รายงานประเมินตนเอง 2553

Page 1


คํานํา รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2553 จัดทําขึ้นเพื่อเป็ น ข้อ มู ล สํ า หรั บ การประเมิ น คุ ณ ภาพภายในของวิ ท ยาลัย เซาธ์ อี ส ท์บ างกอก เพื่ อ เสนอต่ อ สํ า นั ก งาน คณะกรรมการการอุด มศึ กษา และเปิ ดเผยต่ อสาธารณชนเพื่อนําไปสู่ การพัฒนาคุ ณภาพและมาตรฐาน การศึกษาต่อไป รายงานนี้ ประกอบด้วย 3 ส่ วน คือ บทที่ 1 ข้อมูลเบื้องต้นของวิทยาลัย บทที่ 2 ผลการประเมิน ตนเองตามตัวบ่งชี้คุณภาพ 9 องค์ประกอบ ตามเกณฑ์ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และส่ วนที่ 3 ภาคผนวก รายงานการประเมินตนเองฉบับนี้ นอกจากจะแสดงถึงสัมฤทธิ ผลในการดําเนิ นงานแล้วยังเป็ น ข้อมูลในการวางแผนการดําเนินงานในปี การศึกษาต่อไปด้วย

วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก สิ งหาคม 2554


สารบัญ

คํานํา บทสรุ ปสําหรับผูบ้ ริ หาร บทที่ 1 ข้ อมูลเบือ้ งต้ นของวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก 1.1 ประวัติความเป็ นมาและสภาพปัจจุบนั 1.2 ปรัชญา ปณิ ธาน วิสยั ทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์และแผนงาน

ก 2 3

1.3 โครงสร้างการบริ หารงาน

5

1.4 รายชื่อผูบ้ ริ หารชุดปั จจุบนั

6

1.5 คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

11

1.6 หลักสู ตรและสาขาวิชาที่ปิดสอน

11

1.7 คณาจารย์

12

1.8 นักศึกษา

14

1.9 งบประมาณ

14

1.10 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา

15

1.11 การประเมินคุณภาพการศึกษา ประจําปี การศึกษา 2552

15

บทที่ 2 ผลการประเมินตามตัวบ่ งชี้ของ สกอ. องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิ ธาน วัตถุประสงค์และแผนดําเนินการ องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา องค์ประกอบที่ 4 การวิจยั องค์ประกอบที่ 5 การบริ การวิชาการแก่สงั คม องค์ประกอบที่ 6 การทํานุบาํ รุ งศิลปะและวัฒนธรรม องค์ประกอบที่ 7 การบริ หารและการจัดการ องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

20 24 46 51 66 73 76 89 92


บทที่ 3 สรุปผลการประเมินและแนวทางการพัฒนา (โดยคณะกรรมการผูป้ ระเมินจาก สกอ.) ภาคผนวก - ตาราง ส. 1 ผลการประเมินรายงานตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพ - ตาราง ส. 2 ผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบคุณภาพ - ตาราง ส. 3 ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการอุดมศึกษา - ตาราง ส. 4 ผลการประเมินตนเองตามมุมมองด้านการบริ หารจัดการ - ตาราง ส. 5 ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา - ข้อมูลพื้นฐาน วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ประจําปี การศึกษา 2553

100


บทสรุปสํ าหรับผู้บริหาร

วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก จัดตั้งขึ้นด้วยความสํานึ กในพระคุณของแผ่นดิ นที่เป็ นคุณค่า ของการศึ ก ษาโดยได้รั บ อนุ ม ัติ จ ัด ตั้ง เมื่ อ วัน ที่ 29 มี น าคม 2542 และได้รั บ รองวิ ท ยฐานะ สถาบันอุดมศึ กษา เอกชนเมื่ อวันที่ 3 มีนาคม 2543 ซึ่ งทําให้วิทยาลัยสามารถเปิ ดดําเนิ นการ หลักสู ตรแรก คือ หลักสู ตรบริ หารธุ รกิจบัณฑิต ใน 3 สาขาวิชา ได้ต้ งั แต่ภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา 2543 ปั จจุบนั วิทยาลัยมีโครงสร้างการจัดองค์กรเป็ น 5 คณะ เปิ ดดําเนินการหลักสู ตรระดับ ปริ ญญา โท 2 หลักสู ตร 3 สาขาวิชา ปริ ญญาตรี 4 หลักสู ตร 7 สาขาวิชา มีคณาจารย์ท้ งั สิ้ น 74 คน จําแนกเป็ น คุณวุฒิปริ ญญาเอก 18 คน ปริ ญญาโท 55 คน และปริ ญญาตรี 1 คน ในปี การศึกษา 2553 มีนกั ศึกษา จํานวนรวมทั้งสิ้ น 2,344 คน ในจํานวนนี้ รวมนักศึ กษาระดับปริ ญญาโท จํานวน 100 คน โดย วิทยาลัยมุ่งผลิ ตบัณฑิ ตที่ มีคุณภาพตามปรั ชญาและปณิ ธานของวิทยาลัย อี กทั้งบัณฑิ ตที่ สําเร็ จ การศึกษาจะต้องมีคุณสมบัติพึงประสงค์ ดังนี้ 1. มีความรู ้ ความชํานาญในศาสตร์เฉพาะสาขาหรื อวิชาเอก 2. มีความรู ้ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิ ทธิภาพ 3. มีความรู ้ ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่ อสารได้เป็ นอย่างดี 4. มีคุณธรรม จริ ยธรรม ตลอดจนความเป็ นไทย ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของวิทยาลัย ทั้ง 9 องค์ประกอบ มีดังนี้ องค์ ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนการดําเนินงาน ผลการประเมินอยูใ่ นระดับดีมาก บรรลุเป้ าหมายของวิทยาลัย ทั้งนี้สาํ นักยุทธศาสตร์ฯ ต้อง หมัน่ ติดตามดูแล ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนิ นงานตามแผน โครงการและกิจกรรมต่าง ๆ อย่าง สมํ่าเสมอ องค์ ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ผลการประเมินอยู่ในระดับดี ทั้งนี้ สัดส่ วนของอาจารย์ที่ดาํ รงตําแหน่ งทางวิชาการมีนอ้ ย ควรผลักดันให้อาจารย์ทาํ ผลงานทางวิชาการอย่างจริ งจัง เพื่อเข้าสู่ ตาํ แหน่ งทางวิชาการ และเพิ่มสัดส่ วน อาจารย์ที่มีวุฒิปริ ญญาเอก สําหรั บผูเ้ รี ยนควรพัฒนาหลักสู ตรโดยมุ่งเน้นการเรี ยนภาษาต่างประเทศให้ เข้มข้นมากขึ้นเพื่อเตรี ยมพร้อมเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน


องค์ ประกอบที่ 3 กิจกรรมพัฒนานักศึกษา ผลการประเมินอยู่ในระดับดี มาก โดยวิทยาลัยมีกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษาหลากหลาย กิจกรรมมีการให้บริ การข้อมูลข่าวสารแก่ศิษย์เก่า ส่ งเสริ มให้นักศึกษานําวงจรคุณภาพ (PDCA) ไปใช้ใน การจัดโครงการ / กิจกรรม และมีการวัดความสําเร็ จของโครงการ / กิจกรรม ครบทุกโครงการ / กิจกรรม องค์ ประกอบที่ 4 การวิจัย ผลการประเมินอยู่ในระดับดีมาก วิทยาลัยให้การสนับสนุ นการทําวิจยั และคณาจารย์ให้ ความสําคัญต่อการวิจยั มากขึ้น ทั้งนี้ควรสร้างเครื อข่ายการวิจยั กับสถาบันอื่น องค์ ประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแก่ สังคม ผลการประเมินอยู่ในระดับดี มาก วิทยาลัยจัดให้มีการบริ การทางวิชาการแก่ สังคมอย่าง สมํ่าเสมอโดยเฉพาะในเรื่ องที่คณะและสาขาวิชาต่าง ๆ มีความชํานาญ รวมทั้งวิทยาลัยยังเอื้อให้ประชาชน บางนาใช้สถานที่ดาํ เนินกิจกรรมต่าง ๆ หรื อใช้วิทยาลัยเป็ นแหล่งแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ องค์ ประกอบที่ 6 การทํานุบํารุ งศิลปะและวัฒนธรรม ผลการประเมินอยูใ่ นระดับดีมาก วิทยาลัยพยายามสร้างฐานข้อมูลและองค์ความรู ้ในเรื่ อง ศิลปวัฒนธรรมของชุมชนท้องถิ่น (บางกอกอุษาคเนย์) มีการจัดสร้างชิ้นงานทางวัฒนธรรมให้เป็ นรู ปธรรม มีการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์กิจกรรมของศูนย์ศิลปวัฒนธรรม และสามารถบูรณาการ พันธกิจด้านการทํานุ บํารุ งศิลปวัฒนธรรม เข้ากับพันธกิจด้านการเรี ยนการสอน การวิจยั และการบริ การทางวิชาการแก่สังคม อย่างเป็ นรู ปธรรม องค์ ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ ผลการประเมินอยูใ่ นระดับดีมาก สภาวิทยาลัยและผูบ้ ริ หารมีวิสัยทัศน์ที่จะขับเคลื่อนพันธ กิจต่าง ๆ ของวิทยาลัยไปสู่ เป้ าหมายตามแผนยุทธศาสตร์ ของวิทยาลัย สิ่ งที่ตอ้ งพัฒนาคือ การติดตามและ ประเมินผลการดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ของวิทยาลัย องค์ ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ ผลการประเมิ นอยู่ในระดับดี มาก วิทยาลัยมีระบบและกลไกการตรวจสอบการเงิ นและ งบประมาณ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ รวมทั้งมีการใช้ทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันร่ วมกัน ทําให้เกิด การใช้ทรัพยากรอย่างคุม้ ค่า องค์ ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ผลการประเมิ น อยู่ใ นระดับดี มาก โดยคณะกรรมการประกัน คุ ณ ภาพทุ ก ระดับ ทํา งาน ประสานกันดี รวมทั้งได้รับการสนับสนุ นทุกด้านจากฝ่ ายบริ หาร แต่กระบวนการทํางานด้านการประกัน คุณภาพค่อนข้างล่าช้า ไม่เป็ นไปตามแผนงานที่กาํ หนดไว้


3


บทที่ 1 ข้ อมูลเบือ้ งต้ นของ วิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก


2

บทที่ 1 ข้ อมูลเบือ้ งต้ นของ วิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก 1.1 ประวัติความเป็ นมา และสภาพปัจจุบัน วิ ท ยาลั ย เซาธ์ อี ส ท์ บ างกอก ตั้ งอยู่ เ ลขที่ 290 ถนนสรรพาวุ ธ แขวงบางนา เขตบางนา กรุ งเทพมหานคร 10260

โทรศัพท์ 0-2398-1352, 0-2744-7356-68 โทรสาร 0-2398-1356 เว็บไซต์

: www.southeast.ac.th อีเมลล์: info@southeast.ac.th ด้ว ยสํ า นึ ก ในพระคุ ณ ของแผ่ น ดิ น อัน มี คุ ณ านุ กู ล ต่ อ ตระกู ล นายเพิ่ ม – นางละออง รุ่ ง เรื อ ง จนก่อให้เกิดความเจริ ญก้าวหน้าในชีวิต และการงานสื บเนื่องต่อกันมาหลายชัว่ ชีวิต ในเขตพื้นที่บางนา อัน เป็ นเขตชานเมื องด้านตะวันออกเฉี ยงใต้ของกรุ งเทพมหานคร ประกอบกับความตระหนักในคุ ณค่าของ การศึกษาที่ดีมีคุณภาพสู งเท่านั้น ที่ประชาชนชาวไทยควรได้รับ จึงจะก่อให้เกิดการพัฒนาสถาพรอย่างยัง่ ยืน แก่แผ่นดินและมวลมนุษยชาติ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ถือกําเนิ ดขึ้นมาด้วยปณิ ธานแน่วแน่ในการสร้าง คนไทยให้เป็ นมนุษย์ที่มีศกั ยภาพและสมรรถนะระดับสากล วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก (Southeast Bangkok College) ได้รับอนุญาตจัดตั้งเมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2542 และทบวงมหาวิทยาลัย (สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา: สกอ. ในปั จจุบนั ) ได้อนุ ญาตให้ เปิ ดดําเนิ นการ หลักสู ตรบริ หารธุรกิจบัณฑิตใน 3 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการตลาดและ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ รวมทั้งให้การรับรองวิทยฐานะสถาบันอุดมศึกษาเอกชน เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2543 ซึ่ งมี ผ ลทํา ให้ วิ ท ยาลัย สามารถเปิ ดดํา เนิ น การเรี ยนการสอนได้ ใ นภาคการศึ ก ษาแรกของ ปี การศึกษา 2543 ต่อมาในปี การศึ กษา 2544 วิทยาลัยได้เปิ ดดําเนิ นการเรี ยนการสอนคณะนิ ติศาสตร์ และบัณฑิ ต วิทยาลัย หลักสู ตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิ ต สาขาวิชาบริ หารการศึกษา และในปี การศึกษา 2545 ได้เปิ ด ดําเนิ น การเรี ยนการสอนคณะศิลปศาสตร์ หลักสู ตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุ รกิจ และ เปิ ดสอนระดับบัณฑิตศึกษาเพิ่มอีก 1 หลักสู ตร คือ หลักสู ตรบริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต ต่อมาในปี การศึกษา 2548 บัณฑิ ตวิทยาลัยได้เปิ ดการเรี ยนการสอน เพิ่มอี ก 2 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาการจัดการโลจิ สติกส์


3

(Logistics Management) และหลักสู ตรการจัดการมหาบัณฑิต (Master of Management) สาขาวิชาการ จัดการภาครัฐและภาคเอกชน (Public and Private Management) ในปี การศึ ก ษา 2549 วิ ทยาลัย ได้เ ปิ ดดําเนิ น การเรี ย นการสอนคณะวิทยาศาตร์ แ ละเทคโนโลยี หลัก สู ต รวิทยาศาสตรบัณ ฑิ ต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และเพิ่มสาขาวิชาใหม่ อี ก 1 สาขาวิชา ในคณะบริ หารธุรกิจ คือ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ 1.2 ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ และแผนงาน 1.2.1 ปรัชญา คุณวุฒิ คุณธรรม คุณค่ า หมายความว่าบัณฑิตของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก จะต้องเป็ นผูท้ ี่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์อยู่ 3 ประการใหญ่ๆ คือ คุณวุฒิ หมายความว่า บัณฑิตของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก จะต้องถึงพร้อมในด้านวิทยาการต่างๆ เป็ นอย่างดี มีความรู ้แตกฉานในสาขาวิชาที่ได้ศึกษา มีสมรรถนะสู งระดับสากล สามารถนําองค์ความรู ้ที่ได้ ศึกษาเล่าเรี ยนไปประกอบอาชีพให้เกิดประโยชน์ท้ งั ต่อตนเอง สังคม และประเทศชาติได้เป็ นอย่างดี คุณธรรม หมายความว่า บัณฑิตของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก จะต้องมีจรรยาบรรณแห่ งวิชาชีพ มีจริ ยธรรม มุ่งมัน่ ในการสร้างสรรค์ความเจริ ญให้แก่องค์กร มีน้ าํ ใจ มีความรับผิดชอบ มีความเสี ยสละ และ มีความจงรักภักดี ต่อองค์กรที่ปฏิบตั ิหน้าที่อยู่ คุณค่ า หมายความว่า บัณฑิตของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก จะต้องเป็ นทรัพยากรมนุ ษย์ที่มีค่าทั้ง ต่อองค์กร และต่อประเทศชาติ 1.2.2 ปณิธาน วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก มีปณิ ธานแน่ วแน่ ในการพัฒนาศักยภาพของมนุ ษย์ให้มีสมรรถนะสู ง ระดับสากล โดยเฉพาะในศาสตร์ที่วิทยาลัยเปิ ดดําเนิ นการหลักสู ตร วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอกจะพัฒนาขีด ความสามารถของคณาจารย์ ทรั พ ยากรเพื่ อ การเรี ยนการสอนการวิ จ ั ย และเทคโนโลยี เ พื่ อ การจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและมาตรฐานสู งแก่ประชาชน


4

1.2.3 วิสัยทัศน์ SBC เป็ นสถาบันการศึกษาที่มีสมรรถนะสู ง ดําเนิ นภารกิจที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล ด้วยการ บริ หารจัดการที่ดี มีคุณธรรมตามหลักธรรมาภิบาล 1.2.4 พันธกิจ พันธกิจหลักของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก คือ การผลิตบัณฑิต การวิจยั การให้บริ การทางวิชาการแก่ สังคม การทํานุบาํ รุ งศิลปวัฒนธรรม เพื่อให้เป็ นสถาบันการศึกษาชั้นนําระดับสากลที่มีคุณค่าต่อสังคม 1.2.5 อัตลักษณ์ สถาบัน “ ความรู ้คู่คุณธรรม สร้างสรรค์สงั คม ” 1.2.6 เอกลักษณ์ ของสถาบัน “สร้างสรรค์สงั คม ” 1.2.7 วัตถุประสงค์ และแผนงาน วัตถุประสงค์หลัก ในการจัดการศึกษาของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก คือ การผลิตบัณฑิตให้มี คุณสมบัติที่พึงประสงค์ 4 ประการ คือ 1) มีความรู ้ ความชํานาญในศาสตร์ที่ศึกษา 2) มีความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่ อสารได้เป็ นอย่างดี 3) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ 4) มีคุณธรรม จริ ยธรรม และจรรยาบรรณ ตลอดจนความเป็ นไทย แผนงาน ในปี การศึกษา 2553 นี้ วิทยาลัยได้ดาํ เนิ นงานตามภารกิ จต่างๆ ดังที่ปรากฏอยู่ในแผนพัฒนา วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2553 – 2556)


5

1.3 โครงสร้ างการบริหารงาน โครงสร้ างการบริหารวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก สภาวิทยาลัย สภาวิชาการ อธิการบดี

ทีป่ รึกษา

กรรมการบริหารวิทยาลัย สํ านักอธิการบดี

รองอธิการบดี ฝ่ ายบริหาร สํานักการคลัง สํานักบริ การ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ

รองอธิการบดี ฝ่ ายวิชาการ

รองอธิการบดี ฝ่ ายวางแผนและพัฒนา

บัณฑิตวิทยาลัย สํานักวิจยั และวางแผน คณะบริ หารธุรกิจ ฝ่ ายวิเทศสัมพันธ์ คณะนิติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักวิชาการ สํานักประกันคุณภาพการศึกษา สํานักทะเบียนและประมวลผล สํานักวิทยบริ การ

รองอธิการบดี ฝ่ ายกิจการนักศึกษา และกิจการพิเศษ สํานักกิจการนักศึกษาและ กิจการพิเศษ สํานักประชาสัมพันธ์และ การตลาด ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม


6

1.4 รายชื่อผู้บริหารชุ ดปัจจุบัน

คณะกรรมการสภาวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก 1.4.1. สภาวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก มี อาํ นาจและหน้าที่ ในการควบคุ มดู แลกิ จการทัว่ ไปของวิทยาลัย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การวาง

นโยบายเกี่ยวกับการศึกษา การวิจยั การให้บริ การทางวิชาการแก่สังคม การทํานุ บาํ รุ งศิลปวัฒนธรรม การเงิน และทรัพย์สิน การออกระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ การแต่งตั้ง การถอดถอนผูบ้ ริ หาร และการอนุมตั ิปริ ญญา ดังมี รายชื่อต่อไปนี้ นายกสภาวิทยาลัย นายชนะ รุ่งแสง คุณวุฒิ พาณิ ชยศาสตรดุษฎีบณั ฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประสบการณ์ อดีต

รองประธานกรรมการอํานวยการ บมจ.ธนาคารกสิ กรไทย

ปัจจุบัน สมาชิกสภาที่ปรึ กษาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ

อุปนายกสภาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ ดร.วรภัทร โตธนะเกษม คุณวุฒิ Ph.D. (Economics) University of IIIinois, U.S.A. ประสบการณ์ อดีต ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การธนาคารกสิ กรไทย ศาสตราจารย์พิเศษ คณะพาณิ ชยศาสตร์ และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการผูจ้ ดั การบริ ษทั THAI RATING INFORMATION SERVICES (TRIS)


7

กรรมการสภาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ เกียรติคุณ ดร.ไพบูลย์ ช่ างเรียน คุณวุฒิ Ph.D.(Political Science) Syracuse University ประสบการณ์ อดีต คณบดีคณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ ปัจจุบัน นายกสภามหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีเอเชีย

รองศาสตราจารย์ นาวาเอก ยุทธนา ตระหง่ าน คุณวุฒิ M.S.(Computer Science) Florida Institute of Technology U.S.A. ปริ ญญาบัตร วิทยาลัยป้ องกันอาณาจักร รุ่ นที่ 49 ประสบการณ์ อดีต ประธานคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยศรี ปทุม ปัจจุบัน รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง รองศาสตราจารย์ ดร.เอกชัย แสงอินทร์ คุณวุฒิ Ph.D.(Electrical&Electronic Engineering) Imperial College, University of London ประสบการณ์ อดีต รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปัจจุบัน อาจารย์ประจําภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้ า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รองศาสตราจารย์ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ คุณวุฒิ Ph.D. (Public Ad.) Northern IIIinois University U.S.A. ประสบการณ์ อดีต ผูช้ ่วยอธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจุบัน เลขาธิการสํานักงานพัฒนาระบบราชการ


8

รองศาสตราจารย์ วริ ัช สงวนวงศ์ วาน คุณวุฒิ Master of Commerce พาณิ ชยศาสตร์มหาบัณฑิต (M.Com) University of New South Wales, Australia ประสบการณ์ อดีต รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนา มหาวิทยาลัยรามคําแหง ผูอ้ าํ นวยการบัณฑิตศึกษา คณะบริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคําแหง นายเชนทร์ วิพฒ ั น์ บวรวงศ์ คุณวุฒิ - พบ.ม. (เกียรตินิยมดี) คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ ปริ ญญาบัตร วิทยาลัยป้ องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่ นที่ 42 ประสบการณ์ อดีต - กรรมการผูแ้ ทนสมาชิกข้าราชการพลเรื อน คณะอนุกรรมการกฎหมายกองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ ผูต้ รวจราชการกระทรวงมหาดไทย ดร.เซ็น แก้วยศ คุณวุฒิ Ph.D. (Ed.Admin) University of Alberta Canada ประสบการณ์ อดีต รองอธิบดีกรมวิชาการ, รองอธิบดีกรมอาชีวศึกษา อาจารย์ประจํา และผูท้ รงคุณวุฒิ สาขาวิชาการบริ หาร การศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

ดร.ณัฐรัตน์ ประโยชน์ อดุ มกิจ คุณวุฒิ Ph.D. (Educational Administration) IIIinois State University, U.S.A. ประสบการณ์ อดีต อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปัจจุบัน ผูร้ ับใบอนุญาต – อาจารย์ใหญ่โรงเรี ยนอรรถวิทย์ ผูพ้ ิพากษาสมทบศาลเยาวชนและครอบครัว


9

ดร.ฉันทวิทย์ สุ ชาตานนท์ คุณวุฒิ Ph.D.(Educational Administration) Michigan State University, Michigan, U.S.A. ประสบการณ์ อดีต ผูช้ ่วยเลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา รองเลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษากลางกรุ งเทพ

ดร.สมศักดิ์ รุ่ งเรือง คุณวุฒิ Ph.D. (Management) Adamson University, Philippines ประสบการณ์ อดีต ผูร้ ับใบอนุญาต – ผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยนอรรถวิทย์พณิ ชยการ ปัจจุบัน อธิการบดีวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก

ดร.ทิวา พงศ์ ธนไพบูลย์ คุณวุฒิ Ph.D. (Management) Adamson University, Philippines ประสบการณ์ อดีต อาจารย์ประจําบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น ผูจ้ ดั การโรงเรี ยนอรรถวิทย์พาณิ ชยการ ปัจจุบัน รองอธิการบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาและกิจการพิเศษ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก

ผศ.ดร.วัลยา ชู ประดิษฐ์ คุณวุฒิ Ph.D. (Development Administration) (International Program) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ ประสบการณ์ อดีต รองคณบดีบณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น ปัจจุบัน รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก


10

นางสุ ณี ทิพย์ เกษร คุณวุฒิ ร.ป.ม.(การบริ หารโครงการและนโยบาย) มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ประสบการณ์ อดีต ครู ใหญ่โรงเรี ยนคริ สต์ธรรมศึกษา ปัจจุบัน ผูอ้ าํ นวยการสํานักอธิการบดี วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 1.4.2 สภาวิชาการ มีอาํ นาจหน้าที่ในการกําหนดนโยบาย แผนพัฒนาวิชาการของวิทยาลัย กํากับดูแลคุณภาพและ มาตรฐานวิชาการของวิทยาลัย กลัน่ กรองและเสนอแนะต่อสภาวิทยาลัย ในการอนุ มตั ิหลักสู ตรการศึกษา การเปิ ดสอน การรั บรองมาตรฐานการศึ กษา รวมทั้งการปรั บปรุ งหลักสู ตร การยุบรวมและการยกเลิ ก หลักสู ตรการศึกษา ตลอดจนเสนอแนะแนวทางและมาตรการต่อสภาวิทยาลัย ในอันที่จะทําให้การศึกษา การวิจยั การให้บริ การทางวิชาการแก่สงั คม และการทํานุบาํ รุ งศิลปวัฒนธรรมให้กา้ วหน้ายิง่ ขึ้นซึ่งประกอบ ไปด้วย 1. อธิการบดี

ประธานสภาวิชาการ

2. ศ.ดรอุดม วโรตม์สิกขดิตก์

กรรมการสภาวิชาการผูท้ รงคุณวุฒิ

3. รศ.ดร.พนารัตน์ ปานมณี

กรรมการสภาวิชาการผูท้ รงคุณวุฒิ

4. รศ.ดร.เชาว์ โรจนแสง

กรรมการสภาวิชาการผูท้ รงคุณวุฒิ

5. รศ.จุฑามาศ นิศารัตน์

กรรมการสภาวิชาการผูท้ รงคุณวุฒิ

6. รศ.ประทีป บัญญัตินพรัตน์

กรรมการสภาวิชาการผูท้ รงคุณวุฒิ

7. รองอธิการบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาฯ

กรรมการสภาวิชาการ

8. คณบดีบณั ฑิตวิทยาลัย

กรรมการสภาวิชาการ

9. คณบดีคณะบริ หารธุรกิจ

กรรมการสภาวิชาการ

10. คณบดีคณะนิติศาสตร์

กรรมการสภาวิชาการ

11. คณบดีคณะศิลปศาสตร์

กรรมการสภาวิชาการ

12. คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กรรมการสภาวิชาการ

13. รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ

กรรมการสภาวิชาการและเลขานุการ

14. ผูอ้ าํ นวยการสํานักวิชาการ

ผูช้ ่วยเลขานุการ สภาวิชาการ


11

1.5 คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมี คาํ สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาชุ ดใหม่ โดยมี หน้าที่กาํ หนดแนวทางการดําเนิ นการเกี่ยวกับการประกันคุณภาพ ปรับปรุ งคู่มือการประกันคุณภาพของ วิทยาลัย จัดให้มีการเผยแพร่ ระบบประกันคุณภาพการศึกษา กําหนดมาตรฐานการตรวจสอบ และติดตาม ประเมินผล และหน้าที่อื่น ๆ ตามนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย ซึ่งประกอบไปด้วย 1. รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ

ประธาน

2. คณบดีคณะบริ หารธุรกิจ

กรรมการ

3. คณบดีคณะนิติศาสตร์

กรรมการ

4. คณบดีคณะศิลปศาสตร์

กรรมการ

5. คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กรรมการ

6. คณบดีบณั ฑิตวิทยาลัย

กรรมการ

7. ผูอ้ าํ นวยการสํานักวิชาการ

กรรมการ

8. ผูอ้ าํ นวยการสํานักประกันคุณภาพการศึกษา

กรรมการและเลขานุการ

1.6 หลักสู ตรและสาขาวิชาทีเ่ ปิ ดสอน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยเปิ ดสอนในหลักสูตรและสาขาวิชาต่าง ๆ ประกอบด้วย 1.6.1 คณะบริ หารธุ รกิจ หลัก สู ตรบริ ห ารธุ รกิ จ บัณ ฑิ ต สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิ ชาการตลาด สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ และสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ 1.6.2 คณะนิติศาสตร์ เปิ ดดําเนินการ 1 หลักสูตร คือ หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต 1.6.3 คณะศิ ลปศาสตร์ เปิ ดดํา เนิ น การ 1 หลัก สู ต ร คื อ หลัก สู ต รศิ ลปศาสตรบัณ ฑิ ต สาขาวิช า ภาษาอังกฤษธุรกิจ 1.6.4 คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เปิ ดดําเนินการ 1 หลักสู ตร คือ หลักสู ตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.6.4.1 บัณฑิตวิทยาลัย เปิ ดดําเนิ นการ 2 หลักสู ตร คือ หลักสู ตรบริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชา การบริ หารธุ รกิ จ และสาขาวิชาการจัดการโลจิ สติกส์ และหลักสู ตรการจัดการมหาบัณฑิ ต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน จากหลักสู ตรและสาขาวิชาที่เปิ ดสอน สรุ ปแสดงในตารางที่ 1


12

ตารางที่ 1 แสดงจํานวนคณะและสาขาทีเ่ ปิ ดสอนในปี การศึกษา 2553 คณะ

หลักสู ตรและสาขาวิชา บธ.ม.

กจ.ม.

บธ.บ.

น.บ.

ศ.ศ.บ. วท.บ.

รวม

บัณฑิตวิทยาลัย

2

1

-

-

-

-

3

บริ หารธุรกิจ

-

-

4

-

-

-

4

นิติศาสตร์

-

-

-

1

-

-

1

ศิลปศาสตร์

-

-

-

-

1

-

1

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

-

-

-

-

-

1

1

รวม

2

1

4

1

1

1

10

1.7 คณาจารย์ ในปี การศึ กษา 2553 วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอกมีอาจารย์ประจํา รวมทั้งสิ้ น 74 คน จําแนกเป็ น อาจารย์คุณวุฒิปริ ญญาเอก 18 คน ปริ ญญาโท 55 คน และปริ ญญาตรี 1 คน และมีตาํ แหน่ งทางวิชาการเป็ น รองศาสตราจารย์ 3 คน ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ 2 คน และตําแหน่งอาจารย์ 69 คน


13

ตารางที่ 2 แสดงจํานวนอาจารย์ ประจํา จําแนกตามคณะ คณะ/สาขาวิชา คณะบริ หารธุรกิจ - สาขาวิชาการบัญชี - สาขาวิชาการตลาด - สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ - สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ - สาขาวิชาศึกษาทัว่ ไป (ร่ วมสอน) รวม คณะนิติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ - สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ บัณฑิตวิทยาลัย รวมทั้งสิ้น

อาจารย์ ป.เอก ป.โท ป.ตรี

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ รวม ป.เอก ป.โท ป.เอก ป.โท

1 3

5 5 5 5 18

-

-

-

-

1

5 6 5 5 22

4 1

38 4

-

-

-

-

1 -

43 5

1

4

1

-

-

-

-

6

1

4

-

-

-

-

-

5

9 16

3 53

1

1 2

-

1 1

1 2

15 74


14

1.8 นักศึกษา ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีนกั ศึกษา จํานวนรวมทั้งสิ้ น 2,344 คน ตารางที่ 3 แสดงจํานวนนักศึกษา ประจําปี การศึกษา 2551 – 2553 จําแนกตามคณะ ปี การศึกษา

2551

2552

2553

1,426

1,397

1,867

คณะนิติศาสตร์

76

80

74

คณะศิลปศาสตร์

56

45

57

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

193

207

246

บัณฑิตวิทยาลัย

100

85

100

1,851

1,814

2,344

คณะบริ หารธุรกิจ

รวมจํานวนนักศึกษา

ข้อมูล 5 กรกฎาคม 2553

1.9 งบประมาณ ในปี การศึ ก ษา 2553 วิ ท ยาลัย มี ร ะบบการจัด สรรงบประมาณไว้ใ นแผนการดํา เนิ น งานโดย อิงพันธกิจ หลัก 5 ประการ คือ การผลิตบัณฑิต การวิจยั การให้บริ การทางวิชาการแก่สังคม การทํานุบาํ รุ ง ศิ ล ปวัฒ นธรรมและการพัฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ โดยแหล่ ง เงิ น งบประมาณมาจากรายได้ข องวิ ท ยาลัย (ค่ า หน่ ว ยกิ ต และค่ า บํา รุ ง การศึ ก ษาอื่ น ๆ) ซึ่ ง สํา นัก การคลัง รั บ ผิด ชอบภายใต้ก ารกํา กับ ดู แ ลของ รอง อธิการบดีฝ่ายบริ หาร ในการจัดสรรงบประมาณ มีข้นั ตอนการดําเนินการดังนี้ (1) คณะ / สํานัก / ศูนย์ กําหนดรายละเอียดของงบประมาณประจําปี ในส่ วนของค่าตอบแทน ค่าใช้จ่ายค่าวัสดุ – ครุ ภณ ั ฑ์ และอื่นๆ นําเสนอสํานักการคลัง (2) สํานักการคลังรวบรวม และนําเสนอคณะกรรมการพิจารณางบประมาณประจําปี ซึ่ งได้รับการ แต่งตั้งจากอธิการบดี (3) คณะกรรมการพิจารณางบประมาณ พิจารณาและเสนออธิการบดีเพื่ออนุมตั ิ (4) คณะ / สํานัก / ศูนย์ ดําเนินการและเบิกจ่ายงบประมาณตามที่ได้รับอนุมตั ิ สําหรับการตรวจสอบการใช้งบประมาณ สํานักการคลัง มีหน้าที่ตรวจสอบการใช้งบประมาณของ คณะ / สํานัก / ศูนย์


15

1.10 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยจัดให้มีระบบประกันคุณภาพ และกลไกการประกันคุณภาพที่มีประสิ ทธิ ภาพ ซึ่ งเป็ นส่ วน หนึ่งของกระบวนการบริ หารการศึกษา เพื่อนําไปสู่การพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาอย่างต่อเนื่อง พร้อมรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกได้ ระบบประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย จําแนกออกเป็ น 2 ระบบ ได้แก่ ระบบประกันคุณภาพ ภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก ตามกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ. กลไกและระบบประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย ประกอบด้วย 1) มี ค ณะกรรมการประกัน คุ ณ ภาพประจํา หน่ ว ยงานใน 2 ระดับ ได้แ ก่ (1) ระดับ วิ ท ยาลัย มีคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก (2) ระดับคณะวิชา ศูนย์ / สํานัก มีคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา ประจําคณะวิชา ศูนย์ / สํานัก 2) มีเกณฑ์ / ดัชนีการประกันคุณภาพและการประเมินคุณภาพ 3) มีกระบวนการในการดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษา 4) ผูบ้ ริ หารและพนักงานของทุกหน่วยงานทั้งหมดของวิทยาลัยมีส่วนร่ วม 5) มีการประเมินตนเองและการจัดทํารายงานการประเมินตนเองเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในและรองรับการประเมินจากองค์กรภายนอก 1.11 การประเมินคุณภาพการศึกษา ประจําปี การศึกษา 2552 ในปี การศึ ก ษา 2552 วิ ท ยาลัย ได้รั บ การตรวจประเมิ น จากคณะกรรมการ เมื่ อ วัน จัน ทร์ ที่ 20 กันยายน 2553 มีคณะผูเ้ ข้าประเมิน ดังนี้ 1. ศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ สิ นลารัตน์

ประธานกรรมการ

2. รองศาสตราจารย์ ดร.พนารัตน์ ปานมณี

กรรมการ

3. อาจารย์ ดร.อรรณพ โพธิสุข

กรรมการ

4. อาจารย์ เรณู จันทะวงศา

กรรมการและเลขานุการ

ในการประเมินคุณภาพการศึกษา ประจําปี การศึกษา 2552 คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษา มีขอ้ เสนอแนะเพื่อการพัฒนาในภาพรวม ดังนี้


16

1) ควรส่ งเสริ มให้มีกิจกรรมบริ การวิชาการเพิ่มขึ้น 2) ควรส่ งเสริ มคณาจารย์วยั หนุ่ มสาวให้เรี ยนต่อในระดับสู งขึ้น เพื่อเป็ นกําลังสําคัญของ วิทยาลัยในอนาคต 3) ควรให้อาจารย์แต่ละคนจัดทําแผนพัฒนาตนเองในเชิงวิชาการ 4) ควรส่ งเสริ มการประชาสัมพันธ์ให้กว้างขวางยิง่ ขึ้น 5) จากผลการวิจยั สถาบันพบว่า ผูใ้ ช้บณ ั ฑิตประสงค์ให้วิทยาลัยพัฒนาภาษาอังกฤษให้ นักศึกษาเพิ่มขึ้น 6) ควรผลักดันนโยบายและทิศทางใหม่ ด้านวิชาการอย่างจริ งจัง เช่น TQF วิทยาลัยได้ดาํ เนินการปรับปรุ งตามข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ดังนี้ 1. วิทยาลัยได้ทบทวนและปรับปรุ งแผนพัฒนาวิทยาลัย ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2553 – 2556) ใหม่ โดยการ บริ การทางวิชาการเป็ น 1 ใน 6 ยุทธศาสตร์ หลักตามแผนพัฒนาวิทยาลัย คือ เป็ นยุทธศาสตร์ที่ 5 การบริ การ ทางวิชาการ มี 3 กลยุทธ์ ได้แก่ กลยุทธ์ที่ 1 การสร้างระบบและกลไกการบริ การทางวิชาการ กลยุทธ์ที่ 2 การบริ การทางวิชาการแก่สังคม และ กลยุทธ์ที่ 3 การนํากิจกรรมการบริ การทางวิชาการสู่ กระบวนการเรี ยน การสอน โดยใน ปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีโครงการและกิจกรรมบริ การทางวิชาการ จํานวน 25 โครงการ 2. การส่ งเสริ มให้คณาจารย์ได้ศึกษาต่อในระดับที่ สูงขึ้น ในปี การศึ กษา 2553 วิทยาลัยสนับสนุ น ทุนการศึกษาในระดับปริ ญญาเอกให้แก่อาจารย์จาํ นวน 3 คน เป็ นเงิน 656,400 บาท และระดับปริ ญญาโท จํานวน 4 คน เป็ นเงิน 401,200 บาท 3. การส่ งเสริ มให้อาจารย์แต่ละคนทําแผนพัฒนาตนเองในเชิงวิชาการ วิทยาลัยได้กระตุน้ และส่ งเสริ ม ให้อาจารย์วางแผนพัฒนาตนเองทางวิชาการ ทั้งในด้านการศึกษาต่อและการเข้าสู่ ตาํ แหน่งทางวิชาการ โดย ในปี การศึกษา 2553 มีอาจารย์จาํ นวน 3 คน อยูใ่ นกระบวนการขอตําแหน่งทางวิชาการ 4. การส่ ง เสริ มการประชาสั ม พัน ธ์ วิ ท ยาลัย ให้ ก ว้า งขวางยิ่ ง ขึ้ น วิ ท ยาลัย ได้เ พิ่ ม ช่ อ งทางการ ประชาสัมพันธ์วิทยาลัยมากขึ้น โดยเฉพาะในสื่ อเคเบิ้ลทีวีทอ้ งถิ่น เป็ นต้น 5. การพัฒนาความรู ้ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของนักศึกษา ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัย ได้จ ัด สอบวัด ความรู ้ ภ าษาอัง กฤษของนั ก ศึ ก ษาใหม่ ท้ ัง หมดเพื่ อ วางแนวทางในการพัฒ นาการใช้ ภาษาอังกฤษของนักศึกษา รวมทั้งวางแผนให้มีการสอบวัดมาตรฐานภาษาอังกฤษก่อนสําเร็ จการศึกษาด้วย 6. การผลักดันนโยบายและทิศทางใหม่ๆ ด้านวิชาการอย่างจริ งจัง เช่น TQF ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยดําเนินความพยายามในการสร้างความรู ้และความเข้าใจในเรื่ องการจัดการเรี ยนการสอน ตามกรอบ


17

มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา รวมทั้งความสําคัญและการปรับตัวเองของอาจารย์และนักศึกษาในการ เตรี ยมพร้อมรับการเปิ ดเสรี ของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในปี 2015 ด้วย เป้าหมายปี การศึกษา 2553 เป้ าหมายของวิทยาลัย ในแต่ละตัวบ่งชี้ ปี การศึกษา 2553 (1 มิถุนายน 2553 – 31 พฤษภาคม 2554) มีดงั นี้ องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้

เป้ าหมาย

องค์ ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดําเนินการ ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน

8 ข้อ

ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 16 ผลการพัฒนาตามอัตลักษณ์ของสถาบัน 16.1 ผลการบริ หารสถาบันให้เกิดอัตลักษณ์

5 ข้อ

16.2 ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ์

4.00

ตัว บ่ ง ชี้ สมศ. ที่ 17 ผลการพัฒ นาตามจุ ด เน้น และจุ ด เด่ น ที่ ส่ ง ผลสะท้อนเป็ น เอกลักษณ์ของสถาบัน

5 ข้อ

องค์ ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบกลไกการพัฒนาและบริ หารหลักสู ตร

5 ข้อ

ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 อาจารย์ประจําที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอก

4.00

ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 อาจารย์ที่ดาํ รงตําแหน่งทางวิชาการ

1.00

ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ระบบการพัฒนาอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน

7 ข้อ

ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรี ยนรู ้

7 ข้อ

ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรี ยนการสอน

7 ข้อ

ตัวบ่งชี้ที่ 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิ ผลการเรี ยนตามคุณลักษณะของ

5 ข้อ

บัณฑิต ตัวบ่งชี้ ที่ 2.8 ระดับความสําเร็ จของการเสริ มสร้ างคุณธรรมจริ ยธรรมที่จดั ให้กบั

5 ข้อ

นักศึกษา ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 1 บัณฑิตปริ ญญาตรี ที่ได้งานทําหรื อประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

4.00


18

องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้ ตัว บ่ ง ชี้ สมศ. ที่ 2

คุ ณ ภาพของบัณ ฑิ ต ปริ ญ ญาตรี โท และเอก ตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

ตัว บ่ ง ชี้ สมศ. ที่ 3 ผลงานของผูส้ ํา เร็ จการศึ กษาระดับปริ ญญาโทที่ ไ ด้รับการ ตีพิมพ์หรื อเผยแพร่ ตัวบ่ งชี้ สมศ. ที่ 4 ผลงานของผูส้ ําเร็ จการศึ กษาระดับปริ ญญาเอกที่ ได้รับการ ตีพิมพ์ ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 14 การพัฒนาอาจารย์

เป้ าหมาย 4.00 4.00 ไม่ประเมิน 2.51

องค์ ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 ระบบและกลไกการให้คาํ ปรึ กษาและบริ การด้านข้อมูล ข่าวสาร

7 ข้อ

ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 ระบบและกลไกการส่ งเสริ มกิจกรรมนักศึกษา

6 ข้อ

องค์ ประกอบที่ 4 การวิจัย ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์

8 ข้อ

ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรู ้จากงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์

5 ข้อ

ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 5 งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรื อเผยแพร่

2.00

ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 6 งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่นาํ ไปใช้ประโยชน์

4.00

ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 7 ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ

4.00

องค์ ประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแก่สังคม ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ระบบและกลไกการบริ การทางวิชาการแก่สงั คม

5 ข้อ

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 กระบวนการบริ การทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม

5 ข้อ

ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 8 ผลการนําความรู ้และประสบการณ์จากการให้บริ การทางวิชาการ มาใช้ในการพัฒนาการเรี ยนการสอนและการวิจยั ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 9 ผลการเรี ยนรู ้และเสริ มสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรื อองค์กร ภายนอก

5 ข้อ 5 ข้อ


19

องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้

เป้ าหมาย

ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 18 ผลการชี้นาํ ป้ องกัน หรื อแก้ปัญหาของสังคมในด้านต่างๆ 18.1 ผลการชี้นาํ ป้ องกัน หรื อแก้ปัญหาของสังคมประเด็นที่ 1

5 ข้อ

18.2 ผลการชี้นาํ ป้ องกัน หรื อแก้ปัญหาของสังคมประเด็นที่ 2

5 ข้อ

องค์ ประกอบที่ 6 การทํานุบํารุ งศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 ระบบและกลไกการทํานุบาํ รุ งศิลปะและวัฒนธรรม

5 ข้อ

ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 10 การส่ งเสริ มและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม

5 ข้อ

ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 11 การพัฒนาสุ นทรี ยภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม

5 ข้อ

องค์ ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ภาวะผูน้ าํ ของสภาสถาบันและผูบ้ ริ หารทุกระดับของสถาบัน

7 ข้อ

ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันการเรี ยนรู ้

5 ข้อ

ตัวบ่งชี้ที่ 7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริ หารและการตัดสิ นใจ

5 ข้อ

ตัวบ่งชี้ที่ 7.4 ระบบบริ หารความเสี่ ยง

6 ข้อ

ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 12 การปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ของสภาสถาบัน

4.00

ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 13 การปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ของผูบ้ ริ หารสถาบัน

4.00

องค์ ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ

7 ข้อ

องค์ ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

9 ข้อ

ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 8 ผลการประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยต้นสังกัด

4.00


20

บทที่ 2 ผลการประเมินตามตัวบ่ งชี้ของ สกอ.


21

องค์ ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดําเนินการ

ตัวบ่ งชี้ที่ 1.1 : กระบวนการพัฒนาแผน ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน 1. มีการจัดทําแผนกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับนโยบายของ สภาวิทยาลัย โดยการมีส่วนร่ วมของบุคลากรในวิทยาลัย และได้รับความเห็นชอบจากสภาวิทยาลัย โดยเป็ นแผน ที่ เชื่อมโยงกับปรัชญาหรื อปณิ ธานของวิทยาลัย ตลอดจน สอดคล้องกับจุดเน้นของกลุ่มสถาบัน กรอบแผน อุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) และแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2551-2554) 2. มีการถ่ายทอดแผนกลยุทธ์ระดับสถาบันไปสู่ ทุกหน่วยงาน ภายใน 3. มีกระบวนการแปลงแผนกลยุทธ์เป็ นแผนปฏิบตั ิการ ประจําปี ครบ 4 พันธกิจ คือ ด้านการเรี ยนการสอน การวิจยั การบริ การทางวิชาการและการทํานุบาํ รุ งศิลปะและ วัฒนธรรม 4. มีตวั บ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบตั ิการประจําปี และ ค่าเป้ าหมายของแต่ละตัวบ่งชี้ เพื่อวัดความสําเร็ จของการ ดําเนินงานตามแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบตั ิการประจําปี 5. มีการดําเนินงานตามแผนปฏิบตั ิการประจําปี ครบ 4 พันธกิจ 6. มีการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผน ปฏิบตั ิการประจําปี อย่างน้อยปี ละ 2 ครั้ง และรายงานผล ต่อผูบ้ ริ หารเพื่อพิจารณา 7. มีการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผน กลยุทธ์ อย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง และรายงานผลต่อผูบ้ ริ หาร และสภาสถาบันเพื่อพิจารณา 8. มีการนําผลการพิจารณา ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะของ สภาสถาบัน ไปปรับปรุ งแผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบตั ิการ ประจําปี

มี 

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข 1-1.1-01 1-1.1-02 1-1.1-03 1-1.1-04

1-1.1-05 1-1.1-06 1-1.1-07

1-1.1-07

 

1-1.1-08 1-1.1-09 1-1.1-10

1-1.1-11

1-1.1-12


2

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 2 หรื อ 3 ข้อ

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 4 หรื อ 5 ข้อ

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 6 หรื อ 7 ข้อ

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 8 ข้อ

ค่าเป้ าหมายของวิทยาลัย 8 ข้อ ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553 8 ข้อ ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน 8 ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ผลการดําเนินงาน ข้อ 1 มีการจัดทําแผนพัฒนาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอกระยะที่ 1 (พ.ศ. 2553-2556) (1-1.1-01)ประกอบด้ว ยยุ ท ธศาสตร์ ห ลัก 6 ด้า น โดยมี ก ลยุ ท ธ์ ร องรั บ แต่ ล ะ ยุทธศาสตร์ ๆ ละ 3 กลยุทธ์ รวมเป็ น 18 กลยุทธ์ แผนกลยุทธ์น้ ี มีความสอดคล้องกับ นโยบายของสภาวิทยาลัย บุคลากรมีส่วนร่ วมในกระบวนการจัดทําแผน โดยมีการ วิเคราะห์ ปรัชญา ปณิ ธาน เป้ าหมายของวิทยาลัย ได้ประชุมเพื่อระดมสมองกลุ่มที่ เป็ นหน่ ว ยงาน ขับ เคลื่ อ นหลัก ของวิ ท ยาลัย เพื่ อ วิพ ากษ์แ ละระดมสมองเกี่ ย วกับ แนวทางพัฒนาวิทยาลัย แนวโน้มการอุดมศึกษา ความเชื่ อมโยงการอุดมศึกษากับ แผนต่างๆ ของประเทศ รวมทั้งประเด็นทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ฯลฯ เพื่อ จัดทํากรอบประเด็นของแผนระยะยาวของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก พ.ศ.2554-2556 โดยมี การจัดตั้งคณะทํางานจัดทําแผนยุทธศาสตร์ (1-1.1-02/1-1.1-03) และได้รับ ความเห็นชอบจากสภาวิทยาลัย (1-1.1-04) ข้อ 2 มีการถ่ายทอดแผนกลยุทธ์ระดับสถาบันไปสู่ หน่วยงานภายใน มีการดําเนินการดังนี้ 1. ประชุมผูบ้ ริ หารวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ครั้งที่ 6/2553 (1-1.1-05) 2. ประชุมอาจารย์ เจ้าหน้าที่ เพือ่ ชี้แจงกลยุทธ์ ระดับสถาบัน เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2554 (1-1.1-06) ข้อ 3 มีการแปลงกลยุทธ์เป็ นแผนปฏิบตั ิการประจําปี ครบทั้ง 4 พันธกิจ คือ ด้านการ เรี ยนการสอน ด้านการวิจ ัย การบริ ห ารทางวิชาการและการทํานุ บาํ รุ งศิ ลปะและ วัฒนธรรม (1-1.1-07) ข้อ 4 ตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบตั ิการประจําปี และค่าเป้ าหมายของแต่ละตัว บ่งชี้ เพื่อวัดความสําเร็ จของการดําเนินงานตามแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบตั ิการ ประจําปี (1-1.1-07)


23

เกณฑ์ ข้อ 5 ข้อ 6

ผลการดําเนินงาน มีการดําเนินงานตามแผนปฏิบตั ิการประจําปี ครบทั้ง 4 พันธกิจ (1-1.1-08) มีการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนปฏิบตั ิการประจําปี ปี ละ 2 ครั้ง และรายงานผลต่อคณะผูบ้ ริ หารเพื่อพิจารณา (1-1.1-09/1-1.1-10) มีการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ อย่างน้อย ปี ละ 1 ครั้ง และรายงานผลต่อผูบ้ ริ หารและสภาวิทยาลัยเพื่อพิจารณา (1-1.1-11) มี ก ารนํา ผลการพิ จ ารณา ข้อ คิ ด เห็ น และข้อ เสนอแนะของสภาวิ ท ยาลัย ไปปรับปรุ งแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบตั ิการประจําปี (1-1.1-12)

ข้อ 7 ข้อ 8 การประเมินตนเอง

คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน 5 คะแนน

การบรรลุเป้าหมายตามแผน บรรลุเป้ าหมาย

รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน ข้อ 1

เอกสารหมายเลข 1-1.1-01 1-1.1-02 1-1.1-03

ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6

1-1.1-04 1-1.1-05 1-1.1-06 1-1.1-07 1-1.1-07 1-1.1-08 1-1.1-09 1-1.1-10

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด - แผนพัฒนาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2553-2556) - คําสัง่ ที่ 34/2553 แต่งตั้งคณะทํางานจัดทําแผนยุทธศาสตร์ - รายงานการประชุม คณะทํางานจัดทําแผนยุทธศาสตร์ ครั้งที่ 1/2553 – 4/2553 - รายงานการประชุมสภาวิทยาลัย ครั้งที่ 4/2553 - รายงานการประชุมคณะผูบ้ ริ หารวิทยาลัย ครั้งที่ 6/2553 - การประชุมชี้แจงกลยุทธ์ระดับสถาบัน วันที่ 25 มีนาคม 2554 - แนวปฏิบตั ิและแผนดําเนินงานปี การศึกษา 2553 (ทุกหน่วยงาน) - แนวปฏิบตั ิและแผนดําเนินงานปี การศึกษา 2553 (ทุกหน่วยงาน) - โครงการตามแผนปฏิบตั ิการประจําปี 2553 - จัดตั้งสํานักยุทธศาสตร์และติดตามประเมินผล ทําหน้าที่ติดตาม ประเมินแผน คําสัง่ ที่ 11/2554 - รายงานประชุมคณะผูบ้ ริ หารวิทยาลัย ครั้งที่ 2/2554


24

หลักฐาน ข้อ 7 ข้อ 8

เอกสารหมายเลข 1-1.1-11 1-1.1-12

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด - รายงานการประชุมสภาวิทยาลัย ครั้งที่ 2/2554 - รายงานการประชุม คณะผูบ้ ริ หารวิทยาลัย ครั้งที่ 3/2554


25

องค์ ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

ตัวบ่ งชี้ที่ 2.1 : ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสู ตร ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน 1. มีระบบและกลไกการเปิ ดหลักสู ตรใหม่และปรับปรุ ง หลักสูตรตามแนวทางปฏิบตั ิที่กาํ หนดโดยคณะกรรมการ การอุดมศึกษา และดําเนินการตามระบบที่กาํ หนด 2. มีระบบและกลไกการปิ ดหลักสู ตรตามแนวทางปฏิบตั ิที่ กํา หนดนโยบายคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษาและ ดําเนินการตามระบบที่กาํ หนด 3. ทุ ก หลั ก สู ต รมี ก ารดํ า เนิ น งานให้ เ ป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานหลักสู ตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548

มี 

4. มี ค ณะกรรมการรั บ ผิ ด ชอบควบคุ ม กํ า กั บ ให้ มี ก าร ดําเนิ นการได้ครบถ้วนทั้งข้อ 1 ข้อ 2 และข้อ 3 ข้างต้น ตลอดเวลาที่จดั การศึกษา และมีการประเมินหลักสู ตรทุก หลัก สู ต รอย่ า งน้อ ยตามกรอบเวลาที่ ก ํา หนดในเกณฑ์ มาตรฐานหลักสู ตรฯ 5. มี ค ณะกรรมการรั บ ผิ ด ชอบควบคุ ม กํ า กั บ ให้ มี ก าร ดําเนิ นการได้ครบถ้วนทั้งข้อ 1 ข้อ 2 และข้อ 3 ข้างต้น ตลอดเวลาที่จดั การศึกษา และมีการพัฒนาหลักสู ตร

เกณฑ์ การประเมิน: 1. เกณฑ์ ทวั่ ไป คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการ มีการดําเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 3 ข้อ

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข 2–2.1–01

2–2.1–01

2–2.1–02 2–2.1–03 2–2.1–05 2–2.1–04 2–2.1–05

2–2.1–06

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 4 ข้อ 5 ข้อ 5 ข้อ

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 5 ข้อ


26

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน 5 ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ข้อ 1

ข้อ 2

ข้อ 3

ข้อ 4

ข้อ 5

ผลการดําเนินงาน วิทยาลัยมีระบบและกลไกการเปิ ดหลักสูตรใหม่ การปรับปรุ งหลักสูตรตามแนวทางปฏิบตั ิ ที่สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้กาํ หนดและได้ดาํ เนิ นการตามระบบที่กาํ หนด ดังระบบและกลไกการพัฒนาหลักสู ตรและการจัดการเรี ยนการสอน (2-2.1-01) วิ ท ยาลัย มี ร ะบบและกลไกการปิ ดหลัก สู ต รตามแนวทางการปฏิ บ ัติ ที่ ก ํา หนดโดย คณะกรรมการการอุดมศึกษา แต่ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยยังไม่มีหลักสู ตรที่ ขอปิ ด (2-2.1-01) หลั ก สู ตรของวิ ท ยาลั ย ทุ ก หลั ก สู ตรดํ า เนิ นการตามเกณฑ์ ม าตรฐาน หลั ก สู ตร ระดับ อุ ด มศึ ก ษา (2-2.1-02) และกรอบมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ร ะดับ อุ ด มศึ ก ษาแห่ ง ชาติ (2-2.1-03) ซึ่ งหลักสู ตรเก่าหรื อหลักสู ตรปรับปรุ ง วิทยาลัยได้ดาํ เนิ นการตามเกณฑ์มาตรฐาน หลัก สู ต รอุ ด มศึ ก ษา พ.ศ. 2548 ส่ ว นการดํา เนิ น การตามกรอบมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยได้เริ่ มดําเนิ นการปรับปรุ งหลักสู ตรให้ เป็ นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (2-2.1-04) โดยหลักสูตรได้รับการ ปรับปรุ งจํานวน 9 หลักสู ตร ได้แก่ หลักสูตรปริ ญญาโท จํานวน 2 หลักสู ตร ในระดับ ปริ ญญาตรี จํานวน 7 หลักสู ตร และหลักสู ตรที่จดั ทําใหม่ 2 หลักสู ตร (2-2.1-05) คือ หลักสู ตร บริ หารธุ รกิ จบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ หลักสู ตรเทคโนโลยีบณ ั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี การจัดการอุตสาหกรรม วิทยาลัยมีคาํ สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกํากับดูแลให้มีการดําเนิ นการได้ อย่างครบถ้วนทุกหลักสู ตร ทั้งข้อ 1, 2 และ 3 ข้างต้น (2-2.1-04) ตลอดเวลาที่จดั การศึกษาและ ในแต่ละหลักสู ตรจัดให้มีการประเมินหลักสู ตรทุกหลักสู ตร ตามกรอบระยะเวลาการปรับปรุ ง หลักสู ตร 5 ปี เพื่อให้หลักสู ตรมีความทันสมัย ได้รับความพึงพอใจจากผูใ้ ช้หลักสู ตรและ เป็ นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษา (2-2.1-05) วิทยาลัย มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมให้มีการดําเนิ นการได้อย่างครบถ้วนทั้งข้อ 1, 2 และข้อ 3 ข้างต้นตลอดเวลาที่จดั การศึกษาและมีการพัฒนาหลักสู ตรทุกหลักสู ตร ดังคําสั่ง แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสู ตรและการเรี ยนการสอน (2-2.1-06)

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน 5 คะแนน

การบรรลุเป้าหมายตามแผน บรรลุเป้ าหมาย


27

รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 2-2.1-01 ข้อ 2 2-2.1-01 ข้อ 3 2-2.1-02 2-2.1-03 ข้อ 4 2-2.1-04 2-2.1-05

ข้อ 5

2-2.1-06

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด แนวปฏิบตั ิและขั้นตอนการดําเนินการหลักสู ตร แนวปฏิบตั ิและขั้นตอนการดําเนินการหลักสู ตร มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ คําสัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร ร่ างมคอ.2 หลักสูตรบัณฑิตวิทยาลัย 2 สาขาวิชา ร่ างมคอ.2 หลักสูตรคณะบริ หารธุรกิจ 5 สาขาวิชา ร่ างมคอ.2 หลักสูตรคณะนิติศาสตร์ 1 สาขาวิชา ร่ างมคอ.2 หลักสูตรคณะศิลปศาสตร์ 1 สาขาวิชา ร่ างมคอ.2 หลักสูตรคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 สาขาวิชา คําสัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการฯ

ตัวบ่ งชี้ที่ 2.2 : อาจารย์ ประจําทีม่ ีคุณวุฒิปริญญาเอก ชนิดของตัวบ่ งชี้:ปัจจัยนําเข้ า เกณฑ์ การประเมิน: 1) แปลงค่าร้อยละของอาจารย์ประจําที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอกเป็ นคะแนนระหว่าง 0 – 5 เกณฑ์ สถาบันกลุ่ม ข และ ค2 1) ค่าร้อยละของอาจารย์ประจําที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอกที่กาํ หนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป หรื อ 2) ค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจําที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอกเปรี ยบเทียบกับปี ที่ผา่ นมา ที่กาํ หนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 6 ขึ้นไป ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

4 คะแนน 4 คะแนน

ผลการดําเนินงาน ในการศึกษา 2553 วิทยาลัยมีคณาจารย์ประจําทั้งสิ้ น 74 คน เป็ นอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอก 18 คน ระดับริ ญญาโท 55 คน ระดับปริ ญญาตรี 1 คน ศึกษาต่อระดับปริ ญญาโท 2 คน คิดเป็ นอาจารย์ประจํา ที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอกร้อยละ 24 เมื่อแปลงค่าร้อยละเป็ นคะแนน เทียบเท่า 4 คะแนน(2 -2.2-01)


28

ร้อยละของอาจารย์ประจําที่มีวฒ ุ ิปริ ญญาเอก

= =

จํานวนอาจารย์ที่มีวฒ ุ ิปริ ญญาเอก จํานวนอาจารย์ท้ งั หมด 18 x100 74

x100

= 24.32

แปลงค่าร้อยละเป็ นคะแนน ร้อยละของอาจารย์ที่มีวฒ ุ ิปริ ญญาเอก x5 ร้อยละของอาจารย์ประจําที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอกที่กาํ หนดคะแนนเต็ม 5 24.32 x 5 = 30.00

คะแนนที่ได้ =

คิดเป็ นคะแนน

=

4.05 คะแนน

=

4.05

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน 4 คะแนน

การบรรลุเป้าหมายตามแผน บรรลุเป้ าหมาย

รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน อาจารย์ประจําที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอก

เอกสารหมายเลข 2-2.2-01

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ข้อมูลจํานวนบุคลากรประจํา วิทยาลัย เซาธ์อีสท์บางกอก ปี การศึกษา 2553


29

ตัวบ่ งชี้ที่ 2.3 : อาจารย์ ประจําทีด่ ํารงตําแหน่ งทางวิชาการ ชนิดของตัวบ่ งชี้ : ปัจจัยนําเข้ า เกณฑ์ การประเมิน : 1) แปลงค่าร้อยละของอาจารย์ประจําที่ดาํ รงตําแหน่งทางวิชาการเป็ นคะแนนระหว่าง 0 – 5 เกณฑ์ สถาบันกลุ่ม ข และ ค2 1) ค่าร้อยละของอาจารย์ประจําที่ดาํ รงตําแหน่งผูช้ ่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และ ศาสตราจารย์รวมกัน ที่กาํ หนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป หรื อ 2) ค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจําที่ดาํ รงตําแหน่งผูช้ ่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์รวมกัน เปรี ยบเทียบกับปี ที่ผา่ นมา ที่กาํ หนดให้เป็ น คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 12 ขึ้นไป ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

1 คะแนน 1 คะแนน

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีอาจารย์ประจํารวมทั้งสิ้ น 74 คน เป็ นอาจารย์ที่ดาํ รงตําแหน่ งทาง = วิชาการ จํานวน 5 คน (2-2.3-01) ประกอบด้ วยตําแหน่ งรองศาสตราจารย์จาํ นวน 3 คน ตําแหน่ งผูช้ ่วย ศาสตราจารย์ จํานวน 2 คน คิดเป็ นอาจารย์ที่ดาํ รงตําแหน่งทางวิชาการ ร้อยละ 6.75 เมื่อแปลงค่าร้อยละเป็ น คะแนน เท่ากับคะแนน 0.56 ร้อยละของอาจารย์ประจําที่ดาํ รง ตําแหน่งทางวิชาการ = =

จํานวนอาจารย์ประจําที่ดาํ รงตําแหน่งทางวิชาการ x 100 จํานวนอาจารย์ท้ งั หมด 5 x 100 74 6.75 คะแนน

แปลงค่าร้อยละเป็ นคะแนน คะแนนที่ได้ = ร้อยละของอาจารย์ประจําที่ดาํ รงตําแหน่งทางวิชาการ x 5 ร้อยละของอาจารย์ประจําที่ดาํ รงตําแหน่งทางวิชาการที่กาํ หนดคะแนนเต็ม 5 6.75 x 5 = 60.000 = 0.56


30

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน 1 คะแนน

การบรรลุเป้าหมายตามแผน บรรลุเป้ าหมาย

รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน

เอกสารหมายเลข

อาจารย์ประจําที่มีตาํ แหน่งทางวิชาการ

2-2.3-01

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ข้อมูลจํานวนบุคลากรประจํา วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ปี การศึกษา 2553

ตัวบ่ งชี้ที่ 2.4 : ระบบการพัฒนาคณาจารย์ และบุคลากรสายสนับสนุน ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน มี  1. มีแผนการบริ หารและการพัฒนาคณาจารย์ท้ งั ด้านวิชาการ เทคนิคการสอนและการวัดผลและมีแผนการบริ หารและ พัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนที่มีการวิเคราะห์ขอ้ มูล เชิงประจักษ์  2. มีการบริ หารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสาย สนับสนุนให้เป็ นไปตามแผนที่กาํ หนด

3. มีสวัสดิการเสริ มสร้างสุ ขภาพที่ดี และสร้างขวัญและ กําลังใจให้คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนสามารถ ทํางานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ

4. มีระบบการติดตามให้คณาจารย์และบุคลากรสาย สนับสนุนนําความรู ้และทักษะที่ได้จากการพัฒนามาใช้ ในการจัดการเรี ยนการสอนและการวัดผลการเรี ยนรู ้ของ นักศึกษา ตลอดจนการปฏิบตั ิงานที่เกี่ยวข้อง

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข 2-2.4-01 2-2.4-02 2-2.4-03 2-2.4-03 2-2.4-04 2-2.4-05 2 -2.1-06 2-2.1-07 2-2.1-08 2-2.1-9 2-2.1-10 2-2.1-11 2-2.1-12 2-2.1-13


31

เกณฑ์ มาตรฐาน 5. มีการให้ความรู ้ดา้ นจรรยาบรรณอาจารย์และบุคลากร สายสนับสนุน และดูแลควบคุมให้คณาจารย์และบุคลากร สายสนับสนุนถือปฏิบตั ิ 6. มีการประเมินผลความสําเร็ จของแผนการบริ หารและการ พัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน 7. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุ งแผนหรื อปรับปรุ ง การบริ หารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสาย สนับสนุน

มี 

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข 2-2.1-13 2-2.1-14 2-2.1-15 2-2.1-01 2-2.1-17 2-2.1-18 2-2.1-19

เกณฑ์ การประเมิน: คะแนน 1 มีการดําเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 3 หรื อ 4 ข้อ

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 5 หรื อ 6 ข้อ

ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 7 ข้อ

7 ข้อ 7 ข้อ

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน 7 ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ข้อ 1

ข้อ 2

ผลการดําเนินงาน วิทยาลัยได้มีการจัดทําแผนการบริ หารและพัฒนาคณาจารย์ท้ งั ด้านวิชาการด้านเทคนิ คการ สอนและการวัดผล รวมถึงแผนการบริ หารและพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนโดยอาศัยข้อมูล อัตรากําลัง (2-2.4-01) การสํารวจความต้องการและความจําเป็ นในการฝึ กอบรม (2-2.4-02) เพื่อพัฒนาคณาจารย์และสายสนับสนุนให้เป็ นไปตามเกณฑ์ที่วิทยาลัยฯ กําหนด และมีการนํา ข้อมูลป้ อนกลับจากผลการปฏิบตั ิงาน ไปใช้ในการมอบหมายงาน การปรับปรุ งการทํางาน และพิจารณาความดีความชอบ ปรับปรุ งระบบสวัสดิการ ค่าตอบแทน ให้เหมาะสม (2-2.4-03) วิทยาลัย มีการบริ หารและพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนให้เป็ นไปตามแผน ที่วิทยาลัยกําหนด โดยมีระบบการสรรหา และคัดเลือกบุคลากรอย่างเป็ นระบบและโปร่ งใส เป็ นลายลักษณ์ อกั ษร (2-2.4-04) มีการกําหนดคําอธิ บายลักษณะงาน คุ ณสมบัติเฉพาะ ตําแหน่ง ความสามารถที่จาํ เป็ นต่อการปฏิบตั ิงาน เพื่อใช้ในการคัดเลือกและพัฒนาบุคลากร


32

เกณฑ์

ข้อ 3

ข้อ 4

ข้อ 5

ข้อ 6

ข้อ 7

ผลการดําเนินงาน นอกจากนี้ ยงั ได้มีการจัดระบบการประเมินผลการปฏิบตั ิงานที่มีรูปแบบชัดเจน (2-2.4-03) มี ก ารกํา หนดเส้ น ทางของตํา แหน่ ง งาน (2-2.4-05) รวมถึ ง การติ ด ตามตรวจสอบและ ประเมินผลเป็ นรายบุคคล เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (2-2.4-03) วิทยาลัย ได้จดั ให้มีสวัสดิ การเพื่อเสริ มสร้ างสุ ขภาพที่ ดีและสร้ างขวัญกําลังใจ ให้แก่ คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุ น ให้สามารถทํางานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพด้วยการจัด บรรยากาศสถานที่ ท าํ งานให้น่ า อยู่ มี ส วัส ดิ ก ารที่ ดี ร วมถึ ง จัด ให้มี ก ารตรวจเช็ ค สุ ข ภาพ ประจําปี (2-2.4-08) และการส่ งเสริ มการออกกําลังกาย (2-2.4-09) เอาใจใส่ บุคลากรอย่างเท่า เที ย มกัน มี ก ารส่ ง เสริ ม สนับ สนุ น การเสนอขอรั บ รางวัล ของคณาจารย์แ ละบุ ค ลากรสาย สนับสนุน (2-2.4-10) การประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติ (2-2.4-11) รวมถึงการจัดระบบพี่เลี้ยง เพื่ อให้ความช่ ว ยเหลื อแนะนําและสนับ สนุ น ผูท้ ี่ มี ความเหมาะสมที่ จ ะเสนอขอรั บรางวัล นอกจากนี้ ยังเปิ ดโอกาสให้ผูใ้ ต้บงั คับ บัญ ชาได้มีส่ ว นร่ ว มในการแสดงความคิ ด เห็ น เพื่ อ ก่ อให้เกิ ดการพัฒนาองค์กรในหลาย ๆ ช่ องทาง (2-2.4-12) เช่ น แสดงความคิดเห็ นผ่าน Outlook ของวิทยาลัย วิทยาลัย มี ระบบการติ ดตามให้คณาจารย์และบุ คลากรสายสนับสนุ น นําความรู ้ และ ทักษะที่ได้รับจากการพัฒนามาใช้ในการจัดการเรี ยนการสอนและการวัดผลการเรี ยนรู ้ ของ นักศึกษาตลอดจนการปฏิบตั ิงานที่เกี่ยวข้อง (2-2.1-13) วิทยาลัย มีการจัดทําคู่มือจรรยาบรรณวิชาชีพอาจารย์ และคู่มือจรรยาบรรณบุคลากรสาย สนับสนุ น (2-2.4-14) โดยการชี้ แจง แจ้งให้ทราบในรายละเอียดเพื่อให้บุคลากรทุกคน รั บทราบและนํา ไปศึ ก ษา อี ก ทั้ง มี ก ารส่ ง เสริ มและปลูก ฝั งอย่างสมํ่าเสมอโดยการนําเข้า ประชุ มเตรี ย มความพร้ อมของวิทยาลัย พร้ อมทั้งมี คณะกรรมการติ ด ตามประเมิ น ผลอย่าง ต่อเนื่อง วิ ท ยาลัย มี ก ารประเมิ น ผลความสํา เร็ จ ของแผนการบริ ห ารการพัฒ นาคณาจารย์แ ละ บุ ค ลากรสายสนับ สนุ น ตามตัว ชี้ วัด ผลการดํา เนิ น งานของแผนการบริ ห ารและพัฒ นา คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของวิทยาลัยฯ (2-2.4-01) วิทยาลัย มีการนําผลการประเมินการดําเนิ นการตามแผนการบริ หารและพัฒนาคณาจารย์ และบุคลากรสายสนับสนุ น ไปปรับปรุ งแผนฯ (2-2.4-17) และนํามาใช้ในการบริ หารและ พัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน (2-2.4-18) และมีการทําการสํารวจความต้องการ และความพึงพอใจของคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุ นเพื่อประกอบการจัดทําแผนฯ ใน ครั้งต่อ ๆ ไปมีการนําผลการประเมินไปปรับปรุ งแผนหรื อปรับปรุ งการบริ หารและการพัฒนา คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน


33

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน 5 คะแนน

การบรรลุเป้าหมายตามแผน บรรลุเป้ าหมาย

รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ข้อ 1 2-2.4-01 แผนอัตรากําลังและแนวทางการพัฒนาอัตรากําลัง ปี 2552-2557 2-2.4-02 แบบสํารวจความต้องการและความจําเป็ นในการฝึ กอบรมคณาจารย์และ สายสนับสนุน ปี การศึกษา 2553 2-2.4-03 รายงานการประเมินตนเองของบุคลากร ข้อ 2 2-2.4-03 รายงานการประเมินตนเองของบุคลากร 2-2.4-04 แนวปฏิบตั ิในการสรรหาและคัดเลือกบุคลากร 2-2.4-05 คู่มือบุคลากรประจําวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 2-2.4-06 เส้นทางการเดินของตําแหน่งงาน (Career Path) ข้อ 3 2-2.4-07 สวัสดิการที่วทิ ยาลัยจัดให้กบั คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน 2-2.4-08 โครงการตรวจสุ ขภาพประจําปี 2-2.4-09 โครงการส่ งเสริ มการออกกําลังกาย 2-2.4-10 ระบบเอกสารเสนอชื่อบุคลากรขอรับรางวัลเชิดชูเกียรติ 2-2.4-11 ภาพงานประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติผไู ้ ด้รับรางวัล 2-2.4-12 ตัวอย่างช่องทางการเสนอแนวทางการพัฒนาของบุคลากรวิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอกทาง Outlook ข้อ 4 2-2.4-13 มคอ.3 , มคอ.5 ข้อ 5 2-2.4-14 คู่มือจรรยาบรรณวิชาชีพอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน 2-2.4-15 รายงานการประชุมเตรี ยมความพร้อม 2-2.1-16 คําสัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลการปฏิบตั ิงาน ข้อ 6 2-2.4-01 แผนอัตรากําลังและแนวทางการพัฒนาอัตรากําลัง ปี 2552-2557 ข้อ 7 2-2.4-01 แผนอัตรากําลังและแนวทางการพัฒนาอัตรากําลัง ปี 2552-2557 2-2.4-17 รายงานผลการบริ หารและพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน 2-2.4-18 แบบสํารวจความต้องการและความพึงพอใจของคณาจารย์และบุคลากรสาย สนับสนุนในการเข้าร่ วมกิจกรรม


34

ตัวบ่ งชี้ที่ 2.5 : ห้ องสมุด อุปกรณ์ การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ ชนิดของตัวบ่ งชี้ : ปัจจัยนําเข้ า เกณฑ์ มาตรฐาน 1. มีการจัดการหรื อจัดบริ การเพื่อให้นกั ศึกษามีเครื่ อง คอมพิวเตอร์ใช้ในอัตราไม่สูงกว่า 8 FTES ต่อเครื่ อง 2. มีบริ การห้องสมุดและแหล่งเรี ยนรู ้อื่น ๆ ผ่านระบบ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ และมีการฝึ กอบรมการใช้งานแก่ นักศึกษาทุกปี การศึกษา 3. มีบริ การด้านกายภาพที่เหมาะสมต่อการจัดการเรี ยน การสอนและการพัฒนานักศึกษาอย่างน้อยในด้าน ห้องเรี ยน ห้องปฏิบตั ิการ อุปกรณ์การศึกษา และจุด เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต 4. มีบริ การอํานวยความสะดวกที่จาํ เป็ นอื่น ๆ อย่างน้อย ในด้านงานทะเบียนนักศึกษาผ่านระบบเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ การบริ การอนามัยและการรักษาพยาบาล การจัดการหรื อจัดบริ การด้านอาหารและสนามกีฬา 5. มีระบบสาธารณูปโภคและรักษาความปลอดภัยของอาคาร ตลอดจนบริ เวณโดยรอบ อย่างน้อยในเรื่ องประปา ไฟฟ้ า ระบบกําจัดของเสี ย การจัดการขยะ รวมทั้งมีระบบและ อุปกรณ์ป้องกันอัคคีภยั ในบริ เวณอาคารต่าง ๆ โดยเป็ นไป ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 6. มีผลการประเมินคุณภาพของบริ การในข้อ 2-5 ทุกข้อ ไม่ต่าํ กว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 7. มีการนําผลการประเมินคุณภาพในข้อ 6 มาใช้เป็ นข้อมูล ในการพัฒนาการจัดบริ การด้านกายภาพที่ตอบสนองความ ต้องการของผูร้ ับบริ การ

มี 

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข 2-2.5-01

2-2.5-02 2-2.5-03

2-2.5-04 2-2.5-05

2-2.5-06 2-2.5-07

2-2.5-08

2-2.5-09

2-2.5-10 2-2.5-11


35

เกณฑ์ การประเมิน: คะแนน 1 มีการดําเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 2 หรื อ 3 ข้อ

ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 4 หรื อ 5 ข้อ

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 6 ข้อ

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 7 ข้อ

7 ข้อ 7 ข้อ

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน 7 ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ผลการดําเนินงาน ข้อ 1 วิทยาลัยได้มีการจัดการและให้บริ การเครื่ องคอมพิวเตอร์กบั นักศึกษาในอัตรา ไม่สูงกว่า 8 FTES ต่อเครื่ อง (2-2.5-01) ข้อ 2 วิทยาลัยมีการบริ การห้องสมุดและแหล่งเรี ยนรู ้อื่นๆ ผ่านระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ และ มีการฝึ กอบรมการใช้งานแก่นกั ศึกษาทุกปี การศึกษา (2-2.5-02), (2-2.5-03) ข้อ 3 วิทยาลัยมีการบริ การด้านกายภาพที่เหมาะสมต่อการจัดการเรี ยนการสอนและการพัฒนา นักศึกษา ในด้านห้องเรี ยน ห้องปฏิบตั ิการอุปกรณ์ การศึกษาและจุดเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต เช่น คณะนิติศาสตร์มีหอ้ งปฏิบตั ิการศาลจําลอง โดยมีอุปกรณ์การศึกษาในห้องศาลจําลองเชื่อมต่อ อิ นเตอร์ เน็ ต คณะศิ ลปศาสตร์ มีห้องปฏิ บตั ิ ก ารทางภาษาที่ มีอุปกรณ์ เ ชื่ อมต่ ออิ น เตอร์ เน็ ต (2-2.5-04), (2-2.5-05) ข้อ 4 วิทยาลัย มี บริ การสิ่ งอํา นวยความสะดวกที่ จาํ เป็ นให้กับนักศึ กษาในด้า นงานทะเบี ย น นักศึกษาสามารถลงทะเบียนผ่านระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ออนไลน์ (2-2.5-06) และมี บริ การห้องพยาบาล ห้องอาหารและสนามกีฬา เพื่อให้บริ การนักศึกษา โดยทัว่ ถึงทั้งสถาบัน (2-2.5-07) ข้อ 5 วิทาลัยมีระบบสาธารณู ปโภคและระบบรักษาความปลอดภัยของอาคาร ตลอดจนบริ เวณ โดยรอบ ทั้งในเรื่ องประปา ไฟฟ้ า ระบบกําจัดของเสี ย การจัดการขยะ รวมทั้งมีระบบและ อุปกรณ์ป้องกันอัคคีภยั ในบริ เวณอาคารต่างๆ โดยเป็ นไปตามกฏหมายที่เกี่ยวข้อง(2-2.5-08) ข้อ 6 วิทยาลัย มีผลการประเมินคุณภาพของการให้บริ การในข้อ 2 – 5 ได้ผลการประเมิน 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 (2-2.5-09) ข้อ 7 วิทยาลัยนําผลการประเมินคุณภาพในข้อ 6 มาใช้เป็ นข้อมูลในการพัฒนาการจัดบริ การ ด้านกายภาพที่ตอบสนองความต้องการของผูร้ ับบริ การ โดยในปี การศึกษา 2553 มีการจัดทํา


36

เกณฑ์

ผลการดําเนินงาน โครงการ 5 ส. และโครงการ Green and Clean College (2-2.5-10),(2-2.5-11)

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน 5 คะแนน

การบรรลุเป้าหมายตามแผน บรรลุเป้ าหมาย

รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 2-2.5-01 ข้อ 2 2-2.5-02 2-2.5-03 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7

2-2.5-04 2-2.5-05 2-2.5-06 2-2.5-07 2-2.5-08 2-2.5-09 2-2.5-10 2-2.5-11

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ค่า FTES และจํานวนคอมพิวเตอร์ท้ งั หมด ตัวอย่าง Printout e-library คู่มือการใช้หอ้ งสมุด (Thai LIS Digital Collection,ฐานข้อมูล IQ news Clip เป็ นต้น) ภาพถ่ายห้องปฏิบตั ิการศาลจําลองและภาพห้องปฏิบตั ิการทางภาษา ตารางห้องบรรยาย คู่มือการลงทะเบียนออนไลน์ รายชื่อผูข้ อใช้บริ การห้องพยาบาลและสนามกีฬา คู่มือการปฏิบตั ิงานการรักษาความปลอดภัย ผลการประเมินความพึงพอใจผูใ้ ช้บริ การ โครงการกิจกรรม 5 ส โครงการ Green and Clean College


37

ตัวบ่ งชี้ที่ 2.6 : ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน 1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการจัดการเรี ยน การสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญทุกหลักสู ตร

มี 

2. ทุกรายวิชาของทุกหลักสู ตร มีรายละเอียดของรายวิชาและ ของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ก่อนการเปิ ดในแต่ละ ภาคการศึกษา ตามที่กาํ หนดในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ 3. ทุกหลักสูตรมีรายวิชาที่ส่งเสริ มทักษะการเรี ยนรู ้ดว้ ย ตนเอง และการให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้จากการปฏิบตั ิท้ งั ใน และนอกห้องเรี ยนหรื อจากการทําวิจยั 4. มีการให้ผมู ้ ีประสบการณ์ทางวิชาการหรื อวิชาชีพจาก หน่วยงานหรื อชุมชนภายนอกเข้ามามีส่วนร่ วมในกระบวน การเรี ยนการสอนทุกหลักสู ตร

5. มีการจัดการเรี ยนรู ้ที่พฒั นาจากการวิจยั หรื อจาก กระบวนการจัดการความรู ้เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอน 6. มีการประเมินความพึงพอใจของผูเ้ รี ยนที่มีต่อคุณภาพ การจัดการเรี ยนการสอนและสิ่ งสนับสนุนการเรี ยนรู ้ ทุกรายวิชา ทุกภาคการศึกษา โดยผลการประเมินความ พึงพอใจแต่ละรายวิชาต้องไม่ต่าํ กว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5 7. มีการพัฒนาหรื อปรับปรุ งการจัดการเรี ยนการสอน กลยุทธ์ การสอน หรื อการประเมินผลการเรี ยนรู ้ ทุกรายวิชา ตาม ผลการประเมินรายวิชา

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข 2-2.6-01 2-2.6-02 2-2.6-03 2-2.6-04 2-2.4-13 2-2.4-13 2-2.6-05

2-2.6-07 2-2.4-13

2-2.6-08 2-2.6-09 2-2.6-10 2-2.6-11 2-2.6-12

2-2.6-13 2-2.4-13

2-2.4-13 2-2.6-13


38

เกณฑ์ การประเมิน: คะแนน 1 มีการดําเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 2 หรื อ 3 ข้อ

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 4 หรื อ 5 ข้อ

ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 6 ข้อ

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 7 ข้อ

7 ข้อ 7 ข้อ

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน 7 ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ข้อ 1

ข้อ 2

ข้อ 3

ข้อ 4

ผลการดําเนินงาน วิทยาลัยมีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ น สํา คัญ ทุ ก หลัก สู ต ร ซึ่ ง ทุ ก หลัก สู ต รจะมี ก ารประชุ ม เพื่ อ เตรี ย มความพร้ อ มก่ อ นเปิ ดภาค การศึกษา (2-2.6-01) เพื่อเป็ นแนวทางให้แก่คณาจารย์ประจําหลักสูตรได้ การกําหนดการเรี ยน การสอนที่หลากหลายมีความยืดหยุน่ คํานึงถึงความแตกต่างของตัวนักศึกษา เพื่อกระตุน้ ความ ใฝ่ รู ้ ส่ งเสริ มการแสวงหาความรู ้ เช่น จัดให้มีชว่ั โมงการปฏิบตั ิการ การอภิปรายกลุ่มย่อยการ สัมมนา การจัดทํารายงานการวิจยั (2-2.6-02) การทํากรณี ศึกษา การศึกษาดูงานนอกสถานที่ การฝึ กงาน (2-2.6-03) การฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม การเข้าร่ วมโครงการสหกิจศึกษาเพื่อ ส่ งเสริ มให้นกั ศึกษา (2-2.6-04) ได้เพิ่มพูนความรู ้จากประสบการณ์จริ ง (2-2.6-13) หลักสู ตรของวิทยาลัยทุกหลักสู ตร มีการจัดทํารายละเอียดของรายวิชาก่อนการเปิ ดสอน ในแต่ละภาคการศึกษา ตามที่กาํ หนดในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (2-2.4-13) โดยอาจารย์ผสู ้ อนจะชี้แจงและแจกรายละเอียดของรายวิชาและแผนการสอนผ่าน ระบบออนไลน์และเว็บไซต์ของวิทยาลัย (2-2.1-05) ให้กบั นักศึกษาทราบในชัว่ โมงแรกของ การเรี ยนการสอน และจัดให้มีการประเมินผลการเรี ยนรู ้ท้ งั ในระหว่างภาคการศึกษาและ สิ้ นสุ ดภาคการศึกษา (2-2.2-06) หลักสู ตรของวิทยาลัยทุกหลักสู ตรได้จดั ให้มีรายวิชาที่ส่งเสริ มทักษะการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง และการให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้จากการปฏิบตั ิท้ งั ในและนอกห้องเรี ยนหรื อจากการทําวิจยั โดยการ ควบคุมและดูแลของคณะกรรมการประจําคณะ (2-2.1-07), (2-2.4-13) หลักสู ตรของวิ ทยาลัยทุ ก หลักสู ต ร ได้จ ัด ให้ผูม้ ี ประสบการณ์ ทางวิ ชาการวิชาชี พจาก หน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนและชุมชนภายนอก มีส่วนร่ วมในกระบวนการเรี ยนการ สอน ด้วยการเป็ นผูบ้ รรยายพิเศษในการสัมมนา (2-2.6-08), (2-2.6-09) การเป็ นอาจารย์พิเศษ


39

เกณฑ์

ข้อ 5

ข้อ 6

ผลการดําเนินงาน ในบางรายวิชา หรื อบางชัว่ โมงของการจัดการเรี ยนการสอน (2-2.6-10) การให้นกั ศึกษาได้เข้า เยีย่ มชมกิจการ (2-2.6-11) การฝึ กงานหรื อการเข้าร่ วมโครงการสหกิจศึกษาในสถาน ประกอบการ เพื่อให้นกั ศึกษาได้เรี ยนรู ้ถึงการนําทฤษฎีไปประยุกต์ใช้ในสภาพความเป็ นจริ ง ให้ได้ดียงิ่ ขึ้น วิทยาลัยได้จดั ให้ทุกคณะสาขาวิชามีการจัดการเรี ยนรู ้โดยพัฒนามาจากการวิจยั ในชั้นเรี ยน (2-2.6-12) โดยมีการจัดทําวิจยั ในชั้นเรี ยน ดังนี้ 1. เรื่ อ ง “ผลการเรี ย นแบบร่ ว มมื อ วิ ช าการเขี ย นโปรแกรมบนอิ น เตอร์ เ น็ ต สํา หรั บ นักศึกษาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก” อ.ประมุข นิภารักษ์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 2. เรื่ อง “การศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนวิชาการจัดการบรรจุภณ ั ฑ์โดยใช้ เทคนิ คการเรี ยนแบบจับคู่ของนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิ สติกส์ ” อ.เอกนรี ทุมพล สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ 3. เรื่ อง “การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิชาการจัดการวิสาหกิ จขนาดกลางและ ขนาดย่อมโดยกิจกรรมเสริ ม” อ.ศิริวรรณ สุ ขยิง่ สาขาวิชาการตลาด 4. เรื่ อง “ผลการใช้เรี ยนแบบ เพื่อนช่วยเพื่อน (Peer 2 Peer)” สําหรับวิชาการเงินธุ รกิจ ของนักศึกษาสาขาวิชาการบัญชี การตลาด การจัดการโลจิสติกส์ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ปี การศึกษา 2553 5. งานวิจยั เรื่ อง “ผลสัมฤทธิ์การเรี ยนภาษาอังกฤษด้วยการเปรี ยบเทียบวิธีการสอนแบบ แปลไวยากรณ์และวิธีการสอนแบบการสื่ อสารของนักศึกษาเซาธ์อีสท์บางกอกชั้นปี ที่ 1 วิชา ภาษาอังกฤษ 1” อาจารย์นนั ทิยา สุ วรรณ 6. งานวิจยั เรื่ อง “ปั ญหาการมีส่วนร่ วมของอาสาสมัครตํารวจชุมชน ศึกษาตามระเบียบ ข้อบังคับสํานักงานตํารวจแห่ งชาติว่าด้วยอาสาสมัครชุ มชน พ.ศ. 2551 และบทบัญญัติ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550” อาจารย์ญาณวัฒน์ พลอยเทศ 7. งานวิ จ ัย ในชั้ นเรี ยน เรื่ อง “ผลการใช้ แ บบฝึ กหั ด ท้า ยบทเรี ยนพร้ อ มเฉลยใน กระบวนการเรี ยนรายวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาจาวา” อาจารย์นริ ศ พุม่ ดนตรี วิทยาลัยได้จดั ให้มีการประเมินความพึงพอใจของผูเ้ รี ยนที่มีต่อคุณภาพการจัดการเรี ยนการ สอนและสิ่ งสนับสนุนการเรี ยนรู ้ทุกรายวิชา ในทุกภาคการศึกษา (2-2.6-13) และมีการนําผล การประเมินไปปรับปรุ งกระบวนการเรี ยนการสอนและสิ่ งสนับสนุ นการเรี ยนรู ้สาํ หรับแต่ละ รายวิชา (2-2.4-13) เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอนให้มีประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลยิง่ ขึ้น


40

เกณฑ์ ข้อ 7

ผลการดําเนินงาน วิทยาลัยได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนิ นการพัฒนาหรื อปรั บปรุ งการจัดการเรี ยน การสอน กลยุทธ์การสอนหรื อการประเมินผลการเรี ยนรู ้ทุกรายวิชา (2-2.1-04) เพื่อให้เป็ นไป ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ (2-2.4-13) โดยจัดให้มีการประเมินจากผู ้ มีส่วนได้เสี ยในแต่ละปี การศึกษา (2-2.6-13) เพื่อเป็ นแนวทางในการดําเนิ นการจัดการ หลักสู ตร การเปิ ด ปรับปรุ งและปิ ดหลักสูตรต่อไป

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน 5 คะแนน

การบรรลุเป้าหมายตามแผน บรรลุเป้ าหมาย

รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 2-2.6-01 2-2.6-02 2-2.6-03 2-2.6-04 2-2.4-13 ข้อ 2 2-2.4-13 2-2.6-05 2-2.6-06 ข้อ 3 2-2.4-13 2-2.6-07 ข้อ 4 2-2.6-08 2-2.6-09 2-2.6-10 2-2.6-11 ข้อ 5 2-2.6-12 ข้อ 6 2-2.6-13 2-2.4-13

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด รายงานการประชุมเตรี ยมความพร้อมก่อนเปิ ดภาคการศึกษา ตัวอย่างโครงการ แผนงาน งานวิจยั ฯลฯ คําสัง่ แต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึ กษาการฝึ กงานนักศึกษา คําสัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการสหกิจศึกษา มคอ.3, มคอ.5 มคอ.3, มคอ.5 ระบบออนไลน์, ระบบเว็บไซต์วิทยาลัย แบบประเมินการสอนออนไลน์ มคอ.3, มคอ.5 คําสัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการประจําคณะ สรุ ปรายชื่อวิทยากร ปี การศึกษา 2553 สรุ ปรายการสัมมนา ปี การศึกษา 2553 รายชื่ออาจารย์พิเศษ ปี การศึกษา 2553 สรุ ปโครงการศึกษาดูงาน,สถานประกอบการ,โครงการสหกิจศึกษา งานวิจยั ในชั้นเรี ยน รายงานการประเมินผลการเรี ยนการสอนและสิ่ งสนับสนุนการเรี ยน มคอ.3, มคอ.5


41

หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 7 2-2.4-13 2-2.6-13

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด มคอ.3, มคอ.5 รายงานการประเมินผลการเรี ยนการสอนและสิ่ งสนับสนุนการเรี ยน

ตัวบ่ งชี้ที่ 2.7 : ระบบและกลไกการพัฒนาสั มฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน 1. มีการสํารวจคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ตาม ความต้องการของผูใ้ ช้บณั ฑิตอย่างน้อยสําหรับทุก หลักสูตรระดับปริ ญญาตรี ทุกรอบระยะเวลาตามแผน กําหนดการศึกษาของหลักสู ตร 2. มีการนําผลจากข้อ 1 มาใช้ในการปรับปรุ งหลักสูตร การจัดการเรี ยนการสอน การวัดผลการศึกษาและ สัมฤทธิผลทางการเรี ยนที่ส่งเสริ มทักษะอาชีพและ คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามความต้องการ ของผูใ้ ช้บณั ฑิต 3. มีการส่ งเสริ มสนับสนุนทรัพยากรทั้งด้านบุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศ และงบประมาณที่เอื้อต่อการ พัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิต 4. มีระบบและกลไกการส่ งเสริ มให้นกั ศึกษาระดับปริ ญญาตรี และบัณฑิตศึกษาเข้าร่ วมกิจกรรมการประชุมวิชาการหรื อ นําเสนอผลงานทางวิชาการในที่ประชุมระหว่างสถาบัน หรื อที่ประชุมระดับชาติหรื อนานาชาติ 5. มีกิจกรรมเสริ มสร้างคุณธรรมจริ ยธรรมให้แก่นกั ศึกษา ระดับปริ ญญาตรี และบัณฑิตศึกษาที่จดั โดยสถาบัน เกณฑ์ การประเมิน: 1. เกณฑ์ ทวั่ ไป คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการ มีการดําเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 3 ข้อ

มี √

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข 2-2.7-01 2-2.7-02

2-2.1-05

2-2.7-03 2-2.7-04

2-2.7-05

2-2.7-06

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 4 ข้อ

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 5 ข้อ


42

ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

5 ข้อ 5 ข้อ

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน 5 ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ข้อ 1

ข้อ 2

ข้อ 3

ข้อ 4

ผลการดําเนินงาน วิ ท ยาลัย ได้จ ัด ให้มี ก ารสํา รวจและวิ เ คราะห์ ค วามต้อ งการของผูใ้ ช้บ ัณ ฑิ ต (2-2.7-01) เพื่อให้ได้คุณลักษณะของบัณฑิตสอดคล้องกับความต้องการของผูใ้ ช้ บัณฑิ ต และเป็ นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ โดยมี คณะกรรมการพิจารณาและปรับปรุ งหลักสู ตร (2-2.4-04) ซึ่ งมีผูเ้ ชี่ ยวชาญใน สาขาวิชาฯ และบุคคลภายนอก รวมถึงคณาจารย์ในแต่ละสาขาวิชาฯ มีส่วนร่ วมใน การพัฒ นา ทบทวนและปรั บ ปรุ ง ให้ เ หมาะสม ทัน สมัย เป็ นไปตามเงื่ อ นไข รวมทั้ง การกํา หนดเป้ าหมายในการผลิ ต บัณ ฑิ ต และการเผยแพร่ ใ ห้ ผูม้ ี ส่ ว น เกี่ยวข้องทราบ วิทยาลัย ได้มีการนําผลจากข้อ 1 มาใช้ในการปรั บปรุ งหลักสู ตร การจัดการ เรี ยนการสอน การวัดผลการศึกษาและสัมฤทธิ ผลทางการเรี ยน ที่ส่งเสริ มทักษะ อาชีพและคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ ตามความต้องการของผูใ้ ช้บณ ั ฑิต โดยมีคณะกรรมการบริ หาร และคณะกรรมการพิจารณาและปรับปรุ งหลักสู ตรเป็ น ผูร้ ับผิดชอบในการกําหนดโครงสร้างหลักสู ตร (2-2.4-04) รายละเอียดวิชา การจัด กิจกรรมการเรี ยนการสอน สื่ อการเรี ยน และการประเมินผลให้สอดคล้องตามผล การวิเคราะห์และประเมินในข้อ 1 วิ ท ยาลัย ได้มี ก ารส่ ง เสริ ม สนับ สนุ น ทรั พ ยากรทั้ง ด้า นบุ ค ลากรเทคโนโลยี สารสนเทศและงบประมาณที่เอื้อต่อการคุณลักษณะของบัณฑิต โดยให้จดั รู ปแบบที่ มีคณะกรรมการ รวมทั้งการวางแผนการจัดหางบประมาณ (2-2.7-03) สารสนเทศที่ ให้ผเู ้ รี ยนได้แสวงหาความรู ้ดว้ ยตนเอง (2-2.7-04) ซึ่ งสนับสนุนและเอื้อประโยชน์ ต่อการพัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ วิทยาลัย มีระบบและกลไกในการส่ งเสริ มให้นกั ศึกษาระดับปริ ญญาตรี เข้าร่ วม กิจกรรมการประชุมวิชาการ ในที่ประชุมระดับชาติ โดยอาจารย์ผสู ้ อนจะเป็ นผูฝ้ ึ ก ทัก ษะการนํา เสนอผลงานและสนับสนุ น ให้นัก ศึ ก ษาส่ งผลงานวิชาการเข้าร่ ว ม ประชุม (2-2.7-05)


43

เกณฑ์ ข้อ 5

ผลการดําเนินงาน วิ ท ยาลัย ได้ร่ ว มกับ สํา นัก กิ จ การนัก ศี ก ษาในการจัด กิ จ กรรมเพื่ อ ส่ ง เสริ ม คุณธรรมจริ ยธรรมให้แก่นกั ศึกษาทุกคณะ อย่างต่อเนื่องตลอดปี การศึกษา (2-2.7-06) โดยใช้งบประมาณที่สนับสนุนมาจาก สสส. และจากวิทยาลัย

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน 5 คะแนน รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 2-2.7-01 2-2.4-04 ข้อ 2 2-2.4-04 2-2.1-05 ข้อ 3 2-2.7-03 2-2.7-04 ข้อ 4 2-2.7-05 ข้อ 5 2-2.7-06

การบรรลุเป้าหมายตามแผน บรรลุเป้ าหมาย

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด รายงานความพึงพอใจของผูใ้ ช้บณั ฑิต คําสัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร คําสัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร ร่ าง มคอ.2 ทุกหลักสู ตร คําสัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทํางบประมาณ คู่มือการใช้ระบบออนไลน์ของนักศึกษา โครงการที่นกั ศึกษาเข้าร่ วมประชุม สัมมนาทางวิชาการ โครงการส่ งเสริ มคุณธรรม จริ ยธรรม

ตัวบ่ งชี้ที่ 2.8 : ระดับความสํ าเร็จของการเสริมสร้ างคุณธรรมจริยธรรมทีจ่ ัดให้ กบั นักศึกษา ชนิดของตัวบ่ งชี้ : ผลผลิต เกณฑ์ มาตรฐาน มี ไม่ มี เอกสารหมายเลข 1. มี การกําหนดพฤติ ก รรมด้านคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมสําหรั บ 2-2.8-01 √ นักศึกษาที่ตอ้ งการส่ งเสริ มไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษร 2. มี ก ารถ่ า ยทอดหรื อเผยแพร่ พฤติ ก รรมด้ า นคุ ณ ธรรม 2-2.8-02 √ จริ ยธรรม สําหรั บนักศึกษาที่ตอ้ งการส่ งเสริ มตามข้อ 1ไปยัง 2-2.8-03 2-2.8-04 ผูบ้ ริ หาร คณาจารย์ นักศึกษาและผูเ้ กี่ยวข้องทราบอย่างทัว่ ถึง ทั้งสถาบัน 3. มีโครงการหรื อกิจกรรมส่ งเสริ มการพัฒนาพฤติกรรมด้าน 2-2.8-05 √ คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมที่ ก าํ หนดในข้อ 1 โดยระบุตวั บ่ งชี้ แ ละ เป้ าหมายวัดความสําเร็ จที่ชดั เจน


44

เกณฑ์ มาตรฐาน 4. มีการประเมินผลโครงการหรื อกิจกรรมส่ งเสริ มคุณธรรม จริ ยธรรมของนักศึกษาตามตัวบ่งชี้และเป้ าหมายที่กาํ หนดใน ข้อ 3 โดยมีผลการประเมินบรรลุเป้ าหมายอย่างน้อยร้ อยละ 90 ของตัวบ่งชี้ 5. มี นัก ศึ ก ษาหรื อ กิ จ กรรมที่ เ กี่ ย วกับ นั ก ศึ ก ษาได้รั บ การ ยกย่องชมเชย ประกาศเกียรติคุณด้านคุณธรรมจริ ยธรรมโดย หน่วยงานหรื อองค์กรระดับชาติ

มี √

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข 2-2.8-06

2-2.8-07

เกณฑ์ การประเมิน: คะแนน 1 มีการดําเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 4 ข้อ

ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 5 ข้อ

5 ข้อ 5 ข้อ

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน 5 ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ข้อ 1 ข้อ 2

ข้อ 3

ผลการดําเนินงาน วิทยาลัย ได้มีการกําหนดพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริ ยธรรมสําหรั บนักศึกษาที่ตอ้ งการ ส่ งเสริ มไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษร คือ “มีวินยั ใฝ่ คุณธรรม เชิดชูความเป็ นไทย” (2-2.8-01) วิทยาลัย มีการเผยแพร่ พฤติกรรมด้านคุณธรรมจริ ยธรรมที่ตอ้ งการส่ งเสริ มในข้อ 1 ไปยัง ผูบ้ ริ หาร โดยผ่านการประชุมคณะกรรมการบริ หารวิทยาลัย (2-2.1-03) คณาจารย์โดยผ่านการ ประชุมเตรี ยมความพร้อมก่อนเปิ ดภาคการศึกษา (2-2.4-15) นักศึกษาและผูท้ ี่เกี่ยวข้องทราบ อย่างทัว่ ถึง โดยผ่านทางป้ ายประกาศต่าง ๆ (2-2.8-01) เว็บไซต์ของวิทยาลัย (2-2.8-04) และ สื่ ออื่น ๆ เช่น รายการวิทยุเสี ยงตามสายของทางวิทยาลัย ฯ การขึ้นหน้าจอคอมพิวเตอร์ ของ อาจารย์ผสู ้ อนและในห้องปฏิบตั ิการและตามห้องบรรยาย วิทยาลัย ได้จดั ให้มีโครงการที่ส่งเสริ มและพัฒนาพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริ ยธรรมตามที่ กําหนดในข้อ 1 (2-2.8-05) มีการกําหนดตัวบ่งชี้ และเป้ าหมายในการวัดความสําเร็ จอย่าง ชัดเจน (2-2.8-6)ประกอบดังตัวอย่างโครงการดังนี้


45

เกณฑ์

ข้อ 4

ข้อ 5

ผลการดําเนินงาน 1. โครงการเพิ่มขีดความสามารถฯ “กิจกรรม งดเหล้าเข้าพรรษา” 2. โครงการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบตั ิการผูน้ าํ นักศึกษาฯ เรื่ อง “ทิศทางการดําเนินงานและ การสร้างสรรค์กิจกรรมนักศึกษาภายใต้กรอบ TQF และ 3D โดยยึดหลักการการประกัน คุณภาพ” 3. โครงการ “รับน้องดอกเสลา รั้วม่วงขาว NO เหล้า ปลอดบุหรี่ ” 4. โครงการเพิ่มขีดความสามารถฯ “กิจกรรม ภูมิปัญญา-ความกตัญ�ู-บําเพ็ญประโยชน์” 5. โครงการเพิม่ ขีดความสามารถฯ “กิจกรรม การใช้ธรรมะส่ งเสริ มคุณภาพชีวติ ” 6. โครงการเลือกตั้งนายกองค์การนักศึกษา 7. โครงการรณรงค์การส่ งเสริ มประชาธิปไตย โครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ที่วิทยาลัยจัดขึ้น เพื่อส่ งเสริ มและพัฒนาพฤติกรรมด้าน คุณธรรมจริ ยธรรม มีการประเมินผลตามตัวบ่งชี้และเป้ าหมายที่กาํ หนดในข้อ 3 มีผลการ ประเมินบรรลุเป้ าหมายร้อยละ 90 ของตัวชี้วดั ทุกโครงการ (2-2.8-06) วิทยาลัย มีนกั ศึกษาที่ได้รับการยกย่องชมเชย ประกาศเกียรติคุณด้านคุณธรรมจริ ยธรรม โดยหน่วยงานหรื อองค์กรระดับชาติ จํานวน 5 คน ดังนี้ (2-2.8-7) 1. นายสามารถ โมราวรรณ 2. นางสาวพีรญา กีรติวฒ ุ ิพร 3. นายนริ ศ นวาจิต 4. นายธนพร ฉายงาม 5. นางสาวธนิศา อ่วมน้อย

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน 5 คะแนน

การบรรลุเป้าหมายตามแผน บรรลุเป้ าหมาย


46

รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน ข้อ 1 ข้อ 2

ข้อ 3 ข้อ 4

เอกสารหมายเลข 2-2.8-01 2-2.8-02 2-2.8-03 2-2.4-15 2-2.8-04 2-2.8-05 2-2.8-06

ข้อ 5

2-2.8-07

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ประกาศกําหนดพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม Outlook ประกาศคุณธรรมจริ ยธรรม รายงานการประชุมคณะกรรมการบริ หารวิทยาลัย รายงานการประชุมเตรี ยมความพร้อม เว็บไซต์วิทยาลัย โครงการส่ งเสริ มและพัฒนาพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริ ยธรรม รายงานผลโครงการเพื่อส่ งเสริ มและพัฒนาพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม รายชื่อนักศึกษาที่ได้รับรางวัลประกาศเกียรติคุณ


47

องค์ ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา

ตังบ่ งชี้ที่ 3.1 : ระบบและกลไกการให้ คาํ ปรึกษาและบริการด้ านข้ อมูลข่ าวสาร ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน มี 1. มีการจัดบริ การให้คาํ ปรึ กษาทางวิชาการและแนวการใช้ชีวิตแก่  นักศึกษา 2. มีการจัดบริ การข้อมูลข่าวสารที่เป็ นประโยชน์ต่อนักศึกษา 3. มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาประสบการณ์ทางวิชาการและวิชาชีพ แก่นกั ศึกษา 4. มีการจัดบริ การข้อมูลข่าวสารที่เป็ นประโยชน์ต่อศิษย์เก่า 5. มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู ้และประสบการณ์ให้ศิษย์เก่า 6. มีผลการประเมินคุณภาพของการให้บริ การในข้อ 1-3 ทุกข้อ ไม่ต่าํ กว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 7. มีการนําผลการประเมินคุณภาพของการให้บริ การมาใช้เป็ นข้อมูล ในการพัฒนาการจัดบริ การที่สนองความต้องการของนักศึกษา เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการ มีการดําเนินการ 1 ข้อ 2 หรื อ 3 ข้อ ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 4 หรื อ 5 ข้อ

ไม่ มี

 

เอกสารหมายเลข 3-3.1-01 3-3.1-02 3-3.1-03 3-3.1-04 3-3.1-05

  

3-3.1-06 3-3.1-07 3-3.1-08

3-3.1-09

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 6 ข้อ

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 7 ข้อ

7 ข้อ 7 ข้อ

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน 7 ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ผลการดําเนินงาน ข้อ 1 วิทยาลัยมีการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึ กษาประจําตัวนักศึกษา (3-3.1-01) เพื่อให้เหมาะสมกับสัดส่ วน อาจารย์ต่อนักศึกษา และมีการจัดทําตารางวันและเวลาที่ให้คาํ ปรึ กษาแก่นักศึกษาของอาจารย์ที่ ปรึ กษา (3-3.1-02) ตลอดจนช่องทางการติดต่ออาจารย์ที่ปรึ กษาทั้งเบอร์โทรศัพท์ และอีเมลล์


48

เกณฑ์

ข้อ 2

ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7

ผลการดําเนินงาน นอกจากนี้ ยงั มีโปรแกรมระบบทะเบียนออนไลน์สาํ หรับอาจารย์ที่ปรึ กษาและนักศึกษา ที่รวบรวม ข้อมูลส่ วนตัวของนักศึกษา ทั้งประวัติส่วนตัว ผลการเรี ยน ตารางเรี ยน การลงทะเบียนและสามารถ ใช้ติดต่อกับนักศึกษาได้ (3-3.1-03) มีการจัดทําบอร์ ดเผยแพร่ ข่าวสารของสํานักและคณะทั้งในบริ เวณสํานักและคณะรวมทั้งสาขาวิชา และห้องปฏิบตั ิการ มี การจัดทําเว็บไซต์ของวิทยาลัยเพื่อใช้เผยแพร่ ข่าวสารที่เป็ นประโยชน์แก่ นักศึกษา รวมทั้งระบบการจัดส่ งข้อความสั้น (SMS) ให้กบั นักศึกษา ในการแจ้งข้อมูลสําคัญต่าง ๆ เช่น การยืนยันผลการลงทะเบียน การแจ้งเกรดผลการเรี ยน เป็ นต้น (3-3.1-04) มีการกําหนดไว้ในหลักสู ตร ให้นกั ศึกษาสามารถลงทะเบียนสหกิจศึกษาและฝึ กงานเพื่อเป็ นการ พัฒนาประสบการณ์ทางวิชาชีพแก่นกั ศึกษา (3-3.1-05) มีการดําเนินการจัดทําเว็บไซต์ของวิทยาลัยเพื่อใช้เผยแพร่ ขอ้ มูลข่าวสารที่เป็ นประโยชน์ต่อศิษย์เก่า (3-3.1-06) มีการจัดอบรมบริ การวิชาการของวิทยาลัย คณะ สาขาวิชา โดยมีศิษย์เก่าที่สนใจเข้ารับการอบรม หรื อเข้าร่ วมสัมมนา (3-3.1-07) มีการประเมินคุณภาพ ของการให้บริ การการให้คาํ ปรึ กษา และข้อมูลข่าวสารต่อนักศึกษาครบถ้วน (3-3.1-08) มีการนําผลการประเมินคุณภาพของการให้บริ การ มาใช้เป็ นข้อมูลในการพัฒนาการจัดบริ การที่ สนองความต้องการของนักศึกษา (3-3.1-08)

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน 5 คะแนน รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 3-3.1-01 3-3.1-02 3-3.1-03 ข้อ 2 3-3.1-04 ข้อ 3 3-3.1-05 ข้อ 4 3-3.1-06

การบรรลุเป้าหมายตามแผน บรรลุเป้ าหมาย ชื่อเอกสาร/รายละเอียด คําสัง่ แต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึ กษาประจําตัวนักศึกษา ข้อมูลอาจารย์ที่ปรึ กษา และวัน – เวลาที่ให้คาํ ปรึ กษา สรุ ปจํานวนนักศึกษา ประจําปี การศึกษา 2553 ตัวอย่างข้อมูลจากระบบทะเบียนออนไลน์ คู่มือนักศึกษา (ตัวอย่างรายวิชาตลอดหลักสูตร) ตัวอย่างข้อมูลเว็บไซต์ของวิทยาลัย


49

หลักฐาน ข้อ 5 ข้อ 6

เอกสารหมายเลข 3-3.1-07 3-3.1-08

ข้อ 7

3-3.1-08

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ข้อมูลการเข้าร่ วมอบรมสัมมนาบริ การวิชาการของศิษย์เก่า รายงานความพึงพอใจ ในการให้บริ การให้คาํ ปรึ กษาและด้านข้อมูล ข่าวสาร ต่อนักศึกษา วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก (สํานักวิจยั ) รายงานความพึงพอใจในการให้บริ การให้คาํ ปรึ กษา และด้านข้อมูล ข่าวสารต่อนักศึกษา วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก (สํานักวิจยั )

ตัวบ่ งชี้ที่ 3.2 : ระบบและกลไกการส่ งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน 1. สถาบันจัดทําแผนการจัดกิ จกรรมพัฒนานักศึกษาที่ส่งเสริ มผล การเรี ยนรู ้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ ทุกด้าน 2. มีกิจกรรมให้ความรู ้และทักษะการประกันคุณภาพการศึกษาแก่ นักศึกษา 3. มีการส่ งเสริ มให้นักศึกษานําความรู ้ดา้ นการประกันคุณภาพไป ใช้ใ นการจัด กิ จ กรรมที่ ด ํา เนิ น การโดยนัก ศึ ก ษาอย่า งน้อ ย 5 ประเภทสําหรั บระดับปริ ญญาตรี และอย่างน้อย 2 ประเภท สําหรับระดับบัณฑิตศึกษาจากกิจกรรมต่อไปนี้ -กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริ มคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ -กิจกรรมกีฬาหรื อการส่ งเสริ มสุ ขภาพ -กิจกรรมบําเพ็ญประโยชน์หรื อรักษาสิ่ งแวดล้อม -กิจกรรมเสริ มสร้างคุณธรรมและจริ ยธรรม -กิจกรรมส่ งเสริ มศิลปะและวัฒนธรรม 4. มีการสนับสนุ นให้นกั ศึกษาสร้างเครื อข่ายพัฒนาคุณภาพภายใน สถาบันและระหว่างสถาบัน และมีกิจกรรมร่ วมกัน 5. มี ก ารประเมิ น ความสํา เร็ จ ตามวัต ถุ ป ระสงค์ข องแผนการจัด กิจกรรมพัฒนานักศึกษา

มี 

 

 

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข 3-3.2-01 3-3.2-02 3-3.2-03 3-3.2-04 3-3.2-05 3-3.2-06

3-3.2-07 3-3.2-08 3-3.2-09


50

เกณฑ์ มาตรฐาน 6. มี การนําผลการประเมิ นไปปรั บปรุ งแผนหรื อปรั บปรุ งการจัด กิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการ มีการดําเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 3 หรื อ 4 ข้อ

มี 

ไม่ มี

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 5 ข้อ

เอกสารหมายเลข 3-3.2-09

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 6 ข้อ

6 ข้อ 6 ข้อ

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน 6 ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ผลการดําเนินงาน ข้อ 1 วิ ท ยาลัย จัด ทํา แผนงานกิ จ กรรมการพัฒ นานัก ศึ ก ษาเพื่ อ พัฒ นานัก ศึ ก ษา ให้มี คุ ณ ลัก ษณะที่ วิทยาลัยกําหนด และสอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ (3-3.2-01/ 3-3.2-02/3-3.2-03) ข้อ 2 มีการดําเนิ นงานด้านการให้ความรู ้และการประกันคุณภาพการศึกษาแก่นกั ศึกษา เช่น โครงการ สั ม มนาผู ้นํา นั ก ศึ ก ษา และโครงการอบรมเผยแพร่ ค วามรู ้ ก ารประกัน คุ ณ ภาพสู่ นัก ศึ ก ษา (3-3.2-04/3-3.2-05) ข้อ 3 มีการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มให้นกั ศึกษา นําความรู ้ดา้ นการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ใน กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริ มคุณลักษณะบัณฑิต ที่พึงประสงค์ กิจกรรมกีฬา กิจกรรมบําเพ็ญ ประโยชน์ กิจกรรมส่ งเสริ ม คุณธรรม จริ ยธรรม กิจกรรมส่ งเสริ มศิลปวัฒนธรรม (3-3.2-06) ข้อ 4 สนับสนุนให้นกั ศึกษาร่ วมประชุมสัมมนากับสถาบันอื่น เพื่อสร้างเครื อข่ายการพัฒนาคุณภาพ นักศึกษาและเพื่อเป็ นการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ประสบการณ์ โดยวิทยาลัยจัดสรรงบประมาณการจัด กิจกรรมแก่นกั ศึกษา มีการจัดตั้งคณะกรรมการองค์การนักศึกษา (3-3.2-07/3-3.2-08) ข้อ 5 มีการสรุ ปผลการจัดกิจกรรมและประเมินผลความสําเร็ จตามแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา (3-3.2-09) ข้อ 6 มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุ งแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาอย่างต่อเนื่อง (3-3.2-09)


51

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน 5 คะแนน รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 3-3.2-01 3-3.2-02 3-3.2-03 ข้อ 2 3-3.2-04 3-3.2-05 ข้อ 3 3-3.2-06 ข้อ 4 3-3.2-07 3-3.2-08 ข้อ 5 3-3.2-09 ข้อ 6 3-3.2-09

การบรรลุเป้าหมายตามแผน บรรลุเป้ าหมาย

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด แผนยุทธศาสตร์วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก แผนพัฒนาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2553 - 2556) แนวปฏิบตั ิและแผนการดําเนินงานสํานักกิจการนักศึกษาฯ ปี การศึกษา 2553 โครงการสัมมนาผูน้ าํ นักศึกษา โครงการอบรมเผยแพร่ ความรู ้การประกันคุณภาพสู่ นกั ศึกษา รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ปี การศึกษา 2553 สํานักกิจการนักศึกษาฯ แฟ้ มส่ งบุคลากรและนักศึกษาเข้าร่ วมสัมมนา คู่มือองค์การนักศึกษา สรุ ปประเมินโครงการดอกเสลารั่วม่วง – ขาว NO เหล้าปลอดบุหรี่ สรุ ปประเมินโครงการดอกเสลารั่วม่วง – ขาว NO เหล้าปลอดบุหรี่


52

องค์ ประกอบที่ 4 การวิจัย ตัวบ่ งชี้ที่ 4.1 : ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน มี  1. มีระบบและกลไกบริ หารงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายตามแผนด้านการวิจยั ของสถาบัน และดําเนินการตามระบบที่กาํ หนด

2. มีการบูรณาการกระบวนการวิจยั หรื องานสร้างสรรค์กบั การเรี ยนการสอน 3. มีการพัฒนาศักยภาพด้านการวิจยั หรื องานสร้างสรรค์และ ให้ความรู ้ดา้ นจรรยาบรรณการวิจยั แก่อาจารย์ประจําและ นักวิจยั

4. มีการจัดสรรงบประมาณของสถาบัน เพื่อเป็ นทุนวิจยั หรื อ งานสร้างสรรค์

5. มีการสนับสนุนพันธกิจด้านการวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ ตามอัตลักษณ์ของสถาบันอย่างน้อยในประเด็นต่อไปนี้ - ห้องปฏิบตั ิการวิจยั ฯ หรื อหน่วยวิจยั ฯ หรื อศูนย์เครื่ องมือ หรื อศูนย์ให้คาํ ปรึ กษาและสนับสนุนการวิจยั ฯ - ห้องสมุดหรื อแหล่งค้นคว้าข้อมูลสนับสนุนการวิจยั ฯ - สิ่ งอํานวยความสะดวกหรื อการรักษาความปลอดภัยใน การวิจยั ฯ เช่น ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบรักษา ความปลอดภัยในห้องปฏิบตั ิการวิจยั

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข 4-4.1-01 4-4.1-04 4-4.1-08 4-4.1-09 4-4.1-28 4-4.1-10 4-4.1-11 4-4.1-10 4-4.1-12 4-4.1-13 4-4.1-16 4-4.1-17 4-4.1-28 4-4.1-14 4-4.1-15 4-4.1-17 4-4.1-18 4-4.1-08 4-4.1-11 4-4.1-15 4-4.1-17 4-4.1-18 4-4.1-19 4-4.1-24


53

เกณฑ์ มาตรฐาน - กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริ มงานวิจยั ฯ เช่น การจัดประชุม วิ ช าการ การจั ด แสดงงานสร้ า งสรรค์ การจั ด ให้ มี ศาสตราจารย์อ าคัน ตุ ก ะหรื อศาสตราจารย์รั บ เชิ ญ (visiting professor) 6. มีการติดตามและประเมินผลการสนับสนุนในข้อ 4 และ ข้อ 5 อย่างครบถ้วนทุกประเด็น 7. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุ งการสนับสนุนพันธกิจ ด้านการวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ของสถาบัน 8. มีระบบและกลไกเพื่อสร้างงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์บน พื้นฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น หรื อจากสภาพปั ญหาของสังคม เพื่อตอบสนองความต้องการของท้องถิ่นและสังคม และ ดําเนินการตามระบบที่กาํ หนด (เฉพาะกลุ่ม ข และ ค 2) เกณฑ์ การประเมิน : 1. เกณฑ์ ทวั่ ไป คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการ มีการดําเนินการ 1 ข้อ 2 หรื อ 3 ข้อ

มี

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข

4-4.1-23

4-4.1-27

4-4.1-21 4-4.1-22

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 4 หรื อ 5 ข้อ

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 6 ข้อ

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 7 ข้อ

2. เกณฑ์ เฉพาะสถาบันกลุ่ม ข และ ค 2 คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 มีการดําเนินการ มีการดําเนินการ มีการดําเนินการ 1 ข้อ 2 หรื อ 3 ข้อ 4 หรื อ 5 ข้อ

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 6 ข้อ

คะแนน 5 มีการดําเนินการ ครบ 7 ข้อตาม เกณฑ์ทวั่ ไป และ ครบถ้วนตาม เกณฑ์มาตรฐาน เพิม่ เติมเฉพาะกลุ่ม

ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

8 ข้อ 8 ข้อ (ครบถ้วนตามเกณฑ์มาตรฐานเพิ่มเติมเฉพาะกลุ่ม)


54

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน 8 ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ผลการดําเนินงาน ข้อ 1 มีระบบและกลไกบริ หารงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายตามแผนด้าน การวิจยั ของสถาบันและดําเนินการตามระบบที่กาํ หนด 1. มีแผนงานวิจยั ตามยุทธศาสตร์ การวิจยั ของวิทยาลัย ในแผนพัฒนาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก (4-4.1-01) และแผนกลยุทธ์สาํ นักวิจยั (4-4.1-04) ที่กาํ หนดเป้ าหมายของ งานด้านการวิจยั ของวิทยาลัย 2. มีการจัดทํามาตรฐานการปฏิบตั ิงานวิจยั (4-4.1-28) และคู่มือการวิจยั (4-4.1-08) เพื่อ สร้ างความเข้าใจและใช้เป็ นแนวทางการผลิ ตผลงานวิจยั ของบุคลากร ในวิทยาลัย ประจําปี 2553 3. มีคณะกรรมการการวิจยั (4-4.1-09) และคณะกรรมการพิจารณาโครงร่ างงานวิจยั (4-4.1-09) เพื่อกํากับดูแลให้งานวิจยั เป็ นไปตามแผนด้านการวิจยั ของสถาบัน 4. สํานักวิจยั และวางแผนรับผิดชอบการติดตามการดําเนิ นงานวิจยั ให้เป็ นไปตามแผน กลยุทธ์ของสํานัก (4-4.1-04) และยุทธศาสตร์ดา้ นการวิจยั ของวิทยาลัย ข้อ 2 มีการบูรณาการกระบวนการวิจยั หรื องานสร้างสรรค์กบั การเรี ยนการสอน 1. โดยได้ประชาสัมพันธ์ให้อาจารย์ทาํ งานวิจยั ในชั้นเรี ยน เพื่อแก้ปัญหาการเรี ยน การสอน ส่ งเสริ มให้มีการวิจยั เกี่ยวกับการเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ (4-4.1-10) 2. มีการให้นกั ศึกษามีส่วนร่ วมในการประชุมเสนอผลงานวิจยั และงานสร้างสรรค์ ระดับชาติในโครงการประชุมวิชาการระดับชาติ เบญจมิตรวิชาการครั้งที่1(4-4.1-11) ข้อ 3

มีการพัฒนาศักยภาพด้านการวิจยั หรื องานสร้างสรรค์และให้ความรู ้ดา้ นจรรยาบรรณ การวิจยั แก่อาจารย์ประจําและนักวิจยั 1. การรับบุคลากรเข้าเป็ นอาจารย์ มีการกําหนดคุณสมบัติวา่ ต้องมีประสบการณ์ การทําวิจยั (4-4.1-12) 2. มีการเผยแพร่ มาตรฐานการปฏิบตั ิงานวิจยั (4-4.1-28) ที่มีจรรยาบรรณนักวิจยั ใน เว็บไซต์ของสํานักวิจยั (4-4.1-17) 3. มีการพัฒนาศักยภาพด้านงานวิจยั ของอาจารย์และส่ งเสริ มให้อาจารย์ทาํ การวิจยั ตามโครงการพัฒนาทักษะการทําวิจยั โครงการผลิตผลงานวิจยั และนวัตกรรม และ โครงการอื่นๆ (4-4.1-13) 4. มีการส่ งเสริ มให้อาจารย์ทาํ การวิจยั เป็ นทีม (4-4.1-10)


55

เกณฑ์

ข้อ 4

ข้อ 5

ผลการดําเนินงาน 5. มีการพัฒนาศักยภาพด้านงานวิจยั ของอาจารย์และส่ งเสริ มให้อาจารย์ทาํ การวิจยั ตาม โครงการพัฒนาทักษะการทําวิจยั โครงการผลิตผลงานวิจยั และนวัตกรรม และ โครงการอื่นๆ (4-4.1-13) 6. มีการส่ งเสริ มให้อาจารย์ทาํ การวิจยั เป็ นทีม (4-4.1-10) 7. มีการสร้างแรงจูงใจให้อาจารย์ทาํ การวิจยั โดยจัดแสดงผลงานวิจยั ของอาจารย์เพื่อ เป็ นการยกย่องชมเชย (4-4.1-16) มีการจัดสรรงบประมาณของวิทยาลัย เพื่อเป็ นทุนวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ 1. วิทยาลัยมีกองทุนวิจยั ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ เพือ่ เป็ นทุนวิจยั หรื องาน สร้างสรรค์ (4-4.1-15) 2. มีการประชาสัมพันธ์แหล่งทุนภายนอกให้บุคลากรได้รับทราบโดยทัว่ กัน (4-4.1-14) และส่ งเสริ มให้อาจารย์หาแหล่งทุนวิจยั โดยไม่จาํ กัดแหล่งทุน (4-4.1-17) 3. มีสาํ นักวิจยั และวางแผนเป็ นหน่วยที่ทาํ หน้าที่พี่เลี้ยงตรวจสอบการเสนอโครงการวิจยั ของอาจารย์ มีโครงการคลินิกวิจยั ช่วยเหลือการทําวิจยั ของอาจารย์ (4-4.1-18) มีการสนับสนุนพันธกิจด้านการวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ ตามอัตลักษณ์ของสถาบันดังนี้ 1. มีงบประมาณสนับสนุนการเผยแพร่ งานวิจยั ของอาจารย์ (4-4.1-15 และ 4-4.1-24) 2. จัดศูนย์ให้คาํ ปรึ กษาและสนับสนุนการวิจยั ฯ คือ ที่สาํ นักวิจยั และวางแผน มีนกั วิจยั ประจําคลินิกวิจยั (4-4.1-18) 3. มีหอ้ งสมุดหรื อแหล่งค้นคว้าข้อมูลสนับสนุนการวิจยั ฯโดยมีแหล่งสื บค้น อิเล็กทรอนิกส์ที่เป็ นสากล และสิ่ งอํานวยความสะดวกในการวิจยั ฯ (4-4.1-19) 4. มีการสนับสนุนกิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริ มงานวิจยั ฯ เช่น การจัดประชุมวิชาการ การจัด แสดงงานสร้างสรรค์ ในปี 2553 มีการประชุมวิชาการระดับชาติ เบญจมิตรวิชาการครั้ง ที่ 1 ที่สนับสนุนกิจกรรมวิชาการ (4-4.1-11) 5. มีระบบสารสนเทศเพื่อการวิจยั ดังนี้ 5.1 แหล่งทุนวิจยั (4-4.1-17) 5.2 ข้อมูลผลงานวิจยั ของอาจารย์วิทยาลัย (4-4.1-19) (ในส่ วนของฐานข้อมูลการ ค้นคว้างานวิจยั และ จากเว็บไซต์ Thailis) 5.3 ข้อมูลแหล่งเผยแพร่ งานวิจยั (4-4.1-17) 5.4 มีขอ้ มูลเกี่ยวกับระบบและกลไก (4-4.1-08) 5.5 มีขอ้ มูลเกี่ยวกับคู่มือการวิจยั ที่คน้ หาได้ง่าย (4-4.1-08)


56

เกณฑ์ ข้อ 6

ข้อ 7

ข้อ 8

ผลการดําเนินงาน มีการติดตามและประเมินผลการสนับสนุนในข้อ 4 และ ข้อ 5 อย่างครบถ้วนทุกประเด็น โดย สํานักวิจยั และวางแผนทําหน้าที่ประเมิน (4-4.1-23) ดังนี้ 1. ประเมินการดําเนินงานวิจยั ของวิทยาลัย ในหัวข้อ การทันเวลา คุณภาพของงานวิจยั 2. ประเมินด้านอื่นที่เกี่ยวข้องกับงานวิจยั เช่นความเหมาะสมและพอเพียงของสารสนเทศ ความพอเพียงของแหล่งค้นคว้า มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุ งการสนับสนุนพันธกิจ ด้านการวิจยั หรื องาน สร้างสรรค์ของสถาบันโดย สํานักวิจยั และวางแผนทําหน้าที่ประชุมสรุ ปผลการประเมิน เพื่อ นําไปปรับปรุ งแผนงานด้านการวิจยั ของวิทยาลัย (4-4.1-27) มีระบบและกลไกเพื่อสร้างงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์บนพื้นฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น หรื อ จากสภาพปั ญหาของสังคมเพื่อตอบสนองความต้องการของท้องถิ่นและสังคม และ ดําเนินการตามระบบที่กาํ หนด (เฉพาะกลุ่ม ข และ ค 2) 1. สัญญาโครงการวิจยั ร่ วมกับสถานีตาํ รวจนครบาลบางนา (4-4.1-21) 2. สัญญาโครงการวิจยั ร่ วมกับวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ (4-4.1-22)

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน 5 คะแนน รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 4-4.1-01 4-4.1-04 4-4.1-08 4-4.1-09 4-4.1-28 ข้อ 2 4-4.1-10 4-4.1-11

การบรรลุเป้าหมายตามแผน บรรลุเป้ าหมาย

-

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด แผนพัฒนาวิทยาลัย แผนกลยุทธ์สาํ นักวิจยั และวางแผน คู่มือการวิจยั สํานักวิจยั และวางแผน คําสัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาโครงร่ างการวิจยั มาตรฐานการปฏิบตั ิงานวิจยั โครงการวิจยั สถาบัน/วิจยั ในชั้นเรี ยน/วิจยั เพื่อขอตําแหน่ง วิชาการ โครงการการประชุมวิชาการระดับชาติ เบญจมิตรวิชาการครั้งที่ 1


57

หลักฐาน ข้อ 3

ข้อ 4

ข้อ 5

ข้อ 6 ข้อ 7 ข้อ 8

เอกสารหมายเลข 4-4.1-10

-

4-4.1-12

-

4-4.1-13 4-4.1-16 4-4.1-17 4-4.1-28 4-4.1-14 4-4.1-15 4-4.1-17 4-4.1-18 4-4.1-08 4-4.1-11

-

4-4.1-15 4-4.1-17 4-4.1-18 4-4.1-19 4-4.1-24 4-4.1-23

-

4-4.1-27 4-4.1-21 4-4.1-22

-

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด โครงการวิจยั สถาบัน/วิจยั ในชั้นเรี ยน/โครงการวิจยั เพื่อขอ ตําแหน่งทางวิชาการ ประกาศการรับอาจารย์ที่มีประสบการณ์การวิจยั (แฟ้ มสมัครงานสํานักอธิการบดี) แฟ้ มประวัตินกั วิจยั (เป็ นคณะผูว้ จิ ยั ) บอร์ดแสดงผลงานนักวิจยั ดีเด่น เว็บไซต์สาํ นักวิจยั และวางแผน มาตรฐานการปฏิบตั ิงานวิจยั แฟ้ มประชาสัมพันธ์ งบประมาณสํานักวิจยั และวางแผน ปี การศึกษา 2553 เว็บไซต์สาํ นักวิจยั และวางแผน โครงการคลินิกวิจยั คู่มือการวิจยั สํานักวิจยั และวางแผน, คู่มือการวิจยั สถาบัน โครงการการประชุมวิชาการระดับชาติ เบญจมิตรวิชาการ ครั้งที่ 1 งบประมาณสํานักวิจยั และวางแผน ปี การศึกษา 2553 เว็บไซต์สาํ นักวิจยั และวางแผน โครงการคลินิกวิจยั เว็บไซต์สาํ นักวิทยบริ การ ระเบียบการให้ทุนอุดหนุนการวิจยั ภายใน เอกสารการประเมินผลการดําเนินงานของสํานักวิจยั และ วางแผน ภาพถ่ายประชุมภายในสํานักวิจยั และวางแผน สัญญาโครงการวิจยั ร่ วมกับสถานีตาํ รวจนครบาลบางนา สัญญาโครงการวิจยั ร่ วมกับวิทยาลัยเซนต์หลุยส์


58

ตัวบ่ งชี้ที่ 4.2 : ระบบและกลไกการจัดการความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน 1. มีระบบและกลไกสนับสนุนเผยแพร่ ผลงานงานวิจยั หรื อ งานสร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการหรื อการตีพิมพ์ใน วารสารระดับชาติหรื อนานาชาติ และมีการเผยแพร่ ผลงาน วิจยั หรื องานสร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการหรื อ การตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรื อนานาชาติ 2. มีระบบและกลไกการรวบรวม คัดสรร วิเคราะห์และ สังเคราะห์ความรู ้จากงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ เพื่อให้ เป็ นองค์ความรู ้ที่คนทัว่ ไปเข้าใจได้ และดําเนินการตาม ระบบที่กาํ หนด 3. มีการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ องค์ความรู ้จากงาน วิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่ได้จากข้อ 2 สู่สาธารณชนและ ผูเ้ กี่ยวข้อง 4. มีการนําผลงานงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ และมีการรับรองการใช้ประโยชน์จริ งจาก หน่วยงานภายนอกหรื อชุมชน 5. มีระบบและกลไกเพื่อช่วยในการคุม้ ครองสิ ทธิ์ของ งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่นาํ ไปใช้ประโยชน์ และ ดําเนินการตามระบบที่กาํ หนด เกณฑ์ การประเมิน : 1. เกณฑ์ ทวั่ ไป คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการ มีการดําเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 3 ข้อ

มี 

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข 4-4.2-15 4-4.2-18 4-4.2-24

4-4.2-11

4-4.2-25

4-4.2-29

4-4.2-20

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 4 ข้อ 5 ข้อ 5 ข้อ

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 5 ข้อ


59

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน 5 ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ผลการดําเนินงาน ข้อ 1 มีระบบและกลไกสนับสนุนเผยแพร่ ผลงานงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ในการ ประชุมวิชาการหรื อการตีพมิ พ์ในวารสารระดับชาติหรื อนานาชาติ โดย 1. มีโครงการคลินิกวิจยั เพื่อช่วยนักวิจยั รุ่ นใหม่ และ (4-4.2-18) 2. มีโครงการคลินิกวิจยั (4-4.2-18) เพื่อสนับสนุนการตรวจสอบภาษาอังกฤษของ บทความวิจยั ของอาจารย์ 3. มีการสนับสนุนงบประมาณในการเผยแพร่ งานวิจยั ของอาจารย์ (4-4.2-24) 4. มีค่าตอบแทนผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ (4-4.2-24) 5. วิทยาลัยให้การสนับสนุนเป็ นผูจ้ ่ายเงินให้วารสารที่เรี ยกเก็บการตีพิมพ์ ผลงานวิจยั ของอาจารย์ (4-4.2-15, 4-4.2-24) ข้อ 2

มีระบบและกลไกการรวบรวม คัดสรร วิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู ้จาก งานวิ จ ัย หรื อ งานสร้ า งสรรค์ เพื่ อ ให้ เ ป็ นองค์ค วามรู ้ ที่ ค นทั่ว ไปเข้า ใจได้ และ ดําเนินการตามระบบที่กาํ หนด (4-4.2-11)

ข้อ 3

มีการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ องค์ความรู ้จากงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่ ได้จากข้อ 2 สู่สาธารณชนและ ผูเ้ กี่ยวข้อง - มีการเผยแพร่ องค์ความรู ้จากงานวิจยั สู่ สาธารณชนและ ผูเ้ กี่ ยวข้อง เช่ น การวิจยั เกี่ยวกับสถานพินิจ ห้องสมุดมีชีวิต (4-4.2-25)

ข้อ 4

มีการนําผลงานงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ และมีการ รับรองการใช้ประโยชน์จริ งจากหน่วยงานภายนอกหรื อชุมชน - ได้รับการรับรองการใช้ประโยชน์จากองค์ความรู ้จากงานวิจยั สู่สาธารณชนและ ผูเ้ กี่ยวข้อง เช่น การวิจยั เกี่ยวกับสถานพินิจ ห้องสมุดมีชีวิต (4-4.2-29) มีระบบและกลไกเพื่อช่วยในการคุม้ ครองสิ ทธิ์ของงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ ที่นาํ ไปใช้ประโยชน์ และ ดําเนินการตามระบบที่กาํ หนด - มีการให้ความรู ้แก่นกั วิจยั เกี่ยวกับการเผยแพร่ ผลงานวิจยั และสิ ทธิบตั รและ ทรัพย์สินทางปั ญญา โดยจัดเป็ นโครงการการเผยแพร่ ผลงานวิจยั ในระดับสากล (4-4.2-20)

ข้อ 5


60

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน 5 คะแนน รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 4-4.2-15 4-4.2-18 4-4.2-24 ข้อ 2 4-4.2-11 ข้อ 3

4-4.2-25

ข้อ 4

4-4.2-29

ข้อ 5

4-4.2-20

การบรรลุเป้าหมายตามแผน บรรลุเป้ าหมาย

-

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด งบประมาณสํานักวิจยั และวางแผน โครงการคลินิกวิจยั ระเบียบการให้เงินอุดหนุนการวิจยั โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ เบญจมิตรวิชาการ ครั้งที่ 1

- หนังสื อส่ งผลงานวิจยั ให้ วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนีตรัง /สถานพินิจเด็กและเยาวชน - แฟ้ มหนังสื อเข้าภายในทัว่ ไป (หนังสื อตอบรับการใช้ผลงานวิจยั จากวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง) - โครงการวิจยั แห่ งชาติ (Thailand Research Expo)

ตัวบ่ งชี้ที่ 4.3 : เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ต่อจํานวนอาจารย์ ประจําและนักวิจัยประจํา ชนิดของตัวบ่ งชี้ : ปัจจัยนําเข้ า เกณฑ์ การประเมิน : โดยการแปลงจํานวนเงินต่อจํานวนอาจารย์ประจําและนักวิจยั ประจําเป็ นคะแนนระหว่าง 0 – 5 1. เกณฑ์ เฉพาะสถาบันกลุ่ม ข และ ค2 จําแนกเป็ น 3 กลุ่มสาขาวิชา วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอกทําการเปิ ดการเรี ยนการสอนจํานวน 2 กลุ่มสาขาวิชา ได้แก่ 1) กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันที่ กําหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน 2) กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันที่ กําหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน


61

ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

4 3.74

ผลการดําเนินงาน 1. ผลงานวิจัยวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก 1.1 วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอกมีคณะ/ สาขา ที่จดั อยูใ่ นกลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จํานวน 1 คณะ ได้แก่ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส่ วนในสาขาวิชามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ ประกอบด้วย 4 คณะ ได้แก่ คณะบริ หารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร์ คณะนิ ติศาสตร์ และบัณฑิตวิทยาลัย ใน ปี การศึกษา 2553 นี้ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก มีผลงานวิจยั ทั้งสิ้ น 17 โครงการ มีรายละเอียดดังนี้ ลําดับ ปี โครงการวิจัย ผู้วจิ ัย งบประมาณ ที่ อนุมัติ 1

2553

2

2553

3

2553

4

2553

5

2553

6

2553

การศึกษาความต้องการในการพัฒนาความรู ้ ต่อเนื่องทางวิชาชีพ (CPD) ของผูท้ าํ บัญชี เขตบางนาและจังหวัดสมุทรปราการ ปัจจัยที่ส่งผลต่อต้นทุนโลจิสติกส์ของไทย : กรณี ศึกษาผูป้ ระกอบการด้านโลจิสติกส์ที่จดทะเบียนกับ สมาคมผูร้ ับจัดการขนส่ งสิ นค้าระหว่างประเทศ

อ.กาญจนา แป้ นนวลและ คณะ

100,000

อ.รวมพล จันทศาสตร์ อ.อัสรี ยาภร สง่าอารี ยก์ ลุ

100,000

ปั ญ หาการมี ส่ ว นร่วมของประชาชนในฐานะ อ.ญาณวัฒน์ พลอยเทศ อาสาสมัค รตํา รวจชุ ม ชนศึ ก ษาตามระเบี ย บ ข้ อ บั ง คั บ สํ า นั ก งานตํ า รวจแห่ งชาติ ว่ า ด้ ว ย อาสาสมั ค รตํ า รวจชุ มชน พ.ศ.2551 และ บทบัญ ญัติ รั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจัก รไทย พุทธศักราช 2550 การใช้วิธีการสอนภาษาอังกฤษแบบโครงการเพื่อ อ.นันทิยา สุ วรรณ พัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษและทักษะการ คิ ด ของนั ก ศึ ก ษาชั้น ปี ที่ 2 วิ ท ยาลัย เซาธ์ อี ส ท์ บางกอก องค์ประกอบเชิงยืนยันพฤติกรรมการเป็ นสมาชิกที่ดี ผศ.ดร.วัลยา ชูประดิษฐ์ ต่อองค์การของพนักงานในองค์กรธุรกิจ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น เ กี่ ย ว กั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ อ.ธิปัตย์ โสตถิวรรณ์, สภาพแวดล้อมการเรี ยนรู ้ และระบบสารสนเทศ อ.พิชญ์สินี ศรี สวัสดิ์ ในงานบริ การนักศึกษาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก

120,000

50,000

120,000 40,000


62

ลําดับ ปี โครงการวิจัย ที่ อนุมัติ 7 2553 ความพึ ง พอใจของผูเ้ รี ย นต่ อคุ ณ ภาพการจัด การเรี ยนการสอนของวิ ท ยาลัย เซาธ์ อี ส ท์ บางกอก 8 2553 ภาวะการมี งานทํ า ของบั ณ ฑิ ตวิ ท ยาลั ย เซาธ์อีสท์บางกอก 9 2553 คุ ณ ภาพบัณ ฑิ ต วิ ท ยาลัย เซาธ์ อี ส ท์บ างกอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษา 10 2553 การศึ ก ษาอั ต ลั ก ษณ์ ข องบั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย เซาธ์อีสท์บางกอก 11 2553 คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามความ ต้อ งการของผู ใ้ ช้บ ัณ ฑิ ต วิ ท ยาลัย เซาธ์ อี ส ท์ บางกอกทุกหลักสู ตร 12 2553 การศึ ก ษาสภาพปั จ จัย ในการสอนที่ สัมพัน ธ์ กับ การเรี ย นรู ้ อ ย่า งมี ค วามสุ ข ของนัก ศึ ก ษา วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก วิทยาเขตบางนา 13 2553 การพัฒนารู ปแบบศิลปะบําบัดเพื่อพัฒนาและ ฟื้ นฟูสภาพจิตใจผูต้ อ้ งขังหญิงที่เหมาะสมใน บริ บทของสังคมไทย 14 2553 คุ ณภาพการให้บริ ก ารประชาชน กรณี ศึกษา สถานีตาํ รวจนครบาลบางนา 15 2553 การศึกษาแบบจําลองวิวฒั นาการธุ รกิจค้าปลีก ไทยเพื่อสร้างความได้เปรี ยบในเชิงการแข่งขัน 16 2553 การยอมรั บ และความคิ ด เห็ น ของนัก ศึ ก ษา ระดับอุดมศึกษาในเขตจังหวัดสมุทรปราการที่ ใช้บริ การอิเล็กทรอนิ กส์ชอ้ ปปิ้ ง บนเครื อข่าย อินเทอร์เน็ต

ผู้วจิ ัย

งบประมาณ

อ.เรณู จันทะวงศา อ.สันติภูมิ ราชวิชา

35,000

อ.ธิปัตย์ โสตถิวรรณ์ อ.สุ คนธ์ สนธิ อ.ธิปัตย์ โสตถิวรรณ์ อ.พรรณทิพย์ บุญเหลือ อ.ธิปัตย์ โสตถิวรรณ์ อ.ทรงพล นคเรศเรื องศักดิ์ อ.ธิปัตย์ โสตถิวรรณ์ อ.นริ ศ พุม่ ดนตรี

50,000

อ.ธิปัตย์ โสตถิวรรณ์

50,000

อ.ชนาพร แสงงาม และคณะผูว้ ิจยั (ทุนภายนอก) อ.ธิปัตย์ โสตถิวรรณ์และ คณะ (ทุนภายนอก) ดร.อําพล นววงศ์เสถียร

125,000

อ.สุ ริยะ พุม่ เฉลิม

70,000

60,000 70,000 50,000

200,000 100,000


63

ลําดับ ปี โครงการวิจัย ผู้วจิ ัย งบประมาณ ที่ อนุมัติ 17 2553 การศึ ก ษาสภาพปั จ จัย ในการสอนที่ สัมพัน ธ์ ดร.เฉลิมวิทย์ ฉิมตระกูล 45,000 กับ การเรี ย นรู ้ อ ย่า งมี ค วามสุ ข ของนัก ศึ ก ษา อ.ภิญญดา หงษ์จรเดชา วิ ท ย า ลั ย เ ซา ธ์ อี สท์ บ า ง ก อก วิ ท ย า เ ข ต เทคโนโลยีศรี ราชา รวมงบประมาณในการให้ทุนอุดหนุนภายในตลอดปี การศึกษา 2553 จํานวนอาจารย์วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอกทั้งสิ้ นจํานวน 74 คน คิดเป็ น จํานวน จาก 25,000 บาทต่อคน คิดเป็ น ดังนั้น 18,717 บาทต่อคน คิดเป็ น การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน 3.74 คะแนน

จํานวน 1,385,000 บาท 18,717 5 3.74

บาทต่อคน คะแนน คะแนน

การบรรลุเป้าหมายตามแผน ไม่บรรลุเป้ าหมาย

1.2 วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอกมีคณะ / สาขา ที่จดั อยูใ่ นกลุ่มวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี จํานวน 1 คณะ ได้แก่ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งในปี การศึกษา 2553 นี้ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ไม่มีการดําเนินผลิตผลงานวิจยั รวมงบประมาณในการให้ทุนอุดหนุนภายในตลอดปี การศึกษา 2553 จํานวนอาจารย์ในกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คิดเป็ น จาก 60,000 บาทต่อคน คิดเป็ น ดังนั้น 0 บาทต่อคน คิดเป็ น การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน 0 คะแนน

จํานวน 0 จํานวน 5 จํานวน 0 5 0

บาท คน บาทต่อคน คะแนน คะแนน

การบรรลุเป้าหมายตามแผน ไม่บรรลุเป้ าหมาย


64

1.3 วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอกมี คณะ / สาขา ที่จดั อยู่ในกลุ่มสาขาวิชามนุ ษย์และสังคมศาสตร์ ประกอบด้วย 4 คณะ ได้แก่ คณะบริ หารธุรกิจ คณะศิลปะศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ และบัณฑิตวิทยาลัย ใน ปี การศึกษา 2553 นี้ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก มีผลงานทั้งสิ้ น 17 โครงการ รายละเอียดดังนี้ ลําดับ ปี โครงการวิจัย ผู้วจิ ัย งบประมาณ ที่ อนุมัติ 1 2553 การศึกษาความต้องการในการพัฒนาความรู ้ 100,000 อ.กาญจนา แป้ นนวลและ ต่อเนื่องทางวิชาชีพ (CPD) ของผูท้ าํ บัญชี คณะ เขตบางนาและจังหวัดสมุทรปราการ 2 2553 100,000 ปัจจัยที่ส่งผลต่อต้นทุนโลจิสติกส์ของไทย : อ.รวมพล จันทศาสตร์ กรณี ศึกษาผูป้ ระกอบการด้านโลจิสติกส์ที่ อ.อัสรี ยาภร สง่าอารี ยก์ ลุ จดทะเบียนกับสมาคมผูร้ ับจัดการขนส่ งสิ นค้า ระหว่างประเทศ 3 2553 ปั ญหาการมีส่วนร่ วมของประชาชนในฐานะ 120,000 อาสาสมัครตํารวจชุมชนศึกษาตามระเบียบ ข้อบังคับสํานักงานตํารวจแห่งชาติวา่ ด้วย อ.ญาณวัฒน์ พลอยเทศ อาสา สมัครตํารวจชุมชน พ.ศ.2551 และ บทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 4 2553 การใช้วิธีการสอนภาษาอังกฤษแบบโครงการ อ.นันทิยา สุ วรรณ 50,000 เพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษและทักษะ การคิดของนักศึกษาชั้นปี ที่ 2 วิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก 5 2553 องค์ประกอบเชิงยืนยันพฤติกรรมการเป็ นสมาชิก 120,000 ผศ.ดร.วัลยา ชูประดิษฐ์ ที่ดีต่อองค์การของพนักงานในองค์กรธุรกิจ 6 2553 ค ว า ม คิ ด เ ห็ น เ กี่ ย ว กั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ อ.ธิปัตย์ โสตถิวรรณ์, 40,000 สภาพแวดล้อมการเรี ยนรู ้ และระบบสารสนเทศ อ.พิชญ์สินี ศรี สวัสดิ์ ในงานบริ การนักศึกษาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก

7

2553

ความพึงพอใจของผูเ้ รี ยนต่อคุณภาพการจัด การเรี ยนการสอนของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก

อ.เรณู จันทะวงศา อ.สันติภูมิ ราชวิชา

35,000


65

ลําดับ ปี โครงการวิจัย ที่ อนุมัติ 8 2553 ภาวะการมีงานทําของบัณฑิตวิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก 9 2553 คุณภาพบัณฑิตวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษา 10 2553 การศึกษาอัตลักษณ์ของบัณฑิตวิทยาลัย เซาธ์อีสท์บางกอก 11 2553 คุณลักษณะของบัณฑิตที่พงึ ประสงค์ตามความ ต้องการของผูใ้ ช้บณั ฑิตวิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอกทุกหลักสู ตร 12 2553 การศึกษาสภาพปั จจัยในการสอนที่สมั พันธ์ กับการเรี ยนรู ้อย่างมีความสุขของนักศึกษา วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก วิทยาเขตบางนา 13 2553 การพัฒนารู ปแบบศิลปะบําบัดเพื่อพัฒนาและ ฟื้ นฟูสภาพจิตใจผูต้ อ้ งขังหญิงที่เหมาะสมใน บริ บทของสังคมไทย 14 2553 คุณภาพการให้บริ การประชาชน กรณี ศึกษา สถานีตาํ รวจนครบาลบางนา 15 2553 การศึกษาแบบจําลองวิวฒั นาการธุรกิจค้าปลีก ไทยเพื่อสร้างความได้เปรี ยบในเชิงการแข่งขัน 16 2553 การยอมรับและความคิดเห็นของนักศึกษา ระดับอุดมศึกษาในเขตจังหวัดสมุทรปราการที่ใช้ บริ การอิเล็กทรอนิกส์ชอ้ ปปิ้ ง บนเครื อข่าย อินเทอร์เน็ต 17 2553 การศึกษาสภาพปัจจัยในการสอนที่สมั พันธ์กบั การเรี ยนรู ้อย่างมีความสุ ขของนักศึกษาวิทยาลัย เซาธ์อีสท์บางกอก วิทยาเขตเทคโนโลยีศรี ราชา

ผู้วจิ ัย

งบประมาณ

อ.ธิปัตย์ โสตถิวรรณ์ อ.สุ คนธ์ สนธิ อ.ธิปัตย์ โสตถิวรรณ์ อ.พรรณทิพย์ บุญเหลือ อ.ธิปัตย์ โสตถิวรรณ์ อ.ทรงพล นคเรศเรื องศักดิ์ อ.ธิปัตย์ โสตถิวรรณ์ อ.นริ ศ พุม่ ดนตรี

50,000

อ.ธิปัตย์ โสตถิวรรณ์

50,000

อ.ชนาพร แสงงาม และคณะผูว้ ิจยั (ทุนภายนอก) อ.ธิปัตย์ โสตถิวรรณ์ และคณะ (ทุนภายนอก) ดร.อําพล นววงศ์เสถียร

125,000

อ.สุ ริยะ พุม่ เฉลิม

70,000

ดร.เฉลิมวิทย์ ฉิมตระกูล อ.ภิญญดา หงษ์จรเดชา

45,000

60,000 70,000 50,000

200,000 100,000


66

รวมงบประมาณในการให้ทุนอุดหนุนภายในตลอดปี การศึกษา 2553 จํานวน 1,385,000 บาท จํานวนอาจารย์ในกลุ่มสาขาวิชามนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์ จํานวน 69 คน คิดเป็ น จํานวน 20,073 บาทต่อคน จาก 25,000 บาทต่อคน ดังนั้น 20,073 บาทต่อคน การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน 4.01 คะแนน

คิดเป็ น คิดเป็ น

5 4.01

การบรรลุเป้าหมายตามแผน บรรลุเป้ าหมาย

คะแนน คะแนน


67

องค์ ประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแก่ สังคม

ตัวบ่ งชี้ที่ 5.1 : ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน 1. มีระบบและกลไกการบริ การทางวิชาการแก่สงั คม และ ดําเนินการตามระบบที่กาํ หนด

มี 

2. มีการบูรณาการงานบริ การทางวิชาการแก่สงั คมกับ การเรี ยนการสอน 3. มีการบูรณาการงานบริ การทางวิชาการแก่สงั คมกับ การวิจยั 4. มีการประเมินผลความสําร็ จของการบูรณาการงานบริ การ ทางวิชาการแก่สงั คมกับการเรี ยนการสอนและการวิจยั 5. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุ งการบูรณาการ งานบริ การทางวิชาการแก่สงั คมกับการเรี ยนการสอนและ การวิจยั

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข 5-5.1-01 5-5.1-02 5-5.1-03 5-5.1-04 5-5.1-05 5-5.1-06

5-5.1-07

5-5.1-08

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 2 ข้อ

ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 4 ข้อ 5 ข้อ 5 ข้อ

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 5 ข้อ


68

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน 5 ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ข้อ 1

ข้อ 2

ข้อ 3

ผลการดําเนินงาน 1. มีการกําหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนการบริ หารทางวิชาการตามจุดเน้นและความ เชี่ยวชาญของวิทยาลัย โดยมีการสํารวจความต้องการของชุมชน หรื อหน่วยงานทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชน มาประกอบการพิจารณา (5-5.1-01) 2. มีข้ นั ตอน หลักเกณฑ์ในการให้บริ การทางวิชาการด้านต่างๆ ที่สอดคล้องกับพันธกิจของ วิทยาลัย (5-5.1-02/5.5.1-03) 3. มีการดําเนิ นการตามแผน ตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลการดําเนินการและนําเสนอ ผลการดําเนิ นการต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริ หารวิทยาลัย เพื่อพิจาณาในข้อเสนอแนะใน การปรับปรุ ง 4. มีการนําข้อเสนอแนะไปเป็ นแนวทางในการปรับปรุ ง คุณภาพของการให้บริ การทาง วิชาการ เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายตามที่กาํ หนดไว้ มี ก ารกํา หนดประเด็น หรื อแผนในการบูรณาการงานบริ ก ารทางวิชาการแก่ สังคมกับ การเรี ยนการสอน เช่น 1) การบริ การทางวิชาการในโครงการ e – shopping ของคณะบริ หารธุรกิจได้นาํ ประเด็น ความรู ้ ข้อ เสนอแนะ ข้อ สั ง เกต มาบู ร ณาการเข้า กั บ การเรี ยนการสอนวิ ช า พาณิ ช ย์ อิเล็กทรอนิกส์โดยนําความรู ้หรื อองค์ความรู ้มาปรับปรุ งกระบวนการเรี ยนการสอนในรายวิชา ดังกล่าว (5-5.1-04/5-5.1-05) 2) โครงการที่ ป รึ ก ษากฏหมายประจํา ศาลจัง หวัด พระโขนงได้นํา ความรู ้ แง่ มุ ม ทาง กฏหมายหรื อพฤติกรรมของบุคคลมาบูรณาการใช้กบั การเรี ยนการสอนวิชาว่าความและการ ให้คาํ ปรึ กษากฏหมาย เป็ นต้น (5-5.1-04/5-5.1-05) มีการกําหนดประเด็นหรื อแผนในการบูรณาการงานบริ การทางวิชาการแก่สังคมกับการ วิจยั อย่างเป็ นระบบ โดยการนําความรู ้ ประสบการณ์จากการให้บริ การทางวิชาการ มาพัฒนา ต่อยอดไปสู่ การพัฒนาองค์ความรู ้ผา่ นกระบวนการวิจยั เช่น 1) โครงการบริ การทางวิชาการ เรื่ อง การต่อยอดธุรกิจด้วย e-Marketing , e-Commerce , และ e-shopping ได้นาํ องค์ความรู ้มาดําเนิ นการวิจยั เรื่ อง “การยอมรับและความคิดเห็นของ การใช้บริ การอิเล็กทรอนิกส์ชอ้ ปปิ้ ง ของนักศึกษาในเขตจังหวัดสมุทรปราการ”


69

เกณฑ์

ข้อ 4

ข้อ 5

ผลการดําเนินงาน 2) ส่ ว นประเด็ น ความรู ้ จากการบริ ก ารทางวิ ช าการของคณะนิ ติ ศ าสตร์ ได้นํา มา บูรณาการเข้ากับงานวิจยั เรื่ อง “ปั ญหาการมีส่วนร่ วมของอาสาสมัครตํารวจชุมชน ศึกษาตาม ระเบียบข้อบังคับ สํานักงานตํารวจแห่ งชาติว่าด้วย อาสาสมัครตํารวจชุมชน พ.ศ. 2551 และ บทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550” 3) หรื อประเด็นความรู ้ จากการบริ การทางวิชาการด้านภาษาอังกฤษแก่กลุ่มเป้ าหมาย ต่างๆ ก็นาํ มาสู่ การวิจยั เรื่ อง “การใช้วิธีสอนภาษาอังกฤษแบบโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการ พูดภาษาอังกฤษและทักษะการคิดของนักศึกษาชั้นปี ที่ 2 วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก” เป็ นต้น (5-5.1-06) มีการประเมินผลความสําเร็ จของการบูรณาการงานบริ การแก่สังคมกับการเรี ยนการสอน และการวิ จ ัย โดยการมี ส่ ว นร่ ว มของผูใ้ ห้บ ริ ก าร ผูร้ ั บ บริ ก าร และนัก ศึ ก ษา ซึ่ ง เป็ นการ ประเมิ น ผลสํา เร็ จของแผนการดําเนิ น งาน เป้ าหมายตามแผน ความร่ ว มมื อของบุ คลากร รวมทั้งคุณภาพของการให้บริ การที่สามารถนําไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ เช่น โครงการบริ การ ทางวิชาการ เรื่ อง e – shopping เป็ นต้น (5-5.1-07) จากการประเมินผลสําเร็ จของการบูรณาการงานบริ การทางวิชาการแก่สังคมกับการเรี ยน การสอนและการวิ จ ัย นั้น จะมี ก ารนํา ผลการประเมิ น มาใช้ใ นการพัฒนาแผนและพัฒ นา กระบวนการให้บริ การทางวิชาการแก่สงั คมให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องต่อไป (5-5.1-07)

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน 5 คะแนน รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 5-5.1-01 5-5.1-02

ข้อ 2

5-5.1-03 5-5.1-04 5-5.1-05

การบรรลุเป้าหมายตามแผน บรรลุเป้ าหมาย

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด แผนพัฒนาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2553 – 2556) แนวปฏิบตั ิและแผนการดําเนินงาน สํานักวิชาการ (ฝ่ ายฝึ กอบรมและ บริ การทางวิชาการ) ปี การศึกษา 2553 แนวปฏิบตั ิและแผนดําเนินงาน ปี การศึกษา 2553 ของคณะต่างๆ - โครงการบริ การทางวิชาการ เรื่ อง e – shopping คณะบริ หารธุรกิจ - โครงการที่ปรึ กษากฏหมายประจําศาลจังหวัดพระโขนง - มคอ.3 วิชา พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ /วิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ


70

หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 3

5-5.1-06

ข้อ 4

5-5.1-07

ข้อ 5

5-5.1-07

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด - มคอ.3 วิชา ว่าความและการให้คาํ ปรึ กษากฏหมาย - (ตัว อย่าง)โครงการวิจ ัย เรื่ อง “การยอมรั บและความคิด เห็ นของการใช้ บริ การอิเล็กทรอนิกส์ชอ้ ปปิ้ ง ของนักศึกษาในเขตจังหวัดสมุทรปราการ” - โครงการวิจยั เรื่ อง “ปั ญหาการมีส่วนร่ วมของอาสาสมัครตํารวจชุ มชน ศึ กษาตามระเบี ยบข้อบังคับสํานักงานตํารวจแห่ งชาติ ว่าด้วย อาสาสมัคร ตํารวจชุมชน พ.ศ. 2551 และบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550” - โครงการวิจยั เรื่ อง “การใช้วิธีสอนภาษาอังกฤษแบบโครงงานเพื่อพัฒนา ทักษะการพูดภาษาอังกฤษและทักษะการคิดของนักศึกษาชั้นปี ที่ 2 วิทยาลัย เซาธ์อีสท์บางกอก” - ผลการประเมิ น ผลสํา เร็ จ ของการบู รณาการงานบริ ก ารแก่ สังคม (คณะ บริ หารธุรกิจ) มคอ.5 / รายงานการประชุมคณะกรรมการ - มคอ.5 วิชาพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ /วิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ - มคอ.5 วิชาว่าความและการให้คาํ ปรึ กษากฏหมาย - แบบประเมินของนักศึกษา (คณะบริ หารธุรกิจ) - รายงานการประชุมคณะบริ หารธุรกิจ - มคอ.3 วิชาพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ ภาคการศึกษา 1/2554 - รายงานการประชุมคณะบริ หารธุรกิจ

ตัวบ่ งชี้ที่ 5.2 : กระบวนการบริการทางวิชาการให้ เกิดประโยชน์ ต่อสังคม ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน 1. มีการสํารวจความต้องการของชุมชน หรื อภาครัฐ หรื อ ภาคเอกชน หรื อหน่วยงานวิชาชีพ เพื่อประกอบการ กําหนดทิศทางและการจัดทําแผนการบริ การทางวิชาการ ตามจุดเน้นของสถาบัน 2. มีความร่ วมมือด้านบริ การทางวิชาการเพือ่ การเรี ยนรู ้และ เสริ มสร้างความเข้มแข็งของชุมชน หรื อภาคเอกชน หรื อ ภาครัฐ หรื อหน่วยงานวิชาชีพ 3. มีการประเมินประโยชน์หรื อผลกระทบของการให้บริ การ

มี 

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข 5-5.2-01 5-5.2-02 5-5.2-03

5-5.2-04

5-5.2-05


71

เกณฑ์ มาตรฐาน ทางวิชาการต่อสังคม 4. มีการนําผลการประเมินในข้อ 3 ไปพัฒนาระบบและกลไก หรื อกิจกรรมการให้บริ การทางวิชาการ 5. มีการพัฒนาความรู ้ที่ได้จากการให้บริ การทางวิชาการและ ถ่ายทอดความรู ้สู่ บุคลากรภายในสถาบันและเผยแพร่ สู่ สาธารณชน

มี

ไม่ มี

 

เอกสารหมายเลข 5-5.2-06 5-5.2-07 5-5.2-08 5-5.2-09 5-5.2-10

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 2 ข้อ

ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 4 ข้อ

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 5 ข้อ

5 ข้อ 5 ข้อ

ผลการดําเนินงาน

เกณฑ์ ข้อ 1

ผลการดําเนินงาน 1. มีการสํารวจความต้องการของชุมชน หรื อหน่ วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อประกอบการ กําหนดนโยบาย ทิศทางและการจัดทําแผนการบริ การทางวิชาการตามอัตลักษณ์ของวิทยาลัย และ ตามจุดเน้นของแต่ละคณะ มีสาํ รวจการดําเนิ นการในหลายลักษณะ เช่น การสัมภาษณ์ การเสวนา กลุ่มย่อย หรื อการทําแบบสํารวจความต้องการกับผูเ้ กี่ยวข้องหรื อกลุ่มเป้ าหมายต่างๆ เพื่อหาความ ต้องการของการให้บริ การทางวิชาการ เช่ น โครงการบางพลีโมเดล ซึ่ งเป็ นโครงการที่ทุกคณะ ร่ วมกันจัดการบริ การทางวิชาการ ตามความต้องการของชุมชน (5-5.2-01) 2. สําหรั บโครงการบริ การทางวิชาการในระดับคณะ ก็เริ่ มจากการสํารวจความต้องการของ ชุมชนเช่ นเดี ยวกัน เช่ น การสัมภาษณ์ ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนมารดานฤมล เพื่อจัดทําโครงการบริ การ วิชาการให้กบั นักเรี ยนมัธยมศึกษาชั้นปี ที่ 6 โรงเรี ยนมารดานฤมล ต.บางวัว อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา ซึ่งมีความต้องการจะพัฒนาความรู ้ดา้ นภาษาจีนและภาษาอังกฤษ


72

เกณฑ์

ข้อ 2

ข้อ 3 ข้อ 4

ข้อ 5

ผลการดําเนินงาน หรื อโครงการบริ การทางวิชาการของคณะนิติศาสตร์จะใช้แบบสํารวจความต้องการฯ เป็ นต้น (5-5.2-02/5-5.2-03) 1. มีความร่ วมมือด้านบริ การทางวิชาการเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กบั ชุมนุ ม เช่น โครงการบาง พลีโมเดล หรื อเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กบั หน่วยงานเอกชน เช่น โครงการบริ การทางวิชาการ การ สอนภาษาอังกฤษและภาษาจีนของนักเรี ยนโรงเรี ยนมารดานฤมลหรื อโครงการบริ การวิชาการของ คณะบริ หารธุรกิจ นําไปเสริ มสร้างความเข้มแข็งของหน่วยงานเอกชน เป็ นต้น 2. มีการจัดทําบันทึกข้อตกลงความร่ วมมือทางวิชาการกับหลายหน่วยงานเพื่อสร้างความเข้มแข็ง แก่ชุมชน หน่วยงาน เป็ นต้น (5-5.2-04) มี ก ารประเมิ น ประโยชน์ ผ ลกระทบของการให้ บ ริ ก ารต่ อ สั ง คม โดยใช้แ บบสํ า รวจและ ประเมินผลกระทบของการให้บริ การวิชาการแก่สงั คม (5-5.2-05/5-5.2-06) มีการนําผลการประเมินการให้บริ การวิชาการ เข้าหารื อกับคณะกรรมการฯในการประชุมคณะ เพื่อนําไปเป็ นแนวทางในการพัฒนาระบบและกลไกหรื อกิจกรรมในการบริ การวิชาการสังคมใน ครั้งต่อไป (5-5.2-07/5-5.2-08) ได้มีการพัฒนาความรู ้ที่ได้จากการให้บริ การทางวิชาการและถ่ายทอดความรู ้สู่ บุคลากรภายใน วิทยาลัยและเผยแพร่ สู่ สาธารณชน ผ่านทางเว็บไซต์ เช่น เว็บไซต์ของคณะบริ หารธุ รกิจ และมีการ จัดทําแผ่นพับองค์ความรู ้ เพื่อแจกจ่ายเผยแพร่ แก่ บุคคลภายในและภายนอกที่สนใจผ่านทางการ ออกบูธประชาสัมพันธ์ของวิทยาลัย (5-5.2-09/5-5.2-10)

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน 5 คะแนน

การบรรลุเป้าหมายตามแผน บรรลุเป้ าหมาย

รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 5-5.2-01 5-5.2-02 5-5.2-03

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด โครงการบางพลีโมเดล แบบสํารวจความต้องการชุมชนต่อการจัดบริ การวิชาการ คณะนิ ติศาสตร์ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก การสั ม ภาษณ์ ผู ้บ ริ หารโรงเรี ยนมารดานฤมล ต.บางวัว อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา


73

หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 2 5-5.2-04 ข้อ 3

5-5.2-05 5-5.2-06

ข้อ 4

5-5.2-07 5-5.2-08

ข้อ 5

5-5.2-09 5-5.2-10

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด สรุ ปบันทึกข้อตกลง (MOU) กับหน่วยงานต่างๆ เช่น อบต.บางพลี / บริ ษทั มุ่งพัฒนา จํากัด (มหาชน) เป็ นต้น แบบประเมินประโยชน์หรื อผลกระทบของการให้บริ การแก่สงั คม (คณะบริ หารธุรกิจ) ผลการประเมินประโยชน์หรื อผลกระทบของการให้บริ การทางวิชาการ ต่อสังคม (คณะบริ หารธุรกิจ) แผนปรับปรุ งการบริ หารทางวิชาการแก่สงั คม (คณะบริ หารธุรกิจ) เอกสารผลประเมินเพื่อพัฒนากิจกรรมส่ งเสริ มทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ และภาษาจีนในการบริ การครั้งต่อไป ปี การศึกษา 2554 ฐานข้อมูลองค์ความรู ้ (KM) ของคณะบริ หารธุรกิจ แผ่นพับองค์ความรู ้


74

องค์ ประกอบที่ 6 การทํานุบํารุ งศิลปะและวัฒนธรรม

ตัวบ่ งชี้ที่ 6.1 : ระบบและกลไกการทํานุบาํ รุงศิลปะและวัฒนธรรม ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน 1. มี ร ะบบและกลไกการทํา นุ บ ํา รุ ง ศิ ล ปะและวัฒ นธรรม และ ดําเนินการตามระบบที่กาํ หนด 2. มีการบูรณาการงานด้านทํานุ บาํ รุ งศิลปะและวัฒนธรรมกับการ จัดการเรี ยนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา 3. มีการเผยแพร่ กิจกรรมหรื อการบริ การด้านทํานุ บาํ รุ งศิลปะและ วัฒนธรรมต่อสาธารณชน

4. มี ก ารประเมิ น ผลความสํา เร็ จ ของการบู รณาการงานด้า นทํา นุ บํา รุ ง ศิ ล ปะและวัฒ นธรรมกับ การจัด การเรี ย นการสอนและ กิจกรรมนักศึกษา 5. มีการนําเสนอผลการประเมินไปปรับปรุ งการบูรณาการงานด้าน ทํานุ บาํ รุ งศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรี ยนการสอนและ กิจกรรมนักศึกษา 6. มี ก ารกํา หนดหรื อสร้ า งมาตรฐานคุ ณ ภาพด้ า นศิ ล ปะและ วัฒนธรรมและมีผลงานเป็ นที่ยอมรับในระดับชาติ

เอกสารหมายเลข 6-6.1-01 6-6.1-02 6-6.1-03 6-6.1-04 6-6.1-05 6-6.1-06 6-6.1-07 6-6.1-08 6-6.1-09

6-6.1-10

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการ มีการดําเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 3 ข้อ

มี 

ไม่ มี

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 4 ข้อ 5 ข้อ 5 ข้อ

-

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 5 หรื อ 6 ข้อ


75

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน 5 ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ผลการดําเนินงาน ข้อ 1 วิทยาลัยมีแผนยุทธศาสตร์ ซึ่ งกําหนดยุทธศาสตร์ดา้ นการทํานุบาํ รุ งศิลปวัฒนธรรม และมีแผนพัฒนาวิทยาลัย (ระยะที่ 1) ระบบและกลไกการดําเนิ นงาน ทํานุ บาํ รุ งศิลปวัฒนธรรม กลยุทธ์การอนุ รักษ์และพัฒนาศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่นและ องค์ความรู ้ ดา้ นศิลปวัฒนธรรมสู่ กระบวนการเรี ยนการสอน นอกจากนี้ วิทยาลัยมีหน่ วยงานที่รับผิดชอบงานด้านศิลป ศิลปวัฒนธรรม ภายใต้โครงสร้างการบริ หารงานของสํานักกิจการนักศึกษาฯ (6-6.1-01/6-6.1-02/6-6.3-03) ข้อ 2 มีการบูรณาการงานด้านทํานุบาํ รุ งศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรี ยนการสอนและกิจกรรมนักศึกษาอย่างต่อเนื่อง โด กลุ่มสาขาวิชาศึกษาทัว่ ไป เช่น 2.1 โครงการฟื้ นฟู อนุรักษ์ สื บสาน เผยแพร่ วฒั นธรรมอาหารท้องถิ่น กิจกรรมตามรอย ปลาสลิดแห้งรสดี 2.2 โครงการฟื้ นฟู อนุรักษ์ สื บสาน เผยแพร่ วฒั นธรรมและอาหารท้องถิ่น กิจกรรมกินอยู่ อย่างไทย ใส่ ใจคุณภาพ แกงลูกโยน แกงส้มกระเจี๊ยบ 2.3 โครงการเผยแพร่ วฒั นธรรมการละเล่นพื้นบ้าน “รําเซิ้งไข่มดแดง” (6-6.1-04/6-6.1-05) ข้อ 3 มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาประสบการณ์ทางวิชาการ และวิชาชีพแก่นกั ศึกษาโดยนําองค์ความรู ้จากการบูรณาการงานด เรี ยนการสอน และเผยแพร่ กิจกรรมสู่ สาธารณชน เช่น การแสดงการละเล่นสะบ้ามอญ นําไปแสดงที่ตลาดนํ้าบางนํ้าผึ้ง เม (สาขาวิชาการบัญชี คณะบริ หารธุ รกิจ) มีการจัดทําฐานข้อมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรมท้องถิ่น พร้อมเผยแพร่ ในจุลสารศิลปวัฒ บางกอก จัดเก็บไว้ในฐานข้อมูลที่สาํ นักวิทยบริ การ และ www.southeast.ac.th เพื่อเป็ นแหล่งสื บค้นสําหรับผูท้ ี่สนใจโดย 6.1-08) ข้อ 4 มีการประเมินผลความสําเร็ จของการบูรณาการงานด้านทํานุ บาํ รุ งศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรี ยนการสอนและก ประเมินความสําเร็ จในแต่ละโครงการอยูใ่ นระดับ 3.51 ขึ้นไป (6-6.1-09) ข้อ 5 มีการนําผลการดําเนินงานด้านการทํานุบาํ รุ งศิลปวัฒนธรรม มาปรับปรุ งและพัฒนาเพื่อการจัดทําแผนและโครงการที่เหม การทํานุบาํ รุ งศิลปวัฒนธรรม (6-6.1-10) การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน 5 คะแนน

การบรรลุเป้าหมายตามแผน บรรลุเป้ าหมาย


76

รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ข้อ 1 6-6.1-01 แผนยุทธศาสตร์วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 6-6.1-02 แผนพัฒนาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก (ระยะที่ 1) พ.ศ. 2553 - 2556 6-6.1-03 แนวปฏิบตั ิและแผนการดําเนินงานสํานักกิจการนักศึกษาฯ ข้อ 2 6-6.1-04 มคอ.3 วิชาภูมิปัญญาไทย วิชาจริ ยธรรม วิชาเศรษฐกิจพอเพียง 6-6.1-05 รายงานโครงการฟื้ นฟู อนุ รั ก ษ์ สื บ สาน เผยแพร่ ว ฒ ั นธรรมอาหาร ท้องถิ่นกิจกรรม ตามรอยปลาสลิดแห้งรสดี ข้อ 3 6-6.1-06 จุลสารศิลปะและวัฒนธรรม วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 6-6.1-07 แหล่งสื บค้น www.southeast.ac.th 6-6.1-08 รายงานโครงการเผยแพร่ วฒั นธรรมท้องถิ่นบางนา ณ ตลาดนํ้าบางนํ้าผึ้ง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โดยจัดแสดงและเผยแพร่ วัฒนธรรมท้องถิ่นบางนา คือการแสดงการละเล่นพื้นบ้านสะบ้ามอญ ข้อ 4 6-6.1-09 รายงานสรุ ป ผลการดํา เนิ น งานตามยุ ท ธศาสตร์ ด้า นการทํา นุ บ ํา รุ ง ศิลปวัฒนธรรม วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ข้อ 5 6-6.1-10 รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ปี การศึกษา 2553 ข้อ 6 -


77

องค์ ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ

ตัวบ่ งชี้ที่ 7.1 : ภาวะผู้นําของสภาสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของสถาบัน ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน 1. สภาสถาบันปฏิบตั ิหน้าที่ตามที่กฏหมายกําหนดครบถ้วน และมีการประเมินตนเองตามหลักเกณฑ์ที่กาํ หนดล่วงหน้า 2. ผูบ้ ริ หารมีวิสยั ทัศน์ กําหนดทิศทางการดําเนินงาน และ สามารถถ่ายทอดไปยังบุคลากรทุกระดับ มีความสามารถ ในการวางแผนกลยุทธ์ มีการนําข้อมูลสารสนเทศเป็ นฐาน ในการปฏิบตั ิงานและพัฒนาสถาบัน 3. ผูบ้ ริ หารมีการกํากับ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน ตามที่มอบหมาย รวมทั้งสามารถสื่ อสารแผนและผลการ ดําเนินงานของสถาบันไปยังบุคลากรในสถาบัน 4. ผูบ้ ริ หารสนับสนุนให้บุคลากรในสถาบันมีส่วนร่ วม ในการบริ หารจัดการ ให้อาํ นาจในการตัดสิ นใจแก่ บุคลากรตามความเหมาะสม 5. ผูบ้ ริ หารถ่ายทอดความรู ้และส่ งเสริ มพัฒนาผูร้ ่ วมงาน เพื่อให้สามารถทํางานบรรลุวตั ถุประสงค์ของสถาบัน เต็มตามศักยภาพ 6. ผูบ้ ริ หารบริ หารงานด้วยหลักธรรมาภิบาลโดยคํานึงถึง ประโยชน์ของสถาบันและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย 7. สภาสถาบันประเมินผลการบริ หารงานของสถาบันและ ผูบ้ ริ หารนําผลการประเมินไปปรับปรุ งการบริ หารงาน อย่างเป็ นรู ปธรรม

มี 

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข 7-7.1-01 7-7.1-02 7-7.1-03 7-7.1-04 7-7.1-05

7-7.1-06 7-7.1-07

7-7.1-08

7-7.1-09 7-7.1-10

7-7.1-11 7-7.1-12 7-7.1-11

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 2 หรื อ 3 ข้อ

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 4 หรื อ 5 ข้อ

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 6 ข้อ

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 7 ข้อ


78

ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

7 ข้อ 7 ข้อ

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน 7 ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ข้อ 1

ข้อ 2

ผลการดําเนินงาน สภาวิทยาลัยปฏิบตั ิหน้าที่ตามที่กาํ หนดไว้ในพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546 แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2550 อย่างครบถ้วน (7-7.1-01) รวมทั้งมีหน้าที่ กํากับดูแล วิทยาลัยไปสู่ ทิศทางที่กาํ หนด ตามอัตลักษณ์ของวิทยาลัยที่มุ่งให้ความรู ้ ควบคู่ไปกับการสร้าง คุณธรรมให้กบั นักศึกษาและบุคลากร รวมทั้งการร่ วมสร้างสรรค์สงั คม นอกจากนี้ สภาวิทยาลัยยังมี การประเมินผลการดําเนิ นงานของสภา โดยเป็ นการประเมิ น ตนเองตามเกณฑ์ที่กาํ หนดไว้ล่วงหน้า 5 ด้าน ได้แก่ (1) การปฏิบตั ิตามอํานาจหน้าที่ (2) การ กําหนดยุทธศาสตร์กาํ กับนโยบาย ระเบียบ ข้อบังคับ (3)การปฏิบตั ิตามกฏ ระเบียบ ข้อบังคับของ ต้นสังกัดและหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง (4) การกํากับ ติดตามการดําเนิ นงานของผูบ้ ริ หาร และ (5) การบริ หารงานด้วยหลักธรรมาภิบาล (7-7.1-02) ผูบ้ ริ หารและสภาวิทยาลัยร่ วมกันกําหนดทิศทางการดําเนิ นงาน โดยในการพัฒนาแผนพัฒนา วิทยาลัยวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอกระยะที่ 1 (พ.ศ. 2553 – 2556) สภาวิทยาลัยได้ให้นโยบาย ทิศทางการดําเนิ นงานและการปรั บปรุ งแผนพัฒนาฯ ซึ่ งปรับให้มีความเหมาะสม ตามผลการ ประเมิ น คุ ณภาพ ปี การศึ ก ษา 2552 ซึ่ งแผนพัฒนาฯระยะที่ 1 มี ก ารกําหนดปรั ชญา ปณิ ธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์และอัตลักษณ์ของวิทยาลัยไว้ครบถ้วน โดยแผนพัฒนาฯ ระยะที่ 1 ประกอบด้วยยุทธศาสตร์ หลัก 6 ยุทธศาสตร์ 18 กลยุทธ์ ซึ่ งมีการกําหนดตัวบ่งชี้ คุณภาพ (KPI) ไว้ครบถ้วน (7-7.1-03) อธิการบดี รองอธิการบดีทุกฝ่ าย โดยเฉพาะ รองอธิ การบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนาได้ร่วมกัน ถ่ายทอดนโยบาย วิสัยทัศน์ และแผนกลยุทธ์ ให้หน่วยงานและบุคลากรทุกระดับรับทราบและมี ความเข้าใจร่ วมกัน และร่ วมกันขับเคลื่อนโดยนําแนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ ของแผนมา แปลงสู่ แผนการปฏิบตั ิการในระดับต่างๆ โดยเน้นการเสริ มสร้างบทบาทการมีส่วนร่ วมของทุก หน่ ว ยงานอย่า งมี ร ะบบ รวมทั้ง สนับ สนุ น การพัฒ นาระบบฐานข้อ มู ล และการสื่ อ สารทาง อิเล็กทรอนิ กส์เพื่อใช้ในการติดตามประเมินผล การดําเนิ นงานประกันคุณภาพ และการบริ หาร จัดการเพื่อให้เกิดประสิ ทธิภาพในการบริ หารต่อไป (7-7.1-04/7-7.1-05)


79

เกณฑ์ ข้อ 3

ข้อ 4

ข้อ 5

ข้อ 6

ผลการดําเนินงาน ผู บ้ ริ ห ารมี ก ารกํา กับ ติ ด ตามประเมิ น ผลการดํา เนิ น งานตามที่ ม อบหมาย โดยจัด ให้ มี หน่วยงานตามโครงสร้างใหม่ ปี การศึกษา 2554 คือ สํานักยุทธศาสตร์ติดตามและประเมินผล ทํา หน้าที่ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานที่มอบหมายและนําเสนอเข้าสู่ ที่ประชุมผูบ้ ริ หาร ปี ละ 1 – 2 ครั้ง (ปี การศึกษา 2553 – นําเสนอที่ประชุมผูบ้ ริ หาร 1 ครั้ง) เพื่อทบทวนเป้ าหมาย หรื อปรั บแผนการดําเนิ นให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ ปัจจุบนั รวมทั้งสื่ อสารแผนและผลการ ดําเนิ นงานของวิทยาลัยไปยังบุคลากรในการประชุ มหน่ วยงานประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่ ง ประกอบด้วยหัวหน้าหน่ วยงานทั้งหมด รวมทั้งเผยแพร่ รายงานประเมินตนเอง (SAR) ใน ประเด็นดังกล่าวด้วย (7-7.1-07) ผูบ้ ริ หารสถาบันให้บุคลากรมีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการ โดยมอบหมายภาระหน้าที่ ความ รับผิดชอบ และอํานาจในการตัดสิ นใจ เพื่อความคล่องตัวในการทํางานโดยฝ่ ายบริ หารจะทํา หน้าที่กาํ กับติดตามดูแลให้ขอ้ เสนอแนะ เช่น การดําเนิ นงานตามโครงการต่างๆ ในแต่ละกลยุทธ์ จะมอบหมายให้คณะกรรมการชุดต่างๆ ดําเนิ นงาน รับผิดชอบและตัดสิ นใจ โดยมีฝ่ายบริ หาร หรื อรองอธิ การบดีฝ่ายที่ดูแล ทําหน้าที่เป็ นที่ปรึ กษา ทําให้การดําเนิ นงานมีความคล่องตัว และมี ประสิ ทธิภาพมากขึ้น (7-7.1-08) ผูบ้ ริ หารมีการถ่ายทอดความรู ้แก่ผูร้ ่ วมงาน โดยมุ่งเน้นการเพิ่มทักษะในการปฏิบตั ิงานให้ สู งขึ้น โดยเฉพาะการสอนงานที่หน้างาน (on – the – job training) เช่น รองอธิ การบดีฝ่าย วิชาการที่ดูแลงานประกันคุณภาพ โดยการถ่ายทอดความรู ้ ประสบการณ์ ปั ญหาและวิธีการแก้ไข โดยนําประสบการณ์ การประเมินประกันคุณภาพสถาบันอื่นมาใช้สอนงานผูอ้ าํ นวยการสํานัก ประกันฯ เป็ นต้น หรื อ รองอธิ การบดี ฝ่ายวางแผนและพัฒนาและผูอ้ าํ นวยการสํานักวิจยั และ พัฒ นา จะออกไปประชุ ม ภายนอกร่ ว มกัน เพื่ อ ฝึ กให้ ผู อ้ าํ นวยการสํา นัก ฯ เรี ย นรู ้ ง านจาก ประสบการณ์จริ ง ซึ่ งแนวปฏิบตั ิเช่นนี้ วิทยาลัยถือปฏิบตั ิอย่างต่อเนื่ อง รวมทั้งนําหลักการของ การจัดการความรู ้ มาใช้ ในการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้และถ่ายทอดประสบการณ์ดว้ ย (7-7.1-09/ 7-7.1-10) ผูบ้ ริ หารทุกระดับของวิทยาลัยบริ หารงานด้วยหลักธรรมภิบาล โดยการบริ หารงานต้องยึด หลัก ประสิ ท ธิ ผ ล การทํา งานต้อ งมี เ ป้ าหมายชัด เจนและทํา งานให้ บ รรลุ เ ป้ าหมายอย่ า งมี ประสิ ทธิ ภาพ โดยพิจารณาในเรื่ องการใช้ทรัพยากรต่างๆ อย่างคุม้ ค่า รวมทั้งต้องตอบสนองต่อ ความต้องการของผูร้ ั บบริ การ ไม่ว่าจะเป็ นนักศึกษา คณาจารย์ หรื อบุคคลทัว่ ไป ผูบ้ ริ หารทุก ระดับบริ หารงานอย่างรับผิดชอบ มีความโปร่ งใส ตรวจสอบได้ และเน้นการมีส่วนร่ วม มีการ กระจายอํานาจในการตัดสิ นใจอย่างเหมาะสม โดยการทํางานต้องยึดกฏ ระเบียบ และข้อบังคับที่ เกี่ยวข้องเป็ นหลัก รวมทั้งไม่เลือกปฏิบตั ิและมุ่งเน้นฉันทมติ (7-7.1-11)


80

เกณฑ์

ข้อ 7

ผลการดําเนินงาน การบริ ห ารงานด้ว ยหลัก ธรรมาภิ บ าลนั้น เป็ นส่ ว นหนึ่ ง ของการประเมิ น ผลการปฏิ บ ัติ ง าน ประจําปี ของบุคลากรทุกระดับ ตั้งแต่อธิการบดีถึงหัวหน้าหน่วยงาน ดังนั้น ผูบ้ ริ หารของวิทยาลัย จึงตระหนักและให้ความสําคัญกับการบริ หารงานด้วยหลักธรรมาภิบาล (7-7.1-12) สภาวิทยาลัยประเมินผลการบริ หารงานวิทยาลัยและอธิ การบดี เป็ นประจําทุกปี โดยปฏิบตั ิ ตามข้อบังคับของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ว่าด้วย การประเมินผลการปฏิบตั ิงานของอธิ การบดี เมื่ออธิ การบดี ผ่านกระบวนการประเมินแล้ว สภาวิทยาลัยจะนําผลการพิจารณาการประเมินผล การปฏิบตั ิงาน แจ้งให้อธิการบดีทราบ เพื่อดําเนินการต่อไป (7-7.1-13)

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน 5 คะแนน

การบรรลุเป้าหมายตามแผน บรรลุเป้ าหมาย

รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 7-7.1-01

ข้อ 2

ข้อ 3

ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6

7-7.1-02 7-7.1-03 7-7.1-04 7-7.1-05 7-7.1-06 7-7.1-07 7-7.1-08 7-7.1-09 7-7.1-10 7-7.1-11 7-7.1-12

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ.2546 แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2550 แบบประเมินผลการดําเนินงานของสภาวิทยาลัย แผนพัฒนาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2553 – 2556) รายงานการประชุมคณะผูบ้ ริ หารวิทยาลัย ครั้งที่ 1/2553 (การถ่ายทอดแผน) การประชุมประกันคุณภาพการศึกษา (ประชุมถ่ายทอดแผน) คําสัง่ แต่งตั้งผูอ้ าํ นวยการสํานักยุทธศาสตร์ติดตามและประเมินผล รายงานการประชุมคณะผูบ้ ริ หารวิทยาลัย ครั้งที่ 5 / 2553 (ติดตามการดําเนินงานตามตัวบ่งชี้) คําสัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการชุดต่างๆ (การจัดการความรู ้,ความเสี่ ยงฯ) (ตัวอย่าง) รายงานการประเมินตนเอง ที่นาํ มาเป็ นตัวอย่างการสอนงาน (ตัวอย่าง) การเข้าร่ วมประชุมเครื อข่ายวิจยั (รองฯแผนและผอ.วิจยั ฯ) แฟ้ มรายงานการประชุมคณะผูบ้ ริ หารวิทยาลัย ปี การศึกษา 2553 แบบประเมินผลการปฏิบตั ิงานประจําปี (อธิการบดี รองอธิการบดี คณบดี ผูอ้ าํ นวยการ หัวหน้าสาขาวิชา)


81

หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 7 7-7.1-13

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ข้อบังคับวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก เรื่ อง การประเมินผลการปฏิบตั ิงาน ของอธิการบดี

ตัวบ่ งชี้ที่ 7.2 : การพัฒนาสถาบันสู่ สถาบันการเรียนรู้ ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน 1. มีการกําหนดประเด็นความรู ้และเป้ าหมายของการจัดการ ความรู ้ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของสถาบันอย่างน้อย ครอบคลุมพันธกิจด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจยั 2. กําหนดบุคลากรกลุ่มเป้ าหมายที่จะพัฒนาความรู ้และ ทักษะด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจยั อย่างชัดเจน ตามประเด็นความรู ้ที่กาํ หนดในข้อ 1 3. มีการแบ่งปั นและแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้จากความรู ้ ทักษะ ของผูม้ ีประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) เพื่อค้นหา แนวปฏิบตั ิที่ดีตามประเด็นความรู ้ที่กาํ หนดในข้อ 1 และ เผยแพร่ ไปสู่ บุคลากรกลุ่มเป้ าหมายที่กาํ หนด 4. มีการรวบรวมความรู ้ตามประเด็นที่กาํ หนดในข้อ 1 ทั้ง ที่มีอยูใ่ นตัวบุคคลและแหล่งเรี ยนรู ้อื่น ๆ ที่เป็ นแนวปฏิบตั ิ ที่ดีมาพัฒนาและจัดเก็บอย่างเป็ นระบบโดยเผยแพร่ ออกมา เป็ นลายลักษณ์อกั ษร (explicit knowledge) 5. มีการกําหนดความรู ้ที่ได้จากการพัฒนาจัดการความรู ้ ในปี การศึกษาปั จจุบนั หรื อปี การศึกษาที่ผา่ นมาที่เป็ น ลายลักษณ์อกั ษร (explicit knowledge) และจากความรู ้ ทักษะของผูม้ ีประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) ที่เป็ น แนวปฏิบตั ิที่ดีมาปรับใช้ในการปฏิบตั ิงานจริ ง

มี 

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข 7-7.2-01

7-7.2-01

7-7.2-02 7-7.2-03

7-7.2-04

7-7.2-05 7-7.2-06


82

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 4 ข้อ

ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 5 ข้อ

5 ข้อ 5 ข้อ

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน 5 ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ข้อ 1

ข้อ 2

ข้อ 3

ผลการดําเนินงาน วิทยาลัยมีการกําหนดประเด็นและเป้ าหมายของการจัดการความรู ้ที่สอดคล้องกับแผน ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ของวิทยาลัย โดยในปี การศึกษา 2553 ประเด็นการจัดหาความรู ้คือ 1. การจัดการเรี ยนการสอนตามกรอบ TQF ซึ่งสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเรี ยนการสอน ภายใต้ก ลยุท ธ์ ที่ 2 การพัฒนากิ จ กรรมการเรี ย นการสอน ตามโครงการพัฒนา หลักสู ตรตามกรอบ TQF 2. การเผยแพร่ ผลงานวิจยั ที่สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การวิจยั ภายใต้กลยุทธ์ที่ 1 การพัฒนาระบบองค์ความรู ้และโครงสร้างพื้นฐานด้านการวิจยั การกํา หนดประเด็ น ความรู ้ น้ ี มาจากการประชุ ม ตกลงร่ ว มกัน ของคณะกรรมการ ประกันคุณภาพการศึกษาระดับสถาบัน ระดับคณะและหน่ วยงาน ซึ่ งบุคคลทั้งหมดนี้ ทาํ หน้าที่กาํ กับดูแลกลยุทธ์ดา้ นการผลิตบัณฑิตและการวิจยั (7-7.2-01) จากการหารื อเพื่อกําหนดประเด็นความรู ้น้ นั ได้มีการกําหนดบุคลากรกลุ่มเป้ าหมายที่ จะได้รั บ การพัฒ นาความรู ้ แ ละทัก ษะด้า นการผลิ ต บัณ ฑิ ต และด้า นการวิ จ ัย คื อ กลุ่ ม บุคลากรสายสอน ซึ่งมีภารกิจหลักด้านการสอนและการวิจยั (7-7.2-01) จากประเด็นความรู ้ เรื่ อง การจัดการเรี ยนการสอนตามกรอบ TQF นั้น ในรอบ ปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยได้ส่งอาจารย์ในทุกๆคณะ เข้าร่ วมสัมมนากับหน่วยงานภายนอก เพื่อให้กลุ่มอาจารย์เหล่านี้ มีความรู ้และทักษะของผูม้ ีประการณ์ตรง (tacit knowledge) จากนั้นจึงมาจัดกิจกรรมแบ่งปั น แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้กบั อาจารย์กลุ่มเป้ าหมาย โดยจัดให้มี


83

เกณฑ์

ข้อ 4

ข้อ 5

ผลการดําเนินงาน การเสวนากลุ่ ม ย่ อ ยหรื อการประชุ ม กลุ่ ม ย่ อ ยๆ เพื่ อ เผยแพร่ ความรู ้ แ ละ ประสบการณ์ (7-7.2-02) สําหรับประเด็น เรื่ อง การเผยแพร่ ผลงานวิจยั นั้น ได้จดั กลุ่มเสวนาปริ ญญาเอก (อาจารย์รุ่ นใหม่ที่จบ หรื อกําลังศึกษาต่อปริ ญญาเอก) และอาจารย์ที่สนใจ เข้าร่ วม เสวนาแลกเปลี่ ย นเรี ยนรู ้ กับรองอธิ ก ารบดี ฝ่ายวางแผนและพัฒนา และที่ ปรึ ก ษา วิทยาลัย ในประเด็น การพัฒนาต่างๆ รวมทั้งการเผยแพร่ ผลงานวิจ ัย ทําให้กลุ่ มมี ความรู ้ความเข้าใจในเรื่ องนี้ยง่ิ ขึ้น (7-7.2-03) ในการประชุ มสัมมนา หรื อ เสวนา กลุ่มย่อยเพื่อแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ ในประเด็น สํา คัญ ทั้ง 2 ประเด็ น นั้ น ได้มี ก ารมอบหมายให้ มี ผู ร้ ั บ ผิ ด ชอบในการวิ เ คราะห์ สังเคราะห์ ความรู ้ เหล่านั้น ออกมาเป็ นลายลักษณ์ อกั ษร (explicit knowledge) (7-7.2-04) มีการนําความรู ้ที่ได้จากการจัดการความรู ้ ในการศึกษา 2553 มาปรับใช้กบั การ ปฏิบตั ิงานจริ ง ได้แก่ 1. การนํา ประเด็ น ความรู ้ เรื่ อ ง การจัด การเรี ย นการสอนตามกรอบ TQF มาปรับใช้กบั การพัฒนาหลักสู ตรใหม่ปีการศึกษา 2554 ทั้งหมด ซึ่ งจากการที่อาจารย์ มีความรู ้และประสบการณ์แล้ว ทําให้การปรับปรุ งหลักสู ตรใหม่มีประสิ ทธิ ผลดีข้ ึน (สามารถดําเนินการได้ตามเป้ าหมายที่ต้ งั ไว้) (7-7.2-05) 2. นําประเด็นความรู ้ เรื่ อง การเผยแพร่ ผลงานวิจยั มาใช้กับการนํางานวิจ ัย หลายฉบับ ของวิ ท ยาลัย ทั้ง ของอาจารย์แ ละนัก ศึ ก ษา ไปเผยแพร่ ใ นการประชุ ม วิชาการระดับชาติ เครื อข่ายเบญจมิตร เมื่อปี การศึกษา 2553 นี้ (7-7.2-06)

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน 5 คะแนน

การบรรลุเป้าหมายตามแผน บรรลุเป้ าหมาย


84

รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 7-7.2-01 ข้อ 2

7-7.2-01

ข้อ 3

7-7.2-02

ข้อ 4 ข้อ 5

7-7.2-03 7-7.2-04 7-7.2-05 7-7.2-06

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด รายงานการประชุมการประกันคุณภาพการศึกษา ครั้งที่ 2/2553 (ประเด็นการจัดการความรู ้ และบุคลากรกลุ่มเป้ าหมาย) รายงานการประชุมการประกันคุณภาพการศึกษา ครั้งที่ 2/2553 (ประเด็นการจัดการความรู ้และบุคลากรกลุ่มเป้ าหมาย) รายงานการส่ งบุคลากรไปประชุม/อบรม/สัมมนา ภายนอก ปี การศึกษา 2553 กลุ่มเสวนาปริ ญญาเอก สรุ ปประเด็นสังเคราะห์ การจัดการความรู ้ ปี การศึกษา 2553 รายงานการประชุมผูบ้ ริ หารวิทยาลัย ครั้งที่ 9/2553 (รายงานความก้าวหน้าของการจัดทําหลักสูตร) การเข้าร่ วมประชุมวิชาการระดับชาติ เครื อข่ายเบญจมิตร ปี การศึกษา 2553

ตัวบ่ งชี้ที่ 7.3 : ระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารและการตัดสิ นใจ ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน 1. มีแผนระบบสารสนเทศ (Information System Plan) 2. มีระบบสารสนเทศเพื่อการบริ หารและการตัดสิ นใจตาม พันธกิจของสถาบันโดยอย่างน้อยต้องครอบคลุมการจัด การเรี ยนการสอน การวิจยั การบริ หารจัดการ และการเงิน และสามารถนําไปใช้ในการดําเนินงานประกันคุณภาพ 3. มีการประเมินความพึงพอใจของผูใ้ ช้ระบบสารสนเทศ 4. มีการนําผลการประเมินความพึงพอใจของผูใ้ ช้ระบบ สารสนเทศมาปรับปรุ งระบบสารสนเทศ 5. มีการส่ งข้อมูลผ่านระบบเครื อข่ายของหน่วยงานภายนอก ที่เกี่ยวข้องตามที่กาํ หนด

มี  

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข 7-7.3-01 7-7.3-02

 

7-7.3-03 7-7.3-04

7-7.3-05


85

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 3 ข้อ

ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 4 ข้อ

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 5 ข้อ

5 ข้อ 5 ข้อ

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน 5 ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ข้อ 1

ข้อ 2

ผลการดําเนินงาน มี ก ารจัด ทํา แผนระบบสารสนเทศ ซึ่ งเป็ นส่ ว นหนึ่ งของยุ ท ธศาสตร์ ที่ 1 การบริ หารจัดการภายใต้กลยุทธ์ที่ 1 การพัฒนาให้เป็ นองค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง แผนระบบสารสนเทศนี้ เป็ นส่ วนของโครงการบริ หารจั ด การให้ เ ป็ น e - University ซึ่ งประกอบด้วยระบบ e - MIS, e - Service ,e - Academic , e – Technology และ e - Business (7-7.3-01) วิทยาลัยมีระบบสารสนเทศเพื่อการบริ หารและการตัดสิ นใจ โดยแบ่งเป็ นระบบ ย่อยๆ ดังนี้ 1. ระบบบริ หารการศึกษา ประกอบด้วย 1.1 ระบบฐานข้อมูลพื้นฐาน 1.2 ระบบรายงานทะเบียน ประวัตินกั ศึกษา 1.3 ระบบงานทะเบียนอาจารย์และเจ้าหน้าที่ 1.4 ระบบงานกําหนดและรับรายงานตัวนักศึกษาใหม่ 1.5 ระบบกําหนดตารางเรี ยน ตารางสอนและตารางสอบ 1.6 ระบบรับลงทะเบียนนักศึกษา 1.7 ระบบใบรับรอง 1.8 ระบบงานวัดผลและประมวลผล 1.9 ระบบงานสําเร็ จการศึกษา 1.10 ระบบงานบริ การผ่านทาง web site (1) สําหรับนักศึกษา อาจารย์ และบุคคลทัว่ ไป (2) สําหรับผูบ้ ริ หาร


86

เกณฑ์

ผลการดําเนินงาน 2. ระบบงบประมาณ การเงินและบัญชี 2.1 ระบบงบประมาณการเงิน 2.2 ระบบบัญชี Express 3. ระบบงานบุคคล 3.1 ระบบฐานข้อมูลบุคลากร 4. ระบบอิเล็กทรอนิกส์เมลล์ 5. ระบบฐานข้อมูลห้องสมุดออนไลน์ (7-7.3-02) มีการประเมินความพึงพอใจของผูใ้ ช้ระบบสารสนเทศ เป็ นประจําทุกปี โดยผล การประเมินความพึงพอใจของผูใ้ ช้บริ การโดยรวมอยูใ่ นระดับดีมาก (7-7.3-03) มีการนําผลการประเมินความพึงพอใจของผูใ้ ช้ระบบสารสนเทศมาปรั บปรุ ง ระบบสารสนเทศโดยกําหนดให้ สํานักวิจยั และพัฒนารับผิดชอบในการวิเคราะห์ ข้อมูล เพื่อนําผลมาใช้ในการปรับปรุ ง แผนระบบสารสนเทศ ต่อไป (7-7.3-03) มีการเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลของวิทยาลัยผ่านระบบเครื อข่ายของสกอ. เช่น ฐานข้อ มู ล นั ก ศึ ก ษา ฐานข้อ มู ล บุ ค ลากร ฐานข้อ มู ล หลัก สู ต ร ซึ่ งต้อ งจัด ส่ ง กําหนดเวลา รวมทั้งการเชื่ อมโยงฐานข้อมูลด้านการประกันคุ ณภาพ ผ่านระบบ CHE QA ONLINE เป็ นต้น (7-7.3-04)

ข้อ 3 ข้อ 4

ข้อ 5

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน 5 คะแนน รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 7-7.3-01 ข้อ 2 ข้อ 3

7-7.3-02 7-7.3-03

ข้อ 4

7-7.3-03

การบรรลุเป้าหมายตามแผน บรรลุเป้ าหมาย

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด แผนพัฒนาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2553 – 2556) (แผนระบบสารสนเทศ) คู่มือการใช้งานระบบฐานข้อมูลต่างๆ ของวิทยาลัย รายงานการประเมินความพึงพอใจของผูใ้ ช้ระบบสารสนเทศ ปี การศึกษา 2553 รายงานการประเมินความพึงพอใจของผูใ้ ช้ระบบสารสนเทศ ปี การศึกษา 2553 (ข้อเสนอแนะ)


87

หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 5 7-7.3-04

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด การจัดส่ งฐานข้อมูลนักศึกษา บุคลากร หลักสูตรให้สกอ. / การส่ งข้อมูล ผ่านระบบ CHE QA ONLINE

ตัวบ่ งชี้ที่ 7.4 : ระบบบริหารความเสี่ ยง ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน 1. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรื อคณะทํางานบริ หาร ความเสี่ ยง โดยมีผบู ้ ริ หารระดับสู งและตัวแทนที่ รับผิดชอบพันธกิจหลักของสถาบันร่ วมเป็ นคณะกรรมการ หรื อคณะทํางาน 2. มีการวิเคราะห์และระบุความเสี่ ยง และปั จจัยที่ก่อให้เกิด ความเสี่ ยงอย่างน้อย 3 ด้าน ตามบริ บทของสถาบัน จาก ตัวอย่างดังต่อไปนี้ - ความเสี่ ยงด้านทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ อาคารสถานที่) - ความเสี่ ยงด้านยุทธศาสตร์ หรื อกลยุทธ์ของสถาบัน - ความเสี่ ยงด้านนโยบาย กฏหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ - ความเสี่ ยงด้านการปฏิบตั ิงาน เช่น ความเสี่ ยงของ กระบวนการบริ หารหลักสู ตร การบริ หารงานวิจยั ระบบงาน ระบบประกันคุณภาพ - ความเสี่ ยงด้านบุคลากรและความเสี่ ยงด้านธรรมาภิบาล โดยเฉพาะจรรยาบรรณของอาจารย์และบุคลากร - ความเสี่ ยงจากเหตุการณ์ภายนอก 3. มีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ ยงและ จัดลําดับความเสี่ ยงที่ได้จากการวิเคราะห์ในข้อ 2 4. มีการจัดทําแผนบริ หารความเสี่ ยงที่มีระดับความเสี่ ยงสูง และดําเนินการตามแผน 5. มีการติดตาม และประเมินผลการดําเนินงานตามแผน และ รายงานต่อสภาสถาบันเพื่อพิจารณาอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง

มี 

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข 7-7.4-01

7-7.4-02

7-7.4-02

7-7.4-03

7-7.4-04 7-7.4-05


88

เกณฑ์ มาตรฐาน 6. มีการนําผลการประเมิน และข้อเสนอแนะจากสภาสถาบัน ไปใช้ในการปรับแผนหรื อวิเคราะห์ความเสี่ ยงในรอบปี ถัดไป

มี 

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข 7-7.4-06

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 3 หรื อ 4 ข้อ

ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 5 ข้อ

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 6 ข้อ

6 ข้อ 6 ข้อ

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน 6 ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ข้อ 1

ผลการดําเนินงาน มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง โดยมีผูบ้ ริ หารระดับสู งและผูแ้ ทนหน่ วยงาน ต่างๆ เข้าร่ วมเป็ นกรรมการ (7-7.4.01) ข้อ 2 คณะกรรรมการบริ หารความเสี่ ยง ได้วิเคราะห์และระบุปัจจัยเสี่ ยงที่ส่งผลกระทบหรื อสร้าง ความเสี ยหาย หรื อทําให้โอกาสในการบรรลุเป้ าหมายตามภารกิ จหลักลดลง โดยในปี การศึกษา 2553 คณะกรรมการฯ ได้ระบุความเสี่ ยงไว้ 3 ด้าน คือ (7-7.4-02) 1. ความเสี่ ยงด้านทรัพยากร (อาคาร สถานที่) 2. ความเสี่ ยงด้านการปฏิบตั ิ (ระบบประกันคุณภาพ) 3. ความเสี่ ยงด้านการปฏิบตั ิ (การบริ หารหลักสูตร) ข้อ 3 จากความเสี่ ยงที่ ระบุไว้ในข้อ 2 คณะกรรมการได้พิจารณาและประเมินผล โอกาสและ ผลกระทบและจัดลําดับความเสี่ ยงไว้ดงั นี้ (7-7.4-02) 1. ความเสี่ ยงด้านทรัพยากร (อาคารสถานที่) เนื่องจากวิทยาลัยกําลังก่อสร้างอาคารใหม่ 12 ชั้นและมีแผนต้องย้ายสํานักงานและเพิ่มห้องเรี ยนให้เพียงพอกับจํานวนนักศึกษา 2. ความเสี่ ยงด้านการปฏิบตั ิ (ระบบประกันคุณภาพ) เนื่องจากวิทยาลัยจะต้องได้รับการ ประเมินต่อเนื่อง (กลุ่มรอพินิจ) และประเมินซํ้า (กลุ่มไม่รับรอง)ให้แล้วเสร็ จใน ปี การศึกษา 2553 รับการประเมินรอบสามของ สมศ. ในปี การศึกษา 2554


89

เกณฑ์

ผลการดําเนินงาน 3. ความเสี่ ยงด้านการปฏิบตั ิ (การบริ หารหลักสูตร) ซึ่งวิทยาลัยจะดําเนินการให้ทุกหลักสูตร เป็ นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (TQF) ให้แล้วเสร็ จในปี พ.ศ. 2554 ข้อ 4 หลังจากได้เกณฑ์แล้ว คณะกรรมการได้ร่วมกันจัดทําแผนบริ หารความเสี่ ยง ที่มีระดับความ เสี่ ยงสู งและมีการดําเนินการตามแผน ตลอดปี การศึกษา 2553 (7-7.4-03) ข้อ 5 คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง ได้ดาํ เนิ นการตามแผน มี การติ ดตามและประเมิ นผลการ ดํ า เนิ นงาน และรายงานต่ อ สภาวิ ท ยาลั ย เพื่ อ พิ จ ารณา ในการประชุ มครั้ งที่ 2/2553 (7-7.4-04/7-7.4-05) ข้อ 6 คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง ได้นาํ ผลการประเมินและข้อเสนอแนะจากสภาวิทยาลัย มาใช้ ในการปรับแผน และวิเคราะห์ความเสี่ ยงในปี การศึกษา 2554 ต่อไป (7-7.4-06)

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน 5 คะแนน

การบรรลุเป้าหมายตามแผน บรรลุเป้ าหมาย

รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 7-7.4-01 ข้อ 2 7-7.4-02 ข้อ 3

7-7.4-02

ข้อ 4 ข้อ 5

7-7.4-03 7-7.4-04

ข้อ 6

7-7.4-05 7-7.4-06

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด คําสัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง รายงานการประชุมคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง ครั้งที่ 1/2553 (ระบุความเสี่ ยง) รายงานการประชุมคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง ครั้งที่ 1/2553 (จัดลําดับความเสี่ ยง) แผนบริ หารความเสี่ ยง ปี การศึกษา 2553 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง ครั้งที่ 2/2553 (ติดตาม ประเมินผล) รายงานการประชุมสภาวิทยาลัย ครั้งที่ 2/2554 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง ครั้งที่ 3/2553 (วิเคราะห์ความเสี่ ยง ปี การศึกษา 2554)


90

องค์ ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ

ตัวบ่ งชี้ที่ 8.1 : ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน 1. มีแผนยุทธศาสตร์ ทางการเงินที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของ สถาบัน 2. มี แ นวทางจัด หาทรั พ ยากรทางด้า นการเงิ น หลัก เกณฑ์ก าร จัดสรร และการวางแผนการใช้เงินอย่างมีประสิ ทธิภาพโปร่ งใส ตรวจสอบได้ 3. มีงบประมาณประจําปี ที่สอดคล้องกับแผนปฏิบตั ิการในแต่ละ พันธกิจและการพัฒนาสถาบันและบุคลากร 4. มีการจัดทํารายงานทางการเงินอย่างเป็ นระบบ และรายงานต่อ สภาสถาบันอย่างน้อยปี ละ 2 ครั้ง 5. มีการนําข้อมูลทางการเงินไปใช้ในการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายและ วิเคราะห์สถานะทางการเงินและความมัน่ คงของสถาบันอย่าง ต่อเนื่อง 6. มีหน่วยงานตรวจสอบภายในและภายนอก ทําหน้าที่ตรวจสอบ ติดตามการใช้เงินให้เป็ นไปตามระเบียบและกฏเกณฑ์ที่สถาบัน กําหนด 7. ผูบ้ ริ ห ารระดับ สู ง มี ก ารติ ด ตามผลการใช้เ งิ น ให้เ ป็ นไปตาม เป้ าหมาย และนําข้อมูลจากรายงานทางการเงิ นไปใช้ในการ วางแผนและการตัดสิ นใจ เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 2 หรื อ 3 ข้อ

ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 4 หรื อ 5 ข้อ

มี

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข

8-8.1-01

8-8.1-02

8-8.1-02

8-8.1-03

8-8.1-04

8-8.1-05

8-8.1-06

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 6 ข้อ 7 ข้อ 7 ข้อ

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 7 ข้อ


91

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน 7 ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ผลการดําเนินงาน ข้อ 1 วิทยาลัยมีแผนกลยุทธ์ทางการเงินที่สอดคล้องกับวิสยั ทัศน์ พันธกิจของสถาบัน ทั้งการผลิตบัณฑิต งานวิจยั การบริ การวิชาการและการทํานุบาํ รุ งศิลปวัฒนธรรม รวมทั้งส่ งเสริ มยุทธศาสตร์ของ วิทยาลัยให้เป็ นไปตามเป้ าหมาย (8-8.1-01) ข้อ 2 มีหลักเกณฑ์ในการจัดสรรและการวางแผนการใช้เงินอย่างมีประสิ ทธิภาพ โปร่ งใส ตรวจสอบได้ เป็ นไปตามหลักธรรมาภิบาล (8-8.1-02) ข้อ 3 มีคาํ สัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาแผนและงบประมาณประจําปี โดยมีรองอธิการบดีฝ่ายบริ หาร เป็ นประธาน รองอธิการบดี ผูอ้ าํ นวยการสํานัก เป็ นคณะกรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการ พิจารณาแผนและงบประมาณ มีมติให้จดั สรรงบประมาณให้กบั คณะ ฝ่ าย และสํานัก (8-8.1-02) ข้อ 4 สรุ ปผลการดําเนินงาน จากแผนการเบิกจ่ายเงินรายเดือน เพื่อนําไปจัดทํางบการเงินประจําปี และ รายงานต่อสภาสถาบัน (8-8.1-03) ข้อ 5 มีการจัดทําประมาณการเงินสด เพื่อนําข้อมูลไปใช้ในการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายและวิเคราะห์สถานะ ทางการเงินรวมทั้งความมัน่ คงของสถาบัน (8-8.1-04) ข้อ 6 มีการตรวจสอบการบันทึกรายรับ-รายจ่ายเป็ นประจําทุกวัน เพื่อเป็ นการติดตามการใช้เงินให้ เป็ นไปตามระเบียบและกฏเกณฑ์ที่ทางวิทยาลัยกําหนด (8-8.1-05) ข้อ 7 จัดทํารายงานสรุ ปการใช้จ่ายงบประมาณประจําปี และผลการดําเนิ นงานด้านการเงิน งบประมาณ รายได้ ตลอดจนงบประมาณจากแหล่งทุนอื่นๆ เพื่อให้ผูบ้ ริ หารระดับสู งใช้เป็ นข้อมูลในการ วางแผนและการตัดสิ นใจ (8-8.1-06) การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน 5 คะแนน

การบรรลุเป้าหมายตามแผน บรรลุเป้ าหมาย


92

รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 8-8.1-01 ข้อ 2 8-8.1-02 ข้อ 3 8-8.1-02 ข้อ 4 8-8.1-03 ข้อ 5 8-8.1-04 ข้อ 6 8-8.1-05 ข้อ 7 8-8.1-06

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด แผนกลยุทธ์ทางการเงิน งบประมาณประจําปี 2553 งบประมาณประจําปี 2553 งบการเงิน ประจําปี 2553 ประมาณการเงินสด รายงานการตรวจสอบภายใน รายงานสรุ ปการใช้จ่ายงบประมาณ ประจําปี 2553


93

องค์ ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

ตัวบ่ งชี้ที่ 9.1 : ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน มี 1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน  ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับพันธกิ จและพัฒนาการ ของสถาบัน ตั้ง แต่ ร ะดั บ ภาควิ ช าหรื อหน่ ว ยงาน เทียบเท่า และดําเนินการตามระบบที่กาํ หนด 2. มี ก ารกํา หนดนโยบายและให้ ค วามสํา คัญ เรื่ อ งการ  ประกันคุณภาพการศึ กษาภายใน โดยคณะกรรมการ ระดับนโยบายและผูบ้ ริ หารสู งสุ ดของสถาบัน 3. มีการกําหนดตัวบ่งชี้เพิ่มเติมตามอัตลักษณ์ของสถาบัน

4. มี ก ารดํา เนิ น งานด้า นการประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษา ภายในที่ ค รบถ้ ว น ประกอบด้ ว ย 1) การควบคุ ม ติดตามการดําเนิ นงาน และประเมินคุณภาพ 2) การ จัดทํารายงานประจําปี ที่เป็ นรายงานประเมินคุณภาพ เสนอต่ อ สภาสถาบั น และสํ า นั ก คณะกรรมการ อุดมศึกษาตามกําหนดเวลา โดยเป็ นรายงานที่มีขอ้ มูล ครบถ้ว นตามที่ สํา นัก คณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา กําหนดให้ CHE QA ONLINE และ 3 ) การนําผลการ ประเมิ น คุ ณ ภาพไปทํ า แผนการพั ฒ นาคุ ณ ภาพ การศึกษาของสถาบัน 5. มี การนําผลการประกันคุ ณภาพการศึ กษา ภายในมา ปรับปรุ งการทํางาน และส่ งผลให้มีการพัฒนาผลการ ดําเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ทุกตัวบ่งชี้

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข 9-9.1-01 9-9.1-02 9-9.1-03 9-9.1-04 9-9.1-05 9-9.1-06 9-9.1-07 9-9.1-08 9-9.1-09 9-9.1-10 9-9.1-11 9-9.1-12 9-9.1-13 9-9.1-14 9-9.1-15 9-9.1-16

9-9.1-17


94

เกณฑ์ มาตรฐาน 6. มี ร ะบบสารสนเทศที่ ใ ห้ข ้อ มู ล สนับ สนุ น การประกัน คุณภาพการศึกษาภายในครบทั้ง 9 องค์ประกอบคุณภาพ 7. มีส่วนร่ วมของผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยในการประกันคุณภาพ การศึ ก ษา โดยเฉพาะนั ก ศึ ก ษาผู ้ ใ ช้ บ ั ณ ฑิ ต และ ผูใ้ ช้บริ การตามพันธกิจของสถาบัน

มี 

8. มีเครื อข่ายการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ดา้ นการประกันคุณภาพ การศึกษาระหว่างสถาบัน และมีกิจกรรมร่ วมกัน

9. มี แ นวปฏิ บ ัติที่ดี ห รื องานวิ จ ัย ด้า นการประกัน คุ ณ ภาพ การศึ ก ษาที่ ห น่ ว ยงานพั ฒ นาขี้ น และเผยแพร่ ให้ หน่วยงานอื่นสามารถนําไปใช้ประโยชน์

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการ มีการดําเนินการ 1 ข้อ 2 หรื อ 3 ข้อ ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 4 หรื อ 5 ข้อ หรื อ 6 ข้อ

ไม่ มี

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 7 หรื อ 8 ข้อ 9 ข้อ 9 ข้อ

เอกสารหมายเลข 9-9.1-18 9-9.1-19 9-9.1-20 9-9.1-21 9-9.1-10 9-9.1-11 9-9.1-22 9-9.1-23 9-9.1-24 9-9.1-25 9-9.1-26

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 9 ข้อ


95

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน 9 ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ผลการดําเนินงาน ข้อ 1 - วิทยาลัย มี ก ารดําเนิ น ด้านการประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษา ตามระบบการประกัน คุ ณ ภาพ การศึ ก ษา ของวิ ท ยาลัย เซาธ์ อี ส ท์บ างกอก ที่ ค รอบคลุ ม ทั้ง ตัว บ่ ง ชี้ วัด ของสํา นัก งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) 18 ตัวบ่งชี้ ตามคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาของ วิ ท ยาลัย เซาธ์ อี ส ท์ บ างกอก และคู่ มื อ การประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของสํ า นั ก งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) (9-9.1-01/9-9.1-02) - นอกจากนี้ วิทยาลัยได้กาํ หนดแผนปฏิบตั ิงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อเป็ น แนวทางในการดําเนินงานมีการจัดตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อดูแลงาน ด้านการประกันคุ ณภาพการศึกษา ประกอบด้วย ผูบ้ ริ หาร คณาจารย์ ผูอ้ าํ นวยการสํานัก ประกันคุณภาพการศึกษาและบุคลากร มีคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาในระดับ คณะ มีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพการศึกษา โดยคณะกรรมการตรวจสอบ และประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน เพื่อเตรี ยมความพร้อมรองรับการตรวจสอบประเมิน จากหน่วยงานภายนอก (9-9.1-03/9-9.1-04) ข้อ 2 - มีการกําหนดนโยบายจากผูบ้ ริ หารสูงสุ ดของสถาบัน ที่ให้ความสําคัญต่อการเรี ยน การสอน การวิจยั การบริ การทางวิชาการแก่สงั คม ซึ่งนโยบายเหล่านี้ สอดคล้องและ มีผลต่อประสิ ทธิภาพการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย (9-9.1-05) - มีการกําหนดยุทธศาสตร์ เป้ าประสงค์ กลยุทธ์ ตัวชี้ วดั เป้ าหมาย ที่สอดคล้องกับนโยบาย การประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย ซึ่ งกําหนดไว้ในแผนยุทธศาสตร์ ของวิทยาลัย ตลอดจนมีการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์สู่ บุคลากร (9-9.1-06) - มีการรายงานผลการดําเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย (9-9.1-07) - มีการกําหนดผูบ้ ริ หาร และบุคลากรมีส่วนร่ วมในการเป็ นคณะกรรมการ และคณะทํางาน ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา และให้ถือว่างานประกันคุณภาพการศึกษา เป็ นส่ วนหนึ่ ง ของงานประจํา - มีการประชุ มคณะกรรมการทุกระดับ ที่รับผิดชอบงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อรับนโยบายและหารื องานด้านการประกันคุณภาพการศึกษา (9-9.1-08) ข้อ 3 มีการกําหนดตัวบ่งชี้เพิ่มเติมตามอัตลักษณ์ของหน่วยงานวิทยาลัย โดยอธิ การบดี จัดให้มีการประชุม เรื่ อง ตัวบ่งชี้อตั ลักษณ์ โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ฝ่ายบริ หาร คณาจารย์ และบุคลากร มีความรู ้ ความเข้าใจในเรื่ องอัตลักษณ์ของวิทยาลัย เป็ นไปในทิศทางเดี ยวกัน การจัดการประชุ ม ดําเนินการดังนี้


96

เกณฑ์

ข้อ 4

ข้อ 5

ผลการดําเนินงาน - การประชุมครั้งที่ 1 / 2554 เมื่อวันจันทร์ที่ 7 มีนาคม 2554 (9-9.1-09) - การประชุมครั้งที่ 2 / 2554 เมื่อวันศุกร์ที่ 18 มีนาคม 2554 อัตลักษณ์ของวิทยาลัย คือ “ ความรู ้ คู่คุณธรรม สร้างสรรค์สงั คม ” เอกลักษณ์ของวิทยาลัย คือ “สร้างสรรค์สงั คม ” 1) ความรู ้ วิทยาลัยกําหนดตัวชี้วดั ที่ใช้ คือ ภาวะการมีงานทําของบัณฑิต การสังเคราะห์ผล เพื่อวิทยาลัยจะได้มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตที่มีความสามารถใน สาขาวิชาที่เรี ยน มีทกั ษะ มีคุณสมบัติตามความต้องการของผูใ้ ช้บณ ั ฑิต (9-9.1-10) 2) คุณธรรม วิทยาลัยกําหนดตัวบ่งชี้วดั ที่ใช้คือ ความพึงพอใจของผูป้ ระกอบการ การสังเคราะห์ผล เพื่อวิทยาลัยจะได้ผลิตบัณฑิต ที่มีทกั ษะในการประกอบอาชีพ การงาน และมีทกั ษะในการดําเนินชีวิต มีปัจจัยคํ้าจุนในการดําเนินชีวิตภายนอก สถานศึกษาได้(9-9.1-11) 3) สร้างสรรค์สงั คม วิทยาลัยกําหนดตัวบ่งชี้วดั ที่ใช้ คือ โครงการบริ การวิชาการสู่ สังคมและกิจกรรมนักศึกษาที่ลงสู่ สงั คม (9-9.1-04) การสังเคราะห์ผล เพื่อวิทยาลัยจะได้ปรับปรุ งพัฒนากิจกรรมนักศึกษาให้สอดคล้อง กับการศึกษาต้องควบคู่การดําเนินกิจกรรม เพื่อนําความรู ้สู่ บุคคลอื่นได้ (9-9.1-13) มีการดําเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่ครบถ้วน ประกอบด้วย - การควบคุมติดตามการดําเนิ นงาน โดยคณะกรรมการประกันคุณภาพของวิทยาลัย และ คณะกรรมการประกันคุณภาพระดับคณะ - มีการกําหนดแผนปฏิบตั ิงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษา และมีการดําเนิ นงานตาม แผนที่กาํ หนด - มีการจัดทํารายงานการประเมินตน (SAR) ที่ผา่ นความเห็นชอบจากผูบ้ ริ หาร - มีการประเมินคุณภาพการศึกษา ภายในระดับคณะ และรับการประเมินและตรวจสอบระบบ การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในระดับสถาบัน จากผูท้ รงคุณวุฒิภายนอก อย่างต่อเนื่อง เป็ นประจําทุกปี การศึกษา - มี การนําผลการประเมิ นคุ ณภาพ แจ้งต่ อที่ ประชุ ม และสรุ ปเอกสารประเมิ นไว้เป็ นลาย ลักษณ์ อกั ษร พร้ อมทั้งนําข้อมูลเสนอแนะไปจัดทําแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและ ปรับปรุ งภารกิจในด้านต่าง ๆ (9-9.1-14/9-9.1-15/9-9.1-16) มีการนําผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมาปรับปรุ งการทํางาน และส่ งผลให้มีการพัฒนา ผลการดําเนินงานตามตัวบ่งชี้ ของแผนกลยุทธ์ ทุกตัวบ่งชี้ - หลังจากรั บการตรวจสอบและประเมินคุ ณภาพจากผูท้ รงคุ ณวุฒิภายนอกแล้ว วิทยาลัย ดําเนินการวิเคราะห์เปรี ยบเทียบผลการประเมิน เพื่อวิเคราะห์จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา และ


97

เกณฑ์

ข้อ 6

ผลการดําเนินงาน หาแนวทางพัฒนา เมื่อได้ขอ้ สรุ ปแล้วนําผลมาใช้ในการปรับปรุ งแผนปฏิบตั ิงานด้านการประกัน คุณภาพในปี ต่อไป (9-9.1-17) มี ร ะบบสารสนเทศที่ ใ ห้ ข ้ อ มู ล สนั บ สนุ น การประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายในครบทั้ ง 9 องค์ประกอบคุณภาพ (9-9.1-18/9-9.1-19) - สารสนเทศที่ สนับสนุ นองค์ประกอบที่ 1 ปรั ชญา ปณิ ธาน วัตถุประสงค์และแผนการ ดําเนินการระบบการจัดทําแผนและรายงานผลตามแผนการดําเนินงาน online ผ่านเว็บไซต์ วิทยาลัย ที่ www.southeast.ac.th - สารสนเทศที่สนับสนุน องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต มีสารสนเทศเพื่อการจัดการศึกษาสําหรับนักศึกษา บริ การระบบข้อมูลและสารสนเทศเพื่อ การจัดการศึกษาสําหรับนักศึกษาที่ http://192.168.1.9/vncaller (ระบบลงทะเบียน) - สารสนเทศที่สนับสนุน องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา ระบบฐานข้อมูลกิจกรรมนักศึกษา online ผ่านเว็บไซต์วิทยาลัยที่ www.southeast.ac.th - สารสนเทศที่สนับสนุน องค์ประกอบที่ 4 การวิจยั ระบบฐานข้อมูลการวิจยั online ผ่านเว็บไซต์วิทยาลัยที่ www.southeast.ac.th - สารสนเทศที่สนับสนุน องค์ประกอบที่ 5 การบริ การทางวิชาการแก่สงั คม ระบบฐานข้อ มู ล การบริ ก ารทางวิ ช าการแก่ สั ง คม online ผ่ า นเว็บ ไซต์วิ ท ยาลัย ที่ www.southeast.ac.th - สารสนเทศที่สนับสนุน องค์ประกอบที่ 6 การทํานุบาํ รุ งศิลปะและวัฒนธรรม ระบบฐานข้อมู ลการทํา นุ บ าํ รุ งศิ ลปะและวัฒนธรรม online ผ่านเว็บไซต์วิท ยาลัย ที่ www.southeast.ac.th - สารสนเทศที่สนับสนุน องค์ประกอบที่ 7 การบริ หารและการจัดการ มีสารสนเทศเพื่อการจัดการที่ http://192.168.1.9/vncaller (ระบบการเงิน) - สารสนเทศที่สนับสนุน องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ มีสารสนเทศเพื่อการจัดการที่ http://192.168.1.9/vncaller (ระบบการเงิน) - สารสนเทศที่สนับสนุน องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ มีสารสนเทศเพื่อการจัดการที่ http://192.168.1.9/vncaller (ระบบฐานข้อมูลหลัก) มี ร ะบบฐานข้ อ มู ล ระบบและกลไกการประกั น คุ ณ ภาพ ผ่ า นเว็ บ ไซต์ วิ ท ยาลั ย ที่ www.southeast.ac.th มีระบบ CHE QA ONLINE (SAR ONLINE) 1


98

เกณฑ์ ข้อ 7

ข้อ 8

ผลการดําเนินงาน มีส่วนร่ วมของผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยในการประกันคุณภาพการศึกษา โดยเฉพาะนักศึกษา ผูใ้ ช้บณั ฑิต และผูใ้ ช้บริ การตามพันธกิจของสถาบัน - มีการประเมินผลการสอนอาจารย์ผสู ้ อนโดยนักศึกษา ปี ละ 2 ภาคการศึกษาทุกสิ้ นภาค การศึกษา เพื่ออาจารย์ผสู ้ อนนําผลการประเมินจากนักศึกษา ไปพัฒนาปรับปรุ งการเรี ยน การสอนให้เกิดประสิ ทธิภาพ (9-9.1-20) - มีการประเมินผลความพึงพอใจของใช้บณั ฑิต เป็ นประจําทุกปี ต่อเนื่อง เพื่อนําผลการ ประเมินมาใช้ ในการจัดการเรี ยนการสอนเพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพตามที่ผใู ้ ช้บณั ฑิต ต้องการ - มีการสํารวจภาวะการมีงานทําของบัณฑิต และสํารวจบัณฑิตที่ได้งานทําตรงตามสาขาที่ ศึกษา เพื่อนําผลการสํารวจมาใช้ในการจัดการเรี ยนการสอน เพิ่มความเข้มข้นใน เนื้อหาวิชาให้เกิดความรู ้ในการนําไปใช้ในงานอาชีพได้จริ ง - การจัดกิจกรรมของวิทยาลัย นักศึกษาที่เข้าร่ วมกิจกรรม สามารถประเมินผลความพึงพอใจ ต่อกิจกรรม เพื่อนําผลไปพัฒนาปรับปรุ งการจัดกิจกรรมในครั้งต่อไป เช่น กิจกรรม ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ (ประเมินผลออนไลน์) กิจกรรมปัจฉิมนิเทศ เป็ นต้น (9-9.1-21) มีเครื อข่ายการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ดา้ นการประกันคุณภาพการศึกษา ระหว่างหน่วยงานและมี กิจกรรมร่ วมกัน - วิทยาลัยมีเครื อข่าย กลุ่มเบญจมิตร 5 สถาบัน คือ มหาวิทยาลัยธนบุรี มหาวิทยาลัยนอร์ท กรุ งเทพ วิทยาลัยราชพฤกษ์ วิทยาลัยกรุ งเทพสุ วรรณภูมิ และ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก จัดการประชุมวิชาการระดับชาติ เบญจมิตรวิชาการครั้งที่ 1 “การวิจยั สู่การพัฒนาที่ยง่ั ยืน” (RESEARCH THROUGH SUSTAINABLE DEVELOPMENT) เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2554 (9-9.1-22) - วิทยาลัยส่ งบุคลากรเข้าร่ วมรับการอบรมถ่ายทอดความรู ้ เนื้อความเข้าใจเกี่ยวกับ องค์ประกอบคุณภาพ ตัวบ่งชี้เกณฑ์การประเมิน และแนวปฏิบตั ิของการประกันคุณภาพ การศึกษาภายใน พ.ศ. 2553 ที่พฒั นาขึ้นใหม่ เมื่อวันอังคารที่ 11 มกราคม 2554 ณ มหาวิทยาลัยศรี ปทุม บางเขน (9-9.1-23) - วิทยาลัยจัดโครงการอบรมการประกันคุณภาพการศึกษา “การเตรี ยมรับการประเมินคุณภาพ ภายนอก รอบสาม” โดย ศ.พล.ต.ต.ดร.เกียรติพงษ์ มีเพียร เมื่อวันพุธที่ 23 กุมภาพันธ์ 2554 ณ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก (9-9.1-24) - วิทยาลัยจัดโครงการถ่ายทอดความรู ้เชิงปฏิบตั ิการ “ความสัมพันธ์ระหว่างการประกัน คุณภาพการศึกษาภายในกับการประเมินคุณภาพภายนอก” โดย ดร.ฉันทวิทย์ สุ ชาตานนท์


99

เกณฑ์

ข้อ 9

ผลการดําเนินงาน และ ผศ.ดร.พันธ์ศกั ดิ์ พลสารัมย์ เมื่อวันจันทร์ที่ 14 มีนาคม 2554 ณ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก (9-9.1-25) มีแนวปฏิบตั ิที่ดีหรื องานวิจยั ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ที่หน่วยงานพัฒนาขึ้นและเผยแพร่ ให้หน่วยงานอื่นสามารถนําไปใช้ประโยชน์ - มีการจัดทํารายงานการประเมินตนเอง เผยแพร่ ผา่ น www.southeast.ac.th เพื่อใช้เป็ น แนวทางในการประเมิน ตรวจสอบระบบการประกันคุณภาพการศึกษา และเผยแพร่ เพื่อให้ หน่วยงานอื่นนําไปใช้ประโยชน์ (9-9.1-26)

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน 5 คะแนน รายการหลักฐานอ้ างอิง เอกสารหมายเลข หลักฐาน ข้อ 1 9-9.1-01 9-9.1-02 9-9.1-03 9-9.1-04 ข้อ 2

9-9.1-05 9-9.1-06 9-9.1-07 9-9.1-08

ข้อ 3

9-9.1-09

การบรรลุเป้าหมายตามแผน บรรลุเป้ าหมาย ชื่อเอกสาร/รายละเอียด คําสัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา รายงานการประชุมคณะกรรมการการประกันคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2553-2554 คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ปี การศึกษา 2553 คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถาบันการศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2553 นโยบายด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก แผนยุทธศาสตร์วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก (ด้านการประกันคุณภาพ การศึกษา) รายงานการประชุม การประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับสถาบัน ตารางผูร้ ับผิดชอบรายองค์ประกอบคุณภาพทั้ง 9 องค์ประกอบ 23 ตัวบ่งชี้ รายงานการประชุมเรื่ องอัตลักษณ์ ครั้งที่ 1 / 2554 รายงานการประชุมเรื่ องอัตลักษณ์ ครั้งที่ 2 / 2554


100

หลักฐาน

เอกสารหมายเลข 9-9.1-10 9-9.1-11

ข้อ 4

9-9.1-12 9-9.1-13 9-9.1-14 9-9.1-15 9-9.1-16

ข้อ 5

9-9.1-17

ข้อ 6

9-9.1-18 9-9.1-19 9-9.1-20 9-9.1-21

ข้อ 7

ข้อ 8

9-9.1-22 9-9.1-23

9-9.1-24 9-9.1-25 ข้อ 9

9-9.1-26

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ภาวะการมีงานทําหรื อประกอบอาชีพอิสระของนักศึกษา (สํานักวิจยั ) คุณลักษณะของบัณฑิตที่พงึ ประสงค์ตามความต้องการของผูใ้ ช้ บัณฑิตวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอกทุกหลักสูตร (สํานักวิจยั ) โครงการบริ การทางวิชาการแก่ชุมชน / สังคม (เอกสารคณะ) การศึกษาอัตลักษณ์ ของบัณฑิตวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก แผนปฏิบตั ิงานตรวจประเมินคุณภาพการศึกษา รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ปี การศึกษา 2553 รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ปี การศึกษา 2551 และ ปี การศึกษา 2552 ตารางวิเคราะห์เปรี ยบเทียบผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ภายใน 3 ปี ย้อนหลัง (ปี 2551 - 2553) (ตัวอย่าง) www.southeast.ac.th (ตัวอย่าง) http://192.168.1.9/vncaller ประเมินการสอนอาจารย์ ปี การศึกษา 2553 -ประเมินผลกิจกรรมปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ -ประเมินผลกิจกรรมปั จฉิ มนิเทศ การประชุมวิชาการระดับชาติ เบญจมิตรวิชาการครั้งที่ 1 (สํานักวิจยั ) การอบรมถ่ายทอดความรู ้เพือ่ ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบ ตัวบ่งชี้เกณฑ์การประเมิน และแนวปฏิบตั ิของการประกันคุณภาพ การศึกษาภายใน พ.ศ. 2553 การเตรี ยมรับการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม การถ่ายทอดความรู ้เชิงปฏิบตั ิการ “ความสัมพันธ์ระหว่างการประกัน คุณภาพการศึกษาภายในกับการประเมินคุณภาพภายนอก” (ตัวอย่าง) www.southeast.ac.th


2

บทที่ 3 สรุปผลการประเมินและแนวทางการพัฒนา


102


103

บทที่ 3 สรุปผลการประเมินและแนวทางการพัฒนา (โดยคณะกรรมการผู้ประเมินจาก สกอ.) ผลการประเมิน (เกณฑ์ สกอ.)

องค์ ประกอบคุณภาพ

องค์ ประกอบที่ องค์ ประกอบที่ องค์ ประกอบที่ องค์ ประกอบที่ องค์ ประกอบที่ องค์ ประกอบที่ องค์ ประกอบที่ องค์ ประกอบที่ องค์ ประกอบที่

ผลการประเมินตนเอง

1 2 3 4 5 6 7 8 9

เฉลีย่ รวมทุกตัวบ่ งชี้ ของทุกองค์ประกอบ

4.00 4.32 5.00 3.91 5.00 5.00 4.50 5.00 4.00 40.73 9

= 4.52

0.00<=1.50 การดําเนินงานต้ องปรับปรุ งเร่ งด่ วน 1.51-2.50 การดําเนินงานต้ องปรับปรุง 2.51-3.50 การดําเนินงานระดับพอใช้ 3.51-4.00 การดําเนินงานระดับดี 4.51-5.00 การดําเนินงานระดับดีมาก

ดี ดี ดีมาก ดี ดีมาก ดีมาก ดี ดีมาก ดี ดีมาก

หมายเหตุ


2

ตารางที่ ป.1 ผลการประเมินรายตัวบ่ งชี้ของสํ านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ตารางที่ ป.1 (สกอ.) ตัวบ่ งชี้คุณภาพ ตัวบ่ งชี้ที่ 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน

เป้ าหมาย

8

ตัวตั้ง

ผลการดําเนินงาน ตัวหาร

ผลลัพธ์ (%หรือสั ดส่ วน)

บรรลุเป้ าหมาย (/ = บรรลุ , x = ไม่ บรรลุ)

7

X

จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง มีการปรับปรุ งตามข้อเสนอแนะของกรรมการชุดก่อนทุกประเด็น จุดทีค่ วรพัฒนา/ข้ อเสนอแนะในการปรับปรุ ง รี บดําเนินการปรับปรุ งหลังจากผ่านการนําเสนอสภาเพือ่ ให้สามารถปรับปรุ งได้ในปี การศึกษาต่อไป

หมายเหตุ คะแนนประเมิน (เช่ น เหตุผลของการประเมิน (เกณฑ์ สกอ.) ทีต่ ่ างจากที่ระบุใน SAR) 4

-


105 ผลการดําเนินงาน ตัวบ่ งชี้คุณภาพ

เป้ าหมาย

ตัวบ่ งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและ 5 ข้อ บริ หารหลักสู ตร ตัวบ่ งชี้ที่ 2.2 อาจารย์ป ระจําที่ มี วุฒิป ริ ญ ญา 4.00 เอก ตัวบ่ งชี้ที่ 2.3 1 อาจารย์ประจําที่ดาํ รงตําแหน่ ง คะแนน ทางวิชาการ ตัวบ่ งชี้ที่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และ 7 ข้อ บุคลากรสายสนับสนุน ตัวบ่ งชี้ที่ 2.5 ห้ อ งสมุ ด อุ ป กรณ์ ก ารศึ ก ษา 7 ข้อ และ สภาพแวดล้อมการเรี ยนรู้ ตัวบ่ งชี้ที่ 2.6 ระบบและกลไกการจั ด การ 7 ข้อ เรี ยนการสอน

ตัวตั้ง

ตัวหาร

บรรลุเป้ าหมาย (/ = บรรลุ , x = ไม่ บรรลุ)

คะแนนประเมิน (เกณฑ์ สกอ.)

หมายเหตุ (เช่ น เหตุผลของการประเมิน ทีต่ ่ างจากที่ระบุใน SAR)

5

/

5

-

4.05

/

4

-

0.56

/

1

-

7

/

5

-

7

/

5

-

7

/

5

-

ผลลัพธ์ (%หรือ สั ดส่ วน)


106 ผลการดําเนินงาน ตัวบ่ งชี้คุณภาพ

ตัวบ่ งชี้ที่ 2.7 ระบบและกลไกการพัฒ นา สั ม ฤ ท ธิ์ ผ ล ก า ร เ รี ย น ต า ม คุณลักษณะของบัณฑิต ตัวบ่ งชี้ที่ 2.8 ระดั บ ความสํ า เร็ จของการ เสริ มสร้างคุณธรรมจริ ยธรรมที่ จัดให้กบั นักศึกษา

เป้ าหมาย

ตัวตั้ง

ตัวหาร

ผลลัพธ์ (%หรือ สั ดส่ วน)

บรรลุเป้ าหมาย (/ = บรรลุ , x = ไม่ บรรลุ)

คะแนนประเมิน (เกณฑ์ สกอ.)

หมายเหตุ (เช่ น เหตุผลของการประเมิน ทีต่ ่ างจากที่ระบุใน SAR)

5 ข้อ

5

/

5

-

5 ข้อ

5

/

5

-

จุดทีค่ วรพัฒนา/ข้ อเสนอแนะในการปรับปรุ ง 1. ตําแหน่งทางวิชาการยังมีนอ้ ย 2. อาจารย์คุณวุฒิปริ ญญาเอก บางคณะมีสดั ส่ วนน้อย ไม่เป็ นไปตามเกณฑ์ 3. บางคณะมีจาํ นวนนักศึกษาน้อย ทําให้การจัดการเรี ยนการสอนไม่เป็ นไปตามเป้ าหมายที่สถาบันกําหนด 4. ส่ งเสริ มให้คณาจารย์ทาํ ผลงานวิชาการอย่างจริ งจัง โดยมีระบบกลไกขับเคลื่อนการเข้าสู่ ตาํ แหน่งทางวิชาการที่ชดั เจน 5. ส่ งเสริ มให้คณาจารย์บางคณะที่ขาดคุณวุฒิปริ ญญาเอก ศึกษาต่อในสาขาที่คณะขาดแคลน


2

จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง 1. มีความยืดหยุน่ ในการจัดการเรี ยนการสอน ดูจากปี การศึกษา 2553 ที่เปิ ดสอนภาษาจีน เป็ นวิชา เลือกให้กบั นักศึกษานอกหลักสู ตร 2. มีการจัดกิจกรรมโครงการที่เน้นและส่ งเสริ มด้านคุณธรรม จริ ยธรรม 3. การจัดการเรี ยนของนักศึกษาปริ ญญาโทที่ปัจจุบนั เน้นการสอนเป็ น Team Teaching ที่มีผสู ้ อบ มากกว่า 1 คน มีกระบวนการในการให้ คําปรึ กษา ในการทําวิจยั มีที่ปรึ กษาหลักและจัดพี่เลี้ยง ให้นกั ศึกษาร่ วมกับสํานักวิจยั เปิ ดเป็ นคลินิกวิจยั ให้กบั นักศึกษาในการปรึ กษางานวิจยั 4. บัณฑิตที่สาํ เร็ จการศึกษาของวิทยาลัย โดยส่ วนใหญ่มีงานทําทุกคน เงินเดือนค่อนข้างสูง บุคลากรส่ วนใหญ่มีความจงรักภักดี 5. ควรมีสวัสดิการด้านสุ ขภาพให้อาจารย์ โดยเฉพาะสถานที่ออกกําลังกาย เช่น ห้องฟิ ตเนส


2 ผลการดําเนินงาน ตัวบ่ งชี้คุณภาพ

ตัวบ่ งชี้ที่ 3.1 ร ะ บ บ แ ล ะ ก ล ไ ก ก า ร ใ ห้ คํา ปรึ กษาและบริ การด้า น ข้อมูลข่าวสาร ตัวบ่ งชี้ที่ 3.2 ระบบและกลไกการส่ งเสริ ม กิจกรรมนักศึกษา

เป้ าหมาย

ตัวตั้ง

ตัวหาร

ผลลัพธ์ (%หรือ สั ดส่ วน)

บรรลุเป้ าหมาย (/ = บรรลุ , x = ไม่ บรรลุ)

คะแนนประเมิน (เกณฑ์ สกอ.)

หมายเหตุ (เช่ น เหตุผลของการประเมิน ทีต่ ่ างจากที่ระบุใน SAR)

7

100

/

5

-

6

100

/

5

-

วิธีปฏิบัติทดี่ ี/นวัตกรรม มีการจัดกิจกรรมที่เป็ นร่ มใหญ่ และมีกิจกรรมย่อยที่ส่งเสริ มให้บณั ฑิตมีคุณสมบัติที่พึงประสงค์ครบ จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง 1. ผูบ้ ริ หาร และคณาจารย์ ให้ความสําคัญกับการพัฒนาคุณภาพของนักศึกษาทั้งในด้านวิชาการ กิจกรรมเสริ ม และการให้คาํ ปรึ กษา 2. มีความพร้อมในด้านงบประมาณและบุคลากร 3. นักศึกษาส่ วนใหญ่มีงานทําอยูแ่ ล้ว เอื้อต่อการหาแหล่งฝึ กงานที่เป็ นประโยชน์ต่อวิชาชีพและพัฒนาประสบการณ์


2

จุดทีค่ วรพัฒนา/ข้ อเสนอแนะในการปรับปรุ ง

1. สร้างเครื อข่ายกับนักศึกษาต่างสถาบันอย่างเป็ นรู ปธรรมมากขึ้น 2. ส่งเสริ มการฝึ กงานต่างประเทศ 3. ส่งเสริ มให้ศิษย์เก่าที่ประสบความสําเร็จในวิชาชีพด้านต่าง ๆ มาให้ความรู้และแลกเปลี่ยน ประสบการณ์กบั นักศึกษาปัจจุบนั

4. จัดตั้งสมาคมศิษย์เก่า 5. จัดหาสนามกีฬาเพิ่ม


2 ผลการดําเนินงาน ตัวบ่ งชี้คุณภาพ

ตัวบ่ งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการพั ฒ นา งานวิจยั และงานสร้างสรรค์ ตัวบ่ งชี้ที่ 4.2 ระบบและกลไกการจัด ความรู้ จากงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ ตัวบ่ งชี้ที่ 4.3 เงิ นสนับสนุ นงานวิจัยหรื องาน สร้ า งสรรค์ต่ อ จํา นวนอาจารย์ ประจําหรื อนักวิจยั

เป้ าหมาย

ตัวตั้ง

ตัวหาร

บรรลุเป้ าหมาย (/ = บรรลุ , x = ไม่ บรรลุ)

คะแนนประเมิน (เกณฑ์ สกอ.)

หมายเหตุ (เช่ น เหตุผลของการประเมิน ทีต่ ่ างจากที่ระบุใน SAR)

X

4

-

7

ผลลัพธ์ (%หรือ สั ดส่ วน) 6 (85.56 %)

5

4 (80 %)

X

4

-

4

3.74 (74.8 %)

X

3.74

-

จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง ผูบ้ ริ หารสนับสนุนงานวิจยั อย่างดี จุดทีค่ วรพัฒนา/ข้ อเสนอแนะในการปรับปรุง 1. ควรบูรณาการเรี ยนวิจยั กับการบริ การทางวิชาการเข้าด้วยกัน 2. ควรแยกงบประมาณด้านการวิจยั ออกเป็ นงบด้านย่อย ๆ เช่น กิจกรรมวิจยั ทุนวิจยั งบเครื อข่ายวิจยั เบื้องต้น 3. อาจารย์ควรมีภาระงานวิจยั และควรแสวงหาโอกาสในการวิจยั ด้วยตนเองอยูต่ ลอดเวลา 4. วิทยาลัยควรมีงานด้านวิจยั หลายด้าน ทั้งกิจกรรมวิจยั ในสถาบัน-นอกสถาบัน การทําวิจยั ของอาจารย์-นักศึกษา การร่ วมเครื อข่ายกับสถาบันอื่น


111 ผลการดําเนินงาน ตัวบ่ งชี้คุณภาพ

ตัวบ่ งชี้ที่ 5.1 ระบบและกลไกการบริ การทาง วิชาการแก่สังคม ตัวบ่ งชี้ที่ 5.2 กระบวนการบริ หารทางวิชาการ ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม

เป้ าหมาย

ตัวตั้ง

ตัวหาร

ผลลัพธ์ (%หรือ สั ดส่ วน)

บรรลุเป้ าหมาย (/ = บรรลุ , x = ไม่ บรรลุ)

คะแนนประเมิน (เกณฑ์ สกอ.)

หมายเหตุ (เช่ น เหตุผลของการประเมิน ทีต่ ่ างจากที่ระบุใน SAR)

5

5

/

5

-

5

5

/

5

-

จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง 1. อาจารย์เข้าใจกระบวนการบริ การทางวิชาการ มีการปฏิบตั ิครบถ้วน 2. สามารถพัฒนาการบริ การทางวิชาการแก่สงั คม เป็ นการให้บริ การของสถาบันโดยให้บุคคลภายนอกรับบริ การ แล้วรวบรวมเอกสารในการให้บริ การไว้ เป็ นเอกสารการประกันคุณภาพต่อไป จุดทีค่ วรพัฒนา/ข้ อเสนอแนะในการปรับปรุ ง 1. ระบบและกลไกควรกําหนดเป็ นเอกสาร ประกอบด้วย ผูร้ ับผิดชอบ ขั้นตอนการให้บริ การวิชาการ 2. ควรนําผลสรุ ปจากรายงานประจําปี เมื่อโครงการปี ที่ผา่ นมาสิ้ นสุ ดมากําหนดในแผนของปี ถัดไป เพื่อกําหนดเป็ นโครงการในปี ต่อไป (มิฉะนั้นจะซํ้าโครงการเดิม)


112 ผลการดําเนินงาน ตัวบ่ งชี้คุณภาพ

เป้ าหมาย

ตัวบ่ งชี้ที่ 6.1 ระบบและกลไกการทํา นุ บ าํ รุ ง ศิลปะและวัฒนธรรม

5

ตัวตั้ง

ตัวหาร

ผลลัพธ์ (%หรือ สั ดส่ วน) 5/6

บรรลุเป้ าหมาย (/ = บรรลุ , x = ไม่ บรรลุ)

คะแนนประเมิน (เกณฑ์ สกอ.)

หมายเหตุ (เช่ น เหตุผลของการประเมิน ทีต่ ่ างจากที่ระบุใน SAR)

/

5

-

จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง 1. ที่ต้ งั ของสถาบัน มีวฒั นธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นอยูใ่ นพื้นที่เอื้อต่อการดําเนินงาน 2. มีศูนย์ศิลปวัฒนธรรมรับผิดชอบงานโดยเฉพาะ จุดทีค่ วรพัฒนา/ข้ อเสนอแนะในการปรับปรุง 1. จัดทําวารสารเพื่อตีพิมพ์ผลงานด้านศิลปวัฒนธรรม และเผยแพร่ 2. ส่ งเสริ มให้คณาจารย์ ผลิตผลงานและจัดส่ งประกวดในระดับชาติ


113 ผลการดําเนินงาน ตัวบ่ งชี้คุณภาพ

ตัวบ่ งชี้ที่ 7.1 ภาวะผูน้ ําของสภาสถาบันและ ผูบ้ ริ หารทุกระดับของสถาบัน ตัวบ่ งชี้ที่ 7.2 การพัฒนาสถาบันสู่ สถาบันการ เรี ยนรู้ ตัวบ่ งชี้ที่ 7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริ หาร และการตัดสิ นใจ ตัวบ่ งชี้ที่ 7.4 ระบบบริ หารความเสี่ ยง

เป้ าหมาย

ตัวตั้ง

ตัวหาร

ผลลัพธ์ (%หรือ สั ดส่ วน)

บรรลุเป้ าหมาย (/ = บรรลุ , x = ไม่ บรรลุ)

คะแนนประเมิน (เกณฑ์ สกอ.)

หมายเหตุ (เช่ น เหตุผลของการประเมิน ทีต่ ่ างจากที่ระบุใน SAR)

7

7

/

5

-

5

5

/

5

-

5

5

/

5

-

3

ขาดการติดตามและประเมินผลการ ดําเนินการตามแผนบริ หารความ เสี่ ยงและการนําผลมาปรับปรุ งการ ดําเนินงาน

6

4

X

จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง สภามหาวิทยาลัยทําหน้าที่ครบถ้วน จุดทีค่ วรพัฒนา/ข้ อเสนอแนะในการปรับปรุง ควรติดตามและประเมินผลการดําเนินการตามแผนบริ หารความเสี่ ยงและนําผลมาปรับปรุ งดําเนินงาน


114 ผลการดําเนินงาน ตัวบ่ งชี้คุณภาพ

เป้ าหมาย

ตัวบ่ งชี้ที่ 8.1 ระบบและกลไกการเงิ น และ งบประมาณ

7

ตัวตั้ง

ตัวหาร

ผลลัพธ์ (%หรือ สั ดส่ วน) 7

บรรลุเป้ าหมาย (/ = บรรลุ , x = ไม่ บรรลุ)

คะแนนประเมิน (เกณฑ์ สกอ.)

หมายเหตุ (เช่ น เหตุผลของการประเมิน ทีต่ ่ างจากที่ระบุใน SAR)

/

5

-

บรรลุเป้ าหมาย (/ = บรรลุ , x = ไม่ บรรลุ)

คะแนนประเมิน (เกณฑ์ สกอ.)

หมายเหตุ (เช่ น เหตุผลของการประเมิน ทีต่ ่ างจากที่ระบุใน SAR)

X

4

วิธีปฏิบัติทดี่ ี/นวัตกรรม มีการดําเนินการครบถ้วน ผลการดําเนินงาน

.

ตัวบ่ งชี้คุณภาพ

เป้ าหมาย

ตัวบ่ งชี้ที่ 9.1 ระบบและกลไกการประกั น คุณภาพการศึกษาภายใน

9

ตัวตั้ง

ตัวหาร

วิธีปฏิบัติทดี่ ี/นวัตกรรม ผูบ้ ริ หารให้การสนับสนุนการประกันคุณภาพอย่างมาก จุดทีค่ วรพัฒนา/ข้ อเสนอแนะในการปรับปรุ ง ควรทําการวิจยั ในเรื่ องการประกันคุณภาพการศึกษา

ผลลัพธ์ (%หรือ สั ดส่ วน) 8

ขาด Best Practice และการทําวิจยั


2

ข้ อมูลสั มภาษณ์ อาจารย์

จุดแข็ง 1) ผูบ้ ริ หารส่ งเสริ มให้คณาจารย์ มีความก้าวหน้าในการศึกษาต่อและตําแหน่ง หน้าที่ การทํางาน 2) บุคลากรโดยส่ วนใหญ่ ทุ่มเท เสี ยสละ มีความผูกพันต่อสถาบัน 3) มีความรู ้ ความเข้าใจ และการให้ความร่ วมมือในการทําประกันคุณภาพการศึกษา เป็ นอย่างดี ข้ อเสนอแนะ -ไม่มีรายชื่อผู้เข้ าสัมภาษณ์ 1) ดร.สิ ทธิชยั 2) อ.ทรงพล 3) อ.ศิริวรรน 4) อ.พิชญ์สินี 5) อ.นันทิยา 6) อ.พรรณทิพย์ 7) อ.สุ ดาสวรรค์ 8) อ.ญาณวัฒน์ 9) ดร.อําพล 10) อ.ธิปัตย์

ฝรั่งทอง นคเรศเรื องศักดิ์ หว่องเจริ ญ ศรี สวัสดิ์ สุ วรรณ บุญเหลือ งามมงคลวงค์ พลอยเทศ นววงศ์เสถียร โสตถิวรรณ์


116

ข้ อมูลสั มภาษณ์ นักศึกษา ศิษย์ ปัจจุบัน จุดแข็ง ประทับใจคณาจารย์ผสู ้ อนที่มีความใกล้ชิดกับนักศึกษา พอใจในการศึกษาของวิทยาลัย ข้ อเสนอแนะ 1. เพิ่มการเรี ยนการสอน ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาเอกภาษาอังกฤษธุรกิจ 2. การฝึ กงานในต่างประเทศ 3. ให้ประชาสัมพันธ์ผา่ นสื่ อต่างๆ ให้มากกว่านี้ 4. เพิ่มสาขาวิชาที่เป็ นความต้องการของตลาด เช่น สาขากราฟฟิ กดีไซต์ 5. ให้มีสนามกีฬา ศิษย์ เก่า จุดแข็ง มีความภาคภูมิใจในสถาบัน มีความรู ้สึกที่ดีต่อผูบ้ ริ หาร เห็นว่าสถาบันให้การสนับสนุน ความก้าวหน้าอย่างดี ข้ อเสนอแนะ ต้องการให้วิทยาลัยผลักดัน คุณวุฒิให้ตรงกับการสอบเลื่อนชั้นของทางราชการ ศิษย์ เก่า 1. นายสามารถ โมราวรรณ 2. ภิญญาดา หงษ์จรเดชา 3. นายวิริทธิ์ผล ภาครี บาเนดร์ บุคลากร 1. นางสาวอัณพา สายทอง 2. นายนันทภัค แก้วใหญ่ ศิษย์ ปัจจุบัน 1. นายอรรถพล 2. นายนริ ศ

สุ โชคชัยกุล นราจิต


117

ภาคผนวก


118

แบบรายงานผลการประเมิน ตาราง ส. 1 ผลการประเมินรายตัวบ่ งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพ ประเภทสถาบัน  กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับปริ ญญาตรี ผลการดําเนินงาน ตัวตั้ง ผลลัพธ์ ตัวบ่ งชี้คุณภาพ เป้าหมาย (% หรือสั ดส่ วน) ตัวหาร ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 16.1 ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 16.2 ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 17 ตัวบ่งชี้ที่ 2.1

8 ข้อ 5 ข้อ 4.00 5 ข้อ 5 ข้อ

ตัวบ่งชี้ที่ 2.2

4.00

18 ×100 74 = 24.32

ตัวบ่งชี้ที่ 2.3

1.00

5 ×100 74 = 6.75

ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 ตัวบ่งชี้ที่ 2.7 ตัวบ่งชี้ที่ 2.8

7 ข้อ 7 ข้อ 7 ข้อ 5 ข้อ 5 ข้อ

ตัวบ่งชี้ สมศ. 1

4.00

ตัวบ่งชี้ สมศ. 2

4.00

ตัวบ่งชี้ สมศ. 3

4.00

คะแนนการ ประเมิน(ตาม เกณฑ์ สกอ.)

8 ข้อ

5 คะแนน

5 ข้อ

5 คะแนน

24.32 ×100 30 = 4.05

6.75 ×5 60 = 0.56 7 ข้อ 7 ข้อ 7 ข้อ 5 ข้อ 5 ข้อ

4 คะแนน 0.56 คะแนน 5 คะแนน 5 คะแนน 5 คะแนน 5 คะแนน 5 คะแนน


119

ตัวบ่ งชี้คุณภาพ ตัวบ่งชี้ สมศ. 4 ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 14 ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 ตัวบ่งชี้ที่ 3.2

เป้าหมาย ไม่ประเมิน 2.51 7 ข้อ 6 ข้อ

ตัวบ่งชี้ที่ 4.1

7 ข้อ

ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 ตัวบ่งชี้ที่ 4.3

5 ข้อ 4.00

ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 5

2.00

ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 6

4.00

ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 7

4.00

ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 8 ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 9 ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 18.1 ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 18.2 ตัวบ่งชี้ ที่ 6.1 ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 10 ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 11

5 ข้อ 5 ข้อ 5 ข้อ 5 ข้อ 5 ข้อ 5 ข้อ 5 ข้อ 5 ข้อ 5 ข้อ

ผลการดําเนินงาน ตัวตั้ง ผลลัพธ์ (% หรือสั ดส่ วน) ตัวหาร

7 ข้อ 6 ข้อ 7 ข้อ และ ครบตามเกณฑ์เฉพาะกลุ่ม 5 ข้อ 1,1700,000 15,810 74 25,000 = 15,810 = 3.16

คะแนนการ ประเมิน(ตาม เกณฑ์ สกอ.)

5 คะแนน 5 คะแนน 5 คะแนน 5 คะแนน 3.16 คะแนน

5 ข้อ 5 ข้อ

5 คะแนน 5 คะแนน

5 ข้อ

5 คะแนน


120

ตัวบ่ งชี้คุณภาพ ตัวบ่งชี้ 7.1 ตัวบ่งชี้ 7.2 ตัวบ่งชี้ 7.3 ตัวบ่งชี้ 7.4 ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 12 ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 13 ตัวบ่งชี้ 8.1 ตัวบ่งชี้ 9.1 ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 8 เฉลีย่ คะแนนรวมทุก องค์ ประกอบ

เป้าหมาย 7 ข้อ 5 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 4.00 4.00 7 ข้อ 9 ข้อ 4.00

ผลการดําเนินงาน ตัวตั้ง ผลลัพธ์ (% หรือสั ดส่ วน) ตัวหาร 7 ข้อ 5 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ

คะแนนการ ประเมิน(ตาม เกณฑ์ สกอ.) 5 คะแนน 5 คะแนน 5 คะแนน 5 คะแนน

7 ข้อ 9 ข้อ

5 คะแนน 5 คะแนน 107.72 23 = 4.68


121

แบบรายงานผลการประเมิน ตาราง ส. 2 ผลการประเมินตนเองตามองค์ ประกอบคุณภาพ ประเภทสถาบัน  กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับปริ ญญาตรี คะแนนการปะเมินเฉลีย่ องค์ ประกอบ I

P

O

5 องค์ ประกอบที่ 1 3.19 5 5 องค์ ประกอบที่ 2 5 องค์ ประกอบที่ 3 3.16 5 องค์ ประกอบที่ 4 5 องค์ ประกอบที่ 5 5 องค์ ประกอบที่ 6 5 องค์ ประกอบที่ 7 5 องค์ ประกอบที่ 8 5 องค์ ประกอบที่ 9 เฉลีย่ รวมทุกตัวบ่ งชี้ของ 3.18 5 5 ทุกองค์ ประกอบ ผลการประเมิน พอใช้ ดีมาก ดีมาก

รวม 5.00 4.32 5.00 4.39 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 4.68

ผลการประเมิน 0.00-1.50 การดําเนินงานต้องปรับปรุ งเร่ งด่วน 1.51-2.50 การดําเนินงานต้องปรับปรุ ง 2.51-3.50 การดําเนินงานระดับพอใช้ 3.51-4.50 การดําเนินงานระดับดี 4.51-5.00 การดําเนินงานระดับดีมาก ดีมาก ดี ดีมาก ดี ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก


122

แบบรายงานผลการประเมิน ตาราง ส. 3 ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการอุดมศึกษา ประเภทสถาบัน  กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับปริ ญญาตรี คะแนนการปะเมินเฉลีย่ มาตรฐานอุดมศึกษา

มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานที่ 2 ก มาตรฐานที่ 2 ข มาตรฐานที่ 3 เฉลีย่ รวมทุกตัวบ่ งชี้ ของทุกมาตรฐาน ผลการประเมิน

ผลการประเมิน 0.00-1.50 การดําเนินงานต้องปรับปรุ งด่วน 1.51-2.50 การดําเนินงานต้องปรับปรุ ง 2.51-3.50 การดําเนินงานระดับพอใช้ 3.51-4.50 การดําเนินงานระดับดี 4.51-5.00 การดําเนินงานระดับดีมาก ดีมาก

I

P

O

รวม

-

-

-

5.00

3.18 -

5 5 5

-

5.00 4.44 5.00

ดีมาก ดี ดีมาก

3.18

5

5

4.68

ดีมาก

พอใช้ ดีมาก ดีมาก


123

แบบรายงานผลการประเมิน ตาราง ส. 4 ผลการประเมินตนเองตามมุมมองด้ านการบริหารจัดการ ประเภทสถาบัน  กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับปริ ญญาตรี คะแนนการปะเมินเฉลีย่

มุมมองด้ านการบริหาร จัดการ

ด้ านนักศึกษาและผู้มีส่วน ได้ ส่วนเสี ย ด้ านกระบวนการภายใน ด้ านการเงิน ด้ านบุคลากรการเรียนรู้ และนวัตกรรม เฉลีย่ รวมทุกตัวบ่ งชี้ ของทุกมาตรฐาน ผลการประเมิน

ผลการประเมิน 0.00-1.50 การดําเนินงานต้องปรับปรุ งด่วน 1.51-2.50 การดําเนินงานต้องปรับปรุ ง 2.51-3.50 การดําเนินงานระดับพอใช้ 3.51-4.50 การดําเนินงานระดับดี 4.51-5.00 การดําเนินงานระดับดีมาก

I

P

O

รวม

-

5

-

5.00

ดีมาก

5 3.16

5 5

-

5 4.08

ดีมาก ดีมาก

2.28

5

-

3.64

ดี

3.18

5

5

4.68

ดีมาก

พอใช้ ดีมาก ดีมาก


124

แบบรายงานผลการประเมิน ตาราง ส. 5 ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานสถาบันการอุดมศึกษา ประเภทสถาบัน  กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับปริ ญญาตรี

มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา

1. มาตรฐานด้ านศักยภาพและความ พร้ อมในการจัดการศึกษา (1) ด้านกายภาพ (2) ด้านวิชาการ (3) ด้านการเงิน (4) ด้านการบริ หารจัดการ เฉลีย่ ทุกตัวบ่ งชี้ของมาตรฐานที่ 1 2. มาตรฐานด้ านการดําเนินการตาม ภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา (1) ด้านการผลิตบัณฑิต (2) ด้านการวิจยั (3) ด้านการให้บริ การวิชาการแก่ สังคม (4) ด้านการทํานุบาํ รุ งศิลปะและ วัฒนธรรม เฉลีย่ รวมทุกตัวบ่ งชี้ของมาตรฐานที่ 2 เฉลีย่ รวมทุกตัวบ่ งชี้ของทุกมาตรฐาน ผลการประเมิน

ผลการประเมิน 0.00-1.50 การดําเนินงานต้องปรับปรุ งด่วน คะแนนการปะเมินเฉลีย่ 1.51-2.50 การดําเนินงานต้องปรับปรุ ง 2.51-3.50 การดําเนินงานระดับพอใช้ I P O รวม 3.51-4.50 การดําเนินงานระดับดี 4.51-5.00 การดําเนินงานระดับดีมาก

5 2.28 3.19

5 5.00 5.00 5.00 5.00

-

5 3.91 5.00 5.00 4.58

ดีมาก ดี ดีมาก ดีมาก ดีมาก

3.16

5.00 5.00

5.00 -

5.00 4.38

ดีมาก ดี

-

5.00

-

5.00

ดีมาก

-

5.00

-

5.00

ดีมาก

3.16 5.00 5.00 4.81 3.18 5 5 4.68 พอใช้ ดีมาก ดีมาก

ดีมาก ดีมาก


2 ข้ อมูลอ้ างอิง สํ าหรับ KPI

รอบปี ของการ เก็บข้ อมูล

สถาบัน

บริหาร

นิตศิ าสตร์

ศิลปศาสตร์

วิทยาศาสตร์ ฯ

บัณฑิตฯ

จํานวนผู้สาํ เร็จการศึกษาศึกษาระดับปริ ญญาตรี ที่ได้ รับการประเมินคุณลักษณะตามอัตลักษณ์

-

-

-

-

-

-

ค่ าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิตระดับปริ ญญาตรี ที่มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ์ (คะแนนเต็ม ๕)

-

-

-

-

-

-

จํานวนผู้สาํ เร็จการศึกษาศึกษาระดับปริ ญญาโทที่ได้ รับการประเมินคุณลักษณะตามอัตลักษณ์

-

-

-

-

-

-

คะแนน

ค่ าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิตระดับปริ ญญาโทที่มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ์ (คะแนนเต็ม ๕)

-

-

-

-

-

-

คะแนน

ค่ าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิตที่มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ์ (คะแนนเต็ม ๕)

-

-

-

-

-

-

หลักสูตร

จํานวนหลักสูตรที่เปิ ดสอนทั้งหมด - -ระดับปริ ญญาตรี - -ระดับปริ ญญาโท (แผน ก ) - -ระดับปริ ญญาโท (แผน ข )

10 7 -

4 4 -

1 1 -

1 1 -

1 1 -

3 -

- -ระดับปริ ญญาโท ที่มีท้งั แผน ก และ แผน ข อยูใ่ นเอกสารหลักสูตรฉบับเดียวกัน

-

-

-

-

-

3

- -ระดับปริ ญญาโท แผน ก ที่มีนกั ศึกษาลงทะเบียนเรี ยนในแผน ก จํานวนหลักสูตรวิชาชี พที่เปิ ดสอนทั้งหมด - -ระดับปริ ญญาตรี - -ระดับปริ ญญาโท

2 2 -

1 1 -

1 1 -

-

-

-

จํานวนหลักสูตรวิชาชี พที่เปิ ดสอนและได้ รับการรั บรองหลักสูตรจากองค์ กรวิชาชี พทั้งหมด

1

1

-

-

-

-

- -ระดับปริ ญญาตรี - -ระดับปริ ญญาโท

1 -

1 -

-

-

-

-

คน คะแนน

๑.๑๖.๒ (สมศ. ๑๖.๒)

ตัวบ่งชี้ที่ 2.1

ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ข้อ 3-6 ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ข้อ 3

ปี การศึกษา

ปี การศึกษา

ปี การศึกษา

ปี การศึกษา

คน

หลักสูตร

หลักสูตร ศูนย์

ตัวบ่งชี้ที่ 2.1

ชื่อข้ อมูลพืน้ ฐาน ปี การศึกษา 2553

หน่ วยนับ

ปี การศึกษา หลักสูตร

จํานวนศูนย์ จัดการศึกษานอกสถานที่ตงั้ ทั้งหมด จํานวนหลักสูตรที่เปิ ดสอนโดยศูนย์ การจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งทั้งหมด - -ระดับปริ ญญาตรี - -ระดับปริ ญญาโท


126 ข้ อมูลอ้ างอิง สํ าหรับ KPI

ตัวบ่งชี้ที่ 2.1

รอบปี ของการ เก็บข้ อมูล

ปี การศึกษา

หลักสูตร

หลักสูตร

หลักสูตร ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ข้อ 3

ปี การศึกษา หลักสูตร

หลักสูตร

ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ข้อ 6

ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ข้อ 8

ปี การศึกษา

ปี การศึกษา

ชื่อข้ อมูลพืน้ ฐาน ปี การศึกษา 2553

สถาบัน

บริหาร

นิตศิ าสตร์

ศิลปศาสตร์

วิทยาศาสตร์ ฯ

บัณฑิตฯ

จํานวนหลักสูตรที่เปิ ดสอนโดยศูนย์ การจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งและผ่ านการรั บทราบจากสกอ.

-

-

-

-

-

-

- -ระดับปริ ญญาตรี - -ระดับปริ ญญาโท

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

10

4

1

1

1

-

7 3

4 -

1 -

1 -

1 -

3

1

1

-

-

-

-

1 2,344 2,244 100

1 1,867 1,867 -

74 74 -

57 57 -

246 246 -

100 100

-

-

-

-

-

-

หน่ วยนับ

หลักสูตร

คน

จํานวนหลักสูตรทั้งหมดที่ได้ รับอนุมตั ิตามกรอบ TQF - -ระดับปริ ญญาตรี - -ระดับปริ ญญาโท จํานวนหลักสูตรทั้งหมดที่ได้ รับอนุมตั ิตามกรอบ TQF และมีการประเมินผลตามตัวบ่ งชี ผ้ ลการดําเนินงาน ฯ ครบถ้ วน - -ระดับปริ ญญาตรี - -ระดับปริ ญญาโท จํานวนหลักสูตรทั้งหมดที่ได้ รับอนุมตั ิตามกรอบ TQF ที่มีผลการประเมินตามตัวบ่ งชี ผ้ ลการดําเนินงานฯ ผ่ าน เกณฑ์ ประเมินอย่ างน้ อยร้ อยละ 80 ของตัวบ่ งชี ท้ ี่กาํ หนด) - -ระดับปริ ญญาตรี - -ระดับปริ ญญาโท จํานวนหลักสูตรทั้งหมดที่ยงั ไม่ ได้ รับอนุมตั ิตามกรอบ TQF แต่ เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานหลักสูตร ระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2548 ครบถ้ วน - -ระดับปริ ญญาตรี - -ระดับปริ ญญาโท จํานวนหลักสูตรสาขาวิชาชี พที่มีความร่ วมมือในการพัฒนาและบริ หารหลักสูตรกับภาครั ฐหรื อภาคเอกชนที่ เกี่ยวข้ องกับวิชาชี พของหลักสูตร - -ระดับปริ ญญาตรี - -ระดับปริ ญญาโท จํานวนนักศึกษาปั จจุบนั ทั้งหมดทุกระดับการศึกษา - -จํานวนนักศึกษาปัจจุบนั ทั้งหมด - ระดับปริ ญญาตรี - -จํานวนนักศึกษาปัจจุบนั ทั้งหมด - ระดับปริ ญญาโท - -จํานวนนักศึกษาปัจจุบนั ทั้งหมด – ระดับปริ ญญาโท(แผน ก)


127 ข้ อมูลอ้ างอิง สํ าหรับ KPI

รอบปี ของการ เก็บข้ อมูล

หน่ วยนับ

ชื่อข้ อมูลพืน้ ฐาน ปี การศึกษา 2553

สถาบัน

บริหาร

นิตศิ าสตร์

ศิลปศาสตร์

วิทยาศาสตร์ ฯ

บัณฑิตฯ

จํานวนผู้สาํ เร็จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ทั้งหมด

553

451

22

6

74

-

จํานวนผู้สาํ เร็จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ที่ตอบแบบสํารวจเรื่ องการมีงานทํา

506

412

16

6

72

-

จํานวนผู้สาํ เร็จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ที่ได้ งานทําหลังสําเร็จการศึกษา จํานวนผู้สาํ เร็จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ที่ประกอบอาชี พอิสระ จํานวนผู้สาํ เร็จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ที่มีงานทําก่ อนเข้ าศึกษา จํานวนผู้สาํ เร็จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ที่ศึกษาต่ อระดับบัณฑิตศึกษา เงินเดือนหรื อรายได้ ต่อเดือน ของผู้สาํ เร็จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ที่ได้ งานทําหรื อประกอบอาชี พ อิ สระ (ค่ าเฉลี่ย) จํานวนผู้สาํ เร็จการศึกษาระดับปริ ญญาโททั้งหมด จํานวนผู้สาํ เร็จการศึกษาศึกษาระดับปริ ญญาตรี ที่ได้ รับการประเมินคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ ผลการประเมินโดย Exit Exam ในกลุ่มสาขาวิชาที่จบการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ตาม กรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม ๕) ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจ้ างที่มีต่อผู้สาํ เร็จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ตาม กรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม ๕) จํานวนผู้สาํ เร็จการศึกษาศึกษาระดับปริ ญญาโทที่ได้ รับการประเมินคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ ผลการประเมินโดย Exit Exam ในกลุ่มสาขาวิชาที่จบการศึกษาระดับปริ ญญาโทตาม กรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม ๕) ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจ้ างที่มีต่อผู้สาํ เร็จการศึกษาระดับปริ ญญาโทตาม กรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม ๕) จํานวนอาจารย์ ประจําทั้งหมด รวมทั้งที่ปฏิบตั ิงานจริ งและลาศึกษาต่ อ - -จํานวนอาจารย์ประจําที่ปฏิบตั ิงานจริ ง - -จํานวนอาจารย์ประจําที่ลาศึกษาต่อ

490 63 38 13

400 24 33 7

14 1 1

6 0 -

70 38 5 5

-

14,749

12,454

14,840

14,900

16,800

-

41

-

-

-

-

41

506

412

16

6

72

-

-

-

-

-

-

-

4.67

4.68

4.62

4.75

4.65

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

74 74 69 1

43 43 42 -

5 5 5 -

6 6 6 1

5 5 4 -

15 15 12 -

- -จํานวนนักศึกษาปัจจุบนั ทั้งหมด - ระดับปริ ญญาโท(แผน ข)

คน ตัวบ่งชี้สมศ. ที่ ๑ และ ๒

ปี การศึกษา

บาท คน คน

คะแนน ตัวบ่งชี้สมศ. ที่ ๒

ปี การศึกษา คน

คะแนน

ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ตัวบ่งชี้ที่ 2.3, ตัวบ่งชี้สมศ. ที่

ปี การศึกษา

ปี การศึกษา

คน คน

จํานวนอาจารย์ ประจําทั้งหมดที่ดาํ รงตําแหน่ งอาจารย์ - -จํานวนอาจารย์ประจํา (ที่ไม่มีตาํ แหน่งทางวิชาการ) ที่มีวฒ ุ ิปริ ญญาตรี


128 ข้ อมูลอ้ างอิง สํ าหรับ KPI

รอบปี ของการ เก็บข้ อมูล

หน่ วยนับ

๑๔

ตัวบ่งชี้ที่ 2.3, ตัวบ่งชี้สมศ. ที่ ๑๔

ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ข้อ 8 และ 2.5 ข้อ 1 ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 ข้อ 1

ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 ข้อ 6

ชื่อข้ อมูลพืน้ ฐาน ปี การศึกษา 2553

สถาบัน

บริหาร

นิตศิ าสตร์

ศิลปศาสตร์

วิทยาศาสตร์ ฯ

บัณฑิตฯ

53 15 2 2 3 2 1

38 4 1 1 -

4 1 -

4 1 -

4 1 1 -

3 9 1 1 2 1 1

1,280.11 1,280.11 234

1,086 1,086 -

72.35 72.35 -

30.5 30.5 -

91.26 91.26 -

-

จํานวน Notebook และ Mobile Device ต่ างๆ ของนักศึกษาที่มีการลงทะเบียนการใช้ Wi-Fi กับสถาบัน

99

-

-

-

-

-

ผลการประเมินคุณภาพการให้ บริ การห้ องสมุดและแหล่งเรี ยนรู้ อื่นๆ ผ่ านระบบเครื อข่ ายคอมพิวเตอร์ และมี การฝึ กอบรมการใช้ งานแก่ นักศึกษา

4.50

4.27

4.50

4.49

4.45

-

ผลการประเมินคุณภาพการให้ บริ การด้ านกายภาพที่เหมาะสมต่ อการจัดการเรี ยนการสอนและการพัฒนา นักศึกษา อาทิ ห้ องเรี ยน ห้ องปฏิบัติการ อุปกรณ์ การศึกษา และจุดเชื่ อมต่ ออินเตอร์ เน็ตในระบบไร้ สาย

4.41

4.25

4.51

4.47

4.41

-

- -จํานวนอาจารย์ประจํา (ที่ไม่มีตาํ แหน่งทางวิชาการ) ที่มีวฒ ุ ิปริ ญญาโท - -จํานวนอาจารย์ประจํา (ที่ไม่มีตาํ แหน่งทางวิชาการ) ที่มีวฒ ุ ิปริ ญญาเอก คน

จํานวนอาจารย์ ประจําทั้งหมดที่ดาํ รงตําแหน่ งผู้ช่วยศาสตราจารย์ - -จํานวนอาจารย์ประจําตําแหน่งผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ที่มีวฒ ุ ิปริ ญญาตรี - -จํานวนอาจารย์ประจําตําแหน่งผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ที่มีวฒ ุ ิปริ ญญาโท - -จํานวนอาจารย์ประจําตําแหน่งผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ที่มีวฒ ุ ิปริ ญญาเอก

คน

จํานวนอาจารย์ ประจําทั้งหมดที่ดาํ รงตําแหน่ งรองศาสตราจารย์ - -จํานวนอาจารย์ประจําตําแหน่งรองศาสตราจารย์ ที่มีวฒ ุ ิปริ ญญาตรี จํานวนอาจารย์ประจําตําแหน่งรองศาสตราจารย์ ที่มีวฒ ุ ิปริ ญญาโท จํานวนอาจารย์ประจําตําแหน่งรองศาสตราจารย์ ที่มีวฒ ุ ิปริ ญญาเอก

ปี การศึกษา คน

ปี การศึกษา

FTES

จํานวนอาจารย์ ประจําทั้งหมดที่ดาํ รงตําแหน่ งศาสตราจารย์ - -จํานวนอาจารย์ประจําตําแหน่งศาสตราจารย์ ที่มีวฒ ุ ิปริ ญญาตรี - -จํานวนอาจารย์ประจําตําแหน่งศาสตราจารย์ ที่มีวฒ ุ ิปริ ญญาโท - -จํานวนอาจารย์ประจําตําแหน่งศาสตราจารย์ ที่มีวฒ ุ ิปริ ญญาเอก จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่ า (FTES) รวมทุกหลักสูตร - -ระดับปริ ญญาตรี - -ระดับปริ ญญาโท จํานวนเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่จัดบริ การให้ นักศึกษา

ปี การศึกษา

ปี การศึกษา

เครื่ อง

คะแนน


129 ข้ อมูลอ้ างอิง สํ าหรับ KPI

รอบปี ของการ เก็บข้ อมูล

ปี การศึกษา

หน่ วยนับ

คะแนน

ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 ข้อ 6

ตัวบ่งชี้ที่ 2.6

ตัวบ่งชี้สมศ. ที่ ๓

ปี การศึกษา

ปี การศึกษา

คะแนน

คะแนน

ชื่อข้ อมูลพืน้ ฐาน ปี การศึกษา 2553

สถาบัน

บริหาร

นิตศิ าสตร์

ศิลปศาสตร์

วิทยาศาสตร์ ฯ

บัณฑิตฯ

ผลการประเมินคุณภาพในการให้ บริ การสิ่ งอํานวยความสะดวกที่จาํ เป็ นอื่นๆ อาทิ งานทะเบียนนักศึกษาผ่ าน ระบบเครื อข่ ายคอมพิวเตอร์ การบริ การอนามัยและการรั กษาพยาบาล การจัดการหรื อจัดบริ การด้ านอาหารและ สนามกีฬา

4.37

4.30

4.34

4.42

4.44

-

ผลการประเมินคุณภาพในการให้ บริ การสาธารณูปโภคและรั กษาความปลอดภัยของอาคารตลอดจนบริ เวณ โดยรอบ อาทิ ประปา ไฟฟ้ า ระบบกําจัดของเสี ย การจัดการขยะ รวมทั้งมีระบบและอุปกรณ์ ป้องกันอัคคีภัย ในบริ เวณอาคารต่ างๆ โดยเป็ นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง

4.31

4.35

4.22

4.25

4.42

-

ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เรี ยนในเรื่ องคุณภาพการสอน และสิ่ งสนับสนุนการเรี ยนรู้ (เที ยบจาก ค่ า 5 ระดับ) เฉลี่ยทุกหลักสูตร - -ระดับปริ ญญาตรี - -ระดับปริ ญญาโท

-

-

-

-

-

-

4.26 -

4.16 -

4.37 -

4.11 -

4.11 -

-

จํานวนรวมของบทความวิจัยของวิทยานิพนธ์ หรื อการค้ นคว้ าอิสระ (สารนิ พนธ์ ) ที่ ตีพิมพ์ (ปริ ญญาโท)

5

-

-

-

-

5

- -จํานวนบทความวิจยั ฯ ที่ตีพิมพ์ในรายงานสื บเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ

1

-

-

-

-

1

- -จํานวนบทความวิจยั ฯ ที่ตีพิมพ์ในรายงานสื บเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หรื อจํานวนการ ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติที่ปรากฎในฐานข้อมูล TCI

4

-

-

-

-

4

- -จํานวนบทความวิจยั ฯ ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติที่มีชื่อปรากฎในประกาศของ สมศ.

-

-

-

-

-

-

- -จํานวนบทความวิจยั ฯ ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฎในประกาศของ สมศ.

-

-

-

-

-

-

- -จํานวนบทความวิจยั ฯ ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฏอยูใ่ นฐานข้อมูลสากล ISI

-

-

-

-

-

-


130 ข้ อมูลอ้ างอิง สํ าหรับ KPI

ตัวบ่งชี้สมศ. ที่ ๓

ตัวบ่งชี้สมศ. ที่ ๓

รอบปี ของการ เก็บข้ อมูล

ปี การศึกษา

ปี การศึกษา

หน่ วยนับ

ชื่อเรื่ อง

ชิ้นงาน

ชื่อข้ อมูลพืน้ ฐาน ปี การศึกษา 2553

สถาบัน

บริหาร

นิตศิ าสตร์

ศิลปศาสตร์

วิทยาศาสตร์ ฯ

บัณฑิตฯ

- -จํานวนบทความวิจยั ฯ ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฎในฐานข้อมูลการจัดอันดับ วารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยูใ่ นควอไทล์ ที่ 4 (Q4) ในปี ล่าสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ์ หรื อมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ ปรากฏในฐานข้อมูลสากล ISI และฐานข้อมูล Scopus

-

-

-

-

-

-

- -จํานวนบทความวิจยั ฯ ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฎในฐานข้อมูลการจัดอันดับ วารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยูใ่ นควอไทล์ ที่ 3 (Q3) ในปี ล่าสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ์ หรื อมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ ปรากฏในฐานข้อมูลสากล ISI และฐานข้อมูล Scopus

-

-

-

-

-

-

- -จํานวนบทความวิจยั ฯ ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฎในฐานข้อมูลการจัดอันดับ วารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยูใ่ นควอไทล์ ที่ 2 (Q2) ในปี ล่าสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ์ หรื อมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ ปรากฏในฐานข้อมูลสากล ISI และฐานข้อมูล Scopus

-

-

-

-

-

-

- -จํานวนบทความวิจยั ฯ ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฎในฐานข้อมูลการจัดอันดับ วารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยูใ่ นควอไทล์ ที่ 1 (Q1) ในปี ล่าสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ์ หรื อมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ ปรากฏในฐานข้อมูลสากล ISI และฐานข้อมูล Scopus

-

-

-

-

-

-

จํานวนรวมของผลงานสร้ างสรรค์ จากศิลปนิพนธ์ ที่เผยแพร่ (ปริ ญญาโท)

-

-

-

-

-

-

- -จํานวนผลงานสร้างสรรค์จากศิลปนิพนธ์ที่ได้รับการเผยแพร่ ระดับสถาบันหรื อจังหวัด

-

-

-

-

-

-

- -จํานวนผลงานสร้างสรรค์จากศิลปนิพนธ์ที่ได้รับการเผยแพร่ ในระดับชาติ

-

-

-

-

-

-

- -จํานวนผลงานสร้างสรรค์จากศิลปนิพนธ์ที่ได้รับการเผยแพร่ ในระดับความร่ วมมือระหว่างประเทศ

-

-

-

-

-

-

- -จํานวนผลงานสร้างสรรค์จากศิลปนิพนธ์ที่ได้รับการเผยแพร่ ในระดับภูมิภาคอาเซียน

-

-

-

-

-

-


131 ข้ อมูลอ้ างอิง สํ าหรับ KPI

ตัวบ่งชี้ที่ 2.3, ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ ๑๔

ตัวบ่งชี้ที่ 2.2

รอบปี ของการ เก็บข้ อมูล

ปี การศึกษา

บริหาร

นิตศิ าสตร์

ศิลปศาสตร์

วิทยาศาสตร์ ฯ

บัณฑิตฯ

- -จํานวนผลงานสร้างสรรค์จากศิลปนิพนธ์ที่ได้รับการเผยแพร่ ในระดับนานาชาติ

-

-

-

-

-

-

ร้อยละ

ร้ อยละของอาจารย์ ประจําที่ดาํ รงตําแหน่ งทางวิชาการของปี ที่ผ่านมา

-

-

-

-

-

-

ร้อยละ

ร้ อยละของอาจารย์ ประจําที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอกปี การศึกษาที่ผ่านมา (กรณี ที่เลือกใช้ เกณฑ์ ประเมินเป็ นค่ าการ เพิ่มขึน้ ของร้ อยละฯ)

-

-

-

-

-

-

จํานวนอาจารย์ ประจําทั้งหมดที่ปฏิบัติงานจริ งและลาศึกษาต่ อ แยกตามวุฒิปริ ญญาหรื อเทียบเท่ า

74

43

5

6

5

15

- -จํานวนอาจารย์ประจําทั้งหมดที่ปฏิบตั ิงานจริ งและลาศึกษาต่อ วุฒิปริ ญญาตรี หรื อเทียบเท่า

1

-

-

1

-

-

- -จํานวนอาจารย์ประจําทั้งหมดที่ปฏิบตั ิงานจริ งและลาศึกษาต่อ วุฒิปริ ญญาโทหรื อเทียบเท่า

55

39

4

5

5

2

- -จํานวนอาจารย์ประจําทั้งหมดที่ปฏิบตั ิงานจริ งและลาศึกษาต่อ วุฒิปริ ญญาเอกหรื อเทียบเท่า

18

4

1

-

-

13

4.67

4.68

4.62

4.75

4.65

-

-

-

-

-

-

ปี การศึกษา คน

ตัวบ่งชี้สมศ. ที่ ๒

ปี การศึกษา

คะแนน

ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ข้อ 3

ปี การศึกษา

ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจ้ างที่มีต่อผู้สาํ เร็จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี โท เอก ตาม กรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม ๕) จํานวนนักวิจัยประจําทั้งหมด รวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริ งและลาศึกษาต่ อ - -จํานวนนักวิจยั ประจําที่ปฏิบตั ิงานจริ ง - -จํานวนนักวิจยั ประจําที่ลาศึกษาต่อ

คน

จํานวนอาจารย์ ประจําที่ลาศึกษาต่ อ - -กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - -กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

คน

จํานวนนักวิจัยประจําที่ลาศึกษาต่ อ - -กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - -กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

-

คน

จํานวนอาจารย์ ประจําและนักวิจัยประจําที่ได้ รับการพัฒนาศักยภาพด้ านงานวิจัยหรื องานสร้ างสรรค์

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

คน 4.1, ตัวบ่ง ชี้สมศ. ที่. ๕

ชื่อข้ อมูลพืน้ ฐาน ปี การศึกษา 2553

สถาบัน

หน่ วยนับ

ปี การศึกษา คน

จํานวนอาจารย์ ประจําและนักวิจัยประจําที่ได้ รับความรู้ ด้านจรรยาบรรณการวิจัย

-


132 ข้ อมูลอ้ างอิง สํ าหรับ KPI

ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ข้อ 4 และตัวบ่งชี้ที่ 4.3

ตัวบ่งชี้ที่ 4.3

ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 ข้อ 6

รอบปี ของการ เก็บข้ อมูล

ปี การศึกษา หรื อ ปี งบประมาณ หรื อ ปี ปฏิทิน

หน่ วยนับ

บาท

คะแนน

บริหาร

นิตศิ าสตร์

ศิลปศาสตร์

วิทยาศาสตร์ ฯ

บัณฑิตฯ

1,060,000 1,060,000 325,000 325,000 74 5 69 -

770,000 770,000 325,000 325,000 43 43 -

120,000 120,000 5 5 -

50,000 50,000 6 6 -

5 5 -

120,000 120,000 15 15 -

จํานวนผลงานวิจัยหรื องานสร้ างสรรค์ ที่มีการยื่นการจดทะเบียนสิ ทธิบัตรหรื ออนุสิทธิ บัตร

-

-

-

-

-

-

จํานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพิมพ์ ในรายงานสื บเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ

7

4

2

1

-

-

- -กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - -กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

7

4

2

1

-

-

จํานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพิมพ์ ในรายงานสื บเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หรื อจํานวนการ ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับชาติที่ปรากฎในฐานข้ อมูล TCI

5

-

-

-

1

4

- -กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - -กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

1 4

-

-

-

1 -

4

จํานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับชาติที่มีชื่อปรากฎในประกาศของ สมศ.

3

3

-

-

-

-

- -กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - -กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

3

3

-

-

-

-

จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรื องานสร้ างสรรค์ จากภายในสถาบัน - -กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - -กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

บาท

คน

จํานวนอาจารย์ ประจําทั้งหมด (ไม่ นับผู้ลาศึกษาต่ อ) - -กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - -กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

คน

จํานวนนักวิจัยประจําทั้งหมด (ไม่ นับผู้ลาศึกษาต่ อ) - -กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - -กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

ชื่อเรื่ อง/ ชิ้นงาน

ชื่อเรื่ อง

ตัวบ่งชี้สมศ. ที่. ๕

สถาบัน

จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรื องานสร้ างสรรค์ จากภายนอกสถาบัน - -กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - -กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

ปี การศึกษา

ปี การศึกษา

ชื่อข้ อมูลพืน้ ฐาน ปี การศึกษา 2553

ชื่อเรื่ อง

ชื่อเรื่ อง


133 ข้ อมูลอ้ างอิง สํ าหรับ KPI

รอบปี ของการ เก็บข้ อมูล

หน่ วยนับ

ชื่อเรื่ อง

ชื่อเรื่ อง

ชื่อเรื่ อง

ตัวบ่งชี้สมศ. ที่. ๕

คะแนน ชื่อเรื่ อง

ชื่อเรื่ อง

ชื่อข้ อมูลพืน้ ฐาน ปี การศึกษา 2553

สถาบัน

บริหาร

นิตศิ าสตร์

ศิลปศาสตร์

วิทยาศาสตร์ ฯ

บัณฑิตฯ

2

-

-

-

-

2

2

-

-

-

-

2

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

จํานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฎในฐานข้ อมูลการจัดอันดับ วารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยู่ในควอไทล์ ที่ 4 (Q4) ในปี ล่ าสุด ใน subject category ที่ ตีพิมพ์ หรื อมีการตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ ปรากฏในฐานข้ อมูลสากล ISI และฐานข้ อมูล Scopus

-

-

-

-

-

-

- -กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - -กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

-

-

-

-

-

-

จํานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฎในฐานข้ อมูลการจัดอันดับ วารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยู่ในควอไทล์ ที่ 3 (Q3) ในปี ล่ าสุด ใน subject category ที่ ตีพิมพ์ หรื อมีการตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ ปรากฏในฐานข้ อมูลสากล ISI และฐานข้ อมูล Scopus

-

-

-

-

-

-

- -กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - -กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

-

-

-

-

-

-

จํานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฎในฐานข้ อมูลการจัดอันดับ วารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยู่ในควอไทล์ ที่ 2 (Q2) ในปี ล่ าสุด ใน subject category ที่ ตีพิมพ์ หรื อมีการตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ ปรากฏในฐานข้ อมูลสากล ISI และฐานข้ อมูล Scopus

-

-

-

-

-

-

- -กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - -กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

-

-

-

-

-

-

(สมศ.)จํานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฎอยู่ในประกาศของ สม ศ. - -กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - -กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (สมศ.)จํานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฏอยู่ในฐานข้ อมูล สากล ISI - -กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - -กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


134 ข้ อมูลอ้ างอิง สํ าหรับ KPI

รอบปี ของการ เก็บข้ อมูล

ชื่อข้ อมูลพืน้ ฐาน ปี การศึกษา 2553

สถาบัน

บริหาร

นิตศิ าสตร์

ศิลปศาสตร์

วิทยาศาสตร์ ฯ

บัณฑิตฯ

จํานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฎในฐานข้ อมูลการจัดอันดับ วารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยู่ในควอไทล์ ที่ 1 (Q1) ในปี ล่ าสุด ใน subject category ที่ ตีพิมพ์ หรื อมีการตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ ปรากฏในฐานข้ อมูลสากล ISI และฐานข้ อมูล Scopus

-

-

-

-

-

-

- -กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

-

-

-

-

-

-

- -กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

-

-

-

-

-

-

ชิ้นงาน

จํานวนผลงานสร้ างสรรค์ ที่ได้ รับการเผยแพร่ ในระดับสถาบันหรื อจังหวัด - -กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - -กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

ชิ้นงาน

จํานวนผลงานสร้ างสรรค์ ที่ได้ รับการเผยแพร่ ในระดับชาติ - -กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - -กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

-

-

-

-

-

-

จํานวนผลงานสร้ างสรรค์ ที่ได้ รับการเผยแพร่ ในระดับความร่ วมมือระหว่ างประเทศ

-

-

-

-

-

-

- -กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - -กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

25

15

3

2

2

3

หน่ วยนับ

ชื่อเรื่ อง

ตัวบ่งชี้สมศ. ที่. ๕

ตัวบ่งชี้สมศ. ที่. ๕

ตัวบ่งชี้สมศ. ที่.

ปี การศึกษา

ปี การศึกษา

ปี การศึกษา

ชิ้นงาน

ชิ้นงาน

จํานวนผลงานสร้ างสรรค์ ที่ได้ รับการเผยแพร่ ในระดับภูมิภาคอาเซี ยน - -กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - -กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

ชิ้นงาน

จํานวนผลงานสร้ างสรรค์ ที่ได้ รับการเผยแพร่ ในระดับนานาชาติ - -กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - -กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

ชื่อเรื่ อง

จํานวนรวมของผลงานวิจัยที่นาํ ไปใช้ ประโยชน์


135 ข้ อมูลอ้ างอิง สํ าหรับ KPI

รอบปี ของการ เก็บข้ อมูล

หน่ วยนับ

ชื่อข้ อมูลพืน้ ฐาน ปี การศึกษา 2553

ชิ้นงาน

จํานวนรวมของผลงานสร้ างสรรค์ ที่นาํ ไปใช้ ประโยชน์ จํานวนรวมของผลงานวิชาการที่ได้ รับการรั บรองคุณภาพ - -บทความวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ - -บทความวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ - -ตําราหรื อหนังสื อที่มีการตรวจอ่านโดยผูท้ รงคุณวุฒิ

สถาบัน

บริหาร

นิตศิ าสตร์

ศิลปศาสตร์

วิทยาศาสตร์ ฯ

บัณฑิตฯ

12 6 3

8 6 -

1 1

-

-

3 2

ตัวบ่งชี้สมศ. ที่. ๗

ปี การศึกษา

ชื่อเรื่ อง

ตัวบ่งชี้สมศ. ที่. ๗

ปี การศึกษา

ชื่อเรื่ อง

- -ตําราหรื อหนังสื อที่ใช้ในการขอผลงานทางวิชาการและผ่านการพิจารณาตามเกณฑ์การขอตําแหน่งทาง วิชาการแล้ว หรื อตําราหรื อหนังสื อที่มีคุณภาพสูงมีผทู้ รงคุณวุฒิตรวจอ่านตามเกณฑ์ขอตําแหน่งทางวิชาการ

3

2

-

-

-

1

ตัวบ่งชี้ที่ 5

ปี การศึกษา

โครงการ

จํานวนโครงการ/กิจกรรมบริ การทางวิชาการทั้งหมด

15

7

3

2

2

1

ปี การศึกษา

โครงการ

จํานวนโครงการ/กิจกรรมบริ การทางวิชาการ ที่บูรณาการเฉพาะกับการเรี ยนการสอน

5

2

1

-

1

1

ปี การศึกษา

โครงการ

จํานวนโครงการ/กิจกรรมบริ การทางวิชาการ ที่บูรณาการเฉพาะกับการวิจัย

-

-

-

-

-

-

ปี การศึกษา

โครงการ

จํานวนโครงการ/กิจกรรมบริ การทางวิชาการ ที่บูรณาการกับทั้งการเรี ยนการสอนและการวิจัย

10

5

2

2

1

-

ปี การศึกษา

โครงการ

จํานวนโครงการหรื อกิจกรรมที่ส่งเสริ มสนับสนุนด้ านศิลปะและวัฒนธรรม

18

-

-

-

-

-

ปี การศึกษา

คะแนน

คะแนนผลการประเมินผลการดําเนินงานของสภาสถาบัน (คะแนนเต็ม ๕)

-

-

-

-

-

-

ปี การศึกษา

คะแนน

คะแนนการประเมินผลผู้บริ หารโดยคณะกรรมการที่สภาสถาบันแต่ งตั้ง (คะแนนเต็ม ๕)

-

-

-

-

-

-

จํานวนกิจกรรมสนับสนุนนโยบายสถานศึกษา 3D ด้านการส่ งเสริ มประชาธิปไตย

2

-

-

-

-

-

จํานวนกิจกรรมสนับสนุนนโยบายสถานศึกษา 3D ด้านการส่ งเสริ มให้มีคุณธรรม จริ ยธรรมและความเป็ นไทย

11

-

-

-

-

-

จํานวนกิจกรรมสนับสนุนนโยบายสถานศึกษา 3D ด้านการสร้างภูมิคุม้ กันภัยจากยาเสพติดทุกชนิด

7

-

-

-

-

-

ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ข้อ 2 ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ข้อ 3 ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ข้อ 4 ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 ตัวบ่งชี้สมศ. ที่ ๑๒ ตัวบ่งชี้สมศ. ที่ ๑๓


137


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.