บนพืน้ ที่ 60 ไร่ บริเวณแปลงท�ำ นาด้านทิศเหนือ สระน�ำ้ หน้ามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ดร.สุเมธ แย้มนุน่ กล่าวถึงการด�ำเนินโครงการปลูกข้าวเพือ่ การเรียน การสอน การวิจยั และท�ำนุบำ� รุงศิลปะและวัฒนธรรม ว่า เป็นกิจกรรมที่มหาวิทยาลัยจัดท�ำขึ้นเพื่อสนองพระราชด�ำริของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ในการด�ำเนินโครงการเศรษฐกิจที่ พอเพียง อีกทั้งสนองพันธกิจและนโยบายของมหาวิทยาลัยวลัย ลักษณ์ ให้สำ� เร็จลุลว่ งได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทัง้ ในด้านการเรียน การสอน การวิจยั และการท�ำนุบำ� รุงศิลปะและวัฒนธรรม อีกทัง้ เป็นการส่งเสริมสุขภาพแก่บคุ ลากรและนักศึกษาด้วย โดยมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์มกี ารปลูกข้าวมาอย่างต่อเนือ่ ง ครัง้ นีเ้ ป็นครัง้ ที่ 11 แล้ว ภายใต้ความร่วมมือของหน่วยงานภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัย ใช้พนื้ ทีใ่ นการเพาะปลูกประมาณ 60 ไร่


รับฟังรายการ “นานาสาระ” ทางสถานี

สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา จ.สุราษฎร์ธานี FM 88.75 MHz. AM. 1242 MHz. ทุกวันศุกร์ เวลา 17.30 - 18.00 น. สวท.ระนอง FM107.25 MHz ทุกวันเสาร์ เวลา 15.05 - 15.35 น. สวท.ตะกั่วป่า จ.พังงา FM 90.25 MHz. ทุกวันเสาร์ เวลา 11.05 - 11.35 น. สถานีวทิ ยุเทศบาลนครศรีธรรมราช FM 88.5 MHz. ทุกวันเสาร์ เวลา 10.00 - 10.30 น. สถานีวทิ ยุทา่ ม้าซิตเ้ี รดิโอ FM 88.00 MHz ทุกวันอาทิตย์ เวลา 09.30 - 10.00 น. สวท.นครศรีฯ FM 93.50 MHz ทุกวันอาทิตย์ เวลา 17.05 - 17.35 น. สถานีวทิ ยุเพื่อการศึกษา จ.สงขลา AM 558 KHz. ทุกวันจันทร์ เวลา 19.30 - 20.00 น. สถานีวทิ ยุเพื่อการศึกษา จ.กระบี่ AM 963 KHz. ทุกวันจันทร์ เวลา 06.30 - 07.00 น. สถานีวิทยุกองทัพภาคที่ 4 AM 1044/684 KHz. ทุกวันจันทร์-อังคาร เวลา 21.10 - 21.35 น. สวท.ภูเก็ต FM 96.75 MHz. ทุกวันอังคาร เวลา 18.30 - 19.00 น. สถานีวทิ ยุเพื่อการศึกษา กรุงเทพมหานครและเครือข่ายทัว่ ประเทศ FM 92 MHz. AM 1161 KHz. ทุกวันพุธ เวลา 18.30 - 19.00 น.

เชิญชมรายการ

“วลัยลักษณ์สู่สังคม”

ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย จังหวัดนครศรีธรรมราช

ทุกวันอังคาร เวลา 16.30 - 17.00 น.

และรับชมย้อนหลังได้ที่ http://dpr.wu.ac.th

ฟังรายการวิทยุ

ปริทัศน์วัฒนธรรม

สวท.ทุ่งสง FM 97 MHz. ทุกวันอาทิตย์ เวลา 08.30 - 09.00 น. สวท.สตูล FM 95.5 MHz. ทุกวันเสาร์ เวลา 16.30 - 17.00 น. สวท.ทุ่งสง AM 963 MHz. ทุกวันเสาร์ เวลา 08.30 - 09.00 น. สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา จ.กระบี่ ทุกวันอาทิตย์ เวลา 08.00 - 08.30 น.


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.