Jour june july57

Page 1

- ปกหน้า -

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

1


บทบรรณาธิการ

“ วาร สารพั ฒ นาชุ ม ชนฯ ประจํ า เดื อ น มิถุนายน – กรกฎาคม ๒๕๕๗ คอลัมน์แรกพบกับ ท่านรองอธิบดีฯ..แลหน้า เหลียวหลัง...ครูสอนศิษย์ .. × กถาพัฒนากร เรื่อง “ยอดดอยเสียดฟ้า มา ตามฝัน ตอนที่ ๒” × ...หนึ่งวัน หนึ่งความคิด... ×...หัวโค้ง : โทษประหารชีวิต... × รู้ด้วยกันงาน กจ. : การปฏิบัติราชการแทน×วาทะเด่น...กถา คารวะผู้เกษียณ ๕๗ × “การส่งเสริมยุทธศาสตร์ กลุ่มจังหวัด” ใน ถากถางทางสร้างสรรค์... × “We (vv) Stand For Women คอลัมน์กองทุน พัฒนาบทบาทสตรี ×สาระน่ารู้ : จุดคานงัด...ผล การศึกษาของนักบริหารการเปลี่ยนแปลงรุ่นใหม่” ×ภาษาอาเซียนพื้นฐานน่ารู้ : Comparative Adjectives×ภาพกิจกรรมกรมการพัฒนาชุมชน ×แ ล้ ว ปิ ดท้ า ย ด้ ว ย แ ว ด ว ง ค น พ ช . ใ น รั้ ว มหาวิทยาลัย... ×พบกันใหม่ฉบับต่อไปนะครับ...

ทรงพล วิชัยขัทคะ บรรณาธิการ

แลหน้า เหลียวหลัง กถาพัฒนากร หนึ่งวัน หนึ่งความคิด หัวโค้ง รู้ด้วยกันงาน กจ. วาทะเด่น ถางทางสร้างสรรค์ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี สาระน่ารู้ ภาษาอาเซียนพื้นฐานน่ารู้ ภาพกิจกรรม แวดวงคน พช.ในรั้วมหาวิทยาลัย

3 10 13 14 18 24 25 27 29 34 37 42

วารสารพัฒนาชุมชน ประจําเดือนมิถุนายน – กรกฎาคม ๒๕๕๗ ประธานกรรมการอํานวยการ นายขวัญชัย วงศ์นิติกร ที่ปรึกษา นายพิสันติ์ ประทานชวโน ผู้ช่วยบรรณาธิการ กองบรรณาธิการ

ฝ่ายภาพ

ออกแบบปก ออกแบบรูปเล่ม/พิสูจน์อักษร

นายมนตรี นาคสมบูรณ์ นายอรรถพร สิงหวิชัย นางรักใจ กาญจนะวีระ นางสาวชณัทสรณ์ โพธิปิ่น นางสาวฉัตรประอร นิยม นางสาวเยาวนิจ กลั่นนุรักษ์ นายสรฤทธ จันสุข นางสาวนวพร พิมพา นางสาวนิภาภร บุญประสิทธิ์ นายพีระ คําศรีจันทร์ นายธนชล คูณสวัสดิ์ นายจรูญศักดิ์ เขียวสุคนธ์ นางสาวกฤติยา สวัสดิ์เมือง นางสาวยอดขวัญ ว่านเครือ นางสาวเปรมวดี มีสวัสดิ์ นางสาวศิริพร พรหมมา

กองประชาสัมพันธ์ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ อาคารรัฐประศาสนภักดี ชั้น 5 ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทร. 0 2141 6271, 0 2141 6328 โทรสาร 0 2143 8922 บทความหรือข้อเขียนในวารสารพัฒนาชุมชนเป็นความเห็นส่วนบุคคล กองบรรณาธิการไม่จําเป็นต้องเห็นด้วย และไม่ผูกพันกับกรมการพัฒนาชุมชนแต่อย่างใด

“ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง” กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย 2 “วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”


“เปิดใจโครงการ OTOP กับสื่อดินแดนอาทิตย์อุทัย (Japan)”

ครูสอนศิษย์

โดย...กระท่อมน้อย ๔ ป.

การเป็นนักฝึกอบรมมืออาชีพ

ที่มาของสิ่งทีศ่ ิษย์ขอให้ครูสอน การปฏิบัติหน้าที่ตามประเด็นยุ ทธศาสตร์ การเสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูงซึ่ง ส ถ า บั น ก า ร พั ฒ น า ชุ ม ช น กํ า ห น ด ใ ห้ “ ก า ร เ ป็ น นั ก ฝึ ก อ บ ร ม มื อ อ า ชี พ ” เ ป็ น ห นึ่ ง ใ น อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ที่ จํ า เ ป็ น ต่ อ การปฏิ บั ติ ง านเพื่ อ ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น การ เป็น SMART College

Êi觷Õè¤ÃÙÊo¹ กรมการพัฒนาชุมชนมีบทบาท ภารกิจ ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และกระบวนการมีส่วน ร่วมของประชาชน การฝึกอบรมเป็นส่วนหนึ่งในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ซึ่งเกิดขึ้นมาพร้อมกับกรมการ พัฒนาชุมชน ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๕ กองฝึกอบรมเป็นแม่งานหลัก โดยมีงานฝ่ายฝึกอบรมกระจายอยู่ตามศูนย์ ช่วยเหลือทางวิชาการพัฒนาชุมชนเขต แต่เดิม Career pathของผู้ที่จะขึ้นเป็นพัฒนาการจังหวัด จะต้องผ่าน การเป็นหัวหน้าฝ่ายฝึกอบรมในส่วนกลาง หรือศูนย์ช่วยเหลือทางวิชาการพัฒนาชุมชนเขตมาก่อน เพราะว่า จะต้องสะสมประสบการณ์การเป็นนักฝึกอบรมและนักส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้

¡Òý ¡oºÃÁäÁ 㪠ÂÒËÁ oãË­ ·Õè¨aÃa¡ÉÒ /æ¡ ä¢oaäà æ ä´ ·u¡eÃืèo§ คนทั่วไปอาจเข้าใจผิดว่าทําไมงานส่วนใหญ่ของกรมฯ มีแต่การฝึกอบรม โดยข้อเท็จจริงแล้วเป็น การยืมเทคนิคการฝึกอบรมไปใช้ในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของประชาชน

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

3


การเข้ามาในแวดวงการฝึกอบรมต้องศึกษาและทําความเข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับการฝึกอบรมให้ ชัดเจนเสียก่อนบางคนยังสับสนระหว่างการฝึกอบรมกับการเรียน ในการฝึกอบรม วิทยากรถูกเรียกว่า Trainer แต่การเรียนในห้องเรียนถูกเรียกว่าTeacher แม้แต่การเรียกก็ต่างกัน ดังนั้นแนวคิดก็ต่างกัน æ¹Ç¤i´ã¹¡Òý ¡oºÃÁÁÕÇaµ¶u»Ãaʧ¤ ËÅa¡ æ คือ การที่จะเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้อบรมไป ในทางที่พึงประสงค์หรือในทางที่ดีขึ้นเป้าหมายหลัก ๆ ในการเปลี่ยนพฤติกรรม ๑. เปลี่ยนจากไม่รู้ให้สามารถรู้ได้โดยมีการวัดเชิงพฤติกรรม โดยผู้รับการอบรมสามารถ อธิบายสิ่งที่รับการอบรมได้ ๒. เปลี่ยนทัศนะจากไม่ชอบเป็นชอบ การวัดพฤติกรรมจะมีแบบประเมิน ๓. เปลี่ยนทักษะจากทําไม่ได้เป็นทําได้ สามารถวัดพฤติกรรมได้โดยให้ผู้เข้าอบรมปฏิบัติ

¡Òèae» ¹¹a¡½ ¡oºÃÁÁืooÒªÕ¾¨aµ o§e¢ Òã¨ã¹æ¹Ç¤i´¡Òý ¡oºÃÁ¡ o¹ ¶ ÒäÁ e¢ Òã¨æ¹Ç¤i´ e·¤¹i¤·Õèä´ ä»¡çäÁ Á»Õ Ãaoª¹ æ¹Ç¤i´ã¹¡ÒÃeÃÕ¹¡ÒÃÊo¹ã¹oçeÃÕ¹¡çÁÕ 2 æ¹Ç¤i´ ¤ืo ๑. ครูเป็นศูนย์กลางในการเรียนการสอน ๒. นักเรียนเป็นศูนย์กลางในการเรียนการสอน

æ¹Ç¤i´¡Òý ¡oºÃÁ«ึè§ÁÕo·i ¸i¾Åµ o§Ò¹¢o§¡ÃÁ¡Òþa²¹ÒªuÁª¹ 2 æ¹Ç¤i´ËÅa¡ æ ä´ æ¡ ๑. Directive Approach เป็นการฝึกอบรมแบบมีคําตอบ (Blue Print)มาแล้ว วิทยากรเป็นศูนย์กลาง เทคนิคหรือกระบวนการที่จะทําให้เกิดกระบวนการเรียนรู้เป็นลักษณะการบรรยาย การสาธิต ซึ่งเป็นการถ่ายทอด โดยตรงจากวิทยากร (one way)เทคนิคการฝึกอบรม เปนเรื่องเกี่ยวกับการบรรยายการอภิปรายเป็นคณะการสาธิตการ ดูหนังบทบาทสมมติ (Roll Play) ๒. Non - Directive Approach เป็นการฝึกอบรมที่วิทยากรต้องใช้กลวิธีกระตุ้นให้ผู้เข้าอบรม เกิดองค์ความรู้ขึ้นได้ด้วยตนเองผู้เข้าอบรมเป็นศูนย์กลาง เป็นแนวคิดที่ตรงกับงานพัฒนาชุมชนมากที่สุดเทคนิค หรือกระบวนการที่จะทําให้เกิดกระบวนการเรียนรู้เป็นลักษณะกระบวนการที่ให้ผู้อบรมมีส่วนร่วมเทคนิคการ ฝึกอบรมเป็นเรื่องเกี่ยวกับ กระบวนการกลุ่ม (Group Process) การแบ่งกลุ่ม(ไม่ควรเกินกลุ่มละ ๑๕ คน) การระดมสมองแบบไม่ต้องเคลื่อนที่ (Buzz Group)การระดมความคิด (Brain Storming) เรื่องเล่าเร้าพลัง (Story Telling) ซึ่งทําหน้าที่ส่งผ่านความรู้จากผู้รู้ไปยังผู้ไม่รู้ (Transformer)

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

4


§Ò¹¢o§¡ÃÁ¡Òþa²¹ÒªuÁª¹e» ¹§Ò¹·ÕÊè § eÊÃiÁ¡ÃaºÇ¹¡ÒÃeÃÕ¹ÃÙ¢ o§»ÃaªÒª¹ ประเด็นที่ต้องทําความเข้าใจเพิ่ม คือ การสื่อ (Transform) ไม่จําเป็นต้องอยู่ที่วิทยากร อยู่ตรงไหนก็ได้ แต่ Trainer จะทําหน้าที่เป็นสื่อกลางในการสื่อองค์ความรู้ ทักษะ อุดมการณ์จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง วิทยากร ไม่จําเป็นต้องทําเป็นไม่จําเป็นต้องเคยทํา แต่ก็สามารถทําให้ผู้เข้ารับการอบรมเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้ แนวคิด แบบเป็นแนวคิดในการทํางานพัฒนาชุมชน ยกตัวอย่างเช่น พัฒนากรบางคนไม่เคยทํานาไม่เคยเป็นเกษตรกร ไม่ เคยเป็นลูกชาวไร่ ชาวนา ชาวสวน แต่ทําไมสามารถส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ให้กับกลุ่มคนเหล่านี้ได้บทบาท เหล่านี้เรียกว่าอะไร ยังไม่มีในภาษาทางวิชาการที่ชัดเจนก็เลยเรียกรวม ๆ ว่าวิทยากร เมื่อมาใช้กับกรมการพัฒนา ชุมชน เรียกว่า “นักพัฒนา” โดยที่จริงคําว่า “นัก” ต้องทําจริง เช่นนักฟุตบอล นักมวย ต้องเล่นจริง ต่อยจริง นักฝึกอบรมก็ต้องอบรมจริง แต่ความเป็นจริงนักพัฒนาไม่ได้ลงมือพัฒนาจริงแต่ไปกระตุ้นให้เขาทํา บทบาทของ Trainer หรือ Transformer หรือ หรือนักพัฒนา ในที่นี้จึงเป็นการไปสร้างสถานการณ์เพื่อนําความรู้จากจุดหนึ่งไป ยังอีกจุดหนึ่งได้ให้บางครั้ง ซึ่งบทบาทนี้ยากกว่าคําว่า “วิทยากร” วิทยากรไม่ได้มีบทบาทมากนัก แต่เป็นผู้สร้าง สถานการณ์ให้เกิดกระบวนการเรียนรู้และเปลี่ยนพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ดังนั้น วิทยากรในที่นี้ จึงหนักไปทางการ ออกแบบ จัดสถานการณ์ จัดทําเครื่องมือ สร้างบรรยากาศ ให้เกิดกระบวนการเรียนรู้

นายสุ ว นั ย ทองนพ อดี ต อธิ บ ดี ก รมการพั ฒ นาชุ ม ชนท่ า นเป็ น นั ก ฝึ ก อบรมมื อ อาชี พ คนหนึ่ ง ในสมัยนั้นท่านเคยถามว่ากองฝึกไปนําหลักสูตรฝึกอบรมมาจากไหน เพราะหลักสูตรเหล่านั้นเป็นหลักสูตร ที่สํานักงาน ก.พ. ใช้อบรมให้แก่ข้าราชการทั่วไป แต่การฝึกอบรมของกรมการพัฒนาชุมชนเป็นหลักสูตรที่ จะไปสร้างนักพัฒนาให้ไปทํางานกับประชาชนโดยยืมเทคนิคการฝึกอบรมมาใช้ และได้ให้ความคิดว่าหลักสูตรการฝึกอบรมแบบนี้เป็นแบบ “ไก่ขังกรง” คือการขังไก่ในกรง ถึงเวลาก็นําอาหารมาให้ วิทยากรเปรียบเหมือน “คนให้อาหาร” ถึงเวลาก็มาให้อาหาร เก็บไข่ไปขาย อาหารก็เปรียบเหมือนเนื้อหาวิชาและให้ไปรื้อหลักสูตรฝึกอบรมเป็นแบบ“ไก่ไม่ขังกรง” ให้ไก่ออกจาก กรงไปหากินเอง ปัญหาก็คือ การขาดความมั่นใจว่าจากเดิมไก่เคยกินอาหารที่เราป้อนให้จะไปกินอาหาร าดับไหม แนวคิดแบบนี้เป็นวิธีการเรียนรู้แบบ "พึ่งตนเอง" แนวคิดใน ตามจุดที่วางไว้ไหมแล้วจะโตได้ตามลํ การฝึกอบรมแบบนี้สําคัญและถูกปลูกฝังไปยังวิทยากรว่า “อย่าอบรมแบบไก่ขังกรง” คือเลี้ยงไม่โต พึ่งตัวเองไม่ได้ เช่นเดียวกันถ้าเราอบรมพัฒนากรให้ไปส่งเสริมชาวบ้าน ถ้าเขาไม่เข้าแนวคิดแบบนี้ สิ่งที่พูด ว่า “ชุมชนเข้มแข็ง พึ่งตนเองได้” ก็จะไม่เกิดเพราะพัฒนากรจะได้เทคนิค กลวิธี แบบไก่ขังกรง ไป ไม่ได้เทคนิคไก่ไม่ขังกรงและหากินเอง

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

5


นักฝึกอบรมมืออาชีพจริง ต้องเก่งการฝึกอบรมแบบไก่ไม่ขังกรง เทคนิ ค การฝึ ก อบรมตามแนวคิ ด นี้ เดิ ม กองฝึ ก อบรมมี ก รณี ศึ ก ษามาก การฝึ ก อบรมพั ฒ นากรก่ อ น ประจําการ การฝึกอบรมแบบไก่ขังกรง คือการนําทฤษฎีมาสอนให้พัฒนากรไปศึกษาชุมชน วิเคราะห์ปัญหาชุมชน ให้การศึกษาชุมชน จัดทําแผนงานโครงการ ปฏิบัติการประเมินผล บางรุ่นก็เป็นการฝึกอบรมแบบไก่ไม่ขังกรง ก็ จะใช้วิธีให้ศึกษากรณีศึกษาหมู่บ้านหมู่บ้านหนึ่ง ในกรณีศึกษาจะมีข้อมูลชุมชนครบทุกอย่างแล้วตั้งตุ๊กตาว่าถ้าท่าน เป็นพัฒนากรประจําหมู่บ้านนี้จะทําอย่างไรในการพัฒนาหมู่บ้านนี้ มันก็เกิดการแบ่งกลุ่มอภิปรายกัน แล้วนํามา เสนอแลกเปลี่ ย นกั น นั ก ฝึ ก อบรมต้ อ งเก่ ง การทํ า กรณี ศึ ก ษา ถ้ า วิ ท ยากรสามารถนํ า สถานการณ์ ม าครบ กระบวนการเรียนรู้ของพัฒนากรก็จะเป็นแบบครบเครื่อง เมื่อไปพบสถานการณ์จริงก็จะใกล้เคียงกัน ถ้าจะให้ดี จริงๆ ต้องนําไปฝึกอบรมในหมู่บ้านเลยแต่ต้นทุนสูงมาก การใช้วิธีการนี้จึงเป็นการลดต้นทุน คําถามก็คือ ถ้าไม่รู้ทฤษฎีเลยจะไปทําการพัฒนาได้หรือ ตามแนวคิดนี้บอกแล้วว่าวิทยากรไม่จําเป็นต้องรู้ แต่ต้องเป็นคนช่างซักถาม โดยการสนทนา (Dialogue)ยกตัวอย่าง เมื่อเข้าไปในหมู่บ้านถามชาวบ้านว่า ปัญหาคือ อะไร ก็จะได้การระดมคําตอบมากเพราะเขารู้ ถามต่อว่าแล้วปัญหาอะไรสําคัญที่สุด ทําไมถึงเป็นปัญหานี้ คําถาม แบบนี้ก็จะทําให้ได้คําตอบ การใช้เทคนิคนี้ นักฝึกอบรมต้องเก่งในการตั้งคําถามอย่างเป็นระบบ ซึ่งจะทําให้ ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ได้ด้วยตนเองโสเครติสสอนลูกศิษย์ใช้วิธีตั้งคําถามให้ไปค้นคว้าหาคําตอบด้วยตนเอง ไม่ใช้การบรรยาย แนวคิดแบบนี้ก็เป็นแบบ Non - Directive Approachการฝึกอบรมแนวนี้ทําให้ผู้เข้าอบรมใฝ่รู้ ตื่นตัว (Alert) ชอบที่จะถูกถาม เมื่อผู้เข้าอบรมถามกลับ วิทยากรจะไม่ตอบคําถามแต่จะใช้วิธีใช้คําถามถามกลับ เทคนิคแบบนี้ นักฝึกอบรมต้องเก่งการตอบคําถามด้วยคําถาม เทคนิคแบบนี้ใช้กับใครก็ได้ คนที่ผ่านการ ฝึกอบรมประเภทนี้จะสามารถตั้งชุดคําถามได้ด้วยการเรียนรู้ด้วยตนเองในที่สุด การเรียนรู้ด้วยตนเองตรงกับพระ พุทธพจน์ที่ว่าการรู้แจ้งเห็นจริงก็คือ การปุจฉา วิสัชนา คือ ตั้งคําถามและค้นหาคําตอบ งานพัฒนาชุมชนจะตอบโจทย์แบบ Non – Directive Approach นักฝึกอบรมจะต้องตั้งกฎกติกา คือ อนุญาตให้วิทยากรพูดได้ไม่เกิน ๑๐ นาที ต่อ ๑ คาบระยะเวลา (Period) เวลานอกนั้นวิทยากรต้องออกแบบ จัด สถานการณ์ ปัญหา คือวิทยากรคิดอะไรไม่ออก ก็แบ่งกลุ่มโดยการนับเลขแล้วให้คําถาม อภิปรายกลุ่มแล้วนําเสนอ วิธีการแบบนี้เป็นแบบ Directive Approachในการทําแบบ Non – Directive Approach นักฝึกอบรมจะสรุป เพิ่มเติมประมาณ ๑๐ นาที แนวการสรุป ถ้าสิ่งที่ทํามาถูกแล้ว วิทยากรก็ยืนยันว่าสิ่งที่เขาทํามาแล้วถูกต้อง “วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

6


ถ้าผิดวิทยากรจะต้องตั้งคําถามว่าไม่แน่ใจ ลองให้หาคําตอบใหม่ และอาจกล่าวว่ามีผู้รู้ หรือนักคิดบางคนเขากล่าว ไว้อย่างนี้ ลองไปดูนะ จะต้องไม่ใช้คําพูดว่าเรื่องนี้สรุปว่าอย่างนี้ เพราะความคิดของผู้เข้าอบรมจะหยุดและจะไม่ ค้ น คํ า ตอบต่ อ นั ก ฝึ ก อบรมต้ อ งสร้ า งความมั่ น ใจในวิ ธี ก าร กระบวนการที่ วิ ท ยากรได้ จั ด ให้ นักฝึกอบรมมืออาชีพไม่จําเป็นต้องเก่งในทุกเรื่องแต่นักฝึกอบรมต้องสามารถดึงศักยภาพที่มีในกลุ่มออกมา ใช้ได้ หรือสามารถจัดสถานการณ์ได้ ซึ่งวิทยากรก็สามารถเรียนรู้ไปกับกลุ่มได้ ถ้าจะเป็น นักฝึกอบรมมืออาชีพนอกจากจะเข้าใจแนวคิดข้างต้นแล้ว ยังต้องเข้าใจในวิธีการ ฝึกอบรม ซึ่งมีหลายรูปแบบ การกําหนดวิธีการต้องพิจารณากลุ่มเป้าหมายก่อน การที่จะกําหนดวิธีการ ซึ่งจะต้อง พิ จ ารณาวั ต ถุ ป ระสงค์ ว่ า จะให้ เ ขาเปลี่ ย นพฤติ ก รรมในเรื่ อ งอะไร นั ก ฝึ ก อบรมต้ อ งท่ อ งจํ า ไว้ เ สมอว่ า กระบวนการเรียนรู้ที่เกิดจากตัวของเขาเองมันจะจําฝังลึกไปตลอด พฤติกรรมจะเปลี่ยนแบบถาวร

กรณีที่ผู้เข้าอบรมเป็นกลุ่มใหญ่ก็สามารถประยุกต์วิธีการฝึกอบรม แบบ Directive Approach และNon – Directive Approach ได้ โดยทั่วไปมักใช้การระดมสมองโดยให้ทุกคนเขียน แล้วประมวลซึ่งทําให้ทุกคนมีส่วน ร่วม หรือ การใช้ Buzz Group โดยให้คนที่อยู่ใกล้ๆ กัน ประมาณ ๒ – ๓ คน หันหน้าพูดคุยกัน แล้วประมวลออกมา วิธีการแบบนี้ยังอนุโลมให้อูยู่ในแบบ Non – Directive Approach บทบาทของนักฝึกอบรมในการทําหน้าที่สื่อสารองค์ความรู้จากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่งโดยใช้เทคนิคการให้ผู้ ที่ประสบความสําเร็จมาเล่าเรื่องโดยวิทยากรเป็นผู้ซักถามทําหน้าที่แบบพิธีกร ซึ่งวิธีการแบบนี้สามารถใช้แทนการ ใช้กรณีศึกษาได้ดีเพราะเป็นของจริงแต่มีข้อจํากัดในเรื่องเวลา นักฝึกอบรมมืออาชีพต้องเก่งในเรื่องการวางแผนโดยพิจารณา ทําอะไร กับใคร ที่ไหน เมื่อใด อย่างไร(๔ W ๑ H) แล้วมาทําบทเรียนบทสอน (Lesson Plan) เมื่อมาใช้ในการฝึกอบรม เรามักใช้คําว่า แผนปฏิบัติการ (Action Plan) การจะทําแผนอบรมได้ดี นักฝึกอบรมต้องเก่งเรื่องการวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายการวิเคราะห์ต้องละเอียด เพื่อจะดึงศักยภาพ ของผู้เข้าอบรมซึ่งบางคนเก่งในเรื่องใดเรื่องหนึ่งออกมาใช้ และแก้ไขปัญหาของการตีรวน หรือป่วนวิทยากร เพราะว่าเก่งอยู่แล้ว การฝึกอบรมแบบ Non - Directive Approach หัวใจ คือ ผู้เข้าอบรมไม่ใช่ เทคนิค หากวิเคราะห์ กลุ่มเป้าหมายและสามารถดึงศักยภาพนั้น ๆมาใช้ได้ ก็จะทําให้การฝึกอบรมง่ายขึ้น และกลุ่มเป้าหมายก็จะรู้สึก ภาคภูมิใจที่ได้มีส่วนร่วม เรียนรู้ด้วยความสนุกสนาน สิ่งเหล่านี้คือเหตุผลว่า ผู้อบรมต้องมาก่อนเทคนิคมาทีหลัง นักฝึกอบรมต้องเก่งการเลือกใช้สื่อและต้องพึงระลึกอยู่เสมอว่า สื่อทําหน้าที่Transformer ที่จะนํา สารจากกลุ่มไปยังอีกกลุ่มหนึ่ง การเลือกสื่อต้องเหมาะกับสาระและกลุ่มเป้าหมายที่จะสื่อ สื่อที่ดีที่สุด “ภาพหนึ่ง ภาพแทนคําพูดได้พันคํา” “สิบปากว่าไม่เท่าตาเห็น สิบตาเห็นไม่เท่ามือคลํา สิบมือคลําไม่เท่าทําเอง” คําพูดเหล่านี้ คือ ทฤษฎีการใช้สื่อ สื่อเป็นอะไรที่สัมผัสได้ได้ด้วยสัมผัสทั้ง ๕ ซึ่งจะทําให้การเรียนรู้ครบเครื่องและ บรรลุวัตถุประสงค์ได้เรียนขึ้น ก่อนนี้มักใช้แผ่นใส ปัจจุบันเป็น Power Point แต่ไม่ได้พิจารณาว่าสื่อที่ใช้สามารถ สัมผัสด้วยสัมผัสทั้ง ๕ หรือไม่ ปัจจุบันมี IT มาก เดิมมีการตั้งประเด็นสื่อกับการพัฒนา ตอนนี้เราตั้งประเด็นสื่อกับ การฝึกอบรม เพราะสื่อมีอิทธิพลต่อการพัฒนาและการฝึกอบรม ดังนั้นการผลิตสื่อจึงเป็นหัวใจซึ่งนักฝึกอบรม “วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

7


ต้องเรียนรู้ทําความเข้าใจว่าสื่อแต่ละชนิดทําหน้าที่อะไรบางครั้งการเล่าประโยคสั้นๆ ก็ทําให้คนฉุกคิด

ขึ้นมาเปลี่ยนพฤติกรรมได้ด้วยคําถามเพียงประโยคเดียว นักฝึกอบรมมืออาชีพต้องฝึกการตั้งชุดคําถาม เช่น การพัฒนาคืออะไร สิ่งที่ท่านตอบมาคนอื่นจะรู้รู้

ได้อย่างไรว่าคือการพัฒนา ทําไมจึงดูตรงนั้น เทคนิคนี้เป็นเทคนิคการตั้งคําถามที่เป็นระบบ ช่วงหลังมานี้สถาบัน การพัฒนาชุมชนไม่ค่อยเน้นเทคนิคนี้เท่าไร การที่นําเทคนิคนี้มาใช้ใน Focus Group ซึ่งเดิมเป็นเทคนิคในงานวิจัย แต่ถูกนํามาประยุกต์ใช้ในงานฝึกอบรม และงานพัฒนา หลักๆ จะมีตัวคําถามและบทบาทของวิทยากรใน ๔ บทบาท ได้แก่ ตัวกระตุ้นหลัก (Idea Stimulator) ผู้จดบันทึก (Recorder) ผู้สังเกตการณ์ (Observer) และผู้ช่วย ทั่วไป (Supporter) ซึ่งอาจจะแบ่งหน้าที่หมุนเวียนกันไป หรือทําคนเดียวทั้ง ๔ บทบาทก็ได้ จะเห็นว่าวิทยากรบาง ประเทศหรือบางหน่วยงานทําหน้าที่ตั้งแต่รับส่ง ดูแล จัดเตรียมอุปกรณ์ ทําหน้าที่ทุกอย่างในการจัดการโครงการ (One Stop Service)

SMART TRAINER ¡Òèae» ¹ SMART Trainer ä´ ¹aé¹µ o§ÁÕÇÊi Âa ·aȹ o ҧ¹ o æ 3 Áiµi ¤ืo Áiµi·Õè 1 ¡ o¹¡Òý ¡oºÃÁ ต้องมีการสร้างหรือพัฒนาหลักสูตร หลักสูตรจะแบ่งเป็นก่อนประจําการ หรือหลักสูตรปฐมนิเทศ หลักสูตรระหว่างประจําการ หลักสูตรก่อนเลื่อนระดับซึ่งมีลักษณะการสร้างหรือพัฒนา หลั ก สู ต รต่ า งกั น และหลั ก สู ต รเฉพาะด้ า น การใช้ ห ลั ก สู ต รต้ อ งมี เ งื่ อ นไขด้ ว ยว่ า จะใช้ กั บ ใคร ปริ ม าณเท่ า ไร ระยะเวลาเท่าไร หลักสูตรที่ดีต้องไม่กําหนดตายตัวต้องยืดหยุ่น มักจะออกแบบไว้กว้าง ๆ และต้องมีการกําหนด กิจกรรมการเรียนรู้ซึ่งต้องลงรายละเอียดซึ่งมีทางเลือกได้หลายแนวทาง และต้องทําชุดฝึกอบรมไว้ซึ่งสามารถหยิบ ไปใช้ได้เลย ปัจจุบันไม่ค่อยมีชุดฝึกอบรม หลักสูตรที่ดีต้องผ่านการทดสอบมาแล้วเพื่อปรับปรุงแล้ว จึงไปใช้แล้ว ประเมินเพื่อกลับมาพัฒนาหลักสูตรใหม่ ซึ่งต้องทําทุกหลักสูตร

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

8


Áiµi·Õè 2

ÃaËÇ Ò§¡Òý ¡oºÃÁ คือ การนําหลักสูตรไปใช้ ในขั้นนี้ ฝ่ายพัฒนาหลักสูตรต้องลงไป

ประเมินว่าหลักสูตรนี้ใช้ได้จริงไหม ต้องปรับอะไรอีกบ้าง (ประเมินสัมฤทธิ์ผล)โครงการจะทําต่อเมื่อมีลูกค้ า แต่หลักสูตรต้องทําไว้ก่อน ¹a¡½ ¡oºÃÁÁืooÒªÕ¾µ o§ÊÒÁÒö Defend ËÅa¡ÊÙµÃä´ ถ้าโครงการมีงบประมาณไม่พอ ก็ต้องพิจารณาว่าจะสามารถตัดทอนตรงไหนที่จะไม่ทําให้วัตถุประสงค์ของหลักสูตรเสียไป การวัดประเมินผลต้อง แยกให้ชัดว่าประเมินหลักสูตรหรือประเมินโครงการ การประเมินหลักสูตรให้ไปดูที่วัตถุประสงค์ ว่าออกแบบไว้ อย่างไร ใช้ตามวัตถุประสงค์จริงหรือไม่ มีเงื่อนไขอะไร ถ้าไม่เป็นไปตามเงื่อนไขต้องหมายเหตุไว้ Áiµi·Õè 3 ËÅa§½ ¡oºÃÁ หลักสูตรไม่ได้จบวันปิดอบรม จะต้องประเมิน Outcome และ Impact ด้วย การติดตามไม่จําเป็นต้องออกไปติดตามด้วยตนเอง จะใช้วิธีการไหนก็ได้เพื่อให้มีข้อมูลกลับมา การติดตามควรให้ ผู้อื่นประเมินเพื่อไม่ให้เกิดความลําเอียง e¤Åç´Åaº ๑. การฝึกอบรมแบบไก่ไม่ขังกรง ๒. อะไรที่ทําไม่เป็น ก็หาคนมาจัดการ ๓. เรียนรู้และฝึกปฏิบัติบ่อยๆ Êi觷Õèµ o§µÃa˹a¡æÅa¾ึ§ÃaÇa§ ๑. ควรต้องศึกษาทฤษฎีการเรียนรู้ / จิตวิทยาการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่ชอบหรือไม่ชอบอะไร ๒. การเชิญวิทยากรควรต้องเลือกวิทยากรที่เข้าใจแนวคิดการฝึกอบรมแบบ Non – Directive Approach ๓. เทคนิคได้ด้วยการเรียนรู้ สะสมประสบการณ์ ต้องพัฒนา ฝึกปฏิบัติบ่อยๆ

¤ÃÙ¼ÊÙ o¹ ÈiÉ ¼eÙ ÃÕ¹ ¤ÇÒÁÃÙ· ¢Õè oãË ¤ÃÙÊo¹ Ça¹·Õ¤è ÃÙÊo¹ ÊÃu»¤ÇÒÁÃÙ· ¤Õè ÃÙÊo¹

: : : :

¤u³¤ÃÙ¾iÊa¹µiì »Ãa·Ò¹ªÇo¹ Ão§o¸iº´Õ¡ÃÁ¡Òþa²¹ÒªuÁª¹ ¹a¡ÇiªÒ¡Òþa²¹ÒªuÁª¹ /¹a¡·Ãa¾Âҡúu¤¤Å ʶҺa¹¡Òþa²¹ÒªuÁª¹ ¡ÒÃe» ¹¹a¡½ ¡oºÃÁÁืooÒªÕ¾ Ça¹·Õè 7 ¡Ã¡®Ò¤Á 2557 : ¹Ò§ÊÒÇ» ·ÁÒ Ê¹¸i·Ãa¾Â ¹a¡ÇiªÒ¡Òþa²¹ÒªuÁª¹ªíÒ¹Ò­¡Òà ¡Åu Á§Ò¹¨a´¡ÒäÇÒÁÃ٠ʶҺa¹¡Òþa²¹ÒªuÁª¹

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

9


Âo´´oÂeÊÕ´¿ Ò...ÁÒµÒÁ½ ¹ (µo¹·Õè 2) e´ç¡´o ÁÊ 76

...เสียงไกขันดังแววมาจากทุกทิศทาง เหมือนจะแขงขันประชันเสียง ทองฟาเบื้องนอกมืดสนิท มีเพียง ดาวบางดวงที่ยังเกี่ยวทองฟาอยูลิบๆ ทอแสงวับแวมอยูแสนไกลเกินจะจินตนาการ ... หยิบโทรศัพทมือถือ มา กดดูเวลาที่หนาจอ มันบอกเวลา 04.48 คงอีกสักพักกวาแสงแรกแหงวันจะโผลพนทิวเขา...อากาศเย็นยะยือก หนาวเหน็บแมจะเปนเพียงเดือนพฤษภาคมเทานั้น หากแตความสูงกวาระดับน้ําทะเลราว 1,980 เมตรนี่ก็พาให ความหนาวเย็นปกคลุมดอยแหงนี้อยูตลอดทั้งป..ดอยปุยแหงบานหวยฮี้..หมูบานทองเที่ยวเชิงนิเวศนและ รางวัลหมูบานโฮมสเตยดีเดนระดับภาคที่เราฟนฝากันมาดวยความยากลําบากจนกวาจะมีวันนี้..กอนอรุณรุง จะมาเยือน ฉันหยิบไฟฉายพรอมผาหมคลุมกายเดินลงจากเรือนอยางเงียบๆ ออกไปตามแสงไฟที่กอลุกโชนอยู ไมไกลนัก ...หัวหนามากินขาวครับ...พอหลวงมาบือ เรียกใหมากินขาวเชาหลังจากที่ฉนั เดินออกไปเยี่ยมเยือนพี่ นองในหมูบา นดวยความคุน เคยอยางเชนที่เคยมาเสมอ ..ครับพอ...ฉันตอบรับ ...น้ําพริกหมดไปตั้งแตเมื่อวานแลวนะ..พอมาบือบอกเมื่อเรามาลอมวงกันครบแลว ..งั้นรอไมเกินสามนาที..ฉันวา กอนจะหันไปหยิบกะทะ มาวางบนเตาสามขา ที่ตั้งอยูเหนือกองไฟ แมแกก็เหมือนจะรูใจ ลุกไปหยิบพริกขี้หนูสดกําใหญมาเด็ดขั้วโยนลงในกะทะ ฉันแกะเปลือกหอมแดงสี่หาหัว โยนลงไปดวย คั่วอยูครูเดียวกลิ่นหอมโชยมาแตะจมูก คะเนวาสุกพอไดที่ ก็เทใสครกไม ตําพอแหลกใสเกลือ ปน น้ําปลา น้ําตาลทรายนิดหนอย บีบมะนาวครึ่งซีกลงไป..เทานี้ ..น้ําพริกขี้กา..ก็วางอยูกลางสํารับพรอม ผักกาดดอยสดๆ เปนอาหารโอชะที่เราไมเคยขาด..ขาวดอยหอมกรุน เต็มจานจากหยาดเหงื่อแรงงานที่ทุมเท กันมาทั้งฤดู บัดนี้

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

10


เปนอาหารที่เปยมคาจากน้ําใจอันงดงามที่ชุบชีวิตฉันมานักตอนัก กับผักสดจากไร เพียงเทานี้วิญญาณอันหลอ เลี้ยงจิตใจก็เบิกบานเสียเหลือเกิน น้ําเย็นจากจอกไมไผลวงผานลําคอเปนลําดับสุดทายกอนจะบอกลาพอผู อารี เดินไปหาพะติโยธิน ตะโกนเรียกชิกับไมตรีที่เตรียมพรอมอยูแลวมาขึ้นรถ กอนอาทิตยจะฉายแสงจา..เสียง เครื่องยนตกระหึ่ม พาเราสี่ชีวิตคืบคลานลงมาอยางชาๆ ตามเสนทางวิบากแมคุนเคยแตก็ยังคงไมอาจประมาท แมสักวินาที.. ...จากเสนทางหวยฮี้ ลงมาจนถึงปากทางบานแมสะกึด เพื่อออกสูทางหลวงสาย 1095 มุงสูอําเภอ ขุนยวมระยะทาง 28 กิโลเมตร แตใชเวลากวาสองชั่วโมง แตถาหากเปนฤดูฝนเราคงคอยๆ คืบคลานลงมาและ ใชเวลาอีกนาน...แวะทักทายลุงซองที่รานตัดผมปากทาง กอนจะมุงหนาไปตามทางหลวง จนถึงอําเภอขุนยวม เลี้ยวซายไปตามทางมุงสูอําเภอแมแจมเพื่อตัดขึ้นไปบานขุนกลาง ที่ตั้งโครงการหลวงดอยอินทนนท อันเปน จุดหมายปลายทางของเรา ... ...ตกลงวาคืนนี้ เราจะคางทีด่ อยอินทนนทกันนะ..ฉันบอก ...มันจะหนาวเหมือนบนดอยบานเรามัย้ พี.่ ..ชิ เอยขึน้ มาบาง ...เดี๋ยวก็รู ชิเอาเสื้อกันหนาวมากี่ตัวละ..ฉันถามยิ้มๆ ขณะขับรถไปพลาง ...เราจะกลัวหนาวทําไม บานเราหนาวทั้งปอยูแลว..พี่โยธินบอกมาอีกคน ....ใชเวลากวา 6 ชั่วโมง ลัดเลาะเสนทางอยางไมรีบรอน ปายบอกทางที่ตั้งอุทยานแหงชาติ ดอยอินทนนทอยูทางขวามือนี่เองเราแวะเขาไปถามคาใชจายสําหรับการใชพนื้ ทีก่ างเตนทและพักคางคืนนี้ จายคาบัตรผานและสอบถามขอมูลพอไดความครบถวนแลว จุดหมายหลัก อยูหา งจากจุดนี้ไปราว 2 กิโลเมตร พรอมแลว ออกเดินทางกันเลย

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

11


....เสียงน้ําตกสาดซามาแตไกล แมขณะนี้จะยังมองไมเห็นจุดหมาย บานขุนกลาง

เมื่อรถเคลื่อนเขามาใกล

เราจึงเห็นน้ําตกแมยะสูงลิบสาดสายน้ําอยูไกลออกไป มองเห็นละอองโปรยปรายอยูลิบๆ

จุดหมายของเราไมใชน้ําตกหรอกครับ หากแตคือโรงผลิตไฟฟาพลังน้ําบานขุนกลาง ที่ใชน้ํา จากน้ําตกเปน พลังงานในการปนกระแสไฟฟา..ฉันเองเคยมาศึกษาดูงานกับหลักสูตร ของกระทรวงตางประเทศกับเพื่อนรวม รุนชาวตางชาติ อีก 16 ประเทศ รวม 36 คน ที่นี่และยังคงติดตากับภาพของความสําเร็จของการพัฒนาพลังงาน ทดแทนที่นี่ ที่สามารถนําพลังน้ํามาปนกระแสไฟฟาใชในชุมชนและเกิดผลพลอยไดดานการสรางอาชีพใหแก ชุมชนอีกทางหนึ่ง นั่นคือเปาหมายที่เราพากันดั้นดนเดินทางมาในวันนี้.. ฉันเลี้ยวรถเขามาจอดที่ลานจอดรถ..หางจากโรงผลิตไฟฟา เพียงเดินไมเกินยี่สิบกาว เราลงจากรถเดิน ตรงไปที่โรงไฟฟา...มีเพียงเสียงสายน้ําซาๆ ดังอยูไมขาด ไมมีเสียงเครื่องจักรใหไดยินเลย ..เขาปนไฟยังไงครับพี่ ไมไดยินเสียงเลย...ไมตรีเอยปากถาม แกคงเก็บความสงสัยไวไมไหว ..เดี๋ยวเราไปดูของจริงกัน...ฉันตอบ

โปรดติดตามตอนจบ...ฉบับหนา>>>ครับ

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

12


241. Good ideas have no limit. ความคิดดี ๆ มีไม่จํากัด คนทุกคนมีความคิดดี ๆ กันทั้งนัน้ ถ้าหากเราให้โอกาสคนทุกคนได้เสนอความคิด ความเห็นในการประชุมหรือสัมมนาทุกครัง้ เราอาจได้ความคิดดี ๆ ซึ่งเป็นความคิดใหม่ ที่สามารถนํามาใช้ ในการพัฒนาคน พัฒนางานได้อย่างมากมาย หากพิจารณาให้ดี องค์กร ชุมชน และสังคมที่มีความเจริญก้าวหน้า ผู้นาํ มักให้ความสําคัญ กับคนทุกคนในองค์กร ชุมชน และสังคมอย่างเท่าเทียมกัน มองเห็นคุณค่าของคนอย่างเสมอภาคกัน เปิดโอกาสให้ทุกคนได้แสดงความคิดความเห็นต่าง ๆ โดยไม่มีการปิดกั้น ยิ่งความคิดความเห็นที่กลัน่ ออกมา จากใจของของทุกคนด้วยแล้วถือเป็นสิ่งที่มีคา่ อย่างยิ่ง ความคิดดีๆ มีไม่จํากัด เพราะมีอยู่ในตัวคนทุกคนอยู่แล้ว ถ้าผู้นาํ สามารถ กระตุ้น ส่งเสริม สนับสนุน และเปิดโอกาสอย่างจริงจังและจริงใจ คนที่อยู่ในองค์กร ชุมชน และสังคม ก็จะกล้าคิด กล้าแสดงความคิดความเห็นอย่างจริงจังและจริงใจเช่นกัน 242. Try to turn a negative thought into a positive thinking. พยายามเปลี่ยนความคิดลบให้เป็นความคิดบวก คนจํานวนมากมักคิดลบมากกว่าคิดบวก ทําให้การพัฒนาเป็นไปอย่างล่าช้า ไม่ต่อเนื่อง เนื่องจากมีความคิดในทางลบกับผูน้ ําคนอืน่ ๆ ทั้งในปัจจุบันและก่อนหน้านี้ เราต้องพยายามเปลี่ยนความคิดลบให้เป็นความคิดบวกให้ได้ เพื่อจะได้สามารถพัฒนาคน พัฒนางาน และขับเคลื่อนงานได้อย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง ไม่ต้องมาเสียเวลาเริ่มต้นใหม่ สิ่งใดทีผ่ นู้ ําคนก่อนทําดีอยู่ แล้วต้องสานต่อให้สําเร็จ สิ่งใดที่ยังไม่ได้คิดยังไม่ได้ทําถ้าหากพิจารณาแล้วเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมและ ประชาชนส่วนใหญ่ ต้องคิดและทําทันที หากทุกคนเปลี่ยนความคิดลบให้เป็นความคิดบวก จะเกิดพลังอย่างมากมายมหาศาล สามารถพัฒนาคน พัฒนางาน และขับเคลื่อนงานต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อย่างคาดไม่ถึงเลยทีเดียว ................................................................................................................ ขอขอบคุณ Mr.Kim Robertson และ Mrs.Mary Robertson,Missionaries ชาวนิวซีแลนด์ ประจําจังหวัดสุพรรณบุรี ทีใ่ ห้ข้อคิดและคําแนะนําที่เป็นประโยชน์ในการเขียนบทความครั้งนี้เป็นอย่างดียิ่ง (อ่านต่อฉบับหน้า) “วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

13


“โทษประหารชีวิต” ควรยกเลิกหรือไม่ การก่ออาชญากรรมร้ายแรงที่สุดตามประมวลกฎหมายอาญาคงไม่พ้น การทําให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย โดยเจตนา ที่มีโทษสูงสุดถึง “ประหารชีวิต”ซึ่งฟังแล้วรู้สึกถึงความน่ากลัว เพราะโทษนี้มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ ที่นานาประเทศต่างใช้วิธีที่คล้ายๆกัน ได้แก่ ตัดหัว (อยากรู้ว่าเป็นแบบไหน ลอง serch google ดู) แขวนคอ ปาหิน (ใช้หินปาจนตาย)หรือใช้วิธีที่ทรมานต่างๆนาๆ ที่เห็นแล้วชวนสยอง จนถึงปัจจุบัน การตัดหัวไม่มีแล้วแต่ การ แขวนคอ และ การปาหิน ยังมีในบางประเทศแถบตะวันออกกลาง สําหรับประเทศที่ยังมีโทษประหารใช้อยู่ ก็ยกเลิกการประหารแบบเก่า คือการ ยิงเป้า นั่งเก้าอี้ไฟฟ้า มาเป็นใช้วิธีการ ฉีดยาหรือสารพิษให้ตาย และ ถึงแม้กฎหมายอาญาจะมีโทษร้ายแรงใช้บังคับอยู่ก็ตาม การก่ออาชญากรรมร้ายแรงกรณีเจตนาที่จะฆ่าผู้อื่นให้ตาย ก็ยังมีให้เห็นกันอยู่แทบทุกวัน ในหลายประเทศ และก็ เกิดขึ้ นมากมายในประเทศไทยแทบทุกวัน ทั้งเรื่องก่อเหตุส ร้างสถานการณ์ ความไม่สงบทางภาคใต้ (ขณะทําบทความนี้เพิ่งได้ยินการก่อเหตุยิงพยาบาลฝึกงานเสียชีวิต 2 ราย) วัยรุ่นยิงคู่อริ หรื อ ไม่ ใ ช่ อ ริ ( ไม่ ช อบหน้ า )ทํ า ร้ า ยกั น จนเสี ย ชี วิ ต นั ก เรี ย นตี กั น หรื อ ดั ก ทํ า ร้ า ยกั น จนเสี ย ชี วิ ต และขณะนี้ “ข่มขืนแล้วฆ่า” หรือ “ฆ่าข่มขืน” กําลังมาแรง รวมถึงยังมีกรณีอื่นๆ อีกมากมาย เรียกว่า สาธยายไม่หมด ทั้งที่รู้ว่าการกระทําความผิดในลักษณะที่กระทําให้ผู้อื่นถึงแก่ความตายจะมีโทษหนั กจนถึงขั้นสูงสุด ประหารชีวิตก็ตาม ก็ไม่ทําให้การกระทําเหล่านี้ลดน้อยลง และรู้สึกว่าจะเพิ่มมากขึ้นทุกวัน จนมีหลายประเทศได้ ยกเลิกโทษประหารชีวิต เพราะเห็นว่าไม่ใช่ทางแก้ที่ถูกต้อง แต่ความจริงจะเป็นอย่างไรไม่ทราบ เพราะไม่มีข้อมูล ว่า ประเทศที่ยกเลิกโทษประหาร มีเหตุผลเพราะเห็นว่าไม่ใช่ทางแก้ที่ถูก หรือเพราะว่าประเทศเหล่านั้นไม่มีปัญหา อาชญากรรมประเภทที่กล่าวไว้ข้างต้น อย่ า งที่ บ อกไว้ แ ต่ ต้ น ว่ า ถึ ง แม้ โ ทษประหารชี วิ ต ยั ง มี ใ ช้ กั น อยู่ ห ลายประเทศ มี ก ว่ า 140 ประเทศ หรือ 3 ใน 4 ของประเทศทั่วโลก ได้มีการยกเลิกโทษประหารชีวิตทั้งทางกฎหมายและทางปฏิบัติแล้ว เหลืออีก เพียง 58 ประเทศ ซึ่งหนึ่งในนั้นมีประเทศไทยรวมอยู่ด้วยที่ยังคงใช้โทษประหารชีวิตอยู่ โทษประหารชีวิตใน ประเทศไทย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 18 มีอายุความ 20 ปี ห้ามไม่ให้ใช้บังคับกับเยาวชนที่มีอายุ ต่ํากว่า 18 ปี รวมถึงโทษจําคุกตลอดชีวิตด้วย และห้ามใช้การลงโทษประหารชีวิตกับหญิงมีครรภ์อีกด้วย และ ขณะนี้ องค์กรภาครัฐ คือ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม ได้มีการรณรงค์ขอความเห็นชอบ เพื่อยกเลิกโทษประหารชีวิตในประเทศไทย โดยใช้แนวความคิดว่า

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

14


-การประหารชีวิตถือว่าขัดหลักสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานในการมีชีวิตอยู่ -นักโทษประหารชีวิตส่วนใหญ่เป็นคนจน คนด้อยโอกาส ไม่มีเงินจ่ายค่าทนายความที่มฝี ีมือในการแก้ต่างคดี -กระบวนการยุติธรรมทางอาญา มีความเสีย่ งที่จะเกิดการเลือกปฏิบัติและตัดสินคดีผิดพลาด ในการที่จะจับผิดตัว (แพะ)หรือตัดสินผิดพลาดซึ่งหากประหารชีวิตไปแล้ว ผู้นนั้ หรือแพะจะไม่มีโอกาสได้อยู่ในโลกนี้ต่อไป -การประหารชีวิตไม่ได้เป็นแนวทางที่จะยับยั้งอาชญากรรมที่เกิดขึ้นได้จริงในสังคม หรือทําให้คนเกรงกลัวโทษ แต่จะยิ่งเกิดความร้ายแรงมากขึ้นเพื่อปกปิดความผิดตนเอง ดังนั้ น ทางเลือ กน่ าจะเป็ น การ “แก้ ไข” มากกว่ า “แก้ แ ค้ น ” เนื่ อ งจากในประเทศไทยเคยเกิด การ “จับแพะ”ในคดี เชอรี่แอน ที่เกิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2529 ทําให้เกิดตํานาน จับแพะ จํานวน 6 คน และถูกศาล ชั้นต้นตัดสินประหารชีวิต แต่เมื่อถึงศาลอุทธรณ์และศาลฎีกา ได้รับการตัดสินว่าทุกคนเป็นผู้บริสุทธิ์ ซึ่งหากแพะ ดังกล่าวถูกประหารชีวิตไปแล้ วจะทําอย่างไร แพะในคดีนี้ ถูกจําคุกระหว่างการพิจารณาคดี จนศาลฎีกามีคํา พิพากษาว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ เป็นระยะเวลา 6 ปี 2 เดือน บางรายตายในคุกบางรายพิการ และคดีนี้สํานักงานตํารวจ แห่งชาติ ได้มีการชดใช้ให้แ ก่ผู้เสียหายเป็นเงินรวมทั้งหมดกว่า 38 ล้านบาท และเป็นจุดกําเนิดให้มีการตรา กฎหมาย พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จําเลยในคดีอาญา พ.ศ.2544 (เอ้าเฮ..ใครอยากได้เงินใช้บ้าง) สําหรับคดีนี้ไม่มีการข่มขืน ผู้ต้องหาตัวจริงถูกลงโทษจําคุกตลอดชีวิต (แต่ไม่มี ข้อมูลว่าพ้นโทษหรือยัง) สําหรับคดีที่กําลังโด่งดังมากในขณะนี้เนื่องจากเป็นคดีสะเทือนขวัญ พฤติกรรมของผู้กระทําก็ดูเหี้ยมโหด คือคดีข่มขืน น้องแก้ม ด.ญ.วัย 13 ปี บนขบวนรถไฟ (ตู้นอน) สายใต้ โดยผู้กระทําสารภาพว่าได้ข่มขืนและโยน ร่างของเหยื่อลงจากขบวนรถไฟทางหน้าต่างในสภาพเปลือยขณะรถไฟกําลังวิ่ง (รายละเอียดอื่นๆ ทุกท่านคง ติดตามข่าวเหมือนกัน) จากการติดตามข่าวทาง internet มีการเรียกร้องให้ประหารชีวิตผู้กระทําความผิดเป็น จํานวนมาก เรื่องนี้คงต้องติดตามดูกัน เนื่องจากการเกิดเหตุอยู่ในช่วงที่ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวง ยุติธรรม กําลังรณรงค์ให้ยกเลิกโทษประหารชีวิตในประเทศไทยด้วย ผลจะออกมาเป็นอย่างไรยังไม่มีใครรู้ เมื่อพลิกดูข้อกฎหมายในกรณีข่มขืนนั้น พบว่ากฎหมายอาญามีการระบุบทลงโทษคดีข่มขืนว่ามีอัตราโทษ สูงสุดถึงประหารชีวิต โดยเฉพาะคดีข่มขืนและฆ่า (ม.277 ทวิ) อย่างไรก็ตามการพิจารณาคดีขึ้นอยู่กับดุลยพินิจ ของศาล

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

15


สําหรับประเทศไทย มีคดีล่าสุดที่ตัดสินประหารชีวิตในคดีข่มขืน 2 คดี คือ คดีข่มขืนและฆ่าน้องอ้อม สุพรรษา นักเรียนโรงเรียนอนุบาล เมื่อปี พ.ศ. 2539 โดยนายพันธุ์ สายทอง ซึ่งเจ้าหน้าที่ตํารวจได้ออกตามล่าจน สามารถจับกุมผู้ต้องหาได้ ในชั้นศาลผู้ต้องหาปฏิเสธทุกข้อกล่าวหา จนกระทั่งพยานแวดล้อม หลักฐานคราบอสุจิ และเลือดที่เปื้อนเสื้อ เป็นหลักฐานมัดตัวจนเปิดปากรับสารภาพในที่สุด คดีนี้ มีความน่าสนใจตรงที่ ศาลใช้เวลาใน การสอบพยานเพียงวันเดียวและมีความเห็นสั่งฟ้องในวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ.2539 และนัดตัดสินพิพากษาในวันรุ่งขึ้น โดยศาลได้ตัดสินประหารชีวิต แม้จะมีการทูลเกล้าถวายฎีกา แต่กระทรวงมหาดไทยเห็นว่านายพันธุ์เคยทําความผิด มาแล้วหลายครั้งและคดีดังกล่าวเป็นคดีอุกฉกรรจ์ โหดเหี้ยม จึงเสนอ ยกฎีกาและประหารชีวิตในวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ.2542 ด้วยการยิงเป้า ส่วนอีกคดีข่มขืนที่ผู้ต้องหาได้รับโทษประหารชีวิต คือคดีข่มขืนและฆ่า น้องนุ่น สุกัญญา วัย 4 เมื่อปี 2542 ซึ่งจากการสอบสวนพบว่าพ่อเลี้ยงเป็นคนลงมือก่อเหตุ

ขวบ

เมื่อไปดูในต่างประเทศโดยอ้างอิงจากรายงานของแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล หรือ องค์การนิรโทษกรรมสากล ระบุถึงโทษประหารชีวิตโดยรวม (ทุกคดีอาชญากรรมไม่ได้นับเฉพาะคดีข่มขืน) ในปี 2555 มีการรื้อฟื้นการประหารชีวิต ในแกมเบีย อินเดีย อินโดนีเซีย คูเวต ไนจีเรีย ปากีสถาน และล่าสุดในเวียดนาม ขณะที่เมื่อปีที่แล้ว 2556 ศาลอาญา อินเดีย ได้ตัดสินประหารชีวิตแขวนคอ 4 ผู้ต้องหาคดีข่มขืนนักศึกษาหญิงในกรุงนิวเดลี โดยผู้พิพากษาระบุว่า เป็นคดี สะเทือนขวัญ ที่แทบไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน พร้อมปฏิเสธการยื่นขอลดโทษ โดยกล่าวว่านักศึกษาหญิงถูกทรมานอย่าง รุนแรง อย่างไรก็ตามคดีดังกล่าว ผู้ต้องหายังสามารถอุทธรณ์กันต่อไปกระนั้นคดีดังกล่าวนํามาสู่การแก้ไขกฎหมาย ที่ จะลงโทษผู้กระทําผิดที่แสดงพฤติกรรมสอดแนม ถ้ํามอง และการก่ออาชญากรรมทางเพศ รวมถึงโทษประหารชีวิต สําหรับผู้ที่กระทําผิดในคดีดังกล่าวซ้ําสอง หรือคดีการข่มขืนที่เหยื่อเสียชีวิต แม้หลายประเทศจะยกเลิกการลงโทษตัดสินคดีประหารชีวิตไปไม่น้อย แต่ก็ยังมีบางประเทศที่ไม่ได้ยกเลิก เช่น สหรัฐอเมริกา ยังคงมีการตัดสินโทษประหารชีวิตสําหรับความผิดคดีข่มขืน อาทิ ศาลสูงรัฐฟลอริด้า เพิ่งลงมติตัดสินให้ ประหารชีวิตนักโทษคดีข่มขืนไปเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2557 ที่ผ่านมา โดยผู้ต้องหา คือนายเอ็ดดี้ เวยน์ เดวิส ได้ กระทําการข่มขืนและฆ่าเด็กหญิงวัย 11 ปี ตั้งแต่ปี 2537 และถูกจับกุมคุมขังในเรือนจํามาตั้งแต่นั้น กระทั่งเพิ่งมีการ ตัดสินลงโทษไม่นานมานี้ หรือกรณีเมื่อต้นปี 2557 สหรัฐอเมริกาก็ใช้วิธีการฉีดยาเพื่อประหารชีวิตนักโทษคดีข่มขืน เช่นกันที่รัฐโอไฮโอ ขณะที่เกาหลีใต้เลือกใช้วิธีลงโทษผู้ต้องหาคดีข่มขืนร้ายแรงด้วยวิธีการฉีดยาที่มีฤทธิ์ทําให้อัณฑะฝ่อต่อนักโทษ คดีข่มขืนเป็นวิธีการที่ผ่านร่างกฎหมายเกาหลีใต้ตั้งแต่ปี 2553 แล้ว อาทิ การฉีดยาดังกล่าวกับนายปาร์ค นักโทษข่มขืน ต่อเนื่อง วัย 45 ปี เป็นรายแรก หลังจากที่เขาถูกตัดสินว่าข่มขืนเหยื่อ 4 ราย และพยายามข่มขืนเด็กอายุต่ํากว่า 13 ปี

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

16


ขณะที่องค์กรนิรโทษกรรมสากล ออกรายงานระบุว่า งานวิจัยมากมายจากนานาประเทศได้แสดงให้เห็นอย่าง ชัดเจนว่าโทษประหารชีวิตไม่มีความเชื่อมโยงใดๆ กับการเพิ่มขึ้น หรือลดลงของอาชญากรรม โดยประเทศต่าง ๆ ที่ยังคง ประหารชีวิตอยู่ก็เป็นเพียงแค่ประเทศส่วนน้อย เพราะ 140 ประเทศทั่วโลกได้ยกเลิกโทษประหารชีวิตไปแล้ว ทั้งในทาง กฎหมายหรือในทางปฏิบัติ เนื่องจากไม่มีหลักฐานที่น่าเชื่อถือว่าการรื้อฟื้นการประหารชีวิตจะสามารถควบคุมหรือลด การเกิดอาชญากรรมลงได้ โทษ "ประหารชีวิต" ควรจะมีหรือไม่ เป็นประเด็นโลกแตกที่ถกเถียงกันมานาน ขณะนี้ประเทศต่าง ๆ ในโลกใบ นี้มีทั้งที่ยกเลิกการประหารชีวิตไปแล้ว และยังมีประเทศที่ยังคงโทษประหารชีวิตเอาไว้อยู่ บางแห่งก็ยังทําการประหาร ชีวิตนักโทษ โดยการแขวนคอ หรือยิงเป้า หรือยิงข้างกําแพงในที่สาธารณะท่ามกลางการมุงดูของผู้คน เพื่อให้เป็นที่เกรง กลัวต่อการกระทําความผิด สําหรับในประเทศไทยจะเป็นอย่างไรต่อไป โทษประหารชีวิตยังคงต้องมีไว้หรือไม่...ช่วยกัน ออกเสียงหน่อย ขอบคุณข้อมูลดีๆ จาก Google… พบกันใหม่ฉบับหน้า สวัสดี...

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

17


การปฏิบัติราชการแทน สวัสดีครับทานผูอานที่เคารพทุกทาน ฉบับกอนไดพูดถึงความแตกตางของการใชคําวา “รักษา ราชการแทน” กั บ “รั ก ษาการในตํ า แหน ง ” กั น ไปแล ว ก็ไ ด มีบ างท า นขอให เ ขี ย นเกี่ ย วกั บ เรื่ อ งการ “ปฏิบัติราชการแทน” ดวย จะไดเรียนรูกันครบวงจรกันไปเลย ก็ขอคนความาตอบสนองกุศลเจตนาของ ทานดวยความยินดีครับ การ “ปฏิบัติราชการแทน” นั้น โดยปกติเปนคําที่ใชในเรื่องของการมอบอํานาจ เพื่อกระจาย อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบจากผูบริหารใหกับผูบริหารระดับรองๆ ลงมาหรือใหกับผูมีหนาที่ปฏิบัติ ในงานนั้นๆ โดยตรง ทั้งนี้ก็เพื่อทําใหการปฏิบัติราชการและการใหบริการแกประชาชนเปนไปดวยความ สะดวกรวดเร็ว ยืดหยุนคลองตัว ไมตองเสียเวลารอคอยใหผูมีอํานาจลงนามในการอนุญาต/อนุมัติ/สั่งการ หรือการดําเนินการอื่นใดตามที่กฎหมายบัญญัติไวแตเพียงคนเดียว จึงเทากับเปนการลดระยะเวลาและ ขั้นตอนการทํางานไดเปนอยางดี สะดวกทั้งผูปฏิบัติงานและผูรับบริการ ตัวผูบริหารเองก็จะไดมีเวลาไป คิดอานวางแผนและบริหารจัดการนโยบาย/ยุทธศาสตร/กลยุทธการขับเคลื่อนงานในภาพกวางในเรื่อง ใหญๆ และสําคัญๆ ไดอยางเต็มที่ ในสวนของผูปฏิบัติงานก็สามารถทํางานไดเบ็ดเสร็จทันใจประชาชนหรือ ผูรับบริการที่จะไมตองเสียเวลารอนานจนเกินไปเปน 3 วัน 7 วัน หรือเปนอาทิตย เปนเดือนครึ่งเดือน เหมือนสมัยกอน ดังเราจะเห็นไดชัดเจนในกรณีการปรับปรุงระบบการใหบริการตอทะเบียนรถของกรมการ ขนสงทางบกที่ดําเนินการใหบริการอยางสะดวกรวดเร็วทันใจปวงประชาอยูในปจจุบัน และอีกหลายๆ หนวยงานไดมีการจับมือรวมกันใหบริการในลักษณะศูนยบริการรวม (One Stop Service) ก็มีจํานวนมาก และหลากหลาย เปนตน ในยุคแรกๆ ของการปฏิรูประบบราชการชวงสิบป เศษที่ผ านมา สํา นักงานคณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการ (สํานักงาน ก.พ.ร.) จะมุงเนนเปนลําดับตนๆ ในการผลักดันใหทุกสวนราชการให ความสํ า คั ญ ดํ า เนิ น การในเรื่ อ งของการมอบอํ า นาจอย า งมาก โดยกํ า หนดเป น ตั ว ชี้ วั ด ประสิ ท ธิ ภ าพ ประสิทธิผลการทํางานของสวนราชการตางๆ อยางชัดเจน จนทําใหทุกสวนราชการตางหันมาทบทวนเพื่อ ปรับระบบการทํางานโดยเฉพาะในสวนที่เกี่ยวของกับการใหบริการประชาชนใหมีการมอบอํานาจและ “วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

18


พัฒนาปรับปรุงกระบวนการขั้นตอนการทํางานตางๆ ใหสั้น กะทัดรัด มีกําหนดเวลาและขั้นตอนการทํางาน ที่เปนมาตรฐานชัดเจน เปดเผย และโปรงใส ประกาศใหสาธารณชนรับรูรับทราบโดยทั่วกันทุกขั้นตอน เพื่อ เปนหลักประกันคุณภาพในการใหบริการแกประชาชน ที่กลาวมาขางตนนี้เปนผลกระทบที่เกิดขึ้นในวงกวางซึ่งมีผลเปนที่นาพอใจของประชาชนอยาง เห็นไดชัด แตเพื่อไมใหประเด็นขยายวงกวางเกินไปกวาเจตนาที่ตองการสื่อสาร ผูเขียนจึงขอตัดประเด็นมาพูด ถึงการใชคําวา “ปฏิบัติราชการแทน” วามีความแตกตางกันอยางไรกับการ “รักษาราชการแทน” และ “รักษาการในตําแหนง” และการปฏิบัติราชการแทนมีการบัญญัติใชกันอยางไรพอสังเขป เปนหลักนะครับ การ “รักษาราชการแทน” และ “รักษาการในตําแหนง” ใชในกรณีที่ไมมีผูดํารงตําแหนง หรือผูดํารงตําแหนงไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได จึงแตงตั้งผูปฏิบัติหนาที่แทน โดยผูที่ไดรับแตงตั้งใหรักษา ราชการแทนหรือรักษาการในตําแหนงนั้นๆ จะมีอํานาจเต็มหรือเทียบเทากับผูที่ตนมาปฏิบัติหนาที่แทน 100 เปอรเซ็นต (เชน อธิบดีมีอํานาจอนุมัติการจัดซื้อจัดจางในวงเงินเทาใด รองอธิบดีหรือผูที่ไดรับแตงตั้ง ใหรักษาราชการแทนอธิบดี ก็มีอํานาจอนุมัติการจัดซื้อจัดจางในวงเงินเทากับที่อธิบดีมีอํานาจทุกประการ เปนตน) สวนการ “ปฏิบัติราชการแทน” ใชในกรณีที่ผูดํารงตําแหนงใดตําแหนงหนึ่งมอบอํานาจให ผูอื่นปฏิบัติหนาที่แทน โดยที่ผูนั้น (ผูมอบอํานาจ) ยังคงดํารงตําแหนงและยังปฏิบัติหนาที่อยู และผูที่ ไดรับมอบอํานาจนั้นจะปฏิบัติหนาที่แทนไดเฉพาะเรื่อง (และตามสวนของอํานาจ) ที่ไดรับมอบอํานาจ ใหเทานั้น ทั้งนี้ผูมอบอํานาจยังคงมีอํานาจที่มอบใหไปนั้นอยูเชนเดิม มิไดสูญเสียอํานาจที่มอบใหไปแต ประการใดทั้งสิ้น (เชน อธิบดีมอบอํานาจใหรองอธิบดีมีอํานาจอนุมัติการจัดซื้อจัดจางในวงเงินไมเกิน 5 ลานบาท มอบ อํานาจใหผูอํานวยการสํานัก/กอง มีอํานาจอนุมัติในวงเงินไมเกิน 4 แสนบาท รองอธิบดีและผูอํานวยการ สํานัก/กองนั้นๆ ก็จะใชอํานาจในการอนุมัติการจัดซื้อจัดจางไดในวงเงินอันจํากัดตามสวนแหงอํานาจที่ ไดรับมอบมาเทานั้น จะอนุมัติเกินกวาวงเงินที่ไดรับมอบอํานาจมานั้นไมได เปนตน) การรักษาราชการแทน มีบัญญัติไวในมาตรา 41, 42, 43, 44, 45, 46, 47, 48, 49, 50, 56 และ 64 แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 การรักษาการในตําแหนง มีบัญญัติไวในมาตรา 68 แหงพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพล เรือน พ.ศ. 2551

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

19


สวนการปฏิบัติราชการแทน บัญญัติไวในมาตรา 38, 39 และ 40 แหงพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 โดยมีรายละเอียดหลักเกณฑ ในการปฏิบัติตามมาตราดังกลาวบัญญัติไวในพระราชกฤษฎีกาวาดวยการมอบอํานาจ พ.ศ. 2550 ก็คงพอเขาใจถึงความแตกตางของคํา ทั้งสามนี้กันนะครับ ทีนี้เรามาดูกันในเรื่องของการ ปฏิบัติราชการแทนใหลงลึกกันอีกสักเล็กนอยตามที่กฎหมายไดบัญญัติไวตามมาตรา 38, 39 และ 40 แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 และใน พระราชกฤษฎีกาวาดวยการมอบอํานาจ พ.ศ. 2550 เพื่อประโยชนในการสรางความเขาใจและนําไปปรับใช ตอไป ในมาตรา 38 แหงพระราชบั ญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 แก ไขเพิ่ มเติ ม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 บัญญัติไวอยางชัดเจนมากวา “อํานาจในการสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติ ราชการหรือการดําเนินการอื่นที่ผู ดํารงตําแหนงใดจะพึงปฏิบัติหรือดําเนินการตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรือคําสั่งใด หรือมติของคณะรัฐมนตรีในเรื่องใด ถากฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรือคําสั่งนั้น หรือมติของคณะรัฐมนตรีในเรื่องนั้นมิไดกําหนดเรื่องการมอบอํานาจไวเปนอยางอื่น หรือมิไดหามเรื่องการ มอบอํานาจไว ผู ดํารงตําแหนงนั้นอาจมอบอํานาจใหผู ดํารงตําแหนงอื่นในสวนราชการเดียวกันหรือสวน ราชการอื่นหรือผู ว าราชการจังหวัดเปนผู ปฏิบัติราชการแทนได ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑที่กําหนดในพระราช กฤษฎีกา (วาดวยการมอบอํานาจ) พระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่งอาจกําหนดใหมีการมอบอํานาจในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ตลอดจน การมอบอํานาจใหทํานิติกรรมสัญญา ฟองคดีและดําเนินคดี หรือกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ หรือเงื่อนไข ในการมอบอํานาจหรือที่ผูรับมอบอํานาจตองปฏิบัติก็ได ความในวรรคหนึ่งมิใหใชบังคับกับอํานาจในการอนุญาตตามกฎหมายที่บัญญัติใหต องออก ใบอนุญาตหรือที่บัญญัติผูมีอํานาจอนุญาตไวเปนการเฉพาะ ในกรณีเชนนั้นใหผูดํารงตําแหนงซึ่งมีอํานาจตาม กฎหมายดังกลาวมีอํานาจมอบอํานาจใหขาราชการซึ่งเปนผูใตบังคับบัญชาและผูวาราชการจังหวัดไดตามที่ เห็นสมควรหรือตามที่คณะรัฐมนตรีกําหนด ในกรณีมอบอํานาจใหผูวาราชการจังหวัด ใหผูวาราชการจังหวัด มีอํานาจมอบอํานาจไดตอไปตามหลักเกณฑและเงื่อนไขที่ผูมอบอํานาจกําหนด ในกรณีตามวรรคสาม เพื่ อประโยชน  ในการอํ านวยความสะดวกแกประชาชนจะตราพระราช กฤษฎีกากําหนดรายชื่อกฎหมายที่ผูดํารงตําแหนงซึ่งมีอํานาจตามกฎหมายดังกลาวอาจมอบอํานาจตามวรรค หนึ่งตามหลักเกณฑและเงื่อนไขที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกาดังกลาวก็ได “วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

20


การมอบอํานาจใหทําเปนหนังสือ

มาตรา 39 บัญญัติไววา “เมื่อมีการมอบอํานาจแลว ผูรับมอบอํานาจมีหนาที่ตองรับมอบอํานาจ นั้น โดยผูมอบอํานาจจะกําหนดใหผูรับมอบอํานาจมอบอํานาจใหผูดํารงตําแหนงอื่นปฏิบัติราชการแทนตอไป โดยจะกําหนดหลักเกณฑหรือเงื่อนไขในการใชอํานาจนั้นไวดวยหรือไมก็ได แตในกรณีการมอบอํานาจใหผูวา ราชการจังหวัด คณะรัฐมนตรีจะกําหนดหลักเกณฑใหผู ว าราชการจังหวัดตองมอบอํานาจตอไปใหรองผู ว า ราชการจังหวัด ปลัดจังหวัดหรือหัวหนาสวนราชการที่เกี่ยวของในจังหวัดก็ได” มาตรา 40 บัญญัติไววา “ในการมอบอํานาจ ใหผูมอบอํานาจพิจารณาถึงการอํานวยความสะดวก แกประชาชนความรวดเร็วในการปฏิบัติราชการ การกระจายความรับผิดชอบตามสภาพของตําแหนงของผูรับ มอบอํานาจและผูรับมอบอํานาจตองปฏิบัติหนาที่ที่ไดรับมอบอํานาจตามวัตถุประสงคของการมอบอํานาจ ดังกลาว เมื่อไดมอบอํานาจแลว ผูมอบอํานาจมีหนาที่กํากับดูแลและติดตามผลการปฏิบัติราชการของผูรับ มอบอํานาจ และใหมีอํานาจแนะนําหรือแกไขการปฏิบัติราชการของผูรับมอบอํานาจได” จะเห็นวาเปนการบัญญัติเรื่องการมอบอํานาจใหผูอื่นปฏิบัติราชการแทนไวอยางกวางขวางและ ยืดหยุนมาก กลาวคือตามมาตรา 38 หากกฎหมายมิไดหามไว ก็สามารถมอบอํานาจใหผูดํารงตําแหนงอื่น ปฏิบัติราชการแทนไดหมด ไมวาจะเปนภายในสวนราชการเดียวกันหรือสวนราชการอื่นก็ได (ในพระราช กฤษฎีกาวาดวยการมอบอํานาจ พ.ศ. 2550 บัญญัติไวใหมอบอํานาจได เชน ทั้งในกรมเดียวกัน ตางกรมแต กระทรวงเดียวกัน หรือแมกระทั่งขามกระทรวงก็ทําได หรือกรณีหลายสวนราชการรวมกันตั้งเปนศูนยบริการ รวม (One Stop Service) ก็ใหมอบอํานาจไปสูผูปฏิบัติในศูนยบริการรวมนั้นไดเลย) โดยผูมอบอํานาจอาจมอบ อํานาจในเรื่องนั้นๆ ใหปฏิบัติราชการแทนทั้งหมดหรือบางสวนก็ได และผูมอบอํานาจยังสามารถกําหนดให ผูรับมอบอํานาจนั้นสามารถมอบอํานาจตอไปใหกับผูอื่นไดดวยตามมาตรา 39 เชน อธิบดีมอบอํานาจให ผูอํานวยการสํานัก/กอง และกําหนดใหผูอํานวยการสํานัก/กองสามารถมอบอํานาจตอไปใหกับหัวหนากลุม งานหรือเจาหนาที่ที่เกี่ยวของโดยตรงปฏิบัติราชการแทนได โดยจะกําหนดหลักเกณฑ/เงื่อนไขการใชอํานาจไว ดวยหรือไมก็ได เปนตน “วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

21


ประเด็นที่สําคัญคือ การมอบอํานาจจะตองทําเปนหนังสือเทานั้น (หมายถึงตองทําเปนลายลักษณ อักษร มิใชมอบดวยวาจาหรืออยางอื่น โดยอาจจัดทําเปนคําสั่ง ประกาศ บันทึกขอความ หนังสือภายนอก ก็ ได) และตองระบุรายละเอียดเกี่ยวกับการมอบอํานาจใหชัดเจนเพียงพอที่จะเขาใจในเรื่องดังตอไปนี้ 1. ชื่อหรือตําแหนงของผูมอบอํานาจ 2. ชื่อหรือตําแหนงของผูรับมอบอํานาจ 3. อํานาจที่มอบ รวมทั้งอาจกําหนดหลักเกณฑและเงื่อนไขการใชอํานาจไวดวยก็ได และการมอบอํานาจตองเปนไปเพื่อวัตถุประสงคที่บัญญัติวาในพระราชกฤษฎีกาวาดวยการมอบ อํานาจ พ.ศ. 2550 ดังนี้ 1. อํานวยความสะดวก และสนองความตองการของประชาชน 2. คุมคา รวดเร็ว มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ 3. กระจายอํานาจการตัดสินใจและความรับผิดชอบที่เหมาะสม 4. ไมเพิ่มขั้นตอน ระยะเวลา และไมผานการพิจารณาของผูดํารงตําแหนงตางๆ เกินความจําเปน นอกจากนี้ยังตองคํานึงถึงขีดความสามารถ ความรับผิดชอบ และความเหมาะสมตามสภาพ ของตําแหนง อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของผูรับมอบอํานาจและผูมอบอํานาจดวยตามมาตรา 40 เวนแตเปนเรื่องตามกรณีดังตอไปนี้ ผูมอบอํานาจอาจไมมอบอํานาจในเรื่องดังกลาวก็ได คือ 1. เปนเรื่องที่มีกฎหมายบัญญัติใหเปนอํานาจเฉพาะหรือเปนเรื่องที่โดยสภาพไมอาจมอบ อํานาจได 2. เปนเรื่องที่เกี่ยวกับนโยบายสําคัญ 3. เปนเรื่องที่มีความจําเปนตองมีการดูแลอยางใกลชิดเพื่อใหเปนมาตรฐานเดียวกัน 4. เปนเรื่องที่อาจกอใหเกิดความเดือดรอนหรือเกิดความไมเปนธรรมแกประชาชนได สําหรับอํานาจที่ผูมอบอํานาจไดมอบใหผูรับมอบอํานาจไปนั้น ผูรับมอบอํานาจสามารถใช อํานาจนั้นไปจนกวาจะมีการเพิกถอนหรือสิ้นผลลงตามเงื่อนเวลาที่กําหนดไวหรือโดยเหตุอื่น เชน มีการ ยกเลิกคําสั่งมอบอํานาจ เปนตน

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

22


ในพระราชกฤษฎีกาวาดวยการมอบอํานาจ พ.ศ. 2550 กําหนดให ก.พ.ร. มีอํานาจหนาที่ กํ า กั บดูแ ลและติ ด ตามตรวจสอบการมอบอํ า นาจของผู ดํา รงตํา แหน ง ใดๆ เพื่ อ ให  เป  น ไปตามพระราช กฤษฎีกาฯ ซึ่งในทางปฏิบัติของสวนราชการตางๆ การกํากับดูแลและติดตามตรวจสอบการใชอํานาจที่ได มอบไปนั้น ก็มีการระบุใหมีการรายงานผลการใชอํานาจไวดวย เชน ทุก 6 เดือนหรือปละ 2 ครั้ง โดยมีกลุม พัฒนาระบบบริหารของแตละสวนราชการเปนผูรวบรวม วิเคราะหและสรุปผลสงให ก.พ.ร. ใหญอีกทอด หนึ่ง รายละเอียดในประเด็นอื่นๆ ทานผูอานสามารถศึกษาเพิ่มเติมไดจากพระราชกฤษฎีกาวาดวย การมอบอํานาจ พ.ศ. 2550 และหนังสือเวียนที่เกี่ยวของของสํานักงาน ก.พ.ร. นะครับ ก็ขอจบในเรื่องการ ปฏิบัติราชการแทนไวแตเพียงเทานี้ หากมีประเด็นใดที่สําคัญและนาสนใจในอนาคตก็จะนํามาเรียนใหทาน ผูอานรับรูรับทราบกันตอไปครับ สุดทายกอนจากกันฉบับนี้ ขอฝากขอคิดคําคมที่สรรหามากํานัลใหกันอีกเชนเคยครับ… “การพูดเปนการสรางความหวัง การทําเปนการสรางความจริง” ขอคิดจากธรรมะอินฟนิตี้ “หน า ที่ ข องเรา ไม ใ ช นั่ ง รอโอกาสให วิ่ ง มาหาเรา แต เ รามี ห น า ที่ พั ฒ นาความรู ความสามารถ ใหรูมากพอและเกงมากพอที่จะหยิบโอกาสที่มันอยูรอบตัว มาสรางชีวิต สรางอนาคต และสรางความสําเร็จใหชีวิต...” ขอคิดจาก Creative Guru “ถาเราไมไดเกิดมาเปนไมบรรทัด ก็ไมจําเปนจะตองเอาตัวเองไปวัดกับคนนั้นคนนี้...” ขอคิดจาก Creative Guru “มนุษยเรา...มักเห็นคาของของสิ่งนั้นตอนที่เสียมันไปใหกับคนอื่น ไมใชเพราะเขาขโมย ไป แตเปนเพราะวา..เรารักษามันไวไมได...” ขอคิดจาก Creative Guru ขอคุณความดีอันบริสุทธิ์และจิตเจตนาอันเปนกุศลที่ทานผูอานทุกทานไดกระทําไวมาโดย ตลอด ไดนํา พาความรมเย็น ความผาสุก ความสํ า เร็จ ความเจริญงอกงามในชีวิต และสิ่งดีงามอันพึง ปรารถนาในทุกๆ ประการ สูทานผูอานและครอบครัว ตลอดจนบุคคลอันเปนที่รักและเคารพของทุกทาน ตลอดไป พบกันใหมฉบับหนา สวัสดีครับ…..

………………………. “วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

23


¡¶Ò¤ÒÃÇa¼ e¡ÉÕ³ 57

½ Òæ´´Ã o¹Ë¹ÒÇe˹çºe¨çºe¾Õ§ä˹ à ÇÁÊÁÒ¹Êҹ㨠㹷u¡¶iè¹ ´ ǹÁÒ¡ ´ ǹ·ÕèÊu´ ¨¹ªÒªi¹ ÁoºªÕÇi¹ e¾ืèo§Ò¹-e§i¹eÅÕ駵aÇ

¹oºÒ ¤ืo Ë ÒÁ¶ÒÁ æÅaË ÒÁe¶Õ§ o·ÃÁ-·Ãu´-e«Õè§-eÊÕè§ e¾Õ§㴷íÒä»·aèÇ ºÒ§¤Ãaé§Ã o¹ÃÕºeà § §Ò¹Ãa´µaÇ Ê¹o§ËaÇ-ËÒ§·íÒä´ äÁ e¡Õ觧o¹ ÁÒºa´¹Õé¾Õè¢oÅÒ¾a¡¼ o¹æÅ Ç ÅÒæÁ æ¡ Ç¾ oe² Ò¤¹e¡ Ò¡ o¹ ÅÒÀÒ¤Õ-¾Òä»ã¨eÇ ÒÇo¹ ÅÒ ¨»°. o¹uÊó e» ¹µíÒ¹Ò¹

½Ò¡¤ÇÒÁËÇa§æ´ ¹ o§ ¤Åืè¹ÅÙ¡ãËÁ ¨§·íÒ§Ò¹´ ÇÂã¨ãË ÊืºÊÒ¹ ¾ª.¨aoÂÙ Âaé§Âaè§Âื¹¹Ò¹ oÂÙ ·Õè ¨iµÇi­­Ò³ ¹ o§¹ o§eoÂ./// “วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

24


¡ Ò Ã Ê § e Ê Ãi Á Âu · ¸ È Ò Ê µ à ¡ Åu Á ¨a § Ë Ça ´ ´ Ò¹¡Òþa²¹ÒªuÁª¹ ´Ã.ÊÃÄ·¸ ¨a¹Êu¢

วันนี้ถางทางสร้างสรรค์ขอพาพวกเราไปดูยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดด้านการพัฒนาชุมชน ที่ได้ริเริ่มจัดทํา และสร้างสรรค์ขึ้นมาเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๖ และปีนี้ได้สนับสนุนงบประมาณให้ขับเคลื่อนโครงการกิจกรรม ตาม ยุทธศาสตร์ดังกล่าวรวมสิบแปดล้านบาท การเกิดขึ้นของยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดด้านการพัฒนาชุมชนก็สืบเนื่อง จากที่รัฐบาลปัจจุบัน ได้กําหนดยุทธศาสตร์ประเทศ ภายใต้ 4 ยุทธศาสตร์ 30 ประเด็นหลัก และรัฐบาลได้ มอบหมายให้กลุ่มจังหวัดจัดทําแนวทางการพัฒนากลุ่มจังหวัด 18 กลุ่ม ตามศักยภาพและสภาพแวดล้อมของกลุ่ม จังหวัด อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชนจึงได้มองเห็นความท้าทายในการปฏิบัติงานด้านพัฒนาชุมชนที่เชื่อมโยงภารกิจ เข้ากั บสภาพของพื้ นที่อย่างลงตัว จึงได้มี นโยบายจัดทํายุทธศาสตร์ กลุ่ม จังหวั ดด้านการพัฒนาชุ มชนรองรับ ประชาคมอาเซียนปี 2558 ขึ้น ต่อมาจึงได้ส่งเสริมให้จัดตั้งหัวหน้ากลุ่มจังหวัดด้านการพัฒนาชุมชน ๑๘ กลุ่ม จังหวัด โดยให้ร่วมกันจัดทําและกําหนดยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดด้านการพัฒนาชุมชนรองรับประชาคมอาเซียน ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ยุทธศาสตร์ประเทศ ยุทธศาสตร์กลุ่ม จังหวัด ทําให้สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดที่เป็นหัวหน้ากลุ่มจังหวัด มีแผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดด้านการพัฒนา ชุมชน ที่เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและแนวทางการพัฒนากลุ่มจังหวัด ด้ ว ยกระบวนการพั ฒ นาชุ ม ชนที่ ป ฏิ บั ติ ง านโดยยึ ด พื้ น ที่ ใ นการทํ า งาน จึ ง ได้ มี ก ารกระจายอํ า นาจ ให้จังหวัดและกลุ่มจังหวัดสามารถวางแผนพัฒนาชุมชน และขับเคลื่อนกิจกรรมตามความเหมาะสม หากมีการ ส่งเสริมการดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดด้านการพัฒนาชุมชน ย่อมเกิดประโยชน์ต่อประชาชนและ พื้นที่อย่างแท้จริง กรมการพัฒนาชุมชนจึงเห็นว่าเป็นกระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาเพื่อสร้างชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ในอนาคต และได้มองว่าการขับเคลื่อนกิจกรรมการ พั ฒ นาชุ ม ชนต้ อ งมี ก ารวางแผนพั ฒ นาชุ ม ชนโดยคนในชุ ม ชน และดํ า เนิ น การโดยประชาชนในพื้ น ที่ ต นเอง ให้สามารถบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด และมีความสอดคล้องกับการพัฒนาประเทศในปัจจุบัน ซึ่งมีแนวคิดหลักมาจากแนวคิดการทํางานแบบกลุ่มจังหวัด เพื่อแก้ปัญหาการแย่งชิงทรัพยากร เพื่อความได้เปรียบ ในการแข่งขันของพื้นที่ เพื่อให้ใช้ศักยภาพ ทรัพยากร ของจังหวัดให้เกื้อกูลประโยชน์ต่อกัน และเพื่อร่วมกันแก้ไข ปัญหาเชิงพื้นที่ กรมการพัฒนาชุมชนจัดทําโครงการส่งเสริมยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดด้านการพัฒนาชุมชนอย่างรัดกุม ได้ คํ านึง ถึ งศักยภาพของพื้ นที่ การมองภาพอนาคตที่เ ชื่อ มโยงติดต่อถึ งกันเชื่ อมโยงกั บนโยบาย ยุท ธศาสตร์ เป็นโครงการคิดใหม่มีความท้าทาย (Challenge) และมองเห็นผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นว่าประชาชนได้อะไรจากโครงการ “วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

25


มาใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาจัดทําโครงการ เพื่อให้เห็นเป็นรูปธรรมชัดเจน จึงมีการแต่งตั้งคณะกรรมการ ขึ้นสี่คณะ ประกอบด้วย คณะกรรมการที่ปรึกษา มีอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชนทุก ท่าน และหัวหน้าผู้ตรวจราชการกรม เป็นที่ปรึกษา คณะกรรมการพิจารณาโครงการ มี นายอรรถพร สิงหวิชัย รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน เป็นประธาน คณะกรรมการตรวจติดตามโครงการ มีนายธงชัย เจริญพานิชย์กุล หัวหน้าผู้ตรวจราชการกรม เป็นประธาน ผู้ตรวจราชการกรมทุกคนเป็นกรรมการ และคณะกรรมการประเมินผล โครงการ มีนายโชคชัย แก้วป่อง ผู้อํานวยการกองแผนงาน เป็นประธาน คณะกรรมการพิจารณาโครงการ ได้กําหนดให้กลุ่ มจังหวั ดด้านการพัฒนาชุมชนเสนอโครงการที่ มีลักษณะโครงการที่เหมาะสม เพื่อขอรับการ สนับสนุนงบประมาณ โดยเป็นโครงการที่บรรจุอยู่ในแผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดด้านการพัฒนาชุมชนอยู่แล้ว มีลักษณะสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล กระทรวงมหาดไทย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เพื่อมุ่งสู่ ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง มีกิจกรรมที่ขับเคลื่อนในพื้นที่ทุกจังหวัดของกลุ่มจังหวัดอย่างทั่วถึง เป็น โครงการที่ไม่เหมือนหรือคล้ายคลึงกับโครงการใดๆ ที่กรมการพัฒนาชุมชนได้ดําเนินการอยู่ในปัจจุบัน และจะต้อง ดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในเดือนกันยายน ๒๕๕๗ เมื่อคณะกรรมการพิจารณาโครงการได้อนุมัติโครงการให้กลุ่ม จังหวัดดําเนินการแล้ว คณะกรรมการตรวจติดตามโครงการ โดยมีหัวหน้าผู้ตรวจราชการกรม ได้นําทีมตรวจ ติดตามลงพื้นที่ให้คําแนะนําปรึกษา อย่างรัดกุมเป็นประจําต่อเนื่อง พร้อมกับรายงานผลการดําเนินงานที่เกิดขึ้นให้ คณะกรรมการที่ปรึกษาทราบอย่างต่อเนื่อง ให้โครงการสามารถขับเคลื่อนไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ การประเมินผลโครงการ ได้มีคณะกรรมการประเมินผลโครงการเพื่อทําหน้าที่ประเมินโครงการ ทั้งก่อน ดําเนินการ ระหว่างดําเนินการ และหลังดําเนินการ เพื่อให้กรมการพัฒนาชุมชนสามารถมองเห็นทิศทางและ รูปแบบที่เหมาะสมในการขับเคลื่อนโครงการในปีต่อไป โดยจัดทํากรอบการประเมินผลตามแนวคิดการประเมินผล ที่เชื่อมโยงวัตถุประสงค์การประเมิน ประเด็นการประเมิน ตัวชี้วัด ข้อคําถามการประเมิน ลักษณะคําถาม เกณฑ์ การประเมินที่เป็นลักษณะเฉพาะเจาะจงของแต่ละกลุ่มจังหวัด นอกจากนี้ยังมีการจัดทําแนวทางจัดทําสรุปผลการ ดําเนินงานตามโครงการส่งเสริมยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดด้านการพัฒนาชุมชน ให้ง่ายต่อการนําไปปฏิบัติและไม่เป็น ภาระต่อผู้ปฏิบัติงาน และไม่สิ้นเปลืองงบประมาณภายใต้หัวข้อหลัก ได้แก่ บทสรุปผู้บริหาร รูปแบบ หรือ Model การปฏิบัติงาน สําเนาโครงการและรายละเอียด กิจกรรมที่ดําเนินการตามโครงการ ผลสําเร็จตามวัตถุประสงค์และ ตัวชี้วัด ผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นต่อประชาชนและองค์การ สําเนาผลการประเมินโครงการตามแบบประเมิน ปัญหาที่ เป็นอุปสรรค วิธีการแก้ไข และข้อเสนอแนวทางแก้ไข ภาพประกอบกิจกรรม หลักฐานอื่นๆ (ถ้ามี) ถึง แม้ ว่ า โครงการส่ ง เสริ ม ยุ ท ธศาสตร์ ก ลุ่ ม จั ง หวั ดด้ า นการพั ฒ นาชุ ม ชน จะเป็ น โครงการที่ ไ ด้ ริ เ ริ่ ม สร้ างสรรค์ ขึ้นมาในปีนี้ แต่วิธีการปฏิบัติงานโดยใช้แ นวคิดเชิงพื้นที่ ออกแบบ วางแผนโครงการ ดําเนินงาน โครงการ ติดตามและประเมินผลโดยประชาชนในพื้นที่ ได้ถูกวางระบบและขับเคลื่อนมาพร้อมๆ กับการก่อตั้ง กรมการพัฒนาชุมชนเลยทีเดียว ทําให้กรมการพัฒนาชุมชนมั่นใจได้ว่าโครงการลักษณะเฉพาะพื้นที่แม้จะใช้ งบประมาณเพียงน้อยนิด ก็จะสามารถตอบสนองประโยชน์ต่อกลุ่มเป้าหมายได้ดีกว่าโครงการในลักษณะปูพรม และมั่นใจได้ว่าสามารถขับเคลื่อนไปสู่ ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง อย่างแน่นอน *****************************************

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

26


“โครงการ “We (vv) Stand For Women” ถาวันนี้เราจะพูดถึงปญหาที่เกิดขึ้นกับผูหญิง ที่คนทั่วโลกกําลังใหความสนใจ คงหนีไมพน ปญหาที่ผูหญิงถูกกระทําความรุนแรงซึ่งปจจุบันมีสถิติที่สูงขึ้นอยางตอเนื่อง จะเห็นไดจาก ในชวงปที่ ผานมาองคการสหประชาชาติไดสํารวจพบวามีผูหญิงจํานวน 1 ใน 3 ของโลก หรือประมาณ 1,000 ลานคน เคยประสบปญหาการถูกกระทําความรุนแรง ในขณะเดียวกันประเทศไทยก็สํารวจพบวา ผูหญิงไทยยอมถูกทํารายรางกายและจิตใจมากเปนอันดับ 2 ของโลก ขอมูลสวนหนึ่งจากมูลนิธิหญิง ชายกาวไกลพบขอมูลที่นาเปนหวงมาก เพราะผูหญิงจํานวนไมนอย เลือกที่จะอดทนหากมีความ รุนแรง และพฤติกรรมความรุนแรงทางเพศเกิดขึ้นกับตัวเอง เนื่องจากวาอาย ยอมทนเพื่อลูก กลัวถูก ทํ า ร า ยซ้ํ า ไม รูช อ งทางการใหค วามช ว ยเหลื อ จากภาครั ฐ และไม รู เรื่ อ งของกฎหมายที่ส ามารถ คุมครองผูหญิงได ดวยเหตุผลตางๆที่กลาวมานี้ ทําใหพวกเราเหลาสาว Smart Lady Thailand เล็งเห็นวา ปญหาการถูกกระทําความรุนแรงของผูหญิงเปนปญหาเรงดวนที่ตองแกไข ซึ่งการแกปญหาที่ผานมา นั้นเปนการแกไขที่ปลายเหตุโดยสวนใหญ เพราะเนนไปที่การเยียวยารักษารางกายและจิตใจของผูที่ ประสบปญหาความรุนแรง แตแทบจะไมมีชองทางการสื่อสารใดที่ทําใหผูหญิงทุกคนไดรูถึงวิธีการ ปองกันตัวเองหรือชองทางการขอรับความชวยเหลือตางๆหากเกิดความรุนแรงกับตนเอง จึงเปน ที่มาของ โครงการ “We (vv) Stand For Women” “โครงการ “We (vv) Stand For Women” มีภารกิจหลัก 2 ดานดวยกัน ภารกิจดานแรก คือ การสรางองคความรูเรื่องความรุนแรงตอผูหญิงเพื่อใหสังคมตระหนักตอ ปญหานี้มากขึ้น ผานกิจกรรมตางๆที่แฝงเนื้อหาทั้งดานกฎหมาย สิทธิสตรีที่ควรรู รวมไปถึงบทบาท ของชายหญิงในสังคม โดยเนนไปที่กลุมเปาหมายที่เปนเยาวชนชายและหญิง อายุ 12-19 ป ที่เรา มองเห็ น ว า เยาวชนเหล า นี้ จ ะเรี ย นรู แ ละเข า ใจเรื่ อ งความรุ น แรงเพื่ อ นํ า ไปเป น เกราะป อ งกั น ใน ครอบครัวตนเอง ทั้งยังสามารถขยายผลบอกตอองคความรูที่ไดรับนี้แกผูอื่นไดอีกทางหนึ่ง “วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

27


ภารกิจดานที่สอง คือ การสรางคุณคาตอผูหญิงทั้งที่ประสบปญหาความรุนแรงมาแลวและยัง ไมเคยประสบปญหา เพื่อใหเกิดกําลังใจ มองเห็นคุณคาในตัวเองและดึงศักยภาพที่มีในตัวเองออกมา ใชไดอยางมีประสิทธิภาพ ผานกิจกรรมที่จะมาสรางแรงบันดาลใจ สรางงาน สรางอาชีพ สรางเสริม บุคลิกภาพ ทั้งนี้เพื่อใหผูหญิงทุกคนมีความมั่นใจที่จะดําเนินชีวิตตอไปอยางไมยอมแพ สวนความคืบหนาของโครงการ ขณะนี้อยูในชวงของการระดมสมองของเราทั้ง 12 คน เพื่อ วางแผนงานโครงการทั้งหมดใหเหมาะสมและเกิดประโยชนสูงสุดกับกลุมเปาหมายทุกกลุม ซึ่งการ ดําเนินงานของเราจะลงพื้นที่ในแตละภูมิภาค โดยเลือกหนึ่งจังหวัดเพื่อเปนจังหวัดตนแบบในการ ดําเนินงานของภูมิภาคนั้นๆ ใชเวลา 2 วันในการปฏิบัติภารกิจ และจังหวัดแรกที่เราจะทํากิจกรรมก็ คือ จังหวัดชลบุรี ซึ่งเปนทั้งเมืองอุตสาหกรรมและเมืองทองเที่ยวที่ใหญที่สุดของภาคตะวันออก นั่นเอง โดยมีกําหนดจะเริ่มงานใหทันภายในเดือนกรกฎาคมนี้ กอนที่จะสัญจรไปในภูมิภาคอื่นๆตอไป ซึ่งวัตถุประสงคหลักของโครงการนี้ พวกเรามุงหวังใหกลุมเปาหมายเกิดกระบวนการเรียนรูใน การปองกันปญหาความรุนแรงที่จะเกิดขึ้นตอผูหญิง เกิดความตระหนักตอสิทธิและคุณคาในตัวเองที่ ผูหญิงพึงมี และใหผูหญิงไทยทุกคนมีภูมิคุมกันที่ดีไมยอมใหตัวเองตองตกเปนผูที่ถูกกระทําความ รุนแรงอีกตอไป

กัญญณาณัฏฐ ภาธรสืบนุกลู (ยุย)

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

28


สาระนารู 

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

29


“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

30


“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

31


“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

32


ที่มา : ผลการศึกษาของข้าราชการตามโครงการพัฒนานักบริหารการเปลีย่ นแปลง รุ่นที่ ๗ ภายใต้การฝึกสอนของท่านอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน (นายขวัญชัย วงศ์นิติกร)

โปรดติดตามอ่านต่อฉบับหน้า พบกับเรื่อง...แผนชุมชน และพัฒนากรในทศวรรษหน้า...ครับ

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

33


ภาษาอาเซียนพื้นฐานน่ารู้

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

34


“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

35


“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

36


วันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๗ เวลา ๐๗.๐๐ น. นายขวัญชัย วงศ์นิติกร อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ร่วมพิธีใส่บาตรพระสงฆ์ ๙๙ รูป พิธีเปิดงาน มหกรรมปรองดองสมานฉันท์ คืนความสุขให้คนในชาติ และตรวจเยี่ยมให้กําลังใจเครือข่าย OTOP ที่มาร่วมงานในครั้งนี้ ๕๐ บูธ ณ บริเวณมณฑลพิธีท้องสนามหลวง

ภาพกิจกรรม

การทํางาน”

วันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๕๗ นายขวัญชัย วงศ์นติ กิ ร อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน เป็นประธานเปิดการประชุม "โครงการเพิ่มประสิทธิภาพขับเคลื่อนกิจกรรม ตามนโยบายคณะรักษาความสงบแห่ง ชาติ (คสช.) กลุ่มเป้าหมายข้าราชการ พัฒนาชุมชน ๔ จังหวัด (ชัยนาท ลพบุรี สิงห์บรุ ี อ่างทอง) จํานวน ๒๓๕ คน ณ นารายณ์ฮลิ ล์รสี อร์ทฯ จังหวัดลพบุรี

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

37


ภาพกิจกรรม

วันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๗ นายขวัญชัย วงศ์นิติกร อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน และนายพิสันติ์ ประทานชวโน รองอธิบดีฯ ให้สัมภาษณ์สื่อมวลชน และถ่ายภาพกับนักศึกษาจิตอาสา ดารานักแสดงครอบครัวข่าว ๓ กิจกรรม พช.สัมพันธ์สัญจรแบบ CSR ตามโครงการสร้างภาพลักษณ์กรมการพัฒนาชุมชนด้วยการประชาสัมพันธ์เชิงกลยุทธ์ ณ กรมการพัฒนาชุมชน

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

38


วันที่ 30 มิ.ย. 57 เวลา 14.00 น. นายพิสนั ติ์ ประทานชวโน รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ผูแ้ ทนกรมการพัฒนาชุมชน และผูแ้ ทนจากหน่วยงานพันธมิตร 6องค์กรภาครัฐ จับมือกับธนาคารออมสิน รวม MOU ผนึกพลังเพิ่มศึกยภาพ SMEs รายย่อย ในพิธีลงนามในบันทึกความร่วมมือตามโครง "ส่งเสริมศักยภาพผูป้ ระกอบการ SMEs และผูป้ ระกอบการรายย่อย ให้เติบโตอย่างยั่งยืน " ณ ห้องเวิลด์บอลรูม บีโรงแรม เซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ ชั้น 23

ภาพกิจกรรม

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

39


ภาพกิจกรรม วันที่ 19 มิถุนายน 2557 นายมนตรี นาคสมบูรณ์ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน เป็นประธานเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการการดําเนินงานตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ ประจําปี 2557 โดยมีผู้บริหาร และเจ้าหน้าทีพ่ ัฒนาชุมชนทั่วประเทศเข้าร่วมประชุม จํานวน 182 คน ณ โรงแรมทีเคพาเลซ

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

40


ภาพกิจกรรม

วันที่ 4 กรกฎาคม 2557 นายอรรถพร สิงหวิชัย รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากรัฐบาลประเทศบังคลาเทศ และฟังบรรยายสรุปแนวทางและประสบการณ์ในการบริหารการพัฒนาชุมชน โครงการการหนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ พร้อมทัง้ เยี่ยมชมห้องนิทรรศการผลิตภัณฑ์ชุมชน ณ กรมการพัฒนาชุมชน

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

41


æǴǧ¤¹ ¾ª. ã¹ÃaÇé ÁËÒÇi·ÂÒÅaÂ

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

42


“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

43


“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

44


“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

45


“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

46


“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

47


“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

48


“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

49


“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

50


“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

51


“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

52


“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

53


ปกหลัง

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

54


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.