May_June2014

Page 1

- ปกหน้า -

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

1


“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

2


“เปดใจโครงการ OTOP กับสื่อประเทศญี่ปุน”

“เราจะสร างกระแสนิย มไทย ใหคน ไทยใช ข องไทย แล ว เราจะสร า งสิ น ค า ทาง วัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อขายกับ ชาวตางชาติ เชน อาหารไทย วัฒนธรรมไทย เสื้ อ ผ า ไทย นี่ เ ป น เป า หมายของเราที่ จ ะ ดําเนินการตอไป...” อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน (นายขวัญชัย วงศ์นิติกร) ให้สัมภาษณ์ประเด็นเกี่ยวกับโครงการจัดตั้งศูนย์แสดง จําหน่ายและกระจายสินค้า OTOP ใต้ทางด่วนกรุงเทพฯ สัมภาษณ์โดยหนังสือพิมพ์ Nishinippon Shimbun ประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น : อยากจะทราบรายละเอียดเกี่ยวกับความเป็นมาของโครงการ OTOP “...โครงการ OTOP ของเรา เราเพิ่งทํามา 11 ปกวา นับตั้งแตป 2544 ซึ่งก็เปนหนึ่งทศวรรษแลว โดยทางรัฐบาลไดพยายามแกปญหาความยากจน ภายใตปฎิณาณวา “ตองมีการเพิ่มรายได ลดรายจาย และ ขยายโอกาส ในการทํามาหากินของพี่นองประชาชนโดยเฉพาะคนในชนบท” โดยอาศัยภูมิปญญาของพี่นองที่ ตอยอดจากผลิตภัณฑทางการเกษตรในทองถิ่น ซึ่งรัฐบาลในสมัยนั้นก็ไปใชจากโครงการ OVOP ของญี่ปุนมา เปนตนแบบ และไดเชิญผูวาเมืองโออิตะ คุณวิระวิโกะ อิลามาชิ มาบรรยาย คาดการณใหกับประเทศไทย จากนั้นก็ดําเนินการจัดระบบระเบียบทางกฎหมายวาดวยการบริหารจัดการสินคา OTOP เปนระเบียบสํานัก นายกรัฐมนตรี กําหนดรูปแบบการบริหารสงเสริมการคาขายสินคา OTOP ใหกับประชาชน โดยเริ่มตนจาก การลงทะเบียนจากผูที่มีสินคาภูมิปญญาในทองถิ่นตําบล เริ่มตนตั้งแตป 2545 ตอนนั้นก็มีประมาณ 5,000 ผู ป ระกอบการ/สิ น คา ซึ่ง แบ ง ออกเป น 5 ประเภท เป น อาหาร เครื่องดื่ม ผ า และเครื่อ งแตง กาย ของใช ของตกแตง ของที่ระลึก และสมุนไพรที่ไมใชอาหาร ใน 5 กลุมนี้เราก็ดําเนินการและกําหนดรูปแบบการบริหาร และบูรณาการ กระทรวง ทบวง กรม ที่เกี่ยวของ 6 กระทรวง โดยพาณิชยทําเรื่องตลาด อุตสาหกรรมทําเรื่อง การขยายกําลังการผลิต ทองเที่ยวก็จําเรื่องของหมูบาน แหลงบงชี้ทางภูมิปญญา กระทรวงมหาดไทยก็มี “วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

3


หนาที่รวบรวมจดทะเบียนผูประกอบการทั้งหมด แลวนําสินคาพัฒนา เอาสินคามาพัฒนาขึ้นโดยกําหนดเปน ระดับ 1-5 ดาว กระทรวงสาธารณสุขก็มาดูเรื่องมาตรฐานของสินคา วาตองปลอดภัยตอชีวิตและทรัพยสิน”

ญี่ปุ่น : ท่านมีไอเดียร์เกี่ยวกับเรื่อง OTOP ที่เปิดที่ใต้ทางด่วนทั้ง 3 แห่งอย่างไร?

ตลอดระยะเวลา 10 ป ที่ผานมา เรามีการประเมินผล เมื่อป 2556 พบวามีผูประกอบการ 70,000

กวา

ผลิตภัณฑที่ลงทะเบียน OTOP มียอดซื้อขายตอนนี้ 91,000 กวาลานบาท จาก 4,500 กวาลานบาท เปน การกาวกระโดดถึง 20 เทา แตเราก็พบปญหา ที่ผาน มาของโครงการ OTOP คือ ปญหาแรก คือเรื่องการ ควบคุ ม สิ น ค า ทั้ ง คุ ณ ภาพและปริ ม าณมั น ไม สม่ําเสมอ เพราะเวลาเขาสั่งเยอะๆเราทําใหเขาไมได ปญหาที่สอง คือเรื่องชองทางการจัดจําหนายไม เพียงพอ คือผลิตไดก็ไมรูจะเอาไปขายที่ไหน สวนใหญจะเปนสินคาชนบทก็จะขายกันอยูแคนั้น โอกาสที่มันจะ แพรหลายก็ยาก ซึ่งก็เปนปญหาอยางหนึ่งที่เราพยายามหาชองทางในการจัดจําหนายใหมากขึ้น เขาหางมาก ขึ้น เขาสนามบิน รานสะดวกซื้อใหมากขึ้น และปญหาที่สาม คือเรื่องการขาดแหลงเงินทุนสนับสนุนเวลาจะ ขยายกิจการ เนื่องจากผูผลิต OTOP จะเปนคนยากจนก็จะไมมีเงินทุนมากมาย ก็เลยขาดธนาคาร สถาบัน การเงิน สําหรับประเด็นทั้ง 3 ปญหานี้ เราก็ไดกําหนดแนวทางแกไขไวแลวในทศวรรตที่ 2 ดังนี้ ปญหาที่หนึ่ง เรื่องการควบคุมสินคาทั้งคุณภาพและปริมาณ เราก็เลียนแบบญี่ปุนก็คือให 1 จังหวัดตอ 1 มหาวิทยาลัยที่อยู ในภูมิภาคนั้น ใหจัดหลักสูตรในการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑของผูประกอบการ OTOP ทําแผนธุรกิจ ใช นวัตกรรมปรับปรุงคุณภาพสินคาใหมีมาตรฐาน เปนที่ตองการของประชาชนมากขึ้น โดยใชองคความรูจาก มหาวิทยาลัยเขาไปชวยเหลือสนับสนุนเพิ่มองคความรูใหแกผูประกอบการ OTOP ปญหาที่สอง คือ เรื่องชองทางการจัดจําหนาย เราก็มีการแบงหนาที่กันอยางชัดเจน โดยใหกระทรวง พาณิชยกับกระทรวงการตางประเทศนําสินคา OTOP ออกตางประเทศใหไดอยางนอยปหนึ่ง 1,200 ผลิตภัณฑ ไปในภายใต บริ บท เช น ครั ว ไทยสู ค รัว โลก สปาไทยสปาโลก อี ก ทางหนึ่ ง คื อ เนน เอาสิน คา จํา หน า ยตาม หางสรรพสินคาใหมากที่สุด จําหนายตามรานสะดวกซื้อใหมากที่สุด และก็เพิ่มชองทางการจัดจําหนายในเขต “วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

4


เมืองใหญ ๆ เชน เขตกรุงเทพฯ ภูเก็ต หาดใหญ เชียงใหม ใหมีสินคาโอทอปขายทั้งป ตลอดจนโครงการที่เปด ใตทางดวนฯ ก็ไดรวมมือกับการทางพิเศษแหงประเทศไทย โดยยกที่ดินใตทางดวนใหเราปรับปรุงเปนสถานที่ ขายสิ น ค า โอทอปให ชาวบ า นและคนชนบทซึ่ ง หมุ น เวี ย นกั น เข า มาจํ า หน า ยสิน ค า OTOP ซึ่ ง ได ฤ กษ เ ป ด “โครงการจัดตั้งศูนยแสดง จําหนาย และกระจายสินคา OTOP บริเวณใตทางดวนในกรุงเทพมหานคร” 3 แหง คือ ใตทางดวนรามอินทรา-เพลินจิต-สีลม อยางเปนทางการเรียบรอยแลว ปญหาที่สาม เรื่องเงินทุนสนับสนุน เราไดไปทํา MOU กับธนาคารของรัฐ เชน ออมสิน กรุงไทย ธกส เพื่อรองรับและสนับสนุนการขยายตัวของโอทอปในแตละจังหวัด อําเภอ พรอมชวยเหลือสนับสนุนใหเงินทุน ในการกูยืมเพื่อไปขยายผลิตภัณฑโอทอปใหมากขึ้น เพราะผูประกอบการจะตองผลิตสินคาจําหนายทั้งปใหได ไมใชผลิตเพื่อจําหนายแคเฉพาะชวงฤดูกาล ญี่ปุ่น : เป็นความคิดที่ดีมากเลยคะ แล้วก็น่าสนับสนุนมากเลยนะในส่วนของสื่อ...และในส่วนที่เขาบอกว่า สินค้า OTOP มันมีมาก มีทั้งคุณภาพดีและไม่ดี ส่วนสําหรับกลุ่มที่ทําแล้วคุณภาพไม่ค่อยดี พวกเขาก็ลําบากใช่ไหม? …ไมลําบาก เพราะสวนใหญที่คุณภาพไมดี เขาก็เพิ่งจะเริ่มเขามา ซึ่งเขาก็ตองมาผานกระบวนการใน การพัฒนา โดยเราตั้งเปาไว 5 แนวทาง 1. สินคา OTOP จะตองมีนวัตกรรม (Innovation) 2. สินคา OTOP จะตองมีการบอกเลาของประวัติของสินคาเพื่อสืบสานถึงภูมิปญญาทองถิ่น (Story to tell) 3. สินคา OTOP จะตองมีการวิจัยและพัฒนาเพื่อจะบอกสินคาของสินคา (R & D) 4. สินคา OTOP จะตองมีความโดเดน ไมเหมือนใคร (Positioning) และ 5. สินคาของเราตองมีตลาด (Marketing) มีวิธีการสงเสริมการขายใหได มากๆ ขายเปนกลุมมากๆ ไมงั้นเราก็เพิ่มยอดขายไมได และเราตองเพิ่มมูลคาของสินคาตลอดเวลา ญี่ปุ่น : ในหมูบ่ ้านที ั ญาที่เขาทําเองเขาก็อาจจะรู้สึกลําบาก ่เทคโนโลยียังไม่พัฒนา แล้วก็ภูมิปญ

และก็มีงานที่พัฒนายังไม่ถึง ท่านมีแนวทางอย่างไร?

เราใหสินคา ที่เขาผลิตที่ มาลงเขาจะตองเอาไปเขากระบวนการองคความรูกอนทั้งหมด กลาวคื อ ประเด็ น แรกสิ น ค า จะต อ งผ า นมาตรฐาน อาทิ เ ช น มาตรฐานอาหารและยา มาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ ชุ ม ชน มาตรฐาน Clean food Good test มาตรฐานผลิตภัณฑทางการเกษตร เพราะวาผลิตภัณฑที่จะเปนสินคา OTOP ไดนั้นก็ตองผานมาตรฐาน และตองมีความพรอมพอสมควร เมื่อไดมาตรฐานแลวถึงจะเขากระบวนการ เพิ่มคุณคาทางผลิตภัณฑ เชน มาเรียนรูการทําแผนธุรกิจ การตั้งราคา การบรรจุหีบหอ การมาฝกทดลองขาย ในภูมิภาคในงานใหญๆในระดับจังหวัด มันตองมีกระบวนการในการพัฒนา เดี๋ยวนี้ไมยากแลวชนบทไมมี “วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

5


หมดแลว เขามีกลุมผูบริหาร OTOP ดวยกันเองในแตละจังหวัด แตละอําเภอ เปนเครือขายในการแลกเปลี่ยน เรียนรูซึ่งกันและกัน เมื่อ 10 ปที่แลวอาจจะลําบาก แตปจจุบันนี้ไมลําบากแลว เพราะวาลูกหลานของเขาเปนคนรุนใหม สมัยใหม สามารถสื่อสารทางเทคโนโลยี ทางอินเตอรเน็ต ทางสื่อ IT ไดหมดแลว อะไรที่ดีที่หนึ่งมันก็จะเห็นกัน ไดทุกที่ และเขาสามารถดูรูปแบบจากตางประเทศไดหมดแลว อีกทั้งยังมีมหาวิทยาลัยแตละจังหวัดคอยเปนพี่ เลี้ยงชวยเหลืออยูจึงไมนาเปนหวง ญี่ปุ่น : ในฐานะที่เปนคนตางชาติ และตองการจะศึกษาเกี่ยวกับเรื่องผลิตภัณฑ OTOP แตวา เวลาจะไปดู OTOP

มันหายากมากเลย ไมรูวาจะไปดูทไี่ หน คือเวลาเขาไปที่งาน OTOP มันจะมีผลิตภัณฑบางตัว คือเราไม มี หา งสรรพสิน ค า ที่ วา ดว ย OTOP โดยตรง เนื่อ งจากศั ก ยภาพของผูผ ลิตสิ น ค า OTOP

ไมสามารถทําอยางนั้นได สิ่งที่ทําไดก็คือเอาไปฝากหางตางๆขาย หรือก็ปหนึ่งอาจจะมีงานที่ทางราชการจัด ให 3 ครั้ง เชน งาน OTOP CITY งาน OTOP MIDYEAR และงาน OTOP ศิลปาชีพ ซึ่งเราเชิญผูประกอบการ มา 4,000 กวารายมาขายพรอมๆกัน เปน OTOP อยางเดียว แตมันก็เปนชวงเวลาสั้นๆ 9-10 วัน ยังไมมีใคร ที่มาลงทุนเปดราน OTOP โดยเฉพาะไมมี แตตอนนี้มีโครงการจัดตั้งศูนยแสดง จําหนาย และกระจายสินคา OTOP บริเวณใตทางดวน 3 แหง มีสินคา OTOP โดยเฉพาะ ซึ่งมีผูประกอบการสินคา OTOP ประมาน 400 รานคา ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันมาจําหนายที่ใตทางดวนสามารถเขาไป และที่สนามบินก็มีสินคา OTOP แตมันเปนชอปเล็กๆ สินคาอาจจะยังมีนอย ซึ่งทุกสนามบินตอนนี้มีหมดแลว เชน สนามบินจังหวัดภูเก็ต สนามบิน จัง หวั ดกระบี่ สนามบิน จัง หวัดเชีย งใหม สนามบิ น จัง หวัดอุดรธานี สนามบิ น จัง หวัดสุวรรณภู มิ สนามบินจังหวัดดอนเมือง ญี่ปุ่น : แลนดมารค ของ OTOP ไดรับความเชื่อถือมากใชไหม? ใช ค รั บ ...เพราะว า เราควบคุ ม คุ ณ ภาพ จะเป น OTOP ได นั้ น ต อ งมี ม าตรฐาน โดยมี ห น ว ยงาน คอยตรวจสอบเรื่องมาตรฐาน และการเปดพื้นที่แลนดมารคสินคา OTOP เปนการเปดโอการสใหสินคาที่ผลิต จากภูมิปญญาจริง ทําจากชาวบานจริง ใชทรัพยากรในทองถิ่นจริง ไมไดใชเครื่องจักรถาใชเครื่องจักรก็จะเปน SME ไมใช OTOP

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

6


ญี่ปุ่น : ทางรัฐบาลมีงบสนับสนุนเยอะไหม? และชาวบานที่เขาไดรับการสนับสนุน เขาวิจารณอะไรไหม? ใน 1 ป ทางรัฐบาลจะมีงบสนับสนุนประมาณ 2,000 กวาลาน แตงบประมาณจํานวนนี้ใชบริหาร

รวมกันทัง้ 6 กระทรวง 7 ถึง 8 กรม ทั้งกระทรวงพานิชย อุตสาหรรม มหาดไทย ญี ่ปุ่น : ชาวบานที่เขาไดรับการสนับสนุน เขาวิจารณอะไรไหม? สําหรับชาวบานที่ไดรับการสนับสนุน เขาก็ชอบใจ คือพอเขาจําหนายสินคาได ก็ชวยใหระบบเศรษฐกิจ ฐานรากเดินตอไปได ซึ่งแตเดิมอาชีพของเขาคือเปนเกษตรกร และเมื่อเขาพัฒนาผลผลิตทางการเกษตรมา เปนสินคาOTOP มันก็เพิ่มมูลคาได คุณภาพชีวิตเขาก็ไมตองเสี่ยงรอแตน้ําฝนที่จะผลิตสินคาเกษตรอยางเดียว ชาวบานก็เริ่มคาขายเปน มีโอกาส มีรายไดเพิ่มมากขึ้นจากสินคาทางการเกษตร แลวเอาเงินเหลานี้มาสงเสีย ให ลูก หลานได เ รี ย นหนั ง สื อ มาพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต มี ที่ อยู อาศั ย ที่ ดี ขึ้น มีย ารัก ษาโรค มีเ สื้ อผ า ที่ ทั น สมั ย มีพาหนะใชในการทํามาหากัน มีรายไดดี มีอาหารที่กินถูกสุขลักษณะ มันเปนเศรษฐกิจฐานรากที่แทจริง ญี่ปุ่น : ทําใหชาวบานเขาทํามาคาขายเปนใชไหม? ใชๆ เพราะวาคนสมัยกอนก็ไดแคทํานา ทําไร เดี๋ยวนี้ก็มกี ารจักรสานขาย ทอผาขาย แปรรูปขาวทําเปน ขาวไลเบอรไลลี่ ทําน้าํ ยาสระผมขาย ขายของไดทุกอยาง ผลิตผลไมกม็ าแกะสลักขาย แปรรูปไดทุกอยางเปน อาชีพเปนรายได และเปาหมายสุดทายที่เราอยากจะพัฒนาผลิตภัณฑโอทอปก็คือในป 58 เราเปด AEC เราทําสัญญา กับรัฐบาลไว เราจะทํายอดขายของ OTOP ใหได 100,000 ลานบาทประเด็นที่สองเราจะสรางกระแสนิยมไทย ใหคนไทยใชของไทยแลวเราจะสรางสินคาทางวัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น เพือ่ ขายกับชาวตางชาติ เชน อาหารไทย วัฒนธรรมไทย เสื้อผาแบบไทย นีเ่ ปนเปาหมายของเราทีจ่ ะดําเนินการ

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

7


“เมื่อท่านเข้าใจในอาชีพของท่านแล้ว ท่านจะบริหารอย่างไรให้บรรลุเป้าหมาย” นายมนตรี นาคสมบูรณ์ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน กล่าวในการเสวนาแนวทางการทํางานเชิงบริหาร โครงการปฐมนิเทศผู้บริหารระดับจังหวัด และข้าราชการระดับชํานาญการพิเศษ ณ วิทยาลัยการพัฒนาชุมชน อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

“เมื่อท่านอธิบดีมีนโยบายเป็นรูปธรรมที่ชัดเจนแล้ว ท่านก็ให้หลักการบริหารงานอีกหลายอย่างที่ผมทราบ ท่านก็พยายามกระตุ้นพวกเราให้ทํางานในฐานะผู้อํานวยการสูงสุด ผมก็เป็นอีกคนหนึ่งที่มีฐานะที่ช่วยพวกเราคิด ตอบ ว่า เราควรวางตัว ความคิดอย่างไร ก็เลยเอาโอกาสนี้มาช่วยเราคิดข้อที่เป็นพื้นฐานก็คือ ฐานะอาชีพใน ราชการเราทําราชการเป็นอาชีพ” ...“แล้วเราเข้าใจอาชีพของเราหรือเปล่า ...อาชีพคือ เรารับเงิน งาน น้ําพักน้ําแรงที่เราทํา แต่อาชีพราชการมันแตกต่าง ภาคขยายที่ท่านจะเอาไป ทําในหน้าที่ของท่านที่จะตอบสนองนโยบายของอธิบดีให้ได้มากที่สุด คือ ท่านต้องเข้าใจอาชีพของท่าน ในฐานะ อาชีพราชการหรือยึดอาชีพจากการทํางาน “ถ้าเราอยู่บริษัทก็ง่ายนิดเดียวทําให้เถ้าแก่พอใจ นั่นคืออาชีพที่วัดได้ ว่าเจ้าของบริษัทพอใจ” เจ้าของบริษัทจะพอใจเมื่อท่านทํากําไรให้บริษัท แต่ภาคราชการในอาชีพ เราตกลงมัน เป็นอะไร วัดตรงไหน” อาชีพของเรา จึงทําเพื่อประชาชน ความพอใจ ความสุข ความดี จึงอยู่กับประชาชน ทั้งหมด อาชีพเราจึงทําเพื่อประชาชน เป็นอาชีพเดียวที่ยังประโยชน์โดยตรงกับสังคม อาจจะมีพ่อค้าทําส่วนหนึ่ง แต่เขาก็จะแฝงไปด้วยกําไร แต่ท่านเงินเดือนก็เท่าเดิม แต่ต้องทํางานหนักเพื่อบริการให้สังคม หรือ ทําเพื่อสังคม งานของเราจึงเป็นงานเพื่อสาธารณะ “งานอาชีพราชการ เป็นงานสาธารณะโดยแท้ เพื่อประโยชน์สาธารณะ เพื่อสังคมที่ดีขึ้น ท่านเป็น กลไกขององค์ ก ร องค์กรที่ ทํา ประโยชน์ใ ห้ ส าธารณะโดยตรง หรือ จะเรีย กว่า อาชี พ สาธารณะ คือ ทํา ให้ สาธารณะพอใจ ท่านจึงมีภาระอาชีพที่ทําเพื่อสาธารณะ” หลักการทําอาชีพเพื่อคนอื่น วิธีคิดของท่านจึงต้องกว้างและลึกลงไปถึงประโยชน์ของสาธารณะให้ได้ คือ เราต้องคิดมากกว่าคนอื่น และต้องทํางานมากกว่าคนอื่น ต้องคิดตระหนักในอาชีพของเรา และสิ่งที่ผมอยากจะ ฝาก “เมื่อท่านดํารงสถานะตําแหน่งที่สูงขึ้นในอาชีพเพื่อสาธารณะแล้ว วิธีคิดต้องคิดอย่างคําทํางานเพื่อสาธารณะ และตัวท่านเป็นส่วนหนึ่งของสมบัติสาธารณะ เราต้องมีความคิดและสนุกกับงานที่เราทํา เราทําเพื่อสาธารณะ วิธี “วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

8


คิดต้องคิดเพื่อสาธารณะที่เขาเรียกว่า “จิตสาธารณะ” ถ้าหากท่านไม่ได้ชัดเจนในบริบทที่ท่านอยู่ ด้วยสายตา สาธารณะ สังคม จังหวัด อําเภอ ที่ท่านอยู่ ซึ่งทุก ๆ สายตาเหล่านั้นจะคอยตรวจสอบท่านตลอดเวลา ตรวจสอบ แม้กระทั่งความรู้สึกว่า “ท่านทําอะไรให้เขาบ้าง?” เมื่อท่านเข้าใจในอาชีพของท่านแล้ว ท่านจะบริหารอย่างไรให้บรรลุเป้าหมาย สิ่งที่ท่านจะรู้สึกกับลูกน้อง ทีมงาน ท่านจะต้องรู้สึกว่าเขาเป็นคนพวกเดียวกับท่าน คิดว่าเขาเป็นคนสาธารณะแบบเดียวกับท่าน จะใช้งาน ส่วนตัวไม่ได้ จะใช้อย่างทาสไม่ได้ เพราะเขาก็คือสมบัติของสาธารณะเหมือนกัน ท่านต้องเห็นใจเขาที่สําคัญ คือ ต้องบํารุงรักษา ดูแลเอาใจใส่กัน ให้กําลังใจเขา เมื่อเขามีกําลังใจ เขาก็จะรักและชื่นชมท่านไปด้วยกัน แต่ถ้า ลูกน้องท่านไม่มีจิตสาธารณะ ท่านก็ต้องไปกระตุกความนึกคิดของเขาให้มีจิตสาธารณะมากขึ้น “ชํานาญการพิเศษ” เขาอยากจะดูว่าท่านจะมีอะไรพิเศษให้เขาแน่นเลย และสิ่งที่ท่านนึกคิดกับทีมงานจึง ต้องละเอียดลึกซึ้งมากขึ้น และสร้างความรักในทีมงานมากขึ้น สอนเขามากขึ้น และอีกสิ่งที่สําคัญ คือ ความรู้สึกที่ เป็นเพื่อนร่วมอาชีพสาธารณะด้วยกัน ซึ่งผลประโยชน์ที่เราทําก็จะไปถึงชาวบ้าน ท่านต้องสร้างทีมงาน ที่จิตสํานึกต้องมั่น แนะเขา และท่านจะต้องเอาคนให้อยู่ คือ เอาลูกน้องให้อยู่ ทีมงานให้อยู่ คือ คนในที่นี้ คือ ประชาชน ชาวบ้าน รวมถึงลูกน้อง ถ้าท่านเอาอยู่ เขาจะนิยมท่าน และหากท่าน เอาทีมงานทํางานให้อยู่แสดงว่าท่านทํางานสําเร็จ และอีกหนึ่งความสําเร็จของนักบริหาร คือ การทําให้คนอื่น ทํ า งานสํ า เร็ จ จึ ง มี บ ริ บ ทสํ า คั ญ อยู่ที่ การสั่ง และ การสอนงาน ลูก น้ อ ง ท่ า นจะต้ อ งชี้ แ นะ และ เป็ น แบบอย่ า งให้ ลู ก น้ อ ง สร้ า ง ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างทีมงาน แล้วมุ่งไปที่ความสําเร็จ ของงาน ร่วมกัน เพราะว่าการเอาคนให้อยู่ เป็ น ปั จ จั ย ที่ ช่ ว ยลดความเสี่ ย ง ทั้งหมด และทั้งหมดนั้น คือ การครองคนให้อยู่และก่อนจะครองคนให้อยู่ ท่านต้องครองตนให้ได้ก่อน ถือเป็น เงื่อนไขสําคัญที่สุดเรื่องหนึ่ง ผมขอให้ข้อคิดว่า “เป็นผู้บริหารที่มีความเป็นนักบริหารที่ดีตั้งแต่ศรีษะจรดปลาย เท้า” เห็นแล้วประทับใจ จะสามารสร้างความประทับใจให้ประชาชนได้ “ยศถาบรรดาศักดิ์ที่ได้มาพร้อมกับภาระ ถ้าท่านเข้าใจ ท่านจะมีความสุขกับภาระที่ท่านได้มา ซึ่ง ภาระหรืองานที่ท่านได้เป็นงานสาธารณะ ท่านจึงไม่สามารถเสพสุขส่วนตัวได้ แต่ถ้าท่านทํางานแล้วมีความสุข ในงาน ท่านถือเป็นปัจจัยของการบริหารทั้งหมด ท่านจักต้องใส่ปุ๋ยดูแล ลูกน้องของท่านให้เติบโต สั่ง สอน และให้เกียรติเขา เท่า ๆ กับที่ท่านเข้าใจเกียรติของท่าน ขอให้ท่านจงภูมิใจกับเกียรติยศศักดิ์ที่ได้มาในวันนี้ และเอาความภูมิใจใส่ไปที่ลูกน้องของท่านด้วยให้เขาภาคภูมิใจในงานที่ทํา”

“วารสารพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย”

9


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.