a014

Page 1

การศึกษาวัฒนธรรมบางนาที่ตั้งวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ศึกษาทีม่ าของคํา วัฒนธรรม ประเพณี จารีต สัจธรรม จริยธรรม เอกลักษณ ------------------“บางนา” อันเปนที่ตั้งของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก เปนชื่อตําบลเกามาแตกอน พื้นดิน เปนนาขาวอยูในเขตการปกครองของอําเภอพระโขนง เมืองนครเขื่อนขันธ ซึ่งสถาปนาขึ้นเมื่อ ป ๒๓๕๗ แตเดิมทีแผนดินบริเวณนี้เปนที่ตั้งของเมืองพระประแดง (ซึ่งยังมีกําแพงเมืองอยูที่ ตําบลราษฎรบูรณะคลองเตย) บางนาถูกยกฐานะเปน “แขวงบางนา” เมื่อประชากรเพิ่มมากขึ้น และ ไดยกฐานะเปนอําเภอหรือเขต ชื่อ “เขตบางนา กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๐” นี่เอง สถานะภาพทางสังคมของตําบลนี้ ที่เปนสัญลักษณเดนชัด คือ วัฒนธรรมทองถิ่นบางนา คือ วัฒนธรรมการทํานา มีวิถีชีวิตของชาวนาปลูกขาวในอดีต เอกลักษณบางนา คือ การทํานาขาว ขาวคือชีวิต สัญลักษณของวิทยาลัย คือ รวงขาวประคองดวงปญญาคือคบเพลิง พันธกิจเดิมตามพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยฯคือ สอน วิจัย ใหบริการ ทางวิชาการแกสังคม และทํานุบํารุงศิลปะวัฒนธรรม เปนไปตามกฎหมายเดิม เมื่อมีการปฏิรูป ระบบการศึกษาป ๒๕๔๐ ไดกําหนดพันธกิจแตละดานใหชัดเจนยิ่งขึ้น ดานทํานุบํารุงศิลปะและ วัฒนธรรม มีพันธกิจที่จะตองสรางเอกลักษณของวิทยาลัยที่สะทอนถึงภูมิปญญาทองถิ่น วิถีชีวิต ชุมชนและประเพณีทองถิ่น และเอกลักษณที่สรางจะตองเปนที่ยอมรับของชุมชนดวย สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ไดกําหนด พันธกิจหลักดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมไวดังนี้ 4.มาตรฐานดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม การอนุรักษสืบสาน พัฒนา เผยแพรเอกลักษณศิลปะและวัฒนธรรม ภูมิปญญาไทย ภูมิปญญาทองถิ่น อันเปนมรดกไทย และการบูรณาการในการผลิตบัณฑิต การวิจัย และการบริการวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้ง สรางสรรคและสงเสริมภูมิปญญาไทยใหเปนรากฐานของการพัฒนาองคความรูที่สามารถพัฒนาสูสากล

บางนาในอดีตเมื่อ ๕๐ ปที่แลวมานี้เอง พื้นที่ทั้งหมดทํานา ประชากรประกอบดวยคนจีน อยูในแหลงชุมชนคาขาย คนสยาม คนมอญและคนลาวเปนสวนใหญ เลี้ยงชีพดวยการทํานาขาว ขา วคื อชี วิ ต ก อให เ กิ ด วัฒ นธรรมประเพณี จารีต และวิถีชี วิต ผู ก พัน อยูกับข าว เป น วั ฒ นธรรม เกษตรกรรมทํานาขาว ทั้งดานความเปนอยู ความเชื่อ พิธีกรรม การดําเนินชีวิตและวัฒนธรรม การทํางาน


ชาวบางนา อยูรวมกันเปนกลุม ๆ ๘ หมูบาน สวนมากเปนพี่นองเครือญาติและผูพักอาศัย ประชากรไมเกิน ๒,๐๐๐ คน เมื่อความเจริญแบบสมัยใหมแผมาถึง มีการตัดถนนสรางทางคมนาคมสายสําคัญหลายสาย เชื่อมตอกับพระนครหลวงและเมืองสําคัญเปน”ประตูสูบูรพาวิถี” ประชากรจากทุกภูมิภาค หลากหลายอาชี พ ไหลบ า เข า มาครอบครองที่ ดิ น ทํ า การอุ ต สาหกรรมขนาดใหญ เกิ ด หมู บ า น จัดสรรคเพื่อการอยูอาศัย การพาณิชย การศึกษาและบริการทุกประเภท สภาพที่ดินที่เคยใชทํานา แปรเปลี่ยนไป วัฒนธรรมดั้งเดิมและวิถีชีวิตถูกกระทบอยางแรง เริ่มเลือนหายไปในชวงไมกี่ปมานี้ เองเปนพันธกิจของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอกที่จะตอง “อนุรักษ สืบสาน พัฒนา เผยแพรศิลปะและวัฒนธรรม ภูมิปญญาไทย ภูมิปญญาทองถิ่น (บางนา)อันเปนมรดกไทย….” ใหเปนไปตามมาตรฐานดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม (หัวขอที่ 4) แบบอยางการศึกษา : ใชแบบอยางการศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฎอันมีที่ตั้งอยูในวังสวน สุนันทาสวนดุสิต ซึ่งศึกษาและสรางเอกลักษณตลอดจนอนุรักษวัฒนธรรมชาววัง ซึ่งสูญไปแลว เมื่อ๕๐ ปกอน ฟนฟูขึ้นมาใหมโดยใชแบบอยางวิถีชีวิตชาววัง มีวัฒนธรรมภูมิปญญาดานอาหาร ชาววัง การแตงกาย ศิลปะการจัดดอกไม การทําเครื่องของหอมอันเปนวิถีชีวิตชาววัง เปนตน วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ตั้งอยูในเขตตําบลบางนา โฉนดที่ตั้งออกใหโดยเมืองนคร เขื่อนขันธ จะไดศึกษา,สรางเอกลักษณและอนุรักษวัฒนธรรมชาวนา ประชากรบางนา ชาวเมือง นครเขื่อนขันธที่มีวิถีชีวิตทํานา ซึ่งก็ไดสูญไปแลว เมื่อ ๕๐ ปกอน มีวัฒนธรรมปจจัย ๔ ดานที่อยู อาศัย เครื่ องนุ ง หม การแต ง กาย อาหาร ยารัก ษาโรค ศาสนา ความเชื่อ ศิ ล ปะและสั น ทนาการ การละเลน เพื่อสงเสริมความเขาใจ ความภาคภูมิใจในวิถีชีวิต และภูมิปญญาบรรพชน สองฝงคลอง บางนา นับแตเปดดําเนินการ สํานักศิลปวัฒนธรรมของวิทยาลัยฯสงเสริมและจัดกิจกรรมเขา ร ว มกั บ ชุ ม ชนอย า งแข็ ง ขั น อย า งเต็ ม ที่ ทุ ก เทศกาลงานบุ ญ นั ก ศึ ก ษาสมาชิ ก ชมรมศิ ล ปะและ วัฒนธรรมจํานวนมาก แตงการชุดไทยประเพณี ชุดไทยพื้นถิ่น เขารวมขบวนอัญเชิญสัญลักษณ ของงาน เชนการแหเทียนพรรษา เทศกาลลอยกระทง ประเพณีสงกรานต รดน้ําขอพรผูอาวุโสใน ทองถิ่น งานวันนพไหวบูรพคณาจารย มีการใชวงคนตรีของวิทยาลัยรวมนําขบวน ชวยใหงานของ ชุมชนมีความสํา คั ญเปนการอนุ รักษ และสืบสานประเพณีมี ภาพประกอบแสดงวันเวลาการจัด กิจกรรมเปนหลักฐานจํานวนมาก คณะกรรมการรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ไดมา ประเมินคุณภาพการศึกษาครั้งสอง ไดเสนอจุดเดนและขอเสนอเพื่อการพัฒนาวิทยาลัยฯ เมื่อวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๔๙ มีขอเสนอ วา


4. ดานศิลปะและวัฒนธรรม “ ควรทําความเขาใจความหมายของศิลปวัฒนธรรมใหถูกตองตรง และการสราง เอกลักษณของวิทยาลัยก็ควรจะเปนเอกลักษณที่สามารถสะทอนถึงภูมิปญญาทองถิ่น วิถีชีวิตของ ชุมชนและประเพณีทองถิ่น และเอกลักษณที่สราง ควรจะเปนที่ยอมรับของชุมชนดวย” ภาควิชาการ : วิทยาลัยไดศึกษาและทําความเขาใจความหมายของคําและกิจกรรม ประกอบ ดังนี้ วัฒนธรรม หมายถึง สิ่งที่ทําความเจริญงอกงามใหแกหมูคณะ เชน วัฒนธรรมไทย,วัฒนธรรมใน การแตงกาย,วิถีชีวิตของหมูคณะ เชน วัฒนธรรมพื้นบาน,วัฒนธรรมชาวเขา :: พจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ น.๑๐๕๘ วัฒนธรรม หมายถึง วิถีชีวิตที่ที่มนุษยไดคิดสรางขึ้น โดยอาศัยการเรียนรูและสืบทอดเพื่อ แกปญหาในการดํารงอยูและตอบสนองความตองการทางรางกาย จิตใจ สังคม ปฏิบัติกันมาจนเปน ปกติวิสัย วัฒนธรรมหมูบาน หมายถึง เรื่องราวการดําเนินชีวิตของกลุมชนในหมูบานที่สะทอนให เห็นลักษณะความเปนอยูในดานตาง ๆ เชนการเลือกทําเลที่อยูอาศัย การประกอบอาชีพ การแตงกาย การแพทย ความเชื่อ ประเพณี การละเลน ศิลปกรรม เครื่องมือเครื่องใชของประชาชน ในหมูบาน ในชุมชนที่ไดสรางสรรค สั่งสมและสืบทอดกันมา ประเพณี น. สิ่งที่นิยมถือประพฤติปฏิบัติสืบ ๆ กันมาจนเปนแบบแผน ขนบธรรมเนียม หรือจารีต ประเพณี. ประเพณีนิยม น.ประเพณีของสังคมที่ถือปฏิบัติสืบทอดกันมา. :: พจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ น.๖๖๓ จารีตประเพณี น. ประเพณีที่นิยมและประพฤติกันสืบมา ถาฝาฝนถือวาเปนผิดเปนชั่ว เชน.หญิงชาย รักชอบพอกันตองสูขอแตงงาน ถาฝาฝน ถือวาผิดจารีตประเพณี . รีต แปลวาเยี่ยงอยาง,แบบแผน, เชน. เขารีต, นอกรีต จารีต ถือวาตองปฏิบัติ วิถีชีวิต น.ทางดําเนินชีวิต เชนวิถีชีวิตชาวบาน เปนสิ่งที่ควรปฏิบัติ ไมปฏิบัติก็ได วัฒนธรรม : จึงเปนสิ่งที่ดีงาม สิ่งที่เจริญ เปนการปลูกฝงสิ่งที่ดีงามใหตนเอง แกหมูคณะ สวน ประเพณี เปนพฤติกรรมของประชาชน เปนแบบแผน มีกําหนดเวลาปฏิบัติ ทั้งตัวบุคคลและสถานที่ เชนประเพณีลอยกระทง แหเทียนพรรษา ประเพณีไหวครู แหผาขึ้นธาตุ เปนตน (ชึ่งจะไดรวบรวมความหมายของวัฒนธรรมประเพณี เพื่อการศึกษาอีกครั้งหนึ่ง.) จริยธรรม : จริยธรรมคืออะไร ก็คือการที่จะทําใหชีวิตดําเนินไปดวยดี หรือหลักการดําเนินชีวิตที่ดี ประกอบดวยสามดานของชีวิต คือพฤติกรรม จิตใจ และปญญา ซึ่งจะตองเอามาประสานกันใหเปน องครวมใหได เพราะคนเราเรียนรูจากสามดานนี้มาประสานกัน แตละดานก็มีการเรียนรู (พระธรรม ปฎก ป.อ.ปยุตโต : กระบวนการเรียนรู เพื่อพัฒนาคนสูประชาธิปไตย หนา57 )


ที่มาของ วัฒนธรรม สัจธรรม จริยธรรม และเอกลักษณ ฐานและแกนสารของวัฒนธรรม วัฒนธรรมนี้ วาที่จริงก็เปนเรื่องของรูปแบบ คือสภาพที่ปรากฏขึ้นภายนอกโดยสวนมาก วัฒนธรรมที่เปนรูปปรากฏหรือเปนรูปแบบนี้ จะมีแกนสารแทจริง ก็จะตองมีตัวความจริงที่ลึกซึ้ง ลงไปรองรับ ระดับที่เปนฐาน เปนรากที่สุดไดแก สัจธรรม สัจธรรมคือตัวความจริงที่มีอยูตามธรรมดา ของธรรมชาติ สัจธรรมนี้เปนฐานเริ่มตนที่รองรับวัฒนธรรมไว ตอจากสัจธรรม ก็คือสิ่งที่เรียกวา จริยธรรม อันไดแกหลักเกณฑความดีงาม ซึ่งเปนความ จริงที่มนุษยจะตองปฏิบัติตองดําเนินการ เพื่อใหเกิดผลสําเร็จตามความเปนจริงของธรรมชาติ ความ จริงของมนุษยตองสอดคลองกับความจริงของธรรมชาติ จึงจะเกิดผลสําเร็จไดดวยดี จากนั้นจึงจะมาถึง วัฒนธรรม วัฒนธรรมซึ่งเปนรูปแบบหรือเปนวิธีปฏิบัติที่จะใหเกิดผล ตามที่มนุษยตองการ จากวัฒนธรรม ประพฤติปฏิบัติ จนติดเปนนิสัยฝงรากลึกเปน เอกลักษณ ของวัฒนธรรม เปนรูปแบบตาง ๆ อันมีลักษณะเดนตางจากสังคมอื่น เอกลักษณ เกิดขึ้นมาจากวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของสังคมปรากฏขึ้นเปนรูปลักษณะเปน แบบแผนจําเพาะของวัฒนธรรม หรือวัฒนธรรมจําเพาะของชุมชน-สังคมและประเทศชาติ (พระธรรมปฎก ป.อ.ปยุตโต : สืบสานวัฒนธรรมไทย บนฐานแหงการศึกษาที่แท หนา ๕–๑๑) เกณฑตรวจสอบวา เปนวัฒนธรรมหรือไม? ๑. ดูวา วัฒนธรรมนั้น ตั้งอยูบนฐานแหงสัจธรรม มีเนื้อหาสาระและมีเหตุผลตามความ เปนจริงของธรรมชาติหรือไม ถาวัฒนธรรมนั้นไมมีความจริงตามธรรมชาติรองรับอยู ไมมีความ เปนเหตุเปนผล วัฒนธรรมนั้นก็ขาดฐานที่มั่นคง ไมสําเร็จผลดี และไมสามารถดํารงอยูไดยั่งยืนนาน ๒. ดูวา มีความดีงามอยูในวัฒนธรรมนั้นหรือไม รูปแบบที่ปรากฏที่เราดํารงรักษาและ ยึ ด ถื อ ปฏิ บั ติ เ ป น วิ ถี ชี วิ ต ของสั ง คมนั้ น มี ค วามดี ง าม เช น มี ก ารปฏิ บั ติ ที่ ไ ม เ บี ย ดเบี ย นตน ไม เบียดเบียนผูอื่นหรือไม คือสอดคลองกับจริธรรม ๓. ดูวา วัฒนธรรมที่เปนรูปแบบและเปนวิธีการนั้น ไดผลหรือไมและมากนอยเพียงใด ในการที่จะใหสําเร็จความตองการตามกระบวนการของธรรมชาติ ๔. ดูวา วัฒนธรรมที่เปนรูปแบบวิธีการนั้น เหมาะสมกับสภาพแวดลอมคือกาลเทศะ หรือไม เขากับยุคสมัยและถิ่นฐานบานเมืองที่เปลี่ยนแปลงไปหรือไม ถาวัฒนธรรมไมเหมาะสมไม สอดคลองกับสภาพแวดลอม ไมใหผลตามหลัก สัจธรรมและจริยธรรม วัฒนธรรมนั้นก็จะเสื่อม สลายไป


๕. ดู ว า วั ฒ นธรรมที่ เ ป น รู ป แบบนั้ น เข า กั บ ตั ว เราไหม เข า กั บ สั ง คมของเราไหม เหมาะสมกับสังคมของเราไหม กระทบตอผลประโยชนของสังคมของเราหรือเปลา เชนวัฒนธรรม จากภายนอกที่เขามา บางทีทําใหเกิดความเสียหายแกสังคมของเรา ๖. ดูวา รูปแบบวัฒนธรรมนั้นมีลักษณะที่นาชื่นชม ชวนนิยม มีความตื่นตาตื่นใจเรา ความสนใจแคไหนเพียงไรเปนสําคัญ วัฒนธรรมตางประเทศที่แผขยายเขามาและเสื่อมสลายไป อยางรวดเร็ว อยูในขอนี้ เชน วัฒนธรรมฮิบป วัฒนธรรมเครื่องดื่มและอาหารการกิน วัฒนธรรมการ แตงกายและทรงผม เปนตน ซึ่งจะไดวิเคราะหและนําเสนอในเชิงวิชาการตอไป

------------------


บรรณานุกรม พระธรรมปฎก(ประยุทธ ปยุตโต). สืบสานวัฒนธรรมไทยบนฐานแหงการศึกษาที่แท . กรุงเทพฯ : สหธรรมิก.


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.