Sar59

Page 1


คำนำ ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา ที่ระบุให้ “โรงเรียนจัดทารายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน เสนอต่อ คณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณาและเปิดเผยรายงานต่อ สาธารณชน” โดยมีเขตพื้ นที่การศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องส่ งเสริม สนับสนุน กากับดูแล ตลอดจน ตรวจสอบประเมินคุณภาพสถานศึกษา ทั้งนี้มุ่งหวังที่จะให้โรงเรียนทุกแห่งมีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนด ไว้เป็นอย่างต่า ในปีการศึกษา ๒๕๕๙ โรงเรียนลาซาลโชติรวีนครสวรรค์ได้จัดทารายงานคุณภาพการศึกษา ประจาปีที่แสดงภารกิจ การดาเนินงานและผลการดาเนินงานประจาปีการศึกษา เพื่อเป็นการสะท้อ นภาพ ความส าเร็ จ ของการพั ฒ นาคุ ณ ภาพโรงเรี ย น ภายใต้ บ ริบ ทและเอกลั ก ษณ์ ข องโรงเรีย น การบริ ห ารจั ด การศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อเป็นการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ๔ มาตรฐาน ตามระบบคุณภาพภายในโรงเรียน ประกอบด้วย ผลการวิเคราะห์จุดเด่น จุดที่ควร พัฒนา และระบุ แนวทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิ ด เผยต่ อ สาธารณชน รวมทั้ งเสนอต่ อ ส านั ก งานรับ รองมาตรฐานและประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา (องค์การมหาชน) (สมศ.) เพื่อรับการประเมินภายนอกในแต่ละรอบการประเมิน เอกสารฉบั บ นี้ จ ะช่ ว ยให้ โ รงเรีย นมองเห็ น ทิ ศ ทางการด าเนิ น งานและผลสะท้ อ นจากการ ดาเนินงานที่ชัดเจน อันเป็นแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงการดาเนินงานของโรงเรียนในปีการศึกษาต่อไป

(นางสาวทัศนีย์ กรรณิกา) ผู้อานวยการโรงเรียนลาซาลโชติรวีนครสวรรค์


สารบัญ คานา สารบัญ ส่วนที่ ๑

หน้า ก ข ข้อมูลพื้นฐาน ๑.๑ ข้อมูลทั่วไป ๑.๒ ข้อมูลครูและบุคลากร ๑.๓ ข้อมูลนักเรียน ๑.๔ สรุปข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา ๑.๕ ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ ๑.๖ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ๑.๗ สรุปการใช้แหล่งเรียนรู้ภายนอกและภายในสถานศึกษา

ส่วนที่ ๒

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ๒.๑ ผลการดาเนินงานตามมาตรฐานการศึกษา เพื่อการประกัน คุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ส่วนที่ ๓

๑๔

สรุปผล แนวทางการพัฒนา และความต้องการช่วยเหลือ ๓.๑ จุดเด่นของสถานศึกษา ๓.๒ จุดที่ควรพัฒนาของสถานศึกษา ๓.๓ แนวทางการพัฒนาในอนาคต ๓.๔ ความต้องการการช่วยเหลือ

ส่วนที่ ๔

๑ ๑ ๒ ๓ ๖ ๗ ๑๓

๓๕ ๓๕ ๓๗ ๓๗

ภาคผนวก ๔.๑ คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา ๔.๒ ประกาศโรงเรียน เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของ สถานศึกษา ๔.๓ ประกาศโรงเรียน เรื่อง กาหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษา ขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายใน

๓๘ ๔๑

๔๔


ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา ๑.๑ ข้อมูลทั่วไป ชื่อโรงเรียน โรงเรียนลาซาลโชติรวีนครสวรรค์ ที่อยู่ เลขที่ ๑๘ ตาบลปากนาโพ อาเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ สังกัด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน โทรศัพท์ ๐-๕๖๒๑-๒๑๒๖ โทรสาร ๐-๕๖๒๑-๔๙๕๕ เปิดสอนระดับชั้น ปฐมวัย ถึงระดับชัน มัธยมศึกษาตอนปลาย ๑.๒ ข้อมูลบุคลากรของสถานศึกษา ๑) จานวนบุคลากร

บุคลากร

ผู้บริหาร

ครูผู้สอน

พนักงาน ราชการ

ปีการศึกษา ๒๕๕๙

๒๑๔

-

เจ้าหน้าที่อื่น ๆ ครูอัตราจ้าง

(บุคลากรทางการ ศึกษา)

๒๐

๒) วุฒิการศึกษาสูงสุดของบุคลากร

วุฒิการศึกษาสูงสุดของบุคลากร … … % ๑.๘๔๓๓ …

๗๘.๘๐๑๘ %

ปวช.

ปวส.

ปริญญาตรี

ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู

วุฒิการศึกษาสูงสุดของบุคลากร

ปริญญาโท


๓) สาขาวิชาที่จบการศึกษาและภาระงานที่สอน สาขาวิชา ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙.

ภาระงานสอนเฉลี่ยของครู ๑ คน ในแต่ละสาขาวิชา (ชม./สัปดาห์) ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๒ ๒๒

จานวน(คน)

บริหารการศึกษา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ศิลปะ พละและสุขศึกษา รวม

๒ ๒๑ ๒๑ ๒๑ ๒๐ ๑๙ ๑๔ ๑๓ ๑๑ ๑๔๒

๑.๓ ข้อมูลนักเรียน จานวนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - มัธยมศึกษาปีที่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ระดับชั้น เรียน จานวนห้อง

รวม ทั้งหมด ๓๙ ๗๙

ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ รวม ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖ รวม

เพศ ชาย เพศ หญิง รวม เฉลี่ยต่อห้อง

๑๒๗ ๑๓๗ ๒๖๔ ๘๘

๑๖๔ ๑๓๖ ๓๐๐ ๘๕.๗

๑๗๗ ๑๕๖ ๓๓๓ ๙๕.๑

๑๗๗ ๑๔๓ ๓๒๐ ๙๑.๔

๑๘๕ ๑๔๒ ๓๒๗ ๙๓.๔

๔๐

๑๕๒ ๙๘๒ ๒๑๕ ๒๐๐ ๑๗๙ ๑๓๔ ๘๔๘ ๒๐๖ ๑๗๙ ๑๕๓ ๒๘๖ ๑,๘๓๐ ๔๒๑ ๓๗๙ ๓๓๒ ๙๕.๓ ๑๐๕.๓ ๙๔.๘ ๘๓

๑๒๖ ๑๒๘ ๒๕๔ ๑๐๑.๖

๙๖ ๑๐๙ ๒๐๕ ๘๒

๑๐๙ ๙๒๕ ๑,๙๐๗ ๙๙ ๘๗๔ ๑,๗๒๒ ๒๐๘ ๑,๗๙๙ ๓,๖๒๙ ๘๓.๒

เปรียบเทียบจานวนนักเรียนระดับชั้น ป.๑ – ป.๖ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ – ๒๕๕๙ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ ๓๒๐ ๓๑๖ ๒๙๗ ๒๖๔ ๒๘๒ ๓๐๐

ป.๑

ป.๒

ปีการศึกษา ๒๕๕๘

๒๙๒ ๓๓๓ ๒๙๓

ป.๓

๓๒๓ ๒๘๒

ป.๔

ปีการศึกษา ๒๕๕๙

๓๒๐ ๓๒๖ ๓๒๗ ๒๗๗

ป.๕

๓๓๐๓๒๘

ป.๖

๒๘๖


เปรียบเทียบจานวนนักเรียนระดับชั้น ม.๑ – ม.๖ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ – ๒๕๕๙ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ ๔๒๑ ๓๙๓ ๓๕๘

๓๙๖

๓๗๙ ๓๔๔

ปีการศึกษา ๒๕๕๘

๔๐๒ ๓๙๐ ๓๓๒ ๒๒๖ ๒๑๐๒๕๔

ม.๑

ม.๒

ปีการศึกษา ๒๕๕๙

ม.๓

ม.๔

๒๔๒

๒๑๒ ๒๐๕

๒๓๒ ๒๑๙ ๒๐๘

ม.๕

ม.๖

๑.๔ ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา ร้อยละของนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชาในระดับ ๓ ขึ้นไป ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ๘๗.๖๐

๙๐.๐๐ ๘๐.๐๐

๗๕.๓๐

๗๓.๓๓

๗๐.๔๔

๘๙.๕๑ ๘๒.๔๙

๗๐.๐๐ ๖๓.๖๑

๗๐.๐๐ ๖๐.๐๐ ๕๐.๐๐ ๔๐.๐๐ ๓๐.๐๐ ๒๐.๐๐

๑๐.๐๐ ๐.๐๐ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์

สังคม

สุขศึกษา

ศิลปะ

การงาน

อังกฤษ

ร้อยละของนักเรียนที่ได้เกรดเฉลีย่ รายวิชา ๓ ขึนไป

ที่มา ผลการประเมินแต่ละรายวิชาในแบบบันทึกผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน


ร้อยละของนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชาในระดับ ๓ ขึ้นไป ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑- ๓ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ร้อยละของนักเรียนที่ได้เกรดเฉลี่ยรายวิชา ๓ ขึ้นไป ๗๔.๗๖

๗๐.๕๐

๖๔.๒๗

๗๓.๐๑

๕๐.๗๔ ๓๙.๓๗

ภาษาไทย

๓๘.๒๖

๓๖.๗๔

คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์

สังคม

สุขศึกษา

ศิลปะ

การงาน

อังกฤษ

ร้อยละของนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชาในระดับ ๓ ขึ้นไป ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑- ๓ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ร้อยละของนักเรียนที่ได้เกรดเฉลี่ยรายวิชา ๓ ขึ้นไป ๗๘.๕๓ ๖๖.๒๐ ๔๕.๔๑

๘๗.๑๓

๖๑.๐๓

๔๒.๙๑ ๓๑.๓๔

ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์

๒๕.๗๑

สังคม

สุขศึกษา

ศิลปะ

การงาน

อังกฤษ

ที่มา ผลการประเมินแต่ละรายวิชาในแบบบันทึกผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน


ร้อยละของนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชาในระดับ ๓ ขึ้นไป ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ร้อยละของนักเรียนที่ได้เกรดเฉลี่ยรายวิชา ๓ ขึ้นไป ๘๔.๒๘

๙๘.๓๙

๘๑.๙๓

๖๑.๕๒ ๓๓.๑๓

ภาษาไทย

๓๕.๘๖

๓๑.๔๑

๒๘.๓๖

คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา

สุขศึกษา

ศิลปะ

การงาน

อังกฤษ

ร้อยละของนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชาในระดับ ๓ ขึ้นไป ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ร้อยละของนักเรียนที่ได้เกรดเฉลี่ยรายวิชา ๓ ขึ้นไป ๖๘.๕๖

๗๔.๖๘ ๖๒.๕๘

๕๒.๒๑ ๓๗.๙๓ ๒๙.๐๙

ภาษาไทย

๒๒.๘๓

๒๖.๙๙

คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา

สุขศึกษา

ศิลปะ

การงาน

อังกฤษ

ที่มา ผลการประเมินแต่ละรายวิชาในแบบบันทึกผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน


๑.๕ ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National Test : NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ๑) ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพืนฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ระดับชัน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๙

ระดับโรงเรียน

ระดับจังหวัด

ด้านภาษา

ระดับศึกษาธิการภาค

ด้านคานวณ

ระดับสังกัด

ด้านเหตุผล

๕๑.๐๐ ๓๖.๙๙ ๕๓.๓๘ ๔๗.๑๓

๕๔.๑๖ ๓๘.๔๓ ๕๖.๗๘ ๔๙.๗๙

๔๙.๖๗ ๓๖.๗๒ ๕๒.๑๙ ๔๖.๑๙

๔๙.๔๒ ๓๕.๕๑ ๕๑.๖๕ ๔๕.๕๓

๕๕.๔๗ ๓๙.๙๖ ๕๙.๖๑ ๕๑.๖๘

คะแนนเฉลี่ยร้อยละผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ ( NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๙

ระดับประเทศ

เฉลี เฉลี่ย่ยทัทังง3๓ด้าด้นาน

ร้อยละของจานวนนักเรียนที่มีผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของ ผู้เรียนระดับชาติ (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๙

ด้านภาษา

ด้านคานวณ

ด้านเหตุผล

๑๕.๐๒

๓๔.๘๓

๓๓.๖๓ ๑๖.๕๒

๑๔.๔๑

๑๙.๘๒

ปรับปรุง

๓๐.๐๓

พอใช้ ๓๕.๗๔

๒๔.๙๓

๒๓.๗๒

๔๑.๑๔

ดี

๑๐.๒๑

๑๓.๒๑

๓๐.๖๓

๒๘.๘๓

๒๗.๓๓

ดีมาก

รวมทัง ๓ ด้าน

หมายเหตุ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ผลการทดสอบความสามารถพืนฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ชันประถมศึกษา ปีที่ ๓ คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัด ระดับสังกัด สพฐ.และระดับประเทศทังด้าน ภาษา ด้านคานวณและด้านเหตุผล ที่มา รายงานผลการทดสอบความสามารถพืนฐานของผู้เรียนระดับชาติ ( National Test :NT) ชันประถมศึกษาปีที่ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


๑.๖ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ๑) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขันพืนฐาน (O-NET) ปีการศึกษา ๒๕๕๙

ภาษาไทย

คณิตศาสตร์

วิทยาศาสตร์

คะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัด

คะแนนเฉลี่ยสังกัด สพฐ.ทังหมด

คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ

ภาษาไทย

๕๘.๗๗ ๕๓.๐๒ ๕๖.๕๒ ๕๒.๙๘

๔๗.๖๕ ๔๑.๕๔ ๔๔.๓๔ ๔๑.๒๒

๓๔.๕๙

ภาษาอังกฤษ

คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมฯ

๕๐.๒๔ ๓๙.๗๕ ๔๖.๒๗ ๔๐.๔๗

๔๕.๐๔ ๓๓.๙๐

สังคมฯ

คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน

ระดับ/รายวิชา คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน คะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัด คะแนนเฉลี่ยสังกัด สพฐ.ทัง้ หมด คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ

๔๖.๕๐

๕๑.๖๖ ๔๕.๘๗ ๕๑.๑๕ ๔๖.๖๘

๔๗.๖๕ ๔๑.๕๔ ๔๔.๓๔ ๔๑.๒๒

๓๙.๗๕ ๔๖.๒๗ ๔๐.๔๗

๕๐.๒๔

๕๘.๗๗ ๕๓.๐๒ ๕๖.๕๒ ๕๒.๙๘

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖

๕๑.๖๖ ๔๕.๘๗ ๕๑.๑๕ ๔๖.๖๘

ภาษาอังกฤษ

๔๖.๕๐ ๓๓.๙๐ ๔๕.๐๔ ๓๔.๕๙

หมายเหตุ : ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ผลการประเมินระดับชาติ O-NET ชันประถมศึกษาปีที่ ๖ คะแนนเฉลี่ยทุกวิชา ของนั ก เรี ย นสู ง กว่ า คะแนนเฉลี่ ย ทั งระดั บ จั ง หวั ด ระดั บ สั ง กั ด สพฐ.และสู ง กว่ า คะแนนเฉลี่ ย ระดับประเทศ


ภาษาไทย

คณิตศาสตร์

วิทยาศาสตร์

๓๕.๗๗ ๓๑.๒๗ ๓๔.๙๑ ๓๑.๘๐

๓๙.๘๖ ๓๔.๙๐ ๓๕.๒๑ ๓๔.๙๙

๒๘.๙๓ ๒๙.๘๘ ๒๙.๓๑

๓๖.๖๔

๕๐.๗๐ ๔๕.๔๕ ๔๕.๘๖ ๔๖.๓๖

๕๒.๐๗ ๔๘.๓๒ ๔๘.๗๕ ๔๙.๐๐

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓

สังคมฯ

คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน

คะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัด

คะแนนเฉลี่ยสังกัด สพฐ.ทังหมด

คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ

ระดับ/รายวิชา คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน คะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัด คะแนนเฉลี่ยสังกัด สพฐ.ทัง้ หมด คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ

ภาษาไทย

๕๐.๗๐ ๔๕.๔๕ ๔๕.๘๖ ๔๖.๓๖

คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์

๓๖.๖๔ ๒๘.๙๓ ๒๙.๘๘ ๒๙.๓๑

๓๙.๘๖ ๓๔.๙๐ ๓๕.๒๑ ๓๔.๙๙

ภาษาอังกฤษ

สังคมฯ

ภาษาอังกฤษ

๕๒.๐๗ ๔๘.๓๒ ๔๘.๗๕ ๔๙.๐๐

๓๕.๗๗ ๓๑.๒๗ ๓๔.๙๑ ๓๑.๘๐

หมายเหตุ : ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ผลการประเมินระดับชาติ O-NET ชันมัธยมศึกษาปีที่ ๓ คะแนนเฉลี่ยทุกวิชาของ นักเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยทังระดับจังหวัด ระดับสังกัด สพฐ.และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ


ภาษาไทย

คณิศาสตร์

วิทยาศาสตร์

สังคมศึกษา

คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน

คะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัด

คะแนนเฉลี่ยสังกัด สพฐ.ทังหมด

คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ

ระดับ/รายวิชา คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน คะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัด คะแนนเฉลี่ยสังกัด สพฐ.ทัง้ หมด คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ

ภาษาไทย

๕๖.๗๔ ๕๑.๕๘ ๔๙.๖๔ ๕๒.๒๙

๒๘.๘๖ ๒๖.๖๐ ๓๐.๔๔ ๒๗.๗๖

๓๖.๒๐ ๓๕.๔๖ ๓๔.๙๑ ๓๕.๘๙

๓๓.๑๘ ๓๑.๓๘ ๓๑.๐๓ ๓๑.๖๒

๒๗.๗๑ ๒๔.๕๑ ๒๔.๘๘ ๒๔.๘๘

๕๖.๗๔ ๕๑.๕๘ ๔๙.๖๔ ๕๒.๒๙

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖

ภาษาอังกฤษ

คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ภาษาอังกฤษ

๒๗.๗๑ ๒๔.๕๑ ๒๔.๘๘ ๒๔.๘๘

๓๓.๑๘ ๓๑.๓๘ ๓๑.๐๓ ๓๑.๖๒

๓๖.๒๐ ๓๕.๔๖ ๓๔.๙๑ ๓๕.๘๙

๒๘.๘๖ ๒๖.๖๐ ๓๐.๔๔ ๒๗.๗๖

หมายเหตุ : ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ผลการประเมินระดับชาติ O-NET ชันมัธยมศึกษาปีที่ ๖ คะแนนเฉลี่ยทุกวิชาของ นักเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยทังระดับจังหวัด ระดับสังกัด สพฐ.และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ


๑๐

๒) เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขันพืนฐาน (O-NET) ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๘ - ๒๕๕๙ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา ๒๕๕๘ – ๒๕๕๙ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ๗๐.๐๐ ๖๐.๐๐ ๕๐.๐๐

๕๘.๗๗

๕๓.๐๖

๕๖.๐๑ ๕๐.๒๔

๔๙.๖๖ ๔๗.๖๕

๕๖.๑๕ ๕๑.๖๖

๕๔.๒๐ ๔๖.๕๐

๔๐.๐๐

คะแนนเฉลี่ยผลการสอบ ปีการศึกษา ๒๕๕๘

๓๐.๐๐

คะแนนเฉลี่ยผลการสอบ ปีการศึกษา ๒๕๕๙

๒๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ๐.๐๐ ภาษาไทย

คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ ภาษาอังกฤษ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ ภาษาอังกฤษ

คะแนนเฉลี่ยผลการสอบ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ๕๓.๐๖ ๕๘.๗๗ ๕๖.๐๑ ๕๐.๒๔ ๔๙.๖๖ ๔๗.๖๕ ๕๖.๑๕ ๕๑.๖๖ ๕๔.๒๐ ๔๖.๕๐


๑๑

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา ๒๕๕๘ – ๒๕๕๙ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓

๖๐.๐๐

๕๒.๐๗ ๔๘.๙๕

๕๐.๗๐

๕๐.๐๐

๔๓.๗๓ ๔๐.๐๐

๓๙.๘๘ ๓๖.๖๔

๔๑.๙๘ ๓๙.๘๖ ๓๕.๗๗ ๓๓.๐๒

๓๐.๐๐

๒๐.๐๐

คะแนนเฉลี่ยผลการสอบ ปีการศึกษา ๒๕๕๘

๑๐.๐๐

คะแนนเฉลี่ยผลการสอบ ปีการศึกษา ๒๕๕๙

๐.๐๐

ภาษาไทย

คณิตศาสตร์

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ ภาษาอังกฤษ

วิทยาศาสตร์

สังคมศึกษาฯ

ภาษาอังกฤษ

คะแนนเฉลี่ยผลการสอบ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ๔๓.๗๓ ๕๐.๗๐ ๓๙.๘๘ ๓๖.๖๔ ๔๑.๙๘ ๓๙.๘๖ ๔๘.๙๕ ๕๒.๐๗ ๓๓.๐๒ ๓๕.๗๗


๑๒

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา ๒๕๕๘ – ๒๕๕๙ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖

๖๐.๐๐ ๕๐.๐๐

คะแนนเฉลี่ยผลการสอบ ปีการศึกษา ๒๕๕๘

๕๖.๗๔ ๕๓.๖๑

คะแนนเฉลี่ยผลการสอบ ปีการศึกษา ๒๕๕๙

๔๐.๐๐ ๓๐.๐๐

๒๙.๘๒ ๒๗.๗๑

๓๕.๗๒ ๓๓.๑๘

๔๐.๔๗ ๓๖.๒๐ ๒๘.๘๖ ๒๘.๑๗

๒๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ๐.๐๐ ภาษาไทย

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ ภาษาอังกฤษ

คณิตศาสตร์

วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ ภาษาอังกฤษ

คะแนนเฉลี่ยผลการสอบ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ๕๓.๖๑ ๕๖.๗๔ ๒๙.๘๒ ๒๗.๗๑ ๓๕.๗๒ ๓๓.๑๘ ๔๐.๔๗ ๓๖.๒๐ ๒๘.๑๗ ๒๘.๘๖


วัดไทรใต้ พุทธอุทยานนครสวรรค์ วัดวรนารถบรรพรต โรงเรียนสตรีนครสวรรค์ วัดนครสวรรค์ อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พระราชวังบางประอิน ศูนย์การค้าแฟรี่แลนด์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ค่ายบางระจัน/ วัดม่วง บึงฉวาก สุพรรณบุรี ศูนย์วิทยาศาสตร์ ปทุมธานี ตลาดน้าอโยธยา ศูนย์วิทยาศาตร์ วัดเกาะหงษ์ วัดเขื่อนแดง อุทยานสวรรค์ ชุมชนบ้านมอญ เขื่อนริมน้าเจ้าพระยา สถานีรถไฟนครสวรรค์ สนามกีฬากลาง พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ คลองห้า พิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผึ้งไทย นครชัยศรี ตลาดน้าดอนหวาย ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง จ.สุโขทัย อนุสรณ์สถานแห่งความจงรักภักดี (ทุ่งหันตรา) จ.อยุธยา สวนกล้วยไม้สุขะพัฒน์ อ.โกรกพระ

๑๑๐

๒๐๘ ๒๕๔ ๒๕๔ ๒๐๕ ๒๐๘

๒๕๐ ๒๕๐

๒๐๕ ๒๒๒ ๒๒๒ ๒๒๒

๒๓๐ ๒๓๐ ๒๓๐ ๒๔๘

๔๗๒

๔๕๓

๔๒๑ ๓๗๙ ๓๓๒

๖๖๗

๑๑๓๒ ๑๑๓๒

๑๑๓๒ ๑๑๓๒ ๑๑๓๒

๑๒๗๒ ๑๕๑๕

๑๓

๑.๗ ข้อมูลการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกโรงเรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๙ จานวนนักเรียนที่เข้าใช้แหล่งเรียนรู้


ส่วนที่ ๒ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ระดับคุณภาพ : ดีเยี่ยม ๑. กระบวนการพัฒนา ๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ความสามารถในการอ่ า น การเขี ย น การสื่ อ สาร คิ ด ค านวณตามเกณฑ์ ข องแต่ ล ะระดั บ ชั้ น โรงเรียนจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมความสามารถด้านการอ่านและการเขียน โดยจัดกิจกรรมรักการอ่านใน ช่วงเช้าระหว่างเวลา ๐๗.๓๐ น.- ๐๗.๔๕ น. โดยให้นักเรียนอ่านหนังสือที่ตนเองสนใจ นอกจากนี้ครูผู้สอนรายวิชา ยังให้นั กเรียนฝึ กอ่านเนื้อหาสาระในรายวิชาที่สอน นักเรียนได้ส รุปใจความสาคัญ ฝึกอ่านข่าว อ่านเนื้อเรื่อง ข้อความต่ าง ๆ ในชีวิต ประจ าวัน ตอบคาถามจากเรื่องที่ อ่าน ฝึ ก เขี ยนเรียงความ เขีย นเรื่องบรรยายภาพ เขี ย นเรื่ อ งจากหั ว ข้อ ที่ กาหนดให้ นั ก เรี ย นฝึ ก การท างานเป็ น ที ม มี ก ารวางแผนร่ว มกั น มี การจั ด ท ารายงาน โครงงาน จัดกิจกรรมแข่งขันตามกลุ่มสาระฯ เพื่อส่งเสริมทักษะการคิด นักเรียนได้รับการประเมินระหว่างบทเรียน หลั งจบบทเรีย น และบั น ทึกผลอย่างเป็ น ระบบ ดาเนินการทดสอบวัดความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ ทุ ก รายวิ ช าในการประเมิ น กลางภาค และน าผลการประเมิ น ของแต่ ล ะรายวิ ช ามารวมกั บ ผลการบั น ทึ ก การอ่านในโครงการรักการอ่านเพื่อประมวลผลให้ระดับคุณภาพ ความสามารถในด้านการสื่อสารภาษาไทย นักเรียนฝึกทักษะทางภาษาครบทั้ง ๔ ด้าน ได้แก่ การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน ผ่านกิจกรรม การเรียนรู้ในห้ องเรียน กิจกรรมแข่งขัน ตอบปัญหา ท่อ งบทอาขยาน กิจกรรมรักการอ่านโดยให้ นักเรียนอ่าน หนั งสื อ ที่ ส นใจในห้ อ งสมุ ด แล้ ว จดบั น ทึ ก สาระส าคั ญ ส่ งให้ ค รูป ระจาชั้ น ตรวจสั ป ดาห์ ล ะ ๑ ครั้ งเพื่ อติ ด ตาม ความก้าวหน้าในการอ่านของนักเรียน ความสามารถในด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร นักเรียนได้รับการฝึกทักษะครบทั้ง ๔ ด้าน ได้แก่ การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน จัดกิจกรรมวันคริสต์มาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรม เช่น ร่วมแสดง ละครกาเนิดพระเยซู ร่วมร้องเพลงคริสต์มาส ได้แก่ เพลง jingle bell เพลง merry chrismas ฯลฯ จัดแสดง ละครนิ ท านอี ส ปเป็ น ภาษาอั งกฤษ การประกวดคั ดลายมื อ การแข่ งขั น เขีย นคาศั พ ท์ ภ าษาอังกฤษ นั ก เรีย น ร้อ งเพลงภาษาอังกฤษเนื่ อ งในวัน ส าคัญ ต่าง ๆ เช่ น เพลง The king in fairy tale นั กเรียนแข่งขัน การเขี ย น เรี ย งความวัน พ่ อเป็ น ภาษาอั งกฤษ เข้ าร่ ว มกิ จ กรรม English Week เพื่ อ กระตุ้ น ให้ นั ก เรีย นพั ฒ นาศั กยภาพ ตามความเหมาะสม ส่งเสริมให้ครูพัฒนาตนเองโดยส่งครูเข้ารับการอบรมร่วมกับหน่วยงานภายในและภายนอก มีการพัฒนา ภาษาอังกฤษกับ คณะภราดาชาวต่างชาติที่แวะมาเยี่ยมชมกิจการในเครือลาซาลอย่างต่อเนื่ อง ส่ งเสริมให้ ครู ได้ เ รี ย นรู้ ทั ก ษะภาษามากขึ้ น จากเว็ บ ไซต์ ต่ า ง ๆ เช่ น TEPE online, Echo English สนั บ สนุ น ให้ ค รู ไ ด้ มี


๑๕

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในการจัดการเรียนการสอนหรือจัดกิจกรรมต่าง ๆ กับชาวต่างชาติอยู่เสมอ เช่น การเข้าค่ายวิช าการ ค่ายภาษาอังกฤษ มีการอบรมครูทั้งครูส อนภาษาอังกฤษและครูกลุ่ มสาระฯ อื่น ๆ เชิญคณะครูชาวต่างชาติมาเป็นวิทยากรให้ความรู้ แนะนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และการสื่อสารที่ใช้ใน ชี วิ ต ประจ าวั น และในห้ อ งเรี ย น ส่ ง ผลให้ ค รู น าความรู้ ไปใช้ ในการจั ด การเรี ย นการสอนให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และสามารถใช้ภาษาในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในการจัดการเรียนการสอนกับชาวต่างประเทศได้ นอกจากนี้ในปีการศึกษา ๒๕๕๙ โรงเรียนจัดให้มีการทดสอบภาษาต่างประเทศ โดยใช้ชุดข้อสอบ Oxford Online Placement Test ส าหรั บ ครู ผู้ ส อนวิ ช าภาษาอั งกฤษและครู ที่ มี ค วามสนใจ ทดสอบนั ก เรี ย นระดั บ ประถมศึ ก ษาปี ที่ ๖ ใช้ ชุ ด ข้ อ สอบ Young Learners Placement Test เพื่ อ ทดสอบความรู้ ข องผู้ ส อบ ด้ า นไวยากรณ์ ค าศั พ ท์ และความรู้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ ความหมายเชิ ง อนุ ม าน (implied meaning) ในภาษาอังกฤษ โดยผู้เข้าสอบต้องมีความรู้ทางภาษาทั้งด้านรูปโครงสร้างทางภาษา (form ) และการสื่อความหมาย (meaning) เพื่ อ สามารถสื่ อ สารได้ เป็ น อย่ า งดี เนื่ อ งจากข้ อ สอบ Oxford Online Placement และ Young Learners Placement เป็ น ข้ อ สอบที่ ส ามารถสะท้ อ นถึ ง ความสามารถของผู้ ส อบได้ อ ย่ า งชั ด เจน และ มีความน่าเชื่อถือโดยอ้างอิงจาก The Common European Framework of Reference for Language ( CEFR ) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา ครูผู้ ส อนแต่ล ะกลุ่ มสาระการเรี ย นรู้จัดกิ จกรรมเพื่ อส่ งเสริมทักษะการคิด จัดแข่งขัน การตอบปั ญ หา ทางวิช าการ จั ด การเรี ย นการสอนโดยใช้ กิ จกรรม STEM ส่ งเสริม กระบวนการคิ ดในการสร้างผลงานในการ แก้ ปั ญ หา มี ก ารเรี ย นด้ ว ยกิ จ กรรมแบบ Learn Education ในวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ วิ ท ยาศาสตร์ ในระดั บ ชั้ น ประถมศึกษาปี ที่ ๖ และมัธยมศึกษาปีที่ ๓ นักเรียนได้พัฒ นาตนเองอย่างเป็นกระบวนการตามโปรแกรมของ Learn Education ในระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ ๔-๖ ได้ เข้ า ร่ ว มโครงการกั บ สถาบั น ส่ ง เสริ ม วิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี (สสวท) และสภาการศึ กษาคาทอลิ ก ได้ทดลองใช้สื่ อ เสมือนจริง ในระดั บมัธ ยมศึกษาปี ที่ ๔ โดย นาเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน มีการจัดกิจกรรมการทดลองเพื่อเสริมกระบวนการคิด มีการ บันทึกข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล มีการประเมินหลังจบบทเรียน มีการนาผลการประเมินมาใช้ในการปรับปรุงพื้นฐาน นักเรียนให้เรียนรู้ทันเพื่อนและเป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ร่วมกันวางแผนปรับปรุง พัฒนาการจัดการเรียนการสอน มีการใช้สื่อช่วยสอน ใช้สื่อ ICT มีการจัดกิจกรรมให้ นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงตามธรรมชาติของวิชาอย่างหลากหลาย นักเรียนได้ สร้างผลงาน ชิ้นงานตามความสนใจ และตามความสามารถตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ นักเรียนสืบค้น ข้อมูลด้วย ตนเองและทางานเป็นทีม มีห้องสืบค้นข้อมูล ห้อง ICT ห้องคอมพิวเตอร์ ฯลฯ โรงเรียนจัดการเรียนรู้ตอบสนองนโยบายปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ จัดการเรียนการสอน ที่เน้ น ให้ ผู้เรีย นเกิดการเรียนรู้ตามสภาพจริง จากการปฏิบั ติจริ ง จากประสบการณ์ ต่าง ๆ ให้ ผู้ เรียนได้เรียนรู้ จากแหล่งการเรียนรู้หรือจากสื่อการสอนต่าง ๆ ที่ครูจัดทาขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองได้ตามศักยภาพ อย่างเต็มที่ โรงเรียนจัดครูเข้ารับการอบรมในการผลิตจัดทาสื่อและการใช้สื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่ทันสมัย จัดอบรม การใช้สื่ อเทคโนโลยี แก่ครู มีการนิ เทศการสื บค้นแหล่ งเรียนรู้จาก Internet ส่งเสริมให้ ครูนาความรู้มาพัฒ นา


๑๖

การจั ด การเรี ย นการสอน ส่ ง เสริ ม การใช้ น วั ต กรรมตามแนวทางสะเต็ ม ประเทศไทย (STEM EDUCATION THAILAND) ครูจัดกิจกรรมส่งการคิดตามรูปแบบของ STEM นั ก เรี ย นได้ รั บ การพั ฒ นาทั ก ษะในศตวรรษที่ ๒๑ โดยจั ด การเรี ย นการสอนตามแบบของ Learn Education โดยจั ด ให้ นั ก เรี ย นได้ เรี ย นรู้ แ ละฝึ ก ทั ก ษะการคิ ด ด้ ว ยโปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ มี ค รู เป็ น ผู้ ดู แ ลให้ คาปรึกษา มีการประเมินผลในแต่ละบทเรียน มีการนาข้อมูลในการประเมินมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่าง ต่อเนื่องและเป็นระบบ จัดแข่งขันวิชาคอมพิวเตอร์ การทาบัตรอวยพร บัตรเชิญ บัตรส่งความสุขวันพ่อ -วันแม่ แห่งชาติ ความก้าวหน้าทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรีย นจั ดกิจ กรรมการเรี ย นการสอน และกิจกรรมเสริ มต่ าง ๆ เพื่ อให้ นักเรียนมีความรู้และทั กษะ ที่จาเป็นตามหลักสูตร มีการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนอย่างต่อเนื่อง - ครูผู้สอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามธรรมชาติของวิชา - จัดสอนเสริมเพื่อการสอบและการแข่งขันกับหน่วยงานภายนอกช่วงพักกลางวัน - จั ดการเรีย นรู้ที่มุ่ งส่ งเสริม ทักษะการคิด วิเคราะห์ ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ด้ วยโปรแกรมการเรียน ของ Learn Education ในรายวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ - จัดทดสอบ Pre O-NET เพื่อติดตามตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนในทุกระดับชั้น - จัดแข่งขันตอบปัญหาตามกลุ่มสาระ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพัฒนาการจากวัดผลการทดสอบระดับชาติ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ผลการประเมินระดับชาติ O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ และ มัธยมศึกษาปีที่ ๖ คะแนนเฉลี่ยทุกวิชาของนักเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยทั้งระดับจังหวัด ระดับสังกัด สพฐ. และ สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ความพร้อมในการศึกษาต่อ การฝึกงานหรือการทางาน โรงเรี ย นด าเนิ น การพั ฒ นาทั ก ษะชี วิ ต ของผู้ เ รี ย น โดยมี ร ะบบการแนะแนว มุ่ ง เน้ น ให้ ผู้ เรี ย น มี ค วามสามารถในการท างานอย่ างเป็ น ระบบ ท างานรอบคอบ เอาใจใส่ มานะ พากเพี ยร ผู้ เรีย นวางแผน การทางานอย่างเป็นขั้นตอนและมีประสิทธิภาพ รักการทางาน ทางานเป็นหมู่คณะ มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต สามารถบอกแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับอาชีพ และหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนสนใจ ส่งผลให้นักเรียนมีความพร้อม ความมั่ น ใจในการตัดสิ น ใจในการศึกษาต่อ ดาเนินการให้ คาปรึกษาเป็นรายบุคคลและกลุ่ ม ครูประจาชั้นให้ คาปรึกษาด้านการคบเพื่อน การเจ็บป่ วย การศึก ษาต่อสายสามัญ สายอาชีพ และอุดมศึกษา ครูแนะแนวให้ คาปรึกษาในห้องเรียน ห้องแนะแนว นอกเวลาเรียน และทางโทรศัพท์ นักเรียนสามารถหาคาตอบและตั ดสินใจ แก้ไขปัญหาให้กับตนเอง จัดประเมิน EQ นักเรียน ครูแนะแนวทาแบบประเมินนักเรียนชั้น ม.๑ - ๓ เพื่อเป็นการ พั ฒ นาและใช้ ศั ก ยภาพตนเองในการด าเนิ น ชี วิ ต ครอบครั ว การท างาน และการอยู่ ร่ ว มกั บ ผู้ อื่ น ได้ อ ย่ า ง มีความสุข ประสบความสาเร็จในการเรียน ผลการทากิจกรรมประเมิน EQ นักเรียน ทาให้นักเรียนรู้จักตนเอง มากขึ้ น นอกจากนี้ ยั งด าเนิ น การคั ด กรองนั ก เรี ย น (SDQ) ท าให้ นั ก เรี ย นรู้ ข้ อ ดี - ข้ อ ด้ อ ยในด้ านพฤติ ก รรม


๑๗

รู้จักการวางแผนการทางาน การแสดงออกของตนในด้านอารมณ์ และการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข ตลอดจนวั ด ความถนั ด ทางด้ านอาชี พ ของนั ก เรี ย นชั้ น ม.๓ ส่ ว นในระดั บ ประถมศึ ก ษาด าเนิ น งานวั ด แวว ความสามารถพิเศษนักเรียน เพื่อให้นักเรียนรู้ถึงสามารถของตนเอง นาความรู้ไปปรับตัวเกี่ยวกับการเรียนและ ส่งเสริมตามความสามารถของตน เมื่อใกล้สิ้นปีการศึกษาดาเนินการแนะแนวการศึกษาต่อสายสามัญ สายอาชีพ อุดมศึกษา โดยศิษย์เก่า แก่นักเรียนชั้น ม.๓ สาหรับนักเรียนชั้น ม.๖ โรงเรียนจัดให้มีการแนะแนวการศึกษา ทั้งหน่วยงานของรัฐและ เอกชน ตลอดจนติดตามผลการศึกษาต่อชั้น ป.๖ ม.๓ และ ม.๖ ๑.๒ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน โรงเรี ย นด าเนิ น การพั ฒ นาทั ก ษะชี วิ ต ของผู้ เรียน ให้ อ ยู่ ในสั งคมได้ อ ย่ างมี ค วามสุ ข นั ก เรีย นมี ค วาม ปลอดภัยจากสิ่งเสพติดและอบายมุข สิ่งผิดกฎหมาย มีภูมิคุ้มกัน รู้เท่าทันสื่อประพฤติปฏิบัติตนไม่ขัดต่อกฎหมาย ตระหนักถึงภัยของสิ่งเสพติด สิ่งมอมเมา และอบายมุข โดยจัดกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ กิจกรรมรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ กิจกรรมให้คาสัตยาบันต่อต้านยาเสพติด การแข่งขันกีฬา ดนตรี กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษของยาเสพติดจาก ครูวิทยากรพิ เศษและต ารวจ ดาเนิ น การประชุมผู้ ป กครองอย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง ครูและผู้ ป กครอง มีโอกาสได้พ บกั น และเรี ย นรู้ พ ฤติ กรรมบุ ต รหลาน เมื่ อพบพฤติก รรมที่ ไม่เหมาะสม โรงเรียนดาเนิ น การแจ้ ง พฤติกรรมให้ผู้ปกครองทราบทันท่วงที และจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ประพฤติปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทยที่ดีงาม มีทักษะในการดาเนินชีวิตที่ดี มี ความรับผิดชอบต่อ หน้าที่ปฏิบัติตนอยู่ในกฎระเบียบวินัยของโรงเรียน มีความเมตตา กรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เสียสละ มีจิตสาธารณะ แบ่งปันให้สังคมที่ด้อยกว่า ช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยาก ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนา ร่วมกิจกรรมทางศาสนา ได้รับการยกย่องเชิดชู รับเกียรติบัตรประพฤติดีในงานวันวิชาการของโรงเรียน เป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน และสั งคม มีความเคารพ กตัญ ญู รับ ฟังคาแนะนาของบิดา มารดา ญาติ และผู้ใหญ่ เป็นสมาชิกที่ดีของสั งคม รู้บ ทบาทหน้ าที่ ของตน เคารพสิ ท ธิเสรีภ าพของผู้ ของอื่ น ปฏิ บั ติตนเป็ นพลเมื องดีต ามระบอบประชาธิป ไตย ไม่กระทาตนให้เป็นที่เดือดร้อนของบิดา มารดา ครู และสังคม เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่น เกิดความภูมิใจท้องถิ่นของ ตนเองและรักความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เกิดความภาคภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทย ร่วมกิจกรรมกับท้องถิ่น และรักษาประเพณีที่ดีงามของไทย มีระบบบริการแนะแนว และการ ดูแลสุขภาวะจิต ๒. ผลการดาเนินงาน ๑. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ผลการประเมินแต่ละรายวิชาในแบบบันทึกผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เกณฑ์มาตรฐานการเรียนรู้ของโรงเรียน : นักเรียนร้อยละ ๖๕ มีผลการประเมินรายวิชาระดับ ๓ ขึ้นไป ผลการประเมิน พบว่า นักเรียนมีความสามารถในด้านการสื่อสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เหมาะสม ตามระดับชั้น ดังนี้


๑๘

วิชาภาษาไทย - ระดับ ป.๑-๖ ร้อยละ ๗๕.๓๐ ของนักเรียนมีผลการประเมินในรายวิชาภาษาไทยตั้งแต่ระดับ ๓ ขึ้นไป - ระดับ ม.๑-๓ ภาคเรียนที่ ๑ ร้อยละ ๓๙.๓๗ ของนักเรียนมีผลการประเมินในรายวิชาภาษาไทยตั้งแต่ ระดับ ๓ ขึ้นไป และภาคเรียนที่ ๒ ร้อยละ ๔๕.๔๑ ของนักเรียนมีผลการประเมินในรายวิชาภาษาไทยตัง้ แต่ระดับ ๓ ขึ้นไป - ระดับ ม.๔-๖ ภาคเรียนที่ ๑ ร้อยละ ๓๓.๑๓ ของนักเรียนมีผลการประเมินในรายวิชาภาษาไทยตั้งแต่ ระดับ ๓ ขึ้น ไป และ ภาคเรียนที่ ๒ ร้อยละ ๕๒.๒๑ ของนักเรียนมีผลการประเมินในรายวิชาภาษาไทยตั้งแต่ ระดับ ๓ ขึ้นไป วิชาภาษาอังกฤษ - ระดับ ป.๑-๖ ร้อยละ ๖๓.๖๑ ของนักเรียนมีผลการประเมินในรายวิชาภาษาอังกฤษตั้งแต่ระดับ ๓ ขึ้นไป - ระดับ ม.๑-๓ ภาคเรียนที่ ๑ ร้อยละ ๓๘.๒๖ ของนักเรียนมีผลการประเมินในรายวิชาภาษาไทยตั้งแต่ ระดับ ๓ ขึ้นไป และ ภาคเรียนที่ ๒ ร้อยละ ๒๕.๗๑ ของนักเรียนมีผลการประเมินในรายวิชาภาษาไทยตัง้ แต่ระดับ ๓ ขึ้นไป - ระดับ ม.๔-๖ ภาคเรียนที่ ๑ ร้อยละ ๓๑.๔๑ ของนักเรียนมีผลการประเมินในรายวิชาภาษาไทยตั้งแต่ ระดับ ๓ ขึ้นไป และ ภาคเรียนที่ ๒ ร้อยละ ๓๗.๙๓ ของนักเรียนมีผลการประเมินในรายวิชาภาษาไทยตัง้ แต่ระดับ ๓ ขึ้นไป ผลการประเมินคุณภาพระดับชาติ - ความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร คิดคานวณ คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ทั้งนี้ในปีการศึกษา ๒๕๕๙ ผลการประเมิน คุณ ภาพระดับ ชาติในวิช าภาษาไทย ภาษาอั งกฤษ มีค่ าเฉลี่ ยสู ง กว่าระดับ ประเทศใน ทุกระดับชั้น และวิชาภาษไทย มีค่าเฉลี่ยสูงขึ้นกว่าปีการศึกษา ๒๕๕๘ ทุกระดับชั้น - ความสามารถในการคิ ดวิเคราะห์ คิ ดอย่างมี วิจารณญาณ อภิ ป ราย แลกเปลี่ ย นความคิด เห็ น และ การแก้ปัญหาคิดเป็น ร้อยละ ๙๐.๓๘ - ความสามารถใน การใช้ เ ท คโน โลยี ส ารสน เท ศและการสื่ อ สาร คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ ๙ ๐ .๙ ๘ ปี ก ารศึ ก ษา ๒๕๕๙ ผลการประเมิ น ระดั บ ชาติ O-NET ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ ๖ มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ ๓ มัธยมศึกษาปี ที่ ๖ คะแนนเฉลี่ย ทุกวิชาของนักเรียน สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยทั้งระดับจังหวัด ระดับสังกัด สพฐ. และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ


๑๙

ผลการประเมิน ร้อยละของจานวนนักเรียนที่มีความสามารถในการอ่าน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๔ จาแนกตามระดับคุณภาพ

ป.๑

๙๔.๓๘

ป.๒ ดีมาก

ดี

๕.๐๐ ๐.๖๓ ๐.๐๐

๑๖.๓๑ ๓.๖๓ ๒.๑๑

๗๗.๙๕ ๗.๐๐ ๒.๐๐ ๑.๓๓

๖๖.๖๗ ๑๕.๕๓ ๘.๓๓ ๙.๔๗

๘๙.๖๗

ด้านการอ่านออกเสียง

ป.๓

ป.๔

พอใช้

ปรับปรุง

ป.๑

ป.๒ ดีมาก

๑๘.๑๓ ๕๔.๐๖ ๒๕.๐๐ ๒.๘๑

๑๙.๐๓ ๔๖.๒๒ ๒๔.๑๗ ๑๐.๕๗

๖๖.๓๓ ๓๐.๓๓ ๓.๐๐ ๐.๓๓

๕๗.๙๕ ๒๗.๖๕ ๑๑.๓๖ ๓.๐๓

ด้านการอ่านรู้เรื่อง

ป.๓ ดี

ป.๔

พอใช้

ปรับปรุง

ป.๑

ป.๒ ดีมาก

๕๗.๕๐ ๑๒.๑๙ ๒.๕๐

๒๗.๘๑

๒๕.๙๘ ๑๕.๑๑ ๗.๕๕

๕๑.๓๖

๔๐.๖๗ ๑๔.๐๐ ๔.๐๐

๔๑.๓๓

๓๔.๘๕ ๑๗.๘๐ ๖.๐๖

๔๑.๒๙

ด้านการเขียน

ป.๓ ดี

พอใช้

ป.๔ ปรับปรุง

ป.๑

ป.๒ ดีมาก

๔๒.๘๑ ๕๐.๖๓ ๖.๕๖ ๐.๐๐

๔๘.๓๔ ๔๑.๓๙ ๗.๘๕ ๒.๔๒

๗๓.๖๗ ๒๒.๐๐ ๓.๓๓ ๑.๐๐

สรุปรวมผลการประเมิน

๕๗.๒๐ ๒๔.๖๒ ๑๔.๓๙ ๓.๗๙

ประเด็น ความสามารถใน การอ่าน (ป.๑-ป.๔) (ระดับดีเยี่ยม)

ป.๓ ดี

พอใช้

ที่มา ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านระดับเขตพื้นที่

ป.๔ ปรับปรุง


๒๐

ป.๒

ป.๔

ดีเยี่ยม

ดี

๘๘.๔๖ ๑๑.๕๔ ๐.๐๐

๑.๘๓ ๐.๐๐

๙๐.๙๔

ป.๓

๙.๐๖ ๐.๐๐

๐.๐๐ ๐.๐๐

๕.๐๐ ๐.๐๐

๑๐๐

๙๕.๐๐

๒.๖๕ ๐.๐๐ ป.๑

๙๘.๑๗

ผลการประเมิน ร้อยละของจานวนนักเรียนที่มีความสามารถในการสื่อสาร คิดคานวณ และคิดวิเคราะห์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ จาแนกตามระดับคุณภาพ ๙๗.๓๕

ประเด็น ความสามารถใน การสื่อสารคิด คานวณและคิด วิเคราะห์ (ระดับดี)

ป.๕

ป.๖

ปรับปรุง

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ จาแนกตามระดับคุณภาพ ๘๓.๖๑ ๕๑.๑๙ ๔๘.๘๑

๕๗.๕๓ ๔๒.๔๗

๑๖.๓๙ ๐.๐๐

๐.๐๐ ม.๑

๐.๐๐

ม.๒

ม.๓

ดีเยี่ยม

ดี

พอใช้

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ จาแนกตามระดับคุณภาพ ๕๗.๕๐

๔๓.๔๗

๓๘.๔๘

๒๗.๘๖ ๑๔.๖๔

ม.๔

๕๖.๐๓

๕๓.๔๓

๘.๐๙ ม.๕ ดีเยี่ยม

ที่มา ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน

๐.๕๐ ม.๖

ดี

ปรับปรุง


๒๑

ประเด็น ความสามารถใน การใช้เทคโนโลยี (ระดับดีเยี่ยม)

ผลการประเมิน

ร้อยละของจานวนนักเรียนที่มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ จาแนกตามระดับคุณภาพ ๙๕.๓๓

๙๒.๔๒

๗.๕๘ ๐.๐๐

๙๓.๓๙

๔.๖๗ ๐.๐๐

ชั้น ป.๑

ชั้น ป.๒

๙๔.๘๒

๘๔.๔๒

๑๕.๕๘ ๐.๐๐

๖.๖๑ ๐.๐๐ ชั้น ป.๓

ชั้น ป.๔

ดีเยี่ยม

ดี

๙๕.๔๕

๕.๑๘ ๐.๐๐ ชั้น ป.๕

๔.๕๕ ๐.๐๐ ชั้น ป.๖

ปรับปรุง

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ จาแนกตามระดับคุณภาพ ๘๒.๑๙

๗๙.๕๒ ๕๘.๐๕ ๔๑.๙๕

๑๗.๘๑ ๐.๐๐ ม.๑

๒๐.๔๘ ๐.๐๐

๐.๐๐ ม.๒ ดีเยี่ยม

ม.๓ ดี

ปรับปรุง

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖จาแนกตามระดับคุณภาพ ๑๐๐

๐.๐๐ ๐.๐๐ ม.๔

๑๐๐

๑๐๐

๐.๐๐ ๐.๐๐ ม.๕ ดีเยี่ยม

๐.๐๐ ๐.๐๐ ม.๖

ดี

ปรับปรุง


๒๒

ผลการประเมิน

ด้านภาษา

ด้านคานวณ ดีมาก

ด้านเหตุผล ดี

พอใช้

๑๕.๐๒

๓๓.๖๓ ๓๔.๘๓ ๑๖.๕๒

๑๙.๘๒ ๓๐.๐๓ ๑๔.๔๑

๓๕.๗๔ ๒๓.๗๒

๒๔.๙๓ ๑๐.๒๑

๑๓.๒๑

๒๗.๓๓ ๒๘.๘๓ ๓๐.๖๓

๔๑.๑๔

คะแนนเฉลี่ยร้อยละผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียน ระดับชาติ ( NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๙

รวมทั้ง ๓ ด้าน

ปรับปรุง

วิทยาศาสตร์

สังคมฯ

คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน

คะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัด

คะแนนเฉลี่ยสังกัด สพฐ.ทั้งหมด

คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ

๔๖.๕๐ ๓๓.๙๐ ๔๕.๐๔ ๓๔.๕๙

คณิตศาสตร์

๕๑.๖๖ ๔๕.๘๗ ๕๑.๑๕ ๔๖.๖๘

๔๗.๖๕ ๔๑.๕๔ ๔๔.๓๔ ๔๑.๒๒

ภาษาไทย

๕๐.๒๔ ๓๙.๗๕ ๔๖.๒๗ ๔๐.๔๗

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET) ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ๕๘.๗๗ ๕๓.๐๒ ๕๖.๕๒ ๕๒.๙๘

ประเด็น ผลการทดสอบ ระดับชาติ

ภาษาอังกฤษ


๒๓

ภาษาไทย

คณิตศาสตร์

วิทยาศาสตร์

๓๕.๗๗ ๓๑.๒๗ ๓๔.๙๑ ๓๑.๘๐

๕๒.๐๗ ๔๘.๓๒ ๔๘.๗๕ ๔๙.๐๐

๓๙.๘๖ ๓๔.๙๐ ๓๕.๒๑ ๓๔.๙๙

๓๖.๖๔ ๒๘.๙๓ ๒๙.๘๘ ๒๙.๓๑

๕๐.๗๐ ๔๕.๔๕ ๔๕.๘๖ ๔๖.๓๖

ผลการประเมิน ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET) ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓

สังคมฯ

คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน

คะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัด

คะแนนเฉลี่ยสังกัด สพฐ.ทั้งหมด

คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ

ภาษาอังกฤษ

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET) ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖

ภาษาไทย

คณิศาสตร์

วิทยาศาสตร์

สังคมศึกษา

คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน

คะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัด

คะแนนเฉลี่ยสังกัด สพฐ.ทั้งหมด

คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ

๒๘.๘๖ ๒๖.๖๐ ๓๐.๔๔ ๒๗.๗๖

๓๖.๒๐ ๓๕.๔๖ ๓๔.๙๑ ๓๕.๘๙

๓๓.๑๘ ๓๑.๓๘ ๓๑.๐๓ ๓๑.๖๒

๒๗.๗๑ ๒๔.๕๑ ๒๔.๘๘ ๒๔.๘๘

๕๖.๗๔ ๕๑.๕๘ ๔๙.๖๔ ๕๒.๒๙

ประเด็น

ภาษาอังกฤษ


๒๔

ประเด็น ผลการประเมิน คุณลักษณะที่ ร้อยละของจานวนนักเรียนที่มีผลการประเมินด้านคุณธรรม จริยธรรม ปีการศึกษา ๒๕๕๙ พึงประสงค์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ จาแนกตามระดับคุณภาพ ของผู้เรียน ๑๐๐.๐๐

๙๙.๗๐

๙๗.๖๗

๒.๓๓

๐.๐๐

ป.๑

ป.๒

๑๐๐.๐๐

๙๕.๙๔

๔.๐๖

๐.๓๐

ป.๓

ป.๔

ดีเยี่ยม

๑๐๐.๐๐

๐.๐๐

ป.๕

๐.๐๐

ป.๖

ดี

ร้อยละของจานวนนักเรียนที่มีผลการประเมินด้านคุณธรรม จริยธรรม ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ จาแนกตามระดับคุณภาพ ๙๘.๕๘

๑๐๐.๐๐

๑.๔๒ ม.๑

๗๙.๘๒ ๒๐.๑๘

๐.๐๐ ม.๒ ดีเยี่ยม

ดี

ม.๓

ร้อยละของจานวนนักเรียนที่มีผลการประเมินด้านคุณธรรม จริยธรรม ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ จาแนกตามระดับคุณภาพ ๗๔.๐๒ ๕๓.๒๕ ๔๙.๙๗

๕๓.๑๔

๔๕.๑๖

๒๔.๒๖ ๑.๗๒

๑.๗๘ ม.๔

ม.๕ ดีเยี่ยม

๑.๗๐ ม.๖

ดี

ผ่าน


๒๕

๒. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน นักเรียนมีความปลอดภัยห่างไกลจากสิ่งเสพติดและอบายมุข รู้วิธีการปฏิเสธสิ่งผิดกฎหมายและป้องกัน ตนเอง มีระเบียบวินัย เป็นเด็กดีมีความรับผิดชอบ ยอมรับ และทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ใช้ชีวิต ภายใต้กฎระเบียบของสังคม มีจิ ตสาธารณะ น้อมนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจาวัน ปฏิบัติตน ตามหลักศาสนา มีคุณธรรมรู้จักการแบ่งปัน ร่วมกิจกรรมตามประเพณีที่ดีงามของไทย กตัญญูต่อผู้มีพระคุณ สถาบั น และประเทศชาติเป็ น สมาชิ กที่ ดี ของสั งคม รู้บ ทบาทหน้ าที่ ของตน เคารพสิ ท ธิเสรีภ าพของผู้ ของอื่ น ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามระบอบประชาธิปไตย ไม่กระทาตนให้เป็นที่เดือนร้อนของบิดา มารดา ครู และสังคม เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้อื่น เกิดความภูมิใจท้องถิ่นของตนเอง รักความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ผู้เรียนมีสุขภาวะทางร่างกายแข็งแรง มีสุขนิสัยและมีวิธีการในการรักษาดูแลสุขภาพของตนเอง รักการ ออกกาลังกายสม่าเสมอ สามารถเลือกเล่นกีฬาได้อย่างน้อยคนละประเภท ยอมรับกฎกติกาของกลุ่ม สังคม และ สถานศึกษา มีน้าหนัก ส่วนสูง สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน แต่งกายสะอาด เรียบร้อย ปฏิบัติตน ตามสุขบัญญัติ ๑๐ ประการ และจากแบบประเมินสุขภาวะทางร่ายและลักษณะจิต สังคม จากครูประจาชั้น นักเรียนระดับชั้น ป.๑-ม.๖ จานวน ๓,๖๒๙ คน ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป ร้อยละ ๘๘.๑๘ นอกจากนี้นักเรียนยังมีความรู้ และสามารถป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษ มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี กับครู เพื่อน และบุคคลทั่วไป มีการบริการในด้านการจัดการปฐมพยาบาลและเวชกรรมเบื้องต้น นักเรียนที่ เจ็บป่วยได้รับการดูแลและปฐมพยาบาลเบื้องต้นเป็นอย่างดี โรงเรียนมีนโยบายมุ่งเน้นให้การศึกษาที่ดีที่สุด ให้แก่เยาวชนที่ไม่มีโอกาสทางการศึกษาได้รับการศึกษา โดยจัดให้มีการมอบทุนการศึกษาแก่นักเรียนที่เรียนดี และนักเรียนที่เรียนดีแต่ขาดแคลนได้รับการช่วยเหลือตาม ความต้องการอย่ างเหมาะสม มีการติดต่อประสานงานกองทุนเงินให้ กู้ยืมเพื่อการศึกษา ให้ กับนักเรียนในชั้น ม.๔-๖ เพื่ออานวยความสะดวกและช่วยเหลือนักเรียนที่มีความประสงค์จะขอกู้ยืมเงินกองทุนเพื่อการศึกษา ๓. จุดเด่น นักเรียนอ่านหนั งสื อออกและอ่านคล่ อง เขียนสื่อสารได้ ตลอดจนใช้เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ ด้ ว ยตนเอง มี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น เป็ น ไปตามเกณฑ์ ที่ ก าหนด ผลการประเมิ น ระดั บ ชาติ O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ และมัธยมศึกษาปีที่ ๖ คะแนนเฉลี่ยทุกวิชาของนักเรียนสูงกว่าคะแนน เฉลี่ยทั้งระดับจังหวัด ระดับสังกัด สพฐ. และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ นักเรียนมีความพร้อมในการศึกษาต่อ สามารถวางแผนการทางานอย่างเป็นขั้นตอน มีความรู้สึกที่ดีต่อ อาชี พ สุ จ ริ ต สามารถบอกแหล่ งข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ อาชี พ และหาความรู้ เกี่ ย วกั บ อาชี พ ที่ ต นสนใจ ให้ นั ก เรี ย น มีความพร้อม ความมั่นใจในการตัดสินใจในการศึกษาต่อ การฝึกงานหรือการทางานได้ โรงเรียนสามารถติดตาม ผลการศึกษาต่อของนักเรียนระดับ ป.๑ ม.๓ และ ม.๖ ได้ร้อยละ ๑๐๐


๒๖

นักเรียนมีระเบียบวินัย ปลอดภัยจากสิ่งเสพติด มีภูมิคุ้มกัน มีคุณธรรมจริยธรรม มีน้าใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีจิตอาสาทางานร่วมกับผู้อื่นได้ เป็นสมาชิกที่ดีของชุมชน ภูมิใจท้องถิ่นของตนเอง รักความเป็นไทย มีส่วนร่วมใน การอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นั กเรี ย นมีสุ ขภาวะร่ างกายแข็งแรง มีส มรรถภาพทางกายและน้าหนักส่ ว นสู งตามเกณฑ์ มีจิตอาสา ช่วยเหลือสังคม นักเรียนที่เจ็บป่วยได้รับการช่วยเหลืออย่างใกล้ชิด ๔. จุดควรพัฒนา นักเรีย นควรได้รับ การฝึ กคิดวิเคราะห์ คิดสั งเคราะห์ อย่างต่อเนื่อง ฝึ กการนาเสนอข้อมูล ทักษะการ สื่อสารและการแก้ปัญหาตามสถานการณ์ที่กาหนด โรงเรียนดาเนินการติดตามให้นักเรียนได้รับการปลูกฝังให้รักความสะอาด การทิ้งขยะอย่างเข้มงวดและ ดาเนินการอย่างต่อเนื่อง ผู้เรียนระดับ ป.๑-๖ ยังต้องเน้นการปฏิบัติตนตามสุขบัญญัติ ๑๐ ประการอย่างต่อเนื่อง จนเป็นนิสัยและ เป็นแบบอย่างที่ดี รู้จักดูแลตนเองให้มีสุขภาพแข็งแรง รักษาสุขภาพอนามัยของตนเอง มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ระดับคุณภาพ : ดีเยี่ยม ๑. กระบวนการพัฒนา ๑. การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากาหนดชัดเจน โรงเรี ย นด าเนิ น การวิ เ คราะห์ ส ภาพปั ญ หาการด าเนิ น งาน ผลการจั ด การศึ ก ษาที่ ผ่ า นมา โดยการศึก ษาข้อ มู ล สารสนเทศจากผลการนิ เทศ ติ ด ตาม ประเมิ น การจัด การศึ กษาตามนโยบายการปฏิ รูป การศึกษา พัฒนางานตามแผนงานให้บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมาย ดาเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมนักเรียนด้าน วิชาการ ควบคู่ไปกับการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ให้ความสาคัญแก่ครูในการเพิ่มศักยภาพการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอน ตามแนวปรัชญาโรงเรียนที่ว่า “คุณภาพของโรงเรียน ขึ้นอยู่กับคุณภาพครูและนักเรียนเป็นสาคัญ” พร้อมน้ อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็ จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มาเป็น นโยบายการขับเคลื่อนในทุก ๆ ด้านของการพัฒนาโรงเรียน กิจกรรมต่างๆ ได้รับความร่วมมือและการสนับสนุน จากท่านผู้ปกครอง ชุมชน และศิษย์เก่ามาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้งานดาเนินบรรลุผลสาเร็จ จัดประชุมระดม ความคิดเห็น จากบุคลากรในสถานศึกษาเพื่อวางแผน ร่วมกันกาหนดเป้าหมาย ปรับวิสัยทัศน์ กาหนดพันธกิจ กลยุทธ์ ในการจัดการศึกษาของโรงเรียน เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการ ประจาปี ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒ นา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษา พร้อมทั้งจัดหาทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบ ดาเนินการพัฒนา ตามแผนงานเพื่อให้ บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ มีการดาเนินการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมิน ผลการดาเนินงาน และสรุปผลการ ดาเนินงาน ๒. การวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ๑) การวางแผนและดาเนิ น งานพัฒ นาวิช าการที่เน้น คุณ ภาพของผู้ เรียนรอบด้านทุ กกลุ่ มเป้าหมายและ ดาเนินการอย่างเป็นรูปธรรม


๒๗

คณะกรรมการฝ่ายวิชาการ ประกอบด้วย ผู้อานวยการโรงเรียน หัวหน้าฝ่ายวิชาการ หัวหน้าระดับฝ่าย วิชาการ หัวหน้ากลุ่มสาระและผู้ประสานงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ ร่วมวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี กาหนดงานโครงการ กิจกรรม ในแต่ละโครงการมุ่งส่งเสริมให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติเพื่อ สรุปและสร้างองค์ความรู้เองอย่างหลากหลายตามธรรมชาติของรายวิชา มีการบูรณาการคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของหลักสูตรในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนอย่างเป็นรูปธรรม ดังนี้ - ด้ านคุณ ลั ก ษณะที่ พึ งประสงค์ ครูผู้ ส อนจัด กิจ กรรมเน้ น การเป็ น พลเมื องดี รักชาติ ศาสน์ กษั ต ริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะ ครูผู้สอน ตามกลุ่มสาระพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตรและติดตามประเมินอย่างต่อเนื่อง - ด้ า นการจั ด การเรี ย นการสอน จั ด กิ จ กรรมตอบสนองนโยบายของกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ดั ง นี้ ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑- ๓ การอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิตและทักษะการ สื่อสารอย่างสร้างสรรค์ ระดับประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ อ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดคล่อง ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต และทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย โดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อให้นักเรียน อ่านออก การจัดการเรียนการสอนโดยรวมเน้นให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง การทางานเป็นทีม เน้นกระบวนการ คิดวิเคราะห์ พัฒนาทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ด้วยกิจกรรม STEM และ การสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ Learn Education ด้ ว ยโปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ ในระดั บ ประถมศึ ก ษาและมั ธ ยมศึ ก ษา การสอนด้ ว ยสื่ อ เสมื อ นจริ ง ด้วยโปรแกรมการเรียนจาก สสวท. ในวิชาฟิสิกส์ระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๔ และการสอนพัฒนาทักษะการสื่อสาร ภาษาอังกฤษกับชาวต่างชาติในชั่วโมง Lab language จัดกิจกรรมแข่งขันตามกลุ่มสาระเพื่อกระตุ้นให้นักเรียน มีนิสัยใฝ่เรียน รักการค้นคว้า และพัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างต่อเนื่อง - ด้านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จัดชุมนุม / ชมรม ลูกเสือ-เนตรนารี นักเรียนได้เรียนรู้อย่างเป็นกระบวนการ ได้ร่วมวางแผนการจัดกิจกรรมร่วมกับครูประจาชุมนุม / ชมรม จัดกิจกรรมเสริมนอกห้องเรียนเช่นกิจกรรมกีฬา ระหว่างห้ องเรี ยน แข่ง ขัน ด้านศิล ปะ ดนตรี ร่วมกิจกรรมตามวันส าคัญ ต่างๆให้ นักเรียนพัฒ นาคุณ ภาพชีวิต ของตนเองอย่างเหมาะสม - ด้านความพอเพี ย ง มีก ารจั ดกิจ กรรมเสริม สร้างคุ ณ ลั กษณะอยู่ อย่างพอเพี ยงตามหลั กปรัช ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ฝึกให้ถอดบทเรียนเพื่อเตรียมความพร้อมในการดารงชีวิตในสังคมอย่างมีความสุข ต้องมีความรู้ มีคุณธรรม มีความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี และมีความสมดุล ใน ๔ มิติ ด้านวัตถุ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านวัฒนธรรม โดยบูรณาการในแผนการจัดการเรียนรู้ ในกิจกรรมการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ การเรียนรู้ และในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จัดการเรียนรู้ในรูปแบบของฐานการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ทั้งนี้ ในปีการศึกษา ๒๕๖๐ โรงเรียนจะเข้ารับการประเมินเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ในปีการศึกษา ๒๕๕๙ โรงเรียนดาเนินการจัดกระบวนการบริหารงานวิชาการ ดังนี้ ๑. ประชุมคณะกรรมการโรงเรียน ทุกวันอังคาร ประกอบด้วยอธิการ ผู้อานวยการ หัวหน้าฝ่าย หัวหน้า ระดับ วิชาการระดับ เพื่อติดตามความก้าวหน้าของการปฏิบัติงานในฝ่ายต่างๆ และวางแผนปรับปรุง พัฒนางาน อย่างต่อเนื่อง


๒๘

๒. ประชุมคณะกรรมการงานวิชาการทุกวันพุธ ประกอบด้วย ผู้รับใบอนุญาต ผู้อานวยการ หัวหน้าฝ่าย วิช าการ หั ว หน้ าระดั บ ฝ่ ายวิช าการ วิ ช าการระดั บ หั ว หน้ า กลุ่ ม และผู้ ป ระสานงานกลุ่ ม สาระ เพื่ อ รายงาน ความก้าวหน้ า แลกเปลี่ย นเรียนรู้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการพัฒ นาคุณ ภาพการจัดการเรียนการสอน มีการ วางแผนปรับ ปรุง พัฒ นางานการเรีย นการสอนให้ ทีคุณ ภาพได้มาตรฐานตามที่โรงเรียนกาหนดอย่างต่อเนื่อง หัวหน้ากลุ่มสาระประชุมครูในกลุ่มสาระตามวาระหรือตามความเร่งด่วน ๓. จัดประชุมผู้ปกครองภาคเรียนที่ ๑ เพื่อชี้แจงนโยบายด้านการจัดการศึกษา ระเบียบปฏิบัติในการ ดูแลนักเรียนให้เป็นคนดี มีคุณภาพตามจุดเน้นของหลักสูตร ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ มีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ข้อมูลร่วมมือกันพัฒนาคุณภาพนักเรียนและในการเป็นวิทยากร/ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ความรู้ แก่นักเรียนตาม ความเหมาะสม ๒) การวางแผนและดาเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ โรงเรียนดาเนินการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ สนับสนุนการศึกษาต่อของครู ตามวิชาที่สอน เพื่อนาความรู้ไปใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนนักเรี ยน ส่งเสริมและจัดครูเข้ารับการอบรม อย่างต่อเนื่องตามสาขาวิชาที่สอน ตลอดจนอบรมเพื่อพัฒนาตนเองในเรื่องที่ควรพัฒนา ทั้งครูที่สอนรายวิชาและ บุคลากรสายสนับสนุนการเรียนการสอน เมื่อเสร็จสิ้นการอบรมดาเนินการขยายผลแก่เพื่อนครูที่ไม่ได้ไปอบรม

๓) การวางแผนการบริหารและการจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบ โรงเรียนมีศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดทาข้อมูลของโรงเรียน ประมวลผลข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อนาไปพัฒนาจัดทาแผนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาระบบฐานข้อมูลสาหรับการบริหารจัดการ ข้อมูลทั่วไปภายในโรงเรียน ระบบการจัดเก็บข้อมูลบนเครือข่าย LAN และเครือข่ายอินเทอร์เน็ ต พัฒนาอุปกรณ์ คอมพิ วเตอร์ ระบบปฏิบั ติการและระบบเครือข่ายเพื่อเป็น แหล่ งข้อมูล ส าหรับการนาไปใช้ การจัดซื้อจัดหา อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ พัฒนาระบบรับส่งข้อมูลภายในโรงเรียนและหน่วยงานภายนอก ๔) การวางแผนและจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ โรงเรียนจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน พัฒนาห้องสมุดซึ่งเป็น แหล่งการเรียนรู้ที่สาคัญ โดยจัดให้มีห้องสมุดครบทุกอาคารเพื่อบริการแก่นักเรียน มีการจัดมุมสื่อให้บริการทั้งครู และนักเรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองและเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม เพื่อให้นักเรียนได้รับการพัฒ นาให้มีนิสัยใฝ่เรียนรู้ นอกจากนี้ยังมีการจัดเรียนรู้ภ ายในบริเวณโรงเรียน อาทิ ลานคุณธรรม สวนเกษตร สวนเจ้าฟ้า สวนสมุนไพร จัดการเรียนการสอนเป็ นฐานการเรียนรู้ตามบริเวณต่าง ๆ ภายในโรงเรียนตามแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพี ย งจ านวน ๑๖ ฐานการเรีย นรู้ จั ดห้ องของพ่ อ ซึ่งตั้ งอยู่ บ ริเวณห้ อ งมิ ว เชียง ชั้ น ๒ ของอาคารมิ ว เชีย ง เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับพระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช


๒๙

๕) จัดโครงการให้ครูได้รับสวัสดิการตามความเหมาะสม โรงเรีย นจั ดมอบสวัส ดิการแก่ค รู ในด้ านต่าง ๆ อาทิ มอบของขวัญ เนื่อ งในวันคล้ ายวัน เกิด จัด มอบ เครื่องแบบครูในโอกาสต่าง ๆ ตามความเหมาะสม ร่วมเป็นเจ้าภาพงานศพบิดา-มารดาครู และมอบกระเช้าให้กับ บิดา-มารดาหรือครูทเี่ จ็บป่วย ๓. การมี ส่ ว นร่ ว มของผู้ เกี่ ย วข้ อ งทุ ก ฝ่ า ยและการร่ว มรับ ผิ ด ชอบต่ อ การจั ด การศึ ก ษาให้ มี คุ ณ ภาพและได้ มาตรฐาน โรงเรียนจัดประชุมระดมความคิดเห็นจากบุคลากรในสถานศึกษาเพื่อวางแผนในการกาหนดเป้าหมาย ปรับวิสัยทัศน์ กาหนดพันธกิจ กลยุทธ์ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีการปรับ แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปีที่สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษาและนาเสนอคณะกรรมการบริหารโรงเรียนในการเสนอแนะและมีส่วนร่วมในการ วางแผนการดาเนินงาน ให้คาปรึกษา ชี้แนะ สนับสนุนการดาเนินงาน มีการจัดประชุมผู้ปกครองนักเรียนทุกภาค เรีย น เพื่อร่วมรับ ฟังนโยบายโรงเรีย น ให้ คาเสนอแนะและนามาปรับ ให้ เหมาะสมตามสภาพและบริบทของ โรงเรียน นักเรียนมีส่วนในการสมัครเรียนกิจกรรมชุมนุม ชมรมตามความต้องการและตามศักยภาพของตน ๔. การกากับ ติดตาม ประเมินผลการบริหารและจัดการศึกษา โรงเรียนกาหนดการดาเนินงานตามมาตรฐานของโรงเรียนโดยใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาเป็น กล ยุทธ์ในการดาเนินงาน มีการกากับ ติดตาม ประเมินผลการบริหารและจัดการศึกษาโดยหัวหน้าระดับ หัวหน้าฝ่าย และหัวหน้ากลุ่มสาระทั้งการประเมินการบริหารและการจัดการศึกษา นอกจากนี้ยังมีระบบการติดตามตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณ สรรหางบประมาณให้เพียงพอต่อการ สนับ สนุน การพัฒ นางาน กิจกรรมทุกฝ่ายของโรงเรียน จัดทาแผนงบประมาณ จัดระบบการตรวจสอบการใช้ งบประมาณอย่างโปร่งใส ๒. ผลการดาเนินงาน ๑. โรงเรีย นดาเนิ นงานตามเป้ าหมาย วิสั ยทัศน์และพันธกิจสอดคล้องกับสภาพ ปัญ หาความต้องการ พัฒนาของโรงเรียน นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ความต้องการของ ชุมชน ท้องถิ่น และสอดคล้องกับแนวทางการ ปฏิรูปตามแผนการศึกษาชาติ ๒. แผนพั ฒ นาคุ ณ ภาพการจั ด การศึก ษา แผนปฏิ บั ติ ก ารประจ าปี สอดคล้ อ งกับ การพั ฒ นาผู้ เรีย น ทุกกลุ่มเป้าหมาย มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ตามมาตรฐานตาแหน่ง ข้อมูลสารสนเทศมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นาไปประยุกต์ใช้ได้ ดาเนินการอย่างเป็นระบบ และมีกิจกรรม จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสังคมที่กระตุ้นผู้เรียนให้ใฝ่เรียนรู้ ๓. โรงเรียนมีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการ ประจาปี ให้สอดคล้องกับ สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษา ผู้บริหารจัดการศึกษาได้บรรลุตามเป้าหมายที่ กาหนดไว้ในแผนปฏิ บั ติ การ ผู้ บ ริ ห ารมี ภ าวะผู้ น าและความคิ ด ริเริ่ม ที่ เน้ น การพั ฒ นาบุ ค ลากรให้ มี ศั ก ยภาพ และประสิทธิภาพ ควบคู่ไปกับเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม โดยผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในการพัฒนาและร่วม รับผิดชอบ


๓๐

๔. ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และเครือข่ายการพัฒ นาคุณภาพโรงเรียน มีส่วนร่วมในการร่วมวางแผนพัฒ นา คุณภาพการศึกษา และรับทราบ รับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา ๕. โรงเรีย นมีการนิ เทศ กากับ ติดตาม และประเมินผลการบริห ารและการจัดการศึกษา ที่เหมาะสม เป็นระบบและต่อเนื่อง เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ๖. โรงเรียนมีรูปแบบการบริหารและการจัดการเชิ งระบบ โดยทุกฝ่าย มีส่วนร่วม ยึดหลักธรรมาภิบาล และแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ่งพัฒนา ผู้เรียนตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา ๗. โรงเรียนมีการจัดสรรทรัพยากรเพื่อการพัฒนาคุณภาพศึกษา ส่งผลให้โรงเรียนมีสื่อและแหล่งเรียนรู้ที่มี คุณ ภาพ มี การจั ดท าห้ อ งค้น คว้า ICT ห้ องสมุ ดอิเล็ คทรอนิ กส์ จัด หาสื่ อ การเรียนโดยใช้ E-Board ในชั้น เรีย น ห้องปฏิบัติการ และจัดการอบรมพัฒนาศักยภาพของบุคคลด้านเทคโนโลยี นอกจากนี้ยังได้มีการพัฒนาศักยภาพ ของนักเรียนในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ โดยจัดซื้อโปรแกรม Learn Education ให้นักเรียน ในระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๑,๓ และประถมศึกษาปี ๕-๖ ๘. นักเรียนได้ร่วมกิจกรรมอย่างหลากหลายตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชุมนุม ชมรม และกิจกรรมร่วมกับชุมชน มีคุณภาพชีวิตที่ดีสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข ผู้ปกครองให้ความ ร่วมมือเป็ น อย่างดีในการเป็ น วิทยากร/ภูมิปัญ ญา นั กเรียนเกิดการเรียนรู้จากภูมิปัญ ญา เกิดความภาคภูมิใจ รักท้องถิ่นมากขึ้น ๙. ครูและบุคลากรมีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ได้รับการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เข้าร่วมอบรม สัมมนาร่วมกับหน่วยงานภายนอกและภายในโรงเรียน ครูเป็นวิทยากรให้ความรู้แก่หน่วยงานภายนอก ๑๐. ฝ่ายบุคลากรมีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปีให้สอดคล้อง กับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษา โดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีส่วนร่วมในการ พัฒนา และร่วมรับผิดชอบ ๑๑. ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษามีส่วนร่วมในการร่วมวางแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษาและรับทราบ รับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา ๑๒. ฝ่ายบุคลากรมีการนิเทศ กากับ ติดตาม และประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาที่เหมาะสม เป็นระบบต่อเนื่อง เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา


๓๑

วิธีการพัฒนา การพัฒนาครูบุคลากรทาง การศึกษา

ผลการพัฒนา จานวนครั้งที่ครูได้รับการอบรมพัฒนาทางวิชาชีพทางการศึกษา ๐คน : 0%

๗๘ คน : ๓๒.๑๐% ๑๖๕ คน: ๖๗.๙๐%

ยังไม่เคยได้รับการนิเทศ

การมีส่วนร่วมของ เครือข่ายในการวาง แผนการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา

๒ ครั้ง/ภาคเรียน

มากกว่า ๒ ครั้ง/ภาคเรียน

จานวนเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ไม่ ได้ มีส่วนร่ วม 0%

๑ ครัง้ / ภาคเรียน 15% ๒ ครัง้ / ภาคเรียน 10%

ไม่ได้ มีสว่ นร่ วม ๑ ครัง้ / ภาคเรี ยน ๒ ครัง้ / ภาคเรี ยน

มากกว่ า ๒ ครัง้ / ภาคเรียน ๑๕ แห่ ง 75%

การนิเทศ กากับ ติดตาม และประเมินผล

มากกว่า ๒ ครัง้ / ภาคเรี ยน

ร้อยละของครูที่ได้รับการนิเทศ กากับ ติดตามและประเมินผลจากผู้บริหาร

๓๐ คน : 0% ๑๒.๓๕% ๒๑๓ คน: ๘๗.๖๕% ยังไม่เคยได้รับการนิเทศ

๒ ครั้ง/ภาคเรียน

มากกว่า ๒ ครั้ง/ภาคเรียน


๓๒

๓. จุดเด่น ๑. ผู้บริหารมีความตั้งใจ มีความมุ่งมั่น มีหลักการบริหาร วิสัยทัศน์กว้างไกล เป็นแบบอย่างที่ดีในการ ทางานแ ๒. โรงเรีย นมีการบริห ารและการจัด การอย่างเป็ นระบบ ใช้เทคนิค การประชุม ที่ห ลากหลายวิธี เช่ น การประชุมแบบมี ส่ ว นร่ วม การประชุม ระดมสมอง การประชุมกลุ่ ม เพื่ อให้ ทุก ฝ่ ายมี ส่ วนร่ว มในการกาหนด วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ที่ชัดเจน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี ที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษา ที่มุ่งเน้น การพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ครูผู้ สอนสามารถจัดการเรียนรู้ ได้อย่างมีคุณภาพ มีการดาเนินการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผล การดาเนินงาน และจัดทารายงานผลการจัด การศึกษา และโรงเรียนได้ใช้กระบวน วิจัยในการรวบรวมข้อมูล เพื่อใช้เป็นฐานในการวางแผนพัฒ นาคุณภาพ โรงเรียน ๔. จุดควรพัฒนา ๑. สร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนเกี่ยวช้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียน ให้มีความเข้มแข็ง มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา และการขับเคลื่อนคุณภาพ การจัดการศึกษา ๒. ครูควรนาภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ และควรมีการให้ ข้อมูลแก่นักเรียนทันที เพื่อนักเรียนนาไปใช้พัฒนาตนเอง มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ระดับคุณภาพ : ดีเยี่ยม ๑. กระบวนการพัฒนา ๑. การมีกระบวนการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วม โรงเรียนจัดกระบวนการเรียนการสอนที่ให้ความสาคัญกับผู้เรียนทุกคน คานึงถึงความแตกต่างระหว่าง บุ ค คล เน้ น กิ จ กรรมที่ ป ฏิ บั ติ จ ริ งและผู้ เรี ย นทุ ก คนมี ส่ ว นร่ ว ม จั ด กิ จ กรรมเสริ ม ทั ก ษะการสื่ อ สารภาษาไทย ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี และนาเสนอผลงานพัฒนาทั กษะการคิด การทาโครงงาน จัดทาแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระ กิจกรรมชุมนุม/ชมรมส่งเสริม ความสามารถและความคิดสร้างสรรค์ สืบสานวัฒนธรรมและค่านิยมหลัก ๑๒ ประการ วิเคราะห์เพื่อปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตร พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ นิเทศติดตามการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จัดกิจกรรม การแข่งขันด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา จัดแสดงผลงานทางวิชาการ ตลาดนัดวิชาการ นานักเรียนร่วมแข่งขันด้าน วิชาการและทักษะอาชีพร่วมกับหน่วยงานภายในและภายนอก จัดค่ายวิชาการ กิจกรรมทัศนศึกษา ส่งเสริมการ สอนที่เน้นกระบวนการ การสอนซ่อมและสอนเสริม ส่งเสริมการใช้สื่อนวัตกรรม โดยให้ทุกระดับชั้นดาเนินงาน ให้สัมพันธ์กับวัยของนักเรียน นักเรียนทุกคนทากิจกรรมตามความถนัดและความสนใจ ๒. การจัดการเรียนการสอนที่ยึดโยงกับบริบทของชุมชนและท้องท้องถิ่น โรงเรียนจัดทาหลักสูตรท้องถิ่นในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามบริบทของชุมชนและท้องถิ่น เรียนรู้จากภูมิ ปัญญาชาวบ้าน และปราชญ์ท้องถิ่น นักเรียนใช้แหล่งการเรียนรู้ในชุมชนสร้างองค์ความรู้และได้รับการปลูกฝัง


๓๓

ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม ของท้องถิ่นให้กับตนเอง จัดกิจกรรมสืบสานวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาไทย ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยภูมิปัญญาไทย การแลกเปลี่ยนเรียนรู้จัดให้นักเรียนทัศนศึกษาตามโครงการเรียนฟรี ๑๕ ปีที่ กระทรวงศึกษาธิการจัดสรรงบประมาณ นักเรียนได้เรียนรู้จากชุมชน ท้องถิ่น เกิดสานึกรักท้องถิ่นและวัฒนธรรมรากเหง้า ของตนเอง จัดประชุม ผู้ปกครองเพื่อเปิดโอกาสให้ แสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางให้โรงเรียนนาไปพัฒนาการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ ๓. การตรวจสอบและประเมินความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ ครูดาเนินการวัดและประเมินผลผู้เรียนตามสภาพจริง มีการประเมินผลทั้งก่อนเรียน ระหว่างเรียน และ หลั งเรียน อย่างเป็น ระบบ ประเมิน จากภาระงาน ชิ้นงาน งานกลุ่ม งานรายบุคคล มีการจัดทาเอกสารวัดผล ประเมินผลและบันทึกผลการประเมินลงในระบบประเมินผลของโรงเรียน ( MAS SCHOOL ) โดยมีการดาเนินงาน เพื่อส่งเสริมการตรวจสอบและการประเมินความรู้ ความเข้าใจของนักเรียนอย่างเป็นระบบจากงานต่างๆ ดังนี้ พั ฒ นาศั ก ยภาพครู พั ฒ นาเครื่ อ งมื อ วั ด ผลประเมิ น ผล ให้ ค รู วิ จั ย ใน ชั้ น เรี ย นภาคเรี ย นละ ๑ งานวิ จั ย วัดผลประเมินผลตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒. ผลการดาเนินงาน จากผลการดาเนินงาน โครงการ กิจกรรม จากโครงการส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียน เป็นสาคัญโครงการพัฒนาคุณภาพครูตามแนวปฏิรูปการศึกษาส่งผลให้การประเมินคุณภาพมาตรฐานที่ ๓ อยู่ใน ระดับดีเยี่ยม ๓. จุดเด่น ๑. ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง สามารถประเมินภาระงาน/ชิ้ นงาน เชิงประจักษ์ได้ ๒. ครู จั ด การเรี ย นการสอนให้ ผู้ เรี ยนได้ ใช้ สื่ อ เทคโนโลยี เสริม สร้างให้ เกิด คุณ ลั ก ษณะที่ ต้อ งการใน ศตวรรษที่ ๒๑ ๓. ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนได้พัฒนาครอบคลุมทุกด้านสอดคล้องกับความสามารถและความ ต้องการของผู้เรียน ๔. ครูให้ความสาคัญกับนักเรียนทุกคน โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ๕. ครูจัดการเรียนการสอนที่มีการบูรณาการหลากหลาย มีการตรวจสอบและประเมินความรู้ความเข้าใจ ของนักเรียนอย่างเป็นระบบ ๖. ครูพัฒนาตนเองอยู่เสมอ มีความตั้งใจ มุ่งมั่น ในการปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มเวลาและความสามารถ ๖. ผู้ปกครองและชุมชนให้ความร่วมมือต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างดี ๗. มีแหล่งเรียนรู้ ฐานการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๔. จุดควรพัฒนา ๑. เพิ่มการสารวจ และการเข้าถึงภูมิปัญญาท้องถิ่น และจัดกิจกรรมให้เกิดประโยชน์ให้กับนักเรียนเพิ่มขึ้น ๒.ให้นักเรียนเข้ามามีส่วนในการประเมินผลการเรียนรู้ โดยมีการกาหนดเกณฑ์อย่างชัดเจน


๓๔

มาตรฐานที่ ๔ ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล ระดับคุณภาพ : ดีเยี่ยม ๑. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนดาเนิน การประเมิน คุณ ภาพภายในของสถานศึกษา ๘ ประการ ได้แก่ ๑) กาหนดมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา ๒) จัดทาแผนพัฒ นาการจัดการศึกษามุ่งเน้นคุณภาพตามมาตรฐาน ๓) จัดการและ บริหารข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบโดยใช้เทคโนโลยีช่วยในการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลเป็นสารสนเทศที่ เป็ น ประโยชน์ ในการพัฒ นาคุณ ภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน ๔) จัดทาแผนพั ฒ นาการจัดการศึกษา ๕) ดาเนินการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ๖) ประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานของสถานศึกษา ๗) จัดทารายงานประจาปีที่เสนอผลการประเมินคุณภาพภายใน ๘) ดาเนินการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง โดยจัด ประชุมครู ผู้ปกครอง คณะกรรมการบริหารโรงเรียน นาเสนอผลการดาเนินรายงานประจาปีของสถานศึกษาในปี การศึก ษาที่ ผ่ านมา วิเคราะห์ ผ ลการประเมิน คุณ ภาพภายในจากรายงานประจาปีข องปี การศึกษาที่ผ่ านมา วิเคราะห์จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา และจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีตามจุดที่ควรพัฒนา ประกอบด้วย โครงการ งาน กิจกรรมที่จะพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานของสถานศึกษา โดยเน้นที่ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จัดทาโครงการ ประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มีกิจกรรมให้ความรู้ความเข้าใจแนวทางการดาเนินงานประกันคุณภาพ ภายในให้ครูทุกคนในโรงเรียน เพื่อให้ครู บุคลากรทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีความเข้าใจการดาเนินงานตามมาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐาน แต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียน ให้ปฏิบัติหน้าที่ติดตาม ตรวจอบ และประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานของสถานศึกษา ทั้ง ๔ มาตรฐาน จัดทาเครื่องมือให้นักเรียนประเมิน ตนเองในการเรียนรู้ ครูประเมินตนเองรายบุคคลตามแผนพัฒนาตนเองที่วางไว้ คณะกรรมการประกันคุณภาพ ของโรงเรียนประเมินการดาเนินงานตามมาตรฐานและสรุปผลการดาเนินงานเพื่อพัฒนาปรับปรุงตลอดปีการศึกษา ติดตามการประเมินโครงการและกิจกรรมสรุปผลการดาเนินงาน จัดทาแบบสารวจความพึงพอใจและประเมินผล การดาเนินงานของโรงเรียนจากนักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาในการจัดการศึกษาของโรงเรียน ๒. ผลการดาเนินงาน โรงเรียนมีการดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา อย่างเป็นระบบ มีผลการประเมินคุณภาพภายใน คณะกรรมการบริหารโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนมีความพึงพอใจในการยกระดับ คุณภาพการศึกษาของโรงเรียน ๓. จุดเด่น ผู้บริหารให้ความสาคัญกับการดาเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา สร้างความเข้าใจและให้ ความรู้ด้านการประกันคุณภาพการศึกษากับคณะครู บุคลากรทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง อย่างชัดเจน เป็นประโยชน์ใน การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๔. จุดควรพัฒนา การดาเนินงานการส่งงาน เอกสารประกอบการประเมิน ติดตาม ตรวจสอบ และสรุปรายงานผลในบาง ระดับล่าช้า ไม่เป็นไปตามเวลาที่กาหนด ต้องมีการติดตาม ทบทวน อย่างต่อเนื่อง


ส่วนที่ ๓ สรุปผล แนวทางการพัฒนา และความต้องการช่วยเหลือ ผลการประเมิ น ตนเองของโรงเรีย น ถือเป็น ข้อมุ ล สารสนเทศส าคั ญ ที่ โรงเรียนจะต้องน าไปวิเคราะห์ สังเคราะห์เพื่อสรุปนาไปสู่การเชื่อมโยงหรือสะท้อนภาพความสาเร็จกับแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียน (๓ ปี ) และน าไปใช้ ในการวางแผนพั ฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษาของโรงเรีย น ดังนั้ น จากผลการด าเนิ น งานของ สถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมินในภาพรวมของจุดเด่น จุดควรพัฒนาของแต่ละมาตรฐาน พร้อมทั้งแนว ทางการพัฒนาในอนาคตและคามต้องการการช่วยเหลือ ดังนี้ สรุปผล จุดเด่น จุดควรพัฒนา ด้านคุณภาพผู้เรียน ๑. นักเรียนอ่านหนังสือออกและอ่านคล่อง เขียนสื่อสาร ได้ ใช้เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ๒. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นไปตามเกณฑ์ ที่ ก า ห น ด ผ ล ก า ร ป ร ะ เมิ น ร ะ ดั บ ช า ติ O-NET ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ ๖ มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ ๓ และ มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ ๖คะแนนเฉลี่ ย ทุ ก วิ ช าของนั ก เรี ย น สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยทั้งระดับจังหวัด ระดับสังกัด สพฐ. และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ๓. นักเรียนมีความพร้อมในการศึ กษาต่อ สามารถวาง แผนการท างานอย่ างเป็ น ขั้ น ตอน มี ค วามรู้สึ ก ที่ ดี ต่ อ อาชีพ สุ จ ริต สามารถบอกแหล่ งข้ อมู ล เกี่ ย วกั บ อาชี พ และหาความรู้ เกี่ ย วกั บ อาชี พ ที่ ต นสนใจ ให้ นั ก เรี ย น มีความพร้อม ความมั่นใจในการตัดสินใจในการศึกษา ต่ อ การฝึ ก งานหรื อ การท างานได้ โรงเรี ย นสามารถ ติดตามผลการศึกษาต่อของนั กเรียน ระดับ ป.๖ ม.๓ และ ม.๖ ได้ร้อยละ ๑๐๐ ๔. นั ก เรี ย นมี ร ะเบี ย บวิ นั ย ปลอดภั ย จากสิ่ งเสพติ ด มีภูมิคุ้มกัน มีคุณธรรมจริยธรรม มีน้าใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีจิ ตอาสา ท างานร่ ว มกับ ผู้ อื่น ได้ เป็ น สมาชิกที่ ดีของ ชุ ม ชน ภู มิ ใจท้ อ งถิ่ น ของตนเอง รั ก ความเป็ น ไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

๑. นักเรียนควรได้รับการฝึกคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ อย่างต่อเนื่อง ฝึกการนาเสนอข้อมูล ทักษะการสื่อสาร และการแก้ปัญหาตามสถานการณ์ที่กาหนด ๒. ดาเนินการติดตามให้นักเรียนได้รับการปลูกฝังให้รัก ความสะอาด การทิ้งขยะอย่างเข้มงวดและดาเนินการ อย่างต่อเนื่อง


๓๖

จุดเด่น

จุดควรพัฒนา

ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหาร สถานศึกษา ๑. ผู้ บ ริ ห ารมี ค วามตั้ ง ใจ มี ค วามมุ่ ง มั่ น มี ห ลั ก การ บริ ห าร วิสั ย ทั ศ น์ ก ว้ างไกล เป็ น แบบอย่ างที่ ดี ในการ ทางานแ ๒. โรงเรียนมีการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ ใช้เทคนิคการประชุมที่หลากหลายวิธี เช่น การประชุม แบบมีส่วนร่วม การประชุมระดมสมอง การประชุมกลุ่ม เพื่อให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธ กิจ เป้าหมาย ที่ชัดเจน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี ที่สอดคล้อง กับ ผลการจั ดการศึ กษา สภาพปั ญ หา ความต้ องการ พัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษา ที่มุ่งเน้นการ พัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตาม หลักสูตรสถานศึกษา ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ใด้ อย่างมีคุณภาพ มีการดาเนิน การนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผล การดาเนิน งาน และจัดทารายงานผลการ จัดการศึกษา และโรงเรี ย นได้ใช้กระบวน วิจัยในการ รวบรวมข้อมู ล เพื่ อใช้เป็ น ฐานในการวางแผนพั ฒ นา คุณภาพโรงเรียน ด้านกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ๑. ครู จั ดกิ จกรรมการเรี ยนการสอนให้ นั กเรี ยนได้ ลงมื อ ปฏิบัติจริง สามารถประเมินภาระงาน/ชิ้นงานเชิงประจักษ์ได้ ๒. ครูจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนได้ใช้สื่อ เทคโนโลยี เสริมสร้างให้เกิดคุณลักษณะที่ต้องการในศตวรรษที่ ๒๑ ๓. ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนได้พัฒนาครอบคลุม ทุ กด้ านสอดคล้ องกั บความสามารถและความต้ องการ ของผู้เรียน ๔. ครูให้ความสาคัญกับนักเรียนทุกคน โดยคานึงถึงความ แตกต่างระหว่างบุคคล ๕. ครูจัดการเรียนการสอนที่มีการบูรณาการหลากหลาย มีการตรวจสอบและประเมินความรู้ความ

๑. สร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนเกี่ยวช้องใน การจัดการศึกษาของโรงเรียน ให้มีความเข้มแข็ง มีส่วน ร่ ว มรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ผลการจั ด การศึ ก ษา และการ ขับเคลื่อนคุณภาพ การจัดการศึกษา ๒. ครูควรนาภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เข้ามามีส่วนร่วมใน การจัดกิจกรรมให้ นั กเรียนได้เรียนรู้และควรมีการให้ ข้ อ มู ล แก่ นั ก เรี ย นทั น ที เพื่ อ นั ก เรี ย นน าไปใช้ พั ฒ นา ตนเอง

๑. เพิ่ มการส ารวจ และการเข้าถึงภูมิ ปัญ ญาท้องถิ่ น และจัดกิจกรรมให้เกิดประโยชน์ให้กับนักเรียนเพิ่มขึ้น ๒. ให้นักเรียนเข้ามามีส่วนในการประเมินผลการเรียนรู้ โดยมีการกาหนดเกณฑ์อย่างชัดเจน


๓๗

จุดเด่น เข้าใจของนักเรียนอย่างเป็นระบบ ๖. ครูพัฒนาตนเองอยู่เสมอ มีความตั้งใจ มุ่งมั่น ในการ ปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มเวลาและความสามารถ ๗. ผู้ ป กครองและชุ ม ชนให้ ค วามร่ ว มมื อ ต่ อ การจั ด กิจกรรมการเรียนการสอนอย่างดี ๘. มีแหล่งเรียนรู้ ฐานการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ด้านการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล ผู้ บ ริ ห ารให้ ค วามส าคั ญ กั บ การด าเนิ น งานประกั น คุณภาพภายในของสถานศึกษา สร้างความเข้าใจและให้ ความรู้ ด้านการประกัน คุณ ภาพการศึกษากับคณะครู บุ ค ลากรทุ ก ฝ่ า ยที่ เ กี่ ย วข้ อ ง อย่ า งชั ด เจน เป็ น ประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

จุดควรพัฒนา

การดาเนินงานการส่งงาน เอกสารประกอบการประเมิน ติด ตาม ตรวจสอบ และสรุป รายงานผลในบางระดั บ ล่าช้า ไม่เป็นไปตามเวลาที่กาหนด ต้องมีการติดตาม ทบทวน อย่างต่อเนื่อง

แนวทางการพัฒนาในอนาคต ๑. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มุ่งให้นักเรียนได้รับการฝึกคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ อย่างต่อเนื่อง ฝึกการนาเสนอข้อมูล ทักษะการสื่อสารและการแก้ปัญหาตามสถานการณ์ที่กาหนด ๒. การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ของชุมชน ๓. การส่งเสริมให้ครูเห็นความสาคัญของการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีการจัดทาวิจัยในชั้น เรียนเพื่อนาผลมาพัฒนาผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้ได้เต็มศักยภาพ ๔. การพัฒนาบุคลากรโดยส่งเข้ารับการอบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในงานที่ได้รับมอบหมาย ติดตามผลการ นาไปใช้ และผลที่เกิดกับผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ๕. โรงเรี ย นมี ก าร ก ากั บ ติด ตาม การดาเนิ น งานโครงการ งาน กิ จกรรมของฝ่ ายและระดับ ชั้ น ให้ ดาเนินงานอย่างต่อเนื่องเพื่อส่งผลต่อการใช้งบประมาณ และการสรุปผลการใช้งบประมาณในแต่ละปี ทันการณ์ และเป็ น ปัจ จุบั น อีกทั้งสรรหางบประมาณเพิ่มเติมจากภายนอกโดยขอรับบริจาคเพื่อมีทรัพยากร ตามความ จาเป็นและเหมาะสม ความต้องการและการช่วยเหลือ ๑. การพัฒนาครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ ๒. การจัดสรรบุคลากรครูผู้สอนให้ตรงตามวิชาเอกที่โรงเรียนมีความต้องการและจาเป็น


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.