Sar 57

Page 1


คำนำ ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา ที่ระบุให้ “โรงเรียนจัดทารายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน เสนอต่อ คณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณาและเปิดเผยรายงาน ต่อสาธารณชน” เพื่อเป็น การสะท้อ นภาพความส าเร็จของการพัฒ นาคุณภาพโรงเรียนในรอบปีที่ผ่านมา ภายใต้บริบทและเอกลักษณ์ของโรงเรียน ตามระบบคุณภาพภายในโรงเรียน และให้เขตพื้นที่การศึกษาและ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น ก ากั บ ดู แ ล ตลอดจนตรวจสอบประเมิ น คุ ณ ภาพสถานศึ ก ษา โดยมุ่งหวังที่จะให้โรงเรียนทุกแห่งมีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนดไว้เป็นอย่างต่า และในการดาเนินงานตาม ระบบประกันคุณภาพภายในโรงเรียนนั้น โรงเรียนต้องจัดทารายงานการพัฒนาคุณภาพประจาปีเสนอต่อ หน่ ว ยงานต้น สั งกัด หน่ ว ยงานที่เกี่ย วข้อง และเปิด เผยต่อสาธารณชน รวมทั้งเสนอต่อส านักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (สมศ.) เพื่อรับการประเมินภายนอกในแต่ละรอบ การประเมิน โรงเรียนลาซาลโชติรวีนครสวรรค์ได้จัดทารายงานคุณภาพการศึกษาประจาปีที่แสดงภารกิจ การดาเนินงานและผลการดาเนินงานประจาปีการศึกษา ๒๕๕๗ นาเสนอแก่กลุ่มงานส่งเสริมพัฒนาระบบ ประกัน คุณภาพการศึกษา กลุ่ มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา ภายในเล่ มประกอบด้ว ย ข้อมูลพื้นฐาน แผนปฏิบัติการประจาปี ของโรงเรียน ผลการพัฒนาคุณภาพการจัด การศึกษาของโรงเรียน และสรุปผลการพัฒนาและการนาผลไปใช้ ซึ่งจากการดาเนินงานตลอดปีการศึกษา ได้สะท้อนให้เห็นสภาพ และผลการดาเนินงานของโรงเรียนอย่างชัดเจน ครบถ้วน ทั้งด้านคุณภาพผู้เรียน ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านการบริหารและจัดการ และด้านพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ เอกสารฉบั บ นี้ จ ะช่ ว ยให้ โ รงเรี ย นมองเห็ น ทิศ ทางการด าเนิ น งานและผลสะท้ อ นจากการ ดาเนินงานที่ชัดเจน อันเป็นแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงการดาเนินงานของโรงเรียนในปีการศึกษาต่อไป

(นางสาวทัศนีย์ กรรณิกา) ผู้อานวยการโรงเรียนลาซาลโชติรวีนครสวรรค์


สารบัญ หน้า คานา บทที่ ๑

ข้อมูลพื้นฐาน

บทที่ ๒ บทที่ ๓

แผนปฏิบัติการประจาปีของโรงเรียน ผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน - ผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติงานประจาปีของโรงเรียน - ผลการดาเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน ระดับการศึกษาปฐมวัย มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา มาตรฐานด้านคุณภาพการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของโรงเรียน มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของโรงเรียน มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม สรุปผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานของโรงเรียน ผลการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรโรงเรียน ผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับชาติ

บทที่ ๔

๑ ๖๒ ๘๗ ๙๐ ๙๐ ๑๑๓ ๑๑๘ ๑๒๔ ๑๒๖ ๑๒๖ ๑๒๗ ๑๓๙ ๑๕๒ ๑๕๓ ๑๕๖ ๑๕๘ ๑๖๐ ๑๖๖

สรุปผลการพัฒนาและการนาไปใช้

๑๗๑

จุดเด่นและจุดที่ควรพัฒนา แนวทางการพัฒนาในอนาคต ความต้องการและความช่วยเหลือ

๑๗๑ ๑๗๗ ๑๘๐


บทที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐาน ๑. ข้อมูลทั่วไป ๑.๑ โรงเรียนลาซาลโชติรวีนครสวรรค์ ที่ตั้งเลขที่ ๑๘ ตาบลปากน้าโพ อาเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัด นครสวรรค์ สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน โทร.๐-๕๖๒๑-๒๑๒๖ โทรสาร๐-๕๖๒๑-๔๙๕๕ e-mail : lasallechote@hotmail.com website: www.lasallechote.ac.th ๑.๒ ได้รับอนุญาตจัดตั้ง เมื่อ ๑๗ พฤษภาคม ๒๔๙๖ ๑.๓ เปิดสอนระดับชั้น ปฐมวัย ถึงระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย ๑.๔ เนื้อที่ ๓๙ ไร่ ๓ งาน ๒๙ ตารางวา ๑.๕ เขตพื้นที่บริการ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๑ ๑.๖ ประวัติโรงเรียนโดยย่อ โรงเรียนลาซาลโชติรวีนครสวรรค์ เดิมชื่อโรงเรียนโชติรวี ตั้งอยู่เลขที่ ๔๔ ถนนอรรถกวี ตาบลปากน้าโพ อาเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ (ป๎จจุบันคือวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสวรรค์ ประชารักษ์ ) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๒๐ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๖ โดยทาสัญญาเช่าที่และอาคารเรียน (โรงเรียนตงฮั้ว ) จากมูลนิธิปากน้าโพประชานุเคราะห์ ได้รับอนุญาตเปิดทาการสอนนักเรียน เมื่อวันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๔๙๖ โดยมีภราดาโยเซฟ แมรตส์ เป็นอธิการ นายสุทธิ สุทธิพงษ์ เป็นผู้ถือใบอนุญาต และนายชัยสิทธิ์ สุทธาธาร เป็นผู้จัดการและครูใหญ่ และได้ทาการเปลี่ยนชื่อโรงเรียนเมื่อวันที่ ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๐ ตามใบอนุญาตเลขที่ ๘๔/๒๕๓๐ ตั้งอยู่เลขที่ ๑๘ ถนนโกสีย์ ตาบลปากน้าโพ อาเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ รหัสไปรษณีย์ ๖๐๐๐๐ โทรศัพท์ ๐-๕๖๒๑-๒๑๒๖ โทรสาร ๐-๕๖๒๑-๔๙๕๕ เว็บไซต์www.lasallechote.ac.th สังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน/สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๑ ดาเนินกิจการโดยภราดาคณะลาซาล ภายใต้การดูแลของมูลนิธิลาซาล


แผนที่โรงเรียน


โครงสร้างการบริหาร (แผนภูมิ) โรงเรียนลาซาลโชติรวีนครสวรรค์ แบ่งโครงสร้างการบริหารงานเป็น ๖ ฝุาย ได้แก่ สานักงานอธิการ ประกอบด้วย ด้านบริหารจัดการ อาคารสถานที่ ประสิทธิผล ชุมชนสัมพันธ์ ฝุายบุคลากร ฝุายวิชาการ ฝุายกิจการนักเรียน ฝุายบริการแนะแนว ฝุายธุรการ การเงิน และ ๕ ระดับ คือระดับก่อนประถมศึกษา ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑-๓ ระดับประถมศึกษาปีที่ ๔-๖ ระดับ มัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ และระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ ผู้บริหารยึดหลักการบริหาร/เทคนิคการบริหารแบบ PDCA หลักการ มีส่วนร่วม


๑.๗ ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ปรัชญา “คุณภาพของโรงเรียน ขึ้นอยู่กับคุณภาพของครูและนักเรียนเป็นสาคัญ ” ปรัชญาโรงเรียนมี บ่อเกิดเริ่มแรกมาจากประสบการณ์ทางการศึกษาของนักบุญยอห์น แบพติสท์ เดอ ลาซาล องค์อุปถัมภ์ของ โรงเรียน ด้วยวิสัยทัศน์ที่มุ่งให้เด็กและเยาวชนต้องมีการศึกษา จึงจะพัฒนาตนเองเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ และ สามารถพัฒนาสังคมและประเทศชาติต่อไปในอนาคต ซึ่งควบคู่ไปกับการพัฒนาจิตใจและการอภิบาลความ ประพฤติ โรงเรียนจะมีคุณภาพขึ้นอยู่กับศักยภาพของครูและผู้บริหาร ซึ่งสะท้อนผลลัพธ์จากผลสัมฤทธิ์ทาง การศึกษา – อบรมของนักเรียน วิสัยทัศน์ นักเรียนโรงเรียนลาซาลโชติรวีนครสวรรค์ มีคุณธรรม เรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิตพอเพียงและช่วยเหลือสังคม พันธกิจ (MISSION = ภารกิจ) ๑. มุ่งมั่นบริหารและจัดการศึกษาเชิงระบบให้มีคุณภาพ ๒. พัฒนาครูให้มีคุณภาพในการจัดการเรียนการสอนและการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ๓. พัฒนานักเรียนด้านการเรียนรู้ ระเบียบวินัยและคุณธรรม จริยธรรม ๔. ปลูกฝ๎งความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ๕. อนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและสิ่งแวดล้อม ๖. จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ๗. สร้างสรรค์ความสัมพันธ์ระหว่าง บ้าน วัด โรงเรียน ๘. ส่งเสริม น้อมนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดาเนินชีวิตพร้อมบริการและช่วยเหลือสังคม เป้าหมาย ๑. นักเรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ (ฝุายบริการแนะแนว- ฝุายกิจการนักเรียน) ๒. นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ (ฝุายกิจการนักเรียน) ๓. นักเรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง (ฝุายวิชาการ) ๔. นักเรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ตัดสินใจแก้ป๎ญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล (ฝุายวิชาการ) ๕. นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร (ฝุายประสิทธิผล-วิชาการ) ๖. นักเรียนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต (ฝุายวิชาการ – บริการแนะแนว) ๗. ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล (ฝุายวิชาการ – บุคลากร) ๘. ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิ(ฝุผาลยบริหารจัดการ-ฝุาย ประสิทธิผล) ๙. คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครอง ชุมชนปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผล (ฝุายบริหารจัดการ – ชุฝุมาชนสั ย มพันธ์) ๑๐. โรงเรียนมีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพนักเรียนอย่างรอบด้าน (ฝุายวิชาการ– ฝุายกิจการนักเรียน– ฝุายบริการแนะแนว ) ๑๑. โรงเรียนมีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริมให้นักเรียนพัฒนาเต็มตามศักยภาพ (ฝุายอาคารสถานที่- ฝุายบริการแนะแนว-ฝุายวิชาการ)


๑๒. โรงเรียนมีการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนตามที่กาหนดในกฎกระทรวง (ฝุายบริหารจัด–การ ฝุายประสิทธิผล– ฝุายวิชาการ) ๑๓. โรงเรียนมีการสร้าส่งงเสริมสนับสนุนให้โรงเรียนเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้(ฝุายอาคารสถานที – ฝุายวิช่ าการ ) ๑๔. มีการพัฒนาโรงเรียนให้บรรลุเปูาหมายตามวิสัยทัศปรัน์ชญา และจุดเน้นที่กาหนดขึ้น (ฝุายวิชาการฝุายกิจการนักเรียน) ๑๕. มีการจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาและส่งเสริมโรงเรียน ให้ยกระดับคุณภาพสูงขึ้น (ฝุายบริหาร จัดการ - ฝุายวิชาการ –ฝุายกิจการนักเรียน - ฝุายประสิทธิผล) ๑.๘ เอกลักษณ์/อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ กิจกรรมเช้าดี มีระเบียบวินัย ACTIVE MORNINGS AND BEING DISCIPLINE กิจกรรมเช้า - กิจกรรมการนั่งสมาธิ เสริมสร้างสติป๎ญญาเกิดความพร้อมในการเรียนและระเบียบวินัย ในห้องเรียน - กิจกรรมรักการอ่านสร้างนิสัยรักการอ่าน ใฝุรู้ ใฝุเรียนจากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ มีเจตคติที่ดีต่อการเรียน และค่านิยมที่พึงประสงค์ - กิจกรรมขยับกาย สบายชีวี วิธีพุทธ เป็นการฝึกสมาธิ การเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย - การออกกาลังกาย เสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย ระเบียบวินัย - สามารถฟ๎งสัญญาณเตรียมพร้อม การเข้าแถวและเดินแถวอย่างเป็นระเบียบ - ปลูกฝ๎งระเบียบวินัยในห้องเรียน เกิดการเรียนรู้ มีวินัยในตนเอง - สร้างระเบียบวินัยในเรื่องการรักษาความสะอาด การเข้าแถวซื้ออาหาร อัตลักษณ์ รักการอ่าน เสริมสร้างคุณธรรม LOVE READING, STRENGTHENING VIRTUES รักการอ่าน มีนิสัยรักการอ่าน ใฝุรู้ ใฝุเรียนจากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ มีเจตคติที่ดีต่อการเรียน กิจกรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ คุณธรรม - มีคุณธรรม ปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนา - มีระเบียบวินัยต่อตนเองและผู้อื่น ปฏิบัติตามกฎของห้องเรียน โรงเรียน และสังคม


โครงการ / งาน / กิจกรรมที่ตอบสนองต่อเอกลักษณ์ – อัตลักษณ์ โรงเรียน ๑) โครงการห้องสมุดส่งเสริมรักการอ่าน (ฝุายวิชาการ) ๒) โครงการเรียนรู้คู่คุณธรรม (ฝุายวิชาการ) ๓) โครงการส่งเสริมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (ฝุายวิชาการ) ๔) โครงการพัฒนาระเบียบวินัยและความรับผิดชอบ (ฝุายกิจการนักเรียน) ๕) โครงการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ (ฝุายกิจการนักเรียน) ๖) โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม (ฝุายกิจการนักเรียน) ๗) โครงการโรงเรียนสีขาว (ฝุายกิจการนักเรียน) ๘) โครงการส่งเสริมสุนทรียภาพ (ฝุายกิจการนักเรียน) ๙) กิจกรรมยามเช้า นั่งสมาธิ ขยับกายสบายชีวี วิถีพุทธ ออกกาลังกาย (ฝุายกิจการนักเรียน, ฝุายบริการ แนะแนว) ๑.๙ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา เป้าหมายที่ ๑ ยุทธศาสตร์/มาตรการ/กลยุทธ์ สภาพความสาเร็จ/ตัวชี้วัด นักเรียนมีสุขภาวะที่ดีและ มีสุนทรียภาพ

เป้าหมายที่ ๒ นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และ ค่านิยมที่พึงประสงค์

๑. มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและ ออกกาลังกายสม่าเสมอ ๒. มีน้าหนัก ส่วนสูง และมี สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ มาตรฐาน ๓. มีสุขภาพจิตใจร่าเริงแจ่มใส มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับครู เพื่อนและ บุคคลทั่วไป ๔. สามารถปูองกันตนเองจากสิ่งเสพ ติดให้โทษและหลีกเลี่ยงตนเองจาก สภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุ และป๎ญหาทางเพศ ๕. เห็นคุณค่าในตนเองมีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม ๖. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ให้เกียรติผู้อื่น และมองโลกในแง่ดี ๗. สร้างผลงานจากการเข้าร่วม กิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป์ กีฬา/นันทนาการ ตามจินตนาการ

๑. ร้อยละของนักเรียนมีความรู้ด้านอนามัย มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออกกาลังกาย สม่าเสมอ ๒. ร้อยละของนักเรียนมีน้าหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน ของกรมอนามัย ๓. ร้อยละของนักเรียนมีสุขภาพจิตใจร่าเริง แจ่มใส มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับครู เพื่อน บุคคลทั่วไป และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข ๔. ร้อยละของนักเรียนสามารถปูองกันตนเอง จากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยง ตนเองจากสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุ และป๎ญหาทางเพศ ๕. ร้อยละของนักเรียนมีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม ๖. ร้อยละของนักเรียนมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ให้เกียรติผู้อื่นและมองโลกในแง่ดี ๗. ร้อยละของนักเรียนสร้างผลงานจากการเข้า ร่วมกิจกรรมภายในและภาย ด้านศิลปะ ดนตรี/ นาฏศิลป์ วรรณศิลป์ กีฬา/นันทนาการ ตาม จินตนาการ

ยุทธศาสตร์/มาตรการ/กลยุทธ์

สภาพความสาเร็จ/ตัวชี้วัด

๑. มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตาม หลักสูตร (ซื่อสัตย์ มีวินัย มุ่งมั่นใน การทางาน อยู่อย่างพอเพียง ใฝุเรียนรู้ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ รักความเป็นประชาธิปไตย และ มีจิตสาธารณะ)

๑. ร้อยละของนักเรียนมีคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ตามหลักสูตร (ซื่อสัตย์ มีวินัย มุ่งมั่น ในการทางาน อยู่อย่างพอเพียง ใฝุเรียนรู้ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ รักความเป็น ประชาธิปไตย และมีจิตสาธารณะ) ๒. ร้อยละของนักเรียนเห็นคุณค่าในตนเอง เอื้ออาทรต่อผู้อื่น และกตัญํูต่อผู้มีพระคุณ


เป้าหมายที่ ๒

เป้าหมายที่ ๓

ยุทธศาสตร์/มาตรการ/กลยุทธ์

สภาพความสาเร็จ/ตัวชี้วัด

๒. เห็นคุณค่าในตนเอง เอื้ออาทรต่อ ผู้อื่น และกตัญํูต่อผู้มีพระคุณ ๓. ยอมรับความคิดเห็นและวัฒนธรรม ที่ต่างกัน ๔. ตระหนัก รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์ และพัฒนาสิ่งแวดล้อม

๓. ร้อยละของนักเรียนยอมรับความคิดเห็นและ วัฒนธรรมที่ต่างกัน ๔. ร้อยละของนักเรียนตระหนัก รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์ และพัฒนาสิ่งแวดล้อม

ยุทธศาสตร์/มาตรการ/กลยุทธ์

สภาพความสาเร็จ/ตัวชี้วัด

นักเรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการ ๑. ร้อยละของนักเรียนมีนิสัยรักการอ่านและ ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนา แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการ แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่ง ตนเองอย่างต่อเนื่อง เรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เรียนรู้ และสื่อต่างๆ รอบตัว ๒. ร้อยละของนักเรียนมีทักษะในการอ่าน ฟ๎ง ดู พูด เขียนและตั้งคาถามเพื่อค้นคว้า หาความรู้เพิ่มเติม ๓. ร้อยละของนักเรียน เรียนรู้ร่วมกันเป็น กลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ ระหว่างกัน ๔. ร้อยละของนักเรียนใช้เทคโนโลยีในการ เรียนรู้และนาเสนอผลงาน

เป้าหมายที่ ๔

ยุทธศาสตร์/มาตรการ/กลยุทธ์

นักเรียนมีความสามารถคิดอย่างเป็น ระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจ แก้ป๎ญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล

พัฒนานักเรียนให้มีความสามารถ ในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ป๎ญหา ได้อย่างมีสติ สมเหตุผล

เป้าหมายที่ ๕

ยุทธศาสตร์/มาตรการ/กลยุทธ์

นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็น ตามหลักสูตร

นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็น ตามหลักสูตร

สภาพความสาเร็จ/ตัวชี้วัด ๑. ร้อยละของนักเรียนสรุปความคิดจาก เรื่องที่อ่าน ฟ๎ง ดู และสื่อสารโดยการพูด หรือเขียนตามความคิดของตนเอง ๒. ร้อยละของนักเรียนนาเสนอวิธีคิด วิธีแก้ป๎ญหาด้วยภาษาหรือวิธีการของตนเอง ๓. ร้อยละของนักเรียนกาหนดเปูาหมาย คาดการณ์ ตัดสินใจแก้ป๎ญหาโดยมีเหตุผล ประกอบ ๔. ร้อยละของนักเรียน มีความคิดริเริ่มและ สร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ

สภาพความสาเร็จ/ตัวชี้วัด ๑. ร้อยละของนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนแต่ละกลุ่มสาระเป็นไปตามเกณฑ์ ๒. ร้อยละของนักเรียนมีระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเฉลี่ยอยู่ในระดับดีขึ้นไป ๓. ร้อยละของนักเรียนมีผลการทดสอบ ระดับชาติเฉลี่ยอยู่ในระดับดีขึ้นไป ๔. ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมิน สมรรถนะสาคัญตามหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์ ๕. ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินการ อ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนเป็นไปตามเกณฑ์


เป้าหมายที่ ๖

ยุทธศาสตร์/มาตรการ/กลยุทธ์

นักเรียนมีทักษะในการทางาน รักการ ๑. ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการ ทางาน สามารถทางานกับผู้อื่นได้ และ ทางาน รักการทางาน สามารถทางาน มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต กับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ สุจริต ๒. จัดแนะแนวการศึกษาต่อ สายสามัญ สายอาชีพ และอุดมศึกษา นักเรียนสามารถรู้ถึงความถนัด ความสามารถ ความสนใจ ข้อดี - ข้อด้อยของตนเอง การศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพ และพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลา

เป้าหมายที่ ๗ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่าง มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล

ยุทธศาสตร์/มาตรการ/กลยุทธ์ พัฒนาให้ครูปฏิบัติงานตามบทบาท หน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผล

สภาพความสาเร็จ/ตัวชี้วัด ๑. ร้อยละของนักเรียนที่สามารถวางแผนการ ทางานและดาเนินการจนสาเร็จ ๒. ร้อยละของนักเรียนที่สามารถทางานอย่างมี ความสุข มุ่งมั่นพัฒนางานและภูมิใจในผลงาน ของตนเอง ๓. ร้อยละของนักเรียนที่สามารถทางานร่วมกับ ผู้อื่นได้ ๔. ร้อยละของนักเรียนสามารถรู้ถึงความถนัด ความสามารถในการตัดสินใจในการศึกษาต่อ สายสามัญ สายอาชีพ และอุดมศึกษาได้อย่าง ถูกต้อง พัฒนาตนเองอยู่เสมอ

สภาพความสาเร็จ/ตัวชี้วัด ๑. ร้อยละของครูที่มีการกาหนดเปูาหมาย คุณภาพนักเรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ สมรรถนะ และคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ ๒. ร้อยละของครูที่มีการวิเคราะห์นักเรียน เป็นรายบุคคล และใช้ข้อมูลในการวางแผนการ จัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพนักเรียน ๓. ร้อยละของครูที่ออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่ ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและ พัฒนาการทางสติป๎ญญา ๔. ร้อยละของครูที่ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่ เหมาะสมผนวกกับการนาบริบทและภูมิป๎ญญา ของท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ ๕. ร้อยละของครูที่มีการวัดและประเมินผลที่ มุ่งเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนด้วย วิธีการที่หลากหลาย ๖. ร้อยละของครูที่ให้คาแนะนา คาปรึกษา และ แก้ไขป๎ญหาให้แก่นักเรียนทั้งด้านการเรียนและ คุณภาพชีวิตด้วยความเสมอภาค ๗. ร้อยละของครูที่มีการศึกษา วิจัยและ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ในวิชาที่ตนรับผิดชอบ และใช้ผลในการปรับการสอน ๘. ร้อยละของครูประพฤติปฏิบัติตนเป็น แบบอย่างที่ดีและเป็นสมาชิกที่ดีของโรงเรียน ๙. ร้อยละของครูจัดการเรียนการสอนตามวิชา ที่ได้รับมอบหมายเต็มเวลาเต็มความสามารถ ๑๐. ร้อยละของครูได้รับสวัสดิการเสริมสร้าง ขวัญและกาลังใจอย่างทั่วถึงเท่าเทียมกัน


เป้าหมายที่ ๘

ยุทธศาสตร์/มาตรการ/กลยุทธ์

ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ ๑. ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้นา อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด และความคิดริเริ่มที่เน้นพัฒนาการ ประสิทธิผล นักเรียน ๒. ผู้บริหารใช้หลักการบริหารแบบมี ส่วนร่วมและใช้ข้อมูลผลการประเมิน หรือผลการวิจัยเป็นฐานคิดทั้งด้าน วิชาการและการจัดการ ๓. ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการ การศึกษาให้บรรลุเปูาหมายตามที่ กาหนดไว้ในแผนปฏิบัติการ ๔. ผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนา ศักยภาพบุคลากรให้พร้อมรับการ กระจายอานาจ ๕. ผู้บริหารให้คาแนะนา คาปรึกษา ทางวิชาการและเอาใจใส่การจัด การศึกษาเต็มศักยภาพและเต็มเวลา ๖. นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน พึงพอใจผลการบริหารการจัด การศึกษา

เป้าหมายที่ ๙ คณะกรรมการสถานศึกษา และ ผู้ปกครอง ชุมชนปฏิบัติงานตาม บทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล

เป้าหมายที่ ๑๐

ยุทธศาสตร์/มาตรการ/กลยุทธ์ ๑. คณะกรรมการโรงเรียนรู้และปฏิบัติ หน้าที่ตามที่ระเบียบกาหนด ๒. คณะกรรมการโรงเรียนกากับ ติดตามดูแลและขับเคลื่อนการ ดาเนินงานของโรงเรียนให้บรรลุผล สาเร็จตามเปูาหมาย ๓. คณะกรรมการโรงเรียน และ ผู้ปกครอง ชุมชนปฏิบัติงานตาม บทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล

ยุทธศาสตร์/มาตรการ/กลยุทธ์

โรงเรียนมีการจัดหลักสูตร กระบวน ๑. โรงเรียนมีการจัดหลักสูตร การเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ กระบวนการเรียนรู้และกิจกรรม นักเรียนอย่างรอบด้าน พัฒนาคุณภาพนักเรียนอย่างรอบด้าน ๒. มีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มี ประสิทธิภาพและครอบคลุมถึง นักเรียนทุกคน ๓. นักเรียนที่ขาดแคลนมีโอกาสได้รับ การศึกษาอบรม ได้รับการช่วยเหลือ ตามความเหมาะสม และมีการ ติดตามผลการเรียนอย่างใกล้ชิด

สภาพความสาเร็จ/ตัวชี้วัด ๑. ร้อยละของผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้นา และความคิดริเริ่มที่เน้นพัฒนาการนักเรียน ๒.ร้อยละของผู้บริหารใช้หลักการบริหารแบบมี ส่วนร่วมและใช้ข้อมูลผลการประเมินหรือ ผลการวิจัยเป็นฐานคิดทั้งด้านวิชาการและการ จัดการ ๓. ร้อยละของผู้บริหารสามารถบริหารจัดการ การศึกษาให้บรรลุเปูาหมายตามที่กาหนดไว้ใน แผนปฏิบัติการ ๔. ร้อยละของผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนา ศักยภาพบุคลากรให้พร้อมรับการกระจาย อานาจ ๕. ร้อยละของผู้บริหารให้คาแนะนา คาปรึกษา ทางวิชาการและเอาใจใส่การจัดการศึกษาเต็ม ศักยภาพและเต็มเวลา ๖. ร้อยละของนักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน พึงพอใจผลการบริหารการจัดการศึกษา

สภาพความสาเร็จ/ตัวชี้วัด ๑. ร้อยละของคณะกรรมการโรงเรียนรู้และ ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ระเบียบกาหนด ๒. ร้อยละของคณะกรรมการโรงเรียนกากับ ติดตามดูแลและขับเคลื่อนการดาเนินงานของ โรงเรียนให้บรรลุผลสาเร็จตามเปูาหมาย ๓. ร้อยละของผู้ปกครองและชุมชน มีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียน

สภาพความสาเร็จ/ตัวชี้วัด ๑. ร้อยละของหลักสูตรโรงเรียนเหมาะสมและ สอดคล้องกับท้องถิ่น ๒. ร้อยละของการจัดรายวิชาเพิ่มเติมที่ หลากหลายให้นักเรียนเลือกเรียนตามความถนัด ความสามารถและความสนใจ ๓. ร้อยละของการจัดกิจกรรมพัฒนา นักเรียนที่ส่งเสริมและตอบสนองความต้องการ ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของ นักเรียน


๑๐

เป้าหมายที่ ๑๐

เป้าหมายที่ ๑๑

ยุทธศาสตร์/มาตรการ/กลยุทธ์

สภาพความสาเร็จ/ตัวชี้วัด

๔. มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการมี จิตอาสา รักชาติ และรักประชาธิปไตย ๕. มีการจัดกิจกรรม/โครงการที่ส่งเสริม ให้ผู้ปกครองมีความรู้และมีส่วนร่วมใน การพัฒนานักเรียน ๖. โรงเรียนมีส่วนร่วมช่วยเหลือคน ในสังคม และนักเรียนมีคุณธรรม หลากหลายเพิ่มขึ้น

๔. ร้อยละของการสนับสนุนให้ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงจน สรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง ๕. ร้อยละของการนิเทศภายใน กากับติดตาม ตรวจสอบและนาผลไปปรับปรุงการเรียนการ สอนอย่างสม่าเสมอ ๖. ร้อยละของนักเรียนได้รับการช่วยเหลือตาม ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนครอบคลุมทุกคน ๗. ร้อยละของนักเรียนที่เรียนดีและนักเรียน ที่ขาดแคลนได้รับความช่วยเหลือตามความ เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง ๘. ร้อยละของการจัดกิจกรรมสืบสานและ สร้างสรรค์ วัฒนธรรม ประเพณีและภูมิป๎ญญาไทย ๙. ร้อยละของการจัดกิจกรรม/โครงการที่ ส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความรู้และมีส่วนร่วมใน การพัฒนานักเรียน ๑๐. ร้อยละของโรงเรียนมีส่วนร่วมช่วยเหลือคน ในสังคม และนักเรียนมีคุณธรรมหลากหลาย เพิ่มขึ้น

ยุทธศาสตร์/มาตรการ/กลยุทธ์

สภาพความสาเร็จ/ตัวชี้วัด

โรงเรียนมีการจัดสภาพแวดล้อมและ ๑. จัดโครงการ กิจกรรม ที่ส่งเสริม ๑. ร้อยละของนักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดี การบริการที่ส่งเสริมให้นักเรียนพัฒนา สุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของ เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการสุขาภิบาล เต็มตามศักยภาพ นักเรียน ของกรมอนามัย ๒. มีการช่วยเหลือนักเรียนให้มีภาวะ ๒. ร้อยละของนักเรียนมีสุขภาพอนามัยสมบูรณ์ โภชนาการมาตรฐานการสุขาภิบาล แข็งแรงเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ของกรมอนามัย การสุขาภิบาลของกรมอนามัย ๓. ผู้ประกอบอาหารมีความรู้ด้าน ๓. ร้อยละของผู้ประกอบอาหารมีความรู้ด้าน โภชนาการ จัดร้านค้าที่สะอาด โภชนาการและจัดร้านค้าที่สะอาด ถูกหลักอนามัยแก่ผู้บริโภค ถูกหลักอนามัยแก่ผู้บริโภค ๔. จัดห้องสมุดที่ให้บริการสื่อและ ๔. ร้อยละของการจัดห้องสมุดที่ให้บริการสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อให้นักเรียน และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อให้นักเรียน เรียนรู้ด้วยตนเองและหรือเรียนรู้แบบ เรียนรู้ด้วยตนเองและหรือเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ๕. ร้อยละของห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคาร มีส่วนร่วม เรียนมั่นคง สะอาดและปลอดภัย มีสิ่งอานวย ๕. ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียน ความสะดวก พอเพียง อยู่ในสภาพใช้การได้ดี มั่นคง สะอาดและปลอดภัย มีสิ่งอานวย สภาพแวดล้อมร่มรื่น และมีแหล่งเรียนรู้สาหรับ ความสะดวก พอเพียง อยู่ในสภาพใช้การ นักเรียน ได้ดี สภาพแวดล้อมร่มรื่น และมีแหล่ง ๖. ร้อยละของ สภาพแวดล้อมที่สะอาด ร่มรื่น สวยงาม และเอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียน เรียนรู้สาหรับนักเรียน ๖. มีการจัดสภาพแวดล้อมที่สะอาด ๗.ร้อยละของการให้บริการเทคโนโลยี ร่มรื่นสวยงาม และเอื้อต่อการเรียนรู้ สารสนเทศทุกรูปแบบที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้วย ตนเองและการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ของนักเรียน


๑๑

เป้าหมายที่ ๑๑

ยุทธศาสตร์/มาตรการ/กลยุทธ์

สภาพความสาเร็จ/ตัวชี้วัด

๗.มีการให้บริการเทคโนโลยี สารสนเทศ ทุกรูปแบบที่เอื้อต่อการ เรียนรู้ด้วยตนเองและการเรียนรู้แบบ มีส่วนร่วม

๘. ร้อยละของการจัดและใช้แหล่งเรียนรู้ ทั้งใน และนอกโรงเรียน

เป้าหมายที่ ๑๒

ยุทธศาสตร์/มาตรการ/กลยุทธ์

สภาพความสาเร็จ/ตัวชี้วัด

โรงเรียนมีการประกันคุณภาพภายใน ของโรงเรียนตามที่กาหนดใน กฎกระทรวง

๑. มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษา ๒. จัดทาและดาเนินการตาม แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ โรงเรียนที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน ๓. จัดระบบข้อมูลสารสนเทศและใช้ สารสนเทศในการบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาคุณภาพโรงเรียน ๔. มีการติดตามตรวจสอบและ ประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐาน ของโรงเรียน ๕. มีการนาผลการประเมินคุณภาพ ทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผน พัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ๖. มีการจัดทารายงานประจาปีที่เป็น รายงานการประเมินคุณภาพภายใน ๗. มีการประเมินคุณภาพภายในตาม มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน ๘. มีการตรวจสอบและถ่วงดุลด้าน การบริหารและการจัดการศึกษา ๙. มีการบริหารจัดการประสิทธิภาพ ของงานธุรการ ๑๐. มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา อย่างต่อเนื่อง

๑. ร้อยละของโรงเรียนมีการกาหนดมาตรฐาน การศึกษา ๒. ร้อยละของโรงเรียนมีการจัดทาและ ดาเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ โรงเรียนที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาของโรงเรียน ๓. ร้อยละของโรงเรียนมีการจัดระบบข้อมูล สารสนเทศและใช้สารสนเทศในการบริหาร จัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพ ๔. ร้อยละของโรงเรียนมีการติดตามตรวจสอบ และประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานของ โรงเรียน ๕. ร้อยละของโรงเรียนมีการนาผลการประเมิน คุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผน พัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ๖. ร้อยละของโรงเรียนมีการจัดทารายงาน ประจาปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพ ภายใน ๗. ร้อยละของโรงเรียนมีการประเมินคุณภาพ ภายในตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน ๘. ร้อยละของโรงเรียนมีการตรวจสอบและ ถ่วงดุลด้านการบริหารและการจัดการศึกษา ๙. ร้อยละของโรงเรียนมีการบริหารจัดการ ประสิทธิภาพของงานธุรการ ๑๐. ร้อยละของโรงเรียนมีการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาอย่างต่อเนื่อง

เป้าหมายที่ ๑๓

ยุทธศาสตร์/มาตรการ/กลยุทธ์

สภาพความสาเร็จ/ตัวชี้วัด

โรงเรียนมีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้๑. มีการสร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ๑. ร้อยละของการสร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ โรงเรียนเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ภายในโรงเรียน และใช้ประโยชน์จาก ภายในโรงเรียน และใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ทั้ง แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก ภายในและภายนอกโรงเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ โรงเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของ ของนักเรียนและบุคลากรของโรงเรียนรวมทั้ง นักเรียนและบุคลากรของโรงเรียน ผู้เกี่ยวข้อง รวมทั้งผู้เกี่ยวข้อง ๒. ร้อยละของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง ๒. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง บุคลากรภายในโรงเรียน ระหว่างโรงเรียนกับครอบครัว บุคลากรภายในโรงเรียน ระหว่างโรงเรียนชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง กับครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง


๑๒

เป้าหมายที่๑๔

ยุทธศาสตร์/มาตรการ/กลยุทธ์

สภาพความสาเร็จ/ตัวชี้วัด

มีการพัฒนาโรงเรียนให้บรรลุเปูาหมาย ๑. โรงเรียนจัดโครงการ กิจกรรมที่ ๑. ร้อยละของโรงเรียนจัดโครงการ กิจกรรมที่ ตามวิสัยทัศน์ ปรัชญาและจุดเน้นที่ ส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุวิสัยทัศน์ ปรัชญา ส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุวิสัยทัศน์ ปรัชญา และ กาหนดขึ้น และจุดเน้นของโรงเรียน จุดเน้นของโรงเรียน ๒. ผลการดาเนินงานส่งเสริมให้นักเรียน ๒. ร้อยละของโรงเรียนส่งผลการดาเนินงานส่งเสริม บรรลุเปูาหมาย วิสัยทัศน์ ปรัชญา และ ให้นักเรียนบรรลุเปูาหมาย วิสัยทัศน์ ปรัชญา และ จุดเน้นของโรงเรียน จุดเน้นของโรงเรียน

เป้าหมายที่๑๕

ยุทธศาสตร์/มาตรการ/กลยุทธ์

สภาพความสาเร็จ/ตัวชี้วัด

มีการจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น ๑. จัดโครงการกิจกรรมตามนโยบาย ๑. ร้อยละของโครงการ กิจกรรมพิเศษเพื่อตอบสนอง แนวทางการปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนา จุดเน้น ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา นโยบาย จุดเน้น ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา และส่งเสริมโรงเรียนให้ยกระดับ ๒. ผลการดาเนินงานบรรลุตามเปูาหมาย ๒. ร้อยละของการดาเนินงานที่บรรลุเปูาหมายท ี่ คุณภาพสูงขึ้น กาหนด

๒. ข้อมูลผู้บริหาร ๒.๑ ผู้รับใบอนุญาต นายบุญเชิด เกตุรัตน์ โทรศัพท์ ๐-๕๖๒๑-๒๑๒๖ วุฒิการศึกษาสูงสุด วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาและการแนะแนว ดารงตาแหน่งตั้งแต่ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ จนถึงป๎จจุบัน เป็นเวลา ๓ ปี ๒.๒ ผู้จัดการ นาย สุริยา เตยสร้อย โทรศัพท์ ๐-๕๖๒๑-๒๑๒๖ วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต ดารงตาแหน่งตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๖ จนถึงป๎จจุบัน เป็นเวลา ๒ ปี ๒.๓ ผู้อานวยการโรงเรียน นางสาวทัศนีย์ กรรณิกา โทรศัพท์ ๐-๕๖๒๑-๒๑๒๖ e-mail : dang-99@hotmail.com วุฒิการศึกษาสูงสุด ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ดารงตาแหน่งตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๕ จนถึงป๎จจุบัน เป็นเวลา ๓ ปี ๒.๔ ลักษณะผู้รับใบอนุญาต ❍ บุคคลธรรมดา ❍  นิติบุคคล ❍ ห้างหุ้นส่วนจากัด/บริษัท

❍ มูลนิธิในพุทธศาสนา/ การกุศลของวัด

❍ มูลนิธิในคริสตศาสนา

❍ มูลนิธิในศาสนาอิสลาม

❍  อื่น ๆ (ระบุ) มูลนิธิ

๓. ข้อมูลนักเรียน ๓.๑ ที่ตั้ง ❍ กทม. ๓.๒ ลักษณะโรงเรียน ❍ สามัญทั่วไป ❍  การกุศล ๓.๓ ระดับที่เปิดสอน

❍  ภูมิภาค ❍ สามัญศึกษาและ EP

❍ EP

❍ อิสลามศึกษา

❍ การสอนศาสนาอิสลามควบคู่วิชาสามัญของมูลนิธิ/มัสยิด

❍ ปฐมวัย

❍ ปฐมวัย – ประถมศึกษา

❍ ปฐมวัย – ม.ต้น

❍ ปฐมวัย – ม.ปลาย

❍ ประถมศึกษา

❍ ประถมศึกษา – ม.ต้น

❍ ประถมศึกษา – ม.ปลาย

❍ ม.ต้น

❍ ม.ต้น – ม.ปลาย

❍ ม.ปลาย

❍ อื่นๆ


๑๓

๓.๔ จานวนห้องเรียนจาแนกตามหลักสูตร/โครงการ จานวนห้องเรียน

ระดับชั้น เตรียมอนุบาล อนุบาล ประถมศึกษา (ป.๑-๖) มัธยมต้น (ม.๑-๓) มัธยมปลาย (ม.๔-๖) รวม

ไทย

EP

อิสลาม

รวม

๑ ๑๘ ๔๐ ๒๔ ๑๕ ๙๘

-

-

๑ ๑๘ ๔๐ ๒๔ ๑๕ ๙๘

๓.๕ จานวนผู้เรียนจาแนกตามหลักสูตร/โครงการและเพศ จานวนผู้เรียน หลักสูตรโครงการ/ ระดับชั้น ไทย EP อิสลาม รวม ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง รวม ๔๐ ๒๑ ๑๙ ๒๑ ๑๙ เตรียมอนุบาล ๓๒๐ ๒๙๖ ๓๒๐ ๒๙๖ ๖๑๖ อนุบาล ๙๙๓ ๘๔๖ ๑,๘๓๙ ประถมศึกษา (ป.๑-๖) ๙๙๓ ๘๔๖ ๖๓๔ ๕๒๒ ๖๓๔ ๕๒๒ ๑,๑๕๖ มัธยมต้น (ม.๑-๓) ๓๖๐ ๓๒๙ ๓๖๐ ๓๒๙ ๖๘๙ มัธยมปลาย (ม. ๔-๖) ๒,๓๒๘ ๒,๐๑๒ ๒,๓๒๘ ๒,๐๑๒ ๔,๓๔๐ รวม ๓.๖ จานวนผู้เรียนที่มีลักษณะพิเศษ จานวน (คน) รายการ ๑. ผู้เรียนที่มีความบกพร่องเรียนร่วม ๒. ผู้เรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ ๓. ผู้เรียนป๎ญญาเลิศ ๓.๑ คณิตศาสตร์ ๓.๒ วิทยาศาสตร์ ๓.๓ ภาษาอังกฤษ ๓.๔ ศิลปะ ๓.๕ นาฏศิลป์/ดนตรี ๓.๖ พลศึกษา ๑.๗ ภาษาไทย ๑.๘ สังคม ๑.๙ การงานอาชีพ ๔. ผู้เรียนที่ต้องการความช่วยเหลือเป็น

เตรียมอนุบาล และอนุบาล ๑๑

ประถม

ม.ต้น

ม.ปลาย

รวม

๑๕

๑๒

๔๕

คิดเป็น ร้อยละ ๑.๐๓

-

๙๕๗ ๗๖๗ ๙๔๘ ๗๗๘ ๗๗๘ ๙๔๓ ๘๘๒ ๗๐๘ ๗๐๐

๑๖๐ ๒๙๔ ๑๕๐ ๑๕๐ ๑๓๐ ๑๙๖ ๑๘๐ ๑๕๐ ๑๖๐

๕ ๗ ๓ ๔ ๑๕ ๙ ๓ ๓ ๕

๑,๑๒๒ ๑,๐๖๘ ๑,๑๐๑ ๙๓๒ ๙๒๓ ๑,๑๔๘ ๑,๐๖๕ ๘๖๑ ๘๖๕

๓๐.๗๗ ๒๙.๒๙ ๓๐.๒๐ ๒๕.๕๖ ๒๕.๓๒ ๓๑.๔๙ ๒๙.๒๑ ๒๓.๖๑ ๒๓.๗๒


๑๔ จานวน (คน) รายการ

เตรียมอนุบาล และอนุบาล

ประถม

ม.ต้น

ม.ปลาย

รวม

คิดเป็น ร้อยละ

๔.๑ ยากจน

๓๓

๓๖

๔๖

๑๒๔

๒.๒๘

๔.๒ ด้อยโอกาส

-

-

-

-

-

-

๔.๓ เรียนดี

-

-

๔๓

๓๙

๘๒

๔.๕๒

๑ -

๑๓๓

๑๙๕

๔๒๓

๑ ๗๕๑

๐.๐๒ ๒๐.๖๐

๒ -

๑๑ ๗๘ -

๑๗ ๙๑ -

๑๓ ๑๐๓ -

๔๑ ๒๗๔ -

๑.๑๒ ๖.๓๑ -

พิเศษ

๕. ผู้เรียนซ้าชั้น ๖. ผู้เรียนที่ขาดเรียนมากกว่าร้อยละ ๕ ของเวลาเรียน (วัน) ตลอดปีการศึกษา ๗. ผู้เรียนลาออกกลางคัน ๘. ผู้เรียนที่ทาชื่อเสียงให้กับโรงเรียน ๙. ผู้เรียนที่อยู่ในภาวะเสี่ยง ๙.๑ เอดส์ ๙.๒ ยาเสพติด ๙.๓ ความรุนแรง ๙.๔ พฤติกรรมก้าวร้าวตามคาวินิจฉัย ของแพทย์

๓.๗ จานวนนักเรียนที่มีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ของกรมพลศึกษาหรือสานักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ๓,๖๔๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๙.๐๒ ๓.๘ จานวนนักเรียนที่มีน้าหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ของกรมอนามัย๒,๗๑๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๓.๗๒ ๓.๙ จานวนนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ วรรณคดีและนันทนาการ ๓,๖๘๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ๓.๑๐ จานวนนักเรียนที่มีคุณลักษณะเป็นลูกที่ดีของพ่อ แม่ ผู้ปกครอง ๓,๖๘๔ คน คิดเป็นร้อยละ๑๐๐ ๓.๑ ๑ จานวนนักเรียนที่มีคุณลักษณะเป็นนักเรียนที่ดีของโรงเรีย๓,๖๘๔ น คน คิดเป็นร้อยละ๑๐๐ ๓.๑ ๒ จานวนนักเรียนที่ทากิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมทั้งในและ นอกโรงเรียน ๓,๖๘๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ๓.๑๓ จานวนนักเรียนที่มีบันทึกการเรียนรู้จากการอ่านและการสืบค้นจากเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างสม่าเสมอ ๓,๖๘๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ๓.๑ ๔ จานวนนักเรียนที่ผ่านการประเมินความสามารถด้านการคิดตามที่กาหนดในหลักสูตรสถานศึกษา ๓,๖๘๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ๓.๑๕ จานวนนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตามความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสังตามที คม ่กาหนดใน หลักสูตรสถานศึกษา ๓,๖๘๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ๓.๑ ๖ จานวนนักเรียนที่จบหลักสูตร อ.๓ จานวน ๒๓๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๙.๕๘ ( ช้าชั้น ๑ คน ) ป .๖ จานวน ๓๓๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ม.๓ จานวน ๔๐๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ม .๖ จานวน ๒๒๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ๓.๑๗ อัตราส่วนครู : นักเรียน = ๑ : ๒๕


๑๕

๔. ข้อมูลบุคลากร ๔.๑ จานวนบุคลากร จาแนกตามหน้าที่ เพศ ระดับการศึกษา อายุ และประสบการณ์ เพศ (คน) ประเภทบุคลากร ผู้รับใบอนุญาต ผู้จัดการ และผู้อานวยการ ผู้รับใบอนุญาตและผู้จัดการ ผู้รับใบอนุญาตและผู้อานวยการ ผู้จัดการและผู้อานวยการ ผู้รับใบอนุญาต ผู้จัดการ ผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ ครู (บรรจุ) ครูพิเศษ/ครูผู้ช่วย (ไม่บรรจุ) ครูต่างประเทศ พี่เลี้ยง บุคลากรทางการศึกษา นักการภารโรง คนขับรถ ยามรักษาความปลอดภัย

ระดับการศึกษา (คน)

ชาย

หญิง

ต่ากว่า ป.ตรี

ป.ตรี

สูงกว่า ป.ตรี

๑ ๑ ๓๙ ๙ ๑ ๒๑ ๑ ๓

๑ ๑๗๖ ๑๕ ๘ ๕๕ -

๙ ๔ -

๑ ๑ ๑๖๖ ๒๐ ๙ -

๑ ๔๐ -

อายุเฉลี่ย (ปี)

ประสบการณ์ ในตาแหน่ง (เฉลี่ย) (ปี)

๕๘ ๓๕ ๕๔ ๓๘ ๒๗ ๒๙ ๕๘

-

จานวนครูที่สอนวิชาตรงเอก ๒๑๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๗.๒๐ จานวนครูที่สอนตรงความถนัด ๓๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๘๐  ภาษาไทย ....... คน สาขาที่ขาดแคลนครู ❍

❍ คณิตศาสตร์……คน

 วิทยาศาสตร์……คน ❍

❍ สังคมศึกษา…….คน

❍ สุขศึกษา……....คน

❍ ศิลปศึกษา...…...คน

❍ การอาชีพฯ.…...คน

❍ ภาษาต่างประเทศ.….คน ❍ คอมพิวเตอร์……คน

๕. ข้อมูลอาคารสถานที่ อาคารเรียนจานวน ๖ หลัง ส้วม ๑๐ หลัง สนามเด็กเล่น ๒ สนาม สนามบาสเกตบอล ๒ สนาม ๖. ข้อมูลงบประมาณ งบประมาณ (รับ-จ่าย) รายรับ เงินงบประมาณ (เงินอุดหนุนรายหัว) เงินนอกงบประมาณ เงินอื่นๆ(ระบุ) รวมรายรับ

อาคารประกอบ ๑๑ สระว่ายน้า ๑ สนามฟุตบอล ๑

บาท

หลัง สระ สนาม

รายจ่าย

๔๙,๙๗๗,๑๖๖.๔๓ งบดาเนินการ/เงินเดือน-ค่าจ้าง ๕๒,๔๒๖,๘๒๐.๘๐ งบพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา งบอื่นๆ(ระบุ) ๑๐๒,๔๐๓,๙๘๗.๒๓ รวมรายจ่าย

งบดาเนินการ/เงินเดือน เงินค่าจ้าง คิดเป็นร้อยละ ๙๕.๓๗ งบพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา คิดเป็นร้อยละ ๔.๖๐

% %

บาท ๙๗,๖๖๔,๖๘๙.๓๗ ๔,๗๑๕,๔๐๓.๑๕ ๑๐๒,๓๘๐,๐๙๒.๕๒

ของรายรับ ของรายรับ


๑๖

๗. ข้อมูลสภาพชุมชนโดยรวม ๗.๑ อาชีพหลักของชุมชน คือ ❍ รับราชการ ❍ รับจ้าง ๗.๒ ศาสนาที่ชุมชนนับถือ คือ ❍พุ  ทธ

❍  ค้าขาย

❍ เกษตรกร

❍ ไม่มีอาชีพ

❍ อื่น ๆ (ระบุ)………………..

❍คริ  สต์

❍ฮินดู ❍ซิกข์ ๗.๓ อาชีพหลักของผู้ปกครองส่วนใหญ่ คือ ❍  รับราชการ

❍  ค้าขาย

❍ รับจ้าง ❍ ไม่มีอาชีพ ๗.๔ ศาสนาที่ผู้ปกครองส่วนใหญ่นับถือ คือ ❍พุ  ทธ

❍คริ  สต์

❍อิ  สลาม ❍อื่น ๆ……………………….. ❍ เกษตรกร ❍ อื่น ๆ (ระบุ)……………….. ❍อิ  สลาม

❍ฮินดู ❍ซิกข์ ❍อื่น ๆ……………………….. ๗.๕ รายได้เฉลี่ยของผู้ปกครองต่อครอบครัว ๑๕๐,๐๐๐ บาทต่อปี ๗.๖ ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป คือ ประเพณีลอยกระทงกะลาชุมชนหน้าผา ประเพณีตรุษจีน ๘. โอกาสและข้อจากัดของโรงเรียน ๘.๑ โอกาส /จุดแข็ง (เลือกได้มากกว่า ๑ ข้อ และเพิ่มเติมได้)  ้งอยู่ใกล้แหล่งเรียนรู้ที่สาคัญและเป็นประโยชน์ เช่นแหล่งโบราณสถาน/โบราณวัตถุ สถานที่ ตั ท่องเที่ยว ตั  ้งอยู่ในเมือง อยู่ใกล้สถานที่ราชการ/โรงพยาบาล/หน่วยงานอื่น ๆ  ้งอยู่ในเขตที่อยู่อาศัยหนาแน่น/ใกล้ตลาด/แหล่งชุมชน/ใกล้ห้างสรรพสินค้า ตั  ปลอดภั ยต่อยาเสพติด/แหล่งเริงรมย์/แหล่งการพนัน มอมเมาเยาวชน  สภาพแวดล้ อมของโรงเรียนเหมาะสม เอื้อต่อการเรียนรู้  สภาพแวดล้ อมดี/ปลอดโปร่ง/ไม่แออัด/บรรยากาศร่มรื่น  รับการสนับสนุนจากชุมชน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ภูมิป๎ญญาท้องถิ่น ได้  ้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมของโรงเรียน/มีสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ผู มี  วิทยากรในท้องถิ่น/ผู้นาในท้องถิ่นที่มีความรู้  วมมือกับชุมชนและหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อบริการชุมชนด้านสุขภาพ/กีฬา/สวัสดิภาพ ร่  การคมนาคมสะดวก มีรถรับจ้าง/รถประจาทางผ่าน  รถรับส่งระหว่างโรงเรียนกับบ้าน มี  คลากรมีความรู้ความสามารถ/เอาใจใส่ ดูแลเด็กเป็นอย่างดี บุ  งเสริมคุณภาพบุคลากรให้มีจรรยาบรรณครู ส่  บสนุนด้านการพัฒนาบุคลากร สนั


๑๗

 ฒนารูปแบบการสอนโดยใช้เทคนิควิธีและนวัตกรรมที่หลากหลาย พั ผู  ้ปกครองมีศรัทธา/ทัศนคติ/ความเชื่อมั่นที่ดีต่อโรงเรียน ผู  ้ปกครองส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับปริญญาตรี  สภาพชุ มชนมีฐานะทางเศรษฐกิจดี ผู้ปกครองเอาใจใส่  นจุดเด่นด้านภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส เน้  ความคล่องตัวในการบริหารจัดการ มี ๘.๒ ข้อจากัด/จุดอ่อน (เลือกได้มากกว่า ๑ ข้อ และเพิ่มเติมได้) ตั้งอยู่ในชุมชนที่มีโรงเรียนเอกชน/โรงเรียนเทศบาล/โรงเรียนรัฐบาล หลายโรง โรงเรียนอยู่ใกล้แหล่งอบายมุข/แหล่งมอมเมาเยาวชน ที่พักอาศัยของผู้เรียนห่างไกลจากโรงเรียน อยู่ในพื้นที่ห่างไกลจากความเจริญ /อาเภอ/แหล่งชุมชน ทางเข้าโรงเรียนคับแคบทาให้การสัญจรติดขัด สถานที่บริเวณโรงเรียนคับแคบ เช่น พื้นที่การออกกาลังกาย พื้นที่ทากิจกรรม สนาม ไม่มีห้องประชุมที่รองรับสาหรับคนจานวนมาก ผู้เรียนมีทักษะการคิด/ตั้งคาถาม/แสวงหาความรู้น้อย งบประมาณมีไม่เพียงพอ จานวนผู้เรียนลดลง ไม่สามารถขยายการศึกษาในระดับที่สูงขึ้นได้ โรงเรียนมีขนาดเล็กจึงขาดรายได้นามาพัฒนา อาคารไม่ได้รับการปรับปรุง ขาดแคลนสื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ที่ใช้เป็นแหล่งค้นคว้าของผู้เรียน  ขาดแคลนบุ คลากร/ครู/วุฒิทางการศึกษา ครูมีภาระงานอื่นนอกจากการสอนมาก ครู  ไม่ทันเทคโนโลยี  ควรปรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เน้นการสอนโครงงาน ครู เน้นการสอนบูรณาการ มีการเปลี่ยน/โยกย้ายผู้บริหารบ่อย โรงเรียนไม่มีเจ้าหน้าที่ดูแลความเรียบร้อย/อานวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมให้กับชุมชน ขาดการนิเทศติดตามจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขาดการรับข้อมูลข่าวสารจากหน่วยงานราชการ การทากิจกรรมของโรงเรียนขึ้นอยู่กับวันหยุดของผู้ปกครอง ขาดความร่วมมือจากชุมชนและผู้ปกครอง ผู้ปกครองไม่เข้าใจหลักสูตรและการจัดกิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อม ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีฐานะยากจน /รายได้น้อยการบริหารจัดการไม่คล่องตัว ผู้ปกครองเลือกโรงเรียนที่เปิดสอนหลักสูตร EP. ไม่มีรถรับ-ส่งผู้เรียน ครอบครัวแตกแยกมีผลกระทบด้านสุขนิสัย คุณธรรม จริยธรรม ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีการศึกษาต่ากว่าระดับปริญญาตรี


๑๘

๙. โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียน โรงเรียนลาซาลโชติรวีนครสวรรค์ จัดสอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้จัดสัดส่วนสาระการเรียนรู้และเวลาเรียน ดังแสดงในตารางต่อไปนี้ เวลาเรียน (คิดเป็นร้อยละต่อปี) ระดับ

ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ optimum ม.๑ ม.๒ ม.๓ แผน A ม.๑ ม.๒ ม.๓ แผน B ม.๑ ม.๒ ม.๓ แผน A ม.๔ ม.๕ ม.๖ แผน B ม.๔ ม.๕ ม.๖ แผน C ม.๔ ม.๕ ม.๖

ภาษาไทย

คณิตศาสตร์

วิทยาศาสตร์

สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม

สุขศึกษา และ พลศึกษา

ศิลปะ

การงาน อาชีพและ เทคโนโลยี

ภาษา ต่างประเทศ

กิจกรรม พัฒนาผู้เรียน

รวม

๒๓.๗ ๒๓.๗ ๒๓.๗ ๑๕.๗ ๑๕.๗ ๑๕.๗

๑๙.๖ ๑๙.๖ ๑๙.๖ ๑๙.๖ ๑๙.๖ ๑๙.๖

๗.๘ ๗.๘ ๗.๘ ๑๑.๘ ๑๑.๘ ๑๑.๘

๑๓.๗ ๑๓.๗ ๑๓.๗ ๑๓.๗ ๑๓.๗ ๑๓.๗

๗.๘ ๗.๘ ๗.๘ ๓.๙ ๓.๙ ๓.๙

๗.๘ ๗.๘ ๗.๘ ๓.๙ ๓.๙ ๓.๙

๓.๙ ๓.๙ ๓.๙ ๗.๘ ๗.๘ ๗.๘

๓.๙ ๓.๙ ๓.๙ ๑๑.๘ ๑๑.๘ ๑๑.๘

๑๑.๘ ๑๑.๘ ๑๑.๘ ๑๑.๘ ๑๑.๘ ๑๑.๘

๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

๙.๐ ๙.๗ ๙.๗

๑๔.๘ ๑๖.๓ ๑๖.๓

๑๗.๘ ๑๓.๑ ๑๓.๑

๑๓.๓ ๑๓.๑ ๑๓.๑

๖.๑ ๖.๖ ๖.๖

๖.๑ ๖.๖ ๖.๖

๖.๑ ๙.๗ ๙.๗

๑๗.๘ ๑๓.๑ ๑๓.๑

๙.๐ ๑๑.๘ ๑๑.๘

๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

๑๒.๓ ๙.๘ ๙.๘

๑๕.๑ ๑๖.๔ ๑๖.๔

๑๕.๑ ๑๓.๑ ๑๓.๑

๑๕.๑ ๑๔.๘ ๑๔.๘

๖.๑ ๖.๖ ๖.๖

๖.๑ ๖.๖ ๖.๖

๖.๑ ๙.๘ ๙.๘

๑๕.๑ ๑๓.๑ ๑๓.๑

๙.๐ ๙.๘ ๙.๘

๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

๑๓.๑

๑๓.๑

๑๓.๑

๑๔.๘

๖.๖

๖.๖

๙.๘

๑๓.๑

๙.๘

๑๐๐

๑๑.๔ ๕.๗ ๕.๗

๑๔.๓ ๑๔.๓ ๑๗.๑

๓๐.๑ ๒๘.๖ ๓๑.๔

๑๑.๔ ๑๑.๔ ๑๐.๐

๕.๗ ๕.๗ ๕.๗

๑.๔ ๕.๗ ๔.๔

๕.๗ ๕.๗ ๕.๗

๑๑.๔ ๑๔.๓ ๑๑.๔

๘.๖ ๘.๖ ๘.๖

๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

๑๑.๔ ๑๔.๓ ๑๑.๔

๑๘.๖ ๑๒.๙ ๑๒.๙

๑๔.๓ ๑๐.๐ ๕.๗

๑๒.๙ ๑๗.๑ ๑๒.๙

๕.๗ ๕.๗ ๕.๗

๕.๗ ๕.๗ ๕.๗

๕.๗ ๘.๖ ๑๗.๑

๑๗.๑ ๑๗.๑ ๒๐.๐

๘.๖ ๘.๖ ๘.๖

๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

๑๑.๔ ๑๑.๔ -

๑๒.๙ ๑๒.๙ -

๑๔.๓ ๑๔.๓ -

๑๒.๙ ๑๒.๙ -

๕.๗ ๕.๗ -

๕.๗ ๕.๗ -

๕.๗ ๕.๗ -

๒๒.๘ ๒๒.๘ -

๘.๖ ๘.๖ -

๑๐๐ ๑๐๐ -

เครื่องหมาย * หมายถึง มีบางรายวิชาเพิ่มเวลาเรียนแต่ไม่คิดหน่วยน้าหนักและหน่วยกิต  จานวนชั่วโมงที่จัดให้นักเรียนประถมศึกษา

เรียนทั้งปี เท่ากับ ๑,๐๒๐ ชั่วโมง  จานวนชั่วโมงที่จัดให้นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น เรียนทั้งปี ไม่เกิน ๑,๒๐๐ ชั่วโมง  จานวนชั่วโมงที่จัดให้นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย เรียนทั้งปี ไม่น้อยกว่า ๑,๒๐๐ ชั่วโมง  แผนการเรียนรู้ / จุดเน้นการการพัฒนาผู้เรียนที่ต้องการเน้นเป็นพิเศษ คือ เพิ่มคุณธรรม เรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิตพอเพียง และช่วยเหลือสังคม


๑๙

๑๐. แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ๑) ห้องสมุดมีขนาด ๓๐๗ ตารางเมตร จานวนหนังสือในห้องสมุด ๓๖,๔๖๗ เล่ม การสืบค้นหนังสือและการยืม -คืน ใช้ระบบ บาร์โค้ต จานวนนักเรียนที่ใช้ห้องสมุดในปีการศึกษาที่รายงาน เฉลี่ย ๑,๖๐๐ คน ต่อ วัน คิดเป็นร้อยละ ๘๕ ของนักเรียนทั้งหมด ๒) ห้องปฏิบัติการมีทั้งหมด ๕๔ ห้อง ได้แก่ ห้องคอมพิวเตอร์ ๗ ห้อง ห้องวิทยาศาสตร์ ๘ ห้องปฏิบัติการทางภาษา ๓ ห้อง ห้องศิลปะ ๔ ห้องนาฏศิลป์/ ดนตรี ๓ ห้อง ห้องพยาบาล ๒ ห้องศาสนสัมพันธ์ - ห้อง ห้องแนะแนว ๑ ห้องพละ - ห้อง ห้องลูกเสือ ๑ ห้องสื่อการเรียนการสอน ๒ ห้อง ห้องสันทนาการ ๑ ห้องโสตฯ ๙ ห้อง ห้องจริยะ ๔ ห้อง ห้องการงาน ๔ ห้อง ห้องภาษาอังกฤษ ๑ ห้อง ห้องสมุด ๔ ห้อง ๓) เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมโปรแกรมใช้งาน มีทั้งหมด ๔๙๙ เครื่อง คอมพิวเตอร์ จานวน (เครื่อง) ๑. ใช้ในการเรียนการสอน ๓๖๑ ๒. ใช้สืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตได้ ๓๓๖ ๓. ใช้ในการบริหาร ๙ จานวนนักเรียนที่สืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตในปีการศึกษาที่รายงาน เฉลี่ย ๑,๘๐๐ คน ต่อวัน คิดเป็นร้อยละ ๔๔.๔๑ ของนักเรียนทั้งหมด ๔) แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน (เลือกได้มากกว่า ๑ ข้อ และเพิ่มเติมได้) แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน o  สวนหย่อม/สวนสุขภาพ o สวนสมุนไพร  o  สวนเกษตร แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน o  สวนวรรณคดี o เรือนเพาะชา o สนามเด็กเล่น  o  ลานกิจกรรม o  ปูายนิเทศ/บอร์ด o  มุมหนังสือ o  โรงอาหาร o  สระว่ายน้า o  บ้านดินสวนเศรษฐกิจพอเพียงบนเขา

ห้อง ห้อง ห้อง ห้อง ห้อง ห้อง


๒๐

o  ห้องโสตทัศนศึกษา o  ห้องศูนย์ประสบการณ์ o  ห้องวิทยาศาสตร์ o  ห้องดนตรี o ห้องเรียนรู้อาเซียนศึกษา  o  ห้องเรียนรู้บูรณาการ o  ห้องโสตทัศนูปกรณ์ ห้องเรียนรู้คอมพิวเตอร์ o  ห้องเรียนรู้ศิลปะ o ห้องเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ   ห้องเรียนรู้ภาษาไทย o ห้องสมุด  o  แปลงเกษตร o  อุทยานความรู้ o  ห้องเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๕) แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน (เลือกได้มากกว่า ๑ ข้อ และเพิ่มเติมได้) แหล่งเรียนรู้ภายนอก o  โบสถ์/วัด/มัสยิด /โบราณสถาน/โบราณวัตถุ/พิพิธภัณฑ์  o สถานที่ท่องเที่ยวธรรมชาติ/สวนสาธารณะ/สวนสัตว์/อุทยาน o  สถานที่ราชการ/โรงพยาบาล/ไปรษณีย์/สถานีตารวจ/เทศบาล o สถานศึกษา/มหาวิทยาลัย/โรงเรียน/ราชภัฏ/เทคโนโลยีราชมงคล o  ห้องสมุด/ท้องฟูาจาลอง/เมืองจาลอง o ธนาคาร/โรงแรม/ห้างสรรพสินค้า/ตลาด/โรงงาน  o พื้นที่เพาะปลูก/ไร่/สวน o หัตถกรรมพื้นบ้าน/สินค้าพื้นเมือง  o ค่ายลูกเสือ o  นิทรรศการไดโนเสาร์บุกแดนมังกร o  องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ( อพวช. ) o  ตลาดน้าทุ่งบัวชม ๖) ปราชญ์ชาวบ้าน/ภูมิป๎ญญาท้องถิ่น ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่โรงเรียนเชิญมาให้ความรู้แก่ครู นักเรียน ในปีการศึกษาที่รายงาน ๖.๑ นางสาวประทีป แขวงเพ็ชร ให้ความรู้เรื่อง การเพาะปลูกถั่วงอก สถิติการให้ความรูใ้ นโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๑ ครั้ง /ปี ๖.๒ นางสาเนา คาแสด ให้ความรู้เรื่อง การทาขนมกล้วยฉาบ สถิติการให้ความรูใ้ นโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๑ ครั้ง /ปี ๖.๓ นางจันทร์เพ็ญ ผุยไธสง ให้ความรู้เรื่อง การทาน้านมถั่วเหลือง สถิติการให้ความรูใ้ นโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๑ ครั้ง/ปี


๒๑

๖.๔ นายมานิต

บัวทอง ให้ความรู้เรื่อง การอนุรัก ษ์ควายไทย และการนา ควายไทยมาฝึก สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๑ ครั้ง/ปี ๖.๕ นางกรรณิการ์ ลออบัว ให้ความรู้เรื่อง การทอผ้า / ศิลปหัตกรรม / การทาขนมไทย สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๑ ครั้ง/ปี ๖.๖ นางบงกช เลิ้งสุข ให้ความรู้เรื่อง การทาเครื่องป๎้นดินเผา สถิติการให้ความรูใ้ นโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๑ ครั้ง/ปี ๖.๗ นางสาวมณีรัตน์ แก้วสรี ให้ความรู้เรื่อง ศึกษาโบราณสถาน สถิติการให้ความรูใ้ นโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๑ ครั้ง/ปี ๖.๘ นายวุฒิชัย ศิริวัฒนาเดชากุล ให้ความรู้เรื่อง ศึกษาสัตว์น้า สถิติการให้ความรูใ้ นโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๑ ครั้ง/ปี ๖.๙ เจ้าหน้าที่ศูนย์วิทยาศาสตร์ ให้ความรู้เรื่อง ศูนย์วิทยาศาสตร์ สถิติการให้ความรูใ้ นโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๑ ครั้ง/ปี ๖.๑๐ กองทหารราบที่ ๔ ให้ความรู้เรื่อง ระเบียบวินัย และสาธิตการใช้อาวุธ สถิติการให้ความรูใ้ นโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๑ ครั้ง/ปี ๖.๑๑ พระครูสมุห์ณรงค์ โฆสิตธมฺโม ให้ความรู้เรื่อง กตัญํูรู้หน้าที่ สถิติการให้ความรูใ้ นโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๓ ครั้ง/ปี ๖.๑๒ นางนริศรา พันธ์พานิช ให้ความรู้เรื่อง อดเปรี้ยวไว้กินหวาน สถิติการให้ความรูใ้ นโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๑ ครั้ง/ปี ๖.๑๓ ร.ต.อ.ศักดิ์ชัย เกษสุภะ ให้ความรู้เรื่อง การอบรมจราจร สถิติการให้ความรูใ้ นโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๑ ครั้ง/ปี ๖.๑๔ แพทย์หญิงธีราพร วิทิตสิริ ให้ความรู้เรื่อง น่ารู้ในวัยรุ่น สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๑ ครั้ง /ปี ๖.๑๕ นางบุญเรือน โพธิ์อ่อง ให้ความรู้เรื่อง ฐานผจญภัย สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๑ ครั้ง /ปี ๖.๑๖ พลตารวจโทจานง ชาญธัญกรรม ให้ความรู้เรื่อง ภัยจากยาเสพติด สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๑ ครั้ง /ปี ๖.๑๗ นายสันติ ถีระวงศ์ ให้ความรู้เรื่อง การปฐมพยาบาล สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๑ ครั้ง /ปี ๖.๑๘ สโมสรผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ให้ความรู้เรื่อง การฝึกระเบียบวินัย ระเบียบแถว และปลูกฝ๎งความรักชาติ สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๑ ครั้ง/ปี ๖.๑๙ พระครูสมุห์ณรงค์ โฆสิตธมฺโม ให้ความรู้เรื่อง “ดารงชีวิตยุค ICT อย่างมีคุณธรรม” สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๓ ครั้ง /ปี ๖.๒๐ พันเอกสมหมาย หาญสุวรรณ ให้ความรู้เรื่อง ระเบียบวินัย สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๓ ครั้ง /ปี ๖.๒๑ นายสุชิน อุ่นยศ ให้ความรู้เรื่อง ระเบียบวินัย สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๓ ครั้ง /ปี


๒๒

๖.๒๒ นายพลอนันท์ แสงประสิทธิ์ ให้ความรู้เรื่อง คณิตศาสตร์ สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๓ ครั้ง /ปี ๖.๒๓ นายกันต์ธีระ แสงธรรมวรคุณ ให้ความรู้เรื่อง สังคมศึกษา สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๓ ครั้ง /ปี ๖.๒๔ นายจรูญ สุขะพัฒน์ ให้ความรู้เรื่อง ชีววิทยา สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๕ ครั้ง /ปี ๖.๒๕ นายประวัติ จันทร์สุวรรณ ให้ความรู้เรื่อง ปติมากรรมนูนสูง สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๔ ครั้ง /ปี ๖.๒๖ นายชูชาติ แต่งสกุล ให้ความรู้เรื่อง ลายเส้นตรีโกณมิติ สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๔ ครั้ง/ปี ๖.๒๗ Mr. Julius B. Dolo ให้ความรู้เรื่อง Listening & Speaking สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๑๐ ครั้ง/ปี ๖.๒๘ นางนราพร พุทธรักษา ให้ความรู้เรื่อง สมุนไพรใกล้ตัว สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๓ ครั้ง/ปี ๖.๒๙ นางพรรทณี ป๎ญญาคง ให้ความรู้เรื่อง การทาขนมกล้วยบวชชี สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๓ ครั้ง/ปี ๖.๓๐ นางณฐธนพร ศรีเครือแก้ว ให้ความรู้เรื่อง การทาขนมบัวลอยสามสี สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๓ ครั้ง/ปี ๖.๓๑ นางธิดา วิวัฒน์พาณิชย์ ให้ความรู้เรื่อง การทาน้าดอกอัญชัน สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๓ ครั้ง/ปี ๖.๓๒ นายสมพงษ์ ผลสุข ให้ความรู้เรื่อง การทาไข่เค็มใบเตย สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๑ ครั้ง/ปี ๖.๓๓ นางวิภา ครอบสุข ให้ความรู้เรื่อง การทาข้าวต้มมัด สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๑ ครั้ง/ปี ๖.๓๔ นายมาวิน วงศ์จันทร์ ให้ความรู้เรื่อง การเลี้ยงหนอนนก สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๖ ครั้ง/ปี ๖.๓๕ นายมาวิน วงศ์จันทร์ ให้ความรู้เรื่อง การเลี้ยงไส้เดือน สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๖ ครั้ง/ปี ๖.๓๖ นายมาวิน วงศ์จันทร์ ให้ความรู้เรื่อง เห็ดนางฟูา สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๖ ครั้ง/ปี ๖.๓๗ นางบงกช เลี้ยงสุข ให้ความรู้เรื่อง การทาเครื่องป๎้นดินเผา สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๒ ครั้ง/ปี ๖.๓๘ นางสาวมณีรัตน์ แก้วสรี ให้ความรู้เรื่อง ความเป็นมา และสิ่งของใน พิพิธภัณฑ์จันเสน สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๑ ครั้ง/ปี ๖.๓๙ นายวุฒิชัย ศิริวัฒนาเดชากุล ให้ความรู้เรื่อง การเข้าชมอาคารแสดงพันธุ์สัตว์น้า จระเข้เจ้าเข่งโชว์ ละครลิงคุณประกิต สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๑ ครั/ปี้ง


๒๓

๖.๔๐ นายวัชระ วิมานรัตน์ ให้ความรู้เรื่อง น้าสมุนไพร สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๖ ครั้ง/ปี ๖.๔๑ นางแสงเพียร สินธารัตนะ ให้ความรู้เรื่อง การดูแลรักษาฟ๎น สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน ๑๒ ครั้ง/ปี ปราชญ์ชาวบ้าน/ ภูมิปัญญาท้องถิ่น/ ผู้ทรงคุณวุฒิที่โรงเรียนเชิญมาให้ความรู้แก่ครู / ผู้เรียน ประเภทความรู้ จานวนครั้ง การประกอบวิชาชีพ ๑๘ การเกษตร ๑๙ คหกรรม ๒๔ หัตถกรรม ๔ ศิลปะ/ดนตรี ๘ กีฬา ๒ วัฒนธรรม/จารีต-ประเพณี ๑๘ ศาสนา/คุณธรรม จริยธรรม/คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ๑๐ ความปลอดภัย/อุบัติเหตุ/กฎหมาย/ระเบียบวินัย ๘ สุขภาพ/การแพทย์/สุขอนามัย ๒๔ สิ่งแวดล้อม/ทรัพยากร ๙ การจัดการเรียนการสอน/หลักสูตร/การประเมิน ๒๕


๒๔

๓. ผลงานดีเด่นในรอบปีที่ผ่านมา ๓ .๑ ผลงานดีเด่น ประเภท ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รับ โรงเรียน ๑. รางวัลเหรียญทองระดับประเทศ หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม กิจกรรมโชว์รูมหนังสือ “Book show and Reading Activity Room” ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ ราชการและคอนเว็นชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ โรงเรียน ๒. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ การประกวดเทียนพรรษา ประเภท ความคิด ประจาปี ๒๕๕๗ ๔. รางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศ อันดับ ๒ ระดับประถมศึกษา โครงงานอาเซียนสู่ห้องเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ก้าวสู่อาเซียน ๕. รางวัลเหรียญทอง ชนะเลิศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โครงงานอาเซียนสู่ห้องเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ก้าวสู่อาเซียน ๖. เกียรติบัตรรางวัลเหรียญทอง ชนะเลิศ ระดับมัธยมศึกษาตอน ปลาย โครงงานอาเซียนสู่ ห้องเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ก้าวสู่อาเซียน นักเรียน ๑. ด.ญ.ปิยะฉัตร แปูนเงิน

๒. ด.ญ.ฉัตรกัญญา เกี้ยงรส ๓. ด.ช.ธนดล อุปสอด ๔. ด.ช.สิทธิศักดิ์ ศรีคงทน

รางวัลชนะเลิศเหรียญทอง การแข่งขันอ่านเอาเรื่อง (อ่านในใจ) ในการแข่งขันงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคเหนือ ครั้งที่ ๖๔ ระดับภาค รางวัลเหรียญทองชนะเลิศ การ ประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ ระดับ ป.๔-๖ ในการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรม นักเรียนภาคเหนือ ครั้งที่ ๖๔ ระดับภาค

หน่วยงานที่มอบรางวัล สานักงานเลขาธิการคุรุสภา

สานักงานเทศบาลนครนครสวรรค์

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครสวรรค์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครสวรรค์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครสวรรค์

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๓๗ (แพร่-น่าน)

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๓๗ (แพร่-น่าน)


๒๕

ประเภท ๕. ด.ญ.กันต์กมล เทศขา ๖. ด.ช.สุปปวิชญ์ นิลจุล ๗. ด.ญ.สุวพัชร หมวกเอี่ยม

ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รับ รางวัลเหรียญทองชนะเลิศการ แข่งขันการแสดงทางวิทยาศาสตร์ (Science Show) ระดับ ป.๔-๖ ในการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรม นักเรียนภาคเหนือ ครั้งที่ ๖๔ ระดับภาค รางวัลเหรียญทองชนะเลิศ ๘. ด.ช.ณัฐพัชร์ จันทร การแข่งขันการพูดภาษาอังกฤษ Impromptu Speech ระดับ ป.๔-๖ ในการแข่งขันงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคเหนือ ครั้งที่ ๖๔ ระดับภาค รางวัลเหรียญทองชนะเลิศการ ๙. ด.ญ.อรชพร เตชะสินธุ์ แข่งขันการพูดภาษาจีน ระดับ ป.๔-๖ ในการแข่งขันงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคเหนือ ครั้งที่ ๖๔ ระดับภาค ๑๐. ด.ญ.กชกร สมบูรณ์กิตติกร รางวัลระดับเหรียญทอง การแข่งขันประติมากรรม ม.๑-๓ ๑๑. ด.ช.ณัฐพล ศรีเดช ๑๒. ด.ญ.ประภาภรณ์ ศรีปาน ในการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรม นักเรียนภาคเหนือ ครั้งที่ ๖๔ ระดับภาค ๑๓. น.ส.ณัฏฐิฌา หมีสิน รางวัลระดับเหรียญทอง ๑๔. น.ส.นัจกร สวัสดิมงคล การแข่งขันประติมากรรม ม.๔-๖ ๑๕. น.ส.บัณฒิตา หนูทอง ในการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรม นักเรียนภาคเหนือ ครั้งที่ ๖๔ ระดับภาค ๑๖. ด.ญ.ณิชาภัทร ปูองแก้ว รางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศ ๑๗. ด.ญ.อจลญา จิระศิริโชติ อันดับ ๒ ระดับประถมศึกษา จาก ๑๘. ด.ญ.วรวรรณตรา น่วมอินทร์ โครงงานอาเซียนสู่ห้องเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ก้าวสู่อาเซียน รางวัลเหรียญทอง ชนะเลิศ ระดับ ๑๙. ด.ญ.ศรัณย์พร สายโพธิ์ ๒๐. ด.ช.ณฐพร ฤทธิ์อุดม มัธยมศึกษาตอนต้นจากโครงงาน ๒๑. ด.ญ.จิรภิญญา โสภาจันทร์ อาเซียนสู่ห้องเรียน แลกเปลี่ยน ๒๒. น.ส.ภัทราวรรณ จันทร์ต่วน เรียนรู้ ก้าวสู่อาเซียน รางวัลเหรียญทอง ชนะเลิศ ระดับ ๒๓. น.ส.กนกวรรณ นิคมขา ๒๔. น.ส.ณัฏฐณิชา ทองขวัญ มัธยมศึกษาตอนปลายจาก โครงงานอาเซียนสู่ห้องเรียน

หน่วยงานที่มอบรางวัล สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๓๗ (แพร่-น่าน)

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๓๗ (แพร่-น่าน)

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๓๗ (แพร่-น่าน)

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๓๗ (แพร่-น่าน)

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๓๗ (แพร่-น่าน)

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครสวรรค์

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครสวรรค์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครสวรรค์


๒๖

ประเภท ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รับ ๒๕. ด.ญ.ณัฐสุภา วิริยะกุลสิทธิ์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ก้าวสู่อาเซียน ๒๖. ด.ญ.สุพิชญา งามดี รางวัลชนะเลิศการแข่งขันทักษะ ๒๗. ด.ช.ณัฐวัฒน์ นิยมไพศาลสุข กระบวนการวิทยาศาสตร์ระดับ ม.๑-๓ งานสัปดาห์วิทยาศาสตร์ แห่งชาติ ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๗ ๒๘. ด.ญ.ปวีณา ธงชัย รางวัลชนะเลิศ การแข่งขัน Microsoft Excel 2013 ระดับ ม.๑-๓ ๒๙. นายสราวุธ ส่องแสง รางวัลชนะเลิศในการแข่งขัน Microsoft Excel 2013 ระดับ ม.๔-๖ ๓๐. ด.ช.นิภัทร์ นันทะโกมล รางวัลเหรียญทองชนะเลิศ การแข่งขันขับร้องเพลงไทย ลูกกรุงชาย ป.๑-๖ ในการแข่งขัน งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน จ.นครสวรรค์ครั้งที่ ๖๔ ๓๑. ด.ญ.สุภัควสี เรียนประเสริฐ รางวัลเหรียญทองรองชนะเลิศ อันดับ ๒ ระดับ ม.๑-๓ การ แข่งขันอัจฉริยภาพทาง คณิตศาสตร์ ในการแข่งขันงาน ศิลปหัตถกรรม ๓๒. ด.ช.ณภัทร ศุภศศิน รางวัลเหรียญทองรองชนะเลิศ ๓๓. ด.ญ.พลอยลดา พานิจวรานันท์ อันดับที่ ๒ ระดับ ม.๑-๓ การประกวดมารยาทไทย ในการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรม นักเรียนระดับเขต ๓๔. น.ส.ณัชทริกา เพ่งผล รางวัลเหรียญทองอันดับที่ ๘ ๓๕. นายพัชรพิสิฐ อิ่มสุขศรี ระดับ ม.๔-๖ การประกวด มารยาทไทยในการแข่งขันงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับเขต รางวัลเหรียญทองรองชนะเลิศ ๓๖. น.ส.กรรณิการ์ พิลึก ๓๗. น.ส.ชลณัฐชา แรมไพร อันดับที่ ๒ การแข่งขันแอโรบิก ๓๘. น.ส.ณัฐณิชา เดชด่าน ม.๑-๖ ในการแข่งขันงาน ๓๙. น.ส.ธัญรัตน์ ป๎นเมนท์ ศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับเขต

หน่วยงานที่มอบรางวัล มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครสวรรค์เขต ๑

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒


๒๗

ประเภท

ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รับ

หน่วยงานที่มอบรางวัล

๔๐. น.ส.ธารารัตน์ ๔๑. น.ส.ปณิตา

แม้นพยัคฆ์ ผูกจิตต์ ๔๒. น.ส.ปิยธิดา บัวเทศ ๔๓. น.ส.วริสรา ไคขุนทด ๔๔. น.ส.สุนิศา กรเวช ๔๕. น.ส.สุภัสสร สุขเกษร ๔๖. น.ส.เพชรพิสุทธิ์ มั่งมี ๔๗. น.ส.จิมลศิริณ์ อินทร์จันดา ๔๘. น.ส.สุวรรณี ประดิษฐการ ๔๙. น.ส.พัชรมน เจริญศรีรุ่งเรือง

๕๐. ด.ญ.ภัทรพร สัจสันตินุกูล รางวัลเหรียญทองอันดับที่ ๕ การแข่งขันตอบป๎ญหาสุขศึกษา ๕๑. ด.ญ.สุธาสินี ขุมทอง และพลศึกษา ม.๑-๓ ในการแข่งขัน งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับ เขต รางวัลเหรียญทองอันดับที่ ๕ ๕๒. นายคชาสัณห์ โตจั่น การแข่งขันเขียนภาพไทยสีเอก รงค์ ม.๔-๖ ในการแข่งขันงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับเขต รางวัลเหรียญทองรองชนะเลิศ ๕๓. ด.ช.ภาคภูมิ ตลับแก้ว อันดับ ๑ การแข่งขันวาดภาพ ลายเส้น (Drawing) ม.๑-๓ ในการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรม นักเรียนระดับเขต ๕๔. นายธนะกานต์ แดงพรหม รางวัลเหรียญทองอันดับที่ ๔ การแข่งขันกิจกรรม Spelling Bee ม.๔-๖ ในการแข่งขันงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับเขต ๕๕. ด.ญ.ผการัตน์ ชัยยะป๎ญหา รางวัลเหรียญทองอันดับที่ ๕ การแข่งขันการเล่านิทาน (Story Telling) ม.๑-๓ ในการแข่งขัน งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับ เขต รางวัลเหรียญทองอันดับที่ ๕ ๕๖. ด.ช.กรวิชญ์ แสงทอง การแข่งขันการสร้างหนังสืออิเล็ก ๕๗. ด.ญ.ธันยธร องอาจ ทรอนิกส์ (E-book) ม.๑-๓ ในการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรม นักเรียนระดับเขต

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒


๒๘

ประเภท ๕๘. ด.ญ.มนภัทร ตลอดภพ

ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รับ รางวัลเหรียญทองรองชนะเลิศอันดับ ที่ ๑ การวาดภาพระบายสีด้วยสี เทียน ระดับปฐมวัย ในการแข่งขัน งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับเขต ๕๙. ด.ช.เกษศรุต คามาเมือง รางวัลชนะเลิศเหรียญทองอันดับ ๗ การแข่งขันการท่องอาขยาน ทานองเสนาะ ป.๑-๓ ในการ แข่งขันงานศิลปหัตถกรรนักเรียน ระดับเขต รางวัลเหรียญทองรองชนะเลิศ ๖๐. ด.ญ.พิจิตรา แก้วงาม อันดับที่ ๒ การประกวดผลงาน ๖๑. ด.ช.อณัฐตชัย สอนศรี สิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ ป.๑-๖ ในการแข่งขันงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับเขต รางวัลเหรียญทองรองชนะเลิศ ๖๒. ด.ญ.ฐาริกา เกล้าสกุล อันดับที่ ๒ การประกวดมารยาท ๖๓. ด.ช.ธิติกร กางกรณ์ ไทย ป.๑-๓ ในการแข่งขันงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับเขต ๖๔. ด.ญ.กันต์ภัทรมน ฐิติกรสกลวงศ์ รางวัลเหรียญทองรองชนะเลิศ อันดับที่ ๒ การแข่งขันขับร้อง เพลงไทยลูกกรุงหญิง ป.๑-๖ ใน การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรม นักเรียนระดับเขต ๖๕. ด.ญ.ณัฐธัญพร พูลพงษ์ รางวัลเหรียญทองรองชนะเลิศ อันดับที่ ๑ การแข่งขันขับร้อง เพลงพระราชนิพนธ์หญิง ป.๑-๖ ในการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรม นักเรียน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา รางวัลเหรียญทองรองชนะเลิศ ๖๖. ด.ช.ดุลย์ธานี พึ่งเกียรติ อันดับที่ ๑ การแข่งขันการพูด ภาษาอังกฤษ Impromptu Speech ป.๑-๓ ในการแข่งขัน งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับเขต ๖๗. ด.ญ.ศตพร ชมชื่น ได้รับรางวัลเหรียญทองรอง ชนะเลิศอันดับที่ ๑ การแข่งขัน การเล่านิทาน (Story Telling) ป.๔-๖ ในการแข่งขันงาน

หน่วยงานที่มอบรางวัล สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครสวรรค์เขต ๑ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครสวรรค์เขต ๑

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครสวรรค์เขต ๑

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครสวรรค์เขต ๑ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครสวรรค์เขต ๑

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครสวรรค์เขต ๑

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครสวรรค์เขต ๑

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครสวรรค์เขต ๑


๒๙

ประเภท

ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รับ ศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับเขต รางวัลเหรียญทองรองชนะเลิศ ๖๘. ด.ช.ณัฐ สนิทเขียน อันดับที่ ๒ การแข่งขันโครงงาน ๖๙. ด.ญ.ณัฐกร ลิ้มเคย ๗๐. ด.ญ.ปิยนันท์ อินทรียานนท์ อาชีพ ป.๔-ป.๖ ในการแข่งขัน งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับเขต รางวัลเหรียญทองรองชนะเลิศ ๗๑. ด.ญ.รสิตา อารีจิต ๗๒. ด.ญ.วรรณชญา ทับทิมเล็ก อันดับที่ ๒ การแข่งขันการแสดง ทางวิทยาศาสตร์ (Science ๗๓. ด.ญ.ศิริรัตน์ อดทน Show) ม.๑-๓ ในการแข่งขันงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับเขต รางวัลเหรียญทองอันดับที่ ๔ ๗๔.ด.ช.ฐณิตพงศ์ ขุนวิเศษ การแข่งขันเครื่องบินพลังยาง ๗๕. ด.ช.ศิวกร น้อยนิ่ม ประเภทบินนาน (โดยการติดล้อ บินขึ้นจากพื้น) ม.๑-๓ ในการ แข่งขันงานศิลปหัตถกรรม นักเรียนระดับเขต ๗๖. ด.ช.จักรกฤษ อินทร์เฉลิม รางวัลเหรียญทองรองชนะเลิศ ๗๗. ด.ช.โอฬาร กาญจนเจริญนนท์ อันดับที่ ๒ การแข่งขันเครื่องบิน พลังยาง ประเภทบินไกล (โดยการ ปล่อยด้วยมือ) ม.๑-๓ ในการ แข่งขันงานศิลปหัตถกรรม นักเรียนระดับเขต ๗๘. ด.ช.ณัฐภัทร ทรัพย์แสง ๗๙. ด.ญ.นพินสิริ ฐิติกรสกลวงศ์ รางวัลเหรียญทองอันดับที่ ๖ การประกวดเพลงคุณธรรม ม.๑-๓ ๘๐. ด.ช.ภาสกร สิงห์ปาน ๘๑. ด.ญ.วรรณชญา ทับทิมเล็ก ในการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรม นักเรียนระดับเขต ๘๒. ด.ญ.ศิริลักษณ์ อดทด ๘๓. ด.ช.ฐณิตพงศ์ ขุนวิเศษ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ ๘๔. ด.ช.ศิวกร น้อยนิ่ม ๘๕. ด.ช.จักรกฤษ อินทร์เฉลิม การแข่งขันเครื่องร่อนระดับ ม.๑-๓ งานสัปดาห์วิทยาศาสตร์ ๘๖. ด.ช.วัชระ ชื่นแย้ม แห่งชาติ ๘๗. ด.ช.กรวิชญ์ สงทอง รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ จากการแข่งขันการใช้โปรแกรม Google Site ระดับ ม.๑-๓ ๘๘. ด.ญ.ณิชกมล ภู่พลับ งานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ และ เงินรางวัล ๑,๐๐๐ การแข่งขัน

หน่วยงานที่มอบรางวัล สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครสวรรค์เขต ๑

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์


๓๐

ประเภท

๘๙. นายสราวุธ ส่องแสง

๙๐.นายกวิน ตรียะประเสริฐพร

๙๑. ด.ช.สุปปวิชญ์ นิลจุลกะ ๙๒. ด.ญ.กันต์กมล เทศขา ๙๓. ด.ญ.สุวพัชร หมวกเหล็ก ๙๔. ด.ญ.ศิริรัตน์ อดทน ๙๕. ด.ญ.วรรณชญา ทับทิมเล็ก ๙๖. ด.ญ.รสิตา อารีจิต ๙๗. ด.ญ.ณัฐสุภา วิริยะกุลสิทธิ์ ๙๘. ด.ญ.อิทธิ อิทธิวัฒนะ ๙๙. นายจิรวัฒน์ วงศ์จันทร์ ๑๐๐. นายเก่งภักดี กลิ่นเทศ ๑๐๑. น.ส.ชมพูนุช สุกใส ๑๐๒. น.ส.พัชรพร เพิ่มธัญญะกิจ ๑๐๓.ด.ญ.สิริกร กฤตรนต์รัศมี ๑๐๔.ด.ญ.ณฐนรรจ์ ศรประจักษ์ชัย ๑๐๕.ด.ช.สวัสดิ์ ทองลิ้นจี่ ๑๐๖. ด.ญ.ปิยฉัตร แปูนเงิน ๑๐๗. ด.ญ.นภัสสร อุบลอ่อน ๑๐๘. ด.ญ.วาดฝ๎น จับมณี

ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รับ การประยุกต์ใช้งาน Microsoft Word 2013 บาท งานสัปดาห์ วิทยาศาสตร์แห่งชาติ รางวัลชนะเลิศ การแข่งขัน Microsoft Excel 2013 ระดับ ม.๔-๖ งานสัปดาห์วิทยาศาสตร์ แห่งชาติ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ การแข่งขัน Microsoft Excel 2013 ระดับ ม.๔-๖ งานสัปดาห์ วิทยาศาสตร์แห่งชาติ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขัน Science Show ระดับ ป.๔-๖ งานสัปดาห์ วิทยาศาสตร์แห่งชาติ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขัน Science Show ระดับ ม.๑-๓ งานสัปดาห์ วิทยาศาสตร์แห่งชาติ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันกระบวนการแก้ป๎ญหา ทางวิทยาศาสตร์ระดับ ม.๑-๓ งานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ การแข่งขันออกแบบชุดรีไซเคิล ระดับ ม.๔-๖ งานสัปดาห์ วิทยาศาสตร์แห่งชาติ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ ระดับประถมศึกษาปีที่ ๔-๖ การแข่งขันตอบป๎ญหาสารานุกรม ไทยสาหรับเยาวชนแห่งชาติ ครั้ง ที่ ๒๐ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๔ ระดับ ม.๑-๓ การแข่งขันตอบ ป๎ญหาสารานุกรมไทยสาหรับ เยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ ๒๐

หน่วยงานที่มอบรางวัล

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

มหาวิทยาลัยนเรศวร

มหาวิทยาลัยนเรศวร

มหาวิทยาลัยนเรศวร

มหาวิทยาลัยนเรศวร

สโมสรไลออนส์ภาค A 310 ประเทศ ไทย

สโมสรไลออนส์ภาค A 310 ประเทศ ไทย


๓๑

ประเภท ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รับ ๑๐๙.น.ส.พรนภา แสงเย็นพันธ์ รางวัลรองชนะเลิศเหรียญเงิน อันดับที่ ๑๑ การแข่งขันอ่านเอา เรื่อง (อ่านในใจ) งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับเขต ๑๑๐. ด.ญ.ชนานันท์ สุขศิริ รางวัลรองชนะเลิศเหรียญเงิน อันดับที่ ๑๔ การแข่งขันการเขียน เรียงความและคัดลายมือ งาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับเขต ๑๑๑. น.ส.พิชญาวีร์ ปิยโชติ รางวัลรองชนะเลิศเหรียญเงินอันดับ ที่ ๑๒ การแข่งขันการเขียน เรียงความและคัดลายมือ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับเขต ๑๑๒. น.ส.กนกชล ศรีวารี รางวัลรองชนะเลิศเหรียญเงินอันดับ ๑๑๓. น.ส.กุลธิดา จันตรี ที่ ๔ การแข่งขันพาทีสร้างสรรค์ ๑๑๔. น.ส.วณิชญา ส่งวัฒนา ระดับม.๔-๖ งานศิลป- หัตถกรรม นักเรียนระดับเขต ๑๑๕.ด.ญ.สุภัควสี เรียนประเสริฐ รางวัลเหรียญทองรองชนะเลิศ อันดับ ๒ การแข่งขันอัจฉริยภาพ ทางคณิตศาสตร์ ระดับ ม.๑-๓ งานศิลป- หัตถกรรมนักเรียน ระดับเขต ๑๑๖.น.ส.พิมพ์นภา สร้อยอาภรณ์ รางวัลเหรียญทองแดงอันดับที่ ๗ การแข่งขันอัจฉริยภาพทาง คณิตศาสตร์ ระดับ ม.๔-๖ งานศิลป- หัตถกรรมนักเรียน ระดับเขต ๑๑๗. ด.ญ.ณยภา โยธินชัยการ รางวัลเหรียญเงินรองชนะเลิศ ๑๑๘. ด.ญ.ปรียาภรณ์ คงบุญ อันดับที่ ๑ การแข่งขันสร้างสรรค์ ผลงานคณิตศาสตร์โดยใช้ โปรแกรม GSP ระดับ ม.๔-๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับเขต ๑๑๙. นายธนากร เมฆกระจาย รางวัลเหรียญเงินการประกวด โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภท ๑๒๐. น.ส.ธันยพร บางโพธิ์ สิ่งประดิษฐ์ ระดับ ม.๔-๖ งาน ๑๒๑. น.ส.พิมวิรัตน์ ทิมกัน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับเขต ๑๒๒.ด.ญ.ฟูาประทาน ใจวงค์ษา รางวัลเหรียญเงินอันดับที่ ๗ การ ๑๒๓.ด.ญ.ไพลิน หิรัญภูวฐิติโชติ ประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ์ทาง

หน่วยงานที่มอบรางวัล สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒


๓๒

ประเภท

ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รับ วิทยาศาสตร์ ระดับ ม.๑-๓ งาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับเขต ๑๒๔. น.ส.ภัทรวดี อุดมฤทธิ์ รางวัลเหรียญทองแดงอันดับที่ ๕ ๑๒๕. น.ส.หทัยชนก บัวบางพลู การประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ์ทาง วิทยาศาสตร์ ระดับ ม.๑-๓ งาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับเขต ๑๒๖. นายธนาทิพย์ วจีสัจจะ รางวัลเหรียญเงินอันดับที่ ๖ ๑๒๗. นายฟารุตต์ ธีระรังสิกุล การประกวดวงดนตรีสตริงระดับ ๑๒๘. นายวันเฉลิม ดาขา ม.๔-๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ๑๒๙. นายสุพัฒน์กิจ จุ้ยเปี่ยม ระดับเขต ๑๓๐. นายเพิ่มพูล เพิ่มพิพัฒน์ ๑๓๑. นายมนัสวิน ฤกษ์หร่าย รางวัลเหรียญเงินอันดับที่ ๖ การแข่งขันขับร้องเพลงไทยลูกทุ่ง ประเภทชาย ระดับ ม.๔-๖ งาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับเขต ๑๓๒. น.ส.ธนพร ไกรยุทธ รางวัลเหรียญเงินอันดับที่ ๙ การแข่งขันขับร้องเพลงไทยลูกทุ่ง ประเภทหญิง ระดับ ม.๔-๖ งาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับเขต ๑๓๓. ด.ญ.ณัฐภัทรา วิริยะกุลสิทธิ์ รางวัลเหรียญเงินอันดับที่ ๔ ๑๓๔. ด.ช.พชร มูลเงิน การแข่งขันการสร้างการ์ตูน แอนิเมชั่น (2D Animation) ระดับ ม.๑-๓ งานศิลปหัตถกรรม นักเรียนระดับเขต ๑๓๕. นายกันตพัฒน์ ศิริชู รางวัลเหรียญทองแดงอันดับที่ ๔ ๑๓๖. นายพิสิทธิ์ สาเภานนท์ การแข่งขันการสร้างเกมสร้างสรรค์จากคอมพิวเตอร์ ระดับ ม.๔-๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับเขต ๑๓๗. ด.ช.วัชระ ชื่นแย้ม รางวัลเหรียญเงินรองชนะเลิศอันดับ ๑๓๘. ด.ญ.อลิชา ศรีสมเภา ๒ การแข่งขันการสร้าง Webpage ประเภท WebEditor ระดับ ม.๑-๓ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับ เขต ๑๓๙. นายจักรพันธ์ นาคพุ่ม รางวัลเหรียญทองแดงอันดับที่๑๐ ๑๔๐. นายดบัสวิน ปฐพีธีรไนย การแข่งขันการตัดต่อภาพยนตร์ ระดับ ม.๔-๖ งานศิลปหัตถกรรม นักเรียนระดับเขต

หน่วยงานที่มอบรางวัล สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒


๓๓

ประเภท ๑๔๑. น.ส.ฐิติพร แย้มเอี่ยม ๑๔๒. น.ส.ฝุ​ุนทิพย์ กางกรณ์ ๑๔๓. น.ส.พิชญ์ชุดา ตาสุวรรณ ๑๔๔. น.ส.วชิรญาณ์ สิทธิ ๑๔๕. น.ส.อัจชราภา บุญชูแก้ว ๑๔๖. น.ส.เลิศลักษณ์ สุภาเศษ ๑๔๗. น.ส.วิภา แสนยากุล ๑๔๘. นายสหรัฐ จีนแก้ว ๑๔๙. น.ส.เจียระไน เอี้ยมสกุล

ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รับ หน่วยงานที่มอบรางวัล รางวัลเหรียญเงินอันดับ ๖ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันประดิษฐ์บายศรีสู่ขวัญ มัธยมศึกษาเขต ๔๒ ระดับ ม.๔-๖ งานศิลปหัตถกรรม นักเรียนระดับเขต

รางวัลเหรียญเงินอันดับที่ ๕ การประกวดหนังสือเล่มเล็ก ระดับ ม.๔-๖ งานศิลปหัตถกรรม นักเรียนระดับเขต ๑๕๐. ด.ญ.อัยย์ลัลน์ ชนะสิทธิ์ รางวัลศิลปกรรมเหรียญเงินระดับ อายุไม่เกิน ๘ ปี จากการประกวด ศิลปกรรมเด็กและเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ ๙ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทิ นัดดามาตุ ๑๕๑. ด.ญ.ภัทรศยา ดาวเวียง รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ การประกวดหนูน้อยสุขภาพดี อายุ ๔-๖ ปี งานวันเด็กแห่งชาติ ๑๕๒. ด.ญ.มนภัทร ตลอดภพ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันระบายสีภาพตามที่ กาหนด งานวันเด็กแห่งชาติ ๑๕๓. ด.ญ.นิชาภัทร ปูองแก้ว รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ การแข่งขันเรียงความ งานวันเด็ก แห่งชาติ ๑๕๔. ด.ช.กัณญนิภัทร นันทะ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ โกมล การประกวดร้องเพลงไทยลูกทุ่ง งานวันเด็กแห่งชาติ ๑๕๕. ด.ช.พิสุทธิ์ ดีวัน รางวัลชมเชย การประกวดวาดภาพ ๑๕๖. ด.ช.สุทธินันท์ สุตธิแก้ว งานวันเด็กแห่งชาติ ๑๕๗. ด.ญ.ปณาลี พังจุนันท์ ๑๕๘ ด.ช.กัณญนิภัทร นันทะโกมล รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ การประกวดร้องเพลงไทยลูกทุ่ง งานวันเด็กแห่งชาติ ๑๕๙.ด.ญ.วสุสุกาญจน์ ศรีพล รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ การประกวดร้องเพลงสากล งานวันเด็กแห่งชาติ

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต ๔๒ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ

วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคเหนือ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคเหนือ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคเหนือ ธนาคารออมสิน จ.นครสวรรค์ ธนาคารออมสิน จ.นครสวรรค์ ห้างสรรพสินค้าวี – สแควร์ บิ๊กซี นครสวรรค์ ห้างสรรพสินค้าวี – สแควร์ บิ๊กซี นครสวรรค์


๓๔

ประเภท ๑๖๐. ด.ช.ณัฐพัชร์ จันทร

ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รับ เด็กรางวัลเด็กและเยาวชนดีเด่น ด้านวิชาการ ระดับจังหวัด ๑๖๑. ด.ญ.อัยย์ลัลน์ ชนะสิทธิ์ เด็รางวั ก ลเด็กและเยาวชนดีเด่น ด้านศิลปะดนตรี ระดับจังหวัด ๑๖๒. ด.ช.ภาสกร สิงห์ปาน เด็กรางวัลเด็กและเยาวชนดีเด่น ด้านศิลปะดนตรี ระดับจังหวัด ๑๖๓. ด.ช.ธนโชติ ลาภบารุงวงศ์ รางวั เด็กและ ลเด็กเยาวชนดีเด่น ด้านการ กีฬาและนันทนาการ ระดับจังหวัด ๑๖๔. ด.ญ.ชนิกานต์ ไชยชิต รางวัลเด็กและเยาวชนดีเด่น ด้านการกีฬาและนันทนาการ ระดับจังหวัด ๑๖๕. นายอนุวัฒน์ แก้วจรูญ รางวัลเด็กและเยาวชนดีเด่น ด้านการกีฬาและนันทนาการ ระดับจังหวัด ๑๖๖. ด.ญ.ธีราพร นาคอริยกุล รางวัลชมเชยการสอบแข่งขัน ๑๖๗. ด.ช.ฐาปนพงศ์ สุดหอม วิทยาศาสตร์ชิงทุนการศึกษา ๑๖๘. ด.ช.บุณวรัตถ์ ประสารพันธุ์ ระดับประเทศ “เพชรร่มสัก” ๑๖๙. ด.ญ.นรียา วนพงศ์ไพศาล ครั้งที่ ๒ (Nakhonsawan ๑๗๐. ด.ช.สิรินทร์ พึ่งกัน School Science Academy Contest : N-SAC ) ระดับ ป.๓ ๑๗๑. ด.ญ.มนุชาธิป วิถาทานัง รางวัลชมเชยการแข่งขันประกวด วาดภาพระบายสีภายใต้โครงการ เย็นดูดาว เช้าดูนก ประจาปี ๒๕๕๘-๒๕๕๙ (เส้นทางสาย ดอกบัว) Dream Destination 2015 ๑๗๒. ด.ญ.วสุสุกาญจน์ ศรีพล รางวัลชนะเลิศ ประกวดร้องเพลง ๑๗๓. ด.ญ.มนัสนันท์ ประภาธ กิจกรรมหนูน้อยไชน่า ปี ๒๐๑๕ นานันท์ ประเภททีม นครสวรรค์ ๑๗๔. ด.ญ.กฤติกา ไกรนิตย์ รางวัล เหรียญทองกีฬาว่ายน้า ๑๗๕. ด.ช.ระพี ป๎้นวิชัย ประเภทฟรีสไตล์ ๒๕ เมตร ประเภทกรรเชียง ๒๕ เมตร ประเภทกรรเชียง ๕๐ เมตร รางวัลเหรียญเงิน ประเภทฟรีสไตล์ ๕๐ เมตร ประเภทเดี่ยวผสม ๑๐๐ เมตร รางวัลเหรียญทองแดง

หน่วยงานที่มอบรางวัล สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครสวรรค์เขต ๑ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครสวรรค์เขต สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครสวรรค์เขต ๑ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครสวรรค์เขต ๑. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครสวรรค์เขต ๑ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครสวรรค์เขต ๑ โรงเรียนนครสวรรค์

องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครสวรรค์

ห้างสรรพสินค้าวี – สแควร์ บิ๊กซี นครสวรรค์ ชมรมว่ายน้า นครสวรรค์-ตาคลี


๓๕

ประเภท

ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รับ ประเภท ฟรีสไตล์ ๑๐๐ เมตร การแข่งขันนครสวรรค์-ตาคลี แชมเปี้ยนชิฟ ครั้งที่ ๓ ๑๗๖. ด.ญ.ชนิกานต์ ไชยชิต รางวัล เหรียญทอง กีฬาว่ายน้า ประเภทฟรีสไตล์ ๒๕ เมตร ประเภทกรรเชียง ๒๕ เมตร ประเภทผีเสื้อ ๒๕ เมตร ประเภทกบ ๒๕ และ ๕๐ เมตร เหรียญเงิน ประเภทผีเสื้อ ๕๐ เมตร ประเภท ฟรีสไตล์ ๑๐๐ เมตรการแข่งขันนครสวรรค์-ตาคลี ๑๗๗. ด.ญ.นุชศรา พลอยชู แชมเปี้ยนชิฟ ครั้งที่ ๓ รางวัล เหรียญเงิน กีฬาว่ายน้า ประเภทฟรีสไตล์ ๒๕ เมตร ประเภทกรรเชียง ๒๕ เมตร ประเภทผีเสื้อ ๒๕ เมตร ประเภทกบ ๒๕ และ ๕๐ เมตร การแข่งขันนครสวรรค์-ตาคลี ๑๗๘. ด.ช.จาตุรันต์ พรมอยู่ แชมเปี้ยนชิฟ ครั้งที่ ๓ รางวัลเหรียญเงินกีฬาว่ายน้า ๑๗๙. ด.ญ.ณัฐวรัญญา ฐิตินัน ประเภทเตะขาฟรีสไตล์ ๒๕ เมตร ทิวัฒน์ รางวัล เหรียญทองแดงกีฬาว่าย น้า ประเภทฟรีสไตล์ ๒๕ และ ๕๐ เมตร การแข่งขันนครสวรรค์๑๘๐.ด.ช.หัสบดินทร์ กิจพิทักษ์ ตาคลี แชมเปี้ยนชิฟ ครั้งที่ ๓ รางวัลเหรียญทองกีฬาว่ายน้า ประเภทผีเสื้อ ๒๕ เมตร ประเภทกบ ๒๕ เมตร เหรียญเงิน ประเภทฟรีสไตล์ ๒๕ และ ๕๐ เมตร ประเภทฟรีสไตล์ ๕๐ เมตร ประเภทกบ ๕๐ เมตร เหรียญทองแดง ประเภทกรรเชียง ๒๕ เมตร ประเภทผีเสื้อ ๕๐ เมตร การแข่งขันนครสวรรค์-ตาคลี แชมเปี้ยนชิฟ ครั้งที่ ๓

หน่วยงานที่มอบรางวัล ชมรมว่ายน้า นครสวรรค์-ตาคลี

ชมรมว่ายน้า นครสวรรค์-ตาคลี

ชมรมว่ายน้า นครสวรรค์-ตาคลี ชมรมว่ายน้า นครสวรรค์-ตาคลี

ชมรมว่ายน้า นครสวรรค์-ตาคลี


๓๖

ประเภท ๑๘๑.นายภูวฉัตร อินทรไพโรจน์ ๑๘๒.นายสิทธิพงษ์ นาคเมือง ๑๘๓.นายธีระพัฒน์ สิงห์สา ๑๘๔.นายธนากร ธนกุลบดี ๑๘๕.นายอนุชา ประเสริฐสิทธิโชติ ๑๘๖.นายณฐชาญ ห่อทอง ๑๘๗.นายกษิต ศรีประมงค์ ๑๘๘.นายวรรณชัย วิสุทธากุล ๑๘๙.นายเรืองศักดิ์ ดวงรัตน์ ๑๙๐.นายรชานนท์ กองโฉม ๑๙๑.นายณัฐวัฒน์ เรืองขา ๑๙๒..นายพชรพล ห่อทอง ๑๙๓.นายอภิวัฒน์ แก้วจรูญ

ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รับ รางวัลรองชนะเลิศอับดับ ๑ การแข่งขันบาสเกตบอลประเภท ชายรุ่นอายุไม่เกิน ๑๘ ปี การแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียน ส่วนกลางและส่วนภูมิภาคจังหวัด นครสวรรค์ ประจาปี ๒๕๕๗ ระหว่างวันที่ ๕-๑๔ กันยายน ๒๕๕๗ ที่สนามกีฬากลาง จ.นครสวรรค์

รางวัลชนะเลิศการแข่งขัน ประเภทชายเดี่ยว กีฬาเปตองเพื่อคัดเลือกเป็น ตัวแทนจังหวัดนครสวรรค์ ๑๙๔.ด.ช.อนุสรณ์ แซ่จ๋าว รุ่นอายุไม่เกิน ๑๘ ปี รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ การแข่งขันประเภทชายเดี่ยว กีฬาเปตองเพื่อคัดเลือกเป็น ตัวแทนจังหวัดนครสวรรค์ ๑๙๘.ด.ช.ติณณภพ เปี่ยมท่า รุ่นอายุไม่เกิน ๑๘ ปี รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันประเภทชายเดี่ยว กีฬาเปตองเพื่อคัดเลือกเป็น ตัวแทนจังหวัดนครสวรรค์ ๑๙๙.ด.ญ.มณฑิตา พิลาวัน รุ่นอายุไม่เกิน ๑๘ ปี รางวัลชนะเลิศการแข่งขัน ประเภทหญิงเดี่ยวกีฬาเปตอง เพื่อคัดเลือกเป็นตัวแทนจังหวัด ๒๐๐..นายอนุวัฒน์ แก้วจรูญ นครสวรรค์ รุ่นอายุไม่เกิน ๑๘ ปี ๒๐๑.นายเกรียงศักดิ์ โยกมา รางวัลชนะเลิศประเภทชายคู่ ๒๐๒.ด.ช.สายชล จิตรสุข กีฬาเปตองเพื่อคัดเลือกเป็น ตัวแทนจังหวัดนครสวรรค์ ๒๐๓.ด.ช.นิติธร ลูกบัว รุ่นอายุไม่เกิน ๑๘ ปี ๒๐๔.ด.ช.ศรันย์ ภาระอุปมาเจริญ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ กีฬาเปตองเพื่อคัดเลือกเป็น

หน่วยงานที่มอบรางวัล การท่องเที่ยวและกีฬา จังหวัด นครสวรรค์

การท่องเที่ยวและกีฬา จังหวัด นครสวรรค์

การท่องเที่ยวและกีฬา จังหวัด นครสวรรค์

การท่องเที่ยวและกีฬา จังหวัด นครสวรรค์

การท่องเที่ยวและกีฬา จังหวัด นครสวรรค์ การท่องเที่ยวและกีฬา จังหวัด นครสวรรค์ การท่องเที่ยวและกีฬา จังหวัด นครสวรรค์


๓๗

ประเภท

ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รับ ตัวแทนจังหวัดนครสวรรค์ ๒๐๕.น.ส.สุมาพร สุรัตนศิลป์ รุ่นอายุไม่เกิน ๑๘ ปี ๒๐๖.น.ส.ธัญรัตน์ ป๎นเมนท์ รางวัลชนะเลิศ ประเภทหญิงคู่ ๒๐๗.น.ส.ณัฐนิชา เรือนเพชร กีฬาเปตองเพื่อคัดเลือกเป็น ตัวแทนจังหวัดนครสวรรค์ ๒๐๘.ด.ช.ภูวดลย์ ประดิษฐ์สุข รุ่นอายุไม่เกิน ๑๘ ปี ๒๐๙.ด.ญ.อรัญญา พงษ์ธัญการ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ ประเภทคู่ผสม กีฬาเปตองเพื่อ คัดเลือกเป็นตัวแทนจังหวัด ๒๑๐.ด.ช.วชิรวิทย์ ปานพรม นครสวรรค์รุ่นอายุไม่เกิน ๑๘ ปี ๒๑๑.ด.ช.บุญวัฒน์ งามชื่น รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ การ ๒๑๒.ด.ช.อลงกรณ์ บุญเอี่ยม แข่งขันกีฬาฟุตบอลรุ่นอายุไม่เกิน ๒๑๓.ด.ช.ญาณวรุฒม์ ปิ่นสอางค์ ๑๕ ปี ๒๑๔.ด.ช.จงกนต์ งามโสภา ๒๑๕.ด.ช.ชนินทร์ ทิมแก้ว ๒๑๖.ด.ช.ธนายุทธ พูลธนากร ๒๑๗.ด.ช.สุรศักดิ์ บุญมาก ๒๑๘.ด.ช.สุธรรม ดอนพุ่ม ๒๑๙.ด.ช.ภูมัย ราชา ๒๒๐.ด.ช.นราธิป นราเลิศ ๒๒๑.ด.ช.สิปปกร พรมมา ๒๒๒.ด.ช.ไชยวัฒน์ เกตุนันท์ ๒๒๓.ด.ช.ทัศนะ สาริทิน ๒๒๔.ด.ช.กฤตเมธ เมฆประดับ ๒๒๕.ด.ช.กฤตเมธ บานเย็นงาม ๒๒๖.ด.ช.ตรีทเศท โพธิดาษ ๒๒๗.ด.ญ.มณฑิตา พิลาวัน ๒๒๘.ด.ญ.เกตุนภา แจ่มมณี รางวัลชนะเลิศ เปตองหญิง ๒๒๙.ด.ญ.อรัญญา พงษ์ธัญการ ทีม ๓ คน รุ่นมัธยมจากการ ๒๓๐.ด.ญ.วรินทร บุญหนู แข่งขันกีฬา กรีฑานักเรียน สพป.นว.๑ จาก สพป.นว.๑ ร่วมกับ อบจ.นครสวรรค์

หน่วยงานที่มอบรางวัล การท่องเที่ยวและกีฬา จังหวัด นครสวรรค์

การท่องเที่ยวและกีฬา จังหวัด นครสวรรค์ การท่องเที่ยวและกีฬา จังหวัด นครสวรรค์

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครสวรรค์เขต ๑


๓๘

ประเภท

ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รับ

หน่วยงานที่มอบรางวัล

๑๑.๒ โครงการ/งาน/กิจกรรม ที่ประสบผลสาเร็จ ที่ ๑

ชื่อ โครงการ / งาน / กิจกรรม โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ๑.๑ งานตรวจสุขภาพนักเรียน จากครูประจาชั้นและเจ้าหน้าที่ อนามัย ๑.๒ งานจัดปูายนิเทศด้านอนามัย และต่อต้านยาเสพติด ๑.๓ งานจัดสบู่ไว้สาหรับบริการ นักเรียน ๑.๔ งานทันตสาธารณสุขภาพ ในโรงเรียนและประกวดลาซาล ฟ๎นสวย ๑.๕ งานติดตามภาวะโภชนาการ นักเรียนและแก้ป๎ญหาเด็กอ้วน ๑.๖ งานปลอดลูกน้ายุงลาย ในโรงเรียน ๑.๗ งานจัดบริการปฐมพยาบาล พร้อมเวชกรรมแก่นักเรียน โครงการแนะแนวในโรงเรียน ๒.๑ งานให้คาปรึกษาเป็น รายบุคคลและกลุ่ม ๒.๒ งานวัดความถนัดทางด้าน อาชีพของนักเรียน ๒.๓ งานวัดแววความสามารถ พิเศษนักเรียน ๒.๔ งานแนะแนวการศึกษาต่อ สายสามัญ สายอาชีพอุดมศึกษา และศิษย์เก่า ๒.๕ งานประเมิน EQ นักเรียน ๒.๖ งานเยี่ยมบ้านนักเรียน ๒.๗ งานกิจกรรมค้นหาตนเอง ๒.๘ งานอบรมอดเปรี้ยวไว้กิน หวาน

วัตถุประสงค์ / เป้าหมาย

วิธีดาเนินการ

ตัวบ่งชี้ความสาเร็จ

๑. เพื่อให้บุคลากรของโรงเรียน มีสุขภาพกายที่ดี จิตใจร่าเริง แจ่มใส มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับ ครู เพื่อนและบุคคลทั่วไป ๒. เพื่อให้บุคลากรของโรงเรียน เอาใจใส่ดูแลสุขภาพตนเอง และผู้ใกล้ชิด ๓. เพื่อได้นาแนวคิด ด้านสุขภาพมาประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวัน

- ประชุมคณะ กรรมการวางแผนพัฒนา งาน โครงการ - มอบหมาย ผู้รับผิดชอบ - ประชาสัมพันธ์งาน - ดาเนินงานตามที่ ได้รับมอบหมาย - นิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ - ประเมินงาน - สรุป รายงานผลและ พัฒนาในปีการศึกษา ต่อไป

ร้อยละ ๙๘.๓๕ ของคณะครูและนักเรียน มีสุขภาพ กาย ใจ สมบูรณ์แข็งแรง ปลอดภัยจากโรคภัย

๑. เพื่อให้นักเรียนมีการวางแผน เปูาหมายในการศึกษาต่อและ เลือกอาชีพที่เหมาะสมกับตนเอง ๒. เพื่อให้นักเรียนมีการสร้าง ทางเลือกศึกษาต่อสายอาชีพที่ เหมาะสมกับความถนัด ความ สนใจ ความสามารถของตนเอง และทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง มีความสุข ๓. เพื่อได้รับข่าวสารที่เป็น ประโยชน์ต่อเหตุการณ์และ สามารถนาความรู้ที่ได้รับ ไปใช้ ในชีวิตประจาวันได้ ๔. เพื่อให้นักเรียนสามารถ หลีกเลี่ยงความรุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุ และป๎ญาหาทางเพศ

- ประชุมคณะ กรรมการวางแผนพัฒนา งาน โครงการ - มอบหมาย ผู้รับผิดชอบ - ประชาสัมพันธ์งาน - ดาเนินงานตามที่ ได้รับมอบหมาย - นิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ - ประเมินงาน - สรุปและรายงานผล และพัฒนาในปี การศึกษาต่อไป - จัดอบรมนักเรียน ม.๑ ให้รู้จักดูแลตนเอง เพื่อความปลอดภัย จากป๎ญหาทางเพศ

ร้อยละ ๙๒.๒๙ ของ นักเรียนรู้จักตนเอง พึ่งตนเองได้มีบุคลิกภาพ ที่ดีสามารถทางาน ร่วมกับผู้อนื่ มีเจตคติ ต่ออาชีพสุจริตและเลือก อาชีพที่เหมาะสมกับ ตนเองและดูแลตนเองให้ ปลอดภัยจากป๎ญหา ทางเพศ


๓๙ ที่

ชื่อ โครงการ / งาน / กิจกรรม

วัตถุประสงค์ / เป้าหมาย

วิธีดาเนินการ

ตัวบ่งชี้ความสาเร็จ

โครงการสวัสดิการมอบ ทุนการศึกษา

๑. เพื่อช่วยให้นักเรียนที่เรียนดี ได้รับทุนการศึกษาในรูปแบบ ต่างๆ อย่างเหมาะสม ๒. เพื่อให้นักเรียนที่ขาดแคลนมี โอกาสได้ศึกษาเล่าเรียน ช่วยลดและแบ่งเบาภาระของ ครอบครัวนักเรียน และมีความ พร้อมในการเรียนมากขึ้น

- ประชุมคณะ กรรมการวางแผนพัฒนา งาน โครงการ - มอบหมาย ผู้รับผิดชอบ - ประชาสัมพันธ์งาน - ดาเนินงานตาม ที่ได้รับมอบหมาย - นิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ - ประเมินงาน - สรุปและรายงานผล และพัฒนาใน ปีการศึกษาต่อไป

- ร้อยละ ๙๔.๒๙ ของ นักเรียนที่เรียนดี นักเรียนที่ขาดแคลน มีโอกาสได้รับการ ช่วยเหลือด้าน ทุนการศึกษาอย่าง เหมาะสม

๔.

โครงการบริจาคโลหิตเพื่อถวาย เป็นพระราชกุศล

๑. เพื่อทาความดีถวายแด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ๒. เพื่อให้คณะครู นักเรียน บริจาคโลหิตให้สภากาชาดไทย จังหวัดนครสวรรค์ นาไปช่วย ผู้ปุวยที่ต้องการโลหิต

- ประชุมคณะ กรรมการวางแผนพัฒนา งาน โครงการ - มอบหมาย ผู้รับผิดชอบ - ประชาสัมพันธ์งาน - ดาเนินงานตามที่ ได้รับมอบหมาย - นิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ - ประเมินงาน - สรุป รายงานผล และพัฒนาในปี การศึกษาต่อไป

- ร้อยละ ๙๒.๘๖ ของ ครูและนักเรียน ในชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๕-๖ เข้าร่วมโครงการ และ รู้จักดูแลสุขภาพของ ตนเองให้แข็งแรง ปลอดจากโรคติดต่อ

โครงการส่งเสริมสุขภาพ ๕.๑ งานอบรมให้ความรู้แก่ ผู้ประกอบอาหารทั้งภายในและ ภายนอกโรงเรียน ๕.๒ งานประกวดความสะอาด อาหาร ร้านค้าและน้าดื่ม

๑. เพื่อให้นักเรียนมีภาวะ โภชนาการทางร่างกายตาม เกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย ๒. เพื่อให้ผู้ประกอบอาหาร มีความรู้ด้านโภชนาการและจัด ร้านสะอาด ถูกหลักอนามัยแก่ ผู้บริโภค

- ประชุมคณะ กรรมการวางแผนพัฒนา งานโครงการ - มอบหมาย ผู้รับผิดชอบ - ประชาสัมพันธ์งาน - ดาเนินงานตามที่ ได้รับมอบหมาย

- ร้อยละ ๙๘.๑๖ มีสุขภาพอนามัยสมบูรณ์ แข็งแรงเป็นไปตาม เกณฑ์มาตรฐาน ของการสุขาภิบาล ของ กรมอนามัย - ร้อยละ ๙๒.๓๓ ของ ผู้ประกอบการร้านค้าใน


๔๐ ที่

ชื่อ โครงการ / งาน / กิจกรรม

วัตถุประสงค์ / เป้าหมาย

วิธีดาเนินการ - นิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ - ประเมินงาน - สรุปและรายงานผล และพัฒนาในปี การศึกษาต่อไป

โครงการพัฒนาบุคลากรครูบุคลากร ๖.๑ งานนิเทศครูเข้าใหม่

๖.๒ งานติดตามการแต่งกายและ พฤติกรรมครู

๖.๓ งานส่งครูเข้ารับการอบรม ศึกษาดูงานและศึกษาต่อ

๖.๔ งานสรรหาบุคลากรดีเด่น และยกย่องเชิดชูเกียรติ

๑. เพื่อให้ครู-บุคลากรมีความรู้ ความสามารถเพิ่มมากขึ้นและ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ๒. เพื่อให้ครู-บุคลากรนาความรู้ ไปพัฒนางานในหน้าที่ รับผิดชอบ

- มอบหมายให้ครูในฝุาย แจ้งให้ครูใหม่รับทราบ กาหนดการ ดาเนินการ ตามขั้นตอน เพื่อให้ครู ใหม่ทราบจิตตารมณ์ ของคณะลาซาล และ การปฏิบัติตนในฐานะ ครูลาซาล ๓. เพื่อให้งานต่างๆ บรรลุผล - มอบหมายนโยบายให้ อย่างมีคุณภาพ หัวหน้าระดับและครูใน ฝุายรับทราบ โดยมีการ ติดตามเป็นระยะ กรณี ที่ครูปฏิบัติตนไม่ถูกต้อง ได้มีการตักเตือน - ประชาสัมพันธ์ เรื่องการศึกษาดูงาน การอบรมให้ทราบ โดย ให้ระดับคัดเลือกครูส่ง มายังฝุายฯ จัดทาคาสั่ง ส่งตัวเข้ารับการอบรม และกลับมาขยายผลให้ ส่วนที่เกี่ยวข้องรับทราบ ๔.เพื่อเสริมสร้างขวัญและ - ประชาสัมพันธ์ กาลังใจในการปฏิบัติงานร่วมกัน เรื่องการศึกษาดูงาน ของครู-บุคลากรในโรงเรียน การอบรมให้ทราบ โดย ให้ระดับคัดเลือกครูส่ง มายังฝุาย ฝุายจัดทา คาสั่งส่งตัวเข้ารับการ คัดเลือก และลง ประกาศประชาสัมพันธ์ ให้รับทราบ

โครงการสวัสดิการเสริมสร้างขวัญ ๑. เพื่อเสริมสร้างขวัญและ - มอบฉลากออมสินแก่ และกาลังใจ กาลังใจในการปฏิบัติงานร่วมกัน ครูในแต่ละระดับ

ตัวบ่งชี้ความสาเร็จ โรงเรียนมีความรู้ ด้านโภชนาการและจัด ร้านค้าที่สะอาดถูกหลัก อนามัยแก่ผู้บริโภค นักเรียนปลอดภัย จาก โรคติดต่อที่มีอาหาร เป็นสื่อ - ร้อยละ ๙๖.๒๔ ครู-บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจในงานที่ รับผิดชอบ

-ร้อยละ ๙๔ .๔๓ ครู-บุคลากร ประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง ที่ดี -ร้อยละ ๙๔.๔๓ ครู-บุคลากร สามารถ นาความรู้ไปพัฒนางาน ที่รับผิดชอบ

- ร้อยละ ๙๔.๗๕ ครู-บุคลากร ปฏิบัติงาน ต่างๆให้บรรลุผล มีคุณภาพ

-ร้อยละ ๙๖.๐๐ ครู-บุคลากรมีกาลังใจใน


๔๑ ที่

ชื่อ โครงการ / งาน / กิจกรรม ๗.๑ งานของขวัญวันคล้ายวันเกิด ๗.๒ งานเยี่ยมครูที่เจ็บปุวย คลอดบุตร อุปสมบท และสมรส

๗.๓ งานกองทุนฌาปนกิจ สงเคราะห์ครู ผู้ปกครอง นักเรียน และคนงาน

๗.๔ งานตรวจสุขภาพครู

โครงการบรรพชาสามเณรลาซาล โชติรวี รุ่นที่ ๑๖

โครงการสานสัมพันธ์กับชุมชน ๙.๑ งานส่งเสริมประเพณีตรุษจีน ๙.๒ งานช่วยเหลือชุมชนและ

วัตถุประสงค์ / เป้าหมาย

วิธีดาเนินการ

ตัวบ่งชี้ความสาเร็จ

ของครู-บุคลากรในโรงเรียน ๒. เพื่อครู-บุคลากรปฏิบัติหน้าที่ อย่างเต็มกาลังความสามารถ ๓.เพื่อครู-บุคลากรมีความ - คณะกรรมการฝุายฯ ภาคภูมิใจและมั่นใจในอาชีพ แต่ละระดับที่มีครู เจ็บปุวย คลอดบุตร อุปสมบท และสมรส แจ้งให้หัวหน้าฝุาย รับทราบเพื่อดาเนินการ - คณะกรรมการฝุายฯ แต่ละระดับ ที่มีนักเรียน ผู้ปกครอง ครู บิดา มารดาครู และคนงาน เสียชีวิต แจ้งให้หัวหน้า ฝุายบุคลากรรับทราบ เพื่อดาเนินการ จัดทา สั่งพวงหรีด เงินช่วยเหลือ และจัดครูเข้าร่วมงาน - ประชาสัมพันธ์ให้ครู ทุกระดับทราบ มอบหมายงานให้ครูที่ รับผิดชอบดาเนินการ ตามขั้นตอน นัดหมาย วันตรวจสุขภาพ

การปฏิบัติงาน -ร้อยละ๙๕.๗๔ ครู-บุคลากรปฏิบัติงาน เต็มความสามารถ ผลงานมีคุณภาพ -ร้อยละ ๙๕.๗๖ ครูบุคลากรมีความมั่นใจ และภูมิใจในอาชีพ

๑. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้ ศึกษาพระธรรมคาสอนได้อย่าง เหมาะสมกับวัย ๒. เพื่อนักเรียนสามารถนา ประสบการณ์ช่วงบรรพชาไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

- นักเรียนเกิดคุณธรรม จากการบรรพชาและ นาไปใช้ใน ชีวิตประจาวันได้อย่าง เหมาะสม - บุคลากรทุกฝุายทั้งใน และนอกโรงเรียนให้ ความร่วมมือในการจัด โครงการบรรพชา สามเณร

- ประชุมคณะกรรมการ วางแผนการดาเนินงาน มอบหมายงาน ผู้รับผิดชอบ แต่งตั้ง คณะกรรมการ - ติดตามตรวจสอบ - กาหนดงาน กิจกรรม ที่สอดคล้องกับโครงการ - มอบหมายงาน ผู้รับผิดชอบ - ดาเนินงานติดตาม แผนงานกิจกรรม - สรุปและรายงานผลการ ดาเนินงาน ๑. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ - ประชุมคณะกรรมการ แสดงออกถึงความสามารถของตน วางแผนการดาเนินงาน ในการร่วมกิจกรรมของชุมชน มอบหมายงาน

- ปีการศึกษานี้ไม่ได้จัด

- ร้อยละ ๘๕ มีส่วนร่วม กิจกรรมภายนอก - นักเรียนร้อยละ ๙๕


๔๒ ที่

ชื่อ โครงการ / งาน / กิจกรรม สังคม ๙.๓ งานบริการชุมชน ๙.๔ งานประชาสัมพันธ์

วัตถุประสงค์ / เป้าหมาย

วิธีดาเนินการ

ตัวบ่งชี้ความสาเร็จ

๒. เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ ผู้รับผิดชอบ แต่งตั้ง ที่ดีระหว่างโรงเรียนและชุมชน คณะกรรมการ

ร่วมกิจกรรมช่วยเหลือ สังคม

- ร้อยละ ๙๐ ของ หน่วยงานภายนอกได้รับ การตอบรับจากโรงเรียน - ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ร้อยละ ๙๐ มีความ พอใจในการบริการของ โรงเรียน - ครู นักเรียนและ ผู้ปกครองร้อยละ ๙๕ รับทราบการดาเนินงาน ของโรงเรียนเป็นป๎จจุบัน และเที่ยงตรง - ร้อยละ ๙๕ โรงเรียน และชุมชนมีความ สัมพันธ์กันยิ่งขึ้น ๑. เพื่อพัฒนาผู้บริหารให้มี - ประชุมคณะกรรมการ - ผู้บริหารร้อยละ ๙๑ วิสัยทัศน์ ภาวะผู้นาและ วางแผนโครงการพัฒนา มีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้นา ความคิดริเริ่มที่เน้นพัฒนาการ ผู้บริหาร ครู บุคลากร และความคิดริเริ่มที่เน้น นักเรียน - จัดแบ่งโครงสร้างการ พัฒนาการนักเรียน ๒.เพื่อพัฒนาให้ผู้บริหารใช้ บริหารงานและภารกิจ - ผู้บริหารร้อยละ ๙๑ หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม ของงาน ใช้หลักการบริหารแบบ และใช้ข้อมูลผลการประเมินหรือ - มอบหมายงาน มีส่วนร่วมและใช้ข้อมูล ผลการวิจัยเป็นฐานคิดทั้ง ด้าน ผู้รับผิดชอบ ผลการประเมินหรือ วิชาการและการจัดการ - ประชาสัมพันธ์ ผลการวิจัย เป็นฐานคิด ๓. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ - แต่งตั้งผู้ประสานงาน ทั้งด้านวิชาการและการ ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการ ฝุาย กาหนดแผนงาน จัดการ การศึกษาให้บรรลุเปูาหมาย และครูทางาน - ผู้บริหารร้อยละ ๙๑ ตามที่กาหนดไว้ - ดาเนินงานตามแผนงาน สามารถบริหารจัดการ ในแผนปฏิบัติการ - ประชุมนิเทศ ติดตาม การศึกษาให้บรรลุ ๔. เพื่อพัฒนาให้ผู้บริหาร ตรวจสอบ เปูาหมายตามที่กาหนด ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ - ประเมินผล สรุป และ ไว้ในแผนปฏิบัติการ บุคลากรให้พร้อมรับการ รายงานผล - ผู้บริหารร้อยละ ๙๑ กระจายอานาจ ส่งเสริมและพัฒนา ๕. เพื่อพัฒนาผู้บริหาร ศักยภาพบุคลากร ให้คาแนะนา คาปรึกษาทาง ให้พร้อมรับการกระจาย วิชาการและเอาใจใส่การ อานาจ จัดการศึกษาเต็มศักยภาพและ - ร้อยละ ๙๑ ของ เต็มเวลา ผู้บริหารให้คาแนะนา คาปรึกษาทางวิชาการ ๓. เพื่อให้โรงเรียนเป็นแหล่ง วิทยาการในการแสวงหาความรู้ และบริการชุมชน ๔. เพื่อประชาสัมพันธ์กิจกรรม ของโรงเรียนให้บุคลากรใน โรงเรียนและชุมชนได้รับทราบ

๑๐ โครงการพัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากร ๑๐.๑ งานประชุมคณะกรรมการ โรงเรียน ๑๐.๒ งานนิเทศ อบรม สัมมนา ผู้บริหาร ครู ๑๐.๓ งานบริหารจัดการด้าน วิชาการ ๑๐.๔ งานกากับ ติดตาม ตรวจสอบการดาเนินงาน ๑๐.๕ งานประเมินผลเชิง คุณภาพบุคลากร

- ติดตามตรวจสอบ - กาหนดงาน กิจกรรม ที่ สอดคล้องกับโครงการ - มอบหมายงาน ผู้รับผิดชอบ - ดาเนินงานติดตาม แผนงานกิจกรรม - สรุปและรายงานผลการ ดาเนินงาน


๔๓ ที่

ชื่อ โครงการ / งาน / กิจกรรม

๑๑ โครงการประกันคุณภาพภายใน ๑๑.๑ งานจัดทาแผนปฏิบัติการ ประจาปี ๑๑.๒ งานติดตามตรวจสอบ ประเมินคุณภาพภายใน โรงเรียน

๑๒ โครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ

วัตถุประสงค์ / เป้าหมาย

วิธีดาเนินการ

ตัวบ่งชี้ความสาเร็จ

และเอาใจใส่การจัดการ ศึกษาเต็มศักยภาพและ เต็มเวลา ๑. เพื่อพัฒนาการจัดองค์กร - ประชุมคณะกรรมการ - ร้อยละ ๙๑ มีการ โครงสร้าง โดยการกาหนด วางแผนโครงการ พัฒนาการจัดองค์กร มาตรฐานการศึกษา - จัดแบ่งภารกิจของงาน โครงสร้าง โดยการ ๒. เพื่อพัฒนาคุณภาพการ ออกคาสั่งมอบหมายงาน กาหนดมาตรฐาน ดาเนินงานให้เป็นไปตามระบบ ผู้รับผิดชอบ การศึกษา ประกันคุณภาพภายใน - ประชาสัมพันธ์ - ร้อยละ ๙๑ โรงเรียน ๓. เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องกับ ให้ความรู้แก่ครู มีการพัฒนาคุณภาพการ โรงเรียนดาเนินการตาม - ดาเนินการตาม ดาเนินงานให้เป็นไปตาม แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ กิจกรรมที่กาหนด ระบบประกันคุณภาพ โรงเรียน ที่มุ่งพัฒนาคุณภาพ - ประชุมนิเทศ ติดตาม ภายใน ตามมาตรฐานการศึกษา ตรวจสอบ - ร้อยละ ๙๑ มีการ ๔. เพื่อพัฒนาการบริหารงาน - ประเมินผล สรุป และ พัฒนาให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง โรงเรียนโดยมีคณะกรรมการ รายงานผล กับโรงเรียนดาเนินการ โรงเรียน ตามแผนพัฒนาการจัด ๕. เพื่อพัฒนาระบบบริหาร การศึกษาของโรงเรียน การวางแผน การดาเนินงาน ที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตาม การติดตาม ตรวจสอบ มาตรฐานการศึกษา การประเมินผล นาไปพัฒนา - ร้อยละ ๙๑ มีการ อย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาการบริหารงาน โรงเรียนโดยมีคณะ กรรมการโรงเรียน - ร้อยละ ๙๑ มีการ พัฒนาระบบบริหาร การ วางแผนการดาเนินงาน การติดตามตรวจสอบ การประเมินผล นาไปพัฒนาอย่างมี ประสิทธิภาพ ๑. เพื่อพัฒนา การบริหาร - ประชุมคณะกรรมการ - ร้อยละ ๙๑ มีการ โรงเรียนให้มีประสิทธิภาพอย่าง วางแผนพัฒนา พัฒนา การบริหาร เป็นระบบ ครบวงจร ครอบคลุม สารสนเทศโรงเรียน โรงเรียนให้มีประสิทธิทุกเปูาหมายของโรงเรียน - จัดแบ่งโครงสร้างการ ภาพอย่างเป็นระบบ ๒. เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีและ บริหารงานและภารกิจ ครบวงจร ครอบคลุม ทุกเปูาหมายของโรงเรียน สารสนเทศให้ทันสมัย พร้อมใช้ ของงาน - ร้อยละ ๙๑ มีการ - มอบหมายงาน งานอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้รับผิดชอบ พัฒนาเทคโนโลยีและ ๓. เพื่อพัฒนาระบบข้อมูล - ประชาสัมพันธ์ สารสนเทศให้ทันสมัย สารสนเทศ ประมวลผล แต่ ง ตั ง ้ ผู ป ้ ระสานงาน พร้อมใช้งานอย่างมี วิเคราะห์ บันทึก การจัดเก็บ ฝุ า ย ก าหนดแผนงาน ประสิทธิภาพ และนาไปใช้พัฒนาคุณภาพ และครูในฝุาย - ร้อยละ ๙๑ มีการ


๔๔ ที่

ชื่อ โครงการ / งาน / กิจกรรม

วัตถุประสงค์ / เป้าหมาย การศึกษา

๑๓ โครงการการขับเคลื่อนกิจกรรม โรงเรียน

วิธีดาเนินการ

ตัวบ่งชี้ความสาเร็จ

- นิเทศ ติดตามตรวจสอบ พัฒนาระบบข้อมูล - ประเมินผล สารสนเทศ ประมวลผล สรุป และรายงานผล วิเคราะห์ บันทึกการ จัดเก็บ และนาไปใช้ พัฒนา คุณภาพการศึกษา - ร้อยละ ๙๑ มีการ พัฒนาให้มีระบบข้อมูล สารสนเทศเพื่อการ บริหารที่ถูกต้อง และ ครบถ้วนทันต่อการ ใช้งาน ๑. เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรม - ประกาศการจัด - ร้อยละ ๙๑ มีการ ตามนโยบาย วิสัยทัศน์ จุดเน้น กิจกรรมเศรษฐกิจ ส่งเสริมการจัดกิจกรรม แนวทางการปฏิรูปการศึกษา พอเพียง กิจกรรม ๕ ส ตามนโยบาย วิสัยทัศน์ และนาไปพัฒนาโรงเรียน ครู เป็นนโยบายของ จุดเน้น แนวทาง การ นักเรียนให้ยกระดับคุณภาพ โรงเรียน ปฏิรูปการศึกษา และ สูงขึ้น - อบรมให้ความรู้ นาไปพัฒนาโรงเรียน ๒. เพื่อให้คณะผู้บริหาร ครู กิจกรรมเศรษฐกิจ ครู นักเรียนให้ยกระดับ นักเรียน ผู้ปกครองน้อมนา พอเพียงกิจกรรม ๕ ส คุณภาพสูงขึ้น หลักการเศรษฐกิจพอเพียงตาม แก่บุคลากรในโรงเรียน - ร้อยละ ๙๑ มีการน้อม แนวพระราชดาริมาวางแผนการ - ออกคาสั่งแต่งตั้ง นาหลักการเศรษฐกิจ บริหารจัดการ ภายในโรงเรียน คณะกรรมการจัด พอเพียงตามแนว ๓. เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรม กิจกรรม ๕ ส พระราชดาริ มาวางแผน ๕ ส. สะสาง สะดวก สะอาด เศรษฐกิจพอเพียง การบริหาร จัดการ สุขลักษณะ สร้างนิสัยในการ เขียนโครงการ กิจกรรม ภายในโรงเรียน พัฒนาคุณภาพ โรงเรียน - ประชาสัมพันธ์ใน - ร้อยละ ๙๑ มีการ โรงเรียน ส่งเสริมการจัดกิจกรรม - ออกแบบประเมิน ๕ ส.สะสาง สะดวก กิจกรรมตามตัวชี้วัดของ สะอาด สุขลักษณะ กิจกรรม ๕ ส สร้างนิสัย ในการพัฒนา - แต่งตั้งคณะกรรมการ คุณภาพโรงเรียน ประเมิน - ร้อยละ ๙๑ มีการ - ประชาสัมพันธ์ให้ครู พัฒนาโรงเรียนให้มี และนักเรียนเกี่ยวกับ บรรยากาศที่ร่มรื่น หลักปรัชญาเศรษฐกิจ สะอาด สวยงาม พอเพียง มีสุขลักษณะอนามัย - สร้างหลักสูตรและ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ - ดาเนินการขับเคลื่อน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง


๔๕ ชื่อ โครงการ / งาน / กิจกรรม ๑๔ โครงการพัฒนาชีวิตฝุายจิตด้วย จิตตารมณ์คาทอลิก ที่

๑๕

วัตถุประสงค์ / เป้าหมาย

วิธีดาเนินการ

๑. เพื่ออบรมคริสตชน และผู้ที่ - ประชุมคณะกรรมการ สนใจ มีความรู้คาสอนด้านสังคม วางแผน ของพระศาสนจักร สามารถ - ชี้แจงให้ผู้เกี่ยวข้อง ดาเนินชีวิตตามคุณค่าคาสอน ทราบ กาหนดบุคลากร ๒. เพื่อพัฒนาโรงเรียนให้มี รับผิดชอบงาน กิจกรรม บรรยากาศที่ร่มรื่น สะอาด - จัดเตรียมสถานที่ และ สวยงาม มีสุขลักษณะอนามัย อุปกรณ์ และการบริการที่ดี เหมาะสม - นิเทศ ติดตาม เป็นแหล่งการเรียนรู้นั้น ตรวจสอบ ๓. เพื่อส่งเสริมกิจกรรมคาทอลิก - ประเมินผล สรุปและ แพร่ธรรม และกิจการช่วยเหลือ รายงานผล สังคมในรูปแบบต่างๆ อย่างเป็น - สารวจจานวนครู รูปธรรม นักเรียนและผู้สนใจ ๔. เพื่อให้คุณค่าของพระวรสาร - ประเมินผล ศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม สรุป และรายงานผล จิตอาสา และชีวิตภาวนาอยู่ใน บรรยากาศการเรียนการสอน และในทุกกิจกรรม โครงการโรงเรียนสีขาว ๑. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความ จัดกิจกรรมต่อเนื่อง ๑๕.๑ งานรณรงค์ปูองกันและแก้ไข เข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติดและโทษ อย่างหลากหลาย เช่น ป๎ญหายาเสพติด ของยาเสพติด การรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ ( To be number one) ๒. เพื่อให้นักเรียนสามารถปูองกัน การให้คาสัตยาบัน ๑๕.๒ งานติดตามพฤติกรรม ตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษ ต่อต้านยาเสพติด นักเรียน ๓. เพื่อให้นักเรียนสามารถ แข่งขันกีฬา ดนตรี ๑๕.๓ งานอบรมอดเปรี้ยวไว้กิน หลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อความ กิจกรรมให้ความรู้ หวาน รุนแรง โรคภัยอุบัติเหตุและ เกี่ยวกับโทษของ ๑๕.๔ งานใช้อินเตอร์เน็ตอย่างไร ป๎ญหาทางเพศ ยาเสพติดจากครู และ ให้รู้คุณค่า ๔. เพื่อให้นักเรียนได้รับการอบรม วิทยากรพิเศษ จัดอบรม ๑๕.๕ งานรณรงค์วันเอดส์โลก ดูแลอย่างทั่วถึง มีความประพฤติ นักเรียนชั้น ม.๑ ในการ ที่ดี ดูแลตนเองให้ปลอดภัย ๕. เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้รับ จากป๎ญหาทางเพศ จัด ความปลอดภัย ประชุมผู้ปกครอง ๖. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความมั่นใจในร่วมมือร่วมใจกันดูแล ความปลอดภัยของบุตรหลาน นักเรียน

ตัวบ่งชี้ความสาเร็จ ร้อยละ ๙๑ ของ คริสตชน ครู นักเรียน คาทอลิก ผู้สนใจศาสนา มีความเป็นหนึ่งเดียวกัน เป็นตัวอย่างที่ดี มี คุณธรรม จริยธรรม โดยยึดการบริการที่ดี เหมาะสมเป็นแหล่งการ เรียนรู้ แบบอย่างพระ คริสตเจ้า และแพร่ธรรมได้

ร้อยละ ๙๖.๕๕ ของ นักเรียนสามารถปูองกัน ตนเองจากสิ่งเสพติดให้ โทษและหลีกเลี่ยง สภาวะที่เสี่ยงต่อความ รุนแรงโรคภัยอุบัติเหตุ และป๎ญหาทางเพศ


๔๖ ชื่อ โครงการ / งาน / กิจกรรม ๑๖ โครงการลาซาเลี่ยนเกมส์ ครั้งที่ ๔๐ ที่

๑๗ โครงการส่งเสริมสุนทรียภาพ ๑๗.๑ งานร่วมกิจกรรม ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น

๑๘ โครงการพัฒนาระเบียบวินัยและ ความรับผิดชอบ ๑๘.๑ งานนักเรียนลาซาลมีวินัย ๑๘.๒ งานยกย่องนักเรียนทาดี ๑๘.๓ งานอยู่ค่ายพักแรม ลูกเสือ เนตรนารี ๑๘.๔ งานสภาและสารวัตร นักเรียน

วัตถุประสงค์ / เป้าหมาย ๑. นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์ ๒. นักเรียนมีจิตใจอ่อนโยน มี สุนทรียภาพกับศิลปะ ดนตรี กีฬา และกล้าแสดงออก ๓. นักเรียนมีพื้นฐานความรู้ ทางด้านศิลปะ ดนตรี กีฬาและมี สุขภาพกายใจที่ดี

วิธีดาเนินการ

ตัวบ่งชี้ความสาเร็จ

- นักเรียนผู้นาสี ระดม - นักเรียนร้อยละ ความคิดสร้างสรรค์ ๘๖.๖๕ ชื่นชม ร่วม ผลงานอย่างหลากหลาย กิจกรรมและมีผลงาน มีความร่วมมือร่วมใจ ด้านศิลปะ ระหว่างครูกับนักเรียน - นักเรียนร้อยละ นักเรียนรุ่นพี่กับรุ่นน้อง ๘๖.๖๕ ชื่นชม ร่วม ร่วมแรงร่วมใจกัน แสดง กิจกรรมและมีผลงาน ศักยภาพของผู้นา ด้านดนตรี/นาฏศิลป์ รับผิดชอบหน้าที่ของ - นักเรียนร้อยละ ตนเอง ทาให้สามารถจัด ๘๖.๖๕ ชื่นชม ร่วม กิจกรรม ให้สาเร็จตาม กิจกรรมและมีผลงาน วัตถุประสงค์อย่างดี ด้านกีฬา/นันทนาการ ๑. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมี - นักเรียนร่วมกิจกรรม - นักเรียนร้อยละ ความคิดสร้างสรรค์และพัฒนา แห่เทียนพรรษากับ ๙๔.๒๕ มีความมั่นใจ ศักยภาพตนเอง เทศบาลนครนครสวรรค์ กล้าแสดงออก สุภาพ ๒. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมี กิจกรรมลอยกระทง อ่อนโยน และมีมนุษยจิตใจอ่อนโยนมีสุนทรียภาพ กะลา และกระทงใบตอง สัมพันธ์ที่ดีทั้งในและ ด้านศิลปะ ดนตรี กีฬาและกล้า ถวายวัดเพื่อจาหน่ายหา นอกหลักสูตร แสดงออก รายได้เข้าวัด โดยถวาย ๓. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเข้า วัดไทร และวัดวรนาถ ร่วมกิจกรรมทั้งในและนอก บรรพต ร่วมประเพณี หลักสูตร ตรุษจีน โรงเรียนร่วมจัด ชุดการแสดง และจัด ขบวนรถแห่นางฟูา เข้าร่วมประเพณีตรุษจีน ๑. เพื่อพัฒนานักเรียนให้มี - นักเรียนได้รับการฝึก - นักเรียนร้อยละ ระเบียบวินัยในตนเอง ระเบียบวินัยในการเข้าแถว ๙๕.๑๐ มีระเบียบวินัย ๒. เพื่อพัฒนา เดินแถว เงียบ เป็น รับผิดชอบ ประพฤติ นักเรียนมีความรับผิดชอบและ ระเบียบเรียบร้อย ปฏิบัติตนตามหลักธรรม ปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนา แต่งกาย ประพฤติ ปฏิบัติ ของศาสนาที่ตนนับถือ ที่ตนนับถือ ตนอยู่ในระเบียบโรงเรียน - นักเรียนร้อยละ ๓. เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีความ มาเรียนสม่าเสมอ ๙๕.๑๐ ภูมิใจในความ ภูมิใจในความเป็นไทย เห็นคุณค่า - นักเรียนที่ทาดี สร้าง เป็นไทย ดารงไว้ซึ่ง ภูมิป๎ญญาไทย นิยมไทย และ ชื่อเสียงให้แก่โรงเรียน ความเป็นไทย ดารงไว้ซึ่งความเป็นไทย มีจิตอาสาช่วยงาน โรงเรียน ได้รับการ ยกย่องรับเกียรติบัตร ประพฤติดี เรียนดี ผู้บาเพ็ญประโยชน์ นักเรียนที่ทาความดี และแข่งขันชนะ มีการยกย่องชมเชย


๔๗ ที่

ชื่อ โครงการ / งาน / กิจกรรม

๑๙ โครงการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ๑๙.๑ งานส่งเสริมคุณธรรม ๑๙.๒ งานนักเรียนลาซาลมีน้าใจ ๑๙.๓ งานส่งเสริมความกตัญํู ๑๙.๔ งานส่งเสริมมารยาทไทย

วัตถุประสงค์ / เป้าหมาย

๑. เพื่อพัฒนานักเรียนเป็นผู้มี ความซื่อสัตย์ สุจริต ๒. เพื่อพัฒนานักเรียนเป็นผู้มี ความกตัญํูกตเวทีต่อ พ่อแม่ ครู และผู้มีพระคุณ ๓. เพื่อพัฒนานักเรียนเป็นผู้มี ความเมตตากรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละเพื่อ ส่วนรวม ๔. เพื่อพัฒนานักเรียนให้ ประหยัด อดออม รู้จักใช้ทรัพย์ สิ่งของส่วนตนและส่วนรวม อย่างคุ้มค่า

วิธีดาเนินการ

ตัวบ่งชี้ความสาเร็จ

หน้าเสาธง เพื่อมอบ รางวัลและเกียรติบัตร - การจัดพักแรมลูกเสือ เนตรนารี เพื่อฝึกระเบียบ วินัย การเป็นผู้นา ผู้ตาม การทางานร่วมกัน ตามบทบาทของนักเรียน ได้ฝึกทักษะชีวิต การอยู่ ค่าย ความมีน้าใจ และ สอบเครื่องหมายวิชา พิเศษในแต่ละระดับชั้น - สภานักเรียน ปฏิบัติ หน้าที่ของตนเอง รับผิดชอบการจัด กิจกรรมรณรงค์เผยแพร่ ความรู้ในโอกาสต่างๆ เช่น รณรงค์งดสูบบุหรี่ รณรงค์ต่อต้านยาเสพติด การประชาสัมพันธ์ หน้าเสาธง การจัดกิจกรรม ความรู้ และข่าวสาร ตอนพักกลางวันทีโ่ รง อาหารเพื่อประชาสัมพันธ์ เชิญชวน และ บอกกล่าว การปฏิบัติ ของนักเรียน นักเรียนทุกคนได้รับการ - นักเรียนร้อยละ ส่งเสริมคุณธรรม ๙๙.๒๔ มีความ จริยธรรม การร่วม ซื่อสัตย์สุจริต กิจกรรมตอนเช้าฝึกสมาธิ - นักเรียนร้อยละ รักการอ่าน ๙๙.๒๔ มีความ ร่วมกิจกรรมทางศาสนา กตัญํูกตเวที หล่อเทียนพรรษา - นักเรียนร้อยละ การแห่เทียนพรรษา ๙๙.๒๔ มีความ ฟ๎งธรรมตามโอกาส เมตตากรุณา เอื้อเฟื้อ การทาบุญตักบาตร เผื่อแผ่ และเสียสละ ร่วมทาบุญ งานบรรพชา เพื่อส่วนรวม สามเณร เพื่อเทิด- นักเรียนร้อยละ พระเกียรติ การเวียน- ๙๙.๒๔ รู้จักใช้ทรัพย์ เทียน เนื่องในวันสาคัญ สิ่งของส่วนตนและ ทางศาสนา ส่วนรวมอย่างคุ้มค่า - นักเรียนบริจาคเงิน และทรัพย์สินเพื่อร่วม


๔๘ ที่

ชื่อ โครงการ / งาน / กิจกรรม

๒๐ โครงการอนุรักษ์และพัฒนา สิ่งแวดล้อม ๒๐.๑ งานรณรงค์วันสิ่งแวดล้อม โลก ๒๐.๒ งานร่วมใจพัฒนาโรงเรียน และท้องถิ่น ๒๐.๓ งานประกวดห้องเรียน สะอาด สวยงาม ๒๐.๔ งานคัดแยกขยะ

วัตถุประสงค์ / เป้าหมาย

วิธีดาเนินการ

๑. เพื่อให้นักเรียนรู้คุณค่าของ สิ่งแวดล้อมและตระหนักถึงผล กระทบที่เกิดจากการ เปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม ๒. นักเรียนตระหนักถึงป๎ญหา สิ่งแวดล้อม เข้าร่วมกิจกรรม อนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม

กิจกรรมทางศาสนาที่ตน นับถือเพื่อผู้ยากไร้ และ ด้อยโอกาส การนา ความสุขให้นักเรียนที่ศูนย์ พัฒนา บริจาคสิ่งของ - ส่งเสริมให้นักเรียน กตัญํูต่อบิดา มารดา ครู ผู้มีพระคุณและแผ่นดิน โดยจัดกิจกรรมไหว้ครู วันแม่ วันพ่อ การแสดง ความเคารพครู ผู้ใหญ่ และประมุขของชาติ ใน วาระโอกาสสาคัญ - นักเรียนได้รับการ ฝึกฝนจากครูในการไหว้ ครู ไหว้พระไหว้ผู้ใหญ่ การกราบ มารยาทใน สังคมร่วมกัน - นักเรียนตัวแทนแต่ละ ระดับ ปลูกต้นไม้บริเวณ เชิงเขา ภายในโรงเรียน นักเรียนบางส่วนรณรงค์ รักษาความสะอาดภายใน โรงเรียนและบริเวณริม แม่น้าปิงหน้าโรงเรียน - แต่ละระดับแบ่ง บริเวณให้นักเรียน รับผิดชอบในการรักษา ความสะอาด โดยมี ตารางกาหนดให้ปฏิบัติ หน้าที่ทุกสัปดาห์ - นักเรียนช่วยกันทา ความสะอาดห้องเรียน จัดบรรยากาศของ ห้องเรียนให้สะอาด - ร่วมกับฝุายอาคาร สถานที่ สภานักเรียน รณรงค์ให้นักเรียนคัด แยกขวดน้า ขวดนม จัดทิ้งในตะแกรงเพื่อให้ คนงานนาไปขายเป็น รายได้และสวัสดิการ ของคนงาน

ตัวบ่งชี้ความสาเร็จ

- นักเรียนร้อยละ ๙๘.๓๖ รู้คุณค่าของ สิ่งแวดล้อมและ ตระหนักถึงผลกระทบที่ เกิดจากการ เปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม - นักเรียนร้อยละ ๑๐๐ เข้าร่วมหรือมีส่วนร่วม กิจกรรมโครงการ อนุรักษ์พัฒนา สิ่งแวดล้อม


๔๙ ชื่อ โครงการ / งาน / กิจกรรม ๒๑ โครงการเศรษฐกิจพอเพียง ๒๑.๑ งานช่วยกันประหยัด ที่

๒๒ โครงการจัดทางบประมาณ ประจาปี ๒๒.๑ งานจัดทางบประมาณ ประจาปี ด้วยระบบ MAS ๒๒.๒ งานการเงิน การบัญชี

๒๓ โครงการพัฒนาระบบบริหารงาน ธุรการ

๒๓.๑ งานเอกสารสารบรรณ/ ธุรการ ทะเบียน ๒๓.๒ งานพัสดุ ครุภัณฑ์ ๒๓.๓ งานประชาสัมพันธ์ ๒๓.๔ งานทาบัตรประจาตัว นักเรียน

วัตถุประสงค์ / เป้าหมาย ๑. เพื่อให้นักเรียนนาหลัก เศรษฐกิจพอเพียงตามแนว พระราชดาริมาวางแผนการ บริหารจัดการ การใช้จ่ายของ ตนเอง ๒. เพื่อให้นักเรียนนาหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจาวันได้อย่าง เหมาะสม

วิธีดาเนินการ

- นักเรียนได้รับการ ปลูกฝ๎งให้รู้จักการ ประหยัดน้า-ไฟ ปิด ทุกครั้งที่ไม่ใช้ - นักเรียนมีการออมทรัพย์กับธนาคาร โรงเรียนฝากเงินที่เหลือ จากการใช้จ่ายไว้ใช้ใน ยามจาเป็น มีเงิน บางส่วน นักเรียน บริจาคเพื่อทะนุบารุง ศาสนาและผู้ยากไร้ด้อย โอกาส เพื่อจัดสรรงบประมาณให้เกิด ประชุมคณะกรรมการใน สภาพคล่องตามโครงการ งาน ฝุายให้เข้าใจไปใน กิจกรรมของปีการศึกษา ๒๕๕๗ ทิศทางเดียวกัน และ เพื่อจัดงบประมาณให้เป็นไป ดาเนินการจัดสรร ตามความจาเป็นตามแผน งบประมาณให้แต่ละ ยุทธศาสตร์ และเกิดการถ่วงดุล ฝุายและกลุ่มสาระอย่าง สูงสุด ทั่วถึงตลอดทั้งปี ประชุมคณะกรรมการใน ฝุายให้เข้าใจไปใน ทิศทางเดียวกัน และ ดาเนิน การจัดทาบัญชี และแก้ไขป๎ญหาที่ เกิดขึ้นอย่างรอบคอบ เพื่อพัฒนาระบบงานธุรการ - นาระบบ MAS ลง การเงิน ให้มีความคล่องตัวโดย เครื่องเพื่อใช้ปฏิบัติงาน ใช้โปรแกรม MAS ช่วยบริหาร การเงิน บุคลากร และ โรงเรียน การประเมินผลงาน ต่างๆ ทั้งระบบ โดยมีครู ผู้รับผิดชอบนาข้อมูลเข้า และส่งออกเพื่อใช้งาน - จัดพิมพ์ข้อมูลลง โปรแกรม EXCEL สืบค้นได้รวดเร็ว - จัดทาทะเบียนคุมให้ เป็นป๎จจุบัน - ประชาสัมพันธ์อย่าง สม่าเสมอ - จัดทาบัตรนักเรียนให้ สาหรับนักเรียนเข้าใหม่

ตัวบ่งชี้ความสาเร็จ - นักเรียนร้อยละ ๗๔.๖๒ นาหลัก เศรษฐกิจพอเพียงตาม แนวพระราชดาริมา วางแผนการบริหาร จัดการ การใช้จ่ายของ ตนเอง - นักเรียนร้อยละ ๗๔.๖๒ นาหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวันได้อย่าง เหมาะสม ร้อยละ ๘๗ ของครูและ นักเรียน

ร้อยละ ๘๗ ของครูและ นักเรียน


๕๐ ที่

ชื่อ โครงการ / งาน / กิจกรรม

วัตถุประสงค์ / เป้าหมาย

วิธีดาเนินการ

ตัวบ่งชี้ความสาเร็จ

และนักเรียนทีท่ าบัตร สูญหาย - จัดบุคลากรดูแลระบบ และทักษะในการใช้ โปรแกรม

๒๓.๕ งานให้บริการผู้ใช้ระบบ MAS งานธุรการ การเงิน

๑๒. ผลการประเมินคุณภาพภายใน ปีที่ผ่านมา (ปีการศึกษา ๒๕๕๖) ๑๒.๑ ระดับการศึกษาปฐมวัย มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน

ปรับปรุง

พอใช้

ระดับคุณภาพ ดี ดีมาก

ดีเยี่ยม

ด้านคุณภาพเด็ก    

มาตรฐานที่ ๑ เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ มาตรฐานที่ ๓ เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม มาตรฐานที่ ๔ เด็กมีพัฒนาการด้านสติป๎ญญา

มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ ๕ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผล มาตรฐานที่ ๖ ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผล มาตรฐานที่ ๗ แนวการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ ๘ โรงเรียนมีการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนตาม ที่กาหนดในกฎกระทรวง

   

มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๙ โรงเรียนมีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้ โรงเรียนเป็นสังคมแห่งการ เรียนรู้

มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๑๐ การพัฒนาโรงเรียนให้บรรลุเปูาหมายตามปรัชญา วิสัยทัศน์ และ จุดเน้นของการศึกษาปฐมวัย มาตรฐานที่ ๑๑ การพัฒนาโรงเรียนตามนโยบายและแนวทางปฏิรูปการศึกษาเพื่อ ยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้น

 


๕๑

๑๒.๒ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

* ให้บันทึกระดับคุณภาพ เช่น พอใช้ ดี ....ตามผลประเมิน

มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ มาตรฐานที่ ๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ มาตรฐานที่ ๓ ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ป๎ญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล มาตรฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร มาตรฐานที่ ๖ ผู้เรียนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถ ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ ๗ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผล มาตรฐานที่ ๘ ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมี ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล มาตรฐานที่ ๙ คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครอง ชุมชน ปฏิบัติงานตาม บทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล มาตรฐานที่ ๑๐ โรงเรียนมีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้าน มาตรฐานที่ ๑๑ โรงเรียนมีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาเต็มศักยภาพ มาตรฐานที่ ๑๒ โรงเรียนมีการประกันคุณภาพภายในของ สถานศึกษาตามที่กาหนดในกฎกระทรวง มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๑๓ โรงเรียนมีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาเป็นสังคม แห่งการเรียนรู้ มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๑๔ การพัฒนาโรงเรียนให้บรรลุเปูาหมายตามวิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นที่กาหนดขึ้น มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม มาตรฐานที่ ๑๕ การจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏิรูปการศึกษา เพื่อพัฒนาและส่งเสริมโรงเรียนให้ยกระดับคุณภาพสูงขึ้น

ระดับคุณภาพ ปรับปรุง พอใช้

ดี

ดีมาก

ดีเยี่ยม

              


๕๒

๑๓. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกที่ผ่านมา (รอบสองหรือรอบสาม) โรงเรียนลาซาลโชติรวีนครสวรรค์ ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจากสมศ.รอบสอง เมื่อวันที่ ๒๘ ถึง ๓๐ พฤษภาคม พ.ศ ๒๕๕๐ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของโรงเรียน มีการประเมิน ๓ ด้าน คือ ผู้บริหาร ด้านครู และด้านผู้เรียนซึ่งสรุปผลการประเมินโดยภาพรวมตามมาตรฐานเป็นตารางดังต่อไปนี้ ๑๓.๑.๑ ระดับการศึกษาปฐมวัย มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก ด้านผู้เรียน มาตรฐานที่ ๑ นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ มาตรฐานที่ ๒ นักเรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี มาตรฐานที่ ๓ นักเรียนมีความสนใจกิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี และการ เคลื่อนไหว มาตรฐานที่ ๔ นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดแก้ป๎ญหา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มาตรฐานที่ ๕ นักเรียนมีความรู้ทักษะพื้นฐานตามพัฒนาการทุกด้าน มาตรฐานที่ ๖ นักเรียนสนใจใฝุรู้ รักการอ่านและพัฒนาตนเอง มาตรฐานที่ ๗ นักเรียนเล่น/ทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้ และชื่นชมใน ผลงานของตนเอง ด้านครู มาตรฐานที่ ๘ ครูมีคุณวุฒิ / ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่ รับผิดชอบ และมีครูเพียงพอ มาตรฐานที่ ๙ ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมี ประสิทธิภาพ และเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ด้านผู้บริหาร มาตรฐานที่ ๑๐ ผู้บริหารมีภาวะผู้นาและมีความสามารถในการบริหาร จัดการ มาตรฐานที่ ๑๑ โรงเรียนมีการจัดองค์กรโครงสร้าง และบริหารงานอย่าง เป็นระบบ ครบวงจร ให้บรรลุเปูาหมายการศึกษา มาตรฐานที่ ๑๒ โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมและการเรียนการสอนโดยเน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ มาตรฐานที่ ๑๓ โรงเรียนมีหลักสูตรที่เหมาะสมกับผู้เรียนและท้องถิ่น มี สื่อการเรียนการสอนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๑๔ โรงเรียนส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชน ในการพัฒนาการศึกษา

ผลการประเมิน

ผลประเมินอิง สถานศึกษา ระดับ คะแนน คุณภาพ

ผลการ รับรอง ค่าเฉลี่ย มาตรฐาน คุณภาพ

ค่าเฉลี่ย

ระดับ คุณภาพ

๓.๒๘ ๓.๓๗

ดี ดี

๓.๐๐ ๓.๐๐

ดี ดี

๓.๑๔ ๓.๑๙

ได้ ได้

๓.๓๙

ดี

๓.๐๐

ดี

๓.๒๐

ได้

๓.๒๕

ดี

๓.๐๐

ดี

๓.๑๓

ได้

๓.๓๓ ๓.๒๘ ๓.๓๐

ดี ดี ดี

๓.๐๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐

ดี ดี ดี

๓.๑๗ ๓.๑๔ ๓.๑๕

ได้ ได้ ได้

๓.๖๐

ดีมาก

๓.๐๐

ดี

๓.๓๐

ได้

๓.๒๕

ดี

๓.๐๐

ดี

๓.๑๓

ได้

๓.๘๙

ดีมาก

๓.๐๐

ดี

๓.๔๕

ได้

๓.๖๐

ดีมาก

๓.๐๐

ดี

๓.๓๐

ได้

๔.๐๐

ดีมาก

๓.๐๐

ดี

๓.๕๐

ได้

๔.๐๐

ดีมาก

๓.๐๐

ดี

๓.๕๐

ได้

๔.๐๐

ดีมาก

๓.๐๐

ดี

๓.๕๐

ได้

โรงเรียนมีผลการประเมินระดับการศึกษาปฐมวัย ระดับคุณภาพดี โดยมีค่าเฉลี่ย ๓.๒๗ ผลการรับรองมาตรฐานคุณภาพ  รับรอง  ไม่รับรอง


๕๓

๑๓.๒.๒ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก ด้านผู้เรียน มาตรฐานที่ ๑ นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ มาตรฐานที่ ๒ นักเรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี มาตรฐานที่ ๓ นักเรียนมีสุนทรียภาพ และลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬา มาตรฐานที่ ๔ นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ คิดแก้ป๎ญหา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์ มาตรฐานที่ ๕ นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร มาตรฐานที่ ๖ นักเรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการ เรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง มาตรฐานที่ ๗ นักเรียนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถ ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต ด้านครู มาตรฐานที่ ๘ ครูมีคุณวุฒิ / ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่ รับผิดชอบ และมีครูเพียงพอ มาตรฐานที่ ๙ ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมี ประสิทธิภาพ และเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ด้านผู้บริหาร มาตรฐานที่ ๑๐ ผู้บริหารมีภาวะผู้นาและมีความสามารถในการบริหาร จัดการ มาตรฐานที่ ๑๑ โรงเรียนมีการจัดองค์กรโครงสร้าง และบริหารงานอย่าง เป็นระบบ ครบวงจร ให้บรรลุเปูาหมายการศึกษา มาตรฐานที่ ๑๒ โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมและการเรียนการสอนโดยเน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ มาตรฐานที่ ๑๓ โรงเรียนมีหลักสูตรที่เหมาะสมกับผู้เรียนและท้องถิ่น มี สื่อการเรียนการสอนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๑๔ โรงเรียนส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชน ในการพัฒนาการศึกษา

ค่าเฉลี่ย

ระดับ คุณภาพ

ผลประเมินอิง สถานศึกษา ระดับ คะแนน คุณภาพ

๓.๔๕ ๓.๕๗ ๓.๒๕

ดี ดีมาก ดี

๔.๐๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐

ดีมาก ดี ดี

๓.๗๓ ๓.๒๙ ๓.๑๓

ได้ ได้ ได้

๒.๙๘

ดี

๓.๐๐

ดี

๒.๙๙

ได้

๒.๙๐ ๓.๐๔

ดี ดี

๓.๐๐ ๓.๐๐

ดี ดี

๒.๙๕ ๓.๐๒

ได้ ได้

๓.๑๓

ดี

๓.๐๐

ดี

๓.๐๗

ได้

๓.๒๙

ดี

๓.๐๐

ดี

๓.๑๕

ได้

๓.๒๓

ดี

๓.๐๐

ดี

๓.๑๒

ได้

๓.๘๙

ดีมาก

๓.๐๐

ดี

๓.๔๕

ได้

๓.๖๐

ดีมาก

๓.๐๐

ดี

๓.๓๐

ได้

๔.๐๐

ดีมาก

๓.๐๐

ดี

๓.๕๐

ได้

๔.๐๐

ดีมาก

๓.๐๐

ดี

๓.๕๐

ได้

๔.๐๐

ดีมาก

๓.๐๐

ดี

๓.๕๐

ได้

ผลการประเมิน

โรงเรียนมีผลการประเมินระดับการศึกษาปฐมวัย ระดับคุณภาพดี โดยมีค่าเฉลี่ย ๓.๒๖ ผลการรับรองมาตรฐานคุณภาพ  รับรอง  ไม่รับรอง

ผลการ รับรอง ค่าเฉลี่ย มาตรฐาน คุณภาพ


๕๔

ข้อเสนอแนะจากผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา และข้อเสนอแนะจากการติดตามตรวจสอบคุณภาพภายในของโรงเรียนโดย โรงเรียนหรือหน่วยงานต้นสังกัด ๑. โรงเรียนควรมีการจัดทาสารสนเทศให้มีสาระสาคัญครอบคลุมภารกิจเพื่อเชื่อมโยงไปสู่แนวทางการพัฒนา แต่ละด้าน ๒. โรงเรียนควรดาเนินการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ PDCA โดยเฉพาะการนาผลการประเมินไปใช้ ในการปรับปรุงพัฒนางานในหน้าที่และกิจกรรม จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา และข้อเสนอแนะจากการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง ๑) ด้านนักเรียน ๑. ครูผู้สอนควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพในวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ และวิชาเคมี ชีววิทยาของชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ เช่น ให้ผู้เรียนได้ฝึกการทดลอง การค้นคว้าด้วยตนเอง ทั้งนี้เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้น ๒. ครูผู้สอนควรเน้นให้นักเรียนได้นาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทั้ง ๑๓ ทักษะ มาใช้ใน การเรียนรู้และปฏิบัติกิจกรรม ๓. ควรมีการศึกษาวิจัยถึงสาเหตุที่แท้จริง เกี่ยวกับการรักการอ่าน เพื่อหาทางส่งเสริมพัฒนาให้ บรรลุเปูาหมายต่อไป ๔. โรงเรียนควรส่งเสริมให้นักเรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มเพิ่มมากขึ้น ๒) ด้านครู ๑. ครูปฐมวัยบางส่วนนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติไม่เป็นลาดับขั้นตอน มีการประเมินพัฒนาการ นักเรียนไม่ครบถ้วน ๒. ครูประถมและมัธยมศึกษาบางส่วนบันทึกหลังสอนไม่สัมพันธ์กับผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อ สิ้นสุดการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนที่กาหนด การสรุปผลการสอนไม่บอกสัมฤทธิผลในการสอนที่เน้น ผลที่บังเกิดกับนักเรียนรายบุคคลทั้งปริมาณและคุณภาพขาดความเชื่อมโยงไปสู่การพัฒนาโดยวิธีการที่เหมาะสม โดยเฉพาะการวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อและการเรียนรู้ของนักเรียน รวมทั้งผลที่นาไปใช้พัฒนานักเรียนขาดความแม่นยา ๓. มีการเสนอผลการวิจัยให้ทุกคนได้ทราบก็จะมีประโยชน์มากยิ่งขึ้น ๓) ด้านบริหาร ๑. โรงเรียนควรมีการจัดทาสารสนเทศของโรงเรียนให้มีสาระสาคัญที่ครอบคลุมภารกิจเพื่ อ เชื่อมโยงไปสู่แนวทางการพัฒนาแต่ละด้านทั้งส่วนย่อยและส่วนใหญ่อย่างเด่นชัด ๒. โรงเรียนควรนาประโยชน์จากสารสนเทศที่ครอบคลุมกระบวนการวัดและประเมินผลทั้งระบบ มากาหนดแผนและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ๓. โรงเรียนควรกาหนดเกณฑ์ในการประเมินโครงการให้ตามเปูาหมาย / วัตถุประสงค์และต้อง สอดคล้องกับตัวชี้วัดความสาเร็จที่กาหนด เพื่อสรุปผลการประเมินโครงการอย่างครบถ้วน ชัดเจนและครอบคลุม เปูาหมาย / วัตถุประสงค์ที่กาหนดทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ


๕๕

สรุปสภาพปัญหา จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนาในการจัดการศึกษาของโรงเรียน สภาพปัญหา ๑. การปรับเปลี่ยนนโยบาย รูปแบบการพัฒนาโรงเรียนเพื่อการรับรองคุณภาพการศึกษาบางด้าน ก่อให้เกิดอุปสรรคต่อความคล่องตัวในการบริหารงานโรงเรียน ๒. บุคลากรยังขาดความรู้ ความเข้าใจที่ชัดเจนในการเบิกจ่ายงบประมาณ และบางส่วนยังใช้ เทคโนโลยีน้อย ๓. การติดต่อประสานงานกับหน่วยงานการศึกษาภาครัฐมีความล่าช้า ทาให้ไม่สามารถดาเนินงานได้ ตามกาหนดมีผลต่อการพัฒนางาน ๔. บุคลากรมีจานวนมาก ทาให้สายงานไม่กระชับ การสื่อสารต้องผ่านหลายขั้นตอน ข้อมูลข่าวสาร บางส่วนคลาดเคลื่อนหรือไม่สมบูรณ์ครบถ้วน ๕. ผู้ปกครองบางส่วนยังไม่ให้ความสาคัญในเรื่องระเบียบวินัย การดูแลสุขภาพอนามัยนักเรียน การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ส่งผลให้นักเรียนขาดคุณลักษณะอันพึงประสงค์และมีภาวะโภชนาการเกิน เกณฑ์และต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน ๖. การประสบป๎ญหาทางเศรษฐกิจ สังคม สาธารณสุขของผู้ปกครองส่งผลต่อค่าครองชีพและการ ชาระค่าเล่าเรียน จุดเด่น ๑. โรงเรียนมีโครงสร้างและระบบการบริหารที่ชัดเจน ครอบคลุมงานของโรงเรียนอย่างทั่วถึงและ เหมาะสม ๒. ผู้บริหารมีศักยภาพของความเป็นผู้นา มีการบริหารงานที่ดี มีความรู้ความสามารถในการบริหาร จัดการ ยอมรับความคิดเห็นของผู้ปกครอง มีวิสัยทัศน์กว้างไกล และคณะครูมีความรู้ความสามารถตรงกับสาย งานที่รับผิดชอบ ๓. ดาเนินโครงการช่วยเหลือเด็กด้อยโอกาสให้มีโอกาสเข้ารับการศึกษา มีการอบรมคุณธรรมให้ สามารถพึ่งพาตนเองได้ตามอัตภาพ ๔. โรงเรียนมีนโยบาย แผนปฏิบัติ และโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ที่เน้นการปฏิบัติชัดเจน ๕. บุคลากรมีจานวนเพียงพอกับสายงาน และมีความรู้ความสามารถตามงานที่ได้รับมอบหมาย ๖. คณะผู้บริหาร ครู ติดตามดูแลเอาใจใส่ความประพฤตินักเรียน ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ๗. ครูดูแลเอาใจใส่นักเรียนอย่างทั่วถึง และมีการติดตามอย่างใกล้ชิดไม่มีป๎ญหาเรื่องยาเสพติดภายใน โรงเรียน ผู้ปกครองมีความมั่นใจในโรงเรียน ๘. มีการจัดโครงการช่วยสนับสนุนและเสริมสร้างขวัญและกาลังใจให้บุคลากรภายในโรงเรียน ๙. มีการวางแผนการใช้ การจัดสรร และตรวจสอบงบประมาณอย่างเป็นระบบ ๑๐. สามารถนาเทคโนโลยีไปใช้ในการดาเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีสื่อการสอน และ โสตทัศนูปกรณ์ทันสมัย เพียงพอต่อความต้องการ ๑๑. ครูมีจานวนเพียงพอต่อจานวนนักเรียน ให้ความรักและความเอาใจใส่ดูแลนักเรียนอย่างทั่วถึง ผู้ปกครองไว้วางใจส่งบุตรหลานเข้าศึกษาในโรงเรียน ๑๒. นโยบายการจัดการศึกษาเป็นรูปธรรม มีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นคุณธรรม จริยธรรม และมีการเชิญวิทยากรมาให้ความรู้แก่นักเรียน ๑๓. ดาเนินโครงการ งาน กิจกรรมให้บริการแก่บุคลากร ในเรื่องการดูแลสุขภาพอนามัย มีการ บริจาคโลหิตช่วยเหลือผู้ปุวย


๕๖

๑๔. ดาเนินการจัดสวัสดิการช่วยเหลือนักเรียนในเรื่องทุนการศึกษา มีการแนะแนวการศึกษาต่อ ให้แก่นักเรียน ๑๕. สถานที่ อาคาร สภาพแวดล้อมมั่นคง ปลอดภัย สะอาดเรียบร้อย ร่มรื่น มีสิ่งอานวยความสะดวก ให้บุคลากรอย่างเพียงพอ สภาพแวดล้อมเอื้ออานวยต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เสริมสร้างบรรยากาศ การเรียนรู้ ระบบสาธารณูปโภคเหมาะสมเพียงพอ จุดที่ควรพัฒนา ๑. ครูบางส่วนได้รับโอกาสน้อยในการอบรมสัมมนาศึกษาดูงานเพื่อพัฒนาการสอน ๒. ระบบการติดตามงานยังขาดความต่อเนื่อง ขาดการประสานงานในการปฏิบัติงาน ทาให้การ ดาเนินงานบางส่วนขาดประสิทธิภาพ ๓. โรงเรียนมุ่งเน้นการพัฒนาสถานที่ พัฒนาครูอย่างต่อเนื่อง แต่การพัฒนายังไม่ถึงนักเรียน โดยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนด ๔. การประสานงานระหว่างผู้ปกครองกับนักเรียนยังไม่ดีเท่าที่ควร ครูบางส่วนขาดจิตตารม ณ์ในการ ทางานและความเคร่งครัดในการดูแลนักเรียน นักเรียนบางส่วนยังขาดวินัยในตนเอง ๕. สภาพเศรษฐกิจ สังคม ครอบครัวของครูและการงานในโรงเรียน ส่งผลกระทบต่อการทางาน ของครูและผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ๖. การแนะแนวยังไม่กว้าง ขวางพอที่จะช่วยในการเรียนต่อของนักเรียน และการให้ความรู้เพิ่มเติม สาหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ในการสอบ Admission ๑๓.๒ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม โรงเรียนลาซาลโชติรวีนครสวรรค์ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจากสมศ.รอบสาม เมื่อวันที่ ๒๑ ถึง ๒๓ มกราคม ๒๕๕๖ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา มีการประเมิน ๓ กลุ่ม ตัวบ่งชี้ คือ กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ซึ่งสรุปผลการประเมินโดย ภาพรวมตามมาตรฐานเป็นตารางดังต่อไปนี้ ๑๓.๒.๑ ระดับการศึกษาปฐมวัย การศึกษาขั้นพื้นฐาน : ระดับการศึกษาปฐมวัย (๓ – ๕ ปี) กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ ๑ เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย ตัวบ่งชี้ที่ ๒ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจสมวัย ตัวบงชี้ที่ ๓ เด็กมีพัฒนาการด้านสังคมสมวัย ตัวบงชี้ที่ ๔ เด็กมีพัฒนาการด้านสติป๎ญญาสมวัย ตัวบงชี้ที่ ๕ เด็กมีความพร้อมศึกษาต่อในขั้นต่อไป ตัวบงชี้ที่ ๖ ประสิทธิผลการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ ตัวบ่งชี้ที่ ๗ ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๘ ประสิทธิผลของระบบการประกันคุณภาพภายใน กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ ตัวบ่งชี้ที่ ๙ ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา

น้าหนัก คะแนน

คะแนนที่ได้

ระดับ คุณภาพ

๕.๐๐ ๕.๐๐ ๕.๐๐ ๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ๓๕.๐๐ ๑๕.๐๐ ๕.๐๐

๔.๕๐ ๕.๐๐ ๕.๐๐ ๙.๐๐ ๑๐.๐๐ ๓๔.๐๐ ๑๔.๐๐ ๔.๙๗

ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก

๒.๕๐

๒.๕๐

ดีมาก


๕๗

การศึกษาขั้นพื้นฐาน : ระดับการศึกษาปฐมวัย (๓ – ๕ ปี)

น้าหนัก คะแนน ๒.๕๐

ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ ของสถานศึกษา กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑ ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา ๒.๕๐ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๒ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษา ๒.๕๐ มาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่สอดคล้องกับแนวทางการ ปฏิรูปการศึกษา คะแนนรวม ๑๐๐.๐๐ สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกระดับการศึกษาปฐมวัย (๓ – ๕ ปี) ประเภทโรงเรียน ผลรวมคะแนนประเมินสถานศึกษา ๙๖.๔๗ คะแนน มีคุณภาพระดับ ดีมาก

คะแนนที่ได้ ๒.๕๐

ระดับ คุณภาพ ดีมาก

๒.๕๐ ๒.๕๐

ดีมาก ดีมาก

๙๖.๔๗

ดีมาก

การรับรองมาตรฐานสถานศึกษาประเภทโรงเรียน ผลคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ ตั้งแต่ ๘๐ คะแนนขึ้นไป  ใช่  ไม่ใช่ มีตวั บ่งชี้ท่ไี ด้ระดับดีขนึ้ ไป ๑๐ ตัวบ่งชี้ จาก ๑๒ ตัวบ่งชี้  ใช่  ไม่ใช่ ไม่มตี วั บ่งชี้ใดที่มรี ะดับคุณภาพต้องปรับปรุงหรือต้องปรับปรุงเร่งด่วน  ใช่  ไม่ใช่ ในภาพรวมสถานศึกษาจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน : ระดับการศึกษาปฐมวัย (๓ – ๕ ปี)  สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา  ไม่สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา

จุดเด่น ๑. ด้านผลการจัดการศึกษา เด็กส่วนใหญ่มีสุขภาพกายแข็งแรงสมส่วน รู้จักดูแลตนเองให้มีสุขนิสัยที่ดี สุขภาพจิตที่ดี ร่วมกิจกรรมกับ เพื่อนได้ มีสุนทรียภาพ กล้าแสดงออก ร่วมกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะร่วมกับเพื่อน ทางานเป็นกลุ่ม รับผิดชอบงานที่ได้รับ มอบหมายทั้งงานส่วนตัวและงานกลุ่ม ปรับตัวเข้ากับเพื่อนได้ ปฏิบัติตนเป็นเด็กดี มีความซื่อสัตย์ ด้วยการอบรมโครงการเข้า ค่ายคุณธรรม ร่วมกิจกรรมออมทรัพย์ครบทุกคน รู้จักเคารพในสิทธิของผู้อื่น กล่าวคาขอบคุณเมื่อผู้ใหญ่ให้ของ ยกมือไหว้ขอโทษ เมื่อทาผิด ปฏิบัติตนตามระเบียบของสถานศึกษา รักษาวัฒนธรรมไทย แต่งกายผ้าไทยทุกวันศุกร์ ร่วมกิจกรรมวันสาคัญทั้งใน และนอกสถานศึกษา เด็กมีพัฒนาการด้านสติป๎ญญา สนใจใฝุเรียนรู้ ทากิจกรรมร่วมกับเพื่อน ร่วมกิจกรรมรักษาสิ่งแวดล้อม ภายในโรงเรียน มีพัฒนาการด้านการสื่อสารเหมาะสมกับวัย มีจินตนาการด้านศิลปะ วาดภาพ ฉีก ตัด ปะ พิมพ์ภาพ ป๎้นดิน น้ามัน เล่าเรื่องจากภาพที่ตนวาดหรือป๎้นได้ ครูพัฒนาเด็กให้มีทักษะพื้นฐานด้านร่างกาย อารมณ์และจิตใจ สังคมและ สติป๎ญญา มีทักษะความรู้พื้นฐานเรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก เรื่องธรรมชาติรอบตัว มีความรู้เรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รอบตัวเด็ก เกี่ยวกับสี ขนาด รูปร่าง ยานพาหนะ สัญลักษณ์ต่างๆ ที่เด็กพบเห็นในช วี ิตประจาวัน มีความพร้อมศึกษาในขั้นต่อไป เด็กมี คุณลักษณะตามวิสัยทัศน์ที่ว่า “จัดกิจกรรมประสบการณ์เรียนรู้ที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย ด้านอารมณ์และจิตใจ ด้านสังคม และด้านสติป๎ญญา เด็กได้รับการพัฒนาสูงสุดตามศักยภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม รักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม และความ เป็นไทย รู้จักการดาเนินชีวิต โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข เป็นคนดี คนเก่งของ สังคม” มีการพัฒนาจุดเน้น จุดเด่น คือ “กิจกรรมเช้าดี มีระเบียบวินัย” และมีโครงการส่งเสริมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อ แก้ป๎ญหาผักที่นามารับประทานมีสารพิษเจือปน ประสบความสาเร็จตามเปูาหมายทุกประการ


๕๘ ๒. ด้านการบริหารจัดการศึกษา ผู้บริหารมีความสามารถในการบริหารจัดการศึกษา สามารถบริหารงานทั้ง ๘ ด้าน อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ ฝุายบริหารจัดการ ฝุายบุคลากร ฝุายวิชาการ ฝุายกิจการนักเรียน ฝุายบริการแนะแนว ฝุายอาคารสถานที่ ฝุายธุรการ การเงิน ฝุายประสิทธิผล มีการวางแผนงานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบครบวงจร PDCA ส่งเสริมให้ครูได้รับการอบรม พัฒนาอย่างต่อเนื่องไม่น้อยกว่า ๒๐ ชั่วโมงต่อปี มีคณะกรรมการบริหารโรงเรียนที่ได้มาถูกต้องตามระเบียบ จานวน ๗ คน มีส่วน ร่วมในการบริหารจัดการศึกษา มีการจัดสภาพแวดล้อมภายนอก และภายในห้องเรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ จัดที่ทิ้งขยะ น้าสะอาด เพื่อดื่มอย่างเพียงพอ มีสภาพแวดล้อมที่ร่มรื่น สะอาด ปลอดภัย มีระบบปูองกันความเสี่ยง การซักซ้อมปูองกันภัยต่างๆ จัดการ ดูแลสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกให้ถูกสุขลักษณะ รวมทั้งสถานศึกษาได้นาข้อเสนอแนะในการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสองมาดาเนินการแก้ไขและพัฒนา ทาให้การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษาใน ทศวรรษที่สอง ๓. ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ครูได้รับการอบรมพัฒนาอย่างต่อเนื่องโดยสถานศึกษามีการวางแผนจัดทาโครงการพัฒนาบุคลากร กาหนดใน แผนปฏิบัติการประจาปี ครูมีการทาแผนการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาเด็กทั้ง ๔ ด้าน สอนให้เด็กมีความรู้ และทักษะพื้นฐาน สมวัย ครูมีความสัมพันธ์ทางบวกกับผู้ปกครองและเด็ก มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับผู้ปกครองอย่างต่อเนื่อง ๔. ด้านการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษามีการวางระบบประกันคุณภายภายในที่สอดคล้องกับกฎกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.๒๕๕๓ มีการ ดาเนินงานโดยกาหนดมาตรฐานสถานศึกษาจานวน ๑๑ มาตรฐาน จัดโครงสร้างองค์กรให้เอื้อต่อการบริหารจัดการ มีการแต่งตั้ง ผู้รับผิดชอบงาน วางแผนจัดทาโครงการพัฒนาตามมาตรฐาน มีการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล และนาผลมาใช้พัฒนาการ ทางานในปีต่อไป รวมทั้งมีการจัดทารายงานผลการดาเนินงานประจาปี เผยแพร่สู่สาธารณชนและรายงานต่อหน่วยงานต้นสังกัด ทุกปี

จุดที่ควรพัฒนา ๑. ด้านผลการจัดการศึกษา เด็กบางส่วนยังขาดทักษะการคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่ได้เรียนรู้ รวมทั้งการจดจาสิ่งต่างๆ ที่ได้รับการ เรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน ๒. ด้านการบริหารจัดการศึกษา คณะกรรมการบริหารโรงเรียนบางส่วนขาดการมีส่วนร่วมในการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาในส่วนของสาระ การเรียนรู้ท้องถิ่นและสถานศึกษา มีสัดส่วนจานวนครูต่อเด็กไม่เป็นไปตามเกณฑ์ ๑ ต่อ ๑๐-๑๕ ๓. ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ครูบางส่วนขาดการจัดกิจกรรมให้เด็กได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์อย่างอิสระ ผ่านงานศิลปะ การเต้นประกอบ จังหวะ การป๎้นดินน้ามัน ต่อบล็อก การเล่นเกมนันทนาการต่างๆ เป็นต้น ๔. ด้านการประกันคุณภาพภายใน ไม่มี

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ การศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ๑. ด้านผลการจัดการศึกษา เด็กควรได้รับการพัฒนาทักษะการคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่ได้เรียนรู้ รวมทั้งการจดจาสิ่งต่างๆ จาก ประสบการณ์ โดยให้เด็กฝึกการสรุปวิธีการเล่น การทากิจกรรมเรื่องราวที่ได้ประสบมา เล่านิทานจากภาพ เป็นต้น มีการใช้สื่อ ของจริงเกี่ยวกับของใช้ต่างๆ ในชีวิตประจาวัน ให้เด็กได้เรียนรู้ และมีการทบทวนประสบการณ์เดิมทุกครั้งก่อนเริ่มกิจกรรมใหม่ ๒. ด้านการบริหารจัดการศึกษา สถานศึกษาควรเปิดโอกาสให้คณะกรรมการบริหารโรงเรียนมีส่วนร่วมในการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาในส่วนของ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น สถานศึกษาควรมีการวางแผนพัฒนาบุคลากรโดยจัดหาครูให้มีสัดส่วนจานวนครูต่อเด็ก ๑ ต่อ ๑๐-๑๕ ตามเกณฑ์


๕๙ ๓. ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ครูควรมีการจัดกิจกรรมให้เด็กได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์อย่างอิสระ ผ่านงานศิลปะ การเต้นประกอบจังหวะ การป๎้น ดินน้ามัน ต่อบล็อก การเล่นเกมนันทนาการต่างๆ เป็นต้น โดยมีการจัดช่วงเวลาท้ายกิจกรรมให้เด็กได้สร้างผลงานของตนเองตาม ความคิดและจินตนาการของตนเอง หลักจากทางานที่ครูมอบหมายเสร็จ ๔. ด้านการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษามีการวางแผนพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิภาพอยู่แล้ว แต่ควรสร้างความ เข้าใจแก่บุคลากรในเรื่องการประเมินผลความสาเร็จของโครงการ เช่น การจัดทาเครื่องมือประเมินผลที่สอดคล้องกับเปูาหมายใน แต่ละโครงการ มีการประเมินโดยผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับทุกฝุายตามหลักการ ๓ เส้า ใช้ ๓ วิธีการในการประเมินทั้งศึกษาเอกสาร การ สังเกต และการสัมภาษณ์ เพื่อให้การสรุปผลการดาเนินงานมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น ทั้งนี้ควรดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๑ ปีการศึกษา นวัตกรรมหรือตัวอย่างการปฏิบัติที่ดี (Good practice) ของสถานศึกษาที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม ๑. รางวัลเหรียญทองยอดเยี่ยม หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม “กิจกรรมที่ทาการไปรษณีย์ รักการอ่าน” ปี พ.ศ.๒๕๕๒ ๒. รางวัลเหรียญเงิน หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม “กิจกรรมสหกรณ์ความรู้คู่ชุมชน” ปี พ.ศ.๒๕๕๓ ๓. รางวัลเหรียญทอง หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม “มหัศจรรย์อ่านคิด สร้างชีวิตรักการอ่าน” ปี พ.ศ.๒๕๕๔ ๔. รางวัลเหรียญทอง หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม “การอ่านจากบัตรเติมเงินสู่บัตรเติมความรู้” ปี พ.ศ.๒๕๕๕

๑๓.๒.๒ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน : ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา การศึกษาขั้นพื้นฐาน : ระดับการศึกษาประถมศึกษา และมัธยมศึกษา กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ ๑ ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ตัวบงชี้ที่ ๓ ผู้เรียนมีความใฝุรู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตัวบงชี้ที่ ๔ ผู้เรียนคิดเป็น ทาเป็น ตัวบงชี้ที่ ๕ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ตัวบงชี้ที่ ๖ ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ตัวบ่งชี้ที่ ๗ ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๘ พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้นสังกัด กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ ตัวบ่งชี้ที่ ๙ ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน / วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของ สถานศึกษา กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑ ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๑๒ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษา มาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูป การศึกษา

น้าหนัก (คะแนน)

คะแนนที่ได้

ระดับ คุณภาพ

๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ๒๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ๕.๐๐ ๕.๐๐

๙.๘๗ ๙.๙๐ ๙.๗๗ ๙.๗๐ ๑๑.๓๗ ๑๐.๐๐ ๔.๘๐ ๔.๙๗

ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก

๕.๐๐

๕.๐๐

ดีมาก

๕.๐๐

๕.๐๐

ดีมาก

๕.๐๐ ๕.๐๐

๕.๐๐ ๕.๐๐

ดีมาก ดีมาก


๖๐

การศึกษาขั้นพื้นฐาน : ระดับการศึกษาประถมศึกษา และมัธยมศึกษา คะแนนรวม สถานศึกษามีผลคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ ตั้งแต่ ๘๐ คะแนนขึ้นไป  ใช่ สถานศึกษามีตัวบ่งชี้ที่ได้ระดับดีขึ้นไป ๑๐ ตัวบ่งชี้ จาก ๑๒ ตัวบ่งชี้  ใช่ ไม่มีตัวบ่งชี้ใดที่มีระดับคุณภาพต้องปรับปรุง หรือ ต้องปรับปรุงเร่งด่วน  ใช่

น้าหนัก คะแนนที่ได้ (คะแนน) ๑๐๐.๐๐ ๙๐.๓๘  ไม่ใช่  ไม่ใช่  ไม่ใช่

ระดับ คุณภาพ ดีมาก

สรุปผลการจัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษาในภาพรวม  สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา  ไม่สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา

จุดเด่น ๑. ด้านผลการจัดการศึกษา ผู้เรียนมีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี ได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดจากครูประจาชั้นและสถานศึกษาได้จัดทา กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนอย่างหลากหลาย ได้แก่ กิจกรรมอาหารกลางวัน กิจกรรมอาหารเสริม(นม) กิจกรรมแข่งขันกีฬาภายใน โรงเรียน มีการกาหนดเป็นนโยบายส่งเสริมผู้เรียนให้มีสุนทรียภาพด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ จัดทาโครงการส่งเสริมอย่าง ต่อเนื่อง ผู้เรียนส่วนใหญ่มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์การประเมินการเป็นลูกที่ดีของพ่อแม่ เป็น นักเรียนที่ดีของโรงเรียน อยู่ในระเบียบวินัยของโรงเรียน มีทักษะความใฝุรู้ เรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองจากสื่อเทคโนโลยีอย่าง สม่าเสมอ มีทักษะการคิดและอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมโดยผ่านเกณฑ์การประเมินสมรรถนะด้านการคิดและทักษะชีวิต ผู้เรียนมี คุณลักษณะตามวิสัยทัศน์ที่ว่า “นักเรียนโรงเรียนลาซาลโชติรวีนครสวรรค์ มีคุณธรรม เรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิตพอเพียง และช่วยเหลือสังคม” มีการพัฒนาจุดเน้น จุดเด่น คือ “โครงการรักการอ่านสานสู่ฝ๎นเพื่อสร้างความเป็นเอกลักษณ์ของโรงเรียน” และจัดทาโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนด้อยโอกาสบ้านลาซาล เพื่อแก้ป๎ญหาของเด็กและเยาวชนในชุมชน ประสบความสาเร็จ ตามเปูาหมายทุกประการ ๒. ด้านการบริหารจัดการศึกษา สถานศึกษามีการวางแผนงานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบ มีการจัดทาแผนพัฒนาที่ สอดคล้องกับมาตรฐานการจัดการศึกษา และความต้องการของผู้เรียน ชุมชน มีการดาเนินงานอย่างเป็นระบบครบวงจร PDCA มี การบริหารงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ มีการพัฒนางานวิชาการอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมให้ครูได้รับ การอบรมพัฒนา ทั้งความรู้ในการจัดการศึกษาระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาและพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้ครูได้รับ การอบรมไม่น้อยกว่าปีละ ๗ คน มีการประชุมตามระเบียบภาคเรียนละ ๒ ครั้ง มีการจัดการดูแลสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ เป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด ปลอดภัย มีต้นไม้ ร่มรื่น สวยงาม มีการจัดสภาพแวดล้อมภายในอาคารให้เอื้อต่อการเรียนรู้ ปลอดภัย และถูกสุขลักษณะ รวมทั้งสถานศึกษาได้นาข้อเสนอแนะในการประเมินคุณภาพภายนอกรองสองมาดาเนินการแก้ไขและ พัฒนา ทาให้การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง ๓. ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สถานศึกษามีการประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบของครู ประเมินการจัดการเรียนรู้ของครูไม่ น้อยกว่าภาคเรียนละ ๑ ครั้ง ส่งเสริมให้ครูได้รับการพัฒนาไม่น้อยกว่า ๒๐ ชั่วโมงต่อปี และนาผลการประเมินมาใช้วางแผนพัฒนา ครูอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง ครูทุกคนมีการจัดทาแผนการสอน ครูมีความรู้ ความเข้าใจเปูาหมายการจัดการศึกษาตามหลักสูตร มี การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ครูส่วนใหญ่มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับศักยภาพของผู้เรียน ประเมินผลผู้เรียน ตามสภาพจริงและอิงพัฒนาการของผู้เรียนทุกคน มีการจัดสอนซ่อมเสริมและจัดทาวิจัยในชั้นเรียนอย่างต่อเนื่อง ๔. ด้านการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษามีการดาเนินงานระบบประกันคุณภายภายในที่สอดคล้องกับกฎกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓ ข้อที่ ๑๔ ยึดหลักการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยการส่งเสริม สนับสนุนและกากับดูแลของหน่วยงานต้นสังกัด มีการดาเนินงานอย่างเป็นระบบครบ


๖๑ วงจรคุณภาพ (PDCA) ได้รับการประเมินระบบประกันคุณภาพภายในจากหน่วยงานต้นสังกัดทุกปี มีการจัดทารายงานประจาปีที่ เป็นรายงานประเมินตนเอง เผยแพร่สู่สาธารณชนและรายงานต่อหน่วยงานต้นสังกัดทุกปี

จุดที่ควรพัฒนา ๑. ด้านผลการจัดการศึกษา ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ (O-NET) ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานในกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ศิลปะ และภาษาต่างประเทศ ๒. ด้านการบริหารจัดการศึกษา สถานศึกษายังไม่ได้แต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาหรือคณะอนุกรรมการเพื่อดาเนินงานตามระเบียบ ทาให้ ขาดการมีส่วนร่วมในการบริหารงานทุกขั้นตอนของการบริหารงาน ๓. ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ไม่มี ๔. ด้านการประกันคุณภาพภายใน ไม่มี

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ การศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ๑. ด้านผลการจัดการศึกษา ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ศิลปะและภาษาต่างประเทศให้สูงขึ้น โดยมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้อย่างหลากหลายมากขึ้น เช่น การ จัดนิทรรศการทางวิชาการในวันสาคัญ กิจกรรมท่องสูตรคูณ จัดทากระดานความรู้ในแต่ละห้องเรียน การท่องคาศัพท์ ภาษาอังกฤษ ใช้การเรียนรู้แบบโครงงานให้บ่อยมากขึ้น นาผู้เรียนเข้าใช้ห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์มากขึ้น มีการจัดหา ข้อสอบที่มีความหลกหลายจากหลายๆ สานักพิมพ์ มาให้ผู้เรียนฝึกทาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีการจัดระบบการสอนซ่อมเสริม ให้กับผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง และมีการประเมินผลการดาเนินงานในระหว่างการจัดกิจกรรมอย่างสม่าเสมอ เพื่อ นาผลการประเมินมาพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการพัฒนาเต็มศักยภาพ ๒. ด้านการบริหารจัดการศึกษา คณะกรรมการบริหารโรงเรียนควรแต่งตั้งที่ปรึกษาหรือคณะอนุกรรมการฝุายต่างๆ เพื่อดาเนินงานให้ครบตาม ฝุายงานต่างๆ ของสถานศึกษา เพื่อให้การควบคุมติดตามการดาเนินงานของสถานศึกษาเกิดความคล่องตัว และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ๓. ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ครูมีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ แต่ควรมีการประเมินผลผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย มากขึ้น เน้นการสัมภาษณ์ปากเปล่าร่วมกับการใช้แบบทดสอบ ใช้การสังเกตพฤติกรรม ตรวจสอบชิ้นงาน รายงาน โครงงาน รวมทั้งมีการออกแบบการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับเนื้อหาตามหลักสูตร มีกิจกรรมที่หลากหลายสามารถดึงดูดความสนใจของผู้เรียน และมีความเหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละกลุ่ม ๔. ด้านการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษามีการวางแผนพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิภาพอยู่แล้ว แต่ควรสร้างความ เข้าใจแก่บุคลากรในเรื่องการประเมินผลความสาเร็จของโครงการ เช่น การจัดทาเครื่องมือประเมินผลที่สอดคล้องกับเปูาหมายใน แต่ละโครงการ มีการประเมินโดยผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับทุกฝุายตามหลักการ ๓ เส้า ใช้ ๓ วิธีการในการประเมินทั้งศึกษาเอกสาร การสังเกต และการสัมภาษณ์ เพื่อให้การสรุปผลการดาเนินมีความเชื่อถือมากขึ้น ทั้งนี้ควรดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๑ ปีการศึกษา นวัตกรรมหรือตัวอย่างการปฏิบัติที่ดี (Good practice) ของสถานศึกษาที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม ๑. รางวัลเหรียญทองยอดเยี่ยม หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม “กิจกรรมที่ทาการไปรษณีย์ รักการอ่าน” ปี พ.ศ.๒๕๕๒ ๒. รางวัลเหรียญเงิน หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม “กิจกรรมสหกรณ์ความรู้คู่ชุมชน” ปี พ.ศ.๒๕๕๓ ๓. รางวัลเหรียญทอง หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม “มหัศจรรย์อ่านคิด สร้างชีวิตรักการอ่าน” ปี พ.ศ.๒๕๕๔ ๔. รางวัลเหรียญทอง หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม “การอ่านจากบัตรเติมเงินสู่บัตรเติมความรู้” ปี พ.ศ.๒๕๕๕


บทที่ ๓ ผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน ๑. ผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจาปีของโรงเรียน  ผลการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการประจาปีของ โรงเรียน ระดับปฐมวัย กลยุทธ์ที่ ๑ เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย โครงการ / กิจกรรม ๑. โครงการส่งเสริม พัฒนาการทางด้าน ร่างกายของเด็ก

เป้าหมาย

ผลสาเร็จ

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๘๗ ของเด็กปฐมวัย มีน้าหนักส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐาน มีทักษะการเคลื่อนไหว ตามวัยมีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพ ของตน และหลีกเลี่ยงต่อสภาวะ ที่เสี่ยงต่อโรค อุบัติเหตุ ภัย และ สิ่งเสพติดได้ เชิงคุณภาพ เด็กมีน้าหนักส่วนสูงเป็นไปตาม เกณฑ์มาตรฐาน มีทักษะการ เคลื่อนไหวตามวัย มีสุขนิสัยในการ ดูแลสุขภาพของตน และหลีกเลี่ยง ต่อสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค อุบัติเหตุ ภัย และสิ่งเสพติดได้

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๕.๐๐ ของเด็กปฐมวัย มีน้าหนักส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐาน มีทักษะการเคลื่อนไหว ตามวัยมีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพ ของตน และหลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่ เสี่ยงต่อโรค อุบัติเหตุ ภัย และ สิ่งเสพติดได้ เชิงคุณภาพ เด็กมีน้าหนักส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐาน มีทักษะการเคลื่อนไหว ตามวัย มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพ ของตน และหลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่ เสี่ยงต่อโรค อุบัติเหตุ ภัย และสิ่งเสพ ติดได้

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๑ ตัวบ่งชี้ ๑.๑ ตัวบ่งชี้ ๑.๒ ตัวบ่งชี้ ๑.๓ ตัวบ่งชี้ ๑.๔

กลยุทธ์ที่ ๒ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ โครงการ / กิจกรรม

เป้าหมาย

๑. โครงการส่งเสริม เชิงปริมาณ สุนทรียภาพด้านศิลปะ ร้อยละ ๘๗ ของเด็กปฐมวัยมี ดนตรีและการเคลื่อนไหว ความชื่นชมศิลปะ ดนตรี การ เคลื่อนไหวและรักธรรมชาติ เชิงคุณภาพ เด็กมีความร่าเริงแจ่มใส มี ความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง มีความ มั่นใจ กล้าแสดงออก ควบคุม อารมณ์ตนเองได้เหมาะสมกับวัยมี ความชื่นชมศิลปะ ดนตรี การ เคลื่อนไหวและรักธรรมชาติ

ผลสาเร็จ เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๕.๐๐ ของเด็กปฐมวัยมี ความชื่นชมศิลปะ ดนตรี การ เคลื่อนไหวและรักธรรมชาติ เชิงคุณภาพ เด็กมีความร่าเริงแจ่มใส มีความรู้สึกที่ดี ต่อตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออก ควบคุมอารมณ์ตนเองได้เหมาะสมกับ วัยมีความชื่นชมศิลปะ ดนตรี การ เคลื่อนไหวและรักธรรมชาติ

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๒ ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑ ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒ ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๓ ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๔


๘๘

กลยุทธ์ที่ ๓ เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม โครงการ / กิจกรรม

เป้าหมาย

๑. โครงการปลูกฝัง เชิงปริมาณ ระเบียบวินัย และส่งเสริม ร้อยละ ๘๗ ของเด็ก ปฐมวัย มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม รับผิดชอบ เชื่อฟังค้าสั่งสอนของ พ่อแม่ ครูอาจารย์ เชิงคุณภาพ เด็กมีวินัย รับผิดชอบเชื่อฟังค้าสั่ง สอนของพ่อแม่ ครูอาจารย์ มี ความซื่อสัตย์สุจริต ช่วยเหลือ แบ่งปัน เล่นและท้างานร่วมกับ ผู้อื่นได้ประพฤติตนตามวัฒนธรรม ไทยและศาสนาที่ตนนับถือ

ผลสาเร็จ เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๕.๐๐ ของเด็กปฐมวัยมีวินัย รับผิดชอบ เชื่อฟังค้าสั่งสอนของพ่อ แม่ ครูอาจารย์ เชิงคุณภาพ เด็กมีวินัย รับผิดชอบเชื่อฟังค้าสั่ง สอนของพ่อแม่ ครูอาจารย์ มีความ ซื่อสัตย์สุจริต ช่วยเหลือแบ่งปัน เล่น และท้างานร่วมกับผู้อื่นได้ประพฤติ ตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่ ตนนับถือ

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๓ ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๑ ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๒ ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๓ ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๔

กลยุทธ์ที่ ๔ เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา โครงการ / กิจกรรม ๑. โครงการเรียนรู้สู่โลก กว้าง

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน เชิงปริมาณ เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๔ ร้อยละ ๘๗ ของเด็กรักการเรียนรู้ ร้อยละ ๙๔.๓๔ ของเด็กรักการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ ๔.๑ ตัวบ่งชี้ ๔.๒ สนใจเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว สนใจเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว ตัวบ่งชี้ ๔.๓ มีความคิดรวบยอด มีทักษะ มีความคิดรวบยอด มีทักษะทางภาษา ตัวบ่งชี้ ๔.๔ ทางภาษา ทักษะทางวิทยาศาสตร์ ทักษะทางวิทยาศาสตร์ ทักษะทาง ตัวบ่งชี้ ๔.๕ ทักษะทางคณิตศาสตร์ รวมทั้งมี คณิตศาสตร์ รวมทั้งมีจินตนาการ จินตนาการ และความคิด และความคิดสร้างสรรค์ที่เหมาะสม สร้างสรรค์ที่เหมาะสม เชิงคุณภาพ เชิงคุณภาพ เด็กรักการเรียนรู้สนใจเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว มีความคิดรวบยอด มีทักษะ เด็กรักการเรียนรู้สนใจเรียนรู้สิ่ง ต่างๆรอบตัว มีความคิดรวบยอด ทางภาษา ทักษะทางวิทยาศาสตร์ ทักษะทางคณิตศาสตร์ รวมทั้ง มีทักษะทางภาษา ทักษะทาง มีจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิทยาศาสตร์ ทักษะทาง ที่เหมาะสม คณิตศาสตร์ รวมทั้งมีจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ ที่เหมาะสม เป้าหมาย

ผลสาเร็จ


๘๙

กลยุทธ์ที่ ๕ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล โครงการ / กิจกรรม

เป้าหมาย

๑. โครงการพัฒนาการจัด เชิงปริมาณ กิจกรรมการเรียนการสอน ร้อยละ ๙๒ ของครูเข้าใจปรัชญา หลักการของการจัดการศึกษา ปฐมวัย เชิงคุณภาพ ครูเข้าใจปรัชญา หลักการ ของการ จัดการศึกษาปฐมวัย สามารถจัดท้า แผนการจัดประสบการณ์ ที่สอด คล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ใช้สื่อและเทคโนโลยีสอดคล้องกับ พัฒนาการของเด็ก รวมทั้งใช้ เครื่องมือในการจัดและประเมิน พัฒนาการที่หลากหลาย

๒. โครงการพัฒนาครู – บุคลากร

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๒ ของครูมีปฏิสัมพันธ์ ที่ดีกับเด็กและผู้ปกครอง รวมทั้ง มีวุฒิและความรู้ความสามารถ ในด้านการศึกษาปฐมวัย เชิงคุณภาพ ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กและ ผู้ปกครอง รวมทั้งมีวุฒิและความรู้ ความสามารถในด้านการศึกษา ปฐมวัย

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๕ ร้อยละ ๙๔.๗๕ ของครูเข้าใจปรัชญา ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๑ หลักการ ของการจัดการศึกษาปฐมวัย ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๒ ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๓ เชิงคุณภาพ ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๔ ครูเข้าใจปรัชญา หลักการ ของการจัด ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๕ การศึกษาปฐมวัย สามารถจัดท้า ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๖ แผนการจัดประสบการณ์ ที่สอดคล้อง ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๗ กับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ใช้สื่อ ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๑๐ และเทคโนโลยีสอดคล้องกับพัฒนา การของเด็ก รวมทั้งใช้เครื่องมือในการ จัดและประเมินพัฒนาการที่หลากหลาย ผลสาเร็จ

เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๕ ร้อยละ ๙๕.๐๐ ของครูมีปฏิสัมพันธ์ ตัวบ่งชี้ ๕.๘ ที่ดีกับเด็กและผู้ปกครอง รวมทั้งมีวุฒิ ตัวบ่งชี้ ๕.๙ และความรู้ความสามารถในด้าน การศึกษาปฐมวัย เชิงคุณภาพ ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กและ ผู้ปกครอง รวมทั้งมีวุฒิและความรู้ ความสามารถในด้านการศึกษาปฐมวัย

กลยุทธ์ที่ ๖ ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล โครงการ / กิจกรรม ๑. โครงการพัฒนา ผู้บริหาร ครูและ บุคลากร

เป้าหมาย

ผลสาเร็จ

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๒ ของผู้บริหาร มีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้น้า ใช้หลักการ การบริหารแบบมีส่วนร่วม มีความสามารถบริหาร จัดการศึกษาให้บรรลุเปูาหมาย

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๕.๖๗ ของผู้บริหารวิสัยทัศน์ ภาวะผู้น้า ใช้หลักการ การบริหารแบบ มีส่วนร่วม มีความสามารถบริหารจัด การศึกษาให้บรรลุเปูาหมายตาม แผนพัฒนาคุณภาพของโรงเรียน

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๖ ตัวบ่งชี้ ๖.๑ ตัวบ่งชี้ ๖.๒ ตัวบ่งชี้ ๖.๓ ตัวบ่งชี้ ๖.๔ ตัวบ่งชี้ ๖.๕


๙๐

โครงการ / กิจกรรม

เป้าหมาย

ผลสาเร็จ

ตามแผนพัฒนาคุณภาพของ โรงเรียน ส่งเสริมและพัฒนา บุคลากรให้มีประสิทธิภาพ รวมทั้ง ให้ค้าแนะน้า ค้าปรึกษาและเอาใจ ใส่การจัดการศึกษาปฐมวัย สร้าง ความพอใจให้กับเด็กผู้ปกครอง และชุมชน เชิงคุณภาพ

ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้มี ประสิทธิภาพ รวมทั้งให้ค้าแนะน้า ค้าปรึกษาและเอาใจใส่การจัด การศึกษาปฐมวัย สร้างความพอใจ ให้กับเด็กผู้ปกครอง และชุมชน เชิงคุณภาพ ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้น้า ใช้หลักการ การบริหารแบบมีส่วนร่วม มีความสามารถบริหารจัดการศึกษา ให้บรรลุเปูาหมายตามแผนพัฒนา คุณภาพของโรงเรียน ส่งเสริมและ พัฒนาบุคลากรให้มีประสิทธิภาพ รวมทั้งให้ค้าแนะน้า ค้าปรึกษาและ เอาใจใส่การจัดการศึกษาปฐมวัย สร้างความพอใจให้กับเด็ก ผู้ปกครอง และชุมชน

ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้น้า ใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม มีความสามารถบริหาร จัดการศึกษาให้บรรลุเปูาหมาย ตามแผนพัฒนาคุณภาพของ โรงเรียน ส่งเสริมและพัฒนา บุคลากรให้มีประสิทธิภาพ รวมทั้งให้ค้าแนะน้า ค้าปรึกษา และเอาใจใส่การจัดการศึกษา ปฐมวัย สร้างความพอใจให้กับเด็ก ผู้ปกครอง และชุมชน

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน ตัวบ่งชี้ ๖.๖ ตัวบ่งชี้ ๖.๗

กลยุทธ์ที่ ๗ แนวการจัดการศึกษา โครงการ / กิจกรรม ๑. โครงการพัฒนาหลัก สูตรการเรียนการสอน

สนองมาตรฐานการศึกษา เป้าหมาย ของโรงเรียน เชิงปริมาณ เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๗ ตัวบ่งชี้ ๗.๑ ร้อยละ ๙๒ ของครูมีการพัฒนา ร้อยละ ๙๕.๓๓ ของครูมีการพัฒนา ปรับปรุงหลักสูตรและน้าสู่การ ปรับปรุงหลักสูตรและน้าสู่การปฏิบัติได้ ตัวบ่งชี้ ๗.๒ ตัวบ่งชี้ ๗.๓ ปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ อย่างมีประสิทธิภาพ มีระบบกลไกให้ผู้ ตัวบ่งชี้ ๗.๔ มีระบบกลไกให้ผู้มีส่วนร่วมทุก มีส่วนร่วมทุกฝุายตระหนักและเข้าใจ ตัวบ่งชี้ ๗.๕ ฝุายตระหนัก และเข้าใจ การจัดการศึกษาปฐมวัย สร้างการ การจัดการศึกษาปฐมวัย สร้าง มีส่วนร่วมกับผู้ปกครอง ชุมชน ท้องถิ่น การมีส่วนร่วมกับผู้ปกครอง ชุมชน และส่งเสริมพัฒนาเด็กอย่างรอบด้าน ท้องถิ่น และส่งเสริมพัฒนาเด็ก อย่างรอบด้าน ผลสาเร็จ


๙๑ โครงการ / กิจกรรม

เป้าหมาย

ผลสาเร็จ

เชิงคุณภาพ ครูมีการพัฒนา ปรับปรุงหลักสูตร และน้าสู่การปฏิบัติได้อย่าง มีประสิทธิภาพ มีระบบกลไกให้ ผู้มีส่วนร่วมทุกฝุายตระหนักและ เข้าใจ การจัดการศึกษาปฐมวัย สร้างการมีส่วนร่วมกับผู้ปกครอง ชุมชน ท้องถิ่น และส่งเสริมพัฒนา เด็กอย่างรอบด้าน

เชิงคุณภาพ ครูมีการพัฒนา ปรับปรุงหลักสูตรและ น้าสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีระบบกลไกให้ผู้มีส่วนร่วมทุกฝุาย ตระหนักและเข้าใจ การจัดการศึกษา ปฐมวัย สร้างการมีส่วนร่วมกับผู้ปกครอง ชุมชน ท้องถิ่น และส่งเสริม พัฒนาเด็กอย่างรอบด้าน

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน

กลยุทธ์ที่ ๘ โรงเรียนมีการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนตามที่ก้าหนดในกฎกระทรวง โครงการ / กิจกรรม ๑. โครงการประกัน คุณภาพภายใน

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน เชิงปริมาณ เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๘ ร้อยละ ๙๒ ของผู้บริหาร ครู ร้อยละ ๙๖.๖๗ ของผู้บริหาร ครู ตัวบ่งชี้ ๘.๑ บุคลากร กรรมการทุกฝุาย และ บุคลากร กรรมการทุกฝุาย และ ตัวบ่งชี้ ๘.๒ ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการพัฒนา ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการพัฒนา ตัวบ่งชี้ ๘.๓ คุณภาพมาตรฐานการศึกษา คุณภาพมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย ตัวบ่งชี้ ๘.๔ ปฐมวัย และมีการพัฒนาคุณภาพ และมีการพัฒนาคุณภาพการด้าเนินงาน ตัวบ่งชี้ ๘.๕ การด้าเนินงานตามระบบประกัน ตามระบบประกันคุณภาพภายในของ ตัวบ่งชี้ ๘.๖ คุณภาพภายในของโรงเรียน โรงเรียน เชิงคุณภาพ เชิงคุณภาพ ผู้บริหาร ครู บุคลากร กรรมการ ผู้บริหาร ครู บุคลากร กรรมการทุกฝุาย ทุกฝุาย และผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม และผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการพัฒนา ในการพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน คุณภาพมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย การศึกษาปฐมวัย และมีการ และมีการพัฒนาคุณภาพการด้าเนินงาน พัฒนาคุณภาพการด้าเนินงานให้ ให้เป็นไปตามระบบประกันคุณภาพ เป็นไปตามระบบประกันคุณภาพ ภายในของโรงเรียน ภายในของโรงเรียน เป้าหมาย

ผลสาเร็จ

กลยุทธ์ที่ ๙ โรงเรียนมีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้โรงเรียนเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ โครงการ / กิจกรรม ๑. โครงการสานสัมพันธ์ กับชุมชน

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน เชิงปริมาณ เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๙ ร้อยละ ๘๔ ของโรงเรียนเป็น ร้อยละ ๙๒.๔๙ ของโรงเรียนเป็นแหล่ง ตัวบ่งชี้ ๙.๑ แหล่งเรียนรู้ให้เกิดการพัฒนากับ เรียนรู้ให้เกิดการพัฒนากับเด็ก และ ตัวบ่งชี้ ๙.๒ เด็ก และเป็นแหล่งการแลกเปลี่ยน เป็นแหล่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรียนรู้ระหว่างโรงเรียนกัครอบครัว ระหว่างโรงเรียนกับครอบครัว ชุมชน ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง และองค์กรที่เกี่ยวข้อง เป้าหมาย

ผลสาเร็จ


๙๒ โครงการ / กิจกรรม

เป้าหมาย เชิงคุณภาพ โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ให้เกิด การพัฒนากับเด็ก และเป็นแหล่ง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง โรงเรียนกับครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง

ผลสาเร็จ

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน

เชิงคุณภาพ โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ให้เกิดการ พัฒนากับเด็ก และเป็นแหล่งการแลก เปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโรงเรียนกับ ครอบครัว ชุมชน และองค์กร ที่เกี่ยวข้อง

กลยุทธ์ที่ ๑๐ การพัฒนาโรงเรียนให้บรรลุเปูาหมายตามปรัชญา วิสัยทัศน์ และจุดเน้นของการศึกษาปฐมวัย โครงการ / กิจกรรม ๑. โครงการการปลูกฝัง และส่งเสริมมารยาท การไหว้

เป้าหมาย

ผลสาเร็จ

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๘๗ ของเด็กมีกิริยา การไหว้ที่อ่อนน้อมสวยงามตาม มารยาทไทย รู้จักแสดงความ เคารพ พ่อ แม่ ครู และผู้ใหญ่ ได้เหมาะสมกับวัย เชิงคุณภาพ เด็กมีกิริยาการไหว้ที่อ่อนน้อม สวยงามตามมารยาทไทย รู้จัก แสดงความเคารพ พ่อ แม่ ครู และผู้ใหญ่ ได้เหมาะสมกับวัย

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๔.๕๘ ของเด็กมีกิริยาการไหว้ ที่อ่อนน้อมสวยงามตามมารยาทไทย รู้จัก แสดงความเคารพ พ่อ แม่ ครู และผู้ใหญ่ ได้เหมาะสมกับวัย

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๑๐ ตัวบ่งชี้ ๑๐.๑ ตัวบ่งชี้ ๑๐.๒

เชิงคุณภาพ เด็กมีกิริยาการไหว้ที่อ่อนน้อมสวยงามตาม มารยาทไทย รู้จักแสดงความเคารพ พ่อ แม่ ครู และผู้ใหญ่ ได้เหมาะสมกับวัย

กลยุทธ์ที่ ๑๑ การพัฒนาโรงเรียนตามนโยบายและแนวทางปฏิรูปการศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้น โครงการ / กิจกรรม ๑. โครงการส่งเสริม ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง

เป้าหมาย

ผลสาเร็จ

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๘๖ ของเด็กได้เรียนรู้ วิธีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้ รับประทาน เชิงคุณภาพ เด็กได้เรียนรู้วิธีการปลูกผักปลอด สารพิษไว้รับประทาน ท้าให้มี สุขภาพร่างกายแข็งแรง และรู้จัก เลือกรับประทานอาหารที่ปลอด จากสารพิษ

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๒.๕๐ ของเด็กได้เรียนรู้วิธีการ ปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทาน เชิงคุณภาพ เด็กได้เรียนรู้วิธีการปลูกผักปลอดสารพิษ ไว้รับประทาน ท้าให้มีสุขภาพร่างกาย แข็งแรง และรู้จักเลือกรับประทานอาหาร ที่ปลอดจากสารพิษ

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๑๑ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑.๑ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑.๒


๙๓

 ผลการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการประจาปีของ โรงเรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลยุทธ์ที่ ๑ นักเรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ โครงการ / กิจกรรม

เป้าหมาย

๑. โครงการโรงเรียน ส่งเสริมสุขภาพ ๑.๑ งานตรวจสุขภาพ นักเรียนจากครูประจ้าชั้น และเจ้าหน้าที่อนามัย ๑.๒ งานจัดปูายนิเทศด้าน อนามัยและสิ่งเสพติด ๑.๓ งานจัดสบู่ไว้ส้าหรับ บริการนักเรียน ๑.๔ งานทันตสาธารณสุข ภาพในโรงเรียนและ ประกวดลาซาลฟันสวย ๑.๕ งานติดตามภาวะ โภชนาการนักเรียนและ แก้ปัญหาเด็กอ้วน ๑.๖ งานปลอดลูกน้​้า ยุงลายในโรงเรียน ๑.๗ งานจัดบริการปฐม พยาบาลพร้อมเวชกรรม แก่นักเรียน

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๐ ของคณะครูและ นักเรียนมีสุขภาพกาย ใจ สมบูรณ์แข็งแรง ปลอดภัย จากโรคภัย เชิงคุณภาพ เพื่อให้บุคลกรมีสุขภาพกาย ใจ สมบูรณ์แข็งแรงปลอดภัย จากโรคภัย

๒. โครงการโรงเรียนสีขาว ๒.๑ งานรณรงค์ปูองกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด ( To be number one ) ๒.๒ งานติดตาม พฤติกรรมนักเรียน ๒.๓ งานอบรมอดเปรี้ยว ไว้กินหวาน ๒.๔ งานใช้อินเตอร์เน็ต อย่างไรให้มีคุณค่า ๒.๕ งานรณรงค์วันเอดส์ โลก ๓. โครงการลาซาเลียน เกมส์ครั้งที่ ๔๐

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๕ ของนักเรียนสามารถ ปูองกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้ โทษและหลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยง ต่อความรุนแรงโรคภัย อุบัติเหตุ และปัญหาทางเพศ เชิงคุณภาพ นักเรียนสามารถปูองกันตนเอง จากสิ่งเสพติดให้โทษและ หลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อความ รุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุและ ปัญหาทางเพศ เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๕ ของนักเรียน มีความคิดสร้างสรรค์ มีจิตใจ อ่อนโยน รักการเล่นกีฬา มีสุขภาพอนามัยแข็งแรง

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑ ร้อยละ ๙๗.๔๙ ของคณะครูและนักเรียน ตัวบ่งชี้ ๑.๑ มีสุขภาพกาย ใจสมบูรณ์แข็งแรง ปลอดภัยจากโรคภัย เชิงคุณภาพ บุคลกรมีสุขภาพกาย ใจสมบูรณ์แข็งแรง ปลอดภัยจากโรคภัย ผลสาเร็จ

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๖.๕๕ ของนักเรียนสามารถ ปูองกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและ หลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุและปัญหาทางเพศ

มาตรฐานที่ ๑ ตัวบ่งชี้ ๑.๓ มาตรฐานที่ ๑๐ ตัวบ่งชี้ ๑๐.๖

เชิงคุณภาพ นักเรียนสามารถปูองกันตนเองจากสิ่งเสพ ติดให้โทษและหลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อ ความรุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุและปัญหา ทางเพศ เชิงปริมาณ ร้อยละ ๘๖.๖๕ ของนักเรียนมีความคิด สร้างสรรค์ มีจิตใจอ่อนโยน รักการเล่น กีฬา มีสุขภาพอนามัยแข็งแรง

มาตรฐานที่ ๑ ตัวบ่งชี้ ๑.๔ ตัวบ่งชี้ ๑.๕ ตัวบ่งชี้ ๑.๖


๙๔ โครงการ / กิจกรรม

๔. โครงการสุนทรียภาพ ๔.๑ งานร่วมกิจกรรม ศิลปวัฒนธรรมประเพณี ท้องถิ่น

๕. โครงการเสริมทักษะ ด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา ๕.๑ งานแข่งขันด้าน ศิลปะ ดนตรี กีฬา

เป้าหมาย

ผลสาเร็จ

เชิงคุณภาพ นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์ มีจิตใจอ่อนโยน รักการเล่นกีฬา มีสุขภาพอนามัยแข็งแรง เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๕ ของนักเรียน มีความคิดสร้างสรรค์ มีจิตใจ อ่อนโยน รักการเล่นกีฬา มีสุขภาพอนามัยแข็งแรง เชิงคุณภาพ นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์ มีจิตใจอ่อนโยน รักการเล่นกีฬา มีสุขภาพอนามัยแข็งแรง เชิงปริมาณ ร้อยละ ๘๔ ของนักเรียนเข้าร่วม กิจกรรมนอกหลักสูตรด้าน ศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป์ วรรณศิลป์กีฬา / นันทนาการ และสร้างสรรค์งานสุนทรียภาพ เชิงคุณภาพ นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมนอก หลักสูตรด้านศิลปะ ดนตรี/ นาฏศิลป์ วรรณศิลป์ กีฬา / นันทนาการ และหรือสร้างสรรค์ งานสุนทรียภาพ

เชิงคุณภาพ นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์ มีจิตใจ อ่อนโยน รักการเล่นกีฬา มีสุขภาพอนามัย แข็งแรง เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๔.๒๕ ของนักเรียนมีความคิด สร้างสรรค์ มีจิตใจอ่อนโยน รักการเล่น กีฬา มีสุขภาพอนามัยแข็งแรง เชิงคุณภาพ นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์ มีจิตใจ อ่อนโยน รักการเล่นกีฬา มีสุขภาพอนามัย แข็งแรง

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน

มาตรฐานที่ ๑ ตัวบ่งชี้ ๑.๔ ตัวบ่งชี้ ๑.๕ ตัวบ่งชี้ ๑.๖

เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑ ร้อยละ ๙๘.๐๐ ของนักเรียนเข้าร่วม ตัวบ่งชี้ ๑.๖ กิจกรรมนอกหลักสูตรด้านศิลปะ ดนตรี/ นาฏศิลป์ วรรณศิลป์กีฬา / นันทนาการ และสร้างสรรค์งานสุนทรียภาพ เชิงคุณภาพ นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมนอกหลักสูตรด้าน ศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป์ วรรณศิลป์ กีฬา / นันทนาการ และหรือสร้างสรรค์งาน สุนทรียภาพ

กลยุทธ์ที่ ๒ นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ โครงการ / กิจกรรม

เป้าหมาย

ผลสาเร็จ

๑.โครงการพัฒนาระเบียบ วินัยและความรับผิดชอบ ๑.๑ งานนักเรียนลาซาล มีวินัย ๑.๒ งานยกย่องนักเรียน ท้าดี ๑.๓ งานอยู่ค่ายพักแรม ลูกเสือ-เนตรนารี

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๘๕ ของนักเรียนมีความ รับผิดชอบ มีระเบียบวินัย ปฏิบัติตามกฎระเบียบของ โรงเรียน มีความภูมิใจในความ เป็นไทย และด้ารงไว้ซึ่งความ เป็นไทย

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๕.๑๐ ของนักเรียนมีความ รับผิดชอบ มีระเบียบวินัย ปฏิบัติตาม กฎระเบียบของโรงเรียน มีความภูมิใจใน ความเป็นไทย และด้ารงไว้ซึ่งความ เป็นไทย

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๒ ตัวบ่งชี้ ๒.๑ ตัวบ่งชี้ ๒.๒ ตัวบ่งชี้ ๒.๓


๙๕ โครงการ / กิจกรรม

เป้าหมาย

ผลสาเร็จ

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน

๑.๔ งานสภาและสารวัตร เชิงคุณภาพ นักเรียน นักเรียนมีความรับผิดชอบ มีระเบียบวินัย ปฏิบัติตาม กฎระเบียบของโรงเรียน มีความ ภูมิใจในความเป็นไทย และด้ารง ไว้ซึ่งความเป็นไทย ๒. โครงการพัฒนา เชิงปริมาณ คุณธรรม จริยธรรมและ ร้อยละ ๙๐ ของนักเรียน ค่านิยมที่พึงประสงค์ มีคุณธรรม จริยธรรมและ ๒.๑ งานส่งเสริมคุณธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒.๒ งานนักเรียนลาซาล มากขึ้น มีน้าใจ เชิงคุณภาพ ๒.๓ งานส่งเสริมความ นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม กตัญญู และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒.๔ งานส่งเสริม มากขึ้น มารยาทไทย

เชิงคุณภาพ นักเรียนมีความรับผิดชอบ มีระเบียบวินัย ปฏิบัติตามกฎระเบียบของโรงเรียน มีความภูมิใจในความเป็นไทย และด้ารงไว้ ซึ่งความเป็นไทย เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๙.๒๔ ของนักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มากขึ้น เชิงคุณภาพ นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและมี คุณลักษณะอันพึงประสงค์มากขึ้น

มาตรฐานที่ ๒ ตัวบ่งชี้ ๒.๑ ตัวบ่งชี้ ๒.๒ ตัวบ่งชี้ ๒.๓

๓. โครงการอนุรักษ์ และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ๓.๑ งานรณรงค์วัน สิ่งแวดล้อมโลก ๓.๒ งานร่วมใจพัฒนา โรงเรียนและท้องถิ่น ๓.๓ งานประกวด ห้องเรียนสะอาด สวยงาม ๓.๔ งานคัดแยกขยะ

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๘.๓๖ ของนักเรียนตระหนักถึง ปัญหาคุณค่าอนุรักษ์และพัฒนา สิ่งแวดล้อม เชิงคุณภาพ นักเรียนตระหนักถึงปัญหาคุณค่า อนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม

มาตรฐานที่ ๒ ตัวบ่งชี้ ๒.๔

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๐ ของนักเรียน ตระหนักถึงปัญหาคุณค่าอนุรักษ์ และพัฒนาสิ่งแวดล้อม เชิงคุณภาพ นักเรียนตระหนักถึงปัญหา คุณค่าอนุรักษ์และพัฒนา สิ่งแวดล้อม

กลยุทธ์ที่ ๓ นักเรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง โครงการ / กิจกรรม ๑. โครงการรักการอ่าน และการเรียนรู้ ๑.๑ งานส่งเสริมการอ่าน การเขียน (STEMS) ๑.๒ งานอ่านเสริมเติม ความรู้ (รักการอ่าน) ๑.๓ งานเสริมทักษะการ สื่อสารเพื่อการเรียนรู้ ๑.๔ งานส่งเสริม การใช้ เทคโนโลยี และน้าเสนอ ผลงาน

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน เชิงปริมาณ เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๓ ร้อยละ ๘๔ ของนักเรียนมีนิสัย ร้อยละ ๙๒.๒๕ ของนักเรียนมีนิสัยรักการ ตัวบ่งชี้ ๓.๑ รักการอ่านและแสวงหาความรู้ อ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ตัวบ่งชี้ ๓.๒ ด้วยตนเอง มีทักษะในการอ่าน มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียนและ ตัวบ่งชี้ ๓.๓ ฟัง ดู พูด เขียนและตั้งค้าถาม ตั้งค้าถาม เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มและใช้ ตัวบ่งชี้ ๓.๔ เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มและใช้ เทคโนโลยีในการเรียนรู้และน้าเสนอ เทคโนโลยีในการเรียนรู้และ ผลงานได้ น้าเสนอผลงานได้ เชิงคุณภาพ เชิงคุณภาพ นักเรียนทุกคนมีนิสัยรักการอ่านและ นักเรียนทุกคนมีนิสัยรักการอ่าน แสวงหาความรู้ด้วยตนเองมีทักษะในการ และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง อ่าน ฟัง ดู พูด เขียนและตั้งค้าถาม เรียนรู้ มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด ร่วมกันเป็นกลุ่มและใช้เทคโนโลยีในการ เป้าหมาย

ผลสาเร็จ


๙๖ โครงการ / กิจกรรม

เป้าหมาย เขียนและตั้งค้าถาม เรียนรู้ ร่วมกันเป็นกลุ่มและใช้ เทคโนโลยีในการเรียนรู้และ น้าเสนอผลงานได้

ผลสาเร็จ

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน

เรียนรู้และน้าเสนอผลงานได้

กลยุทธ์ที่ ๔ นักเรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้อย่างมีสติ สมเหตุผล โครงการ / กิจกรรม ๑. โครงการส่งเสริมทักษะ การคิด ๑.๑ งานพัฒนาทักษะ การคิด ๑.๒ งานจัดท้าโครงงาน ๑.๓ งานจัดท้าแฟูมสะสม ผลงาน ๑.๔ งานวันสุนทรภู่ ๑.๕ งานสัปดาห์ วิทยาศาสตร์

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน เชิงปริมาณ เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๔ ร้อยละ ๘๔ ของนักเรียนสามารถ ร้อยละ ๙๖.๑๐ ของนักเรียนสามารถสรุป ตัวบ่งชี้ ๔.๑ สรุปความและน้าเสนอความคิด ความและน้าเสนอความคิดด้วยวิธีการของ ตัวบ่งชี้ ๔.๒ ด้วยวิธีการของตนเอง มีความคิด ตนเอง มีความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ ตัวบ่งชี้ ๔.๓ ริเริ่มและสร้างสรรค์ผลงานด้วย ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ ตัวบ่งชี้ ๔.๔ ความภาคภูมิใจ เชิงคุณภาพ เชิงคุณภาพ นักเรียนสามารถสรุปความและน้าเสนอ นักเรียนสามารถสรุปความและ ความคิดด้วยวิธีการของตนเองมีความคิด น้าเสนอความคิดด้วยวิธีการ ริเริ่มและสร้างสรรค์ผลงานด้วยความ ของตนเองมีความคิดริเริ่ม ภาคภูมิใจ และสร้างสรรค์ผลงานด้วยความ ภาคภูมิใจ เป้าหมาย

ผลสาเร็จ

กลยุทธ์ที่ ๕ นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จ้าเป็นตามหลักสูตร สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน ๑. โครงการยกระดับ เชิงปริมาณ เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๕ ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ ร้อยละ ๘๔ ของนักเรียน ร้อยละ ๙๖.๐๐ ของนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ ตัวบ่งชี้ ๕.๑ ทุกกลุ่มสาระ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละ ทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระเป็นไปตาม ตัวบ่งชี้ ๕.๒ ๑.๑. งานเสริมสร้างและ กลุ่มสาระเป็นไปตามเกณฑ์ เกณฑ์ มีผลการประเมินสมรรถนะส้าคัญ ตัวบ่งชี้ ๕.๓ พัฒนาสมรรถนะส้าคัญ มีผลการประเมินสมรรถนะ มีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และ ตัวบ่งชี้ ๕.๕ ทุกกลุ่มสาระ ส้าคัญ มีผลการประเมินการอ่าน เขียนเป็นไปตามเกณฑ์มีระดับผลสัมฤทธิ์ มาตรฐานที่ ๑๒ ๑.๒. งานเสริมสร้างและ คิดวิเคราะห์และเขียนเป็นไป ทางการเรียนเฉลี่ยอยู่ในระดับดีขึ้นไป ตัวบ่งชี้ ๑๒.๑๐ พัฒนาความ สามารถในการ ตามเกณฑ์มีระดับผลสัมฤทธิ์ มีผลการทดสอบระดับชาติเฉลี่ยอยู่ในระดับ อ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ทางการเรียนเฉลี่ยอยู่ในระดับดี ดีขึ้น และมีผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๑.๓. งานวัดผลประเมินผล ขึ้นไป มีผลการทดสอบ อย่างต่อเนื่อง ตามหลักสูตรแกนกลาง ระดับชาติเฉลี่ยอยู่ในระดับดีขึ้น เชิงคุณภาพ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และมีผลการพัฒนาคุณภาพ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละ ๑.๔. งานพัฒนาการจัด การศึกษาอย่างต่อเนื่อง กลุ่มสาระเป็นไปตามเกณฑ์หรือสูงกว่า กิจกรรมการเรียนรู้ตาม เชิงคุณภาพ เกณฑ์ มีผลการประเมินสมรรถนะส้าคัญ กลุ่มสาระ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และมีผลการประเมินการอ่าน คิวิเคราะห์ แต่ละกลุ่มสาระเป็นไปตามเกณฑ์ และเขียนเป็นไปตามเกณฑ์หรือสูงกว่า โครงการ / กิจกรรม

เป้าหมาย

ผลสาเร็จ


๙๗ โครงการ / กิจกรรม ๑.๕. งานแข่งขันตาม กลุ่มสาระ

๒. โครงการวิจัยผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ๒.๑ งานสรุปและรายงาน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

เป้าหมาย

ผลสาเร็จ

หรือสูงกว่าเกณฑ์ มีผลการ ประเมินสมรรถนะส้าคัญ และมีผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียนเป็นไปตาม เกณฑ์หรือสูงกว่าเกณฑ์ มีระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยอยู่ ในระดับดีขึ้นไปมีผลการทดสอบ ระดับชาติเฉลี่ยอยู่ในระดับดีขึ้น และ มีผลการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาอย่างต่อเนื่อง เชิงปริมาณ นักเรียนร้อยละ ๖๕ ผ่านเกณฑ์ ที่โรงเรียนก้าหนด เชิงคุณภาพ ฝุายวิชาการและครูผู้สอนทุก รายวิชารับทราบข้อมูล เกิด ความเข้าใจ สามารถหาแนวทาง ที่เหมาะสมในการพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียน

เกณฑ์มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ย อยู่ในระดับดีขึ้นไปมีผลการทดสอบ ระดับชาติเฉลี่ยอยู่ในระดับดีขึ้นและมีผล การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง

เชิงปริมาณ นักเรียนร้อยละ ๖๕ ผ่านเกณฑ์ที่โรงเรียน ก้าหนด เชิงคุณภาพ ฝุายวิชาการและครูผู้สอนทุกรายวิชา รับทราบข้อมูล เกิดความเข้าใจ สามารถ หาแนวทางที่เหมาะสมในการพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน

มาตรฐานที่ ๕ ตัวบ่งชี้ ๕.๑

กลยุทธ์ที่ ๖ นักเรียนมีทักษะในการท้างาน รักการท้างาน สามารถท้างานร่วมกับผู้อื่นได้และมีเจตคติที่ดีต่อ อาชีพสุจริต โครงการ / กิจกรรม ๑. โครงการวันวิชาการ ๑.๑ งานแสดงผลงานทาง วิชาการ ๑.๒ งานตลาดนัดวิชาการ ๑.๓ งานแข่งขันด้าน วิชาการและทักษะอาชีพ

เป้าหมาย

ผลสาเร็จ

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๘๔ ของนักเรียน สามารถวางแผนการท้างานได้ และ ด้าเนินการจนส้าเร็จ อย่างมีความสุข มุ่งมั่น พัฒนา งานผลงานด้วยความภาคภูมิใจ และสามารถท้างานร่วมกับ ผู้อื่นได้ เชิงคุณภาพ นักเรียนสามารถวางแผนการ ท้างานได้ และ ด้าเนินการจน ส้าเร็จอย่างมีความสุข มุ่งมั่น พัฒนางานผลงานด้วยความ ภาคภูมิใจ และสามารถท้างาน ร่วมกับผู้อื่นได้

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๖.๗๐ ของนักเรียนสามารถ วางแผนการท้างานได้ และด้าเนินการจน ส้าเร็จ อย่างมีความสุข มุ่งมั่น พัฒนา งานผลงานด้วยความภาคภูมิใจ และ สามารถท้างานร่วมกับผู้อื่นได้ เชิงคุณภาพ นักเรียนสามารถวางแผนการท้างานได้ และ ด้าเนินการจนส้าเร็จอย่างมีความสุข มุ่งมั่น พัฒนางานผลงานด้วยความ ภาคภูมิใจ และสามารถท้างานร่วมกับ ผู้อื่นได้

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๖ ตัวบ่งชี้ ๖.๑ ตัวบ่งชี้ ๖.๒ ตัวบ่งชี้ ๖.๓


๙๘ โครงการ / กิจกรรม

เป้าหมาย

๒. โครงการส่งเสริม ความเป็นเลิศด้านวิชาการ ๒.๑ งานส่งเสริมการแข่งขัน ทั้งในและนอก โรงเรียน ๒.๒ งานยกย่องนักเรียน ที่มีผลงานดีเด่น

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๘๔ ของนักเรียน สามารถวางแผนการท้างานได้ และ ด้าเนินการจนส้าเร็จอย่าง มีความสุข มุ่งมั่น พัฒนางาน ผลงานด้วยความภาคภูมิใจและ สามารถท้างานร่วมกับผู้อื่นได้ เชิงคุณภาพ นักเรียนสามารถวางแผนการ ท้างานได้ และด้าเนินการจน ส้าเร็จอย่างมีความสุข มุ่งมั่น พัฒนางานผลงานด้วยความ ภาคภูมิใจและสามารถท้างาน ร่วมกับผู้อื่นได้ ๓. โครงการแนะแนว เชิงปริมาณ ในโรงเรียน ร้อยละ ๘๐ ของนักเรียนรู้จัก ๓.๑ งานให้ค้าปรึกษาเป็น ตนเอง พึ่งตนเองได้มีบุคลิกภาพ รายบุคคลและกลุ่ม ที่ดี สามารถท้างานร่วมกับผู้อื่น ๓.๒ งานวัดความถนัด มีเจตคติต่ออาชีพสุจริต และ ทางด้านอาชีพของนักเรียน เลือกอาชีพที่เหมาะสมกับตนเอง ๓.๓ งานวัดแวว เชิงคุณภาพ ความสามารถพิเศษนักเรียน เพื่อให้นักเรียนรู้จักตนเอง ๓.๔ งานแนะแนวการศึกษา พึ่งตนเองได้ มีบุคลิกภาพ ต่อ สายสามัญ สายอาชีพ ที่ดีสามารถท้างานร่วมกับผู้อื่น อุดมศึกษาและศิษย์เก่า มีเจตคติต่ออาชีพสุจริต และเลือกอาชีพที่เหมาะสมกับ ตนเอง

ผลสาเร็จ เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๗.๐๐ ของนักเรียนสามารถวาง แผนการท้างานได้ และ ด้าเนินการจน ส้าเร็จอย่างมีความสุข มุ่งมั่น พัฒนางาน ผลงานด้วยความภาคภูมิใจและสามารถ ท้างานร่วมกับผู้อื่นได้ เชิงคุณภาพ นักเรียนสามารถวางแผนการท้างานได้ และ ด้าเนินการจนส้าเร็จอย่างมีความสุข มุ่งมั่น พัฒนางานผลงานด้วยความ ภาคภูมิใจและสามารถท้างานร่วมกับผู้อื่น ได้ เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๕.๔๑ ของนักเรียนรู้จักตนเอง พึ่งตนเองได้มีบุคลิกภาพที่ดี สามารถ ท้างานร่วมกับผู้อื่น มีเจตคติต่ออาชีพ สุจริต และเลือกอาชีพที่เหมาะสมกับ ตนเอง เชิงคุณภาพ นักเรียนรู้จักตนเอง พึ่งตนเองได้ มีบุคลิกภาพที่ดี สามารถท้างานร่วมกับ ผู้อื่น มีเจตคติต่ออาชีพสุจริต และเลือก อาชีพที่เหมาะสมกับตนเอง

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๖ ตัวบ่งชี้ ๖.๑ ตัวบ่งชี้ ๖.๒ ตัวบ่งชี้ ๖.๓

มาตรฐานที่ ๖ ตัวบ่งชี้ ๖.๒

กลยุทธ์ที่ ๗ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล โครงการ / กิจกรรม ๑. โครงการพัฒนาครูบุคลากร

เป้าหมาย

ผลสาเร็จ

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๘๕ ของครู-บุคลากร ทั้งหมด เชิงคุณภาพ ครู-บุคลากรมีความรู้ ความสามารถเพิ่มมากขึ้น และ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง น้าความรู้ไปพัฒนางานในหน้าที่ รับผิดชอบ และมีประสิทธิภาพ ท้าให้งานบรรลุผลอย่างมีคุณภาพ

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๕.๐๖ ของครู-บุคลากรทั้งหมด เชิงคุณภาพ ครู-บุคลากรมีความรู้ ความสามารถเพิ่ม มากขึ้น และทันต่อการเปลี่ยนแปลง น้าความรู้ไปพัฒนางานในหน้าที่ รับผิดชอบ และมีประสิทธิภาพ ท้าให้งาน บรรลุผลอย่างมีคุณภาพ

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๗ ตัวบ่งชี้ ๗.๙


๙๙ โครงการ / กิจกรรม

เป้าหมาย

ผลสาเร็จ

๒. โครงการสวัสดิการ เสริมสร้างขวัญและก้าลังใจ

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๒ ของครู-บุคลากร ทั้งหมด เชิงคุณภาพ ครู-บุคลากรมีขวัญก้าลังใจใน การปฏิบัติงาน ปฏิบัติหน้าที่ เต็มความสามารถ มีความมั่นใจ และภูมิใจในอาชีพ

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๕.๘๓ ของครู-บุคลากรทั้งหมด

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๒ ของครู สามารถ ก้าหนดเปูาหมาย วิเคราะห์ นักเรียน วางแผนกิจกรรม ที่สอดแทรกบูรณาการภูมิ ปัญญาท้องถิ่น ใช้สื่อและ เทคโนโลยีเหมาะสม วัดและ ประเมินผลด้วยวิธีการที่ หลากหลายและพัฒนาศักยภาพ นักเรียน เชิงคุณภาพ ครูสามารถก้าหนดเปูาหมาย วิเคราะห์นักเรียน วางแผน กิจกรรมที่สอดแทรกบูรณาการ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ใช้สื่อและ เทคโนโลยีเหมาะสม วัดและ ประเมินผลด้วยวิธีการที่ หลากหลายและพัฒนาศักยภาพ นักเรียน

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๖.๓๐ ของครูสามารถก้าหนด เปูาหมาย วิเคราะห์นักเรียน วางแผน กิจกรรมที่สอดแทรกบูรณาการภูมิปัญญา ท้องถิ่น ใช้สื่อและเทคโนโลยีเหมาะสม วัดและประเมินผลด้วยวิธีการที่ หลากหลาย และพัฒนาศักยภาพนักเรียน เชิงคุณภาพ ครูสามารถก้าหนดเปูาหมาย วิเคราะห์ นักเรียน วางแผนกิจกรรมที่สอดแทรก บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น ใช้สื่อและ เทคโนโลยีเหมาะสม วัดและประเมินผล ด้วยวิธีการที่หลากหลายและพัฒนา ศักยภาพนักเรียน

๓. โครงการพัฒนาคุณภาพ ครูตามแนวปฏิรูปการศึกษา ๓.๑ งานพัฒนาศักยภาพครู ๓.๒ งานพัฒนาคุณภาพ นักเรียนตามจุดเน้น ของหลักสูตร ๓.๓ งานวิเคราะห์และ พัฒนานักเรียนเป็น รายบุคคล ๓.๔. งานสอนซ่อม และ สอนเสริม ๓.๕. งานส่งเสริมการใช้สื่อ/ นวัตกรรม ๓.๖. งานส่งเสริมการ เรียนรู้ด้วยภูมิปัญญา ๓.๗. งานพัฒนาเครื่องมือ วัดผลประเมินผล ๓.๘. งานวิจัยในชั้นเรียน

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๗ ตัวบ่งชี้ ๗.๑๐

เชิงคุณภาพ ครู-บุคลากรมีขวัญก้าลังใจในการ ปฏิบัติงาน ปฏิบัติหน้าที่เต็ม ความสามารถ มีความมั่นใจและภูมิใจใน อาชีพ มาตรฐานที่ ๗ ตัวบ่งชี้ ๗.๑ ตัวบ่งชี้ ๗.๒ ตัวบ่งชี้ ๗.๓ ตัวบ่งชี้ ๗.๔ ตัวบ่งชี้ ๗.๕ ตัวบ่งชี้ ๗.๖ ตัวบ่งชี้ ๗.๗ ตัวบ่งชี้ ๗.๙

กลยุทธ์ที่ ๘ ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล โครงการ / กิจกรรม

เป้าหมาย

ผลสาเร็จ

๑. โครงการพัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากร ๑.๑ งานจัดท้าคู่มือการ บริหารโรงเรียน ๑.๒ งานประชุม คณะกรรมการโรงเรียน ๑.๓ งานนิเทศ อบรม สัมมนาผู้บริหาร ครู ๑.๔ งานบริหารจัดการด้าน วิชาการ

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๑ ผู้บริหารและ บุคลากรทุกคนได้รับการพัฒนา เชิงคุณภาพ ผู้บริหารและบุคลากรทุกคนน้า ทฤษฏีไปใช้ในการแก้ปัญหา ตัดสินใจและบริหารเชิงระบบได้ อย่างมั่นใจ

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๘.๕ ผู้บริหารและบุคลากร ทุกคนได้รับการพัฒนา เชิงคุณภาพ ผู้บริหารและบุคลากรทุกคนน้าทฤษฏีไปใช้ ในการแก้ปัญหา ตัดสินใจและบริหาร เชิงระบบได้อย่างมั่นใจ

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๘ ตัวบ่งชี้ ๘.๑ ตัวบ่งชี้ ๘.๔ ตัวบ่งชี้ ๘.๖


๑๐๐ โครงการ / กิจกรรม

เป้าหมาย

ผลสาเร็จ

เชิงปริมาณ นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และ บุคลากรในโรงเรียนร้อยละ ๘๐ มีความพึงพอใจผลการบริหาร การจัดการศึกษาในระดับดีมาก และระดับดี เชิงคุณภาพ โรงเรียนน้าข้อมูลจากการแสดง ความคิดเห็นและประเมิน มาใช้ เป็นแนวทางในการปรับปรุง บริหารการจัดการศึกษา

เชิงปริมาณ นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และบุคลากร ในโรงเรียนร้อยละ ๙๑.๑๒ มีความ พึงพอใจผลการบริหารการจัดการศึกษา ในระดับดีมากและระดับดี เชิงคุณภาพ โรงเรียนน้าข้อมูลจากการแสดงความ คิดเห็นและประเมิน มาใช้เป็นแนวทาง ในการปรับปรุง บริหารการจัดการศึกษา

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน

๑.๕ งานก้ากับติดตาม ตรวจสอบการด้าเนินงาน ๑.๖ งานประเมินผลเชิง คุณภาพบุคลากร ๒. โครงการประเมินผลการ ด้าเนินงาน ๒.๑ งานจัดท้าแบบ สอบถามและแบบประเมิน

มาตรฐานที่ ๘ ตัวบ่งชี้ ๘.๖ ตัวบ่งชี้ ๘.๗

กลยุทธ์ที่ ๙ คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครองชุมชนปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล โครงการ / กิจกรรม

เป้าหมาย

ผลสาเร็จ

๑. โครงการพัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากร ๑.๑ งานจัดท้าคู่มือการ บริหารโรงเรียน ๑.๒ งานประชุม คณะกรรมการโรงเรียน ๑.๓ งานนิเทศ อบรม สัมมนาผู้บริหาร ครู ๑.๔ งานบริหารจัดการด้าน วิชาการ ๑.๕ งานก้ากับติดตาม ตรวจสอบการด้าเนินงาน ๒. โครงการบรรพชา สามเณรลาซาลโชติรวี รุ่นที่ ๑๖

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๑ ผู้บริหารและ บุคลากรทุกคน เชิงคุณภาพ ผู้บริหารและบุคลากรทุกคนน้า ทฤษฏีไปใช้ในการแก้ปัญหา ตัดสินใจและบริหารเชิงระบบได้ อย่างมั่นใจ

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๘.๕ ผู้บริหารและบุคลากร ทุกคนได้รับการพัฒนา เชิงคุณภาพ ผู้บริหารและบุคลากรทุกคนน้าทฤษฏีไปใช้ ในการแก้ปัญหา ตัดสินใจและบริหารเชิง ระบบได้อย่างมั่นใจ

เชิงปริมาณ นักเรียนชาย ป.๓-ม.๖ ที่สมัครใจ ๗๔ คน เชิงคุณภาพ นักเรียนได้มีโอกาสศึกษา พระธรรมค้าสั่งสอน มีแนวทางการด้าเนินชีวิตที่ดี

เชิงปริมาณ นักเรียนชาย ป.๓-ม.๖ ที่สมัครใจ ๗๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๔.๗๔ เชิงคุณภาพ นักเรียนได้มีโอกาสศึกษาพระธรรม ค้าสั่งสอนมีแนวทางการด้าเนินชีวิตที่ดี

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๙ ตัวบ่งชี้ ๙.๑ ตัวบ่งชี้ ๙.๒

มาตรฐานที่ ๙ ตัวบ่งชี้ ๙.๓


๑๐๑ โครงการ / กิจกรรม

เป้าหมาย

ผลสาเร็จ

๓. โครงการสานสัมพันธ์กับ ชุมชน ๓.๑ งานส่งเสริมประเพณี ตรุษจีน ๓.๒ งานบริการชุมชน ๓.๓ งานช่วยเหลือชุมชน และสังคม ๓.๔ งานประชาสัมพันธ์

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๕ ของนักเรียนทั้งหมด ได้แสดงออกถึงความสามารถ ของตนเองในการร่วมกิจกรรม ของชุมชนและชุมชนได้ทราบ ข่าวสารการด้าเนินงานของ โรงเรียนที่เป็นปัจจุบันสร้าง ความสัมพันธ์อันดีระหว่าง โรงเรียนและชุมชน เชิงคุณภาพ นักเรียนได้แสดงออกถึง ความสามารถของตนเองในการ ร่วมกิจกรรมของชุมชนและ ชุมชนได้ทราบข่าวสารการ ด้าเนินงานของโรงเรียนที่เป็น ปัจจุบันสร้างความสัมพันธ์อันดี ระหว่างโรงเรียนและชุมชน

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๑๐๐ ของนักเรียนทั้งหมด ได้แสดงออกถึงความสามารถของตนเอง ในการร่วมกิจกรรมของชุมชนและชุมชน ได้ทราบข่าวสารการด้าเนินงานของ โรงเรียนที่เป็นปัจจุบันสร้างความสัมพันธ์ อันดีระหว่างโรงเรียนและชุมชน เชิงคุณภาพ นักเรียนได้แสดงออกถึงความสามารถของ ตนเองในการร่วมกิจกรรมของชุมชนและ ชุมชนได้ทราบข่าวสารการด้าเนินงานของ โรงเรียนที่เป็นปัจจุบันสร้างความสัมพันธ์ อันดีระหว่างโรงเรียนและชุมชน

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๙ ตัวบ่งชี้ ๙.๓ มาตรฐานที่ ๑๔ ตัวบ่งชี้ ๑๔.๑

กลยุทธ์ที่ ๑๐ โรงเรียนมีการจัดหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้าน โครงการ / กิจกรรม

เป้าหมาย

ผลสาเร็จ

๑. โครงการนิเทศหลักสูตร และการจัดการเรียน การสอน ๑.๑ งานวิเคราะห์ เพื่อปรับและพัฒนา หลักสูตร ๑.๒ งานพัฒนาแผนการ จัดการเรียนรู้ ๑.๓ งานนิเทศ ติดตาม การจัดกิจกรรมการเรียน การสอน

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๓ ของครูมีการพัฒนา หลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ นักเรียนอย่างรอบด้าน เชิงคุณภาพ ครูผู้สอนทุกคนมีการพัฒนา หลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ นักเรียนอย่างรอบด้าน

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๘.๐๐ ของครูมีการพัฒนา หลักสูตร กระบวนการเรียนรู้และ จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพนักเรียน อย่างรอบด้าน เชิงคุณภาพ ครูผู้สอนทุกคนมีการพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้และจัดกิจกรรมพัฒนา คุณภาพนักเรียนอย่างรอบด้าน

๒. โครงการส่งเสริม การจัดกิจกรรมพัฒนา คุณภาพนักเรียน ๒.๑ งานชุมนุม/ชมรม ๒.๒ งานส่งเสริม ความสามารถ และ ความคิดสร้างสรรค์

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๓ ของครูสามารถ จัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน ที่ส่งเสริมและตอบสนองความ ต้องการ ความสามารถ ความถนัด ความสนใจของนักเรียน และ จัดกิจกรรมที่สืบสานและ

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๗.๒๕ ของครูสามารถจัดกิจกรรม พัฒนานักเรียนที่ส่งเสริมและตอบสนอง ความต้องการ ความสามารถ ความถนัด ความสนใจของนักเรียนและจัดกิจกรรม ที่สืบสานและสร้างสรรค์ วัฒนธรรม ประเพณีและภูมิปัญญาไทย

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๑๐ ตัวบ่งชี้ ๑๐.๑ ตัวบ่งชี้ ๑๐.๔ ตัวบ่งชี้ ๑๐.๕

มาตรฐานที่ ๑๐ ตัวบ่งชี้ ๑๐.๑ ตัวบ่งชี้ ๑๐.๒ ตัวบ่งชี้ ๑๐.๓ ตัวบ่งชี้ ๑๐.๗


๑๐๒ โครงการ / กิจกรรม

เป้าหมาย

ผลสาเร็จ

๒.๓ งานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ๒.๔ งานสืบสานวัฒนธรรม ประเพณี และ ภูมิปัญญาไทย

สร้างสรรค์ วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาไทย เชิงคุณภาพ ครูสามารถจัดกิจกรรมพัฒนา นักเรียนที่ส่งเสริมและตอบสนอง ความต้องการ ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของ นักเรียนและจัดกิจกรรมที่สืบ สานและสร้างสรรค์ วัฒนธรรม ประเพณีและภูมิปัญญาไทย เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๓ ของครูจัดกิจกรรม พัฒนานักเรียนที่ส่งเสริม และ ตอบสนองความต้องการ ความสามารถ ความถนัด และ ความสนใจของนักเรียน จัดกระบวนการเรียนรู้ที่ส่งเสริม ให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง จนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง มีการนิเทศภายใน ก้ากับ ติดตามตรวจสอบและน้าผลไป ปรับปรุงการเรียนการสอน อย่างสม่้าเสมอ เชิงคุณภาพ ครูจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน ที่ส่งเสริมและตอบสนองความ ต้องการ ความสามารถ ความถนัด และความสนใจ ของนักเรียนจัดกระบวน การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้นักเรียน ได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ ได้ด้วยตนเอง มีการนิเทศภายใน ก้ากับ ติดตามตรวจสอบและน้า ผลไปปรับปรุงการเรียนการสอน อย่างสม่้าเสมอ

เชิงคุณภาพ ครูสามารถจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน ที่ส่งเสริมและตอบสนองความต้องการ ความสามารถ ความถนัด และความสนใจ ของนักเรียนและจัดกิจกรรมที่สืบสาน และสร้างสรรค์ วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาไทย

๔. โครงการนิเทศผู้ปกครอง เชิงปริมาณ ๔.๑ งานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร้อยละ ๙๓ ของผู้ปกครองเข้าใจ แนวทาง มีส่วนร่วมในการ พัฒนานักเรียน และแลกเปลี่ยน เรียนรู้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ต่อการพัฒนานักเรียนให้ สามารถเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๕.๐๐ ของผู้ปกครองเข้าใจ แนวทาง มีส่วนร่วมในการพัฒนานักเรียน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลที่เป็น ประโยชน์ต่อการพัฒนานักเรียน ให้สามารถเรียนรู้อย่างมีคุณภาพตาม วิสัยทัศน์ของโรงเรียน

๓. โครงการส่งเสริม การจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่เน้นนักเรียนเป็นส้าคัญ ๓.๑ งานส่งเสริม การสอนที่เน้นกระบวนการ

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน

เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑๐ ร้อยละ ๙๕.๘๔ ของครูจัดกิจกรรมพัฒนา ตัวบ่งชี้ ๑๐.๓ นักเรียนที่ส่งเสริมและตอบสนอง ตัวบ่งชี้ ๑๐.๔ ความต้องการ ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของนักเรียน จัดกระบวนการเรียนรู้ที่ส่งเสริม ให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุป ความรู้ได้ด้วยตนเอง มีการนิเทศภายใน ก้ากับ ติดตามตรวจสอบและน้าผลไป ปรับปรุงการเรียนการสอนอย่างสม่้าเสมอ เชิงคุณภาพ ครูจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียนที่ส่งเสริม และตอบสนองความต้องการ ความสามารถ ความถนัด และความสนใจ ของนักเรียนจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ ส่งเสริมให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงจน สรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง มีการนิเทศ ภายใน ก้ากับ ติดตามตรวจสอบและน้าผล ไปปรับปรุงการเรียนการสอนอย่าง สม่้าเสมอ

มาตรฐานที่ ๑๐ ตัวบ่งชี้ ๑๐.๙ มาตรฐานที่ ๑๓ ตัวบ่งชี้ ๑๓.๒


๑๐๓ โครงการ / กิจกรรม

๕. โครงการแนะแนว ในโรงเรียน ๕.๑ งานประเมิน EQ นักเรียน ๕.๒ งานเยี่ยมบ้านนักเรียน ๕.๓ งานคัดกรองนักเรียน (SDQ)

๖. โครงการสวัสดิการมอบ ทุนการศึกษา

๗. งานติดตามนักเรียน

เป้าหมาย

ผลสาเร็จ

ตามวิสัยทัศน์ของโรงเรียน เชิงคุณภาพ ผู้ปกครองทุกคนเข้าใจแนวทาง มีส่วนร่วมในการพัฒนานักเรียน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูล ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา นักเรียนให้สามารถเรียนรู้ อย่างมีคุณภาพตามวิสัยทัศน์ ของโรงเรียน เชิงปริมาณ ร้อยละ ๘๐ ของนักเรียนที่เข้า ร่วมกิจกรรมรู้จักตนเอง มีการ วางแผนเปูาหมายในการศึกษา ต่อท้างานร่วมกับผู้อื่นได้ นักเรียนได้รับการติดตาม ดูแลช่วยเหลือ ตามความเหมาะสม เชิงคุณภาพ เพื่อให้นักเรียนรู้จักตนเอง มีการวางแผนเปูาหมาย ในการศึกษาต่อ ท้างานร่วมกับ ผู้อื่นได้ นักเรียนได้รับการ ติดตามดูแลช่วยเหลือ ตามความเหมาะสม เชิงปริมาณ ร้อยละ ๘๐ ของนักเรียน ที่เรียนดีและยากจนได้รับการ ช่วยเหลือ เชิงคุณภาพ เพื่อให้นักเรียนกลุ่มเปูาหมาย ได้รับการช่วยเหลือใน เรื่องทุนการศึกษาอย่าง เหมาะสม

เชิงคุณภาพ ผู้ปกครองทุกคนเข้าใจแนวทาง มีส่วนร่วม ในการพัฒนานักเรียน และแลกเปลี่ยน เรียนรู้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา นักเรียนให้สามารถเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ตามวิสัยทัศน์ของโรงเรียน

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๕ ของนักเรียนทั้งหมด เชิงคุณภาพ นักเรียนได้รับการอบรมดูแล อย่างทั่วถึง มีความประพฤติที่ดี

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๖.๕๕ของนักเรียนได้รับ การอบรมดูแลอย่างทั่วถึง มีความประพฤติที่ดี เชิงคุณภาพ นักเรียนได้รับการอบรมดูแลอย่างทั่วถึง มีความประพฤติที่ดี

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๒.๗๐ ของนักเรียนที่เข้าร่วม กิจกรรมรู้จักตนเอง มีการวางแผน เปูาหมายในการศึกษาต่อท้างานร่วมกับ ผู้อื่นได้ นักเรียนได้รับการติดตาม ดูแลช่วยเหลือตามความเหมาะสม เชิงคุณภาพ นักเรียนรู้จักตนเอง มีการวางแผน เปูาหมายในการศึกษาต่อท้างานร่วมกับ ผู้อื่นได้ นักเรียนได้รับการติดตาม ดูแลช่วยเหลือตามความเหมาะสม

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน

มาตรฐานที่ ๑๐ ตัวบ่งชี้ ๑๐.๖

เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑๐ ร้อยละ ๘๗.๐๐ ของนักเรียนที่เรียนดี ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐.๖ และยากจนได้รับการช่วยเหลือ เชิงคุณภาพ นักเรียนกลุ่มเปูาหมายได้รับการช่วยเหลือ ในเรื่องทุนการศึกษาอย่างเหมาะสม

มาตรฐานที่ ๑๐ ตัวบ่งชี้ ๑.๓ มาตรฐานที่ ๑๐ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐.๖


๑๐๔ สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๑๐ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐.๘

เป้าหมาย

ผลสาเร็จ

๘. งานสภาและสารวัตร นักเรียน

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๘๕ ของนักเรียนมีความ รับผิดชอบ มีระเบียบวินัย ปฏิบัติตามกฎระเบียบของ โรงเรียน มีความภูมิใจในความ เป็นไทย และด้ารงไว้ซึ่งความ เป็นไทย เชิงคุณภาพ นักเรียนมีความรับผิดชอบ มีระเบียบวินัย ปฏิบัติตาม กฎระเบียบของโรงเรียน มีความ ภูมิใจในความเป็นไทย และด้ารง ไว้ซึ่งความเป็นไทย

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๕.๑๐ ของนักเรียนมีความ รับผิดชอบ มีระเบียบวินัย ปฏิบัติตาม กฎระเบียบของโรงเรียน มีความภูมิใจใน ความเป็นไทยและด้ารงไว้ซึ่งความเป็นไทย เชิงคุณภาพ นักเรียนมีความรับผิดชอบ มีระเบียบวินัย ปฏิบัติตามกฎระเบียบของโรงเรียน มีความภูมิใจในความเป็นไทย และด้ารงไว้ ซึ่งความเป็นไทย

๙. งานส่งเสริมคุณธรรม งานนักเรียนลาซาลมีน้าใจ

เชิงปริมาณ เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑๐ ร้อยละ ๙๐ ของนักเรียนมีคุณธรรมร้อยละ ๙๙.๒๔ ของนักเรียนมีคุณธรรม ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐.๑๑ จริยธรรมและมีคุณลักษณะอันพึง จริยธรรมและมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประสงค์มากขึ้น มากขึ้น เชิงคุณภาพ เชิงคุณภาพ นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและมี และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์มากขึ้น มากขึ้น

โครงการ / กิจกรรม

กลยุทธ์ที่ ๑๑ โรงเรียนมีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริมให้นักเรียนพัฒนาเต็มตามศักยภาพ โครงการ / กิจกรรม

เป้าหมาย

ผลสาเร็จ

๑. โครงการบริจาคโลหิต เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๗๕ ของคณะครู และนักเรียนในชั้น ม.๕-๖ ที่เข้าร่วมโครงการ เชิงคุณภาพ คณะครู นักเรียนได้ถวายแด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๘๓.๐๐ ของคณะครู และนักเรียนในชั้น ม.๕-๖ ที่เข้าร่วม โครงการ เชิงคุณภาพ คณะครู นักเรียนได้ท้าความดีถวายแด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ

๒. โครงการโรงเรียนส่งเสริม สุขภาพ ๒.๑ งานอบรมให้ความรู้ แก่ผู้ประกอบอาหารทั้ง ภายในและภายนอก โรงเรียน ๒.๒ งานประกวดความ สะอาดอาหาร ร้านค้า

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๘๕ ของนักเรียน ที่มีภาวะโภชนาการต่้ากว่า เกณฑ์และขาดแคลน ได้รับการช่วยเหลือ เชิงคุณภาพ นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการต่้า กว่าเกณฑ์และขาดแคลนอาหาร

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๘๙.๗๑ ของนักเรียนที่มีภาวะ โภชนาการต่้ากว่าเกณฑ์และขาดแคลน ได้รับการช่วยเหลือ เชิงคุณภาพ นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการต่้ากว่าเกณฑ์ และขาดแคลนอาหารกลางวัน ได้รับประทานอาหารกลางวันทุกวัน

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๑๑ ตัวบ่งชี้ ๑๑.๒

มาตรฐานที่ ๑๑ ตัวบ่งชี้ ๑๑.๒


๑๐๕ โครงการ / กิจกรรม

เป้าหมาย

ผลสาเร็จ

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน

และน้​้าดื่มในโรงเรียน

กลางวันได้รับประทานอาหาร กลางวันทุกวัน และปลอดจาก โรคติดต่อที่มีอาหารเป็นสื่อ

และปลอดจากโรคติดต่อที่มีอาหารเป็นสื่อ

๓. โครงการพัฒนาห้องสมุด ๓.๑ งานจัดหาหนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ สู่ห้องสมุด ๓.๒. งานห้องสมุดเคลื่อนที่ สู่ชุมชน ๓.๓.งานสัปดาห์ห้องสมุด ๓.๔. งานส่งเสริมการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ห้องสมุด

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๓ ของห้องสมุด ให้บริการสื่อและเทคโนโลยี สารสนเทศที่เอื้อให้นักเรียน เรียนรู้ด้วยตนเองและหรือ เรียนรู้แบบมีส่วนร่วม เชิงคุณภาพ ห้องสมุดสามารถให้บริการสื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อ ให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง และหรือเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๔.๐๐ ของห้องสมุดให้บริการ สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อให้ นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเองและหรือเรียนรู้ แบบมีส่วนร่วม ร้อยละ ๙๒.๐๐ ของการจัดห้องสมุด ที่ให้บริการสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เอื้อให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเองและ หรือเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม เชิงคุณภาพ ห้องสมุดสามารถให้บริการสื่อและ เทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อให้นักเรียน เรียนรู้ด้วยตนเองและหรือเรียนรู้แบบ มีส่วนร่วม

มาตรฐานที่ ๑๑ ตัวบ่งชี้ ๑๑.๑ ตัวบ่งชี้ ๑๑.๒ ตัวบ่งชี้ ๑๑.๓ ตัวบ่งชี้ ๑๑.๗ ตัวบ่งชี้ ๑๑.๘

๔. โครงการพัฒนางาน อาคารสถานที่และสิ่ง เอื้ออ้านวยต่อการบริการ ทางการศึกษา ๔.๑ งานจัดท้าแผนการ จัดท้า จัดหา ดูแลรักษา ครุภัณฑ์และสิ่งอ้านวย บริการทางการศึกษา ๔.๒ งานซ่อมแซม ปรับปรุง รักษาครุภัณฑ์และสิ่งอ้านวย บริการทางการศึกษา ๔.๓ จัดท้าแผนการจัดสร้าง พัฒนา ดูแล รักษา อาคาร เรียน อาคารประกอบ และ สิ่งก่อสร้าง ๔.๔ งานจัดและปรับปรุง สวนหย่อมบริเวณโรงเรียน ๔.๕ งานจัดท้าและ ปรับปรุงปูายแผนภูมิ สารสนเทศและการจราจร

เชิงปริมาณ ๑. ร้อยละ ๙๐ ของห้องเรียน ห้องประกอบได้จัดหา ดูแล รักษาครุภัณฑ์และสิ่งอ้านวย บริการทางการศึกษาได้อย่าง เหมาะสม ๒. ร้อยละ ๙๐ ของอาคารเรียน อาคารประกอบ ได้จัดหา จัดท้าและพัฒนาสิ่ง ปลูกสร้าง ให้มีความปลอดภัย เชิงคุณภาพ ๑. ครุภัณฑ์ และสิ่งอ้านวย บริการต่างๆ ได้รับการปรับปรุง ซ่อมแซมให้สามารถใช้การได้ อย่างเหมาะสม ๒. บริเวณในโรงเรียนสะอาด ร่มรื่น สวยงาม ตลอดจน การดูแลรักษา และปรับปรุง สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน

เชิงปริมาณ ๑. ร้อยละ ๙๐ ของห้องเรียน ห้องประกอบได้จัดหา ดูแลรักษาครุภัณฑ์ และสิ่งอ้านวยบริการทางการศึกษาได้ อย่างเหมาะสม ๒. ร้อยละ ๙๐ ของของอาคารเรียน อาคารประกอบ ได้จัดหา จัดท้าและ พัฒนาสิ่งปลูกสร้าง ให้มีความปลอดภัย เชิงคุณภาพ ๑. ครุภัณฑ์ และสิ่งอ้านวยบริการต่างๆ ได้รับการปรับปรุงซ่อมแซมให้สามารถใช้ การได้อย่างเหมาะสม ๒. บริเวณในโรงเรียนสะอาด ร่มรื่น สวยงาม ตลอดจนการดูแลรักษา และปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน

มาตรฐานที่ ๑๑ ตัวบ่งชี้ ๑.๑ ตัวบ่งชี้ ๑๑.๓ ตัวบ่งชี้ ๑๑.๖


๑๐๖

กลยุทธ์ที่ ๑๒ โรงเรียนมีการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนตามที่ก้าหนดในกฎกระทรวง โครงการ/กิจกรรม ๑. โครงการประกันคุณภาพ ภายใน ๑.๑ งานจัดท้าแผนปฏิบัติการ ประจ้าปี ๑.๒ งานติดตามตรวจสอบ ประเมินคุณภาพ

๒. โครงการพัฒนาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ

๓. สรุปผลการด้าเนินงาน ๓.๑ งานจัดท้ารายงาน ความก้าวหน้า รายภาคเรียน ๓.๒ งานติดตามตรวจสอบการ สรุปโครงการ งาน กิจกรรม ๓.๓ งานจัดท้ารายงานประเมิน ตนเองและรายงานคุณภาพ ประจ้าปี

เป้าหมาย

ผลสาเร็จ

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๑ มีการพัฒนา ระบบบริหาร จัดการตาม ระบบประกันคุณภาพ ภายใน เชิงคุณภาพ หัวหน้าฝุาย ผู้ประสาน งานฝุาย และผู้ประสานงาน ระดับ ครู และผู้เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการพัฒนา คุณภาพการศึกษาตามระบบ ประกันคุณภาพภายใน เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๑ ของหัวหน้าฝุาย ผู้ประสานงานฝุาย ผู้ประสานงานระดับ ครู และผู้เกี่ยวข้อง เชิงคุณภาพ หัวหน้าฝุาย ผู้ประสานงานฝุาย ผู้ประสานงานระดับ ครูและผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม ในการพัฒนาระบบ เทคโนโลยีและสารสนเทศ เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๕ ของโรงเรียนมี การติดตามตรวจสอบ คุณภาพการศึกษา และ จัดท้ารายงานประจ้าปี ที่เป็นรายงานการประเมิน คุณภาพภายใน เชิงคุณภาพ โรงเรียนประชาสัมพันธ์ รายงานผลการด้าเนิน โครงการ งาน กิจกรรมให้ ผู้ปกครองได้รับทราบ รวบรวมผลความก้าวหน้า ของโรงเรียนตลอดปี การศึกษาจัดท้าเป็นรายงาน คุณภาพประจ้าปี

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๕.๗ มีการพัฒนาระบบบริหาร จัดการตามระบบประกันคุณภาพภายใน เชิงคุณภาพ หัวหน้าฝุายและผู้ประสานงานฝุาย ผู้ประสานงานระดับ ครู และผู้เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ตามระบบประกันคุณภาพภายใน

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๑๒ ตัวบ่งชี้ ๑๒.๑ ตัวบ่งชี้ ๑๒.๒ ตัวบ่งชี้ ๑๒.๔ ตัวบ่งชี้ ๑๒.๕

เชิงปริมาณ มาตรฐานที่๑๒ ร้อยละ ๙๔.๒ ของหัวหน้าฝุาย ตัวบ่งชี้ ๑๒.๓ ผู้ประสานงานฝุาย ผู้ประสานงานระดับ ครู และผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการพัฒนา เชิงคุณภาพ หัวหน้าฝุาย ผู้ประสานงานฝุาย ผู้ประสานงานระดับ ครูและผู้เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบเทคโนโลยี และสารสนเทศ

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๑๐๐ ของโรงเรียนมีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา และจัดท้า รายงานประจ้าปีที่เป็นรายงานการ ประเมินคุณภาพภายใน เชิงคุณภาพ โรงเรียนประชาสัมพันธ์ รายงานผลการ ด้าเนินโครงการ งาน กิจกรรมให้ ผู้ปกครองได้รับทราบ รวบรวมผล ความก้าวหน้าของโรงเรียนตลอดปี การศึกษาจัดท้าเป็นรายงานคุณภาพ ประจ้าปี เสนอแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และพัฒนา

มาตรฐานที่ ๑๒ ตัวบ่งชี้ ๑๒.๔ ตัวบ่งชี้ ๑๒.๖ ตัวบ่งชี้ ๑๒.๙


๑๐๗

โครงการ/กิจกรรม

๔. โครงการพัฒนาระบบ บริหารงานธุรการ

๕. โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ การเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระ ๕.๑. งานเสริมสร้างและพัฒนา สมรรถนะส้าคัญทุกกลุ่มสาระ ๕.๒. งานเสริมสร้างและพัฒนา ความ สามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียน ๕.๓. งานวัดผลประเมินผลตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ๕.๔. งานพัฒนาการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ตาม กลุ่มสาระ ๕.๕. งานแข่งขันตามกลุ่มสาระ

เป้าหมาย เสนอแก่หน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง และพัฒนา เชิงปริมาณ ร้อยละ ๘๗ ของครู ๒๕๓ คน และนักเรียน ๔,๓๔๐ คน เชิงคุณภาพ พัฒนาระบบงานธุรการ การเงินให้มีคุณภาพ

ผลสาเร็จ

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๗.๖๐ ของครู ๒๕๓ คน และนักเรียน ๔,๓๙๑ คน เชิงคุณภาพ ระบบงานธุรการมีความชัดเจนและ มีคุณภาพ บุคลากรใช้ระบบ MAS ปฏิบัติงานธุรการมีศักยภาพเพิ่มขึ้น เชิงปริมาณ เชิงปริมาณ ร้อยละ ๘๔ ของนักเรียน ร้อยละ ๙๖.๐๐ ของนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระเป็นไปตาม แต่ละกลุ่มสาระเป็นไปตาม เกณฑ์ มีผลการประเมินสมรรถนะส้าคัญ เกณฑ์ มีผลการประเมิน มีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และ สมรรถนะส้าคัญ มีผลการ เขียนเป็นไปตามเกณฑ์ มีระดับผลสัมฤทธิ์ ประเมินการอ่าน คิด ทางการเรียนเฉลี่ยอยู่ในระดับดีขึ้นไป วิเคราะห์และเขียนเป็นไป มีผลการทดสอบระดับชาติเฉลี่ยอยู่ในระดับ ตามเกณฑ์ มีระดับ ดีขึ้น และมีผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อย่างต่อเนื่อง เฉลี่ยอยู่ในระดับดีขึ้นไป เชิงคุณภาพ มีผลการทดสอบระดับชาติ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละ เฉลี่ยอยู่ในระดับดีขึ้นและ กลุ่มสาระเป็นไปตามเกณฑ์หรือสูงกว่า มีผลการพัฒนาคุณภาพ เกณฑ์ มีผลการประเมินสมรรถนะส้าคัญ การศึกษาอย่างต่อเนื่อง และมีผลการประเมินการอ่าน คิด เชิงคุณภาพ วิเคราะห์และเขียนเป็นไปตามเกณฑ์ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ หรือสูงกว่าเกณฑ์ มีระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนแต่ละ ทางการเรียนเฉลี่ยอยู่ในระดับดีขึ้นไป กลุ่มสาระเป็นไปตามเกณฑ์ มีผลการทดสอบระดับชาติเฉลี่ยอยู่ใน หรือสูงกว่าเกณฑ์ มีผลการ ระดับดีขึ้นและมีผลการพัฒนาคุณภาพ ประเมินสมรรถนะส้าคัญ การศึกษาอย่างต่อเนื่อง และมีผลการประเมินการ อ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน เป็นไปตามเกณฑ์ หรือสูงกว่าเกณฑ์ มีระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เฉลี่ยอยู่ในระดับดีขึ้นไป มีผลการทดสอบระดับชาติ เฉลี่ยอยู่ในระดับดีขึ้นและ มีผลการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาอย่างต่อเนื่อง

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน

มาตรฐานที่ ๑๒ ตัวบ่งชี้ ๑๒.๔

มาตรฐานที่ ๕ ตัวบ่งชี้ ๕.๑ ตัวบ่งชี้ ๕.๒ ตัวบ่งชี้ ๕.๓ ตัวบ่งชี้ ๕.๕ มาตรฐานที่ ๑๒ ตัวบ่งชี้ ๑๒.๑๐


๑๐๘

กลยุทธ์ที่ ๑๓ โรงเรียนมีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้โรงเรียนเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ โครงการ/กิจกรรม ๑. โครงการนิเทศผู้ปกครอง ๑.๑ งานแลกเปลี่ยนเรียนรู้

เป้าหมาย

ผลสาเร็จ

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๓ ของผู้ปกครอง เข้าใจแนวทาง มีส่วนร่วม ในการพัฒนานักเรียน และ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลที่ เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา นักเรียนให้สามารถเรียนรู้ อย่างมีคุณภาพ ตามวิสัยทัศน์ของโรงเรียน เชิงคุณภาพ ผู้ปกครองทุกคนเข้าใจ แนวทาง มีส่วนร่วมในการ พัฒนานักเรียน และ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูล ที่เป็นประโยชน์ต่อการ พัฒนานักเรียนให้สามารถ เรียนรู้อย่างมีคุณภาพตาม วิสัยทัศน์ของโรงเรียน

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๕.๐๐ ของผู้ปกครองเข้าใจ แนวทาง มีส่วนร่วมในการพัฒนานักเรียน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลที่เป็น ประโยชน์ต่อการพัฒนานักเรียน ให้สามารถเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ตามวิสัยทัศน์ของโรงเรียน เชิงคุณภาพ ผู้ปกครองทุกคนเข้าใจแนวทาง มีส่วนร่วม ในการพัฒนานักเรียน และแลกเปลี่ยน เรียนรู้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา นักเรียนให้สามารถเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ตามวิสัยทัศน์ของโรงเรียน

๒. โครงการพัฒนางาน เชิงปริมาณ อาคารสถานที่และสิ่งเอื้ออ้านวย - ร้อยละ ๙๐ ของห้องเรียน ต่อการบริการทางการศึกษา ห้องประกอบการจัดได้ตาม มาตรฐาน การจัดห้องเรียน ทุกห้อง - ร้อยละ ๙๐ ของอาคาร เรียน อาคารประกอบ และ สิ่งอ้านวยความสะดวกต่างๆ ได้รับการปรับปรุง ซ่อมแซม ให้สามารถใช้การได้ อย่างเหมาะสม เชิงคุณภาพ บริเวณของโรงเรียนสะอาด ร่มรื่นสวยงาม และมีสภาพ ปลอดภัยทุกพื้นที่ นักเรียนมีส่วนร่วมในการ ดูแลรักษา และปรับปรุง สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน

เชิงปริมาณ - ร้อยละ ๙๐ ของห้องเรียน ห้องประกอบการจัดได้ตามมาตรฐาน การจัดห้องเรียน ทุกห้อง - ร้อยละ ๙๐ ของอาคารเรียน อาคารประกอบ และสิ่งอ้านวยความ สะดวกต่าง ๆได้รับการปรับปรุง ซ่อมแซมให้สามารถใช้การได้อย่าง เหมาะสม เชิงคุณภาพ บริเวณโรงเรียนสะอาดร่มรื่น สวยงาม และมีสภาพปลอดภัยทุกพื้นที่ นักเรียนมีส่วนร่วมในการดูแลรักษา และปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๑๓ ตัวบ่งชี้ ๑๓.๒

มาตรฐานที่ ๑๓ ตัวบ่งชี้ ๑๓.๑


๑๐๙

กลยุทธ์ที่ ๑๔ มีการพัฒนาโรงเรียนมาให้บรรลุเปูาหมายตามวิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นที่ก้าหนดขึ้น สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๑๔ ตัวบ่งชี้ ๑๔.๑ ตัวบ่งชี้ ๑๔.๒

โครงการ/กิจกรรม

เป้าหมาย

ผลสาเร็จ

๑. โครงการห้องสมุดส่งเสริม รักการอ่าน ๑.๑ งานส่งเสริมการอ่าน ภายในห้องสมุด ๑.๒ งานค่ายรักการอ่านผ่าน ๔ ส. ๑.๓ งานรักการอ่านสานสู่ฝัน ๑.๔ งานส่งเสริมการอ่าน ออกเสียง ร ล ๑.๕ งานส่งเสริมการสร้าง นวัตกรรมพัฒนาการอ่าน ๑.๖ โต๊ะจีนหนังสือ ๑.๗ ที่ท้าการไปรษณีย์รักการ อ่าน ๑.๘ หนังสือวรรณกรรมแว่นแก้ว ๑.๙ สหกรณ์ออมทรัพย์ความรู้คู่ ชุมชน ๑.๑๐ ขวดมหัศจรรย์ สร้างสรรค์นักอ่าน ๑.๑๑ กิจกรรมโชว์รูมหนังสือ ๑.๑๒ กิจกรรมนานมีบุ๊ค รี๊ดดิ้งคลับ ๒. โครงการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม ที่พึงประสงค์ ๒.๑ งานส่งเสริมคุณธรรม ๒.๒ งานนักเรียนลาซาลมีน้าใจ ๒.๓ งานส่งเสริมความกตัญญู ๒.๔ งานส่งเสริมมารยาทไทย

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๓ ของกิจกรรม ห้องสมุดส่งเสริมการอ่าน ของนักเรียนอย่าง หลากหลายและบรรลุตาม เปูาหมาย วิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นของโรงเรียน เชิงคุณภาพ กิจกรรมของห้องสมุด ส่งเสริมการอ่านอย่าง หลากหลาย ส่งเสริมให้ นักเรียนสามารถบรรลุตาม เปูาหมาย วิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นของโรงเรียน

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๘.๐๐ ของกิจกรรมห้องสมุด ส่งเสริมการอ่านของนักเรียนอย่าง หลากหลายและบรรลุตามเปูาหมาย วิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นของโรงเรียน

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๐ ของนักเรียน มีคุณธรรม จริยธรรมและ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มากขึ้น เชิงคุณภาพ นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและมีคุณลักษณะ อันพึงประสงค์มากขึ้น เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๐ ของเด็กอายุ ๓-๒๐ ปี ที่ยากจนและ มีปัญหาทางครอบครัวได้รับ ความช่วยเหลือจากโรงเรียน เชิงคุณภาพ ๑. นักเรียนและเยาวชน ที่เร่ร่อนมีที่อยู่อาศัย ปลอดภัย มีโอกาสพัฒนาตน และได้เรียนหนังสือ

เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑๔ ร้อยละ ๙๙.๒๔ ของนักเรียนมีคุณธรรม ตัวบ่งชี้ ๑๔.๑ จริยธรรมและมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ ๑๔.๒ มากขึ้น เชิงคุณภาพ นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์มากขึ้น

๓. โครงการบ้านลาซาล/ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

เชิงคุณภาพ กิจกรรมของห้องสมุดส่งเสริมการอ่านอย่าง หลากหลาย ส่งเสริมให้นักเรียนสามารถ บรรลุตามเปูาหมาย วิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นของโรงเรียน

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๑๐๐ ของเด็กอายุ ๓-๒๐ ปี ที่ยากจนและมีปัญหาทางครอบครัวได้รับ ความช่วยเหลือจากโรงเรียน เชิงคุณภาพ นักเรียนและเยาวชนที่เร่ร่อนมีที่อยู่อาศัย ปลอดภัย มีโอกาสพัฒนาตน และได้เรียนหนังสือ

มาตรฐานที่ ๑๔ ตัวบ่งชี้ ๑๔.๑ ตัวบ่งชี้ ๑๔.๒


๑๑๐

กลยุทธ์ที่ ๑๕ มีการจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้นแนวทางการปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาและ ส่งเสริมการศึกษาให้ยกระดับคุณภาพสูงขึ้น โครงการ/กิจกรรม ๑. โครงการการขับเคลื่อน กิจกรรมโรงเรียน

๒. โครงการเรียนรู้ คู่คุณธรรม

๓. โครงการส่งเสริม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

เป้าหมาย เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๑ โรงเรียน ผู้บริหารครู นักเรียน มีการพัฒนาด้วยการจัด กิจกรรม ๕ ส. กิจกรรม เศรษฐกิจพอเพียง เชิงคุณภาพ บุคลากรและสถานที่ใน โรงเรียนได้รับการพัฒนา จากการจัดกิจกรรม ๕ ส. กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๓ ของกิจกรรม ส่งเสริมให้นักเรียนได้รับ การพัฒนาตามนโยบาย จุดเน้น ตามแนวทาง การปฏิรูปการศึกษา มีคุณธรรมเป็นคนดี อยู่ในสังคมได้ อย่างมีความสุข เชิงคุณภาพ กิจกรรมส่งเสริมให้นักเรียน ได้รับการพัฒนาตาม นโยบาย จุดเน้น ตาม แนวทางการปฏิรูป การศึกษามีคุณธรรมเป็น คนดีอยู่ในสังคมได้ อย่างมีความสุข เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๓ ของกิจกรรม ส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วน ร่วมในโครงการ กิจกรรม พิเศษเพื่อตอบสนอง นโยบาย จุดเน้น ตามแนวทางการปฏิรูป การศึกษา เชิงคุณภาพ ของกิจกรรม ส่งเสริมให้ นักเรียนมีส่วนร่วมใน โครงการ กิจกรรมพิเศษ

ผลสาเร็จ เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๘.๐ โรงเรียน ผู้บริหารครู นักเรียนมีการพัฒนาด้วยการจัดกิจกรรม ๕ ส. กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง เชิงคุณภาพ บุคลากรและสถานที่ในโรงเรียนได้รับการ พัฒนาจากการจัดกิจกรรม ๕ ส. กิจกรรม เศรษฐกิจพอเพียง

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๑๕ ตัวบ่งชี้ ๑๕.๑ ตัวบ่งชี้ ๑๕.๒

เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑๕ ร้อยละ ๙๖.๐๐ ของกิจกรรม ส่งเสริม ตัวบ่งชี้ ๑๕.๑ ให้นักเรียนได้รับการพัฒนาตามนโยบาย ตัวบ่งชี้ ๑๕.๒ จุดเน้น ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา มีคุณธรรมเป็นคนดีอยู่ในสังคมได้ อย่างมีความสุข เชิงคุณภาพ กิจกรรมส่งเสริมให้นักเรียนได้รับการพัฒนา ตามนโยบาย จุดเน้น ตามแนวทางการ ปฏิรูปการศึกษามีคุณธรรมเป็นคนดี อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๕.๑๐ ของกิจกรรม ส่งเสริมให้ นักเรียนมีส่วนร่วมในโครงการ กิจกรรม พิเศษเพื่อตอบสนองนโยบาย จุดเน้น ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา เชิงคุณภาพ กิจกรรม ส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมใน โครงการ กิจกรรมพิเศษเพื่อตอบสนอง นโยบาย จุดเน้น ตามแนวทางการปฏิรูป การศึกษา

มาตรฐานที่ ๑๕ ตัวบ่งชี้ ๑๕.๑ ตัวบ่งชี้ ๑๕.๒


๑๑๑ โครงการ/กิจกรรม

๔. โครงการเศรษฐกิจพอเพียง ๔.๑ งานช่วยกันประหยัด

๕. โครงการสังเกตการสอนเพื่อ ยกระดับคุณภาพครู โดยเทคนิค Give and Take

ผลสาเร็จ

เป้าหมาย เพื่อตอบสนองนโยบาย จุดเน้น ตามแนวทางการ ปฏิรูปการศึกษา เชิงปริมาณ ร้อยละ ๘๕ นักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจใน หลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง สามารถน้าไป บริหารจัดการใช้จ่ายของ ตนเอง เชิงคุณภาพ นักเรียนน้าปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม เชิงปริมาณ ครูร้อยละ ๙๕ สังเกตการณ์สอนเพื่อ ยกระดับคุณภาพครูโดย เทคนิค Give and Take น้าเทคนิคการสอน ที่เรียนรู้มาปรับปรุง คุณภาพการเรียนการสอน สู่การพัฒนาทักษะวิชาชีพ เชิงคุณภาพ นักเรียนเกิดการเรียนรู้ ในกิจกรรมการเรียนการ สอน มีเจตคติที่ดีต่อการ เรียนในแต่ละรายวิชา

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๔.๖๒ นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง สามารถน้าไปบริหารจัดการ ใช้จ่ายของตนเอง เชิงคุณภาพ นักเรียนน้าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน

มาตรฐานที่ ๑๕ ตัวบ่งชี้ ๑๕.๑ ตัวบ่งชี้ ๑๕.๒

เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑๕ ครูร้อยละ ๙๕ สังเกตการณ์สอน ตัวบ่งชี้ ๑๕.๑ เพื่อยกระดับคุณภาพครูโดยเทคนิค Give ตัวบ่งชี้ ๑๕.๒ and Take น้าเทคนิคการสอนที่เรียนรู้มา ปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอน สู่การพัฒนาทักษะวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง เชิงคุณภาพ นักเรียนเกิดการเรียนรู้ในกิจกรรมการเรียน การสอน มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนในแต่ละ รายวิชา

 ผลการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามนโยบายพิเศษ โครงการ / กิจกรรม

เป้าหมาย

ผลสาเร็จ

๑. โครงการสวัสดิการมอบ ทุนการศึกษา

เชิงปริมาณ นักเรียนร้อยละ ๘๐ ที่เรียนดี และยากจนได้รับการช่วยเหลือ เชิงคุณภาพ เพื่อให้นักเรียนกลุ่มเปูาหมาย ได้รับการช่วยเหลือในเรื่อง ทุนการศึกษาอย่างเหมาะสม

เชิงปริมาณ นักเรียนร้อยละ ๘๗.๐๐ ที่เรียนดีและยากจนได้รับการ ช่วยเหลือ เชิงคุณภาพ นักเรียนกลุ่มเปูาหมายได้รับการ ช่วยเหลือในเรื่องทุนการศึกษา อย่างเหมาะสม

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๑๐ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐.๖


๑๑๒

โครงการ / กิจกรรม

เป้าหมาย

ผลสาเร็จ

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน

๒. โครงการส่งเสริม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๒ ของกิจกรรม ส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมใน โครงการ กิจกรรมพิเศษเพื่อ ตอบสนองนโยบาย จุดเน้น ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา เชิงคุณภาพ ของกิจกรรม ส่งเสริมให้นักเรียน มีส่วนร่วมในโครงการ กิจกรรม พิเศษเพื่อตอบสนองนโยบาย จุดเน้น ตามแนวทางการปฏิรูป การศึกษา

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๕.๑๐ ของกิจกรรม ส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วม ในโครงการ กิจกรรมพิเศษเพื่อ ตอบสนองนโยบาย จุดเน้น ตามแนวทางการปฏิรูป การศึกษา เชิงคุณภาพ ของกิจกรรม ส่งเสริมให้ นักเรียนมีส่วนร่วมในโครงการ กิจกรรมพิเศษเพื่อตอบสนอง นโยบาย จุดเน้น ตามแนวทาง การปฏิรูปการศึกษา

มาตรฐานที่ ๑๕ ตัวบ่งชี้ ๑๕.๑ ตัวบ่งชี้ ๑๕.๒

๓. โครงการการขับเคลื่อน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

เชิงปริมาณ ครู นักเรียนร้อยละ ๘๕ มีความรู้ ความเข้าใจในหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เชิงคุณภาพ เพื่อให้ครู นักเรียน คนงาน น้าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงอย่าง เหมาะสม

เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑๐ ครู นักเรียนร้อยละ ๙๙.๖ ตัวบ่งชี้ ๑๐.๖ มีความรู้ ความเข้าใจในหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เชิงคุณภาพ ครู นักเรียน คนงานน้าปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตจริงอย่างเหมาะสม

๔. โครงการบริจาคโลหิต เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๗๕ ของคณะครู และนักเรียนในชั้น ม.๕ - ๖ ที่เข้าร่วมโครงการ เชิงคุณภาพ เพื่อให้คณะครู นักเรียนได้ ท้าความดีถวายแด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ

เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑๑ ร้อยละ ๘๓.๐๐ ของคณะครู ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑.๒ และนักเรียนในชั้น ม.๕ - ๖ ที่เข้าร่วมโครงการ เชิงคุณภาพ คณะครู นักเรียนได้ท้าความดี ถวายแด่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวฯ


๑๑๓

๒. ผลการดาเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน

มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย ด้านที่ ๑ มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ ๑ เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย ตัวบ่งชี้ ๑.๑ มีน้าหนักส่วนสูงเป็นไปตาม เกณฑ์มาตรฐาน ๑.๒ มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัย ๑.๓ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพ ของตน ๑.๔ หลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่อ โรค อุบัติเหตุ ภัย และสิ่งเสพติด ผลรวมคะแนนมาตรฐานที่ ๑

จานวน นร./ครู ที่อยู่ ในระดับ ๓ ขึ้นไป ๖๑๔

จานวน นร./ ครูทั้งหมด ๖๑๖

๙๙.๖๗

น้าหนัก (คะแนน) ๑

คะแนน ที่ได้ ๐.๙๙

๖๑๕ ๖๑๔

๖๑๖ ๖๑๖

๙๙.๘๓ ๙๙.๖๗

๑.๕ ๑.๕

๑.๔๙ ๑.๔๙

๖๑๒

๖๑๖

๙๙.๓๕

๐.๙๙

๙๙.๖๓

๔.๙๖

ร้อยละที่ได้

ร่องรอยความพยายาม โครงการส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกายของเด็ก ๑. งานติดตามชั่งน้​้าหนัก – วัดส่วนสูงของเด็ก ๒. งานทดสอบสมรรถภาพทางกายของเด็ก ๓. งานส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็ก ๔. งานหนูน้อยปลอดภัยห่างไกลโรค ๑. วิธีการพัฒนา โรงเรียนจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายให้เหมาะสมกับวัย มีน้าหนักส่วนสูง เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตน สามารถหลีกเลี่ยงต่อสภาวะ ที่เสี่ยงต่ออุบัติเหตุ ภัยและสิ่งเสพติด โดยจัดโครงการส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกายของเด็ก ประกอบด้วย ๑. งานติดตามชั่งน้​้าหนัก- วัดส่วนสูงของเด็ก โรงเรียนมุ่งพัฒนาเด็กให้มีความสมบูรณ์ทางร่างกาย โดยครู ประจ้าชั้นติดตามชั่งน้​้าหนัก – วัดส่วนสูงของเด็กทุกคน จ้านวน ๒ เดือน ต่อ ๑ ครั้ง แล้วน้าผลมาเทียบกับเกณฑ์ การประเมินการเจริญเติบโตของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข หาก พบเด็กที่มีน้าหนักส่วนสูงไม่เป็นไปตาม เกณฑ์ จะด้าเนินการช่วยเหลือโดยจัดกิจกรรมอาหารเสริม(นม) ให้เด็กได้ดื่มทุกวัน ทั้งนี้ครูประจ้าชั้นจะเป็นผู้ดูแล ให้เด็กได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ จัดกิจกรรมกา ยบริหารเพื่อสุขภาพกาย-จิต ทุกวันหลังเคารพธงชาติ เพื่อส่งเสริมสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงมีน้าหนักส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์ของกรมอนามัย ๒. งานทดสอบสมรรถภาพทางกายของเด็ก โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการกิจกรรม หลัก ๖ กิจกรรม เพื่อส่งเสริมพัฒนาให้เด็กมีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัย จัดทดสอบสมรรถภาพทางกายของเด็ก ทุกคนเพื่อวัดและประเมินความแข็งแรงของร่างกาย และสมรรถภาพทางกา ยในด้านต่างๆ เช่น ความแข็งแรง และ ความอดทนของกล้ามเนื้อ , ความเร็ว , ความคล่องแคล่วว่องไว , ความอ่อนตัว , ความอดทนของระบบไหลเวียน โลหิต และระบบหายใจ เป็นต้น โดยใช้เกณฑ์มาตรฐาน ของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีสภาวะ ร่างกายอยู่ในสภาพที่ดี และสามารถปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้ชีวิตประจ้าวันได้อย่าง มีความสุข


๑๑๔

๓. งานส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็ก โรงเรียนส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพอนามัยที่ดี โดยครูประจ้าชั้นตรวจ สุขภาพของเด็กทุกวันหลังจากเข้าแถวเคารพธงชาติ และจดบันทึกลงในแบบบันทึกการตรวจสุขภาพของเด็กหาก พบเด็กมีปัญหาสุขภาพจะให้ค้าแนะน้าเพื่อให้เด็กมีสุขภาพที่ดีขึ้น นอกจากการตรวจสุขภาพทั่วไปแล้วยังมีการตรวจสุขภาพปากและฟันโดยเชิญเจ้าหน้าที่อนามัยมาตรวจ และให้ความรู้กับเด็กในการดูแลสุขภาพปากและฟัน พร้อม แจกแปรงสีฟันแก่เด็กทุกคน จัดกิจกรรมให้เด็กทุกคน แปรงฟันทุกวันหลังรับประทานอาหารกลางวัน จัดเตรียมสบู่ไว้บริการบริเวณห้องน้-้าห้องส้วม และบริเวณอ่างล้างมือ โดยสาธิตวิธีการล้างมือ ๗ ขั้นตอนที่ถูกต้องชักชวนให้เด็กใช้สบู่ล้างมือทุกครั้ง หลังจากท้ากิจกรรมต่างๆ จนเป็นนิสัย เพื่อให้เด็กมีสุขภาพอนามัยที่ดี สามารถน้าความรู้ไปใช้ในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนในชีวิตประจ้าวัน ๔. งานหนูน้อยปลอดภัยห่างไกลโรค โรงเรียนจัดปูายนิเทศประชาสัมพันธ์สาเหตุของโรคต่างๆ และวิธีการ ปูองกันตนเอง อาทิ โรคมือเท้าปาก, โรคไข้เลือดออก, โรคไข้หวัด เป็นต้น ครูประจ้าชั้นและครูผู้ดูแลห้อง ประกอบท้าความสะอาดห้องเรียนและอุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในห้องเรียน ห้องน้​้า ห้องส้วม ด้วยน้​้ายาฆ่าเชื้อโรค เดทตอลอย่างสม่้าเสมอ ร่วมกัน ก้าจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้​้ายุงลายทั้งในและนอกห้องเรียน โดยใช้ดินปลูกต้นไม้ แทนน้​้า, ขัดล้างอ่างน้​้า และถ่ายน้​้าในห้องน้​้า ห้องส้วมเป็นประจ้าทุกสัปดาห์ ด้าเนินการ ตรวจสอบลูกน้​้ายุงลาย โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและพ่นยาก้าจัดยุงลายภายในห้องเรียนและบริเวณโรงเรียนอย่างสม่้าเสมอ ตลอดจน จัดกิจกรรมเพื่อให้เด็กตระหนักในอันตรายจากสารเสพติด โดยให้ เด็กมีส่วนร่วมในการเดินขบวนรณรงค์ต่อต้าน การสูบบุหรี่ในวันงดสูบบุหรี่โลก ๒. ผลการพัฒนา จากการจัดโครงการ งาน ดังกล่าว ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทางด้านร่างกาย มีน้าหนัก ส่วนสูงเป็นไป ตามเกณฑ์มาตรฐาน มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัย มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตน และหลีกเลี่ยงต่อสภาวะ ที่เสี่ยงต่อโรค อุบัติเหตุ ภัย และสิ่งเสพติดได้เหมาะสมกับวัย มีผลการประเมิน คุณภาพ มาตรฐานที่ ๑ ในระดับดีเยี่ยม ๓. แนวทางการพัฒนาในอนาคต โรงเรียน ยังขาดเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ใน การชั่งน้​้าหนัก - วัดส่วนสูง ที่ได้มาตรฐาน ส่งผลให้เกิดความ คลาดเคลื่อนของน้​้าหนัก – ส่วนสูง ทางโรงเรียนจึงควรจัดหาเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ได้ที่ได้มาตรฐานเหมาะสม กับวัยของเด็กมาใช้ในการชั่งน้​้าหนักส่วนสูง เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทางด้านร่างกายตามวัยเป็นไปตาม เกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย


๑๑๕

มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ และจิตใจ ตัวบ่งชี้

๒.๑ ร่าเริงแจ่มใส มีความรู้สึกที่ดีต่อ ตนเอง ๒.๒ มีความมั่นใจและกล้าแสดงออก ๒.๓ ควบคุมอารมณ์ตนเอง ได้ เหมาะสมกับวัย ๒.๔ ชื่นชมศิลปะ คนตรี การ เคลื่อนไหว และรักธรรมชาติ ผลรวมคะแนนมาตรฐานที่ ๒

จานวน นร./ครู ที่อยู่ใน จานวน นร./ครู ระดับ ๓ ขึ้นไป ทั้งหมด

ร้อยละที่ได้

น้าหนัก (คะแนน)

คะแนน ที่ได้

๖๑๕

๖๑๖

๙๙.๘๓

๐.๙๙

๖๑๕

๖๑๖

๙๙.๘๓

๐.๙๙

๖๑๒

๖๑๖

๙๙.๓๕

๐.๙๙

๖๑๕

๖๑๖

๙๙.๘๓

๑.๙๙

๙๙.๗๑

๔.๙๖

ร่องรอยความพยายาม ๑. โครงการส่งเสริมสุนทรียภาพ ด้านศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว ๑.๑ กิจกรรมส่งเสริมสุนทรียภาพด้านศิลปะ ๑.๒ กิจกรรมอนุบาลลาซาลเกมส์ ๑.๓ กิจกรรมชมรมต่างๆ ได้แก่ ชมรมร้าไทย ชมรมดนตรี ชมรมเล่านิทาน ชมรมสีสันปั้นแต่ง และชมรมภาพสวยด้วยมือเรา ๑. วิธีการพัฒนา โรงเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ – จิตใจ ให้เหมาะสมกับวัย เพื่อส่งเสริมให้เด็ก ร่าเริงแจ่มใส มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง มั่นใจกล้าแสดงออก รู้จักควบคุมอารมณ์ตนเองได้เหมาะสมกับวัย ชื่นชม ศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหวและรักธรรมชาติ โดยจัดโครงการดังนี้ ๑. โครงการส่งเสริมสุนทรียภาพด้านศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว ประกอบด้วย ๑.๑ กิจกรรมส่งเสริมสุนทรียภาพด้านศิลปะ โดยตัวแทนนักเรียนของแต่ละห้องเข้าร่วมประกวด แข่งขัน เช่น การประกวดวาดภาพตามจินตนาการ, การพิมพ์ภาพ, พับสี, การฉีก ตัด ปะ, การขูดสี, การประดิษฐ์ เศษวัสดุ, ปั้นดินน้​้ามัน และการเปุาสี ๑.๒ กิจกรรมอนุบาลลาซาลเกมส์ เพื่อส่งเสริมสุนทรียภาพด้านดนตรีและการเคลื่อนไหว เด็กมี สุนทรียภาพ สามารถท้ากิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้ ในรูปแบบของเกม กีฬา การร้องเพลงเชียร์ เชียร์ลีดเดอร์ ๑.๓ กิจกรรมชมรมต่างๆ โดยประชาสัมพันธ์และรับสมัครเด็กเข้าเรียนในชมรมต่างๆ ตามความสนใจ และความถนัด จัดให้เรียนทุกวันอังคารและวันพฤหัสบดี ระหว่างเวลา ๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. ก้าหนดให้นักเรียน ระดับปฐมวัยปีที่ ๓ เรียนในวันอังคารและระดับปฐมวัยปีที่ ๒ เรียนในวันพฤหัสบดี ส่งเสริมให้เด็กได้รับการพัฒนา ทุกด้านได้หมาะสมกับวัย ๒. ผลการพัฒนา จากการจัดโครงการ กิจกรรมดังกล่าว ส่งผลให้เด็กได้รับความร่าเริงแจ่มใส มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง มี ความมั่น ใจและกล้าแสดงออก รู้จักควบคุมอารมณ์ตนเอง มีความชื่นชมศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหวและรัก ธรรมชาติ มีผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานที่ ๒ ในระดับดีเยี่ยม


๑๑๖

๓.

แนวทางการพัฒนาในอนาคต ส่งครูเข้ารับการอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน ตามหน่วยงานต่างๆ เพื่อให้ครูน้าความรู้และเทคนิคการสอน ใหม่ๆ มาพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ – จิตใจอย่างเหมาะสม และเป็นไปตามวัย มาตรฐานที่ ๓ เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ตัวบ่งชี้

๓.๑ มีวินัย รับผิดชอบ เชื่อฟังค้าสั่ง สอนของพ่อแม่ ครูอาจารย์ ๓.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริต ช่วยเหลือ แบ่งปัน ๓.๓ เล่นและท้างานกับผู้อื่นได้ ๓.๔ ประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทย และศาสนาที่ตนนับถือ ผลรวมคะแนนมาตรฐานที่ ๓

จานวน นร./ครู ที่อยู่ใน จานวน นร./ครู ระดับ ๓ ขึ้นไป ทั้งหมด

ร้อยละที่ได้

น้าหนัก (คะแนน)

คะแนน ที่ได้

๖๑๕

๖๑๖

๙๙.๘๓

๑.๙๙

๖๑๓

๖๑๖

๙๙.๕๑

๐.๙๙

๖๑๒

๖๑๖

๙๙.๓๕

๐.๙๙

๖๑๖

๖๑๖

๑๐๐

๙๙.๖๗

๔.๙๗

ร่องรอยความพยายาม โครงการปลูกฝังระเบียบวินัย และส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ๑. งานเด็กลาซาลมีวินัย ๒. งานคุณธรรม จริยธรรม ๑.

วิธีการพัฒนา โรงเรียนส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการในทุกด้าน เพื่อให้เด็กมีลักษณะนิสัยที่ดี มีพัฒนาการด้านสังคม อารมณ์ และจิตใจ มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง แสดงออกอย่างเหมาะสมตามวัยและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง มีความสุข โดยจัดโครงการปลูกฝังระเบียบวินัยและส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ประกอบด้วย ๑. งานเด็กลาซาลมีวินัยและงานคุณธรรม จริยธรรม มีการประกวดระเบียบวินัยในการเข้าแถว การเดิน แถว การแต่งกาย และความประพฤติในขณะร่วมท้ากิจกรรมหน้าเสาธง ประเมินให้คะแนนพฤติกรรมการเข้าแถว ของแต่ละห้อง ๒. งานคุณธรรม จริยธรรม โรงเรียนจัดกิจกรรมเพื่อ ส่งเสริมให้เด็กได้แสดงออกถึงความกตัญญู เช่น กิจกรรมวันไหว้ครู กิจกรรมวันแม่ กิจกรรมวันพ่อ และกิจกรรมค่ายคุณธรรม โดยจัดให้เด็กไปวัด เพื่อท้า กิจกรรมและเรียนรู้ทางศาสนา ตลอดจนร่วมกิจกรรมทางศาสนา เช่น กิจกรรมหล่อเทียนพรรษา กิจกรรมเวียน เทียน กิจกรรมท้าบุญตักบาตรวันเด็ก เพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้ สามารถน้าไปปฏิบัติในชีวิตประจ้าวัน ๒. ผลการพัฒนา เด็กมีระเบียบวินัยในการเข้าแถว เดินแถว การแต่งกาย ได้รับการส่งเสริมให้มีคุณธรรม จริยธรรมขั้น พื้นฐาน มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น มีความเชื่อมั่น กล้าแสดงออก มีวินัยในตนเอง มีความรับผิดชอบ เชื่อฟังค้าสั่งสอนของพ่อ แม่ ซื่อสัตย์สุจริต เมตตากรุณา เอื้อเฟื้อ ช่วยเหลือแบ่งปัน มีมารยาท สามารถปฏิบัติตน ตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่ตนนับถือ อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข มีผลการประเมิน คุณภาพ มาตรฐานที่ ๓ ในระดับดีเยี่ยม


๑๑๗

๓. แนวทางการพัฒนาในอนาคต อบรมและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสอดแทรกเนื้อหาคุณธรรมจริยธรรมให้กับเด็ก รวมถึงการจัด กิจกรรมส่งเสริมให้เด็กฝึกปฏิบัติจริง เพื่อปลูกฝังและสร้างค่านิยมที่ดีให้กับเด็ก สามารถอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข มาตรฐานที่ ๔ เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา ตัวบ่งชี้

๔.๑ สนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ซักถาม อย่างตั้งใจและรักการเรียนรู้ ๔.๒ มีความคิดรวบยอด เกี่ยวกับสิ่ง ต่างๆที่เกิดจากประสบการณ์การ เรียนรู้ ๔.๓ มีทักษะทางภาษาที่เหมาะสม กับวัย ๔.๔ มีทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ๔.๕ มีจินตนาการและความคิด สร้างสรรค์ ผลรวมคะแนนมาตรฐานที่ ๔

จานวน นร./ครู ที่อยู่ใน จานวน นร./ครู ระดับ ๓ ขึ้นไป ทั้งหมด

ร้อยละที่ได้

น้าหนัก (คะแนน)

คะแนน ที่ได้

๖๑๒

๖๑๖

๙๙.๓๕

๐.๙๙

๖๑๒

๖๑๖

๙๙.๓๕

๐.๙๙

๖๑๔

๖๑๖

๙๙.๖๗

๐.๙๙

๖๐๗

๖๑๖

๙๘.๕๓

๐.๙๘

๖๑๕

๖๑๖

๙๙.๘๓

๐.๙๙

๙๙.๓๔

๔.๙๔

ร่องรอยความพยายาม โครงการเรียนรู้สู่โลกกว้าง ๑. กิจกรรมหนูน้อยรักการอ่าน ๒. กิจกรรมทัศนศึกษา ๓. กิจกรรมค่ายพัฒนาการเรียนรู้ ๔. งานบริการ I.C.T. ๕ กิจกรรมตลาดนัดลาซาล ๑. วิธีการพัฒนา โรงเรียนจัดโครงการเรียนรู้สู่โลกกว้าง เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา ประกอบด้วย ๑. กิจกรรมหนูน้อยรักการอ่าน เปิดโอกาสให้เด็กยืมหนังสือนิทานอ่านที่บ้านร่วมกับผู้ปกครอง ผู้ปกครองสังเกตและบันทึกพฤติกรรมการอ่านของเด็กลงในคู่มือหนูน้อยรักการอ่านและส่งให้ครูประจ้าชั้นในวัน จันทร์สัปดาห์ต่อไป ๒. กิจกรรมทัศนศึกษา เด็กทัศนศึกษานอกสถานที่ ดังนี้ - วันที่ ๒๙ , ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗ เด็กระดับปฐมวัยปีที่ ๑ – ๒ ทัศนศึกษาที่บึงบอระเพ็ด - วันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๗ เด็กระดับปฐมวัยปีที่ ๓ ไปทัศนศึกษาศูนย์วิทยาศาสตร์นครสวรรค์ ๓. กิจกรรมค่ายพัฒนาการเรียนรู้ โดยจัดกิจกรรมฐานการเรียนรู้ ๖ ฐาน ได้แก่ ฐาน ภาษาสร้างสรรค์ , ฐานนักวิทยาศาสตร์น้อย , ฐาน English for kids, ฐานคณิตคิดสนุก , ฐานมารู้จักอาเซียนกันเถอะ และฐานเกมซ่าท้าสนุก ๔. งานบริการ I.C.T. ครูจัดกิจกรรมให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ โดยจัดตารางการเรียนรู้ ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ ห้องละ ๑ ครั้งต่อสัปดาห์


๑๑๘

๕. กิจกรรมตลาดนัดลาซาล เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติจริง เกี่ยวกับการประกอบอาหาร การท้า ขนมอย่างเป็นขั้นตอนพร้อมน้ามาจัดจ้าหน่ายให้กับครูและผู้ปกครองที่มาเยี่ยมชม ฝึกการคิดและทอนเงินที่ถูกต้อง ๒. ผลการพัฒนา จากการจัดโครงการ กิจกรรม ส่งผลให้เด็กสนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ซักถาม ด้วยความสนใจ รักการเรียนรู้ มีความคิดรวบยอด อันเกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้ มีทักษะทางภาษา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ที่เหมาะสมกับวัย มีผลการประเมิน คุณภาพมาตรฐาน ที่ ๔ ในระดับดีเยี่ยม ๓. แนวทางการพัฒนาในอนาคต จัดครูเข้ารับการอบรม สัมมนา ศึกษาดูงานตามหน่วยงานต่างๆ เพื่อให้ครูน้าความรู้และเทคนิคการสอน มา พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญาได้อย่างเหมาะสมและเป็นไปตามวัย

ด้านที่ ๒ มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ ๕ ครูปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ตัวบ่งชี้

จานวน นร./ครู ที่อยู่ จานวน นร./ ในระดับ ๓ ขึ้นไป ครูทั้งหมด

๕.๑ ครูเข้าใจปรัชญา หลักการ และ ธรรมชาติของการจัดการศึกษาปฐมวัย และ สามารถน้ามาประยุกต์ใช้ในการ จัดประสบการณ์ ๕.๒ ครูจัดท้าแผนการจัด ประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักสูตร การศึกษาปฐมวัยและสามารถจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ๕.๓ ครูบริหารจัดการชั้นเรียนที่สร้าง วินัยเชิงบวก ๕.๔ ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่ เหมาะสม สอดคล้องกับพัฒนาการ ของเด็ก ๕.๕ ครูใช้เครื่องมือวัดและประเมิน พัฒนาการของเด็กอย่างหลากหลาย และสรุปรายงานผลพัฒนาการของ เด็กแก่ผู้ปกครอง ๕.๖ ครูวิจัยและพัฒนาการจัดการ เรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบ และใช้ผลใน การปรับการจัดประสบการณ์ ๕.๗ ครูจัดสิ่งแวดล้อมให้เกิดการ เรียนรู้ได้ตลอดเวลา ๕.๘ ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก และผู้ปกครอง

ร้อยละที่ได้

น้าหนัก (คะแนน)

คะแนน ที่ได้

๓๙

๔๑

๙๕.๑๒

๑.๙๐

๓๙

๔๑

๙๕.๑๒

๑.๙๐

๔๐

๔๑

๙๗.๕๖

๑.๙๕

๓๘

๔๑

๙๒.๖๘

๑.๘๕

๔๐

๔๑

๙๗.๕๖

๑.๙๕

๔๑

๔๑

๑๐๐

๔๐

๔๑

๙๗.๕๖

๑.๙๕

๓๙

๔๑

๙๕.๑๒

๑.๙๐


๑๑๙ ตัวบ่งชี้ ๕.๙ ครูมีวุฒิและความรู้ความสามารถ ในด้านการศึกษาปฐมวัย ๕.๑๐ ครูจัดท้าสารนิทัศน์และน้ามา ไตร่ตรองเพื่อใช้ประโยชน์ในการ พัฒนาเด็ก ผลรวมคะแนนมาตรฐานที่ ๕

จานวน นร./ครู ที่อยู่ จานวน นร./ ในระดับ ๓ ขึ้นไป ครูทั้งหมด

ร้อยละที่ได้

น้าหนัก (คะแนน)

คะแนน ที่ได้

๔๐

๔๑

๙๗.๕๖

๑.๙๕

๔๐

๔๑

๙๗.๕๖

๑.๙๕

๙๖.๕๘

๒๐

๑๙.๓๐

ร่องรอยความพยายาม ๑. โครงการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ๑.๑ งานนิเทศติดตามการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ๑.๒ งานนิเทศขยายผลเชิงปฏิบัติการ ๑.๓ งานจัดท้ากราฟสถิติ เปรียบเทียบพัฒนาการเด็กทั้ง ๔ ด้าน ๒. โครงการพัฒนาครู บุคลากร ๒.๑ งานส้ารวจ จัดสรรครูให้ตรงตามวุฒิและความสามารถ ๒.๒ งานส่งครูเข้ารับการอบรมศึกษาดูงานและศึกษาต่อ ๒.๓ งานยกย่องเชิดชูเกียรติ ๒.๔ งานร่วมกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ๑. วิธีการพัฒนา โรงเรียนส่งเสริมให้ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล โดยจัด โครงการดังนี้ ๑. โครงการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ประกอบด้วย งานนิเทศติดตามการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนภาคเรียนละ ๑ ครั้ง โดยแต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศ ด้าเนินการ ติดตามและนิเทศการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนของครูให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ งานนิเทศขยายผลเชิงปฏิบัติการโดยส่งตัวแทนครู เข้ารับการอบรมจากหน่วยงานต่างๆ น้าความรู้มาขยายผลให้กับเพื่อนครู นอกจากนี้ยังส่งเสริมให้ครูได้ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก โดยจัดให้มี การผลิตสื่อเพื่อใช้ ประกอบการเรียนการสอน ปี การศึกษาละ ๑ ครั้ง ติดตั้งคอมพิวเตอร์และจอทีวีขนาดใหญ่ให ระดับปฐมวัยปีที่ ๓ และติดตั้งกระดาน e @ board ห้องภาษาอังกฤษระดับ ปฐมวัยปีที่ ๒ เพื่อให้ครูได้น้าสื่อ เทคโนโลยีมาใช้ประกอบการเรียนการสอน มีการประเมินพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน วิเคราะห์สภาพเด็กเป็นรายบุคคล และรายงานกลุ่ม น้าผลการประเมินมาบันทึกพัฒนาการเด็กลงในแบบบันทึกประเมินพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน และ สรุปรายงานผลพัฒนาการ โดยจัดท้ากราฟสถิติเปรียบเทียบพัฒนาการของเด็ก และรายงานผลแก่ผู้ปกครอง โรงเรียนส่งเสริมให้ครูท้าวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง เพื่อให้ครูได้ศึกษาและแก้ไขปัญหา พฤติกรรมด้านต่าง ๆ ของเด็กและคิดค้นนวัตกรรมแก้ปัญหา มีการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก ทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน ภายในห้องเรียนจัดให้มีมุมต่าง ๆ บอร์ดความรู้และปูายนิเทศ ส่วนภายนอก ห้องเรียนจัดให้มีห้องประกอบต่าง ๆ เช่น ห้องเรียนรู้บูรณาการ ห้องเรียนรู้อาเซียนศึกษา ห้องเรียนรู้ศิลปะ ห้องเรียนรู้คอมพิวเตอร์ ห้องโสตทัศนูปกรณ์ ห้องเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ สระว่ายน้​้า สวนหย่อม สนามเด็กเล่น ครูจัดท้าข้อมูลสารนิทัศน์อย่างเป็นระบบ มีการจัดเก็บข้อมูลที่หลากหลาย เช่น การบันทึกพฤติกรรม การวิเคราะห์


๑๒๐

ผลงานเด็กทั้ งรายบุคคลและกลุ่ม การบรรยายสรุปประสบการณ์เด็ก เพื่อน้าข้อมูลที่ได้มาใช้ประโยชน์ในการ พัฒนาเด็ก ๒. โครงการพัฒนาครู – บุคลากร ประกอบด้วย ๒.๑ งานส้ารวจ จัดสรรครูให้ตรงตามวุฒิและความสามารถ มีการคัดเลือกครูผู้สอนปฐมวัยที่มีความรู้ และความสามารถ ครูที่ไม่จบตรงตามวุฒิการศึกษาจะได้รับการอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน ตามหน่วยงานต่างๆ เพื่อน้าความรู้ไปพัฒนาตนเอง ๒.๒ งานส่งครูเข้ารับการอบรมศึกษาดูงานและศึกษาต่อ เพื่อพัฒนาศักยภาพการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอน ครูทุกคนได้รับการอบรมอย่างต่อเนื่องและได้รับการนิเทศขยายผลอย่างต่อเนื่อง ๒.๓ งานยกย่องเชิดชูเกียรติ ด้าเนินการคัดเลือกครูเพื่อเข้ารับรางวัลจากคุรุสภา ในปี ๒๕๕๗ เพื่อพัฒนาศักยภาพของตน ๒.๔ งานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมครู โรงเรียนจัดตัวแทนครูเข้ารับการอบรมฝึกปฏิบัติธรรม โครงการเสริมสร้างศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ณ วัดคีรีวงศ์ อ.เมือง จ.นครสวรรค์ ในวันที่ ๙ – ๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๗ ๒. ผลการพัฒนา จากการจัดโครงการ งาน ดังกล่าว ส่งผลให้ครูมีความรู้ความเข้าใจปรัชญา หลักการของการจัด การศึกษาปฐมวัย สามารถจัดท้าแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึ กษาปฐมวัย ใช้สื่อและ เทคโนโลยีที่สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็กใช้เครื่องมือการวัดและประเมินพัฒนาการของเด็กอย่างหลากหลาย จัดท้าวิจัยชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของเด็ก จัดสภาพแวดล้อมให้เกิดการเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ครูมีวุฒิ มีความรู้ความสามารถในด้านการศึกษาปฐมวัย มีผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานที่ ๕ ในระดับ ดีเยี่ยม ๓. แนวทางการพัฒนาในอนาคต ส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูเข้ารับการอบรม สัมมนา ศึกษาดูงานตามหน่วยงานต่างๆ เรื่อง การจัดท้า พัฒนาหลักสูตรและการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อน้าความรู้มาพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น มาตรฐานที่ ๖ ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ๕

น้าหนัก (คะแนน) ๓

คะแนน ที่ได้ ๓

๒.๔

๒๐

๑๙.๔๐

ตัวบ่งชี้

ระดับที่ได้

๖.๑ ผู้บริหารเข้าใจปรัชญาและหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย ๖.๒ ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้น้า และความคิดริเริ่มที่เน้น การพัฒนาเด็กปฐมวัย ๖.๓ ผู้บริหารใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมและใช้ข้อมูลการ ประเมินผลหรือการวิจัยเป็นฐานคิดทั้งด้านวิชาการและการจัดการ ๖.๔ ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการการศึกษาให้บรรลุเปูาหมาย ตามแผนพัฒนาคุณภาพโรงเรียน ๖.๕ ผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้ มีประสิทธิภาพ ๖.๖ ผู้บริหารให้ค้าแนะน้า ค้าปรึกษาทางวิชาการและเอาใจใส่ การจัดการศึกษาปฐมวัยเต็มศักยภาพและเต็มเวลา ๖.๗ เด็ก ผู้ปกครอง และชุมชนพึงพอใจผลการบริหารจัดการศึกษา ปฐมวัย ผลรวมคะแนนมาตรฐานที่ ๖


๑๒๑

ร่องรอยความพยายาม โครงการพัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากร ๑. งานบริหารจัดการด้านวิชาการ ๒. งานประชุมคณะกรรมการระดับอนุบาล ๓. งานนิเทศ อบรม สัมมนา ผู้บริหาร ครู ๔. งานประเมินผลเชิงคุณภาพบุคลากร ๕. งานส้ารวจความพอใจและการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัย ๑. วิธีการพัฒนา โรงเรียนส่งเสริมให้ผู้บริหารเข้าใจปรัชญา หลักการจัดการศึกษาปฐมวัย มีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้น้า มีความคิด ริเริ่ม ใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม โดยจัดโครงการพัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากร ประกอบด้วยงานต่าง ๆ ดังนี้ ๑. งานบริหารจัดการด้านวิชาการ ด้าเนินการบริหารด้านหลักสูตรการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การนิเทศภายใน การวัดและประเมินพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน ที่ส่งเสริมให้เด็กได้รับการพัฒนาทางด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา อย่างเต็มตามศักยภาพ ๒. งานประชุมคณะกรรมการระดับ ปฐมวัย จัดประชุมคณะกรรมการและครูอนุบาล เดือนละ ๒ – ๓ ครั้ง เพื่อก้ากับติดตามผลการปฏิบัติงานของครู ๓. งานนิเทศ อบรม สัมมนา ผู้บริหาร ครู โดยผู้บริหารเข้ารับการอบรมร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อน้า ความรู้มาพัฒนาการบริหารงานให้เกิดประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ๔. งานประเมินผลเชิงคุณภาพบุคลากร จัดประเมิน ผลการปฏิบัติหน้าที่ของครูเป็นรายบุคคลทุกภาคเรียน โดยหัวหน้าระดับ และหัวหน้าฝุายวิชาการ เป็นผู้ประเมิน น้าผลการประเมินมาจัดอันดับคุณภาพในการปฏิบัติงาน ของครูและสรุปผลการประเมินสิ้นปีการศึกษา ๕. งานส้ารวจความพอใจและการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัย มีการประเมินความพึงพอใจของผู้ปกครอง เกี่ยวกับการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัย น้าผลการประเมินมาพัฒนาและปรับปรุงการบริหารงานให้มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับความต้องการของผู้ปกครองและชุมชน ท้องถิ่น ๒. ผลการพัฒนา จากการจัดโครงการ งาน ดังกล่าว พบว่า ผู้บริหารเข้าใจปรัชญาและหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย มีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้น้า มีความ คิดริเริ่ม ที่เน้นการพัฒนาเด็กปฐมวัย ใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม ใช้ข้อมูล ผลการประเมินหรือผลการวิจัย เป็นฐานคิดทั้งด้านวิชาการและการจัดการ สามารถบริหารจัดการศึกษาให้บรรลุ เปูาหมายตามที่ก้าหนดในแผนปฏิบัติการ และ ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและ เกิดประสิทธิผล มีผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานที่ ๖ อยู่ในระดับดีเยี่ยม ๓. แนวทางการพัฒนาในอนาคต ผู้บริหารเข้ารับการอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน อย่างต่อเนื่อง เพื่อน้าความรู้มาพัฒนาการบริหารหลักสูตร และการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น


๑๒๒

มาตรฐานที่ ๗ แนวการจัดการศึกษา ตัวบ่งชี้ ๗.๑ มีหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนและน้าสู่การปฏิบัติ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๗.๒ มีระบบและกลไกให้ผู้มีส่วนร่วมทุกฝุายตระหนักและเข้าใจ หลักการจัดการศึกษาปฐมวัย ๗.๓ จัดกิจกรรมเสริมสร้างความตระหนักรู้และความเข้าใจหลักการ จัดการศึกษาปฐมวัย ๗.๔ สร้างการมีส่วนร่วมและแสวงหาความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน และท้องถิ่น ๗.๕ จัดสิ่งอ้านวยความสะดวกเพื่อพัฒนาเด็กอย่างรอบด้าน ผลรวมคะแนนมาตรฐานที่ ๗

ระดับที่ได้

น้าหนัก (คะแนน)

คะแนน ที่ได้

๓.๒

๓.๒

๕ ๕

๔ ๒๐

๔ ๑๘.๔๐

ร่องรอยความพยายาม โครงการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน ๑. งานพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ๒. งานปฐมนิเทศผู้ปกครอง ๓. งานแบบสอบถามความคิดเห็นผู้ปกครอง ๔. งานจัดสิ่งอ้านวยความสะดวกเพื่อพัฒนาเด็ก ๑. วิธีการพัฒนา โรงเรียนจัด กิจกรรมเสริมสร้างประสบการณ์ด้านการเรียนรู้แก่เด็กอย่างเต็มศักยภาพ โดยจัดโครงการ พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน ประกอบด้วยงานต่างๆ ดังนี้ ๑. งานพัฒนาหลักสูตรโรงเรียน ครูระดับปฐมวัยได้ด้าเนินการจัดท้าหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของ โรงเรียนที่มุ่งเน้นการพัฒนาเด็กทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ – จิตใจ สังคม และสติปัญญา ๒. งานปฐมนิเทศผู้ปกครอง ระดับอนุบาล ๑ – ๓ มีการประชุมชี้แจงนโยบายและแนวการจัดการศึกษา ปฐมวัย ๓. งาน แบบสอบถามความคิดเห็นผู้ปกครอง เพื่อให้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ให้กับ เด็กปฐมวัย และทราบความต้องการของผู้ปกครองและชุมชนที่มีผลต่อการพัฒนาโรงเรียน ๔. งานจัดสิ่งอ้านวยความสะดวกเพื่อพัฒนาเด็ก ครูจัดหาสิ่งอ้านวยความสะดวกและสร้างบรรยากาศ สิ่งแวดล้อมเพื่อกระตุ้นและส่งเสริมให้เด็กเกิดการเรียนรู้และพัฒนาเด็กอย่างรอบด้าน ๒. ผลการพัฒนา จากการที่โรงเรียนได้น้าหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยมาจัดท้าเป็นหลักสูตร ของโรงเรียนที่มุ่งเน้นการพัฒนา เด็กทุกด้าน ส่งผลให้โรงเรียนมีหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของ โรงเรียน และน้าสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีระบบกลไกให้ผู้มีส่วนร่วมทุกฝุายตระหนัก และเข้าใจการจัดการศึกษาปฐมวัย สร้างการมีส่วนร่วมและแสวงหา ความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน และท้องถิ่น รวมทั้งจัดสิ่งอ้านวยความสะดวกความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน และท้องถิ่น รวมทั้งจัดสิ่งอ้านวยความสะดวกเพื่อพัฒนาเด็กอย่างรอบด้าน มีผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานที่ ๗ ในระดับ ดีเยี่ยม


๑๒๓

๓. แนวทางการพัฒนาในอนาคต โรงเรียนควรจัดกิจกรรมที่สร้างความตระหนักรู้ และเข้าใจในการจัดการศึกษาปฐมวัย ให้ผู้มีส่วนร่วมทุก ฝุาย ได้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และเปิดโอกาสให้ผู้ปกครอง ชุมชน ท้องถิ่น เข้ามามีส่วนร่วมและช่วยกันส่งเสริม พัฒนาเด็กอย่างรอบด้าน มาตรฐานที่ ๘ โรงเรียนมีการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนตามที่ก้าหนดในกฎกระทรวง ตัวบ่งชี้ ๘.๑ ก้าหนดมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียน ๘.๒ จัดท้าและด้าเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ของโรงเรียนที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน ๘.๓ จัดระบบข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศในการบริหาร จัดการ ๘.๔ ติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการด้าเนินงานคุณภาพ ภายในตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน ๘.๕ น้าผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้ วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ๘.๖ จัดท้ารายงานประจ้าปีที่เป็นรายงานการประเมิน คุณภาพภายใน ผลรวมคะแนนมาตรฐานที่ ๘

ระดับที่ได้

น้าหนัก (คะแนน)

คะแนน ที่ได้

๐.๘

๐.๕

๐.๔

๐.๕

๐.๕

๔.๗๐

ร่องรอยความพยายาม โครงการประกันคุณภาพภายใน ๑. งานจัดท้ามาตรฐานการศึกษาปฐมวัย ๒. งานจัดท้าแผนปฏิบัติการประจ้าปี ๓. งานจัดท้าสารสนเทศ ๔. งานติดตาม ตรวจสอบประเมินคุณภาพภายในโรงเรียน ๕. งานจัดท้ารายงานประจ้าปี ( SAR) ๑. วิธีการพัฒนา โรงเรียนจัดท้าประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนตามที่ก้าหนดในกฎกระทรวง โดยจัดโครงการประกัน คุณภาพภายใน ประกอบด้วยงานต่าง ๆ ดังนี้ ๑. งานจัดท้ามาตรฐานการศึกษาปฐมวัย ม ีการวางแผนจัดระบบการบริหารจัดการให้งานบรรลุ เปูาหมายในการพัฒนาคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐานที่ต้องการโดยน้ามาตรฐานการศึกษาปฐมวัย มาตรฐานด้าน การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของโรงเรียน และมาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม มาจัดท้า แผนยุทธศาสตร์เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาระดับปฐมวัยให้มีคุณภาพ ๒. งานจัดท้าแผนปฏิบัติการประจ้าปี ฝุายบริหารจัดการระดับปฐมวัย จัดท้าค้าสั่งแต่งตั้ง ผู้ประสานงาน ๖ ฝุาย และคณะกรรมการฝุายต่าง ๆ ได้แก่ ฝุายบริหารจัดการ ฝุายบุคลากร ฝุายวิชาการ ฝุาย


๑๒๔

กิจการนักเรียน ฝุายบริการแนะแนว และฝุายธุรการการเงิน จัดท้าแผนปฏิบัติการประจ้าปีสอดคล้องกับมาตรฐาน การศึกษาปฐมวัย รวมทั้งก้าหนดปฏิทินแผนปฏิบัติการและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพงาน ๓. งานจัดท้าสารสนเทศ ด้าเนินการจัดเก็บ รวบรวมข้อมูล สถิตินักเรียน ครู บุคลากร โครงการ งาน กิจกรรม และเอกสารต่างๆ อย่างเป็นระบบ สามารถน้าข้อมูลของระดับปฐมวัยส่งให้แก่โรงเรียน เพื่อน้าไป เผยแพร่ให้กับผู้ปกครอง และชุมชนรับทราบต่อไป ๔. งานติดตาม ตรวจสอบ ประเมินคุณภาพภายในโรงเรียน จัดให้มีการติดตาม ตรวจสอบ ผลการน้า มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยไปด้าเนินการตามด้านมาตรฐาน ๕ ด้าน และสรุป รายงานผลการด้าเนินงานให้ ผู้เกี่ยวข้องรับทราบ ๕. งานจัดท้ารายงานประจ้าปี ( SAR) น้าผลการด้าเนินงานตามมาตรฐานทั้ง ๕ ด้านมาจัดท้ารายงาน ประจ้าปีเมื่อสิ้นปีการศึกษา น้าสิ่งที่ควรปรับปรุงมาแก้ไขและเป็นแนวทางในการพัฒนางานในปีการศึกษา และ เผยแพร่แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๒. ผลการพัฒนา การจัดท้างานการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียน มีการก้าหนดมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย มีการ จัดท้าแผนปฏิบัติงานที่มุ่งพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน จัดระบบข้อมูลสารสนเทศในการจัดบริหาร จัดการให้เกิดการพัฒนาคุณภาพ มีการติดตามตรวจสอบและประเมินผลตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน น้าผลการประเมินคุณภาพทั้งภายใน ภายนอกไปใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพ จัดท้ารายงานประจ้าปี ( SAR) อย่างต่อเนื่อง มีผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานที่ ๘ ในระดับดีเยี่ยม ๓. แนวทางการพัฒนาในอนาคต พัฒนาการด้าเนินงานโครงการ / งาน / กิจกรรม ของฝุายน้าไปปฏิบัติให้ตรงตามระยะเวลาที่ก้าหนด ในปฏิทินการปฏิบัติงาน

ด้านที่ ๓ มาตรฐานด้านคุณภาพการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๙ โรงเรียนมีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้โรงเรียนเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้

ระดับที่ได้

น้าหนัก (คะแนน)

คะแนน ที่ได้

๙.๑ เป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กและ บุคลากรในโรงเรียน

๒.๕

๒.๕

๙.๒ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันภายในโรงเรียน ระหว่างโรงเรียนกับครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่ เกี่ยวข้อง ผลรวมคะแนนมาตรฐานที่ ๙


๑๒๕

ร่องรอยความพยายาม โครงการสานสัมพันธ์กับชุมชน ๑. งานบริการและช่วยเหลือชุมชน ๒. งานประชาสัมพันธ์ ๓. งานส่งเสริมการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ๑. วิธีการพัฒนา โรงเรียนจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้โรงเรียนเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ โดยจัดโครงการสานสัมพันธ์กับชุมชน ประกอบด้วยงานต่างๆ ดังนี้ ๑. งานบริการและช่วยเหลือชุมชน จัดบริการห้ องเรียนรู้บูรณาการ เพื่อให้ผู้ปกครอง เด็ก และครู สามารถยืม หนังสือนิทานกลับไปอ่านที่บ้าน ทุกวันจันทร์ - ศุกร์ จัดปูายความรู้ ๑๐ ประเทศ ในกลุ่มอาเซียนที่ให้ เด็กเรียนรู้ อาทิ สัญลักษณ์ของประเทศต่าง ๆ ชุดแต่งกายประจ้าชาติ ธงประจ้าชาติ ดอกไม้ประจ้าชาติ และสัตว์ ประจ้าชาติ บริการอาคารสถานที่ ให้ กับหน่วยงานภายนอกเข้ามาจัดกิจกรรมให้ความรู้กับเด็กตามโอกาสต่าง ๆ เช่น เป็นสถานที่จัดการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมระดับปฐมวัย (โรงเรียนเอกชน) เปิดโอกาสให้โรงเรียนลาซาล จันทบุรี (มารดาพิทักษ์) มาศึกษาดูงานระดับปฐมวัย ส่งเด็กเข้าร่วมการประกวดและแข่งขันกับหน่วยงานภายนอก เช่น การประกวดเดินแบบหนูน้อย KAP งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนจังหวัดนครสวรรค์ ครั้งที่ ๖๔ และงานวันเด็ก เมืองพระบาง ๒. งานประชาสัมพันธ์ มีการ จัดบอร์ดให้ความรู้ประชาสัมพันธ์ข่าวสารและวันส้าคัญต่างๆ จัดท้า จดหมาย ถึงผู้ปกครอง วารสาร ลาซาล เพื่อประชาสัมพันธ์ข่าวสารข้อมูล การด้าเนินงานของโรงเรียน ปีการศึกษาละ ๒ ครั้ง ๓. งานส่งเสริมการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เชิญวิทยาก รภายนอก มาสาธิตและให้ความรู้เกี่ยวกับ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น การเพาะปลูกถั่วงอกโดยใช้ใบตอง การท้าขนมกล้วยฉาบ และการท้าน้​้านมถั่วเหลือง เป็นต้น ๒. ผลการพัฒนา โรงเรียนได้จัดโครงการงานที่ส่งเสริม สนับสนุนให้โรงเรียนเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ส่งผลให้เกิดการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันภายในโรงเรียน เปิดโอกาสให้ชุมชนและหน่วยงานภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในการ พัฒนาการเรียนรู้ของเด็ก มีผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานที่ ๙ ในระดับดีมาก ๓. แนวทางการพัฒนาในอนาคต พัฒนาการจัดแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน เชิญวิทยากรภูมิปัญญาท้องถิ่นและหน่วยงานภายนอก มาให้ความรู้ที่หลากหลาย และจัดกิจกรรมร่วมกันระหว่างโรงเรียนกับชุมชนเพื่อร่วมกันพัฒนาเด็กให้เกิดการ เรียนรู้มากขึ้น


๑๒๖

ด้านที่ ๔ มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๑๐ การพัฒนาโรงเรียนให้บรรลุเปูาหมายตามปรัชญา วิสัยทัศน์ และจุดเน้นของการศึกษา ปฐมวัย ตัวบ่งชี้

ระดับที่ได้

น้าหนัก (คะแนน)

คะแนน ที่ได้

๒.๔๐

๔ ๔

๒ ๕

๑.๖๐ ๔.๐๐

๑๐.๑ ปลูกฝังและส่งเสริมให้มีกิริยาการไหว้ที่อ่อนน้อมสวยงามตาม มารยาทไทย ๑๐.๒ รู้จักแสดงความเคารพ พ่อ แม่ และผู้ใหญ่ได้เหมาะสมกับวัย ผลรวมคะแนนมาตรฐานที่ ๑๐

ร่องรอยความพยายาม โครงการปลูกฝังและส่งเสริมมารยาทการไหว้ ๑. งานหนูน้อยไหว้สวย ๑. วิธีการพัฒนา โรงเรียนวางแผน การพัฒนาโรงเรียนให้บรรลุเปูาหมาย วิสัยทัศน์ จุดเน้น โดยก้าหนดอัตลักษณ์ของระดับ ปฐมวัย เพื่อให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่ต้องการ ส่งผลให้เด็กมีจุดเด่นในทางที่ดีต่อตนเอง แสดงออกอย่าง เหมาะสมตามวัย และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข จึงด้าเนินโครงการปลูกฝังและส่งเสริมมารยาทการไหว้ ประกอบด้วย งานหนูน้อยไหว้สวย ครูระดับปฐมวัยทุกคนร่วมกันชี้แนะและชี้น้าเมื่อเห็นเด็กปฏิบัติตนไม่ถูกต้อง ติดปูายประชาสัมพันธ์ข้อตกลงที่เด็กต้องปฏิบัติไว้ในจุดที่เห็นชัดเจน ครูประจ้าชั้นติดตาม ตรวจสอบ ทบทวนเด็ก ตามข้อตกลงภาคเรียนละ ๑ ครั้ง และด้าเนินการประเมินผลความพึงพอใจในการขับเคลื่อนอัตลักษณ์ที่เกิดกับเด็ก เมื่อสิ้นปีการศึกษา ๒. ผลการพัฒนา เด็กมีพัฒนาการครบทุกด้านทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ – จิตใจ สังคม และสติปัญญา มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตนเหมาะสมตามวัฒนธรรมไทย มีมารยาทในการแสดงความเคารพต่อพ่อ แม่ ครู และผู้อื่นได้เหมาะสม กับวัย มีผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานที่ ๑๐ ในระดับดีมาก ๓. แนวทางการพัฒนาในอนาคต จัดกิจกรรมการเรียนการสอนสอดแทรกเนื้อหา เกี่ยวกับ มารยาทที่ดีและถูกต้อง รวมถึงการอบรมส่งเสริม และปลูกฝังในด้านอัตลักษณ์ของระดับปฐมวัยให้เป็นแบบอย่างที่ดีให้เด็กได้ฝึกปฏิบัติตนตามแนวทางที่ถูกต้อง

ด้านที่ ๕ มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม มาตรฐานที่ ๑๑ การพัฒนาโรงเรียนตามนโยบาย และแนวทางปฏิรูปการศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้น ตัวบ่งชี้

๑๑.๑ เพื่อส่งเสริมให้เด็กได้เรียนรู้วิธีการปลูกผักปลอดสารพิษ ไว้รับประทาน ๑๑.๒ เพื่อให้เด็กมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงรู้จักเลือกรับประทาน อาหารที่ปลอดจากสารพิษ ผลรวมคะแนนมาตรฐานที่ ๑๑

ระดับที่ได้

น้าหนัก (คะแนน)

คะแนน ที่ได้

๑.๖๐

๔.๖๐


๑๒๗

ร่องรอยความพยายาม โครงการส่งเสริมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๑. งานปลูกผักปลอดสารพิษ ๑. วิธีการพัฒนา โรงเรียนจัดกิจกรรมที่ช่วยพัฒนาเด็กตามนโยบายและแนวทางปฏิรูปการศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพ โดย จัดโครงการส่งเสริมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วย ๑. งานปลูกผักปลอดสารพิษ เด็กแต่ละห้องเรียนรู้วิธีการปลูกฝักปลอดสารพิษไว้รับประทานในแต่ ละระดับชั้น เด็กได้ปฏิบัติจริงและเรียนรู้ในรูปแบบของโครงการ Project approach ซึ่งจัดให้เด็กแต่ละห้องได้ หมุนเวียนเปลี่ยนมาปลูกผักปลอดสารพิษที่แปลงเกษตรปฐมวัย โดยปฐมวัยปีที่ ๑ ปลูกถั่วงอกและต้นหอม ปฐมวัย ปีที่ ๒ ปลูกผักบุ้ง และผักกาด และปฐมวัยปีที่ ๓ ปลูกคะน้าและแตงกวา ผักที่เจริญเติบโตเต็มที่จะน้ามาประกอบ อาหารกลางวันและส่วนหนึ่งน้าไปขายเพื่อน้ารายได้ไป จัดซื้อสื่อ / อุปกรณ์ ไว้ใช้ ประกอบการเรียนการสอนให้กับ เด็ก ๒. ผลการพัฒนา จากการด้าเนินโครงการ ส่งผลให้เด็กได้เกิดการเรียนรู้และลงมือปฏิบัติจริง รู้จักการด้าเนินตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การประหยัด การประเมินคุณภาพมาตรฐานที่ ๑๑ ในระดับ ดีมาก ๓. แนวทางการพัฒนาในอนาคต จัดกิจกรรมที่ปลูกฝังและส่งเสริมให้เด็กได้ตระหนักถึงคุณค่าของสิ่งต่างๆ โดยน้อมน้าหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ เพื่อสร้างค่านิยมที่ดีและปลูกฝังการมีคุณธรรมขั้นพื้นฐานให้กับเด็ก

มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้านที่ ๑ มาตรฐานด้านคุณภาพนักเรียน มาตรฐานที่ ๑ นักเรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ ตัวบ่งชี้ ๑.๑ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพ และออกก้าลังกายสม่้าเสมอ ๑.๒ มีน้าหนัก ส่วนสูง และ มีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ มาตรฐาน ๑.๓ ปูองกันตนเองจากสิ่งเสพติด ให้โทษและหลีกเลี่ยงตนเองจาก สภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุ และปัญหา ทางเพศ ๑.๔ เห็นคุณค่าในตนเองมีความ มั่นใจ กล้าแสดงออกอย่าง เหมาะสม ๑.๕ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้ เกียรติผู้อื่น

จานวน นร. / ครู ที่อยู่ในระดับ ๓ขึ้นไป

จานวน นร. / ครู ทั้งหมด

ร้อยละที่ได้

น้าหนัก ( คะแนน )

คะแนน ที่ได้

๓,๕๔๖

๓,๖๖๐

๙๖.๘๙

๐.๕

๐.๔๘

๓,๖๔๘

๓,๖๖๐

๙๘.๕๕

๐.๕

๐.๔๙

๓,๖๕๗

๓,๖๕๗

๙๖.๕๕

๐.๙๗

๓,๖๕๗

๓,๖๕๗

๘๖.๖๕

๐.๘๗

๓,๖๕๗

๓,๖๕๗

๘๖.๖๕

๐.๘๗


๑๒๘ ตัวบ่งชี้ ๑.๖ สร้างผลงานจากการเข้าร่วม กิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป์ กีฬา/นันทนาการตามจินตนาการ ๑.๗ มีสุขภาพ จิตใจร่าเริง แจ่มใส มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับครู เพื่อน และบุคคลทั่วไป ผลรวมคะแนนมาตรฐานที่ ๑

จานวน นร. / ครู ที่อยู่ในระดับ ๓ขึ้นไป ๓,๖๕๗

จานวน นร. / ครู ทั้งหมด ๓,๖๕๗

ร้อยละที่ได้

๓,๕๐๘

๓,๖๖๐

๙๖.๘๕

๘๖.๖๕

๙๑.๙๙

* หมายเหตุ ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ - ๑.๖ ก้าหนดในมาตรฐานการประเมินคุณภาพภายใน ตัวบ่งชี้ท่ี ๑.๗ ก้าหนดเพิ่มในมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนไม่น้ามาคิดค่าน้​้าหนักและคะแนน

๕.

ร่องรอยความพยายาม ๑. โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ๑.๑ งานตรวจสุขภาพนักเรียนจากครูประจ้าชั้นและเจ้าหน้าที่อนามัย ๑.๒ งานจัดปูายนิเทศด้านอนามัยและต่อต้านสิ่งเสพติด ๑.๓ งานจัดสบู่ไว้ส้าหรับบริการนักเรียน ๑.๔ งานทันตสาธารณสุขภาพในโรงเรียนและประกวดลาซาลฟันสวย ๑.๕ งานติดตามภาวะโภชนาการนักเรียนและแก้ปัญหาเด็กอ้วน ๑.๖ งานปลอดลูกน้​้ายุงลายในโรงเรียน ๑.๗ งานจัดบริการปฐมพยาบาลพร้อมเวชกรรมไว้บริการแก่นักเรียน ๒. โครงการโรงเรียนสีขาว ๒.๑ งานรณรงค์ปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (To be number one) ๒.๒ งานติดตามพฤติกรรมนักเรียน ๒.๓ งานอบรมอดเปรี้ยวไว้กินหวาน ๒.๔ งานใช้อินเตอร์เน็ตอย่างไรให้มีคุณค่า ๒.๕ งานรณรงค์วันเอดส์โลก ๓. โครงการลาซาเลี่ยนเกมส์ ครั้งที่ ๔๐ ๔. โครงการสุนทรียภาพ ๔.๑ งานร่วมกิจกรรมศิลปวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น โครงการเสริมทักษะด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา ๕.๑ งานแข่งขันด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา

น้าหนัก ( คะแนน ) ๑

คะแนน ที่ได้ ๐.๘๗

๔.๕๕


๑๒๙

๑.

วิธีการพัฒนา โรงเรียนจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ โดยจัดโครงการดังนี้ ๑ . โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ประกอบด้วยงานต่อไปนี้ ๑.๑ งานตรวจสุขภาพนักเรียนจากครูประจ้าชั้นและเจ้าหน้าที่อนามัย ครูประจ้าชั้นตรวจสุขภาพนักเรียน ชั้น ป.๑ – ม.๓ ทุกวันหลังเข้าแถวเคารพธงชาติ เพื่อคัดกรองนักเรียนเกี่ยวกับการเจ็บปุวย เมื่อพบปัญหา จะให้ค้าแนะน้าช่วยเหลือ โรงเรียนได้รับความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่อนามัยฝุายเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลสวรรค์ ประชารักษ์ เจ้าหน้าที่อนามัยศูนย์แพทย์ชุมชนเมืองวัดไทรใต้และศูนย์แพทย์ชุมชนเมืองวัดไทรใต้ดูแลรักษา สุขภาพฟัน แก่นักเรียนชั้น ป.๑ – ๖ ตรวจสุขภาพเพื่อหาภาวะโลหิตจางแก่นักเรียนชั้น ป.๑ – ม.๓ มีการเสริม วัคซีนให้กับนักเรียนชั้น ป.๑ จ้านวน ๓๖๗ คน ได้รับการเสริมวัคซีนเพื่อปูองกันคอตีบ บาดทะยัก ไอกรนและ โปลิโอ ( DTP , OPV ) ได้รับวัคซีนหัดเยอรมันและคางทูม ( MMR ) ร้อยละ ๙๘.๓๗ และด้าเนินการฉีดวัคซีน ปูองกันคอตีบ บาดทะยัก ( DTP , OPV ) ให้กับนักเรียนชั้น ป.๖ ที่ผู้ปกครองอนุญาต จ้านวน ๓๒๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๖.๖๘ ๑.๒ งานจัดปูายนิเทศ ด้านอนามัยและ ต่อต้านสิ่งเสพติด จัดปูายนิเทศเพื่อเผยแพร่ความรู้แก่นักเรียน เดือนละ ๒ ครั้ง ทั้งด้านอนามัย การรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ โทษของสิ่งเสพติด โรคไข้เลือดออกโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ๒๐๑๐ ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ โรคมือ เท้า ปาก เปื่อย และการปรับตัวในการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข และข่าวสารการศึกษาต่อในสถาบันต่างๆ ๑.๓ งานจัดสบู่ไว้ส้าหรับบริการนักเรียน จัดบริการสบู่ไว้บริการนักเรียนทุกร ะดับ ชั้น อ.๑ – ๓ จัดบริการในทุกห้องเรียน บริเวณอ่างล้างมือที่สนามเด็กเล่น โรงอาหาร ชั้น ป.๑ – ๖ จัดบริการที่อ่างล้างมือและ ห้องน้​้า ชั้น ม.๑ – ๖ ครูมอบหมายให้นักเรียนแกนน้า อย.น้อย ร่วมกับนักเรียนชุมนุมวิทยาศาสตร์ จัดท้าสบู่ เหลว จัดซื้อสบู่ก้อนไว้บริการแก่นักเรียน นักเรียนแกนน้า อย.น้อย ประชาสัมพันธ์และสอนการล้างมือ ที่ถูกสุขลักษณะ ๗ ขั้นตอน รณรงค์รักษาความสะอาดอาคารเรียน ห้องปฏิบัติงาน สนามเด็กเล่นและสถานที่ ต่าง ๆ เผยแพร่ความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ และติดตามภาวะการเจ็บปุวยของนักเรียนและรายงานผลทุกวัน ๑.๔ งานทันตสาธารณสุขภาพในโรงเรียน และประกวดลาซาลฟันสวย นักเรียนชั้น อ.๑ – ๓ แปรงฟัน หลังรับประทานอาหารกลางวัน ครูประจ้าชั้นและครูที่สอนในวิชาสุขศึกษาสอนวิธีการรักษาความสะอาดในช่อง ปากแก่นักเรียนชั้น ป.๑ – ๖ เจ้าหน้าที่อนามัยให้บริการตรวจทันตกรรมแก่นักเรียนชั้น จ้านวน ๑, ๘๒๐ คน ผลการติดตามตรวจสุขภาพ พบนักเรียนฟันแท้ผุ จ้านวน ๓๙๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๑.๕๙ เคลือบหลุมร่อง ฟัน จ้านวน ๓๙๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๑.๔๓ ต้องรักษาเร่งด่วน จ้านวน ๑๒๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๗๖ และมีนักเรียนเหงือกอักเสบ จ้านวน ๑๐๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๕.๖๖ ๑.๕ งานติดตามภาวะโภชนาการนักเรียน และแก้ปัญหาเด็กอ้วน นักเรียนชั้น อ.๑ – ๓ ชั่งน้​้าหนักและวัด ส่วนสูงทุก ๆ ๒ เดือน ชั้น ป.๑ – ม.๖ ชั่งน้​้าหนักและวัดส่วนสูง ภาคเรียนละ ๑ ครั้ง ตลอดปีการศึกษาพบ นักเรียนตั้งแต่ ชั้น อ.๑ – ม.๖ มีน้าหนักน้อย ร้อยละ ๑.๐๓ เริ่มอ้วนและน้​้าหนักเกินเกณฑ์ ร้อยละ ๑๙.๑๙ และนักเรียนที่มีน้าหนักตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ ๗๕.๒๕ โรงเรียนแก้ไขปัญหานักเรียนที่มีน้าหนักต่้ากว่า เกณฑ์และเกินเกณฑ์มาตรฐาน โดยครูประจ้าชั้นแนะน้าการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ออกก้าลังกาย อย่างสม่้าเสมอส้าหรับนักเรียนที่มีน้าหนักเกินเกณฑ์ และมี การทดสอบสมรรถภาพทางกายโดยครูพลศึกษา และบันทึกผลการทดสอบ ภาคเรียนละ ๑ ครั้ง จัดท้าแบบสังเกตพฤติกรรมในการมีนิสัยในการดูแลสุขภาพ และออกก้าลังกาย แบบประเมินพฤติกรรมการกล้าแสดงออก และการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดีของนักเรียน โดยครูประจ้าชั้นเป็นผู้บันทึกพฤติกรรม ๑.๖ งาน ปลอดลูกน้​้า ยุงลายในโรงเรียน โรงเรียนเฝูาระวัง ปูองกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก อย่างต่อเนื่องนักเรียนลูกเสือตั้งแต่ ชั้น ป.๑ – ๖ มีจิตอาสาในการ ร่วมรณรงค์ท้าลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้​้ายุงลาย


๑๓๐

บริเวณอาคารเรียนของตนเองในชั่วโมงกิจกรรมลูกเสือ เปลี่ยนและล้างภาชนะบรรจุน้าในห้องน้​้าทุกเดือนและใส่ ทรายอะเบท เชิญเจ้าหน้าที่เทศบาลเมืองนครนครสวรรค์มาพ่นสารเคมีก้าจัดยุง ประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย จัดบอร์ดเผยแพร่ความรู้ เฝูาระวังท้าลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้​้าทั้งที่บ้านและโรงเรียน เพื่อลดปริมาณลูกน้​้ายุงลาย และการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ๑.๗ งานจัดบริการปฐมพยาบาลพร้อมเวชกรรมไว้บริการแก่นักเรียนโรงเรียนจัดห้องพยาบาลจ้านวน ๒ ห้อง มีครูอนามัย ๓ คน ไว้บริการดูแลนักเรียน และ บุคลากรทุกคนที่มีอาการเจ็บปุวย มีการติดต่อ ประสานงานเจ้าหน้าที่อนามัยและอ้านวยความสะดวกแก่เจ้าหน้าที่ที่มาปฏิบัติงานตรวจสุขภาพนักเรียนต ลอดปี การศึกษาจัดท้าสถิติการเจ็บปุวยอย่างเป็นระบบ ในกรณีที่เกิดเจ็บปุวยหรือได้รับอุบัติเหตุจะถูกน้าส่งต่อไปรักษา ยังโรงพยาบาลใกล้เคียงหรือโรงพยาบาลที่ผู้ปกครองมีความประสงค์ ผลการด้าเนินงานท้าให้นักเรียนของโรงเรียน ได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด ๒. กิจกรรมรณรงค์ปูองกันแก้ไขปัญหายาเสพติด จัดกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ การรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ การให้ค้าสัตยาบันต่อต้านยาเสพติด การแข่งขันกีฬา ดนตรี กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษของยาเสพติดจากครู วิทยากรพิเศษและต้ารวจ ด้าเนินการประชุมผู้ปกครองอย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง ครูและผู้ปกครองมีโอกาสได้ พบกัน เพีอ่ แก้ไขพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม โรงเรียนด้าเนินการแจ้งพฤติกรรมให้ผู้ปกครองทราบทันท่วงที ๓. โครงการเสริมทักษะด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา ประกอบด้วย งานแข่งขันด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา ครูกลุ่มสาระศิลปะ สุขศึกษาและพลศึกษา จัดกิจกรรมเสริมทักษะด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ และกีฬาประเภท ต่างๆทั้งในและนอกเวลาเรียน จัดกิจกรรมนันทนาการเพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการรณรงค์ อนุรักษ์ ช่วยเหลือ สังคม และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์จัดการแข่งขันด้านศิลปะ ดนตรีนาฏศิลป์ และกีฬาประเภทต่างๆ เช่น แข่งขันกีฬาช่วงพักกลางวัน กีฬาสีภายในโรงเรียน กีฬาฟุตซอล สตรีทบาส และการละเล่นแบบไทย นักเรียนเข้า ร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี กีฬาทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนตามโอกาส และประกาศยกย่องและมอบ รางวัลแก่นักเรียนที่สร้างชื่อเสียง ๒. ผลการพัฒนา จากการด้าเนินโครงการ งาน กิจกรรม ส่งผลให้นักเรียนมีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพ รักการออกก้าลังกาย มีน้าหนัก ส่วนสูง มีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน ปูองกันตนเองจากสิ่งเสพติด ให้โทษและหลีกเลี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุ ปัญหาทางเพศ เห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับครู เพื่อน และบุคคลทั่วไป สร้างผลงานจากการเข้าร่วม กิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ ในด้านการจัดการปฐมพยาบาลและเวชกรรมเบื้องต้น นักเรียนที่เจ็บปุวย ได้รับการดูแลและปฐมพยาบาลเบื้องต้น มีผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานที่ ๑ ในระดับดีเยี่ยม ๓. แนวทางการพัฒนา ๑. งานติดตามภาวะโภชนาการนักเรียน แต่ละระดับควรมีการประชุมชี้แจงถึงปัญหาของโรคอ้วน ครูสุขศึกษาแนะน้าการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ครูพลศึกษาเน้นการออกก้าลังกายอย่างสม่้าเสมอ เชิญวิทยากรมาอบรมให้ความรู้ และจัดนิทรรศการเรื่องภัยร้ายจากโรคอ้วน ๒. ก้าหนดแผนพัฒนาครูในการให้ความรู้ ครูที่ปรึกษาให้การดูแลนักเรียน วิธีการคัดกรองนักเรียน กลุ่มเสี่ยง การติดตามท้าอย่างต่อเนื่อง และเพิ่มกิจกรรมส่งเสริมให้ตรงความต้องการของนักเรียน ๓. ครูทุกคนควรมีส่วนร่วมในการจัดท้าท้าเนียบคนเก่งแต่ละด้านเพื่อส่งต่อข้อมูลเพื่อใช้พัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง ส่งเสริมนักเรียนให้ส้านึกถึงความเป็นไทย และเผยแพร่ผลงานนักเรียนต่อสาธารณชนมากขึ้น ๔. นักเรียนที่ไม่ชอบท้ากิจกรรม ควรฝึกท้ากิจกรรมบ่อยๆ ควรมีการส่งเสริมการเล่นกีฬาให้เด็กให้มากขึ้น ๕. นักเรียนที่มีความสามารถในด้านดนตรี และศิลปะ ควรส่งเสริมให้นักเรียนสร้างชิ้นงานด้วยตนเองอย่าง ต่อเนื่อง


๑๓๑

๖. จัดแสดงผลงานนักเรียนด้านศิลปะ ๗. ส่ง บุคลากรเข้าร่วมอบรมเกี่ยวกับกฎกติกาการแข่งขันของกีฬาแต่ละประเภท เพราะกีฬาบางประเภท มีการเปลี่ยนแปลงกฎและกติกาเสมอ มาตรฐานที่ ๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ ๒.๑ มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตาม หลักสูตร ๒.๒ เอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญญู กตเวทีต่อผู้มีพระคุณ ๒.๓ ยอมรับความคิดและวัฒนธรรม ที่แตกต่าง ๒.๔ ตระหนัก รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์ และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ผลรวมคะแนนมาตรฐานที่ ๒

จานวน นร. / ครู ที่อยู่ในระดับ ๓ขึ้นไป ๓,๖๕๗

จานวน นร. / ครู ทั้งหมด ๓,๖๕๗

ร้อยละที่ได้ ๑๐๐

น้าหนัก ( คะแนน ) ๒

คะแนน ที่ได้ ๒

๓,๖๕๗

๓,๖๕๗

๙๙.๒๔

๐.๙๙

๓,๖๕๗

๓,๖๕๗

๙๙.๒๔

๐.๙๙

๓,๖๕๗

๓,๖๕๗

๙๙.๒๔

๐.๙๙

๙๙.๔๓

๔.๙๗

ร่องรอยความพยายาม ๑. โครงการพัฒนาระเบียบวินัยและความรับผิดชอบ ๑.๑ งานนักเรียนลาซาลมีวินัย ๑.๒ งานยกย่องนักเรียนท้าดี ๑.๓ งานอยู่พักแรม ลูกเสือ เนตรนารี ๑.๔ งานสภาและสารวัตรนักเรียน ๒. โครงการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ๒.๑ งานส่งเสริมคุณธรรม ๒.๒ งานนักเรียนลาซาลมีน้าใจ ๒.๓ งานส่งเสริมความกตัญญู ๒.๔ งานส่งเสริมมารยาทไทย ๓. โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ๓.๑ งานรณรงค์วันสิ่งแวดล้อมโลก ๓.๒ งานร่วมใจพัฒนาโรงเรียนและท้องถิ่น ๓.๓ งานประกวดห้องเรียนสะอาดสวยงาม ๓.๔ งานคัดแยกขยะ ๔. โครงการสุนทรียภาพ ๔.๑ งานร่วมกิจกรรมศิลปวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น ๑. วิธีการพัฒนา โรงเรียนจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประพฤติ ปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทยที่ดีงาม มีทักษะในการด้าเนินชีวิตที่ดี มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ปฏิบัติตน อยู่ในกฎระเบียบวินัยของโรงเรียน มีความเมตตา กรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เสียสละ แบ่งปันให้สังคมที่ด้อยกว่า ช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยาก ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนา ร่วมกิจกรรมทางศาสนา ได้รับการยกย่องเชิดชู


๑๓๒

รับเกียรติบัตรประพฤติดีในงานวันวิชาการของโรงเรียน เป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชนและสังคม มีความเคารพ กตัญญูรับฟังค้าแนะน้าของบิดา มารดา ญาติ และผู้ใหญ่ เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม รู้บทบาทหน้าที่ ของตน เคารพสิทธิเสรีภาพของผู้ของอื่น ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามระบอบประชาธิปไตย ไม่กระท้าตน ให้เป็นที่เดือนร้อนของบิดา มารดา ครู และสังคม เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่น ท้าให้โรงเรียนได้รับความไว้วางใจ จากผู้ปกครอง ส่งบุตรหลานเข้ามารับการอบรม สั่งสอนจากโรงเรียน ๒. ผลการพัฒนา จากการด้าเนินงาน โครงการ พบว่า นักเรียน มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร เอื้ออาทรผู้อื่น และกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ ยอมรับความคิด และวัฒนธรรมที่แตกต่าง รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนา สิ่งแวดล้อม มีระเบียบวินัย รับผิดชอบ รักษาความสะอาด และประหยัด มีผลการประเมินคุณภาพมาตรฐาน ที่ ๒ ในระดับดีเยี่ยม ๓. แนวทางการพัฒนา ๑. ครูทุกคนร่วมมือกันเคร่งครัดเรื่องระเบียบวินัยอย่างต่อเนื่อง ๒. ติดตามและปลูกฝังนักเรียนให้รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อลดภาวะโลกร้อน มาตรฐานที่ ๓ นักเรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ ๓.๑ มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหา ความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ และสื่อต่างๆรอบตัว ๓.๒ มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งค้าถามเพื่อค้นคว้า หาความรูเพิ ้ ่มเติม ๓.๓ เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุม่ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ ระหว่างกัน ๓.๔ ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ และน้าเสนอผลงาน ผลรวมคะแนนมาตรฐานที่ ๓

๑. ๒. ๓. ๔. ๑.

จานวน นร. / ครู ที่อยู่ในระดับ ๓ขึ้นไป

จานวน นร. / ครู ทั้งหมด

ร้อยละที่ได้

น้าหนัก ( คะแนน )

คะแนน ที่ได้

๓,๓๖๘

๓,๖๕๑

๙๒.๒๕

๑.๘๕

๓,๓๖๘

๓,๖๕๑

๙๒.๒๕

๐.๙๓

๓,๓๖๘

๓,๖๕๑

๙๒.๒๕

๐.๙๓

๓,๓๖๘

๓,๖๕๑

๙๒.๒๕

๐.๙๓

๙๒.๒๕

๔.๖๔

ร่องรอยความพยายาม โครงการรักการอ่านและการเรียนรู้ งานส่งเสริมการอ่านการเขียน (STEMS) งานอ่านเสริมเติมความรู้ (รักการอ่าน) งานเสริมทักษะการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้ งานส่งเสริม การใช้เทคโนโลยี และน้าเสนอผลงาน

วิธีการพัฒนา โรงเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริมให้ครูและนักเรียนอ่านหนังสือในตอนเช้าก่อนเข้าแถวและในเวลาว่าง นักเรียนจดบันทึกสิ่งที่อ่าน จัดแหล่งการเรียนรู้ ภายในอย่างหลากหลาย นักเรียนได้ศึกษาเพื่อพัฒนาตนเองตาม ความต้องการ จัดโครงการรักการอ่านและการเรียนรู้โดยจัดงานส่งเสริมการอ่านการเขียน ( STEMS) ให้นักเรียน


๑๓๓

ได้รับการพัฒนาทักษะการอ่าน และการเขียน มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด จากแ หล่งเรียนรู้ และ จากสื่อต่างๆรอบตัว จัดงานอ่านเสริมเติมความรู้ (รักการอ่าน)เพื่อให้นักเรียนมีทักษะ การอ่าน ฟัง พูด เขียนและทักษะการตั้งค้าถามจากการค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมจัดกิจกรรมเสริมทักษะการ สื่อสารเพื่อการเรียนรู้ นักเรียนเรียนรู้ร่วมกัน แลกเปลี่ยน เรียนรู้ภายในกลุ่มและต่างกลุ่ม ส่งเสริม การใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ การน้าเสนอผลงาน และใช้ในการแสวงหาความรู้ ๒. ผลการพัฒนา จากการด้าเนิน โครงการ กิจกรรม ครูมีการใช้นวัตกรรมส่งเสริมการอ่านอย่างต่อเนื่อง นักเรียนมีทักษะ ในการแสวงหาความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อเท็จจริงความคิดเห็นจากข่าวสารเอกสาร สื่อ สิ่งพิมพ์แผ่นศิลา ใบลานปูายโฆษณา สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ มีนิสัยรักการอ่าน มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียนและตั้งค้าถาม มีทักษะในการหาความรู้เพิ่มเติม สามารถเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม มีความรับผิดชอบในกิจกรรม มีทักษะในการใช้ เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้และน้าเสนอผลงานทั้งในและนอก โรงเรียน มี ผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานที่ ๓ ในระดับดีเยี่ยม ๓. แนวทางการพัฒนา ควรส่งเสริมการแสวงหาความรู้ด้วยการอ่านให้มาก และต่อเนื่องเพื่อพัฒนาให้นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้มากขึ้น มาตรฐานที่ ๔ นักเรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบคิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหา ได้อย่างมีสติสมเหตุผล ตัวบ่งชี้ ๔.๑ สรุปความคิดจากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู และสื่อสารโดยการพูด หรือเขียนตามความคิดของตนเอง ๔.๒ น้าเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหาด้วย ภาษา หรือวิธีการของตนเอง ๔.๓ ก้าหนดเปูาหมายคาดการณ์ ตัดสินใจแก้ปัญหาโดยมีเหตุผล ประกอบ ๔.๔ มีความคิดริเริ่ม และสร้างสรรค์ ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ ผลรวมคะแนนมาตรฐานที่ ๔

จานวน นร. / ครู ที่อยู่ในระดับ ๓ขึ้นไป

จานวน นร. / ครู ทั้งหมด

ร้อยละที่ได้

น้าหนัก ( คะแนน )

คะแนน ที่ได้

๓,๕๐๘

๓,๖๕๑

๙๖.๑๐

๑.๙๒

๓,๕๐๘

๓,๖๕๑

๙๖.๑๐

๐.๙๖

๓,๕๐๘

๓,๖๕๑

๙๖.๑๐

๐.๙๖

๓,๕๐๘

๓,๖๕๑

๙๖.๑๐

๐.๙๖

๙๖.๑๐

๔.๘๐

ร่องรอยความพยายาม โครงการส่งเสริมทักษะการคิด ๑. งานพัฒนาทักษะการคิด ๒. งานจัดท้าโครงงาน ๓. งานจัดท้าแฟูมสะสมผลงาน ๔. งานวันสุนทรภู่ ๕. งานสัปดาห์วิทยาศาสตร์ ๑. วิธีการพัฒนา โรงเรียนจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส้าคัญ โดยครูผู้สอนทบทวนจุดเน้นของรายวิชา ร่วมออกแบบ กิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนได้ฝึกความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้


๑๓๔

อย่างมีสติ มีเหตุผล จัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมพัฒนาทักษะการคิด ได้แก่ กิจกรรมการเปรียบเทียบ การจัดล้าดับ การเล่าเรื่อง และการสร้างแผนผังความคิด ส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนรู้เพื่อฝึกทักษะการคิด ทุกรายวิชา รวมทั้งส่งเสริมให้นักเรียนเรียนรู้โดยท้าโครงงานในรายวิชาต่างๆ การจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการ แก้ปัญหา การสอนแบบสืบสวนสอบสวน การสอนแบบโครงงาน จัดกิจกรรมให้นักเรียนวิเคราะห์ข่าวตาม สถานการณ์ต่างๆ จัดประกวดยอดนักคิด จัดแข่งขันตามกลุ่มสาระ ฝึกการเรียนรู้จากโครงงาน ฝึกแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน มีการสืบค้นข้อมูล รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล จัดอันดับความส้าคัญของปัญหา พิจารณาแก้ปัญหาตามระดับความส้าคัญอย่างมีเหตุผล จัดโครงการส่งเสริมทักษะการคิดให้นักเรียนฝึกสรุป สาระส้าคัญและน้าเสนอความคิดด้วยวิธีการของตนเอง มีความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ โดยจัดท้างานพัฒนาทักษะการคิดให้นักเรียนสามารถสรุป สาระส้าคัญและข้อคิด จากเรื่องที่อ่าน ฟัง ดู และสื่อสาร โดยการพูดหรือเขียนตามความคิดของตนเองงานจัดท้าโครงงานให้นักเรียนก้าหนดเปูาหมาย คาดการณ์ ตัดสินใจ แก้ปัญหาโดยมีเหตุผลประกอบ งานจัดท้าแฟูมสะสมผลงานให้นักเรียนมีความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ผลงานด้วย ความภาคภูมิใจ ร่วมกิจกรรมงานวันสุนทรภู่และงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์ นักเรียนน้าเสนอ ผลงานอย่างเป็นระบบ ตามจุดเน้นของหลักสูตร สามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารให้ผู้สนใจได้รับความรู้อย่างมั่นใจ ๒. ผลการพัฒนา จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พบว่า นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์คิดสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์คิดอย่างมีวิจารณญาณและคิดเป็นระบบ อัน น้าไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจและแก้ปัญหาของตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม นักเรียนมีความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต สามารถแก้ปัญหาและความขัดแย้งต่างๆ ได้ อย่างเหมาะสมได้รับการพัฒนาความสามารถต่างๆตามสมรรถนะ ส้าคัญในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ มีความสามารถในการท้างานและการ อยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคลการปรับตัวให้ทันกับความเปลี่ยนแปลงของ สังคมและสภาพแวดล้อมและการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่นและ เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนานักเรียนให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ตามที่ก้าหนดมีผลการประเมินคุณภาพมาตรฐาน ที่ ๕ ในระดับดีเยี่ยม ๓. แนวทางการพัฒนา โรงเรียนก้าหนดแผนพัฒนาครูเพื่อยกระดับความสามารถในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะ การคิด เพื่อพัฒนานักเรียนการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล ได้แก่ การจัด กิจกรรมการสอนทีเน้่ นกระบวนการคิดวิเคราะห์เทคนิควิธี Mind map, การสอนแบบโครงงาน ฯลฯ และติดตามนิเทศ การสอนของครูอย่างเป็นระบบ มีการทดสอบผู้เรียนด้านการคิดอย่างต่อเนื่องหลากหลายวิธีตามธรรมชาติวิชา เพื่อ ประเมินความสามารถด้านการคิดของนักเรียนตามที่ก้าหนดในหลักสูตร


๑๓๕

มาตรฐานที่ ๕ นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จ้าเป็นตามหลักสูตร ตัวบ่งชี้ ๕.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละกลุ่ม สาระเป็นไปตามเกณฑ์ ๕.๒ ผลการประเมินสมรรถนะส้าคัญ ตามหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์ ๕.๓ ผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนเป็นไปตามเกณฑ์ ๕.๔ ผลการทดสอบระดับชาติเป็นไป ตามเกณฑ์ ๕.๔ มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เฉลี่ยอยู่ในระดับดีขึ้นไป ผลรวมคะแนนมาตรฐานที่ ๕

ระดับที่ได้

น้าหนัก (คะแนน)

คะแนนที่ได้

๐.๘

๐.๘

๑.๖

๐.๘

-

-

* หมายเหตุ ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๑-๕.๔ ก้าหนดในมาตรฐานการประเมินคุณภาพภายใน ตัวบ่งชี้ท่ี ๕.๕ ก้าหนดเพิ่มในมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน ไม่น้ามาคิดค่าน้​้าหนักและคะแนน

ร่องรอยความพยายาม ๑. โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระ ๑.๑ งานเสริมสร้างและพัฒนาสมรรถนะส้าคัญทุกกลุ่มสาระ ๑.๒ งานเสริมสร้างและพัฒนาความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ๑.๓ งานวัดผลประเมินผลตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑.๔ งานพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระ ๑.๕ งานแข่งขันตามกลุ่มสาระ ๒. โครงการวิจัยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๑. วิธีการพัฒนา โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมต่างๆ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทักษะ ที่จ้าเป็นตามหลักสูตร โดยด้าเนินโครงการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ด้าเนินการสรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ วิเคราะห์ผลการทดสอบระดับชาติในระดับชั้น ป.๖ , ม.๓ , และ ม.๖ ทั้ง ๘ กลุ่มสาระ เพื่อหาแนวทางในการแก้ปัญหาในรายวิชาที่ไม่ผ่านเกณฑ์และ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่้า ทั้งยัง จัดกิจกรรมพัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาและสมรรถนะส้าคัญ ทุกกลุ่มสาระ การเรียนรู้โดย การสื่อสาร เล่านิทาน แข่งขันตอบปัญหา การน้าเสนอผลงาน การท้ากิจกรรมกลุ่ม และการใช้เทคโนโลยีเสริมสร้างและพัฒนาความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนโดยให้นักเรียนศึกษาหา ความรู้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน บันทึก วิเคราะห์ และเขียนสรุปองค์ความรู้มีการวัดผลประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ควบคู่กับการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา ระดับชาติ ครูพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นนักเรียนมีส่วนร่วม นักเรียนได้เรียนรู้อย่างสนุกสนานจัดการ แข่งขันทักษะตามกลุ่มสาระเพื่อให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมตามความสนใจและตามความสามารถ


๑๓๖

๒.

ผลการพัฒนา จากการด้าเนินกิจกรรม ครูพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระโดยเน้นนักเรียนมีส่วนร่วม จัดกิจกรรมทีห่ ลากหลายทั้งในและนอกห้องเรียนวัดและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติเป็นที่น่าพอใจในระดับหนึ่ง มีผลการประเมินคุณภาพมาตรฐาน ๕ ในระดับดี ๓. แนวทางการพัฒนา ครูควรคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ และฝึกทักษะการใช้เทคโนโลยีให้รอบรู้ยิ่งขึ้น ส่งเสริมและพัฒนา ด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์ให้มากขึ้น พร้อมทั้งจัดแข้งขันภายในกลุ่มสาระ พัฒนาและประเมินความสามารถ ตามสมรรถนะส้าคัญทั้ง ๕ ด้านให้บรรลุตามจุดเน้นของหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง มาตรฐานที่ ๖ ผู้เรียนมีทักษะในการท้างาน รักการท้างาน สามารถท้างานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติ ที่ดีต่ออาชีพสุจริต ตัวบ่งชี้ ๖.๑ วางแผนการท้างานและ ด้าเนินการจนส้าเร็จ ๖.๒ ท้างานอย่างมีความสุข มุ่งมั่น พัฒนางาน และภูมิใจในผลงานของ ตนเอง ๖.๓ ท้างานร่วมกับผู้อื่นได้ ๖.๔ มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต และหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ ตนเองสนใจ ๖.๕ จัดแนะแนวการศึกษาต่อสาย สามัญ สายอาชีพ และอุดมศึกษา นักเรียนสามารถรู้ถึงความถนัด ความสามารถ ความสนใจ ข้อดี ข้อเสีย ข้อด้อยของตนเอง การศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ และพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลา ผลรวมคะแนนมาตรฐานที่ ๖

จานวน นร. / ครู ที่อยู่ในระดับ ๓ขึ้นไป

จานวน นร. / ครู ทั้งหมด

ร้อยละที่ได้

น้าหนัก ( คะแนน )

คะแนน ที่ได้

๓,๕๓๐

๓,๖๕๑

๙๖.๗๐

๑.๙๓

๓,๕๓๐

๓,๖๕๑

๙๗.๐๐

๐.๙๗

๓,๕๓๐

๓,๖๕๑

๙๖.๗๐

๐.๙๗

๒,๓๒๑

๒,๔๔๗

๙๒.๗๐

๑,๖๑๖

๒,๕๒๙

๙๗.๖๗

๔.๘๗

๑๐๐

* หมายเหตุ ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๑-๖.๔ ก้าหนดในมาตรฐานการประเมินคุณภาพภายใน ตัวบ่งชี้ท่ี ๖.๕ ก้าหนดเพิ่มในมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนไม่น้ามาคิดค่าน้​้าหนักและคะแนน


๑๓๗

ร่องรอยความพยายาม ๑. โครงการวันวิชาการ ๑.๑ งานแสดงผลงานทางวิชาการ ๑.๒ งานตลาดนัดวิชาการ ๑.๓ งานแข่งขันด้านวิชาการและทักษะอาชีพ ๒. โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านวิชาการ ๒.๑ งานส่งเสริมการแข่งขันทั้งในและนอกโรงเรียน ๒.๒ งานยกย่องนักเรียนที่มีผลงานดีเด่น ๓. โครงการแนะแนวในโรงเรียน ๓.๑ งานให้ค้าปรึกษาเป็นรายบุคคลและกลุ่ม ๓.๒ งานวัดความถนัดทางด้านอาชีพของนักเรียน ๓.๓ งานวัดแววความสามารถพิเศษนักเรียน ๓.๔ งานแนะแนวการศึกษาต่อสายสามัญ สายอาชี พ อุดมศึกษาและศิษย์เก่า ๓.๕ งานอบรมอดเปรี้ยวไว้กินหวาน ๑. วิธีการพัฒนา โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้นักเรียนมีทักษะในการท้างานทั้งงานเดี่ยวและงานกลุ่ม มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย สร้างสรรค์ผลงานตามความสนใจและสามารถ นักเรียนคิด วางแผนการท้างานอย่างมีประสิทธิภาพ รักการท้างาน สามารถท้างานร่วมกับผู้อื่น ได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ สุจริต จัดโครงการ ดังนี้ ๑. โครงการวันวิชาการ ประกอบด้วยงานแสดงผลงานทางวิชาการโดยนักเรียนจัดท้าผลงาน ชิ้นงาน โครงงาน น้าเสนอในห้องนิทรรศการ งานตลาดนัดวิชาการ เน้นการวางแผนการท้างาน นักเรียนสามารถน้าเสนอ ผลงานตามจุดเน้นของหลักสูตร จัดแข่งขันด้านวิชาการและทักษะอาชีพเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้แสดง ความสามารถ ๒. โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านวิชาการ เพื่อส่งเสริมความสามารถของนักเรียนในการเข้าร่วม แข่งขันทั้งในและนอกโรงเรียน มีการยกย่องให้รางวัลแก่นักเรียนที่มีผลงานดีเด่นเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ และความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง ๓. โครงการแนะแนวในโรงเรียนประกอบด้วยงาน ดังนี้ ๓.๑ งานให้ค้าปรึกษาเป็นรายบุคคลและกลุ่มครูประจ้าชั้นให้ค้าปรึกษาด้านการคบเพื่อน การเจ็บปุวยและการศึกษาต่อสายสามัญ สายอาชีพและอุดมศึกษา ครู แนะแนว ให้ค้าปรึกษาในห้องเรียน ในห้องแนะแนว นอกเวลาเรียนและทางโทรศัพท์ นักเรียนสามารถหาค้าตอบและตัดสินใจ แก้ไขปัญหา ให้กับ ตนเอง นักเรียนที่มีปัญหาด้านพฤติกรรมบางส่วนต้องมีการติดตามช่วยเหลือต่อไป ๓.๒ งานวัดความถนัดทางด้านอาชีพของนักเรียนนักเรียนชั้น ม.๓ วัดความถนัดทางด้านอาชีพใน ชั่วโมงแนะแนว โดยใช้ชุดทดสอบของ John. L. Holland แบ่งบุคลิกภาพออกเป็น ๖ ด้าน ได้แก่ ความสามารถทางจักรกล ความสามารถทางวิทยาศาสตร์ ความสามารถทางศิลปะ ความสามารถทางการสอน ความสามารถทางการขาย ความสามารถทางงานส้านักงาน ส่งผลให้ นักเรียนรู้ความสามารถของตนเข้าใจตนเอง เป็นแนวทางในการ วางแผนการเรียน และการศึกษาต่อ นักเรียน ชั้น ม.๔ – ๖ ได้รับความรู้เกี่ยวกับลักษณะ บุคลิกภาพต่างๆ ที่สอดคล้องกับอาชีพ แบบทดสอบต่างๆ เพื่อให้ เกิดความเข้าใจและปรับ บุคลิกภาพตนเองตาม ความเหมาะสม นักเรียนมีความมั่นใจในการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อไป


๑๓๘

๓.๓ งานวัดแววความสามารถพิเศษนักเรียนนักเรียน ชั้น ป.๔ – ๖ ใช้แบบทดสอบวัดแวว ความสามารถของนักเรียน ในชั่วโมงการเรียนกิจกรรมแนะแนวครบถ้วนทุกแวว ผลการด้าเนินงานท้าให้นักเรียน รับทราบถึงความสามารถของนักเรียนในระดับหนึ่งว่าตนเองมีความสนใจและมีความสามารถในด้านใด ๓.๕ งานแนะแนวการศึกษาต่อจากรุ่นพี่ศิษย์เก่าและหน่วยงานภายนอก จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ การศึกษาต่อแก่นักเรียนชั้น ม.๖ จากมหาวิทยาลัยทั้งของรัฐบาลและเอกชน ได้รับความร่วมมือจากรุ่นพี่ศิษย์เก่า ที่จบไปแล้วและศึกษาต่อจากสถาบันต่างๆ เข้ามาพูดคุยเล่าประสบการณ์แก่รุ่นน้อง ๓.๖ งานแนะแนวการศึกษาต่อสายสามัญ สายอาชีพอุดมศึกษา และศิษย์เก่า จัดแนะแนวการ เตรียมสอบเข้าโรงเรียนเตรียมทหารแก่นักเรียนชาย ชั้น ม.๓ แนะแนวการเรียนต่อสายอาชีพจากวิทยาลัยการ อาชีพนครสวรรค์และวิทยาลัยเทคโนโลยีภาคเหนือ ส้าหรับนักเรียนชั้น ม.๖ โรงเรียนได้จัดให้มีการแนะแนว การศึกษาต่อทั้งหน่วยงานของรัฐและเอกชน ๓.๗ งานอบรมอดเปรี้ยวไว้กินหวาน นักเรียนชั้น ม.๑ ทุกคนเข้ารับการอบรมโดยเจ้าหน้าที่ฝุาย เวชกรรม โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ เกี่ยวกับการดูแลตนเองให้มีความปลอดภัยในการใช้ชีวิตในสังคม ปัจจุบัน ปูองกันตนเองจากภาวะเสี่ยงที่เกิดจากเพศศึกษา ๒.

ผลการพัฒนา จากการด้าเนินโครงการ งานพบว่านักเรียนมีทักษะในการท้างาน รักการท้างาน สามารถสร้างองค์ความรู้ หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจและแก้ปัญหาของตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม มีความรับผิดชอบต่องานที่ ได้รับมอบหมาย สร้างสรรค์ผลงานตามความสามารถอย่างมีประสิทธิภาพ รักการท้างาน สามารถน้าเสนอ ผลงาน จากการเรียนรู้ รู้จักท้างานร่วมกับผู้อื่นและมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต ได้รับการส่งเสริมให้เข้าร่วมการแข่งขันทั้งใน และนอกโรงเรียนตามความรู้ ความสามารถ นักเรียนที่มีผลงานดีเด่นได้รับการยกย่อง สร้างความภาคภูมิใจ และ แรงบันดาลใจในการสร้างผลงาน ชิ้นงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานที่ ๖ ในระดับ ดีเยี่ยม ๓. แนวทางการพัฒนาในอนาคต ๑. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความสามารถทั้งด้านวิชาการและทักษะอาชีพมากขึ้น และมีการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้เทคนิควิธีสอนที่ประสบผลส้าเร็จของครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อ พัฒนาทั้งครู และนักเรียน ให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น ๒. การแนะแนวจากศิษย์เก่ารุ่นพี่ ส่วนใหญ่จะเป็นนักศึกษาปี ๑ แรงจูงใจในการเลือกเรียนในสาขา ต่างๆ ยังไม่ชัดเจน โรงเรียนควรเชิญรุ่นพี่ที่ประสบความส้าเร็จมาแนะแนวน้องๆ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้สึก ที่ดีต่ออาชีพและเลือกอาชีพที่เหมาะสมตนเอง


๑๓๙

ด้านที่ ๒ มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ ๗ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ตัวบ่งชี้ ๗.๑ ครูมีการก้าหนดเปูาหมาย คุณภาพผู้เรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ สมรรถนะ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ๗.๒ ครูมีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็น รายบุคคล และใช้ข้อมูลในการวาง แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนา ศักยภาพของผู้เรียน ๗.๓ ครูออกแบบและการจัดการ เรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่าง ระหว่างบุคคลและพัฒนาการทาง สติปัญญา ๗.๔ ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่ เหมาะสมผนวกกับการน้าบริบทและ ภูมิปัญญาของท้องถิ่นมาบูรณาการ ในการจัดการเรียนรู้ ๗.๕ ครูมีการวัดและประเมินผล ที่มุ่งเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ของ ผู้เรียน ด้วยวิธีการที่หลากหลาย ๗.๖ ครูให้ค้าแนะน้า ค้าปรึกษา และแก้ไขปัญหาให้แก่ผู้เรียนทั้งด้าน การเรียนและคุณภาพชีวิตด้วยความ เสมอภาค ๗.๗ ครูมีการศึกษา วิจัยและ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ในวิชาที่ตน รับผิดชอบ และใช้ผลในการปรับการ สอน ๗.๘ ครูประพฤติปฏิบัติตนเป็น แบบอย่างที่ดี และเป็นสมาชิกที่ดี ของสถานศึกษา ๗.๙ ครูจัดการเรียนการสอนตาม วิชาที่ได้รับมอบหมายเต็มเวลา เต็มความสามารถ ผลรวมคะแนนมาตรฐานที่ ๗

จานวน นร. / ครู ที่อยู่ในระดับ ๓ขึ้นไป

จานวน นร. / ครู ทั้งหมด

ร้อยละที่ได้

น้าหนัก ( คะแนน )

คะแนน ที่ได้

๑๘๔

๒๐๐

๙๒.๐๐

๐.๙๒

๑๘๔

๒๐๐

๙๒.๐๐

๐.๙๒

๑๘๔

๒๐๐

๙๒.๐๐

๑.๘๔

๑๘๔

๒๐๐

๙๒.๐๐

๐.๙๒

๑๘๔

๒๐๐

๙๒.๐๐

๐.๙๒

๑๘๔

๒๐๐

๙๒.๐๐

๐.๙๒

๑๘๔

๒๐๐

๙๒.๐๐

๐.๙๒

๒๓๖

๒๔๘

๙๕.๐๐

๐.๙๔

๒๒๐

๒๓๘

๙๒.๔๔

๐.๙๒

๙๒.๓๘

๑๐

๙.๒๒


๑๔๐

ร่องรอยความพยายาม ๑. โครงการพัฒนาบุคลากรครู-บุคลากร ๑.๑ งานนิเทศครูเข้าใหม่ ๑ .๒ งานติดตามการแต่งกายและพฤติกรรมครู ๑. ๓ งานส่งครูเข้ารับการอบรมศึกษาดูงานและศึกษาต่อ ๑.๔ งานสรรหาบุคลากรดีเด่น และยกย่องเชิดชูเกียรติ ๒. โครงการสวัสดิการเสริมสร้างขวัญและก้าลังใจ ๒.๑ งานของขวัญวันคล้ายวันเกิด ๒.๒ งานเยี่ยมครูที่เจ็บปุวย, คลอดบุตร อุปสมบท และสมรส ๒.๓ งานกองทุนฌาปนกิจสงเคราะห์ครู ผู้ปกครอง นักเรียน และคนงาน ๓. โครงการพัฒนาคุณภาพครูตามแนวปฏิรูปการศึกษา ๓.๑ งานพัฒนาศักยภาพครู ๓.๒ งานพัฒนาคุณภาพนักเรียนตามจุดเน้นของหลักสูตร ๓.๓ งานวิเคราะห์และพัฒนานักเรียนเป็นรายบุคคล ๓.๔ งานสอนซ่อม และสอนเสริม ๓.๕ งานส่งเสริมการใช้สื่อ/นวัตกรรม ๓.๖ งานส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยภูมิปัญญา ๓.๗ งานพัฒนาเครื่องมือวัดผลประเมินผล ๓.๘ งานวิจัยในชั้นเรียน ๑. วิธีการพัฒนา โรงเรียนส่งเสริมให้ครู บุคลากรได้รับการพัฒนาทักษะ ความรู้ ความสามารถโดยเข้ารับการอบรม ประชุม สัมมนา ร่วมกับหน่วยงานภายนอก และขยายผลให้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อการปฏิบัติจะเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ตลอดจนจัดให้มีการอบรม สัมมนาภายในโรงเรียน โดยเชิญวิทยากรภายนอก มาให้ความรู้ ตามหัวข้อที่ครู-บุคลากร ควรจะได้รับการพัฒนาเพิ่มเติม นอกจากการอบรมด้านวิชาการ โรงเรียนยังส่งเสริมให้ครู-บุคลากรได้รับการ พัฒนาด้านจิตใจ เพื่อน้าข้อคิดหลักธรรมตามศาสนามาใช้ในการเรียนการสอน โรงเรียนสนับสนุนให้ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ มีการประชุมชี้แจงขอบข่าย งานและแนวทางในการปฏิบัติตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ศึกษาจุดเน้นของหลักสูตรและกลุ่มสาระ ก้าหนดเปูาหมายคุณภาพนักเรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ สมรรถนะ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพื่อให้การด้าเนินงานเกิดประสิทธิผลตามความคาดหวัง นอกจากนี้ได้ จัดโครงการพัฒนาคุณภาพครูตามแนวปฏิรูปการศึกษา ประกอบด้วย งานพัฒนาศักยภาพ ครู ครูรับการอบรมตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ งานวิเคราะห์และพัฒนานักเรียนเป็นรายบุคคล โดยครูทุกรายวิชา วิเคราะห์นักเรียนเป็นรายบุคคล น้าข้อมูลมาใช้ในการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน สอนซ่อมและสอนเสริมตาม สภาพของนักเรียน ครูออกแบบกิจกรรมและจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการ ทางสติปัญญา ส่งเสริมการใช้สื่อ/นวัตกรรม เทคโนโลยีที่เหมาะสม น้าภูมิปัญญาของท้องถิ่นมาบูรณาการในการ จัดการเรียนรู้ โดยเชิญภูมิปัญญามาให้ความรู้ตามโอกาส ปรับ ปรุง และพัฒนาเครื่องมือวัดผลประเมินผลอย่าง ต่อเนื่อง น้าผลจากการจัดการเรียนรู้และจากการวัดผลมาท้าวิจัยในชั้นเรียนภาคเรียนละ ๑ ครั้ง


๑๔๑

๒. ผลการพัฒนา โรงเรียนให้ความส้าคัญสนับสนุนให้ครูมีความรู้ โดยจัดอบรม/สัมมนาเข้ารับการอบรมตามกลุ่มสาระการ เรียนรู้ จัดสรรงบประมาณในการจัดซื้อสื่อการสอนตามความเหมาะสม ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นถึง ความสามารถของนักเรียนเป็นรายบุคคลและจัดกระบวนการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้นักเรียนสามารถพัฒนา ตนเองได้ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานที่ ๗ อยู่ในระดับดีเยี่ยม ๓. แนวทางการพัฒนา สนับสนุนให้ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมากขึ้น ประเมินผลด้านการสอน อย่างจริงจังเพื่อติดตามพัฒนาการและศักยภาพของครูและนักเรียนอย่างต่อเนื่อง ครูเข้ารับการอบรม สัมมนาและ พัฒนาตนเอง ตรงกับ วิชาที่สอนเพื่อให้น้าไปใช้ได้จริงอย่างมีประสิทธิภาพ ก้าหนดแผนพัฒนาครูเพื่อยกระดับ ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการคิด เพื่อพัฒนาการสอนให้นักเรียนคิดอย่างเป็นระบบ คิด สร้างสรรค์ ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุสมผล ได้แก่ การจัดกิจกรรมการสอนที่สอดแทรกกระบวนการ คิดวิเคราะห์แบบ Mind map, การสอนแบบโครงงาน ฯลฯ และมีการติดตามนิเทศการสอนของครูอย่างเป็นระบบ รวมทั้งมีการทดสอบผู้เรียนด้านการคิดเพื่อประเมินความสามารถด้านการคิดของนักเรียนตามที่ก้าหนดในหลักสูตร ออกมาเป็นภาพรวม (ร้อยละ) ของโรงเรียน ด้านที่ ๒ มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ ๘ ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ตัวบ่งชี้ ๘.๑ ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้น้า และความคิดริเริ่มที่เน้น การพัฒนาผู้เรียน ๘.๒ ผู้บริหารใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมและ ใช้ข้อมูลผลการประเมินหรือผลการวิจัยเป็นฐานคิดทั้งด้าน วิชาการและการจัดการ ๘.๓ ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการการศึกษาให้บรรลุ เปูาหมายตามที่ก้าหนดไว้ในแผนปฏิบัติการ ๘.๔ ผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากร ให้พร้อมรับการกระจายอ้านาจ ๘.๕ นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนพึงพอใจผลการบริหาร การจัดการศึกษา ๘.๖ ผู้บริหารให้ค้าแนะน้า ค้าปรึกษาทางวิชาการและเอาใจ ใส่การจัดการศึกษาเต็มศักยภาพและเต็มเวลา ๘.๗ มีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ผลรวมคะแนนมาตรฐานที่ ๘

ระดับที่ได้

น้าหนัก (คะแนน)

คะแนน ที่ได้

๑.๘

๑.๖

๔ ๕

๑๐

๙.๔

* หมายเหตุ ตัวบ่งชี้ที่ ๘.๑-๘.๖ ก้าหนดในมาตรฐานการประเมินคุณภาพภายใน ตัวบ่งชี้ท่ี ๘.๗ ก้าหนดเพิ่มในมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนไม่น้ามาคิดค่าน้​้าหนักและคะแนน

ร่องรอยความพยายาม ๑. โครงการพัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากร ๑.๑ งานจัดท้าคู่มือการบริหารโรงเรียน


๑๔๒

๑.๒ ๑.๓ ๑.๔

งานประชุมคณะกรรมการโรงเรียน งานนิเทศ อบรม สัมมนาผู้บริหาร ครู งานบริหารจัดการด้านวิชาการ ๑.๕ งานก้ากับติดตามตรวจสอบการด้าเนินงาน ๑.๖ งานเผยแพร่จิตตารมย์นักบุญเดอ ลาซาล ต่อบุคลากร ๑.๗ งานประเมินผลเชิงคุณภาพบุคลากร ๒. โครงการประเมินผลการด้าเนินงาน ๒.๑ งานจัดท้าแบบสอบถามและแบบประเมิน ๑. วิธีการพัฒนา โรงเรียนส่งเสริมผู้บริหารให้พัฒนาตนเอง มีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้น้า มีความคิดริเริ่ม ใช้หลักการบริหารแบบ มีส่วนร่วมโดยจัดโครงการ ดังนี้ ๑. โครงการพัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากร ประกอบด้วย งานจัดท้าคู่มือการบริหารโรงเรียนเพื่อใช้ เป็นแนวทางในการบริหารโรงเรียน ประกอบด้วย โครงสร้างการบริหารโรงเรียน หน้าที่ของบุคลากร ตามโครงสร้าง มาตรฐานโรงเรียน หลักการบริหารงานโรงเรียน จัดท้าแผนพัฒนาคุณภาพโรงเรียน แผนปฎิบัติ การประจ้าปี เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารงาน งานประชุมคณะกรรมการโรงเรียน จัดประชุมคณะกรรมการ บริหารโรงเรียนภาคเรียนละ ๒ ครั้ง คณะผู้บริหาร โรงเรียนเดือนละ ๓-๔ ครั้ง งานนิเทศอบรม สัมมนาผู้บริหาร และครู โดยวันที่ ๑๗– ๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๗ ส่งตัวแทนผู้บริหาร เข้าร่วมประชุมสัมมนาประจ้าปี ๒๕๕๗ หัวข้อ “การศึกษาคาทอลิกในการฝุาวิกฤตการศึกษาของชาติ” ณ โรงแรมเอเชีย พัทยา จังหวัดชลบุรีจัดโดยสภา การศึกษาคาทอลิก วันที่ ๑๗-๑๘ มกราคม ๒๕๕๘ และวันที่ ๒๔-๒๕ มกราคม ๒๕๕๘ ผู้บริหาร ครูเข้ารับการ อบรมเพื่อพัฒนาตนเองโครงการสันทนาการในกองลูกเสือ ณ โรงเรียนโพฒิสารศึกษา จัดโดย สช. และวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๗ ผู้บริหาร ครูเข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนาตนเองโครงการหน้าที่พลเมืองณ โรงเรียนลาซาลกรุงเทพฯ งานบริหาร จัดการ ด้านวิชาการด้าเนินการ ๔ ด้าน คือ หลักสูตรการจัดการเรียนการสอนการนิเทศภายใน การวัดและประเมินผลงานก้ากับติดตามตรวจสอบการด้าเนินงาน ด้าเนินการติดตามตรวจสอบการด้าเนินงานตาม ปฏิทินโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง งานประเมินผลเชิงคุณภาพบุคลากร ก้าหนดให้ หัวหน้าสาย ประเมินผลการท้างาน ของครูตามขอบข่ายของงานและสรุปผลการประเมินสิ้นปีการศึกษา ๒. โครงการประเมินผลการด้าเนินงาน เมื่อเสร็จสิ้นการด้าเนินโครงการ งาน กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ มีการจัดท้าใบแสดงความคิดเห็น ฝุายประสิทธิผลจัดท้าแบบส้ารวจความพึงพอใจต่อการด้าเนินงานของผู้ปกครอง ชุมชน นักเรียน เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาครั้งต่อไป ๒. ผลการพัฒนา จากการด้าเนินโครงการส่งผลให้ ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผล สรุปผลการส้ารวจความพึงพอใจของการบริหารงานภายในโรงเรียน พบว่านักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน ร้อยละ ๙๔.๓๑ มีความพึงพอใจผลการบริหารการจัดการศึกษา ในระดับดีมากและระดับดี มี ผลการประเมิน คุณภาพมาตรฐานที่ ๘ อยู่ในระดับดีเยี่ยม ๓. แนวทางการพัฒนา ๑. พัฒนาทักษะความรู้ผู้บริหารเกี่ยวกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย พร้อมใช้งานอย่าง สม่้าเสมอ เป็นประจ้าทุกปีอย่างต่อเนื่อง ๒. สรุปผลการประเมินความพึงพอใจในการจัดโครงการ งาน กิจกรรม ควรน้าข้อที่ต้องปรับปรุงแก้ไข มาเป็นแนวทางในการพัฒนาทุกงาน


๑๔๓

มาตรฐานที่ ๙ คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครอง ชุมชนปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ตัวบ่งชี้

ระดับที่ได้

น้าหนัก (คะแนน)

คะแนน ที่ได้

๙.๑ คณะกรรมการโรงเรียนรู้และปฏิบัติหน้าที่ตามที่ ระเบียบก้าหนด

๐.๘

๔.๘

๙.๒ คณะกรรมการโรงเรียนก้ากับ ติดตาม ดูแล และ ขับเคลื่อนการด้าเนินงานของโรงเรียนให้บรรลุผล ส้าเร็จตามเปูาหมาย ๙.๓ ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการ พัฒนาโรงเรียน ผลรวมคะแนนมาตรฐานที๙่

ร่องรอยความพยายาม ๑. โครงการพัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากร ๑.๑ งานประชุมคณะกรรมการโรงเรียน ๑.๒ งานก้ากับติดตามตรวจสอบการด้าเนินงาน ๑.๓ งานนิเทศ อบรม สัมมนาผู้บริหาร ครู ๑.๔ งานจัดท้าคู่มือการบริหารโรงเรียน ๒. โครงการบรรพชาสามเณรลาซาลโชติรวี รุ่นที่ ๑๖ ๓. โครงการสานสัมพันธ์กับชุมชน ๓.๑ งานส่งเสริมประเพณี ตรุษจีน ๓.๒ งานบริการชุมชน ๓.๓ งานช่วยเหลือชุมชนและสังคม ๓.๔ งานประชาสัมพันธ์ ๑. วิธีการพัฒนา โรงเรียนเปิดโอกาสให้คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชนปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ด้าเนิน โครงการต่างๆ ดังนี้ ๑. โครงการพัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากร ประกอบด้วย งานจัดประชุมคณะกรรมการโรงเรียน ตามค้าสั่งโรงเรียนที่๑๕/๒๕๕๗ แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาคณะกรรมการบริหาร และค้าสั่งที่ ๒๑/๒๕๕๗ แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารโรงเรียนตามที่ก้าหนดในตราสารจ้านวน ๗ คน ประกอบด้วย ผู้รับใบอนุญาต/ ผู้อ้านวยการ ผู้จัดการ ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้แทนครู จัดประชุมภาคเรียนละ ๒ ครั้ง เพื่อพิจารณา อนุมัติหลักสูตรการจัดการเรียนการสอน ระเบียบ งบประมาณ ติดตามผลการด้าเนินงานของโรงเรียนให้บรรลุผล ส้าเร็จตามเปูาหมาย งานก้ากับติดตามตรวจสอบการด้าเนินงานจัดประชุม เพื่อติดตามตรวจสอบการด้าเนินงาน ตามปฏิทินโรงเรียนทุกสัปดาห์ มีการจดบันทึก เพื่อตรวจสอบ จัดท้าแบบติดตาม ตรวจสอบผลการด้าเนินงานตาม โครงการ งาน กิจกรรมและมีการประเมินผลอย่างต่อเนื่อง ๒. โครงการสานสัมพันธ์กับชุมชน ประกอบด้วย งานส่งเสริมประเพณีตรุษจีน งานบริการชุมชน งานช่วยเหลือชุมชนและสังคม งานประชาสัมพันธ์ งานให้บริการอาคารสถานที่และสิ่งอ้านวยบริการแก่ชุมชนและ หน่วยงานอื่น จัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันภายในโรงเรียนเพื่อส่งเสริมให้เด็กเกิดการเรียนรู้ และเปิด โอกาสให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็ก จัดงานส่งเสริมการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยเชิญ


๑๔๔

วิทยากรท้องถิ่นมาสาธิตและให้ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างโรงเรียน กับชุมชน ๓. โครงการบรรพชาสามเณรลาซาลโชติรวี เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช อย่างต่อเนื่องเป็น รุ่นที่ ๑๖ มีนักเรียนชายชั้น ป.๓- ม.๖ ที่สมัครใจเข้ารับการเตรียมพร้อมและ ฝึกอบรมวินัย ๒. ผลการพัฒนา ผลการด้าเนินโครงการ พบว่า คณะกรรมการบริหารโรงเรียนมีส่วนร่วมในการวางแผนการด้าเนินงาน ให้ค้าปรึกษา ชี้แนะ สนับสนุนให้การด้าเนินงาน ก้ากับดูแลขับเคลื่อนให้งานของโรงเรียนส้าเร็จตามเปูาหมาย และ มีส่วนร่วมในกิจกรรมของโรงเรียน อาทิ การประเมินโรงเรียน งานกีฬาสี งานวันวิชาการ ฯลฯ ผู้ปกครองมี ส่วนร่วมในการเข้าร่วมและสนับสนุนในกิจกรรมต่างๆ เช่น โครงการบรรพชาสามเณร งานวันพ่อ วันแม่ ฯลฯ จาก การที่โรงเรียนจัดโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริม สนับสนุน ให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ส่งผลให้โรงเรียนมีการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันภายในโรงเรียน เปิดโอกาสให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนามีผลการประเมิน คุณภาพมาตรฐานที่ ๙ อยู่ในระดับดีเยี่ยม ๓. แนวทางการพัฒนาในอนาคต พัฒนาให้คณะกรรมการโรงเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของโรงเรียนให้มากขึ้นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ ด้าเนินงานโรงเรียนพัฒนาการประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสาร โครงการ งานให้ผู้ปกครองรับรู้โดยตรงเช่น มอบให้ใน วันประชุมผู้ปกครองควรพัฒนาการจัดแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนให้เพิ่มมากขึ้น และเชิญหน่วยงานภายนอกมาให้ ความรู้ จัดกิจกรรมร่วมกันระหว่างโรงเรียนกับชุมชน เพื่อร่วมกันพัฒนาเด็กให้เกิดการเรียนรู้มากขึ้น มาตรฐาน

ที่ ๑๐ โรงเรียนมีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน อย่างรอบด้าน ๕

น้าหนัก (คะแนน) ๒

คะแนน ที่ได้ ๒

๑.๖

๐.๘

-

-

-

-

-

-

-

-

ตัวบ่งชี้

ระดับที่ได้

๑๐.๑ หลักสูตรสถานศึกษาเหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่น ๑๐.๒ จัดรายวิชาเพิ่มเติมที่หลากหลายให้ผู้เรียนเลือกเรียนตามความถนัด ความสามารถและความสนใจ ๑๐.๓ จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ส่งเสริมและตอบสนองความต้องการ ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน ๑๐.๔ สนับสนุนให้ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง จนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง ๑๐.๕ นิเทศภายใน ก้ากับ ติดตามตรวจสอบ และน้าผลไปปรับปรุงการ เรียนการสอนอย่างสม่้าเสมอ ๑๐.๖ จัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มีประสิทธิภาพ และครอบคลุมถึงนักเรียนทุกคน ๑๐.๗ มีการจัดกิจกรรมสืบสานและสร้างสรรค์ วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิ ปัญญาไทย ๑๐.๘ มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการมีจิตอาสา รักชาติ และรัก ประชาธิปไตย ๑๐.๙ มีการจัดกิจกรรม/โครงการที่ส่งเสริมให้ผู้ปกครอง มีความรู้และมีส่วนร่วมในการพัฒนานักเรียน ๑๐.๑๐ นักเรียนที่ขาดแคลนมีโอกาสได้รับการศึกษาอบรม ได้รับการ ช่วยเหลือตามความเหมาะสม และมีการติดตามผลการเรียนอย่างใกล้ชิด

๕ ๕


๑๔๕ ตัวบ่งชี้ ๑๐.๑๑ โรงเรียนมีส่วนร่วมช่วยเหลือคนในสังคมและนักเรียน มีคุณธรรมหลากหลายเพิ่มขึ้น ผลรวมคะแนนมาตรฐานที๑๐ ่

ระดับที่ได้

น้าหนัก (คะแนน)

คะแนน ที่ได้

-

-

๑๐

๙.๔

* หมายเหตุ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐๑-๑๐.๖ ก้าหนดในมาตรฐานการประเมินคุณภาพภายใน ตัวบ่งชี้ท่ี ๑๐.๗-๑๐-๑๐ ก้าหนดเพิ่มในมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนไม่น้ามาคิดค่าน้​้าหนักและคะแนน

ร่องรอยความพยายาม ๑. โครงการนิเทศหลักสูตร และการจัดการเรียนการสอน ๑.๑ งานวิเคราะห์เพื่อปรับและพัฒนาหลักสูตร ๑.๒ งานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ ๑.๓ งานนิเทศ ติดตามการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ๒. โครงการส่งเสริมการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพนักเรียน ๒.๑ งานชุมนุม/ชมรม ๒.๒ งานส่งเสริมความสามารถและความคิดสร้างสรรค์ ๒.๓ งานส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ๒.๔ งานสืบสานวัฒนธรรมประเพณีและภูมิปัญญาไทย ๓. โครงการส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นส้าคัญ ๓.๑ งานส่งเสริมการสอนที่เน้นกระบวนการ ๔. โครงการแนะแนวในโรงเรียน ๔.๑ งานเยี่ยมบ้านนักเรียน ๔.๒ งานประเมิน EQ นักเรียน ๕. โครงการสวัสดิการมอบทุนการศึกษา ๖. งานสภาและสารวัตรนักเรียน ๗. งานติดตามนักเรียน ๘. งานส่งเสริมคุณธรรม ๑. วิธีการพัฒนา ครู ทุก กลุ่มสาระ การเรียนรู้ ปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร ปรับกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นส้าคัญ และมุ่งพัฒนาคุณภาพนักเรียนให้สอดคล้องตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ ที่พัฒนาความรู้ความสามารถตาม หลักสูตร และบูรณาการสาระท้องถิ่นให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางครอบคลุมกับความต้องการของนักเรียน จัดท้าแผนการจัดการเรียนรู้ ผลิตและใช้สื่อเทคโนโลยี พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้และใช้แหล่งการเรียนรู้ทั้งในและ นอกห้องเรียนส่งเสริมการมีส่วนร่วมในกิจกรรม จัดรายวิชาเพิ่มเติมที่หลากหลายให้ผู้เรียนเลือกเรียนตามความ ถนัด ความสามารถและความสนใจ จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ส่งเสริมและตอบสนองความต้องการ ความสามารถ ความถนัดและความสนใจของผู้เรียน มีการนิเทศ ก้ากับ ติดตาม ตรวจสอบ และน้าผลไปปรับปรุงการเรียน การสอนอย่างสม่้าเสมอ มีการประชุมคณะกรรมการวิชาการ เพื่อติดตามและรายงานผลการด้าเนินงาน ร่วมกัน วางแผนปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง ประกอบด้วยโครงการ งาน ดังนี้ ๑. โครงการนิเทศหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ประกอบด้วยงาน ดังนี้ ๑.๑ งานวิเคราะห์เพื่อปรับและพัฒนาหลักสูตรครูทุกกลุ่มสาระวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนา หลักสูตรให้สอดคล้องและเหมาะสมกับนักเรียนท้องถิ่น


๑๔๖

๑.๒ งานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้มีการนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบการจัดท้าและพัฒนาแผนการ จัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับ พื้นฐานของ นักเรียน ออกแบบกิจกรรมหลากหลาย ส่งเสริมให้นักเรียน มีความรู้ ความสามารถตรงตามตัวชี้วัดของแต่ละกลุ่มสาระ ๑.๓ งานนิเทศ ติดตาม การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยนิเทศ ติดตามการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนที่เน้นทักษะกระบวนการ ๒. โครงการส่งเสริมการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพนักเรียน ประกอบด้วยงาน ดังนี้ ๒.๑ งานชุมนุม/ชมรมให้นักเรียนเลือกเรียนตามความสามารถและความสนใจ ๒.๒ งานส่งเสริมความสามารถและความคิดสร้างสรรค์จัดรายวิชาเพิ่มเติมที่หลากหลายจัดกิจกรรม ส่งเสริมความสามารถและความคิดสร้างสรรค์แก่นักเรียน ๒.๓ งานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ครูจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมควบคู่กับการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ทั้งในและนอกโรงเรียน ๒.๔ งานสืบสานวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาไทย ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่บูรณาการการ สืบสานวัฒนธรรม ประเพณี เช่นประเพณีลอยกระทง เชิญภูมิปัญญาในท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการ เรียนรู้แก่นักเรียน ๓. โครงการส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นส้าคัญเพื่อสนับสนุนให้ครูจัดกระบวนการ เรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง สามารถสรุปความรู้ได้ด้วยตนเองประกอบด้วย ๓.๑ งานส่งเสริมการสอนที่เน้นกระบวนการ ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการทั้งใน และนอกห้องเรียน นักเรียนเกิดการเรียนรู้จากการฝึกทักษะ การทดลอง และการฝึกปฏิบัติ ๓.๒ งานค่ายวิชาการครูออกแบบกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ จากเกม เพลง สื่อและกิจกรรมด้วย การปฏิบัติกิจกรรมตามฐาน นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างสนุกสนานจากการเข้าร่วมกิจกรรม ๓.๓ งานทัศนศึกษาจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ นักเรียนได้ศึกษาจากแหล่งการเรียนรู้ และ ฝึกปฏิบัติ เกิดทักษะจากการปฏิบัติ เรียนรู้ และภูมิใจในท้องถิ่นมากขึ้น ๔. โครงการแนะแนวในโรงเรียนประกอบด้วยงาน ดังนี้ ๔.๑ งานเยี่ยมบ้านนักเรียนการเยี่ยมบ้านของนักเรียน ชั้น อ.๑ – ป.๖ เป็นการเยี่ยมบ้านนักเรียน ที่ขาดเรียนเนื่องจากการเจ็บปุวย โดยครูประจ้าชั้นเยี่ยมนักเรียนเพื่อสร้างขวัญและก้าลังใจ ส้าหรับ นักเรียน ชั้น ม.๑ – ๖ เป็นการเยี่ยมบ้านนักเรียนที่ปุวย ขาดเรียน และมีพฤติกรรมเสี่ยงเนื่องจากโรงเรียนเป็นโรงเรียน ขนาดใหญ่ นักเรียนบางส่วนมาจากต่างจังหวัด ครูประจ้าชั้นใช้เวลาพูดคุยกับผู้ปกครองในวันนิเทศผู้ปกครองของ แต่ละระดับ ๔.๒ งานประเมิน EQ นักเรียนครูแนะแนวท้าแบบประเมินนักเรียนชั้น ม.๑ – ๓ เพื่อเป็นการพัฒนา และการใช้ศักยภาพตนเองในการด้าเนินชีวิต ครอบครัว การท้างาน และการอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง มีความสุข ประสบความส้าเร็จในการเรียน ผลการท้ากิจกรรมประเมิน EQ นักเรียน ท้าให้นักเรียนรู้จักตนเอง มากขึ้น ๔.๓ งานคัดกรองนักเรียน ( SDQ) จัดให้มีการคัดกรองนักเรียน ม.๑-๒ ส่งผลให้นักเรียนเข้าใจตนเอง แสดงออกทางอารมณ์ พฤติกรรม มีความสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อน สัมพันธ์ภาพทางสังคม สามารถปรับตัวเข้ากับอี่น อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข และสามารถน้าไปใช้ในการด้าเนินชีวิตประจ้าวัน ๕ . โครงการสวัสดิการมอบทุนการศึกษา จัดมอบทุนการศึกษาแก่นักเรียนเรียนเรียนดี แต่ขาดแคลน ทุนทรัพย์ เพื่อเป็นการแบ่งเบา ภาระทางครอบครัว มีการติดต่อประสานงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ให้กับนักเรียนในชั้น ม.๔ – ๖ เพื่ออ้านวยความสะดวกและช่วยเหลือนักเรียนที่มีความประสงค์ขอกู้ยืม เงินกองทุนเพื่อการศึกษา


๑๔๗

ด้านระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนได้รับความไว้วางใจจากผู้ปกครอ งในการส่งบุตรหลาน เข้ามา ศึกษาในโรงเรียน โดย คาดหวังให้โรงเรียนช่วยดูแลอบรมนักเรียนให้เป็นคนดี มีคุณภาพได้รับความคุ้มครอ งให้ ปลอดภัยจากอบายมุขต่างๆ ทั้งนี้การดูแลนักเรียนให้เป็นคนดี และปลอดจากสิ่งเสพติดนั้น ต้องอาศัยความร่วมมือ ระหว่างผู้ปกครองกับครูในการดูแลติดตามพฤติกรรม และนักเรียนรู้บทบาทหน้าที่ของตน เคารพสิทธิเสรีภาพของ ผู้อื่น ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามระบบประชาธิปไตย มีคุณธรรมจริยธรรมคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ๒. ผลการพัฒนา จากการด้าเนินโครงการ งาน กิจกรรมตามหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนได้รับการปรับปรุงพัฒนา ทั้ง ๘ กลุ่มสาระ สอดคล้องและเหมาะสมกับนักเรียนและท้องถิ่นงานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้มีการนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบการจัดท้าและพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับนักเรียน กิจกรรมหลากหลาย และ นักเรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ สามารถบรรลุตามตัวชี้วัด งานนิเทศ ติดตามการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนโดยนิเทศ ติดตามการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นทักษะกระบวนการ ในการจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุมถึงนักเรียนทุกคน ท้าให้นักเรียน ได้รับการดูแลและช่วยเหลือได้ตามความเหมาะสม สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบ้านกับโรงเรียน นักเรียนที่ ขาดแคลนได้รับการช่วยเหลือได้มีโอกาสในการศึกษา นักเรียนชั้น ม.๑ – ๓ รู้จักตนเองมากขึ้น สามารถตัดสินใจ และแก้ปัญหา สามารถน้าความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาตนเองได้ การปฏิบัติงานตลอดปีการศึกษามีผลการประเมิน คุณภาพมาตรฐานที่ ๑๐ ในระดับดีเยี่ยม ๓. แนวทางการพัฒนา ๑. ครู ทุก กลุ่มสาระการเรียนรู้ควรวางแผน/จัดท้าปฏิทินการน้าภูมิปัญญาท้องถิ่นมามีส่วนร่วมในการ จัดการเรียนการสอนให้ชัดเจนและจัดกิจกรรมที่เน้นนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงเพื่อให้เกิดทักษะชีวิตอย่างต่อเนื่อง และควรได้รับการฝึกการท้างานอย่างเป็นกระบวนการ( PDCA) เริ่มด้วยการวางแผน ด้าเนินตามแผน ติดตาม ประเมินสรุปทุกกิจกรรม ๒. การปฏิบัติงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพราะสภาพความเป็นอยู่ ของสังคมในปัจจุบันได้มีการพัฒนามีทั้งผลดีและผลกระทบกับนักเรียน ฝุายบริการ แนะแนวและฝุายกิจการ นักเรียนต้องร่วมมือกันคอยสอดส่องดูแลและให้การช่วยเหลือนักเรียนอย่างต่อเนื่องตามความเหมาะสม มาตรฐานที่ ๑๑ โรงเรียนมีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาเต็มศักยภาพ ระดับที่ได้

น้าหนัก (คะแนน)

คะแนน ที่ได้

๑๑.๓ จัดห้องสมุดที่ให้บริการสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เอื้อให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเองและหรือเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม

๑๑.๔ มีการช่วยเหลือนักเรียนให้มีภาวะโภชนาการทางกายตาม เกณฑ์มาตรฐาน การสุชาภิบาลของกรมอนามัย

-

-

ตัวบ่งชี้ ๑๑.๑ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียนมั่นคง สะอาดและ ปลอดภัย มีสิ่งอ้านวยความสะดวกพอเพียง อยู่ในสภาพใช้การได้ ดี สภาพแวดล้อมร่มรื่น และมีแหล่งเรียนรู้ส้าหรับนักเรียน ๑๑.๒ จัดโครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพ อนามัยและความปลอดภัยของผู้เรียน


๑๔๘ ตัวบ่งชี้ ๑๑.๕ ผู้ประกอบอาหารมีความรู้ด้านโภชนาการ จัดร้านค้า ที่สะอาด ถูกหลักอนามัยแก่ผู้บริโภค ๑๑.๖ มีการจัดสภาพแวดล้อมที่สะอาด ร่มรื่นสวยงามและเอื้อต่อ การเรียนรู้ของนักเรียน ๑๑.๗ มีการให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศทุกรูปแบบ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้วยตนเองและการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ๑๑.๘ มีการจัดและใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอก โรงเรียน ผลรวมคะแนนมาตรฐานที๑๑ ่

ระดับที่ได้

น้าหนัก (คะแนน)

คะแนน ที่ได้

-

-

-

-

-

-

-

-

๑๐

๑๐

* หมายเหตุ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑.๑-๑๑.๓ก้าหนดในมาตรฐานการประเมินคุณภาพภายใน ตัวบ่งชี้ท่ี ๑๑.๔-๑๑-๘ ก้าหนดเพิ่มในมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนไม่น้ามาคิดค่าน้​้าหนักและคะแนน

ร่องรอยความพยายาม ๑. โครงการพัฒนาห้องสมุด ๑.๑ งานจัดหาหนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์สู่ห้องสมุด ๑.๒ งานห้องสมุดเคลื่อนที่สู่ชุมชน ๑.๓ งานสัปดาห์ห้องสมุด ๑.๔ งานส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุด ๒. โครงการบริจาคโลหิตเพื่อถวายเป็นพระราชกุศล ๓. โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ๓.๑ งานอบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบอาหารทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ๓.๒ งานประกวดความสะอาดอาหาร ร้านค้าและน้​้าดื่ม ในโรงเรียน ๔. โครงการพัฒนางานอาคารสถานที่และสิ่งเอื้ออ้านวยบริการทางการศึกษา ๑. วิธีการพัฒนา โรงเรียนจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาเต็มศักยภาพ พัฒนาห้องสมุดซึ่งเป็น แหล่งการเรียนรู้ที่ส้าคัญ โดย จัด ให้มี ห้องสมุดครบทุกอาคารเพื่อบริการแก่นักเรียน มีการจัดมุมสื่อให้บริการ ทั้งครูและนักเรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองและเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม เพื่อให้นักเรียนได้รับการพัฒนาให้มีนิสัยใฝุเรียน จัดโครงการต่างๆ ดังนี้ ๑. โครงการพัฒนาห้องสมุดเป็นกิจกรรมที่สร้างเสริมทักษะด้านการอ่าน และการเขียน ปลูกฝังนิสัยรักการ อ่านของนักเรียนให้สอดคล้องกับความต้องการของหลักสูตรประกอบด้วย งานจัดหาหนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ สู่ห้องสมุดโรงเรียนมีการจัดซื้อหนังสือตามความสนใจของครูตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยส่งแบบส้ารวจให้แต่ละ กลุ่มสาระฯ ได้แสดงรายการหนังสือที่ต้องการให้นักเรียนได้ศึกษา ครูบรรณารักษ์รวบรวมและเสนอผู้บริหาร เพื่อจัดสรรงบประมาณและด้าเนินการจัดซื้อตามล้าดับงานห้องสมุดเคลื่อนที่สู่ชุมชน มีการจัดกิจกรรมนอก โรงเรียนโดยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโรงเรียนกับครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้องงานสัปดาห์ห้องสมุด บรรณารักษ์ร่วมกับครูกลุ่มสาระภาษาไทย มีการแข่งขันโต้วาที แข่งขันเล่านิทานและเรียงความเผยแพร่ และส่งเสริมการใช้ห้องสมุดให้กับนักเรียน มีส่วนร่วมในกิจกรรมของห้องสมุด และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์งาน


๑๔๙

ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุดส่งเสริมให้นักเรียนใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ จัดหา จัดเก็บ บริการ ตลอดจนดูแลบ้ารุงรักษา เพื่อให้ผู้ใช้บริการได้ข้อมูลข่าวสารความรู้ ข้อเท็จจริงบันทึกไว้ในสื่อ ที่สามารถถ่ายทอดให้ผู้อื่นทราบได้ด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ง เพื่อน้าไปใช้ประโยชน์ได้ตามความต้องการ ๒. โครงการบริจาคโลหิตเพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ซึ่งมีพระชนมายุ ครบ ๘๖ พรรษา ส้านักงานเหล่ากาชาดจังหวัดนครสวรรค์ น้าโลหิตที่รับบริจาคไปช่วยเหลือผู้ปุวยที่ต้องการโลหิต ในปีการศึกษา ๒๕๕๗ บริจาคโลหิต จ้านวน ๒ ครั้ง ครั้งที่ ๑ เมื่อวันที่ ๒ กันยายน ๒๕๕๗ จ้านวน ๑๐๕ ราย ได้โลหิตจ้านวน ๓๖,๗๕๐ ซีซี. และครั้งที่ ๒ วันที่ ๒ มกราคม ๒๕๕๘ จ้านวน ๑๑๗ ราย ได้โลหิต จ้านวน ๕๒,๖๒๐ ซีซี. ผลการด้าเนินงานส่งผลให้โรงเรียนได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครอง ครู นักเรียนและ คนงาน ผู้มีจิตอาสาในการสร้างความดี ๓. โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ประกอบด้วยงาน ดังนี้ ๓.๑ งานอบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบอาหารทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน จัดภาคเรียนละ ๒ ครั้ง นอกจากนี้ผู้ประกอบอาหารยังเดินทางไปอบรมที่เทศบาลเมืองนครนครสวรรค์เพื่อพัฒนาตนเอง จัดตรวจสุขภาพ ผู้ประกอบอาหารปีเว้นปี เพื่อเป็นการเฝูาระวังโรคติดต่อของผู้ประกอบอาหาร ๓.๒ งานประกวดความสะอาดอาหาร ร้านค้าและน้​้าดื่ม ในโรงเรียน จัดท้าแบบติดตามความสะอาด ร้านค้าโดยให้นักเรียนแกนน้า อย.น้อย และครู ร่วมกันประเมิน พร้อมแจกรางวัลส้าหรับร้านค้าที่สะอาด ๔. โครงการพัฒนางานอาคารสถานที่และสิ่งเอื้ออ้านวยบริการทางจัดให้มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีอาคารสถานที่เหมาะสมและเอื้อต่อกิจกรรมการเรียนการสอนอาคารเรียน อาคารประกอบสิ่งต่างๆที่อยู่ภายใน โรงเรียนได้รับการปรับปรุงดูแล ซ่อมแซม ให้อยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งานได้ตลอดเวลาและปลอดภัยส้าหรับ ผู้ใช้บริการ ๒. ผลการพัฒนา จากการด้าเนินกิจกรรม ครู นักเรียน มีห้องสมุดที่ให้บริการสื่อและเทคโนโลยีที่เอื้อให้ผู้เรียนรู้ เพียงพอ และตรงตามความต้องการครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมห้องสมุดสามารถเลือกกิจกรรม ที่เหมาะสมกับตนเอง สามารถสรุปความรู้ที่ได้รับ มีคุณธรรมในการอ่าน เป็นคนดีของสังคม สามารถน้ากิจกรรม ต่างๆไปใช้ในชีวิตประจ้าวัน ด้านการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของนักเรียนผลการด้าเนินงาน พบว่า นักเรียนรู้จักดูแล ตนเองให้สมบูรณ์ แข็งแรง เลือกรับประทานอาหารที่สะอาดและมีประโยชน์ ผู้ประกอบอาหารในโรงเรียน มีความรู้ด้านโภชนาการ สามารถน้าความรู้ที่ได้รับจากการอบรมมาพัฒนาศักยภาพตนเอง ร้านค้าให้สะอาด ถูกหลัก นักเรียนแกนน้า อย.น้อย สามารถน้าความรู้ไปเผยแพร่แก่น้องๆ และผู้ใกล้ชิดได้ การด้าเนินงานตลอดปี การศึกษา ด้านอาคารสถานที่ มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้มีห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียนมั่นคง สะอาดและปลอดภัย มีสิ่งอ้านวยความสะดวกพอเพียง อยู่ในสภาพใช้การได้ดี สภาพแวดล้อมร่มรื่น และมีแหล่ง เรียนรู้ส้าหรับผู้เรียน มีห้องสมุดที่ให้บริการสื่อและเทคโนโลยีที่เอื้อให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเองและมีส่วนร่วม มีผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานที่ ๑๑ ในระดับดีเยี่ยม ๓. แนวทางการพัฒนา ๑. มีการวางแผนและคัดเลือกหนังสือและสื่อสิ่งพิมพ์ล่วงหน้าอย่างเป็นระบบเพื่อให้ส้านักพิมพ์ต่างๆ สามารถจัดส่งหนังสือได้อย่างรวดเร็ว ๒. เพิ่มกิจกรรมนอกเวลาเรียนเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมมากขึ้นและติดตาม แนะน้าการบันทึกผลการอ่านที่ถูกต้องให้กับนักเรียนกลุ่มที่ยังบกพร่องด้านการอ่านและการบันทึกผลให้ได้รับการ พัฒนาอย่างต่อเนื่อง


๑๕๐

๓. โครงการบริจาคโลหิตเพื่อถวายเป็นพระราชกุศล มีการเชิญชวนให้ครู นักเรียนและผู้ปกครองเข้าร่วม โครงการมากขึ้น เพื่อจะได้น้าโลหิตไปช่วยผู้ปุวยที่ต้องการโลหิตอีกเป็นจ้านวนมาก ๔. โรงเรียนควรก้าหนดแผนพัฒนามาตรการเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยในด้านการดูแลรักษา อุปกรณ์ เครื่องมือ และความปลอดภัยของครู นักเรียน คนงาน ในโรงเรียน การวิเคราะห์ข้อมูลทั้งเชิงปริมาณ และคุณภาพจะเป็นประโยชน์ต่อการบริหารและพัฒนาองค์กร มาตรฐานที่ ๑๒ โรงเรียนมีการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนตามที่กาหนดในกฎกระทรวง ตัวบ่งชี้ ๑๒.๑ ก้าหนดมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน ๑๒.๒ จัดท้าและด้าเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ โรงเรียนที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน ๑๒.๓ จัดระบบข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศในการบริหาร จัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียน ๑๒.๔ ติดตามตรวจสอบ และประเมินคุณภาพภายในตาม มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน ๑๒.๕ น้าผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้ วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ๑๒.๖ จัดท้ารายงานประจ้าปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพ ภายใน ๑๒.๗ มีการตรวจสอบและถ่วงดุลด้านการบริหารและการจัด การศึกษา ๑๒.๘ มีการบริหาร จัดการประสิทธิภาพงานธุรการ ๑๒.๙ มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียน ๑๒.๑๐ มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ผลรวมคะแนนมาตรฐานที๑๒ ่

ระดับที่ ได้ ๔

น้าหนัก (คะแนน) ๑

คะแนน ที่ได้ ๑

๐.๘

๐.๕

๐.๕

๐.๕

๐.๕

-

-

-

-

-

-

๕ ๔

๔.๘

* หมายเหตุ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๒.๑-๑๒.๖ก้าหนดในมาตรฐานการประเมินคุณภาพภายใน ตัวบ่งชี้ท่ี ๑๒.๗-๑๒-๑๐ ก้าหนดเพิ่มในมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนไม่น้ามาคิดค่าน้​้าหนักและคะแนน

ร่องรอยความพยายาม ๑. โครงการประกันคุณภาพภายใน ๑.๑ งานจัดท้าแผนปฏิบัติการประจ้าปี ๑.๒ งานติดตามตรวจสอบประเมินคุณภาพ ๒. โครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ๓. สรุปผลการด้าเนินงาน ๓.๑ งานจัดท้ารายงานความก้าวหน้ารายภาคเรียน ๓.๒ งานติดตามตรวจสอบการสรุปโครงการ งาน กิจกรรม ๓.๓ งานจัดท้ารายงานประเมินตนเองและรายงานคุณภาพประจ้าปี ๔. โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระ


๑๕๑

๔.

๔.๑ งานเสริมสร้างและพัฒนาสมรรถนะส้าคัญทุกกลุ่มสาระ ๔.๒ งานเสริมสร้างและพัฒนาความ สามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ๔.๓ งานวัดผลประเมินผลตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๔.๔ งานพัฒนาการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระ ๕ งานแข่งขันตามกลุ่มสาระ

๑. วิธีการพัฒนา โรงเรียนมีการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนตามที่ก้าหนดในกฎกระทรวงจัดโครงการต่างๆ ดังนี้ ๑. โครงการประกันคุณภาพภายใน เพื่อพัฒนากระบวนการบริหารจัดการให้บรรลุเปูาหมายในการ พัฒนาคุณภาพให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ต้องการ มีการด้าเนินงานก้าหนดมาตรฐานของโรงเรียนโดยใช้มาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐานมาเป็นกลยุทธ์ในการท้างาน ประกอบด้วยงาน ดังนี้ ๑.๑ งานจัดท้าแผนปฏิบัติการประจ้าปี ด้าเนิน การให้ หัวหน้าฝุายร่วมกันกับคณะกรรมการฝุายจัดท้า แผนปฏิบัติการประจ้าปี ก้าหนดปฏิทินแผนการปฏิบัติและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพ ก้าหนด โครงการ งาน กิจกรรมจัดในทิศทางเดียวกันและน้าเสนออธิการพิจารณาอนุมัติ ๑.๒ งานติดตาม ตรวจสอบประเมินคุณภาพการท้างานโดยหัวหน้าสาย หัวหน้าฝุาย หัวหน้ากลุ่มสาระ เป็นผู้ติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงานและการจัดการเรียนการสอนของครู ๒. โครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศ โรงเรียนมีศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดท้า ข้อมูลของโรงเรียน ประมวล ผลข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อน้าไปพัฒนาจัดท้าแผนพัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ พัฒนาระบบฐานข้อมูลส้าหรับการบริหารจัดการข้อมูลทั่วไปภายในโรงเรียน ระบบการจัดเก็บข้อมูล บนเครือข่าย LAN และเครือข่าย อินเทอร์เนต พัฒนาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการและระบบเครือข่าย เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลส้าหรับการน้าไปใช้ การจัดซื้อจัดหาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ พัฒนาระบบรับส่งข้อมูลภายใน โรงเรียนและหน่วยงานภายนอก ผลการด้าเนินงานเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นไปตามขั้นตอน มีการประชุม วางแผนงานก้าหนดแนวทางในการปฏิบัติงาน มีการก้ากับติดตามประเมินโครงการ และจัดท้ารายงานประจ้าปี ที่เป็นรายงานคุณภาพภายใน นอกจากนี้มีการติดตามตรวจสอบการใช้งบประมาณให้ เพียงพอ เกิดสภาพคล่องและเกิดประโยชน์สูงสุด จัดท้าบัญชีรับ-จ่ายตลอดปีการศึกษาที่เป็นปัจจุบัน จัดท้าบัตรประจ้าตัวครูและนักเรียน จัดท้าสมุดทะเบียน คุมเอกสารง่ายต่อการสืบค้นในส่วนของงานพัสดุ ครุภัณฑ์ มีการจัดท้าทะเบียนคุมการเบิกจ่าย จ้าหน่าย จัดครู รับผิดชอบอย่างชัดเจน การจัดซื้อทันต่อการใช้งาน จัดห้องบริการ ณ จุดเดียว คือ ONE STOP SERVICE CENTER สะดวกต่อการบริการงานต่างๆ ได้รวดเร็วส่งผลให้งานนโยบายเรียนฟรี ๑๕ ปีส้าเร็จลุล่วงไปด้วยดี ทัน ตามก้าหนดเวลา โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมต่างๆ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทักษะ ที่จ้าเป็นตามหลักสูตร โดยด้าเนินโครงการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ด้าเนินการสรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและวิเคราะห์ผลการทดสอบระดับชาติในระดับชั้น ป.๖, ม.๓, และ ม.๖ ทั้ง ๘ กลุ่มสาระ เพื่อหาแนวทางในการแก้ปัญหาในรายวิชาที่ไม่ผ่านเกณฑ์และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ต่้า ทั้งยัง จัดกิจกรรมพัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาและสมรรถนะส้าคัญทุกกลุ่มสาระ การเรียนรู้โดย การ สื่อสาร เล่านิทาน แข่งขันตอบปัญหา การน้าเสนอผลงาน การท้ากิจกรรมกลุ่ม และการใช้เทคโนโลยีเสริมสร้าง และพัฒนาความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนโดยให้นักเรียนศึกษาหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งใน และนอกห้องเรียน บันทึก วิเคราะห์ และเขียนสรุปองค์ความรู้ โรงเรียนเป็นสนามสอบและรับสมัครนักเรียนเข้า ร่วมการประเมินความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ประจ้าปี ๒๕๕๖ ระดับประถมศึกษาปีที่ ๒ -๖ และ


๑๕๒

มัธยมศึกษาปีที่ ๑ -๓ มีการวัดผลประเมินผลตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ควบคู่กับการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ( NT) ชั้นป.๓ และการประเมิน คุณภาพการจัดการศึกษาระดับชาติในระดับชั้น ป.๖ , ม.๓ และ ม.๖ ทั้ง ๘ กลุ่มสาระ นอกจากนั้น ครูพัฒนาการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นนักเรียนมีส่วนร่วม นักเรียนได้เรียนรู้อย่างสนุกสนาน จัดการแข่งขันทักษะตามกลุ่ม สาระเพื่อให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมตามความสนใจและตามความสามารถ นอกจากนี้ ฝุายประสิทธิผลด้าเนินการ ติดตามตรวจสอบ และประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐาน การศึกษาของ โรงเรียนเมื่อสิ้นปีการศึกษามีการ ติดตามตรวจสอบการสรุปโครงการ งาน กิจกรรม มีการรายงานผล การด้าเนินงานของฝุายต่างๆ ตามโครงสร้างบริหารของโรงเรียนในรูปแบบของรายงานความก้าวหน้ารายภาคเรียน ลงในวารสารโรงเรียน ภาคเรียนละ ๑ ครั้ง เมื่อสิ้นปีการศึกษาด้าเนินการจัดท้ารายงานประเมินตนเองและรายงาน คุณภาพประจ้าปี ๒. ผลการพัฒนา ผลการด้าเนินโครงการประกันคุณภาพภายใน โครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศ ส่งผลให้ โรงเรียนมีการก้าหนดมาตรฐานของโรงเรียน มีการจัดท้าแผนพัฒนาคุณภาพที่มุ่งพัฒนาตามมาตรฐานของโรงเรียน มีการจัดระบบข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพ มีการติดตามตรวจสอบ และประเมินคุณภาพภายในและน้าผลการประเมินมาใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา สามารถน้า ข้อมูลมาสรุปเป็นรายงานประจ้าปีที่เป็นรายงานคุณภาพภายใน และจากการบริหารโดยใช้หลักการมีส่วนร่วมและ มีการตรวจสอบถ่วงดุลในทุกฝุาย ช่วยพัฒนาระบบการบริหารงบประมาณมีความคล่องตัวสูงขึ้น มีความเหมาะสม จากการด้าเนินงาน โรงเรียนมีการติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานของ โรงเรียนและมีการจัดท้ารายงานประจ้าปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายในมี ผลการประเมินคุณภาพ มาตรฐาน ๑๒ อยู่ในระดับดีเยี่ยม ๓. แนวทางการพัฒนา ๑. พัฒนาการจัดระบบข้อมูลสารสนเทศในการบริหารจัดการ งานวิชาการเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียนให้มากขึ้น ๒. ก้ากับ ติดตามการด้าเนินงานโครงการ งาน กิจกรรมของฝุายและระดับชั้นอย่างต่อเนื่องเพื่อ สามารถ สรุปผลการด้าเนินโครงการ งาน กิจกรรม และจัดท้ารายงานประเมินตนเองและรายงานคุณภาพประจ้าปี ทันตาม เวลาที่ก้าหนดเมื่อสิ้นปีการศึกษา ด้านที่ ๓ มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๑๓ โรงเรียนมีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้โรงเรียนเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ ๑๓.๑ มีการสร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษา และใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ ทั้งภายในและภายนอก สถานศึกษา เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและบุคลากร ของสถานศึกษา รวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้อง ๑๓.๒ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคลากรภายใน สถานศึกษา ระหว่างสถานศึกษากับครอบครัว ชุมชน และ องค์กรที่เกี่ยวข้อง ผลรวมคะแนนมาตรฐานที๑๓ ่

ระดับที่ได้

น้าหนัก (คะแนน)

คะแนน ที่ได้

๑๐

๑๐


๑๕๓

ร่องรอยความพยายาม ๑. โครงการนิเทศผู้ปกครอง ๑.๑ งานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ๑. วิธีการพัฒนา โรงเรียนมีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้โรงเรียนเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพยั่งยืน และต่อเนื่องมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคคล ากรภายในโรงเรียน ระหว่างโรงเรียนกับครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง โดยจัด ท้าโครงการนิเทศผู้ปกครอง ประกอบด้วย งานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยจัดประชุม ผู้ปกครองให้ความรู้ด้านหลักสูตร และงานวิชาการตามวันและเวลาที่ก้าหนดในทุกระดับชั้นเพื่อ แลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างโรงเรียน ผู้ปกครองและชุมชนซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนานักเรียนให้สามารถเรียนรู้อย่างมีคุณภาพตาม วิสัยทัศน์ของโรงเรียน ๒. ผลการพัฒนา จากการด้าเนิน โครงการ ส่งผลให้ผู้ปกครองรับรู้ข่าวสารข้อมูล และ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคคล ากร ภายในโรงเรียน ระหว่างโรงเรียนกับครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง มี ผลการประเมินคุณภาพ มาตรฐานที่ ๑๓ อยูใ่ นระดับดีเยี่ยม ๓. แนวทางการพัฒนา ควรพัฒนานักเรียนให้เรียนรู้อย่างมีคุณภาพ มีกิจกรรม โครงการที่สนับสนุนยกย่องเชิดชูนักเรียน ที่มีผลงานดีเด่น จัดโครงการที่ส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการพัฒนานักเรียน ด้านที่ ๔ มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๑๔ การพัฒนาโรงเรียนให้บรรลุเปูาหมายตามวิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นที่ก้าหนดขึ้น ตัวบ่งชี้

ระดับที่ได้

น้าหนัก (คะแนน)

คะแนน ที่ได้

๒.๕

๔.๕

๑๔.๑ จัดโครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุตาม เปูาหมายวิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นของสถานศึกษา ๑๔.๒ ผลการด้าเนินงานส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุตามเปูาหมาย วิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นของสถานศึกษา ผลรวมคะแนนมาตรฐานที่ ๑๔

ร่องรอยความพยายาม ๑. โครงการห้องสมุดส่งเสริม รักการอ่าน ๑ .๑ งานส่งเสริมการอ่านภายในห้องสมุด ๑ .๒ งานค่ายรักการอ่านผ่าน ๔ ส. ๑. ๓ งานรักการอ่านสานสู่ฝัน ๑. ๔ งานส่งเสริมการอ่านออกเสียง ร ล ๑. ๕ งานส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมพัฒนาการอ่าน ๑) โต๊ะจีนหนังสือ ๒) ที่ท้าการไปรษณีย์รักการอ่าน ๓) หนังสือวรรณกรรมแว่นแก้ว ๔) สหกรณ์ความรู้คู่ชุมชน ๕) ขวดมหัศจรรย์สร้างสรรค์นักอ่าน


๑๕๔

๖) กิจกรรมโชว์รูมหนังสือ ๗) กิจกรรมนานมีบุ๊ครี้ดดิ้งคลับ ๒ . โครงการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ๒.๑ งานส่งเสริมคุณธรรม ๒.๒ งานนักเรียนลาซาลมีน้าใจ ๒.๓ งานส่งเสริมความกตัญญู ๓ . โครงการบ้านลาซาล/ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๑. วิธีการพัฒนา โรงเรียน ด้าเนินโครงการ งาน เพื่อพัฒนาโรงเรียน ให้บรรลุเปูาหมายตามวิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้น ที่ก้าหนด ประกอบด้วยโครงการ ดังนี้ ๑. โครงการห้องสมุดส่งเสริม รักการอ่านเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการอ่านของนักเรียนอย่างหลากหลาย และบรรลุตามเปูาหมาย วิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นของโรงเรียนประกอบด้วย ๑.๑ งานส่งเสริมการอ่านภายในห้องสมุดโดยครูบรรณารักษ์ได้ร่วมกันจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ภายในห้องสมุดอย่างหลากหลายเช่น ปริศนาค้าทาย ไข่ความรู้ อ่านมากมีรางวัล ฯลฯ มีการปรับรูปแบบกิจกรรม อย่างต่อเนื่องเพื่อให้นักเรียนสนใจในการอ่าน และจัดกิจกรรมตอบได้มีรางวัลทุกสิ้นเดือนซึ่งได้รับความสนใจจาก นักเรียนในการร่วมตอบค้าถามรายเดือน ๑.๒ งานค่ายรักการอ่านผ่าน ๔ ส. เป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้นอกห้องเรียน ที่จัดขึ้นโดยปลูกฝังให้ นักเรียนรักการอ่าน รักการเรียนรู้ บูรณาการเข้ากับกลุ่มสารระ เช่น วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศิลปะ สุขศึกษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ การงานพื้นฐานอาชีพ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ๑.๓ งานรักการอ่านสานสู่ฝันมีการแจกสมุดบันทึกการอ่านนักเรียนอ่านหนังสือเวลา ๐๗.๔๐-๐๗.๕๕ น. และส่งสมุดบันทึกการอ่านให้คณะครูผู้จัดท้าได้ตรวจทุกสิ้นเดือน ๑.๔ งานส่งเสริมการอ่านออกเสียง ร ล โดยจัดแบบฝึกออกเสียง ร ล ให้นักเรียนได้ฝึกอ่านออกเสียง กับครูในระดับช่วงเช้าก่อนเข้าเรียน ครูที่ปรึกษารวบรวมแบบฝึกส่งคณะผู้จัดท้าทุกสิ้นเดือน ๑.๕ งานส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมพัฒนาการอ่านจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอ่านของนักเรียนอย่าง หลากหลายดังนี้ ๑) กิจกรรมโต๊ะจีนหนังสือ นักเรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการจัดท้าเมนูหนังสือใหม่ๆ ได้ท้างานเป็นหมู่คณะให้ความร่วมมือเป็น บริกรให้บริการ เสิร์ฟหนังสือ แนะน้าหนังสือน่าอ่านให้กับผู้มาใช้บริการ ได้เป็นอย่างดี มีความภาคภูมิใจในการให้บริการกับผู้มาใช้บริการ ๒) กิจกรรมที่ท้าการไปรษณีย์รักการอ่าน จัดท้าใบไปรษณียบัตร รักการอ่าน โทรเลข จดหมายลงทะเบียน ร่วมส่งไปรษณียบัตร ส่ง Email รักการอ่าน ส่งโทรเลข sms แนะน้าหนังสือให้เพื่อนพ่อ แม่ น้อง โดยมีบุรุษ ไปรษณีย์ ให้ความช่วยเหลือ น้าไปส่งให้เพื่อนๆที่ห้องเรียน มีการขยายผลการอ่านของนักเรียน ให้กับเพื่อนๆ ภายในห้องเรียนและต่างห้องเรียนโดยการส่งไปรษณียบัตรรักการอ่าน ๓) กิจกรรมหนังสือวรรณกรรมแว่นแก้ว เผยแพร่หนังสือที่ได้รับรางวัลวรรณกรรมเยาวชนแว่นแก้ว จัดกิจกรรมแรลลี่ เกมส่งเสริมการอ่านต่างๆ และกิจกรรมแนะน้าหนังสือน่าอ่าน ๔) กิจกรรมสหกรณ์ออมทรัพย์ความรู้คู่ชุมชนนักเรียนร่วมกิจกรรมโดยเลือกแบบฝากสะสมทรัพย์การอ่าน ลงในสมุดคู่ฝากมีการติดตามความก้าวหน้าทางการอ่านโดยน้าสมุดคู่ฝากมาปรับบัญชีการอ่าน ๕) กิจกรรมสหกรณ์ความรู้คู่ชุมชน เพื่อให้นักเรียนรู้จักการเก็บออมการอ่านโดยอ่านหนังสือแล้วบันทึกลง ในสมุดาคู่ฝาก เช่น อ่านฝากเผื่อเรียก อ่านฝากประจ้า อ่านฝากรายสัปดห์ อ่านฝากรายเดือน เป็นต้น นักเรียน สามารถน้าสิ่งที่ได้จากการอ่านมาฝากไว้ที่ห้องสมุด ห้องสมุดสรุปรายเดือนและมอบเกียรติบัตรยอดนักอ่าน


๑๕๕

๖) กิจกรรมขวดมหัศจรรย์ สร้างสรรค์นักอ่านครู และนักเรียนให้ความร่วมมือ สร้างสรรค์ผลงาน โดยน้าเอาขวดน้​้ามารีไซเคิล อ่านตามเวลาที่ก้าหนดข้างขวด นักเรียนพัฒนาการอ่านโดยเขียนสรุปเนื้อเรื่องที่ลงใน ขวดยาต่างๆ เพื่อแนะน้าให้กับเพื่อนได้อ่าน ใส่ตู้ไว้เพื่อขยายผลให้กับผู้มาใช้บริการได้อ่าน นอกจากนั้นยังสรุปผล การใช้บริการลงในใบงานที่ห้องสมุดได้เตรียมไว้ให้ ๗) กิจกรรมโชว์รูมหนังสือจัดขึ้นเพื่อ ให้นักเรียนได้เจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาทของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวฯ ภูมิพลอดุลยเดช สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี ที่ทรงต้องการปลูกฝังให้เยาวชนไทยรักการอ่าน เร้าใจ จูงใจให้นักเรียนสนใจอยากอ่านหนังสือ เห็น ความจ้าเป็นที่ต้องอ่าน เพื่อที่จะได้รู้เรื่องราวที่มีความสนุกสนานในหนังสือ ได้ไปรู้ไปเห็นจากกิจกรรมที่จัด ๘) กิจกรรมนานมีบุ๊ครี้ดดิ้งคลับ จัดขึ้นเพื่อ ส่งเสริมให้ นักเรียนน้ากิจกรรมที่ เสริมความรู้ได้ครบทุก ๘ กลุ่ม สาระ ไปใช้ในชีวิตประจ้าวัน นักเรียนที่ได้ร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่านจะเกิดความรู้สึก ความพยายามที่จะอ่าน และอ่านหนังสือที่มีคุณค่าเพราะเป็นการเปิดโลกความคิดให้กว้าง เป็นอิสระที่จะเรียนรู้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องพึ่งพา ผู้อื่น การจัดโชว์รูมน้าหนังสือออกมาจัดหลายเล่มท้าให้นักเรียนได้รู้จักหนังสือทั้งเก่าและใหม่ที่มีอยู่ในห้องสมุด เพิ่มขึ้นจากการแนะน้าหนังสือโดยพริตตี้ ที่โชว์รูมนักเรียนได้เลือกอ่านหลากหลาย นักเรียนได้ใช้ความสามารถ ของตนเองในการแนะน้าหนังสือดีๆให้กับเพื่อนได้อ่าน เป็นการแบ่งปันการอ่านให้กับเพื่อน พ่อ แม่ พี่ น้องเป็น อย่างดี โรงเรียนยังจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้การศึกษาและการอบรมที่ดีที่สุดแก่เด็กและเยาวชน ทั้งที่มีโอกาสและ ไม่มีโอกาส ตลอดจนส่งเสริมให้นักเรียนเป็นที่มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นลูกที่ดีของพ่อแม่ เป็นศิษย์ที่ดีของครู และเป็นคนดีของสังคม โดยจัดโครงการบ้านลาซาลและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อช่วยเหลือเด็กที่ยากจน แต่ด้อยโอกาสทางการศึกษา ครอบครัวมีปัญหา โดยการให้โอกาสในการมอบการศึกษาแก่เด็กกลุ่มดังกล่าว ๒. ผลการพัฒนา นักเรียนสามารถพัฒนาทักษะการอ่าน การคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์เป็นผู้รอบรู้เฉลียวฉลาด รู้เท่าทันคน ทันเหตุการณ์ รวมถึงใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์เรียนรู้การใช้บริการจากสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศของห้องสมุด ด้วยตนเองและหรือเรียนรู้แบ บมีส่วนร่วมและเขียนสรุปใจความส้าคัญของเรื่องที่อ่านในใบงานในสมุดคู่ฝากและ แนะน้าแบ่งปันให้กับเพื่อนๆได้อ่านนักเรียนมีนิสัยรักการอ่านมีทักษะในการศึกษาค้นคว้าได้อย่างกว้างขวาง หลากหลายถ่ายทอดความรู้ ความคิด และประสบการณ์จากการอ่านและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคลากร ภายในโรงเรียน ระหว่างโรงเรียนกับครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง และเกิด แนวคิดทีได้จากขวดยา ที่รับประทานเมื่อเวลาเจ็บปุวยไปหาหมอ เช่น ยาก่อนอาหาร หลังอาหาร เป็นอ่านก่อนอาหาร อ่านหลังอาหาร อ่านทุกๆ สี่ชั่วโมง อ่านก่อนนอน อ่านคลายเครียดมีทักษะการอ่านและพัฒนาตนเองให้เป็นผู้ออกเสียงภาษาไทย ได้ถูกต้องพัฒนาทักษะการอ่าน ในการอ่านออกเสียง ร ล ค้าควบกล้​้าได้ ชัดเจน และ แสดงความจงรักภักดี โดย ใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง สนองพระราชด้ารัสรัก และภาคภูมิใจต่อภาษาไทย ซึ่งเป็นภาษาประจ้าชาติ มีความ จงรักภักดีบรรณารักษ์ห้องสมุดตระหนักถึงความส้าคัญ รู้คุณค่าและเห็นประโยชน์ของกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน น่าสนใจ และส่งเสริมการเรียนรู้ ส่งผลให้นักเรียนบรรลุตามเปูาหมายวิสัยทัศน์ปรัชญาและจุดเน้นของโรงเรียน มีผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานที่ ๑๔ ในระดับดีเยี่ยม ๓. แนวทางการพัฒนา ควรจัดเพิ่มนอกเวลาเรียนเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมมากยิ่งขึ้น เพิ่มจุดให้บริการ และเพิ่มนักเรียนให้บริการ เพื่อให้นักเรียนได้มีโอกาสปฏิบัติกิจกรรมตามฐานมากขึ้นจนเกิดการเรียนรู้อย่าง หลากหลายมากขึ้น ขยายเวลาในการท้ากิจกรรมโดยใช้เวลาว่างทั้งในและนอกห้องเรียนในการอ่าน ออกเสียง ร ล มีการติดตาม แนะน้าการบันทึกผลการอ่านที่ถูกต้องให้กับนักเรียนกลุ่มที่ยังบกพร่องด้านการอ่านและการบันทึก ผลประชาสัมพันธ์แนะน้าหนังสือเคลื่อนที่ จัดกิจกรรมแรลลี่ตามอาคารต่างๆเพิ่มเติม ส้าหรับนักเรียนที่ลืมน้าสมุดคู่


๑๕๖

ฝากมาร่วมกิจกรรม ควรมีหน่วยงานจัดเก็บหรือรับฝากสมุดบันทึกแก่นักเรียนกลุ่มดังกล่าวเพื่อช่วยเหลือ อ้านวย ความสะดวกและส่งเสริมให้นักเรียนร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ปรับและจัดท้าขวดยาเพิ่มเติม ปรับกิจกรรมให้ เหมาะสมกับนวัตกรรม และประชาสัมพันธ์ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดหาขวดและผลิตนวัตกรรมเพิ่มขึ้น ด้านที่ ๕ มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม มาตรฐานที่ ๑๕ การจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาและ ส่งเสริมโรงเรียนให้ยกระดับคุณภาพสูงขึ้น ตัวบ่งชี้ ๑๕.๑ จัดโครงการ กิจกรรมพิเศษเพื่อตอบสนองนโยบาย จุดเน้น ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา ๑๕.๒ ผลการด้าเนินงานบรรลุตามเปูาหมาย ผลรวมคะแนนมาตรฐานที่ ๑๕

ระดับที่ได้

น้าหนัก (คะแนน)

คะแนน ที่ได้

๕ ๕

ร่องรอยความพยายาม ๑. โครงการการขับเคลื่อนกิจกรรมโรงเรียน(ฝุายบริหาร จัดการ) ๒. โครงการพัฒนาชีวิตฝุายจิตด้วยจิตตารมณ์คาทอลิก (ฝุายบริหาร จัดการ) ๓. โครงการเรียนรู้คู่คุณธรรม(ฝุายวิชาการ) ๔. โครงการส่งเสริมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง(ฝุายวิชาการ) ๕. โครงการเรียนฟรี ๑๕ ปีอย่างมีคุณภาพ (ฝุายวิชาการ) ๕.๑ งานคัดเลือกหนังสือยืมเรียน ๕.๒ งานค่ายวิชาการ ๕.๓ งานทัศนศึกษา ๕.๔ งานบริการ ICT ๖. โครงการเศรษฐกิจพอเพียง(ฝุายกิจการนักเรียน) ๖.๑ งานช่วยกันประหยัด ๑. วิธีการพัฒนา โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาและส่งเสริม โรงเรียนให้ยกระดับคุณภาพสูงขึ้นโดยจัดโครงการ ดังนี้ ๑. โครงการขับเคลื่อนกิจกรรมโรงเรียนโรงเรียนได้เข้าร่วมโครงการจัดกิจกรรม ๕ส กับส้านักงานเขตพื้นที่ การศึกษานครสวรรค์เขต ๑ ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๒ และได้ด้าเนินการต่อเนื่องมาถึงปีการศึกษา ๒๕๕๖ ประกอบด้วย กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรม ๕ ส. สอดแทรกแนวคิด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วย หลักการและเห ตุผล วัตถุประสงค์ เปูาหมาย ขั้นตอนการด้าเนินงานโดยให้แต่ละฝุายด้าเนินการ โครงการ งาน กิจกรรมตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการขับเคลื่อนกิจกรรม ๕ ส. โดยฝุายอาคารสถานที่ ดูแลการจัดสถานที่ให้เรียบร้อยตามเกณฑ์ประเมิน ๕ .ส ๒. โครงการพัฒนาชีวิตฝุายจิตด้วยจิตตารมณ์คาทอลิกโรงเรียนสนับสนุน และส่งเสริมในการนับถือศาสนา ของบุคลากร ด้าเนินชีวิตโดยใช้คุณธรรม ๑๒ ประการของนักบุญยวง เดอ ลาซาล ครูและผู้สนใจเรียนค้าสอน เพื่อเรียนรู้และมีความเชื่อ ความศรัทธา การสอนค้าสอนแก่นักเรียนคาทอลิก และนักเรียนที่สนใจ เวลาเช้าก่อน เข้าห้องเรียน คาบเรียนที่ ๑ ของทุกวัน วันละประมาณ ๒๐ นาที จัดกิจกรรม วายซีเอส ,ยุวธรรมทูต และเยาวชน


๑๕๗

ลาซาลเพื่อส่งเสริมให้นักเรียน และเยาวชนเป็นผู้น้า สร้างสรรค์ผลงาน เพื่อน้าไปขยายผลกิจกรรมในกลุ่มนักเรียน ต่างศาสนา จัดเป็นสนามแห่งการแพร่ธรรม โดยจัดอบรมสัมมนาฟื้นฟูจิตใจ ครู นักเรียน เยาวชน และบุคคลที่ เกี่ยวข้อง ให้ความรู้สร้างเสริมงานคุณธรรม จริยธรรม ทั้งในและนอกสถานที่ มีจิตอาสา และจัดให้อยู่ในบรรยากาศ การเรียนการสอนทุกกิจกรรม เช่น ฟื้นฟูจิตใจนักเรียนคาทอลิก กิจกรรมเสียงตามสาย มิสซาวันศุกร์ต้นเดือน ๓. โครงการเรียนรู้คู่คุณธรรมครูจัดการเรียนการสอนโดยบูรณาการคุณธรรมในกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งใน และนอกห้องเรียน นักเรียนได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติ ธรรมกับครู พระจากวัดต่างๆ ในชุมชน ได้ฝึกสมาธิ เรียนรู้ ข้อธรรมะและน้าไปปฏิบัติในชีวิตประจ้าวันได้อย่างเหมาะสม ๔. โครงการส่งเสริมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นักเรียนได้ฝึกการด้าเนินชีวิตอย่างพอประมาณเห็นคุณค่า ในทรัพย์สินที่มีทั้งส่วนตนและส่วนรวม ฝึกการวางแผนชีวิตให้อยู่ในสังคมการแบ่งปัน การเสียสละช่วยเหลือซึ่งกัน และกัน ครูผู้สอนได้บูรณาการแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระฯ ๕. โครงการส่งเสริมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตอบสนองนโยบาย จุดเน้น ตามแนวทา งการปฏิรูป การศึกษา สามารถน้าความรู้ไปพัฒนาให้มีคุณธรรม เป็นคนดีอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ๖. โครงการเรียนฟรี ๑๕ ปีอย่างมีคุณภาพ นักเรียนทุกคนได้รับการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาล จนจบ การศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โดยกระทรวงศึกษาธิการสนับสนุนค่าใช้จ่ายส้าหรับค่าหนังสือเรียน โรงเรียน จัดท้าค้าสั่ง ให้ครูคัดเลือกหนังสือ ตรวจสอบราคาหนังสือ น้าเสนอฝุายวิชาการ คณะกรรมการร่วม ๔ ฝุาย และ คณะกรรมการบริหารโรงเรียนเพื่ออนุมัติ สนับสนุนค่าอุปกรณ์การเรียนโดยโรงเรียนมอบเงินแก่ผู้ปกครอง เพื่อ น้าไปจัดซื้ออุปกรณ์การเรียน และน้าใบเสร็จมาให้ครูที่ปรึกษาเพื่อจัดเก็บไว้เป็นหลักฐาน ค่ากิจกรรมพัฒนา คุณภาพผู้เรียน โดยน้ามาใช้ในการจัดกิจกรรมค่ายวิชาการ, ค่ายพัฒนาผู้เรียนระดับอนุบาล ๑-๓, กิจกรรมทัศน ศึกษา นอกจากนี้ยัง บริการ Internet ให้นักเรียนทุกระดับ ในช่วงเวลา ๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ น. และ ๑๖.๐๐๑๗.๐๐ น. เพื่อให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเป็นประโยชน์ต่อการเรียน ๗. โครงการสังเกตการสอนเพื่อยกระดับคุณภาพครู โดยเทคนิค Give and Take เพื่อให้ครูมีเทคนิค วิธีการสอนที่หลากหลาย นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรม เกิดความสนุกสนานในการเรียน ครูทุกคนสังเกตการสอน ของเพื่อนครูที่สนใจเพื่อน้าเทคนิคการสอนที่น่าสนใจมาประยุกต์ใช้ปรับปรุงคุณภาพการสอน สู่การพัฒนาทักษะ วิชาชีพ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการทดสอบระดับชาติพัฒนามากกว่าที่ผ่านมา ๒. ผลการพัฒนา จากการจัดโครงการขับเคลื่อนกิจกรรมโรงเรียน โครงการพัฒนาชีวิตฝุายจิตด้วยจิตตารมณ์คาทอลิก โครงการเรียนรู้คู่คุณธรรม โครงการส่งเสริมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โครงการสังเกตการสอนเพื่อยกระดับ คุณภาพครูโดยเทคนิค Give and Take ทุกกิจกรรมตอบสนองนโยบาย จุดเน้น ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา นักเรียนเกิดแรงบันดาลใจทางการเรียน เกิดทักษะ และสามารถน้าความรู้ไปพัฒนาทักษะการอ่าน และเขียนของ ตนเองได้มีคุณธรรม ด้ารงชีวิตพอเพียงเป็นคนดีอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขผลการด้าเนินงานบรรลุตามเปูาหมาย มีผลการประเมินคุณภาพมาตรฐาน ๑๕ อยู่ในระดับดีเยี่ยม ๓. แนวทางการพัฒนา ๑. พัฒนาการจัดกิจกรรมของโรงเรียนให้สอดคล้องตามนโยบาย จุดเน้นตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา ๒. นักเรียน ควรมีส่วนร่วมในการวางแผนจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมมากขึ้นเพิ่มระยะเวลาและเพิ่ม กลุ่มเปูาหมายให้นักเรียนได้มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรม


๑๕๘

๓. สรุปผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียนปีการศึกษา ๒๕๕๗

 ระดับการศึกษาปฐมวัย

การศึกษาขั้นพื้นฐาน: ระดับการศึกษาปฐมวัย ด้านที่ ๑ มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ ๑ เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ มาตรฐานที่ ๓ เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม มาตรฐานที่ ๔ เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา ด้านที่ ๒ มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ ๕ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิพล มาตรฐานที่ ๖ ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผล มาตรฐานที่ ๗ แนวการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ ๘ โรงเรียนมีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามที่ก้าหนดใน กฎกระทรวง ด้านที่ ๓ มาตรฐานด้านคุณภาพการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๙ โรงเรียนมีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการ เรียนรู้ ด้านที่ ๔ มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๑๐ การพัฒนาโรงเรียนให้บรรลุเปูาหมายตามปรัชญา วิสัยทัศน์ และจุดเน้น การจัดการศึกษาปฐมวัย ด้านที่ ๕ มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม มาตรฐานที่ ๑๑ การพัฒนาโรงเรียนตามนโยบายและแนวทางปฏิรูปการศึกษาเพื่อ ยกระดับคุณภาพให้สงู ขึน้ คะแนนรวม

 ระดับปฐมวัย อยู่ในระดับคุณภาพดีเยี่ยม

น้าหนัก คะแนน ๒๐ ๕ ๕ ๕ ๕ ๖๕ ๒๐

คะแนน ที่ได้ ๑๙.๘๐ ๔.๙๘ ๔.๙๖ ๔.๙๕ ๔.๙๑ ๖๐.๒๖ ๑๘.๖๖

ระดับ คุณภาพ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕

๒๐

๑๙.๔๐

๒๐

๑๗.๖๐

๔.๖๐

๔.๐๐

๔.๐๐

๔.๐๐

๔.๐๐

๔.๐๐

๔.๐๐

๑๐๐

๙๒.๐๖


๑๕๙

 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน น้าหนัก คะแนน

คะแนน ที่ได้

ระดับ คุณภาพ

๓๐ ๕ ๕

๒๗.๙๓ ๔.๕๕ ๔.๙๗

๕ ๕ ๕

๔.๖๔

๔.๘๐

๔.๐๐

๔.๙๗

๕๐ ๑๐

๔๗.๖๒ ๙.๒๒

๕ ๕

๑๐

๙.๔๐

๔.๘

๑๐

๙.๔

๑๐

๑๐.๐๐

๔.๘

ด้านที่ ๓ มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

๑๐

๑๐

มาตรฐานที่ ๑๓ โรงเรียนมีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการ เรียนรู้

๑๐

๑๐

ด้านที่ ๔ มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา

๔.๕

มาตรฐานที่ ๑๔ การพัฒนาโรงเรียนให้บรรลุเปูาหมายตามวิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นที่ ก้าหนดขึ้น

๔.๕

ด้านที่ ๕ มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม

มาตรฐานที่ ๑๕ การจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏิรูปการศึกษาเพื่อ พัฒนาและส่งเสริมโรงเรียนให้ยกระดับคุณภาพสูงขึ้น

๑๐๐

๙๕.๐๕

การศึกษาขั้นพื้นฐาน: ระดับการศึกษาประถมศึกษาและ หรือมัธยมศึกษา

ด้านที่ ๑ มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ ๑ นักเรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ มาตรฐานที่ ๒ นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ มาตรฐานที่ ๓ นักเรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่อง มาตรฐานที่ ๔ นักเรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล มาตรฐานที่ ๕ นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จ้าเป็นตามหลักสูตร มาตรฐานที่ ๖ นักเรียนมีทักษะในการท้างาน รักการท้างาน สามารถท้างานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต

ด้านที่ ๒ มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ ๗ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล มาตรฐานที่ ๘ ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและ เกิด ประสิทธิผล มาตรฐานที่ ๙ คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครอง ชุมชนปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล มาตรฐานที่ ๑๐ โรงเรียนมีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ นักเรียนอย่างรอบด้าน มาตรฐานที่ ๑๑ โรงเรียนมีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนา เต็มศักยภาพ มาตรฐานที่ ๑๒ โรงเรียนมีการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนตามที่ก้าหนดใน กฎกระทรวง

คะแนนรวม  ระดับขั้นพื้นฐาน อยู่ในระดับคุณภาพดีเยี่ยม


๑๖๐

๔. ผลการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรโรงเรียน ๔.๑ ระดับการศึกษาปฐมวัย

ผลพัฒนาการเด็ก ชั้น

ปฐมวัยปีที่ ๒ (ชั้นปฐมวัยปีที่ ๓ –สช.) จานวน/ร้อยละของเด็กตามระดับคุณภาพ

จานวนเด็ก ที่ประเมิน

พัฒนาการด้าน

ดี

พอใช้

ปรับปรุง

๒๐๑

๓๙

๒. ด้านอารมณ์-จิตใจ

๒๔๐ ๒๔๐

๒๐๒

๓๘

๓. ด้านสังคม

๒๔๐

๒๐๒

๓๘

๔. ด้านสติปัญญา

๒๔๐

๒๐๑

๓๙

๑. ด้านร่างกาย

๔.๒ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกระดับชั้น (ป.๑-ป.๖, ม.๑-๓, ม.๔-๖) ปีการศึกษา ๒๕๕๗ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ฯ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ฯ (สังคม) สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ

จานวนที่ เข้าสอบ ๓๑๖ ๓๑๖ ๓๑๖ ๓๑๖ ๓๑๖ ๓๑๖ ๓๑๖ ๓๑๖

จานวนที่ เข้าสอบ ๒๘๒ ๒๘๒ ๒๘๒ ๒๘๒ ๒๘๒ ๒๘๒ ๒๘๒ ๒๘๒

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ จานวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ ๐ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๓ ๒ ๒๐ ๑๔ ๒๐ ๐ ๐ ๐

๒๑ ๑๑ ๕๕ ๕๑ ๕๒ ๐ ๘ ๑๗

๓๔ ๑๘ ๔๓ ๔๓ ๓๙ ๖ ๖๗ ๕๕

๒๘ ๓๒ ๓๓ ๓๐ ๒๙ ๒๐ ๕๔ ๕๐

๓๖ ๒๘ ๔๔ ๕๖ ๔๓ ๒๒ ๔๘ ๕๖

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ จานวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ ๐ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ๑ ๑ ๐ ๑ ๐ ๐ ๐ ๐

๑ ๐ ๕ ๓ ๐ ๐ ๐ ๑

๒๑ ๑๑ ๒๖ ๒๖ ๐ ๐ ๐ ๖

๒๙ ๒๐ ๕๕ ๔๔ ๘ ๑๙ ๒๒ ๑๓

๔๙ ๔๒ ๗๒ ๓๙ ๕๑ ๔๐ ๖๒ ๑๗

๓๗ ๔๕ ๔๐ ๒๖ ๖๐ ๔๖ ๗๔ ๒๘

๔๔ ๒๕ ๔๓ ๔๕ ๖๘ ๖๔ ๕๓ ๓๗

๔ ๑๙๔ ๒๒๕ ๑๒๑ ๑๒๒ ๑๓๓ ๒๖๘ ๑๓๙ ๑๓๘

๔ ๑๐๐ ๑๓๘ ๔๑ ๙๘ ๙๕ ๑๑๓ ๗๑ ๑๘๐

จานวน นร.ที่ได้ ระดับ ๓ ขึ้นไป

ร้อยละ นร.ที่ได้ ระดับ ๓ ขึ้นไป

๒๕๘ ๒๘๕ ๑๙๘ ๒๐๘ ๒๐๕ ๓๑๐ ๒๔๑ ๒๔๔

๘๑.๖๕ ๙๐.๑๙ ๖๒.๖๖ ๖๕.๘๒ ๖๔.๘๗ ๙๘.๑๐ ๗๖.๒๗ ๗๗.๒๒

จานวน นร.ที่ได้ ระดับ ๓ ขึ้นไป

ร้อยละ นร.ที่ได้ ระดับ ๓ ขึ้นไป

๑๘๑ ๒๐๘ ๑๒๔ ๑๖๙ ๒๒๓ ๒๒๓ ๑๙๘ ๒๔๕

๖๔.๑๘ ๗๓.๗๖ ๔๓.๙๗ ๕๙.๙๓ ๗๙.๐๘ ๗๙.๐๘ ๗๐.๒๑ ๘๖.๘๘


๑๖๑

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ฯ (สังคม) สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ฯ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ฯ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ

จานวนที่ เข้าสอบ

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ จานวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ ๐ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕

จานวน นร.ที่ได้ ระดับ ๓ ขึ้นไป

ร้อยละ นร.ที่ได้ ระดับ ๓ ขึ้นไป

๒๙๔ ๒๙๔ ๒๙๔ ๒๙๔ ๒๙๔

๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๐ ๐ ๐ ๙ ๐

๑๗ ๕ ๑๓ ๔๔ ๐

๒๙ ๑๙ ๔๓ ๓๒ ๒๔

๓๕ ๓๗ ๓๔ ๒๓ ๓๖

๔๒ ๓๙ ๕๐ ๔๒ ๔๙

๔๓ ๔๗ ๕๙ ๔๕ ๕๒

๑๒๘ ๑๔๗ ๙๕ ๙๙ ๑๓๓

๒๑๓ ๒๓๓ ๒๐๔ ๑๘๖ ๒๓๔

๗๒.๔๕ ๗๙.๒๕ ๖๙.๓๙ ๖๓.๒๗ ๗๙.๕๙

๒๙๔

๑๙

๔๑

๕๑

๖๒

๑๒๐

๒๓๓

๗๙.๒๕

๒๙๔ ๒๙๔

๐ ๐

๐ ๒

๕ ๒๑

๓๐ ๒๖

๕๙ ๒๘

๖๘ ๒๗

๗๑ ๓๘

๖๑ ๑๕๒

๒๐๐ ๒๑๗

๖๘.๐๓ ๗๓.๘๑

จานวน น.ร.ที่ได้ ระดับ ๓ ขึ้นไป

ร้อยละ น.ร.ที่ได้ ระดับ ๓ ขึ้นไป

๒๕๗ ๒๕๔ ๒๔๖ ๒๑๐ ๒๖๖ ๒๔๓ ๒๔๕ ๒๐๕

๙๑.๑๓ ๙๐.๐๗ ๘๗.๒๓ ๗๔.๔๗ ๙๔.๓๓ ๘๖.๑๗ ๘๖.๘๘ ๗๒.๗๐

จานวน น.ร.ที่ได้ ระดับ ๓ ขึ้นไป

ร้อยละ น.ร.ที่ได้ ระดับ ๓ ขึ้นไป

๒๗๘ ๒๑๔ ๒๖๖ ๒๖๐ ๓๑๓ ๒๖๖ ๒๙๗ ๒๒๒

๘๕.๒๘ ๖๕.๖๔ ๘๑.๖๐ ๗๙.๗๕ ๙๖.๐๑ ๘๑.๖๐ ๙๑.๑๐ ๖๘.๑๐

จานวนที่ เข้าสอบ ๒๘๒ ๒๘๒ ๒๘๒ ๒๘๒ ๒๘๒ ๒๘๒ ๒๘๒ ๒๘๒

จานวนที่ เข้าสอบ ๓๒๖ ๓๒๖ ๓๒๖ ๓๒๖ ๓๒๖ ๓๒๖ ๓๒๖ ๓๒๖

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒ จานวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ ๐ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๑ ๑

๑ ๗ ๖ ๑๙ ๐ ๐ ๘ ๑๘

๙ ๑๑ ๑๒ ๒๕ ๐ ๑๔ ๑๐ ๒๘

๑๕ ๑๐ ๑๘ ๒๘ ๑๖ ๒๕ ๑๘ ๓๐

๒๐ ๒๖ ๓๒ ๓๕ ๒๔ ๔๐ ๔๐ ๔๒

๔๖ ๓๖ ๔๓ ๕๕ ๕๑ ๖๕ ๖๓ ๓๒

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒ จานวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ ๐ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๒ ๘ ๕ ๘ ๐ ๐ ๑ ๑

๖ ๒๕ ๑๒ ๑๓ ๐ ๓ ๒ ๓๐

๑๔ ๓๑ ๒๐ ๑๔ ๓ ๒๑ ๗ ๓๒

๒๖ ๔๘ ๒๓ ๓๑ ๑๐ ๓๖ ๑๙ ๔๑

๖๑ ๔๒ ๒๙ ๔๘ ๑๘ ๔๒ ๔๒ ๓๔

๗๐ ๕๗ ๗๐ ๗๑ ๓๖ ๙๐ ๗๖ ๔๔

๔ ๑๙๑ ๑๙๒ ๑๗๑ ๑๒๐ ๑๙๑ ๑๓๘ ๑๔๒ ๑๓๑

๔ ๑๔๗ ๑๑๕ ๑๖๗ ๑๔๑ ๒๕๙ ๑๓๔ ๑๗๙ ๑๔๔


๑๖๒

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ฯ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ฯ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ฯ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ

จานวนที่ เข้าสอบ ๓๓๐ ๓๓๐ ๓๓๐ ๓๓๐ ๓๓๐ ๓๓๐ ๓๓๐ ๓๓๐

จานวนที่ เข้าสอบ ๓๕๒ ๓๕๒ ๓๕๒ ๓๕๒ ๓๕๒ ๓๕๒ ๓๕๒ ๓๕๒

จานวนที่ เข้าสอบ ๓๘๗ ๓๘๗ ๓๘๗ ๓๘๗ ๓๘๗ ๓๘๗ ๓๘๗ ๓๘๗

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒ จานวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ ๐ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๐ ๑ ๑๙ ๓ ๑ ๐ ๐ ๑

๓ ๑๐ ๔๓ ๒๖ ๑ ๐ ๒ ๓๖

๒๓ ๒๖ ๕๑ ๒๑ ๖ ๑๗ ๑๐ ๓๙

๓๘ ๔๔ ๕๒ ๒๓ ๒๑ ๔๐ ๒๘ ๔๖

๗๖ ๕๙ ๔๐ ๔๘ ๗๐ ๗๘ ๕๘ ๕๐

๖๘ ๕๕ ๔๔ ๘๑ ๑๐๕ ๖๐ ๗๗ ๓๙

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ จานวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ ๐ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๐ ๑๔ ๖ ๑ ๒ ๑๘ ๐ ๑๑๔

๓๔ ๒๗ ๔๑ ๘ ๑๑ ๔๐ ๙ ๕๖

๔๗ ๔๙ ๘๔ ๒๑ ๑๗ ๗๘ ๒๘ ๕๖

๕๖ ๔๐ ๙๗ ๖๗ ๓๕ ๘๑ ๕๐ ๕๖

๖๑ ๕๕ ๘๒ ๘๒ ๔๖ ๖๔ ๙๙ ๓๐

๕๐ ๖๔ ๒๙ ๗๗ ๗๕ ๓๓ ๔๘ ๓๐

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ จานวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ ๐ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๕๕ ๑๕ ๔๑ ๓ ๓ ๒๐ ๐ ๑๑๖

๕๑ ๔๙ ๗๙ ๑๔ ๓๘ ๔๔ ๐ ๖๙

๘๖ ๕๒

๗๘ ๕๐ ๑๑๑ ๗๔ ๔๔ ๖๐ ๑๑๔ ๑๒๙ ๔๔ ๕๘ ๐ ๑๔ ๖๓ ๔๐

๖๗ ๗๑ ๔๙ ๗๑ ๗๔ ๗๗ ๙๕ ๔๕

จานวน น.ร.ที่ได้ ระดับ ๓ ขึ้นไป

ร้อยละ น.ร.ที่ได้ ระดับ ๓ ขึ้นไป

๑๒๒ ๑๓๕ ๘๑ ๑๒๘ ๑๒๖ ๑๓๕ ๑๕๕ ๑๑๙

๒๖๖ ๒๔๙ ๑๖๕ ๒๕๗ ๓๐๑ ๒๗๓ ๒๙๐ ๒๐๘

๘๐.๖๑ ๗๕.๔๕ ๕๐.๐๐ ๗๗.๘๘ ๙๑.๒๑ ๘๒.๗๓ ๘๗.๘๘ ๖๓.๐๓

จานวน นร.ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป

ร้อยละ นร.ที่ ได้ระดับ ๓ ขึ้น ไป

๙๔ ๑๐๓ ๑๓ ๙๖ ๑๖๖ ๓๘ ๑๑๘ ๑๐

๒๐๕ ๒๒๒ ๑๒๔ ๒๕๕ ๒๘๗ ๑๓๕ ๑๙๗ ๗๐

๕๘.๒๖ ๖๓.๐๘ ๓๕.๒๕ ๗๒.๔๖ ๘๑.๕๖ ๓๘.๓๗ ๗๕.๓๐ ๑๙.๙๒

จานวน นร.ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป

ร้อยละ นร.ที่ ได้ระดับ ๓ ขึ้น ไป

๑๑๗ ๒๒๑ ๘๒ ๒๖๖ ๑๐๓ ๒๒๑ ๓๗๓ ๙๙

๓๐.๒๕ ๕๗.๑๐ ๒๑.๒๐ ๖๘.๗๖ ๒๖.๖๔ ๕๗.๐๙ ๙๖.๓๙ ๒๕.๖๐

๓๔ ๕๐

๑๖ ๑๐๐

๑๗ ๙๒ ๒๓ ๘๑ ๑๘๕ ๓๐

๑๖ ๑๐๓ ๖ ๖๓ ๙๓ ๒๔


๑๖๓

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ฯ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ฯ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ฯ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ

จานวนที่ เข้าสอบ ๓๙๘ ๓๙๘ ๓๙๘ ๓๙๘ ๓๙๘ ๓๙๘ ๓๙๘ ๓๙๘

จานวนที่ เข้าสอบ ๒๖๒ ๒๖๒ ๒๖๒ ๒๖๒ ๒๖๒ ๑๐๙ ๑๕๓ ๒๖๒

จานวนที่ เข้าสอบ ๒๒๓ ๒๒๓ ๒๒๓ ๒๒๓ ๒๒๓ ๒๒๓ ๒๒๓ ๒๒๓

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ จานวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ ๐ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๒๖ ๖๑ ๕๘ ๔๕ ๗ ๘ ๔ ๘๖

๓๗ ๖๙ ๘๙ ๓๓ ๓๖ ๒๔ ๑๗ ๖๔

๓๐ ๖๑ ๖๐ ๗๑ ๕๓ ๓๑ ๔๐ ๖๗

๖๑ ๗๕ ๖๖ ๔๐ ๖๖

๖๕ ๗๔ ๔๔

๙๑ ๕๖ ๕๙ ๘๓ ๙๑ ๕๔ ๘๒ ๔๒

๙๙ ๓๕ ๔๐ ๓๗ ๙๖ ๖๔ ๗๗ ๓๗

๔ ๕๔ ๔๑ ๒๖ ๘๙ ๔๙ ๑๕๒ ๑๐๔ ๕๘

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑ จานวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ ๐ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕

๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๘๙ ๔๓ ๒๘ ๓๒ ๕๖ ๔๗ ๙๔ ๑๘

๘ ๖๗ ๕๗ ๒๘ ๒ ๐ ๑ ๕๕

๒๕ ๓๖ ๔๐ ๒๕ ๘ ๐ ๒ ๔๗

๓๔ ๓๒ ๓๐ ๓๒ ๓๙ ๔ ๔ ๔๒

๓๗ ๒๖ ๓๔ ๓๘ ๓๗ ๙ ๕ ๓๙

๓๒ ๒๗ ๓๕ ๕๔ ๖๐ ๑๗ ๑๑ ๓๗

๓๗ ๓๑ ๓๘ ๕๓ ๖๐ ๓๒ ๓๖ ๒๔

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ จานวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ ๐ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๔๘ ๕๖ ๔๖ ๒ ๐ ๑ ๑ ๕๑

๔๒ ๒๙ ๔๐ ๑๖ ๑ ๐ ๔ ๖๑

๕๔ ๓๔ ๓๗ ๒๖ ๒๒ ๒ ๘ ๔๒

๒๗ ๑๖ ๓๘ ๓๕ ๓๖ ๑๓ ๑๒ ๓๖

๑๕ ๑๔ ๑๙ ๔๓ ๗๑ ๓๓ ๒๖ ๑๔

๑๖ ๑๗ ๑๗ ๔๓ ๖๑ ๕๒ ๒๗ ๑๑

๔ ๒๑ ๕๗ ๒๖ ๕๘ ๓๒ ๑๒๒ ๑๔๕ ๘

จานวน นร.ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป

ร้อยละ นร.ที่ได้ ระดับ ๓ ขึ้นไป

๒๔๔ ๑๓๒ ๑๒๕ ๒๐๙ ๒๓๖ ๒๗๐ ๒๖๓ ๑๓๗

๖๑.๓๐ ๓๓.๑๙ ๓๑.๔๒ ๕๒.๕๓ ๕๙.๓๒ ๖๗.๘๓ ๖๖.๐๙ ๓๔.๔๔

จานวนนร.ที่ได้ ระดับ ๓ขึ้นไป

ร้อยละ นร.ที่ได้ ระดับ ๓ขึ้นไป

๑๕๘ ๑๐๑ ๑๐๑ ๑๓๙ ๑๗๖ ๙๖ ๑๔๑ ๗๙

๖๐.๓๑ ๓๘.๕๕ ๓๘.๕๕ ๕๓.๐๕ ๖๗.๑๘ ๘๘.๐๗ ๙๒.๑๖ ๓๐.๑๕

จานวนนร.ที่ได้ ระดับ ๓ขึ้นไป

ร้อยละ นร.ที่ได้ ระดับ ๓ขึ้นไป

๕๒ ๘๘ ๖๒ ๑๑๔ ๑๖๔ ๒๐๗ ๑๙๘ ๓๓

๒๓.๓๒ ๓๙.๔๖ ๒๗.๘๐ ๖๔.๕๗ ๗๓.๕๔ ๙๒.๘๓ ๘๘.๗๙ ๑๔.๘๐


๑๖๔

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ฯ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ฯ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ฯ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ

จานวนที่ เข้าสอบ ๒๕๕ ๒๕๕ ๒๕๕ ๒๕๕ ๒๕๕ ๒๕๕ ๒๕๕ ๒๕๕

จานวนที่ เข้าสอบ ๓๕๓ ๓๕๓ ๓๕๓ ๓๕๓ ๓๕๓ ๓๕๓ ๓๕๓ ๓๕๓

จานวนที่ เข้าสอบ ๓๘๗ ๓๘๗ ๓๘๗ ๓๘๗ ๓๘๗ ๓๘๗ ๓๘๗ ๓๘๗

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ จานวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ ๐ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๒๓ ๔๑ ๒๒ ๑๔ ๐ ๐ ๑ ๗๐

๓๓ ๑๒ ๕๙ ๑๗ ๐ ๐ ๐ ๓๘

๔๖ ๒๔ ๔๙ ๒๖ ๐ ๑๘ ๒ ๔๘

๔๑ ๒๓ ๔๖ ๓๖ ๓ ๓๙ ๑๕ ๔๓

๔๗ ๓๑ ๕๗ ๔๖ ๘ ๑๐๐ ๒๖ ๒๐

๒๙ ๒๖ ๑๙ ๔๗ ๔๔ ๖๐ ๔๔ ๑๔

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ จานวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ ๐ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑ ๕ ๓๓ ๒ ๐ ๑๐ ๔ ๑๑๓

๓๗ ๑๗ ๗๗ ๑๓ ๕ ๒๕ ๑๗ ๗๐

๕๒ ๓๗ ๘๐ ๔๑ ๔ ๔๐ ๕๗ ๕๑

๕๐ ๕๖ ๘๙ ๕๖ ๓๓ ๕๖ ๘๐ ๕๐

๖๘ ๗๙ ๔๕ ๖๓ ๗๙ ๘๓ ๙๖ ๓๐

๘๐ ๖๖ ๒๑ ๗๔ ๑๐๙ ๕๕ ๕๗ ๒๑

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ จานวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ ๐ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๕๔ ๒๙ ๗๐ ๑๒ ๐ ๑๓ ๐ ๑๑๘

๖๗ ๔๔ ๙๙ ๑๗ ๒๔ ๒๖ ๐ ๖๖

๕๘ ๕๒ ๗๑ ๔๘ ๙๔ ๓๓ ๐ ๖๕

๗๐ ๕๘ ๘๐ ๕๖

๔๐ ๕๐ ๓๒ ๖๕ ๑๑๑ ๑๐๖ ๕๑ ๖๙ ๓๔ ๑๑๙ ๓๗ ๓๙

๔๙ ๔๓ ๑๗ ๖๐ ๓๗ ๑๐๒ ๙๙ ๒๔

จานวนนร.ที่ได้ ระดับ ๓ขึ้นไป

ร้อยละ นร.ที่ได้ ระดับ ๓ขึ้นไป

๓๖ ๙๘ ๓ ๖๙ ๒๐๐ ๓๘ ๑๖๗ ๒๒

๑๑๒ ๑๕๕ ๗๙ ๑๖๒ ๒๕๒ ๑๙๘ ๒๓๗ ๕๖

๔๓.๙๒ ๖๐.๗๘ ๓๐.๙๘ ๖๓.๕๓ ๙๘.๘๒ ๗๗.๖๕ ๙๒.๙๔ ๒๑.๙๖

จานวน นร.ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป

ร้อยละ นร.ที่ได้ ระดับ ๓ ขึ้นไป

๖๕ ๙๓ ๘ ๑๐๔ ๑๒๓ ๘๔ ๔๒ ๑๘

๒๑๓ ๒๓๘ ๗๔ ๒๔๑ ๓๑๑ ๒๒๒ ๑๙๕ ๖๙

๖๐.๓๕ ๖๗.๔๓ ๒๐.๙๗ ๖๘.๒๙ ๘๘.๑๐ ๖๒.๙๐ ๕๕.๒๖ ๑๙.๕๖

จานวน นร.ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป

ร้อยละ นร.ที่ได้ ระดับ ๓ ขึ้นไป

๔๙ ๑๑๑ ๑๘ ๑๒๙ ๑๕ ๙๓ ๑๓๕ ๓๘

๑๓๘ ๒๐๔ ๖๗ ๒๕๔ ๑๕๘ ๒๖๔ ๓๕๓ ๑๐๑

๓๕.๖๘ ๕๒.๗๔ ๑๗.๓๒ ๖๕.๖๔ ๔๐.๘๔ ๖๘.๒๕ ๙๑.๒๒ ๒๖.๑๐


๑๖๕

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ฯ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ฯ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ฯ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ

จานวนที่ เข้าสอบ ๓๙๘ ๓๙๘ ๓๙๘ ๓๙๘ ๓๙๘ ๓๙๘ ๓๙๘ ๓๙๘

จานวนที่ เข้าสอบ ๒๒๑ ๒๒๑ ๑๒๙ ๒๒๑ ๒๒๑ ๙๒ ๒๒๑ ๒๒๑

จานวนที่ เข้าสอบ ๒๓๘ ๒๓๘ ๑๔๐ ๒๓๘ ๒๓๘ ๑๔๐ ๒๓๘ ๑๔๐

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ จานวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ ๐ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๓๗ ๗๔ ๓๒ ๖๐ ๑๘ ๐ ๒๓ ๙๒

๔๗ ๔๗ ๖๘ ๔๐ ๓๑ ๓ ๔๒ ๗๖

๔๖ ๕๑ ๙๓ ๗๕ ๕๕ ๓๙ ๕๓ ๘๐

๖๖ ๖๐ ๗๕ ๖๖ ๖๕ ๕๕ ๘๘ ๕๓

๗๘ ๕๔ ๖๐ ๗๒ ๑๐๓ ๕๙ ๙๖ ๓๗

๘๑ ๓๙ ๔๑ ๕๒ ๘๓ ๕๐ ๖๘ ๒๙

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒ จานวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ ๐ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๒ ๗๗ ๒๐ ๓๒ ๐ ๖ ๗ ๕๐

๔ ๔๖ ๒๙ ๕๘ ๕ ๖ ๖ ๔๘

๑๗ ๓๓ ๓๖ ๕๓ ๑๔ ๑๓ ๑๑ ๔๒

๓๐ ๒๒ ๑๗ ๔๔ ๘ ๑๒ ๑๒ ๒๕

๕๐ ๑๒ ๑๓ ๒๘ ๒๙ ๑๓ ๓๑ ๒๓

๖๙ ๘ ๗ ๕ ๒๕ ๒๕ ๔๖ ๑๗

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒ จานวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ ๐ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๘ ๙๗ ๓๐ ๑๙ ๐ ๔ ๒๒ ๑๐

๒๙ ๓๔ ๑๙ ๖๙ ๐ ๓ ๑๘ ๑๙

๕๑ ๒๐ ๒๙ ๖๑ ๑ ๕ ๒๑ ๑๙

๓๘ ๒๒ ๑๒ ๕๘ ๗ ๑๑ ๒๑ ๑๕

๔๓ ๑๔ ๒๐ ๒๒ ๑๙ ๑๓ ๓๑ ๒๐

๒๘ ๑๙ ๑๔ ๙ ๓๑ ๓๐ ๔๙ ๑๙

จานวน นร.ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป

ร้อยละ นร.ที่ได้ ระดับ ๓ ขึ้นไป

๔๓ ๗๓ ๑๙ ๓๓ ๔๓ ๑๙๒ ๒๘ ๓๑

๒๐๒ ๑๖๖ ๑๒๐ ๑๕๗ ๒๒๙ ๓๐๑ ๑๙๒ ๙๗

๕๐.๗๘ ๔๑.๗๐ ๓๐.๑๗ ๓๙.๔๖ ๕๗.๕๖ ๗๕.๖๕ ๔๘.๒๖ ๒๔.๓๘

จานวนนร.ที่ได้ ระดับ ๓ขึ้นไป

ร้อยละ นร.ที่ได้ ระดับ ๓ขึ้นไป

๑๖๗ ๔๒ ๒๖ ๓๓ ๑๙๓ ๕๕ ๑๘๔ ๕๕

๗๕.๕๗ ๑๙.๐๐ ๒๐.๑๖ ๑๓.๕๗ ๘๗.๓๓ ๕๙.๗๘ ๘๓.๒๖ ๒๔.๘๙

จานวนนร.ที่ได้ ระดับ ๓ขึ้นไป

ร้อยละ นร.ที่ได้ ระดับ ๓ขึ้นไป

๑๑๒ ๖๕ ๕๐ ๓๑ ๒๓๐ ๑๑๗ ๑๕๖ ๗๗

๔๗.๐๖ ๒๗.๓๑ ๑๗.๘๖ ๑๓.๐๓ ๙๖.๖๔ ๘๓.๕๗ ๖๕.๕๕ ๕๕.๐๐

๔ ๔๘ ๒๒ ๖ ๐ ๑๓๙ ๑๗ ๑๐๗ ๑๕

๔ ๔๑ ๓๒ ๑๖ ๐ ๑๘๐ ๗๔ ๗๖ ๓๘


๑๖๖

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ฯ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ

จานวนที่ เข้าสอบ ๒๒๐ ๒๒๐ ๙๖ ๒๒๐ ๒๒๐ ๙๖ ๒๒๐ ๒๒๐

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒ จานวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ ๐ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๕๖ ๘๕ ๒๒ ๕ ๐ ๐ ๑๐ ๓๑

๔๗ ๕๙ ๑๔ ๓๕ ๑ ๐ ๗ ๓๑

๓๔ ๓๗ ๑๕ ๗๒ ๑ ๒ ๑๔ ๒๑

๒๕ ๑๖ ๘ ๕๓ ๓ ๔ ๑๒ ๕

๒๑ ๙ ๙ ๔๑ ๓ ๑๔ ๒๓ ๖

๒๐ ๗ ๑๓ ๑๔ ๑๖ ๑๗ ๒๔ ๒

๔ ๑๗ ๗ ๑๕ ๐ ๑๙๖ ๕๙ ๑๓๐ ๐

จานวนนร.ที่ได้ ระดับ ๓ขึ้นไป

ร้อยละ นร.ที่ได้ ระดับ ๓ขึ้นไป

๕๘ ๒๓ ๓๗ ๕๕ ๒๑๕ ๙๐ ๑๗๗ ๘

๒๖.๓๖ ๑๐.๔๕ ๓๘.๕๔ ๒๕.๐๐ ๙๗.๗๓ ๘๐.๔๕ ๘๐.๔๕ ๘.๓๓

๔.๓ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-Net ปีการศึกษา ๒๕๕๗ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ สาระวิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ฯ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ

จานวนคน

คะแนน เฉลี่ย

ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน

๓๓๐ ๓๓๐ ๓๓๐ ๓๓๐ ๓๓๐ ๓๓๐ ๓๓๐ ๓๓๐

๔๘.๒๔ ๕๐.๖๗ ๔๘.๐๙ ๕๘.๗๕ ๕๙.๐๗ ๔๙.๖๘ ๖๑.๖๒ ๔๖.๙๕

๑๑.๓๗ ๑๙.๕๘ ๑๔.๓๐ ๑๓.๖๖ ๑๒.๗๒ ๑๕.๘๘ ๑๔.๕๒ ๒๑.๕๗

จานวนร้อยละของนักเรียนที่ได้ ระดับ ปรับปรุง พอใช้ ดี ๐.๙๑ ๗๕.๑๕ ๒๓.๙๔ ๖.๖๗ ๖๗.๕๘ ๒๕.๗๖ ๖.๓๖ ๗๗.๒๗ ๑๖.๓๖ ๐.๙๑ ๕๕.๔๕ ๔๓.๖๔ ๐.๙๑ ๕๗.๕๘ ๔๑.๕๒ ๕.๑๕ ๗๔.๕๕ ๒๐.๓๐ ๑.๕๒ ๔๓.๐๓ ๕๕.๔๕ ๔.๒๔ ๖๕.๑๕ ๓๐.๖๑

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ สาระวิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ฯ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ

จานวนคน

คะแนน เฉลี่ย

ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน

๓๙๙ ๓๙๙ ๓๙๙ ๓๙๙ ๓๙๙ ๓๙๙ ๓๙๙ ๓๙๙

๓๖.๖๗ ๓๔.๕๙ ๔๒.๙๓ ๔๘.๗๖ ๖๓.๕๓ ๔๔.๒๖ ๔๖.๖๔ ๒๗.๒๒

๘.๑๗ ๑๒.๙๖ ๑๒.๘๐ ๑๑.๓๙ ๑๐.๓๗ ๙.๒๐ ๑๑.๘๔ ๘.๒๕

จานวนร้อยละของนักเรียนที่ได้ ระดับ ปรับปรุง พอใช้ ดี ๙.๒๗ ๘๖.๒๒ ๔.๕๑ ๕.๕๑ ๘๙.๔๗ ๕.๐๑ ๗.๐๒ ๘๖.๒๒ ๖.๗๗ ๑.๕๐ ๗๔.๖๙ ๒๓.๘๑ ๐.๒๕ ๕๖.๑๔ ๔๓.๖๑ ๑.๐๐ ๘๙.๔๗ ๙.๕๒ ๒.๒๖ ๗๖.๔๔ ๒๑.๓๐ ๙.๒๗ ๙๐.๔๘ ๐.๒๕


๑๖๗

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ สาระวิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ฯ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ

จ้านวนคน ๒๑๙ ๒๒๐ ๒๑๙ ๒๒๐ ๒๑๙ ๒๑๙ ๒๑๙ ๒๒๐

คะแนน เฉลี่ย

ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน

๕๒.๓๙ ๒๑.๓๑ ๓๓.๙๒ ๓๖.๓๔ ๕๕.๑๔ ๓๕.๖๓ ๕๒.๐๑ ๒๕.๗๕

๑๒.๔๔ ๑๐.๐๖ ๗.๑๕ ๗.๖๗ ๑๐.๑๕ ๗.๑๑ ๙.๓๗ ๗.๕๔

จ้านวนร้อยละของนักเรียนที่ได้ ระดับ ปรับปรุง พอใช้ ๐.๐๐ ๗๒.๑๕ ๑.๘๒ ๙๖.๘๒ ๕.๐๒ ๙๔.๙๘ ๙.๐๙ ๘๙.๕๕ ๐.๔๖ ๖๗.๕๘ ๙.๑๓ ๘๙.๕๐ ๐.๔๖ ๖๘.๐๔ ๐.๐๐ ๑๐๐

ดี ๒๗.๘๕ ๑.๓๖ ๐.๐๐ ๑.๓๖ ๓๑.๙๖ ๑.๓๗ ๓๑.๕๑ ๐.๐๐

๔.๔ ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๑ ประถมศึกษาปีที่ ๒ ประถมศึกษาปีที่ ๓ ประถมศึกษาปีที่ ๔ ประถมศึกษาปีที่ ๕ ประถมศึกษาปีที่ ๖ รวม เฉลี่ยร้อยละ

จานวน นร. ทั้งหมด ๓๑๖ ๒๘๒ ๒๙๓ ๒๘๒ ๓๒๖ ๓๓๐ ๑,๘๒๙ ๑๐๐

จานวน/ร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ(คุณลักษณะอันพึงประสงค์) ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน ๓๑๔ ๒ ๒๗๖ ๖ ๒๖๐ ๓๓ ๒๕๙ ๒๓ ๓๒๖ ๓๓๐ ๑,๗๖๕ ๖๔ ๙๖.๕๐ ๓.๕๐ -

ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ ภาคเรียนที่ ๑ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ มัธยมศึกษาปีที่ ๔ มัธยมศึกษาปีที่ ๕ มัธยมศึกษาปีที่ ๖ รวม เฉลี่ยร้อยละ

จานวน นร. ทั้งหมด ๓๕๘ ๓๙๖ ๔๐๒ ๒๒๖ ๒๔๒ ๒๑๙ ๑,๘๔๓ ๑๐๐

จานวน/ร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ(คุณลักษณะอันพึงประสงค์) ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน ๒๗๓ ๘๕ ๓๘๔ ๑๒ ๒๒๙ ๑๗๓ ๑๓๗ ๘๙ ๑๘๘ ๕๔ ๑๒๒ ๙๗ ๑,๓๓๓ ๕๑๐ ๗๒.๓๓ ๒๗.๖๗ -


๑๖๘

ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ ภาคเรียนที่ ๒ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ มัธยมศึกษาปีที่ ๔ มัธยมศึกษาปีที่ ๕ มัธยมศึกษาปีที่ ๖ รวม เฉลี่ยร้อยละ

จานวน นร. ทั้งหมด ๓๕๓ ๓๘๗ ๓๙๘ ๒๒๑ ๒๓๘ ๒๒๐ ๑,๘๑๗ ๑๐๐

จานวน/ร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ (คุณลักษณะอันพึงประสงค์) ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน ๓๒๙ ๒๔ ๓๗๙ ๘ ๒๖๓ ๑๓๕ ๑๓๖ ๘๕ ๑๘๖ ๕๒ ๑๒๔ ๙๖ ๑,๔๑๗ ๔๐๐ ๗๗.๙๙ ๒๒.๐๑ -

๔.๕ ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๑ ประถมศึกษาปีที่ ๒ ประถมศึกษาปีที่ ๓ ประถมศึกษาปีที่ ๔ ประถมศึกษาปีที่ ๕ ประถมศึกษาปีที่ ๖ รวม เฉลี่ยร้อยละ

จานวน นร. ทั้งหมด ๓๑๖ ๒๘๒ ๒๙๓ ๒๘๒ ๓๒๖ ๓๓๐ ๑,๘๒๙ ๑๐๐

จานวน/ร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ (การอ่านคิด วิเคราะห์ และเขียน) ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน ๓๑๔ ๒ ๒๗๒ ๑๐ ๒๕๔ ๓๙ ๒๕๘ ๒๔ ๒๘๕ ๔๑ ๓๐๕ ๒๕ ๑,๖๘๘ ๑๔๑ ๙๒.๒๙ ๗.๗๑ -

ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ ภาคเรียนที่ ๑ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ มัธยมศึกษาปีที่ ๔ มัธยมศึกษาปีที่ ๕ มัธยมศึกษาปีที่ ๖ รวม เฉลี่ยร้อยละ

จานวน นร. ทั้งหมด ๓๕๘ ๓๙๖ ๔๐๒ ๒๒๖ ๒๔๒ ๒๑๙ ๑,๘๔๓ ๑๐๐

จานวน/ร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ (การอ่านคิด วิเคราะห์ และเขียน) ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน ๒๙๒ ๖๖ ๓๘๐ ๑๖ ๒๕๔ ๑๔๘ ๙๘ ๑๑๓ ๑๕ ๑๑๘ ๑๑๗ ๗ ๑๑๕ ๑๐๔ ๑,๒๕๗ ๕๖๔ ๒๒ ๖๘.๒๐ ๓๐.๖๐ ๑.๒๐ -


๑๖๙

ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ ภาคเรียนที่ ๒ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ มัธยมศึกษาปีที่ ๔ มัธยมศึกษาปีที่ ๕ มัธยมศึกษาปีที่ ๖ รวม เฉลี่ยร้อยละ

จานวน นร. ทั้งหมด ๓๕๓ ๓๘๗ ๓๙๘ ๒๒๑ ๒๓๘ ๒๒๐ ๑,๘๑๗ ๑๐๐

จานวน/ร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ (การอ่านคิด วิเคราะห์ และเขียน) ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน ๒๓๐ ๑๒๓ ๓๐๕ ๘๒ ๒๖๐ ๑๓๘ ๙๓ ๑๖๖ ๑๒ ๑๑๖ ๑๑๖ ๖ ๑๑๕ ๑๐๔ ๑ ๑,๑๑๙ ๖๗๙ ๑๙ ๖๑.๕๙ ๓๗.๓๗ ๑.๐๔ -

๔.๖ ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๑ ประถมศึกษาปีที่ ๒ ประถมศึกษาปีที่ ๓ ประถมศึกษาปีที่ ๔ ประถมศึกษาปีที่ ๕ ประถมศึกษาปีที่ ๖ รวม เฉลี่ยร้อยละ

จานวน นร. ทั้งหมด ๓๑๖ ๒๘๒ ๒๙๓ ๒๘๒ ๓๒๖ ๓๓๐ ๑,๘๒๙ ๑๐๐

จานวน/ร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ (กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน) ผ่าน ไม่ผ่าน ๓๑๖ ๒๘๒ ๒๙๓ ๒๘๒ ๓๒๖ ๓๓๐ ๑,๘๒๙ ๑๐๐ -

ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ ภาคเรียนที่ ๑ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ มัธยมศึกษาปีท๔ี่ มัธยมศึกษาปีท๕ี่ มัธยมศึกษาปีที่ ๖ รวม เฉลี่ยร้อยละ

จานวน นร. ทั้งหมด ๓๕๘ ๓๙๖ ๔๐๒ ๒๒๖ ๒๔๒ ๒๑๙ ๑,๘๔๓ ๑๐๐

จานวน/ร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ (กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน) ผ่าน ไม่ผ่าน ๓๕๘ ๓๙๖ ๔๐๒ ๒๒๖ ๒๔๒ ๒๑๙ ๑,๘๔๓ ๑๐๐ -


๑๗๐

ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ ภาคเรียนที่ ๒ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ มัธยมศึกษาปีท๔ี่ มัธยมศึกษาปีท๕ี่ มัธยมศึกษาปีที่ ๖ รวม เฉลี่ยร้อยละ

จานวน นร. ทั้งหมด ๓๕๓ ๓๘๗ ๓๙๘ ๒๒๑ ๒๓๘ ๒๒๐ ๑,๘๑๗ ๑๐๐

จานวน/ร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ (กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน) ผ่าน ไม่ผ่าน ๓๕๓ ๓๘๗ ๓๙๘ ๒๒๑ ๒๓๘ ๒๒๐ ๑,๘๑๗ ๑๐๐ -

๔.๗ ผลการประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ๕ ด้าน ๑. ด้านความสามารถในการสื่อสาร นักเรียนมีความสามารถในการรับและส่งสาร มีทักษะในการใช้ ภาษาถ่ายทอดความคิดความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม สามารถสื่อสารเพื่อต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหา ความขัดแย้งต่างๆ มีเหตุผลในการเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนสามารถเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยค้านึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม ๒. ด้านความสามารถในการคิด นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อน้าไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม ๓. ด้านความสามารถในการแก้ปัญหา นักเรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์ และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปูองกันและแก้ไข ปัญหาและมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยค้านึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม ๔ . ด้านความสามารถในการใช้ทักษะชีวิตนักเรียนมีความสามารถในการน้ากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน การด้าเนินชีวิตประจ้าวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การท้างาน และการอยู่ร่วมกันในสังคม ด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคลการจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆอย่างเหมาะสมสามารถ ปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ ที่ส่งผล กระทบต่อตนเองและผู้อื่น ๕. ด้านความสามารถในการใช้เทคโนโลยีนักเรียนมีความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การท้างาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม


บทที่ ๒ แผนปฏิบัติการประจาปีของโรงเรียน ๑. แนวทางการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของ โรงเรียน การดาเนินกิจการของโรงเรียนได้นาปณิธานในการจัดการศึกษาของนักบุญยอห์น แบพติสท์ เดอ ลาซาล องค์อุปถัมภ์ ของครูทั้งหลายใช้เป็นแนวทางในการจัดการศึกษาและได้กาหนดวัตถุประสงค์ไว้ในตราสาร หมวด ๒ ข้อ ๖ ดังนี้ ๑. เพื่อจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในรูปแบบการศึกษาในระบบระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ๒. เพื่อให้บริการที่เกี่ยวเนื่องกับการเรียนการสอนหรือให้บริการด้านสินค้า อุปกรณ์การศึกษาที่เกี่ยวกับการเรียนการสอนของโรงเรียน แก่นักเรียน ครู ผู้ปกครอง บุคลากรของโรงเรียนและชุมชน ๓. เพื่อให้บริการด้านวิชาการและบริการอื่นแก่ชุมชนและสังคม ๔. เพื่อให้ทุนการศึกษาแก่เด็กและเยาวชนที่ขาดแคลนและยากจนรวมทั้งเยาวชนที่มูลนิธิลาซาลดูแล ๕. เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนคาทอลิกรวมทั้งเด็กและเยาวชนทั่วไปให้ได้รับการศึกษาการอบรมสั่งสอนเพื่อเป็นบุคคล ที่มีคุณภาพชีวิตดี ๖. เพื่อดาเนินการให้การศึกษาและการอบรมสั่งสอนสาหรับการศึกษาสงเคราะห์

๒. กลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของ โรงเรียน ระดับการศึกษาปฐมวัย กลยุทธ์ที่ ๑ เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย กลยุทธ์ที่ ๒ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ กลยุทธ์ที่ ๓ เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม กลยุทธ์ที่ ๔ เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา กลยุทธ์ท๕ี่ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล กลยุทธ์ท๖ี่ ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล กลยุทธ์ที่ ๗ แนวการจัดการศึกษา กลยุทธ์ท๘ี่ โรงเรียนมีการประกันคุณภาพภายในของ โรงเรียนตามที่กาหนดในกฎกระทรวง กลยุทธ์ท๙ี่ โรงเรียนมีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน โรงเรี ให้ ยนเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ กลยุทธ์ท๑๐ ี่ การพัฒนาโรงเรียนให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา วิสัยทัศน์ และจุดเน้นของการศึกษาปฐมวัย กลยุทธ์ท๑๑ ี่ การพัฒนาโรงเรียนตามนโยบายและแนวทางปฏิรูปการศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้น

ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลยุทธ์ที่ ๑ นักเรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ กลยุทธ์ที่ ๒ นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ กลยุทธ์ที่ ๓ นักเรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง กลยุทธ์ที่ ๔ นักเรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้อย่างมีสติ สมเหตุผล กลยุทธ์ที่ ๕ นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร กลยุทธ์ที่ ๖ นักเรียนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต กลยุทธ์ที่ ๗ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล กลยุทธ์ที่ ๘ ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล กลยุทธ์ที่ ๙ คณะกรรมการโรงเรียน และผู้ปกครอง ชุมชนปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล กลยุทธ์ที่ ๑๐โรงเรียนมีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพนักเรียนอย่างรอบด้าน กลยุทธ์ที่ ๑๑ โรงเรียนมีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริมให้นักเรียนพัฒนาเต็มตามศักยภาพ


๖๓ กลยุทธ์ที่ ๑๒ โรงเรียนมีการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนตามที่กาหนดในกฎกระทรวง กลยุทธ์ที่ ๑๓ โรงเรียนมีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้โรงเรียนเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ กลยุทธ์ที่ ๑๔ มีการพัฒนาโรงเรียนให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ ปรัชญาและจุดเน้นที่กาหนดขึ้น กลยุทธ์ที่ ๑๕ การจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏิรูปการศึกษา เพื่อพัฒนา และส่งเสริมโรงเรียน ให้ยกระดับคุณภาพสูงขึน้

๓. การดาเนินงานตามกลยุทธ์ของ โรงเรียน ระดับการศึกษาปฐมวัย กลยุทธ์ที่ ๑ เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย โครงการ/กิจกรรม ๑. โครงการส่งเสริม พัฒนาการทางด้าน ร่างกายของเด็ก

วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีน้าหนัก ส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ๒. เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีทักษะการ เคลื่อนไหวตามวัย ๓. เพื่อให้เด็กมีสุขนิสัยในการดูแล สุขภาพของตน ๔. เพื่อให้เด็กหลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่ เสี่ยงต่อโรค อุบัติเหตุ ภัยอันตราย และสิ่งเสพติด

สนอง เป้าหมาย มาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียน เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑ ร้อยละ ๘๗ ของเด็กปฐมวัย ตัวบ่งชี้ ๑.๑ มีน้าหนักส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์ ตัวบ่งชี้ ๑.๒ เชิงคุณภาพ ตัวบ่งชี้ ๑.๓ เด็กอนุบาลมีน้าหนักส่วนสูงเป็นไป ตัวบ่งชี้ ๑.๔ ตามเกณฑ์มาตรฐาน มีทักษะการ เคลื่อนไหวตามวัยมีสุขนิสัยในการ ดูแลสุขภาพของตน และหลีกเลี่ยง ต่อสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค อุบัติเหตุ ภัยอันตราย และสิ่งเสพติด

กลยุทธ์ที่ ๒ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ โครงการ/กิจกรรม ๑. โครงการส่งเสริม สุนทรียภาพด้าน ศิลปะ ดนตรีและ การเคลื่อนไหว

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

๑. เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีความร่าเริง แจ่มใสมีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง ๒. เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีความมั่นใจ และกล้าแสดงออก ๓. เพื่อส่งเสริมให้เด็กควบคุมอารมณ์ ตนเองได้เหมาะสมกับวัย ๔. เพื่อส่งเสริมให้เด็กชื่นชมศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหว และรักธรรมชาติ

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๘๗ ของเด็กมีความ ชื่นชมศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหวและรักธรรมชาติ เชิงคุณภาพ เด็กมีความชื่นชมศิลปะ ดนตรี การ เคลื่อนไหวและรักธรรมชาติ

สนอง มาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียน มาตรฐานที่ ๒ ตัวบ่งชี้ ๒.๑ ตัวบ่งชี้ ๒.๒ ตัวบ่งชี้ ๒.๓ ตัวบ่งชี้ ๒.๔

กลยุทธ์ที่ ๓ เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

๑. โครงการปลูกฝัง ๑. มีวินัย รับผิดชอบ เชื่อฟังคาสั่ง ระเบียบวินัยและส่งเสริม สอนของพ่อแม่ ครูอาจารย์ คุณธรรมจริยธรรม

สนอง เป้าหมาย มาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียน เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๓ ร้อยละ ๘๗ ของเด็กปฐมวัย ตัวบ่งชี้ ๓.๑ มีวินัย รับผิดชอบ เชื่อฟังคาสั่งสอน ตัวบ่งชี้ ๓.๒


๖๔

โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์ ๒. มีความซื่อสัตย์ สุจริต ช่วยเหลือ แบ่งปัน ๓. เล่นและทางานร่วมกับผู้อื่นได้ ๔. ประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทย และศาสนาที่ตนนับถือ

เป้าหมาย ของพ่อแม่ ครูอาจารย์มีความ ซื่อสัตย์สุจริต ช่วยเหลือแบ่งปัน เล่นและทางานร่วมกับผู้อื่นได้ ประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทย และศาสนาที่ตนนับถือ เชิงคุณภาพ เด็กมีวินัย รับผิดชอบ เชื่อฟังคาสั่ง สอนของพ่อแม่ ครูอาจารย์ มีความ ซื่อสัตย์สุจริต ช่วยเหลือแบ่งปัน เล่น และทางานร่วมกับผู้อื่นได้ ประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทยและ ศาสนาที่นับถือ

สนอง มาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียน ตัวบ่งชี้ ๓.๓ ตัวบ่งชี้ ๓.๔

กลยุทธ์ที่ ๔ เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

๑. โครงการเรียนรู้สู่โลก ๑. เพื่อส่งเสริมให้เด็กสนใจสิ่งรอบตัว มีความคิดรวบยอด มีทักษะทาง กว้าง ซักถามอย่างตั้งใจและรักการเรียน ภาษา ทักษะทางวิทยาศาสตร์ ๒. เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีความคิดรวบยอด ทักษะทางคณิตศาสตร์ รวมทั้ง เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เกิดจากประสบการณ์ มีจินตนาการ และความคิด การเรียนรู้ ๓. เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีทักษะทางภาษา สร้างสรรค์ที่เหมาะสมกับวัย เชิงคุณภาพ ที่เหมาะสมกับวัย ๔. เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีทักษะกระบวน เด็กรักการเรียนรู้สนใจเรียนรู้ การทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ สิ่งต่างๆ รอบตัว มีความคิดรวบยอด มีทักษะทางภาษา ทักษะทาง ๕. เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีจินตนาการ วิทยาศาสตร์ ทักษะทางคณิตศาสตร์ และความคิดสร้างสรรค์ รวมทั้งมีจินตนาการ และความคิด สร้างสรรค์ที่เหมาะสมกับวัย

สนอง มาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียน มาตรฐานที่ ๔ ตัวบ่งชี้ ๔.๑ ตัวบ่งชี้ ๔.๒ ตัวบ่งชี้ ๔.๓ ตัวบ่งชี้ ๔.๔ ตัวบ่งชี้ ๔.๕

กลยุทธ์ที่ ๕ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล สนอง โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์ เป้าหมาย มาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียน ๑. โครงการพัฒนาการ ๑. เพื่อให้ครูเข้าใจปรัชญา หลักการ เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๕ จัดกิจกรรมการเรียนการ และธรรมชาติของการจัดการศึกษาปฐมวัยร้อยละ ๙๒ของครูเข้าใจปรัชญา ตัวบ่งชี้ ๕.๑ สอน และสามารถนามาประยุกต์ใช้ หลักการของการจัดการศึกษาปฐมวัยตัวบ่งชี้ ๕.๒ ๒. โครงการพัฒนาครู ในการจัดประสบการณ์ ตัวบ่งชี้ ๕.๓ และบุคลากร ๒. เพื่อให้ครูจัดทาแผนการจัด ตัวบ่งชี้ ๕.๔ ประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักสูตร ตัวบ่งชี้ ๕.๕


๖๕

โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

การศึกษาปฐมวัยและสามารถจัด เชิงคุณภาพ ประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลาย ครูเข้าใจปรัชญา หลักการ สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคลของการจัดการศึกษาปฐมวัย ๓. เพื่อให้ครูบริหารจัดการชั้นเรียน สามารถจัดทาแผนการจัด ที่สร้างวินัยเชิงบวก ประสบการณ์ที่สอดคล้องกับ ๔. เพื่อส่งเสริมให้ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีทหลั ี่ กสูตรการศึกษาปฐมวัย เหมาะสมสอดคล้องกับพัฒนาการของเด็กใช้สื่อและเทคโนโลยีสอดคล้องกับ ๕. เพื่อส่งเสริมให้ครูใช้เครื่องมือการวัด พัฒนาการของเด็ก รวมทั้งใช้ และประเมินพัฒนาการของเด็กอย่าง เครื่องมือในการจัดและประเมิน หลากหลายและสรุปรายงานผลพัฒนาการพัฒนาการที่หลากหลายครูมีวุฒิ ของเด็กแก่ผู้ปกครอง และความรู้ความสามารถในด้าน ๖. เพื่อส่งเสริมให้ครูทาวิจัยและพัฒนาการการศึกษาปฐมวัย จัดการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบและใช้ผลใน การปรับการจัดประสบการณ์ ๗. เพื่อส่งเสริมให้ครูจัดสิ่งแวดล้อม ให้เกิดการเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ๘. ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กและ ผู้ปกครอง ๙. ครูมีวุฒิและความสามารถในด้าน การศึกษาปฐมวัย ๑๐. ครูจัดทาสารนิทัศน์ และนามา ไตร่ตรอง เพื่อใช้ประโยชน์ในการ พัฒนาเด็ก

สนอง มาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียน ตัวบ่งชี้ ๕.๖ ตัวบ่งชี้ ๕.๗ ตัวบ่งชี้ ๕.๘ ตัวบ่งชี้ ๕.๙ ตัวบ่งชี้ ๕.๑๐

กลยุทธ์ที่ ๖ ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล โครงการ/กิจกรรม ๑. โครงการพัฒนา ผู้บริหาร ครู และ บุคลากร

สนอง วัตถุประสงค์ เป้าหมาย มาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียน ๑. เพื่อพัฒนาผู้บริหารเข้าใจปรัชญา เชิงปริมาณ มาตรฐานที๖่ และหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย ร้อยละ ๙๒ ของผู้บริหาร ตัวบ่งชี้ ๖.๑ ๒. เพื่อพัฒนาผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ มีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้นา ตัวบ่งชี้ ๖.๒ ภาวะผู้นา และความคิดริเริ่มที่เน้น เชิงคุณภาพ ตัวบ่งชี้ ๖.๓ การพัฒนาเด็กปฐมวัย ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้นา ตัวบ่งชี้ ๖.๔ ๓. เพื่อพัฒนาผู้บริหารใช้หลักการ ใช้หลักการ การบริหารแบบ ตัวบ่งชี้ ๖.๕ บริหารแบบมีส่วนร่วมและใช้ข้อมูลการ มีส่วนร่วม มีความสามารถบริหาร ตัวบ่งชี้ ๖.๖ ประเมินผลหรือการวิจัยเป็นฐานคิดทั้ง จัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตาม ตัวบ่งชี้ ๖.๗ ด้านวิชาการและการจัดการ แผนพัฒนาคุณภาพของโรงเรียน ๔. เพื่อให้ผู้บริหารสามารถบริหาร ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้มี จัดการการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตาม ประสิทธิภาพ รวมทั้งให้คาแนะนา แผนพัฒนาคุณภาพโรงเรียน คาปรึกษาและเอาใจใส่


๖๖

โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

สนอง มาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียน

๕. เพื่อพัฒนาผู้บริหารส่งเสริม การจัดการศึกษาปฐมวัย และพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มี สร้างความพอใจให้กับเด็ก ประสิทธิภาพ ผู้ปกครอง และชุมชน ๖. เพื่อพัฒนาผู้บริหารให้คาแนะนา คาปรึกษาทางวิชาการและเอาใจใส่การจัด การศึกษาปฐมวัยเต็มศักยภาพและเต็มเวลา ๗. เพื่อให้เด็ก ผู้ปกครอง และชุมชน พึงพอใจผลการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัย

กลยุทธ์ที่ ๗ แนวการจัดการศึกษา โครงการ/กิจกรรม ๑. โครงการพัฒนา หลักสูตรการเรียน การสอน

สนอง วัตถุประสงค์ เป้าหมาย มาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียน ๑. เพื่อให้ครูมีหลักสูตรการศึกษา เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๗ ตัวบ่งชี้ ๗.๑ ปฐมวัยของสถานศึกษาและนาสู่การ ร้อยละ ๙๒ ของครูปฐมวัย ปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรและ ตัวบ่งชี้ ๗.๒ ตัวบ่งชี้ ๗.๓ ๒. เพื่อให้ครูมีระบบกลไกให้ผู้มีส่วน นาสู่การปฏิบัติ ตัวบ่งชี้ ๗.๔ ร่วมทุกฝ่ายตระหนักและเข้าใจการจัด ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวบ่งชี้ ๗.๕ การศึกษาปฐมวัย เชิงคุณภาพ ครูปฐมวัยมีการพัฒนาปรับปรุง ๓. เพื่อให้ครูจัดกิจกรรมเสริมสร้าง ความตระหนักรู้และเข้าใจหลักการจัด หลักสูตรและนาสู่การปฏิบัติ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีระบบ การศึกษาปฐมวัย กลไกให้ผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย ๔. เพื่อให้ครูสร้างการมีส่วนร่วมและ ตระหนักและเข้าใจการจัดการศึกษา แสวงหาความร่วมมือกับผู้ปกครอง ปฐมวัยสร้างการมีส่วนร่วมกับ ชุมชน และท้องถิ่น ผู้ปกครอง ชุมชน ท้องถิ่น และ ๕ เพื่อให้ครูจัดสิ่งอานวยความ ส่งเสริมพัฒนาเด็กอย่าง สะดวกเพื่อพัฒนาเด็กอย่างรอบด้าน รอบด้าน

กลยุทธ์ที่ ๘ โรงเรียนมีการประกันคุณภาพภายในของ โรงเรียนตามที่กาหนดในกฎกระทรวง โครงการ/กิจกรรม ๑. โครงการประกัน คุณภาพภายใน

สนอง วัตถุประสงค์ เป้าหมาย มาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียน ๑. เพื่อกาหนดมาตรฐานการศึกษา เชิงปริมาณ มาตรฐานที๘่ ปฐมวัยของโรงเรียน ร้อยละ ๙๒ ของผู้บริหาร ครู ตัวบ่งชี้ ๘.๑ ๒. เพื่อจัดทาและดาเนินการตาม บุคลากร กรรมการ และผู้เกี่ยวข้อง ตัวบ่งชี้ ๘.๒ แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียนร่วมพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ ๘.๓ ที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาปฐมวัย ตัวบ่งชี้ ๘.๔ การศึกษาของโรงเรียน ตัวบ่งชี้ ๘.๕ ตัวบ่งชี้ ๘.๖


๖๗ ๓. เพื่อจัดระบบข้อมูลสารสนเทศและ ใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการ ๔. เพื่อติดตามตรวจสอบ และ ประเมินผลการดาเนินงานคุณภาพ ภายในตามมาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียน ๕. เพื่อนาผลการประเมินคุณภาพ ทั้งภายในและภายนอก ไปใช้วางแผน พัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ๖. เพื่อจัดทารายงานประจาปีที่เป็น รายงานการประเมินคุณภาพภายใน

เชิงคุณภาพ ผู้บริหาร ครู– บุคลากร กรรมการ ทุกฝ่ายและผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมใน การพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน การศึกษาปฐมวัยและ มีการพัฒนาคุณภาพการดาเนิน งานให้เป็นไปตามระบบประกัน คุณภาพภายในของโรงเรียน

กลยุทธ์ที่ ๙ โรงเรียนมีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้ โรงเรียนเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ โครงการ/กิจกรรม ๑. โครงการสาน สัมพันธ์กับชุมชน

วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กและ บุคลากรในโรงเรียน ๒. เพื่อให้โรงเรียนมีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกันภายในโรงเรียนระหว่าง โรงเรียนกับครอบครัว ชุมชน และ องค์กรที่เกี่ยวข้อง

สนอง เป้าหมาย มาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียน เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๙ ร้อยละ ๘๔ ของโรงเรียนเป็นแหล่ง ตัวบ่งชี้ ๙.๑ เรียนรู้ให้เกิดการพัฒนากับเด็ก และ ตัวบ่งชี้ ๙.๒ เป็นแหล่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างโรงเรียนกับครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง เชิงคุณภาพ โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ให้เกิดการ พัฒนากับเด็ก และเป็นแหล่งการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโรงเรียน กับครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่ เกี่ยวข้อง

กลยุทธ์ที่ ๑๐ การพัฒนาโรงเรียนให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา วิสัยทัศน์ และจุดเน้นของการศึกษาปฐมวัย โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

๑. โครงการปลูกฝังและ ๑. ได้รับการปลูกฝังและส่งเสริมให้มี ส่งเสริมมารยาท กิรยิ าการไหว้ที่อ่อนน้อมสวยงามตาม การไหว้ มารยาทไทย ๒. รู้จักแสดงความเคารพ พ่อ แม่ ครู และผู้ใหญ่ได้เหมาะสมกับวัย

เป้าหมาย เชิงปริมาณ ร้อยละ ๘๗ ของเด็กปฐมวัยมีกิริยา การไหว้ที่อ่อนน้อมสวยงามตาม มารยาทไทย รู้จักแสดงความเคารพ พ่อ แม่ ครู และผู้ใหญ่ ได้เหมาะสมกับวัย เชิงคุณภาพ เด็กมีกิริยาการไหว้ที่อ่อนน้อม สวยงามตามมารยาทไทย รู้จักแสดง ความเคารพ พ่อ แม่ ครู และผู้ใหญ่ ได้เหมาะสมกับวัย

สนอง มาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียน มาตรฐานที๑๐ ่ ตัวบ่งชี้ ๑๐.๑ ตัวบ่งชี้ ๑๐.๒


๖๘

กลยุทธ์ที่ ๑๑ การพัฒนาโรงเรียนตามนโยบายและแนวทางปฏิรูปการศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้น โครงการ/กิจกรรม ๑. โครงการส่งเสริม ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง

สนอง วัตถุประสงค์ เป้าหมาย มาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียน ๑. เพื่อส่งเสริมให้เด็กได้เรียนรู้วิธีการ เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑๑ ปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทาน ร้อยละ ๘๖ ของเด็กได้เรียนรู้วิธีการ ตัวบ่งชี้ ๑๑.๑ ปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทาน ตัวบ่งชี้ ๑๒.๒ ๒. เพื่อให้เด็กมีสุขภาพร่างกายที่ แข็งแรง รู้จักเลือกรับประทานอาหาร ทาให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงและ รู้จักเลือกรับประทานอาหาร ที่ปลอดจากสารพิษ ที่ปลอดสารพิษ เชิงคุณภาพ เด็กได้เรียนรู้วิธีการปลูกผัก ปลอดสารพิษไว้รับประทาน ทาให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงและ รู้จักเลือกรับประทานอาหาร ที่ปลอดสารพิษ

ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลยุทธ์ที่ ๑ นักเรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ โครงการ/กิจกรรม ๑. โครงการโรงเรียน ส่งเสริมสุขภาพ ๑.๑ งานตรวจสุขภาพ นักเรียนจากครูประจาชั้น และเจ้าหน้าที่อนามัย ๑.๒ งานจัดป้ายนิเทศด้าน อนามัยและต่อต้านยา เสพติด ๑.๓ งานจัดสบู่ไว้สาหรับ บริการนักเรียน ๑.๔ งานทันตสาธารณ สุขภาพในโรงเรียนและ ประกวดลาซาลฟันสวย ๑.๕ งานติดตามภาวะ โภชนาการนักเรียนและ แก้ปัญหาเด็กอ้วน ๑.๖ งานปลอดลูกน้า ยุงลายในโรงเรียน ๑.๗ งานจัดบริการ ปฐมพยาบาลพร้อมเวช กรรมแก่นักเรียน

วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้บุคลากรของโรงเรียน มีสุขภาพที่ดี จิตใจร่าเริง แจ่มใส มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับครู เพื่อนและ บุคคลทั่วไป ๒. เพื่อให้บุคลากรเอาใจใส่สุขภาพ ตนเองและผู้ใกล้ชิด ๓. เพื่อได้นาแนวคิดด้านสุขภาพมา ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

เป้าหมาย เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๐ ของคณะครูและ นักเรียนทั้งหมดมีสุขภาพที่ดี จิตใจ ร่าเริง แจ่มใส มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับครู เพื่อนและบุคคลทั่วไป เชิงคุณภาพ บุคลากรมีสุขภาพกาย ใจ สมบูรณ์แข็งแรงปลอดภัยจาก โรคภัย

สนอง มาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๑ ตัวบ่งชี้ ๑.๑


๖๙

โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

๒. โครงการโรงเรียนสีขาว ๒.๑ งานรณรงค์ป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด ( To be number one ) ๒.๒ งานติดตาม พฤติกรรมนักเรียน ๒.๓ งานอบรมอดเปรี้ยว ไว้กินหวาน ๒.๔ งานใช้อินเตอร์เน็ต อย่างไรให้มีคุณค่า ๒.๕ งานรณรงค์วันเอดส์ โลก

๑. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับยาเสพติด และโทษของยาเสพ ติด ๒. เพื่อให้นักเรียนสามารถป้องกัน ตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษ ๓. เพื่อให้นักเรียนสามารถหลีกเลี่ยง สภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุและปัญหาทางเพศ ๔. เพื่อให้นักเรียนได้รับการอบรมดูแล อย่างทั่วถึง มีความประพฤติที่ดี ๕. เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้รับความ ปลอดภัยเพื่อให้ผู้ปกครองมีความ มั่นใจในความปลอดภัยของบุตรหลาน ๑. นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์ ๒. นักเรียนมีจิตใจอ่อนโยน มีสุนทรียภาพ กับศิลปะ ดนตรี กีฬา และกล้าแสดงออก ๓. นักเรียนมีพื้นฐานความรู้ทางด้าน ศิลปะ ดนตรี กีฬาและมีสุขภาพกายใจ ที่ดี

๓.โครงการลาซาเลียน เกมส์ ครั้งที่ ๔๐

๔. โครงการสุนทรียภาพ ๔.๑ งานร่วมกิจกรรม ศิลปวัฒนธรรมประเพณี ท้องถิ่น

เป้าหมาย

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๕ ของนักเรียน สามารถป้องกันตนเองจากสิ่ง เสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยง สภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุและปัญหาทาง เพศ เชิงคุณภาพ นักเรียนสามารถป้องกันตนเอง จากสิ่งเสพติดให้โทษและ หลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อความ รุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุและ ปัญหาทางเพศ เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๕ ของนักเรียนมี ความคิดสร้างสรรค์ กล้า แสดงออก มีจิตใจอ่อนโยน รัก การเล่นกีฬา มีสุขภาพอนามัย แข็งแรง เชิงคุณภาพ นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์ กล้าแสดงออก มีจิตใจอ่อนโยน รักการเล่นกีฬามีสุขภาพอนามัย แข็งแรง ๑. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความคิด เชิงปริมาณ สร้างสรรค์และพัฒนาศักยภาพตนเอง ร้อยละ ๙๕ ของนักเรียนมี ๒. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีจิตใจ ความคิดสร้างสรรค์ มีจิตใจ อ่อนโยนมีสุนทรียภาพทางด้านศิลปะ อ่อนโยน รักการเล่นกีฬา มี ดนตรี กีฬา และกล้าแสดงออก สุขภาพอนามัยแข็งแรง ๓. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเข้าร่วม เข้าร่วมกิจกรรมนอกหลักสูตร กิจกรรมทั้งในและนอกหลักสูตร ด้านศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป์ วรรณศิลป์ กีฬา / นันทนาการ และสร้างสรรค์งานสุนทรียภาพ เชิงคุณภาพ นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์ มีจิตใจอ่อนโยน รักการเล่นกีฬา มีสุขภาพอนามัยแข็งแรง เข้าร่วมกิจกรรมนอกหลักสูตร ด้านศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป์ วรรณศิลป์ กีฬา / นันทนาการ และสร้างสรรค์งานสุนทรียภาพ

สนอง มาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๑ ตัวบ่งชี้ ๑.๓ มาตรฐานที่ ๑๐ ตัวบ่งชี้ ๑๐.๖

มาตรฐานที่ ๑ ตัวบ่งชี้ ๑.๔ ตัวบ่งชี้ ๑.๕ ตัวบ่งชี้ ๑.๖

มาตรฐานที่ ๑ ตัวบ่งชี้ ๑.๔ ตัวบ่งชี้ ๑.๕


๗๐

โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

๕. โครงการเสริมทักษะ ด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา ๕.๑ งานแข่งขันด้าน ศิลปะ ดนตรี กีฬา

๑. เพื่อพัฒนาให้นักเรียนสามารถ สร้างผลงานจากการเข้าร่วมกิจกรรม ด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬา/ นันทนาการตามจินตนาการ

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๘๔ ของนักเรียนเข้า ร่วมกิจกรรมนอกหลักสูตรด้าน ศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป์ วรรณศิลป์ กีฬา / นันทนาการ และสร้างสรรค์งานสุนทรียภาพ เชิงคุณภาพ นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมนอก หลักสูตรด้านศิลปะ ดนตรี/ นาฏศิลป์ วรรณศิลป์ กีฬา / นันทนาการ และหรือสร้างสรรค์ งานสุนทรียภาพ

สนอง มาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๑ ตัวบ่งชี้ ๑.๖

กลยุทธ์ที่ ๒ นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ สนอง โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์ เป้าหมาย มาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียน ๑. โครงการพัฒนาระเบียบ ๑. เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีระเบียบวินัย เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๒ วินัยและความรับผิดชอบ ในตนเอง ร้อยละ ๘๕ ของนักเรียนมีความ ตัวบ่งชี้ ๒.๑ ๑๑. งานนักเรียนลาซาล ๒. เพื่อพัฒนานักเรียนมีความรับผิดชอบ รับผิดชอบ มีระเบียบวินัย ปฏิบัติ ตัวบ่งชี้ ๒.๒ มีวินัย และปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนตามกฎระเบียบของโรงเรียน มี ตัวบ่งชี้ ๒.๓ ๑.๒ งานยกย่องนักเรียนทดาี นับถือ ความภูมิใจในความเป็นไทย และ มาตรฐานที่ ๑๐ ๑.๓ งานอยูค่​่ ายพักแรม ๓. เพื่อพัฒนานักเรียนมีความภูมิใจใน ดารงไว้ซึ่งความเป็นไทย ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐.๘ ลูกเสือ เนตรนารี ความเป็นไทย เห็นคุณค่าภูมิปัญญาไทย เชิงคุณภาพ ๑.๔ งานสภาและสารวัตร นิยมไทย และดารงไว้ซึ่งความเป็นไทย นักเรียนมีความรับผิดชอบ นักเรียน มีระเบียบวินัย ปฏิบัติตาม กฎระเบียบของโรงเรียน มีความ ภูมิใจในความเป็นไทย และดารงไว้ ซึ่งความเป็นไทย ๒. โครงการพัฒนาคุณธรรม ๑. เพื่อพัฒนานักเรียนเป็นผู้มีความ เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๒ จริยธรรมและค่านิยมที่พึง ซื่อสัตย์ สุจริต ร้อยละ ๙๐ ของนักเรียนมีคุณธรรมตัวบ่งชี้ ๒.๑ ประสงค์ ๒. เพื่อพัฒนานักเรียนมีความกตัญญ จริยธรรมและมีคุณลักษณะ ตัวบ่งชี้ ๒.๒ ๒.๑ งานส่งเสริมคุณธรรม กตเวที พ่อแม่ ครู และผู้มีพระคุณ อันพึงประสงค์มากขึ้น ตัวบ่งชี้ ๒.๓ ๒.๒ งานนักเรียนลาซาล ๓. เพื่อพัฒนานักเรียนเป็นผู้มีความ เชิงคุณภาพ มาตรฐานที่ ๑๐ มีน้าใจ เมตตา กรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละนักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและมี ตัวบ่งชี้ ๑๐.๑๑ ๒.๓ งานส่งเสริมความกตัญญูเพื่อส่วนรวม คุณลักษณะอันพึงประสงค์มากขึ้น ๒.๔ งานส่งเสริมมารยาทไทย ๔. เพื่อพัฒนานักเรียนให้ประหยัด อดออม รู้จักใช้ทรัพย์สิ่งของส่วนตนและ ส่วนรวมอย่างคุ้มค่า


๗๑ สนอง โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์ เป้าหมาย มาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียน ๓. โครงการอนุรักษ์และ ๑. เพื่อให้นักเรียนรู้คุณค่าของสิ่งแวดล้อม เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๒ พัฒนาสิ่งแวดล้อม และตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดจากการ ร้อยละ ๙๐ ของนักเรียนตระหนัก ตัวบ่งชี้ ๒.๔ ๓.๑ งานรณรงค์วัน เปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม ถึงปัญหาคุณค่าอนุรักษ์และพัฒนา สิ่งแวดล้อม ๒. นักเรียนตระหนักถึงปัญาหสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม ๓.๒ งานร่วมใจพัฒนา เข้าร่วมและมีส่วนในกิจกรรมอนุรักษ์และ เชิงคุณภาพ โรงเรียนและท้องถิ่น พัฒนาสิ่งแวดล้อม นักเรียนตระหนักถึงปัญหาคุณค่า ๓.๓ งานประกวดห้องเรียน อนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม สะอาด สวยงาม ๓.๔ งานคัดแยกขยะ

กลยุทธ์ที่ ๓ นักเรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง สนอง มาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียน ๑. โครงการรักการอ่านและ ๑. เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีนิสัยรักการ เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๓ การเรียนรู้ อ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจาก ร้อยละ ๘๔ ของนักเรียนมีนิสัยรัก ตัวบ่งชี้ ๓.๑ ๑.๑ งานส่งเสริมการอ่าน ห้องสมุดแหล่งเรียนรู้ และสื่อต่างๆ การอ่านและแสวงหาความรู้ด้วย ตัวบ่งชี้ ๓.๒ การเขียน STEMS) ( รอบตัว ตนเองทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด ตัวบ่งชี้ ๓.๓ ๑.๒ งานอ่านเสริมเติม ๒. เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีทักษะการ เขียนและตั้งคาถาม เรียนรู้ร่วมกัน ตัวบ่งชี้ ๓.๔ ความรู้ (รักการอ่าน) อ่าน ฟัง พูด เขียนและทักษะการตั้ง เป็นกลุ่ม และใช้เทคโนโลยีใน ๑.๓ งานเสริมทักษะการ คาถามจากการค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม การเรียนรู้และนาเสนอผลงานได้ สื่อสารเพื่อการเรียนรู้ ๓. เพื่อพัฒนาให้นักเรียนเรียนรู้ร่วมกัน เชิงคุณภาพ ๑.๔ งานส่งเสริม การใช้ เป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อ นักเรียนทุกคนมีนิสัยรักการอ่าน เทคโนโลยี และนาเสนอ การเรียนรู้ระหว่างกัน และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ผลงาน ๔. เพื่อพัฒนานักเรียนให้สามารถให้ มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน สามารถใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และ และตั้งคาถาม เรียนรู้ร่วมกันเป็น นาเสนอผลงาน กลุ่มและใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ และนาเสนอผลงานได้ โครงการ/ กิจกรรม

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย ของโครงการ/กิจกรรม

กลยุทธ์ที่ ๔ นักเรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้อย่างมีสติ สมเหตุผล โครงการ/กิจกรรม ๑. โครงการส่งเสริมทักษะ การคิด ๑.๑ งานพัฒนาทักษะ การคิด ๑.๒ งานจัดทาโครงงาน ๑.๓ งานจัดทาแฟ้มสะสม ผลงาน

สนอง วัตถุประสงค์ มาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียน ๑. เพื่อพัฒนานักเรียนมีความสามารถในเชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๔ การคิดอย่างเป็นระบบ ดสร้ คิ างสรรค์ ร้อยละ ๘๔ ของนักเรียนสามารถสรุป ตัวบ่งชี้ ๔.๑ ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้อย่างมีสติ ความและนาเสนอความคิดด้วยวิธีการตัวบ่งชี้ ๔.๒ สมเหตุสมผล ของตนเอง มีความคิดริเริ่มและ ตัวบ่งชี้ ๔.๓ ๒. เพื่อพัฒนานักเรียนให้สามารถ สร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจตัวบ่งชี้ ๔.๔ นาเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษา หรือวิธีการของตนเอง เป้าหมาย ของโครงการ/กิจกรรม


๗๒ ๑.๔ งานวันสุนทรภู่ ๑.๕ งานสัปดาห์ วิทยาศาสตร์

๓. เพื่อพัฒนานักเรียนให้สามารถ เชิงคุณภาพ กาหนดเป้าหมาย คาดการณ์ ตัดสินใจ นักเรียนสามารถสรุปความและ แก้ปัญหาโดยมีเหตุผลประกอบ นาเสนอความคิดด้วยวิธีการของ ๔. เพื่อให้นักเรียนมีความคิดริเริ่ม และ ตนเองมีความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ สร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูจมิใ ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ

กลยุทธ์ที่ ๕ นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร โครงการ/กิจกรรม ๑. โครงการยกระดับ ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ทุก กลุ่มสาระ ๑.๑. งานเสริมสร้างและ พัฒนาสมรรถนะสาคัญทุก กลุ่มสาระ ๑.๒. งานเสริมสร้างและ พัฒนาความ สามารถในการ อ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ๑.๓. งานวัดผลประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑.๔. งานพัฒนาการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ตามกลุ่ม สาระ ๑.๕. งานแข่งขันตามกลุ่ม สาระ

๒. โครงการวิจัยผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ๒.๑ งานสรุปและรายงาน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

สนอง วัตถุประสงค์ มาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียน ๑. เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๕ ทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระเป็นไป ร้อยละ ๘๔ ของนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ ตัวบ่งชี้ ๕.๑ ตามเกณฑ์ ทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระเป็นไป ตัวบ่งชี้ ๕.๒ ๒. เพื่อพัฒนาผู้นักเรียนให้มีผลการ ตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนด คือ ตัวบ่งชี้ ๕.๓ ประเมินสมรรถนะสาคัญตามหลักสูตร มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ย ตัวบ่งชี้ ๕.๕ เป็นไปตามเกณฑ์ อยู่ในระดับดีขึ้นไปมีผลการประเมิน มาตรฐานที๑๒ ่ ๓. เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีผลการ สมรรถนะสาคัญ มีผลการประเมิน ตัวบ่งชี้ ๑๒.๑๐ ประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน เป็นไปตามเกณฑ์ เป็นไปตามเกณฑ์มีผลการทดสอบ ๔. เพื่อให้นักเรียนมีระดับผผลสัมฤทธิ์ ระดับชาติเฉลี่ยอยู่ในระดับดีขึ้นและ ทางการเรียนเฉลี่ยอยู่ในระดับดีขึ้นไป มีผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๕ เพื่อให้โรงเรียนมีการพัฒนาคุณภาพ อย่างต่อเนื่อง การศึกษาอย่างต่อเนื่อง เชิงคุณภาพ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ ละกลุ่มสาระเป็นไปตามเกณฑ์หรือสูง กว่าเกณฑ์ มีผลการประเมิ น สมรรถนะสาคัญ และมีผลการ ประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และ เขียนเป็นไปตามเกณฑ์หรือสูงกว่า เกณฑ์ มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนเฉลี่ยอยู่ในระดับดีขึ้นไปมีผล การทดสอบระดับชาติเฉลี่ย อยู่ในระดับดีขึ้นและ มีผลการพัฒนา คุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ๑. เพื่อวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการ เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๕ เรียน และนาข้อมูลมาประมวลผล ร้อยละ ๖๕ ของนักเรียนแต่ละ ตัวบ่งชี้ ๕.๑ ๒. เพื่อเป็นแนวทางให้ฝ่ายวิชาการและ ระดับชั้นมีผลการเรียนร้อยละ ๗๐ ใน ตัวบ่งชี้ ๕.๔ ครูผู้สอนทุกรายวิชาหาวิธีการพัฒนา แต่ละรายวิชา ตัวบ่งชี้ ๕.๕ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน เชิงคุณภาพ อย่างสอดคล้องกับสภาพปัญหา ฝ่ายวิชาการและครูผู้สอนทุกรายวิชา รับทราบข้อมูล เกิดความเข้าใจ สามารถหาแนวทางที่เหมาะสมในการ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียน เป้าหมาย ของโครงการ/กิจกรรม


๗๓

กลยุทธ์ที่ ๖ นักเรียนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

๑. โครงการวันวิชาการ ๑. เพื่อพัฒนานักเรียนให้สามารถวาง ๑.๑ งานแสดงผลงานทาง แผนการทางานและดาเนินการจน วิชาการ สาเร็จ ๑.๒ งานตลาดนัดวิชาการ ๒. เพื่อพัฒนานักเรียนให้สามารถ ๑.๓ งานแข่งขันด้านวิชาการ ทางานอย่างมีความสุข มุ่งมั่นพัฒนา และทักษะอาชีพ งานและภูมิใจในผลงานของตนเอง ๓. เพื่อพัฒนานักเรียนให้สามารถ ทางานร่วมกับผู้อื่นได้

เป้าหมาย

สนองมาตรฐาน การศึกษาของโรงเรียน

เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๖ ร้อยละ ๘๔ ของนักเรียนสามารถวาง ตัวบ่งชี้ ๖.๑ แผนการทางานได้ และ ดาเนินการ ตัวบ่งชี้ ๖.๒ จนสาเร็จ อย่างมีความสุข มุ่งมั่น ตัวบ่งชี้ ๖.๓ พัฒนางานผลงานด้วยความ ภาคภูมิใจ และสามารถทางาน ร่วมกับผู้อื่นได้ เชิงคุณภาพ นักเรียนสามารถวางแผนการทางาน ได้ และ ดาเนินการจนสาเร็จอย่างมี ความสุข มุ่งมั่น พัฒนางานผลงาน ด้วยความภาคภูมิใจ และสามารถ ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ ๒. โครงการส่งเสริม ๑. เพื่อพัฒนานักเรียนให้สามารถวาง เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๖ ความเป็นเลิศด้านวิชาการ แผนการทางานและดาเนินการจน ร้อยละ ๘๔ ของนักเรียนสามารถวาง ตัวบ่งชี้ ๖.๑ ๒.๑ งานส่งเสริมการแข่งขัน สาเร็จ แผนการทางานได้ และ ดาเนินการ ตัวบ่งชี้ ๖.๒ ทั้งในและนอก โรงเรียน ๒. เพื่อพัฒนานักเรียนให้สามารถ จนสาเร็จอย่างมีความสุข มุ่งมั่น ตัวบ่งชี้ ๖.๓ ๒.๒ งานยกย่องนักเรียนที่มี ทางานอย่างมีความสุข มุ่งมั่นพัฒนา พัฒนางานผลงานด้วยความ ผลงานดีเด่น งานและภูมิใจในผลงานของตนเอง ภาคภูมิใจและสามารถทางานร่วมกับ ๓. เพื่อพัฒนานักเรียนให้สามารถ ผู้อื่นได้ ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ เชิงคุณภาพ นักเรียนสามารถวางแผนการทางาน ได้ และ ดาเนินการจนสาเร็จอย่างมี ความสุข มุ่งมั่น พัฒนางานผลงาน ด้วยความภาคภูมิใจ และสามารถ ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ ๓. โครงการแนะแนว ๑. เพื่อให้นักเรียนมีการวางแผน เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๖ ในโรงเรียน เป้าหมายการศึกษาต่อ การเลือกอาชีพร้อยละ ๘๐ ของนักเรียนทุกคนรู้จัก ตัวบ่งชี้ ๖.๒ ๓.๑ งานให้คาปรึกษาเป็น ที่เหมาะสมกับตนเอง ตนเองพึ่งตนเองได้มีบุคลิกภาพที่ดี รายบุคลและกลุ่ม ๒. เพื่อให้นักเรียนมีการสร้างทางเลือก สามารถทางานร่วมกับผู้อื่น มีเจตคติ ๓.๒ งานวัดความถนัด การศึกษาต่อ ต่ออาชีพสุจริต และเลือกอาชีพที่ ทางด้านอาชีพของนักเรียน สายอาชีพที่เหมาะสมกับความถนัด เหมาะสมกับตนเอง ๓.๓ งานวัดแวว ความสนใจความสามารถของตนเอง เชิงคุณภาพ ความสามารถพิเศษนักเรียน และทางานร่วมกับผู้อื่น ได้อย่าง นักเรียนรู้จักตนเอง พึ่งตนเองได้ ๓.๔ งานแนะแนวการศึกษา มีความสุข มีบุคลิกภาพที่ดี สามารถทางาน ต่อสายสามัญ สายอาชี พ ร่วมกับผู้อื่น มีเจตคติต่ออาชีพสุจริต อุดมศึกษา และศิษย์เก่า และเลือกอาชีพที่เหมาะสมกับตนเอง ๓.๕ งานกิจกรรมค้นหาตนเอง ๓.๖ งานอบรมอดเปรี้ยวไว้ กินหวาน


๗๔

กลยุทธ์ที่ ๗ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน

๑. โครงการพัฒนาคุณภาพครู ๑. เพื่อให้ครูจัดการเรียนการสอนตาม เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๗ ตามแนวปฏิรูปการศึกษา วิชาที่ได้รับมอบหมายเต็มเวลาเต็ม ร้อยละ ๙๒ ของครูสามารถกาหนด ตัวบ่งชี้ ๗.๑ ๑.๑ งานพัฒนาศักยภาพครู ความสามารถ เป้าหมาย วิเคราะห์นักเรียน ตัวบ่งชี้ ๗.๒ ๑.๒ งานพัฒนาคุณภาพ ๒. เพื่อให้ครูกาหนดเป้าหมาย วางแผนกิจกรรมที่สอดแทรกบูรณา ตัวบ่งชี้ ๗.๓ นักเรียนตามจุดเน้นของ คุณภาพนักเรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะการภูมิปัญญาท้องถิ่น ใช้สื่อและ ตัวบ่งชี้ ๗.๔ หลักสูตร กระบวนการสมรรถนะแล ะ เทคโนโลยีเหมาะสม วัดและ ตัวบ่งชี้ ๗.๕ ๑.๓ งานวิเคราะห์และพัฒนา คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ประเมินผลด้วยวิธีการที่หลากหลาย ตัวบ่งชี้ ๗.๖ นักเรียนเป็นรายบุคคล ๓. เพื่อให้ครูวิเคราะห์นักเรียนเป็น และพัฒนาศักยภาพนักเรียน ตัวบ่งชี้ ๗.๗ ๑.๔. งานสอนซ่อม และสอน รายบุคคล และใช้ข้อมูลในการวาง เชิงคุณภาพ ตัวบ่งชี้ ๗.๙ เสริม แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนา ครูสามารถกาหนดเป้าหมาย ๑.๕. งานส่งเสริมการใช้สื่อ/ ศักยภาพนักเรียน วิเคราะห์นักเรียน วางแผนกิจกรรมที่ นวัตกรรม ๔. เพื่อให้ครูออกแบบและจัดการ สอดแทรกบูรณาการภูมิปัญญา ๑.๖. งานส่งเสริมการเรียนรู้ เรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่าง ท้องถิ่น ใช้สื่อและเทคโนโลยี ด้วยภูมิปัญญา ระหว่างบุคคลและพัฒนาการทาง เหมาะสม วัดและประเมินผลด้วย ๑.๗. งานพัฒนาเครื่องมือ สติปัญญา วิธีการที่หลากหลายและพัฒนา วัดผลประเมินผล ๕. เพื่อให้ครูใช้สื่อและเทคโนโลยี ศักยภาพนักเรียน ๑.๘. งานวิจัยในชั้นเรียน ที่เหมาะสมผนวกกับการนาบริบท และภูมิปัญญาของท้องถิ่น มาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ ๖. เพื่อให้ครูมีการวัดและประเมินผล ที่มุ่งเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ของ นักเรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ๗. เพื่อให้ครูให้คาแนะนา คาปรึกษา และแก้ไขปัญหาให้แก่นักเรียนทั้งด้าน การเรียนและคุณภาพชีวิตด้วยความ เสมอภาค ๘. เพื่อให้ครูมีการศึกษา วิจัยและ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ในวิชาที่ตน รับผิดชอบ และใช้ผลในการปรับ การสอน ๒. โครงการพัฒนาครู๑. เพื่อให้ครู-บุคลากรมีความรู้ เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๗ บุคลากร ความสามารถเพิ่มมากขึ้นและทันต่อ ร้อยละ ๘๕ ของครู-บุคลากรทั้งหมด ตัวบ่งชี้ ๗.๘ การเปลี่ยนแปลง เชิงคุณภาพ ตัวบ่งชี้ ๗.๙ ๒. เพื่อให้ครู-บุคลากรนาความรู้ไป ครู-บุคลากรมีความรู้ ความสามารถ พัฒนางานในหน้าที่รับผิดชอบ เพิ่มมากขึ้น และทันต่อการ ๓. เพื่อให้งานต่างๆบรรลุผลอย่างมี เปลี่ยนแปลงนาความรู้ไปพัฒนางาน คุณภาพ ในหน้าที่รับผิดชอบ และครู-บุคลากรมีประสิทธิภาพ ทา ให้งานบรรลุผลอย่างมีคุณภาพ


๗๕

โครงการ/กิจกรรม ๓. โครงการสวัสดิการ เสริมสร้างขวัญและกาลังใจ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน

๑. เพื่อเสริมสร้างขวัญและกาลังใจใน เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๗ การปฏิบัติงานร่วมกันของครูร้อยละ ๙๒ ของครู-บุคลากรทั้งหมด ตัวบ่งชี้ ๗.๑๐ บุคลากรในโรงเรียน เชิงคุณภาพ ๒. เพื่อครู-บุคลากรปฏิบัติหน้าที่ ๑. ครู-บุคลากรมีขวัญกาลังใจในการ อย่างเต็มกาลังความสามารถ ปฏิบัติงาน ๓. เพื่อครู-บุคลากรมีความภาคภูมิใจ ๒. ครู-บุคลากรปฏิบัติหน้าที่เต็ม และมั่นใจในอาชีพ ความสามารถ ๓. ครู-บุคลากรมีความมั่นใจและ ภูมิใจในอาชีพ

กลยุทธ์ที่ ๘ ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิ ธิผทล สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน ๑. โครงการพัฒนาผู้บริหาร ๑. เพื่อพัฒนาผู้บริหารให้มีวิสัยทัศน์ เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๘ ครู และบุคลากร ภาวะผู้นา และความคิดริเริ่มที่เน้น ร้อยละ ๙๑ ผู้บริหารและบุคลากร ตัวบ่งชี้ ๘.๑ ๑.๑ งานจัดทาคู่มือการบริหาร พัฒนาการนักเรียน ทุกคนนาทฤษฏีไปใช้ในการแก้ปัญหา ตัวบ่งชี้ ๘.๔ โรงเรียน ๒. เพื่อพัฒนาให้ผู้บริหารใช้หลักการ ตัดสินใจและบริหารเชิระบบได้ ง อย่าง ตัวบ่งชี้ ๘.๖ ๑.๒ งานประชุมคณะกรรมการ บริหารแบบมีส่วนร่วมและใช้ข้อมูลผลมั่นใจ โรงเรียน การประเมินหรือผลการวิจัยเป็นฐาน เชิงคุณภาพ ๑.๓ งานนิเทศ อบรม สัมมนา คิดทั้งด้านวิชาการและการจัดการ ผู้บริหารและบุคลากรทุกคนนา ผู้บริหาร ครู ๓. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ ทฤษฏีไปใช้ในการแก้ปัญหา ๑.๔ งานบริหารจัดการด้าน ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการ ตัดสินใจและบริหารเชิระบบ ง วิชาการ การศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตาม ได้อย่างมั่นใจ ๑.๕ งานกากับติดตาม ที่กาหนดไว้ ในแผนปฏิบัติการ ตรวจสอบการดาเนินงาน ๔. เพื่อพัฒนาให้ผู้บริหารส่งเสริมและ ๑.๖ งานประเมินผล พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้พร้อมรับ เชิงคุณภาพบุคลากร การกระจายอานาจ ๕. เพื่อพัฒนาผู้บริหารให้คาแนะนา คาปรึกษาทางวิชาการและเอาใจใส่ การจัดการศึกษาเต็มศักยภาพและ เต็มเวลา ๒. โครงการประเมินผลการ ๑. เพื่อรวบรวมผลสารวจความ เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๘ ดาเนินงาน พึงพอใจผลการบริหารการจัด นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และ ตัวบ่งชี้ ๘.๕ ๒.๑ งานจัดทาแบบ สอบถาม การศึกษาจากนักเรียน ผู้ปกครอง บุคลากรในโรงเรียนร้อยละ ๘๐ ตัวบ่งชี้ ๘.๖ และแบบ ประเมิน และชุมชน นาผลมาเป็นแนวทางใน มีความพึงพอใจผลการบริหาร การปรับปรุงพัฒนางาน การจัดการศึกษา ๒. เพื่อติดตามตรวจสอบคุณภาพการ เชิงคุณภาพ จัดการศึกษา โรงเรียนสามารถติดตามตรวจสอบ คุณภาพการจัดการศึกษา และ นา ข้อมูลจากการติดตามมาใช้เป็น แนวทางในการปรับปรุง บริหารการจัดการศึกษา โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย


๗๖

กลยุทธ์ที่ ๙ คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครองชุมชนปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภดาพและเกิ ประสิทธิผล สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน ๑. โครงการพัฒนาผู้บริหาร ๑. เพื่อพัฒนา ผู้บริหารให้มีวิสัยทัศน์ เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๙ ครู และบุคลากร ภาวะผู้นา และความคิดริเริ่มที่เน้น ร้อยละ๙๑ ผู้บริหารและบุคลากรทุก ตัวบ่งชี้ ๙.๑ ๑.๑งานจัดทาคู่มือการ พัฒนาการนักเรียน คนนาทฤษฏีไปใช้ในการแก้ปัญหา ตัวบ่งชี้ ๙.๒ บริหารโรงเรียน ๒. เพื่อพัฒนาให้ ผู้บริหารใช้หลักการตัดสินใจและบริหารเชิระบบได้ ง อย่าง ๑.๒ งานประชุม บริหารแบบมีส่วนร่วมและใช้ข้อมูลผลมั่นใจ คณะกรรมการโรงเรียน การประเมินหรือผลการวิจัย เป็นฐานเชิงคุณภาพ ๑.๓ งานนิเทศ อบรม คิดทั้งด้านวิชาการและการจัดการ ผู้บริหารและบุคลากรทุกคนนาทฤษฏี สัมมนาผู้บริหาร ครู ๓. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ ไปใช้ในการแก้ปัญหา ตัดสินใจและ ๑.๔ งานบริหารจัดการด้าน ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการ บริหารเชิรงะบบได้อย่างมั่นใจ วิชาการ การศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามที่ ๑.๕ งานกากับติดตาม กาหนดไว้ ในแผนปฏิบัติการ ตรวจสอบการดาเนินนงา ๔. เพื่อพัฒนาให้ผู้บริหารส่งเสริมและ พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้พร้อมรับ การกระจายอานาจ ๕. เพื่อพัฒนาผู้บริหารให้คาแนะนา คาปรึกษาทางวิชาการและเอาใจใส่การ จัดการศึกษาเต็มศักยภาพและเต็มเวลา โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

๒.โครงการบรรพชาสามเณร ๑. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้ศึกษา ลาซาลโชติรวี พระธรรมคาสอนได้อย่างเหมาะสม รุ่นที่ ๑๖ กับวัย ๒. เพื่อนักเรียนสามารถนา ประสบการณ์ช่วงบรรพชาไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๙ นักเรียนชาย ป.๓-ม.๖ที่สมัครใจ ตัวบ่งชี้ ๙.๓ ๗๔ คน เชิงคุณภาพ นักเรียนได้มีโอกาสศึกษาพระธรรม คาสั่งสอนมีแนวทางการดาเนินชีวิตที่ดี

๓. โครงการสานสัมพันธ์กับ ชุมชน ๓.๑ งานส่งเสริมประเพณี ตรุษจีน ๓.๒ งานบริการชุมชน ๓.๓ งานช่วยเหลือชุมชน และสังคม ๓.๔ งานประชาสัมพันธ์

เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๙ ร้อยละ ๗๔ ของนักเรียนทั้งหมด ตัวบ่งชี้ ๙.๓ เชิงคุณภาพ มาตรฐานที่ ๑๔ นักเรียนได้แสดงออกถึงความสามารถตัวบ่งชี้ ๑๔.๑ ของตนเองในการร่วมกิจกรรมของ ชุมชนและชุมชนได้ทราบข่าวสารการ ดาเนินงานของโรงเรียนที่เป็นปัจจุบัน สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่าง โรงเรียนและชุมชน

๑. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ แสดงออกถึงความสามารถของตน ในการร่วมกิจกรรมของชุมชน ๒. เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดี ระหว่างโรงเรียนและชุมชน ๓. เพื่อให้โรงเรียนเป็นแหล่ง วิทยาการในการแสวงหาความรู้ และบริการชุมชน ๔. เพื่อประชาสัมพันธ์กิจกรรมของ โรงเรียนให้บุคลากรในโรงเรียนและ ชุมชนได้รับทราบ


๗๗

กลยุทธ์ที่ ๑๐ โรงเรียนมีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้าน สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน ๑. โครงการนิเทศหลักสูตร ๑. เพื่อพัฒนาหลักสูตรโรงเรียน เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑๐ และการจัดการเรียนการสอน เหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่น ร้อยละ ๙๓ ของครูมีการพัฒนา ตัวบ่งชี้ ๑๐.๑ ๑.๑ งานวิเคราะห์เพื่อปรับ ๒. เพื่อสนับสนุนให้ครูจัดกระบวน หลักสูตร กระบวนการเรียนรู้แจัละด ตัวบ่งชี้ ๑๐.๔ และพัฒนาหลักสูตร การเรียนรู้ที่ให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัตกิ​ิ จกรรมพัฒนาคุณภาพนักเรียนอย่าง ตัวบ่งชี้ ๑๐.๕ ๑.๒ งานพัฒนาแผนการ จริงจนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง รอบด้าน จัดการเรียนรู้ ๓. เพื่อนิเทศภายใน กากับ ติดตาม เชิงคุณภาพ ๑.๓ งานนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ และนาผลไปปรับปรุงการ ครูผู้สอนทุกคนมีการพัฒนาหลักสูตร การจัดกิจกรรมการเรียน เรียนการสอนอย่างสม่าเสมอ กระบวนการเรียนรู้และจัดกิจกรรม การสอน พัฒนาคุณภาพนักเรียนอย่างรอ บด้าน ๒. โครงการส่งเสริม ๑. เพื่อพัฒนาหลักสูตรโรงเรียน เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑๐ การจัดกิจกรรมพัฒนา เหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่น ร้อยละ ๙๓ ของครูสามารถ ตัวบ่งชี้ ๑๐.๑ คุณภาพนักเรียน ๒. เพื่อพัฒนาครูให้การจัดรายวิชา จัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน ตัวบ่งชี้ ๑๐.๒ ๒.๑ งานชุมนุม/ชมรม เพิ่มเติมที่หลากหลายให้นักเรียน ที่ส่งเสริมและตอบสนองความ ตัวบ่งชี้ ๑๐.๓ ๒.๒ งานส่งเสริม เลือกเรียนตามความถนัด ต้องการ ความสามารถ ความถนัด ตัวบ่งชี้ ๑๐.๗ ความสามารถและความคิด ความสามารถ และความสนใจ ความสนใจของนักเรียนและจัด สร้างสรรค์ ๓. เพื่อพัฒนาครูให้การจัดกิจกรรม กิจกรรมที่สืบสานและสร้างสรรค์ ๒.๓ งานส่งเสริมคุณธรรม พัฒนานักเรียนที่ส่งเสริมและ วัฒนธรรม ประเพณีและ จริยธรรม ตอบสนองความต้องการ ภูมิปัญญาไทย ๒.๔ งานสืบสานวัฒนธรรม ความสามารถ ความถนัด และความ เชิงคุณภาพ ประเพณี และภูมิปัญญาไทย สนใจของนักเรียน ครูสามารถการจัดกิจกรรมพัฒนา ๔. เพื่อส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรม นักเรียนที่ส่งเสริมและตอบสนอง ที่สืบสานและสร้างสรรค์ วัฒนธรรม ความต้องการ ความสามารถ ความ ประเพณีและภูมิปัญญาไทย ถนัด และความสนใจของนักเรียน และจัดกิจกรรมที่สืบสานและ สร้างสรรค์ วัฒนธรรม ประเพณีและ ภูมิปัญญาไทย ๓. โครงการส่งเสริมการจัด ๑. เพื่อสนับสนุนให้ครูจัดกิจกรรม เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑๐ กระบวนการเรียนรู้ที่เน้น พัฒนานักเรียนที่ส่งเสริมและ ร้อยละ ๙๓ ของครูจัดกิจกรรมพัฒนา ตัวบ่งชี้ ๑๐.๓ นักเรียนเป็นสาคัญ ตอบสนองความต้องการ นักเรียนที่ส่งเสริมและตอบสนอง ตัวบ่งชี้ ๑๐.๔ ๓.๑ งานส่งเสริมการสอน ความสามารถ ความถนัด และความ ความต้องการ ความสามารถ ความ ที่เน้นกระบวนการ สนใจของนักเรียน ถนัด และความสนใจของนักเรียน ๒. เพื่อสนับสนุนให้ครูจัด จัดกระบวนการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ กระบวนการเรียนรู้ที่ให้นักเรียนได้ นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุป ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ได้ ความรู้ได้ด้วยตนเอง มีการนิเทศ ด้วยตนเอง ภายใน กากับ ติดตามตรวจสอบและ นาผลไปปรับปรุงการเรียนการสอน อย่างสม่าเสมอ เชิงคุณภาพ ครูจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียนที่ ส่งเสริมและตอบสนองความต้องการ ความสามารถ ความถนัด โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย


๗๘ โครงการ/กิจกรรม

๔. โครงการนิเทศ ผู้ปกครอง ๔.๑ งานแลกเปลี่ยน เรียนรู้

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน

และความสนใจของนักเรียจันด กระบวนการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุป ความรู้ได้ด้วยตนเอง มีการนิเทศ ภายใน กากับ ติดตามตรวจสอบและนา ผลไปปรับปรุงการเรียนการสอนอย่าง สม่าเสมอ ๑. เพื่อจัดกิจกรรม/โครงการที่ เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑๐ ส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความรู้และมี ร้อยละ ๙๓ ของครูเข้าใจแนวทาง ตัวบ่งชี้ ๑๐.๙ ส่วนร่วมในการพัฒนานักเรียน มีส่วนร่วมในการพัฒนานักเรียน มาตรฐานที่ ๑๓ ๒. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลที่เป็น ตัวบ่งชี้ ๑๓.๒ บุคคลภายในโรงเรียน ระหว่าง ประโยชน์ต่อการพัฒนานักเรียนให้ โรงเรียนกับครอบครัว ชุมชน และ สามารถเรียนรู้อย่างมีคุณภาพตาม องค์กรทีเกี่ ่ยวข้อง วิสัยทัศน์ของโรงเรียน เชิงคุณภาพ ผู้ปกครองทุกคนเข้าใจแนวทาง มีส่วนร่วมในการพัฒนานักเรียนและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลที่เป็น ประโยชน์ต่อการพัฒนานักเรียนให้ สามารถเรียนรู้อย่างมีคุณภาพตาม วิสัยทัศน์ของโรงเรียน

๕. โครงการแนะแนวใน ๑. เพื่อติดตามช่วยเหลือและ โรงเรียน รับทราบข้อมูลต่าง ๆ ของนักเรียน ๕.๑ งานเยี่ยมบ้านนักเรียน ๕.๒ งานประเมินEQ นักเรียน

เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑๐ ร้อยละ ๘๐ ของนักเรียนที่เข้าร่วม ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐.๖ กิจกรรม เชิงคุณภาพ นักเรียนรู้จักตนเอง มีการวางแผนเป้าหมายในการศึกษา ต่อ ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ นักเรียน ได้รับการติดตาม ดูแลช่วยเหลือตาม ความเหมาะสม ๖. โครงการสวัสดิการมอบ ๑. เพื่อช่วยให้นักเรียนที่เรียนดี เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑๐ ทุนการศึกษา ได้รับทุนการศึกษา ในรูปแบบต่าง ๆ ร้อยละ ๘๐ ของนักเรียนที่เรียนดี ตัวบ่งชี้ ๑๐.๖ อย่างเหมาะสม และยากจนได้รับการช่วยเหลือ ๒. เพื่อให้นักเรียนที่ขาดแคลน เชิงคุณภาพ มีโอกาสได้ศึกษาเล่าเรียน ช่วยลด นักเรียนกลุ่มเป้าหมายได้รับการ และแบ่งเบาภาระของครอบครัว ช่วยเหลือในเรื่องทุนการศึกษาอย่าง ๓. เพื่อให้นักเรียนที่ขาดแคลนได้รับ เหมาะสม การช่วยเหลือ ตามความต้องการ อย่างเหมาะสมและมีความพร้อมใน การเรียนมากขึ้น


๗๙ โครงการ/กิจกรรม ๗. งานติดตามนักเรียน

๘. งานสภาและสารวัตร นักเรียน

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

๑. เพื่อให้นักเรียนได้รับการอบรม ดูแลอย่างทั่วถึง มีความประพฤติที่ดี ๒. เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้รับความ ปลอดภัย ๓. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความมั่นใจใน ความปลอดภัยของบุตรหลาน

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๑ ตัวบ่งชี้ ๑.๓ มาตรฐานที่ ๑๐ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐.๖

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๕ ของนักเรียนทั้งหมด ได้รับการอบรมดูแลอย่างทั่วถึง มีความประพฤติที่ดี เชิงคุณภาพ นักเรียนได้รับการอบรมดูแลอย่าง ทั่วถึง มีความประพฤติที่ดี เพื่อให้โรงเรียนมีส่วนร่วม ช่วยเหลือ เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑๐ คนในสังคม และนักเรียนมีคุณธรรม ร้อยละ ๙๕ ของนักเรียนทั้งหมด ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐.๘ หลากหลายเพิ่มขึ้น ได้รับการอบรมดูแลอย่างทั่วถึง ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐.๑๑ มีความประพฤติที่ดี เชิงคุณภาพ นักเรียนได้รับการอบรมดูแลอย่าง ทั่วถึง มีความประพฤติที่ดี

กลยุทธ์ที่ ๑๑ โรงเรียนมีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริมให้นักเรียนพัฒนาเต็มตามศักยภาพ โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๑๑ ตัวบ่งชี้ ๑๑.๒

๑. โครงการบริจาคโลหิตเพื่อ ๑. เพื่อทาความดีถวายแด่ เชิงปริมาณ ถวายเป็นพระราชกุศล พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ร้อยละ ๗๕ ของคณะครู และ และฉลองที่พระองค์พระชนมายุ นักเรียนในชั้น ม.๕ ชั้น ม.๖ ๘๗ พรรษา ที่เข้าร่วมโครงการ ๒. เพื่อให้คณะครู นักเรียนบริจาค เชิงคุณภาพ โลหิตให้สภากาชาดไทย คณะครู นักเรียนได้ทาความดีถวาย จังหวัดนครสวรรค์ ได้นาไปช่วย แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้อยูา ่หัวฯ ผู้ป่วยที่ต้องการโลหิต ๒. โครงการโรงเรียนส่งเสริม ๑. เพื่อช่วยให้นักเรียนที่ขาดแคลน เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑๑ สุขภาพ มีอาหารกลางวันรับประทานทุกวัน ร้อยละ ๘๕ ของนักเรียนที่มีภาวะ ตัวบ่งชี้ ๑๑.๒ ๒.๑ งานอบรมให้ความรู้แก่ผู้ ๒. เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการ โภชนาการต่ากว่าเกณฑ์ และขาด ประกอบอาหารทั้งภายในและ ทางร่างกายตามเกณฑ์มาตรฐาน แคลนได้รับการช่วยเหลือ ภายนอกโรงเรียน ของกรมอนามัยและมีสะอาดถูกหลัก เชิงคุณภาพ ๒.๒ งานประกวดความสะอาด โภชนาการ แม่ค้าในโรงเรียนมีความรู้ด้าน อาหาร ร้านค้าและน้าดื่ม สุขอนามัย ดูแลร้านค้าสะอาด และ นักเรียนปลอดจากโรคติดต่อที่มี อาหารเป็นสื่อ ๓. โครงการพัฒนาห้องสมุด ๑. เพื่อจัดห้องสมุดที่ให้บริการสื่อ เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑๑ ๓.๑ งานจัดหาหนังสือ วารสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อให้ ร้อยละ ๙๓ ของห้องสมุดให้บริการ ตัวบ่งชี้ ๑๑.๓ หนังสือพิมพ์สู่ห้องสมุด นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเองและหรือ สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อให้ตัวบ่งชี้ ๑๑.๗ ๓.๒. งานห้องสมุดเคลื่อนที่ เรียนรู้แบบมีส่วนร่วม นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเองและหรือ ตัวบ่งชี้ ๑๑.๘ สู่ชุมชน ๒. เพื่อให้บริการเทคโนโลยี เรียนรู้แบบมีส่วนร่วมทั้งในและนอก ๓.๓. งานสัปดาห์ห้องสมุด สารสนเทศทุกรูปแบบที่เอื้อต่อการ โรงเรียน ๓.๔. งานส่งเสริมการใช้ เรียนรู้ด้วยตนเองและการเรียนรู้


๘๐ โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน

เทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุด แบบมีส่วนร่วม เชิงคุณภาพ ๓. เพื่อจัดและใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งใน ห้องสมุดสามารถให้บริการสื่อและ และนอกโรงเรียน เทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อให้ นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเองและหรือ เรียนรู้แบบมีส่วนร่วมทั้งในและนอก โรงเรียน ๔. โครงการพัฒนางานอาคาร ๑. เพื่อให้มีห้องเรียน เชิงปริมาณ มาตรฐานที๑๑ ่ สถานที่ และสิ่งเอื้ออานวยต่อ ห้องประกอบ อาคารประกอบ และสิ๑.่ง ร้อยละ ๙๐ ของห้องเรียน ตัวบ่งชี้ ๑.๑ การบริการทางการศึกษา เอื้ออานวย การบริการทางการศึกษา ห้องประกอบได้จัดหา ดูแลรักษา ตัวบ่งชี้ ๑๑.๓ ๔.๑ งานจัดทาแผนการจัดทา เพียงพอกับความจาเป็น ครุภัณฑ์และสิ่งอานวยบริการทาง ตัวบ่งชี้ ๑๑.๖ จัดหา ดูแลรักษาครุภัณฑ์และ ๒. เพื่อให้บริเวณโรงเรียน สะอาด การศึกษาได้อย่างเหมาะสม สิ่งอานวยบริการทางการศึกษา ร่มรื่น สวยงาม และเอื้อต่อการเรียน๒. ร้อยละ ๙๐ ของของอาคารเรียน ๔.๒ งานซ่อมแซม ปรับปรุง การสอน อาคารประกอบ ได้จัดหา จัดทาและ รักษาครุภัณฑ์และสิ่งอานวย พัฒนาสิ่งปลูกสร้าง บริการทางการศึกษา ให้มีความปลอดภัย ๔.๓ จัดทาแผนการจัดสร้าง เชิงคุณภาพ พัฒนา ดูแล รักษา อาคาร ๑. ครุภัณฑ์ และสิ่งอานวยบริการ เรียน อาคารประกอบ และ ต่างๆ ได้รับการปรับปรุงซ่อมแซมให้ สิ่งก่อสร้าง สามารถใช้การได้อย่างเหมาะสม ๔.๔ งานจัดและปรับปรุง ๒. บริเวณในโรงเรียนสะอาด สวนหย่อมบริเวณโรงเรียน ร่มรื่น สวยงาม ตลอดจนการดูแล ๔.๕ งานจัดทาและปรับปรุง รักษา และปรับปรุงสิ่งแวดล้อมใน ป้ายแผนภูมิสารสนเทศและ โรงเรียน การจราจร

กลยุทธ์ที่ ๑๒ โรงเรียนมีการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนตามที่กาหนดในกฎกระทรวง โครงการ/กิจกรรม ๑. โครงการประกันคุณภาพ ภายใน ๑.๑ งานจัดทาแผนปฏิบัติการ ประจาปี ๑.๒ งานติดตามตรวจสอบ ประเมินคุณภาพ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

๑. เพื่อพัฒนาการจัดองค์กร เชิงปริมาณ โครงสร้าง โดยการกาหนดมาตรฐานร้อยละ ๙๑ มีการพัฒนาระบบ การศึกษา บริหาร จัดการตามระบบประกัน ๒. เพื่อพัฒนาคุณภาพการ คุณภาพภายใน ดาเนินงานให้เป็นไปตามระบบ เชิงคุณภาพ ประกันคุณภาพภายใน หัวหน้าฝ่ายและผู้ประสานงานฝ่าย ๓. เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียน ผู้ประสานงานระดับ ครู และ ดาเนินการตามแผนพัฒนาการจัด ผู้เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการพัฒนา การศึกษาของโรงเรียนที่มุ่งพัฒนา คุณภาพการศึกษาตามระบบประกัน คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา คุณภาพภายใน ๔. เพื่อพัฒนาการบริหารงาน โรงเรียนโดยมีคณะกรรมการโรงเรียน ๕. เพื่อพัฒนาระบบบริหาร การวางแผน การดาเนินงาน

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๑๒ ตัวบ่งชี้ ๑๒.๑ ตัวบ่งชี้ ๑๒.๒ ตัวบ่งชี้ ๑๒.๔ ตัวบ่งชี้ ๑๒.๕


๘๑ โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน

การติดตามตรวจสอบ การประเมินผล นาไปพัฒนา อย่างมีประสิทธิภาพ ๒. โครงการพัฒนาระบบ ๑. เพื่อพัฒนาการบริหารโรงเรียนให้ เชิงปริมาณ มาตรฐานที่๑๒ เทคโนโลยีสารสนเทศ มีประสิทธิภาพอย่างเป็นระบบ ครบ ร้อยละ ๙๐ ของหัวหน้าฝ่ายและ ตัวบ่งชี้ ๑๒.๓ วงจร ครอบคลุมทุกเป้าหมายของ ผู้ประสานงานฝ่าย ผู้ประสานงาน โรงเรียน ระดับ ครู และผู้เกี่ยวข้อง ๒. เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีและ เชิงคุณภาพ สารสนเทศให้ทันสมัย พร้อมใช้งาน หัวหน้าฝ่ายและผู้ประสานงานฝ่าย อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ประสานงานระดับ ครู และ ๓. เพื่อพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการพัฒนา ประมวลผล วิเคราะห์ บันทึก ระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศ การจัดเก็บ และนาไปใช้พัฒนา คุณภาพการศึกษา ๔. เพื่อพัฒนาให้มีระบบข้อมูล สารสนเทศเพื่อการบริหารที่ถูกต้อง และครบถ้วนทันต่อการใช้งาน ๓. โครงการสรุปผลการ ๑. เพื่อติดตามตรวจสอบ และ เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑๒ ดาเนินงาน ประเมินคุณภาพภายในตาม ร้อยละ ๙๕ ของโรงเรียนมีการ ตัวบ่งชี้ ๑๒.๔ ๓.๑ งานจัดทารายงาน มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน ติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ตัวบ่งชี้ ๑๒.๖ ความก้าวหน้ารายภาคเรียน ๒. เพื่อประชาสัมพันธ์และรายงาน และจัดทารายงานประจาปีที่เป็น ตัวบ่งชี้ ๑๒.๙ ๓.๒ งานติดตามตรวจสอบการ ผลการดาเนินงานทุกโครงการ รายงานการประเมินคุณภาพภายใน สรุปโครงการ งาน กิจกรรม งาน กิจกรรมที่ตอบสนองตาม เชิงคุณภาพ ๓.๓ งานจัดทารายงานประเมิน วิสัยทัศน์ พันธกิจของโรงเรียน ๑. โรงเรียนประชาสัมพันธ์ รายงาน ตนเองและรายงานคุณภาพ ให้ผู้ปกครองได้รับทราบผลการ ผลการดาเนินโครงการ งาน กิจกรรม ประจาปี ดาเนินงาน ให้ผู้ปกครองได้รับทราบ ๓. เพื่อรวบรวมผลความก้าวหน้า ๒. รวบรวมผลความก้าวหน้าของ ของโรงเรียนตลอดปีการศึกษาจัดทา โรงเรียนตลอดปีการศึกษาจัดทาเป็น เป็นรายงานคุณภาพประจาปี รายงานคุณภาพประจาปี เสนอแก่ เสนอแก่ผู้เกี่ยวข้องและหน่วยงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและพัฒนา ได้รับทราบ คุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ๔. โครงการพัฒนาระบบ ๑. เพื่อพัฒนาระบบงานธุรการ เชิงปริมาณ บริหารงานธุรการ การเงิน ให้มีความคล่องตัวโดยใช้ ร้อยละ ๘๗ ของครู และนักเรียน โปรแกรมMAS ช่วยบริหารโรงเรียน เชิงคุณภาพ พัฒนาระบบงานธุรการ การเงินให้มี คุณภาพ ๕. โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ๑.์ เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ เชิงปริมาณ การเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระ ทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระ ร้อยละ ๘๔ ของนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ ๕.๑. งานเสริมสร้างและพัฒนา เป็นไปตามเกณฑ์ ทางการเรียนแต่ะลกลุ่มสาระเป็นไป สมรรถนะสาคัญทุกกลุ่มสาระ ๒. เพื่อพัฒนาผู้นักเรียนให้มีผลการ ตามเกณฑ์ มีผลการประเมิน ๕.๒. งานเสริมสร้างและพัฒนา ประเมินสมรรถนะสาคัญตาม สมรรถนะสาคัญ มีผลการประเมิน

มาตรฐานที่ ๑๒ ตัวบ่งชี้ ๑๒.๔

มาตรฐานที่ ๕ ตัวบ่งชี้ ๕.๑ ตัวบ่งชี้ ๕.๒ ตัวบ่งชี้ ๕.๓ ตัวบ่งชี้ ๕.๕


๘๒ สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน ความ สามารถในการอ่าน คิด หลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน มาตรฐานที๑๒ ่ วิเคราะห์และเขียน ๓. เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีผลการ เป็นไปตามเกณฑ์มีระดับผลสัมฤทธิ์ ตัวบ่งชี้ ๑๒.๑๐ ๕.๓. งานวัดผลประเมินผลตาม ประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และ ทางการเรียนเฉลี่ยอยู่ในระดับดีขึ้นไป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น เขียนเป็นไปตามเกณฑ์ มีผลการทดสอบระดับชาติเฉลี่ยอยู่ใน พื้นฐาน ๔. เพื่อให้นักเรียนมีระดับผลสัมฤทธิ์ ระดับดีขึ้นและมีผลการพัฒนา ๕.๔. งานพัฒนาการจัด ทางการเรียนเฉลี่ยอยู่ในระดับดีขึ้น คุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง กิจกรรมการเรียนรู้ตามกลุ่ม ไป เชิงคุณภาพ สาระ ๕ เพื่อให้โรงเรียนมีการพัฒนา นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ ๕.๕. งานแข่งขันตาม คุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ละกลุ่มสาระเป็นไปตามเกณฑ์หรือสูง กลุ่มสาระ กว่าเกณฑ์ มีผลการประเมิน สมรรถนะสาคัญ และ มีผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียนเป็นไป ตามเกณฑ์หรือสูงกว่าเกณฑ์ มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ย อยู่ในระดับดีขึ้นไปมีผลการทดสอบ ระดับชาติเฉลี่ยอยู่ในระดับดีขึ้นและ มีผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษา อย่างต่อเนื่อง โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

กลยุทธ์ที่ ๑๓ โรงเรียนมีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้โรงเรียนเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

๑. โครงการการขับเคลื่อนปรัชญา ๑. เพื่อให้ครู นักเรียน เศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียนลาซาล ผู้ปกครอง น้อมนาหลักการ โชติรวีนครสวรรค์ เศรษฐกิจพอเพียงตามแน ว ๑.๑ จัดทาแผนการจัดสร้างพัฒนา พระราชดาริมาวางแผน ดูแล รักษา อาคารเรียน อาคาร การบริหาร จัดการ ภายใน ประกอบ และสิ่งก่อสร้าง โรงเรียน ๑.๒ งานจัดและปรับปรุง ๒. เพื่อให้ครู นักเรียน สวนหย่อมบริเวณโรงเรียน ผู้ปกครอง ได้ดาเนินการศึกษา ๑.๓ งานจัดทาและปรับปรุป้ง าย พัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียน แผนภูมิสารสนเทศและการจราจร การสอน และ ๑.๔ งานให้บริการอาคารสถานที่ จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร ที่สอดคล้องตามแนวปรัชญา เศรษฐกิจ

เป้าหมาย

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน

เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑๓ ร้อยละ ๘๕ ของครู นักเรียน ตัวบ่งชี้ ๑๓.๑ มีความรู้ ความเข้าใจในหลักปรัชญา ตัวบ่งชี้ ๑๓.๒ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนาไป พัฒนาหลักสูตร จัดการเรียนการสอนและกิจกรรม เสริมหลักสูตร เชิงคุณภาพ ครู นักเรียน คนงาน นาปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ อย่างเหมาะสม


๘๓

โครงการ/กิจกรรม ๒. โครงการนิเทศผู้ปกครอง ๒.๑ งานแลกเปลี่ยนเรียนรู้

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

๑. เพื่อจัดกิจกรรม/โครงการที่ ส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความรู้ และมีส่วนร่วมในการพัฒนา นักเรียน ๒. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างบุคคลภายในโรงเรียน ระหว่างโรงเรียนกับครอบครัว ชุมชนและองค์กรทีเกี่ ่ยวข้อง

เชิงปริมาณ ร้อยละ ๙๓ ของผู้ปกครองเข้าใจ แนวทาง มีส่วนร่วมในการพัฒนา นักเรียน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา นักเรียนให้สามารถเรียนรู้อย่างมี คุณภาพตามวิสัยทัศน์ของโรงเรียน เชิงคุณภาพ ผู้ปกครองทุกคนเข้าใจแนวทาง มีส่วนร่วมในการพัฒนานักเรียนและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลที่เนป็ ประโยชน์ต่อการพัฒนานักเรียนให้ สามารถเรียนรู้อย่างมีคุณภาพตาม วิสัยทัศน์ของโรงเรียน

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน มาตรฐานที่ ๑๐ ตัวบ่งชี้ ๑๐.๙ มาตรฐานที่ ๑๓ ตัวบ่งชี้ ๑๓.๒

กลยุทธ์ที่ ๑๔ มีการพัฒนาโรงเรียนให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นที่กาหนดขึ้น โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

๑. โครงการห้องสมุดส่งเสริมรัก ๑. เพื่อให้ครูจัดกิจกรรมที่ การอ่าน ส่งเสริมให้นักเรียนบรรลุตาม ๑.๑ งานส่งเสริมการอ่านภายใน เป้าหมายวิสัยทัศน์ปรัชญาและ ห้องสมุด จุดเน้นของโรงเรียน ๑.๒ งานค่ายรักการอ่านผ่าน ๔. ส ๒. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนบรรลุ ๑.๓ งานรักการอ่านสานสู่ฝัน ตามเป้าหมายวิสัยทัศน์ปรัชญา ๑.๔ งานส่งเสริมการอ่านออกเสียง และจุดเน้นของโรงเรียน รล ๑.๕ งานส่งเสริมการสร้าง นวัตกรรมพัฒนาการอ่าน ๑.๕.๑ โต๊ะจีนหนังสือ ๑.๕.๒ ที่ทาการไปรษณีย์รัก การอ่าน ๑.๕.๓หนังสือวรรณกรรมแว่นแก้ว ๑.๕.๔สหกรณ์ความรู้คู่ชุมชน ๑.๕.๕ขวดมหัศจรรย์สร้างสรรค์ นักอ่าน ๑.๕.๖ กิจกรรมโชว์รูม หนังสือ ๑.๕.๗ กิจกรรมนานมีบุ๊ครี๊ดดิ้งคลับ

เป้าหมาย

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน

เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑๔ ร้อยละ ๙๓ ของกิจกรรมห้องสมุด ตัวบ่งชี้ ๑๔.๑ ส่งเสริมการอ่านของนักเรียนอย่าง ตัวบ่งชี้ ๑๔.๒ หลากหลายและบรรลุตามเป้าหมาย วิสัยทัศน์ ปรัชญาและจุดเน้นของ โรงเรียน เชิงคุณภาพ กิจกรรมของห้องสมุดส่งเสริมการอ่าน อย่างหลากหลาย ส่งเสริมให้นักเรียน สามารถบรรลุตามเป้าหมายวิสัยทัศน์ ปรัชญาและจุดเน้นของโรงเรียน


๘๔

โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน

๒. โครงการพัฒนาคุณธรรม ๑. เพื่อพัฒนานักเรียนเป็นผู้มี เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑๔ จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ความซื่อสัตย์ สุจริต ร้อยละ ๙๐ ของนักเรียนมีคุณธรรม ตัวบ่งชี้ ๑๔.๑ ๒.๑ งานส่งเสริมคุณธรรม ๒. เพื่อพัฒนานักเรียนมีความ จริยธรรมและมีคุณลักษณะอันพึง ตัวบ่งชี้ ๑๔.๒ ๒.๒ งานนักเรียนลาซาลมีน้าใจ กตัญญูกตเวที พ่อแม่ ครู และ ประสงค์มากขึ้น ๒.๓ งานส่งเสริมความกตัญญู ผู้มีความพระคุณ เชิงคุณภาพ ๒.๔ งานส่งเสริมมารยาทไทย ๓. เพื่อพัฒนานักเรียนเป็นผู้มี นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและมี ความเมตตา กรุณา เอื้อเฟื้อ คุณลักษณะอันพึงประสงค์มากขึ้น เผื่อแผ่และเสียสละเพื่อส่วนรวม ๔. เพื่อพัฒนานักเรียนให้ ประหยัด อดออม รู้จักใช้ทรัพย์ สิ่งของส่วนตนและส่วนรวมอย่าง คุ้มค่า ๓. โครงการบ้านลาซาล/ ศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก

๑. เพื่อเด็กเยาวชนยากจนชาย- เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑๔ หญิงอายุ ๓-๒๐ ปีได้โอกาส ร้อยละ ๙๐ ของเด็กอายุ ๓-๒๐ ปี ตัวบ่งชี้ ๑๔.๑ พัฒนาตนและเรียนหนังสือ ที่ยากจนและมีปัญหาทางครอบครัว ตัวบ่งชี้ ๑๔.๒ ๒. เพื่อแก้ปัญหาเด็กและ ได้รับความช่วยเหลือจากโรงเรียน เยาวชนเร่ร่อนได้มีที่อยู่อาศัย เชิงคุณภาพ อย่างปลอดภัย นักเรียนและเยาวชนที่เร่ร่อนมีที่อยู่ ๓. เพื่อจัดบรรยากาศที่อานวย อาศัยปลอดภัย มีโอกาสพัฒนาตน ความสะดวกให้เด็กๆเจริญเติบโต และได้เรียนหนังสือ ตามวัยอย่างสมบูรณ์และเป็นคน ดีของสังคม

กลยุทธ์ที่ ๑๕ มีการจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวางการปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาและส่งเสริมโรงเรียนให้ยกระดับ คุณภาพสูงขึ้น โครงการ/กิจกรรม ๑. โครงการเศรษฐกิจพอเพียง ๑.๑ งานช่วยกันประหยัด

วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้นักเรียนนาหลัก เศรษฐกิจพอเพียงตามแนว พระราชดาริมาวางแผนการ บริหารจัดการ การใช้จ่ายของ ตนเอง ๒. เพื่อให้นักเรียนนาหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ อย่างเหมาะสม

เป้าหมาย

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน

เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑๕ ร้อยละ ๘๕ นักเรียนมีความรู้ ความ ตัวบ่งชี้ ๑๕.๑ เข้าใจในหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง สามารถนาไปบริหารจัดการ ใช้จ่ายของตนเอง เชิงคุณภาพ นักเรียนนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไปประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม


๘๕

โครงการ/กิจกรรม ๒. โครงการเรียนรู้ คู่คุณธรรม

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน

๑. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วน เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑๕ ร่วมในโครงการ กิจกรรมพิเศษเพื่อร้อยละ ๙๓ ของกิจกรรม ส่งเสริมให้ ตัวบ่งชี้ ๑๕.๑ ตอบสนองนโยบาย จุดเน้น ตาม นักเรียนได้รับการพัฒนาตามนโยบาย แนวทางการปฏิรูปการศึกษา จุดเน้น ตามแนวทางการปฏิรูป การศึกษา มีคุณธรรมเป็นคนดีอยู่ใน สังคมได้อย่างมีความสุข เชิงคุณภาพ กิจกรรมส่งเสริมให้นักเรียนได้รับการ พัฒนาตามนโยบาย จุดเน้น ตาม แนวทางการปฏิรูปการศึกษามี คุณธรรมเป็นคนดีอยู่ในสังคมได้ อย่างมีความสุข ๓. โครงการส่งเสริมปรัชญา ๑. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วน เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑๕ เศรษฐกิจพอเพียง ร่วมในโครงการ กิจกรรมพิเศษเพื่อร้อยละ ๙๓ ของกิจกรรม ส่งเสริมให้ ตัวบ่งชี้ ๑๕.๑ ตอบสนองนโยบาย จุดเน้น ตาม นักเรียนมีส่วนร่วมในโครงการ แนวทางการปฏิรูปการศึกษา กิจกรรมพิเศษเพื่อตอบสนองนโยบาย จุดเน้น ตามแนวทางการปฏิรูป การศึกษา เชิงคุณภาพ ของกิจกรรม ส่งเสริมให้นักเรียนมี ส่วนร่วมในโครงการ กิจกรรมพิเศษ เพื่อตอบสนองนโยบาย จุดเน้น ตาม แนวทางการปฏิรูปการศึกษา ๔. โครงการขับเคลื่อนกิจกรรม ๑. เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรม เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑๕ โรงเรียน ตามนโยบาย วิสัยทัศน์ จุดเน้น ร้อยละ ๙๑ โรงเรียน ผู้บริหารครู ตัวบ่งชี้ ๑๕.๑ แนวทางการปฏิรูปการศึกษา นักเรียนมีการพัฒนาด้วยการจัด และ นาไป พัฒนาโรงเรียน ครูกิจกรรม๕ ส. กิจกรรมเศรษฐกิจ นักเรียนให้ยกระดับคุณภาพสูง พอเพียง ขึ้น ๒. เพื่อให้คณะผู้บริหาร ครู เชิงคุณภาพ นักเรียน ผู้ปกครอง น้อมนา บุคลากรและสถานที่ในโรงเรียนได้รับ หลักการเศรษฐกิจพอเพียงตาม การพัฒนาจากการจัดกิจกรรม๕ ส. แนวพระราชดาริ กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง มาวางแผนการบริหารจัดการ ภายใน ๕. โครงการเรียนฟรี ๑๕ ๑. เพื่อให้นักเรียนทุกคนมี เชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ โอกาสได้รับการศึกษาโดย ร้อยละ ๙๓ ของนักเรียนได้รับ ตัวบ่งชี้ ๑๕.๑ ๕.๑ งานคัดเลือกหนังสือยืมเรียน ไม่เสียค่าใช้จ่าย สาหรับ หนังสือเรียนฟรีปีละ 1ครั้งค่า ๕.๒ งานค่ายวิชาการ รายการหนังสือเรียน อุปกรณ์การเรียน ภาคเรียนละ ๑ ๕.๓ งานทัศนศึกษา อุปกรณ์การเรียน ครั้ง ค่าเครื่องแบบนักเรียนปีละ ๑ ๕.๔ งานบริการICT เครื่องแบบนักเรียน และ ครั้ง และได้เข้าร่วมกิจกรรม


๘๖

โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ที่ภาครัฐให้การสนับสนุน

๖. โครงการสังเกตการสอนเพื่อ ๑. เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการ ยกระดับคุณภาพครู โดยเทคนิค จัดการเรียนการสอนของครู Give and Take ๒. เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ ในกิจกรรมการเรียนการสอน มีเจตคติที่ดีต่อการเรียน ในแต่ละรายวิชา

เป้าหมาย

สนองมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน

พัฒนาผู้เรียน ภาคเรียนละ ๑ ครั้ง เชิงคุณภาพ นักเรียนทุกคนได้รับการศึกษาโดยไม่ เสียค่าใช้จ่าย สาหรับรายการ หนังสือเรียน อุปกรณ์การเรียน เครื่องแบบนักเรียน และกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน ที่ภาครัฐให้การ สนับสนุน เชิงปริมาณ มาตรฐานที๑๕ ่ ครูร้อยละ ๙๕สังเกตการสอนเพื่อ ตัวบ่งชี้ ๑๕.๑ ยกระดับคุณภาพครูโดยเทคนิGive ค and Take นาเทคนิคการสอนที่เรียนรู้มา ปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอน สู่ การพัฒนาทักษะวิชาชีพอย่าง ต่อเนื่อง เชิงคุณภาพ นักเรียนเกิดการเรียนรู้ในกิจกรรม การเรียนการสอน มีเจตคติที่ดีต่อ การเรียนในแต่ละรายวิชา


บทที่ ๔ สรุปผลการพัฒนา ๑. จุดเด่นของโรงเรียน จุดเด่นของโรงเรียน ด้านครู

o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o

จัดกิจกรรมที่มีประสิทธิภาพส่งผลต่อพัฒนาการผู้เรียน ปลูกฝังเด็กให้มีวินัย มีเหตุผล กล้าแสดงออกในสิ่งที่ถูกต้อง สามารถบูรณาการสื่อการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดี รู้เป้าหมายหลักสูตร/การศึกษา ทาให้วางแผนพัฒนาคุณภาพอย่างมีระบบ วิเคราะห์หลักสูตรและจัดทาแผนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ นาผลการประเมินการเรียนการสอนมาปรับพัฒนาคุณภาพให้ดีขึ้น ประเมินพัฒนาการผู้เรียนตามสภาพจริง จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียน และจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อมในการพัฒนาเด็ก ดูแล เอาใจใส่ ผู้เรียนทั่วถึง นากระบวนการวิจัยในชั้นเรียนมาใช้ พัฒนากระบวนการคิดของเด็ก มีประสบการณ์ในการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มีการทางานร่วมกันเป็นทีม มีความรู้ ความสามารถ ตรงกับงานที่รับผิดชอบ/เข้าใจในการจัดการเรียนการสอน มีความรู้เข้าใจ/ทักษะเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กที่มีความต้องการพิเศษเป็นอย่างดี มีความตั้งใจและมุ่งมั่นในการปฏิบัติหน้าที่ ขยัน อดทน เสียสละ มีจานวนเพียงพอ/คุณสมบัติตามเกณฑ์ เป็นแบบอย่างที่ดีของผู้เรียน พัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ/อบรม/ศึกษาดูงาน/ติดตามข่าวสาร ข้อมูล นวัตกรรมใหม่ๆ มีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ปกครอง/ชุมชน/ผู้เรียน ด้านผู้บริหาร o มีความรู้และเข้าใจทักษะเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กที่มีความต้องการพิเศษเป็นอย่างดี o มีประสบการณ์ในการเรียนการสอน o ส่งเสริมการทางานเป็นทีม o มีวิสัยทัศน์และภาวะผู้นา ทั้งด้านวิชาการ และการบริหาร o ได้รับรางวัลผู้บริหารดีเด่น o ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี o มีความคิดริเริ่ม/สร้างสรรค์ o มีคุณธรรม จริยธรรม o มีมนุษยสัมพันธ์ดี o สร้างขวัญและกาลังใจให้กับบุคลากรในโรงเรียน o ตระหนักและส่งเสริมให้ครู ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงาน


๑๗๒

จุดเด่นของโรงเรียน o ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาความสามารถของครู o บริหารงานโดยใช้หลักการมีส่วนร่วม/กระจายอานาจ o บริหารงานบุคคลและงบประมาณได้อย่างมีประสิทธิภาพ o มีคณะกรรมการบริหารหลักสูตร o มีความเป็นประชาธิปไตย o ตระหนักถึงการพัฒนาสถานศึกษาตามมาตรฐานและตัวชี้วัด ด้านผู้เรียน o ปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนา o มีความขยัน/อดทน/รอบคอบ o มีจิตใจเอื้ออาทร/เมตตากรุณา/เสียสละ/กตัญญู o มีระเบียบวินัย/รับผิดชอบ/ซื่อสัตย์ o มีสัมมาคารวะตามแบบวัฒนธรรมไทย o ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า/ประหยัด o ทานอาหารมีประโยชน์/มีสุขลักษณะที่ดี o มีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน o ทาชื่อเสียงให้กับโรงเรียนด้านวิชาการ/กีฬา/ศิลปะ o สุขภาพกาย สุขภาพจิต/สุขนิสัย ดี ชื่นชมด้านศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว o มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี o เข้าใจพิษภัยและห่างไกลจากสิ่งเสพติด o ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีการพัฒนาขึ้น o มีความรู้ทักษะเบื้องต้น มีทักษะในการทางาน o มีทักษะการวิเคราะห์/การสื่อความ o มีจินตนาการ/ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ o รู้จักการเป็นผู้นาและผู้ตาม/ทางานร่วมกับผู้อื่นได้/ทางานเป็นทีม o กระตือรือร้น/ใฝ่รู้ใฝ่เรียน/รักการอ่าน o มีทักษะการใช้กล้ามเนื้อ/ประสาทสัมผัส/มิติสัมพันธ์ o มีอิสระในการนาเสนองานของตนเอง/กล้าแสดงออก ด้านโรงเรียน o ระบบการบริหารจัดการดี/พัฒนาองค์กรอย่างเป็นระบบ o การบริหารงบประมาณโปร่งใสตรวจสอบได้ o จัดองค์กร/โครงสร้างการบริหารงานโดยบุคลากรมีส่วนร่วม o เปิดการเรียนการสอนในระดับที่สูงขึ้น o มีทุนการศึกษาและอาหารกลางวัน o มีบริการรถรับส่งผู้เรียน o มีแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา/แผนปฏิบัติการประจาปี o มีระบบสารสนเทศครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน


๑๗๓

o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o

จุดเด่นของโรงเรียน มีการดูแลเรื่องความปลอดภัย/สภาพแวดล้อมปลอดภัย ส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชน ส่งเสริมให้บุคลากรพัฒนาตนเอง เข้ารับการอบรม ให้ความสาคัญและเข้าร่วมในกิจกรรมด้านศาสนสัมพันธ์กับทุกศาสนา ได้รับความร่วมมือ/ยอมรับ/สนับสนุน จากผู้ปกครองและหน่วยงานต่าง ๆ ในชุมชนเป็นอย่างดี ประชาสัมพันธ์ข่าวสารของโรงเรียนให้ผู้ปกครองและชุมชนทราบ การเรียนการสอนเหมาะสมกับพัฒนาการ/ความต้องการของผู้เรียน นากิจกรรมเสริมหลักสูตรมาบูรณาการเรียนการสอน ส่งเสริม/จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เหมาะกับศักยภาพและความต้องการของผู้เรียน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้เรียน จัดกิจกรรมที่สร้างจิตสาธารณะให้แก่ผู้เรียน ส่งเสริมทักษะพื้นฐานที่จาเป็นสาหรับการศึกษาในระดับประถม มีงบประมาณสนับสนุนในการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เป็นแหล่งฝึกประสบการณ์ของนักศึกษาสถาบันต่างๆ เป็นแหล่งเรียนรู้และวิจัยทางการศึกษาพิเศษ มีทรัพยากร ปัจจัยที่เอื้อต่อการเรียนการสอนอย่างเพียงพอและหลากหลาย มีสภาพแวดล้อมร่มรื่น เหมาะเป็นแหล่งเรียนรู้ภายนอกห้องเรียน ส่งเสริมการใช้แหล่งเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น วางแผนและดาเนินการวัดผล ประเมินผล ติดตามผลการดาเนินงานที่มีประสิทธิภาพ มีการวัดประเมินผลตามสภาพจริง จัดหลักสูตรท้องถิ่น มีหลักสูตรประจาสถานศึกษา มุ่งส่งเสริมคุณภาพให้เด็กเป็นคนดี มีสื่อเทคโนโลยีที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างเพียงพอ มีห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ที่มีอุปกรณ์ครบถ้วนตรงตามหลักสูตร ห้องเรียนทันสมัย มีระบบคอมพิวเตอร์ที่ต่อ LAN และ มี LCD Projector ทุกห้องเรียน อาคารเรียน/ห้องประกอบ/สื่อการเรียนการสอนเพียงพอ/พร้อมใช้


๑๗๔

๒. จุดควรพัฒนา จุดควรพัฒนา ด้านครู

o o o o o o o o o o o o o o o

การจัดการเรียนการสอนขาดความต่อเนื่อง การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ พัฒนาให้มีประสิทธิภาพในการสอน ควรเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ จัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ใช้วิธีสอนที่หลากหลายส่งเสริมการคิดวิเคราะห์/สังเคราะห์/สร้างสรรค์ ศึกษารูปแบบ/การจัดกิจกรรม/วิธีการสอน แบบสมัยใหม่ สอน/แนะนา เรื่องของบาป บุญ คุณ โทษ สอนให้ผู้เรียนมีพฤติกรรมเสริมสุขภาพ พัฒนาบันทึกหลังการสอนและนาผลการประเมินมาใช้พัฒนาผู้เรียน นาผลการฝึกอบรมมาใช้ในการปฏิบัติจริง จัดมุมประสบการณ์ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมกลางแจ้ง เน้นการจัดกิจกรรมโดยใช้แหล่งเรียนรู้ภายในให้เกิดประโยชน์มากที่สุด การผลิตสื่อการเรียนการสอนเอง การวัดผลประเมินผลการเรียนการสอนโดยผู้เรียน เพื่อน ผู้ปกครอง/ตามสภาพจริง/ประเมินผล การเรียนการสอนเป็นรายบุคคล o การทาวิจัยในชั้นเรียน o จัดหาครูที่เป็นเจ้าของภาษามาสอนผู้เรียน o จัดครูให้ตรงสาขาวิชา o ความรู้เข้าใจหลักสูตรในการเชื่อมโยงกับการจัดทาแผนการจัดประสบการณ์ o ความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์ /เทคโนโลยี/สื่อการสอน o ความรู้ด้านเทคนิคการสอน/อบรม/ศึกษาต่อ o พัฒนามาตรฐานวิชาชีพครูอย่างต่อเนื่อง o ปลูกฝังให้ครูรักงาน ลดการเข้า-ออกของครู o ไม่มีการเตรียมอุปกรณ์การสอน o ไม่ถนัดในการจัดทาเอกสารต่าง ๆ o ส่งเสริมให้ครูผลิตสื่อการสอนใช้เอง ด้านผู้บริหาร o นาการประกันคุณภาพมาใช้เป็นส่วนในการบริหารจัดการ o จรรยาบรรณ/คุณธรรม จริยธรรม o จัดบุคลากรให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาผู้เรียน o การดูแลผู้ใต้บังคับบัญชา o บุคลากรมีจานวนน้อย/การจัดหาบุคลากรเพิ่มขึ้น o ประสบการณ์ในการบริหารงาน


๑๗๕

จุดควรพัฒนา o ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารงานให้เป็นระบบ/รูปแบบที่ชัดเจน o พัฒนาคุณภาพครูและสวัสดิการครู o การสร้างขวัญและกาลังใจให้ครู/ยกย่องผู้มีความสามารถ มีผลงานดี ประพฤติดี o บุคลากรและผู้บริหารขาดความเข้าใจการปฏิรูปการศึกษา o การบริหารแบบมีส่วนร่วม/ให้บุคลากรมีส่วนในการบริหารด้วย o การนาข้อมูลและผลการประเมินใช้ตัดสินใจ/ปรับปรุงงาน ด้านผู้เรียน o จิตสานึกในความรับผิดชอบและมีวินัย/การช่วยเหลือตนเอง o ผู้เรียนมุ่งแข่งขันสูงฉายภาพความเห็นแก่ตัว o ฝึกใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ o มีคุณธรรม จริยธรรมที่พึงประสงค์ o ควรมีความรักโรงเรียน o ตระหนักในเรื่องความประหยัด/ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ o รู้จักคุณค่าอาหาร/ลักษณะนิสัยที่ดี/ ถูกสุขลักษณะ สะอาด o ส่วนสูง น้าหนัก ไม่ได้มาตรฐาน o การรักการอ่าน/ใฝ่รู้ใฝ่เรียน o การสืบค้นข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต/ห้องสมุด/แหล่งเรียนรู้ต่างๆ o ทักษะในการแสวงหาความรู้/การสังเกต/สารวจ/เชื่อมโยง o การทางานร่วมกับผู้อื่น o ความกล้าในการแสดงออก o ความอดทน อดกลั้น/ทางานจนสาเร็จ o พัฒนาทักษะในด้านอื่น ๆ นอกเหนือจากกลุ่มสาระ o การคิดนอกกรอบ/พัฒนาเชิงนวัตกรรม/คิดสร้างสรรค์/จินตนาการ o พัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ/การคิดวิเคราะห์/ไตร่ตรอง/สังเคราะห์ o พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ/วิทยาศาสตร์/คณิตศาสตร์/ ภาษาไทย/สังคมศึกษาฯ/การงานอาชีพ/คอมพิวเตอร์ ด้านโรงเรียน o พัฒนาระบบการบริหารจัดการ o มีประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาและชุมชนอย่างสม่าเสมอ o มีรถรับส่งผู้เรียน o พัฒนาข้อมูลสารสนเทศอย่างครบถ้วน/การจัดระบบข้อมูลสารสนเทศ o การประเมินพัฒนาการผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย o การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง o ส่งเสริมให้ครูจัดทางานวิจัยในชั้นเรียน o พัฒนาให้มีครูแกนนาและครูต้นแบบ o จัดทาแผนพัฒนาคุณภาพโรงเรียน/ธรรมนูญ/แผนปฏิบัติการประจาปี


๑๗๖

o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o o

จุดควรพัฒนา มีกระบวนการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน/นิเทศ การตรวจสอบภายใน จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างบ้านกับโรงเรียน การประชาสัมพันธ์ข่าวสารการดาเนินงานของโรงเรียน การสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน/ผู้ปกครอง/ผู้เรียน/ครู การให้ผู้ปกครองและผู้เรียนมีบทบาทในการสนับสนุนทางวิชาการ การเผยแพร่จุดเด่นของโรงเรียน/ประชาสัมพันธ์ให้รับรู้ การจัดกิจกรรมที่กระตุ้นการคิดวิเคราะห์ /สังเคราะห์/สร้างสรรค์/แก้ปัญหา/ตัดสินใจ การจัดกิจกรรมส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตย การนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน ส่งเสริมผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง พัฒนา/ประเมิน หลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ การประเมินพัฒนาการเตรียมความพร้อม ผู้ปกครองยังไม่เข้าใจหลักสูตรการจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อม ส่งเสริมการพัฒนาด้านจิตสาธารณะ จัดทาหลักสูตรท้องถิ่น ให้สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่นได้ ให้มีวิทยากรท้องถิ่น/ร่วมจัดแหล่งเรียนรู้ร่วมชุมชน จัดให้มีศูนย์วิทยาการที่ส่งเสริมองค์ความรู้ ใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เอื้อต่อการเรียนการสอน พัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในให้เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ปรับปรุงสภาพแวดล้อมบริเวณของโรงเรียนให้มีความสะอาด/ปลอดภัย พัฒนาสื่อการเรียนการสอน/นวัตกรรม/อุปกรณ์ปฏิบัติการวิชาต่างๆ ห้องสมุดที่ทันสมัย/ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์/หนังสือเพียงพอและหลากหลาย สามารถให้ผู้เรียน ศึกษาค้นคว้า


๑๗๗

๓. แนวทางการพัฒนาในอนาคต แนวทางการพัฒนาในอนาคต ด้านครู

o o o o o o o o

การเขียนแผนการเรียนรู้อย่างเชี่ยวชาญ ครูผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมให้กับผู้เรียน ครูผู้สอนได้รับการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิควิธี และนวัตกรรมที่หลากหลาย จัดกิจกรรม/ชมรม ตามความสนใจของผู้เรียน จัดทาแผนการเรียนทางภาษาที่หลากหลาย จัดนวัตกรรมการเรียนการสอนแบบ Mastery Learning ในวิชาคณิตศาสตร์ ช่วงชั้นที่ ๑ นาวิถีพุทธมาฝึกสมาธิให้ผู้เรียน ปรับปรุงการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ /เน้นสอนแบบโครงงาน/เน้นสอนแบบ บูรณาการ/เน้นการสอนบทบาทสมมติ o ปรับสภาพแวดล้อมเพิ่มความหลากหลายในการเรียนรู้ o พัฒนาการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติ o พัฒนาผู้เรียนให้มีประสบการณ์จริง/การดารงชีวิต/การใช้ชีวิตประจาวัน o ส่งเสริมด้านการใช้สื่อเทคโนโลยีทางการศึกษา o ส่งเสริมให้ครูทาวิจัยในชั้นเรียน o ส่งเสริมให้มีการนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการเรียนการสอน o ส่งเสริมการนิเทศและติดตามการจัดการเรียนการสอนของครู o ส่งเสริมการวิเคราะห์หลักสูตรเพื่อจัดทาแผนการสอน o ประเมินผลตามสภาพจริงและนาผลมาใช้ o พัฒนาปรับปรุงการจัดทาแฟ้มสะสมของผู้เรียนให้เป็นระบบ o รายงานการพัฒนาการของเด็กให้ผู้ปกครองทราบ o วางแผนให้ครูทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม/แลกเปลี่ยนความคิดเห็น o ให้ครูได้ศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น o ครูได้รับการอบรม ศึกษาดูงานอย่างต่อเนื่อง o พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถเทคนิคและทักษะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน o มีคุณธรรม จริยธรรม o มีวุฒิการศึกษาตรงตามวิชาที่สอน o มีจานวนครูเพียงพอกับผู้เรียน o จัดหาครูต่างชาติมาสอนภาษาต่างประเทศโดยตรง ด้านผู้บริหาร o ความเป็นผู้นา ความสามารถในการบริหารจัดการ o แต่งตั้งผู้รับผิดชอบในการบริหารและดาเนินการอย่างมีระบบ o มีการวางระบบและระเบียนสาหรับการบริหารงานอย่างเหมาะสม o ส่งเสริมและสร้างขวัญกาลังใจแก่บุคลากร o จัดให้มีแผนพัฒนาบุคลากร ให้ได้รับการศึกษาต่อที่สูงขึ้น


๑๗๘

แนวทางการพัฒนาในอนาคต o การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม o ให้บุคลากรมีส่วนร่วม/มีความเข้าใจ ในการบริหารงาน o ส่งเสริมให้ทางานเป็นทีม ด้านผู้เรียน o ผู้เรียนมีระเบียบ วินัย/รับผิดชอบต่อหน้าที่ o จัดกิจกรรมส่งเสริม ปลูกจิตสานึก ให้ผู้เรียน เห็นคุณค่า สิ่งแวดล้อม ทรัพยากร o จัดทาบันทึกความดี o ผู้เรียนมีสุขนิสัยที่ดี รู้จักการออมทรัพย์และการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด o รู้พิษภัยและห่างไกลจากยาเสพติด o ปลูกจิตสานึกผู้เรียนโดยใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง o พัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพชีวิตที่ดี สังคมที่ดี o มีคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมอันพึงประสงค์ จิตสานึกที่ดี o รักความเป็นไทย/มีสัมมาคาราวะ/พูดจาไพเราะ/มีความสุภาพ เรียบร้อย/มีมารยาท o รู้คุณค่าการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม o ฝึกผู้เรียนให้กล้าคิด กล้าแสดงออก o พัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้ใฝ่เรียนใฝ่รู้/มีความกระตือรือร้น o การอยู่ร่วมกับผู้อื่น/พึ่งพาตนเองได้ o ฝึกความเป็นผู้นา/ผู้ตาม o ฝึกกระบวนการทางานอย่างเป็นขั้นเป็นตอน o ฝึกกระบวนการทางานเป็นกลุ่ม o ส่งเสริมความรัก สามัคคี o การออกกาลังกาย o จัดกิจกรรมส่งเสริม/พัฒนา พฤติกรรม บุคลิกภาพ และศักยภาพของผู้เรียน o การทาโครงงาน o เข้าค่ายภาษาอังกฤษ/วิชาการ/ผู้เรียนเก่ง/ค่ายอื่นๆ o จัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะด้านมิติสัมพันธ์ o พัฒนาทักษะการพูด/อ่าน/เขียน o ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะการคิด/การแก้ปัญหา/สามารถตัดสินใจได้ o สังเคราะห์ วิเคราะห์ อธิบายเหตุการณ์ ได้ o ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางเรียนสูงขึ้นทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ o มีผลสัมฤทธิ์สูงตามเกณฑ์มาตรฐาน/สามารถศึกษาต่อในระดับสูงได้อย่างดี o สนับสนุนให้ผู้เรียนเข้าแข่งขันด้านวิชาการให้มากขึ้น o ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถเรียนรู้ และทบทวนบทเรียนบน Learning Space ในวิชาต่าง ๆ o ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งในและนอกห้องเรียน o พัฒนาผู้เรียนด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา/ให้ผู้เรียนร่วมกิจกรรมตามความถนัด สนใจ


๑๗๙

แนวทางการพัฒนาในอนาคต ด้านโรงเรียน o จัดทาโครงสร้างการบริหารชัดเจน /แผนกลยุทธ์/แผนพัฒนาสถานศึกษา/ธรรมนูญสถานศึกษา/ แผนภูมิองค์กร/โครงสร้างการบริหาร o วางแผนงบประมาณให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ o วางแผนพัฒนาผู้เรียนให้ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้าน o สร้างผู้ปริวรรตเพื่อแบ่งเบาภาระของผู้บริหาร o การบริหารโครงการ กิจกรรมที่มีการนิเทศติดตามอย่างต่อเนื่อง o ประเมินผลการปฏิบัติงานก่อน/ระหว่าง/หลัง การดาเนินงาน o นาระบบประกันคุณภาพมาใช้ในการบริหาร o มีการติดตามการประเมิน/ตรวจสอบ/นิเทศ o พัฒนาระบบงานสารสนเทศ o นาเทคโนโลยีมาใช้กับการจัดการศึกษาในโรงเรียน o นาชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่น องค์กรต่างๆ เข้ามามีบทบาทในการพัฒนาการจัดการศึกษา o มีสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชน/ผู้ปกครอง/ผู้เรียน/ครู o จัดการศึกษาโดยให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม/ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก o ประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสถานศึกษาให้ทั่วถึง o ส่งเสริมกิจกรรมทัศนศึกษา o ส่งเสริมด้านจิตสาธารณะ o ปรับการจัดการเรียนการสอน/แผนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ o นานวัตกรรมการเรียนการสอนแบบโครงการ o พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา o พัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น o พัฒนาสื่อการเรียนการสอน o ประเมินผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา o นาทรัพยากรมาใช้ให้เกิดประโยชนต่อคุณภาพผู้เรียน o จัดหาหนังสือให้เพียงพอต่อความต้องการของบุคลากรและผู้เรียน o พัฒนาครู/สนับสนุนใช้สื่อ/อบรม/นิเทศ/ดูงาน o ส่งเสริมการรักการอ่าน/ใฝ่รู้ใฝ่เรียน o พัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายใน/สิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ เอื้อต่อการเรียนรู้ o ปรับปรุงห้องปฏิบัติการให้ทันสมัยและเหมาะสมกับผู้เรียน o พัฒนาห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ /จัดหาหนังสือ/สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย o เพิ่มพื้นที่ปฏิบัติงานสาหรับกลุ่มสาระที่เน้นการปฏิบัติ o ปรับปรุงอาคารสถานที่ สภาพแวดล้อม ไม่ให้ทรุดโทรม o ส่งเสริมการใช้แหล่งเรียนรู้ภายนอกและภูมิปัญญาท้องถิ่น


๑๘๐

๔. ความต้องการความช่วยเหลือ ความต้องการความช่วยเหลือ ด้านครู

o o o o o o o o o o o o

ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการจัดการเรียนการสอน ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการวัดผล ประเมินผล ความชานาญด้านการจัดการศึกษา ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการจัดทาแผนการเรียนการสอนที่ถูกต้อง การใช้เทคโนโลยีทางการศึกษา เอกสาร คู่มือเกี่ยวกับการจัดการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ให้ครูเข้ารับการอบรม/ศึกษา/ดูงาน/เข้าถึงข่าวสาร งานด้านวิชาการอย่างต่อเนื่อง การอบรมเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ขาดแคลนครูในบางสาขาวิชา ครูไม่จบปริญญาตรี/ไม่ตรงสาขาที่สอน ต้องการวิทยากรมาให้ความรู้เพิ่มเติม การส่งเสริมให้ครูเรียนสูงขึ้น ด้านผู้บริหาร o การแนะนาแนวทางบริหารหลักสูตร/บริหารจัดการที่ดี o ส่งเสริมให้ความรู้/อบรมให้แก่ผู้บริหาร o การส่งเสริมและสร้างขวัญกาลังใจบุคลากร o สวัสดิการบุคลากร o การลดหย่อนภาษี o ทุนการศึกษา ด้านผู้เรียน o อาหารกลางวัน o อาหารเสริม o การฝึกฝนด้านการคิด o ความกล้าแสดงออก o การพัฒนาเด็กพิเศษ/ดูแลเอาใจใส่เด็กที่พัฒนาการช้ากว่าผู้อื่น o การช่วยเหลือผู้อื่น/ความมีน้าใจ o ให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบ/ใช้ของอย่างมีคุณค่า/ประหยัด o พัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน o เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แข่งขันทางวิชาการ o ให้ผู้เรียนไปทัศนศึกษา/เรียนรู้นอกห้องเรียน ด้านโรงเรียน

o การจัดระบบนิเทศ การติดตามผลการสอนของครู o การขาดบุคลากรที่มีความรู้ตรงตามวิชาที่สอน/ฝ่ายสนับสนุนการสอน


๑๘๑

o o o o o o o o o o o o o o o o o o

ความต้องการความช่วยเหลือ การติดตามตรวจสอบ/ประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ ให้ผู้รู้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา วิทยากรที่ให้ความรู้ ด้านเทคนิคการจัดการเรียนการสอน/ทักษะกระบวนการ คาแนะนาจาก สมศ. ในการปฏิบัติงาน/การประเมินคุณภาพ ผู้ปกครองมีส่วนร่วมกับสถานศึกษาในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้ชุมชนเข้ามาให้ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น การให้คาปรึกษา แนะนา/นิเทศ ข่าวสารทางการศึกษา การประชาสัมพันธ์การอบรม เอกสารที่เกี่ยวข้องให้กับทางโรงเรียน การสนับสนุนงบประมาณการสร้างห้องปฏิบัติการต่าง ๆ การส่งเสริมทางด้านกีฬา/อุปกรณ์เครื่องเล่นต่างๆ งบประมาณ จัดแหล่งเรียนรู้สาหรับชุมชน ทุนการศึกษา/กองทุนผู้เรียน กระบวนการจัดการเรียนรู้และนวัตกรรม สื่อการเรียนการสอน/เทคโนโลยี/หนังสือค้นคว้า จัดหาตาราเรียนที่เหมาะสมแก่การค้นคว้าและมีเพียงพอ จัดทาหลักสูตรท้องถิ่น


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.