ทักษะในการศึกษา Study Skills

Page 1


เอกสารประกอบการสอน วิชา ทษ.100110 ทักษะในการศึกษา STUDY SKILLS

อาจารย์ อารีย์ เพชรหวน ผู้รวบรวม

สํ านักวิชาศึกษาทัว่ ไป วิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก ปี การศึกษา 2553


คํานํา เอกสารประกอบการสอน วิชาทักษะในการศึกษาเล่มนี้ เรี ยบเรี ยงขึ้นเพื่อให้นกั ศึกษาของ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก และผูส้ นใจใช้ศึกษาเกี่ยวกับการเรี ยนในระดับอุดมศึกษา ให้มีความสุ ข และประสบความสําเร็ จ ด้วยเทคนิควิธีการศึกษา อาทิ การพูด การอ่าน การสร้างมนุษยสัมพันธ์ การบริ หารเวลา การคิด การจดโน้ต การจํา การใช้หอ้ งสมุด และการทํารายงาน ตลอดจนกลยุทธ์ การสอบ เป็ นต้น ซึ่งเรื่ องเหล่านี้ลว้ นเป็ นพื้นฐานสําคัญในการศึกษาระดับอุดมศึกษาทั้งสิ้ น ผูเ้ รี ยบเรี ยงหวังเป็ นอย่างยิง่ ว่า เอกสารประกอบการสอนเล่มนี้ จะช่วยให้เกิดความรู ้ และ ความเข้าใจในการศึกษา แก่นกั ศึกษาระดับอุดมศึกษาและผูอ้ ่านที่สนใจ ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ และสามารถใช้เอกสารนี้เป็ นคู่มือในการศึกษาเล่าเรี ยน การใช้ชีวิตในชั้นเรี ยน และการทํารายงาน ทางวิชาการได้เป็ นอย่างดี รายงานทางวิชาการนั้น เป็ นส่ วนหนึ่งของการประเมินผลการศึกษา ใน ระดับอุดมศึกษา และหวังว่าพื้นฐานในเอกสารนี้ จะช่วยให้นกั ศึกษาและผูส้ นใจศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเอง สามารถนําไปประยุกต์ใช้ในวิชาอื่นๆ อีกต่อไป สุ ดท้ายนี้ทางผูเ้ รี ยบเรี ยง ขอกราบขอบพระคุณ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วัลยา ชูประดิษฐ์ รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ที่กรุ ณาให้คาํ แนะนํา ในการเขียนบทความ และเอกสารประกอบการสอนทางวิชาการ ตลอดจนการเตรี ยมต้นฉบับ เพื่อการจัดพิมพ์จนสําเร็ จ ออกมาเป็ นรู ปเล่ม นอกจากนี้ขอขอบพระคุณ ผูแ้ ต่งหนังสื อและตํารา ซึ่งผูเ้ รี ยบเรี ยงนํามาอ้างอิง ทุกท่านด้วย ส่ วนข้อบกพร่ องใด ๆ ซึ่งอาจมีผเู ้ รี ยบเรี ยงขอน้อมรับไว้เพื่อตรวจสอบแก้ไขในครั้ง ต่อไป อารี ย ์ เพชรหวน มกราคม ๒๕๕๓


สารบัญ บทที่ 1

2

3

หน้ า ประมวลรายวิชา (Course Syllabus) ........................................................................... ก บทนํา: ทักษะในการศึกษา .......................................................................................... 2 1.1 แนวคิด ……………………………………. ………………………………… 2 1.2 ความหมาย : การอุดมศึกษา………………………………………………….. 2 1.3 ประโยชน์ในการเรี ยนระดับอุดมศึกษา …………………………………......... 3 1.4 การเรี ยนอย่างมีคุณภาพ……………………………………………………….. 5 ทักษะพืน้ ฐานทีจ่ ําเป็ นในการศึกษา …………………………………………….......... 10 2.1 ทักษะที่จาํ เป็ นสําหรับนักศึกษา ………………………………………………. 11 2.2 การวางแผนการเรี ยน ……………………………………………………......... 14 2.3 ทักษะการฟัง ……………………..................................................................... 17 2.4 ทักษะการจดโน้ต ………................................................................................... 22 2.5 ทักษะการจํา ..................................................................................................... 31 2.6 ทักษะการคิด …………………………………………………………………. 36 2.7 ทักษะการอ่าน …………………………...............................................…........ 47 2.8 ทักษะการเขียน ……………………….............................................................. 57 2.9 ทักษะการพูดเพื่อนําเสนอ…………………………………………………...... 61 ห้ องสมุดและสารสนเทศ ………………………………………................................... 72 3.1 สารสนเทศ………………………………………............................................. 72 3.2 แหล่งสารสนเทศ …………………………………………………………...... 74 3.3 ห้องสมุด (Library) ............................................................................................. 74 3.4 อินเทอร์เน็ต (INTERNET) …………………………………………………… 76 3.5 การบริ การของห้องสมุด ……............................................................................ 77 3.6 ทรัพยากรสารสนเทศ ........................…………………………………………. 79 3.7 ระบบจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ ……......………………………………...... 87 3.8 การเข้าถึงสารสนเทศ.................................………............................................ 94


สารบัญ(ต่ อ) บทที่ หน้ า 4 การใช้ ชีวติ ในมหาวิทยาลัยอย่ างมีความสุ ข ………………………………………..... 105 4.1 การบริ หารเวลา ................................................................................................. 108 4.2 การสร้างนิสยั ในการเรี ยนรู ้ ............................................................................... 113 4.3 การสร้างมนุษยสัมพันธ์ .................................................................................... 121 5 การเขียนรายงานการประชุ ม........................................................................................ 133 5.1 ความหมายและความสําคัญ …………………………………....................... 133 5.2 การพิจารณาจัดประชุม .................................................................................. 137 5.3 การเขียนรายงานการประชุม ......................................................................... 138 5.4 แนวทางการจดรายงานการประชุม ............................................................... 141 6 การเขียนโครงการ .................................................................................................... 146 โครงการคืออะไร ................................................................................................ 146 ลักษณะสําคัญของโครงการ ................................................................................ 147 โครงสร้างของโครงการ ...................................................................................... 149 7 การทํารายงาน........................................................................................................... 159 ความหมายของรายงาน………………………………….................................... 159 ประเภทของรายงาน ........................................................................................... 160 หลักการเขียนรายงานการค้นคว้าทัว่ ไป....... ....................................................... 162 ส่ วนประกอบของรายงานโดยทัว่ ไป ................................................................... 168 บทส่ งท้ าย : กลยุทธ์ ในการสอบ ……………………………………………………….... 184 ข้อควรปฎิบตั ิในการสอบ .................................................................................. 184 ข้อสอบที่มหาวิทยาลัยนิยมออกข้อสอบ ............................................................ 190


แผนการสอน บทที่ 1 ทักษะในการศึกษา เนือ้ หาบทเรียน 1.1 แนวคิดเกี่ยวกับการเรี ยนในระดับอุดมศึกษา 1.2 ความหมาย : การอุดมศึกษา 1.3 ประโยชน์ของการเรี ยนในระดับอุดมศึกษา 1.4 การเรี ยนอย่างมีคุณภาพ แนวคิด การศึกษาระดับอุดมศึกษา มีส่วนในการพัฒนาความรู ้ ความสามารถและทักษะให้ เกิดขึ้นภายในตัวของผูเ้ รี ยนเอง เพื่อให้ผเู ้ รี ยนเกิดการพัฒนาตนเองและเป็ นประชากรที่มี คุณภาพ ทักษะการเรี ยนเป็ นกระบวนการที่จาํ เป็ นสําหรับ นักศึกษา ที่ตอ้ งการทําผลการ เรี ยนให้ดี โดยที่ผเู ้ รี ยนจําเป็ นต้องมีแรงจูงใจ ทัศนคติ และจัดการการเรี ยนที่ดีรวมทั้งมีวินยั ในตนเอง วัตถุประสงค์ ของบทเรียน 1. อธิบายความหมายของการอุดมศึกษาได้ 2. เข้าใจการเรี ยนในระดับอุดมศึกษา 3. เพื่อรู ้คุณค่าของคําว่าการเรี ยนในระดับอุดมศึกษา 4. เพื่อเรี ยนรู ้ทกั ษะพื้นฐานที่จาํ เป็ นในการเรี ยนของนักศึกษา กิจกรรมการเรียนการสอน การบรรยาย การอภิปราย การตอบข้อซักถามต่างๆ สื่ อการสอน 1. เอกสารประกอบ 2. PowerPoint Presentation การวัดและประเมินผล 1. การอภิปราย ซักถามและการแสดงความคิดเห็น 2. ทําแบบฝึ กหัด เอกสารอ้างอิง ดูบรรณานุกรมท้ายบท


แผนการสอน บทที่ 2 ทักษะพืน้ ฐานทีจ่ ําเป็ นในการศึกษา เนือ้ หาบทเรียน ทักษะพื้นฐานที่จาํ เป็ นในการศึกษา จะประกอบด้วย การวางแผนการเรี ยน การจดโน้ต การจํา การฟัง การอ่าน การเขียน การคิด ตลอดจนการนําเสนอ ผูเ้ รี ยนจําเป็ นต้องมีแรงจูงใจ มี ทัศนคติ และการจัดการเรี ยนที่ดี รวมทั้งมีวนิ ยั ในตนเอง แนวคิด ทักษะในการศึกษาโดยเฉพาะการพูด การฟัง การคิด อ่านเขียนนับเป็ นทักษะสําคัญ ซึ่ง ปั จจุบนั พบว่า การเรี ยนการสอนในระบบการศึกษาไทยค่อนข้างมีปัญหา แม้จะมีความพยายาม ในการพัฒนาทักษะ มาตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาแล้วก็ตาม ผูเ้ รี ยนส่ วนใหญ่ยงั มีทกั ษะในเรื่ อง พื้นฐานการเรี ยนรู ้ที่จาํ เป็ นค่อนข้างน้อย ไม่สามารถเรี ยนรู ้และใช้งานอย่างมีความสุข จึงควร ได้รับการศึกษาทักษะพื้นฐานที่จาํ เป็ นและเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองอย่างมีความสุ ข วัตถุประสงค์ ของบทเรียน 1. เพื่อเรี ยนรู ้ทกั ษะพื้นฐานที่จาํ เป็ นสําหรับนักศึกษา 2. เพื่อการเรี ยนรู ้อย่างมีความสุ ขและสําเร็ จ 3. เพื่อให้มีผลการเรี ยนที่ดี มีคุณภาพ กิจกรรมการเรียนการสอน การบรรยาย การอภิปราย และ การตอบข้อซักถาม สื่ อการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. PowerPoint Presentation การประเมินผล 1. การอภิปราย ซักถามและการแสดงความคิดเห็น 2. การทําแบบฝึ กหัด เอกสารอ้างอิง ดูบรรณานุกรมท้ายบท


แผนการสอน บทที่ 3 ห้ องสมุดและสารสนเทศ เนือ้ หาบทเรียน ศึกษาทรัพยากรสารสนเทศ ของห้องสมุด การใช้เครื่ องมือช่วยค้นประเภทต่าง ๆ การลงรายการ แหล่งสื บค้นและรายการอ้างอิง ตลอดจนการค้นคว้าด้วยระบบออนไลน์ แนวคิด ห้องสมุดเป็ นแหล่งสะสมสารสนเทศที่มีคุณค่า มีประโยชน์ ส่ งเสริ มให้นกั ศึกษา ได้มีการเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่อง ช่วยพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาใ ห้รู้จกั แสวงหาความรู ้ ด้วยตนเองอย่างอิสระ มีความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และนําสารสนเทศไป ใช้ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม วัตถุประสงค์ ของบทเรียนรายวิชา (Course Objectives) 1. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้และตระหนักถึงความจําเป็ นของการมีทกั ษะการใช้หอ้ งสมุด สําหรับการศึกษาระดับปริ ญญาตรี (Knowledge) 2. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนมีความเข้าใจในกระบวนการการพัฒนาทักษะการใช้หอ้ งสมุด และ สามารถปฏิบตั ิตามขั้นตอนต่าง ๆ ของกระบวนการพัฒนาดังกล่าวได้ (Knowledge) 3. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนมีทกั ษะการใช้หอ้ งสมุด และสามารถใช้ทกั ษะการใช้หอ้ งสมุดใน การศึกษาค้นคว้าและการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ (Skills) 4. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนมีคุณธรรมและจริ ยธรรมในการใช้สารสนเทศ ได้แก่ การอ้างอิง เอกสาร และการนําเสนอสารสนเทศซึ่งเป็ นจรรยาบรรณที่จาํ เป็ นในเชิงวิชาการ (Attitudes) กิจกรรมการเรียนการสอน 1. การบรรยาย การอภิปราย การตอบข้อซักถามต่างๆ 2. แนะนําแหล่งสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต (เว็บไซต์) 3. นําผูเ้ รี ยนเข้าใช้และสํารวจทรัพยากรห้องสมุดที่จดั ใว้ในสํานักวิทยบริ การ สื่ อการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. PowerPoint Presentation 3. เว็ปไซต์สาํ นักวิทยบริ การ ที่ http://www.southeast.ac.th/lib/index.php การวัดและประเมินผล 1. การอภิปราย ซักถามและการแสดงความคิดเห็น 2. ฝึ กปฏิบตั ิการสื บค้นระบบ OPAC ในห้องสมุด เอกสารอ้างอิง ดูบรรณานุกรมท้ายบท


แผนการสอน บทที่ 4 การใช้ ชีวติ ในมหาวิทยาลัยอย่ างมีความสุ ข เนือ้ หาบทเรียน 1. การบริ หารเวลา 2. การสร้างนิสยั ในการเรี ยนรู ้ 3. การสร้างมนุษยสัมพันธ์ แนวคิด การเรี ยนเป็ นกระบวนการที่จาํ เป็ นมากสําหรับ นักศึกษา ที่ตอ้ งการทําผลการเรี ยน ให้ดี การเรี ยนอย่างมีความสุ ข และมีความสําเร็ จ อาจต้องอาศัยสิ่ งหล่านี้ประกอบ คือ การ สร้างนิสยั ในการเรี ยนรู ้ การบริ หารเวลา ตลอดจนการสร้างมนุษยสัมพันธ์ ทั้งนี้ความสุ ขและ ความสําเร็ จของการเรี ยน ผูเ้ รี ยนจําเป็ นต้องมีแรงจูงใจ ทัศนคติ และจัดการเรี ยนที่ดีรวมทั้งมี วินยั ในตนเอง วัตถุประสงค์ ของบทเรียน 1. เกิดความรู ้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการบริ หารเวลา การสร้างมนุษยสัมพันธ์และสร้าง นิสยั ในการเรี ยนรู ้ 2. ทักษะในการวิเคราะห์สถานการณ์ระดับกลุ่ม ชุมชน สังคม โดยใช้แนวคิด หลักการ และทฤษฎีการมนุษยสัมพันธ์ การบริ หารเวลาและสร้างนิสยั ในการเรี ยนรู ้ 3. นักศึกษาเกิดความรู ้ ความเข้าใจ และสามารถประยุกต์ใช้แนวคิด ทฤษฎีหลักการ ปฏิบตั ิมนุษยสัมพันธ์ การบริ หารเวลา และสร้างนิสยั ในการเรี ยนรู ้ กิจกรรมการเรียนการสอน การบรรยาย การอภิปราย การตอบข้อซักถามต่างๆ และทํากิจกรรมกลุ่ม สื่ อการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. PowerPoint Presentation การวัดและประเมินผล 1. การอภิปราย ซักถามและการแสดงความคิดเห็น 2. ทําแบบฝึ กหัด เอกสารอ้างอิง ดูบรรณานุกรมท้ายบท


แผนการสอน บทที่ 5 การเขียนรายงานการประชุ ม เนือ้ หาบทเรียน 1.ความรู ้ทวั่ ไปเกี่ยวกับการประชุม 2. ประเภทของการประชุม 3. การพิจารณาจัดการประชุม 4. การจดรายงานการประชุม แนวคิด การประชุมถือเป็ นกิจกรรมที่สาํ คัญอย่างหนึ่งในการบริ หารองค์กร ดังนั้นในการ ประชุมให้มีท้ งั ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล เอกสารที่ใช้ในการประชุมโดยทัว่ ไป เช่น ระเบียบวาระการประชุม เอกสารประกอบการประชุม รายงานการประชุม เป็ นต้น ระเบียบ วาระการประชุมที่จาํ ต้องแจ้งก่อนการเป็ นประชุม เป็ นเอกสารที่ตอ้ งแจ้งผูท้ ี่จะเข้าร่ วมประชุม ล่วงหน้าเพื่อให้ทราบกําหนดการและหัวข้อเรื่ องที่จะประชุมเป็ นสิ่ งจําเป็ น วัตถุประสงค์ ของบทเรียน 1. อธิ บายความหมายและความสําคัญของเอกสารการประชุมแต่ละประเภทได้ 2. เขียนจดหมายเชิญประชุมได้ถูกต้องตามรู ปแบบ และใช้ภาษาในการเขียนได้ อย่างเหมาะสม กิจกรรมการเรียนการสอน การบรรยาย การอภิปราย การตอบข้อซักถามต่างๆ สื่ อการสอน PowerPoint Presentation การวัดและประเมินผล 1. การอภิปราย ซักถามและการแสดงความคิดเห็น 2. ทําแบบฝึ กหัด เอกสารอ้ างอิง ดูบรรณานุกรมท้ายบท


แผนการสอน บทที่ 6 การเขียนโครงการ เนือ้ หาบทเรียน 1. ความหมายของโครงการ 2. ลักษณะสําคัญของโครงการ 3. โครงการที่ดีควรมีลกั ษณะอย่างไร 4. โครงสร้างของโครงการ การเขียนโครงการเป็ นทักษะการเขียนรู ปแบบหนึ่งที่มีความสําคัญสําหรับการเรี ยน ในระดับอุดมศึกษา จึงจําเป็ นที่ผเู ้ รี ยน ต้องศึกษาวิธีเขียนและรู ปแบบของการเขียน ให้ถูกต้อง เพื่อเป็ นประโยชน์ในการศึกษาขั้นสูงและการทํางานในอนาคตต่อไป วัตถุประสงค์ ของบทเรียน 1. อธิบายความหมายของโครงการได้ 2. อธิบายความสําคัญและลักษณะของโครงการที่ดีได้ 3. เขียนโครงการตามโครงสร้างได้ถูกต้อง กิจกรรมการเรียนการสอน 1. การบรรยาย การอภิปราย การตอบคําถาม 2. ให้นกั ศึกษาแบ่งกลุ่มเขียนโครงการและนําเสนอในชั้นเรี ยน สื่ อการสอน PowerPoint Presentation การวัดและประเมินผล พิจารณาจากความตั้งใจในการเรี ยน การอภิปราย และการนําเสนองาน เอกสารอ้ างอิง ดูบรรณานุกรมท้ายบท


แผนการสอน บทที่ 7 การทํารายงาน เนือ้ หาบทเรียน 1. ศึกษาความหมาย ของการทํารายงานแต่ละประเภท 2. ประเภทของรายงานทางวิชาการ ได้แก่ รายงานทัว่ ไป รายงานประจําวิชา วิทยานิพนธ์หรื อ ปริ ญญานิพนธ์ และรายงานการวิจยั 3. ขั้นตอนของการทํารายงาน โดยทัว่ ไป เช่น การกําหนดเรื่ อง หรื อหัวข้อ การ สํารวจข้อมูล การรวบรวมบรรณานุกรม การบันทึกข้อมูล ตลอดจนการเรี ยบเรี ยงรายงาน ฉบับร่ าง การลงรายการอ้างอิง แนวคิด ในยุคข้อมูลข่าวสารซึ่งมีเทคโนโลยีสมัยใหม่อย่างกว้างขวาง จึงไม่มีใครสามารถ เรี ยนรู ้ทุกสิ่ งอย่างในชั้นเรี ยนได้หมด การศึกษาค้นคว้าหาความรู ้ดว้ ยตนเองเพิ่มเติมนอก ห้องเรี ยน จากแหล่งสารสนเทศต่างๆ จะช่วยให้การเรี ยนรู ้มีประสิ ทธิภาพมากยิง่ ขึ้นดังนั้นการ นําเสนอผลการศึกษาค้นคว้าในรู ปแบบของการเขียนรายงานทางวิชาการ จึงเป็ นกิจกรรมที่ สําคัญอย่างหนึ่งของการศึกษาในปัจจุบนั วัตถุประสงค์ ของบทเรียน 1. เพื่อส่ งเสริ มให้คิดอย่างวิจารณญาณ ตลอดจนแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผลโดย มีหลักฐานอ้างอิง 2. เพื่อส่ งเสริ มด้านการเขียนและการใช้ภาษา สามารถเรี ยบเรี ยงข้อมูลที่ได้มาอย่างมี ระเบียบด้วยสํานวนภาษาที่ถกู ต้อง กิจกรรมการเรียนการสอน การบรรยาย การอภิปราย การตอบข้อซักถามต่างๆ สื่ อการสอน PowerPoint Presentation การวัดและประเมินผล 1. การอภิปราย ซักถามและการแสดงความคิดเห็น 2. ทําแบบฝึ กหัด เอกสารอ้ างอิง ดูบรรณานุกรมท้ายบท


แผนการสอน บทส่ งท้ าย กลยุทธ์ ในการสอบ เนือ้ หาบทเรียน ในบทนี้ได้นาํ เสนอกลยุทธ์ในการสอบ เพราะว่าการสอบนั้นไม่ได้หมายถึงเฉพาะการ มาสอบให้ทนั เวลาเท่านั้น แต่จะต้องรวมถึงการเตรี ยมตัวสอบ การกําหนดกลยุทธ์ในการสอบ การลดความเครี ยด และการชนะความกลัว รวมทั้งการเรี ยนรู ้จากข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากการ สอบเพื่อหาทางปรับปรุ งตัวต่อไป แนวคิด การเรี ยนรู ้ถึงกลไกของข้อสอบและวิธีทาํ ข้อสอบ สามารถเปลี่ยนคะแนนของตัวเอง จาก C มาเป็ น A ได้ ในเมื่อการสอบเป็ นเกมการแข่งขันอย่างหนึ่ง ดังนั้นเราจึงควรมีสิทธิที่จะรู ้ ถึงกฎวิธีการทําข้อสอบและเทคนิคต่างๆ ของการแข่งขันเพื่อให้ได้คะแนนเท่าที่ควรจะได้ จาก ความรู ้และความสามารถที่มีอยู่ วัตถุประสงค์ ของบทเรียน เพื่อศึกษาหลักและเทคนิคในการทําข้อสอบอย่างถูกต้องในการตอบคําถามแต่ละครั้ง ของการสอบ กิจกรรมการเรียนการสอน การบรรยาย การอภิปราย การตอบข้อซักถามต่างๆ สื่ อการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. PowerPoint Presentation การวัดและประเมินผล 1. การอภิปราย ซักถามและการแสดงความคิดเห็น 2. ทําแบบฝึ กหัด เอกสารอ้ างอิง ดูบรรณานุกรมท้ายบท


บทที่ 1 บทนํา : ทักษะในการศึกษา 1.1 แนวคิด การเรี ยนในระดับอุดมศึกษาเป็ นการจัดการศึกษา หลังระดับมัธยมศึกษา มีการจัดหลักสู ตร การเรี ยนการสอน ทั้งในระดับปริ ญญาตรี และระดับสูงกว่าปริ ญญาตรี ในสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ ผูเ้ รี ยนจะได้รับใบปริ ญญาบัตรที่แสดงถึงเป็ นความเป็ นผูท้ ี่มีความรู ้ ความสามารถ และผูเ้ รี ยนยัง ควรเห็นคุณค่าของการเรี ยน เพื่อที่จะได้นาํ ความรู ้ที่ได้รับไปพัฒนาตนเอง พัฒนางาน และที่สาํ คัญ ควรคํานึงถึงการนําความรู ้ที่ได้ มาพัฒนาสังคมให้เกิดความยัง่ ยืน ไม่วา่ จะเป็ นการดําเนินชีวิตอย่าง สมดุลการรู ้จกั เลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม และการเชื่อมโยงความรู ้ ในสาขาวิชาที่เรี ยนให้สอด คล้องกับสภาพสังคมในปั จจุบนั ทั้งนี้เพื่อให้มนุษย์และสิ่ งแวดล้อมสามารถอยูร่ ่ วมกันได้อย่างสมดุล ปั จจุบนั มีผนู ้ ิยมเรี ยนในระดับอุดมศึกษาเพิม่ ขึ้น จากสถิติการเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษา ดังที่ เกรี ยงศักดิ์ เจริ ญวงศ์ศกั ดิ์ (2551) กล่าวว่า “ผูต้ อ้ งการเข้าศึกษาทั้งในระดับปริ ญญาตรี ปริ ญญา โทและปริ ญญาเอก โดยเฉลี่ยแล้วมีอตั ราที่เพิ่มมากขึ้นทุกปี ทําให้เห็นว่าในสังคมไทยปั จจุบนั นิยม การศึกษาในระดับอุดมศึกษา ด้วยเหตุน้ ีสถาบันอุดมศึกษาจํานวนมาก ทั้งมหาวิทยาลัยของรัฐและ เอกชน การศึกษาจึงได้เปิ ดหลักสูตรที่หลากหลายและรับนักศึกษาเข้าเรี ยนในอัตราที่เพิ่มสูงขึ้นทุกปี

1.2 ความหมาย : การอุดมศึกษา การอุดมศึกษา คือ การสร้างผูศ้ ึกษาเล่าเรี ยนให้เป็ นบัณฑิต ซึ่งเป็ นผูท้ ี่ได้รับการพัฒนา ความต้องการของตนเองให้ถูกต้องงดงาม เป็ นความต้องการที่สูงกว่าความต้องการที่เป็ นพื้นฐาน ซื่งเป็ นความต้องการที่เสพได้ บริ โภคสิ่ งต่างๆ เมื่อได้รับแล้วก็มีความสุ ข มีความพึงพอใจ มนุษย์ จึงต้องการไม่มีที่สิ้นสุ ด ไม่มีเพียงพอ การอุดมศึกษามองชีวิตเป็ นการเรี ยนรู ้เพื่อการพัฒนาเริ่ มจาก การพัฒนาตนเองให้มีความต้องการอันดีงาม ความต้องการที่เป็ นกุศล คือความต้องการที่ให้สรรพ สิ่ งดีในตัวของตัวเอง (ถนอม อินทรกําเนิด, 2552 : หน้า 4) การศึกษาระดับอุดมศึกษา หมายถึง การศึกษาหลังระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ซึ่ งได้แก่ หลักสู ตรอนุปริ ญญา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประกาศนียบัตรนาฎศิลป์ ชั้นสู ง ประกาศนียบัตรศิลปชั้นสู ง ระดับปริ ญญาตรี และรวมหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพครู เทคนิคชั้นสู ง (ปทส.) และระดับสูงกว่าปริ ญญาตรี ได้แก่ ประกาศนียบัตรบัณฑิตปริ ญญาโท ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสู งและปริ ญญาเอก(สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา(สกศ.)[ออนไลน์]


-3-

1.3 ประโยชน์ ในการเรียนระดับอุดมศึกษา การเรี ยนระดับอุดมศึกษาช่วยพัฒนาให้ผเู ้ รี ยนได้เกิดการเรี ยนรู ้ในด้านต่างๆ ดังที่ วิโรจน์ ถิรคุณ (2543, หน้า 21) ได้กล่าวถึงความสําคัญของการเรี ยนในระดับอุดมศึกษาไว้วา่ “การเรี ยนใน ระดับอุดมศึกษามีส่วนช่วยให้นกั ศึกษาได้คน้ พบความเป็ นตนเองด้วยการเปิ ดโลกทัศน์ เปิ ดรับ ความคิดใหม่อย่างไม่มีขีดจํากัด เพื่อพัฒนาคนให้เต็มศักยภาพ” ดังนั้นการศึกษาระดับอุดมศึกษาจึง มีส่วนในการพัฒนาความรู ้ ความสามารถและทักษะให้เกิดขึ้นภายในตัวของผูเ้ รี ยน ทําให้ผเู ้ รี ยนเกิด การพัฒนาตนเองและเป็ นประชากรที่มีคุณภาพ คุณค่ าของการศึกษาก่ อให้ เกิดประโยชน์ ดงั นี้ 1.3.1 เกิดการพัฒนาตนเอง การเรี ยนในระดับอุดมศึกษามีส่วนช่วยให้ผเู ้ รี ยนได้รับความรู ้ ที่หลากหลายมากขึ้น นอกจากนี้ การเรี ยนยังช่วยให้ผเู ้ รี ยนได้เกิดทักษะในการคิดวิเคราะห์ ให้ ผูเ้ รี ยนสร้างสรรค์ความรู ้ใหม่ข้ ึน ที่ไม่ใช่เกิดจากการจดจําความรู ้เพียงอย่างเดียว แต่ทาํ ให้ผเู ้ รี ยนมี ความรู ้ที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาของตน และสามารถสร้างความรู ้ที่เกิดจาก ความคิดของตนเอง ซึ่ง เป็ นผลมาจากการศึกษาได้ 1.3.2 เชื่อมโยงความรู้ กบั การประกอบอาชีพ ถ้าหากผูเ้ รี ยนเห็นคุณค่าของการศึกษาว่าจะ ช่วยพัฒนาตนเองแล้ว จะทําให้ผเู ้ รี ยนเกิดความมุ่งมัน่ ในการศึกษาเล่าเรี ยน ที่จะนําความรู ้ที่ได้รับ มาเชื่อมโยงกับการประกอบอาชีพในอนาคต เนื่องจากเห็นความสําคัญว่า การประกอบอาชีพนั้น จําเป็ นต้องใช้ความรู ้ที่ได้จากการศึกษา พร้อมทั้งนําทักษะทางด้านการคิดสร้างสรรค์ สิ่ งใหม่มา ประยุกต์ใช้ในการทํางาน เพื่อพัฒนางานของตน ให้มีประสิ ทธิภาพเพิ่มขึ้น ทําให้ตนเองเกิดความ ภูมิใจที่ได้มาเรี ยนในระดับอุดมศึกษา นอกจากนี้ยงั ได้รับความเชื่อมัน่ และการยอมรับจากสังคม ว่าเป็ นบุคคลที่มีคุณภาพด้วย 1.3.3 คิดค้ นความรู้ ใหม่ ทําให้เกิดการพัฒนาประเทศชาติ การเรี ยนในระดับอุดมศึกษาช่วย ส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนเกิดกระบวนการเรี ยนรู ้ ด้วยการคิดค้นสิ่ งใหม่ๆ ขึ้น ดังนั้นจึงมีส่วนช่วยในการคิด ประดิษฐ์ต่างๆ เพื่อนํามาใช้ในการปรับปรุ งและพัฒนาประเทศต่อไป จึงจะเห็นได้วา่ หากผูเ้ รี ยน ตระหนักในความสําคัญของการเรี ยนในระดับอุดมศึกษาแล้ว จะมีจาํ นวนประชากรที่มีคุณภาพเพิม่ มากขึ้น และนําไปสู่ ความเจริ ญก้าวหน้าของประเทศ จากประโยชน์ของการเห็นคุณค่าของการศึกษาดังกล่าวแล้ว ทําให้เห็นได้วา่ หากนักศึกษา เห็นคุณค่าของสาขาวิชาที่จะต้องการศึกษา อาจจะช่วยทําให้นกั ศึกษามีจุดมุ่งหมายในการแสวงหา ความรู ้ เกิดความสนใจในสิ่ งที่ตนต้องการจะศึกษามากขึ้น และเมื่อสําเร็ จการศึกษาแล้ว สามารถนํา สิ่ งที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ ในการประกอบอาชีพต่อไป ซึ่งจะส่ งผลให้ประเทศชาติ เจริ ญก้าวหน้า ดัง ในประเทศ ต่างๆ ที่ประสบความสําเร็ จ ในการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างมาก เช่น สหรัฐอเมริ กา เยอรมันนี ญี่ปุ่น ประเทศเหล่านี้มีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ดว้ ยการ ให้ความสําคัญกับการศึกษา


-4-

ทักษะการเรียนเป็ นกระบวนการทีจ่ ําเป็ นสํ าหรับนักศึกษา ทีต่ ้ องการทําผลการเรียนให้ ดี ทักษะการเรียนเหล่านีป้ ระกอบด้ วย การพัฒนาทักษะการเรียน ทักษะการพัฒนาคําศัพท์ การจด โน้ ตย่ อ ทักษะการจํา ทักษะการอ่ าน การเขียน การฟัง ตลอดจนทักษะการสอบ ทั้งนีผ้ ้ ูเรียน จําเป็ นต้ องมีแรงจูงใจ ทัศนคติ และการวางแนการเรียนทีด่ ี รวมทั้งมีวนิ ัยในตนเอง สําหรับวิชานี้ ทักษะในการศึกษา จะเป็ นวิชาที่ช่วยให้นกั ศึกษา สามารถเรี ยนรู ้ วิธีการ เรี ยนในมหาวิทยาลัย และวิธีการแสวงหาความรู ้ดว้ ยตนเองเพราะความรู ้มีมากมาย ติดตามไม่ทนั อาจารย์หรื อ ผูส้ อนไม่สามารถสอนความรู ้ต่างๆได้หมด นักศึกษาต้องไปหาความรู ้เพิม่ ด้วยตนเอง สัปดาห์แรกของการเปิ ดเรี ยน โดยเฉพาะกับนักศึกษาใหม่เพราะเป็ นเวลาแห่งการเริ่ มต้น และปรับตัว ทุกสิ่ งทุกอย่างดูจะแปลกใหม่ ทั้งคน ทั้งสถานที่ และเพื่อให้ชีวิตการเรี ยนในอนาคต ของนักศึกษาดําเนินไปอย่างราบรื่ น นักศึกษาจึงควรมีจุดเริ่ มต้นด้วยการเตรี ยมตัวที่ดี กล่าวได้ดงั นี้ 1. การสํ ารวจสถานทีเ่ รียน ควรหาเวลาเดินสํารวจ อาคารสถานที่เรี ยน เพื่อสร้างความคุน้ เคยกับสถานที่ โดยใช้แผนที่ ของมหาวิทยาลัยที่นกั ศึกษาประกอบ(ถ้ามี) เพื่อดูวา่ สถานที่สาํ คัญๆอยูต่ รงไหน ที่ต้ งั ของร้านอาหาร ห้องนํ้าในแต่ละอาคาร ตึกเรี ยนต่างๆ แผนกทะเบียน และหน่วยงานที่จะเป็ นประโยชน์ต่อการเรี ยน เช่น ห้องสมุด ในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาหรื อมหาวิทยาลัย มักจะมีหอ้ งสมุดมากกว่า หนึ่งแห่ง คือ นอกจากห้องสมุดกลางแล้ว แต่ละคณะอาจจะมีหอ้ งสมุดเป็ นของตนเองจะเปิ ดให้ นักศึกษาจากคณะอื่นเข้าไปใช้ได้ แต่นกั ศึกษาจํานวนไม่นอ้ ยที่ไม่รู้จกั สถานที่เหล่านี้ ซื่งทําให้เสี ย ประโยชน์บางอย่างไปอย่างน่าเสี ยดาย ร้านหนังสื อ ในสถานศึกษาให้ลองสํารวจหนังสื อ หรื อตําราประกอบการเรี ยนของ วิชาต่างๆ ที่นกั ศึกษาเรี ยน พร้อมกันนี้ให้ถือโอกาสดูตาํ ราวิชาเดียวกัน แต่เขียนโดยผูแ้ ต่งแต่ละคน เพื่อเปรี ยบเทียบว่าเล่มไหนดี อ่านได้เข้าใจง่ายกว่ากัน นักศึกษาจะได้เลือกใช้ให้เหมาะสม สําหรับ ตําราประกอบวิชาเลือกแต่ละวิชานั้น จะเป็ นประโยชน์อย่างยิง่ ต่อการเลือกเรี ยนของนักศึกษา เพราะบางวิชานั้น ดูแต่ชื่ออาจจะน่าสนใจ แต่พอเปิ ดตําราดูเนื้อหาแล้วกลับน่าเบื่อก็อาจมีได้ 2. เข้ าพบอาจารย์ ทปี่ รึกษา การเรี ยนในระดับอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยหรื อวิทยาลัย จะกําหนดอาจารย์ที่ปรึ กษามาคอย ดูแล ช่วยเหลือนักศึกษา ตั้งแต่ปีการศึกษาแรกไปจนจบการศึกษา ซึ่งเรี ยกว่า อาจารย์ ทปี่ รึกษา หน้าที่ความรับผิดชอบของอาจารย์ที่ปรึ กษานั้นมิได้มีแค่ตรวจใบลงทะเบียน ของนักศึกษา และลงชื่อรับรองแต่นกั ศึกษา สามารถขอความช่วยเหลืออื่นๆ อันเกี่ยวกับเรื่ องการเรี ยนได้ดว้ ย เช่น • ขอคําแนะนําเกี่ยวกับการเรี ยนในกรณี ที่นกั ศึกษามีปัญหา


-5• ถ้านักศึกษาหมดสิ ทธิสอบเนื่องจากสาเหตุบางอย่าง เช่น เวลาเรี ยนไม่พอ นักศึกษาก็สามารถให้อาจารย์ที่ปรึ กษาช่วยได้ แต่ท้ งั นี้เราต้องมีเหตุผลหรื อหลักฐาน ให้ท่าน นําไปใช้ขอผ่อนผันกับผูท้ ี่ตดั สิ ทธินกั ศึกษาด้วย • ถ้าจะจัดกิจกรรมนอกหลักสูตรการเรี ยน นักศึกษาก็สามารถขอคําแนะนํา หรื อ การสนับสนุนจากท่านได้ จะเห็นได้วา่ อาจารย์ที่ปรึ กษา คือ บุคคลที่สามารถให้ความช่วยเหลือต่างๆ แก่นกั ศึกษาได้ ดังนั้นเป็ นสิ่ งที่ฉลาดอย่างยิง่ ที่จะไปพบแนะนําตัวเองให้ท่านรู ้จกั ทันที เมื่อทราบว่าผูส้ อนท่านใด คือ อาจารย์ที่ปรึ กษาของนักศึกษาเพื่อแสดงให้เห็นว่าเรามีความกระตือรื อร้นที่จะพบท่าน ท่านจะ ได้รู้สึกประทับใจ และคอยให้ความช่วยเหลือเรา ตลอดเวลา

1.4 การเรียนอย่ างมีคุณภาพ สิ กฺขา วิรุฬหิ สมฺ ปตฺ ตา" พุทธภาษิตบทนี้ แปลความได้วา่ การศึกษาเล่าเรี ยนเป็ นความเจริ ญ งอกงาม หรื อ การศึกษาเล่าเรี ยนช่วยเสริ มสร้างความเจริ ญในทุกด้านของมนุษย์ ด้วยเหตุน้ ีพอ่ แม่ผปู ้ กครอง จึงพยายามส่ งเสริ มให้บุตรหลานมีโอกาสเรี ยนรู ้ เพื่อให้บุตร หลาน มีความเจริ ญงอกงามในทุกด้าน ส่ วนบุตรหลานก็พยายามตอบสนองเจตนาที่ดีของพ่อแม่ ผูป้ กครอง ด้วยการเรี ยนให้ดีที่สุด การเรี ยนให้ดีที่สุดหรื อให้เกิดประสิ ทธิภาพมากที่สุดนั้น เป็ นเรื่ องที่มีการอภิปรายกันอย่าง กว้างขวาง บางคนเห็นว่าการที่จะเรี ยนได้ดีน้ นั ผูเ้ รี ยนต้องมีสติปัญญาดี แต่บางคนก็แย้งว่า การเรี ยน ได้ดีหรื อเรี ยนได้อย่างมีประสิ ทธิภาพนั้น ต้องมีวิธีการและกลวิธีในการเรี ยนเป็ นสําคัญ สติปัญญา นั้นสําคัญก็จริ งแต่เป็ นเรื่ องรองลงมา ต่อให้มีสติปัญญาดีเลิศอย่างไร แต่ถา้ ขาดวิธีการเรี ยนที่ถูกต้อง ประสิ ทธิภาพก็ยอ่ มเกิดไม่ได้ จะอย่างไรก็ตามได้มีการศึกษาวิจยั จํานวนมาก เพื่อเปรี ยบเทียบกันเกี่ยวกับวิธีการเรี ยนของ นักเรี ยนที่เรี ยนเก่งกับนักเรี ยนที่เรี ยนอ่อน พบว่าวิธีการเรี ยนเป็ นองค์ประกอบสําคัญในการเรี ยน อย่างมีประสิ ทธิภาพ นอกจากวิธีการเรี ยนแล้วยังมีเรื่ องต่างๆที่ส่งเสริ มการเรี ยนให้มีประสิ ทธิภาพ เช่น สุ ขภาพดีท้ งั กายและใจ การวางแผนการเรี ยนอย่างเหมาะสม ที่พกั อาศัย อาหารการกิน เป็ นต้น ในอดีตจนถึงปัจจุบนั มีผรู ้ ู ้มากมายพยายามเสนอแนะด้วยความหวังดีเพื่อให้นกั ศึกษาเรี ยน ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ ตัวอย่างเช่น การใช้หลัก สุ. จิ. ปุ. ลิ. คือ สุ . มาจากคําว่า สุ ต แปลว่า ฟัง (รวมทั้งอ่านด้วย) จิ. มาจากคําว่า จินตนะ แปลว่า คิด ปุ. มาจากคําว่า ปุจฉา แปลว่า ถาม ลิ. มาจากคําว่า ลิขิต แปลว่า เขียน


-6หลักการนี้เป็ นสิ่ งจําเป็ นสําหรับนักศึกษา ในการเรี ยนให้เกิดประสิ ทธิภาพนั้น ต้องอาศัย การฟัง(อ่าน) ฟังแล้วนํามาคิด ถ้าหากไม่เข้าใจก็ตอ้ งถามหรื อค้นคว้าหาคําตอบที่ถูกต้อง และ ท้ายสุ ดต้องบันทึกไว้เพื่อให้จดจําได้ การใช้หลักอิทธิบาท 4 ได้แก่ 1. ฉันทะ คือ ความพอใจ ใฝ่ ใจที่จะเรี ยน 2. วิริยะ คือ ความเพียรในการเรี ยน อดทนไม่ทอ้ ถอยในการเรี ยน 3. จิตตะ คือ ความคิด ตั้งใจรับรู ้ในสิ่ งที่เรี ยน 4. วิมงั สา คือ ความไตร่ ตรอง ทดลองตรวจตราใคร่ ครวญหาเหตุผล อาจสรุ ปได้วา่ การเรี ยนอย่างมีประสิ ทธิภาพ จะต้องมีความพอใจ มีความเพียรพยาม รู ้จกั คิด และค้นคว้าในสิ่ งที่เรี ยน นอกจากนีย้ งั มีปัจจัยของการเรียนอย่ างมีประสิ ทธิภาพ อันได้ แก่ 1. การเข้ าชั้นเรียน การศึกษาในมหาวิทยาลัย มีการกําหนดให้นกั ศึกษา ต้องค้นคว้าหา ความรู ้ดว้ ยตนเอง เป็ นหลักสําคัญ การเข้าชั้นเรี ยนเพือ่ ฟังคําบรรยาย (Lecture) จากอาจารย์ เป็ น เพียงการฟังคําชี้แนะแนวทางในการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น แต่ความสําคัญที่นกั ศึกษาจะได้รับจากการ เข้าชั้นเรี ยน ได้แก่ การได้รับการถ่ายทอดเชื่อมโยง ความรู ้ความคิด ประสบการณ์จากอาจารย์ผสู ้ อน ซึ่งจะเป็ นประโยชน์และเป็ นแนวทางสําหรับการพัฒนาตนเองแก่นกั ศึกษาที่เป็ นส่ วนหนึ่งจากการ ปฏิสมั พันธ์ในชั้นเรี ยนที่มิได้มีอยูใ่ นตํารา 2. การเตรียมตัวก่ อนเข้ าเรียน การรับฟังคําบรรยายในชั้นเรี ยนให้มีประสิ ทธิภาพนั้น ต้องมีการเตรี ยมตัวมาก่อน มิใช่เดินเล่นตามสบายเข้าไปนัง่ ฟังบ้างไม่ฟังบ้าง การเตรี ยมตัว เช่น ต้อง ทราบว่าชัว่ โมงนั้นจะเรี ยนอะไร มีเอกสาร ตํารา หรื อหนังสื อที่อาจารย์สงั่ ให้ไปเตรี ยมอ่านมาก่อน หรื อไม่ ถ้าจะให้ดีตอ้ งเปิ ดดูสมุดจดคําบรรยาย (Lecture) ชัว่ โมงที่แล้วว่าเรี ยนอะไรไปถึงไหน 3. การปฏิบัตติ นในชั้นเรียน เพื่อให้ประสบความสําเร็ จสู งสุ ดในการเรี ยนรู ้ร่วมกับอาจารย์ ผูส้ อน แนวทางที่ดีคือ การปฏิบตั ิตามหลักที่รู้จกั กันในนาม “หัวใจนักปราชญ์” คือ การฟัง คิด ถาม และเขียน เป็ นการฟังคําบรรยายอย่างตั้งใจ แล้วคิดตามไปด้วย หากมีขอ้ สงสัยให้รีบถาม (หรื อจดไว้ ถามในช่วงที่อาจารย์เปิ ดโอกาสให้ซกั ถาม) เมื่อฟังและคิดแล้วก็ตอ้ งเขียน คือ จดบันทึกสิ่ งที่ได้ฟัง และเข้าใจนั้นลงไว้ เพื่อเตือนความจําและเพื่อทบทวนในโอกาสต่อไป หรืออาจสรุ ปได้ดงั รู ปต่อไปนี้


-7-

ปัจจัยของการเรียนอย่ างมีประสิ ทธิภาพ การทําข้อสอบ การฟัง การจํา การเขียน

การรับรู ้ ความสามารถ นิสยั แรงจูงใจ การทํางานเป็ นทีม ความตั้งใจ การบริ หารความเครี ยด สุ ขภาพ โภชนาการ

กิจการ น.ศ. ห้องสมุด ศูนย์ ยอมรับความ เปลี่ยนแปลง การติดตามตลอด

ทักษะการศึกษา และการคิด

ทักษะด้ านบุคคล

สุ ขภาพกาย + สุ ขภาพจิต

ทรัพยากร

การวางแผนสู่ ความสํ าเร็จ

ความสําเร็ จ+ความล้มเหลว

รู ปที่ 1.1 โครงสร้ างการเรียนอย่ างมีคุณภาพ

การจดโน๊ต การอ่าน การคิดเชิงวิเคราะห์ การตัดสิ นใจ การแก้ปัญหา การวางแผน การตั้งเป้ าหมาย การจัดลําดับตามลําดับ การสื่ อสาร การสร้างความสัมพันธ์ การบริ หารเวลา รู ปแบบการเรี ยน

ความขัดแย้ง ค่านิยม

การบริ หารเงิน การทํางานระหว่างเรี ยน

เลือกวิชาเอก วางแผนชีวิต เป้ าหมาย


-8ได้ รับปริญญา

ระยะยาว ปี

ภาคการศึกษา

เดือน

สั ปดาห์

ฝึ กงาน มองหาอาชีพ

พบอาจารย์ที่ปรึ กษา สอบถามวิชาการเรี ยน

พบอาจารย์ที่ปรึ กษา

สอบได้ทุกวิชา รวมกลุ่มอภิปราย

รวมกลุ่มเพื่อจัดติว

เข้าเรี ยนตั้งใจตลอด ทบทวนตํารา เที่ยว เสาร์ -อาทิตย์

รวมกลุ่มเพื่อทํารายงาน

รู ปที่ 1.2 เป้าหมายการศึกษา ระยะสั้ น/ระยะกลาง/ระยะยาว

ทบทวนตําราทุกคืน เที่ยว เสาร์-อาทิตย์


-9-

แบบฝึ กหัดท้ ายบท 1. การศึกษาช่วยให้เราประสบความสําเร็ จได้อย่างไร ........................................................................................................................................ 2. นักศึกษาวางแผนจะใช้เวลาเรี ยนในวิทยาลัยอย่างไร ........................................................................................................................................ 3. นักศึกษาคาดหวังอะไร จากการเรี ยนในมหาวิทยาลัย หรื อระดับปริ ญญาตรี ........................................................................................................................................ 4. นักศึกษาคิดว่าคุณสมบัติขอ้ ไหนที่ทาํ ให้นกั ศึกษาเป็ นคนพิเศษ ........................................................................................................................................ 5. ในระยะเวลา 1 ภาคการศึกษา(15 สัปดาห์) เป้ าหมายระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว ของนักศึกษา คืออะไร ........................................................................................................................................ 6. ลักษณะของบัณฑิตอันพึงประสงค์ คืออะไร ........................................................................................................................................

บรรณานุกรม เกรี ยงศักดิ์ เจริ ญวงศ์ศกั ดิ์. 2551. “เข้ามหาวิทยาลัยเพราะเห็นคุณค่าหรื อเพื่อใบปริ ญญา.” สยามรัฐ. (24 กรกฎาคม) : หน้า 19. ถนอม อินทรกําเนิด. 2552. ปรัชญาการอุดมศึกษาไทย. กรุ งเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา. วิโรจน์ ถิรคุณ. 2543. เรียนมหาวิทยาลัยอย่ างไรให้ สําเร็จและมีความสุ ข. กรุ งเทพฯ : อู่พิมพ์เดือนเพ็ญ. สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.)2553. “การอุดมศึกษา.” [ออนไลน์ ] สื บค้นจาก http://www.onec.go.th/ (5 ม.ค. 2553)


บทที่ 2 ทักษะพืน้ ฐานทีจ่ าํ เป็ นในการศึกษา ทักษะการเรี ยนเป็ นกระบวนการที่จาํ เป็ นมากสําหรับนักศึกษาที่ตอ้ งการทําผลการเรี ยนให้ดี ทักษะการเรี ยนเหล่านี้ประกอบด้วย การวางแผนการเรี ยน การจดโน้ตย่อ ทักษะการจํา ทักษะการ อ่าน การฟัง การเขียน ตลอดจนทักษะการสอบ ทั้งนี้ผเู ้ รี ยนจําเป็ นต้องมีแรงจูงใจ ทัศนคติ และ จัดการการเรี ยนที่ดีรวมทั้งมีวินยั ในตนเอง สําหรับบทนี้ ทักษะพื้นฐานที่จาํ เป็ นในการศึกษา จะเป็ นวิชาที่ช่วยให้นกั ศึกษาสามารถ เรี ยนรู ้ วิธีการเรี ยนในมหาวิทยาลัย และวิธีการแสวงหาความรู ้ดว้ ยตนเอง เพราะความรู ้มีมาก ติดตามไม่ทนั อาจารย์ หรื อผูส้ อนไม่สามารถสอนความรู ้ต่างๆ ได้หมด นักศึกษาต้องค้นคว้าและหา ความรู ้เพิ่มด้วยตนเอง

2.1 ทักษะพืน้ ฐานทีจ่ าํ เป็ นสํ าหรับนักศึกษา ในยุคโลกไร้พรมแดนหรื อสังคมข่าวเช่นในปัจจุบนั นี้ ผูท้ ี่อยูใ่ นสังคมคนทํางานแล้วย่อม สามารถเข้าใจได้อย่างดียงิ่ ว่า การศึกษามิใช่เป็ นเพียงกิจกรรมที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหนึ่งของชีวิต เท่านั้น แต่การศึกษาเป็ นกิจกรรมที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต วิชาการบางสาขาวิชาอาจเริ่ ม ล้าสมัยไปในระยะเวลาอันสั้น หลังจากผูท้ ี่ศึกษาวิชาการนั้น ๆ สําเร็ จการศึกษาไปแล้ว นอกจากนั้น จากการศึกษาและการวิจยั ในช่วงทศวรรษที่ผา่ นมา ยังแสดงให้เห็นด้วยอีกว่า ในช่วงชีวิตของบุคคล คนหนึ่งนั้น อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงอาชีพหรื อการทํางานได้มากกว่า 3 อาชีพ โดยที่ในการ เปลี่ยนแปลงอาชีพนั้น บุคคลนั้นจําเป็ นจะต้องได้รับการฝึ กฝนอบรมเพิม่ เติม หรื อ มีการเรี ยนรู ้ วิทยาการ หรื อเทคโนโลยีใหม่ ๆ อย่างสมํ่าเสมอ ด้วยเหตุที่ความรู ้ วิทยาการใหม่ ๆ หรื อข้อมูล ข่าวสารในปัจจุบนั มีเป็ นจํานวนมาก และ การแสวงหาความรู ้ การคัดเลือกหรื อค้นคว้าหาข้อมูลที่ถูกต้องชัดเจน มีความสําคัญอย่างยิง่ ในการ พัฒนาตนเองด้านการศึกษา นักศึกษาที่กาํ ลังศึกษาอยูใ่ นปัจจุบนั จึงควรได้รับการพัฒนาทักษะที่ จําเป็ นสําหรับการเป็ นนักศึกษา ดังนี้ 2.1.1 ทักษะพืน้ ฐานทางด้ านการคิดและการใช้ เหตุผล ความสามารถในการคิดและการใช้ เหตุผลนั้น เป็ นทักษะพื้นฐานที่สาํ คัญสําหรับการศึกษาในระดับอุดมศึกษาและการดําเนินชีวิตใน ปั จจุบนั มนุษย์เราส่ วนใหญ่ได้รับการฝึ กฝนให้พฒั นาทักษะการคิด และ การใช้เหตุผลมาตั้งแต่ เยาว์วยั โดยมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องไปตลอดชีวิต แม้วา่ จะมีความแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล บ้าง แต่หากเราได้ใช้การสังเกตตนเอง จะพบว่าเรามีการสัมผัสต่อสิ่ งใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นแวดล้อมตัวเรา


- 12 -

ตัวอย่าง คําถามพื้นฐานที่ช่วยให้กระบวนการคิดและการใช้เหตุผลมีประสิ ทธิภาพมาก ขึ้น จะเริ่ มตั้งแต่คาํ ถามเพื่อการรวบรวมข้อมูล -ใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ( ความจํา ความ เข้าใจ ) คําถามเพื่อแสวงหาสาเหตุ - ทําไม (สามารถ วิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินค่าของข้อมูล ที่เก็บรวบรวมมาได้) เมื่อเริ่ มตั้งคําถามนั้น หากเราไม่สามารถที่จะจดจําได้ท้ งั หมด เราควรจดบันทึก บันทึกเหล่านั้นจะช่วยให้เราสามารถสะสมข้อมูลที่จาํ เป็ น สําหรับการแยกแยะประเด็น หรื อ รวบรวมประเด็น ในการคิดและการใช้เหตุผลในขั้นต่อไป นอกจากนั้น คนที่มีความสามารถใน การศึกษาไม่ใช่คนที่เก่งในการจดจํา แต่เป็ นผูท้ ี่มีความสามารถในการคิด และรู ้จกั การใช้เหตุผล อย่างเหมาะสม สามารถแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 2.1.2 ทักษะด้ านอารมณ์ และความรู้ สึก แต่เดิมนั้นทักษะด้านอารมณ์ และความรู ้สึก เป็ น ทักษะที่ถูกละเลยในด้านการศึกษา แต่หลังจากที่มีการศึกษาค้นคว้ามากมาย นักจิตวิทยาและนักการ ศึกษาก็ให้ความสนใจต่อทักษะนี้มากขึ้น ตัวอย่างเช่น การที่นกั ศึกษาที่มีความเข้าใจในบทเรี ยนเป็ น อย่างดี แต่เมื่อเข้าห้องสอบกลับเกิดความรู ้สึกตื่นเต้น วิตกกังวล บางรายมีอาการแสดงออกทางกาย ได้แก่ เหงื่อออกตามมือ หัวใจเต้นเร็ วไม่เป็ นจังหวะ เป็ นต้น และไม่สามารถทําข้อสอบได้ดี นั้น เป็ นผลมาจากสาเหตุมากมายหลายประการ แต่สาเหตุหนึ่งที่สาํ คัญคือการขาดทักษะในการจัดการ กับอารมณ์ ความรู ้สึกของ ตนเอง การฝึ กฝนและพัฒนาทักษะทางด้านนี้จาํ เป็ นจะต้องใช้ระยะเวลา และการยอมรับตนเอง ในการพัฒนาทักษะด้วย และการพัฒนาทักษะด้านอารมณ์ ความรู ้สึกที่ เหมาะสมนั้น ยังมีผลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพและความสําเร็ จในการดําเนินชีวิตอีกด้วย 2.1.3 ทักษะด้ านภาษาและการสื่ อสาร ภาษาเป็ นตัวกลางที่ช่วยให้มนุษย์มีปฏิสมั พันธ์ ระหว่างกัน และก่อให้เกิดการเรี ยนรู ้และพัฒนาการของวิทยาการต่าง ๆ มากมายในโลกไร้พรมแดน หรื อยุคสังคมข่าวสารนี้ ผูท้ ี่มีความสามารถในการใช้ภาษามากกว่า 1 ภาษาย่อมแสวงหาความรู ้ ได้มากขึ้น และเราไม่อาจปฏิเสธได้วา่ ผูท้ ี่มีความรู ้และทักษะในการใช้ภาษาดี ย่อมสามารถที่จะ แสวงหาความรู ้ที่จะนํามาใช้ประโยชน์ ในการดําเนินชีวติ และพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มศักยภาพ ทักษะด้านภาษาและการสื่ อสาร ซึ่งประกอบด้วย การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนนี้ อาศัยความเข้าใจหลักของภาษา ไวยากรณ์ต่าง ๆ ตลอดจนการฝึ กฝน ทบทวนอย่างสมํ่าเสมอ สําหรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษาแล้วไม่สามารถข้ามประเด็นความสําคัญของทักษะด้านภาษา และ การสื่ อสารไปได้เลย ตัวอย่างเช่น ทักษะการอ่านมีความสําคัญมากต่อการแสวงหาความรู ้ และ การ พัฒนาความสามารถในการคิด ทักษะการเขียนมีความสําคัญมากต่อการถ่ายทอดผลของการเรี ยนรู ้ เพื่อนําไปสู่ การวัดและประเมินผลการศึกษา เป็ นต้น การฝึ กฝนและพัฒนาทักษะทางด้านภาษา ไม่ใช่เรื่ องยากนัก หากนักศึกษาเข้าใจถึงความสําคัญและมีความมุมานะในการฝึ กฝนอย่างจริ งจัง


- 13 2.1.4 ทักษะในการแสวงหาความรู้ เมื่อการศึกษาเป็ นกระบวนการที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิตของบุคคล ทักษะในการ แสวงหาความรู ้จึงเป็ นทักษะที่มีความสําคัญและจําเป็ นสําหรับ นักศึกษาปั จจุบนั อย่างมาก เมื่อเทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทมากขึ้น ข้อมูล ข่าวสาร ความรู ้ วิทยาการต่าง ๆ จึงมีการถ่ายทอดและพัฒนาไปอย่างรวมเร็ ว นักศึกษาจึงจําเป็ นที่จะต้องมีทกั ษะที่ จะรู ้จกั เลือกรับข้อมูล และวิทยาการใหม่ ๆ นั้น อย่างมีวิจารณญาณ โดยอาศัยทักษะพื้นฐานในการ คิด การใช้เหตุผล ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว นอกจากนั้น กระบวนการในการถ่ายทอดความรู ้ หรื อวิทยาการใหม่ ๆ นั้น มักจะส่ งผ่าน ทางเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ ๆ ซึ่งมีพฒั นาการอย่างรวดเร็ ว การพัฒนาตนเองให้ทนั ต่อการ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศเหล่านั้นจึงเป็ นความจําเป็ นอีกประการหนึ่ง โดยที่นกั ศึกษา ควรเปิ ดใจ ยอมรับการเรี ยนรู ้การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเหล่านั้น อย่างน้อยในฐานะ "เครื่ องมือ" ที่จะนําไปสู่ ความรู ้ที่นกั ศึกษาต้องการ 2.1.5 ทักษะด้ านการจัดการ ในกระบวนการศึกษาด้วยตนเองนั้น ทักษะด้านการจัดการเป็ น ทักษะสําคัญอีกทักษะหนึ่งที่จะช่วยฝึ กฝนให้นกั ศึกษามีความพร้อมในการศึกษา ใฝ่ ใจที่จะศึกษา ด้วยตนเอง โดยการดูแลและควบคุมของตนเองโดยไม่ตอ้ งมีใครบังคับ ทักษะในการจัดการในที่น้ ี ประกอบด้วย 2.1.5.1 การจัดการตนเอง ได้แก่ การตรวจสอบเป้ าหมายการศึกษา และแผนการ ศึกษาของตนเอง ลักษณะหรื อวิธีการเรี ยนที่ตนเองชอบหรื อถนัด การดูแลตนเองให้สามารถเรี ยนได้ ตามเป้ าหมายที่ ตนเองกําหนดไว้ การฝึ กทักษะการเรี ยนต่าง ๆ เพื่อช่วยให้การเรี ยนเป็ นไปได้อย่างมี ประสิ ทธิภาพ การเตรี ยมตัวสําหรับการเรี ยนในแต่ละครั้ง เป็ นต้น 2.1.5.2 การจัดการเวลา ได้แก่ การวางแผนการใช้เวลาในการศึกษาต่อครั้ง ต่อวัน หรื อภาคการศึกษาให้เหมาะสมกับลักษณะวิธีการเรี ยนของตนเอง ซึ่งควรเป็ นแผนที่ยดื หยุน่ ไม่ เคร่ งครัด หรื อหละหลวมจนไม่สามารถก่อให้เกิดสัมฤทธิผลในการเรี ยนได้ 2.1.5.3 การจัดการสิ่ งแวดล้อม ได้แก่ การจัดสภาพแวดล้อมรอบตัวให้เอื้อต่อการ เรี ยนรู ้ การทําความเข้าใจกับบุคคลในครอบครัว การสร้างทัศนคติทางบวกเกี่ยวกับการเรี ยนรู ้ให้ เกิดขึ้น เช่น หากเราไม่สามารถเปลี่ยนสิ่ งแวดล้อมได้ เราก็ตอ้ งสามารถปรับตนเองให้เข้ากับ สิ่ งแวดล้อม เป็ นต้น ทักษะพื้นฐานที่จาํ เป็ นสําหรับนักศึกษาเหล่านี้ เป็ นสิ่ งที่นกั ศึกษามีอยูแ่ ล้วในตนเองใน ระดับที่มากน้อยแตกต่างกันไป แต่อย่างไรก็ตาม หากนักศึกษาสํารวจตนเองและพบว่ามีทกั ษะด้าน ใดที่ยงั บกพร่ องและควรได้รับการพัฒนา นักศึกษาก็ควรที่จะเริ่ มต้นเสี ยตั้งแต่บดั นี้ เพราะไม่มีคาํ ว่า "สาย" สําหรับการเริ่ มต้นพัฒนาตนเอง


- 14 -

2.2 การวางแผนการเรียน การวางแผนการเรี ยนในที่น้ ี หมายถึง การศึกษาเค้าโครงของหลักสู ตร หรื อโปรแกรมวิชา ของตนเองจากคู่มือนักศึกษา หรื อ คู่มือการเรี ยนของมหาวิทยาลัย/วิทยาลัย มหาวิทยาลัยใหญ่ๆ ยิง่ จําเป็ นมาก หากมหาวิทยาลัยใช้วิธีการให้นกั ศึกษาลงทะเบียนเรี ยนเอง วิทยาลัยเล็กนักศึกษาน้อย อาจจัดหลักสู ตรการศึกษาไว้ ให้เป็ นภาคการศึกษาตามลําดับวิชาเรี ยนก่อนหรื อหลังจนจบหลักสู ตร การศึกษา ซึ่งวิธีแบบหลังนี้นกั ศึกษาแทบจะเรี ยกว่าไม่เคยศึกษาเค้าโครงหลักสูตร หรื อโปรแกรม ด้วยตนเอง อย่างไรก็ตามโดยปกติหลักสูตรการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ส่ วนมากจะประกอบด้วย กลุ่มวิชาศึกษาทัว่ ไป กลุ่มวิชาเอก (ทั้งบังคับและเลือก) และกลุ่มวิชาเลือกเสรี -- กลุ่มวิชาศึกษาทัว่ ไป ประกอบด้วย รายวิชาต่างๆ ที่เป็ นพื้นฐานทัว่ ไป เช่น ด้าน คณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์และภาษาศาสตร์ เป็ นต้น -- กลุ่มวิชาเอก ประกอบด้วย วิชาบังคับ หรื อวิชาแกน ซึ่งเป็ นวิชาที่จะนําไปใช้เพื่อการ ประกอบอาชีพของนักศึกษา เช่น วิชาบัญชี วิชาภาษา วิชาคอมพิวเตอร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชา กฎหมาย เป็ นต้น อาทิจะมีจาํ นวนหลายรายวิชามาก คิดเป็ นสัดส่ วนของหน่วยกิตมากกว่าร้อยละ 60 ของหน่วยกิตรวมทั้งสิ้ นของโปรแกรมวิชา นอกจากนั้นในกลุ่มวิชาเอกยังมีวิชาเลือกบังคับ หรื อ วิชาบังคับให้เลือก เพราะเป็ นวิชาประกอบสําคัญที่เกี่ยวข้องกับวิชาบังคับหรื อวิชาแกน -- กลุ่มวิชาเลือกเสรี เป็ นกลุ่มที่จดั ไว้สนองความต้องการที่แตกต่างกันของแต่ละบุคคลที่ ประสงค์จะเรี ยนรู ้เพื่อพัฒนาตนเอง หรื อเพื่อประกอบสติปัญญา เพื่อผ่อนคลายความเคลียด เพือ่ สัมพันธ์กบั การประกอบอาชีพการอยูใ่ นสังคม กลุ่มวิชาเลือกเสรี ชื่อก็บอกว่าเลือกเสรี ตามความ สนใจของนักศึกษา จะข้ามคณะหรื อข้ามฝ่ ายไปเรี ยนกับคณะนิติศาสตร์ วิทยาศาสตร์ บริ หารธุรกิจ อักษรศาสตร์ ศิลปศาสตร์กก็ ระทําได้ แม้จะมีความจํากันอยูบ่ า้ ง ในแง่เวลาหรื อจํานวนหน่วยกิต ที่ อนุญาตให้เลือกเสรี เช่น 3 หน่วยกิตหรื อ 6 หน่วยกิต ซึ่งหมายความว่าเลือกได้เพียง 1-3 รายวิชา เท่านั้น การวางแผนการเรี ยน จึงหมายความว่า นักศึกษาจะต้องมองทะลุแผนตลอดระยะ 2-3 ปี ของหลักสูตรต่อเนื่อง หรื อ 3-5 ปี ของหลักสู ตร (4 ปี )ของตน นัน่ คือ ต้องศึกษาว่าหลักสูตรของตน ตามรายวิชาเอกจะต้องเรี ยนทั้งสิ้ นกี่หน่วยกิต ประกอบด้วยรายวิชาต่างๆ ในแต่ละหมวดกี่รายวิชา รายวิชาใดต้องการให้ผา่ นก่อน (Pre-requisite) จึงจะเรี ยนรายวิชาอื่นได้ พูดอีกนัยหนึ่งก็เหมือนกับ การนําเอาแผนการเรี นมาปูลงบนกระดานแล้วมองภาพรวมว่าจะเรี ยนรายวิชาต่างๆ ที่กาํ หนดไว้ใน หลักสูตร ในโปรแกรมมการศึกษาของตนเองเมื่อใด ภาคเรี ยนใด จึงจะครบตามหลักสู ตรในเวลา 2 ปี (หลักสูตรต่อเนื่อง) หรื อ 4 ปี (หลักสูตรปกติ) แล้วจบปริ ญญาตามข้อกําหนดในหลักสูตร


- 15 -

• การไม่ เลือกรายวิชาหนักๆ หรือเนือ้ หามากๆ ในภาคการศึกษาเดียวกัน นักศึกษาต้องทราบว่ารายวิชาใดที่มีเนี้อหาและภารกิจหนัก ๆ ซึ่งไม่ควรเรี ยนพร้อม ๆ กัน ในภาคเรี ยนเดียวกัน ทั้งนี้เพือ่ สร้างความสมดุลในการใช้เวลาทุ่มเทให้เกิดผลดีต่อผลการเรี ยนในแต่ ละภาคการศึกษา การเลือกเรี ยนรายวิชาที่ทา้ ทายความสามารถในการศึกษาเล่าเรี ยน เช่น วิชาใหม่ วิชาที่ นักศึกษาสนใจเป็ นพิเศษ วิชาที่ให้ประโยชน์สูงต่อการทํางานหรื อแม้แต่เชื่อมัน่ ว่าจะทําให้นกั ศึกษา ได้รับความสําเร็ จสู ง • การเข้ าห้ องเรียน มหาวิทยาลัยระบบปิ ด ทําการศึกษาในระบบคือ กําหนดเวลาการศึกษาไว้ชดั เจนตาม หลักสูตร มักถือเอาการเข้าห้องเรี ยนร้อยละ 80 ของเวลาเรี ยนทั้งสิ้ นของรายวิชานั้นเป็ นเกณฑ์ให้ สิ ทธิในการสอบและประเมินผลการศึกษา นักศึกษาต้องรู ้จกั กฎเกณฑ์เหล่านั้น เพือ่ ทราบว่าตนเอง จะขาดการเรี ยนได้กี่ครั้ง ในแต่ละครั้ง จะต้องศึกษาว่าจะเรี ยนเรื่ องใด บทใด ซึ่งอาจารย์ผสู ้ อนแต่ ละรายวิชา อาจนําเสนอแผนการสอนการเรี ยนให้นกั ศึกษาทราบล่วงหน้า เมื่อได้เข้าชั้นเรี ยนแต่ละ ครั้งจะได้โน้ตหรื อบันทึกการฟัง สร้างความเข้าใจ เข้าชั้นตรงเวลา ร่ วมมือกับเพื่อนในการทํา กิจกรรม การเขียนรายงาน การอภิปราย ซักถาม ทําความเข้าใจเนี้อหาทั้งในแง่ความคิดรวบยอด และรายละเอียดเฉพาะเรื่ อง เตรี ยมการทดสอบย่อยและการสอบปลายภาคการศึกษา จะทําให้ นักศึกษาเรี ยนได้สาํ เร็ จและสามารถรักษาระดับผลการเรี ยนได้อย่างดีตลอดภาคการศึกษา • การฟังคําบรรยาย การฟังคําบรรยายเป็ นส่ วนหนึ่งของการับสารของมนุษย์ดว้ ยการฟังหรื อการอ่าน การฟัง จึงเป็ นการรับรู ้เรื่ องราวต่างๆ จากผูพ้ ดู การฟังจึงต้องจับใจความสําคัญ โดยจับเนื้อหาของเรื่ องซึ่งผู ้ พูดหรื่ อผูเ้ ขียนอาจเน้นรวมในที่เดียวกันหรื อกระจายอยูท่ ้ งั เรื่ องที่พดู ดังนั้นผูร้ ับสารหรื อผูฟ้ ังอย่าง ตั้งใจให้สามารถจับความสําคัญของเรื่ องที่ฟังตลอดได้ ก. ฟังเรื่ องราวทั้งหมดให้เข้าใจก่อน แล้วจึงจับใจความสําคัญของเรื่ องหรื อบันทึกความ สําคัญของเรื่ องในสมุดโน้ต ซึ่งอาจทําเป็ นตอน จากนั้นพยายามตอบคําถามว่า ใคร - ทําอะไร-ที่ไหน-เมื่อใด - อย่างไร - และทําไม ข. ฟังเพื่อจับใจความรายละเอียด ทําเช่นเดียวกับการฟังโดยจับนความสําคัญ ค. ฟังเพื่อแสดงเหตุผล ทั้งเหตุผลโต้แย้งและสนับสนุน ง. ฟังเพื่อความซาบซึ้งเกิดสุ นทรี ยะ ฟังแบบให้ตระหนักในคุณค่างดงาม จ. ฟังเพื่อส่ งเสริ มจินตนาการและคิดสร้างสรรค์ ฟังเพื่อไปสร้างผลงานในชีวิต


- 16 • การฟังอย่ างมีประสิ ทธภาพ นักศึกษาต้องสร้างความสามารถที่จะ ก. ฟังแล้วจับประเด็นได้ ต้องมีสมาธิในการฟังและฟังเรื่ องราวโดยตลอด ข. ฟังแล้ววิเคราะห์ได้ คือ แยกสาระว่าส่ วนใดน่าเชื่อ สิ่ งใดเป็ นเหตุผล สิ่ งใดเป็ น ข้อเท็จจริ ง ผูพ้ ดู เป็ นเสี ยง ท่าทาง วาจา เหตุผล ค. ฟังแล้วตีความได้ ผูพ้ ดู อาจพูดเป็ นโวหาร สุ ภาษิต คําพังเพย บทกลอน ผูฟ้ ังต้องเข้าใจ ความหมาย ง. ฟังแล้วประเมินค่าได้ ผูฟ้ ังต้องประเมินค่าเองว่าสิ่ งที่ฟังดีหรื อไม่ดี โดยใช้เหตุผล หรื อ ความคิดเห็นตัดสิ น จ. ฟังแล้วจดบันทึกได้ การฟังเป็ นทักษะคู่กบั ทักษะการเขียน เมื่อฟังได้สาระเกิดแนวคิด ข้อสังเกต ผูฟ้ ังก็จดบันทึกไว้ • การอ่ าน การอ่าน เป็ นการค้นหาความหมาย หรื อการรับสารจากสื่ อที่เป็ นลายลักษณ์อกั ษร เพื่อจับ ใจความในการศึกษา ทักษะการอ่านจึงสําคัญมาก เพราะการรับสารของมนุษย์ นอกจากฟังแล้วก็คือการอ่าน การอ่านจึงเป็ นไปเพื่อ ทราบข่าวสารข้อเท็จจริ ง แสวงหาความรู ้ และความบันเทิง การอ่านมีท้ งั อ่านออกเสี ยงและอ่านในใจ และการอ่านจะสัมฤทธิผลได้ ผูอ้ ่านต้องมี ประสบการณ์ เช่น ถูกปลูกฝังให้รักการอ่าน มีคนอ่านหนังสื อให้ฟัง ต้องมีวฒ ุ ิภาวะ คืออยูใ่ นวัยที่ เหมาะสมกับเรื่ องที่อ่าน มีประสบการณ์สะสมมามาก มีร่างกายจิตใจพัฒนาตามปกติ การอ่านจับใจความ ก. อ่านชื่อเรื่ อง ย่อหน้าแรกและย่อหน้าสุดท้าย จะทราบแนวคิดสําคัญของเรื่ องว่าเกี่ยวกับ อะไร จุดมุ่งหมายอย่างไร และสุ ดท้าย(หากมี) อ่านสรุ ปท้ายเรื่ อง ท้ายบทหรื อท้ายเล่ม ข. อ่านตลอดเรื่ อง หรื อตลอดเล่มอย่างคร่ าวๆ ก่อนแล้วกลับมาอ่านเฉพาะที่สาํ คัญและจับ ใจความ ค. พยายามอ่านข้อความทีละย่อหน้า ค้นหาใจความสําคัญ

******************************************************************** แบบฝึ กปฎิบตั ิ ให้นกั ศึกษาจงทําแผนการเรี ยนของตัวเอง ประจํา 1 ภาคเรี ยน


- 17 -

2.3 ทักษะการฟัง (Listening Skill) ทักษะการฟังเป็ นทักษะสําคัญที่จาํ เป็ น ต้องเรี ยนรู ้ไม่ยงิ่ หย่อนไปกว่าทักษะการสื่ อสาร ด้านอื่น ๆ เช่น ทักษะการพูด อ่าน เขียน ฯลฯ ทักษะการฟังที่ดีนาํ มาซึ่งความสําเร็ จในชีวติ เนื่องจากเป็ นพื้นฐานสําคัญของทักษะการเข้าสังคม เพราะจะสามารถลดความเข้าใจผิด ความ ขัดแย้งในการปฏิสมั พันธ์กบั คน นอกจากนี้การพัฒนาทักษะการฟังส่ งผลต่อการพัฒนาในด้าน สติปัญญาในแง่ของการฝึ กใช้ความคิด การจับประเด็น ฝึ กความจํา และฝึ กฝนการจดจ่อแน่วแน่ กับสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งที่ตอ้ งการเรี ยนรู ้ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ ความหมาย การฟังนั้นเป็ นสิ่ งที่นกั ศึกษาถูกบอกให้ฟังมาตั้งแต่เด็ก แต่มกั ไม่ได้สอนวิธีการฟัง หรื อ how to listen อย่างถูกต้อง จากงานวิจยั ของ LARRY Barker และคณะ (Wolvin,. and Carolyn, 1993) พบว่านักศึกษา ในมหาวิทยาลัย ใช้เวลาในการฟัง 3 ใน 4 ของเวลาที่มาเรี ยนทั้งหมด หรื ออาจแบ่งเป็ นร้อยละของ กระบวนการสื่ อสาร(Communication modes) ได้ดงั นี้ การฟัง 53 % การอ่าน 17% การพูด 16% การเขียน 14% จะเห็นได้วา่ การฟังนั้น นักศึกษาต้องใช้มากที่สุด แต่ไม่ได้รับการสอนว่าจะฟังให้ดีตอ้ งทํา อย่างไร การฟัง หมายถึง การได้ยนิ อย่างรู ้เรื่ องและเข้าใจสิ่ งที่ผพู ้ ดู ต้องการให้ฟังได้รู้และยังรวมถึง การใช้วจิ ารณญาณตัดสิ นว่าสิ่ งที่ตนได้ยนิ มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือหรื อไม่ เพียงใด และสามารถนํา แนวคิดดังกล่าวไปใช้ประโยชน์ได้ ความสํ าคัญ การฟังเป็ นองค์ประกอบสําคัญประการแรกของหัวใจนักปราชญ์ อันได้แก่ สุ (ฟัง) จิ(คิด) ปุ(ถาม) ลิ (เขียน) การฟังเป็ นพื้นฐานสําคัญของทักษะอื่นคือ การพูด การอ่าน และการเขียน การฟังเป็ นการเสริ มสร้างความรู ้ให้กว้างขวางยิง่ ขึ้น ด้วยการรับรู ้ดว้ ยหู การอ่านรับรู ้ดว้ ย ตา การพูดและการเขียนเป็ นการถ่ายทอดความคิดจากตัวเราให้คนอื่นเข้าใจ


- 18 การฟังกับการพูดมีความสัมพันธ์กนั อย่างยิง่ สําหรับการฟังมีส่วนสําคัญที่จะทําให้การพูด สัมฤทธิผล อาจเป็ นเพราะดังนี้ 1. การพูดจะต้องประกอบด้วยผูพ้ ดู และผูฟ้ ัง การพูดคนเดียวหรื อมีผนู ้ งั่ อยูแ่ ต่ไม่ฟัง ไม่ ถือว่าเป็ นการพูดที่สมบูรณ์ 2. การพูดที่สมบูรณ์ ผูพ้ ดู กับผูฟ้ ังจะต้องเข้าใจจุดมุ่งหมายตรงกัน และผูฟ้ ังสามารถจับ ใจความสําคัญได้ตรงตามที่ผพู ้ ดู ต้องการ 3. ผูฟ้ ังที่ดีมีมารยาทแสดงความสนใจ กระตือรื อร้นที่จะฟังหรื อตั้งคําถาม จะทําให้ผพู ้ ดู มีกาํ ลังใจมีความตั้งใจที่จะพูด จะทําให้พดู ได้ดี แต่ถา้ ผูฟ้ ังแสดงความเบื่อหน่ายไม่สนใจจะทําให้ ผูพ้ ดู หมดกําลังใจ 4. ผูพ้ ดู ต้องรู ้จกั เป็ นนักฟังที่ดี รู ้วา่ เมื่อใดควรพูด เมื่อใดควรฟัง 5. ผูพ้ ดู ที่ดีตอ้ งฟังอยูเ่ สมอ เพื่อจะได้มีความรู ้เพิ่มขึ้นจากเรื่ องที่ฟังและมีโอกาสได้สงั เกต วิธีการพูดของผูพ้ ดู อีกด้วย สนิท ตั้งทวี (2538: 58) ได้กล่าวถึงความสําคัญของการฟัง ไว้วา่ การฟังเป็ นทักษะทางภาษา ที่สาํ คัญมากในการสื่ อสาร ดังนี้ 1. การฟังเป็ นขบวนการเรี ยนรู ้อย่างหนึ่งของมนุษย์ มนุษย์รับรู ้ข่าวสารและเรี ยนรู ้ความ เป็ นไปต่างๆ ที่เกิดขึ้นในโลกโดยการฟัง เช่นการฟังข่าวสารทางวิทยุ และโทรทัศน์ เป็ นต้น 2. การฟังเป็ นส่ วนสําคัญของการคิดและการพูด และมีความสัมพันธ์กนั เพราะฉะนั้นถ้า นักศึกษามีความสามารถในการฟังจะช่วยให้การติดตามและการพูดมีประสิ ทธิภาพไปด้วย 3. การฟังช่วยชักนําให้เกิดความคิดที่ดี ทําให้ได้ความรู ้และเกิดสติปัญญาหรื อความคิด ริ เริ่ มใหม่ๆ “การวางแผนการเรี ยน” นักศึกษาก็เกิดความคิดว่าเป็ นแนวทางที่ช่วยแก้ไขปัญหาเรื่ อง การอ่านหนังสื อสอบไม่ทนั ได้ เป็ นต้น จุดมุ่งหมายในการฟัง การฟังเป็ นการรับรู ้ความหมายของเสี ยงที่ได้ยนิ ผูฟ้ ังจะต้องตั้งใจฟังเพื่อให้เกิดความเข้าใจ เกิดความคิดจึงจะถือว่าเป็ นการฟังที่สมบูรณ์ ผูท้ ี่ฟังมากจะเกิดความรู ้มาก จึงจะได้ชื่อว่าเป็ นพหูสูต ในสังคมปั จจุบนั นอกจากเราจะฟังผูพ้ ดู พูดเพื่อการติดต่อสื่ อสารหรื อเพื่อกิจธุระในชีวิต ประจําวันแล้ว เราควรฟังเพือ่ จุดมุ่งหมายอื่นๆ ดังนี้ 1. ฟังเพื่อจับใจความสําคัญ 2. ฟังเพื่อจับใจความอย่างละเอียด 3. ฟังเพื่อหาเหตุผลมาโต้แย้งหรื อสนับสนุน 4. ฟังเพื่อให้เกิดความซาบซึ้งในวรรณคดี เกิดสุ นทรี ยภาพ 5. ฟังเพื่อให้เกิดความรู ้ ส่ งเสริ มจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ 6. ฟังเพื่อนํามาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจําวัน


- 19 ความเข้าใจและจับใจความให้ได้ เมื่อมีการบรรยายการสอนของอาจารย์ การฟังจึงเป็ น ทักษะอย่างหนึ่ง ที่สาํ คัญและมีประโยชน์ต่อการเรี ยนเป็ นอย่างมาก การจะเข้าใจเนื้อหาวิชาต่างๆ การให้คะแนน และการทําข้อสอบ หรื อสามารถตอบคําถามอาจารย์ได้ตรงประเด็น ก็เพราะความ สามารถในการฟังที่ดีหรื อการตั้งใจฟังเป็ นส่ วนประกอบที่สาํ คัญ ลักษณะของการเป็ นผู้ฟังทีด่ ี 1. นัง่ ในลักษณะที่ให้ความสนใจต่อผูพ้ ดู เสมอ อกผายไหล่ผ่งึ ตั้งตัวตรง กิริยาท่าสงบเสงี่ยม 2. มองหน้าผูพ้ ดู หลีกเลี่ยงการจ้องตา ควรมองระหว่างคิว้ หรื อไหล่ แต่มองสบตาบ้างเป็ น บางครั้ง 3. นัง่ เอนตัวหรื อโน้มศรี ษะไปในทิศทางของผูพ้ ดู บ้างเล็กน้อย 4. พยักหน้ารับรู ้เป็ นครั้งคราว เมื่อผูพ้ ดู ต้องการสนับสนุนในข้อมูลที่เขากําลังพูด 5. ยิม้ แย้ม แจ่มใส ไม่แสดงสี หน้าเคร่ งเครี ยดจนเกินไป ควรมีท่าทีแสดงออกในทางยินดี รับฟังเสมอ 6. มีมารยาทในการฟังเช่น แสดงความสนใจ กระตือรื อร้นที่จะฟัง ไม่คุยซุบซิบหรื อ ทําเสี ยงเอะอะหรื อแสดงกิริยาไม่สุภาพ ไม่ให้เกียรติผพู ้ ดู เป็ นต้น 7. ฟังโดยไม่ตกเป็ นทาสของอารมณ์ รู ้จกั ใช้เหตุผล ไม่เชื่ออะไรง่ายโดยไม่ไตร่ ตรอง 8. ฟังอย่างมีวจิ ารณญาณ มีความคิด เพื่อหาข้อเท็จจริ ง 9. มีศิลปะในการฟัง รู ้จกั ใช้ไหวพริ บในบางโอกาส เพื่อช่วยให้ผพู ้ ดู พูดได้ตรงตาม จุดประสงค์ที่ผฟู ้ ังต้องการ เช่น การใช้คาํ ถามนําไปสู่ จุดประสงค์ เป็ นต้น 10. ตีความจากเรื่ องที่ฟังได้ถูกต้อง และสามารถถ่ายทอดให้ผอู ้ ื่นฟังได้ 11. นําคุณค่าของสิ่ งที่ได้ฟังมาใช้ในชีวิตประจําวัน เช่น ชีวติ ส่ วนตัว อาชีพ เป็ นต้น การฟังที่ได้ผลดีตอ้ งอาศัยการฝึ กอยูเ่ สมอ เมื่อฟังแล้วต้องคิดไปพร้อมๆ กัน การฟังมาก จะทําให้เป็ นผูท้ ี่มีความรู ้กว้างขวาง สิ่ งสําคัญที่สุดของการฟังก็คือ ผูฟ้ ังต้องฟังด้วยความตั้งใจสนใจ และเข้าใจเรื่ องที่ฟังตรงกับจุดประสงค์ของผูพ้ ดู การฟังคําบรรยาย การฟังคําบรรยาย เป็ นส่ วนหนึ่งของการรับสารของมนุษย์ดว้ ยการฟังหรื อการอ่าน การฟัง จึงเป็ นการรับรู ้เรื่ องราวต่างๆ จากผูพ้ ดู การฟังจึงต้องจับใจความสําคัญ โดยจับเนี้อหาของเรื่ องซึ่ง ผูพ้ ดู หรื อผูเ้ ขียนอาจเน้นรวมในที่เดียวกันหรื อกระจายอยูท่ ้ งั เรื่ องที่พดู ดังนั้นผูร้ ับสารหรื อผูฟ้ ังจึง ต้องฟังอย่างตั้งในให้สามารถจับความสําคัญของเรื่ องที่ฟังตลอดได้ 1. ฟังเรื่ องราวทั้งหมดให้เข้าใจก่อนแล้วจึงจับความสําคัญของเรื่ อง หรื อบันทึกเรื่ องราว ความสําคัญของเรื่ องในสมุดโน้ต ซึ่งอาจทําเป็ นตอน จากนั้นพยายามตอบคําถามว่า ใคร ทําอะไร ที่ ไหน อย่างไร เมื่อใดและทําไม


- 20 2. 3. 4. 5.

ฟังเพื่อจับใจความละเอียด ทําเช่นเดียวกับการฟังโดยจับใจความสําคัญ ฟังเพื่อแสดงเหตุผลทั้งเหตุผลโต้แย้งและสนับสนุน ฟังเพื่อความซาบซึ่งเกิดสุ นทรี ยะ ฟังแบบให้ตระหนักในคุณค่างดงาม ฟังเพื่อส่ งเสริ มจินตนาการและคิดสร้างสรรค์ ฟังเพื่อไปสร้างผลงานในชีวิต

ในห้ องเรียน วิธีการฟังของนักศึกษา จะได้ประโยชน์อย่างเต็มที่กต็ ่อเมื่อ นักศึกษามีทกั ษะ ในการฟังที่ดีเพื่อที่จะได้เกิดความเข้าใจ สามารถแยกเนื้อออกจากนํ้า จับประเด็นสําคัญและแนวคิด หลัก ๆ ที่ผสู ้ อนต้องการถ่ายทอดได้ โดยอาศัยวิธีการต่อไปนี้ 1. สั งเกตฟังบอกใบ้ ผูส้ อนส่ วนใหญ่จะมีคาํ พูดติดปากบางคําที่บอกให้รู้วา่ สิ่ งที่ท่านกําลัง พูด หรื อพูดไปแล้วมีความสําคัญ เช่น -- พูดข้อความหรื อประเด็นนั้นซํ้า หรื อไม่กบ็ อกว่าสิ่ งที่พดู ไปมีอยูใ่ นตํารา หัวข้ออะไร -- บอกตรงๆ เลยว่าสิ่ งที่พดู นั้นสําคัญ เช่น “ที่น่าสนใจก็คือ...” นอกจากคําบอกใบ้จะทํา ให้เรารู ้ดว้ ยว่า ควรลําดับข้อมูลที่จะจดอย่างไรด้วย เช่น -- จดเป็ นขั้นตอน มีการใส่ ตวั เลข โดยคําพูดที่บอกในลักษณะนี้ คือ “อันดับแรก.…..” สิ่ งสําคัญ คือ...” “สาเหตุประการต่อไปได้แก่....” -- จดแบบเชื่อมโยงความสัมพันธ์ “เพราะฉะนั้น......ผลที่ตามาคือ………….” ในทางตรงกันข้าม...” 2. สั งเกตภาษากาย ท่าทางขณะบรรยายของผูส้ อนสามารถบอกอะไรนักศึกษาได้หลาย อย่าง เช่น -- ถ้าผูส้ อนเริ่ มมองออกไปทางหน้าต่าง แสดงว่าท่านกําลังบอกเป็ นนัยๆ ให้เรา “วาง ปากกาลงได้ เรื่ องนี้ไม่มีในข้อสอบหรอก” -- ถ้าท่านยืนตัวตรงหันมาสบตากับนักศึกษาทัว่ ห้อง แสดงว่าท่านเห็นว่าเรื่ องที่กาํ ลัง พูดเป็ นสิ่ งสําคัญ มารยาทในการฟัง การฟังในห้องเรี ยนอย่างสุภาพและตั้งใจ จะทําให้นกั ศึกษามีความเข้าใจในบทเรี ยนและ ได้รับความรู ้อย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วย การไปฟังการบรรยาย อภิปราย โต้วาที นอกสถานที่ ชมละคร หรื อภาพยนตร์ จะช่วยให้นกั ศึกษารอบรู ้และกว้างขวางยิง่ ขึ้น แต่ในขณะเดียวกันถ้าหากนักศึกษา ไม่มีมารยาทในการฟังแล้ว ก็จะเป็ นการรบกวนสมาธิของผูอ้ ื่นก่อให้เกิดความรําคาญ มารยาทจําเป็ นทุกโอกาส ผูฟ้ ังจึงต้องมีมารยาท กล่าวคือ ก. ไปถึงสถาที่ฟังก่อนเวลา เพื่อจัดหาที่นงั่ ให้เป็ นระเบียบไม่รบกวนผูอ้ ื่นขณะที่รอฟัง การพูดควรอยูใ่ นความสํารวมกิริยาและความสงบ


- 21 ข. แต่งกายให้ถูกกาลเทศะ ถ้าไปฟังเป็ นทางการ ควรสวมเสื้ อผ้าแบบสากลนิยม มีสีสนั รู ปแบบเรี ยบง่าย ไม่สวมรองเท้าแตะ รองเท้าฟองนํ้าเป็ นอันขาด ค. ให้เกียรติผพู ้ ดู ด้วยการปรบมือ เมื่อแนะนําตัว และเมื่อสิ้ นสุ ดการพูด ง. แสดงความสนใจฟัง ไม่นงั่ เอนหลังตามสบาย ครึ่ งหลับครึ่ งตื่น พูดคุยเสี ยงดัง โห่ฮา กระทืบเท้าแสดงความไม่พอใจ จ. ข้อสงสัย ควรจดบันทึกไว้ถามเมื่อมีโอกาส ฉ. ไม่ลุกขึ้นลงหรื อออกจากสถานที่ฟังก่อนสิ้ นสุ ดการพูด หากจําเป็ นต้องออก ควรแสดง ความเคารพผูพ้ ดู ก่อนออกไป ช. ไม่นาํ อาหาร เครื่ องดื่ม เข้าไปรับประทานระหว่างฟัง ลักษณะการฟังเหล่านี้ คือ การรับรู ้และสนับสนุนถึง ความรู ้สึกของ ผูพ้ ดู หรื อ อาจารย์ ผูบ้ รรยายตลอดเวลา ช่วยให้กาํ ลังใจ เอาใจใส่ และตั้งใจในการฟัง ให้เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ แม้วา่ ตอนแรก อาจจะอาศัยการฝึ กฝนเช่นนี้บา้ งก็ตาม และที่สาํ คัญกระตุน้ ให้ผพู ้ ดู ได้มีกาํ ลังใจในการ สนเทนาและช่วยเสริ มบุคลิกของการฟังได้เป็ นอย่างดี สามารถนําไปสู่ลกั ษณะของการเป็ นผูฟ้ ังที่ดี ให้แก่ตวั เอง --------------------------------------------------------------------------

ประเด็นชวนคิด 1. จงให้เหตุผลมาว่า ทําไมนักศึกษาจึงรู ้สึกว่ามันยากที่จะจําสิ่ งที่ได้ฟังในชั้นเรี ยน .................................................................................................................................................. 2. ใน 1 สัปดาห์ที่ผา่ นมา ลองอธิบายปัจจัยของการฟัง ดังต่อไปนี้ 2.1 สภาพแวดล้อม(ห้องเรี ยน / วิชาที่เรี ยน)............................................................................. ……………………………………………………………………………………………….. 2.2 สไตล์การสอนของอาจารย์ (บรรยาย อภิปราย ถาม-ตอบ)................................................ ................................................................................................................................................... 2.3 การเตรี ยมตัวของนักศึกษามาฟังบรรยายอยูในระดับไหน(น้อยที่สุด- มากที่สุดเพราะเหตุใด .................................................................................................................................................... 2.4 อุปสรรคที่ทาํ ให้การฟังไม่มีประสิ ทธิภาพ เนื่องมาจากอะไรบ้าง ..................................................................................................................................................... 3. สถานการณ์แบบใดที่นกั ศึกษาสามารถฟังได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ และรับรู ้ขอ้ มูลข่าวสารที่ อาจารย์ส่งมาให้ได้เต็มที่ ......................................................................................................................................................


- 22 -

2.4 ทักษะการจดโน้ ต (Note - Taking Skill) โน้ต (Note) เป็ นบันทึกชนิดหนึ่ง ที่เราทําขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลสําคัญๆ ของวิชาต่างๆ ที่เรา ต้องนํากลับมาใช้อีกในภายหลังและเพื่อสะดวกต่อการนํากลับมาใช้ สะดวกต่อการค้นหาข้อมูลใด ข้อมูลหนึ่ง การจดโน้ตนั้นหลายคนบอกว่า ไม่ใช่เรื่ องง่ายๆ เพราะเรามักจะรู ้สึกว่า เวลาจดโน้ตเราไม่ สามารถมองอาจารย์ได้ เราจดได้ไม่เร็ ว เราลืมไปว่าจะจดอะไรก่อน จดแล้วกลับมาอ่านไม่รู้เรื่ อง หรื อ ไม่ได้เลือกจดใจความสําคัญ เป็ นต้น แต่อย่างไรก็ตาม การจดโน้ตนั้นมีประโยชน์กบั นักศึกษา หลายประการ อาทิ 1. โน้ตของนักศึกษา จะช่วยให้นกั ศึกษามีขอ้ มูลที่ใช้ในการเรี ยนและการสอบ 2. การจดโน้ตช่วยให้นกั ศึกษากระตือรื อร้น ต้องคอยฟังและได้เรี ยนรู ้ไปด้วย 3. โน้ตของนักศึกษาจะช่วยให้นกั ศึกษาจัดลําดับความคิดต่างๆ ได้ 4. ข้อมูลบางอย่างที่อาจารย์บรรยายไม่มีอยูใ่ นตํารา ดังนั้นนักศึกษาจึงต้องจดโน้ต 5. โน้ตของนักศึกษาเป็ นแหล่งรวบรวมข้อมูลต่างๆ 6. ทักษะการจดโน้ต นักศึกษานําไปใช้ในงานอาชีพในอนาคตได้ การจดโน้ตที่ดีน้ นั ไม่วา่ จะจดแบบไหน สิ่ งสําคัญคือ มันต้องมีประโยชน์และเป็ นที่เข้าใจ สําหรับเรา (ยุดา รักษ์ไทย, 2550: หน้า 68) ลักษณะของโน้ ตทีม่ ีประสิ ทธิผล 1. ช่วยให้เราจําประเด็นสําคัญๆ ของเนี้อหาทั้งหมดได้ 2. ช่วยให้มองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างประเด็นสําคัญต่างๆ 3. ช่วยให้เราไม่ตอ้ งใช้เวลาในการทบทวนความรู ้ก่อนสอบมากนัก 4. ช่วยให้เราค้นหาข้อมูลในการทํางานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ (ก่อนไปค้นควรจดโน้ตว่า เราจะต้องการหาอะไร) หลังค้นก็ควรจดโน้ตว่าเราได้ขอ้ มูลอะไรมาบ้าง การเตรียมความพร้ อมในการจดโน้ ตก่อนเข้ าเรียนและจดโน้ ตในชั้นเรียน 1. เตรี ยมอ่านหรื อทําความเข้าใจกับเรื่ องที่จะเรี ยนมาก่อนเข้าชั้นเรี ยน 2. ควรใช้กระดาษฉี กชนิดเจาะรู เพื่อเข้าแฟ้ ม หรื อ ใช้สมุดจดแต่ละรายวิชา 3. เลือกระบบการจดโน้ตแบบใดแบบหนึ่งที่นกั ศึกษาถนัด 4. ใช้ระบบ “สนับสนุน” ในการจดโน้ตกับเพือ่ น 2 คนในชั้น ในกรณี ที่นกั ศึกษาขาด เรี ยน เพื่อนที่อยูใ่ นระบบจะได้ช่วยจดโน้ตแทน และนําข้อมูลมาแลกเปลี่ยนกัน


- 23 การจดโน้ ตในห้ องเรียน การจดบันทึกในห้องเรี ยน หรื อ Lecture Note แม้วา่ จะผ่านการเรี ยนกันมาหลายปี แต่กย็ งั ไม่มีวิธีตายตัว หลายคนจดโน้ตมาแล้วแต่อ่านของตัวเองไม่ได้ อ่านไม่รู้เรื่ อง ต้องไปยืมของเพื่อนมา อ่านอีก กลายเป็ นว่าเสี ยเวลาในห้องเรี ยนที่จะจดโน้ต แต่กเ็ สี ยเวลาเปล่า ครั้นจะไม่จดอะไรเลยก็ กลัวจะลืม เพราะว่าไม่มีใครจดโน้ตทุกคําพูดที่อาจารย์บรรยายได้ ดังนั้นนักศึกษาควรมีวิธีที่จะ เลือกบันทึกข้อมูลที่สาํ คัญลงไปในโน้ต อย่าลืมว่า นักศึกษาจะจดโน้ตได้ดี นักศึกษาจะต้องตั้งใจฟัง และเลือกข้อมูลสําคัญเพื่อบันทึกไว้ วิธีการจดโน้ ตทีด่ ีควรเริ่มจาก 1. ใส่ วนั ที่ และเลขหน้าทุกครั้งที่เริ่ มจดโน้ต เพื่อใช้ในการอ้างอิงได้ 2. ใส่ หวั ข้อสําคัญไว้ดา้ นบนของกระดาษ เช่น นโยบายภาษีอากรของรัฐ 3. จดหรื อบันทึกสิ่ งที่อาจารย์เน้นนักศึกษาก็จะรู ้วา่ อาจารย์เน้นโดยการสังเกตจาก บอกว่าเป็ นคําสําคัญ หรื อคําจํากัดความ ตัวอย่างที่ใช้เสริ ม

เขียนบน กระดาน

แนวคิดหลัก จดสิง่ ที่ อาจารย์

พูดยํ้าบ่อยๆ โดยใช้โทนเสี ยง

นํามาตั้งเป็ น คําถามสําคัญ

มีคาํ ที่บ่งบอกความสําคัญ เช่น ประเด็นหลักคือ ……………. สิ่ งที่ควรเน้น คือ ……………

4. คําจํากัดความต่างๆ และคําสําคัญนั้น นักศึกษาควรบันทึกหรื อจดไว้ทุกครั้ง 5. พยายามจดคําถามต่างๆ ที่อาจารย์ถามเพราะคําถามเหล่านี้ อาจปรากฎอยูใ่ นการสอบ 6. ควรจะเว้นกระดาษให้วา่ งไว้สกั 4-5 บรรทัด ระหว่างเรื่ อง หรื อ ประเด็นที่ต่างกัน เพื่อ นักศึกษาจะได้จดข้อมูลเพิ่มเติมบางอย่าง ในการทบทวน 7. พยามยามใช้รูปภาพหรื อแผนภาพต่างๆ ในการอธิบายแนวคิดที่อาจารย์บรรยาย


- 24 8. พยายามใช้ตวั ย่อเพื่อความรวดเร็วในการจดโน้ต แต่ตอ้ งเป็ นตัวย่อหรื อเครื่ องหมายที่ นักศึกษาคุน้ เคยหรื อคิดขึ้นมาเอง 9. ควรทําเครื่ องหมาย * , ขีดเส้นใต้ หรื อใช้ปากกาเน้นข้อความที่สาํ คัญ 10. ถ้าจดโน้ตแล้ว ไม่เข้าใจตรงไหน ให้เว้นที่ไว้พร้อมทําเครื่ องหมาย ? และหาโอกาสทํา ความเข้าใจ โดยอาจถามอาจารย์หลังเลิกเรี ยนพูดคุยปรึ กษากับเพื่อนหรื อหาข้อมูลเพิ่มเติมจากตํารา 11. โปรดระลึกไว้เสมอว่า โน้ตของนักศึกษานั้นเป็ นเพียงส่ วนหนึ่งของการเรี ยนรู ้เท่านั้น นักศึกษาจําเป็ นต้องอ่านหนังสื อหรื อตําราประกอบหลังจากเลิกเรี ยนด้วย จึงจะทําให้ความรู ้หรื อ การเรี ยนรู ้ของนักศึกษา “ลึกขึ้นและกว้างขึ้น” (deeper and wider) โน้ตของนักศึกษาจะเป็ นเครื่ องมือที่มีคุณค่ามาก เมื่อนักศึกษาได้ทบทวนโน้ตนั้นอย่าง สมํ่าเสมอ การทบทวนเป็ นประจํานั้นจะช่วยให้นกั ศึกษาจําประเด็นหรื อแนวคิดสําคัญได้ และ สามารถเชื่อมโยงแนวคิดใหม่ที่เรี ยนรู ้เพิ่มเติมในแต่ละวันได้ นักศึกษาควรทบทวนโน้ตทุกครั้ง ก่อนจะเริ่ มเรี ยนใหม่ นอกจากนี้ การทําสรุ ปย่อจากโน้ตของนักศึกษา ก็เป็ นอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยให้ นักศึกษาได้ทบทวนความรู ้ต่างๆ รู ปแบบการจดโน้ ต นักศึกษาจะเลือกใช้ระบบการจดโน้ตแบบใดนั้น ก็ข้ ึนอยูก่ บั ความชอบและความถนัดของ นักศึกษา ซึ่งวิธีการจดโน้ตวิชาคอมพิวเตอร์กบั วิชาภาษาอังกฤษ ก็อาจแตกต่างกันได้ รู ปแบบหรื อระบบของการจดโน้ตนั้น ที่ใช้กนั อยูโ่ ดยทัว่ ไปจะมี 3 รู ปแบบ คือ แบบ Outline แบบ Column และ แบบแผนภาพ ต่อไปนี้จะเป็ นการนําเสนอรู ปแบบการจดโน้ตตามลําดับ ดังนี้ รู ปแบบที่ 1 การจดโน้ ตแบบ Outline การจดโน้ตแบบนี้ เป็ นการจดโน้ตที่มีการจัดระบบอย่างดีมีหวั ข้อใหญ่และหัวข้อย่อยสลับ กันลงมา การจดโน้ตวิธีน้ ีจะช่วยให้ง่ายเข้า เมื่อนักศึกษาต้องทบทวนเวลาสอบ เพราะข้อมูลต่างๆ จะเรี ยงตามลําดับลงมา แต่การจะเลือกจดโน้ตแบบ Outline นี้ ก็ตอ้ งขึ้นอยูก่ บั ผูส้ อนด้วย ถ้าเนื้อหา ที่อาจารย์นาํ เสนอเป็ นการนําเสนออย่างมีระบบ นักศึกษาก็เลือกการจดโน้ตแบบ Outline ได้แต่ถา้ อาจารย์นาํ เสนอเนื้อหากลับไปกลับมา ไม่ได้จดั ลําดับเรื่ องมาอย่างดี นักศึกษาก็จะค่อนข้างลําบาก ที่จะใช้วิธีการนี้ การเลือกจดโน้ตแบบ Outline นี้ จะเหมาะกับวิชาที่นกั ศึกษาได้อ่านตําราหรื อหนังสื อ ประกอบมาล่วงหน้าแล้ว เพราะนักศึกษาจะคุน้ เคยกับหัวข้อต่างๆ และจดโน้ตได้อย่างเป็ นระบบ


- 25 -

ตัวอย่ าง วิธีจดโน้ตแบบ Outline ควรมีรูปแบบ ดังนี้

I.

II. III.

รู ปแบบ หัวข้ อใหญ่ แนวความคิดหลัก 1 1. ข้อเท็จจริ งเพื่อสนับสนุน 2. ข้อเท็จจริ งเพื่อสนับสนุน แนวความคิดหลัก 2 แนวความคิดหลัก 3 1. …………………………… 2. ………………………….. 2.1……………………. 2.2…………………….

I.

II. III.

ตัวอย่ าง วิธีการเก็บข้ อมูลจากลูกค้ า การเก็บข้อมูลโดยการสังเกต 1. การสังเกตโดยตรง 2. การสังเกตโดยใช้เครื่ องมือ การเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ การทดลอง 1……………………………… 2…………………………….. 2.1………………….. 2.2…………………..

รู ปแบบที่ 2 การจดโน้ ตแบบ Column การจดโน้ตแบบ Column นี้ อาจเรี ยกอีกชื่อหนึ่งว่า Cornell note-taking ซึ่งพัฒนาและใช้ กันมากว่า 45 ปี แล้ว โดย Walter Pauk แห่งมหาวิทยาลัยคอร์แนล และเป็ นระบบที่ใช้กนั อย่าง แพร่ หลาย เพราะเป็ นแบบที่ได้ผลและมีประสิ ทธิภาพมาก โดยนักศึกษาอาจจะแบ่งหน้ากระดาษ ออกเป็ น 3 ส่ วน คือ ส่ วนที่ 1 อยูด่ า้ นขวา เป็ นส่วนที่ใหญ่ที่สุด ใช้จดโน้ตแบบ Outline ส่ วนที่ 2 อยูด่ า้ นซ้ายเป็ นส่ วนที่ เรี ยกว่า Column ซึ่งจะยังไม่มีขอ้ มูลอะไรลงไปตอนจดโน้ต แต่จะกลับมาใส่ ขอ้ มูล ข้อคําถาม หรื อ รู ปภาพ เพื่อเชื่อมโยงความรู ้น้ นั ๆ ส่ วนที่ 3 เป็ นส่ วนที่อยู่ ด้านท้าย ซึ่งจะเว้นไว้ 2-3 บรรทัด เพื่อสรุ ปเนื้อหา หรื อ ประเด็น สําคัญของเรื่ อง นอกจากนี้ วิธีการจดโน้ตแบบ Column (Cornell Note Taking Method) Walter Pauk (1989) (from BYU website)ได้กล่าวไว้วา่ มันประกอบไปด้วย หลักสําคัญ 6 R ดังกล่าวต่อไปนี้ 1. Record (บันทึก) ให้จดบันทึกสิ่ งที่ได้เรี ยน และสิ่ งที่เป็ นความคิดของคุณลงไป แต่ไม่ ต้องจดละเอียดทั้งหมด พยายามจดอย่างย่อ พยายามใช้ตวั ย่อ หรื อใช้สญ ั ลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์ เพื่อให้จดบันทึกได้เร็ วขึ้น


- 26 2. Reduce (ย่ อ) หลังจากเรี ยนเสร็ จ ก่อนนอนให้อ่านโน้ตของตัวเองอีกครั้ง หรื อพยายาม เขียนให้สมบูรณ์ข้ ึน ให้ตวั เองอ่านได้เข้าใจมากขึ้น ถ้าสามารถสรุ ปความประเด็น หรื อย่อประเด็น และสร้างคําสําคัญของเรื่ องที่เรี ยนในหน้านั้นได้ดว้ ย ให้จดเพิม่ เติมไว้ขา้ งๆ ในการย่อความนี้อาจจะ เกิดปัญหา จะได้ความคิดว่าโน้ตที่จดมานั้นบอกอะไรกับเรา จึงให้จดคําสําคัญ แผนภาพความคิด หรื อปั ญหาที่เกี่ยวข้องไว้ดว้ ย(น่าจะใช้เวลาไม่เกินครึ่ งชัว่ โมงต่อการเรี ยน 1 คาบ(1ชัว่ โมง 15 นาที) 3. Recite (คิดใหม่ ) อ่านทบทวนอีกรอบ ด้วยความเข้าใจของตัวเราเอง พยายามพูดหรื อคิด ในอีกมุมหนึ่งที่เป็ นภาษาของตัวเอง ที่สามารถเข้าใจได้ง่าย โดยดูจาก คําสําคัญ และคําถามที่ได้เคย ตั้งไว้พยายามหาคําตอบจากโน้ตที่จดมา (อาจทําแค่สปั ดาห์ละสองครั้ง หรื อสัปดาห์ละครั้ง ครั้งละ ประมาณครึ่ งชัว่ โมง) 4. Reflect เป็ นการสั งเคราะห์ และเชื่อมโยงความร◌ู ◌้ เข้ากับความรู ้อื่นที่เรามี พยายามคิด ออกนอกตํารา หรื อจากโน้ตที่จดมา เช่น จะพัฒนาความรู ้น้ ีไปใช้จริ งได้อย่างไร เพราะเหตุใดเรื่ อง ที่เราเรี ยนนี้ถึงมีความสําคัญ เรื่ องที่เรี ยนนี้เกี่ยวข้องกับเรื่ องอื่นที่เรี ยนมาอย่างไร (อาจจะทําควบคูไ่ ป กับ Recite) หลังจากทํา Recite และ Reflect แล้ว อาจจะจดเพิ่มเติม สามารถสรุ ปประเด็น และจด เพิ่มเติมได้ในส่ วนข้างโน้ต (ที่เดียวกับที่จด Reduce) 5. Review พยายามอ่ านทบทวนและทําการคิดใหม่ (Recite) โดยการดูโน้ตที่จดมาบ่อย ๆ อย่างน้อยอาทิตย์ละครั้ง หรื อเดือนละครั้ง 6. Recapitulate (สรุ ป) หลังจากได้ทาํ การ 5R ดังที่กล่าวมาแล้ว ถึงคราวใกล้จะสอบ หรื อ ทําเมื่อความคิดกระจ่างชัดเจนแล้ว รู ้วา่ สิ่ งที่จดมานั้นมีความคิดรวบยอด (main idea) เป็ นอย่างไร ให้จดสรุ ปไว้ดา้ นล่างของโน้ต จากแนวคิด 6R นี้เห็นได้วา่ กระดาษโน้ตที่จดนั้น ควรจะแบ่งเป็ น 3 ส่ วน คือ ส่ วนที่ 1 จดเนื้อหาในห้องเรี ยน ส่ วนที่ 2 จดด้านข้างสําหรับ คํา สําคัญ ย่อประเด็น คําถาม ที่เกิดจาก Reduce Process ข้างต้น ส่ วนที่ 3 จดความคิดสรุ ป (Main idea) ไว้ดา้ นล่างของโน้ต


- 27 ตัวอย่ าง วิธีจดโน้ตแบบ Column ควรมีรูปแบบ ดังนี้ 20/4/2553 ทําไมพนักงานบางคน จึงมีทศั นคติทดี่ ีกว่ าคนอืน่ ๆ

แรงจูงใจ 1. วัตถุประสงค์หลักของทฤษฎี คือ 1.1 ………………………………………. 1.2 …………………………………………

Maslow’s Needs Theory 1. Physiological Need 2. Safety Need

สรุปทฤษฎีแรงจูงใจ .............................................. .................................................................................................... ............................................. ...................................................................................................

รู ปแบบที่ 3 การจดโน้ ต แบบแผนภาพ การจดโน้ตแบบนี้เป็ นการบันทึกข้อมูล โดยเชื่อมโยงความคิดให้อยูใ่ นรู ปของแผนภาพ หรื อ Mind map โดยใช้ภาพ รู ปทรงและ เส้นสายเข้ามาช่วย แต่วิธีการนี้จะทําค่อนข้างยาก เพราะถ้า นักศึกษามัวแต่คิดถึงภาพ รู ปทรงต่างๆ ก่อนจด อาจทําให้ลืมประเด็นสําคัญได้ ดังนั้น วิธีการนี้ จะใช้ได้ดีเมื่อนักศึกษานําโน้ตที่จดในชั้นเรี ยน มาแปลงเป็ นโน้ตแบบเชื่อมความคิด ซึ่งจะช่วยให้ จําได้ง่ายกว่าการจดเป็ นตัวอักษรมากๆ วิธีน้ ีช่วยให้เราจัดความคิดได้อย่างเป็ นระบบที่สุดและยังเป็ นการบันทึกที่ส้ นั ที่สุด และ สามารถจดจําได้ง่ายที่สุดก็วา่ ได้ แต่อะไรที่ดีที่สุดมักจะทํายากที่สุดเช่นกัน ก่อนที่เราจะเริ่ มทํา แผนภาพนั้น เราต้องอ่านหนังสื อเล่มนั้นให้จบเสี ยก่อน ต้องเข้าใจเนื้อเรื่ องอย่างถ่องแท้ จึงจะ


- 28 -

การที่เราจะจําให้ได้ดีน้ นั เราต้องอาศัยการคิดแบบเห็นภาพ ไม่ใช่การจําแบบตัวอักษรพูด ง่าย ๆ คือ การใช้จินตนาการเข้าช่วยในการจํา เช่น อาหารหลัก 5 หมู่ เราต้องเริ่ มจากทีมหลักก่อน แล้ววาดกิ่งก้านออกเป็ น 5 กิ่งตามจํานวนของหมู่อาหารหลักและแต่ละกิ่งก็เขียนชื่อหมู่อาหาร พอ ทําครบทั้ง 5 กิ่งแล้ว จึงค่อย ๆ แตกกิ่งย่อย เขียนรายเอียดของแต่ละหมู่อาหาร จากนั้นทําการลง สี สนั ให้กบั ข้อความหรื อรู ปภาพที่มาประกอบ เพราะสี สนั ที่สะดุดตา จะเป็ นตัวช่วยเพิ่มความจํา ส่ วนหนึ่งตัวอย่าง การจดโน้ต แบบแผนภาพ อาหารหมู่ 2

อาหารหมู่ 1 เนื้อสัตว์ ไข่ นม ถัว่ งา

อาหารหมู่ 3 ผักใบเขียวและพืชผักอื่นๆ

อาหารหลัก 5 หมู่

อาหารหมู่ 4 ผลไม้ต่างๆ

ข้าว แป้ ง นํ้าตาล เผือก มัน

อาหารหมู่ 5 นํ้ามัน ไขมัน ไขมันจากสัตว์

วิธีการจดโน้ ตให้ เร็วขึน้ นักศึกษาอาจใช้วิธีการของการจดชวเลข หรื อ การใช้สญ ั ลักษณ์ต่าง ที่นิยมใช้กนั อยู่ หรื อ สัญลักษณ์ที่นกั ศึกษาคิดขึ้นมาเองก็อาจช่วยให้การจดโน้ตนั้นเร็ วขึ้นได้ พอจะกล่าวได้ดงั นี้ 1. ใช้ สัญลักษณ์ มาตรฐานแทนคําต่ างๆ ซึ่งบางตัวมาจากวิชาคณิตศาสตร์ เช่ น หมายถึง , ทําให้เกิดผล + บวก เป็ นผลมาจาก # ตัวเลข เพิ่มขึ้น Q คําถาม ลดลง P หน้า * สําคัญที่สุด ∴ เพราะฉะนั้น ≈ ประมาณ < น้อยกว่า & และ > มากกว่า % เปอร์เซ็นต์ Δ การเปลี่ยนแปลง


- 29 2. ใช้ อกั ษร หรือ คําย่ อ จะเป็ นอักษรย่ อภาษาไทย แทนคําไทย อักษรย่ อภาษาอังกฤษแทน คําไทย ทีม่ าจากภาษาอังกฤษ ก็ได้ เช่ น ต.ย. ตัวอย่าง ร. 9 รัชกาลที่ 9 min. น้อยที่สุด IT เทคโนโลยีสารสนเทศ max. มากที่สุด สวล. สิ่ งแวดล้อม นอกจากนี้เราอาจมีสญ ั ลักษณ์หรื อคําย่อของเราเองตามความต้องการและความถนัด 3. การฝึ กตั้งคําถามจากโน้ ตย่ อ นักวิจยั ชื่อ Alison King (1992) ได้ทาํ การศึกษาวิจยั กับนักศึกษาในมหาวิทยาลัยและพบว่า นักศึกษาที่ฝึกตั้งคําถามจากโน้ตย่อของตนเอง จะได้คะแนน หรื อ เกรดดี กว่านักศึกษา ที่อ่าน หรื อ ท่องจําโน้ตอย่างเดียว เพราะการฝึ กตั้งคําถามจะช่วยให้นกั ศึกษาเตรี ยมพร้อมสําหรับการสอบ และ ฝึ กทักษะการคิดด้วย ตัวอย่างของคําถามที่ควรพิจารณา เช่น 1. ประเด็นหลักของเรื่ องคือ…………………………..…………………………………. 2. ข้อแตกต่างระหว่าง…………….………. และ…………… คืออะไร……………….. 3. นักศึกษาสามารถสรุ ปเรื่ องนี้ ได้อย่างไร…………..………………………………….. 4. จงอธิบายว่าทําไม…………………………………………………………………….. 5. จงอธิบายวิธีการ……………………………………………........................................ 6. จุดอ่อนและจุดแข็งของ………………………..…………………………………….... คือ……………………..…………………………………………………………….. 7. สิ่ งที่สาํ คัญที่สุดคือ....................................................ทําไมจึงเป็ นเช่นนั้น…………….. สรุ ป การจดโน้ตนั้น เป็ นกระบวนการที่นกั ศึกษาเลือกสรร และบันทึกข้อมูลที่สาํ คัญ ลงไป การบันทึกที่ดี ต้องมีการเตรี ยมการก่อนจด ต้องเลือกรู ปแบบที่เหมาะสม ใช้ตวั ย่อ สัญลักษณ์ และ ต้องนําโน้ตมาทบทวน ก่อนเข้าเรี ยนชัว่ โมงต่อไปเสมอ โน้ตของนักศึกษาจึงจะเกิดประโยชน์สูงสุ ด


- 30 -

แบบฝึ กหัด : การจดโน้ ต 1. การจดโน้ต จะช่วยให้นกั ศึกษาประสบความสําเร็ จในการเรี ยนได้อย่างไร(ตอบมา 3 ประการ) 1.1 ……………………………………………………………………………………………… 1.2 ……………………………………………………………………………………….…….. 1.3 ……………………………………………………………………………………..………. 2. จงบอกขั้นตอนของการจดโน้ตว่า แต่ละขั้นตอนควรทําอย่างไร 2.1 ก่อนเข้าเรี ยน .…………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………..………….. ……………………………………………………………………………………..………….. 2.2 ระหว่างอยูใ่ นชั้นเรี ยน………………………………………………….…………………. ……………………………………………………………………………………..………….. ……………………………………………………………………………………..………….. 2.3 หลังเลิกเรี ยน…………………………………………………………….……………….. ……………………………………………………………………………………..…………. ……………………………………………………………………………………..………….. 3. จงยกตัวอย่างวิชาที่นกั ศึกษาลงเรี ยนมา 1 วิชา และบอกด้วยว่านักศึกษาใช้การจดโน้ตระบบใด และทําไมจึงเลือกรู ปแบบนั้น ……………………………………………………………………………………..…………. ……………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………..………… 4. ให้นกั ศึกษาคิดค้นสัญลักษณ์หรื อตัวย่อที่นกั ศึกษาใช้บ่อย ๆ ในการจดโน้ต (ยกตัวอย่างมา ประมาณ 5 ตัวอย่าง) ……………………………………………………………………………………..……….. ……………………………………………………………………………………..………. ……………………………………………………………………………………..………. ……………………………………………………………………………………..………. ……………………………………………………………………………………..………..


- 31 -

2.5 ทักษะการจํา (Remembering Skill) การจํา คือ กระบวนการที่สมองสามารถเก็บสะสมสิ่ งที่ได้รับรู ้ไว้และสามารถเรี ยกคืน ข้อมูล ที่เราได้เรี ยน หรื อมีประสบการณ์กลับคืนมาได้ หรื อการเรี ยกคืนข้อมูลประสบความ ล้มเหลว เราเรี ยกว่า การลืม คนเราลืมสิ่ งต่าง มากกว่าที่จะจําได้ สําหรับตัวอักษร คําบรรยาย และ รู ปภาพหรื อแผนภาพนั้น คนเราจะจําอะไรได้ดีกว่ากัน จากการสํารวจจะพบว่า คนส่ วนใหญ่จะจํา ภาพ หรื อแผนภาพ (Diagram) ได้ดีกว่าคําบรรยายต่างๆ ดังนั้นวิธีที่จะเพิ่มความจําของนักศึกษา นั้น ก็สามารถทําได้โดยการจําคําบรรยายที่อยูใ่ นรู ปแบบที่แตกต่างกัน ดังจะกล่าวต่อไปนี้ 1. การทําแผนภูมติ ้ นไม้ (Tree Diagram) เป็ นการแบ่งหัวข้อใหญ่ออกเป็ นหัวข้อหรื อ ประเด็นย่อยๆ โดยอาศัยหัวข้อจากเอกสารข้อมูลที่เรามีอยูท่ ้ งั หมด ลักษณะของแผนภูมิแบบนี้ จะ เหมือนกับการแตกแขนงของกิ่งก้านของต้นไม้ โดยยึดหลักการแตกของกิ่งก้านเป็ นหลัก หรื อแนว เส้นของแผนภูมิ โดยจะแสดงให้เห็นว่า สิ่ งหนึ่งสามารถจําแนกออกเป็ นส่ วนย่อยได้อีกหลายส่วน เปรี ยบเสมือนต้นไม้ที่แตกกิ่งออกไป เช่น อาหาร แบ่งออกมี 2 ประเภท คือ 1) ประแภทผัก ได้แก่ มันฝรั่ง ข้าวโพด ถัว่ และประเภทผลไม้ ได้แก่ ส้ม ฝรั่ง แอ็ปเปิ้ ล เป็ นต้น ดังตัวอย่างต่อไปนี้ อาหาร ผัก มันฝรั่ง ข้ าวโพด ถัว่

ผลไม้ ส้ ม

ฝรั่ง

แอ็ปเปิ ล้

2. แผนทีแ่ นวคิด (Concept Map) แผนที่แนวคิด (Concept Map) เป็ นเทคนิคที่จะแสดงให้เห็นถึงความรู ้ที่มีลกั ษณะเป็ น แผนภาพที่มีการเชื่อมโยงกันระหว่างแนวคิด/ความคิด เป็ นเครื อข่ายที่เชื่อมโยงกันที่ประกอบด้วย หัวข้อ ในแต่ละหัวข้อก็จะแสดงให้เห็นถึงแนวคิดที่มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน แนวคิด (Concept) จะมีป้ายชื่อ (label) แสดง ความสัมพันธ์น้ นั ๆ อาจจะไม่มีการเชื่อมโยง หรื อ อาจจะมีการเชื่อมโยง ความสัมพันธ์ หนึ่ง สอง หรื อ สามหรื อมากกว่านั้น แล้วแต่ประเภท ความคิด ที่มีความเกี่ยวข้องกัน วัตถุประสงค์ในการใช้ ดังนี้ 1. สร้างความคิด / แนวคิด ( ด้วยการระดมสมอง หรื ออื่น ๆ) 2. ออกแบบโครงสร้างที่มีความซับซ้อน 3. ต้องการสื่ อสารให้เห็นถึงแนวคิดที่ลึกซึ้ง ซับซ้อน 4. ช่วยให้ผเู ้ รี ยนได้บูรณาการความรู ้ใหม่ และเก่า เข้าด้วยกัน 5. ช่วยสร้างความเข้าใจ หรื อ วินิจฉัยความผิดพลาดที่เกิดจากความเข้าใจผิด


- 32 การสร้างแผนที่แนวคิด เป็ นยุทธศาสตร์การเรี ยนรู ้ ที่มีประสิ ทธิภาพ เป็ นเครื่ องมือทาง ปั ญญา ที่จะช่วยในการวางแผน การทํางาน การวิเคราะห์ การจัดระเบียบความคิด และยังสามารถ ใช้เป็ นเครื่ องมือในการนําเสนอในสิ่ งที่ผเู ้ รี ยนรู ้ คิดอะไร อย่างไร และ แต่ละความแนวคิดมีการ เชื่อมโยง สัมพันธ์กนั อย่างไร โดยผูเ้ รี ยนจะเป็ นผูค้ น้ หาแนวคิด ข้อมูลสําคัญ ที่จะนํามาสร้างเป็ น เครื อข่ายให้มีการเชื่อมโยง เป็ นการสนับสนุนการเรี ยนรู ้อย่างมีความหมาย ตัวอย่างเช่นจากข้อความต่อไปนี้ “ระบบความจําของมนุษย์น้ นั ประกอบด้วย หน่วยความจํา 3 ส่ วนด้วยกัน คือ หน่วยความจําจากการสัมผัส (เห็น ได้ยนิ เป็ นต้น) ซึ่งจะส่ งข้อมูลไปยังหน่วยความจําระยะสั้น และ หน่วยความจําระยะสั้นอาจส่ งข้อมูลไปยังหน่วยความจําระยะยาว สําหรับหน่วยความจําระยะแรก หรื อหน่วยความจําจากการสัมผัสนั้น อาจแบ่งออกได้ เป็ น ความจําจากการเห็นภาพ ซึ่งเราจะจําได้ประมาณ 0.1 วินาที ส่ วนความจําระยะสั้นนั้น อาจคงอยู่ ประมาณ 30 วินาที และอาจจําได้ 7-8 อย่างในเวลาเดียวกัน ส่ วนหน่วยความจําระยะยาวนั้น จะคง อยูเ่ ป็ นเวลาหลายนาทีถึงคงอยูห่ รื อจําได้ตลอดชีวิต” จากข้อความบรรยายข้างต้น นักศึกษาอาจเขียนเป็ น Concept Map ซึ่งจะช่วยให้จาํ ได้ง่ายขึ้นดังนี้ หน่ วยความจํา ของมนุษย์

ประกอบด้วย หน่วยความ จําจากการ

คงอยู่

ประกอบด้วย

จําจาก เห็นภาพ

หน่วยความ จําระยะสัน้

อาจส่ งข้อมูล

จําจาก ได้ ยิน

30 วิ

อาจส่ งข้อมูล

อาจจําได้ 7-8 อย่าง

หน่วยความ จํา

คงอยู่ หลายนาทีหรื อ ตลอดชีวิต


- 33 วิธีการทํา Concept Map ก็คือ พยายามจัดลําดับความสําคัญ ดู Key Word และ เลือกเนื้อหาที่สาํ คัญ จากนั้นนํามาบรรจุไว้ในรู ป หรื อแผนภาพ ที่กาํ หนดขึ้นเอง 3. การจําโดยใช้ตวั ย่อในการผสมคํา เช่น การตั้งเป้ าหมายหรื อ Goals นั้น ควรจะมี ลักษณะ SMART ซึ่งหมายความว่า ลักษณะของเป้ าหมายที่จะตั้งนั้น ควรมีองค์ประกอบดังนี้ S-Specific M-Measurable A-Attainable R-Realistic T–Time

มีลกั ษณะเฉพาะเจาะจง ต้องสามารถวัดได้ ต้องสามารถไปถึงได้ ไม่ใช่ต้ งั เป้ าหมายที่ยาก หรื อสูงส่ ง เกินกว่าที่จะทําได้ เป็ นเป้ าหมายที่ต้ งั อยูบ่ นพื้นฐานความจริ ง ไม่เพ้อฝัน เป้ าหมายที่ดีตอ้ งมีการกําหนดเวลาไว้ดว้ ย เป็ นต้น

การพัฒนาความจําในการเรียน 1. การสร้างสมาธิในการเรี ยน โดยการใช้พลังความสามารถทางสติปัญญาใน ขณะเรี ยนรู ้ ใจจดจ่ออยูก่ บั เนื้อหาที่เรี ยน กําจัดสิ่ งรบกวนจิตใจออกไป สมาธิในการเรี ยนที่ดี จะช่วยให้ กระบวนการเรี ยนรู ้มีประสิ ทธิภาพและนําไปสู่ การเก็บข้อมูลรวบรวมไว้เป็ นความจําระยะยาว 2. การกําหนดโครงสร้างการอ่านทบทวนสาระวิชา มีสิ่งสําคัญอยู่ 3 ประเด็นคือ 2.1 เป้ าหมายการอ่าน ต้องมีเป้ าหมายที่ชดั เจนเป็ นรู ปธรรม เช่น เรื่ องที่จะ อ่าน กําหนดเวลาในการอ่าน และการทําบันทึกย่อสรุ ปเนื้อหา 2.2 การจัดลําดับเรื่ องที่จะอ่านให้คละวิชากันไป จะเป็ นการเพิ่มความน่าสนใจในการ เรี ยน และความจําทั้งระยะสั้นและระยะยาวจะถูกนํามาใช้งานอย่างสมํ่าเสมอ 2.3 การจูงใจตนเอง โดยการให้รางวัลกับตนเอง เป็ นส่ วนหนึ่งของกระบวนการทาง จิตวิทยาที่ช่วยให้บุคคลมีการพัฒนาพฤติกรรมที่พึงประสงค์ 3. สร้างนิสยั รักการอ่านอย่างต่อเนื่องและสมํ่าเสมอ เพราะการอ่านอย่างเร่ งรี บในช่วง ระยะเวลาสั้น ๆ ใกล้สอบนั้น ไม่สามารถเก็บความจําได้อย่างที่ตอ้ งการ 4. ใช้เครื่ องมือช่วยจํา เช่น การบันทึกเนื้อหาเป็ นเสี ยงไว้ฟังแทนการอ่าน การใช้ตวั ย่อ หรื อศัพท์เฉพาะ หรื อนิยาม หรื อตัวอย่างอธิบายช่วยจํา บางทีเราอาจจําคําจํากัดความทั้งหมด ไม่ได้ แต่หากอ่านตัวอย่างที่ประกอบซํ้า ก็จะช่วยให้เข้าใจความหมายได้ดีข้ ึน 5. ใช้ภาพสื่ อความหมาย บางคนใช้ประโยชน์ได้ดีกบั ความจําแบบกล้องถ่ายรู ปภาพเพียง 1 ภาพ สามารถสื่ อความหมายได้มากกว่าข้อความเป็ นร้อยคํา ดังนั้นเมื่อศึกษาเอกสารลองให้ความ สนใจกับรู ปภาพประกอบในหนังสื อ แผนภูมิ หรื อวาดภาพด้วยตนเองเพื่อแสดงถึงองค์ประกอบที่


- 34 -

6. แลกเปลี่ยนความรู ้กบั เพื่อน เราอาจสร้างกลุ่มเพื่อนเพื่อผลัดกันสอน ก็จะช่วยในการ เรี ยนรู ้ ทําให้เข้าใจบทเรี ยนได้ดียงิ่ ขึ้น อีกทั้งยังพัฒนาความจําและสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างกัน 7. ให้ความสนใจเป็ นพิเศษกับเนื้อหาส่ วนที่ยาก ควรให้เวลาค่อนข้างมากสักนิดโดยอาศัย การทบทวนบันทึกย่อ การตั้งโจทย์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง ก็จะเป็ นการยํ้าความจําให้คงอยูแ่ ละ นําไปใช้ประโยชน์ได้ 8. พยายามฝึ กตัวเองให้อ่านที่ไหน หรื ออ่านเมื่อไหร่ กไ็ ด้ โดยลองปรับเปลี่ยนช่วง เวลา หรื อสถานที่อ่านหนังสื อบ้าง เช่น หากคุน้ เคยกับการอ่านในห้องส่ วนตัว ก็ลองเปลี่ยนสถานที่อื่น บ้าง หรื อเคยอ่านในช่วงตอนกลางคืน ก็ลองใช้เวลาทบทวนในตอนเช้าบ้าง การเปลี่ยนบ้างเล็ก ๆ น้อย ๆ จะทําให้เรามีความยืดหยุน่ และฉับไวมากขึ้นในการดึงความจําระยะยาวออกมาใช้งาน ไม่มีใครรู ้อย่างแน่ชดั ว่าสมองของมนุษย์สามารถเก็บรวบรวม สะสมข้อมูลได้มากน้อย เพียงใด และมีโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเป็ นอย่างไร หากเรารู ้จกั วิธีการที่จะเปลี่ยนรหัสข้อมูล ความรู ้ ความเข้าใจ เป็ นความจํา และมีการเก็บสะสมข้อมูลหรื อความจําได้อย่างเป็ นระบบมี กระบวนการเรี ยกความจําที่เป็ นประโยชน์มาใช้งานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ เราก็จะสามารถพัฒนา กระบวนการเรี ยนรู ้ของตนเองให้มีประสิ ทธิภาพมากขึ้นกว่าเดิม เทคนิคการจํา นอกจากวิธีการข้างต้นแล้ว ยังมีเทคนิคที่ช่วยในการจํา ดังนี้ 1. ตั้งใจจํา อ่านด้วยความมุ่งหมายในทางที่ดี แจ่มใสและมัน่ ใจ จะช่วยให้จาํ ได้ 2. เข้ าใจเนือ้ หา จงอย่าจําในสิ่ งที่ไม่เข้าใจ ต้องทําความเข้าใจก่อนที่จะจํา 3. เลือกจําเฉพาะเนือ้ หาทีส่ ํ าคัญๆ เพราะมีสิ่งที่ตอ้ งจํามากมาย จึงควรจําเฉพาะที่สาํ คัญ เพื่อช่วยให้จาํ ได้มากขึ้น และจําในสิ่ งที่ควรจํา 2. มองข้ อเท็จจริงต่ างๆให้ สัมพันธ์ กนั ขณะอ่านให้สงั เกตความสัมพันธ์ของข้อเท็จจริ ง 3. ทําโน้ ตย่ อ รวบรวมเนื้อหาอย่างมีระบบและเป็ นขั้นตอน จดโน้ตย่อเฉพาะใจความ สําคัญตามลําดับหัวข้อของการบรรยาย 4. ทบทวนหลังจากทีเ่ พิง่ เรียนผ่ านไป จะช่วยให้จาํ ได้นานและจําได้มากขึ้น 5. ท่ องจําทีละน้ อย ในการท่องจําไม่ควรนานต่อเนื่องกันเกิน 20 นาที 6. ใช้ ประโยชน์ จากวิธีจําทีถ่ นัด เช่น ท่องดังๆหรื อลงมือเขียนไปด้วยแล้วแต่วิธีที่ได้ผล 7. จงเรียนให้ มากกว่ าทีก่ าํ หนดไว้ 8. ฝึ กจําอยู่เสมอ ทุกโอกาสทีว่ ่ าง


- 35 -

แบบฝึ กหัดทบทวน 1. นักศึกษามีเทคนิคหรื อวิธีอ่านหนังสื อหรื อตําราเรี ยนให้จาํ ได้อย่างไร ………………………………………………………………………… แนวคําตอบ สมาธิเป็ นสิ่ งสําคัญมากในการอ่านหนังสื อ การอ่านหนังสื อให้มีประสิ ทธิภาพ ต้องมี สมาธิดีใครที่สมาธิส้ นั จะจํายากลืมง่าย ใครสมาธิดีจะจําง่ายลืมยาก การอ่านหนังสื อ ต้องอ่าน ต่อเนื่องอย่างน้อย ชัว่ โมงครึ่ ง 30 นาทีแรก จิตใจของเรากําลังฟุ้ ง ให้พยายามปรับให้นิ่ง 60 นาที หลัง ใจนิ่งมีสมาธิแล้ว ก็พร้อมรับสิ่ งใหม่เข้าสู่ สมองที่สาํ คัญอย่าเอาขยะมาใส่ หวั ห้ามคิดเรื่ องพวก นี้สกั กพัก เช่นเรื่ องหนัง เกม แฟนพยายามออกกําลังกาย ดูแลสุ ขภาพ สิ่ งเนี้จะช่วยให้จิตใจเรานิ่งขึ้น 2. ฝึ กทักษะการพัฒนาประสิ ทธิภาพ ความจํา การคิดเชิงสร้ างสรรค์ มีวธิ ีการดังนี้ - วิทยากรนํารายการของสิ่ งต่าง ๆ รวม 30 อย่าง ฉายบนกระดานให้ทุกคนในห้องดูประมาณ 10 นาที หลังจากนั้นจะให้กระดาษที่มีรายการของสิ่ งต่าง ๆ 90 อย่าง โดยมีรายการของ 30 อย่างที่ ให้ดูในครั้งแรกปรากฎอยูด่ ว้ ย -ทุกคนในห้องขีดเส้นใต้ของที่สามารถจําได้ 30 อย่าง แล้ววิทยากรก็เฉลยว่ามีอะไรบ้าง และ ให้ทุกคนดูวา่ แต่ละคนจําได้กี่อย่าง และให้คะแนนเต็ม คือ 30 คะแนน - คนที่ได้คะแนนสูงสุ ด และ คะแนนรองลงมา ให้ออกมาหน้าห้องเพื่อทดสอบประสิ ทธิภาพ ความจําอีกครั้งหนึ่งโดยวิธีการ ดังนี้ - ให้ทุกคนในห้องบอกรายการของสิ่ งที่เป็ นรู ปธรรมคนละ 1 คํา โดยให้ลาํ ดับของสิ่ งนั้น เช่น ลําดับที่ 1 โต๊ะ ลําดับที่ 2 ดินสอ ลําดับที่ 3 เครื่ องปรับอากาศ ลําดับที่...... ...................... ลําดับที่ 30 กระทะ - วิทยากรและผูท้ ดสอบเป็ นผูจ้ าํ รายการ และลําดับของสิ่ งต่าง ๆ เหล่านั้น - หลังจากนั้นแต่ละคนในห้องจะถามถึงรายการและลําดับของสิ่ งที่ตนเองบอก โดยวิทยากร และผูท้ ดสอบจะเป็ นผูต้ อบ - สุ ดท้ายผูท้ ดสอบจะจํารายการและลําดับของคําได้ไม่เกินคนละ 10 คํา แต่วิทยากรสามารถ จําได้ท้ งั หมด 30 คํา เฉลย : วิทยากรใช้วิธีการสร้างจินตนาการในการจํา


- 36 -

2.6 ทักษะการคิด ในบทนี้ นักศึกษา จะได้เรี ยนรู ้ ทกั ษะต่างๆ ที่ จะมี คุณค่าอย่างยิ่งต่อการช่ วยเสริ มสร้ างพลัง ให้กับสมอง ทักษะเหล่านี้ ไม่ได้จะทําให้นักศึกษากลายเป็ นอัจฉริ ยะในชั่วข้ามคึน แต่ถา้ หมัน่ เพียร เพื่อให้ได้มาซึ่ งทักษะที่มีประโยชน์ และฝึ กนําเอาเทคนิ คต่างๆ ไปใช้ปฏิบตั ิในสถานการณ์จริ ง ความ เชื่อมัน่ และความมีประสิ ทธิผลในตัวเองก็จะได้รับการพัฒนาให้ดีข้ ึนได้อย่างไม่ตอ้ งสงสัย

แนวคิด วิธีการคิดแบบเดิมที่สอนกันอยู่ในสถาบันการศึกษานั้น เป็ นวิธีการคิดด้วยเหตุผลหรื อวิธีการ คิดด้วยหลักตรรกวิทยา ซึ่ งใช้กนั มา กว่าสองพันห้าร้อยปี มาแล้ว ซึ่ งเมื่อเวลาผ่านมาถึงปั จจุบนั ความ เหมาะสมก็เริ่ มลดลงและไม่เหมาะกับปั จจุบนั เนื่ องจาก เป็ นวิธีการคิดที่มีขอบเขตจํากัดไม่เหมาะสม กับเหตุการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ วและเป็ นการคิดที่ยึดถือกันมานานจนทําให้ไม่คน้ หา วิธีการคิดใหม่ๆ ที่มีประสิ ทธิภาพมากขึ้นกว่าเดิม มาใช้ในการแก้ปัญหาที่ต่างไปจากเดิม

ความหมายของการคิด ฮิลการ์ด ( Hilgard ) กล่าวว่า การคิดเป็ นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในสมอง อันเนื่องมาจากการใช้ สัญลักษณ์แทนสิ่ งของ เหตุการณ์หรื อสถานการณ์ต่าง ๆ บรู โน (Bruno ) กล่าวว่า การคิดเป็ น กระบวนการทางสมองที่ใช้สญ ั ลักษณ์ จินตภาพ ความคิดเห็น และความคิดรวบยอด แทนประสบการณ์ ในอดีต ความเป็ นไปได้ในอนาคต และความเป็ นจริ งที่ปรากฏ การคิดจึงทําให้คนเรามีกระบวนการทาง สมองในระดับสู ง กระบวนการเหล่านี้ได้แก่ ตรรกศาสตร์ คณิ ตศาสตร์ ภาษา จินตนาการ ความใส่ ใจ เชาวน์ปัญญา ความคิดสร้างสรรค์ และอื่นๆ มากาเรต ดับบลิว แมทลิน (Matlin ) กล่าวว่า การคิดเป็ น กิจกรรมทางสมอง เป็ นกระบวนการทางปัญญา ซึ่งประกอบด้วย การสัมผัส การรับรู ้ การรวบรวม การ จํา การรื้ อฟื้ นข้อมูลเก่าหรื อประสบการณ์ โดยที่บุคคลนําข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ เก็บไว้เป็ นระบบ การคิด เป็ นการจัด รู ปแบบของข้อมูลข่าวสารใหม่กบั ข้อมูลเก่า ผลจากการจัดสามารถแสดงออกมาภายนอกให้ ผูอ้ ื่นรับรู ้ได้ สามารถสรุ ปได้วา่ การคิด เป็ นกระบวนการที่เกิดขึ้นในสมอง ที่ใช้สญ ั ลักษณ์ หรื อภาพ แทน สิ่ งของ เหตุการณ์หรื อสถานการณ์ต่าง ๆโดยมีการจัดระบบความรู ้ ข้อมูล ข่าวสารซึ่งเป็ นประสบการณ์ เดิมกับประสบการณ์ใหม่หรื อสิ่ งเร้าใหม่ ที่ไปได้ ทั้งใน รู ปแบบ ธรรมดาและสลับซับซ้อน ผลจากการ


- 37 -

โครงสร้ างทางสมองกับการคิด สมองเป็ นอวัยวะหนึ่งของร่ างกาย ที่เป็ นศูนย์รวมของระบบประสาท เป็ นศูนย์กลางในการ ควบคุมและจัดระเบียบการทํางานทุกชนิดของร่ างกาย สมองของมนุษย์ ประกอบด้วยเซลล์ สมอง ประมาณ ร้อยล้านล้านเซลล์ (พัชรี วลั ย์ เกตุแก่นจันทร์, 2542 :7) ซึ่งเป็ นจํานวนที่ไม่แตกต่างกัน ระหว่าง ทารกแรกเกิดกับผูใ้ หญ่ แต่ในผูใ้ หญ่เซลล์สมอง จะมีขนาดใหญ่และยาวกว่า และจะมีจาํ นวนเดนไดรท์ (dendrite) ของเซลล์สมองมากขึ้น ทําให้การเชื่อมโยงระหว่าง เซลล์สมองมากขึ้น โดยเซลล์สมองเซลล์ หนึ่ง ๆ จะเชื่อมโยงไปยังเซลล์สมองเซลล์อื่น ๆ อีกสองหมื่นห้าพันเซลล์ เพื่อส่ งข่าวสารกัน โดยกระแส ประสาท จะเกิดปฏิกิริยาเรี ยกว่า synapse แล้วแต่วา่ จะเป็ นด้านรับ - ส่ งสัมผัสต่าง ๆ เช่น ปฏิกิริยาการ เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อ ความรู ้สึก ความจํา อารมณ์ท้ งั หลาย ฯลฯ จึงผสมผสานกันขึ้นกลายเป็ นการเรี ยนรู ้ นํา ไปสู่ การปรับตัว อย่างเฉลียวฉลาดของมนุษย์แต่ละคน รอเจอร์ สเพอร์รี และ รอเบิร์ต ออร์นสไตน์ จากสถาบันเทคโนโลยีแห่งแคลิฟอร์เนีย ได้รับ รางวัลโนเบลใ นปี ค. ศ. 1972 จากการค้นคว้า พบว่าสมองของคนเรา แบ่งออกเป็ น 2 ซีก คือ สมองซีก ซ้าย (Left Hemisphere) กับสมองซีกขวา (Right Hemisphere) และแต่ละซีกมีหน้าที่ที่แตกต่างกันดังนี้ สมองซีกซ้าย สมองซีกซ้ายจะควบคุมดูแลพฤติกรรมของมนุษย์ใน เรื่ องต่างๆ ต่อไปนี้ 1. การคิดในทางเดียว (คิดเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง) 2. การคิดวิเคราะห์ (แยกแยะ) 3. การใช้ตรรกศาสตร์และการใช้เหตุผลเชิงคณิ ตศาสตร์ 4. การใช้ภาษา มีท้ งั การอ่านและการเขียน สรุ ปได้วา่ สมองซีกซ้าย จะควบคุมดูแลพฤติกรรมของมนุษย์ ที่เกี่ยวกับการใช้เหตุผล การคิด วิเคราะห์ ซึ่งเป็ นลักษณะ การทํางานในสายของวิชาทางวิทยาศาสตร์ (Sciences) เป็ นส่ วนใหญ่ นอกจากนี้สมองซีกซ้ายยังเป็ น ตัวควบคุม การกระทํา การฟัง การเห็น และการสัมผัสต่าง ๆ ของ ร่ างกายทางซีกขวา


- 38 สมองซีกขวา สมองซีกขวาจะควบคุมดูแลพฤติกรรมของมนุษย์ในเรื่ องต่างๆ ต่อไปนี้ 1. การคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking ) 2. การคิดแบบเส้นขนาน ( คิดหลายเรื่ อง แต่ละเรื่ องจะไม่เกี่ยวข้องกัน) 3. การคิดสังเคราะห์ ( สร้างสิ่ งใหม่) 4. การเห็นเชิงมิติ ( กว้าง ยาว ลึก) 5. การเคลื่อนไหวของร่ างกายความรัก ความเมตตา รวมถึงสัญชาติญาณ และลางสังหรณ์ต่าง ๆ สรุ ปได้วา่ สมองซีกขวาจะควบคุม ดูแลพฤติกรรมของมนุษย์ ที่เกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ จริ ยธรรม อารมณ์ ซึ่งเป็ นลักษณะการทํางานในสายของวิชาการทางศิลปศาสตร์ ( Arts ) เป็ นส่ วนใหญ่ และยังเป็ นตัวควบคุม การทํางานของร่ างกายทางซีกซ้ายด้วย การศึกษาในมหาวิทยาลัยระบบเดิม ให้ความสําคัญกับการใช้สมองซีกซ้าย ส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยน ได้รับการฝึ กฝนความสามารถในการใช้เหตุผล การใช้ภาษาอย่างมาก อยากให้เด็ก ๆ มีอาชีพ เป็ นแพทย์ เป็ นนักวิทยาศาสตร์ ส่ วนการส่ งเสริ มทางด้านความคิดสร้างสรรค์มีนอ้ ย ดังเช่น “ว่านอนสอนง่าย” “เดินตามผูใ้ หญ่หมาไม่กดั ” ต่อมาเห็นความสําคัญกับการใช้สมองซีกขวา เช่น การส่ งเสริ มการแสดง ออกแบบต่าง ๆ การส่ งเสริ มสนับสนุนให้เด็กเรี ยนทางด้าน การออกแบบ การแสดง การประชาสัมพันธ์ จากการที่สมองทั้ง 2 ซีกทําหน้าที่ต่างกัน เราจึงสามารถสรุ ปเกี่ยวกับลักษณะของบุคคลซึ่ง ใช้สมองด้าน ใดด้านหนึ่งมากกว่าอีกด้าน หนึ่งได้ ดังนี้ สําหรับคนที่ทาํ งานโดยใช้สมองซีกขวามากกว่าซีกซ้าย จะมี ลักษณะเด่นที่แสดงออกคือ เป็ นคนที่ทาํ อะไร ตามอารมณ์ตนเอง อาจมีอารมณ์อ่อนไหวได้ง่าย แต่จะ เป็ นคนที่มีความคิดสร้างสรรค์ สู งเหมาะสําหรับการเป็ น นักออกแบบ เป็ นศิลปิ น สําหรับคนที่ทาํ งานโดยใช้สมองซีกซ้ายมากกว่าซีกขวา จะมีลกั ษณะเด่นที่แสดงออกมาดังนี้คือ ทํางานอย่างเป็ นระบบ เป็ นขั้นเป็ นตอน เป็ นเหตุเป็ นผล ด้วยความคิดเชิงวิเคราะห์ เปรี ยบเทียบ เหมาะ สําหรับงานทางด้านวิทยาศาสตร์ การออกแบบระบบงานต่าง ๆ แต่อาจทําให้ไม่ได้คาํ นึง ถึงจิตใจของ คนรอบข้างมากนัก จากข้อสรุ ปดังกล่าว จะเห็นว่าถ้าเราใช้สมองด้านใดด้านหนึ่งมากกว่าอีกด้านหนึ่ง อาจจะทําให้ เกิดผลเสี ยได้ ดังนั้นเราทุกคนควรใช้สมองทั้งสองซีก เมื่อเจอปั ญหา การหาทางแก้ปัญหาเราใช้สมอง ซีกขวา ใช้จินตนาการ ในการหาหนทางแก้ปัญหา โดยคิดถึงผลที่ได้โดยรวมซึ่งคิดได้หลายวิธี แต่ใน ขณะเดียวกันเราก็ใช้สมอง ซีกซ้ายเพราะว่าเราจําเป็ นต้องรู ้วา่ อะไรคือความจริ งเพือ่ ใช้ความสามารถใน การวิเคราะห์และการจัดการเพื่อให้สามารถ ดํารงชีวิตได้อย่างมีความสุ ข


- 39 -

การคิดแบบใหม่ ทักษะการคิด ที่เน้นการคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์น้ นั เป็ นวิธีการคิดที่ได้รับความนิยมแพร่ หลายทัว่ โลก เพราะสามารถให้ประสิ ทธิภาพในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ตั้งแต่ ระดับครอบครัว จนถึงระดับชาติได้เป็ น อย่างดี โดย ศาสตราจารย์ เดอ โบโน ได้พฒั นาทักษะการคิดสร้างสรรค์ที่มีชื่อเสี ยงและได้รับการยอมรับ คือ ความคิดคู่ขนาน (Paralell Thinking) พร้อมวิธีปฏิบตั ิจริ งที่เรี ยกว่าหมวกความคิดหกใบ (Six Thinking Hats) และความคิดแนวข้าง (Lateral Thinking) ซึ่งเป็ นแนวการคิดแบบใหม่ ที่มีลกั ษณะ สร้างสรรค์และใช้งานได้จริ งในทุกขั้นตอนของชีวิตทั้งสิ้ น ความคิดคู่ขนาน (Parallel Thinking) การคิดคู่ขนานเป็ นแนวการคิดแบบใหม่ ควบคู่ไปกับแนวการคิดแบบเดิม มีลกั ษณะยืดหยุ่น ประนีประนอม ไม่มีลกั ษณะคงที่แต่จะแปรเปลี่ยนไปเรื่ อยๆ ซึ่งมีลกั ษณะสังเขป คือ • เน้นการออกแบบความคิด ไม่ใช่การค้นหาความจริ ง • ไม่ตดั สิ นเด็ดขาดว่ายอมรับหรื อปฏิเสธ แต่จะพิจารณาควบคู่กนั ไป • ไม่มีการโต้แย้ง แต่เน้นการร่ วมมือคิดเคียงคู่กนั ไป • เน้นการยอมรับความเป็ นไปได้ท้ งั หมด • ประนีประนอมความขัดแย้งที่เกิดขึ้นทั้งหมด • เน้นการสร้างความคิดใหม่ๆ • เน้นการช่วยการคิดแทนที่จะเป็ นการตัดสิ น • เน้นการกระทําจริ งมากกว่าการพรรณนาหรื อบรรยาย หมวกความคิดหกใบ การคิ ด แบบหมวกหกใบ มี วิธีการคิด 2 แบบคื อ การคิด แบบรั บมื อหรื อตั้งรั บ (Coping Thinking) การคิดแบบตั้งใจจงใจคิด(Deliberate Thinking) 1. การคิดแบบรับมือหรื อตั้งรับ เป็ นการเสนอความคิดเห็นพร้อมทั้งอ้างเหตุผลเพื่อสนับสนุน ความคิดของเรา ถึงแม้ว่าเราจะฟั งความคิดเห็นของผูอ้ ื่น แต่ก็พยามยามที่จะตอบโต้ หาจุดบกพร่ องใค วามเห็นนั้นทุกขณะ 2. การคิดแบบตั้งใจจงใจคิด เป็ นการคิดแบบสร้างสรรค์ ไม่ใช่การตอบโต้เพราะวิธีการคิด แบบนี้เป็ นการสํารวจตรวจสอบประเด็นเรื่ องนั้นๆ แล้วก็ลงมือตัดสิ นใจด้วยใจที่เป็ นกลางและเปิ ดกว้าง


- 40 ส่ วนใหญ่แล้วนักศึกษาจะมีวิธีการคิดแบบรับมือหรื อตอบโต้ เช่น การตอบโต้กบั ความคิดของ อาจารย์และความคิดของเพือ่ นๆ แต่เมื่อสําเร็ จการศึกษาออกมาทํางานแล้ว วิธีการคิดแบบเดิมๆ ก็ไม่ เพียงพออีกต่อไป เพราะในการทํางานจําเป็ นต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการวางแผนปฏิบตั ิงาน สร้าง ผลงานใหม่ๆขึ้นมา การคิดแบบตั้งรับเพียงอย่างเดียวจึงไม่สามารถแก้ปัญหาได้ เดอ โบโน จึงได้นาํ เสนอวิธีการคิดแบบหมวกหกใบขึ้น โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อแก้ไขความ สับสนในการคิด เพราะผูค้ ิดจะสามารถคิดได้ทีละด้านทีละครั้ง สามารถควบคุมการคิดด้านต่างๆได้ง่าย ขึ้น เปลี่ยนจากการถกเถียงมาเป็ นการตรวจสอบข้อมูล วิธีการหมวกหกใบนั้น เริ่ มต้นด้วยการสมมติ หมวกสี ต่างๆ ทั้งหกใบ สี แต่ ละสี แทนความคิดในแต่ ละด้าน ผูค้ ิ ดจะใช้หมวกที ละใบที ละหนและ ดําเนิ นไปตามแบบความคิดที่หมวกสี น้ นั เป็ นตัวแทนอยู่ ผูค้ ิดอาจเลือกหมวกสี ใดสี หนึ่ งขึ้นมาใส่ และ อาจถูกขอร้องให้ถอดหมวกออกเพื่อเปลี่ยนสี กไ็ ด้ หมวกแต่ละสี จะแทนความคิด ดังนี้คือ 1. หมวกขาว จะแทนการวิเคราะห์ขอ้ มูลข่าวสารต่างๆ อย่างเป็ นกลาง โดยไม่ใช้อารมณ์ 2. หมวกแดง ให้เสรี ภาพในการแสดงอารมณ์ความรู ้สึกออกมาอย่างเต็มที่ รวมทั้งลางสังหรณ์ สัญชาติญาณ การหยัง่ รู ้ รสนิยม 3. หมวกดํา จะเป็ นการประเมินข้อเสี ย ด้านลบและเหตุผล ซึ่งเป็ นหมวกที่ใช้กนั มากที่สุด 4. หมวกเหลือง เป็ นคิดในแง่บวก มองโลกในแง่ดี แสดงถึงความเป็ นไปได้ ความหวัง คิดไป ในแนวของประโยชน์และคุณค่า การคิดแบบหมวกเหลืองจะทํายากกว่าหมวกดํา เพราะธรรมชาติของ มนุษย์ยอ่ มจะหาข้อเสี ยและอุปสรรคได้มาง่ายกว่าการมองเห็นคุณค่าและประโยชน์ของสรรพสิ่ ง 5. หมวกเขียว จะแทนการคิดอย่างสร้างสรรค์ การแสวงหาแนวทางและทางเลือกใหม่ๆ ซึ่ ง จะทําให้เกิดความเป็ นไปได้ของสิ่ งต่างๆ 6. หมวกฟ้า จะแทนการมองภาพรวมของสิ่ งต่างๆ ควบคุมจัดระเบียบของกระบวนการคิด และขั้นตอนการใช้หมวกสี ต่างๆ การกําหนดกรอบประเด็น การหาข้อสรุ ปและข้อยุติ ตามธรรมเนี ยม แล้วผูใ้ ช้หมวกสี ฟ้ามักจะเป็ นประธานหรื อผูช้ ่วย การคิดแบบหมวกหกใบจะมีขอ้ ดี คือ เป็ นการคิดแบบคู่ขนาน ไม่มีการเมืองและเกมอํานาจ เป็ นการคิดแบบสร้างสรรค์ ทําให้ระมัดระวังในการคิด สามารถใช้ความรู ้สึกและลางสังหรณ์ได้ เป็ น การคิดแบบแสวงหาคุณค่าและประโยชน์ มีการกําหนดกลไกของการคิด ขจัดความเป็ นตัวเราตัวเขา ออกไปจากการคิด ทําให้สามารถใช้ภูมิปัญญาได้อย่างเต็มที่ ทําให้สามารถคิดได้ทีละอย่างทีละด้านไม่ ทําให้สับสนในการคิด ช่วยย่นระยะเวลาในการคิดให้ส้ ันและกระชับขึ้น เปิ ดโอกาสให้แสดงความคิด ได้หลายแง่มุม และเกิดเสรี ภาพในการคิด


- 41 วิธีการใช้ การคิดแบบหมวกหกใบ สามารถใช้ความคิดคู่ขนานใน 3 วิธีคือ 1. ผูท้ ี่สวมหมวกสี เดียวกัน จะต้องคิดคู่ขนานไปในทิศทางเดียวกัน และมองไปที่เรื่ องไม่ใช่ มองไปที่ความคิดของคนอื่น 2. ความคิดเห็นที่แตกต่างกัน ก็สามารถนํามาคิดไปพร้อมๆกันได้ แล้วค่อยมีการพิจารณา ภายหลัง 3. สี ของหมวกให้ทิศทางคู่ขนานสําหรับการมองเรื่ องๆ เดียวกัน และสี ของหมวกที่ต่างกันก็ ไม่ได้เป็ นปรปั กษ์ต่อกัน การคิดแบบหมวกหกใบเป็ นที่นิยมกันมาก เพราะปฏิบตั ิได้ง่ายและได้ผลจริ ง เปลี่ยนวิธีการ วิพากษ์วิจารณ์มาเป็ นการคิดร่ วมกันอย่างสร้างสรรค์ โดยมีกฏเกณฑ์เป็ นเงื่อนไข ความคิดแนวข้ าง (Lateral Thinking) ความคิดแนวข้าง เป็ นทักษะการคิดสร้างสรรค์อีกรู ปแบบหนึ่ ง ความคิดแนวข้างจะเน้นการ ปรับเปลี่ยน มุมมองของข้อมูล ที่มีอยู่เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์ในการแก้ปัญหา และในการปฏิบตั ิ จริ งได้มากขึ้น ซึ่ ง เดอโบโน(Edward De Bono) ได้บอกไว้ว่า การปฏิบตั ิหรื อการลงมือใช้จริ งนั้นมี ความสําคัญมากกว่าการเข้าใจตัวกระบวนการคิดเองยิ่งนัก คนทัว่ ไปเข้าใจว่าการคิดแบบเดิมๆหรื อการ คิดแนวตั้งนั้นเป็ นวิธีการคิดที่มีประสิ ทธิ ภาพ แต่ในปั จจุบนั ปั ญหาที่เกิดขึ้นมีความซับซ้อนมากขึ้น ซึ่ ง การคิดแบบแนวตั้งเพียงอย่างเดียวไม่สามารถจะรับมือกับปัญหาเหล่านี้ได้ ความแตกต่ างระหว่ างความคิดแนวตั้งกับความคิดแนวข้ าง คนทัว่ ไปคิดว่าความคิดแนวตั้งนั้นเป็ นวิธีการที่มีประโยชน์และมีคุณค่าเพียงวิธีการเดียวที่มีอยู่ ดังนั้นจึงต้องมีการแสดงให้เห็นธรรมชาติของความคิดแนวข้างที่ต่างจากความคิดแนวตั้ง เพื่อทําให้เห็น ถึงลักษณะและประโยชน์ของการคิดแนวข้าง 1. ความคิดแนวตั้งมีลกั ษณะเลือกสรร แต่ความคิดแนวข้างจะมีลกั ษณะสร้างสรรค์ 2. ความคิดแนวตั้งมีลกั ษณะของการวิเคราะห์ แต่ความคิดแนวข้างมีลกั ษณะของการ กระตุน้ ให้เกิดความคิด 3. ความคิดแนวตั้งต้องเป็ นไปตามขั้นตอน แต่ความคิดแนวข้างสามารถกระโดดข้าม ขั้นตอนได้ 4. ความคิดแนวตั้งจะต้องถูกต้องทุกขั้นตอน แต่ในความคิดแนวข้างไม่จาํ เป็ นจะต้องเป็ น เช่นนั้น 5. ความคิดแนวตั้งจะใช้การปฏิเสธ แต่ความคิดแนวข้างจะไม่มีการปฏิเสธ


- 42 6. ความคิดแนวตั้งจะทําการตัดสิ่ งนอกประเด็นออกไป แต่ความคิดแนวข้างจะยอมรับ การก้าวลํ้าเส้นเข้ามา 7. ความคิดแนวตั้งจะมีการจัดประเภทหมวดหมู่อย่างแน่นอนตายตัว แต่ความคิดแนวข้าง สามารถยืดหยุน่ และปรับเปลี่ยนได้ 8. ความคิดแนวตั้งจะเดินตามทางที่มีความเป็ นไปได้มากที่สุด แต่ความคิดแนวข้างจะทํา การสํารวจไปรอบๆถึงสิ่ งที่ดูเหมือนว่าจะเป็ นไปได้นอ้ ยที่สุด 9. ความคิ ด แนวตั้ง เป็ นกระบวนการที่ มี ข อบเขตชัด เจน ความคิ ด แนวข้า งจะเป็ น กระบวนการของความเป็ นไปได้ต่างๆ ลักษณะพืน้ ฐานของความคิดแนวข้ าง • ความคิดแนวข้างเรื่ องของการเปลี่ยนรู ปแบบ • การปรับเปลี่ยนมุมมองในแง่มุมต่างๆ • ความคิดแนวข้างเป็ นทัศนคติและเป็ นวิธีการใช้ขอ้ มูล • ความคิดแนวข้างสัมพันธ์โดยตรงกับพฤติกรรมของจิตใจในการจัดการเกี่ยวกับข้อมูล • ความคิดแนวข้างจะมีเครื่ องมือทางภาษาที่ใช้สาํ หรับปฏิบตั ิการโดยเฉพาะ

วิธีการฝึ กคิด 1. ฝึ กสั งเกตความแตกต่ างของสิ่ งสองสิ่ งที่คล้ ายกัน เช่น การฝึ กเปรี ยบเทียบภาพ 2 ภาพที่มกั มี อยู่ในเกมปริ ศนาต่างๆ วามี ความแตกต่ างหรื อคล้ายคลึ งกัน อย่า งไร วิธีน้ ี จ ะช่ ว ยให้เ รารู ้ สึกถึ งการ แยกแยะความเหมือหรื อไม่เหมือน ที่เกิดขึ้น จากการมองเห็นในขณะนั้นได้ 2. อ่ านงานวิเคราะห์ วิจารณ์ ของนักเขียน นักวิจารณ์ ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นคอลัมน์นิสต์ นิ ตยสาร หรื อหนังสื อพิมพ์ เพื่อฝึ กทักษะและกระบวนการในการคิดต่างๆ ของแต่ละคน แล้วสรุ ปแง่คิดนั้นโดย ใช้หลักเหตุและผลอยูเ่ สมอๆ 3. ฝึ กการตัดสิ นในให้เด็ดขาด โดยฝึ กความมัน่ ใจในการตัดสิ นในของตัวเอง ด้วยการศึกษา ข้อมูลหรื อติดตามข่าวสารต่างๆ อยูเ่ สมอ 4. มีเหตุผลและคําอธิ บายในทุกสิ่ งทุกอย่างที่ทาํ ลงไป หรื อแม้แต่การแสดงความคิดเห็ น ซึ่ ง สามารถชี้ แจงได้ทนั ที่ ทีมีคาํ ถามเกิ ดขึ้น พยายามอธิ บายทั้งเหตุและผล ด้วยการตั้งประเด็นคําถามคําตอบให้กบั ตัวเองอยูเ่ สมอ


- 43 5. อย่าพึ่งเชื่อในทุกสิ่ งทุกอย่างที่เพียงแต่ได้ยนิ มา หรื อได้เห็นด้วยสายตาและการคาดคะเน อย่า เป็ นคนตื่นตระหนกต่อข่าว ควรรับฟังด้วยความพินิจวิเคราะห์อย่างละเอียดถึงเหตุผลต่อสิ่ งที่เกิดขึ้นต้อง คิด ตริ ตรองอย่างรอบคอบ 6. ควรรักษาอารมณ์ในการรับฟั งต่อเรื่ องต่างๆด้วยความไม่ลาํ เอียง ไม่ใช้อารมณ์ ไม่ว่าจะเป็ น เรื่ องดีหรื อร้ายก็ตาม อาทิเช่น ไม่ฟังเพราะรักอีกฝ่ าย ไม่ฟังเพราะเกลียดอีกฝ่ าย เหล่านี้เป็ นต้น 7. ควรรักษาสติให้มน่ั คง เมือเกิดเหตุการณ์ต่างๆ ขึ้นตรงหหน้าไม่ว่ากับตัวเองหรื อคนอื่น อย่า กลัว หรื อตื่นเต้นจนลนลาน จงพร้อมและระวังตัวอยู่เสมอไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้น โดยใช้การตัดสิ นใจ อย่างมีสติ ในการพิจารณาเหตุน้ นั ๆ 8. รักษาบุคลิกภาพให้ดี ไม่หุนหันพลันเล่น หรื อโมโห โกรธง่าย รักษาภาพลักษณ์ของความ สุ ขุมรอบคอบของนักวิเคราะห์คดี เพราะเมื่อจิตสงบ สมาธิ จะทําให้เกิดการวิเคราะห์ปํญหาหรื อเหตุ นั้นๆ ก็จะส่ งผลถึงความถูก-ผิด ได้ง่ายขึ้น 9. ตั้งตนให้เป็ นคนทีมีระเบียบวินยั และเคารพกฎของสถาบันหรื อสถานที่ๆที่เราอยูไ่ ม่แหกกฏ หรื อท้าทายเสี ยเอง ข้อนี้นกั ศึกษา ต้องระวังความผิดพราด และต้อบังคับจิตใจตัวเองให้อยูใ่ นกฏระเบียบ นั้นๆ และต้องซื่อสัตย์ต่อตัวเองเสมอ 10. ควรยิม้ แย้มแจ่มใสอยูเ่ สมอ เพราะความยิม้ แย้มจะทําให้จิตใจปลอดโปร่ งและมีสมาธิดี ควร คิดดี พูดดี และทําในสิ่ งที่ดีดว้ ย แม้สถานการณ์บางอย่างอาจเลวร้ายก็ตาม แต่ก็จงทําจิตใจให้แจ่มใส เพื่อผ่อนคลายตัวเองให้ได้

ประโยชน์ ของการฝึ กคิดและควบคุมสติเมื่อเกิดสถานการณ์ คบั ขัน 1. เป็ นการเพิ่มพูนประสบการณ์ และการฝึ กฝนความเข้มแข็งของจิตใจให้กบั ตัวเอง 2. ช่วยทําให้รู้จกั การกลัน่ กรองอารมณ์ ฝึ กฝนไขปั ญหากับความตื่นเต้นได้ดี โดยเฉพาะในเวลา เรี ยนและเวลาอยูใ่ นห้องสอบ 3. เป็ นการฝึ กฝนความอดทนในการดํา เนิ น ชี วิ ต ประจํา วัน ที่ เ ร่ ง ด่ ว นและจะต้อ งใช้ค วาม ระมัดระวังตัวอยูเ่ สมอ 4. ทําให้ฝึกตัวเองให้เป็ นคนที่เข้าอกเข้าต่อเพื่อน และคนรอบข้างเป็ นอย่างดี เป็ นที่ไว้วางในของ เพื่อนๆ


- 44 5. ทําให้รู้จกั และเข้าใจในโลกของความเป็ นจริ ง จากสิ่ งที่ได้พบเห็นในแต่ละวัน 6. เป็ นการสร้างภาพลักษณ์ที่น่าเชื่อถือต่อบุคลิกภาพที่ดีของตัวเอง ทําให้มีเสน่ห์และเป็ นที่ไว้ใจ ของคนรอบข้าง 7. ทําให้เป็ นคนมีเหตุผลไม่เชื่อคนง่าย ควบคุมอารมณ์ได้ดี 8. แก้ปัญหาความกังวลในได้ดี ทําให้ไม่สับสนกับความคิดฟุ่ งซ่านของตนเอง และผูอ้ ื่นที่เข้ามา กระทบ 9. สามารถเข้าใจต่อเหตุการณ์ต่างๆ ได้ง่าย และสามารถเข้าใจการเชื่อมต่อของสิ่ งนั้นๆ ได้ดี 10. ทําให้มีความสามารถในการตัดสิ นใจในเบื้องต้นต่อเหตุการณ์ ที่เกิ ดขึ้นตามความเป็ นจริ ง เสมอ 11. ทําให้ฝึกตัวเองให้เป็ นคนที่เข้าอกเข้าในต่อเพื่อน และคนรอบข้างเป็ นอย่างดี เป็ นที่ไว้วางใจ ของเพื่อนๆ 12. ทําให้รู้จกั และเข้าใจในโลกของความเป็ นจริ ง จากสิ่ งที่ได้พบเห็นในแต่ละวัน

7 วิธีคดิ อย่ างคนเก่ ง ( 7 Thinking methods to be genius ) [http://www.novabizz.com/NovaAce/Intelligence/Thinking_Method.htm] การเป็ นคนเก่ง ไม่ใช่ความโชคดีของพันธุกรรม อยูท่ ี่การฝึ ก ขัดเกลาสมองและ หัวใจ ของคุณ ต่างหาก แล้วผูเ้ รี ยนจะมีความปราดเปรื่ อง ในแบบฉบับเป็ นคนเก่ง ที่สามารถจัดการกับชีวิตของตนเอง ได้อย่างลงตัว 1. คิดในทางทีด่ ี มองโลกในแง่ดี และทําทุกสิ่ งอย่างเต็มกําลังด้วยรอยยิม้ และความเบิกบาน ทํา ตัวให้สดชื่นมีชีวิตชีวาและกระตือรื อร้นอยูเ่ สมอ พร้อมที่จะเผชิญกับทุกสถานการณ์ จะช่วยให้คุณ สามารถจัดการกับทุกเรื่ องที่ผา่ นเข้ามา ได้อย่างอยูม่ ือ 2. มีศรัทธาในตัวเอง ถ้าแม้แต่ตวั คุณเองยังไม่ศรัทธาและเชื่อมัน่ ในตัวเองแล้วจะมีมนุษย์หน้า ไหนล่ะ จะเชื่อมัน่ ในความเก่งของคุณ อยากให้ใครๆเขาชื่นชอบและทึ่งในตัวคุณ คุณก็ตอ้ งมัน่ ใจ ตัวเองก่อน


- 45 3. ขอท้ าคว้ าฝัน ไม่มีอะไรที่จะทรงพลังมากเท่ากับความตั้งใจจริ งและทุ่มสุ ดตัวหรอก ครับ ความกระหายอันแรงกล้าที่จะพาตัวเองไปสู่จุดหมายนัน่ แหล่ะ เป็ นแรงผลักดันที่จะทําให้คุณสาน ฝันสู่ ความจริ งได้ 4. ค้ นหาบุคคลต้ นแบบ ใครก็ได้ที่คุณชื่นชมเพื่อเป็ นมาตรฐานที่ดีในการดําเนินรอยตาม ศึกษา แนวคิด วิธีการทํางาน จุดเด่นในตัวเขา เผือ่ ว่าเราจะได้ไอเดียดีๆ มาปรับใช้ให้ชีวิตก้าวโลดสู่ความสําเร็ จ กับเขามัง่ 5. เริ่มต้ นงานใหม่ ทุกวันด้ วยรอยยิม้ สดใส คนที่มีรอยยิม้ ระบายไว้บนใบหน้า เสมือนประตูที่ เปิ ดกว้าง ให้ใครๆอยากเข้ามาคบหาด้วย การเจรจา ติดต่องานก็มกั จะลงเอยด้วยความสําเร็ จ มากกว่าคน ที่หน้าตาแบกโลกนะครับ นอกจากนี้ รอยยิม้ และเสี ยงหัวเราะ ยังสร้างความเบิกบานและคลายทุกข์ แถมยังเป็ นยาอายุวฒั นะชั้นเยีย่ ม ที่ทาํ ให้เราดูเป็ นอ่อนเยาว์กว่าวัยตลอดกาล รู ้อย่างนี้แล้วหัดติดรอยยิม้ ไว้ที่มุมปากเป็ นประจํานะ ครับ 6. เรียนรู้ จากความผิดพลาด สี่ เท้ายังรู ้พลาด นักปราชญ์ยงั รู ้พลั้ง จะเป็ นอะไรเชียวถ้าเราจะทํา อะไร แล้วจะยังไม่สาํ เร็ จอย่างที่หวังไว้ เพียงแต่ขอให้ทาํ เต็มที่ และเปิ ดใจให้กว้างยอมรับความจริ ง หัน มาทบทวนดูวา่ มีข้ นั ตอนไหนที่ผดิ พลาดไป..... เพื่อที่จะเริ่ มต้นใหม่ให้ดีกว่าเดิม 7. ทะนุถนอมมิตรสั มพันธ์ เก่าๆ อันนี้กเ็ ป็ นสิ่ งที่พวกเราชาวโรทาเรี ยนตระหนักและทราบดี คง ไม่มีใครที่จะอยูอ่ ย่างมีความสุ ขโดยปราศจากเพื่อนหรื อมิตรที่รู้ใจหรอกนะครับ แม้วา่ ชีวิตของคุณใน แต่ละวันจะวุน่ วายแค่ไหนก็ตาม คุณควรจะมีเวลาให้กบั เพื่อนซี้ที่รู้จกั มักจี่กนั มานานซะบ้าง แวะไปหา กัน เมื่อโอกาสอํานวย ชวนกันออกมาทานข้าวในช่วงวันหยุด ส่ งการ์ดปี ใหม่ หรื อร่ อนการ์ดวันเกิดไป ให้ เผือ่ ในยามที่คุณเปล่าเปลี่ยวหงอยเหงา เศร้าทุกข์ใจ ก็ยงั มีเพื่อนซี้ไว้ พึ่งพาและให้กาํ ลังใจกันได้นะ นักศึกษาทีอ่ าจจะต้ องการความมั่นใจในตัวเอง ควรต้ องอ่านหนังสื อให้ มากๆ โดยเฉพาะข่ าว หนังสื อพิมพ์ สื่ อต่ าง ๆ ทีใ่ ช้ เทคนิคการคิดและวิจารณณาณ เพือ่ แก้สถานการณ์ คบั ขันอยู่บ่อยๆ เพราะ ความรอบรู้ เหล่านี้ จะช่ วยในการตัดสิ นใจอย่ างรวดเร็วฉับเพลัน ซึ่งอาจเกิดขึน้ เฉพาะหน้ า และเป็ น การฝึ กสมองประลองเชาวน์ ของตัวเองอยู่เสมอด้ วย


- 46 -

แบบทดสอบการพัฒนาทักษะการคิด

ให้ สังเกตภาพข้ างบน และตอบคําถามต่ อไปนี้ 1. สิ่ งที่สงั เกตได้จากภาพมีอะไรบ้าง (ทักษะการสังเกต) ..................................................................... 2. สาเหตุสาํ คัญที่ทาํ ให้เกิดเพลิงไหม้คืออะไร (ทักษะการตั้งสมมติฐาน) ............................................................................................................................................................... 3. ในภาพที่ 4 คนที่แต่งชุดแล้วใส่ หมวกมีอาชีพอะไร เพราะเหตุใดจึงคิดเช่นนั้น (ทักษะการลง ความเห็น) ............................................................................................................................................. 4. จากภาพที่ 1 ถึง 4 ให้เล่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเรี ยงตามลําดับ (ทักษะการตีความหมาย/ทักษะการ สื่ อสาร)….............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................... 5. ถ้าสองพ่อลูกไม่หนีลงมาทางบันไดหนีไฟ นักศึกษาคิดว่าจะมีเหตุการณ์ใดเกิดขึ้น (ทักษะการ พยากรณ์ ) ............................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. 6. จงวิเคราะห์สาเหตุท้ งั มวลที่ทาํ ให้เกิดเพลิงไหม้ในประเทศไทย (ทักษะการวิเคราะห์) .................... ................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................


- 47 -

2.7 ทักษะการอ่ าน (Reading Skill) ทักษะการอ่านจะต้องเข้าใจ ทั้งความหมายและองค์ประกอบของทักษะการอ่าน อันจะได้ หาทางส่ งเสริ มให้เยาวชนในปั จจุบนั ได้มุ่งสู่ แนวทางที่จะบรรลุเป้ าหมายได้ดียง่ิ ขึ้น การอ่านแต่เดิม นั้นหมายถึง การแปลสัญญาณให้ออกมาเป็ นคําพูด ปั จจุบนั การอ่าน หมายถึง ความสามารถในการ ใช้ประโยชน์ของการผสมผสานของตัวอักษรแล้ว ได้รับความรู ้ การสอนอ่านในยุคปัจจุบนั จึงเน้น ที่จะมุ่งสนองความต้องการ และความสนใจของผูเ้ รี ยนมากขึ้น สําหรับทักษะในการอ่าน หมายถึง ความคล่องตัว ที่จะใช้การประสมประสานของตัวอักษรโดยผ่านการไตร่ ตรอง แล้วเก็บเป็ นความ รอบรู ้แห่งตน หรื อ ความคล่องตัว ในการใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการอ่าน เป็ นการฝึ กใช้ ความคิด ในการรับรู ้สื่อความหมายที่ผเู ้ ขียนสื่ อถึงผูอ้ ่าน กระบวนการอ่าน จึงเป็ นแนวทางในการ ค้นคว้าหาความรู ้ ความเข้าใจจากการอ่านเพื่อนําไปใช้ประโยชน์ ขั้นตอนในการฝึ กอ่านไปสู่การ สร้างทักษะในการอ่าน อาจเป็ นได้ดงั นี้ 1. สามารถเข้าใจสาระสําคัญของสิ่ งหรื อเรื่ องที่อ่านได้ 2. วิเคราะห์และจัดประเภทความรู ้ที่ได้จากการอ่าน 3. สร้างความสัมพันธ์ระหว่างความรู ้ใหม่กบั ประสบการณ์เดิม 4. สรุ ป มโนทัศน์ 5. ทบทวนพิจารณา อุทาหรณ์ 6. คิดย้อนกลับพร้อมอ้างอิง 7. การใช้สาํ นวน คําคม 8. เกิดอารมณ์เห็นประโยชน์ 9. วิจารณ์ ไต่ตรอง 10. กลัน่ กรองเป็ นความรอบรู ้ การอ่านเป็ นหนึ่งในทักษะทางภาษาที่จาํ เป็ นต้องฝึ กฝนอยูเ่ สมอ และไม่มีวนั สิ้ นสุ ดสามารถ ฝึ กได้เรื่ อยๆตามวัยและประสบการณ์ของผูอ้ ่าน เพราะการอ่านนั้น จะเกี่ยวข้องกับชีวิตประจําวัน ของมนุษย์ เป็ นเครื่ องมือสําคัญ ที่จะช่วยให้มนุษย์ได้รับความรู ้ ความคิด และความบันเทิงใจ ช่วย ปรับปรุ งชีวิตให้สดใสสมบูรณ์ ดังคํากล่าวของ เซอร์ ฟรานซิส เบคอน นักปรัชญาเมธีชาวอังกฤษ ที่วา่ “การอ่านทําคนให้เป็ นคนโดยสมบูรณ์” ความหมายของการอ่ าน การอ่าน คือ การรับรู ้ความหมายจากถ้อยคํา ที่ตีพิมพ์อยูใ่ นสิ่ งพิมพ์หรื อในหนังสื อ เป็ นการ รับรู ้วา่ ผูเ้ ขียนคิดอะไรและพูดอะไรโดยเริ่ มต้นทําความเข้าใจถ้อยคําแต่ละคําเข้าใจวลีเข้าใจประโยค ซึ่งรวมอยูใ่ นย่อหน้า เข้าใจแต่ละย่อหน้า ซึ่งรวมเป็ นเรื่ องราวเดียวกัน


- 48 การอ่านเป็ นพฤติกรรมการรับสารที่สาํ คัญไม่นอ้ ยไปกว่าการฟัง ปั จจุบนั มีผรู ้ ู ้นกั วิชาการ และนักเขียนนําเสนอความรู ้ ข้อมูล ข่าวสารและงานสร้างสรรค์ ตีพิมพ์ ในหนังสื อและสิ่ งพิมพ์อื่น ๆ มาก นอกจากนี้แล้วข่าวสารสําคัญ ๆ หลังจากนําเสนอด้วยการพูด หรื ออ่านให้ฟังผ่านสื่ อต่าง ๆ ส่ วนใหญ่จะตีพิมพ์รักษาไว้เป็ นหลักฐานแก่ผอู ้ ่านในชั้นหลัง ๆ ความสามารถในการอ่านจึงสําคัญ และจําเป็ นยิง่ ต่อการเป็ นพลเมืองที่มีคุณภาพในสังคมปัจจุบนั ความสํ าคัญของการอ่ าน ในสมัยโบราณที่ยงั ไม่มีตวั หนังสื อใช้ มนุษย์ได้ใช้วิธีเขียนบันทึกความทรงจําและเรื่ องราว ต่าง ๆ เป็ นรู ปภาพไว้ตามฝาผนังในถํ้า เพือ่ เป็ นทางออกของอารมณ์ เพื่อเตือนความจําหรื อเพื่อบอก เล่าให้ผอู ้ ื่นได้รับรู ้ดว้ ย แสดงถึงความพยายามและความปรารถนาอันแรงกล้าของมนุษย์ ที่จะ ถ่ายทอดประสบการณ์ของตนเป็ นสัญลักษณ์ ที่คงทนต่อกาลเวลา จากภาพเขียนตามผนังถํ้า ได้ วิวฒั นาการมาเป็ นภาษาเขียนและในหนังสื อ ปั จจุบนั นี้ หนังสื อกลายเป็ นสิ่ งที่สาํ คัญอย่างยิง่ ต่อ มนุษย์ จนอาจกล่าวได้วา่ เป็ นปั จจัยอันหนึ่งในการดํารงชีวิต คนที่ไม่รู้หนังสื อแม้จะดํารงชีวิตอยูไ่ ด้ ก็เป็ นชีวิตที่ไม่สมบูรณ์ ไม่มีความเจริ ญ ไม่สามารถประสบความสําเร็ จใด ๆ ในสังคมได้หนังสื อ และการอ่านหนังสื อจึงมีความสําคัญอย่างยิง่ จุดประสงค์ ของการอ่ าน ในการอ่านบุคคลแต่ละคน จะมีจุดประสงค์ของตนเอง คนที่อ่านข้อความเดียวกัน อาจมี จุดประสงค์หรื อความคิดต่างกัน โดยทัว่ ไปจุดประสงค์ของการอ่านมี 3 ประการ คือ 1. การอ่านเพือ่ ความรู ้ ได้แก่ การอ่านหนังสื อประเภทตํารา สารคดี วารสาร หนังสื อพิมพ์ และข้อความต่าง ๆ เพื่อให้ทราบเรื่ องราวอันเป็ นข้อความรู ้ หรื อเหตุการณ์บา้ นเมือง การอ่านเพื่อ ความรอบรู ้เป็ นการอ่านที่จาํ เป็ นที่สุดสําหรับครู เพราะความรู ้ต่าง ๆ มีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมอยู่ ทุกขณะ แม้จะได้ศึกษามามากจากสถาบันการศึกษาระดับสูง ก็ยงั มีสิ่งที่ยงั ไม่รู้และต้องค้นคว้า เพิ่มเติมให้ทนั ต่อความก้าวหน้าของโลกข้อความรู ้ต่าง ๆ อาจมิได้ปรากฏชัดเจนในตํารา แต่แทรก อยูใ่ นหนังสื อประเภทต่างๆ แม้ในหนังสื อประเภทบันเทิงคดี ก็จะให้เกร็ ดความรู ้ควบคู่กบั ความ บันเทิงเสมอ 2. การอ่านเพือ่ ความคิด แนวความคิดทางปรัชญา วัฒนธรรม จริ ยธรรม และความคิดเห็น ทัว่ ไป มักแทรกอยูใ่ นหนังสื อแทบทุกประเภท มิใช่หนังสื อประเภทปรัชญา หรื อจริ ยธรรมโดยตรง เท่านั้น การศึกษาแนวคิดของผูอ้ ื่น เป็ นแนวทางความคิดของตนเองและอาจนํามาเป็ นแนวปฏิบตั ิใน การดําเนินชีวติ หรื อแก้ปัญหาต่าง ๆ ในชีวิตผูอ้ ่านจะต้องใช้วิจารณญาณในการเลือกนําความคิดที่ ได้อ่านมาใช้ให้เป็ นประโยชน์ในบางเรื่ อง ผูอ้ ่านอาจเสนอความคิด โดยยกตัวอย่างคนที่มีความคิด ผิดพลาด เพือ่ เป็ นอุทาหรณ์ให้ผอู ้ ่านได้ความยั้งคิด เช่น เรื่ องพระลอแสดงความรักอันฝื นทํานอง คลองธรรมจึงต้องประสบเคราะห์กรรม ในที่สุดผูอ้ ่านที่ขาดวิจารณญาณมีความคิดเป็ นเรื่ องจูงใจให้


- 49 -

3. การอ่านเพือ่ ความบันเทิงเป็ นการอ่านเพื่อฆ่าเวลา เช่น ระหว่างที่คอยบุคคลที่นดั หมาย คอยเวลารถไฟออก เป็ นต้น หรื ออ่านหนังสื อประเภทบันเทิงคดีในเวลาว่าง บางคนที่มีนิสยั รักการ อ่าน หากรู ้สึกเครี ยดจากการอ่านหนังสื อเพื่อความรู ้ อาจอ่านหนังสื อประเภทเบาสมอง เพื่อการ พักผ่อน หนังสื อประเภทที่สนองจุดประสงค์ของการอ่านประเภทนี้ มีจาํ นวนมาก เช่น เรื่ องสั้น นวนิยาย การ์ตูน วรรณคดีประเทืองอารมณ์ เป็ นต้น จุดประสงค์ในการอ่านทั้ง 3 ประการดังกล่าว อาจรวมอยูใ่ นการอ่านครั้งเดียวกันก็ได้โดยไม่จาํ เป็ นต้องแยกจากกันอย่างชัดเจน คุณค่ าของการอ่าน ในการส่ งเสริ มการอ่านนักศึกษาควรเห็นคุณค่าของการอ่าน ซึ่งจะเป็ นแนวทางในการเลือก หนังสื อด้วย คุณค่าดังต่อไปนี้ • คุณค่ าทางอารมณ์ หนังสื อที่ให้คุณค่าทางอารมณ์ ได้แก่ วรรณคดีที่มีความงามทั้งถ้อยคํา นํ้าเสี ยง ลีลาในการประพันธ์ ตลอดจนความงามในเนื้อหา อาจเรี ยกได้วา่ มี “รส” วรรณคดี ซึ่งตํารา สันสกฤต กล่าวว่า มีรส 9 รส คือ 1. รสแห่ งความรักหรื อความยินดี 2. รสแห่ งความรื่ นเริ ง 3. รสแห่ งความสงสาร 4. รสแห่ งความเกรี้ ยวกราด 5. รสแห่งความกล้าหาญ 6. รสแห่ งความน่ากลัวหรื อทุกขเวทนา 7. รสแห่ งความเกลียดชัง 8. รสแห่ งความประหลาดใจ 9. รสแห่ งความสงบสันติในวรรณคดีไทย แบ่งเป็ น 4 รสได้แก่ - เสาวจนี การชมความงาม - นารี ปราโมทย์ การแสดงความร - พิโรธวาทัง การแสดงความโกธรแค้น - สัลลาปั งคพิไสย การครํ่าครวญ นักศึกษาอาจเคยได้ศึกษามาแล้ว หนังสื อที่มิใช่ตาํ ราวิชาการโดยตรง มักแทรก อารมณ์ไว้ดว้ ยไม่มากก็นอ้ ย ทั้งนี้เพื่อให้น่าอ่านและสนองอารมณ์ของผูอ้ ่านในด้านต่าง ๆ


- 50 -

• คุณค่ าทางสังคม การอ่านเป็ นมรดกทางวัฒนธรรมที่สืบต่อกันมาแต่เป็ นโบราณกาล หาก มนุษย์ ไม่มีนิสยั ในการอ่าน วัฒนธรรมคงสูญสิ้ นไป ไม่สืบทอดมาจนบัดนี้ วัฒนธรรมทางภาษา การเมือง การประกอบอาชีพ การศึกษา กฎหมาย ฯลฯ เหล่านี้ อาศัยหนังสื อ และการอ่าน เป็ น เครื่ องมือในการเผยแพร่ และพัฒนาให้คุณค่าแก่สงั คมนานัปการ หนังสื ออาจทําให้การเมือง เปลี่ยนแปลงไปได้ หากมีคนอ่านเป็ นจํานวนมาก หนังสื อ และผูอ้ ่าน จึงอาศัยกันและกัน เป็ นเครื่ อง สื บทอด วัฒนธรรมของมนุษย์ในสังคมที่เจริ ญแล้ว จะเห็นได้วา่ ในกลุ่มคนที่ไม่มีภาษาเขียน ไม่มี หนังสื อ ไม่มีการอ่าน วัฒนธรรมของสังคมนั้นมักล้าหลังปราศจากการพัฒนา การอ่านจึงให้คุณค่า ทางสังคมในทุกด้าน บทบาทของการอ่ านทีม่ ีต่อมนุษย์ การอ่านหนังสื อมีบทบาทสําคัญในยุคปั จจุบนั นี้มาก อาจกล่าวได้วา่ ไม่วา่ จะเป็ นทางด้าน การศึกษาเล่าเรี ยน การประกอบอาชีพ ด้านบุคลิกภาพ นันทนาการและด้านพัฒนาสังคมและ ประเทศชาติ ถึงจะมีสื่อมวลชนอื่น เช่น วิทยุกระจายเสี ยง โทรทัศน์ ที่เสนอข่าวสารต่าง ๆ ได้ รวดเร็ วและทันต่อเหตุการณ์ คนเราก็ตอ้ งอ่านหนังสื ออยูน่ ้ นั เองเพราะว่าให้รายละเอียดต่าง ๆ ได้ มากกว่า สุ วิมล โฮมวงศ์ ( 2535 ) ได้ให้ความเห็นของบทบาทของการอ่านที่มีต่อมนุษย์ดงั นี้ 1. บทบาทด้ านการศึกษา การเรี ยนในระดับอุดมศึกษา นักศึกษาจะต้องศึกษาจากตํารับตํารา ที่มีอยูใ่ นห้องสมุดเป็ น ส่ วนใหญ่ซ่ ึงต้องใช้การอ่านเป็ นประจํา ผูท้ ี่อ่านมากย่อมได้เปรี ยบกว่าผูท้ ี่อ่านน้อย และผูท้ ี่อ่านเก่ง ย่อมอ่านหนังสื อได้รวดเร็ ว สามารถเข้าใจเรื่ องราวที่อ่านจับใจความได้ถูกต้องแม่นยํา รู ้จกั วิธีอ่าน หนังสื อว่าเล่มไหนควรใช้วิธีอ่านอย่างไร สามารถประเมินผลจากสิ่ งที่ตนอ่าน รวมทั้งมีวิจารณญาณ ในการอ่านสามารถวิจารณ์ได้ ดังนั้นผูท้ ี่อ่านเป็ นเท่านั้น จึงจะสามารถได้รับความรู ้และประสบ ผลสําเร็ จในการศึกษาเล่าเรี ยน 0


- 51 2. บทบาทด้ านอาชีพ การอ่านผูกพันอยูก่ บั บุคคลทุกอาชีพที่มุ่งหวัง ความเจริ ญก้าวหน้าเพราะผูป้ ระกอบอาชีพที่ ดีน้ นั จําเป็ นต้องขวนขวายหาความรู ้ เพื่อเพิ่มพูนปรับปรุ งสมรรถภาพ ในการทํางานของตน อยู่ เสมอทั้งนี้กเ็ นื่องจากว่า การงานทุกชนิดก็ตอ้ งมีการแข่งขันกันอยูต่ ลอดเวลาบุคคล ที่พยายามก้าวไป ข้างหน้า เท่านั้นจึงจะมีชยั ในการแข่งขันบุคคลที่ฉลาดและยึดหนังสื อเป็ นหลักโดยการอ่านหนังสื อ ที่เกี่ยวกับอาชีพนั้น ๆ ย่อมทําให้บุคคลเหล่านั้น มีความรู ้กว้างขวางและประสบผลสําเร็ จ ในการ ประกอบอาชีพของตนเองได้อย่างมีความสุ ข 3. บทบาทด้ านการปรับปรุงบุคลิกภาพ สภาพสังคมในสมัยนี้ มีความยุง่ ยากสลับซับซ้อนและมีปัญหาของสังคมมากมายจนทําให้ คนบางคนประสบชะตากรรมที่น่าสงสารอย่างยิง่ เป็ นต้นว่าไม่อยากสมาคมกับใคร ๆ เพราะคิดว่า ตนเองมีปมด้อย บางคนไม่กล้าเผชิญหน้ากับปัญหาไม่กล้าร่ วมกิจกรรมทางด้านสังคมกับเพื่อนฝูง กลายเป็ นคนเหงาหงอย ถ้าหากบุคคลผูม้ ีปัญหาดังกล่าว ได้กลับมาสนใจในการอ่านหนังสื อ ประเภทสังคมศาสตร์ จริ ยศาสตร์จิตวิทยา การตอบและแก้ไขปัญหาชีวิต ก็จะทําให้สุขภาพจิตดีข้ ึน และยังจะช่วยให้รู้จกั วิธีการวางตัวได้อย่างเหมาะสม และสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมของสังคม นั้น ๆ อย่างมีความสุ ขทําให้เป็ นคนมองโลกในแง่ดีเสมอ 4. บทบาทด้ านนันทนาการ ในปั จจุบนั นี้การเสาะแสวงหา ความบันเทิงเริ งรมย์เป็ นไปได้โดยง่าย และมีหลายรู ปแบบ เช่น การดูภาพยนตร์ โทรทัศน์ และการฟังเพลง เป็ นต้น แต่มีอีกแบบหนึ่งที่เป็ นการพักผ่อนที่ดี ที่สุด นัน่ คือ การอ่านหนังสื อ อาจจะเป็ นหนังสื อโบราณคดีกวีนิพนธ์ สารคดี นวนิยาย หนังสื อพิมพ์ รายวัน นอกจากจะทําให้ผอู ้ ่านได้รับความรู ้ความบันเทิงแล้ว ยังจะเป็ นทักษะฝึ กการอ่านอีกด้วย 5. บทบาทด้ านพัฒนาสั งคมและพัฒนาประเทศ การพัฒนาประเทศจะประสบผลสําเร็ จได้น้ นั ประเด็นสําคัญ อยูท่ ี่การพัฒนาทรัพยากร มนุษย์เป็ นเบื้องต้น กล่าวคือ ให้ประชาชนมีการศึกษา เป็ นผูร้ ู ้หนังสื อในระดับที่พอจะเป็ นพื้นฐาน ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองและการพัฒนาประเทศต่อไปทั้งนี้เพราะการที่ประชากรเป็ นผูร้ ู ้ หนังสื อ และมีนิสยั รักการอ่านย่อมจะมีส่วนสําคัญ ในการส่ งเสริ มให้ชีวิตของคนเรา ประสบความ สําเร็ จอย่างสมบูรณ์ ทั้งในด้านเศรษฐกิจสังคมและความเป็ นอยู่ ซึ่งมีผลต่อการพัฒนาตนเอง พัฒนา สังคม และพัฒนาประเทศชาติในที่สุด กระบวนการอ่าน มี 4 ขั้นตอนนับตั้งแต่ข้นั แรก การอ่านออก อ่านได้ หรื ออ่านออกเสี ยงได้ ถูกต้อง ขั้นที่สองการอ่านแล้วเข้าใจ ความหมายของคํา วลี ประโยค สรุ ปความได้ ขั้นที่สามการอ่าน แล้วรู ้จกั ใช้ความคิด วิเคราะห์ วิจารณ์และออกความเห็นในทางที่ ขัดแย้งหรื อเห็นด้วยกับผูเ้ ขียน อย่างมีเหตุผล และขั้นสุ ดท้ายคือการอ่านเพื่อนําไปใช้ ประยุกต์ใช้ในเชิงสร้างสรรค์ ดังนั้นผูท้ ี่อ่าน ได้ และอ่านเป็ นจะต้องใช้กระบวนการทั้งหมด ในการอ่านที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด โดยการ


- 52 -

คุณค่าของการอ่าน วัตถุประสงค์ในการอ่านของแต่ละบุคคลย่อมแตกต่างกันออกไป เช่น อ่านเพื่อความรู ้ อ่านเพื่อให้เกิดความคิด อ่านเพื่อความเพลิดเพลิน อ่านเพื่อความจรรโลงใจ, เป็ นต้น ซึ่งผูอ้ ่านจําเป็ นต้องทราบจุดมุ่งหมายของการอ่านนั้นๆ ไว้ก่อนการอ่านทุกครั้ง อย่างไรก็ตามการ อ่านมีความสําคัญ ต่อชีวิตที่ช่วยให้เกิดการเรี ยนรู ้ตลอดชีวิต เป็ นการช่วยให้ได้รับข้อมูลข่าวสารเพื่อ ประกอบการตัดสิ นใจในชีวติ ประจําวัน การอ่านมีความจําเป็ นต่อการศึกษาเล่าเรี ยน ทั้งในระบบ และนอกระบบ คนที่เรี ยนหนังสื อเก่งมักจะเป็ นคนที่อ่านหนังสื อเก่ง เพราะการอ่านช่วยให้ได้รับ ความรู ้และความเข้าใจ ที่จะทําให้ประสบความสําเร็ จและสามารถศึกษาต่อในระดับสูงได้ การอ่าน มีคุณค่าต่อมนุษย์ เนื่องจากเป็ นการสนองความต้องการของมนุษย์ ทําให้มนุษย์เกิดความรู ้ ยกระดับ สติปัญญาให้สูงขึ้น ทําให้มนุษย์เกิดความคิดสร้างสรรค พัฒนาความคิดให้กา้ วหน้า ส่ งผลต่อการ พัฒนาในอาชีพ ทําให้มนุษย์ทนั ต่อเหตุการณ์ ได้รับความรู ้เพิ่ม ช่วยอํานวยความสะดวก ในชีวิต ประจําวัน ช่วยให้มนุษย์สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ และสามารถดํารงชีวิตในสังคมได้ เป็ นการใช้ เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ ได้รับความเพลิดเพลินและพักผ่อนหย่อนใจ การเตรียมพร้ อมเพือ่ การอ่ าน การอ่านจะดําเนินไปได้ดีเพียงใดขึ้นอยูก่ บั สิ่ งแวดล้อมทางกายภาพ และองค์ประกอบที่อยู่ ภายในร่ างกาย การอ่านท่ามกลาง บรรยากาศและสิ่ งแวดล้อมที่เหมาะสม จะนํามาซึ่งประสิ ทธิและ ประสิ ทธิผลในการอ่าน ทั้งนี้ควรคํานึงถึง 1. การจัดสถานที่และสิ่ งแวดล้อม สถานที่ที่เหมาะกับการอ่านควรมีความเงียบสงบ ตัดสิ่ ง ต่างๆ ที่รบกวนสมาธิออกไป มีอุณหภูมิและแสงสว่างที่เหมาะสม มีโต๊ะที่มีความสูงพอเหมาะและ เก้าอี้ที่นงั่ สบายไม่นุ่มหรื อแข็งจนเกินไป 2. การจัดท่าของการอ่าน ตําแหน่งของหนังสื อควรอยูห่ ่างประมาณ 35-45 เซนติเมตร และ หน้าหนังสื อจะต้องตรงอยูก่ ลาง สายตา ควรนัง่ ให้หลังตรงไม่ควรนอนอ่านทั้งนี้เพื่อให้สมองได้รับ เลือดไปหล่อเลี้ยงอย่างเต็มที่ ก็จะทําให้เกิดการตื่นตัวต่อการรับรู ้ จดจํา และอ่านได้นาน 3. การจัดอุปกรณ์ช่วยในการอ่าน การอ่านอาจมีอุปกรณ์ที่จาํ เป็ น เช่น กระดาษสําหรับ บันทึก ดินสอ ปากกา ดินสอสี 4. การจัดเวลาที่เหมาะสม สําหรับนักศึกษาที่ตอ้ งมีการทบทวนบทเรี ยนควรอ่านหนังสื อ ในช่วงที่เหมาะสมคือช่วงที่ที่ไม่ดึก มาก คือ ตั้งแต่ 20.00 – 23.00 น. เนื่องจากร่ างกายยังไม่อ่อนล้า เกินไปนัก หรื ออ่านในตอนเช้า 5.00-6.30 น. หลังจากที่ร่างกายได้รับ การพักผ่อนอย่างเพียงพอ ทั้งนี้ในการอ่านแต่ละครั้งไม่ควรเกิน 50 นาทีและให้เปลี่ยนแปลงอิริยาบถสัก 10 นาทีก่อนลงมือ อ่านต่อไป


- 53 5. การเตรี ยมตนเอง ได้แก่ การทําจิตใจให้แจ่มใส มีความมุ่งมัน่ มีความตั้งใจ และมีสมาธิ ในการอ่าน นอนหลับพักผ่อน ให้เพียงพอ มีสุขภาพสายตาที่ดี ตัดปัญหารบกวนจิตใจให้หมด การ แบ่งเวลาให้ถกู ต้อง และมีระเบียบวินยั ในชีวิตโดยให้เวลา แต่ละวันฝึ กอ่านหนังสื อ และพยายามฝึ ก ทักษะใหม่ๆในการอ่านเช่น ทักษะการอ่านเร็ วอย่างเข้าใจ เป็ นต้น การเลือกหนังสื อ หรือ สื่ อการอ่าน การเลือกหนังสื ออ่าน ขึ้นอยูก่ บั จุดมุ่งหมายหรื อวัตถุประสงค์ของการอ่าน เช่น การอ่านเพื่อ การศึกษา การอ่านเพื่อหาข้อมูล ประกอบการทํางาน การอ่านเพื่อความเพลิดเพลิน การอ่านเพือ่ ฆ่า เวลา การรู ้จกั เลือกหนังสื ออ่าน ที่มีประโยชน์จะช่วยให้ผอู ้ ่าน ได้รับประโยชน์ตามเป้ าหมาย การ เลือกหนังสื ออ่านมีความสัมพันธ์กบั การเลือกใช้ทรัพยากรสารนิเทศในห้องสมุด เช่น 1. การอ่านเพือ่ ความรู ้ เช่น ตําราวิชาการ 2. การอ่านเพือ่ ความบันเทิงใจ เช่น หนังสื อนวนิยาย นิตยสาร หนังสื อพิมพ์ 3. การอ่านเพือ่ เป็ นกําลังใจ เสริ มสร้างปั ญญา เช่น หนังสื อจิตวิทยา หนังสื อธรรมะ 4. การอ่านเพือ่ ใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ เมื่อเลือกสื อวัสดุการอ่านหรื อหนังสื อได้แล้ว ก็จะต้องกําหนดว่าต้องการอะไร ข้อมูลใน ลักษณะใดจากหนังสื อเล่มนั้น ขอบเขตของข้อมูลในลักษณะกว้างหรื อแคบแต่ลึกซึ้ง ทั้งนี้เพื่อ กําหนดรู ปแบบการอ่านเพื่อความต้องการต่อไป การกําหนดจุดมุ่งหมายการอ่าน การรู ้ความมุ่งหมายในการอ่านเปรี ยบเหมือนการรู ้จุดหมายปลายทางของการเดินทาง ทําให้ สามารถเตรี ยมพร้อมสําหรับ สถานการณ์ต่าง ๆ และเดินทางไปสู่ที่หมายได้ นักอ่านที่ดีควรมี จุดมุ่งหมายว่าต้องการอ่านเพื่ออะไร เพื่อจะได้กาํ หนดวิธีอ่านได้ เหมาะสมการอ่านเพื่อการศึกษา ค้นคว้าและทํารายงาน มีจุดมุ่งหมายดังนี้ 1. อ่ านเพือ่ ความรู้พนื้ ฐาน เป็ นการอ่านเพือ่ รู ้เรื่ องโดยสังเขป หรื อเพื่อลักษณะของหนังสื อ เช่น การอ่านเพื่อ รวบรวมสิ่ งพิมพ์ที่จะใช้ในการค้นคว้าและเขียนรายงาน 2. อ่ านเพือ่ รวบรวมข้ อมูล เป็ นการอ่านให้เข้าในเนื้อหาสาระ และจัดลําดับความคิดได้ เพื่อ สามารถรวบรวม และบันทึกข้อมูลสําหรับเขียนรายงาน 3. อ่ านเพือ่ หาแนวคิด หมายถึง การอ่านเพื่อรู ้วา่ สิ่ งที่อ่านั้น มีแนวคิดหรื อสาระสําคัญ อย่างไร จะนําไปใช้ประโยชน์ได้หรื อไม่ ในลักษณะใด เช่น การอ่านบทความ และสารคดีเพื่อหา หัวข้อสําหรับเขียนโครงร่ างรายงาน 4. อ่ านเพือ่ วิเคราะห์ หรือวิจารณ์ คือ การอ่านเพื่อให้เข้าใจลึกซึ้งพอที่จะนําความรู ้ไปใช้ หรื อแสดงข้อคิดเห็นเกี่ยวกับ เรื่ องที่อ่านได้ เช่น การอ่านบทความ ที่แสดงความคิดเห็น การอ่าน ตารางและรายงาน


- 54 วิธีการอ่ านทีเ่ หมาะสม การอ่านมีหลายระดับ และมีวิธีการต่าง ๆ ตามความมุ่งหมายของผูอ้ ่าน และประเภทของ สื่ อการอ่าน การอ่านเพื่อการศึกษา ค้นคว้าและเขียนรายงาน อาจใช้วิธีอ่านต่าง ๆ เช่น การอ่าน สํารวจ การอ่านข้าม การอ่านผ่าน การอ่านจับประเด็น การอ่านสรุ ป ความและการอ่านวิเคราะห์ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1. การอ่ านสํ ารวจ คือ การอ่านข้อเขียนอย่างรวดเร็ ว เพื่อรู ้ลกั ษณะโครงสร้างของข้อเขียน สํานวนภาษา เนื้อเรื่ องโดยสังเขป เป็ นวิธีอ่านที่เป็ นประโยชน์อย่างยิง่ ในการเลือกสรรสิ่ งพิมพ์ สําหรับใช้ประกอบการค้นคว้าหรื อการหาแนวเรื่ องสําหรับเขียนรายงาน และรวบรวมบรรณานุกรม ในหัวข้อที่เขียนรายงาน 2. การอ่ านข้ าม เป็ นวิธีอ่านอย่างรวดเร็วเพื่อเข้าใจเนื้อหาของข้อเขียน โดยเลือกอ่าน ข้อความบางตอน เช่น การอ่านคํานํา สาระสังเขป บทสรุ ป และการอ่านเนื้อหาเฉพาะตอนที่ตรงกับ ความต้องการเป็ นต้น 3. การอ่ านผ่าน เป็ นการอ่านแบบกวาดสายตา (Scanning Reading) โดยผูอ้ ่านจะทําการ กวาดสายตาอย่างรวดเร็ วไปยังสิ่ งที่เป็ นเป้ าหมายในข้อเขียนเช่น คําสําคัญ ตัวอักษร หรื อ สัญลักษณ์ แล้วอ่านรายละเอียดเฉพาะที่เกี่ยวกับสิ่ งที่ตอ้ งการ เช่น การอ่านเพื่อค้นหาชื่อในพจนานุกรม และ การอ่านแผนที่ 4. การอ่ านจับประเด็น หมายถึง การอ่านเรื่ องหรื อข้อเขียนโดยทําความเข้าใจสาระสําคัญ ในขณะที่อ่าน มักใช้ในการอ่าน ข้อเขียนที่ไม่ยาวนัก เช่น บทความ การอ่านเร็ ว ๆ หลายครั้งจะช่วย ให้จบั ประเด็นได้ โดยการอ่านมีเทคนิคคือต้องสังเกตคําสําคัญ ประโยคสําคัญที่มีคาํ สําคัญ และทํา การย่อสรุ ปบันทึกประโยคสําคัญไว้ เพื่อใช้ประโยชน์ต่อไป 5. การอ่ านสรุปความ หมายถึง การอ่านโดยสามารถตีความหมายสิ่ งที่อ่านได้ถูกต้องชัด เจนเข้าใจเรื่ องอย่างดี สามารถแยก ส่ วนที่สาํ คัญหรื อไม่สาํ คัญออกจากกัน รู ้วา่ ส่ วนใดเป็ น ข้อเท็จจริ ง หรื อข้อคิดเห็น ส่ วนใดเป็ นความคิดหลัก ความคิดรอง การอ่านสรุ ป ความมีสอง ลักษณะคือ การสรุ ปแต่ละย่อหน้าหรื อแต่ละตอน และสรุ ปจากทั้งเรื่ อง หรื อทั้งบท การอ่านสรุ ป ความควรอย่างอย่างคร่ าว ๆ ครั้งหนึ่งพอให้รู้เรื่ อง แล้วอ่านละเอียดอีกครั้งเพื่อเข้าใจเรื่ องอย่างดี หลักจากนั้นตั้งคําถามตนเองในเรื่ องที่อ่านว่าเกี่ยวกับอะไร มีเรื่ องราวอย่างไร แล้วเรี ยบเรี ยงเนื้อหา เป็ นสํานวนภาษาของผูส้ รุ ป 6. การอ่ านวิเคราะห์ การอ่านเพื่อค้นคว้า และเขียนรายงานโดยทัว่ ไปต้องมีการวิเคราะห์ ความหมายของข้อความ ทั้งนี้เพราะ ผูเ้ ขียนอาจใช้คาํ และสํานวนภาษาในลักษณะต่าง ๆ อาจเป็ น ภาษาโดยตรงมีความชัดเจนเข้าใจง่าย ภาษาโดยนัยที่ตอ้ งทําความเข้าใจ และภาษาที่มีความหมาย ตามอารมณ์และความรู ้สึกของผูเ้ ขียน ผูอ้ ่านที่มีความรู ้เรื่ องคําศัพท์ และสํานวนภาษาดี มี


- 55 -

เทคนิคการอ่ านหนังสื อตํารา เอกสารเพือ่ การศึกษาเล่ าเรียน เทคนิคการอ่านเพื่อศึกษาเล่าเรี ยน เป็ นการอ่านเพื่อศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมและเขียนรายงาน ในขณะที่ศึกษาเล่าเรี ยนและในขณะเดียวกัน นักศึกษาจะต้องอ่านเพื่อเตรี ยมสอบอีกด้วย (ฉวีวรรณ คูหาภินนั ทน์, 2546 : http://www.wearehappy.in.th/) เทคนิคในการอ่านเพื่อศึกษาเล่าเรี ยนมีหลายวิธี แต่วิธีที่มีผนู ้ ิยมใช้กนั มาก และเป็ นวิธีการ อ่านที่มีประสิ ทธิภาพมากที่สุด คือ วิธีอ่าน แบบ SQ3R : ซึ่งดีสและดีส (Deese and Deese 1979 : 42) กล่าวว่า "วิธีอ่านแบบนี้เริ่ มโดย ฟรานซิส พี โรบินสัน (Francis P. Robinson) ซึ่งเป็ น ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการอ่านอยูท่ ี่มหาวิทยาลัย โอไฮโอ ได้ศึกษาเทคนิคในการอ่านและได้แนะนําวิธีการ อ่านให้กบั นักศึกษา จนประสบผลสําเร็ จ" วิธีการอ่านแบบ SQ3R นี้ แบ่ งออกเป็ น 5 ขั้นตอนคือ S (Survey) คือการอ่านแบบสํารวจเป็ นการอ่านผ่านๆ อย่างรวดเร็ วตั้งแต่ดูชื่อหนังสื อ ชื่อ ผูแ้ ต่ง หน้าปกใน หน้าคํา ดูจุดมุ่งหมายของผูแ้ ต่งซึ่งเป็ นส่ วนหน้าของหนังสื อและสํารวจส่ วนหลัง ของหนังสื อ ได้แก่ ดัชนี อภิธานศัพท์ บทสรุ ป แบบฝึ กหัด ภาคผนวก และบรรณานุกรมเป็ นต้น นอกจากนั้นสํารวจเนื้อแต่ละบทอย่างรวดเร็ ว Q (Question) คือการตั้งคําถามถามตนเองไว้ในใจ จากเนื้อเรื่ องที่อ่าน เช่น ใคร ทําอะไร ที่ ไหน เมื่อไร อย่างไร ฯลฯ เพื่อความเข้าใจเนื้อเรื่ องดียงิ่ ขึ้น R1 (Read) อ่านเพื่อตอบคําถามที่ตนเองอยากรู ้ ที่ได้ต้ งั คําถามไว้ในใจแล้ว จึงสมควร จะต้องอ่านให้ละเอียดโดยใช้สารบัญและดัชนีช่วยค้นคําหรื อเรื่ องที่ตอ้ งการด้วย หรื อใช้อภิธาน ศัพท์ดว้ ย นอกจากนั้นอาจจะทําเครื่ องหมาย ระบายสี หรื อขีดเส้นใต้ หรื อบันทึกไว้ ข้างๆ หน้ากระดาษ (ถ้าเป็ นหนังสื อ/ตําราของตนเอง) เมื่ออ่านเข้าใจแล้วลองทําแบบฝึ กหัดท้ายบท (ถ้ามี) R2 (Recite) คือ การจดจํา เมื่อเข้าใจได้คาํ ตอบจากหนังสื อแล้วควรพยายามจดจําเนื้อหา ข้อความที่สาํ คัญไว้ซ่ ึงเป็ นหัวใจของการเรี ยนรู ้ โดยการทําบันทึกย่อใส่ สมุดไว้ หรื อขีดเส้นใต้ หรื อ จด (List) หัวข้อทั้งหมดไว้ ท่องจําจากความเข้าใจโดยมีเทคนิคในการจําที่ทาํ ให้จาํ ง่าย อาจเขียนเป็ น เพลงเป็ นบทกลอนเป็ น แผนภูมิ ฯลฯ R3 (Review, Reconstruct) ทบทวนจากการอ่านบันทึกย่อที่บนั ทึกไว้หรื อจากเครื่ อง หมาย ต่างๆที่ทาํ ไว้ในหนังสื อจากข้อความที่เขียนไว้ขา้ งหน้ากระดาษและจากหัวข้อที่จดไว้การทบทวน เป็ นครั้งคราวและทบทวนก่อนสอบ


- 56 แบบฝึ กหัด : การอ่าน 1. ให้นกั ศึกษาบอกยุทธวิธีในการอ่านหนังสื อตําราเรี ยนให้ได้ผลและมีประสิ ทธิภาพ ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... 2. จงอธิบายเทคนิคการอ่าน SQ3R คืออะไร ........................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................


- 57 -

2.8 ทักษะการเขียน (Writing Skill) การเขียนเป็ นระบบการสื่ อสาร หรื อบันทึกถ่ายทอดภาษา เพื่อแสดงออกซึ่งความรู ้ ความคิด ความรู ้สึก และอารมณ์ โดยใช้ตวั หนังสื อและเครื่ องหมายต่างๆ เป็ นสื่ อ ดังนั้นการเขียนจึงเป็ น ทักษะการใช้ภาษาแทนคําพูด ที่สามารถสื่ อความหมายให้เป็ นหลักฐาน ปรากฏได้นานกว่าการพูด การเขียนที่เป็ นเรื่ องราวเพื่อให้ผอู ้ ่านเข้าใจตรงตามความมุ่งหมายของผูเ้ ขียนนั้น จะประสบความ สําเร็ จมากน้อยเพียงใด ส่ วนสําคัญขึ้นอยูก่ บั ว่าผูเ้ ขียนมีทกั ษะในการใช้ภาษาเขียน ได้ดีเพียงใด ทักษะการใช้ภาษาเขียน ต้องอาศัยพื้นฐานความรู ้จากการฟัง การพูดและการอ่าน เพราะจากพื้นฐาน ดังกล่าวจะทําให้มีความรู ้ มีขอ้ มูลและมีประสบการณ์เพียงพอ ที่จะให้เกิดความคิด ความสามารถ ในการเรี ยบเรี ยงและถ่ายทอดความคิดออกมาสื่ อสารกับผูอ้ ่านได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ

การเขียน : ศาสตร์ และศิลป์ แห่ งการใช้ คาํ การใช้ภาษาเพือ่ สื่ อความหมาย เป็ นศาสตร์ที่ผใู ้ ช้ตอ้ งรู ้จกั คํา และเลือกใช้คาํ ให้ถกู ต้อง เหมาะสม ตรงความหมาย ตรงราชาศัพท์ เหมาะกับกาลเทศะ ไม่ใช้คาํ ซํ้าซ้อน รู ้จกั หลบคําโดยไม่ เกิดความกํากวม และใช้คาํ ให้เกิดภาพพจน์ ในการนําคําที่เลือกแล้วมาเรี ยบเรี ยงเป็ นประโยค เป็ น ข้อความ ถือเป็ นศิลป์ แห่ งการใช้คาํ ที่มิใช่เพียงแต่สื่อความรู ้ความเข้าใจเท่านั้น หากยังสามารถ ก่อให้เกิดภาพ เสี ยง และความรู ้สึกได้อีก แนวคิดเบือ้ งต้ น การเขียนหนังสื อเป็ นส่ วนหนึ่งของกระบวนการ สื่ อความหมาย การสื่ อความหมาย คือ การถ่ายทอดข้อมูล ข่าวสาร ทัศนคติ ความรู ้สึกนึกคิดหรื อแม้กระทัง่ อารมณ์จากผูส้ ่ งไปยังผูร้ ับโดยใช้สื่อที่ถูกต้อง เหมาะสมเพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ถกู ต้องตรงกัน หรื อ เกิดการเห็นพ้อง การยอมรับ หรื อการตอบสนองที่ดี ถ้ากําหนดแนวคิดเบื้องต้น ในเรื่ องการสื่ อ ความหมายได้แล้ว กระบวนการคิดและการเขียนก็จะมีกรอบของแนวคิด อันจะทําให้การเขียนนัน่ ไม่ใช่เรื่ องที่สร้างความรู ้สึกว่าเป็ นปั ญหาอีกต่อไป ในฐานะที่เป็ น ผู้ส่ง ในกระบวนการสื่ อความหมาย ผูเ้ ขียนจึงต้องกําหนดความคิดให้ครบ วงจร คือ นอกจากจะคิดถึงข้อมูลข่าวสารที่ตนเองจะต้องเขียนเพื่อถ่ายทอดข้อมูลเหล่านั้นไปยัง ผูอ้ ่านแล้ว ยังจะต้องคิดถึง ผู้รับ ซึ่งจะเป็ นผูอ้ ่านอีกด้วย การคิดถึงผูอ้ ่านนั้น ก็คือการคิดในประเด็น ที่วา่ ผู้อ่าน คือใคร มีความรู ้ความเข้าใจในสิ่ งที่ ผู้เขียน กําลังจะสื่ อเพียงใดหรื อไม่ สาระสําคัญ หรื อ ประเด็นในการเขียนเป็ นอย่างไร ถ้อยคําภาษาที่ใช้ในการสื่ อสารนั้น มีลกั ษณะที่จะทําให้การรับสาร เบี่ยงเบนไปได้เพียงใดหรื อไม่ นี่คือการคิดในเบื้องต้นก่อนที่จะลงมือเขียน เป็ นการคิดแบบครบ วงจร เพื่อให้การสื่ อสารหรื อการสื่ อความหมายนั้น เป็ นไปอย่างถูกต้อง เข้าใจตรงกัน ทั้งจากผูส้ ่ ง และจากผูร้ ับ


- 58 ก่อนที่จะลงมือเขียนหนังสื อเพื่อติดต่อสื่ อสาร จึงควรจะเข้าใจและตั้งหลักอยูบ่ นรากฐาน ของการสื่ อความหมายดังกล่าวเสี ยก่อน ก่อนที่จะทําความเข้าใจถึงหลักการเขียนเพื่อสื่ อความหมาย เพื่อให้การเขียนเป็ นไปอย่างถูกต้อง ตามหลักของการเขียนที่ดี การเขียนหนังสื อเป็ นการสื่ อสารอย่างหนึ่ง จากผูส้ ่ งถึงผูร้ ับสาร จุดประสงค์สาํ คัญ คือ เพื่อให้เข้าใจได้ถูกต้องตรงกัน และสามารถปฏิบตั ิได้อย่างรวดเร็ ว แต่บางครั้งการสื่ อสารด้วยระบบ หนังสื อ ก็ประสบปั ญหาทั้งผูเ้ ขียนและผูร้ ับ กล่าวคือ ผูเ้ ขียนก็เขียนวกวนไม่ชดั เจน หรื อเยิน่ เย้อ จับความได้ยาก ผูอ้ ่านไม่สามารถเข้าใจได้ชดั เจนและไม่สามารถปฏิบตั ิได้ ตามจุดประสงค์ของ ผูเ้ ขียน ทักษะการเขียน คือ ความสามารถในการสื่ อสาร ด้วยวิธีการเขียนได้อย่างถูกต้องตาม หลักเกณฑ์ มีสาํ นวนภาษาถูกต้อง มีเหตุผล และลําดับขั้นตอนในการนําเสนอที่สามารถสร้างความ เข้าใจแก่ผอู ้ ่านได้อย่างชัดเจน (เกรี ยงศักดิ์ เจริ ญวงศ์ศกั ดิ์, 2546) การเขียนเป็ นการรวบรวมแนวความคิด และนําเสนอความคิดเห็นนั้นออกมา ซึ่งการเขียน นั้น นักศึกษาไม่ได้ใช้เฉพาะในเวลาเรี ยนนั้น แต่ทกั ษะการเขียนนั้นนับว่ามีความสําคัญและจําเป็ น อย่างมากต่อการทํางานในเกือบทุกอาชีพ มนุษย์เราได้คิดค้นวิธีเขียน เพื่อบอกความคิดของตนเอง มาตั้งแต่สมัยอียปิ ต์ ซึ่งมีตวั อักษรที่เรี ยกว่า ฮีโรกราฟฟิ ก หรื อ การประดิษฐ์อกั ษรไทยก็เริ่ มมาตั้งแต่ สมัยพ่อขุนรามคําแหง ซึ่งทําให้เรามีภาษาเขียนที่สามารถสื่ อความหมายได้

หลักการเขียนทีด่ ี ไม่วา่ จะเป็ นการเขียนหนังสื อชนิดใดข้อตาม ถ้าผูเ้ ขียนมีหลักในการคิด การเขียนที่ดี เป็ น รากฐานแล้ว การสื่ อสารด้วยการเขียน ก็จะสามารถดําเนินไปได้อย่างราบรื่ น บรรลุวตั ถุประสงค์ และเป็ นผลดีในที่สุด หลักการเขียนที่ดีน้ นั อาจมีนกั วิชาการหรื อผูร้ ู ้เขียนไว้เป็ นคําสอน ที่แตกต่างกันออกไป ขึ้นอยูก่ บั มุมมอง และวิธีการคิดของแต่ละท่าน แต่สาํ หรับหลักการเขียนที่จะนําเสนอต่อไปนี้ เป็ น แนวคิดจากประสบการณ์ในการรวบรวมและการค้นคว้าของนักวิชาการหลายท่าน (อดุล จันทรศักดิ์, 2547 : หน้า 87) การเขียนที่ดีน้ นั จะช่วยให้นกั ศึกษาผ่านการสอบไปได้ดว้ ยดี หรื อเมื่อไปประกอบอาชีพ ทํางาน การเขียนจะช่วยให้เราก้าวหน้าในการทํางานได้ นอกจากนี้ การเขียนที่ดีน้ นั ต้องมีความคิด ที่ชดั เจนว่าต้องการจะบอกอะไรกับผูอ้ ื่น ซึ่งการเขียนให้ได้ดีน้ นั แต่ละคนอาจจะมีหลักในการคิดที่ แตกต่างกันออกไป อย่างไรก็ตาม หลัก 5 C ที่จะกล่าวต่อไปนี้ ก็เป็ นหลักที่ได้รับความนิยมและใช้ กันอยูค่ ่อนข้างมาก หลัก 5 C ได้แก่ 1. Correct คือ ความถูกต้ อง ซึ่งเป็ นเรื่ องที่มีความสําคัญและจําเป็ นอย่างมากในการสื่ อสาร การสื่ อความหมาย หรื อในการเขียนหนังสื อ ความถูกต้องที่จะต้องตรวจสอบหรื อใช้เป็ นหลักใน การเขียน ก็คือ


- 59 1.1 ความถูกต้องในรู ปแบบ ซึ่งได้แก่ รู ปแบบตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ ที่เป็ นเครื่ องกําหนดทั้งปวง ของประเภทหนังสื อราชการ ของคําขึ้นต้น คําลง ท้าย ของการใช้ถอ้ ยคํา ภาษาราชาศัพท์ 1.2 ความถูกต้องในเนื้อหา ข้อมูลที่จะใช้ในการเขียนนั้นเป็ นข้อมูล ที่จะต้องค้น หาจากแหล่งข้อมูลต่างๆ เพื่อให้เกิดความถูกต้องอย่างน่าเชื่อถือของข้อมูลนั้น ข้อมูลนั้นคือส่ วนที่ จะนําไปใช้เป็ น เนื้อหา ในการเขียนหนังสื อราชการ เพราะฉะนั้น จึงจําเป็ นที่จะต้องคํานึงถึงความ ถูกต้องของข้อมูลที่จะนํามาเขียนอยูท่ ุกขณะ 1.3 ความถูกต้องในหลักภาษา ความถูกต้องในหลักภาษานั้น ถ้าจะอธิบายความ ได้ละเอียดก็จะยาวความมาก และจะกล่าวประการหนึ่งในหลักของภาษาที่จะต้องใช้ในการเขียน หนังสื อก็คือ การไม่ใช้ภาษาพูด ในการเขียนหนังสื อที่เป็ นทางการ ภาษาพูดและภาษาเขียนนั้นมี ความแตกต่างกันอยู่ และใช้ได้เฉพาะในการพูดหรื อการเขียนเท่านั้นไม่ปะปนกัน เว้นแต่ในกรณี ที่ งานเขียนนั้นจะคัดลอกส่ วนที่เป็ นประโยคคําพูดมา โดยใส่ เครื่ องหมายคําพูดให้ชดั เจนไว้เท่านั้น จึงจะใช้ภาษาพูดในการเขียนได้ 2. Clear คือ ความชัดเจน ซึ่งเป็ นเรื่ องที่ช่วยให้กระบวนการในการสื่ อความหมายเป็ นไป อย่างราบราบรื่ น ความชัดเจนนั้นพิจารณาได้จากการเขียนหนังสื อให้อ่านแล้วเข้าใจง่าย หรื อรับรู ้ได้ โดยตลอด อ่านแล้วไม่มีขอ้ สงสัย ไม่ตอ้ งตีความว่าอาจจะเป็ นเช่นนั้น หรื ออาจจะเป็ นเช่นนี้ ความ ชัดเจนที่วา่ นี้คือความชัดเจนในถ้อยคําภาษา อันจะนําไปสู่ ความชัดเจนในจุดประสงค์ท้ งั หมด 3. Confirm คือ การยืนยันได้ในสิ่ งที่เขียน ซึ่งสามารถยืนยันในสิ่ งที่เขียนได้ท้ งั ในแง่ของ ข้อมูล หรื อข้อเท็จจริ ง รวมทั้งการอ้างอิงกฎหมาย กฎระเบียบข้อบังคับ มติ หรื อหนังสื อเวียน กําหนดแนวทางปฎิบตั ิใดก็ตามความรัดกุมที่เป็ นหลักสําคัญของการเขียนหนังสื อนี้ มีความหมาย รวมถึงการเขียนที่อ่านแล้ว ไม่ตอ้ งตีความ หากแต่จะต้องเขียนให้เข้าาใจได้โดยความเรี ยบง่ายและ ไม่มีแง่มุมให้พิจารณาเป็ นอย่างอื่น ในลักษณะ อาจจะเป็ นอย่างนั้น อาจจะเป็ นอย่างนี้ ซึ่งจะทําให้ การสื่ อความหมายเบี่ยงเบนออกไปได้ 4. Concise คือ ความสั้ น ความกระชับ ความกระทัดรัด อันได้แก่การเขียนหนังสื อโดยไม่ ใช้ถอ้ ยคําฟุ่ มเฟื อย ไม่วกวน ไม่ซ้ าํ ซาก ไม่ใช้ถอ้ ยคําซํ้ากันในที่ใกล้เคียงกัน ต้องเขียนหนังสื อใน ลักษณะสรุ ปความ คือ นําเสนอส่ วนที่เป็ นข้อมูล และเป็ นสาระสําคัญ ให้ผอู ้ ่านเข้าใจได้ในความ กระชับ หรื อความกะทัดรัดนั้น กรณี การเขียนหนังสื อราชการ ไม่ควรเขียนในลักษณะขยายความ โดยไม่จาํ เป็ นเพราะจะทําให้หนังสื อราชการนั้นไม่น่าอ่าน 5. Convince คือ การโน้ มน้ าว หรื อ การโน้มนํา ซึ่งเป็ นเรื่ องที่จาํ เป็ นมากโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในการเขียนหนังสื อเพื่อขอความช่วยเหลือ ขอความร่ วมมือ หรื อขอความอนุเคราะห์จากผูอ้ ื่น หรื อ จากหน่วยงานอื่น การโน้มน้าวที่วา่ นี้ ผูเ้ ขียนมีความคิดอยูว่ า่ นอกจากจะต้องประกอบการใช้ภาษา


- 60 -

รู ปแบบของการเขียน ในงานเขียนโดยทัว่ ไป จะมีส่วนประกอบสําคัญด้วยกัน 4 ส่ วน ดังต่อไปนี้ 1. ส่ วนนําหรือบทนํา (Introduction) เป็ นส่ วนที่จะบอกว่าเรื่ องที่จะเขียนนี้เป็ นเรื่ อง เกี่ยวกับอะไร เป็ นการบอกแบบกว้างๆ อาจจะมีความยาว 1 ย่อหน้าสั้นๆ หรื อยาวเพียง 3-4 ประโยค 2. แนวคิดหลัก (Main Point) คือ ส่ วนที่เป็ นแนวความคิดหลัก ที่ผเู ้ ขียนพยายามจะสื่ อให้ ผูอ้ ่านเข้าใจ 3. แนวคิดสนับสนุน (Supporting Ideas) เป็ นแนวความคิดเสริ มที่นาํ มาประกอบกับ แนวความคิดหลัก ซึ่งแนวคิดสนับสนุนนี้ อาจเรี ยงตามเวลา เรี ยงตามเหตุการณ์ เรี ยงตาม ความสําคัญ หรื อ กล่าวถึงปั ญหาก่อนและค่อยเสนอแนวทางแก้ไขในลําดับต่อมา 5. ส่ วนสรุ ปหรือบทสรุป (Conclusion) เป็ นการสรุ ปประเด็นสําคัญของเรื่ อง หรื อเป็ น ข้อคิดที่ตอ้ งการให้ผอู ้ ่านคิดตาม การเขียนสรุ ปย่ อ ในการสรุ ปย่อ สาระสําคัญ มีดงั นี้ 1. ควรเริ่ มด้วยประเด็นหรื อประโยคที่ดึงดูดความสนใจ 2. สรุ ปเนื้อหาที่สาํ คัญ เป็ นข้อๆ เพื่อสะดวกในการอ่าน 3. ในแต่ละย่อหน้าจะมีใจความสําคัญ 1-2 ประโยค ควรเลือกมาเป็ นเนื้อหาของการสรุ ป 4. จัดเรี ยงลําดับหัวข้อและเนื้อเรื่ องให้น่าสนใจ ติดตามง่าย 5. ควรมีบทสรุ ป 2-3 ประโยคในตอนท้ายของย่อความ อย่างไรก็ตาม การเขียนเอกสารแต่ละประเภท จะมีรูปแบบและวิธีการในการนําเสนอ แตกต่างกันออกไป ซึ่งผูเ้ ขียนจําเป็ นต้องมีทกั ษะในการเลือกใช้และทักษะเกิดได้จากการอ่านมาก ฟังมาก และเขียนมาก ซึ่งจะต้องฝึ กฝนอยูเ่ สมอ จึงจะเขียนให้สื่อสารกันอย่างประสบผลสําเร็ จได้ ที่กล่าวมาทั้งหมดนั้น คือ หลักการเขียนที่ดี ซึ่งปรับใช้ได้กบั การเขียนทุกประเภท ไม่วา่ จะ เขียนหนังสื อ เขียนโครงการ หรื อเขียนคําตอบข้อสอบของนักศึกษา ถ้ามีหลักในการเขียนที่ดีแล้ว ก็จะสามารถ ทําให้งานขียน นั้นเป็ นงานเขียนที่ดี สอบทานได้ เป็ นต้นแบบที่ดีได้ --------------------------------------------------------------------------------กิจกรรมภาคปฏิบตั ิ ให้นกั ศึกษาฝึ กเขียนบทความสั้นๆ ความยาวไม่เกิน 20 บรรทัด ลงบนกระดาษ A4 ดังนี้ เรื่องที่ 1 “การใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย” เรื่องที่ 2 “เรี ยนอย่างไรให้มีความสุ ข”


- 61 -

2.9 ทักษะการพูดเพือ่ นําเสนอ การนําเสนอ (Presentation) เป็ นเครื่ องมือช่วยให้ผฟู ้ ังเกิดความเข้าใจง่ายขึ้น และมีผลส่ ง ต่อถึงการจะทําให้ผฟู ้ ังเห็นด้วยกับสิ่ งที่นาํ เสนอ หรื อกระตุน้ ให้ผฟู ้ ังกระทําบางสิ่ งบางอย่าง การ นําเสนอที่ดีจึงต้อง กระชับ ชัดเจน เข้าใจง่าย และมีรูปแบบสี สนั ที่น่าสนใจ จึงจะสามารถดึงดูด ความสนใจและมีผลต่อผูฟ้ ังได้ ทักษะการนําเสนอนี้จะนําเสนอแนวทางในการเตรี ยมตัว และการพิจารณาปั จจัยต่างๆ เพื่อ เตรี ยมความพร้อม ในการนําเสนองาน โดยเสนอหัวข้อที่ควรพิจารณา เตรี ยมการนําเสนอ ดังนี้ ก. ด้ านเนือ้ หาสาระ 1. เนื้อหามีความน่าสนใจ 2. เนื้อหามีความถูกต้อง 3. เนื้อหามีความครบถ้วน 4. เนื้อหาเป็ นประโยชน์ต่อผูฟ้ ัง 5. เนื้อหาเหมาะสมกับระดับความรู ้ของผูฟ้ ัง 6. การเชื่อมโยง 7. การจัดลําดับเนื้อหา 8. ตั้งข้อสังเกตุ และชวนให้ติดตาม 9. การสรุ ปประเด็นที่น่าสนใจ 10. สรุ ปเนื้อหาการนําเสนอทั้งหมด ข. PowerPoint Presentation 1. โครงสร้างรู ปแบบ( THEME ของ Slide) 2. การจัดลําดับ SLIDE 3. การจัดรู ปแบบSLIDE LAYOUT 4. การจัดรู ปแบบFont และขนาดตัวอักษร 5. การจัดรู ปแบบภาพ 6. การจัดรู ปแบบ slide effect 7. การจัดรู ปแบบ animation 8. การ DEMO /TEST / LINK ต่างๆ ค. ผู้นําเสนอ (Presenter) 1. บุคลิก การแต่งกาย 2. การใช้น้ าํ เสี ยง 3. การโน้มน้าว ชักนําเข้าสู่เนื้อหา


- 62 4. ความรู ้ การเตรี ยมตัว 5. การให้ผฟู ้ ังมีส่วนร่ วม 6. การตอบคําถาม 7. การรักษาเวลา การนําเสนอ ความสํ าคัญของการนําเสนอแผนงานหรือผลงาน การนําเสนอความคิดต่อคนๆ หนึ่ง หรื อคณะกลุ่มคน เพื่อให้เข้าใจและหรื อคล้อยตาม ความคิดของผูเ้ สนอ กล่าวได้ดงั นี้ :1. การนําเสนอแผนงานจะช่วยให้มีการแลกเปลี่ยนหรื อแบ่งปันความคิดเห็นซึ่งทําให้ผฟู ้ ังมี ความรู ้ สึ กถึงการมีส่วนร่ วมในความคิดหรื อแผนงานนั้นๆ เป็ นผลให้แผนงานมีโอกาสประสบ ความสําเร็ จมากยิง่ ขึ้น 2. การนําเสนอแผนงานจะช่วยให้ผเู ้ สนอมัน่ ใจความคิดและข้อเท็จจริ งต่างๆจะเป็ นที่เข้าใจ ชัดเจนอย่างที่ตอ้ งการ (ไม่ตอ้ งลุน้ ว่าจะอ่านเอกสารที่เสนอไปเข้าใจหรื อไม่) 3. การนําเสนอ เป็ นการเตรี ยมการเสนอที่สามารถปรับเปลี่ยนรู ปแบบและวิธีการได้ สะดวก เพื่อให้สอดคล้องกับกลุ่มผูฟ้ ังได้สดฉับไว วัตถุประสงค์ของการนําเสนอ 1. เพื่อบอกข้อมูล (Inform) 2. รายงานสถานะ (Status Report) 3. การสาธิต (Demonstration) 4. แผนธุรกิจ/กลยุทธ์ (Business/Strategy) 5. การขายความคิด (Idea Selling) 6. การเสนอแนะให้เปลี่ยนแปลง (Suggestion) 7. การขายสิ นค้า/บริ การ (Product/Service Selling) 8. การอธิบายข้อมูลทางเทคนิค (Technical Data องค์ ประกอบและปัจจัยทีส่ ํ าคัญในการนําเสนอผลงานในรูปแบบต่ างๆ • • • • •

แบบตามจํานวนผูพ้ ดู แบบตามจํานวนผูฟ้ ัง แบบระดับความเป็ นทางการของการนําเสนอ แบบระดับความสัมพันธ์กบั ผูฟ้ ัง แบบตามสถานที่


- 63 แบบระดับความเป็ นทางการของการนําเสนอ 1. เป็ นทางการ • ผูพ้ ดู จะยืน • ผูฟ้ ังจะนัง่ • ผูพ้ ดู ใช้โสตทัศนูปกรณ์ประกอบ • ช่วงถาม/ตอบอยูท่ า้ ยการนําเสนอ • มีการกําหนดหัวข้อแจ้งไว้ล่วงหน้า • ต้องเตรี ยมการ/ซักซ้อมกับโสตทัศนูปกรณ์ไว้ล่วงหน้า 2. กึง่ เป็ นทางการ • ผูพ้ ดู จะยืน/นัง่ ก็ได้ แต่มกั จะยืน • ผูฟ้ ังจะนัง่ • ผูพ้ ดู ใช้โสตทัศนูปกรณ์ประกอบ/ Flipchart • ช่วงถาม/ตอบแทรกอยูร่ ะหว่างการนําเสนอ • อาจมีการกําหนดหัวข้อแจ้งไว้ล่วงหน้าหรื อไม่กไ็ ด้ • ต้องเตรี ยมการ/ซักซ้อมกับโสตทัศนูปกรณ์ไว้ล่วงหน้าบ้าง 3. ไม่ เป็ นทางการ • ผูพ้ ดู จะยืน/นัง่ ก็ได้ แต่มกั จะนัง่ • ผูฟ้ ังจะนัง่ /ยืน แต่งมักจะนัง่ /ตามผูพ้ ดู • ช่วงถาม/ตอบเป็ นรู ปแบบการสนทนา/พูดคุย • ไม่มีการกําหนดหัวข้อแจ้งไว้ล่วงหน้า • ไม่ตอ้ งเตรี ยมการ/ซักซ้อมกับโสตทัศนูปกรณ์ รู ปแบบการนําเสนอ :1. แบ่งตามจํานวนผูน้ าํ เสนอ ผูน้ าํ เสนอ 1 คน ผูน้ าํ เสนอ 2 คน และผูน้ าํ เสนอมากกว่า 2 คนขึ้นไป 2. แบ่งตามจํานวนผูฟ้ ัง เสนอต่อผูฟ้ ังกลุ่มใหญ่ เสนอต่อผูฟ้ ังกลุ่มเล็ก และแบบตัวต่อตัว 3. แบ่งตามความสัมพันธ์ของผูฟ้ ัง คนในองค์กร หรื อ คนนอก 4. แบ่งตามสถานที่ (Site Location) การนําเสนอในสถานที่ การนําเสนอต่างสถานที่ (Multiple Site Presentation) การประชุมทางโทรศัพท์ หรื อการประชุมทางวีดิโอ


- 64 -

การพูดเพือ่ การนําเสนอ ปั จจัยสําคัญที่ผพู ้ ดู จะต้องควบคุมตนเอง ได้แก่ 1. การปรากฎตัว - แต่งกายให้เหมาะกับโอกาส - ท่านัง่ ยืน เดิน มัน่ คง สง่าผ่าเผย - มือ / แขน วางไว้เหมาะสม และใช้ประกอบการพูด - เดิน / เคลื่อนที่ ให้เหมาะกับกาลเทศะเพือ่ แสดงความกระปรี้ กระเปร่ า (ACTIVE) ลดความประหม่า เชื่อมต่อเนื่อง แสดงความจริ งจัง และ เน้นความสําคัญ 2. ความมั่นใจตนเอง (POISE) - การขึ้น / ลงจากเวที อย่างกระตือรื อร้นและมัน่ ใจว่าทําประโยชน์ต่อผูฟ้ ัง - ไม่เริ่ มด้วยการขอโทษ / แสดงความไม่พร้อม ควรเริ่ มด้วยเสี ยงดัง การใส่ อารมณ์ - ปรับให้เหมาะสมกับขนาดคนฟัง - วางแผนการเริ่ มต้น และสรุ ปปิ ดท้ายก่อนขึ้นพูด - ไม่ตอ้ งขอบใจคนฟังที่ฟังจนจบ - ไม่ดูหมิ่น ท้าทายคนฟัง 3. จังหวะการพูด (VOICE CONTROL) - อย่าพูด MONO TONE - รู ้จกั ใช้เสี ยง สู ง - ตํ่า - เร็ ว - ช้า - เบา - ดัง ให้เหมาะสม - ต้องให้ได้ยนิ ทัว่ ถึง ชัดถ้อยชัดคํา - อย่ามี เอ้อ - อ้า จนน่ารําคาญ - ลดคําซํ้าซาก (เช่น แล้วก็, และ, นะฮะ ......) - ระวังคํากลํ้า, คําควบ ร....ล - ใช้มือ ใบหน้า การแสดงท่าประกอบการพูด จะช่วยให้การสื่ อความหมายดีข้ ึน ถ้อยคํา ถ่ายทอด ความคิด นํ้าเสี ยง ถ่ายทอด อารมณ์ 4. การลดความประหม่ า ตื่นเต้ น - เตรี ยมเรื่ อง และเอกสารประกอบการพูดล่วงหน้าให้ดีที่สุด - มีการซ้อมพูดดัง ๆ ก่อนการพูด - มีการเคลื่อนไหวร่ างกาย ไม่ปักหลัก - สบตาคนฟัง เหมือนพูดกับคนฟังทีละคน - หายใจลึก ๆ และกลั้นไว้สกั ครู่ - ดึงความสนใจออกไปจากตัวผูฟ้ ัง - เตรี ยมจดข้อมูล / ตัวเลข สําคัญ ๆ ไว้ล่วงหน้า ฯลฯ


- 65 5. การควบคุมการใช้ สายตาและสบตาคนฟัง 5.1 ประโยชน์ของการควบคุมสายตา และสบตาผูฟ้ ังต่อการพูดสายตา เป็ นสะพาน ถ่ายทอดความรู ้สึก ทําให้เกิดความเป็ นกันเอง ช่วยดึงความสนใจคนฟัง ลดความประหม่าของคน พูด รับทราบปฏิกิริยาคนฟัง 5.2 วิธีการสบตาคนฟังเป็ นกลุ่ม สบตาผูฟ้ ังครั้งละ 1 - 2 คน นานพอจะสร้าง PERSONALIZED EFFECT การสบตาผูฟ้ ังให้สลับกันไป การเพิม่ ความน่ าเชื่อถือในสิ่ งทีพ่ ดู - สมเหตุสมผล สอดคล้องกับสิ่ งที่ผฟู ้ ังเชื่ออยูแ่ ล้ว - พิสูจน์ได้ มีหลักฐานข้อมูลประกอบการอ้างอิง - แสดงการวิเคราะห์ให้เห็นอย่างถ่องแท้ทุกแง่ทุกมุม - อธิบายชัดเจนเป็ นที่เข้าใจ - แสดงให้เห็นว่า ผูพ้ ดู รู ้เรื่ องนั้นจริ ง ๆ มิใช่คาดการณ์ผวิ เผิน หลักฐานอ้างอิง - อ้างสิ่ งที่ประสบมาด้วยตนเอง (PERSONAL EXPERIENCE) อุปมาอุปมัย (ANALOGY) อ้างความคิดเห็นผูเ้ ชี่ยวชาญ (JUDGEMENT OF EXPERTS) การยกตัวอย่าง เปรี ยบเทียบ (EXAMPLES) อ้างข้อมูล สถิติ ผลการทดสอบ (STATISTICS AND FACTS VISUAL ELEMENTS) รู ปถ่ าย -แทนของจริ งหรื อเปรี ยบเทียบก่อนหรื อหลัง ถ้าทําได้ดีจริ ง จะสร้างความประทับใจ ถ้ าคุณภาพไม่ดี อย่าใช้ ภาพเขียน -ใช้เมื่อรู ปถ่ายใช้ไม่ได้ ประกอบคําอธิบายที่ซบั ซ้อนให้เข้าใจง่าย ตัวอย่ าง/ของจริง ไม่มีอะไรจะประทับใจได้มากกว่า ควรจัดให้มีมากพอกับผูฟ้ ังทุกคน การแสดงท่าทางเป็ นของจริ ง GRAPH & CHART -ดีมากเมื่อเสนอจํานวนเชิงเปรี ยบเทียบในช่วงเวลา มี 3 แบบ เส้น วงกลม หรื อแท่ง ใช้ แตกต่างกัน เขียนตัวเลข/คํา เฉพาะที่สาํ คัญและน้อยที่สุด


- 66 เครื่องถ่ ายทอดทัศนูปกรณ์ (MEDIA) 1. กระดานดํา – ต้องหัดเขียนโดยไม่ทิ้งคนฟัง เขียนเฉพาะข้อความสั้น ๆ หัวข้อ ตัวเลข เสี ยเวลา เขียน / ลบ 2. สไลด ◌์ - ใ ช้ง่าย นํ้าหนักเบา ใช้แสดงภาพถ่ายของจริ ง / ภาพเขียน / ตาราง / แผนภูม ต้องการสถานที่เหมาะสม 3. FLIP CHART - เหมือนกระดานดํา เขียนล่วงหน้าได้ พลิกไปมาได้ / ย้อนหลังได้ 4. VU-GRAPH - เตรี ยมล่วงหน้าได้ (แผ่นใส) เขียนเพิ่มเติมได้-OVERLAY หรื อปิ ดบางส่ วนได้ 5. ภาพยนตร์ / วีดิทศั น์ - ใช้เวลาและค่าใช้จ่ายสูง เปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ยาก

การนําเสนอหน้ าชั้นเรียน การนําเสนอผลงานในแต่ละเทอม ย่อมเป็ นการหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่มกั จะออกไปพูดหน้าชั้น เรี ยน เพราะฉะนั้นการพูดหน้าชั้นเรี ยนจึงเป็ นสิ่ งจําเป็ นที่นกั ศึกษาหลีกหนีไม่พน้ สําหรับการเรี ยน บางวิชาของแต่ละเทอม นับว่าเป็ นกิจกรรมที่ตอ้ งใช้ความรู ้และการฝึ กฝนที่ถูกต้องเข้าใจอย่างแท้จริ ง สู ตรสํ าเร็จของการนําเสนอ หรือ การพูดหน้ าชั้นเรียน มีดังนี้ 1. เคล็ดลับการนําเสนอ สร้ างข้ อมูล ให้ น่าสนใจ ถึงแม้บางครั้งเรื่ องที่จะนําเสนอนั้น แสนจะธรรมดาก็ตาม แต่การเติมสี สนั ให้ขอ้ มูลนั้นดู ตื่นเต้นน่าสนใจ ก็เป็ นสิ่ งจําเป็ นและเป็ นเสน่ห์สาํ หรับข้อมูลที่ผรู ้ ายงานจะนําเสนอ จึงต้องสร้างพลัง ผลักดันให้โดดเด่นเหมือนกับเซลล์ที่ขายสิ นค้า เพราะฉะนั้น นักศึกษาจงสร้างพลังในการนําเสนอข้อมูล กาจุดเด่นและจุดประการยให้กบั ตัวเองขึ้นมาให้ได้ ลองค้นหาสิ่ งเหล่านั้นจากลําดับข้อถัดไปของการพูดหน้าชั้นเรี ยน แล้วบันทึกว่า จะขายอะไรดี จึงจะเป็ นน่าสนใจที่รู้จกั กัน “สรรพคุณ” ของข้อมูลนั้นๆ 2. ตั้งวัตถุประสงค์ จะให้ อะไรแก่ผ้ ูฟัง การนําเสนอเรื่ องราวบางเรื่ องนักศึกษาต้องเข้าใจตัวเองว่าต้องการนําเสนอเรื่ องให้แก่ผฟู ้ ัง ถามตอบตัวเองให้แน่ชดั ว่าทําไมจึงต้องนําเสนอนั้นๆ โดยอาศัยโจทย์จากความต้องการเหล่านี้เช่น 1) ต้องการหาความรู ้ทว่ั ไป 2)ต้องการปลุกระดม 3) ต้องการชี้นาํ ชักชวน4) ต้องการให้ความ สนุก ขบขัน บันเทิง 5) ต้องการพูดให้ซาบซึ้ง ประทับใจ ฯลฯ เหล่านี้ เป็ นต้น


- 67 3. ค้ นหาความต้ องการของผู้ฟังด้ วยหลักนักวาทการ นักพูดที่ดีตอ้ งนําเสนอเรื่ องที่ผฟู ้ ังต้องการเท่านั้น หากมีเรื่ องที่ตอ้ งการจะสอดแทรกเข้าไป ก็ไม่ควรมากจนกลายเป็ นการแสดงความคิดเห็นส่วนต้ว หรื อลําเอียง จุดประสงค์ที่จะบอกนักศึกษาได้วา่ ผูฟ้ ังต้องการอะไรนั้น จงมองไปที่ อายุ เพศ รสนิยม ระดับความต้องการของกลุ่มผูฟ้ ังด้วย แล้วดึงดูดดวามสนใจของกลุ่มเป้ าหมายให้มาสู่เรื่ องที่เราจะ นําเสนออย่างแยบยล ด้วยการรู ้เขา รู ้เรา ถึงกลุ่มผูฟ้ ังนัน่ เอง 4. ลําดับเรื่องทีจ่ ะพูดให้ ชัดเจน แม้จะเป็ นเพียงรายงานหน้าชั้นเรี ยน หรื อจะเป็ นการพูดต่อหน้าชุมชน ถ้าหากไม่มีการ ลําดับเรื่ องที่จะพูดให้ชดั เจนก็จะทําให้สบั สน และประหม่าได้เช่นกัน การแก้ปัญหาเหล่านั้นด้วย การจัดลําดับเรื่ อง เตรี ยมเรื่ องหรื อมุขคลายเคลียด และการแสดงมุมมองต่างๆ ไว้ให้เป็ นขั้นตอน จึง เป็ นทางออกที่ดี ที่จะช่วยขจัดความซับซ้อน หรื หลงประเด็นที่จะพูดได้เป็ นอย่างดี อาทิเช่น 1) ลําดับหัวข้อเรื่ องที่จะพูด 2) จัดเรื่ องที่จะพูดกับเวลาให้เหมาะสมกัน 3) กําหนดประเด็นย่อยๆ ต่างๆ ของเรื่ องนั้น 4) จัดสรรเรื่ องหรื อมุขที่จะสอดแทรกต่างๆ อย่างลงตัว 5) เตรี ยมคําถาม- คําตอบไว้ล่วงหน้า 6) ข้อเปรี ยบเทียบ แหล่งข้อมูล บทอ้างอิงต่างๆ ไว้ให้พร้อม 7) เตรี ยมบทสรุ ปจบให้ประทับใจ 5. สั งเกตพฤติกรรมและอารมณ์ ทแี่ สดงออกของผู้ฟังอยู่เสมอ การพูดหน้าชั้นเรี ยน จําเป็ นต้องดึงดูดความสนใจให้มากกว่าความน่าจับจ้อง เพราะ การมองมาที่เราจุดเดียวนั้น ย่อมสร้างความประหม่าให้แก่ผพู ้ ดู จนพูดไม่ออกได้เสมอ หากผูน้ ้ นั ไม่ได้เตรี ยมตัวมาเป็ นอย่างดี ข้อนี้จึงควรระวัง สังเกตอารมณ์ สี หน้า ท่าทางของผูฟ้ ังอยูเ่ สมอ วิธีแก้ปัญหาที่ดีโดยการผ่อนคลาย ด้วยบทเกริ่ นนําที่ข้ ึนต้นด้วยคําถามหรื อข้อสงสัย จึงมักเป็ นทางออกที่ดีเสมอ และเป็ นการสร้างให้เกิดความน่าสนใจ ควรสังเกตบุคลิกลักษณะพฤติกรรมของผูฟ้ ังตั้งแต่วินาทีแรกที่ลุกขึ้นยืนพูดเป็ นระยะๆ ทักษะของการดึงดูด ความสนใจต่างๆ มีดงั นี้ - การตั้งคําถามหรื อข้อสังสัยในเรื่ องที่จะพูด - สํานวนโวหาร บทกลอน คําคม หรื อบทกวี - เรื่ องราว/ข่าว ที่เกิดขึ้นตามหน้าหนังสื อพิมพ์ - สถิติหรื อความน่าจะเป็ นอันเกี่ยวโยงกับเรื่ องที่จะพูด และการอ้างอิงบุคคลสําคัญ - เรื่ องขําขันที่อาจเกิดขึ้นได้ในชีวิตประจําวัน ฯลฯ เหล่านี้ เป็ นต้น


- 68 6. พูดแบบไม่ ต้องอ่าน สั่ น ประหม่ า อย่ าได้ กลัว สําหรับนักศึกษา ที่เริ่ มต้นการพูดหน้าชั้นเรี ยนนั้น เมื่อผูฟ้ ังทุกคนเงียบ และจับจ้องมาที่จุด เดียวกัน คือ ตัวเรา อาการปกติที่เกิดขึ้นกับทุกคน คือ อาการสัน่ ประหม่าพูดไม่ออก หัวใจเต้นแรง บางคนถึงกับหน้ามืดเป็ นลมไปก็มี เมื่อเกิดเหตุการณ์เช่นนี้ วิธีแก้ไข คือการหายใจลึกๆ เข้าออกยาวๆ สักสองสามครั้ง และ ควรหายใจทางจมูก อย่าหายใจทางปาก แล้วเริ่ มต้นพูดช้าๆ ด้วยนํ้าเสี ยงที่ชดั เจน การกระทําเช่นนี้ จะช่วยเปิ ดช่องลมกับท่อเสี ยงในบริ เวณกล้ามเนื้อรอบ ๆ เส้นเสี ยงให้คลายตัว จะผ่อนคลาย และ ระงับความประหม่า รวมไปถึงอาการตื่นกลัวได้ดี 7. เน้ นนํา้ เสี ยง อารมณ์ ให้ น่าสนใจในเรื่องทีก่ าํ ลังพูด การพูดที่น่าสนใจ คือ การผ่อนหนักเบาในคําพูดที่เปล่งออกมาถ้าเป็ นการยกตัวอย่าง ใน เรื่ องที่ตอ้ งการปลุกเร้าก็ตอ้ งใช้น้ าํ เสี ยงที่แน่นหนัก แสดงอารมณ์ที่ชด้ เจนออกมารให้เห็น การพูดปลอบใจอาจใช้โทนเสี ยงที่เบาและนุ่มนวล แฝงอารมณ์ความรู ้สึก ด้วยการเน้น จุดสําคัญ นํ้าหนักเสี ยงในแต่ละประเด็นที่พดู ออกมา ทิง้ จังหวะของคําพูดหรื อประโยคนั้นๆ ให้มี ระดับหนักเบาตามเรื่ องราวและเหตุการณ์ที่พดู ออกมา หากเป็ นเรื่ องสนุกขบขันก็ควรดัดเสี ยง เปลี่ยนเสี ยงหรื อแสดงอากัปกิริยาให้กระฉับกระเฉง สนุกสนาน ตามไปด้วย สิ่ งเหล่านี้ นักศึกษาต้องอาศัยการฝึ กฝนจนชํานาญ และหมัน่ พูดต่อหน้า กระจกอยูเ่ สมอ 8. ระวังคําพูด และการแสดงความคิดเห็นต่ อผู้ฟังให้ ดี การพูดหน้าชั้นเรี ยน หรื อพูดในที่ชุมชน ต้องให้เกียรติผฟู ้ ังเป็ นประการสําคัญ เพาะฉะนั้น ในการพูดทุกครั้งจะต้องระวังคําพูดที่พดู ออกไปอย่างยิง่ หลีกเลี่ยงการใช้สาํ นวนการพูดตามแฟชัน่ เช่น “ขอบอก” “ประมาณว่า” “อืม..อื่อ..ฮื่อ” เหล่านี้ เป็ นต้น 9. มองกลุ่มผู้ฟัง ในขณะที่พดู ไม่ควรก้มหน้ามองข้อมูลเสมอไป หรื อตั้งหน้าพูดตรงนิ่งเหมือนกําลังร้อง เพลงชาติ หรื อไว้อาลัย แต่ควรมองกลุ่มผูฟ้ ังบ้างเป็ นระยะ ไม่ควรจ้องตา แต่ให้ประสานสายตา ผ่านๆ อยูเ่ สมอ แล้วใช้ลกั ษณะท่าทางที่บ่งบอกลักษณะของการเล่าเรื่ องแทน และสายตานั้น จะต้อง มีรอยยิม้ แฝงประกอบอยูด่ ว้ ย ฉะนั้นนักศึกษาที่เป็ นนักพูดหรื อผูท้ ี่ตอ้ งไปรายงาน ต้องฝึ กการยิม้ ด้วยสายตาให้ได้ 10. สรุ ปจบให้ น่าหลงใหล ชวนติดตาม และประทับใจ ช่วงสุ ดท้าย ควรมีบทสรุ ปเรื่ องราวต่างๆ ที่ได้นาํ เสนอตั้งแต่ตน้ ควรมีคาํ ถามให้ผฟู ้ ัง แสดง ข้อคิดเห็นให้ได้ตอบคําถามนั้น อย่างสุ ขมุ รอบคอบและเป็ นกลาง


- 69 เวลาตอบคําถามหากไม่รู้หรื อไม่มีขอ้ มูลในการตอบ ให้กล้าที่จะยอมรับ แล้วบอกว่าจะไป ค้นคว้าและจะนําข้อมูลมานําเสนอในคราวหน้า เช่น เมื่อเจอคําถามที่ตอบไม่ได้ ให้แจ้งโดยควบคุม ด้วยนํ้าเสี ยงที่จงใจว่า “ขอขอบคุณสําหรับคําถามนี้เป็ นคําถามที่ดี มีประโยชน์ แม้ในตอนนี้ยงั ไม่ สามารถตอบได้แต่จะพยายามค้นหาคําตอบมานําเสนอให้ทราบในครั้งต่อไป” หรื อ “ในเรื่ องนี้ยงั ไม่ ทราบรายละเอียดเท่าที่ควรตอบไป จะทําให้ขอ้ มูลผิดพลาด จึงยังไม่พร้อมจะตอบ” เหล่านี้เป็ นต้น ทั้งหมดที่กล่าวมานี้ นักศึกษาสามารถเป็ นนักพูดมืออาชีพ ที่จะนําเสนอรายงานได้อย่างไม่ ต้องกลัวสิ่ งใด และอาจจะกลายเป็ นที่ชื่นชมของครู อาจารย์และเพื่อนร่ วมห้องได้ดีอีกด้วย ************************************************

แบบฝึ กหัด : 1. นักศึกษาควรเตรี ยมตัวอย่างไร เมื่อต้องไปพูดหน้าชั้นเรี ยน ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... 2. นักศึกษาคิดว่า ปั จจัยสําคัญอะไรที่ผพู ้ ดู จะต้องควบคุมตนเองเมื่อพูดต่อหน้าห้องเรี ยนหรื อต่อ หน้าสารธารณะชน ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... 3. วิธีการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า เมื่อมีคาํ ถามจากผูฟ้ ัง กรณี ตอบคําถามเหล่านั้นไม่ได้หรื อไม่มนั่ ใจ ....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................


- 70 -

บรรณานุกรม “ กระดาษจดโน้ตระบบอเมริ การ” [ออนไลน์] สื บค้นจาก http://eleven21.com/notetaker “การจดโน้ต (Lecture Note)” [ออนไลน์] สื บค้นจาก http://jit-jai-d.blogspot.com “การพัฒนาทักษะทางความคิด” [ออนไลน์] สื บค้นจาก http://visut50.multiply.com/journal/item “ การฟังอย่างมีประสิ ทธิภาพ” [ออนไลน์] สื บค้น จาก http://gold.rajabhat.edu/learn/luis/w_louis/lis.htm (วันที่สืบค้น 16 ก.ค. 2552) เกรี ยงศักดิ์ เจริ ญวงศ์ศกั ดิ์ “พัฒนาทักษะการฟัง” [ออนไลน์] สื บค้น จาก http://www.kriengsak.com/ (วันที่สืบค้น 16 ต.ค. 2552) ---------. ภาพอนาคตและคุณลักษณะของคนไทยทีพ่ งึ ประสงค์ . กรุ งเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่ งชาติ, 2546. ฉวีวรรณ คูหาภินนั ทน์.2546. “ เทคนิคการอ่านหนังสื อตํารา เอกสารเพื่อการศึกษาเล่าเรี ยน” วารสารสารสนเทศ สถาบันราชภัฏบ้ านสมเด็จเจ้ าพระยา. 4,1 (มกราคม-มิถุนายน) “เทคนิคการจํา.” วารสารข่ าว มสธ. (ต.ค. - ธ.ค. 2550) นภาลัย สุ วรรณธราดา, อดุล จันทรศักดิ์ และสุ นทร อินทอง. 2547. เทคนิคการเขียน หนังสื อ ราชการ หนังสื อโต้ ตอบและรายงานการประชุ ม. พิมพ์ครั้งที่ 2 (ปรับปรุ งเแก้ไข) กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์ภาพพิมพ์. ยุดา รักษ์ไทย และ ณัฐพงศ์ เกศมาริ น. 2550. คนเก่งเรียน. กรุ งเทพฯ : บิสคิต. วิไลลักษณ์ บุญเคลือบ. 2552. ทักษะภาษาไทย. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง [ออนไลน์] สื บค้นจาก http://e-learning.mfu.ac.th (25 ตุลาคม 2552) สนิท ตั้งทวี. 2538. การใช้ ภาษาเชิงปฏิบตั .ิ พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพฯ : โอเดียนสโตร์. อดุลย์ จัทรศักดิ์. 2547. เทคนิคการเขียนหนังสื อราชการ หนังสื อโต้ ตอบและรายงานการประชุ ม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์ภาพพิมพ์. Wolvin, Andrew D. and Carolyn Gwynn Cakley. (1993) Perspectiveson on listening. Norwood, New Jersey : Ablex Puublishing” (http://books.google.co.th/books)


บทที่ 3 ห้ องสมุดและสารสนเทศ สาระสํ าคัญมีดงั นี้ : ความหมายและความสําคัญของสารสนเทศ แหล่งสารสนเทศ ทรัพยากรสารสนเทศ ทั้งวัสดุ ตีพิมพ์ และวัสดุไม่ตีพิมพ์ ในรู ปแบบของสื่ อโสตทัศน์ วัสดุยอ่ ส่ วน และสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ ระบบการ จัดเก็บวัสดุสารสนเทศ การสื บค้นและการรวบรวมสารสนเทศด้วยระบบมือ และระบบคอมพิวเตอร์ จากฐานข้อมูลต่างๆ ตลอดจนอินเทอร์เน็ต เพื่อการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และการนําเสนอผล การศึกษาค้นคว้าในรู ปแบบของรายงานทางวิชาการที่เป็ นมาตรฐาน

จุดประสงค์ การเรียน 1. 2. 3. 4. 5. 6.

สามารถอธิบายความหมายและความสําคัญของสารสนเทศได้ รู ้จกั แหล่งสารสนเทศและสถาบันบริ การสารสนเทศประเภทต่างๆ สามารถอธิบายความหมาย ประเภทและลักษณะของทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่างๆได้ รู ้จกั ระบบการจัดเก็บและการจัดเรี ยงทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่างๆ สามารถสื บค้นสารสนเทศด้วยระบบมือและระบบคอมพิวเตอร์ สามารถอ้างอิงเอกสาร และเขียนบรรณานุกรมในการเขียนรายงานทางวิชาการให้ถูกต้อง ตามรู ปแบบ 7. สามารถเสนอผลการศึกษาค้นคว้าในลักษณะของรายงานทางวิชาการที่มีส่วนประกอบ ถูกต้องครบถ้วนตามมาตรฐาน

3.1 สารสนเทศ สารสนเทศ หรื อ สารนิเทศ เป็ นศัพท์บญั ญัติ พจนานุกรมของราชบัณฑิตยสถานกําหนดให้ ใช้ได้ท้ งั สองคําในภาษาอังกฤษใช้คาํ ว่า Information หมายถึง ความคิด ข้อเท็จจริ ง จินตนาการ ซึ่ง ได้มีการสื่ อสาร มีการจดบันทึกจัดพิมพ์เผยแพร่ อาจเป็ นการสื่ อสาร ในลักษณะที่เป็ นทางการหรื อไม่ เป็ นทางการก็ได้(ราชบัณฑิตยสถาน, 2546: 1182) ข้อมูลข่าวสาร ความคิด ความรู ้ สติปัญญาของมนุษย์ ที่มีการถ่ายทอดสื บต่อกันมานั้น มีกระบวนการหรื อขั้นตอนของการเกิด การสะสมและการถ่ายทอด


- 73 -

ในสังคมปั จจุบนั หรื อยุคสังคมข่าวสารสารสนเทศ (Information society) ลักษณะความเป็ นอยู่ ของคนในสังคมเปลี่ยนแปลงไป ไม่วา่ ลักษณะและประเภทของการทํางาน อาชีพมีความแตกต่างจาก สังคมยุคหลังอุตสาหกรรมที่เปลี่ยนจากการผลิตสิ นค้ามาเป็ นอุตสาหกรรมการบริ การ ที่ตอ้ งใช้ความรู ้ และข้อมูลข่าวสารเป็ นทรัพยากรพื้นฐาน นอกจากนี้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร โดยเฉพาะ คอมพิวเตอร์ และระบบโทรคมนาคม เข้ามามีบทบาทสําคัญในการถ่ายทอดสารสนเทศ ทั้งในแง่ของ การผลิต การเผยแพร่ และการแสวงหาของคนในสังคม สารสนเทศ จึงเป็ นปั จจัยสําคัญ ที่ทาํ ให้เกิด ความเจริ ญก้าวหน้าและการพัฒนาประเทศชาติ พอจะกล่าวได้ดงั นี้ 1. ช่วยสนับสนุน การวางแผน และนโยบาย การพัฒนาประเทศในด้านต่างๆให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ที่เป็ นจริ งในปัจจุบนั มากที่สุด 2. ช่วยในการแก้ปัญหาทางเทคนิค และพัฒนาปรับปรุ งขั้นตอน และกระบวนการผลิตให้มี ประสิ ทธิภาพสู งขึ้น 3. ช่วยให้ติดตามความเจริ ญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ของโลกได้ อย่างทันท่วงที 4. สารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็ นสิ่ งจําเป็ นต่อการวิจยั และพัฒนา โดยเฉพาะ เรื่ องที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการผลิต การคิดค้นการผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ การขยายธุรกิจ หรื อแนวโน้มของ เทคโนโลยีใหม่ๆ 5. เป็ นสิ่ งสําคัญและจําเป็ นอย่างยิง่ ต่อภาคอุตสาหกรรม ซึ่งเป็ นประโยชน์อย่างยิง่ ในการพัฒนา อุตสาหกรรมให้มีความเจริ ญก้าวหน้าโดยเฉพาะประเทศที่กาํ ลังพัฒนาเพื่อให้สามารถแข่งขันทางการค้า กับนานาประเทศ 6. ช่วยพัฒนาศักยภาพของคนในสังคม มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง สร้างสังคมแห่ งการ เรี ยนรู ้ ซึ่งเป็ นสิ่ งจําเป็ นอย่างยิง่ ต่อเศรษฐกิจรู ปแบบใหม่ การรู ้สารสนเทศเปรี ยบเสมือนผูม้ ีพลังหรื ออํานาจอยูใ่ นมือ เป็ นผูท้ ี่สามารถทําให้สารสนเทศ ก่อเกิดประโยชน์ได้มากที่สุด บุคคลผูน้ ้ นั เป็ นผูม้ ีอาํ นาจอยูใ่ นมือ ทั้งนี้เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ สามารถช่วยให้ การติดต่อสื่ อสาร การแผยแพร่ กระจายข่าวสาร เป็ นไปได้อย่างรวดเร็ ว สามารถ แลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกัน ได้ทวั่ ทุกมุมโลกเป็ นสังคมของโลกที่ไร้พรมแดน


- 74 -

3.2 แหล่ งสารสนเทศ 1. ศูนย์ ข้อมูลข่ าวสารของหน่ วยงาน ทั้งของภาครัฐและเอกชนในปัจจุบนั หน่วยงานใหญ่ ๆ ของทั้งภาครัฐและเอกชน ได้ตระหนักถึงความสําคัญของข้อมูลข่าวสารสนเทศต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ ภารกิจในหน่วยงานของตน จึงได้มีการจัดตั้งหน่วยงานย่อยขึ้นมาจัดเก็บข้อมูลข่าวสารนั้นให้เป็ นระบบ พร้อมที่จะสื บค้นและนําออกมาใช้ประโยชน์ได้ทนั ทีที่ผใู ้ ช้ตอ้ งการ หน่วยงานพวกนี้มกั จะมีชื่อขึ้นต้นว่า “ศูนย์ขอ้ มูล” หรื อ “ ศูนย์สารสนเทศ” 2. หน่ วยงานของรัฐทีม่ ิใช่ ส่วนราชการ ที่นกั ศึกษาอยูใ่ นมหาวิทยาลัยควรรู ้จกั หน่วยงานหนึ่ง คือ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เรี ยกย่อว่า สวทช. โดยมีหน่วยงานย่อย หน่วยงานหนึ่งที่น่าสนใจ คือ ศูนย์บริ การสารนิเทศทางเทคโนโลยีหรื อ TIAC ซึ่งมีคาํ เต็มว่า Technical Information Access Center หน่วยงานนี้มีบริ การแก่ผสู ้ นใจ คือ บริ การสื บค้นฐานข้อมูล ข้อมูล ต่างประเทศทุกสาขาวิชาบริ การข้อมูลวิทยานิพนธ์ไทย บริ การวารสารสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กว่า 500 รายชื่อ 3. องค์ กรเอกชนทีม่ ีบริการสารสนเทศเชิงพาณิชย์ ปั จจุบนั วงการธุรกิจและอุตสาหกรรม มี ความต้องการสารสนทศเฉพาะด้านที่ทนั สมัย รวดเร็ว ถูกต้องมากขึ้น บริ ษทั ธุรกิจอุตสาหกรรมต่าง ๆ ยินดีจะเสี ยค่าบริ การต่อการได้รับสารนิเทศที่ตอ้ งการจึงเกิดบริ ษทั ที่ดาํ เนินการธุรกิจเพื่อขายสารสนเทศ 4. บุคคล ได้แก่ ผูเ้ ชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่าง ๆ 5. สถานที่ เช่น อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย เมืองโบราณ เป็ นต้น 6. หอสมุดหรือห้ องสมุด เป็ นแหล่งรวบรวมวัสดุเพื่อการศึกษาและค้นคว้าวิจยั ซึ่งปั จจุบนั นี้มี ชื่อเรี ยกแตกต่างกันไปเช่นหอสมุดแห่ งชาติ สํานักวิทยบริ การ สํานักหอสมุด สํานักบรรณาสาร ศูนย์ เอกสารสนเทศ ห้องสมุดมารวย (ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย) เป็ นต้น

3.3 ห้ องสมุด (Library) ห้องสมุด (Library) ในปั จจุบนั และอนาคต เป็ นสถานที่รวบรวม ข่าวสาร ความรู ้ ข้อมูลเอาไว้ ในรู ปแบบ ต่าง ๆ โดยนําเอาเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาประยุกต์ใช้ เช่น เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีทางการสื่ อสาร เข้ามาใช้ในการบันทึก จัดเก็บ สื บค้นข้อมูล ตลอดจนใช้ในการดําเนินงาน ห้องสมุดทั้ง ในด้านเทคนิค บริ หาร และบริ การ ทั้งนี้เพือ่ อํานวยความสะดวกแก่ผใู ้ ช้ให้สามารถเข้าถึง ข้อมูลได้อย่าง รวดเร็ วและถูกต้องตรงกับความต้องการ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2546 หน้า 1278) อีกทั้ง ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บหนังสื อหรื อสื่ อสารสนเทศ ความรู ้ต่างๆ เอาไว้ได้เป็ นจํานวนมาก ในฐาน ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื อฐานข้อมูลซีดี – รอม


- 75 บทบาทและหน้ าทีข่ องห้ องสมุด ห้องสมุดมีหน้าที่ต่อการศึกษา เศรษฐกิจ และสังคม ได้แก่ 1. การให้การศึกษาเพื่อพัฒนาคน 2. การให้ขอ้ มูล เรื่ องราว ข่าวสาร ในการดํารงชีวิตประจําวันและการประกอบกิจกรรม 3. การให้ความรู ้และทักษะในอาชีพเฉพาะอย่าง 4. การให้ความจรรโลงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ มีความคิดสร้างสรรค์ และประกอบความดีงาม 5. การให้ความรู ้และความเข้าใจตนเองและผูอ้ ื่น 6. การให้ความบันเทิง เพิ่มพูนปั ญญาและอารมณ์ ส่ งเสริ มรสนิยมที่ดีงาม ประโยชน์ ของห้ องสมุด ห้องสมุดเป็ นแหล่งรวบรวมสารสนเทศที่หลากหลาย และมีประโยชน์ ดังนี้ 1. ก่อให้เกิดการเรี ยนรู ้อย่างไม่มีที่สิ้นสุ ด 2. กระตุน้ ให้รักการอ่านและการศึกษาค้นคว้า 3. ก่อให้เกิดการศึกษาอย่างเป็ นระบบและต่อเนื่อง 4. เป็ นสื่ อกลางในกระบวนการเรี ยนการสอน 5. ตอบสนองความต้องการในการแสวงหาความรู ้เฉพาะบุคคล ในการเข้าสู่ สงั คมข่าวสาร (Information Society) เพราะในแต่ละวันมีข่าวสาร ความรู ้ หรื อ สารสนเทศแพร่ กระจายออกมามากมายและรวดเร็ว หน่วยงาน องค์การต่าง ๆ ของทั้งรัฐและเอกชน ตลอดจนบุคคลในทุกสาขาวิชาชีพ จําเป็ นต้องใช้สารสนเทศอยูต่ ลอดเวลาแต่จะเป็ นสารสนเทศด้านใด มีความสําคัญลึกซึ้งเพียงใดนั้นขึ้นอยูก่ บั ลักษณะหน้าที่ ภารกิจของหน่วยงานหรื อบุคคลนั้น สําหรับในสถาบันการศึกษาไม่วา่ จะเป็ นโรงเรี ยน วิทยาลัย หรื อมหาวิทยาลัยจะเห็นว่า นักเรี ยน นิสิตนักศึกษา ครู อาจารย์ นักวิจยั ต่างต้องใช้สารสนเทศเพื่อการเรี ยนการสอน และการวิจยั ค้นคว้าอยู่ ตลอดเวลา สถาบันการศึกษาทุกแห่งจึงจําเป็ นต้องจัดสร้างสถานที่เก็บสารสนเทศ หรื อเรี ยกกันว่า ห้องสมุด (Library) หรื อ ศูนย์สารสนเทศ (Information Center) เพื่อรวบรวมสารสนเทศต่าง ๆ ใน รู ปแบบที่หลากหลายไว้ให้บริ การแก่ผใู ้ ช้ ดังนั้น ห้องสมุดในปั จจุบนั จึงมิใช่สถานที่มีทรัพยากรสารนิเทศ ที่เป็ นหนังสื อเท่านั้น ยังมี ทรัพยากรสารนิเทศในรู ปแบบอื่น ๆ อีกที่สามารถให้ประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้าแก่ผใู ้ ช้ได้ดี เช่น เทป วีดิทศั น์ตลอดจนฐานข้อมูลสําเร็ จรู ปต่างๆ ที่สืบค้นด้วยระบบคอมพิวเตอร์ และห้องสมุดปั จจุบนั มิได้ ให้บริ การด้วยวัสดุสารนิเทศ ที่มีในห้องสมุดแห่งนั้นเท่านั้น แต่ยงั สามารถให้บริ การค้นหาสารนิเทศ นอกห้องสมุดได้อีกด้วย โดยการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ผา่ นระบบสื่ อสารโทรคมนาคม ไปค้นหาข้อมูล


- 76 -

3.4 อินเทอร์ เน็ต (Internet) อินเทอร์เน็ต (Internet) เป็ นข่ายงานคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ที่สามารถเชื่อมโยงข่ายงานต่างๆ ทัว่ โลก เป็ นแหล่งสารนิเทศสําคัญอีกแหล่งหนึ่งสําหรับสื บค้นข้อมูลที่ตอ้ งการ ข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต มีเนื้อหาหลากหลายทั้งสาระและบันเทิง สําหรับเว็บไซต์ที่เป็ นประโยชน์ในการสื บค้นข้อมูลด้านต่างๆ มีดงั นี้ 1. เว็บไซต์ ของโปรแกรมค้ นหา (Search engine sites) เป็ นโปรแกรมที่ใช้ในการค้นหาเว็บไซต์ โดยจะค้นหาข้อมูลจากฐานข้อมูลที่รวบรวมรายชื่อเว็บไซต์แล้วจัดหมวดหมู่ และทําดรรชนีเพื่อให้การ ค้นหาเร็ วขึ้น ตัวอย่างเว็บไซต์ของโปรแกรมค้นหาที่ใช้อย่างแพร่ หลาย เช่น 1.1 AltaVista (www.av.com) 1.2 Excite (www.excite.com) 1.3 Google (www.google.com) 1.4 Infoseek ( www.infoseek.com) 1.5 Lycos (www.lycos.com) 1.6 Yahoo (www.yahoo.com) 2. เว็บไซต์ อ้างอิง 2.1 Britannica Online (www.britanica.com) 2.2 Dictionary.com (www.dictionary.com) 2.3 Bartett’s Quotations (www.bartleby.com) 2.4 Infoplease.com (www.infoplease.com) 2.5 Royin.go.th (www.royin.go.th) 3. เว็บไซต์ ซึ่งให้ ความรู้เฉพาะด้ าน เช่น เทคโนโลยี สุ ขภาพ เป็ นต้น ตัวอย่างเช่น 3.1 CNET (www.cnet.com) 3.2 Food & Weil (www.drweil) 3.3 AskDr. Weil (www.drweil.com) 3.4 Thai Clinic (wwwthaiclinic.com)


- 77 4. เว็บไซต์ ข่าว ( News sites) ตัวอย่างเช่น 4.1 CNN Interactive (www.cnn.com) 4.2 The New York Times (www.nytimees.com) 4.3 CBS MarketWatch (cbs.marketwatch.com) 4.4 WallStreet Journal Interactive ediion (www.wsj.com) 5. เว็บไซต์ ด้านบันเทิง (Entertainment sites) เช่น ท่องเที่ยว ดนตรี ภาพยนตร์ กีฬา เป็ นต้น ตัวอย่างเช่น 5.1 Tourism Authority of Thailand (www.yat.or.th) 5.2 Music (www.music.com) 5.3 MTV (www.mtv.com) 5.4 Golf Online (www.golf.com)

3.5 การบริการของห้ องสมุด แหล่งสารสนเทศ ประเภทห้องสมุด นอกจากทําหน้าที่จดั หา รวบรวมทรัพยาการสารสนเทศ ต่างๆ แล้ว ยังทําหน้าที่ให้บริ การแก่ผใู ้ ช้ อย่างมีระบบ เพื่อให้ผใู ้ ช้เข้าถึง หรื อได้รับสารสนเทศตรงตาม ความต้องการให้มากที่สุด และอย่างรวดเร็ วที่สุด โดยทัว่ ไปบริ การสารสนเทศของห้องสมุด จําแนกได้ เป็ น บริ การพื้นฐาน และบริ การเฉพาะ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547: 15) 1. บริการพืน้ ฐาน เป็ นบริ การที่หอ้ งสมุดเกือบทุกประเภทจัดให้แก่ผใู ้ ช้ ได้แก่ 1.1 บริการยืม-คืน คือ บริ การให้ยมื -คืนทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่างๆ ตามระเบียบ การยืมของห้องสมุดแต่ละแห่ ง เพื่อให้ความสะดวกในการใช้สารสนเทศ ในกรณี ที่ยมื เกินกําหนด ผูย้ มื จะต้องเสี ยค่าปรับตามอัตราที่หอ้ งสมุดกําหนด 1.2 บริการตอบคําถามและช่ วยการค้นคว้า หรื อบริ การเอกสารสารสนเทศเป็ นบริ การที่ ห้องสมุด จะจัดบรรณารักษ์ที่มีความรู ้ความชํานาญไว้ คอยให้บริ การตอบคําถาม ทั้งที่เป็ นคําถาม ทัว่ ๆไป หรื อตอบคําถามเฉพาะเจาะจง ที่ตอ้ งค้นหาคําตอบ จากหนังสื ออ้างอิงประเภทต่างๆ ห้องสมุด อาจให้บริ การนี้ภายในห้องสมุดทางโทรศัพท์ โทรสาร ไปรษณี ย ์ หรื อไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ 1.3 บริการถ่ ายสํ าเนาสิ่ งพิมพ์ เป็ นบริ การที่หอ้ งสมุดจัดให้เพื่อความสะดวกและประหยัด เวลาในการคัดลอก ผูใ้ ช้ตอ้ งจ่ายค่าบริ การตามอัตราที่หอ้ งสมุดกําหนด 1.4 บริการคู่มือการใช้ ห้องสมุด ห้องสมุดจัดทําคู่มือการใช้หอ้ งสมุดเพื่อให้ขอ้ มูลประวัติ ของห้องสมุด วิธีการใช้ทรัพยากรสารสนเทศและบริ การต่างๆ พร้อมระเบียบและเงื่อนไขในการใช้


- 78 2. บริการเฉพาะ เป็ นบริ การที่จดั ให้แก่ผใู ้ ช้เฉพาะกลุ่ม ตามวัตถุประสงค์ของห้องสมุด นั้นๆ ได้แก่ 2.1 บริการดรรรชนีวารสารและสาระสั งเขป เป็ นบริ การที่หอ้ งสมุดจัดทําขึ้นเพื่อช่วยผูใ้ ช้ ในการค้นบทความวารสาร อาจจัดทําในรู ปบัตร ฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื อจัดพิมพ์ในรู ปเล่ม ให้ รายละเอียดทางบรรณานุกรม สําหรับบริ การสาระสังเขป จะมีเรื่ องย่อเพิ่มเติมด้วย 2.2 บริการรวบรวมบรรณานุกรม คือ บริ การจัดทํารายชื่อหนังสื อ เอกสาร วารสารสําหรับ ใช้ประกอบการค้นคว้าวิจยั ในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง 2.3 บริการข่ าวสารทันสมัย คือ บริ การที่ช่วยเสริ มให้ผใู ้ ช้ได้ติดตามความก้าวหน้าใหม่ๆ ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง มีวิธีการดังนี้ คือ 2.3.1 ถ่ายสําเนาหน้าสารบัญวารสารฉบับล่าสุ ดที่หอ้ งสมุดได้รับ โดยเผยแพร่ ในรู ป สิ่ งพิมพ์และสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ 2.3.2 หมุนเวียนวารสารฉบับล่าสุ ดให้ผใู ้ ช้ ตามความต้องการ 3.3.3 จัดทํารายชื่อวัสดุใหม่ โดยเผยแพร่ ในรู ปสิ่ งพิมพ์ และสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ 2.4. บริการเลือกสรรสารสนเทศเพือ่ เผยแพร่ เฉพาะบุคคล เป็ นการคัดเลือกสารสนเทศ เฉพาะเรื่ องให้แก่ผใู ้ ช้ที่แสดงความจํานงไว้ 2.5 บริการสอนการใช้ ห้องสมุด เป็ นบริ การที่หอ้ งสมุดจัดทําขึ้น เพื่อให้ความรู ้เกี่ยวกับ การใช้หอ้ งสมุด อาจจะการสอนอย่างเป็ นทางการ เช่น การจัดปฐมนิเทศให้กบั นักศึกษาในปี แรก หรื อ การสอนอย่างไม่เป็ นทางการ เช่น การแนะนําการใช้หอ้ งสมุด ตามความต้องการของผูใ้ ช้เป็ นรายบุคคล หรื อเป็ นกลุ่ม เป็ นต้น 2.6 บริการหนังสื อจอง เป็ นบริ การที่หอ้ งสมุดจัดแยกหนังสื อรายวิชาต่างๆ ที่อาจารย์ กําหนด ให้นกั ศึกษาอ่านประกอบ โดยห้องสมุดจะกําหนดระยะเวลาในการยืมต่างจากหนังสื อทัว่ ๆ ไป 2.7 บริการยืมระหว่ างห้ องสมุด เป็ นบริ การที่หอ้ งสมุดจัดยืมหนังสื อ หรื อทรัพยากร สารสนเทศที่หอ้ งสมุดไม่มี มาจากห้องสมุดอื่น ให้ตามความต้องการของผูใ้ ช้เป็ นความร่ วมมือระหว่าง ห้องสมุดประเภทต่างๆ 2.8 บริการฐานข้ อมูล เป็ นบริ การที่หอ้ งสมุดจัดให้มีฐานข้อมูลในเรื่ องต่างๆ ไว้คอย บริ การแก่ผใู ้ ช้ท้ งั ประเภทฐานข้อมูลที่หอ้ งสมุดจัดทําขึ้นและฐานข้อมูลที่จดั ซื้อ เช่น ฐานข้อมูลรายการ ออนไลน์ (Online Public Access Catalog = OPAC)


- 79 2.9 บริการความรู้แก่ ชุมชน เป็ นบริ การที่หอ้ งสมุดจัดให้แก่ บุคคลทัว่ ไป เช่น การจัด ปาฐกถา อภิปราย โต้วาที ฉายภาพยนตร์ เป็ นต้น 2.10 บริการพิเศษอืน่ ๆ เป็ นบริ การที่หอ้ งสมุดจัดทําขึ้นเพื่ออํานวยความสะดวกให้แก่ผใู ้ ช้ เช่น บริ การจัดส่ งเอกสารให้แก่ผใู ้ ช้ บริ การขอใช้หอ้ งประชุม ห้องสัมมนาเฉพาะกลุ่ม เป็ นต้น

3.6 ทรัพยากรสารสนเทศ ทรัพยากรสารสนเทศ (Information Resources) ในที่น้ ีหมายถึง สื่ อวัสดุในรู ปแบบต่างๆ ที่มี การบันทึกข้อมูลหรื อสารสนเทศไว้โดยใช้ภาษา สัญลักษณ์ ภาพและเสี ยง ซึ่งอาจอยูใ่ นรู ปกระดาษฟิ ล์ม หรื อเทปแม่เหล็ก เป็ นต้น ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด อาจแบ่งอย่างกว้างๆออกได้เป็ น 3 ประเภทกล่าวคือ 1) วัสดุตีพิมพ์ 2) วัสดุไม่ตีพมิ พ์ 3) สื่ ออิเล็กทรอนิกส์ 1. วัสดุตีพมิ พ์ (Printed Materials) หมายถึง ทรัพยากรสารสนเทศ ซึ่งบันทึกความรู ้ที่มีเนื้อหา สาระ เพื่อประโยชน์ ในการศึกษา ค้นคว้า อ้างอิง หรื อเพื่อความบันเทิง โดยผลิตเป็ นหนังสื อ สิ่ งพิมพ์ หรื อเอกสารรู ปแบบต่างๆ วัสดุดีพิมพ์ ใช้ได้ง่ายสะดวกและไม่ตอ้ งมีอุปกรณ์ช่วยในการอ่าน แม้วา่ ใน ปั จจุบนั เทคโนโลยีสมัยใหม่ ช่วยให้มีการบันทึกความรู ้ หลากหลายชนิดขึ้นก็ตาม แต่วสั ดุตีพิมพ์กย็ งั มี ความสําคัญ และเป็ นที่นิยมใช้กนั โดยทัว่ ไป วัสดุตีพิมพ์ สามารถจําแนกเป็ นประเภทต่างๆ ได้ดงั นี้คือ หนังสื อทัว่ ไป หนังสื ออ้างอิง วารสาร หนังสื อพิมพ์ สิ่ งพิมพ์รัฐบาล วิทยานิพนธ์ จุลสาร กฤตภาค รายงาน และวัสดุตีพิมพ์อื่นๆ

หนังสื อ (BOOK) หนังสื อ เป็ นสิ่ งพิมพ์ที่เกิดจากความรู ้ ความคิดสติปัญญา และประสบการณ์ของมนุษย์ จัดทํา เป็ นรู ปเล่มหนังสื อ แบ่งตามลักษณะเนื้อหาได้ 5 ประการ คือ 1) หนังสื อสารคดี (non fiction) 2) หนังสื อบันเทิงคดี (fiction) 3) ตํารา (textbook) 4) หนังสื ออ้างอิง (reference book ) 5) สิ่ งพิมพ์รัฐบาล (government publication)


- 80 ส่ วนต่าง ๆ ของหนังสื อ โดยทัว่ ไปอาจแบ่งเป็ น 4 ส่ วน 1. ส่ วนปก (binding) - ใบหุ ม้ ปกหนังสื อ (book jacket) - ปกหนังสื อ (cover) - ใบรองปก (fly leaf) 2. ส่ วนเริ่มต้ น (preliminary) - หน้าชื่อเรื่ อง (half title page) - หน้าปกใน (title page) - หน้าลิขสิ ทธิ์ (copy right page) - หน้าคําอุทิศ (dedication page) คํานิยม (foreword) - สารบาญหรื อสารบัญ (contents or table of contents) - หน้าคํานํา (preface) - หน้าประกาศคุณูปการ (ackowle dgement) - สารบาญภาพประกอบหรื อบัญชีภาพประกอบ(list of illustrations, tables, maps, etc.) 3. ส่ วนเนือ้ หา (text or body of the book) 4. ส่ วนท้ ายหรือส่ วนเสริมเนือ้ หา (Auxiliary pages) - เชิงอรรถ (footnotes) - อภิธานศัพท์ (glossary) - ภาคผนวก (appendix) - บรรณานุกรม (bibliography) - ดรรชนี (index)

วารสาร และหนังสื อพิมพ์ (Periodical and Newspaper) วารสารและหนังสื อพิมพ์ (Periodical and Newspaper) เป็ นสิ่ งพิมพ์ที่ออกเป็ นตอนๆ ต่อเนื่องกันมีกาํ หนดระยะเวลาที่ออกแน่นอน สมํ่าเสมอและติดต่อกันไปตามลําดับ เช่น รายวัน ราย สัปดาห์ รายปักษ์ รายเดือน และรายสามเดือน วารสารและหนังสื อพิมพ์ เป็ นสิ่ งพิมพ์ต่อเนื่องที่เสนอ เนื้อหาสาระในรู ปแบบต่างๆโดยเฉพาะมีการจัดทําวารสารหลายลักษณะ ซึ่งมีชื่อเรี ยก ดังนี้ - นิตยสาร (Magazine) เป็ นสิ่ งพิมพ์ที่ให้ความบันเทิงและความรู ้ทว่ั ไป ไม่เน้นทางวิชาการ


- 81 - วารสารทางวิชาการ (Journal) เป็ นสิ่ งพิมพ์ที่จดั พิมพ์โดยสมาคมทางวิชาการ สถาบันหรื อ หน่วยงานวิชาการ สาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง ขอบเขตของเนื้อเรื่ องประกอบด้วยบทความ รายงาน และ ข่าวความเคลื่อนไหวทางวิชาการ - วารสารวิเคราะห์ และวิจารณ์ ข่าว (review journal) เป็ นสิ่ งพิมพ์ที่เสนอข่าวในรู ปของการ วิเคราะห์ วิจารณ์ ข่าวที่นาํ มาเสนอส่ วนใหญ่ ได้แก่ข่าวเศรษฐกิจ การเมืองสังคมและวัฒนธรรม จุลสาร และ กฤตภาค (Pamphlets and clipping) - จุลสาร(Pamphlets) เป็ นสิ่ งพิมพ์ที่ให้สารสนเทศเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งส่ วนมากเป็ นสารสนเทศ ที่ทนั สมัยอยูใ่ นความสนใจของบุคคลทัว่ ไป - กฤตภาค(Clipping)เป็ นสิ่ งพิมพ์ที่ได้จากการตัดข่าว บทความจากหนังสื อพิพม์ หรื อวารสาร และนํามาปะบนกระดาษ ให้หวั เรื่ อง และระบุแหล่งที่มา เนื้อหาของกฤตภาคคลอมคลุมเหตุการณ์ ปั จจุบนั ที่เกี่ยวข้องกับการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม บุคคล วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดนตรี การศึกษา เป็ นต้น ห้องสมุดจัดเก็บกฤตภาคโดยใส่ แฟ็ มเรี ยไว้ในตูจ้ ุลสาร ตามลําดับอักษรของหัวเรื่ อง วิทยานิพนธ์ (Theses/Dissertations) เป็ นสิ่ งพิมพ์ที่เป็ นผลงานการค้นคว้าวิจยั ของนักศึกษา ของมหาวิทยาลัย อันเป็ นข้อกําหนดตามหลักสู ตรการศึกษาระดับปริ ญญามหาบัณฑิต และปริ ญญาดุษฎี บัณฑิต หนังสื ออ้ างอิง หรือ ทรัพยากรสารสนเทศเพือ่ การอ้างอิง หนังสื ออ้างอิง เป็ นทรัพยากรสารสนเทศที่หอ้ งสมุดจัดแยกไว้ส่วนหนึ่งโดยเฉพาะ เพื่อสะดวก ในการศึกษาค้นคว้า ซึ่งแตกต่างจากหนังสื อทัว่ ไปทั้ง หนังสื ออ้างอิงจะมีสญ ั ลักษณ์พิเศษ กํากับอาจ เป็ นตัวอักษร อ (ย่อมาจาก อ้างอิง) หรื อ R (ย่อมาจาก Reference) อยูเ่ หนือ เลขเรี ยกหนังสื อ (สัญลักษณ์ ที่ใช้แทนหนังสื อ) หนังสื ออ้ างอิง คือ หนังสื อทีจ่ ัดทําขึน้ เป็ นพิเศษสํ าหรับค้ นคว้ า ข้ อเท็จจริงบางประการ มาก กว่ าทีจ่ ะอ่ านตลอดเล่ ม ประเภทของหนังสื ออ้างอิง แบ่งตามลักษณะเนื้อหาได้ 2 ประเภท ได้แก่ 1. หนังสื ออ้างอิงที่ให้สารสนเทศ เช่น พจนานุกรม สารานุกรม อักขรานุกรมชีวประวัติ นามานุกรมหรื อ ทําเนียบนาม หนังสื อคู่มือ หนังสื อรายปี และหนังสื ออ้างอิงทางภูมิศาสตร์ 2. หนังสื ออ้างอิงที่ช้ ีแนะแหล่งสารสนเทศ ทําหน้าที่ช้ ีแนะหรื อ บอกตําแหน่งเรื่ องราวที่ ผูอ้ ่านต้องการว่าอยูท่ ี่ใด ประกอบด้วย ดรรชนีสาระสังเขป และบรรณานุกรม - พจนานุกรม (Dictionary) พจนานุกรม คือ หนังสื อที่รวมคําในภาษา มีการเรี ยงลําดับตามอักษร ให้ขอ้ เท็จจริ งเกี่ยวกับ ตัวสะกดวิธีการออกเสี ยง ชนิดของคํา ให้ความหมายของคํา


- 82 ประเภทของพจนานุกรม 1. พจนานุกรมทางภาษาทัว่ ไป คือ พจนานุกรมภาษาเดียวหรื อหลายภาษา มีตวั อย่าง ประโยคแสดงการใช้คาํ เพื่อประกอบ คําอธิบายด้วย 2. พจนานุกรมเฉพาะวิชา คือ พจนานุกรมสําหรับค้นความหมาย ของคําที่ใช้ใน สาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง - สารานุกรม (Encyclopedia ) สารานุกรม คือ หนังสื อที่รวบรวมความรู ้ในแขนงวิชาต่างๆ โดยผูช้ าํ นาญในแต่ละสาขาวิชา ใช้ ค้นคว้าเรื่ องราว ที่ตอ้ งการในเรื่ องนั้นๆ สารานุกรมอาจมีเล่มเดียวจบ หรื อ หลายเล่มจบ ที่เรี ยกว่า หนังสื อชุด มีดรรชนีคน้ เรื่ องซึ่งอยูใ่ นตอนสุ ดท้ายของเล่ม ประเภทของสารานุกรม 1. สารานุกรมทัว่ ไป คือ สารานุกรมที่ให้ความรู ้เบื้องต้นในวิชาต่างๆ ไม่จาํ กัดสาขา ได้แก่ สารานุกรมสําหรับผูใ้ หญ่และเด็ก 2. สารานุกรมเฉพาะวิชา คือ ให้ความรู ้ในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งอย่างละเอียดลึกซึ้งกว่า สารานุกรมทัว่ ไป -อักขรานุกรมชีวประวัติ (Biographical dictionary) อักขรานุกรมชีวประวัติ คือ หนังสื อที่รวบรวมประวัติชีวิตของบุคคลสําคัญให้รายละเอียด เกี่ยวกับ เชื้อชาติ สถานที่เกิด วัน เดือน ปี เกิด หรื อ ตาย ระดับการศึกษา ผลงานดีเด่น เป็ นต้น ประเภทของอักขรานุกรมชีวประวัติ ได้แก่ 1. อักขรานุกรมชีวประวัติของบุคคลทัว่ ไป (International biography) รวบรวมเรื่ องราว ของบุคคลที่มีชื่อเสี ยง โดยไม่จาํ กัดเชื้อชาติ อาชีพหรื อศาสนา โดยครอบคลุมเฉพาะประวัติของบุคคลที่ มีชีวิตอยูเ่ ท่านั้น หรื อสิ้ นชีวติ ไปแล้ว เท่านั้น 2. อักขรานุกรมชีวประวัติของบุคคลเฉพาะเชื้อชาติ (National / Regional biography) ให้ เรื่ องราวของบุคคล ที่เกิด หรื ออยูใ่ นแต่ละประเทศโดยเฉพาะ 3. อักขรานุกรมชีวประวัติของบุคคลเฉพาะอาชีพ (Professional or subject biography) รวบรวมชีวประวัติ ของบุคคลที่มีชื่อเสี ยงอาชีพเดียวกันไว้ดว้ ยกัน - นามานุกรม หรือ ทําเนียบนาม (Directory) นามานุกรม คือ หนังสื อที่รวบรวมรายชื่อบุคคลองค์กรต่างๆ ที่อยูใ่ นเมือง ภาค ประเทศ หรื อ ที่ใดที่หนึ่ง จัดเรี ยง ตามลําดับอักษร ประเภทของนามานุกรม ได้แก่ 1. นามานุกรมท้องถิ่น (Local directory) เป็ นนามานุกรมที่จดั ทําขึ้นในท้องถิ่นต่างๆ


- 83 2. นามานุกรมของรัฐ (Government directory) เป็ นนามานุกรมที่หน่วยงานรัฐ จัดทําขึ้น เพื่อให้ขอ้ มูล เกี่ยวกับหน่วยงานของรัฐบาล 3. นามานุกรมสถาบัน (Institutional directory) เป็ นนามานุกรมที่รวบรวมชื่อสถาบัน ต่างๆ 4. นามานุกรมสาขาอาชีพ (Professional directory ) เป็ นนามานุกรมที่ให้รายชื่อบุคคล ใน สาขาวิชาชีพด้านใด ด้านหนึ่ง 5. นามานุกรมการค้าและธุรกิจ (Trade and business directory)เป็ นนามานุกรมที่ให้ รายชื่อของบริ ษทั จัดทําโดยเอกชน เพื่อประโยชน์ในเชิงการค้า -หนังสื อคู่มือ หนังสื อคู่มือ คือ หนังสื อที่รวบรวมความรู ้ ข้อมูลเบ็ดเตล็ด โดยเสนอข้อเท็จอย่างสั้นๆ ประเภทของหนังสื อคู่มือ เช่น หนังสื อคู่มือทัว่ ไป หนังสื อคู่มือเฉพาะวิชา -หนังสื อรายปี หนังสื อรายปี คือ หนังสื อที่พมิ พ์ออกเป็ นรายปี ให้ข่าวสาร ข้อมูล ภายในรอบปี ที่ผา่ นมา เสนอในรู ปของการพรรณนา อย่างสั้นๆ โดยมีตวั เลขสถิติประกอบ ประเภทของหนังสื อรายปี ได้แก่ 1. หนังสื อรายปี ของสารานุกรม 2. หนังสื อสรุ ปผลงานประจําปี หนังสื อรายปี เฉพาะด้าน 3. สมุดสถิติรายปี -ปฏิทนิ เหตุการณ์ รายปี หรือ สมพัตสร (Almanac) ปฏิทินเหตุการณ์รายปี คือ หนังสื อที่รวบรวมความรู ้เบ็ดเตล็ดหลายด้านและสถิติทวั่ ไปใน รอบหลายๆ ปี ที่ผา่ นมาจนถึงปัจจุบนั ของทุกประเทศในโลก ประเภทของปฏิทินเหตุการณ์รายปี ได้แก่ 1. ปฏิทินเหตุการณ์รายปี ที่ให้เรื่ องราวทัว่ ๆ ไปทุกด้าน 2. ปฏิทินเหตุการณ์รายปี ที่ให้เรื่ องราวเฉพาะสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง หรื อเฉพาะด้าน -หนังสื ออ้างอิงทางภูมิศาสตร์ (Geographical sources) หนังสื ออ้างอิงทางภูมิศาสตร์ คือ หนังสื อที่ให้ความรู ้อย่างสั้นๆ เกี่ยวกับชื่อและสถานที่ทาง ภูมิศาสตร์ ประเภทของหนังสื ออ้างอิงทางภูมิศาสตร์ 1. อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ 2. หนังสื อนําเที่ยว 3. หนังสื อแผนที่


- 84 - ดรรชนี และสาระสั งเขป ดรรชนี และสาระสังเขป คือ หนังสื ออ้างอิงที่ให้รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศ พร้อมตําแหน่ง ที่อยูข่ องเรื่ องราวที่ตอ้ งการ ประเภทของดรรชนี และสาระสังเขป ได้แก่ 1. ดรรชนีทา้ ยเล่ม 2. ดรรชนีวารสาร 3. ดรรชนีหนังสื อพิมพ์ 4. ดรรชนีหนังสื อรวมเรื่ อง 5. ดรรชนีที่หอ้ งสมุดจัดทําขึ้นเอง 6. สาระสังเขป -หนังสื อบรรณานุกรม (Bibliography ) หนังสื อบรรณานุกรม คือ หนังสื อที่ให้รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่างๆ ว่ามีการ ผลิตออกมาในแต่ละสาขา ที่ตอ้ งการบ้าง จะค้นหาได้จากที่ใด ประเภทของหนังสื อบรรณานุกรม 1. บรรณานุกรมสากล 2. บรรณานุกรมแห่ งชาติ 3. บรรณานุกรมร้านค้า 4. บรรณานุกรมเฉพาะวิชา 5. บรรณานุกรมเลือกสรร - สิ่ งพิมพ์ รัฐบาล สิ่ งพิมพ์รัฐบาลมีประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้ามาก เนื่องจากว่าจัดเป็ นแหล่งความรู ้ด้ งั เดิม (Primary source) ที่ให้หลักฐาน ข้อมูลสถิติ และเรื่ องราวของทางราชการที่เชื่อถือได้ และข้อเท็จจริ งที่ ทันสมัย เพื่อประโยชน์ในการเผยแพร่ ผลงาน ของทางราชการ ประเภทของสิ่ งพิมพ์รัฐบาล ได้แก่ 1. รายงานการบริ หาร 2. รายงานสถิติ 3. รายงานของคณะกรรมการต่างๆ 4. รายงานการค้นคว้า และวิจยั 5. ร่ างกฎหมายและมติต่างๆ 6. ผลการพิจารณา 7. วารสารและรายงานการประชุม


- 85 8. กฎหมาย รวมบทกฎหมาย และประมวลกฎหมายต่างๆ 9. คําพิพากษา และความเห็นศาล 10. ระเบียบ กฎข้อบังคับ และคู่มือต่างๆ 11. ทําเนียบ และทะเบียน 12. บรรณานุกรม และรายชื่อต่างๆ 13. เรื่ องราวและรายละเอียดต่างๆ ของราชการ 14. วารสาร 15. ข่าวเกี่ยวกับข้อเท็จจริ ง นโยบาย ความคิดเห็น และการดําเนินงานตามแผนพัฒนา 16. แผนที่ และแผนภูมิ ภาพยนตร์ อุปกรณ์โสตทัศน์วสั ดุ และแบบจําลองต่างๆ

2. วัสดุไม่ ตีพมิ พ์ ((Non-printed Materials) / สื่ อโสตทัศน์ สื่ อโสตทัศน์(Audio-visual materials) โสตทัศนวัสดุ หรื อวัสดุไม่ตีพิมพ์ (nonbook materials) หรื อ (nonprint materials) 1. โสตวัสดุ (audio materials) หมายถึง วัสดุที่สื่อสารโดยผ่านประสาทหู หรื อ การฟังโดย แบ่งออกเป็ น 3 ชนิด - แผ่นเสี ยงหรื อจานเสี ยง - แถบบันทึกเสี ยง - ซีดีออดิโอ 2. ทัศนวัสดุ (visual materials)หมายถึง วัสดุที่สื่อสารโดยผ่านประสาทตาหรื อการเห็น ทัศนวัสดุแบ่งเป็ น 9 ชนิด - รู ปภาพ (picture) - แผนที่ (map) - ลูกโลก (globe) - วัสดุกราฟฟิ ก (graphic materials) - ภาพเลื่อน (filmstrip) - ภาพนิ่ง (slide) - แผ่นโปร่ งใส (transparency) - หุ่นจําลอง (model)


- 86 สื่ อโสตทัศน์ (audio-visual materials) หมายถึง วัสดุที่สื่อสารโดยผ่านทั้งประสาทหูและตา สื่ อ โสตทัศน์ แบ่งเป็ น 3 ชนิด คือ 1. ภาพยนตร์ (motion picture or films) 2. แถบวิดีทศั น์ (video tape) 3. ภาพนิ่งหรื อภาพเลื่อนที่มีเครื่ องบันทึกเสี ยงติดตั้งประกอบ วัสดุย่อส่ วน วัสดุยอ่ ส่ วน (Micrographic หรื อ microforms) หมายถึง วัสดุที่บนั ทึกสารสนเทศจากสิ่ งพิมพ์ ที่เป็ น หนังสื อวารสาร หนังสื อพิมพ์ วิทยานิพนธ์ จดหมายโต้ตอบ หนังสื อ หายาก ต้นฉบับ โดยการ ถ่ายในลักษณะย่อส่ วนลงบน แผ่นฟิ ล์มขนาดเล็กเพื่อประหยัด เนื้อที่ในการเก็บ และป้ องกัน การฉีกขาด ทําลายแบ่งได้ 2 ประเภทคือฟิ ล์มโปร่ งแสง และ บัตรทึบแสง

3. สื่ ออิเล็กทรอนิกส์ สื่ ออิเล็กทรอนิกส์ (electronic media) หมายถึง สื่ อที่บนั ทึกสารสนเทศ ด้วยวิธีการทาง อิเล็กทรอนิกส์อาจอยูใ่ นรู ปของ สื่ อบันทึกข้อมูลประเภทสารแม่เหล็ก เช่น แผ่นจานแม่เหล็กชนิดอ่อน (floppy disk) และสื่ อประเภทจานแสง (optical disk) บันทึกอักขระแบบดิจิตอลไม่สามารถอ่านได้ดว้ ย ตาเปล่า ต้องใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์บนั ทึกและอ่านข้อมูล สื่ ออิเล็กทรอนิกส์ ที่หอ้ งสมุดจัดให้บริ การโดยทัว่ ไปได้แก่ ซีดีรอม และฐานข้อมูลออนไลน์ 1. ซีดีรอม (Compact Dise Read only Memory หรือ CD-ROM) เป็ นลักษณะจานโพลี คาร์บอนเนต เส้นผ่าศูนย์กลาง 4.75 นิ้ว หรื อ 12 ซม. ซีดีรอม 1 แผ่น สามารถบรรจุขอ้ มูลประมาณ 250,000 หน้ากระดาษ หรื อ 600 ล้านตัวอักษร ข้อมูลที่บนั ทึกในซีดีรอมมีท้ งั ที่เป็ นบรรณานุกรมของ บทความวารสาร หนังสื อ หรื อสิ่ งพิมพ์อื่นๆ และอาจมีหรื อไม่มีสาระสังเขปประกอบ นอกจากนี้ ซีดีรอมยังใช้บนั ทึกข้อมูล ที่เป็ นเนื้อหาจากสิ่ งพิมพ์ตน้ ฉบับ เช่น พจนานุกรม สารานุกรม นามานุกรม เป็ นต้น การค้นข้อมูลจากซีดีรอมต้องใช้กบั เครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์และเครื องอ่านซีดีรอม 2. ฐานข้ อมูลออนไลน์ (Online Databases) เป็ นข้อมูลที่ผใู ้ ช้สามารถสื บค้นผ่านระบบ เครื อข่ายที่จดั ให้บริ การ ลักษณะของข้อมูลที่จดั เก็บในฐานข้อมูลจําแนกเป็ นข้อมูลบรรณานุกรมของ หนังสื อ บทความวารสาร และสิ่ งพิมพ์อื่นๆ บางฐานข้อมูลให้เฉพาะข้อมูลทางบรรณานุกรม บาง ฐานข้อมูลให้สาระสังเขปและเนื้อหาเต็มด้วย


- 87 ABI/INFORM Full Tex เป็ นฐานข้อมูลวารสารต่างประเทศสาขาธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ การบัญชี การธนาคาร การจัดการ ให้ขอ้ มูลบรรณานุกรม และสาระสังเขปและตั้งแต่ ค.ศ.1991ให้ เนื้อหาเต็ม Academic Research Library เป็ นฐานข้อมูลภาษาต่างประเทศครอบคลุมทุก สาขาวิชา ให้ขอ้ มูลบรรณานุกรม สาระสังเขป และเนื้อหาเต็ม DAO (Dissertation Abstract Online) เป็ นฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาเอก และระดับปริ ญญาโทของมหาวิทยาลัยต่างๆ ทัว่ โลก ให้ขอ้ มูลบรรณานุกรมและสาระสังเขป

3.7 ระบบจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ ระบบจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศประเภทหนังสื อ การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศหรื อการจัดหมู่หนังสื อ หมายถึง การจัดหนังสื อให้เป็ นระบบ โดยพิจารณาเนื้อหาสาระของหนังสื อเป็ นสําคัญ มีการกําหนดสัญลักษณ์แสดงเนื้อหาของหนังสื อแต่ละ ประเภท ส่ วนหนังสื อที่มีเนื้อหาเกี่ยวเนื่องกันจะมีสญ ั ลักษณ์ใกล้เคียงกันวางอยูใ่ นตําแหน่งที่ไม่ไกลกัน ประโยชน์ ของการจัดหมู่หนังสื อ 1. ทําให้หนังสื อทุกเล่มในห้องสมุดมีสญ ั ลักษณ์ และตําแหน่งที่แน่นอน 2. ทําให้หนังสื อที่มีเนื้อหาเดียวกัน รวมอยูใ่ นที่เดียวกัน 3. ช่วยให้เจ้าหน้าที่หอ้ งสมุดจัดเก็บหนังสื อคืนที่ได้ง่ายขึ้น 4. ทําให้หนังสื อที่มีเนื้อเรื่ องสัมพันธ์กนั อยูใ่ กล้กนั 5. ช่วยให้ทราบว่าห้องสมุดมีหนังสื อในแต่ละสาขาวิชา แต่ละเรื่ องมากน้อยเท่าใด

ระบบการจัดหมู่หนังสื อ ระบบการจัดหมู่หนังสื อที่มีผคู ้ ิดค้นขึ้นใช้ที่นิยมอย่างแพร่ หลาย ได้แก่ 1. ระบบการจัดหมู่หนังสื อแบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification) เรี ยกอีกอย่าง ว่า DC เป็ นระบบที่นิยม ใช้แพร่ หลายในห้องสมุดขนาดเล็ก หรื อขนาดกลาง เช่น ห้องสมุดโรงเรี ยน ห้องสมุดประชาชน เป็ นต้นโดยผูค้ ิดค้นระบบคือ นาย เมลวิล ดิวอี้ (Melvil Dewey ) ระบบนี้แบ่งสรรพ วิทยาการในโลกออกเป็ น 10 หมวดใหม่ โดยใช้ ตัวเลขอารบิก เป็ นสัญลักษณ์ ดังต่อไปนี้


- 88 100 ปรัชญา 200 ศาสนา 300 สังคมศาสตร์ 400 ภาษาศาสตร์ 500 วิทยาศาสตร์ 600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ 700 ศิลปะและการบันเทิง 800 วรรณคดี 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิประเทศ และการท่องเที่ยว 000 หนังสื อที่จดั เข้าหมวดอื่นไม่ได้ จากนั้นจะมีการแบ่งออกย่อย อีก 10 หมวดในครั้งที่ 2 โดยการใช้หลักสิ บ และจะแบ่งย่อยอีก ครั้งที่ 3 โดยใช้หลักหน่วย เป็ นสัญลักษณ์ ซึ่งจากนี้ถา้ ต้องการระบุเนื้อหาของหนังสื อให้ช้ ีเฉพาะยิง่ ขึ้น ก็ใช้วิธีเขียนจุดทศนิยมตั้งแต่ 1 ตําแหน่งขึ้นไป เช่น 371 โรงเรี ยน 3.7.1 การสอนและบุคลากรในโรงเรี ยน 371.11 ลักษณะและคุณสมบัติของครู

2. ระบบการจัดหมู่หนังสื อแบบห้ องสมุดรัฐสภาอเมริกนั Library of Congress Classification เรี ยกสั้นๆ ว่า ระบบ LC เป็ นระบบที่นิยมใช้แพร่ หลาย ในห้องสมุดขนาดใหญ่ ที่มีหนังสื อเฉพาะสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งหรื อมี หนังสื อทัว่ ไปทุกประเภท เป็ น จํานวนมาก เช่น ห้องสมุดมหาวิทยาลัย เป็ นต้น ระบบนี้แบ่งเนื้อหาวิชา ออกเป็ น 20 หมวดโดยใช้ สัญลักษณ์เป็ นแบบผสม คือ ตัวอักษรโรมันผสมกับตัวเลขอารบิก แต่อกั ษรโรมันที่ไม่ได้นาํ มาใช้มีอยู่ 5 ตัว คือ I,O,W,X และ Y ซึ่งอักษร A - Z ที่ใช้เป็ นสัญลักษณ์ จะแสดงแทน เนือ้ หา คือ หมวด A หนังสื อที่เป็ นความรู ้ทว่ั ๆ ไป เช่น หนังสื ออ้างอิง หนังสื อพิมพ์ หมวด B หนังสื อทางด้านปรัชญา ตรรกวิทยา อภิปรัชญา จิตวิทยา หมวด C หนังสื อเกี่ยวกับประวัติอารยธรรม โบราณคดี จดหมายเหตุ พงศาวดาร หมวด D หนังสื อประวัติศาสตร์ทวั่ ไป ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว ประวัติศาสตร์ของประเทศ หมวด E - F หนังสื อประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์การท่องเที่ยวในทวีปอเมริ กา หมวด G หนังสื อภูมิศาสตร์ทวั่ ไป มนุษยวิทยา กีฬา และการบันเทิง


- 89 หมวด หมวด หมวด หมวด หมวด หมวด หมวด หมวด หมวด หมวด หมวด หมวด หมวด หมวด

H J K L M N P Q R S T U V Z

หนังสื อสังคมศาสตร์ หนังสื อทางด้านการเมือง และรัฐศาสตร์ หนังสื อกฎหมาย หนังสื อเกี่ยวกับการศึกษา หนังสื อเกี่ยวกับการดนตรี หนังสื อด้านศิลปกรรม หนังสื อภาษาและวรรณคดี หนังสื อวิทยาศาสตร์ทวั่ ไป หนังสื อแพทย์ศาสตร์ หนังสื อเกษตรศาสตร์ หนังสื อวิทยาศาสตร์ประยุกต์ หนังสื อยุทธศาสตร์ หนังสื อนาวิกศาสตร์ หนังสื อบรรณานุกรม และบรรณารักษศาสตร์

จากนั้นแบ่งออกเป็ นหมวดย่อยโดยวิธีการเพิ่มอักษรตัวที่ 2 ต่อจากอักษรตัวแรก เช่น หมวด Q วิทยาศาสตร์ สามารถแบ่งย่อยโดย QA คณิ ตศาสตร์ QB ดาราศาสตร์ ทั้งนี้จะมีขอ้ ยกเว้นสําหรับ หมวด E - F ที่ไม่มีการใช้อษั รตัวที่ 2 แต่จะมีการเพิ่มเลขอารบิกต่อท้ายอักษร 3.1 ระบบการจัดหมู่หนังสื อแบบห้องสมุดแพทย์แห่งชาติของสหรัฐอเมริ กา (National Library Medicine ) เรี ยกย่อๆ ว่า NLM เป็ นระบบการจัดหมวดหมู่หนังสื อที่ใช้กบั ห้องสมุดทางการแพทย์ ใช้ สัญลักษณ์เหมือนกับ ระบบ LC คืออักษรโรมันและเลขอารบิก ซึ่งห้องสมุดในประเทศไทยที่ใช้ระบบนี้ คือ หอสมุดศิริราช และห้องสมุดคณะวิทยา ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิ ดล 3.2 ระบบการจัดหมู่หนังสื อแบบทศนิยมสากล (Universal Decimal Classification) เรี ยกย่อๆ ว่าระบบ UDC เป็ นระบบที่นิยมใช้ในทวีปยุโรป และใช้เลขอารบิกเป็ นสัญลักษณ์เช่นเดียวกับระบบDC แตกต่างตรง ที่ทศนิยมที่ใช้เพียงหลักเดียวแล้วใช้เครื่ องหมายต่างๆ ประกอบในประเทศไทยมีที่ใช้ ระบบนี้ที่ ห้องสมุดสํานักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ


- 90 -

หนังสื อทีห่ ้ องสมุดไม่ นิยมกําหนดเลขหมู่ หนังสื อที่ใช้อ่านเพื่อความเพลิดเพลินมากกว่าเพื่อประโยชน์ เช่น นวนิยาย รวมเรื่ องสั้น และ หนังสื อสําหรับเด็ก ห้องสมุดจะไม่กาํ หนดเลขหมู่ให้ แต่จะใช้สญ ั ลักษณ์ง่ายๆ แทนโดยใช้อกั ษรย่อ เพื่อบอกประเภทของหนังสื อนั้นๆ เช่น นวนิยาย ภาษาไทยใช้ น หรื อ นว ภาษาอังกฤษใช้ FIC ซึ่ง หนังสื อเหล่านี้จะเรี ยงบนชั้นแยกจากหนังสื อทัว่ ไป

เลขเรียกหนังสื อ ( Call Number) เลขเรี ยกหนังสื อ คือ สัญลักษณ์ที่หอ้ งสมุดกําหนดให้กบั หนังสื อทุกเล่มในห้องสมุด ประกอบด้วยส่ วนสําคัญ 3 ส่ วน 1. เลขหมู่หนังสื อ (Class number ) แสดงเนื้อหาหรื อวิธีประพันธ์ของหนังสื อ 2. เลขผูแ้ ต่ง (Author number ) ประกอบด้วย อักษรและตัวเลข 3. อักษรชื่อเรื่ อง (Work mark) เป็ นพยัญชนะตัวแรกของหนังสื อ

การเรียงหนังสื อบนชั้น การเรี ยงหนังสื อบนชั้น คือ การเรี ยงหนังสื อขึ้นชั้น โดยพิจารณาจากเลขเรี ยกหนังสื อจากซ้าย ไปขวา และจากบนลงล่าง หนังสื อที่มีเลขหมู่ซ้ าํ กัน การจัดลําดับก่อนหลัง พิจารณาจากอักษรผูแ้ ต่ง หนังสื อที่มีเลขหมู่ซ้ าํ กัน เลขผูแ้ ต่งเหมือนกัน พิจารณา จากอักษรชื่อเรื่ อง เพื่อให้ผใู ้ ช้สามารถค้นหา หนังสื อที่ตอ้ งการได้โดยง่าย ตัวอย่างเช่น

ต.ย.๑

HF5549 HF5550 HF5551 A527F A618F A729F ต.ย.๒ HF5549 HF5549 HF5549 A527F A618K A729P ระบบการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศทีไ่ ม่ ใช่ หนังสื อ

ทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุดมีหลายประเภทนอกจากหนังสื อแล้ว ยังมีสิ่งพิมพ์อื่นๆ และ ทรัพยากรสารสนเทศ ที่ไม่ใช่หนังสื อ ประกอบด้วยสิ่ งพิมพ์รัฐบาล วารสาร จุลสาร กฤตภาค สื่ อโสต ทัศน์วสั ดุยอ่ ส่ วน และสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ไว้บริ การด้วย วิธีจดั เก็บทรัพยากรสารสนเทศที่ไม่ใช่หนังสื อ สามามารถจัดได้ ดังนี้คือ 1)จัดตามเนื้อหา และลักษณะ และ 2) จัดแยกเป็ นทรัพยากรลักษณะพิเศษโดย การกําหนดสัญลักษณ์ และเลขหมู่


- 91 วิธีจดั เก็บสิ่ งพิมพ์รัฐบาล 1. จัดรวมกับหนังสื อในห้องสมุด 2. จัดแยกจากหนังสื อและทรัพยากรสารสนเทศอื่นๆ แยกออกเป็ นทรัพยากรลักษณะพิเศษ (Special collection ) โดยมีหลักการ ตามลําดับ ดังนี้ -จัดลําดับตามหน่วยงานระดับกระทรวง -จัดลําดับตามหน่วยงานระดับกรม กอง สถาบัน องค์กรที่สงั กัดในกระทรวง -จัดตามประเภทสิ่ งพิมพ์ -จัดตามเลขประจําชุด หรื อเลขเรี ยกหนังสื อ ห้องสมุดส่ วนใหญ่จะทําบัตรรายการของสิ่ งพิมพ์รัฐบาลให้มีขนาดเดียวกับบัตรรายการของ หนังสื อแต่จะใช้เป็ น บัตรสี นอกจากนี้หอ้ งสมุดบางแห่งยังกําหนดสัญลักษณ์พเิ ศษกํากับเลขเรี ยก หนังสื อ เพื่อให้เห็นชัดว่าเป็ นบัตรรายการสิ่ งพิมพ์รัฐบาล วิธีจดั เก็บวารสาร เพื่อให้สะดวกต่อการค้นหาสารสนเทศที่ตอ้ งการนิยมจัดเก็บวารสารแยกไว้ต่างหากไม่รวม กับหนังสื อโดยแยกวารสารดังนี้ 1. วารสารฉบับใหม่หอ้ งสมุดจะเรี ยงไว้บนชั้นเรี ยงตามลําดับอักษรชื่อวารสารจากซ้ายไป ขวา และมีป้ายชื่อวารสารกํากับไว้ 2. วารสารฉบับย้อนหลังนําไปเย็บเล่มรวม แล้วเรี ยงไว้บนชั้นตามลําดับอักษรชื่อวารสาร วิธีจดั เก็บหนังสื อพิมพ์ หนังสื อพิมพ์เสนอข่าวสด เหตุการณ์ หนังสื อพิมพ์มีขนาดใหญ่กว่าสิ่ งพิมพ์ประเภทอื่น ไม่ มีการเย็บเล่ม ห้องสมุดทัว่ ไปจัดเก็บหนังสื อพิมพ์ดงั นี้ 1. หนังสื อพิมพ์ฉบับใหม่ ใช้ไม้แขวนสําหรับแขวนหนังสื อพิมพ์ 2. หนังสื อพิมพ์ฉบับย้อนหลัง จะถ่ายเป็ นวัสดุยอ่ ส่ วน เก็บไว้ในรู ปไมโครฟิ ล์ม วิธีจดั เก็บจุลสาร เนื่องจากจุลสารเป็ นสิ่ งพิมพ์ที่ให้สารสนเทศเฉพาะเรื่ อง ห้องสมุดจึงแยกเก็บไว้ต่างหาก นิยมจัดเก็บดังนี้ 1. การจัดเก็บโดยใช้ระบบการจัดหมู่ โดยการกําหนดเลขหมู่แล้วนํามาเรี ยงไว้บนชั้น 2. การจัดเก็บโดยการกําหนดหัวเรื่ อง มีการเขียนหัวเรื่ องกํากับไว้ที่มุมปกแล้วนําจุลสาร ที่มีหวั เรื่ องเดียวกันเก็บไว้ในแฟ้ มเดียวกัน วิธีจดั เก็บกฤตภาค


- 92 การจัดเก็บกฤตภาคนั้นอาจใช้วิธีเดียวกับจุลสาร คือ จัดเก็บโดยกําหนดหัวเรื่ องแล้วนําหัวเรื่ องเดียวกัน เก็บไว้ใน แฟ้ ม แล้วนํา แฟ้ มไปเก็บไว้ในตูเ้ อกสาร สําหรับการจัดเก็บจุลสารและกฤตภาคหากมีการ จัดเก็บโดยการกําหนดหัวเรื่ อง ก็จะใช้ หัวเรื่ องระบบเดียวกัน กับการจัดหมู่ทวั่ ไปของห้องสมุด วิธีจดั เก็บสื่ อโสตทัศน์ ห้องสมุดโดยทัว่ ไปที่มีสื่อโสตทัศน์จาํ นวนมากนิยมจัดแยกออกเป็ นหน่วยงานหนึ่งต่างหาก กล่าวแยกอธิบายได้ดงั นี้ 1. โสตวัสดุ วัสดุบนั ทึกเสี ยง 1.1 แผ่นเสี ยง (Phonodisc) สัญลักษณ์คือ SR (Soundrecording) 1.2 เทปบันทึกเสี ยง (Tape) ได้แก่ เทปม้วน เทปตลับคาสเซ็ท เทปตลับแบบ Cartridge 1.3 ซีดีออดิโอ (CD Audio) 2. ทัศนวัสดุ 2.1 วัสดุกราฟิ ก และรู ปภาพ (Graphic materials and picture) จัดเก็บคล้ายกับกฤตภาค 2.2 ภาพเลื่อน หรื อ ฟิ ล์มสตริ ป (Filmstrip) เก็บไว้ในกล่อง แยกเป็ นหมวดแล้วนําไป เก็บในตูเ้ ก็บภาพเลื่อน 2.3 ภาพนิ่งหรื อ สไลด์ (Slide) จัดเก็บตามเลขทะเบียนหรื อหัวเรื่ อง แล้วจัดเก็บใน ลิ้นชักของตูเ้ ก็บภาพนิ่ง 2.4 ภาพโปร่ งใส (Transparency) จัดแยกไว้ต่างหากไม่รวมกับวัสดุอื่นๆ โดยใช้ สัญลักษณ์ TR (Transparency) 2.5 วัสดุ3 มิติ และวัสดุของจริ ง - หุ่ นจําลอง (Models) เป็ นวัสดุ 3 มิติที่ทาํ แทนของจริ ง สัญลักษณ์ TD (Teaching Devices) จัดเก็บตามเลขทะเบียน - ของจริ ง (Realia) เป็ นวัสดุของจริ ง เช่นโครงร่ างมนุษย์ สัญลักษณ์ RL (Realia) 2.6 แผนที่ (Maps) มักแยกเก็บไว้ในตูต้ ามหัวเรื่ องกว้างๆ 3. โสตทัศน์วสั ดุ 3.1 ภาพยนตร์ (Motion picture or films) จัดเก็บฟิ ล์มไว้ในกล่องโลหะ 3.2 วีดีทศั น์ (Videorecording) จัดเก็บตามเลขหมู่โดยมีป้ายติดเลขหมู่ที่ตลับเทป หรื อ แยกเก็บโดยการใช้สญ ั ลักษณ์ VR (Videorecording)


- 93 วิธีจดั เก็บวัสดุยอ่ ส่ วน วัสดุยอ่ ส่ วนที่หอ้ งสมุดส่ วนมากจัดหาไว้บริ การผูใ้ ช้มกั อยูใ่ นรู ปของไมโครฟิ ล์ม และไมโคร ฟิ ช จะจัดเก็บดังนี้ 1. ไมโครฟิ ล์ม (Microfilms)ทั้งที่เป็ นชนิดม้วนและตลับ จัดเก็บโดยทําป้ ายติดแล้ว เรี ยงตามเลขทะเบียน 2. ไมโครฟิ ช (Microfiche)จะบรรจุอยูใ่ นซองกระดาษ จัดเก็บเรี ยงตามเลขทะเบียน วิธีจดั เก็บสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ 1. แผ่นจานแม่เหล็กชนิดอ่อน ใช้ระบบการจัดหมู่เช่นเดียวกับหนังสื อ แล้วทําป้ ายติด ซองที่เก็บแผ่นจานแม่เหล็ก จากนั้นนําไปจัดเรี ยงไว้ในกล่อง 2. ซีดีรอม อาจจัดเก็บไว้ในกล่องรวมๆ กันไว้

แบบฝึ กหัด : การใช้ ห้องสมุด 1. ให้บอกชื่อห้องสมุดแต่ละประเภทต่อไปนี้ มา 3 รายชื่อ 1.1) ห้องสมุดประชาชน 1.2) ห้องสมุด โรงเรี ยน 1.4) ห้องสมุดเฉพาะ 1.5)ห้องสมุดมหาวิทยาลัย ................................................................................................................................................................... 2. ให้นกั ศึกษาเปรี ยบเทียบทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่างๆ ต่อไปนี้วา่ คล้ายคลึงกันหรื อต่างกัน อย่างไร 1.1 หนังสื อสารคดีและหนังสื อบันเทิงคดี 1.2 หนังสื อตํารา และหนังสื ออ้างอิง 1.3 วารสารทัว่ ไปและวารสารทางวิชาการ 1.4 จุลสารและกฤตภาค 1.5 สื่ อโสตทัศน์ และสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ ............................................................................................................................................................... 2. ส่ วนต่างๆ ของหนังสื อ วารสาร และหนังสื อพิมพ์ มีส่วนประกอบที่เหมือนกันหรื อไม่ จงอธิบาย .......................................................................................................................................................... 3. จงไปสํารวจหนังสื อที่เรี ยงอยูบ่ นชั้นในห้องสมุด พิจารณาเนื้อหาและเลขหมู่หนังสื อแต่ละเล่ม ........................................................................................................................................................ 4. จงพิจารณาเลขเรี ยกหนังสื อคือ เลขหมู่หนังสื อ เลขผูแ้ ต่ง และอักษรชื่อเรื่ องของหนังสื อแต่ละเล่ม .............................................................................................................................................


- 94 -

3.8 การเข้ าถึงสารสนเทศ (Information Access) การเข้าถึงสารสนเทศ(Information Access) หมายถึง วิธีการที่ผใู ้ ช้สามารถสื บค้นและได้รับ สารสนเทศที่ตอ้ งการ โดยทัว่ ไปแหล่งสารสนเทศได้จดั ดําเนินงาน เพื่อการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศ ด้วยการจัดให้มีเครื่ องมือช่วยค้น ได้แก่ บัตรรายการ บรรณานุกรม ดรรชนีวารสาร ดรรชนีหนังสื อพิมพ์ รายการออนไลน์ ฐานข้อมูล และเครื่ องมือสื บค้นบนอินเทอร์เน็ต 1. บัตรรายการ บัตรรายการ เป็ นเครื่ องมือช่วยค้นในรู ปบัตร ขนาด 3 x 5 นิ้ว ใช้บนั ทึกรายละเอียดเกี่ยวกับ บรรณานุกรมของทรัพยากรสนเทศ แล้วนําบัตรทั้งหมดมาจัดเรี ยงตามลําดับอักษรในตูบ้ ตั รรายการ เพื่อให้ใช้คน้ คว้าได้สะดวก บัตรรายการมี 3 ประเภท คือ บัตรผูแ้ ต่ง (Author card) บัตรชื่อเรื่ อง (Title card) บัตรเรื่ อง (Subject card) 1.1 บัตรผู้แต่ ง (Author card) หมายถึง บัตรที่ใช้เพื่อค้นว่าห้องสมุดมีทรัพยากรสารสนเทศ โดยผูแ้ ต่งผูน้ ้ ีหรื อไม่ สําหรับผูแ้ ต่งที่มีผลงานหลายเรื่ องหลายประเภท บัตรผูแ้ ต่งจะช่วยให้ทราบว่า ห้องสมุดมีผลงานเรื่ องใด บัตรผูแ้ ต่งจะมีชื่อและนามสกุลของผูแ้ ต่ง อยูบ่ นบรรทัดแรก ของบัตร สําหรับ ผูแ้ ต่งที่เป็ นชาวต่างประเทศ โดยเฉพาะชาวตะวันตก จะใช้นามสกุลขึ้นก่อน คัน่ ด้วย เครื่ องหมายจุลภาคแล้วจึงลงชื่อแรก 1.2 บัตรชื่อเรื่อง (Title card) หมายถึง บัตรที่พิมพ์ชื่อเรื่ องของทรัพยากรสารสนเทศไว้บน บรรทัดแรก เพื่อให้ความสะดวกรวดเร็ วสําหรับผูใ้ ช้บริ การ เพราะชื่อเรื่ องของทรัพยากรสารสนเทศ บางประเภทเป็ นที่รู้จกั อย่างแพร่ หลาย เช่น วรรณคดีคลาสสิ ค นวนิยาย ภาพยนตร์ เทปบันทึกภาพ เทป บันทึกเสี ยง เป็ นต้น 1.3 บัตรเรื่อง (Subject card) หมายถึง บัตรที่มีหวั เรื่ องปรากฏอยูบ่ นบรรทัดแรก ของบัตร หัวเรื่ อง คือ คํา กลุ่มคําหรื อวลี ที่หอ้ งสมุดทัว่ ไปกําหนดขึ้นใช้ให้ครงกัน เพื่อระบุเนื้อหาวิชา หรื อ สาระสําคัญของเนี้อเรื่ องในทรัพยากรสารสนเทศ บัตรเรื่ องให้ความสะดวกแก่ผใู ้ ช้หอ้ งสมุด ในกรณี ที่ ไม่ทราบชื่อผูแ้ ต่งหรื อชื่อเรื่ อง แต่ทราบขอบเขตหัวข้อวิชา และสาระสําคัญของเรื่ องที่ตอ้ งการ อย่าง คร่ าวๆ เช่น ต้องการทํารายงานเกี่ยวกับดนตรี ไทย และเรื่ องอื่นๆ ที่ใกล้เคียงกันอย่างไร บัตรเรื่ องจะ แสดงว่าห้องสมุดมีทรัพยากรสารสนเทศเกี่ยวกับดนตรี ไทยและเรื่ องอื่นๆ ที่ใกล้เคียงกันอย่างไร เช่น ดนตรี ไทย เครื่ องดนตรี ไทย เพลงไทย หนังสื อบางเรื่ องสามารถค้นได้จากหัวเรื่ องหลายหัวเรื่ อง


- 95 ตัวอย่ าง บัตรรายการประเภทต่างๆ ของหนังสื อ เพลงไทย. ML345 ชนิตร ภุ่กาญจน์. .T5 แก่นแท้ดนตรี ไทย / ชนิตร ภุ่กาญจน์. กรุ งเทพฯ: บรรณกิจ,

บัตรเรื่อง

ดนตรีไทย. ML345 ชนิ ตร ภุ่กาญจน์. .T5 แก่นแท้ดนตรี ไทย / ชนิตร ภุ่กาญจน์. กรุ งเทพฯ: บรรณกิจ, เครื่องดนตรีไทย. ML345 ชนิตร ภุ่กาญจน์. .T5 แก่นแท้ดนตรี ไทย / ชนิตร ภุ่กาญจน์. กรุ งเทพฯ: บรรณกิจ, แก่ นแท้ ดนตรีไทย. . ML345 ชนิตร ภุ่กาญจน์. .T5 แก่นแท้ดนตรี ไทย / ชนิตร ภุ่กาญจน์. กรุ งเทพฯ: บรรณกิจ, ML345 ชนิตร ภุ่กาญจน์ . .T5 แก่นแท้ดนตรี ไทย / ชนิตร ภุ่กาญจน์. กรุ งเทพฯ: บรรณกิจ, ช153ก 2544. 272 หน้า : ภาพประกอบ. 1. ดนตรี ไทย. 2.เครื่ องดนตรี ไทย. 3. เพลงไทย. 4. ชื่อเรื่ อง.

บัตรชื่อเรื่อง

บัตรผู้แต่ ง

ส่ วนสําคัญในบัตรรายการ ที่ควรทราบในการเข้าถึงสารสนเทศ คือ เลขเรียกหนังสื อ ผูใ้ ช้ ห้องสมุดใช้เลขเรี ยกหนังสื อเป็ น รหัส ในการค้นหาทรัพยากรสารสนเทศจากแหล่งที่เก็บหรื อติดต่อ สอบถามเจ้าหน้าที่หอ้ งสมุด เมื่อหาแล้วไม่พบทรัพยากรสารสนเทศที่ตรงตามต้องการ รายละเอียดในเลขเรี ยกหนังสื อ จะประกอบด้วย สัญลักษณ์ ตามระบบการจัดหมวดหมู่ ทรัพยากรสารสนเทศ เช่น ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริ กนั หรื อระบบทศนิยมดิวอี้ และ อักษรตัวแรก ของชื่อผูแ้ ต่งและ อักษรตัวแรกของชื่อเรื่ อง ดังตัวอย่างต่อไปนี้


- 96 ML345.T5 ช153ก

PS3515 .E37 H489M

สั ญลักษณ์ ของการจัดหมวดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกนั อักษรตัวแรกของชื่อผูแ้ ต่ง อักษรตัวแรกของชื่อเรื่ อง เลขประจําตัวผูแ้ ต่ง สั ญลักษณ์ ของการจัดหมวดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกนั อักษรตัวแรกของชื่อผูแ้ ต่ง อักษรตัวแรกของชื่อเรื่ อง เลขประจําตัวผูแ้ ต่ง

โดยทัว่ ไปการเรี ยงบัตรรายการในห้องสมุด เป็ นการเรี ยงบัตร โดยแยกบัตรออกเป็ นบัตรผูแ้ ต่ง บัตรชื่อเรื่ อง บัตรเรื่ อง แล้วจึงเรี ยงบัตรแต่ละประเภทตามลําดับอักษร แบบพจนานุกรม 2. บรรณานุกรม บรรณานุกรม เป็ นเครื่ องมือช่วยค้นประเภทหนึ่ง ที่รวบรวมชื่อทรัพยากรสารสนเทศประเภท ต่างๆ เช่น หนังสื อ วารสาร และวัสดุอื่นๆ เข้าไว้ดว้ ยกัน โดยแต่ละรายการจะให้รายละเอียดทาง บรรณานุกรมชื่อและนามสกุลของผูแ้ ต่ง ชื่อเรื่ อง สถานที่พิมพ์ สํานักพิมพ์ ปี ที่พมิ พ์จาํ นวนหน้า และ ราคา เป็ นต้น บางรายการอาจมีบรรณนิทศั น์ระบุขอบเขตของเนื้อหาอย่างสั้นๆ 3. ดรรชนีวารสาร ในการเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า วารสาร เป็ นสิ่ งพิมพ์ที่มีความสําคัญ เนื่องจากให้ขอ้ มูลที่ ทันสมัย วารสารจัดพิมพ์ได้อย่างรวดเร็ว และมีกาํ หนดออกสมํ่าเสมอ จึงสามารถ รายงานข่าวสาร การ ค้นคว้าวิจยั ใหม่ๆ บทความวิชาการ บทความวิจารณ์ แสดงความคิดเห็นเชิงสร้างสรรค์ ได้อย่างรวดเร็ ว เครื่ องมือที่ช่วยค้นบทความต่างๆ ที่ตีพิมพ์ในวารสาร คือ ดรรชนีวารสาร ตัวอย่าง บัตรดรรชนีวารสาร พูนพิศ อมาตยกุล. “ดนตรี ไทยกับการสื่ อสารวิทยุและโทรทัศน์” วารสารมนุษยศาสตร์. ปี ที่ 10 ฉ. 2 (ตุลาคม-ธันวาคม 2552) : หน้า 76-65.


- 97 -

4. รายการออนไลน์ รายการออนไลน์ หรื อ โอแพค = OPAC ย่อมาจาก คําว่า Online Public Access Catalog เป็ น รายการข้อมูลบรรณานุกรมออนไลน์ทรัพยากรสารสนเทศของระบบห้องสมุด ผูใ้ ช้สามารถติดต่อโดย เข้าถึงได้จากเครื่ องรับปลายทาง ไม่วา่ จากเครื่ องคอมพิวเตอร์ในห้องสมุดหรื อจากการติดต่อระยะไกล จากภายนอก โดยผ่านเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต การสื บค้นจากรายการออนไลน์เป็ นวิธีการที่ผใู ้ ช้สามารถ โต้ตอบกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ เพื่อค้นหาข้อมูลที่ตอ้ งการโดยไม่จาํ กัดเวลา และสถานที่ที่ทาํ การสื บค้น ผูใ้ ช้ สามารถทราบได้ทนั ทีวา่ ทรัพยากรสารสนเทศที่ตอ้ งการนั้น มีในห้องสมุดนั้นหรื อไม่ มีจาํ นวน เท่าใด สถานที่จดั เก็บ ตลอดจนสถานภาพของรายการที่ตอ้ งการ การสื บค้นโอแพค นับว่าเป็ นวิธีการสื บค้นที่ง่าย ผูใ้ ช้สามารถเรี ยนรู ้ได้ดว้ ยตนเองจากคําอธิบาย ที่ปรากฏหน้าจอ สามารถปรับปรุ งผลการสื บค้น บันทึก และพิมพ์ผลการสื บค้นได้ทางเครื่ องพิมพ์ หรื อ ส่ งไปยังที่อยูท่ างไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์กไ็ ด้ นอกจากนี้ ผูใ้ ช้สามารถตรวจสอบข้อมูลผลการยืมของ ตนเองโดยการตรวจสอบรายชื่อหนังสื อจองในรายวิชาต่างๆ หรื อของผูส้ อนตลอดจนสอบถามหรื อให้ ข้อเสนอแนะแก่หอ้ งสมุดได้อีกด้วย

การสื บค้ นรายการออนไลน์ การติดต่อเข้าใช้ระบบรายการออนไลน์ ในกรณี ที่ผใู ้ ช้อยูภ่ ายนอกห้องสมุด สามารถติดต่อเข้า ใช้ได้ 2 วิธี โดยผ่านเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต คือ 1. การติดต่ อโดยใช้ คาํ สั่ ง telnet มายังเครื่ องคอมพิวเตอร์ของห้องสมุด โดยผูใ้ ช้ตอ้ งทราบชื่อ เครื่ องคอมพิวเตอร์ที่จะติดต่อ และชื่อลงบันทึกเข้า (login name) ให้ถกู ต้อง การติดต่อโดยวิธีน้ ีเป็ น วิธีการที่รวดเร็ วเนื่องจากเป็ นการส่ งข้อความเฉพาะตัวอักษรเท่านั้น 2. การติดต่ อผ่ านเว็บไซต์ ของห้ องสมุด ผูใ้ ช้ตอ้ งทราบชื่อที่ถูกต้องของเว็บไซต์ วิธีน้ ีเป็ นวิธีที่ สะดวก เรี ยนรู ้ได้ง่าย และผูใ้ ช้ยงั ได้รับข้อมูลอื่นๆ ที่เป็ นประโยชน์อีกด้วย นอกเหนือจากข้อมูลรายการ ออนไลน์ เช่น การสื บค้นฐานข้อมูลเพื่อการค้นคว้าอ้างอิง ข่าวออนไลน์ รายชื่อหนังสื อใหม่ รายชื่อ วารสารใหม่ รายชื่อวารสาร บริ การต่างๆ และเว็บไซต์ที่น่าสนใจ เป็ นต้น วิธีการสื บค้ นด้ วยระบบออนไลน์ ในการสื บค้นระบบรายการออนไลน์ หรื อโอแพค (OPAC) สามารถสื บค้นได้ โดยใช้ทางเลือก ต่างๆ ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั การออกแบบของแต่ละระบบ โดยทัว่ ไป ผูใ้ ช้สามารถเลือกสื บค้น จากทางเลือก ต่างๆ เช่น ผูแ้ ต่ง ชื่อเรื่ อง คําสําคัญ เลขเรี ยกหนังสื อ เป็ นต้น ในการสื บค้น ผูใ้ ช้เพียงแต่พิมพ์คาํ ที่ ต้องการ ซึ่งอาจเป็ นคําหรื อข้อความเต็มหรื อส่ วนหนึ่งของคํา หรื อข้อความก็จะได้รับรายการข้อมูล ที่ ตรงหรื อใกล้เคียงกับความต้องการ ดังตัวอย่างวิธีการสื บค้นโอแพค(OPAC)โดยผ่านเวบไซต์หอ้ งสมุด


- 98 -

การติดต่อเข้าใช้ ระบบโอแพค (OPAC)โดย ผ่านเว็บไซต์ของ สํานักวิทยบริ การ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก

ตัวอย่าง ทางเลือกในการสื บค้นระบบออนไลน์หรื อโอแพค (OPAC)


- 99 -

5. เครื่องมือสื บค้ นระบบออนไลน์ หรืออินเทอร์ เน็ต (Internet) การเข้าถึงข้อมูลหรื อสารสนเทศระบบอินเทอร์เน็ต หรื อ ระบบออนไลน์ โดยผูใ้ ช้ตอ้ งสามารถ เชื่อมต่อ เครื่ องคอมพิวเตอร์กบั ระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต โดยอาศัยอุปกรณ์เชื่อมต่อระบบเครื อข่าย และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โปรแกรมที่ใช้เป็ นเครื่ องมือ ในการเข้าถึงสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต ที่มกั นิยมกันแพร่ หลายในปัจจุบนั ได้แก่ โปรแกรมค้นหา (Browsers) เช่น Internet Explorer Netscape Communicator เป็ นต้น สารสนเทศโดยทัว่ ไปบนเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web – WWW.) อาจเป็ นได้ท้ งั ตัวอักษร เสี ยงภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ภาพยนตร์ หรื อแฟ้ มข้อมูลคอมพิวเตอร์ หน่วยงานต่างๆ ในปัจจุบนั นิยม เผยแพร่ ขอ้ มูลเหล่านี้ผา่ นระบบเวิลด์ไวด์เว็บ ในอินเทอร์เน็ต หน่วยงานดังกล่าวมีท้ งั ที่เป็ นราชการ สถาบันการศึกษา เอกชนและบุคคลทัว่ ไปและมีวตั ถุประสงค์ในการเผยแพร่ ต่างกัน ดังนั้นผูใ้ ช้จาํ เป็ น ต้องพิจารณาความถูกต้องและน่าเชื่อถือของข้อมูลก่อนนําสารสนเทศที่สืบค้นได้จากอินเทอร์มาใช้ การค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตโดยผ่านทางเวิลด์ไวด์เว็บนั้น มีเครื่ องมือที่ใช้ในการสื บค้น สารสนเทศ เรี ยกว่า โปรแกรมค้นหา (Search engine) การสื บค้นสารสนเทศด้วยโปรแกรมค้นหาแบ่ง ออกได้ 2 วิธี คือ การสื บค้นด้วยคําสําคัญ (Keyword) และการสื บค้นด้วยกลุ่มเนื้อหา (Directories)

การสื บค้ นด้ วยคําสํ าคัญ (Keyword) การสื บค้นด้วยคําสําคัญ เป็ นการสื บค้นโดยใช้คาํ ที่โปรแกรมค้นหาจัดทําดรรชนีและเก็บไว้ ในรู ปฐานข้อมูล ซึ่งมีความแตกต่างกันไปในแต่ละโปรแกรม เว็บไซต์ที่บริ การเครื่ องมือสื บค้นวิธีน้ ีที่ รู ้จกั กันดี เช่น Google (www.google.com) และ Lycos (www.lycos.com) เป็ นต้น โปรแกรมค้นหาแต่ละ โปรแกรมมีขอ้ ดีและข้อจํากัดแตกต่างกัน ผูใ้ ช้ควรทราบว่าโปรแกรมค้นหาที่ใช้ เน้นการทําดรรชนี ประเภทใด มีการให้น้ าํ หนักสารสนเทศแต่ละเรื่ องอย่างไร และควรใช้มากกว่าหนึ่งโปรแกรมเพือ่ ให้ การสื บค้นสมบูรณ์เพิ่มยิง่ ขึ้น นอกจากนี้ผใู ้ ช้คนใดที่สนใจ สามารถติดตามความเคลื่อนไหวและศึกษา เกี่ยวกับโปรแกรมค้นหาแต่ละชื่อได้จาก www.searchengines.com และอาจใช้กบั เว็บไซต์อื่นๆ ที่ คล้ายคลึงกันได้


- 100 -

วิธีการสื บค้นด้ วย Keyword วิธีการสื บค้นสารสนเทศจากโปรแกรมค้นหาด้วยคําสําคัญ มีหลักการค้น ดังนี้ 1. ใส่ คาํ ค้นที่ตอ้ งการ โดยใช้คาํ ที่ความหมายเจาะจงมากที่สุด เช่น travel thai 2. กรณี ที่ใช้คาํ มากกว่า 1 คํา โปรแกรมค้นหาส่ วนใหญ่จะค้นรายการที่มีคาํ ทุกคําในเว็บไซต์ เดียวกัน เสมือนใช้คาํ ว่า and เชื่อม เช่น travel and thai แต่ตอ้ งระวังว่าโปรแกรมค้นหาบางชื่อก็ถือ เสมือนเป็ นการ or ได้เช่นเดียวกัน 3. กรณี ตอ้ งการค้นเป็ น วลี ส่ วนใหญ่ แนะนําให้ใช้ “.............. ” คร่ อมข้อความ เช่น “thai culture” 4. คําที่เป็ นคําทัว่ ๆ ไป เช่น I หรื อ a มักจะไม่นาํ มารวมในการค้น หากต้องการใช้เป็ นคําค้น ด้วย ต้องใส่ เครื่ องหมาย + ไว้หน้าคํา เช่น vitamin +a 5. ปกติคาํ ที่สะกดด้วยอักษรใหญ่เล็กจะมีความหมายเดียวกัน ใช้แทนกันได้ 6. โปรแกรมค้นหาบางชื่อ เช่น Google จะไม่ใช้การตัดคํา ดังนั้นคําที่ใช้ในการค้นต้องสะกด ตามที่ปรากฏในเว็บไซต์ จึงจะค้นได้ แต่บางเว็บไซต์กอ็ นุญาตให้ใช้การตัดคํา เช่น YaHoo สามารถใช้ คํา thai* แทน Thailand 7. โปรแกรมค้นหลายชื่อมีทางเลือกพิเศษเพือ่ ช่วยในการสื บค้น เช่น กรณี มีทางให้คน้ คํา เพิ่มเติมจากผลการค้นเดิม

ตัวอย่ าง ผลการค้ นจากโปรแกรมค้ นหา Google


- 101 -

ตัวอย่าง การค้นหาแบบ Advanced search ของ Yahoo

การสื บค้ นด้ วยกลุ่มเนือ้ หา (Directories) การสื บค้นด้วยกลุ่มเนื้อหา หรื อ Directories เป็ นวิธีการสื บค้นโดยการใช้กลุ่มเว็บไซต์ ของ สารสนเทศบนเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งมีการจัดเรี ยงเนื้อหาสารสนเทศ ให้เป็ นหมวดหมู่ ตามลําดับ (Hierarchy categories) จากหัวข้อย่อย ผูใ้ ช้จาํ เป็ นต้องทราบว่าเรื่ องที่ตอ้ งการสื บค้น อยูใ่ นกลุ่มเนื้อหาใด จึงจะสื บค้นได้ตรงตามต้องการ นอกจากนี้ เว็บไซต์ที่ให้บริ การ การสื บค้นด้วยกลุ่มเนื้อหา บางเว็บไซต์ ยังมีบริ การสื บค้นด้วยคําสําคัญอีกด้วย การค้นหาในกลุ่มเนื้อหา ของ YaHoo สามารถทําได้โดยใส่ คาํ ค้นในช่องสื บค้นและเลือกการ แสดงผลเป็ น แบบ “Images”

การสื บค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตจากโปรแกรมค้นหา ไม่วา่ จะสื บค้นด้วยวิธีการใช้คาํ สําคัญ หรื อ การใช้กลุ่มเนื้อหา ผูใ้ ช้ควรตระหนักว่าสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตเป็ นสารสนเทศที่มีการ เคลื่อนไหวได้รวดเร็ วมาก มีการเปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลา ดังนั้นต้องประเมินคุณค่าความน่าเชื่อถือ ของข้อมูลก่อนนํามาใช้ --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


- 102 -

บรรณานุกรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์. ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์. 2547 การค้ นคว้ าและ การเขียนรายงาน. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พิมลพรรณ ประเสริ ฐวงษ์ เรพเพอร์ และคณะ. 2549. การใช้ ห้องสมุด. กรุ งเทพฯ : มหาวิทยาลัย รามคําแหง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. “Search Engines” [Online]. สื บค้น จากhttp://home.kku.ac.th/hslib/412141/internet/search52.htm สํานักวิทยบริ การ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก [Online] สื บค้นจาก http://www.southeast.ac.th/lib/index.php Bradley, Phil. (2002). The Advanced internet searcher's handbook. 2 nd. ed. London: Library Association. Sullivan, Danny. (2001). How Search Engines Work. [Online]. Available: http://searchenginewatch.com/webmasters/work.html.


- 103 -

แบบฝึ กปฏิบตั ิ : การสื บค้ น จงปฏิบตั ิตามคําสัง่ ต่อไปนี้ และตอบคําถาม กิจกรรมที่ 1 การสื บค้ นด้ วย OPAC 1) เปิ ดโปรแกรม Internet Explorerด้วยการคลิกปุ่ ม Start ¾Programs ¾Internet Explorer จะปรากฏหน้าต่างโปรแกรม Internet Explorer 2) ที่แถบ Address Bar พิมพ์ http://www.southeast.ac.th/lib/index.php แล้วกดแป้ น Enter จะได้หน้าจอหลักของห้องสมุด 3) ค้นข้อมูลจาก WebOPAC 3.1 ใช้คาํ ค้น “ไบโอดีเซล” ค้นหาหนังสื อ/โสตทัศนวัสดุ โดยใช้ทางเลือก - “คําสําคัญ” (keyword) - “หัวเรื่ อง” (Subject) ผลที่จากการสื บค้นด้วย 2 ทางเลือก เหมือนกันหรื อต่างกันอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………… 3.2 ใช้คาํ ค้น “ไบโอดีเซล” ค้นหาบทความวารสาร โดยใช้ทางเลือก - “คําสําคัญ” (keyword) - “หัวเรื่ อง” (Subject) ผลจากการสื บค้น 2 ทางเลือก เหมือนกันหรื อต่างกันอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………… กิจกรรมที่ 2 เรื่องการค้ นหาด้ วย Search Engine 1. เปิ ดโปรแกรม Internet Explorer ด้วยการคลิกปุ่ ม Start ¾Programs ¾Internet Explorer -------------------------------------------------------------------------------------------------2. จะปรากฏหน้าต่างโปรแกรม Internet Explorer ------------------------------------------------------------------------------------------------------3. ที่แถบ Address Bar พิมพ์ www.google.co.th แล้วกดแป้ น Enter -------------------------------------------------------------------------------------------------------


- 104 4. ใส่ คาํ ค้นเพื่อค้นหาข้อมูล และตอบคําถามต่อไปนี้

ดอกไม้ประจําชาติไทยคือดอกอะไร ................................................................................................................. ชื่อ URL ของเว็บไซต์ที่ให้คาํ ตอบ ...................................................................................................................................

อยากรู ้เรื่ องแกซโซฮอล์ กับไบโอดีเซล ................................................................................................................ ชื่อ URL ของเว็บไซต์ที่ให้คาํ ตอบ ................................................................................................................. เศรษฐกิจพอเพียง กับ ทฤษฎีใหม่ ต่างกันหรื อไม่ . …………………………………….………………………………………… ชื่อ URL ของเว็บไซต์ที่ให้คาํ ตอบ .................................................................................................................. คตส. คือ หน่วยงานอะไร ................................................................................................................. ชื่อ URL ของเว็บไซต์ที่ให้คาํ ตอบ ................................................................................................................ กิจกรรมที่ 3 ให้กลุ่มสื บค้นสารสนเทศตามที่กลุ่มต้องการจะศึกษา โดยใช้เครื่ องมือในการสื บค้นต่าง ๆ เช่น OPAC, Search Engine เพื่อให้ได้ทรัพยากรสารสนเทศทั้งที่เป็ นหนังสื อ บทความวารสาร และ บทความบนเว็บ โดยรวมทั้งสิ้ นไม่นอ้ ยกว่า 10 รายการ โดยแบ่งความรับผิดชอบในการสื บค้น สารสนเทศตามคําสําคัญที่กาํ หนดไว้ และมอบหมายให้สมาชิกกลุ่ม ทุกคนได้นาํ ไปช่วยกันสื บค้น สารสนเทศโดยใช้เครื่ องมือต่าง ๆ และให้ได้ทรัพยากรสารสนเทศตามที่กลุ่มต้องการ


บทที่ 4 การใช้ ชีวติ ในมหาวิทยาลัยอย่ างมีความสุ ข สาระสํ าคัญมีดงั นี้ 4.1 การบริ หารเวลา 4.2 การสร้างนิสยั ในการเรี ยนรู ้ 4.3 การสร้างมนุษยสัมพันธ์ 3

4

บทนํา การใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยหรื อวิทยาลัย ซึ่งอาจถือได้วา่ เป็ นการใช้ชีวิตในสังคมอีกรู ปแบบ หนึ่งที่มีความจําเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องมีการพบปะ ปฏิสมั พันธ์ ตลอดจนการรู ้จกั ปรับตัวเ พื่อที่ให้ สามารถดํารงหรื อดําเนินชีวติ ได้อย่างมีความสุ ข ในช่วงการปรับเปลี่ยนการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย นี้ หลายคนสามารถที่จะปรับตัวได้เป็ นอย่างดี แต่อีกหลายคนมีปัญหาในการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย โดยนักศึกษาหลายคน ยังไม่สามารถหาทางออกให้กบั ตนเองได้ ไม่กล้าที่จะเข้าไปพบปรึ กษากับ อาจารย์ หรื อบุคคลอื่น อาจเนื่องด้วยภาวะ สถานะที่แตกต่าง หรื ออาจจะด้วยเหตุผลหลายประการ ดังนั้นเพื่อนนักศึกษารุ่ นพี่ จึงมีส่วนอย่างมากในการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน การแนะนํารุ่ นน้อง ตลอดจนการมีเวลาได้มีโอกาสพบปะพูดคุย การได้ทาํ กิจกรรมร่ วมกัน ซึ่งอาจเป็ นส่ วนหนึ่งในการ ได้แลกเปลี่ยนการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยอย่างถูกต้องเหมาะสม ในด้านคุณธรรม และจริ ยธรรมอีก ทั้งเป็ นจุดเริ่ มต้นในการสร้างสัมพันธ์อนั ดีจิตสํานึกที่ดี ในการร่ วมมือร่ วมใจของการทํากิจกรมด้าน ต่างๆ ในภายหน้า อันอาจนํามาสู่การเป็ นแรงผลักดัน การขับเคลื่อนทางสังคมให้มีการพัฒนาใน การทํากิจการเพื่อส่ วนรวม สังคม ที่ดีอย่างมีเหตุผล ควบคู่กบั การศึกษาทางด้านวิชาการ ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยนับเป็ นช่วงชีวิตหนึ่ง ที่เราจะได้เรี ยนรู ้การใช้ชีวิตในอีกด้านหนึ่ง ซึ่งมีความเป็ นอิสระทั้งด้านเวลา การแสดงความคิดเห็น การร่ วมกิจกรรมต่าง ๆ เป็ นโอกาสสําคัญ ในการเตรี ยมความพร้อม เพื่อเข้าสู่วยั การทํางานในอนาคต ซึ่งทําให้ตวั เราที่เป็ นนักศึกษาต้อง เรี ยนรู ้ ในการปรับตัวเพื่อรองรับกับการใช้ชีวิตในรู ปแบบใหม่ ซึ่งแตกต่างจากการเรี ยนในโรงเรี ยน การใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยจะประสบความสําเร็ จหรื อไม่น้ นั ส่ วนหนึ่งมาจากลักษณะชีวิต ส่ วนตัวของเราเองว่า จะเอื้อต่อการประสบความสําเร็ จมากเพียงไร ดังนั้นในที่น้ ีจึงขอแนะแนวทาง ที่ช่วยส่ งเสริ มให้นกั ศึกษา ใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยได้อย่างประสบความสําเร็ จ


- 107 -

1. ฝึ กเรียนรู้ ด้วยตนเอง การเรี ยนการสอนในระดับปริ ญญาตรี น้ นั มีวตั ถุประสงค์สาํ คัญ เพื่อให้นกั ศึกษามีความรู ้ แตกฉานลึกซึ้งในสาขาวิชาที่เรี ยน ดังนั้นจึงมีการกําหนดเวลาเรี ยนในห้องเรี ยนน้อย เพื่อเปิ ด โอกาสให้นกั ศึกษาใช้เวลาที่เหลือในการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง นอกจากนี้วิธีการเรี ยนการสอนใน ห้องยังส่ งเสริ มหลักการดังกล่าวข้างต้น เช่น การสอนโดยเน้นการอภิปราย แลกเปลี่ยนความ คิดเห็น โดยอาจารย์ทาํ หน้าที่สรุ ปแก่นสาระ ความรู ้หลักของแต่ละรายวิชา นักศึกษาทําหน้าที่ ศึกษา หาความรู ้เพิ่มเติม ในรายละเอียดปลีกย่อยของเนื้อหา การมอบหมายให้นกั ศึกษาทํารายงานเพิ่มเติม เป็ นอีกวิธีหนึ่งในการเรี ยนการสอนที่ส่งเสริ มหลักการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองเช่นกัน ดังนั้นหากนักศึกษา คนใด มีความใฝ่ รู ้และพยายามศึกษาด้วยตนเองมาก ระดับความลึกซึ้งในสาระความรู ้ของแต่ละ รายวิชาก็จะมากขึ้นตามไปด้วย การพัฒนาทักษะโดยการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตัวเองรักการเรี ยนรู ้ส่วนตัว กระตือรื อร้น และขวนขวายในการเรี ยนรู ้เสมอ และเปิ ดใจยอมรับฟังแลกเปลี่ยนความคิดกับผูอ้ ื่น นับว่าเป็ นนิสยั หนึ่งที่จะช่วยให้นกั ศึกษาเกิดความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในความรู ้ได้

2. ฝึ กยั้งคิดก่ อนตัดสิ นใจ ในหลายครอบครัวเมื่อลูกเป็ นนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา แล้วพ่อแม่มกั จะยอมให้ลูกได้ ดูแลรับผิดชอบตนเองมากขึ้น มีอิสระในการคิดและตัดสิ นใจเรื่ องต่าง ๆ มากขึ้น ซึ่งหากนักศึกษา สามารถจัดการตนเองได้อย่างดีน้ นั จะช่วยให้ตนเองเป็ นผูใ้ หญ่มากขึ้น ในทางกลับกัน หากนักศึกษา ใช้ชีวิตที่อิสระมากขึ้นแต่ขาดการยั้งคิด ขาดความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและพ่อแม่ผปู ้ กครอง จะ ทําให้เสี่ ยงต่อการเดินในทางที่ผดิ เสี ยเวลาในช่วงชีวิตหนึ่งไปโดยไม่สามารถเรี ยกกลับคืนมาได้อีก บางเส้นทางอาจส่ งผลเป็ นอันตรายต่ออนาคตอย่างที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ดังนั้นนักศึกษาจึงควรเตือนตัวเองเสมอว่าสิ่ งต่าง ๆ ที่ทาํ จะส่ งผลต่ออนาคตระยะยาวของ นักศึกษาเอง รวมถึงส่ งผลต่อพ่อแม่ผปู ้ กครองไม่มากก็นอ้ ย ในการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยนั้น นักศึกษา จึงต้องมีสติและมีความรับผิดชอบต่อตนเองอย่างมาก ไม่ทาํ ตามความคึกคะนองโดยไม่ มองถึงผลที่จะตามมาในการกระทํานั้น ๆ ตลอดจนต้องเรี ยนรู ้ที่จะคบเพื่อนที่ดี ชักชวนกันทําสิ่ งที่ดี และเรี ยนรู ้ที่จะปรึ กษาอาจารย์ในปัญหาที่เผชิญอยู่ เพื่อขอคําแนะนําและความช่วยเหลืออย่างถูกวิธี

3. ฝึ กสร้ างวินัยรับผิดชอบ การเรี ยนในระดับอุดมศึกษา เป็ นการก่อร่ างสร้างนิสยั ความรับผิดชอบส่ วนตัว แก่นกั ศึกษา เพราะรู ปแบบการเรี ยนการสอน ระบบอาจารย์ที่ปรึ กษา ต่างเน้นให้นกั ศึกษาถูกฝึ กฝนให้รับผิดชอบ ในหน้าที่ของตนอย่างเต็มที่ โดยต้องจัดระบบ วางตารางเวลาในการเรี ยน การอ่านหนังสื อ การทํา รายงาน การค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อลงลึกในรายละเอียดที่เราสนใจในแต่ละวิชา และนอกจาก จัดเวลาสําหรับการเรี ยนแล้ว ยังต้องแบ่งเวลาสําหรับการทํากิจกรรมกับเพื่อน ๆ ในมหาวิทยาลัย


- 108 -

4.1 การบริหารเวลา (Time Management) การบริ หารเวลานั้น เป็ นทักษะที่มีความสําคัญยิง่ ในการที่จะนําเรา ไปสู่เป้ าหมายที่ต้ งั ใจ การบริ หารเวลาสําหรับนักศึกษาควรเริ่ มตั้งแต่แรกเข้าเป็ นนักศึกษาปี ที่ 1 แต่กม็ ีนกั ศึกษาหลายคน ที่ มีปัญหากับการบริ หารเวลาของตนเอง ทั้งนี้เนื่องจากเหตุผลหลายประการ เพราะนักศึกษาไม่รู้จกั บริ หารเวลาอย่างเหมาะสม กล่าวคือ 1. นักศึกษาหลายคนเมื่อเข้ามาเรี ยนในมหาวิทยาลัยแล้ว รู ้สึกว่าตัวเองมีอิสระ มากขึ้นไม่ ต้องยึดติดกับเวลา เหมือนเด็กนักเรี ยนที่ตอ้ งเข้าเรี ยน 8.00 ทุกวัน ตามปกติแล้วนักศึกษาควรมีเวลา อยูใ่ นชั้นเรี ยนประมาณ 12 – 18 ชม. ต่อสัปดาห์ ส่ วนเวลาที่เหลือนั้น เป็ นเวลาว่างที่นกั ศึกษาจะใช้ เป็ นการส่ วนตัว 2. นักศึกษาหลายคนไม่ตระหนักถึงความสําคัญของการบริ หารเวลา การจะเรี ยนใน ระดับอุดมศึกษาให้ประสบความสําเร็ จได้น้ นั นักศึกษาต้องให้ความสําคัญแก่การบริ หารเวลาอย่าง มาก นักศึกษาควรใช้เวลาศึกษานอกห้องเรี ยน หรื อ ศึกษาด้วยตนเองอย่างน้อย 30 – 40 ชัว่ โมง 3. นักศึกษาหลายคนไม่ได้ตระหนักว่าการเรี ยนในมหาวิทยาลัยนั้น ก็คือ การจําลอง รู ปแบบองค์กรของการทํางานนัน่ เอง นักศึกษาไม่ใช่เข้ามาเรี ยนเพื่อเอาความรู ้ หรื อ เอาเกรด C เพื่อ สอบผ่า นเท่ า นั้น แต่ นัก ศึ ก ษายัง ต้อ งพัฒ นาในเรื่ อ งอารมณ์ ความสั ม พัน ธ์ แ ละทัศ นคติ ต่ า งๆ นักศึกษาที่ได้เกรดเฉลี่ยตามเกณฑ์ข้ นั ตํ่า 2.00 สามารถสอบผ่านได้ แต่พนักงาน เจ้าหน้าที่ ที่ทาํ งาน ให้ได้แต่เกณฑ์ข้ นั ตํ่า อาจถูกไล่ออก หรื อทํางานไม่ผา่ นการทดลองงาน เป็ นต้น ในชีวิตการทํางานจริ งนั้นส่ วนใหญ่จะทํางานสัปดาห์ละ 40 ชม. และบางตําแหน่งอาจทํา ถึง 50 – 60 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์ ดังนั้นถ้านักศึกษาได้ฝึกใช้เวลาศัพท์หาความรู ้สัปดาห์ละ 40 ชม. เมื่อออกไปทํางาน ร่ างกาย จิตใจ และสมอง ก็จะสามารถรับงานนั้นๆ ได้เป็ นอย่างดี 4. นักศึกษาหลายคนไม่สามารถควบคุมและบริ หารเวลาได้ เนื่ องจากไม่รู้จกั วิธีการ จัดลําดับความสําคัญ (priorities)


- 109 ควรทําความรู้จักกับหลักสู ตรและวิชาทีเ่ รียน ในแต่ละภาคการศึกษา จะมีวิชาที่ตอ้ งเรี ยนแตกต่างกันออกไป การเรี ยนในมหาวิทยาลัย นักศึกษามีโอกาสกําหนดวิชา ในแต่ละภาคการศึกษาได้ดว้ ยตนเอง โดยสิ่ งที่เราควรรู ้เกี่ยวกับ หลักสูตรและวิชาเหล่านี้ เพือ่ นํามาใช้ในการบริ หารเวลา คือ :1. ในหลักสูตรที่เราเรี ยนมีวิชาพื้นฐาน วิชาบังคับและวิชาเลือกอะไรบ้าง 2. แต่ละวิชามีรายงาน การสอบย่อย งานที่ตอ้ งทําส่ งในระหว่างภาคการศึกษามากน้อยแค่ ไหน ถ้าเราสามารถกําหนดวิชาเรี ยนเองได้ จงพยายามอย่าเอาวิชาที่มีงานมากๆ มารวมไว้ในเทอม เดียวกัน เพราะมันจะเป็ นการสร้างภาระให้กบั ตนเอง 3. วิชาเลือกเสรี มีความสัมพันธ์กบั วิชาหลักมากแค่ไหน ช่วยขยายความรู ้ ความเข้าใจใน วิชาหลัก หรื อเป็ นวิชาที่เราสนใจเป็ นการส่ วนตัว 4. วันและเวลาเรี ยนของวิชาต่างๆ เป็ นอย่างไร ทั้งนี้ บางวิชาอาจเปิ ดสอนหลายเวลา โดย อาจารย์หลายท่าน ซึ่งเป็ นสิ่ งที่สถาบันอุดมศึกษามักทํากัน เพื่อเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนได้กาํ หนดเวลา เรี ยนตามความเหมาะสมของตนเอง หลักสูตรของแต่ละเทอมนั้น จะมีความสําคัญอย่างยิง่ ต่อ การจัดตารางเวลาของเรา เพราะ บางส่ วนของตาราง จะถูกกําหนดไว้ตายตัว ตามเวลาเข้าชั้นเรี ยนของแต่ละวิชา วางแผน และทําตารางเวลา ความเข้าใจเกี่ ย วกับวิชาต่ างๆ และเป้ าหมายของเรา ทําให้เ กิ ภ าพรวมของสิ่ งต่ างๆ ใน เทอมน้น ซ่ งเราก็จาํ เก็นจ้อวางแผนตําเนิ นการให้ชดั เจนและมีรายละเอีดมากขึ้น การเป็ นนักศึกษา นั้นก็เปรี ยบเสมือนการเป็ นผูบ้ ริ หารระดับสู ง โดยเราต้องจัดสรรแบ่งเวลาให้กบั งานต่างๆ มากมาย ต้องกําหนดเองว่าเรื่ องไหน งานอะไร ที่มีความสําคัญสู งสุ ดและต้องทําก่อนงานอื่นๆ ต้องคิหาทาง แก้ปัญหาทั้งในเรื่ องเรี ยนและปั ญหาเกี่ยวกับเพื่อนฝูง ต้องหาข้อมูล ประชุมกลุ่มทํารายงาน นําเสนอ งาน ฯลฯ การที่เราจะเรี ยนได้ดีแค่ไหนนั้น ไม่ได้ข้ ึนอยูก่ บั สติปัญญา ความสามารถเพียงอย่างเดียวแต่ ขึ้นอยูก่ บั วิจารณญาณและการตัดสิ นใจ ขึ้นอยูก่ บั ว่าเราใช้เวลาเป็ นหรื อไม่ ซึ่งในการวางแผนนี้มีสิ่ง ที่ตอ้ งพิจารณา คือ เราจะทําอะไร (What) เราจะทําที่ไหน (When) และเราจะทําที่ไหน(Where) การบริ หารเวลาในการศึกษาอย่างแท้จริ ง นักศึกษาอาจใช้วิธีเหล่านี้ หรื อเลือกใช้วิธีใดวิธี หนึ่งก็ได้ 1. จัดตารางเวลาประจําภาคภาคเรียน ไม่ว่านักศึกษาจะเป็ นนักศึกษาภาคปกติที่เรี ยนเต็มเวลา หรื อ นักศึกษาภาคคํ่าที่ตอ้ งทํางาน ด้วยและเรี ยนด้วย ก็ควรจะจัดทําตารางเวลาประจําวันไว้ดว้ ย เพื่อจัดเรี ยงลําดับความสําคัญของการ เรี ยน และหรื องานที่ตอ้ งทํา


- 110 1.1 ควรจัดตารางเวลาตั้งแต่ตื่นนอน จนถึงเข้านอนและตั้งแต่วนั จันทร์ จนถึงวันอาทิตย์ ในส่ วนของวันเสาร์ – อาทิตย์น้ นั นักศึกษาอาจมีกิจกรรมอื่นๆ ต้องทํา แต่ตอ้ งรวมกิจกรรมของการ เรี ยน การทบทวน การทํารายงานเข้าไปด้วย นักศึกษาที่ชอบคิดว่า เสาร์ – อาทิตย์ คือ วันว่างไม่ ต้องดูหนังสื อนั้น จะประหลาดใจมากเมื่อผลสอบครั้งแรกออกมา 1.2 จัดเวลาที่นกั ศึกษาต้องทําเป็ นประจํา เป็ นเวลาตายตัว เช่น ตื่นนอน เดินทาง หรื อ ชัว่ โมงที่ตอ้ งเข้าชั้นเรี ยน ส่ วนเวลาหรื อช่องว่างที่เหลือนั้น จะได้จดั ลําดับกิจกรรมที่ตอ้ งทําลงไป 1.3 ตารางเวลาของนักศึกษาควรยืดหยุน่ บ้าง แต่ไม่ควรปล่อยปละละเลยจนไม่สามารถ ติดตามได้ ตัวอย่าง กรณี ของนักศึกษาภาคคํ่า ชื่อ อภิชาติ อภิชาติ เป็ นหนุ่มโสด ซึ่งตื่นนอนแต่ตีหา้ ครึ่ ง และใช้เวลาเดินทางไปทํางาน 1 ชม.เต็มโดย งานเริ่ ม 8.00 และ เลิก 4.30 อภิชาติจะใช้เวลาดูหนังสื อระหว่างที่ทานอาหารกลางวันและเวลาก่อน เรี ยนอีกประมาณ 1 ชม. (6.00 – 9.00) อภิชาติกลับถึงบ้านประมาณ 4 ทุ่มและใช้เวลาพักผ่อนและ ทบทวนตําราเล็กน้อย ก่อนเข้านอนเวลา เที่ยงคืน ส่ วนในวันเสาร์น้ นั อภิชาติจะใช้เวลาทบทวน ทํา การบ้าน และดูหนังสื อประมาณ 5 ชัว่ โมง ส่ วนวันอาทิตย์จะใช้เวลา 1 ชัว่ โมง ทบทวนตําราเสมอ พยายามทําตามตารางเวลาของคุณอย่างพอเหมาะพอควร ไม่ควรจะเคร่ งเครี ยดเกินไปนัก หรื อไม่ควรจะหย่อนยานเกินไป ลองทําตามเวลาสักระยะหนึ่ ง เช่น ทําไปจนกว่าผลการสอบวิชา แรกจะออกมา ถ้าคุณเห็นผลแล้วรับรองว่าคุณจะพอใจ และพยายามทําตามตารางเวลาของคุณ เทคนิค ในการจัดการกับเวลา 1. ในการจัดตารางเวลา ควรจัดให้เหมาะสมกับตัวคุณ เช่น สําหรับวิชายากๆ นั้น ควรจัด เวลาศึกษาไว้ในช่วงที่เรามีความตื่นตัวที่สุด พยายามอย่าทานอาหารมื้อหนักก่อนเข้าเรี ยน เพราะ สมองของเราต้องต่อสู ้กบั กระเพาะอาหาร ในการแยกโลหิ ตที่นาํ ไปเลี้ยง เราต้องกําหนดและรู ้จกั ตัวเองให้ได้วา่ เราเป็ น นักศึกษาภาคเช้า นักศึกษาภาคบ่าย หรื อนักศึกษาภาคคํ่า 2. หาเวลาทบทวนบทเรี ยนประมาณ 5 – 10 นาที หลังจากเรี ยนเสร็ จแล้ว เพื่อดูว่าเราเข้าใจ ดีหรื อไม่ โน้ต ที่จดถูกต้องไหม ที่ตอ้ งรับทบทวนแล้วเลิกเรี ยนนั้น เพราะนักศึกษายังจําข้อมูลได้อยู่ แต่สิ่งนี้อาจทําได้ค่อนข้างลําบาก 3. ลองวิเคราะห์ตวั เองสิ ว่า เราทําสิ่ งเหล่านี้ได้ดีหรื อไม่ เราอาจชอบอ่านหนังสื อทบทวน 1 ชม. พอแล้ว แล้วพักผ่อนสักหน่อย ก่อนกลับมาทําการบ้านอีกเรื่ องหนึ่งสัก 1 ชัว่ โมง หรื อบางคน ชอบทํางาน ทบทวน ทําการบ้าน ทํา project ติดต่อกันไป 3 ชัว่ โมง แล้วจึงพักผ่อน เข้านอน เป็ นต้น พยายาม หาวิธีที่เหมาะสมกับตัวเราเอง 4. พยายามหลีกเลี่ยงที่จะคิดหาวิชา ที่มีเนื้อหาใกล้เคียงกัน ในเวลาต่อเนื่องกันนั้น เพราะ จะทําให้เกิดความสับสน


- 111 5. ในตารางเวลานั้น พยายามจัดกิจกรรม พักผ่อนเอาไว้ดว้ ย เช่น ดูTV ออกกําลังกาย เดินเล่น เป็ นต้น เพราะถ้าเคร่ งเครี ยดจนเกินไป จะไม่เกิดผลดีแก่นกั ศึกษา 2. จัดทําแผนตารางเวลาประจําสั ปดาห์ เป็ นแผนที่เราต้องทําแบบสัปดาห์ต่อสัปดาห์ โดยระบุถึงสิ่ งที่ตอ้ งทําในแต่ละวันอย่างละเอียดและเวลาที่เหมาะแก่การทําแผนประเภทนี้ คือ ช่วง สุ ดสัปดาห์ (เย็นวันศุกร์-เช้าวันอาทิตย์) เพราะเรารู ้แล้วว่า 5 วัน ที่ผา่ นมาเราได้เรี ยนอะไร และได้รับ มอบหมายงานประจําสัปดาห์อะไรบ้าง เราจะใช้สิ่งเหล่านี้ไปทําแผนสําหรับสัปดาห์หน้า แผนตารางประจําสัปดาห์ สามารถนําไปใช้ปรับแผนประจําภาคเรี ยน ช่วยให้เรารู ้สึกถึง ศักยภาพส่ วนตัว รู ้วา่ สามารถทําอะไรได้เร็ วช้า รู ้วา่ ภาคเรี ยนต่อไปควรจะวางแผนอย่างไรจึงจะดี บุคคลทัว่ ๆ ไปบางส่ วนไม่ ชอบที่ จะทําตาราง หรื อทําบัญชี สิ่งของที่ จะต้องทํา ต้องซื้ อ เพราะเห็นว่าเป็ นการจํากัดสิ ทธิ์ กันมากไป ถ้านักศึกษาเป็ นคนที่วางแผนดี มีความมุ่งมัน่ และเรี ยน เก่งได้เกรดสู งอยูแ่ ล้ว ก็ไม่จาํ เป็ นต้องทําตารางประจําสัปดาห์แบบนี้ วิธีทาํ ตารางประจําสั ปดาห์ 1) จะเริ่ มทําเมื่อปลายสัปดาห์ โดยจะทํางานที่อาจารย์สั่งในสัปดาห์ต่อไป คือวางแผน ล่วงหน้าว่าสัปดาห์ต่อไปจะต้องอ่าน หรื อ ทําแบบฝึ กหัด หรื อ ทํา assignment อะไรที่อาจารย์สงั่ 2) อย่าลืมกําหนดวันที่ตอ้ งทําให้แล้วเสร็ จ (วันที่ตอ้ งส่ งงาน) 3) จดเวลาที่ประมาณการว่าจะใช้ และ เวลาที่เราทําจริ งๆ ซึ่ง จะพบว่านักศึกษาต้องใช้ เวลาในการปฏิบตั ิจริ งมากกว่า นั ก ศึ ก ษาอ่ า นมาถึ ง ตรงนี้ อาจอยากจะเรี ย กว่ า พอดี ถ้ า เอาเวลามานั้ น วางแผนทํ า ตารางเวลาพวกนี้แล้ ว จะเอาเวลาที่ไหนไปอ่ านหนังสื อ ทบทวนตํารา จริ งๆ แล้ วสิ่ งที่กล่ าวมานีใ้ ช้ เวลาไม่ มากเลย ประมาณ 1 ชั่วโมงต่ อสั ปดาห์ ก็อาจทําได้ และขอให้ จําไว้ เสมอว่ า 1. ถ้านักศึกษาไม่บริ หารเวลาของนักศึกษาเองแล้วใครจะมาบริ หาร 2. นักศึกษาจะใช้เวลาตั้งแต่ 1 ชัว่ โมงเท่านั้นในการปรับเปลี่ยนตารางและดูว่าเป็ นไป ตามที่วางแผนหรื อไม่ เวลา 1 ชั้วโมงเท่านั้น ที่ใช้ในการติดตามดูตารางเวลา 167 ชัว่ โมง ที่เรี ยน และทบทวนวิชารวมทั้งกิจกรรมอื่นๆ (อีก 111ชัว่ โมงหักออกไป เป็ นเวลานอน 8 ชัว่ โมง ใน 1 วัน) เพื่อดูแลเวลาที่เหลือ 165 ชัว่ โมง ใน 1 สัปดาห์ 3. จําไว้ว่า ถ้าเราบริ หารเวลาอย่างดี เราจะมีเวลาเหลือ เพื่อใช้ในการทํากิจกรรมอื่นๆ เช่น พักผ่อน ออกกําลังกาย 4. การบริ หารเวลานั้น เป็ นทักษะทางการตลาดระดับสู ง ถ้าไม่เชื่ อลองถามเจ้านายคุณดู (highly marketable skill)


- 112 ในการบริ หารเวลานั้น นักศึกษาควรจัดลําดับความสําคัญ ของสิ่ งต่างๆให้ชดั เจน เพราะการ จัดลําดับความสําคัญนั้น จะสะท้อนให้เห็นถึงเป้ าหมายของนักศึกษาเอง ถ้าเป็ นนักศึกษาภาคปกติ เรี ยนเต็มเวลา นักศึกษาอาจจัดลําดับความสําคัญ ดังนี้ 1) เพื่อนสนิท 2) การเรี ยน / การเข้าชั้นเรี ยน 3) ความรับผิดชอบในการศึกษาเล่าเรี ยน 4) กิจกรรมนอกหลักสูตรและกิจกรรมเพื่อความบันเทิง 5) เวลาพักผ่อนส่ วนตัว รวมถึงการออกกําลังการ 6) ทํางานบ้านเล็กน้อย /ชอปปิ้ ง 7) ใช้เวลาอยูก่ บั ครอบครัว พ่อ-แม่ พี่-น้อง การบริ หารเวลาเป็ นสิ่ งจําเป็ นสําหรับการใช้ชีวิตของคน ในสังคมที่มีความสลับซับซ้อน กิจกรรม ทางสังคม มีความเคลื่อนไหว (Dynamic) จนแทบตามไม่ทนั สภาพเศรษฐกิจที่เปลี่ยนไป ไม่มีวนั สิ้ นสุ ด ผูท้ ี่มองเห็นคุณค่าของเวลา และสามารถบริ หารเวลาที่มีอยู่ ให้บงั เกิดผลประโยชน์ ย่อมเป็ น ผูไ้ ด้เปรี ยบและจะสามารถขจัดปัญหาอันเป็ นผลมาจากความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงของ สถานการณ์ต่างๆ รอบข้างได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ นัน่ ย่อมหมายความว่า บุคคลนั้นได้ควบคุมทุก สิ่ งทุกอย่างไว้ในมือได้แล้ว ทั้งนี้ดว้ ยสาเหตุเพียงประการเดียว คือ เขาบริ หารเวลาเป็ น และรู ้ หลักการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

........................................................................... แบบฝึ กหัดทบทวน 1. นักศึกษามีเทคนิคบริ หารเวลาอย่างไรในขณะหรื อกําลังศึกษาเล่าเรี ยนอยูใ่ นมหาวิทยาลัย ..................................................................................................... 2. จงอธิบายความหมายของการบริ หารเวลา และเพราะเหตุใดจึงต้องบริ หารเวลา ……………………………………………………………………….. 3. วิธีบริ หารเวลา 24 ชัว่ โมง ให้มีประสิ ทธิภาพควรจะบริ หารอย่างไร ให้ยกตัวอย่างประกอบ ……………………………………………………….


4.2 การสร้ างนิสัยในการเรียนรู้ Key Point : Habits can be the best of friends or the worst of enemies. “นิสัยนั้นสามารถเป็ นได้ ท้งั เพือ่ นทีด่ ีทสี่ ุ ด และ ศัตรูทเี่ ลวร้ ายทีส่ ุ ด” การสร้างนิ สัยในการเรี ยนรู ้ จะช่วยให้การพัฒนาทักษะต่างๆ มีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้นและ การฝึ กปฏิบตั ิน้ นั ก็คือ การสร้างทักษะ นักกีฬาต้องพัฒนาทักษะด้านร่ างกาย นักดนตรี ตอ้ งสร้าง ทักษะทางดนตรี ผูจ้ ดั การต้องพัฒนาทักษะในด้านการบริ การจัดการ ผูเ้ รี ยนหรื อนักศึกษาก็ตอ้ ง พัฒนาทักษะการเรี ยน ซึ่งการพัฒนาทักษะการเรียน ก็คอื การสร้ างนิสัยการเรียนทีด่ ี นัน่ เอง

ในการสร้ างนิสัยทีด่ ี นักศึกษาควรจะได้ คาํ นึงถึงการพัฒนานิสัย ดังนี้ 1. การพัฒนานิสัยในเรื่องการบริหารสติปัญญาของตนเอง (Mental self - management) การบริ หารสติปัญญาของตนเองนั้น จะเกี่ยวข้องกับความสามารถในการวางแผน การติดตามงาน และการประเมินผลงาน การที่นกั ศึกษาจะบริ หารสติปัญญาของตนเองได้น้ นั นักศึกษาต้องรู ้จกั ว่า สติปัญญาของตนเองนั้นเป็ นอย่างไร โดยพิจารณาว่า 1.1 รู ปแบบการเรี ยนของตนเองนั้นเป็ นอย่างไร นักศึกษาบางคนจะเรี ยนได้ดีที่สุด ถ้าได้เห็ นตัวอย่างของจริ ง หรื อ รู ปแบบจําลอง หรื อ เห็ นภาพที่ ชัดเจน นัก ศึ กษาจํานวนนี้ จะมี รู ปแบบการเรี ยนที่เรี ยกว่า Visual Leaning styles นักศึกษาบางจําพวกจะเรี ยนได้ดีถา้ ได้ฟังบรรยาย พวกนี้ จะเป็ นพวก Verbal หรื อบางพวกจะเรี ยนได้ดีถา้ อาจารย์เริ่ มบรรยายโดยการยกตัวอย่างแท้ๆ ไปเรื่ อยๆ แล้ว สรุ ปใจความสําคัญ นักศึกษาจะติดตามและสามารถสรุ ปใจความสําคัญได้ ซึ่งเรี ยกว่า พวก deductive learning style เป็ นต้น 1.2 นักศึกษาจะต้องควบคุมและปรับปรุ งทักษะการเรี ยนรู ้อยูต่ ลอดเวลา ไม่ว่าจะ เป็ นทักษะการอ่าน ทักษะการเรี ยน ทักษะการฟัง การบริ หารเวลา การจดโน้ต และการแก้ปัญหา 1.3 พยายามใช้สภาพแวดล้อมการเรี ยนรู ้ที่ต่างๆ กัน เช่น เข้าฟั งบรรยาย เข้าห้อง ปฏิบตั ิ การร่ วมกลุ่มสนทนาจัดกลุ่มติว เป็ นต้น ซึ่ งสิ่ งเหล่านี้ จะเป็ นการพัฒนานิ สัยในเรื่ องการ บริ การสติปัญญาของตนเอง 2. พยายามต่ อสู้ และเอาชนะวงจรแห่ งการเรียนรู้ ให้ได้รับการเรี ยนในแต่ละรายวิชานั้น จะมีวงจร หรื อ วัฏจักรคล้ายๆ กัน คือ 2.1 พยายามจดจําข้อมูลใหม่ๆ ที่เพิ่งได้รับ รวมทั้ง กฏเกณฑ์ สู ตร และแนวคิด หลักของเรื่ องนั้นๆ ซึ่งบ่อยครั้งเป็ นเรื่ องที่น่าเบื่อมาก 2.2 พยายามซึมซับข้อมูลความรู ้ และจัดเรี ยงลําดับข้อมูลนั้นๆ ซึ่งเป็ นเรื่ องยากแต่ น่าสนใจ


- 114 2.3 พยายามนําข้อมูลเหล่านั้นมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ และแก้ปัญหา ซึ่งเป็ นเรื่ อง ที่ยากมากขึ้น แต่ถา้ ทําได้ ก็จะรู ้สึกพึงพอใจมาก 2.4 พยายามรวบรวมข้อมูลทั้งหลายนี้ แล้วนํามาประเมินผล พิจารณาและทํานาย ผลที่จะเกิดขึ้น ซึ่งเป็ นเรื่ องที่จะก่อประโยชน์ให้กบั การเรี ยนรู ้พอประมาณ 3. การพัฒนานิสัยการคิดในเชิงบวก การพัฒ นาหรื อ การสร้ า งนิ สั ย ให้มี ค วามคิ ด ในเชิ ง บวกนั้น มี ค วามสํา คัญ มาก Dr.Karl Menninger ได้ศึกษาและทําการวิจยั และพบว่า พลังความคิดนั้นเป็ นตัวกําหนดลักษณะท่าทาง ของตน กําหนดความรู ้สึกของคน และ Dr.Norman Vincent Peale ได้พบว่า ถ้านักศึกษาคิดว่า นักศึกษาเป็ นคนล้มเหลว ไม่มีความสุ ขเราทําเป็ นแบบนั้นได้ เมื่อไรก็ตามที่คนเรามีแนวคิดใน เชิงบวก พวกเขาก็จะสร้างบรรยากาศรอบๆ ตัวเขา ให้เป็ นบรรยากาศของความสําเร็ จ พวกเขาจะ เริ่ มรู ้สึกเปลี่ยน รู ้สึกดีข้ ึนกว่าเก่า และมีความเชื่อมัน่ ในตนเองสูงขึ้น ถ้านักศึกษามาเรี ยนหนังสื อโดยมีทศั นคติ หรื อความคิดว่าการมาเรี ยนเป็ นเรื่ องน่ าเบื่อ และไร้ประโยชน์ นักศึกษาก็จะไม่พยายามเรี ยนรู ้ จะเรี ยนเพียงนิ ดๆ หน่ อยๆ ซึ่ งผลก็จะออกมาคือ ไม่ประสบผลสําเร็ จ และถ้านักศึกษาเริ่ มด้วยวงจรด้านลบแบบนี้ มักจะค่อนข่างยาก ทั้งหลุดพ้น ออกไป เรามักจะถูกล้อมให้อยูใ่ นกับดักนี้ เราจะเริ่ มโดยคนอื่น และมองหากลุ่มเพื่อนที่มีลกั ษณะ เหมือนเรา ซึ่งมันจะชัว่ ร้ายลงไปเรื่ อยๆ ส่ วนนักศึกษาที่มีแนวคิดในเชิงบวกจะสามารถกระตุน้ ตัวเองให้เรี ยนได้ดีกว่า แต่ถา้ จะถาม พวกเขาว่า การเรี ยนได้มาง่ายๆ ใช่ไหม คําตอบ คือ ไม่ใช่ เราเรี ยนแล้วต้องใช้ค่าใช้จ่ายแพวใช่ไหม ใช่ และคุม้ ค่าแล้วละก็ นักศึกษาก็ตอ้ งถามตัวเอง ถ้านักศึกษาเห็ นว่าการเรี ยนไม่ง่าย ต้องลงทุน และคุม้ ค่าแล้วล่ะก็ นักศึกษาก็ตอ้ งเรี ยนอย่างหนัก เสี ยสละ และยึดมัน่ อยูก่ บั นิ สัยการเรี ยนรู ้ที่ดี ซึ่ ง จะช่วยให้ประสบความสําเร็ จในการเรี ยนได้ 4. การพัฒนานิสัยการคิดแบบเรียงลําดับขั้น (Hieranhical Thanking) นิ สัยการคิดแบบเรี ยงลําดับขั้นนั้น จะนํามาใช้ในเรื่ องการจัดลําดับความสําคัญและการ บริ หารเวลา นักศึกษาจําเป็ นต้องรู ้วา่ งานอะไรเร่ งด่วนและสําคัญที่สุดที่ควรจะทําก่อนงาน งานไหน รอก่อนได้ นอกจากนี้ นิสัยการคิดแบบเรี ยงลําดับขั้น ยังช่วยให้นกั ศึกษาสามารถสรุ ปรวมใจความ สําคัญและช่วยในการจัดเรี ยงข้อมูล (Organizing information) ได้ดีข้ ึนด้วย 5. การพัฒนานิสัยการคิดเชิงสร้ างสรรค์ และวิจารณ์ (Creating and Critical Thinking) นิสัย การคิดแบบนี้ จะช่วยในการตัดสิ นใจและการแก้ปัญหา และสามารถนํามาใช้ในการสังเคราะห์ และ สร้างความรู ้ที่เชื่อมโยงกันใหม่ได้ 6. การพัฒนานิสัยของการถามคําถาม การถามคําถามนั้น จะช่วยให้นกั ศึกษาชี้ประเด็น สําคัญได้ การตั้งคําถามจะช่วยในเรื่ องของการตั้งใจฟัง และพัฒนาเรื่ องความจําให้แก่นกั ศึกษาได้


- 115 7. การสร้ างนิสัยในเรื่องการวางแผน คนที่มีงานยุง่ มากๆ สามารถทํางานได้เสร็ จทันเวลา ได้น้ นั ไม่ใช่เพราะโชคช่วยแต่เพราะเขาวางแผน ซึ่ งก็เช่นเดียวกับนักศึกษา ซึ่งควรจะมีการวางแผน และทําตามแผนซึ่ งในระยะแรกๆ อาจจะเห็นว่าเป็ นเรื่ องยาก และน่าเบื่อ แต่ถา้ พยายามทําดู จะเห็น คุณค่าของมันอย่างมาก 7.1 วางแผนแต่ละสัปดาห์วา่ จะทําอะไรบ้าง 7.2 อย่าลืมว่านักศึกษามีชีวิตนอกเหนือจากการเรี ยนด้วย ดังนั้นในแผนก็ควรจะมีเรื่ อง ของงานสังคม หรื อ งานของครอบครัวด้วย 7.3 ถ้าอะไรที่ไม่เป็ นไปตามแผนก็ไม่ตอ้ งวิตกกังวลมาก แต่อย่าให้เกิดบ่อยนัก ฉะนั้น ควรจะมีที่วา่ งสําหรับ “เรื่ องฉุกเฉิ น” ในแผนของคุณด้วย 7.4 หาสมุ ดโน้ต เล็ก ๆ มาใช้แ ละนําติ ด ตัว ไปด้ว ย เพราะเราอาจเรี ย นรู ้ จ ากสิ่ งที่ อ ยู่ รอบตัวเรา หรื อคนที่อยูร่ อบตัวเราได้ 8. การสร้ างนิสัยการมีวนิ ัยในตนเอง (Self - Discipline) คือ การปฏิบตั ิอย่างถูกต้องตามระเบียบแบบแผน การสร้ างนิสัย อาจการกระทําได้ 4 อย่ าง เพือ่ ทําให้ คุณประสบความสํ าเร็จ ความสําเร็ จของคนเรา ที่สาํ คัญๆ มีอยู่ 4 อย่าง แบ่งออกเป็ น 3 ส่ วน รายละเอียดดังต่อไปนี้

ส่ วนที่ 1 – Input หรื อ การรับข้ อมูลเข้ า ประกอบด้วย การเรี ยนรู ้ต่างๆ เพื่อให้เกิด ประโยชน์ ส่ วนที่ 2 – Process หรื อ การประมวลผล ประกอบด้วยการเอาความรู ้ต่างๆที่ได้ เพื่อทําการ คิดและสร้างสรรค์สื่งต่างๆขึ้นมา และลงมือปฏิบตั ิเพื่อให้ความคิดนั้นๆ หรื อ สิ่ งที่เรี ยนมานั้น เป็ น จริ ง เป็ นรู ปร่ างขึ้นมา ส่ วนที่ 3 – Output หรื อ การแสดงผล ซึ่งก็หมายถึง การสื่ อสารให้คนอื่นๆ รับทราบถึง แนวความคิด หรื อสิ่ งของที่เราสร้างเราทํา เพื่อให้คนอื่นรับทราบ หรื อ กลุ่มเป้ าหมายรับทราบเพื่อ จะได้จดั ซื้อ หรื อ เข้าใจถึงการกระทํา และ การตัดสิ นใจของตนเอง


- 116 -

ขั้นตอนในการสร้ างนิสัย 1. เลือกนิสยั ที่ตอ้ งการพัฒนา 2. พยายามกระตุน้ และจูงใจตนเองว่านิสยั นี้มีความสําคัญมาก 3. พยายามเริ่ มทําแบบง่าย ๆ ก่อน 4. วางแผนการพัฒนานิสยั นี้ โดยเขียนเป็ นลายลักษณ์อกั ษร 5. พยายามติดตามความก้าวหน้าของการพัฒนานิสยั 6. ให้รางวัลตนเองทุกครั้งที่สร้างหรื อพัฒนานิสยั ไปได้ข้นั หนึ่ง 7. พยายามใช้นิสยั นี้ให้มากที่สุดที่จะทําได้ ทําในสถานการณ์ง่าย ๆ และในสถานการณ์ ใหม่ ๆ 8. อาจขอให้อาจารย์ เพื่อน หรื อ ติวเตอร์ ช่วยในเรื่ องการสร้างนิสยั นี้ 9. สร้างนิสยั การบริ หารเวลา และนิสยั อื่น ๆ

ลักษณะนิสัย 7 ประการ: ทีก่ ่ อให้ เกิดประสิ ทธิภาพในการดําเนินชีวติ ลักษณะนิสัยที่ 1 : Be Proactive เราจะต้องไม่ ตกอยู่ในสภาพของการเป็ นฝ่ ายถูกกระทําเป็ นเพี ยงตอบโต้กับสิ่ งเร้ าที่ มา กระทบเราเท่านั้น มิฉะนั้นชี วิตของเราก็ถูกกําหนด และตกอยู่ภายใต้อิทธิ พลของสิ่ งแวดล้อมทั้ง ทางกายและทางด้านสังคมสิ่ งแวดล้อม เช่ น ประสิ ทธิ ภาพของความเอาใจใส่ ในการทํางานถูก กระทบจากอากาศ อุณหภูมิรอบๆตัวเรา ร้อนไปบ้าง เย็นไปบ้าง ในทางสังคม พฤติกรรมของเราเกิดขึ้นจากการกระทบหรื อกระตุน้ จากผูอ้ ื่น เช่นถ้าไม่มี ใครคอยควบคุม เราก็ไม่ทาํ งาน หรื อถูกตําหนิกห็ มดกําลังใจ ในการที่เราจะสามารถที่จะทําอะไรได้อย่างมีประสิ ทธิภาพในทุกสถานการณ์ เราจะะต้อง มีนิสยั แบบ Proactive ความหมายของคํานี้คือ 1.1 การเป็ นฝ่ ายริ เริ่ ม เริ่ มต้นในการทําสิ่ งต่างๆ ไม่ตอ้ งคอยให้มีใครมากํากับ มา สั่ง เขาจะรู ้ถึงหน้าที่ ความรับผิดชอบที่เขาจะต้องปฏิบตั ิ มีความสามารถในการที่จะรับผิดชอบ ดําเนินการสิ่ งต่างๆ ได้ 1.2 มีอิสระในการเลือกที่จะตอบสนองกับสิ่ งเร้าได้อย่างเหมาะสม จัดการกรื อ แก้ไข สิ่ งที่เกิดขึ้นมากกว่าตอบโต้ไปตามอารมณ์เท่านั้น สังเกตภาษาที่เราใช้พดู กับตนเอง หรื อคนอื่นก็ตาม เช่น ฉันไม่รู้จะทําอะไร ฉันเป็ นของ ฉันอย่างนี้แหละ ฉันเปลี่ยนไม่ได้หรอก เขาทําให้ฉนั เป็ นบ้า ฉันต้องทําไม่มีทางเลือก ภาษาเช่นนี้ แสดงถึงการไม่มีอิสระและทางเลือกจะใช้


- 117 1.3 การมีลกั ษณะ Proactive จะไม่ถูกครอบงําและจํานนกับปั ญหาประเภทหมด อาลัย ตายอยาก หรื อไปตามกระแสสิ่ งเร้า เขาจะมุ่งสนใจในการแก้ปัญหา เขาดูสภาพความเป็ น จริ ง และรู ้วา่ อะไรเป็ นสิ่ งจําเป็ น 1.4 Proactive จะมีลกั ษณะการเปลี่ยนแปลงซึ่งเกิดจากภายในตัวบุคคลนั้น ไม่ใช่ เปลี่ยนแปลงจากองค์ประกอบภายนอก เช่น อยากเปลี่ยนมากกว่าจําเป็ นต้องเปลี่ยน ความสุ ข ความทุกข์ อยูก่ บั สิ่ งแวดล้อมมากเกินไป เช่น “ถ้าฉันมีเจ้านายที่ใจกว้าง ฉันจะ......................” หรื อ “ถ้าฉันจบปริ ญญา......... ฉันจะไม่ทนทํางานแบบนี้หรอก” ฉะนั้น สิ่ งสําคัญไม่ อยู่ทวี่ ่ า มี หรือ ไม่ มี ซึ่งอยู่ภายนอก สําหรับ Proactive Person จะเน้นการที่เป็ นหรื อมีซ่ ึ งอยูภ่ ายใน เช่น ฉันสามารถขยันได้ มากกว่านี้ ฉันสามารถมีความคิดสร้างสรรค์กว่านี้ เป็ นต้น 1.5 เรี ยนรู ้ส่ิ งที่ผดิ พลาดและนํามาเพื่อแก้ไขและหาวิธีการที่ดีกว่าเดิม ไม่จมอยูก่ บั ความ รู ้สึกผิดหวัง เสี ยใจกับความผิดพลาดหรื อล้มเหลวที่เกิดขึ้น 1.6 มีความมุ่งมัน่ ตั้งใจที่จะทําสิ่ งที่ตกลงใจ ไม่ว่ากับตนเองหรื อผูอ้ ื่นให้สาํ เร็ จ ลุล่วงตามที่ตกลงรักษาคํามัน่ สัญญาที่ให้ไว้ ลักษณะนิสัยที่ 2: เริ่มต้ นด้ วยทําความชัดเจนกับจุดมุ่งหมายทีเ่ ราต้ องการจะไปให้ ถึง ความหมายของการสร้างนิสัยที่สองนี้ เราต้องชัดเจนเสี ยก่อนในจุดหมายที่ตอ้ งการจะเห็น หรื อให้เกิดขึ้น มีจินตนาการให้ชดั เจนก่อนที่จะเริ่ มต้น ไม่ใช่เริ่ มอย่างสะเปะสะปะ ยกตัวอย่างเช่น การจะปลูกบ้าน ก่อนจะลงเสาเข็มได้ก็ตอ้ งแบบบ้านให้ชดั เจนเรี ยบร้อยเสี ยก่อน เป็ นต้น มิฉะนั้น จะเสี ยเวลาและแก้ไข เกิดการสู ญเปล่าขึ้นได้ ในการทํางานต้องกําหนดเป้ าหมายให้ชดั เจน ทําให้สามารถกําหนดแผนการโครงการได้ เช่น ค่าใช้จ่ายระยะเวลา เป็ นต้น ในการเลี้ยงดูลูกก็ตามที ถ้าเราต้องการให้ลูกเป็ นคนรับผิดชอบ มีวินยั เราก็ตอ้ งแจ่มชัดใน การที่จะปฏิบตั ิต่อลูกให้มีพฤติกรรมตามที่เราต้องการ อดทนต่อการให้เขาได้ลองผิดลองถูกบ้าง ให้เขาหัดตัดสิ นใจด้วยตนเองบ้าง ความแตกต่างระหว่างการเป็ นผูน้ าํ กับการเป็ นผูจ้ ดั การ ความเป็ นผูน้ าํ ต้องมาก่อน การเป็ น ผูน้ าํ มิใช่การจัดการ การจัดการเป็ นการสร้างสิ่ งที่ผนู ้ าํ กําหนดเป้ าหมายไว้ให้เป็ นรู ปเป็ นร่ างขึ้นมา มีผกู ้ ล่าวว่า “Management is doing things rights, leadership is doing the right things” ลักษณะ Proactive จะต้องสํารวจตรวจสอบสิ่ งแวดล้อมและสภาพการณ์ที่ตนเองดูแล เช่ น การตลาดจะต้องตรวจสอบรสนิ ยมผูบ้ ริ โภคต่อสิ นค้าและการบริ การอยู่อย่างสมํ่าเสมอถึง อุปนิสยั การซื้อของลูกค้า สิ่ งจูงใจในการซื้อของลูกค้า เพื่อให้สญ ั ญาณข้อมูลและทิศทางที่ถูกต้อง


- 118 ลักษณะนิสัยที่ 3: การรู้ จักเลือกลําดับทีจ่ ะทําก่อน-หลัง ลักษณะนิ สัยในเรื่ องของการใช้เวลา การทําอะไรก่อนอะไรหลังมีการจัดการในเรื่ องของ เวลาเป็ น 4 แบบ 1. ใช้กระดาษโน้ตและดูปริ มาณความต้องการ การจัดเวลาที่ให้ข้ ึนกับความต้องการ มากน้อยเพียงไรจากการถูกเรี ยกร้อง 2. ใช้ปฏิทินและสมุดนัดหมาย พวกนี้ จะมองอะไรล่วงหน้า รายการกิจกรรมที่จะ เกิดขึ้น มีอะไรบ้าง 3. การให้ความสําคัญของกําหนดการและควบคุมการใช้เวลามากขึ้น ประสิ ทธิ ภาพ การใช้เวลา ให้ความสําคัญกับการวางแผน การกําหนดเป้ าหมายระยะสั้น กลางและยาว 4. เรี ยนรู ้ในการจัดการกับตนเอง (Manage ourself) ไม่ใช่การจัดการกับเวลา มุ่งให้ เกิดความพอใจและเป็ นจริ ง และการคาดหวัง อยูภ่ ายใต้การจัดการที่สามารถทําได้ ฉะนั้นลักษณะการจัดการจะไม่มุ่งที่เวลาและสิ่ งของ แต่จะมุ่งที่สัมพันธภาพและผลที่ จะเกิดขึ้น เป็ นการรักษาผลผลิตที่ตามมา รวมทั้งรักษากระบวนการผลิตองค์กรได้ถูกต้อง มิฉะนั้น การลงทุนผลิตจะเสี ยหายได้ ชี วิตของแต่ละคน ควรมีการกําหนด เป้ าหมาย เรี ยนรู ้ที่จะสํารวจความต้องการ สิ่ งที่ อยากจะให้เ กิ ด ขึ้ น ซึ่ ง จะเป็ นเป้ าหมายระยะยาว จะทํา ให้เ ราดํา เนิ น ชี วิตอย่างมี ทิ ศ ทางและมี เป้ าหมายเกิดความสําเร็ จได้ อะไรเป็ นสิ่ งที่เราให้ความสําคัญ สิ่ งนั้นคือ ความมัน่ คงของเรา เป็ น แนวทางที่ เราจะไป เป็ นปั ญหาของเราและเป็ นอํานาจที่ จะทําสิ่ งต่ างๆ ให้ลุล่วง สิ่ งที่ ยึดเป็ น ศูนย์กลางในชีวิต แต่ละคนอาจยึดค่างกัน เช่น เงิน งาน ตําแหน่ ง ความสุ ข เพื่อน โบสถ์-วัด ครอบครัวตนเอง ถ้ายึดงานเป็ นศูนย์กลาง ท่านอาจจะคิดถึงโอกาสในการเรี ยนรู ้งาน หาเวลาในการพูดคุยถึง ช่องทางในการงานที่ท่านทําอยู่ ท่านพร้อมที่จะทํางานหนัก สํา หรั บ ทางเลื อ ก หลัก การเป็ นศู น ย์ก ลาง ท่ า นก็ จ ะพิ จ ารณาโดยไม่ ใ ช้อ ารมณ์ เ ข้า มา เกี่ยวข้อง จะพิจารณาทางเลือกต่างๆ มองถึงความสมดุลย์ในด้านต่างๆ เช่น ครอบครัว การงาน และหาทางออก ในการทํางาน ทุกคนในองค์กรควรรู ้และมีส่วนร่ วมในนโยบายขององค์กร วัตถุประสงค์ ขององค์กร เขจะได้เกิดพันธะในการปฏิบตั ิตาม การกําหนดสิ่ งที่จะทําให้ชดั เจน วัน เวลา ที่จะทํามีอะไรบ้าง เขียนสิ่ งที่จะปฏิบตั ิลงไปให้ ชัดเจน เช่น เก็บข้อมูลความต้องการของบุคลากรที่จะเข้าสู่ หลักสู ตรต่างๆ มีการปรับสิ่ งที่จะทําให้ เหมาะสมในแต่ละวัน ในสิ่ งที่อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น


- 119 ในการจัดการต่างๆได้ครบถ้วนสมบูรณ์ คนที่เป็ น Proactive จะมีวิธีการในการจัดการ โดยคํานึงถึงหลัก 4 ประการ 1. บทบาทต่างๆ ที่มีอยู่ เช่น ต่อตนเอง สามี พ่อ ผูจ้ ดั การฝ่ ายบุคคล ฯลฯ ดูว่าใน สัปดาห์หนึ่งมีส่ิ งที่ควรทําอะไรบ้าง 2. เลื อกเป้ าหมาย คัดเลือก 2-3 อย่างที่สําคัญในแต่ละสัปดาห์ที่จะทําให้บรรลุ เป้ าหมาย การกําหนดไว้วา่ สิ่ งไหนควรเริ่ มทําก่อน ก็เริ่ มทันที 3. การรู ้จกั ปฏิเสธ จะทําให้ไม่เสี ยเวลาในสิ่ งที่เราไม่ชอบและไม่จาํ เป็ น 4. การจัดการตนเองได้เหมาะสม โดยคํานึ งถึง คุณภาพชีวิต การให้ความสําคัญกับ สัมพันธภาพกับบุคคลที่มีความสําคัญกับเรา และความสําเร็ จของงานที่จะให้เกิดขึ้น จะแก้ปัญหาได้ อย่างเหมาะสม เราจะทําการป้ องกันปัญหาไปด้วย Model ในการจัดการลําดับความสํ าคัญก่อน-หลัง เร่ งด่วน สําคัญ 1. วิกฤตการณ์ 2. ปั ญหาที่กาํ ลังกดดันอยู่ 3. กําหนดวันส่ งโครงการ ไม่สาํ คัญ 4. การขัดจังหวะจากโทรศัพท์ รายงานการนัดพบ กิจกรรมที่นิยม

ไม่เร่ งด่วน 1. การป้ องกัน 2. การบํารุ งรักษากระบวนการผลิต 3. วางแผน การสันทนาการ 4. การจุกจิก ไม่สาํ คัญ โทรศัพท์ การหาความเพลิดเพลิน

ลักษณะนิสัยที่ 4 : การคิดแบบ Win/Win ชนะ / ชนะ (Win / Win) หมายถึง การที่คนเรามาทํางานมีปฎิสัมพันธ์กนั มีขอ้ ตกลงทํา อะไรร่ วมกัน ได้ประโยชน์ร่วมกัน พอใจร่ วมกัน ทางออกที่เป็ น Win / Win สมาชิกทุกคนพอใจ กับการตัดสิ นใจและรู ้สึกถึงการมีพนั ธะในการปฎิบตั ิตามแผนหรื อข้อตกลง Win / Win เป็ นทางเลือกที่สาม ซึ่งไม่ใช่วิธีของคุณหรื อวิธีของฉัน แต่เป็ นวิธีที่ดีกว่า โดย ปกติทางเลือกจะเกิดผลดังนี้ - Win / Lose มีผชู ้ นะ ผูแ้ พ้เกิดขึ้นฉันได้ส่ิ งที่ฉนั ต้องการ หรื อคุณได้สิ่งที่คุณต้องการหรื อ - Loss / Loss ไม่ได้ท้ งั คู่ แพ้ท้ งั สองฝ่ าย เพราะไม่มีใครได้ท้ งั สิ้ น ต่างฝ่ ายต่างไม่ยอมกัน ลักษณะในการแก้ปัญหาหรื อหาข้อตกลงด้วยวิธี Win / Win นั้นจะต้องมีองค์ประกอบ คือ


- 120 1. คุณลักษณะของบุคคลที่เกี่ยวข้อง มีลกั ษณะ รู ้จกั คิดในเชิงผสมผสานความต้องการ ของบุคคลต่างๆ การมีวุฒิภาวะมองคนในลักษณะ I’m OK, You’re OK เป็ นคนใจกว้างในการ ยอมรับผูอ้ ื่น สามารถแบ่งปันผลประโยชน์ให้ผอู ้ ื่นได้ 2. สัมพันธภาพ จากลักษณะของผูท้ ี่มีลกั ษณะ Win / Win ก็จะเป็ นผูท้ ี่มีสัมพันธภาพ ดี มีความไว้ วางใจกัน ทําให้สามารถสื่ อสารกันได้อย่างเปิ ดเผย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันได้ อย่างเต็มที่ การจะทําให้เกิด Win/Win ขึ้นได้ ความมัน่ คงในด้านอารมณ์ การมีสัมพันธภาพที่ไว้ เนื้อเชื่อใจกันเป็ นสิ่ งสําคัญ 3. มีขอ้ ตกลงร่ วมกันข้อตกลงเป็ นไปในลักษณะคํานึงถึงกันและกัน ผลที่เกิดขึ้นกับทุก ฝ่ าย โดยมีความชัดเจนในด้านต่างๆ คือ ผลที่ตอ้ งการ - ระบุให้ชดั เจนว่าจะทําอะไร เมื่อไหร่ แนวทางที่จะปฏิบตั ิ - มีหลักเกณฑ์อะไรบ้าง ทรัพยากรที่ตอ้ งใช้ - ไม่วา่ จะเป็ นการเงิน, กําลังคนและเทคนิค ฯลฯ มาตรฐานสัง่ งาน - มีการกําหนดมาตรฐานของงานและการประเมินที่จะวัด สิ่ งที่ตามมา - มีอะไรบ้างที่จะเกิดขึ้นบ้าง มีการจัดระบบในองค์กรเพื่อให้เกิด Win / Win ในองค์กรต้องให้การสนับสนุน และการ อบรมเพื่อให้มีความคิดและการทํางานแบบ Win / Win รวมทั้งให้ Reward (รางวัล) ต่อหน่วยงานที่ บรรลุเป้ าหมาย

แบบฝึ กหัด : 1. การสร้างนิสยั ในการเรี ยนรู ้ ควรทําอย่างไรบ้าง ……………………………………………………………………………………………………... .......................................................................................................................................................... 2. หากนักศึกษาต้องการสร้างนิสยั ในการเรี ยนให้ประสบผลสําเร็ จอย่างมีความสุ ข ควรใช้ลกั ษณะ นิสยั ข้อใดบ้าง จงอธิบาย ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................


4.3 การสร้ างมนุษยสั มพันธ์ บุคคลทุกคนมักต้องมีกลุ่มมีพวก ตัวอย่างกลุ่มหรื อพวกของกลุ่มบุคคล เช่น ครอบครัว เพื่อนฝูง ทีมงาน สมาคม ชมรม ผูท้ าํ งานใน หน่วยงาน เดียวกัน หรื อแม้กระทัง่ การทํางานใน องค์การธุรกิจก็จดั ว่า เป็ นกลุ่ม หรื อพวกประเภทหนึ่ง ประกอบด้วย คนจํานวนมาก มาอยูร่ ่ วมกัน และทํางานร่ วมกันในบทบาทหน้าที่ต่างๆ กันไป ซึ่งแต่ละคน มักมีเพื่อนฝูงร่ วมงาน ทั้งที่อยูใ่ น ระดับที่เหนือกว่า เท่ากัน และเพื่อนร่ วมงานที่ต่าํ กว่า ซึ่งไม่วา่ จะอยูใ่ นตําแหน่งใด บุคคลเหล่านี้ตอ้ ง ทํางานเกี่ยวข้อง และติดต่อสัมพันธ์กนั ถ้าหากบรรยากาศ ของความสัมพันธ์เป็ นไปด้วยดี มักส่ งผล ให้บุคคลนั้นเป็ นสุ ข เนื่องจากมนุษย์เป็ นสัตว์สงั คม ความสุ ขส่ วนใหญ่ ของชีวติ จึงมักขึ้นอยูก่ บั มนุษยสัมพันธ์ ทั้งในแง่การอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่น และทํางานร่ วมกับผูอ้ ื่น ดังนั้นเพื่อให้มีความสุ ข ในการ อยูร่ ่ วมกับ บุคคลอื่น และทํางานร่ วมกับผูอ้ ื่น

4.3.1 ความหมาย : มนุษยสั มพันธ์ มนุษยสัมพันธ์จดั เป็ นทั้งศาสตร์ (Science) และศิลป์ (Art) เนื่องจากมีหลักการและทฤษฎีที่ เป็ นข้อความรู ้และการนําหลักการหรื อทฤษฎีไปปฏิบตั ิ ให้ประสบความสําเร็ จได้น้ นั จําเป็ นต้อง อาศัยเทคนิค วิธีการซึ่งถือเป็ นศิลปะเฉพาะตัวของแต่ละบุคคลจะสังเกตเห็นได้อย่างหนึ่งว่า คนเรา แต่ละคน มีความสามารถในการติดต่อกับผูอ้ ื่นไม่เท่ากัน บางคนเป็ นที่พอใจของคนหมู่มาก มีเพื่อน มากหน้าหลายตา และมีคนที่อยากพูดคุยติดต่อ หรื อทํางานร่ วมกับเขามากมาย ในขณะที่บางคนไม่ ค่อยมีใครอยากจะเข้าใกล้หรื อทํางานร่ วมด้วย นัน่ เป็ นเพราะเขาขาดศิลปะในการติดต่อกับบุคคลอื่น ซึ่งอาจเป็ นเพราะไม่รู้หลักการว่าควรทําอย่างไร หรื อเป็ นเพราะนําหลักการไปใช้ไม่ถูกวิธี ดังนั้น การที่คนเราจะมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกบั บุคคลอื่น จึงจําเป็ นต้องเรี ยนรู ้ท้ งั ภาคทฤษฎีและหมัน่ ฝึ กฝน เพื่อให้เกิดความเชี่ยวชาญ จนสามารถนําหลักการที่ได้เป็ นข้อความรู ้ทางทฤษฎี ไปใช้ได้อย่างเป็ น ธรรมชาติ คําว่า “มนุษยสัมพันธ์” จากการศึกษาค้นคว้าพบว่ามีนกั จิตวิทยาให้ความหมายไว้หลายท่าน พอสรุ ปได้ดงั นี้ อริ สโตเติล (Aristotle) นักปราชญ์ชาวกรี ก อธิบายว่า มนุษย์เป็ นสัตว์สงั คม มนุษย์ใช้ชีวิต อยูร่ ่ วมกันเป็ นหมู่เป็ นเหล่ามนุษย์ อยูร่ ่ วมกันเป็ นกลุ่มเป็ นพวก มีปฏิสมั พันธ์ร่วมกัน การที่มนุษย์อยู่ ร่ วมกัน ทําให้พวกเขารู ้สึกปลอดภัย ซึ่งเป็ นสัญชาตญาณของมนุษย์ ดังนั้นเราอาจกล่าวได้วา่ การที่ มนุษย์มีสมั พันธ์กนั มนุษย์จึงเป็ นสัตว์สงั คม ดังที่นกั ปราชญ์ได้กล่าวไว้ มนุษยสัมพันธ์ หมายถึง ความสัมพันธ์ในทางสังคมระหว่างมนุษย์ ซึ่งจะก่อให้เกิดความ เข้าใจอันดีต่อกัน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน(2542:833)ในปี พ.ศ.2546 ราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้ความหมายเพิ่มเติมว่า มนุษยสัมพันธ์ หมายถึง ความสัมพันธ์ในทางสังคมระหว่างมนุษย์ ซึ่ง จะก่อให้เกิดความเข้าใจอันดีต่อกัน


- 122 -

4.3.2 ความสํ าคัญ : มนุษยสั มพันธ์ มนุษย์ทุกคนสามารถฝึ กการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีได้ ถ้ามีความปรารถนา มีความตั้งใจจริ ง พร้อมที่จะฝึ กฝน ศึกษาหาความรู ้ ประสบการณ์ และนําไปปฏิบตั ิจริ ง ๆ เพื่อให้เกิดทักษะในการ สร้างความสัมพันธ์อย่างมีประสิ ทธิภาพ เพราะ “มนุษยสัมพันธ์” เป็ นสิ่ งที่เกิดจาก การเรี ยนรู ้ไม่ได้ เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มนุษยสัมพันธ์จึงเป็ นทั้งศาสตร์ และศิลป์ ในการเข้ากับคน การเอาชนะใจ คน และการครองใจคนทุกระดับ เช่น ผูบ้ งั คับบัญชากับผูอ้ ยูใ่ ต้บงั คับบัญชา เพื่อนร่ วมงานกับเพื่อน ร่ วมงาน และ รวมทั้งคนในครอบครัวด้วย การพูดจาดี ยิม้ แย้มแจ่มใส มีความเป็ นมิตรกับทุกคนเป็ น หลักการแรกที่จะพัฒนาความสัมพันธ์ในขั้นต่อไป และจําไว้เสมอว่า เราเป็ นมนุษย์ตอ้ งปฏิบตั ิกบั คนอื่น เช่นเดียวกับตัวเรา และเราอาจสรุ ปได้วา่ มนุษยสัมพันธ์มีความสําคัญ ดังนี้คือ 1. มนุษยสัมพันธ์ ทําให้เกิดการสร้างความสามัคคีธรรมให้เกิดขึ้นในกลุ่มสังคมในหมู่คณะ 2. มนุษยสัมพันธ์ทาํ ให้การบริ หารงานต่างๆ สามารถก่อให้เกิดการรวมพลัง เพื่อก่อให้เกิด ความร่ วมแรงร่ วมใจ เกิดความรักใคร่ สมัครสมานสามัคคีในการปฏิบตั ิงาน 3. มนุษยสัมพันธ์ทาํ ให้สงั คมปกติสุข คนในสังคมนั้นๆ อยูด่ ีมีสุข 4. มนุษยสัมพันธ์ทาํ ให้สร้างความเข้าใจอันดีซ่ ึงกัน และกัน เป็ นการสร้างสรรค์สงั คม 5. มนุษยสัมพันธ์ทาํ ให้งานต่างๆ ประสบความสําเร็ จเพราะเราอยูค่ นเดียวไม่ได้ เราทํางาน หลายอย่าง คนเดียวไม่ได้ ต้องอาศัยความร่ วมมือซึ่งกัน และกัน งานจึงจะประสบความสําเร็ จ 6. มนุษยสัมพันธ์ทาํ ให้คนแตกต่างจากสัตว์อื่น โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในด้านจิตใจดังนั้นใน การอยูร่ ่ วมกันจึง ทําให้มนุษย์รู้ถึง ความรักใคร่ และไมตรี ที่มีให้กนั รวมถึงความต้องการ ที่จะบรรลุ จุดหมายด้วยความภูมิใจ 7. มนุษยสัมพันธ์ทาํ ให้บุคคลยอมรับนับถือกัน ตระหนักในศักดิ์ศรี ของความเป็ นมนุษย์ “ศักดิ์ศรี ของความเป็ นมนุษย์” (Human dignity) ต้องทําให้คนที่ทาํ งานร่ วมกันรู ้ และเข้าใจ ถึงการ ให้เกียรติกนั เสมอมนุษย์เฉกเช่นเดียวกันคือ การยอมรับคุณค่า ความเป็ นมนุษย์นนั่ เอง 8. มนุษยสัมพันธ์ ทําให้งานทุกอย่างบรรลุเป้ าหมายตามที่องค์กรต้องการได้ เพราะทุกคน เคารพในการแสดงความคิดเห็น และ พฤติกรรมการแสดงออกของแต่ละบุคคล อันจะนําไปสู่ความ ร่ วมมือ และการประสานงานที่ดีนนั่ เอง 9. มนุษยสัมพันธ์ทาํ ให้คนคล้อยตามได้ หากทําให้จิตใจเขาคล้อยตามได้บุคคลจะเกิดความ ชื่นชอบและจะพัฒนา ความชื่นชอบ จนเกิดความศรัทธาและเมื่อบุคคล เกิดความศรัทธาบุคคล ก็ ยินดีที่จะปฏิบตั ิตามซึ่งการทําให้คนอื่นคล้อยตาม แต่ควรอยูบ่ นเงื่อนไขของความชอบธรรม ก็จะ สามารถสร้างมนุษยสัมพันธ์อย่างถาวรได้ แต่หากบุคคลกระทําทุกอย่างเพียงพื่อประโยชน์แห่งตน มนุษยสัมพันธ์น้ นั ๆ ก็เป็ นแค่ชวั่ คราว เมื่อความจริ งกระจ่าง อาจทําให้เกิดความรู ้สึกที่ไม่ดีข้ ึน


- 123 ในกรณี เรื่ อง การสร้าง มนุษยสัมพันธ์ มีจุดมุ่งหมาย เพื่อให้ทุกคนมีไมตรี ต่อกันทุกคน จึงควรคิด และกระทําในสิ่ งดีๆให้แก่กนั เราก็จะได้ส่ิ งดีๆ ตามมา ความสําคัญของมนุษยสัมพันธ์ ก่อให้เกิดความเข้าใจอันดี ยอมรับซึ่งกัน และกันมีความ สนิทสนมคุน้ เคยรักใคร่ มีความนับถือกัน และความเต็มใจที่จะให้ความร่ วมมือซึ่งกัน และกัน เพือ่ นําไปสู่การอยูร่ ่ วมกัน อย่างมีความสุ ข และสามารถร่ วมมือกัน ดําเนินงาน ของส่ วนรวม ให้สาํ เร็ จ ลุล่วงไปได้ดว้ ยดี [ออนไลน์] http://www.novabizz.com/NovaAce/HumanRelations.htm) นอกจากนีค้ วามสํ าคัญของมนุษยสั มพันธ์ ในเหตุผลอืน่ ๆ อาจสรุ ปได้ ดงั นี้ 1. ความปลอดภัย มนุษย์ตอ้ งการความปลอดภัย จึงต้องรวมกลุ่มกันสร้างสัมพันธภาพ เช่น บุคคลพยายามรู ้จกั กับเพื่อนบ้าน เพื่อนร่ วมงาน ผูม้ ีอาํ นาจหรื อมีอิทธิพลต่างๆ เพื่อความปลอดภัย ของตนเอง 2. เศรษฐกิจ มนุษยสัมพันธ์เพิ่มผลผลิตได้ เพราะมนุษย์มีจิตใจปกติ และเป็ นสุ ข ย่อมสร้าง งานอย่างมีประสิ ทธิผล นัน่ คือการมีมนุษยสัมพันธ์จะช่วยเหลือในด้านเศรษฐกิจได้ 3. ความว้ าเหว่ เพราะว่ามนุษย์เป็ นสัตว์สงั คม จะอยูค่ นเดียวในโลกไม่ได้ จะรู ้สึกเหงา จึง ต้องสร้าง และใช้มนุษยสัมพันธ์โดยการคบเพื่อน เพื่อให้คลายเหงา 4. สั งคม มนุษยสัมพันธ์ช่วยให้มนุษย์รักกัน ชอบกัน ยอมรับ และคบหาสมาคมกันอันจะ นํามาซึ่งความสงบสุ ขในสังคม 5. การปฏิบตั งิ าน มนุษย์ไม่อาจปฏิบตั ิงานโดยลําพังได้ ต้องอาศัย หรื อเกี่ยวข้อง และ สัมพันธ์กบั ผูอ้ ื่นเสมอ ดังนั้น มนุษย์จึงต้องมีเพื่อนร่ วมงาน 6. การเมือง มนุษยสัมพันธ์ช่วยประสาน หรื อแก้ปัญหาข้อขัดแย้งทางการเมืองได้ใน ลักษณะที่เรี ยกว่า “กาวใจ” 7. ความสํ าเร็จของมนุษย์ ท้งั หลาย ต่างก็หวังจะทํางานให้สาํ เร็ จตามเป้ าหมายขององค์การ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผูบ้ ริ หารองค์การจะต้องคํานึงถึงมากกว่าใคร ๆ โดยจัดกิจกรรมต่าง ๆ ทําให้ สมาชิกในองค์การรู ้จกั กัน และสามารถประสานงานให้สาํ เร็ จลุล่วงลงได้ดว้ ยดี 8. ความรัก มนุษย์ตอ้ งการแสดงออกซึ่งความรัก คือ รักบุคคลที่เกี่ยวข้อง และต้องการให้ เขารักตอบด้วย จะแสดงออกในรู ปของการรักเพื่อนเพศเดียวกัน และต่างเพศ ทั้งความรักอันบริ สุทธิ์ และความรักด้วยเพศสัมพันธ์


- 124 -

4.3.3 องค์ ประกอบของมนุษยสั มพันธ์ การสร้างมนุษยสัมพันธ์ให้เกิดขึ้นในกลุ่มคนไม่วา่ จะเป็ นคนกลุ่มใดจะต้องคํานึงถึง องค์ประกอบของมนุษยสัมพันธ์ ซึ่งเป็ น ปั จจัยสนับสนุน หรื อ เป็ นอุปสรรค ของ ความสัมพันธ์ของ กลุ่มแล้ว ดําเนินการสร้างเสริ มพัฒนา และปรับปรุ งปัจจัยต่างๆ เหล่านั้นให้เป็ น ปั จจัยที่เอื้อต่อ มนุษยสัมพันธ์ ที่ดีให้ได้ สําหรับองค์ประกอบของมนุษย์สมั พันธ์ ซึ่งอาจจะเขียนเป็ นแผนภูมิแสดง องค์ประกอบของ มนุษยสัมพันธ์ ในหน่วยงานได้ ดังนี้ มนุษยสัมพันธ์ รู ้จกั ตน วิเคราะห์ตน

เข้าใจผูอ้ ื่น วิเคราะห์ความแตกต่าง ของผูอ้ ื่น

ปรับปรุ งตน

ยอมรับความแตกต่าง ปรับปรุ งสิ่ งแวดล้อม พัฒนาคนให้เข้ากับผูอ้ ื่น และสิ่ งแวดล้อม

ตนสุ ข

มนุษยสัมพันธ์ ผูอ้ ื่นสุ ข

สร้างสภาพแวดล้อมที่ดี วิเคราะห์สิ่งแวดล้อม

สิ่ งแวดล้อมดี

แผนภาพแสดงองค์ประกอบของมนุษยสัมพันธ์ จากแผนภาพ ซึ่งแสดงความสัมพันธ์ในหน่วยงาน จะเห็นได้วา่ มนุษยสัมพันธ์ในหน่วยงาน มีองค์ประกอบเป็ น 3 ประการ คือ การรู ้จกั ตน การเข้าใจเพื่อนร่ วมงาน และสิ่ งแวดล้อมในการ ทํางานที่ดี ในเรื่ องของการรู ้จกั ตนนั้น บุคคลควรต้องวิเคราะห์ตน เพือ่ ให้รู้จกั ตัวเอง อย่างแท้จริ งทั้ง ลักษณะที่ดีและไม่ดี แล้วปรับปรุ งตน ในส่ วนที่เป็ นลักษณะที่ไม่ดี ซึ่งอาจสร้างปัญหา และอุปสรรค ในการทํางาน และการสร้างสัมพันธ์กบั ผูอ้ ื่น นอกจากจะเป็ นแนวทาง ให้วิเคราะห์เพื่อนร่ วมงาน และ เข้าใจ เพื่อนร่ วมงาน ให้มากขึ้นแล้ว ยังช่วยยอมรับความแตกต่าง ระหว่างบุคคล และพัฒนา ตนให้เข้ากับ เพื่อนร่ วมงานได้ดี ส่ วนความเข้าใจในเรื่ องของสิ่ งแวดล้อม ในที่ทาํ งานดี จะเป็ นตัว กระตุน้ ให้บุคคลวิเคราะห์สิ่งแวดล้อม ในที่ทาํ งานแล้ว ปรับปรุ งให้ดีข้ ึน รวมทั้งเป็ นแนวทางพัฒนา ตน ให้เข้ากับที่ทาํ งานให้ได้ดว้ ย ซึ่งทั้งหมดดังกล่าวนั้น จะส่ งผลต่อมนุษยสัมพันธ์ ในองค์การ เมื่อ มนุษยสัมพันธ์ในองค์การดี ก็จะทําให้บุคคลเป็ นสุ ข เพื่อนร่ วมงานสุ ขและสิ่ งแวดล้อมในที่ทาํ งานดี


- 125 -

องค์ ประกอบของมนุษยสั มพันธ์ แบ่ งเป็ น 3 ประการ คือ 1. การเข้ าใจตนเอง เป็ นลักษณะการรู ้จกั ตนเองอย่างแท้จริ งว่าตนเองเป็ นใคร มี ความรู ้ความสามารถ ทักษะ ประสบการณ์แค่ไหนระดับใด มีจุดแข็งคือความเก่ง และจุดอ่อนคือ ความไม่เก่งในด้านใดบ้างเรื่ องใดบ้าง การเข้าใจตนเอง ทําให้บุคคลเกิดการรู ้สึกยอมรับในคุณค่า แห่งตน นับถือตนเอง และรู ้จกั เข้าใจสิ ทธิ เสรี ภาพ หน้าที่ ความรับผิดชอบของตนเอง สิ่ งที่สาํ คัญ ในการเข้าใจตนเองจะช่วยให้เรารู ้จกั ปรับตัวเข้ากับบุคคลอื่นได้ดีมาก 2. การเข้ าใจบุคคลอืน่ เป็ นการเรี ยนรู ้ธรรมชาติของคน ความแตกต่างระหว่างบุคคล ความต้องการของบุคคล แรงจูงใจของบุคคล สภาพสิ่ งแวดล้อมทําให้เกิดประโยชน์ ในการนําไปใช้ ติดต่อสัมพันธ์กบั บุคคลอื่นได้นานัปการ เมื่อเราต้องการ ไปติดต่อสัมพันธ์กบั บุคคลใด เราต้อง ทราบก่อนว่าบุคคลนั้นชื่อใดเป็ นใคร มีความรู ้ ความสามารถ ทักษะ ประสบการณ์ทางด้านใด อยูใ่ น ระดับใดชอบสิ่ งใด ไม่ชอบสิ่ งใด โปรดปรานในสิ่ งใดเป็ นพิเศษ มีคุณลักษณะที่เด่นทางด้านใดบ้าง เมื่อเรานําเอาบุคคลอื่น ที่เราต้องการติดต่อ สัมพันธ์ มาพิจารณาดูวา่ เรามีความเข้าใจในตัวเขา อย่างไร เรายอมรับในตัวเขาได้แค่ไหน เพือ่ จัดระดับคุณค่า และความสําคัญของบุคคลที่เราจะต้องมี การติดต่อสัมพันธ์รวมทั้งการที่เรารู ้จกั ปรับตัว ให้เข้ากับบุคคลอื่น ได้ในการติดต่อสัมพันธ์กนั 3. การเข้ าใจสิ่ งแวดล้ อม เป็ นการเรี ยนรู ้ธรรมชาติของสิ่ งแวดล้อมที่อยูร่ อบตัวเรา และ บุคคลอื่นซึ่งมีอิทธิพลต่อการดําเนินชีวิตประจําวัน และมีส่วนสัมพันธ์กบั มนุษยสัมพันธ์ได้แก่ สภาพการณ์เหตุการณ์ สถานการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบนั และในอนาคต ล้วนแต่มีอิทธิพลมาจาก สิ่ งแวดล้อมทั้งสิ้ นได้แก่ สถาบันครอบครัว สถาบันที่เป็ นองค์การ สถาบันการศึกษา หน่วยงาน บริ ษทั ห้างร้าน โรงงาน รัฐบาล ศาสนา องค์การระหว่างประเทศ ความรู ้จากการเข้าใจสิ่ งแวดล้อม สามารถนํามาปรับใช้กบั ตัวเรา ในการเสริ มสร้าง มนุษยสัมพันธ์กบั บุคคลอื่นได้ดีมากขึ้น อํานวย แสงสว่าง ( 2544:101) นอกจากนี้แล้ว องค์ประกอบของมนุษยสัมพันธ์ มักจะเกี่ยวข้องกับเรื่ อง พฤติกรรมการ จูงใจ ขนบธรรมเนียมประเพณี ค่านิยม เจตคติ นิสยั ระบบสังคม สิ่ งเหล่านี้เป็ นปัจจัยผสมผสานกัน อย่างเหมาะสม เกิดเป็ นพฤติกรรมที่น่าพึงพอใจแก่บุคคลอื่น ๆ ที่เรี ยกว่า “มนุษยสัมพันธ์”


- 126 องค์ ประกอบทีจ่ ะช่ วยส่ งเสริมให้ เป็ นผู้มมี นุษยสั มพันธ์ ทดี่ ี การที่จะเป็ นผูม้ ีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีน้ นั จําเป็ นต้องมีความรู ้ ความเข้าใจถึงองค์ประกอบที่จะ ช่วยส่ งเสริ มให้เป็ น ผูม้ ีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ดังต่อไปนี้ 1. พฤติกรรมของคน (Human Behavior) ในการอยูร่ ่ วมกัน ไม่วา่ จะเป็ น เพื่อความสุ ขใน การดําเนินชีวติ หรื อเพื่อการปฏิบตั ิงาน ให้ดีข้ ึนในหน่วยงาน เราทุกคนต้องเข้าใจพฤติกรรมของคน 2. การจูงใจ (Motivation) เป็ นแรงกระตุน้ เป็ นพลังให้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เพื่ออํานวย ประโยชน์ และสร้างความพึงพอใจ ในการปฏิบตั ิงาน 3. กลุ่มพวกในการปฏิบตั ิงาน (Team work) ตามรู ปแบบของปฏิกิริยาสัมพันธ์ระหว่าง ความเป็ นมนุษย์ ที่ดาํ รงตนด้วย การเคารพนับถือ ซึ่งกัน และกัน หรื อเคารพนับถือในความแตกต่าง ระหว่างบุคคล 4. การมีปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ระหว่างบุคคลต่อบุคคล บุคคลต่อหน่วยงาน หรื อ องค์การ มนุษย์อยูร่ วมกันเป็ นกลุ่ม ๆ แบ่งแยกกลุ่มไปตามลักษณะของ ความต้องการ มีการต่อสู แ้ ย่ง ชิงผลประโยชน์ซ่ ึงกัน และกัน ประโยชน์ ของมนุษยสั มพันธ์ “มนุษยสัมพันธ์” เป็ นประโยชน์อย่างยิง่ ในการทํางาน และการอยูร่ ่ วมกันเป็ นสังคม เพราะ ช่วยให้มนุษย์เรี ยนรู ้ ที่จะยอมรับ ความคิดเห็นของผูอ้ ื่น และปรับตัวปรับใจ ให้ร่วมสังคม และร่ วม กิจกรรมกันอย่างสันติสุข มนุษยสัมพันธ์เป็ นเสมือน มนต์ขลัง ช่วยลดความเกลียดชัง แม้ศตั รู ผมู ้ ี ผลประโยชน์ขดั กับเรา ก็จะกลับกลายไปในรู ป เห็นอกเห็นใจ เป็ นมิตรภาพ เรื่ องร้ายกลายเป็ นดีได้ ไม่วา่ จะติดต่อสัมพันธ์กนั ในทางการงาน หรื อส่ วนตัว ก็จะเกิดผลดีมีประโยชน์ต่องานอาชีพ และ การดําเนินชีวติ อุปสรรค ความยุง่ ยาก จะเรี ยบร้อยราบรื่ น การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีน้ นั จะช่วยให้เกิดประโยชน์ตอ่ ตนเองและส่ วนรวม สําหรับในแง่ ประโยชน์ต่อตนเอง บุคคลที่มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกบั เพือ่ น จะก่อให้เกิดความเข้าใจ และความเห็นใจ ซึ่งกันและกัน ช่วยเหลือกันสามารถสมาคมกับบุคคลในระดับต่าง ๆ ได้ดี ประสบความสําเร็ จใน การศึกษาและการประกอบกิจกรรม หรื อการอาชีพ ในแง่ส่วนรวม การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี จะช่วย สร้างความสามัคคี กลมเกลียวขึ้นในหมู่คณะร่ วมใจกันทํางาน ให้สาํ เร็ จลุล่วงไปด้วยดีโดยปราศจาก ข้อขัดแย้ง สามารถอาศัยอยูร่ ่ วมกันอย่างมีความสุ ขและในที่สุดจะช่วยพัฒนาให้สงั คม และ ประเทศชาติเจริ ญก้าวหน้า ทางสังคม จะทําให้คนงานมีกาํ ลังใจทํางาน มีความสัมพันธ์อย่างเหนียวแน่นกับองค์การที่ ตนทํางานอยู่ การมีความรู ้สึกเป็ นเจ้าของ ความเป็ นกันเอง การทํางานด้วย ความสมัครใจก็จะเกิดขึ้น


- 127 -

ถ้าจะเน้นถึงประโยชน์ในแง่ของการบริ หารงาน การสร้างมนุษยสัมพันธ์เป็ นปัจจัยที่สาํ คัญ ที่สุดปัจจัยหนึ่ง ที่จะทําให้หวั หน้างานประสบความสําเร็ จและเจริ ญก้าวหน้า หัวหน้างาน ควร จะต้องใส่ ใจกับศิลปะของการสร้างมนุษยสัมพันธ์ ในหน่วยงานทําความเข้าใจกับธรรมชาติของคน โดยเฉพาะในเรื่ อง ความต้องการของมนุษย์ และการจูงใจ ซึ่งปัจจุบนั ก็มีแนวคิดใหม่ ๆ ที่ทา้ ทายให้ ผูบ้ ริ หาร ได้นาํ ไปประยุกต์ใช้ เพื่อให้เกิดประโยชน์กบั หน่วยงาน หัวใจของมนุษยสัมพันธ์ในการ บริ หารงานด้วย ในการสร้างมนุษยสัมพันธ์หวั หน้างาน จะต้องใช้วิธีการหลายวิธี เพราะผูร้ ่ วมงานมี ความแตกต่างกันมาก การประยุกต์หลักการและวิธีการต่าง ๆอย่างระมัดระวัง จะช่วยหัวหน้างาน สามารถหาทางเลือกที่จะนําไปสู่ ความสําเร็ จได้มากขึ้น นอกจากนี้แล้ว มนุษยสัมพันธ์ยงั สามารถให้ ประโยชน์ดงั นี้คือ ทําให้เกิดความรู ้จกั คุน้ เคย ยอมรับนับถือกันในหมู่สมาชิก ซึ่งเป็ นจุดเริ่ มต้นของ พลังกลุ่ม และช่วยให้การคบหาสมาคม เป็ นไปโดยราบรื่ น ทําให้เกิดความเข้าใจอันดี และอยู่ ร่ วมกันได้ดว้ ยความสามัคคี ทําให้บรรยากาศในการทํางานราบรื่ น สามารถร่ วมงานกันได้อย่างมี ประสิ ทธิภาพ ทําให้การติดต่อสื่ อสารถึงกันง่ายและเป็ นผลดี ทําให้เกิดความรู ้สึกเป็ นพวกเดียวกัน และให้ความร่ วมมือในการทํางาน และทําให้ปัญหาความขัดแย้งลดน้อยลง บริ หารงานได้ง่ายขึ้น ความสัมพันธ์ของมนุษย์ที่มีต่อกัน ได้ก่อให้เกิดประโยชน์ร่วมกันในสังคม มนุษยสัมพันธ์ ในส่ วนที่มนุษย์ จะอยูร่ ่ วมกันในสังคมมีดงั นี้ คือ การมีความสัมพันธ์กนั โดยการรวมกลุ่มในการ ผลิต และการอํานวยบริ การเป็ น การรวมพลังของกลุ่มบุคคล เพื่อให้ชีวิต ความเป็ นอยู่ ของมนุษย์ดี ขึ้น ซึ่งบุคคลคนเดียวทําได้ยาก ต้องอาศัยความร่ วมแรงร่ วมใจ ของบุคคลหลายคน จึงจะกระทําได้ ความสัมพันธ์ ที่กระทํา ต่อเนื่องกันมาจนเป็ นที่ยอมรับ จะกลายเป็ นมรดกทางวัฒนธรรม และเกิด ความรู ้สึกที่เรี ยกว่า มีมนุษยสัมพันธ์ การทําให้เกิด ความสําเร็ จ มนุษยสัมพันธ์ เป็ นส่ วนสําคัญที่ให้ มนุษย์อยูร่ ่ วมกันช่วยกันประกอบกิจการงาน นําเอาความ สามารถของแต่ละบุคคล ในกลุ่มมาใช้ใน การดําเนินการร่ วมกันเพื่อความสําเร็ จของงาน โดยอาศัยมนุษยสัมพันธ์ เป็ นเครื่ องยึดโยงให้มนุษย์ มีความเข้าใจ และร่ วมมือกันทํางาน อันเป็ นผลทําให้มีความสําเร็ จของงานเกิดขึ้น การทําให้มีความ มัน่ คง ความสําคัญของมนุษยสัมพันธ์ คือ การสร้างให้มีความมัน่ คงในครอบครัว ในสังคม และใน ประเทศชาติ ซึ่งเป็ นกลุ่มสังคมขนาดใหญ่ข้ ึน ๆ ตามลําดับ จนถึงสังคมโลก ความรู ้จกั อภัย และชนะ ใจผูอ้ ื่น สร้างความแช่มชื่นในการทํางานร่ วมกันอย่างมีประสิ ทธิภาพได้รับผลตอบแทน ทั้งทางด้าน เศรษฐกิจ และจิตใจคนในสังคม เป็ นการสร้างความมัง่ คัง่ และมัน่ คงให้แก่สงั คม และการทําให้มี ความสามัคคี ความสัมพันธ์ อันดีใน กลุ่มของบุคคล ก่อให้เกิดสามัคคีธรรม และความร่ วมมือร่ วม ใจในการทํางานของหมู่คณะ ปั จจัยสําคัญ ที่ก่อให้เกิด ความสามัคคี คือ ความเข้าใจ ระหว่างกัน และกันของบุคคลในกลุ่ม อันได้แก่ มนุษยสัมพันธ์นนั่ เอง


- 128 -

4.3.4 หลักการสร้ างมนุษยสั มพันธ์ หลักในการสร้างมนุษยสัมพันธ์น้ นั เราควรคํานึงถึงหลักต่อไปนี้ 1. การสํ ารวจตนเอง ในการสมาคมกับบุคคลอื่นในชีวติ ประจําวันนั้น เราควรสํารวจ ตนเองว่าเรามีส่ิ งใดบกพร่ องมากไป หรื อไม่ หากมีควรหาทางแก้ไขปรับปรุ งตนเอง การชมตนเอง มากเกินไปนั้นมีผลเสี ยมาก เช่น ทําให้บางคนลืมตัวคิดว่าตนเองดีแล้ว ไม่ตอ้ งปรับปรุ งแก้ไข เป็ น ต้น แต่บางครั้งคําชมก็จาํ เป็ นเหมือนกัน ถ้าคําชมนั้นเป็ นคําชมที่จริ งใจจากผูอ้ ื่น อย่างไรก็ตาม เรา ควรรู ้จกั ประมาณตน มองตนเองโดยไม่ลาํ เอียง หรื อเชื่อคําชมของผูอ้ ื่นง่ายเกินไป การสร้างมนุษย สัมพันธ์กบั บุคคลอื่นนั้น เราควรมีความจริ งใจต่อเขา เนื่องจาก ความจริ งใจต่อกันโดยไม่หวัง ผลประโยชน์แอบแฝงนั้น จะก่อให้เจตคิตที่ดีซ่ ึงกัน และกัน มีความไว้วางใจกัน อันจะนําไปสู่ ความสัมพันธ์ที่ดี และแนบแน่นระหว่างเรากับบุคคลที่สมาคมด้วย นอกจากนี้ เราควรสํารวจตนเองว่า เรามักติเตียนปมด้อยของผูอ้ ื่น หรื อไม่ และมีมารยาทใน สังคม หรื อไม่ เช่น การใช้กิริยา และวาจาที่สุภาพ การปฏิบตั ิตนตามขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม และค่านิยมของสังคม เป็ นต้น หากเราปรารถนาจะสร้างมนุษยสัมพันธ์กบั ผูอ้ ื่นให้มนั่ คง เราควรมองปมด้อยของผูอ้ ื่นเป็ นเรื่ องธรรมดา และถ้าสามารถช่วยเหลือเขาได้ควรช่วยเหลือเขาตาม สมควร เช่น เพื่อนติดสุ ราจนเป็ นโรคพิษสุ ราเรื้ อรัง ก็หาทางตักเตือน และแนะนําด้วยความหวังดี ให้กาํ ลังใจแก่เขาให้กลับมทํางาน หรื อศึกษาต่อตามปกติ เป็ นต้น การมีมารยาทในสังคม นับว่า จําเป็ นในการสร้างมนุษยสัมพันธ์กบั บุคคลอื่นเช่นกัน เพราะช่วยให้คนเราปฏิบตั ิตนต่อกันได้อย่าง เหมาะสม ถูกต้องตามกาละเทศะ และก่อให้เกิดความสามัคคีข้ ึนในสังคม 2. การศึกษาสิ่ งทีค่ วรรู้เกีย่ วกับบุคคล บุคคลโดยทัว่ ไปมักมีลกั ษณะที่คล้ายๆ กันอยูห่ ลาย ประการ หากเราได้ตระหนักถึงลักษณะเหล่านี้ ก็จะช่วยเสริ มการสร้างมนุษยสัมพันธ์กบั บุคคลอื่น ได้ง่ายขึ้นและดํารงความสัมพันธ์อนั ดีให้มนั่ คงได้ ลักษณะต่างๆเกี่ยวกับบุคคลดังกล่าว มีดงั นี้ 2.1 ไม่ชอบให้ใครตําหนิ แม้วา่ ความคิด หรื อการกระทํานั้นจะผิดก็ตาม เนื่องจากเรามัก เข้าใจว่าสิ่ งที่เราคิด หรื อกระทําลงไปนั้นถูกต้องแล้ว คนเราจะกระทําสิ่ งใดย่อมีเหตุผลของตนเอง เสมอ แต่เป็ นเหตุผลในแง่ความนึกคิดของแต่ละคน ฉะนั้น ความคิดของแต่ละบุคคลย่อมแตกต่าง กันได้ ด้วยเหตุน้ ีการตําหนิผอู ้ ื่นเมื่อคิดว่าเขากระทําผิดนั้น นับว่าไม่มีประโยชน์ เนื่องจากความ คิดเห็นของแต่ละบุคคลต่างกัน อาจทําให้ผถู ้ ูกตําหนิไม่พอใจ และรู ้สึกว่าเป็ นการทําลายเกียรติของ ตน ฉะนั้น เมื่อธรรมชาติของมนุษย์ไม่ชอบให้ใครมาตําหนิตนเช่นนี้ เราควรงดการตําหนิผอู ้ ื่น ควร รู ้จกั นําใจเขามาใส่ ใจเรา รู ้จกั ให้อภัยซึ่งกัน และกัน 2.2 อยากมีชื่อเสี ยงเด่น คนเรามักชอบให้ผอู ้ ื่นยกย่องสรรเสริ ญตนว่า เป็ นคนเก่ง หรื อมี เกียรติ ด้วยเหตุน้ ีจึงทําให้คนเราเกิดความคิดสร้างสรรค์ในการประดิษฐ์ส่ิ งต่างๆ ที่อาํ นวยประโยชน์ แก่มวลมนุษย์ เพื่อสร้างชื่อเสี ยงให้แก่ตน อย่างไรก็ตาม เราควรรู ้จกั ประมาณตน และมีความมานะ พยายามในทางที่ถูก ไม่เอารัดเอาเปรี ยบผูอ้ ื่นด้วย


- 129 2.3 ชอบคนที่อารมณ์ดีมากกว่าอารมณ์เสี ย คนที่ยมิ้ แย้มแจ่มใส หรื อมีนิสยั ร่ าเริ งอยู่ เสมอนั้น เป็ นบุคคลที่น่าคบหาสมาคมมากกว่าคนที่มีแต่ความทุกข์ อารมณ์ไม่มนั่ คง หงุดหงิด และ โกรธง่าย การยิม้ ของคนเรานั้น นับว่าสําคัญมาก ดังสุ ภาษิตของจีนกล่าวไว้วา่ "คนที่ยมิ้ ไม่เป็ นจะ ค้าขายขาดทุน" เพราะการยิม้ แสดงถึงการมีความสุ ข การต้อนรับ การมีน้ าํ ใจโอบอ้อมอารี ทํามห้ผทู ้ ี่ พบเห็นอยากสมาคมด้วย ดังนั้น เราควรยิม้ แย้มแจ่มใสกับบุคคลที่เราสมาคมด้วยเสมอ เพื่อสร้าง มนุษยสัมพันธ์กบั บุคคลนั้น 2.4 ไม่ชอบให้ใครโต้เถียง โดยธรรมชาติของมนุษย์น้ นั ไม่ชอบให้ใครมาพูดขัดแย้ง หรื อโต้เถียงตน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ต่อหน้าที่ประชุม หรื อในกลุ่มคน และหากผูโ้ ต้เถียงเป็ นบุคคลที่ มีฐานะตํ่ากว่าด้วยแล้ว ก็ยงิ่ จะทําให้เกิดความไม่พอใจมากยิง่ ขึ้น ผูส้ ู งอายุซ่ ึงเป็ นบุคคลที่มีการ เปลี่ยนแปลงทางสภาพจิตใจ มักยึดมัน่ ในความคิดดั้งเดิมของตน ยึดมัน่ ในขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมเดิม อาจต่อต้านการเปลี่ยนแปลงแนวทางชีวิตใหม่ๆ ความคิดใหม่ๆ ที่ขดั แย้งกับ ความคิดเดิมของตน ดังนั้น จึงมักมีปัญหาขัดแย้งระหว่างผูส้ ู งอายุกบั ผูเ้ ยาว์อยูเ่ สมอ เราจึงควรเข้าใจ ถึงสภาพทางธรรมชาติของมนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การเปลี่ยนแปลงทางสภาพจิตใจของผูส้ ูงอายุ เพื่อให้เราสามารถปฏิบตั ิตนในการสร้างมนุษยสัมพันธ์กบั บุคคลต่างๆได้ 2.5 อยากให้บุคคลอื่นเคารพนับถือ และยกย่องตน คนเราส่ วนใหญ่ปรารถนาให้ผอู ้ ื่น เคารพนับถือ และยกย่องว่าตนเป็ นคนดี มีน้ าํ ใจโอบอ้อมอารี ต่อผูอ้ ื่น โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผูส้ ู งอายุมกั ปรารถนาให้บุตรหลาน และบุคคลอื่นๆ ในครอบครัวเคารพยกย่องนับถือตน และคิดว่าตนยังมี ประโยชน์ต่อครอบครัว ดังนั้นในฐานะที่เราเป็ นผูเ้ ยาว์ ควรให้ความเคารพนับถือและยกย่องท่าน รับฟังความคิดเห็นของท่าน และขอคําปรึ กษาในเรื่ องที่เหมาะสม ตามสมควร ก็จะช่วยส่ งเสริ ม ความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างเรากับผูส้ ูงอายุและช่วยป้ องกันปัญหาขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นในครอบครัวได้ 2.6 ชอบเห็นการรับผิดเมื่อกระทําผิด ผูท้ ี่กระทําผิดแล้วยอมรับผิดนั้น เป็ นบุคคลที่ควร ให้อภัย น่าสรรเสริ ญ เพราะการยอมรับผิดนั้น มิได้ทาํ ให้ตนต้องเสี ยเกียรติ หรื อแสดงถึงความ บกพร่ อง และความอับอาย แต่เป็ นการแสดงถึงความมีน้ าํ ใจเป็ นนักกีฬา เป็ นบุคคลที่น่าเคารพนับ ถือของคนทัว่ ไป 2.7 ต้องการให้เป็ นกันเองกับทุกคน การปฏิบตั ิตนเป็ นกันเองกับผูอ้ ื่น ไม่วางตัวข่มเหง ผูอ้ ื่น จะช่วยสร้างมนุษยสัมพันธฺ กบั ผูอ้ ื่นได้ง่าย กล่าวคือ บุคคลที่วางตัวได้เหมาะสมกับฐานะของ ตนโดยไม่ถือตัว ไม่แบ่งพรรคแบ่งพวก หรื อฐานะทางเศรษฐกิจ จะสามารถเข้ากับผูอ้ ื่นได้ง่าย ปเน ที่รักใคร่ ของคนทัว่ ไป และสร้างความประทับใจให้ผอู ้ ื่น อย่างไรก็ตาม การปฏิบตั ิตนเป็ นกันเองกับ ผูอ้ ื่นนั้น ควรเหมาะสมกับระดับของบุคคล และกาลเทศะ เช่น การปฏิบตั ิตนเป็ นกันเองกับเพื่อนๆ ครู ผูส้ ู งอายุ เป็ นต้น 2.8 ชอบให้ผอู ้ ื่นพูดในเรื่ องที่ตนสนใจ คนเราย่อมมีความแตกต่างกันในด้านความคิด การศึกษา การอบรม ฐานะตลอดจนความเป็ นอยู่ จึงทําให้ความพอใจ และความสนใจของคนเรา


- 130 -

2.9 ชอบให้ผอู ้ ื่นฟังเมื่อตนพูด การพูดคุย หรื อการแสดงความคิดเห็นร่ วมกันนั้น ควร เปิ ดโอกาสให้ผอู ้ ื่นพูด หรื อแสดงความคิดเห็นบ้าง โดยตนเป็ นผูส้ นใจฟัง ควรตั้งคําถามในเรื่ องที่ เขากําลังพูดจะช่วยส่ งเสริ มให้ผพู ้ ดู เกิดความพอใจ เพราะมีผอู ้ ื่นสนใจฟังขณะที่ตนพูด 3. การผูกมิตร หลักเบื้องต้นในการผูกมิตรเพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อกันให้ยงั่ ยืนมีดงั นี้ 3.1 ความจริ งใจต่อกัน นับเป็ นเรื่ องสําคัญอันดับแรกในการผูกมิตร เนื่องจากความ จริ งใจต่อกันช่วยสร้างความไว้วางใจซึ่งกัน และกัน ซึ่งจะนําไปสู่การปฏิบตั ิตนอย่างเป็ นกันเอง เปิ ดเผย และไม่ระแวงกัน เมื่อมีปัญหาเกิดขึ้นก็สามารถปรึ กษากันได้ ช่วยเสริ มสร้างความสัมพันธ์ ให้แน่นแฟ้ นยิง่ ขึ้น 3.2 การช่วยเหลือกัน คนเราเมื่ออยูร่ ่ วมกันในสังคม จําเป็ นต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน บางครั้งเคนเราไม่สามารถทํางานบางอย่างให้สาํ เร็ จลุล่วงได้โดยลําพัง ดังนั้นเราจึงควรช่วยเหลือกัน การช่วยเหลือกันช่วยทําให้คนเราได้มีโอกาสใหล้ชิดสนิทสนมกัน และสร้างความ สัมพันธ์อนั ดีต่อ กัน ซึ่งมีความสําคัญยิง่ ในการผูกมิตรกับผูอ้ ื่น 3.3 ความมีน้ าํ ใจต่อกัน เป็ นการแสดงให้เห็นถึงความมีจิตเมตตากรุ ณา การไม่เห็นแก่ ประโยชน์ส่วนตัว รู ้จกั เอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่ต่อผูอ้ ื่น และการร่ วมทุกข์ร่วมสุขกับเพื่อน นับเป็ นการแสดง ความมีน้ าํ ใจที่ดีต่อเพื่อน ซึ่งเราควรปฏิบตั ิเพื่อสร้างความสัมพันธ์อนั ดีต่อกันสื บไป 3.4 การให้เกียรติซ่ ึงกันและกัน ในการผูกมิตรเราควรให้เกียรติแก่เพื่อนตามสมควร ไม่ ควรลบหลู่ ดูถูกกัน ไม่ควรเปิ ดเผยความลับของเพื่อนให้ผอู ้ ื่นทราบ ไม่ควรล้อเลียนให้เพื่อนอับอาย หรื อแสดงความเป็ นกันเองมากเกินไปจนขาดความ เกรงใจ ซึ่งทําให้เพื่อนเบื่อหน่าย ดังนั้น การให้ เกียรติซ่ ึงกัน และกันช่วยให้เรารู ้จกั ปฏิบตั ิตนตามฐานะเพื่อนได้ อย่างเหมาะสม ลักษณะต่างๆ ของคนเราโดยทัว่ ไปดังที่กล่าวมาข้างต้น เป็ นเรื่ องที่ควรคํานึงถึงในการ สร้างมนุษยสัมพันธ์กบั ผูอ้ ื่น หรื อการคบมิตร นอกจากนี้ การนําหลักมนุษยสัมพันธ์ของ แอนดรู คาร์เนกี้ ที่วา่ "ให้สิ่งที่เขาต้องการแล้ว ท่านจะได้ส่ิ งที่ท่านต้องการ" จึงเห็นว่าในการสร้างมนุษย สัมพันธ์น้ นั เราควรรู ้จกั ประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับชีวิตจริ ง จะช่วยสร้างมนุษย์สมั พันธ์กบั ผูอ้ ื่นได้ ดียง่ิ ขึ้น ----------------------------------------------


- 131 แบบฝึ กหัด 1. หลักในการสร้างมนุษยสัมพันธ์กบั เพื่อนในชั้นเรี ยน นักศึกษาควรคํานึงถึงหลักอย่างไร ……………………………………………………………………………………….. 2. จงอธิบายความหมายของมนุษยสัมพันธ์ พร้อมแสดงลักษณะพฤติกรรมของการแสดง ลักษณะพฤติกรรมของการแสดงมนุษยสัมพันธ์ประกอบ ……………………………………………………………………………………….. 3. ถ้านักศึกษาต้องปฏิบตั ิงานร่ วมกับกลุ่มคนที่ไม่รู้จกั มาก่อน นักศึกษาจะมีวิธีปฏิบตั ิตน อย่างไรที่จะอยูร่ ่ วมกับคนเหล่านั้นอย่างมีความสุ ขและเหมาะสม ……………………………………………………………………………………….

บรรณานุกรม กระทรวงยุติธรรม. “เทคนิคการสร้างนิสยั 7 ประการเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กบั องค์กร.” [ ออนไลน์] สื บค้นจาก http://www.moj.go.th (14 ต.ค. 2552) “มนุษยสัมพันธ์” [ออนไลน์] สื บค้นจาก http://www.novabizz.com/ (30 ตุลาคม 2552) ยงยุทธ พีรพงศ์พิพฒั น์.2547. การบริหารเวลาอย่ างมีประสิ ทธิภาพ. นนทบุรี : ดีโฟคอนซัลแทนท์. ยุดา รักไทย และ ปานจิตต์ โกญจนาวรรณ. 2550. คู่มือวิธีเรียนให้ เก่งอย่ างมีประสิ ทธิภาพ. กรุ งเทพฯ : บิสคิต. Raffoni, Melossa. แปลโดย สุ รีพร พึ่งพุทธคุณ. 2551. ทักษะการบริหารเวลา. พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุ งเทพฯ: เอ็กเปอร์เน็ท. ราชบัณฑิตยสถาน. 2546. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุ งเทพฯ : นานมี บุคส์พบั ลิเคชัน่ ส์. วิจิตร อาวะกุล. 2542. เทคนิคมนุษย์ สัมพันธ์ . พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุ งเทพฯ : O.S. Printing House. วิทยาธร ท่อแก้ว. (2552) การบริหารเวลา. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช. http://www.stou.ac.th/thai/Schools/Sca/document สมพร สุ ทศั น์, ม.ร.ว. 2551. มนุษยสั มพันธ์ . พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุ งเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาล สุ รินทร์ รณเกียรติ. 2552. จิตวิทยาการสร้ างความสําเร็จ. [ออนไลน์] สื บค้นจาก http://www.hrd.kmutnb.ac.th/form/train2.doc ( 5 พฤศจิกายน 2552) 7


บทที่ 5 การเขียนรายงานการประชุม สาระสํ าคัญมีดังนี้ :5.1 ความหมายและความสําคัญ 5.2 ประเภทของการประชุม 5.3 การพิจารณาจัดการประชุม 5.4 แนวทางการจดรายงานการประชุม

5.1 ความหมายและความสํ าคัญ การประชุม หมายถึง การที่บุคคลที่มารวมกันเพื่อพูดคุยแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกันอย่าง เป็ นระบบระเบียบและมีจุดมุ่งหมาย การประชุมเป็ นเครื่ องมือสําคัญ ในการบริ หารและดําเนินการ การประชุมจึงเป็ นกลไก ที่ สําคัญของหน่วยงานทุกระดับ เป็ นการทํางานทางความคิด เป็ นจุดรวมของความคิด การตัดสิ นใจ นโยบาย การศึกษาค้นคว้าวิจยั การแก้ไขปั ญหาและเกิดความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ การประชุมมีประโยชน์ ดังนี้ 1. ช่วยให้เกิดการทํางานทางความคิดร่ วมกัน 2. ช่วยให้เกิดความรอบคอบในการตัดสิ นใจ 3. ช่วยในการกระจายข่าวสาร 4. ช่วยในการประสานงาน ประสานความคิดและสร้างความเข้าใจ 5. ช่วยให้แต่ละคนมีส่วนร่ วมในการทํางาน 6. ช่วยให้แต่ละคนมีส่วนร่ วมในการทํางาน 7. ช่วยให้เกิดแนวทางใหม่ วิธีการหรื อกระบวนการใหม่ ๆ จากการเสนอความเห็น ในการประชุม การประชุมต่างๆ หรื อการหารื อเพื่อทํางานนั้น การทํางานของกลุ่มจะมีบทบาทที่สาํ คัญอีก รู ปแบบหนึ่งคือ การประชุม หรื อการประชุมกลุ่ม การประชุมนั้นอาจจะเป็ นไปในลักษณะของการ วางแผนนโยบายการบริ หารงาน การวิเคราะห์ หรื อการแสดงความคิดเห็นร่ วมกันของผูบ้ ริ หาร หรื อ แม้แต่การประชุมพิจารณากิจการต่างๆ ในการประชุมกลุ่มนั้น สมาชิกกลุ่มก็มีบทบาทต่างๆ กันใน การประชุมกลุ่มนั้น สมาชิกกลุ่มก็มีบทบาทต่างๆ กัน อาจกล่าวได้ดงั นี้


- 134 1. ผู้ริเริ่ม(Initiator) ได้แก่ ผูช้ ่วยนําการสนทนาและดูแลจัดกิจการของกลุ่มให้เป็ นไปด้วยดี พร้อมทั้งช่วยเหลือสมาชิกของกลุ่ม ให้เข้าร่ วมกิจกรรมของกลุ่มโดยทัว่ กัน เสนอแนะความคิดใหม่ และตั้งคําถาม 2. ผู้ชี้แจง(Cleanlier)ได้แก่ ผูไ้ ต่ถามเพื่อหาข้อเท็จจริ งหรื อชอบถามถึงข้อความหรื อคําพูด ที่มีความหมายคลุมเครื อ 3. ผู้สรุ ปผล (Summarizer) ได้แก่ ผูช้ ่วยรายงานให้กลุ่มได้รู้ถึงความก้าวหน้าของกลุ่ม ช่วย ชี้แจงให้กลุ่มเห็นว่า กลุ่มได้ทาํ งานถึงไหน ในเรื่ องที่ประชุมกันอยู่ ช่วยชี้แจงให้กลุ่มเห็นความ คิดเห็นที่เหมือนกัน และความคิดเห็นที่ขดั กัน 4. ผู้ปราณีประนอม (Compromiser) ได้แก่ ผูท้ ี่ช่วยผ่อนคลายความขัดแย้งภายในกลุ่มให้ เบาลง และช่วยผ่อนคลายความตึงเครี ยดในกลุ่ม 5. ผู้ประเมินผล (Evaluator) ได้แก่ ผูร้ ายงานให้กลุ่มรู ้เป็ นระยะๆ ถึงคุณภาพของผลงาน ของกลุ่ม พร้อทั้งชี้ให้กลุ่มเห็นจุดอ่อนของกลุ่ม 6. ผู้เสนอแนะ(Informer) ได้แก่ ผูใ้ ห้ความคิดเห็นและความรู ้ของตน และพร้อมกับแสดง ความรู ้สึกของตนต่อผูอ้ ื่น 7. ผู้ขัดคอ (Blocker) ได้แก่ ผูแ้ สดงความไม่เห็นด้วยอย่างเป็ นเหตุผล ขัดแย้งกลุ่มเพื่อ ผลประโยชน์ส่วนตัว 8. ผู้ข่มขู่ (Dominator) ได้แก่ ผูแ้ สดงความไม่เห็นด้สยอยางเกินเหตุผล ขัดแย้งกลุ่มเพื่อ ผลประโยชน์ส่วนตัวการประชุม มักพูดสอดคนอื่นอยูเ่ สมอ ยังคัยกลุ่มให้ทาํ อย่างใดอย่างหนึ่งด้วย วิธีการต่างๆ เช่น พูดประจบ พูดขู่ พูดชักชวน เป็ นต้น 9. ผู้ก่อกวน (playboy) ได้แก่ ผูแ้ สดงความไม่สนใจในการรวมกลุ่ม พยายามเรี ยกร้องความ สนใจจากผูอ้ ื่น ด้วยเรื่ องที่ไม่เกี่ยวกับงานกลุ่มหรื อแสดงกิริยาอาการที่หนั เหความสนใจของกลุ่ม 10. ผู้เฉยเมย (The Apathetic) ได้แก่ผไู ้ ม่เข้าร่ วมกิจกรรมของกลุ่ม แต่ไม่ชดั ขวางการ ทํางานของกลุ่มไม่ไห้ความเห็นใดๆ แก่กลุ่มไม่แสดงความกระตือรื อร้นในการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม

พฤติกรรมการประชุมกลุ่ม 1. ความสมัครใจเข้าร่ วมประชุม ผูเ้ ข้าร่ วมประชุมควรมีความสมัครใจที่จะเสี ยสละเวลา ร่ วมวิเคราะห์และเห็นข้อคิดเห็นในการประชุม เพื่อผลประโยชน์ของส่วนรวมอย่างจริ งใจ 2. การรู ้สึกว่าตนเป็ นสมาชิกของกลุ่ม สมาชิกทุกคนที่เข้าประชุมต้องยอมรับว่าตนเป็ น สมาชิกของกลุ่ม ให้ความร่ วมมือในการประชุม และรู ้บทบาทหน้าที่ของตนต่อกลุ่ม 3. รู ้วิธีดาํ เนินการกับกลุ่ม ในการดําเนินการให้กลุ่มไปสู่ จุดมุ่งหมายปลายทาง อาจทําได้ ดังวิธีต่อไปนี้


- 135 3.1 ยึดวัตถุประสงค์ ในการอภิปรายต้องพยามให้กลุ่มบรรลุวตั ถุประสงค์ อาจทําได้ 2 ทาง คือช่วยกระตุน้ ให้ผอู ้ ื่นร่ วมอภิปราย และขัดขวางการใช้คาํ พูด หรื อวิธีการที่ทาํ ให้สมาชิกอื่น ไม่กล้าอภิปรายร่ วม 3.2 สนับสนุนเป็ นกันเอง ไห้ความอบอุ่นและเป็ นกันเองกับสมาชิกกลุ่ม ด้วยการแสดง ความเข้าใจ สนองตอบความคิดเห็นของผูอ้ ื่น เพื่อสร้างความเชื่อมัน่ ในตนเองให้กบั สมาชิก 3.3 อะลุม้ อล่วย เมื่อเกิดมีความคิดเห็นขัดแย้งกันในกลุ่ม ต้องเกลี้ยกล่อมและหาความ คิดเห็นเป็ นกลางที่จะร่ วมกันได้ 3.4 กําหนดเกณฑ์ของกลุ่ม กลุ่มต้องมีเกณฑ์ ที่เปิ ดเผยชัดเจนและเป็ นที่พอใจของ สมาชิกทุกคนในกลุ่มที่ทุกคนต้องยึดไว้ในฐานที่เข้าใจ 4. รู ้จกั ควบคุมอารมณ์อย่าให้อารมณ์เป็ นสิ่ งที่มาขัดขวางการทํางานาของกลุ่ม ต้องควบคุม อารมณ์เสี ย อย่าให้เกิดผลต่อการประชุมกลุ่มได้ การประชุมนั้นต้องปฏิบตั ิตามข้อเสนอที่กล่าวมานี้ การประชุมกลุ่มก็จะสามารถดําเนินไปได้ดว้ ยดีและกลุ่มก็จะสามารถบรรลุวตั ถุที่ต้ งั ไว้ได้

ศัพท์ ทเี่ กีย่ วข้ องกับการประชุม ควรที่จะเข้าใจความหมายเพือ่ ประโยชน์การทํางานรายงานการประชุม 1. องค์ ประชุ ม (Quorum) คือ จํานวนสมาชิกที่เข้าประชุม ทําให้การประชุมนั้นมีผลบังคับได้ 2. ญัตติ (Motion) คือ ข้อเสนอที่สมาชิกเสนอต่อที่ประชุมเพื่อพิจารณา โดยเสนอล่วงหน้า ก่อนการประชุม เป็ นลายลักษณ์อกั ษร มีสมาชิกรับรอง หรื อเสนอเป็ นวาจาขณะมีการประชุมก็ได้ 3. ระเบียบวาระการประชุ ม (Agenda) คือ ลําดับเรื่ องที่จะพิจารณาในที่ประชุม 4. ทีป่ ระชุ ม (Assembly) คือ กลุ่มบุคคลกลุ่มหนึ่งมาชุมนุมเพื่อปรึ กษาหารื อพิจารณาเรื่ อง ต่าง ๆ 5. การแปรญัตติ (Amendment) คือ การเสนอขอเปลี่ยนแปลงญัตติดว้ ยการเพิม่ ตัดออก เสนอซ้อน ซึ่งข้อความในญัตติที่กาํ ลังประชุมเพื่อพิจารณาให้เหมาะสมก่อนลงมติ 6. เสี ยงข้ างน้ อย (Minority vote) คือ จํานวนสมาชิกน้อยกว่าครึ่ งหนึ่งของเสี ยงที่ออก 7. เสี ยงข้ างมาก (Majority vote) คือ จํานวนสมาชิกเกินครึ่ งหนึ่งของเสี ยงที่ออก 8. การอภิปราย (Debate) คือ การกล่าวค้านหรื อสนับสนุนญัตติที่เสนอแล้วต่อที่ประชุม ผูท้ ี่จะอภิปรายต้องได้รับอนุญาตจากประธานเสี ยก่อน เมื่อไม่มีผใู ้ ดอภิปรายต่อไปในเรื่ องนั้นก็ปิด อภิปราย ประธานเสนอให้ที่ประชุมลงมติในเรื่ องนั้น 9. การถอนคืนญัตติ (With drawing Motion) คือ ญัตติที่เสนอไปแล้ว อาจถอนคืนได้ โดยมีสมาชิกรับรองและสมาชิกอื่นยินยอม 10. การชี้ตัว (Recognition) คือ การที่ประธานชี้ตวั อนุญาตให้สมาชิกคนใดคนหนึ่งลุกขึ้น อภิปราย


- 136 11. การเสนอชื่อ (Nomination) คือ การเสนอชื่อของบุคคลใดบุคคลหนึ่งต่อที่ประชุม ให้รับบุคคลนั้นดํารงตําแหน่งใดตําแหน่งหนึ่ง ผูเ้ สนอชื่ออ้างเหตุผลสนับสนุน เสนอชื่อและ คุณสมบัติความสามารถ ผูท้ ี่ตนเสนอชื่อด้วย 12. การพักประชุ ม (Recess) คือ การพักระหว่างประชุมใช้เวลาไม่นาน และไม่ทาํ ให้ การประชุมสิ้ นสุ ดลง 13. มติ (Resolution) คือ ข้อตกลงโดยลงคะแนนอกเสี ยงรับรองหรื อปฏิเสธญัตติต่าง ๆ วิธีการลงคะแนนทําแบบเปิ ดเผย หรื อ ลับ แล้วแต่มติที่ประชุม 14. การปิ ดประชุ ม (Adjournment) คือ การปิ ดการประชุมครั้งหนึ่ง ๆ หรื อเลื่อนการ ประชุมที่เรี ยกว่า การประชุมสื บเนื่อง องค์ ประกอบของการประชุ ม ประธาน -ผูท้ าํ หน้าที่เป็ นผูน้ าํ ในการประชุม เพื่อให้การประชุมดําเนินไปจน บรรลุเป้ าหมาย อย่างมีประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล รองประธาน -ทําหน้าที่แทนประธานเมื่อประธานไม่อยูห่ รื อไม่สามารถปฏิบตั ิหน้าที่ กรรมการ -ผูท้ ี่มีหน้าที่เข้าประชุมเพื่อแสดงความคิดเห็นที่เป็ นประโยชน์และออกเสี ยงลงมติ กรรมการและ เลขานุการ - ผูท้ าํ หน้าที่จดบันทึกการประชุมและจัดเตรี ยมการประชุม ก่ อนการประชุม ประธาน - กําหนดจุดมุ่งหมายของการประชุม กําหนดระเบียบวาระการประชุม วัน เวลาและ สถานที่ มอบหมายให้เลขานุการจัดทํา หนังสื อเชิญประชุมล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน - เตรี ยมเนื้อหาสาระที่เกี่ยวข้องกับการประชุม กรรมการ - อ่านจดหมายเชิญประชุม หลักและแนวปฏิบตั ิตามขั้นตอนการประชุม ควรเตรี ยมข้อคิดเห็นที่เป็ นประโยชน์ หาก ไม่สามารถเข้าประชุมได้ควรแจ้งให้เลขานุการทราบล่วงหน้า เลขานุการ - ส่ งจดหมายเชิญประชุมและจัดทําระเบียบวาระการประชุม - จัดทํารายงานการประชุมครั้งที่แล้ว (ถ้ามี) - เตรี ยมสถานที่ อุปกรณ์และเอกสารที่เกี่ยวข้อง - เตรี ยมข้อคิดเห็นที่เป็ นประโยชน์ ขณะประชุ ม ประธาน - กล่าวเปิ ดการประชุมและดําเนินการประชุมตามระเบียบวาระ - คอยควบคุมดูแลการประชุมให้เป็ นไปตามระเบียบ - กล่าวขอบคุณและกล่าวปิ ดการประชุม


- 137 กรรมการ

- เข้าประชุมให้ตรงเวลา - แสดงความคิดเห็นในเรื่ องที่เกี่ยวกับการประชุม เลขานุการ - อ่านรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว (ถ้ามี) เสนอให้ที่ประชุมรับรอง - อ่านระเบียบวาระการประชุมว่า จะประชุมเรื่ องใด - แสดงความคิดเห็นต่าง ๆ ทีเกี่ยวกับการประชุมในฐานะกรรมการ - จดบันทึกการประชุม หลังการประชุ ม ประธาน - ติดตามผลการปฏิบตั ิงานให้เป็ นไปตามมติของที่ประชุม โดยอาจ มอบหมายให้เลขานุการเป็ นผูต้ ิดตาม กรรมการ - ปฏิบตั ิหน้าที่ตามทมี่ได้รับมอบหมายจากที่ประชุม เลขานุการ - จัดทํารายงานการประชุม - ส่ งเอกสารแจ้งให้กรรมการทราบมติของที่ประชุม - ช่วยประธานติดตามผลการปฏิบตั ิงานให้เป็ นไปตามมติของที่ประชุม

5.2 การพิจารณาจัดประชุม การพิจารณาจัดประชุ ม การประชุมเป็ นการทํางานอย่างหนึ่ง เป็ นเครื่ องมือสําคัญในการทํางาน ในการบริ หารแต่ การจัดประชุม เป็ นเรื่ องที่ตอ้ งพิจารณาไตร่ ตรอง เนื่องจากการจัดการประชุมแต่ละครั้งมีค่าใช้จ่าย นับเป็ นการลงทุนที่สูง เพราะนําเอาคนมาใช้เวลาร่ วมกัน หากได้ผลไม่คุม้ จะเป็ นความสูญเสี ยโดย ใช่เหตุ บางครั้ง หากไม่มีการประชุม ธุรกิจก็สามารถดําเนินไปได้ แต่ถา้ มีการประชุม ธุรกิจอาจจะ ดําเนินไปได้ดีข้ ึน เมื่อใดควรเรียกประชุ ม เมื่อไม่สามารถวิเคราะห์สาเหตุ สภาพและขอบเขตของปัญหาหรื อไม่สามารถแก้ปัญหาได้ โดยลําพัง อาจด้วยสาเหตุดงั กล่าวต่อไปนี้ - เมื่อมีเหตุการณ์ที่ตอ้ งตัดสิ นใจโดยกลุ่ม - เมื่อต้องการการสนับสนุน หรื อต้องการความร่ วมมือจากหลายฝ่ าย - เมื่อต้องการหารื อเพื่อกําหนดเป้ าหมายร่ วมกัน - เมื่อต้องการชี้แจงและให้ขอ้ แนะนําการปฏิบตั ิที่เป็ นมาตรฐานเดียวกัน - เมื่อต้องการการประนีประนอมข้อพิพาทหรื อความขัดแย้ง - เมื่อต้องการให้เห็นความสําคัญของผูท้ ี่ได้รับเชิญมาเข้าประชุม - เมื่อต้องการชี้แจงนโยบายหรื อให้เหตุผลในการตัดสิ นใจ


- 138 - เมื่อต้องการทบทวนสิ่ งที่มีมติไปแล้ว - เมื่อต้องการจัดการฝึ กอบรมหรื อจัดกิจกรรมใด ๆ เมื่อใดไม่ ควรเรียกประชุ ม - เมื่อเรื่ องนั้นสามารถตัดสิ นใจได้โดยลําพัง - เมื่อผูเ้ กี่ยวข้องไม่สามารถเข้าประชุมได้ - เมื่อขาดข้อมูล ข้อเท็จจริ งที่สาํ คัญที่จะต้องใช้ในการพิจารณา - เมื่อไม่สามารถเตรี ยมการประชุมให้พร้อมมูล - เมื่อขาดผูเ้ หมาะสมหรื อผูเ้ ชี่ยวชาญหากจําเป็ นต้องใช้ - เมื่อมีแนวโน้มที่จะเกิดความยุง่ ยากหรื อความขัดแย้งรุ นแรงจากผูเ้ ข้าประชุม จะต้อง เลื่อนการประชุมไปก่อน - เมื่อประเมินได้วา่ ผลของการประชุมจะไม่คุม้ กับค่าใช้จ่าย - เมื่อมีวิธีการอื่นที่ให้ผลเท่ากันหรื อดีกว่าการประชุม - เมื่อสถานการณ์ภายนอกไม่เอื้อต่อการจัดการประชุม การตัดสิ นใจเลือกผู้เข้ าประชุ ม - เป็ นผูซ้ ่ ึงจะให้ประโยชน์แก่ที่ประชุมในด้านความคิดเห็นที่สาํ คัญตามวัตถุประสงค์ของ การประชุม - เป็ นผูม้ ีขอ้ มูลและรอบรู ้ในสิ่ งที่จะเป็ นประโยชน์ต่อการประชุม - เป็ นผูท้ ี่มีส่วนได้เสี ยเกี่ยวข้องกับเรื่ องที่ประชุม - เป็ นผูอ้ ยูใ่ นฐานะต้องให้การรับรองมติหรื อผลของการประชุม - เป็ นผูท้ ี่ตอ้ งมีส่วนรับผิดชอบในเรื่ องที่ประชุม - เป็ นผูม้ ีอาํ นาจตัดสิ นใจหรื ออนุมตั ิให้มีการดําเนินการได้ตามมติของที่ประชุม - เป็ นผูท้ ี่จาํ เป็ นต้องรู ้สาระที่นาํ เสนอในที่ประชุม จํานวนผู้เข้ าประชุ มทีเ่ หมาะสม - การประชุมเพื่อการตัดสิ นใจควรมีจาํ นวนประมาณ 5 คน - การประชุมเพื่อการแก้ปัญหา ควรมีจาํ นวนประมาณ 7 คน - การประชุมคณะกรรมการเฉพาะกิจ ควรมีจาํ นวนประมาณ 7 คน - การประชุมเพื่อการบริ หาร ควรมีจาํ นวนประมาณ 10 - 15 คน - การประชุมเพื่อฝึ กอบรม ควรมีจาํ นวนประมาณ 20 - 25 คน - การประชุมชี้แจง ควรมีจาํ นวนประมาณไม่เกิน 30 คน - การประชุมเพื่อแจ้งข่าวสารต่าง ๆ มีจาํ นวนเท่าใดก็ได้ตามจํานวนของผูท้ ี่จาํ เป็ นต้องรู ้ ข่าวสารนั้น


- 139 -

5.3 การเขียนรายงานการประชุม รายงานการประชุม คือ ข้อความบันทึกความคิดเห็นของผูม้ าประชุม ผูเ้ ข้าร่ วมประชุม โดยระบุมติของที่ประชุม เพื่อเก็บไว้เป็ นหลักฐานอ้างอิง เพื่อยืนยันการปฏิบตั ิงาน เพื่อแสดง กิจการที่ดาํ เนินการมาแล้วและเพื่อแจ้งผลการประชุมให้บุคคลที่เกี่ยวข้องได้ทราบและปฏิบตั ิ ต่อไป ตัวอย่าง รู ปแบบของรายงานการประชุม รายงานการประชุ ม.......................................................... ครั้งที.่ ........................ เมื่อ.......................................... ณ............................................................ --------------------------------ผู้มาประชุ ม ............................................................................................................................................... ผู้ไม่ มาประชุม (ถ้ามี) ............................................................................................................................................... ผู้เข้ าร่ วมประชุ ม ............................................................................................................................................... เริ่มประชุ มเวลา (ข้อความ)....................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... เลิกประชุมเวลา.............................................

..................................... ผูจ้ ดรายงานการประชุม


- 140 ส่ วนประกอบของรายงานการประชุ ม 1. รายงานการประชุมของใคร ให้ลงชื่อคณะที่ประชุมหรื อชื่อการประชุมนั้น 2. ครั้งที่ ให้ลงครั้งที่ประชุมว่า เป็ นการประชุมครั้งที่เท่าใดของปี นั้น เรี ยงลําดับไปตามปี ปฏิทินและทับ ( / ) ด้วยปี พุทธศักราช เมื่อขึ้นปี ใหม่ให้เริ่ มต้นนับ 1 ใหม่ 3. วัน เดือน ปี ให้ลงวันเดือนปี ที่ประชุม อาจขึ้นต้นด้วยคําว่า เมื่อ 4. สถานที่ประชุม ให้ระบุสถานที่ที่ใช้ดาํ เนินการประชุม 5. ผูม้ าประชุม ให้ลงชื่อหรื อตําแหน่งของผูท้ ี่ได้รับแต่งตั้งเป็ นคณะที่ประชุมและได้มา ประชุม หากมีผมู ้ าประชุมแทน ให้ลงชื่อผูม้ าประชุมแทนพร้อมทั้งระบุวา่ แทนผูใ้ ดหรื อตําแหน่งใด 6. ผูไ้ ม่มาประชุม ให้ลงชื่อหรื อตําแหน่งของผูท้ ี่ได้รับแต่งตั้งเป็ นคณะที่ประชุมซึ่งไม่ได้มา ประชุมพร้อมทั้งระบุเหตุผล (ถ้ามี) ทั้งนี้ การระบุเหตุผลนิยมใช้วา่ ลาป่ วย ลากิจหรื อติดราชการ 7. ผูเ้ ข้าร่ วมประชุม ให้ลงชื่อและตําแหน่งของผูท้ ี่ไม่ได้รับการแต่งตั้งเป็ นคณะที่ประชุม แต่ ได้เข้าร่ วมประชุม 8. เริ่ มประชุมเวลา ให้ลงเวลาที่เริ่ มประชุมตามเวลาจริ ง ไม่ใช่เวลานัดประชุมเพราะการ ประชุมอาจล่าช้ากว่ากําหนด 9. ข้อความ การจดรายงานการประชุมมี 3 วิธี คือ 9.1 จดละเอียดทุกคําพูดพร้อมทั้งมติ 9.2. จดย่อคําพูดที่เป็ นประเด็นสําคัญพร้อมทั้งมติ 9.3 จดเฉพาะเหตุผลและมติของที่ประชุม ระเบียบงานสารบรรณ สํ านักนายกรัฐมนตรี แบ่ งระเบียบวาระการประชุ มเป็ น 5 วาระดังนี้ 1. เรื่ องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ 2. การรับรองรายงานการประชุม 3. เรื่ องที่เสนอให้ที่ประชุมทราบ 4. เรื่ องที่เสนอให้ที่ประชุมพิจารณา 5. เรื่ องอื่น ๆ (ถ้ามี) นอกจากนี้ นิยมระบุขอ้ ความเกริ่ นนําไว้ในตอนต้นและระบุกาํ หนดการประชุมครั้งต่อไป ในช่วงท้าย 10. เลิกประชุมเวลา ให้ลงเวลาเลิกประชุมตามเวลาจริ ง 11. ผูจ้ ดรายงานการประชุม ให้ลงชื่อผูจ้ ดรายงานการประชุม


- 141 -

5.4 แนวทางการจดรายงานการประชุม การจดรายงานการประชุม มีจุดมุ่งหมาย ดังนี้ 1. เพื่อเก็บไว้เป็ นหลักฐานอ้างอิง โดยจดบันทึกเป็ นหลักฐานไว้และเก็บเข้าแฟ้ มไว้ เมื่อใด ต้องการจะตรวจดูวา่ ที่ประชุมได้พิจารณาเรื่ องใด มีมติวา่ อย่างไร ก็สามารถค้นหา ตรวจดูได้ 2. เพื่อยืนยันการปฏิบตั ิงาน โดยจดบันทึกไว้วา่ มีการอภิปรายกันในที่ประชุมอย่างไรคณะกรรมการได้ทาํ อะไรบ้าง ในเรื่ องใด ไว้อย่างไร เพื่อยืนยังการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการ ยืนยัน ข้อเท็จจริ งและเหตุผลในการพิจารณาในที่ประชุม และเพื่อยืนยันว่าผูใ้ ดจะต้องปฏิบตั ิตามมติต่อไป 3. เพื่อแสดงกิจการที่ดาํ เนินมาแล้ว โดยจดบันทึกไว้วา่ ได้ทาํ อะไรกันมาแล้วบ้าง ตามที่มี การรายงานให้ทราบในที่ประชุม 4. เพื่อแจ้งผลการประชุมให้บุคคลที่เกี่ยวข้องทราบและปฏิบตั ิต่อไป โดยจดบันทึกการ พิจารณาและมติของที่ประชุมไว้เป็ นหลักฐาน ให้ผทู ้ ี่เกี่ยวข้องได้ทราบและปฏิบตั ิตามมติที่ประชุม สาระสํ าคัญของการจดรายงานการประชุม มีดังนี้ ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องทีป่ ระธานแจ้ งให้ ทปี่ ระชุ มทราบ วาระนี้ประธานแจ้งให้ที่ประชุมรับรู ้ โดยไม่ตอ้ งพิจารณาสิ่ งใดเพิ่มเติมในการประชุมหาก เรื่ องที่แจ้งมีหลายเรื่ องให้แยกเป็ นข้อ ๆในกรณี ที่ไม่มีเรื่ องแจ้งให้ระบุวา่ ไม่มีมติของระเบียบวาระนี้ ระเบียบวาระที่ 2 การรับรองรายงานการประชุ ม หากไม่มีการแก้ไขรายงานการประชุม จะระบุขอ้ ความ รับรองรายงานการประชุมครั้งที่... เท่าใด ทับด้วยปี พุทธศักราช หากมีการแก้ไขรายงานการประชุมจะจดบันทึกเป็ น 2 ส่ วน คือ ส่ วน แก้ไขและส่ วนรับรอง การแก้ไขข้อความควรระบุให้ชดั เจนว่า แก้ไขข้อความในระเบียบวาระใด หน้าใดหรื อข้อใด และเป็ นการแก้ไขเปลี่ยนแปลงจากข้อความเดิมเป็ นข้อความใด มีการเพิ่มหรื อตัด ข้อความใด ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องทีเ่ สนอให้ ทปี่ ระชุ มทราบ ระเบียบวาระนี้ หลายหน่วยงานนิยมใช้ชื่อว่า เรื่ องสื บเนื่อง เป็ นการบันทึกเรื่ องที่พิจารณา ไปแล้วและยังอยูใ่ นระหว่างดําเนินการ ระเบียบวาระที่ 4 เรื่ องที่เสนอให้ที่ประชุมพิจารณา วาระนี้เป็ นการบันทึกเรื่ องที่นาํ เข้าพิจารณาในการประชุม หากมีหลายเรื่ องจะแยกบันทึก เป็ นเรื่ อง ๆ ระบุความคิดเห็นประเด็นสําคัญและมติของที่ประชุม นิยมใช้วา่ ที่ประชุมมีมติเห็นชอบ ด้วย หากมีการมอบหมายหน้าที่ ควรระบุให้ชดั เจน อาจบันทึกมติช่วงนี้วา่ ที่ประชุมรับทราบ ระเบียบวาระที่ 5 วาระนี้เป็ นการบันทึกเรื่ องที่ไม่ได้มีการระบุไว้ในรายงานการประชุมครั้งก่อนและไม่ได้จดั ไว้ ในระเบียบวาระแต่มีผเู ้ สนอขึ้นและไม่ใช่เรื่ องสําคัญสามารถพิจารณาและสรุ ปเป็ นมติที่ประชุมได้


- 142 (ตัวอย่างรายงานการประชุม) รายงานการประชุ ม คณะกรรมการส่ งเสริมเอกลักษณ์ ไทย ครั้งที่ 2/2544 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 8 กุมภาพันธ์ 2552 ณ ห้ องประชุมเอสบีซี ---------------------------ผู้มาประชุ ม 1. นายบุญยิง่ สหการ ประธาน 2. นายบุญมี สวยเสมอ กรรมการ 3. นายบุญนํา สมบูรณ์ดี กรรมการ 4. นางสาวบุญศรี สถาพร กรรมการ 5. นางบุญรัก สมประสงค์ กรรมการ 6. นายบุญประกอบ สมสกุล กรรมการ 7. นางสาวบุญสุ ข สุ ขกมล กรรมการและเลขานุการ ผู้ไม่ มาประชุ ม 1. นายบุญมา สบายใจ (ลากิจ) 2. นางสาวบุญพา สมัครสมร (ลาป่ วย) เริ่มประชุ ม เวลา 10.10 น. เมื่อกรรมการมาครบองค์ประชุมแล้ว ประธานกล่าวเปิ ดการประชุมและเริ่ มดําเนินการ ประชุมตามระเบียบวาระ ดังต่อไปนี้ ระเบียบวาระที่ 1 เรื่ องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบว่า วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก เชิญประธานไปบรรยาย เรื่ องเอกลักษณ์ไทย ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2552 เวลา 14.00 น. ณ หอประชุมวิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก ที่ประชุมรับทราบ ระเบียบวาระที่ 2 การรับรองรายงานการประชุมที่ประชุมพิจารณาแล้วมีมติแก้ไขข้อความ ดังนี้ ระเบียบวาระที่ 3 ข้อ 2 ตัดข้อความ"นายบุญมี สวยเสมอ" ระเบียบวาระที่ 4 ข้อ 3 เพิม่ เติมข้อความ "ทุกวันเสาร์ สัปดาห์สุดท้ายของเดือน" ระเบียบวาระที่ 5 ข้อ 1 จากข้อความ"จํานวน 50 คน" แก้ไขเป็ น"จํานวน 500 คน" ต่อจากนั้น ที่ประชุมมีมติรับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 1/2544


- 143 ระเบียบวาระที่ 3 เรื่ องที่เสนอให้ที่ประชุมทราบ นางสาวบุญศรี สถาพร รายงานต่อที่ประชุมว่า งานแสตมป์ กรุ งสยาม กําลังดําเนินงานตาม โครงการที่ได้รับอนุมตั ิไปแล้ว ขณะนี้กาํ ลังติดต่อวิทยากร และหน่วยงานต่าง ๆ ที่จะมาให้ความรู ้ และจัดแสดงนิทรรศการคาดว่าการติดต่อทั้งหมดจะเรี ยบร้อยภายในเดือนกุมภาพันธ์2544 ที่ประชุม รับทราบ และประธานได้มอบหมายให้ นางสาวบุญศรี สถาพร ไปจัดทําบทสรุ ป การดําเนินงาน ตามโครงการเป็ นเอกสารเพือ่ นําเสนอในการประชุมครั้งต่อไป ระเบียบวาระที่ 4 เรื่ องที่เสนอให้ที่ประชุมพิจารณา 1. การจัดงานสัปดาห์เหรี ยญกษาปณ์ไทย ประธานขอให้กรรมการร่ วมกันแสดงความ คิดเห็น ที่ประชุมได้เปิ ดอภิปรายแสดงความคิดเห็นพอสรุ ปได้วา่ งานสัปดาห์เหรี ยญกษาปณ์ ไทยประกอบด้วยนิทรรศการเกี่ยวกับวิวฒั นากรของเหรี ยญกษาปณ์ไทยและ จัดแสดงเหรี ยญรุ่ น เก่า การอภิปรายหัวข้อ "อนาคตที่รุ่งโรจน์ของเหรี ยญกษาปณ์ไทย" การจัดฉายสไลด์มลั ติวิชนั่ จาก กรมธนารักษ์และการเปิ ดบริ การรับแลกเหรี ยญ ที่ประชุมมีมติเห็นชอบด้วย ประธานได้มอบหมายหน้าที่ ดังนี้ 1.1 นายบุญมี สวยเสมอ รับผิดชอบจัด ป้ ายนิทรรศการ 1.2 นายบุญประกอบ สมสกุล รับผิดชอบ ด้านสถานที่และแสงเสี ยง 1.3 นายบุญนํา สมบูณณ์ดี รับผิดชอบติดต่อประสานงานกับกรมธนารักษ์ 1.4 นางบุญรัก สมประสงค์และนางบุญศรี สถาพร รับผิดชอบ การประชาสัมพันธ์ 1.5 นางสาวบุญสุ ข สุ ขกมล รับผิดชอบ ด้านเอกสารที่ประชุมรับทราบ 2. การจัดการแสดงไปร่ วมงานสงกรานต์ของสมาคมสตรี ไทยประธานขอให้กรรมการร่ วม กันแสดงความคิดเห็น ที่ประชุมแสดงความคิดเห็น พอสรุ ป ได้วา่ ควรจัดการแสดงชุด การละเล่น พื้นบ้าน เช่น รี รีขา้ วสาร มอญซ่อนผ้า เป็ นต้น โดย ติดต่อการแสดงจากสถาบันราชภัฏสวนสุ นนั ทา ที่ประชุมมีมติเห็นชอบด้วย ระเบียบวาระที่ 5 อื่น ๆ 1. นางบุญรัก สมประสงค์เสนอให้แต่งตั้งนายบุญธรรม สวัสดี เจ้าหน้าที่กองส่ งเสริ ม งาน เอกลักษณ์เป็ นผูช้ ่วยเลขานุการของคณะกรรมการส่ งเสริ มเอกลักษณ์ไทยที่ประชุมมีมติเห็นชอบ 2. นายบุญประกอบ สมสกุล เสนอให้จดั เครื่ องดื่ม ประเภท นํ้าชา กาแฟแทนนํ้าอัดลม ระหว่างการ ประชุมที่ประชุมมีมติเห็นชอบด้วย และประธานมอบหมายให้เลขานุการ เป็ นผูจ้ ดั เตรี ยมเครื่ องดื่มประเภท นํ้าชา กาแฟ ตั้งแต่การประชุมครั้งต่อไป การประชุ มครั้งต่ อไป วันศุกร์ที่ 18 มีนาคม 2553 เวลา 10.00 น. ณ ห้องประชุมเอส.บี.ซี. เลิกประชุ ม เวลา 11.50 น. นางสาวบุญสุ ข สุ ขกมล ผูจ้ ดรายงานการประชุม


- 144 -

แบบฝึ กหัด : 1. จงอธิบายความหมายของการประชุมตามความเข้าใจ ………………………………………………………………………………………. 2. จงอธิบายขั้นตอนของการประชุม มาให้ชดั เจนของแต่ละขั้นตอน ………………………………………………………………………………….. 3. การประชุมจะประสบความสําเร็ จหรื อล้มเหลว น่าจะมีปัจจัยใด มาจากเรื่ องใดบ้าง ............................................................................................................................. 4. การประชุมมีความจําเป็ นหรื อมีความสําคัญต่อการบริ หารจัดการขององค์กรหรื อไม่ อย่างไร ...................................................................................................................................

บรรณานุกรม “เทคนิคการประชุ ม”From e-Learning http://utcc.ac.th/el/kaewta/meeting อ้างถึงใน [ออนไลน์] สื บค้นจาก http://www.budmgt.com/topics/top02/meeting-technique.html (15 ธันวาคม 2552)

นิรันดร์ จุลทรัพย์.2547. จิตวิทยาการประชุ ม อบรม สั มมนา. (พิมพ์ครั้งที่ 2) : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2547. สมิต สัชฌุกร.2541. เทคนิคการประชุ ม. กรุ งเทพฯ : วิญญูชน, 2541. สํานักนายกรัฐมนตรี . 2539. ระเบียบสํ านักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526. กรุ งเทพฯ :ศิลปะสนองการพิมพ์.


บทที่ 6 การเขียนโครงการ บทนํา เรามักจะได้ยนิ หน่วยงานระดับล่างหรื อผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับการเขียนโครงการพูดอยูเ่ สมอว่า เขียนโครงการไม่เป็ น เขียนโครงการไม่ชดั เจน เขียนโครงการไม่สอดคล้องกับแผนงานและกรอบ นโยบายมีขอ้ มูลสําหรับการตัดสิ นใจเขียนโครงการน้อยและที่สาํ คัญช่วงเวลาที่ให้เขียนโครงการ นั้นสั้น จึงทําให้เขียนโครงการแบบขอไปทีหรื อนําเอาโครงการเดิม ๆ ที่เคยทําอยูม่ าปรับเสี ยใหม่ ปรับเปลี่ยนบางประเด็นเท่านั้นโครงการจึงไม่ผา่ นการวิเคราะห์ความเป็ นไปได้ในด้านต่าง ๆ ขาด การวิเคราะห์ตามหลัก “SWOT” และขาดการกลัน่ กรองโครงการก่อนที่จะเสนอให้หน่วยงาน ระดับสู งได้หลอมรวมโครงการ และงานต่อไปดังนั้นในปัจจุบนั หลายหน่วยงานจึงให้ความสําคัญ กับการจัดทําแผนและการเขียนโครง การมาก โดยมีการฝึ กอบรมเชิงปฏิบตั ิการเขียนแผนหรื อเขียน โครงการขึ้นมา ภายใต้ความเชื่อที่วา่ ถ้าเรา เข้าใจองค์ความรู ้เกี่ยวกับการจัดทําแผนและการจัดทํา โครงการ ตลอดจนเทคนิคและวิธีเขียนโครงการ แล้ว จะทําให้เขียนโครงการได้ถูกต้อง ครอบคลุม ชัดเจน และสามารถนําไปปฏิบตั ิได้ง่าย

โครงการคืออะไร คําว่ า “โครงการ” ภาษาอังกฤษใช้คาํ ว่า “Project” ซึ่งความหมายตามพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2546 หมายถึง แผนหรื อเค้าโครงตามที่กาํ หนดไว้แผน (PLAN) เป็ นการ คาดการณ์ (FORECAST)ล่วงหน้าถึงอนาคต (FUTURE) ต่อวัตถุประสงค์ที่ตอ้ งการ โดยมีกิจกรรม ต่าง ๆ (ACTIVITY) เพื่อแสดงให้รู้วา่ ใครเป็ นผูท้ าํ (WHO) ทําอะไร (WHAT) ทําที่ไหน (WHERE) ทําเมื่อไร (WHEN) ทําเมื่อไร(WHEN) ทําไมต้องทํา (WHY) และทําอย่างไร (HOW) ใช้งบประมาณ เท่าไร (How Many) จึงจะบรรลุผลตามที่ตอ้ งการ สรุ ปได้วา่ โครงการ หมายถึง แผนงานย่อยที่ประกอบด้วยกิจกรรมหลายกิจกรรม หรื องาน หลายงานที่ระบุรายละเอียดชัดเจน อาทิ วัตถุประสงค์ เป้ าหมาย ระยะเวลาดําเนินการ วิธีการหรื อ ขั้นตอนในการดําเนินงาน พื้นที่ในการดําเนินงาน งบประมาณที่ใช้ในการดําเนินงานตลอดจน ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ แผนงานที่ปราศจากโครงการย่อมเป็ นแผนงานที่ไม่สมบูรณ์ไม่สามารถนําไปปฏิบตั ิให้เป็ น รู ปธรรมได้ ดังนั้นการเขียนโครงการขึ้นมารองรับแผนงาน ย่อมเป็ นสิ่ งสําคัญและจําเป็ นยิง่ เพราะ จะทําให้ง่ายในการปฏิบตั ิและง่ายต่อการติดตามและประเมินผล เพราะถ้าโครงการบรรลุผลสําเร็ จ นัน่ หมายความว่า แผนงาน และนโยบายนั้นบรรลุผลสําเร็ จด้วย


- 147 โครงการจึงเปรี ยบเสมือนพาหนะที่นาํ แผนปฏิบตั ิการไปสู่ การดําเนินงานให้เกิดผลพือ่ ไปสู่ จุดหมายปลายทางตามที่ตอ้ งการ อีกทั้งยังเป็ นจุดเชื่อมโยงจากแผนงาน ไปสู่แผนเงินและแผนคน อีกด้วย ความสามารถในการจัดทําโครงการจึงเป็ นทักษะที่สาํ คัญที่สุดประการหนึ่ง ที่นกั วางแผน ทุกหน่วยงาน จะต้องมีนอกเหนือจากความสามารถด้านอื่น ๆ กระบวนการก่อนวางโครงการ 1. ปั ญหาความต้องการ 2. รวบรวมข้อมูล 3. วิเคราะห์ปัญหา 4. จัดลําดับความสําคัญของปั ญหา/คัดเลือกปัญหา 5. วิเคราะห์สาเหตุ 6. กําหนดวัตถุประสงค์เป้ าหมาย 7. กําหนดกิจกรรม/ทรัพยากร 8. วางโครงการ โครงการจึงมีความสัมพันธ์กบั แผนงาน (Program) และ นโยบาย (Policy) นัน่ คือเริ่ มจาก นโยบายของรัฐบาลถูกนํามาจัดทําเป็ นแผนชาติ (Plan) จากแผนชาติจะถูกนําปรับเป็ นแผนกระทรวง ต่าง ๆ (Program) จากนั้นแผนกระทรวงจะถูกปรับต่อไปเป็ น แผนกรม และหน่วยงานระดับล่าง (อําเภอ จังหวัด) ก็จะจัดทําโครงการนั้นขึ้นมาเพื่อให้สอดคล้องกับแผนงานของกรม ในโครงการ หนึ่งๆอาจจะมีหลายกิจกรรม(Activities) หรื อหลายงาน(Task) ก็ได้เมื่อพัฒนานโยบายเป็ นแผนงาน และโครงการแล้วจะเห็นได้วา่ การพัฒนา จากลักษณะที่เป็ นนามธรรมไปสู่ลกั ษณะ ที่เป็ นรู ปธรรม นั้นจะทําให้หน่วยงานสามารถปฏิบตั ิได้ง่าย

ลักษณะสํ าคัญของโครงการ โครงการหนึ่งๆจะต้องประกอบด้วยคุณลักษณะสําคัญ คือ 1. ประกอบด้วยกิจกรรมย่อยๆที่เกี่ยวข้องและสอดคล้องกันภายใต้วตั ถุประสงค์เดียวกัน 2. มีการกําหนดวัตถุประสงค์ (Objective)ที่ชดั เจนวัดได้และปฏิบตั ิได้ท้ งั นี้เพื่อเป็ นแนวทาง ในการดําเนินงานและติดตามประเมินผลได้โครงการหนึ่งๆ อาจมีมากกว่าหนึ่งวัตถุประสงค์ ก็ได้ กล่าวคือมีวตั ถุประสงค์หลัก และวัตถุประสงค์รองและต้องกําหนดวัตถุประสงค์ที่สามารถปฏิบตั ิได้ มิใช่วตั ถุประสงค์ที่เลื่อนลอย / เพ้อฝัน หรื อเกินความเป็ นจริ ง 3. มีการกําหนดจุดเริ่ มต้นและจุดสิ้ นสุ ดของกิจกรรม (Scheduled Beginning and Terminal Points ) การเขียนโครงการโดยทัว่ ไปจะต้องมีการกําหนดระยะเวลาว่าจะเริ่ มต้นเมื่อไร และสิ้ นสุ ด เมื่อไรถ้าหากมีการดําเนินกิจกรรมไปเรื่ อยๆไม่มีการกําหนดขอบเขตของเวลา (Time Boundary ) ไว้ จะไม่ถือว่าเป็ นงานโครงการ เพราะมีลกั ษณะเป็ นงานประจํา ( Routine ) หรื องานปกติ


- 148 4. มีสถานที่ต้ งั (Location) ของโครงการ ผูเ้ ขียนโครงการต้องระบุให้ชดั เจนว่าโครงการนี้ พื้นที่ดาํ เนินการหรื อหัวงานอยูท่ ี่ใด เพื่อสะดวกในการดําเนินงาน ถ้าเลือกสถานที่ต้ งั โครงการไม่ เหมาะสมแล้วย่อมทําให้เสี ยค่าใช้จ่ายหรื อลงทุนมาก ผลประโยชน์ตอบแทนที่ได้อาจไม่คุม้ ค่า การ ติดตามและการประเมินผลโครงการก็อาจทําได้ยาก 5. มีบุคลากรหรื อองค์กรที่เฉพาะเจาะจง( Organization ) งานโครงการจะต้องมีหน่วยงาน หลักรับผิดชอบ ส่ วนหน่วยงานอื่นถือว่าเป็ นหน่วยงานเสริ มหรื อร่ วมมือดําเนินงานเท่านั้น และควร ระบุบุคลากรผูร้ ับผิดชอบโครงการนั้นให้ชดั เจน เพื่อเป็ นหลักประกันว่าบุคคล/ องค์กรนั้นจะปฏิบตั ิ อย่างจริ งจังและจริ งใจ 6. มีการใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์ (Resource) การเขียนโครงการจะต้องระบุแหล่ง ทรัพยากรโดยเฉพาะแหล่งงบประมาณให้ชดั เจน เช่น งบประมาณแผ่นดิน หรื อเงินกู้ หรื อเงินทุน สํารอง หรื อเงินบริ จาค ฯลฯ และจะต้องระบุเงินที่ใช้วา่ เป็ นหมวดวัสดุ หมวดค่าใช้สอย หมวด ค่าตอบแทน หมวดค่าครุ ภณ ั ฑ์ หมวดค่าที่ดิน และสิ่ งก่อสร้าง ฯลฯ ทั้งนี้จะทําให้ง่ายในการ ดําเนินการ และควบคุมตรวจสอบการใช้งบประมาณให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดได้

โครงการทีด่ คี วรมีลกั ษณะดังนี้ 1. สามารถแก้ไขปัญหาของหน่วยงานหรื อองค์กรได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ 2. สามารถสนองตอบต่อความต้องการของกลุ่ม ชุมชน นโยบายของหน่วยงานและ นโยบายของประเทศชาติได้ดี 3. รายละเอียดของโครงการต้องเข้าใจง่ายมีการใช้ภาษาที่เข้าใจกันทัว่ ไป 4. มีวตั ถุประสงค์และเป้ าหมายที่ชดั เจน และมีลกั ษณะเฉพาะเจาะจง 5. รายละเอียดของโครงการต้องเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กนั ตั้งแต่ประเด็นแรกถึงประเด็นสุ ดท้าย 6. กําหนดการใช้ทรัพยากรอย่างชัดเจน และเหมาะสม 7. มีวิธีการติดตาม และประเมินผลที่ชดั เจน

ขั้นตอนการเขียนโครงการ 1. วิเคราะห์ปัญหาหรื อความต้องการ ดําเนินการโดย - ศึกษาสภาพแวดล้อมเพื่อค้นหาปัญหา - กําหนดสภาพแห่งการหมดปั ญหา - กําหนดแนวทางแก้ไข 2. เขียนโครงการ มีเทคนิค ดังนี้ - ก่อนลงมือ ต้องตั้งคําถามและตอบคําถาม 5 W 1 H - ศึกษาเกณฑ์การคัดเลือกโครงการ - ลงมือเขียนโครงการ โดยใช้ภาษาเขียนที่กระชับ สื่ อความหมายได้ชดั เจน


- 149 -

โครงสร้ างของโครงการ การเขียนโครงการจะต้องรู ้และเข้าใจโครงสร้างของโครงการเสี ยก่อนว่าประกอบไปด้วย ส่ วนใดบ้าง ซึ่งโดยทัว่ ไปโครงสร้างของโครงการ จะประกอบด้วยดังต่อไปนี้ 1. ชื่อโครงการ ส่ วนใหญ่มาจากงานที่ตอ้ งการปฏิบตั ิ โดยจะต้องมีความชัดเจนเหมาะสม เฉพาะเจาะจง กะทัดรัด และสื่ อความหมายได้อย่างชัดเจน เช่น - โครงการส่ งเสริ มการเกษตรแบบผสมผสานในเขตสหกรณ์นิคม - โครงการส่ งเสริ มเกษตรกรผสมปุ๋ ยเคมีเพือ่ ลดต้านทุนการผลิต - โครงการฝึ กอบรมธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก - โครงการฝึ กอบรมเชิงปฏิบตั ิการเขียนแผนและโครงการ - โครงการส่ งเสริ มระบบการผลิตแบบยัง่ ยืนตามแนวพระราชดําริ - โครงการเลี้ยงวัวพันธุ์เนื้อ - โครงการส่ งเสริ มการปลูกพืชสมุนไพร อย่างไรก็ดีบางหน่วยงาน นอกจากจะมีชื่อของโครงการแล้ว ผูเ้ ขียนโครงการอาจระบุชื่อ ของแผนงานไว้ดว้ ยก็ได้ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความชัดเจนมากยิง่ ขึ้น และเป็ นการชี้ให้ทราบว่าโครงการที่ กําหนดขึ้นอยูใ่ นแผนงานอะไร 2. หลักการและเหตุผล เป็ นการกล่าวถึงปัญหาและสาเหตุและความจําเป็ นที่ตอ้ งมีการจัดทํา โครงการ โดยผูเ้ ขียนโครงการจะต้องพยายามพรรณนาความ โดยหาเหตุผล หลักการ ทฤษฎี แนวทางนโยบายของรัฐบาล นโยบายของกระทรวง / กรม ตลอดจนความต้องการในการพัฒนา ทั้งนี้เพื่อแสดงข้อมูลที่มีน้ าํ หนักน่าเชื่อถือและให้เห็นความสําคัญของสถานการณ์ที่เกิดขึ้น โดยมี การอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลด้วยเพื่อที่ผอู ้ นุมตั ิโครงการจะได้ตดั สิ นใจสนับสนุนโครงการต่อไป 3. วัตถุประสงค์ เป็ นการระบุถึงเจตจํานงในการดําเนินงานของโครงการ โดยแสดงให้เเห็น ถึงผลที่ตอ้ งการจะบรรลุไว้อย่างก้วางๆมีลกั ษณะเป็ นนามธรรม แต่ชดั เจนและไม่คลุมเครื อ โดย โครงการหนึ่งๆอาจมีวตั ถุประสงค์มากกว่า 1 ข้อก็ได้ คือ มีวตั ถุประสงค์หลัก และวัตถุประสงค์รอง หรื อวัตถุประสงค์ทวั่ ไปและวัตถุประสงค์เฉพาะก็ได้ หลักการเขียนวัตถุประสงค์ทดี่ ี ซึ่งในทีน่ ี้ จะเรียกว่ าหลัก SMART คือ 3.1 Sensible and Specific คือ ต้องมีความเป็ นไปได้และมีความเฉพาะเจาะจงใน การดําเนินการโครงการ 3.2 Measurable คือ ต้องสามารถวัดและประเมินผลระดับของความสําเร็ จได้ 3.3 Attainable คือ ต้องระบุถึงการกระทําที่สามารถปฏิบตั ิได้ มิใช่สิ่งเพ้อฝัน 3.4 Reasonable and Realistic คือ ต้องระบุให้มีความเป็ นเหตุเป็ นผล และ สอดคล้องกับความเป็ นจริ ง


- 150 3.5 Time ต้องมีการกําหนดขอบเขตของเวลาที่จะกระทําให้สาํ เร็ จได้อย่างชัดเจน นอกจากนั้นการเขียนวัตถุประสงค์ยงั ต้องคํานึงถึงสิ่ งต่อไปนี้ คือ - ใช้คาํ กริ ยาที่แสดงถึงความตั้งใจจริ ง เช่น เพื่อเพิ่ม...เพื่อลด...เพื่อส่ งเสริ ม… เพื่อปรับปรุ ง...เพื่อขยาย… เพื่อรณรงค์... เพื่อเผยแพร่ ...เป็ นต้น - ระบุผลผลิต (Output) หรื อระบุผลลัพธ์ (Outcome) ที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นเพียง ประการเดียวในวัตถุประสงค์หนึ่งข้อ ถ้าเขียนวัตถุประสงค์ไว้หลายข้อ ข้อใดทําไม่สาํ เร็ จเรา สามารถประเมินผลได้ ซึ่งอาจกําหนดเป็ นวัตถุประสงค์หลัก 1 ข้อ และวัตถุประสงค์รอง 1-2 ข้อ โดยมีเงื่อนไขว่า ถ้าบรรลุวตั ถุประสงค์หลัก แต่ไม่บรรลุวตั ถุประสงค์รอง --- ควรทําต่อไป หรื อถ้าบรรลุวตั ถุประสงค์รองแต่ไม่บรรลุวตั ถุประสงค์หลัก ---- อาจยุติโครงการ - กําหนดเกณฑ์มาตรฐานของความสําเร็ จที่วดั ได้ในเชิงปริ มาณ และเชิงคุณภาพ - กําหนดช่วงเวลา พื้นที่ หรื อ กลุ่มเป้ าหมาย การเขียนวัตถุประสงค์ของโครงการ จะต้องสอดคล้องกับความเป็ นมาและความสําคัญของ ปั ญหา ตลอดจนสอดคล้องกับแผนงานหลักด้วย ดังแผนภูมิ

จุดมุ่งหมาย

เป้ าประสงค์

- เพื่อพัฒนาความ

1. เพื่อพัฒนาความ เป็ นอยูด่ า้ นการศึกษา

1.1 เพื่อเพิม่ โอกาสทางการศึกษา แก่ประชาชนในชนบท

2. เพื่อพัฒนาด้านความ เป็ นอยูด่ า้ นการ ประกอบอาชีพ

1.1 เพื่อขยายการศึกษาภาคบังคับ แก่ประชาชนในชนบท

เป็ นอยูข่ องชาว ชาวชนบท

3. เพื่อพัฒนาความ เป็ นอยู่ ด้านสุ ขภาพ

วัตถุประสงค์

2.1 เพื่อเผยแพร่ ความรู้ในการใน การประกอบอาชีพตาม แนวพระราชดําริ 2.2 เพื่อจัดหาตลาดการค้าแกเกษตร การในชนบทอย่างกว้างขวาง 2.3 เพื่อเผยแพร่ ความรู้ดา้ นสุ ขภาพ อนามัยแก่ประาชาชนในชนบท 3.1 เพื่อส่ งเสริ มให้ประชาชนมีการ บริ โภคอาหารที่ถกู สุ ขลักษณะ

แผนภูมิ การเขียนวัตถุประสงค์ให้สอดคล้องกับเป้ าประสงค์และจุดมุ่งหมาย


- 151 4. เป้าหมาย หมายถึง ระบุถึงผลลัพธ์สุดท้ายที่คาดว่าจะได้จากการดําเนินโครงการ โดยจะ ระบุท้ งั ผล ที่เป็ นเชิงปริ มาณและผลเชิงคุณภาพ เป้ าหมายจึงคล้ายกับวัตถุประสงค์ แต่มีลกั ษณะ เฉพาะเจาะจงมากกว่า มีการระบุส่ิ งที่ตอ้ งการทําได้ชดั เจนและระบุเวลาที่ตอ้ งการจะบรรลุ 5. วิธีการดําเนินงาน เป็ นการให้รายละเอียดในการปฏิบตั ิ โดยปกติจะแยกเป็ นกิจกรรม ย่อยๆหลายกิจกรรม แต่เป็ นกิจกรรมเด่นๆ ซึ่งจะแสดงให้เห็นความเด่นชัดตั้งแต่กิจกรรมเริ่ มต้น จนถึงกิจกรรมสุ ดท้ายว่ามีกิจกรรมใดที่ตอ้ งทําบ้าง ถ้าเป็ นโครงการที่ไม่ซบั ซ้อนมากนักก็มกั จะนิยม ใช้แผนภูมิแกนท์ (Gantt chart) หรื อแผนภูมิแท่ง (Bar chart) 6. ผู้รับผิดชอบโครงการ เป็ นการระบุวา่ ใคร หรื อหน่วยงานใด เป็ นผูร้ ับผิดชอบ และมี ขอบเขตความรับผิดชอบอย่างไรบ้าง ทั้งนี้เพื่อว่ามีปัญหาจะได้ติดต่อประสานงานได้ง่าย 7. งบประมาณ เป็ นการระบุคา่ ใช้จ่ายที่ตอ้ งใช้ในการดําเนินกิจกรรมขั้นต่างๆ โดยทัว่ ไป จะแจกแจง เป็ นหมวดย่อย ๆ เช่น หมวดค่าวัสดุ หมวดค่าใช้สอย หมวดค่าตอบแทน หมวดค่า ครุ ภณ ั ฑ์ ซึ่ง การแจกแจงงบประมาณจะมีประโยชน์ในการตรวจสอบความเป็ นไปได้และตรวจสอบ ความเหมาะสมในสถานการณ์ต่างๆ นอกจากนั้น ควรระบุแหล่งที่มาของงบประมาณด้วยว่า เป็ น งบประมาณแผ่นดิน งบช่วยเหลือจากต่างประเทศ เงินกู้ หรื องบบริ จาค เป็ นต้น 8. สถานทีด่ ําเนินการ เป็ นการระบุสถานที่ต้ งั ของโครงการหรื อระบุวา่ กิจกรรมนั้นจะทํา ณ สถานที่แห่งใด เพื่อสะดวกต่อการจัดเตรี ยมสถานที่ให้พร้อมก่อนที่จะทํากิจกรรมนั้นๆ 9. ระยะเวลาในการดําเนินการ เป็ นการระบุระยะเวลาเริ่ มต้นโครงการและระยะเวลา สิ้ นสุ ดโครงการโดยจะต้องระบุ วัน เดือน ปี เช่นเดียวกับการแสดงแผนภูมิแกนท์ ( Gantt Chart ) 10. ผลประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ เป็ นการระบุถึงผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการดําเนิน โครงการประกอบด้วย ผลทางตรง และผลทางอ้อม นอกจากนั้นต้องระบุดว้ ยว่า ใครจะได้รับ ประโยชน์จากโครงการบ้าง ได้รับประโยชน์อย่างใด ระบุท้ งั เชิงปริ มาณ และเชิงคุณภาพ


- 152 (ตัวอย่ างโครงการ) ชื่อโครงการ โครงการบรรยายเชิงวิชาการ เรื่ อง "เคล็ดลับ...สู่ ดีเจ.มืออาชีพ" ผูร้ ับผิดชอบโครงการ นักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ คณะศิลปศาสตร์ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก หลักการและเหตุผล นักจัดรายการวิทยุ หรื อ ดีเจ. เป็ นอีกอาชีพหนึ่ง ที่กลุ่มวัยรุ่ นส่ วนใหญ่ให้ความสนใจและ ต้องการที่จะก้าวเข้าสู่ วงการดังกล่าว แต่การเข้าสู่ อาชีพนี้ จะสามารถเป็ นนักจัดรายการมืออาชีพได้ นั้น จะต้องมีความรู ้หลายด้าน ทั้งส่ วนที่เกี่ยวกับเพลง เกี่ยวกับศิลปิ น ยังต้องมีความรู ้รอบตัว ทัน ต่อเหตุการณ์ สะสมประสบการณ์ มีไหวพริ บปฏิภาณในการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ที่สาํ คัญต้องมี ทักษะการพูดที่สร้างความสนใจแก่ผฟู ้ ังได้ดี นักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ คณะศิลปศาสตร์ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ตระหนักถึงความต้องการของนักศึกษา ที่ประสงค์จะเรี ยนรู ้เทคนิค วิธีการต่าง ๆ ในการเป็ นนักจัดรายการวิทยุมืออาชีพจึงได้จดั โครงการนี้ข้ ึน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ ความรู ้เกี่ยวกับการเป็ นนักจัดรายการวิทยุมืออาชีพ 2 เพื่อให้ผฟู ้ ังสามารถนําความรู ้ที่ได้ไปพัฒนาทักษะและประยุกต์ใช้เพื่อเป็ นแนวทางในการ เป็ นนักจัดรายการวิทยุ เป้ าหมาย มีนกั ศึกษาและผูส้ นใจทัว่ ไปเข้าฟังประมาณ 120 คน วิธีดาํ เนินงาน 1. ประชุมปรึ กษาผูเ้ กี่ยวข้องเพื่อวางแผนและจัดทําโครงการ 2. สํารวจข้อมูลความต้องการและกําหนดหัวข้อการบรรยาย 3. นําเสนอโครงการเพื่อพิจารณาอนุมตั ิ 4. จัดหาวิทยากรที่เหมาะสม 5. จัดเตรี ยมเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ 6. ประชาสัมพันธ์ 7. จัดบรรยาย 8. สรุ ปและประเมินผล


- 153 ระยะเวลาดําเนินงาน ลําดับ 1. 2. 3. 5. 5. 6. 7. 8.

รายการ

ระยะเวลาปฏิบตั ิงาน

ก.ค

ส.ค.

กย.

ประชุมปรึ กษาผูเ้ กี่ยวข้องเพือ่ วางแผนและ จัดทําโครงการ สํารวจข้อมูลความต้องการและกําหนด หัวข้อการบรรยาย นําเสนอโครงการเพื่อพิจารณาอนุมตั ิ จัดเตรี ยมเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ จัดเตรี ยมเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ประชาสัมพันธ์ จัดบรรยาย สรุ ปและประเมินผล

สถานที่ดาํ เนินงาน ห้องกิจกรรมปริ ญญาตรี วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก งบประมาณ 1. ค่าตอบแทนวิทยากร 3,000 บาท 2. ค่าอาหารว่างและอาหารกลางวัน คนละ 50บาท จํานวน 100 คน 5,000 บาท 3. ค่าเครื่ องดื่ม 500 บาท 4. ค่าวัสดุในการจัดทําเอกสาร 2,000 บาท 5. ค่าวัสดุในการประชาสัมพันธ์ 3,000 บาท 6. ค่าถ่ายภาพและถ่ายวิดิโอ 1,000 บาท 7. ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด 1,000 บาท รวมงบประมาณ 15,500 บาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผูเ้ ข้าฟังการบรรยายได้ทราบถึงแนวความคิด วิธีการพูดและเคล็ดลับต่าง ๆในการเป็ นนักจัด รายการวิทยุ และบางส่ วนสามารถนําความรู ้ที่ได้รับไปพัฒนาและประยุกต์ใช้เพื่อเป็ นแนวทางใน การก้าวสู่ อาชีพ การประเมินผล คณะกรรมการใช้แบบสอบถามและแบบทดสอบประเมินผูเ้ ข้าฟังการบรรยายทั้ง ก่อนและสิ้ นสุดโครงการ


- 154 ตัวอย่ าง แบบฟอร์ มการเขียนโครงการกิจกรรมนักศึกษา 1. ชื่อโครงการ ..................................................................................................... 2. ผู้รับผิดชอบ ..............................................................หมายเลขโทรศัพท์ที่ติดต่อได้……………... หน่วยงาน (สภานักศึกษา /องค์การนักศึกษา/ ชมรม) …………………………………………….

3. อาจารย์ ทปี่ รึกษา.........................................................หมายเลขโทรศัพท์ที่ติดต่อได้..................... 4. ประเภทกิจกรรม { ด้านวิชาการ { ด้านส่ งเสริ มศิลปวัฒนธรรม { ด้านกีฬา และการส่ งเสริ มสุ ขภาพ { ด้านนันทนาการ { ด้านอาสาพัฒนาและบําเพ็ญประโยชน์ และรักษาสิ่ งแวดล้อม

5. หลักการและเหตุผล .................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................……………… ...........................................................................................................................................................……………… ...........................................................................................................................................................……………..

6. จุดมุ่งหมาย / วัตถุประสงค์ 6.1 .................................................................................................................................................…………….. 6.2 .................................................................................................................................................…………….. 6.3 .................................................................................................................................................…………….

7. สถานทีจ่ ัดกิจกรรมตามโครงการ..............................................................................................…. 8. ระยะเวลาการปฏิบตั ิงาน................................................................................................................. 9. ส่ วนงานผู้ดูแลโครงการ { ฝ่ ายวิชาการ { ฝ่ ายศิลปวัฒนธรรม { ฝ่ ายอาสาพัฒนาและบําเพ็ญประโยชน์ { ฝ่ ายกีฬา { ฝ่ ายอื่น ๆ...................................................................................................................................…………

10. ผู้เข้ าร่ วมโครงการ จํานวนทั้งสิ้ น......................คน ประกอบด้วย 10.1 อาจารย์ จํานวน............................คน 10.2 นักศึกษา จํานวน............................คน 10.3 ประชาชนกลุ่มเป้ าหมาย จํานวน............................คน 10.4 อื่น ๆ (ระบุ)......................... จํานวน............................คน

11. ขั้นตอนการดําเนินงาน และแผนการดําเนินงานโครงการ ขั้นวางแผนงาน 1. ..................................................................................................................................................... 2....................................................................................................................................................


- 155 ขั้นดําเนินการ 1. .................................................................................................................................................... 2. .................................................................................................................................................... 3. .....................................................................................................................................................

ขั้นสรุปและประเมินผลการจัดกิจกรรม 1. .................................................................................................................................................... 2. .................................................................................................................................................... 0

ตารางแผนการดําเนินงาน รายการ

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

12. ผลทีค่ าดว่ าจะได้ รับ 12.1. .............................................................................................................................................................. 12.2. ...........................................................................................................................

13. งบประมาณดําเนินการ ใช้งบประมาณดําเนินการทั้งสิ้ นเป็ นเงิน....................บาท (.........................................................)

จาก { เงินค่าบํารุ งกิจกรรมนักศึกษา { งบอื่น ............................................................. ประกอบด้ วยรายจ่ ายดังต่ อไปนี้ หมวดค่ าตอบแทน ค่ าตอบแทน.................อัตรา..............บาท/คน/วัน จํานวน.........วัน เป็ นเงิน............บาท หมวดค่ าใช้ สอย ค่าอาหาร..............................อัตรา................บาท/คน/วัน จํานวน.........วัน เป็ นเงิน.......... ....บาท ค่าพาหนะเดินทางโดยรถ...........อัตรา...... ..บาท/คน/วัน จํานวน.........วัน เป็ นเงิน............. .บาท ค่าเช่าเหมารถ.....................อัตรา................บาท/คน/วัน จํานวน...... ..วัน เป็ นเงิน...............บาท ค่านํ้ามันเชื้อเพลิงเพื่อใช้กบั รถยนต์ของทางราชการในระหว่างจัดกิจกรรม เป็ นเงิน......... ....บาท


- 156 หมวดค่ าวัสดุ ลําดับ ที่

ราคา/หน่ วย จํานวน บาท สต.

รายการวัสดุ

รวมราคา บาท สต.

รวมเป็ นเงิน

รวมงบประมาณทั้งสิ้น.........................................บาท (..............................................................................)

14. เป้าหมาย/ตัวชี้วดั ความสํ าเร็จ ด้ านปริมาณ 1. ................................................................................................................................................... 2. ................................................................................................................................................... ด้ านคุณภาพ 1. ................................................................................................................................................... 2. ...................................................................................................................................................

15. วิธีการติดตามประเมินผลโครงการ 15.1.................................................................................................................................................... 15.2...................................................................................................................................

16. การส่ งรายงานประเมินผลโครงการ โดยระบุวนั เดือน ปี ที่จะจัดส่งรายงานประเมินผลโครงการ (ประมาณ 30 วัน หลังจากเสร็ จสิ้ นกิจกรรม) ลงชื่อ...................................................... (...........................................................) (ตําแหน่ง )................................................................... ลงชื่อ.................................................................. (..................................................................) อาจารย์ที่ปรึ กษา ..................................................................


- 157 หมายเหตุ 1) ให้ตรวจสอบราคามาตรฐานวัสดุ ได้จากงานพัสดุ กองกิจการนักศึกษา 2) ตรวจสอบหลักฐานการจ่ายเงินรายได้บางรายการ เช่น อัตราค่าตอบแทน ค่าอาหารร และอื่น ๆ จากงานกิจกรรมนักศึกษา กองกิจการนักศึกษา 3) ขอถัว่ จ่ายทุกรายการ 4) กรุ ณาแนบ กําหนดการในโครงการทุกโครงการ เพื่อประกอบการวิเคราะห์งบประมาณ สรุป การเขียนโครงการเป็ นเรื่ องที่ไม่ง่าย และไม่ยากเกินความสามารถของนักวางแผน หรื อผูท้ ี่ มีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทําแผนและโครงการของหน่วยงานต่างๆ ทั้งนี้จะต้องมีความรู ้ความ เข้าใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง นโยบาย แผนงาน และโครงการ เพื่อที่จะได้เขียนโครงการได้ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแผนงาน และนโยบายต่อไป นอกจากนั้นการจะเป็ นผูเ้ ขียนโครงการ ได้ดีท่านก็จะต้องหมัน่ ฝึ กฝน และเขียนโครงการบ่อยๆ มีขอ้ มูลมาก ข้อมูลถูกต้อง เพียงพอ และ ทันสมัยวิเคราะห์สถานการณ์อย่างถ่องแท้ ก่อนเขียนโครงการ และหลังจากนั้นก็นาํ ข้อมูลที่ผา่ นการ วิเคราะห์แล้วมาเขียนตามแบบฟอร์มการเขียนโครงการของแต่ละหน่วย .............................................................................................................................................................

คําถามท้ ายบท 1. จงอธิบายความหมายของคําว่า “โครงการ” และลักษณะของโครงการที่ดี จะมีลกั ษณะอย่างไร 2. หากนักศึกษาเป็ นผูอ้ นุมตั ิโครงการ จะมีวิธีพิจารณาอย่างไรว่าควรอนุมตั ิหรื อไม่อนุมตั ิ 3. ให้อภิปรายว่า ทักษะการเขียนโครงการมีประโยชน์ในด้านการเรี ยนและการทํางานอย่างไร

........................................................................................................................................... บรรณานุกรม “เทคนิคการประชุ ม”From e-Learning http://utcc.ac.th/el/kaewta/meeting อ้างถึงใน [ออนไลน์] สื บค้นจาก http://www.budmgt.com/topics/top02/meeting-technique.html ประสิ ทธิ์ ตงยิง่ ศิริ. ( ม.ป.ป.). การจัดทําแผนและโครงการ. ม.ป.ท. เยาวดี รางชัยกุล วิบูลย์ศรี . (2542). การประเมินผลโครงการ แนวคิดและแนวปฏิบตั .ิ กรุ งเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วัฒนา วงศ์เกียรติรัตน์ และสุ ริยา วีรวงศ์. (2543). คู่มือการประเมินผลโครงการ. กรุ งเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สมพิศ สุ ขแสน. ( 2542). นโยบายสาธารณะและการวางแผน. อุตรดิตถ์ : สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์. สุ วิมล ติรกานันท์. ( 2543). การประเมินโครงการ : แนวทางสู่ การปฏิบตั ิ. กรุ งเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง.


บทที่ 7 การทํารายงาน ในโลกยุคข้อมูลข่าวสารซึ่งมีเทคโนโลยีสมัยใหม่อย่างกว้างขวาง จึงไม่มีใครเรี ยนรู ้ทุกสิ่ ง ทุกอย่างในชั้นเรี ยนได้หมด การศึกษาค้นคว้าหาความรู ้ดว้ ยตนเองเพิ่มเติมนอกห้องเรี ยน จากแหล่ง สารสนเทศต่างๆ จะช่วยให้การเรี ยนรู ้มีประสิ ทธิภาพมากยิง่ ขึ้น ดังนั้นการนําเสนอผลการศึกษา ค้นคว้าในรู ปแบบของการเขียนรายงาน จึงเป็ นกิจกรรมที่สาํ คัญอย่างหนึ่งของการศึกษาในปัจจุบนั และถือเป็ นส่ วนหนึ่งของการประเมินผลการศึกษาซึ่งผูเ้ ขียนรายงาน จะต้องศึกษาและจัดทําอย่าง ถูกต้องตามแบบแผน มีหลักฐานการอ้างอิงอย่างชัดเจน อีกทั้งจัดพิมพ์ให้ถูกต้องตามแบบแผนที่ สถานศึกษานั้นๆ กําหนดไว้

ความหมายของรายงาน “รายงาน” เป็ นคํานาม หมายถึง คํากล่างบอกเรื่ องราวที่ไปทําไปรู ้ หรื อไปเห็นมา (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542, 2546 : 953) ประไพ หนุนภักดี (ม.ป.ป.: 165) ได้อธิบายไว้วา่ รายงาน (Report) หมายถึง ความเรี ยงทางวิชาการ เป็ นกิจกรรมอย่างหนึ่งซึ่งเป็ นผลมาจาก การรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ หรื อ เป็ นผลมาจากการศึกษาค้นคว้า หาความรู ้ใหม่ เพื่อปรับปรุ ง พิสูจน์ความรู ้เดิม โดยวิธีหนึ่งหรื อหลายวิธี ทั้งนี้เพื่อให้ได้ขอ้ เท็จจริ งที่เชื่อถือได้ และนําข้อมูลที่ ค้นคว้าได้ มาประกอบเข้ากับความคิดของตน แล้วเรี ยบเรี ยงขึ้นใหม่โดยนํามาเขียน หรื อ พิมพ์ให้ ถูกต้องตามแบบแผนการทํารายงาน อาจจะทําเป็ นบุคคล หรื อเป็ นกลุ่มก็ได้ ความยาวของรายงาน ขึ้นอยูก่ บั ขอบเขตของหัวข้อรายงาน และการตกลงกันระหว่างผูท้ าํ รายงานกับผูส้ อนวิชานั้นๆ สรุ ปได้วา่ รายงานเป็ นการนําเสนอเรื่ องราวทางวิชาการ ซื่งเป็ นผลมาจากการศึกษาค้นคว้า หรื อวิจยั ในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งอย่างมีระบบ มีการวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล และอ้างอิงหลักฐานที่มา อย่างมีหลักเกณฑ์ แล้วนํามาเรี ยบเรี ยงอย่างมีข้นั ตอน และเขียนหรื อพิมพ์ให้ถูกต้องตามแบบแผนที่ กําหนด ถือว่ารายงานเป็ นส่ วนหนึ่งของการประเมินผลการศึกษา


- 160 -

ความสํ าคัญของรายงาน 1. รายงานเป็ นหลักฐานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากแหล่งความรู ้ต่างๆ 2. ช่วยเสริ มสร้างอุปนิสยั รักการอ่านและการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 3. ช่วยให้ผศู ้ ึกษาค้นคว้ารู ้จกั คิด มีวิจารณญาณ มีระบบและมีเหตุผล 4. ช่วยฝึ กฝนทักษะทางภาษาและความสามารถในการเรี ยบเรี ยงความรู ้ ความคิดได้อย่าง มีระเบียบ

วัตถุประสงค์ ของการทํารายงาน 1. เพื่อส่ งเสริ มความสามารถในการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากแหล่งข้อมูลต่างๆ 2. เพื่อฝึ กฝนทักษะด้านการอ่าน การสรุ ปความหรื อจักบจความสําคัญของเรื่ องที่อ่าน 3. เพื่อส่ งเสริ มให้คิดอย่างมีวิจารณญาณ ตลอดจนแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผลโดยมี หลักฐานอ้างอิง 4. เพื่อส่ งเสริ มด้านการเขียนและการใช้ภาษา สามารถเรี ยบเรี ยงข้อมูลที่ได้มาอย่างมี ระเบียบด้วยสํานวนภาษาที่ถกู ต้อง 5. เพื่อเป็ นส่ วนหนึ่งของการประเมินผลทางการศึกษาในรายวิชาที่ศึกษาอยู่

ประเภทของรายงาน 1. รายงานการค้ นคว้ าทัว่ ไป แบ่งออกได้ดงั นี้ 1.1 รายงาน (Report) เป็ นผลการศึกษาค้นคว้าเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อ ประกอบการเรี ยนในรายวิชา (ในรายวิชาหนึ่งอาจมีรายงานได้หลายเรื่ อง) รายงานในวิชาใดจะมีเนี้อ หาอยูใ่ นขอบข่ายวิชานั้น โดยอาจใช้วิธีการศึกษาค้นคว้าวิธีใดวิธีหนึ่งหรื อหลายวิธีประกอบกัน เช่น การศึกษาค้นคว้าจากเอกสาร การสังเกต การทดลอง เป็ นต้น ในแง่การจัดทําอาจเป็ นรายงานเดี่ยว หรื อรายงานกลุ่ม สําหรับความยาวของรายงานและกําหนดเวลาทํา จะแตกต่างกันไป ขึ้นอยูก่ บั ขอบเขตของหัวข้อรายงานและการตกลงกันระหว่างผูส้ อนกับผูเ้ รี ยน โดยทัว่ ไปแล้วใช้เวลาน้อยกว่า 1 ภาคเรี ยน 1.2 ภาคนิพนธ์ หรื อ รายงานประจําวิชา (Term paper) มีลกั ษณะเช่นเดียวกับรายงาน แต่มีขอบเขตเนื้อหาสาระกว้างกว่า ลึกซึ้งกว่า เพราะเกี่ยวข้องกับเนี้อหาทั้งหมดของวิชาที่เรี ยน โดย มุ่งเน้น ให้ผจู ้ ดั ทําแสดงความสามารถในเรื่ องราวหรื อหัวข้อ ที่ไม่ได้ศึกษากันอย่างละเอียดในชั้น เรี ยน มีกาํ หนดเวลาทําประมาณหนึ่งภาคเรี ยน


- 161 -

2. รายงานการค้ นคว้ าวิจยั แบ่งออกได้ดงั นี้ 2.1 งานวิจยั (Research paper) เป็ นการนําเสนอผลการศึกษาค้นคว้าและวิจยั ในเรื่ อง หรื อปั ญหาเฉพาะ ที่ตอ้ งการคําตอบหรื อความรู ้เพิ่มเติม ต้องเป็ นความรู ้ใหม่ที่ยงั ไม่เคยมีการศึกษา วิจยั มาก่อน มีวิธีดาํ เนินการอย่างวมีระเบียบ มีจุดมุ่งหมายที่แน่นอนเพื่อให้ได้มาซื่งความจริ งหรื อ หลักการบางอย่าง 2.2 วิทยานิพนธ์ หรื อปริ ญญานิพนธ์ (Thesis or Dissertation) มีลกั ษณะเช่นเดียวกับ รายงานการวิจยั และถือเป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริ ญญามหาบัณฑิต เรี ยกว่า วิทยานิพนธ์ (Thesis) และปริ ญญาดุษฎีบณ ั ฑิต เรี ยกว่า ปริ ญญานิพนธ์หรื อดุษฎีนิพนธ์ หรื อสาระ นิพนธ์ (Dissertation) เป็ นเรื่ องที่ทาํ เฉพาะบุคคล กําหนดเวลาทําไม่เกินระยะเวลาเรี ยนของหลักสูตร นั้น

ลักษณะของรายงานทีด่ ี 1. มีการนําหลักการ และ/หรื อทฤษฎีมาใช้อย่างเหมาะสม เนื่องจากในหาการศึกษาค้นคว้า จะต้องมีการวิเคราะห์เนื้อหา โดยมีหลักการหรื อทฤษฎีมารองรับอย่างเหมาะสม หลักการหรื อ ทฤษฎีดงั กล่าวควรเป็ นที่ยอมรับในแวดวงสาขาวิชาการนั้นๆพอควรและตรงกับเรื่ องที่ศึกษาค้นคว้า 2. มีการแสดงความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์อย่างเหมาะสม เช่น เสนอนแนวทางการแก้ปํญหาที่ ไม่เคยมีผทู ้ าํ มาก่อน หรื อเคยมีผทู ้ าํ แต่ไม่ชดั เจนเพียงพอ 3. ความสมบูรณ์และความถูกต้องของเนี้อหาสาระ เนี้อหาสาระต้องสมบูรณ์ตามชื่อเรื่ องที่ กําหนด และถูกต้องในข้อเท็จจริ ง การอ้างอิงที่มาหรื อแหล่งค้นคว้าต้องถูกต้องเพื่อแสดงจรรยา มารยาทของผูเ้ ขียน และเป็ นแหล่งชี้แนะให้ผสู ้ นใจได้ติดตามศึกษาค้นคว้าต่อไป การค้นคว้าควร ศึกษามาจากหลายแหล่ง 4. ความชัดเจนของการเขียนรายงาน จะต้องมีความชัดเจนในด้านลําดับการเสนอเรื่ อง มี ความสามารถในการใช้ภาษา และการนําเสนอตาราง แผนภูมิ ภาพประกอบ ทั้งนี้เพื่อให้การ นําเสนอเนี้อหาชัดเจน เข้าใจง่าย เป็ นระเบียบไม่ซ้ าํ ซ้อนสับสน

หลักการเขียนรายงานทางวิชาการ สําหรับหลักการเขียนรายงานทางวิชาการ แยกออกได้เป็ น 2 ชนิด 1. หลักการเขียนรายงานการค้นคว้าทัว่ ไป 2. หลักการเขียนรายงานค้นคว้าวิจยั


- 162 -

1. หลักการเขียนรายงานการค้ นคว้ าทัว่ ไป ขั้นตอนการเขียนรายงานโดยทัว่ ไป มี 7 ขั้นตอนดังนี้ 1. เลือกเรื่ อง 2. รวบรวมบรรณานุกรม 3. การวางโครงเรื่ อง 4. การอ่านและทําบันทึกบัตรความรู ้ 5. เรี ยบเรี ยงเนี้อหาและการอ้างอิง 6. จัดทําบรรณานุกรม 7. เข้าเล่มรายงาน

ขั้นตอนที่ 1 การเลือกเรื่อง หรือ การเลือกหัวข้ อรายงาน เรื่ อง หรื อ หัวข้อรายงานนั้นอาจได้มาโดยผูส้ อนกําหนดให้ หรื อ ผูเ้ รี ยนเลือกหัวข้อตาม ความสนใจ มีหลักการเลือกเรื่ องดังนี้ 1.1 เลือกเรื่ องที่ผเู ้ ขียนสนใจมีพ้ืนความรู ้ และมีความต้อการจะศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม 1.2 เลือกเรื่ องที่มีขอบเขตของเรื่ องพอเหมาะกับเวลาที่ผสู ้ อนกําหนด หากผูเ้ รี ยนเลือก เรื่ องที่มีขอบเขตของเรื่ องที่ทาํ กว้างเกินไป อาจทําให้รายงานไม่สมบูรณ์ เพราะไม่สามารถศึกษา รายละเอียดได้ลึกซึ้งในเวลาที่กาํ หนด หรื อถ้าทําได้กต็ อ้ งใช้เวลานาน ถ้าเลือกเรื่ องที่มีขอบเขตของ เรื่ องแคบเกินไปก็จะมีขอ้ มูลน้อยไม่เพียงพอที่จะเขียนได้ 1.3 เลือกเรื่ องที่มีประโยชน์ น่าสนใจ ให้ความรู ้ความคิดใหม่ๆ 1.4 เลือกเรื่ องที่มีแหล่งสารสนเทศหรื อแหล่งความรู ้มากเพียงพอ สําหรับการค้นคว้า เพื่อให้ได้ขอ้ มูลสารสนเทศที่สมบูรณ์และเชื่อถือได้ เมื่อเลือกหัวข้อรายงานได้แล้วควรจะกําหนดวัตถุประสงค์ ขอบเขตของเรื่ องที่ตอ้ งการจะ ทําและตั้งชื่อเรื่ องรายงาน วิธีการกําหนดวัตถุประสงค์ โดยการตอบตนเองให้ได้วา่ ทําไมจึงเลือกหัวข้อดังกล่าวหรื อ เพราะอะไรจึงอยากศึกษาเรื่ องนี้ เพื่อประโยชน์อะไร คําตอบที่ได้ ก็คือวัตถุประสงค์นาํ มาเรี ยง ตามลําดับความสําคัญ การกําหนดขอบเขตของเรื่ องที่จะทํา ขอบเขตของเรื่ องจะบ่งบอกว่าจะทําเรื่ องอะไรบ้าง อย่างไร ซึ่งขอบเขตของเรื่ องจะต้องสอดคล้องและสามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ได้ สําหรับชื่อเรื่ องรายงาน ควรตั้งชื่อเรื่ องให้กะทัดรัด ครอบคลุมขอบเขตเนื้อหารายงานที่ กําหนดไว้ ไม่ยาวเกินไปและเป็ นชื่อที่กระตุน้ หรื อดึงดูดความสนใจของผูอ้ ่านด้วย


- 163 -

ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมบรรณานุกรม หรือ รวบรมวัสดุสารสนเทศทีเ่ กีย่ วข้ อง ขั้นตอนนี้จะช่วยในการตัดสิ นใจว่าควรเลือกทําเรื่ องนั้นหรื อไม่ กรณี เรื่ องที่จะทํามีขอ้ มูล น้อยควรเลือกทําเรื่ องใหม่เพือ่ ไม่ให้เกิดปัญหาในระยะหลัง

วีธีการรวบรวมวัสดุสารสนเทศ 1. ค้ นหาสารนิเทศจากห้ องสมุด 1.1 ใช้ เครื่องมือช่ วยค้ นวัสดุสารสนเทศ ที่ให้บริ การอยูใ่ นห้องสมุด มี 2 รู ปแบบ คือ 1.1.1 เครื่ องมือช่วยค้นประเภทอิเล็กทรอนิกส์ เป็ นการค้นหาจากฐานข้อมูล ทรัพยากรห้องสมุด ด้วยเครื่ องมือสื บค้นสําเร็ จรู ป (โปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ) 1.1.2 เครื่ องมือช่วยค้นประเภทบัตรรายการ ดังนี้ 1.1.2.1 ค้นหาหนังสื อ โสตทัศนวัสดุ จากบัตรรายการประเภทหัวเรื่ อง 1.1.2.2 ค้นหาบทความวารสาร จากบัตรดรรชนีวารสาร ผลการค้นหาจะได้รายการบรรณานุกรมของวัสดสารสนเทศที่มีขอ้ มูลเกี่ยวข้องกับเรื่ อง ที่ตอ้ งการ ให้บนั ทึกเลขเรี ยกหนังสื อ สัญลักษณ์หรื อบรรณานุกรมของวัสดุสารสนเทศนั้น เพื่อ นําไปค้นหาวัสดุสารสนเทศนั้นๆ ต่อไป 1.2 ค้ นหาจากวัสดุสารสนเทศโดยตรง อาทิ หนังสื ออ้างอิงต่างๆ จุลสารและกฤตภาค วารสาร หรื อ หนังสื อพิมพ์ฉบับใหม่ๆ 2. ค้ นหาจากวัสดุสารสนเทศด้ วยตนเอง เช่น จากการสัมภาษณ์ แบบสอบถาม แผ่นพับ เอกสารจากหน่วยงานนั้นๆ โดยตรง เป็ นต้น 3. ค้ นหาสารสนเทศจากฐานข้ อมูลซีด-ี รอม หรือ ฐานข้ อมูลบนอินเทอร์ เน็ต จะได้ขอ้ มูล สารสนเทศแบบเนี้อหาเต็ม หรื อได้รายการบรรณานุกรมของวัสดุสารสนเทศ ที่มีขอ้ มูลเกี่ยวข้องกับ เรื่ องที่ตอ้ งการได้เช่นกัน ในการสํารวจข้อมูลใน ขั้นตอนที่ 2 นี้ นับว่าเป็ นกิจกรรมที่ควรทําไปพร้อมกับการ รวบรวม บรรณานุกรม และ การบันทึกข้อมูล การรวบรวมบรรณานุกรม ก็คือ การรวบรวมรายชื่อ ของวัสดุสารสนเทศ ที่มีประโยชน์และเกี่ยวข้องกับเรื่ องที่จะทํารายงาน รายชื่อวัสดุสารสนเทศ เหล่านี้ เมื่อจัดเรี ยบเรี ยงตามลําดับอักษร เรี ยกว่า บรรณานุกรม การรวบรวมบรรณานุกรม ซึ่งมี วิธีการและขั้นตอนในการจัดทําดังนี้ 3.1 จุดมุ่งหมายของการรวบรวมบรรณานุกรม 3.1.1 เพื่อรวบรวมรายชื่อแหล่งข้อมูลที่ใช้ประกอบการศึกษา ค้นคว้าจะได้นาํ มา จัดทําโครงเรื่ องเพื่อเขียนรายงาน 3.1.2 เพื่อนํามาบันทึกไว้ทา้ ยรายงาน ให้ผอู ้ ่านทราบว่าผูท้ าํ รายงานใช้หลักฐาน อะไรประกอบการคันคว้าบ้าง


- 164 3.1.3 เพื่อเป็ นแนวทางให้ผสู ้ นใจศึกษารายละเอียดเพิ่มเติม 3.1.4 เพื่อเป็ นแหล่งตรวจสอบหลักฐานของข้อเท็จจริ งในรายงาน 3.2 วิธีการรวบรวมบรรณานุกรม โดยทัว่ ไป วิธีการรวบรวมบรรณานุกรม มีข้นั ตอนดังต่อไปนี้ 3.2.1 ใช้บตั รสําหรับบันทึกรายการทางบรรณานุกรมของงานโดยใช้บตั ร 1 แผ่น ต่อ 1 รายการ 3.2.2 ตรวจสอบเครื่ องมือช่วยค้นต่างๆ รายการออนไลน์ ดรรชนี หนังสื ออ้างอิง และเครื่ องมือช่วยค้นอื่นๆที่คาดว่าจะมีขอ้ มูที่ตอ้ งการ 3.2.3 บันทึกข้อมูลทางบรรณานุกรมที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อซึ่งค้นได้จากเครื่ องมือ ช่วยค้นต่างๆ เหล่านั้นอย่างถูกต้องสมบูรณ์ลงในบัตรเพื่อกลับไปค้นหาเอกสารที่ตอ้ งการได้ 3.2.4 เขียนรายละเอียดหรื อรายการทางบรรณานุกรม ลงบนบัตรในรู ปแบบที่ ถูกต้องตามประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ 3.3 วีธีการเขียนรายการทางบรรณานุกรม การเขียนรายการบรรณานุกรม มีรูปแบบและหลักเกณฑ์ในการบันทึกรายการ แบ่งได้ ตามประเภทของทรัพยากรสารสนเทศดังนี้ คือ หนังสื อ บทความ วิทยานิพนธ์ จุลสาร การสัมภาษณ์ โสตทัศนวัสดุ และสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ ในการเขียนรายการบรรณานุกม อาจทําได้ 2 รู ปแบบ คือ แบบ ก หรื อ แบบ ข เมื่อใช้ แบบใดแบบหนึ่งแล้วควรเป็ นแบบเดียวกันตลอด ตัวอย่ าง รูปแบบบรรณานุกรมหนังสือ แบบ ก. ผูแ้ ต่ง. // ชื่อเรื่อง. // จํานวนเล่ม.// ครั้งที่พิมพ์.//สถานที่พมิ พ์ /:/ สํานักพิมพ์,/ ปี ที่พิมพ์. แบบ ข. ผูแ้ ต่ง. //ปี ที่พมิ พ์. // ชื่อเรื่อง.//จํานวนเล่ม.//ครั้งที่พิมพ์.//สถานที่พิมพ์/:/ สํานักพิมพ์. รู ปแบบและหลักเกณฑ์ ในการบันทึกรายการบรรณานุกรม จะประกอบด้วยส่ วนต่างๆ ดังนี้ ก. ส่ วนชื่อผู้รับผิดชอบ เช่น ชื่อผูแ้ ต่งบุคคลเดียว ผูแ้ ต่ง 2 คน ผูแ้ ต่งที่มีฐานันดรศักดิ์ ผูแ้ ต่งที่เป็ นนิติบุคคล ฯลฯ 1. ผู้แต่ ง 1 คน หรือผู้แต่ งคนเดียว สําหรับผูแ้ ต่งที่เป็ นชาวไทย ให้ลงรายการชื่อ และนามสกุลไปตามที่ปรากฏในสิ่ งพิมพ์ที่นาํ มาอ้างอิง ในกรณี ที่มีคาํ นําหน้านาม หรื อ ตําแหน่ง ทางวิชาการ เช่น นาย นาง นางสาว ศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ด็อกเตอร์ นายแพทย์ ไม่นาํ มาลงในรายการให้ตดั ออก เช่น ผศ. ยุพดี ต่อบุณย์ศุภชัย ลงรายการว่า ยุพดี ต่อบุณย์ศุภชัย ดร. ทักษิณ ชินวัฒน์ ลงรายการว่า ทักษิณ ชินวัฒน์


- 165 สําหรับผูแ้ ต่งที่เป็ นชาวต่างประเทศ ให้กลับชื่อสกุลขึ้นก่อน คัน่ ด้วยเครื่ องหมายจุลภาค (,) และตามด้วยชื่อต้น ชื่อกลาง ตามลําดับ เช่น Kate Behan ลงรายการว่า Behan, Kate หรื อ Judith C. Simon ลงรายการว่า Simon, Judith C. 2. ผู้แต่ งทีม่ ยี ศ ฐานันดร ราชทินนาม ให้ลงรายการโดยใส่ ชื่อของท่านก่อนคัน่ ด้วยเครื่ องหมายจุลภาค (,) และตามด้วยยศ ฐานันดร ราชทินนาม เช่น เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี ลงรายการว่า ธรรมศักดิ์มนตรี , เจ้าพระยา ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ลงรายการว่า คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. 3. กรณีมีชื่อผู้แต่ ง 3 คน สําหรับผูแ้ ต่งชาวไทย ให้ลงรายการชื่อผูแ้ ต่งคนแรก แล้วเว้นวรรค (1 ตัวอักษร) ตามด้วย ชื่อผูแ้ ต่งคนที่ 2 และเชื่อมด้วยคําว่า “และ” แล้วตามด้วยชื่อผูแ้ ต่งคนที่ 3 เช่น เอื้อมพร ทัศนประ สิ ทธิผล นันทนา เงากระจ่าง และครรชิต มาลัยวงศ์ สําหรับผูแ้ ต่งชาวต่างประเทศ ให้ลงรายการชื่อผูแ้ ต่งคนแรก (กลับชื่อสกุลขึ้นก่อน) เชื่อม ด้วยเครื่ องหมายจุลภาค “,” แล้วตามด้วยชื่อผูแ้ ต่งคนที่ 2 (ไม่ตอ้ งกลับชื่อสกุล) และเชื่อมด้วยคําว่า “and” แล้วตามด้วยชื่อ ผูแ้ ต่งคนที่ 3 (ไม่ตอ้ งกลับชื่อสกุล) เช่น Bergman, Robert E., Thomas V. Moore and Judith C. Simon. 4. กรณีมีชื่อผู้แต่ งมากกว่ า 3 คน ขึน้ ไป สําหรับผูแ้ ต่งชาวไทย ให้ลงรายการชื่อผูแ้ ต่งคนแรก และตามด้วยคําว่า “และคนอื่นๆ” หรื อ “และคณะ” เช่น ครรชิต มาลัยวงศ์ และคนอื่นๆ. หรื อครรชิต มาลัยวงศ์ และคณะ. สําหรับผูแ้ ต่งชาวต่างประเทศ ให้ลงรายการชื่อผูแ้ ต่งคนแรกโดย กลับชื่อสกุลขึ้นก่อน และ ตามด้วยคําว่า “and other” หรื อ “et al.” เช่น Simon, Judith C. and other. หรื อ Simon, Judith C. et al. 5. ในกรณีทวี่ สั ดุไม่ ปรากฏชื่อผู้แต่ ง ให้ลงรายการโดยนําส่ วนชื่อเรื่ องมาลง รายการแทนพร้อมทั้งขีดเส้นใต้ หรื อทําตัวดําเข้ม เช่น Database systems : design, implementation, and management. 6. ชื่อผู้แต่ งทีเ่ ป็ นนิติบุคคล ให้ลงรายการโดยนําชื่อนิติบุคคลนั้นมาลงในส่ วน ของชื่อผูร้ ับผิดชอบ ชื่อนิติบุคคล เช่น ชื่อหน่วยงาน ชื่อ สถาบันการศึกษา ชื่อองค์กร เช่น กรม อนามัย กระทรวงสาธารณสุ ข. สาขาวิชาการบัญชี คณะบริ หารธุรกิจ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก


- 166 ข. ชื่อเรื่อง สําหรับชื่อเรื่ องของหนังสื อ จะปรากฏบนหน้าปกใน การบันทึกชื่อเรื่ องหนังสื อภาษา ต่างประเทศ ให้ใช้ตวั อักษรใหญ่ข้ ึนต้นทุกคํา ยกเว้น คําหน้านาม คําบุพบท และคําสันธาน ส่ วนชื่อเรื่ องที่มีคาํ อธิบายหรื อมีชื่อรองให้ใช้เครื่ องหมายมหภาคคู่ ( : ) คัน่ ระหว่าง สองชื่อ จากนั้นให้ขีดเส้นใต้ชื่อเรื่ อง สําหรับชื่อที่มาจากวารสาร หนังสื อพิมพ์ หนังสื อรวมเล่ม ฯลฯ ให้ใส่ เครื่ องหมาย อัญประกาศ ( “____”) ค. จํานวนเล่ ม หนังสื อเล่มเดียวจบไม่ตอ้ งระบุจาํ นวนเล่ม แต่ถา้ หนังสื อนั้นมีหลาย เล่มจบ และใช้ประกอบการเขียนทุกเล่ม ให้ระบุจาํ นวนเล่มทั้งหมด แต่ถา้ ใช้เฉพาะให้ระบุเล่มที่ใช้ หลังจํานวนเล่มให้ใส่ เครื่ องหมายมหัพภาค ( . ) ง. ครั้งทีพ่ มิ พ์ ให้ลงรายการครั้งที่พิมพ์ล่าสุ ด ถ้าเป็ นวัสดุภาษาไทย ใช้คาํ ว่า “พิมพ์ ครั้งที่” แล้วตามด้วยตัวเลขครั้งที่พิมพ์ล่าสุ ด ถ้าเป็ นวัสดุภาษาต่างประเทศ ใช้คาํ ว่า “ed.” ตามหลัง ตัวเลขลําดับครั้งที่พิมพ์ล่าสุ ด ยกเว้ น ถ้าเป็ นพิมพ์ครั้งที่ 1 ไม่ตอ้ งลงรายการส่ วนครั้งที่พิมพ์น้ ี เช่น ครั้งที่พิมพ์ล่าสุ ดคือครั้งที่ 5 ลงรายการว่า พิมพ์ครั้งที่ 5 Edition 2 ลงรายการว่า 2nd ed. Edition 3 ลงรายการว่า 3rd ed. Edition 4 ลงรายการว่า 4th ed. Edition 5 ลงรายการว่า 5th ed. จ. สถานทีพ่ มิ พ์ ให้ระบุชื่อเมืองที่สาํ นักพิมพ์หรื อโรงพิมพ์น้ งั ตั้งอยู่ โดยใช้ชื่อเมือง ตามที่ปรากฏในหนังสื อนั้นๆ ในกรณี ที่ไม่ปรากฏชื่อเมือง ให้ใช้คาํ ว่า[ม.ป.ท.] หรื อ [n.p.] ใน ตํา แหน่งของสถานที่พิมพ์ หลังสถานที่พิมพ์ ใส่ เครื่ องหมายมหัพภาคคู่ (:) ฉ. สํ านักพิมพ์ ให้ใช้ตามที่ปรากฏในหน้าปกใน ในกรณี ที่มีท้ งั สํานักพิมพ์ และ โรงพิมพ์ ให้ใช้ชื่อสํานักพิมพ์ ถ้าไม่มีสาํ นักพิมพ์ จึงระบุชื่อโรงพิมพ์ คําที่เป็ นส่ วนหนึ่ของ สํานักพิมพ์ เช่น ห้างหุ น้ ส่ วนจํากัด Incorpoation, Inc., Limited, Ltd. ให้ตดั ออก สิ่ งพิมพ์รัฐบาล ให้ใช้ชื่อหน่วยงานราชการ สถาบัน ที่จดั พิมพ์ไว้ในรายการสํานักพิมพ์ หนังสื อที่พิมพ์เองเป็ น ส่ วนตัวให้ใช้ที่อยูข่ องผูแ้ ต่ง(ถ้ามี) ในกรณี ที่ไม่ปรากฏชื่อสํานักพิมพ์หรื อโรงพิมพ์ ให้ใช้ [ม.ป.ท.] หรื อ [n.p.] เช่นเดียวกับไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์ ถ้าไม่ปรากฏทั้งสถานที่พิมพ์และสํานักพิมพ์ ให้ ใช้ [ม.ป.ท.] หรื อ [n.p.] แทนเพียงคําเดียว ช. ปี พิมพ์ ให้ลงรายการ ปี ที่พิมพ์ ปี ที่ผลิต ปี ลิขสิ ทธิ์ อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยใช้ ปี ล่าสุ ด เช่น พิมพ์ในปี 2544, 2543 ให้เลือกปี ล่าสุ ดคือ ปี พ.ศ. 2544 หรื อ copyright 2003, 2000 ให้เลือกปี ล่าสุ ดคือ ปี ค.ศ. 2003 เช่น (2544). หรื อ (2003). และในกรณี ที่ไม่ปรากฏปี พิมพ์ ให้ พิมพ์คาํ ว่า “ม.ป.ป.” (ไม่ปรากฏปี ที่พิมพ์) หรื อ “n.d.” (no date) เช่น (ม.ป.ป.) หรื อ (n.d.)


- 167 -

ตัวอย่ างและรู ปแบบการลงรายการบรรณานุกรม แบ่ งตามวัสดุสารสนเทศ ดังนี้ 1. ตัวอย่ างการเขียนบรรณานุกรม หนังสื อเล่ ม ชื่อผูแ้ ต่ง.//ชื่อหนังสื อ.// สถานที่พิมพ์.//สํานักพิมพ์./ปี ที่พิมพ์. วิทยากร เชียงกูล. ฉันจึงมาหาความหมาย. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2544. คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. หลาย ชีวติ . กรุ งเทพฯ : ดอกหญ้า, 2548. 2. ตัวอย่ างการเขียนบรรณานุกรมที่มีผ้ แู ต่ ง 2 คน ชื่อผูแ้ ต่งทั้งสองคน.// ชื่อหนังสื อ. //สถานที่พิมพ์/: /สํานักพิมพ์, /ปี ที่พิมพ์. สมบัติ จําปาเงิน และ สําเนียง มณี กาญจน์. หลักนักอ่าน. กรุ งเทพฯ : เรื อนแก้ว, 2531. 3. ตัวอย่ างการเขียนบรรณานุกรมหนังสื อที่มีผ้ แู ต่ ง 3 คนขึน้ ไป ชื่อผูแ้ ต่ง /และผูแ้ ต่งคนอื่นๆ.// ชื่อหนังสื อ. // ครั้งที่พิมพ์. // สถานที่พิมพ์/ : /สํานักพิมพ์,/ ปี ที่พิมพ์. อธิษกานต์ ไกรภักดี และคนอื่นๆ. การ เมืองและการปกครองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 4. นนทบุรี : ปาน เทวาการพิมพ์, 2541. 4. ตัวอย่ างการเขียนบรรณานุกรมหนังสื อแปล ชื่อผูแ้ ต่ง.// ชื่อหนังสื อ.//แปลโดย /ชื่อผูแ้ ปล.//สถานที่พิมพ์/: /สํานักพิมพ์, /ปี ที่พิมพ์. วิลเลี่ยม, สตีเวนสัน. นายอินทร์ ผ้ ูปิดทองหลังพระ. ทรงแปลโดย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิ พลอดุลยเดช. กรุ งเทพฯ/:/ อมริ นทร์พริ้ นติ้งแอนด์พบั ลิชชิ่ง, 2539. 5. ตัวอย่ างการเขียน บรรณานุกรมจากวิทยานิพนธ์ ชื่อผูแ้ ต่ง, // “ชื่อวิทยานิพนธ์ หรื อสารนิพนธ์.”// สาขา// และสถาบันการศึกษา, /ปี การศึกษา. ศศิรินทร์ คําบํารุ ง,// “โครงสร้างในด้านข่าวและธุรกิจของศูนย์ข่าวภูมิภาค.”// วิทยานิพนธ์นิเทศ ศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการหนังสื อพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541. 6. ตัวอย่ างการเขียนบรรณานุกรมจากบท สัมภาษณ์ ชื่อผูใ้ ห้สมั ภาษณ์. //ตําแหน่ง (ถ้ามี). //สัมภาษณ์,//วันที่สมั ภาษณ์. ทักษิณ ชินวัตร. นายกรัฐมนตรี . สัมภาษณ์, 18 มกราคม 2549. 7. ตัวอย่างการเขียนบรรณานุกรมจากบทความในสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ ชื่อผูแ้ ต่ง. //“ชื่อบทความ.” //[ประเภทของสื่ อที่เข้าถึง] //<เข้าถึงได้จาก>// (วันที่คน้ ข้อมูล) “กระแสการปฏิรูปการศึกษา.” (2545). [ออนไลน์]. <เข้าถึงได้จาก> http:///www. moe.go.th/main2/ article/article-somsak/article-somsak11.htm/.(วันที่คน้ ข้อมูล : 31 พฤษภาคม 2545).


- 168 8. ตัวอย่ างการเขียนบรรณานุกรมจากบทความในวารสารหรื อนิตยสาร ชื่อผู ้ เขียนบทความ.// “ชื่อบทความ.” //ชื่อวารสาร. //ปี ที่, ฉบับที่/(เดือน ปี ) /:/ เลขที่หน้าอ้างอิง. อัลยา นฤชานนท์. “ได้อะไรบ้างจากการอ่านสารคดีการท่องเที่ยว.” เทีย่ วรอบโลก. 45, 4 (เมษายน 2540) : 36-40. 9. ตัวอย่ างการเขียนบรรณานุกรมจากบทความในหนังสื อพิมพ์ ชื่อผูเ้ ขียนบทความ./ “ชื่อบทความ.”//ชื่อหนังสื อพิมพ์.// (วัน เดือน ปี )/: /เลขหน้าที่อา้ งอิง. สมเจตน์ วัฒนาธร. “กินบนเรื อน ขี้บนหลังคา.” เดลินิวส์ . ( 7 กรกฎาคม 2549): 14.

ขั้นตอนที่ 3 การวางโครงเรื่อง การวางโครงเรื่ อง คือ การจัดลําดับการนําเสนอหัวข้อต่างๆ ตามลําดับความสําคัญว่าหัวข้อใด ควรมาก่อน หัวข้อใดควรมาหลัง การวางโครงเรื่ องจะคล้ายกับสารบัญ มีหลักดังนี้ 1. แบ่งเนี้อหาออกเป็ น 3 ส่ วนคือ ส่ วนที่ 1 บทนํา เป็ นการอธิบายเนื้อหาอย่างกว้างๆ เพือ่ สร้างความเข้าในก่อนนําไปสู่ รายละเอียดของเรื่ อง ได้แก่ ความหมาย ความสําคัญ ความเป็ นมา วัตถุประสงค์ เป็ นต้น ส่ วนที่ 2 เนีอ้ เรื่ อง เป็ นส่ วนที่นาํ เสนอสาระทั้งหมดของรายงาน ส่ วนที่ 3 บทสรุ ป เป็ นการสรุ ปการนําเสนอปั ญหา และข้อเสนอแนะบางประการ 2. ในแต่ละส่ วนให้จดั ทําเป็ นบท โดยส่ วนเนี้อเรื่ องจะจัดทําเป็ นบทกี่บทก็ได้ตามความ เหมาะสม 3. ในแต่ละบทจะประกอบด้วยหัวข้อต่างๆ ที่แสดงความสําคัญมาก (หัวข้อใหญ่) และหัวข้อ สําคัญรอง ลงมาตามลําดับ (หัวข้อรองและหัวข้อย่อย) เขียนหัวข้อใหญ่ก่อนภายใต้หวั ข้อใหญ่ จะมี หัวข้อรอง หัวข้อย่อยอะไรบ้าง แล้วจึงเขียนหัวข้อรอง และหัวข้อย่อยลดหลัน่ ไปตามลําดับ 4. แต่ลละหัวข้อจะต้องมีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกันโดยตลอด กล่าวคือ หัวข้อใหญ่สมั พันธ์ กับชื่อเรื่ องของรายงาน หัวข้อรองสัมพันธ์กบั หัวข้อใหญ่ เป้ นต้น 5. ในการวางหัวข้อต่างๆ กําหนดให้หวั ข้อที่มีความสําคัญเท่ากันอยูใ่ นตําแหน่งเดียวกัน หัวข้อสําคัญรองลงไป จะอยูใ่ นตําแหน่งย่อหน้าลึกเข้าไปตามลําดับ 6. ในแต่ละหัวข้อสําคัญ ต้องมีไม่นอ้ ยกว่า 2 หัวข้อ และให้มีการจําแนกหัวข้อเป็ น 2 แบบ คือ แบบใช้ตวั เลขทศนิยม และแบบใช้ตวั เลขสลับตัวอักษร (เลือกใช้แบบใดแบบหนึ่ง) ดังต่อไปนี้


- 169 แบบที่ 1 การวางโครงเรื่ องและการจําแนกหัวข้อแบบใช้ตวั เลขทศนิยม

1. ............................................................................................................................... (ชื่อบท) 1.1 ......................................................................................................................... (หัวข้ อใหญ่ ) 1.2 ......................................................................................................................... (หัวข้ อใหญ่ ) 1.2.1 ............................................................................................................... (หัวข้อรอง) 1.2.2 .............................................................................................................. (หัวข้อรอง) 1.2.2.1 ................................................................................................. (หัวข้อรองย่อย) 1.2.2.2 ................................................................................................. (หัวข้อรองย่อย) 2. ............................................................................................................................... (ชื่อบท) 1.1 ......................................................................................................................... (หัวข้ อใหญ่ ) 1.2 ......................................................................................................................... (หัวข้ อใหญ่ )

แบบที่ 2 การวางโครงเรื่ องและการจําแนกหัวข้อแบบใช้ตวั เลขสลับตัวอักษร

1. .............................................................................................................................. (ชื่อบท) ก. .......................................................................................................................... (หัวข้ อใหญ่ ) ข. .......................................................................................................................... (หัวข้ อใหญ่ ) 1) ................................................................................................................... (หัวข้อรอง) 2) .................................................................................................................. (หัวข้อรอง) ก) ....................................................................................................... (หัวข้อรองย่อย) ข) ....................................................................................................... (หัวข้อรองย่อย) ค. ....................................................................................................................... (หัวข้ อใหญ่ ) 2. ............................................................................................................................... (ชื่อบท) ก. ........................................................................................................................... (หัวข้ อใหญ่ ) ข. .......................................................................................................................... (หัวข้ อใหญ่ )


- 170 -

ขั้นตอนที่ 4 การบันทึกข้ อมูล การบันทึกข้อมูลมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมข้อมูลจากแหล่งสารสนเทศต่างๆ มาเขียนลงบน กระดาษบันทึก ที่เรี ยกว่า “บัตรบันทึกข้อมูล” ซึ่งข้อมูลที่ควรบันทึกบนบัตร จะเป็ นข้อมูลที่ผทู ้ าํ รายงาน ถอดความหรื อถ่ายความมาแล้วเขียนด้วยภาษาตนเอง ก. การทําบัตรบันทึก 1) การบันทึกจากสื่ อสิ่ งพิมพ์ เป็ นการบันทึกจากการอ่านสิ่ งพิมพ์ต่างๆ เช่น หนังสื อ สารคดี ตํารา วารสาร หนังสื อพิมพ์ หนังสื ออ้างอิง เป็ นต้น ซึ่งการอ่านสิ่ งพิมพ์เหล่านี้เพื่อทําบัตร บันทึกนั้นควร อ่านเฉพาะเรื่ องที่ตอ้ งการเท่านั้น 2) การบันทึกจากสื่ อโสตทัศน์และแหล่งอื่นๆ เป็ นการบันทึกจากการฟังและการดูจาก สื่ อโสตทัศน์ ข. วิธีทาํ บัตรบันทึก 1) วิธีทาํ บัตรบันทึกจากการอ่าน ให้เตรี ยมกระดาษบันทึกขนาด 4 x 6 นิ้ว อ่าน เฉพาะเรื่ องที่ตอ้ งการ แล้วทําการบันทึกข้อมูล แต่ถา้ ต้องการตาราง รู ปภาพ และแผนภูมิกใ็ ห้วาด ลงบนบัตรหรื อถ่ายเอกสารไว้ และให้หวั เรื่ องกํากับไว้ที่มุมของบัตรบันทึก 2) วิธีทาํ บัตรบันทึกจากการฟังและการดู ปฏิบตั ิเช่นเดียวกับการบันทึกจากการอ่าน แต่ตอ้ งควบคุมให้ประสาทตา หู และมือทํางานสัมพันธ์กนั ค. รูปแบบบัตรบันทึก รู ปแบบบัตรใช้บตั รขนาดเดียวกันที่นิยม คือ 4X6 นิ้ว ในแต่ละบัตรจะประกอบด้วย 3 ส่ วน คือ ส่ วนที่เป็ นหัวเรื่ องหรื อหัวข้อ ส่ วนที่เป็ นเนื้อหา และส่ วนที่มาของข้อมูล และนอกจากนี้ ไม่ควรเปลี่ยนรู ปแบบ แต่ให้เขียนเป็ นแบบเดียวกันทุกๆ บัตร ง. วิธีการบันทึกข้ อมูล 1) แบบถอดความหรื อถ่ายความ (Paraphrase) เป็ นการบันทึกที่ตอ้ งคงความหมายและ ขอบเขตของเดิมไว้โดยใช้คาํ พูด ของตนเอง 2) แบบลอกความ (Quotation) เป็ นการบันทึกที่ตอ้ งคัดลอกทุกอย่างให้เหมือนต้นฉบับ แม้แต่เป็ น เครื่ องหมาย ตัวสะกด และตัวการันต์ของข้อความตอนใดที่คดั ลอกมา ให้คร่ อมไว้ดว้ ย เครื่ องหมายอัญประกาศ (“___”) ถ้าคัดลอกมาเพียงบางตอนให้ใช้เครื่ องหมายจุด 3 จุด (…) ใส่ ไว้ก่อนหรื อหลังข้อความนั้น 3) แบบสรุ ปความจะบันทึกให้เหลือประมาณครึ่ งหนึ่งของข้อมูลเดิมโดยใช้คาํ พูดของ ตนเองซึ่งไม่มีการอธิบายและยกตัวอย่าง โปรดตัวอย่างบัตรบันทึกในหน้าถัดไป


- 171 ตัวอย่ างบัตรบันทึกแบบลอกความ ภาวะโลกร้ อน กองบรรณาธิการ, “ภาวะโลกร้อน” วารสารสารคดี หน้า 15-20. “ การที่อุณหภูมิของโลกเพิ่มสูงขึ้นทําให้ระดับนํ้าทะเลสู งขึ้น และคาดว่าทําให้เกิด ภาวะลมฟ้ าอากาศสุ ดโต่ง (extreme weather) ที่รุนแรงมากขึ้น ปริ มาณและรู ปแบบการเกิดหยาด นํ้าฟ้ าจะเปลี่ยนแปลงไป ผลกระทบอื่นๆ ของปรากฏการณ์โลกร้อนได้แก่ การเปลี่ยนแปลงของ ผลิตผลทางเกษตร การเคลื่อนถอยของธารนํ้าแข็ง การสู ญพันธุ์พืช-สัตว์ต่างๆ รวมทั้งการกลาย พันธุ์และแพร่ ขยายโรคต่างๆ เพิ่มมากขึ้น...” ตัวอย่ างการบันทึกแบบสรุ ปความ วิธีการเรียนรู้ มาลี จุฑา. การประยุกต์จิตวิทยาเพื่อการเรี ยนรู ้. กรุ งเทพฯ : อักษราพิพฒั น์, 2544 หน้า 64 วิธีการเรี ยนรู ้เป็ นการใช้พลังของสมาธิ ความจําและความคิดเพื่อให้เกิดความเข้าใจในเรื่ อง ที่เรี ยน โดยมีข้นั ตอนดังนี้ เปิ ดใจรับข้อมูล คิดวิเคราะห์ไตร่ ตรองจนเข้าใจ ประยุกต์ใช้ในทาง สร้างสรรค์หรื อเปลี่ยนแปลงทัศนคติค่านิยม

ตัวอย่ างการบันทึกแบบถอดความ ความหมายเสมอภาค อังคาร กัลยา ณ พงศ์. กวีนิพนธ์. กรุ งเทพฯ : ,มูลนิธิเสฐียรโกเศศ -นาคะประทีป. 2522. หน้า 7 โคลงเรื่อง “โลภ” โลกนี้มีอยูด่ ว้ ย มณี เดียวน ทรายและสิ่ งอื่นมี ส่ วนสร้าง ปวงธาตุต่าํ กลางดี ดุลยภาพ ภาคจักรพาลมิร้าง เพราะนํ้าแรงไหน โลกนี้คงอยูไ่ ด้ดว้ ยการช่วยเหลือซื่งกันและกันของมนุษย์ทุกคน ไม่วา่ จะสูงส่ งตํ่าต้อย เพียงใด ทุกคนก็มีความสําคัญเท่าเทียมกันหมด และถ้าจะสูญเสี ยผูห้ นึ่งผูใ้ ดไปโลกนี้กจ็ ะดํารงอยูไ่ ด้ ต่อไป


- 172 -

ขั้นตอนที่ 5 การเรียบเรียงเนีอ้ หาและการอ้ างอิง การเรี ยบเรี ยงเนี้อหาและการอ้างอิง เป็ นการนําข้อมูลที่ได้บนั ทึกใว้ในบัตรบันทึกความรู ้ มา รวบรวมและเรี ยบเรี ยงให้ต่อเนื่องเป็ นเรื่ องเดียวกันตามโครงเรื่ องที่วางไว้ ดังนี้ 1. รวมบัตรบันทึกหัวข้อเดียวกันใว้ดว้ ยกัน แล้วนํามาจัดเรี ยงตามลําดับหัวข้อในโครงเรื่ องที่ วางไว้ 2. ศึกษาข้อมูลในบัตรบันทึกทั้งหมด โดยอ่านข้อมูลในบัตรบันทึกไปทีละหัวข้อ 3. เขียนรายงานฉบับร่ าง เป็ นการเรี ยบเรี ยนเนื้อหาตามโครงเรื่ องที่วางไว้เป็ นลําดับต่อเนื่อง และใช้สาํ นวนภาษาของตนเอง ขั้นตอนนี้ควรใช้ดินสอร่ างเนื้อหาเพือ่ สะดวกในการแก้ไข โดย 3.1 ไม่คดั ลอกเนื้อหาจากบัตรมาปะติดปะต่อกันจนจบ 3.2 เนื้อหาตอนใดมีส่วนประกอบที่ช่วยอธิบายเนื้อหาให้ชดั เจน สมบูรณ์ เช่นตาราง ภาพประกอบ เป็ นต้น ให้จดั ทําไปพร้อมกับเรี ยบเรี ยงเนี้อหา 3.3. ข้อความตอนใดที่นาํ มาใช้เพื่อการอ้างอิงไม่วา่ ในรู แของการย่อความ การถอดความ หรื อการคัดลอกความ จะต้องระบุการอ้างอิงให้ถูกต้อง 3.4 ใช้ภาษาในการเขียนรายงานให้ถูกต้องกล่าวคือ 3.4.1 ควรใช้ภาษา หรื อสํานวนดวหารเป็ นของตนเอง ที่เข้าใจง่ายและถูกต้อง 3.4.2 ใช้ประโยคสั้นๆให้ได้ใจความชัดเจน สมบูรณ์ ตรงไปตรงมา ไม่วกวน 3.4.3 ใช้ภาษาที่เป็ นทางการ 3.4.4 ใช้คาํ ที่มีความหมายชัดเจน 3.4.5 ระมัดระวังในเรื่ องการสะกดคํา การแบ่งวรรคตอน 3.4.6 การแยกคําด้วยสาเหตุที่เนื้อที่ในบรรทัดไม่พอหรื อหมดเนื้อที่ในหน้าที่น้ นั ๆ 3.4.7 การนําคําภาษาอังกฤษมาใช้ มีวิธีการดังนี้ - ถ้าคํานั้นรู ้จกั กันแพร่ หลายในภาษาไทย ให้เขียนเป็ นภาษาไทย ไม่ตอ้ งมี ภาษาอังกฤษกํากับ - ถ้าเป็ นคําใหม่ หรื อศัพท์วชิ าการ ในการเขียนครั้งแรกให้กาํ กับภาษาอังกฤษไว้ ในวงเล็บ ครั้งต่อๆไปไม่ตอ้ งกํากับภาษาอังกฤษ 4. ตรวจทานรายงานบับร่ าง เมื่อเขียนรายงานฉบับร่ างเสร็ จแล้วให้ตรวจทานอีกครั้งหนึ่งเพื่อ แก้ไข หรื อแทรกเสริ มสาระสําคัญ


- 173 -

ขั้นตอนที่ 6 การเขียนบรรณานุกรม การเขียนบรรณานุกรมเป็ นนการรวบรวมรายชื่อวัสดุสารสนเทศ ที่มีผเู ้ ขียนใช้ศึกษาค้นคว้า และใช้อา้ งอิงในการทํารายงานทั้งหมดมาแสดงไว้ในหน้านี้ วิธีการ คือ นําบัตรบันทึกความรู ้มาเรี ยงลําดับตามตัวอักษรของรายการแรก ของรายการ บรรณานุกรมของวัสดุสารสนเทศ ซึ่งส่ วนใหญ่จะเป็ นชื่อผูแ้ ต่ง ถ้ามีบรรณานุกรมทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ ให้เขียนภาษาไทยขึ้นก่อน ต่อด้วยบรรณานุกรมภาษาต่างประเทศ สําหรับรายละเอียด วิธีการเขียนบรรณานุกรมที่ถูกต้องได้กล่าวไว้แล้ว (ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมบรรณานุกรม)

ขั้นตอนที่ 7 การเข้ าเล่ มรายงาน การเข้าเล่มรายงานต้องลําดับดังนี้ 1. จัดทําส่ วนประกอบต่างๆให้ครบถ้วน ได้แก่ ส่วนประกอบตอนต้น ส่ วนเนื้อเรื่ งอและ ส่ วนประกอบตอนกท้าย 2. นํารายงานไปจัดพิมพ์หรื อเขียนเป็ นรายงานฉบับจริ ง 3. นํารายงานไปเย็บเล่มเป็ นรู ปเล่มรายงานที่เรี ยบร้อย

ส่ วนประกอบของรายงานโดยทัว่ ไป ในการเขียนหรื อพิมพ์รายงานการค้นคว้าทั้วไป แต่ละสถานศึกษาจะกําหนดให้เขียนใน รู ปแบบเดียวกัน ทั้งนี้เพื่อความเป็ นระเบียบและสะดวกในการประเมินผล ส่ วนประกอบของการ รายงานการค้นคว้าทัว่ ไป แบ่งออกได้ 3 ส่ วน คือ ส่ วนประกอบตอนต้น ส่ วนเนื้อเรื่ องและ ส่ วนประกอบตอนท้าย ดังนี้ 1. ส่ วนประกอบตอนต้ น หมายถึง ส่วนที่อยูต่ อนต้นเล่มของรายงาน ก่อนถึงเนื้อเรื่ อง จะ ประกอบด้วย ปกนอก ใบรองปก หน้าปกใน คํานํา และสารบัญ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 1.1 ปกนอก คือ ส่ วนที่เป็ นปกหุ ม้ รายงานทั้งหมดมีท้ งั ปกหน้า และปกหลัง กระดาษ ที่ใชเป็ นปกควรเป็ นกระดาษแข็งพอสมควร สี ใดก็ใด้ ข้อความที่ปรากฏบนปกนอก ได้แก่ ชื่อเรื่ อง ชื่อเรื่ องของรายงาน และชื่อผูท้ าํ รายงาน การเขียนหรื อพิมพ์ชื่อเรื่ องของรายงาน ให้ห่างจากขอบบน ของหน้ากระดาษลงมาประมาณ 4 นิ้ว และควรให้ชื่อของรายงานอยูก่ ลางหน้า กระดาษ 1.2 หน้ าปกใน คือ ส่ วนที่อยูต่ ่อจากปกนอก นับเป็ นหน้าที่สาํ คัญของรายงาน หน้าปก ในจะปรากฎรายละเอียดที่เกี่ยวกับรายงานซึ่งมีขอ้ ความดังนี้ - ชื่อเรื่ องของรายงาน


- 174 - ชื่อผูจ้ ดั ทํารายงาน - ชื่อวิชาที่เรี ยน - ชื่อภาคเรี ยนและปี การศึกษาที่เสนอรายงาน - ภาคเรี ยนและปี การศึกษาที่เสนอรายงาน 1.3 คํานํา ได้แก่ ข้อความซึ่งผูท้ าํ รายงานต้องการชี้แจงให้ผอู ้ ่านได้ทราบวัตถุประสงค์ ของการทํารายงาน ขอบเขต เนื้อหาของรายงานวิธีการศึกษาค้นคว้า อาจมีคาํ กล่าวขอบคุณผูท้ ี่มีส่วน ช่วยเหลือในการทํารายงานด้วย 1.4 สารบาญ คือ บัญชีรายการสําคัญๆ ที่ปรากฏในรายงานเช่นคํานําสารบาญเนื้อเรื่ อง ซึ่งแบ่งเป็ นหัวข้อใหญ่และหัวข้อย่อยรายการโน้ตบรรณานุกรม ฯลฯ พร้อมระบุเลขหน้าที่รายการ นั้นๆ ปรากฏในรายงาน 1.5 สารบาญภาพ รายงานบางฉบับมีภาพถ่าย แผนที่ แผนภูมิ แผนสถิติฯลฯ ประกอบ เรื่ องเป็ นจํานวนมากผูท้ าํ รายงาน อาจทําสารบาญภาพไว้ดว้ ยเพื่อความสะดวกของผูอ้ ่านโดยบอกชื่อ ของภาพและระบุหน้าที่ภาพปรากฏแต่ถา้ มีภาพประกอบ 2-3ภาพก็ไม่จาํ เป็ นต้องทําสารบาญภาพ 2. ส่ วนเนือ้ เรื่อง หมายถึง ส่ วนที่เป็ นเนื้อเรื่ องของรายงานที่ได้คน้ คว้ามา โดยผูท้ าํ รายงาน นํามาเรี ยบเรี ยงใหม่นบั ว่าเป็ นส่ วนที่มีความสําคัญที่สุด ส่ วนนี้ประกอบด้วยรายการต่างๆ ได้แก่ 2.1 ส่ วนบทนํา ข้อความในส่ วนนี้ เป็ นการนําผูอ้ ่านเข้าสู่ เรื่ องราวโดยการเรี ยกความ สนใจ หรื อให้เหตุผลที่มาหรื อ ประวัติความเป็ นของเรื่ องที่จะนําเสนอต่อไป 2.2 ส่ วนที่เป็ นเนื้อหา เป็ นการเสนอเนื้อหาของรายงานตามลําดับโครงเรื่ อง ที่วางไว้ อาจแบ่งเป็ นบทเป็ นตอนตามเหมาะสม นอกจากนี้อาจมีภาพประกอบ ตาราง หรื อข้อความ ใน อัญประกาศที่คดั มา หรื อข้อความที่ตอ้ งการอ้างอิงรายละเอียดดังกล่าว จะนํา เสนอไว้ในส่ วนนี้ 2.3 ส่ วนสรุ ป เป็ นข้อความที่รวมสรุ ปผลของการศึกษาค้นคว้า อาจรวมข้อเสนอแนะ ความเห็นหรื อปั ญหาต่างๆ ที่ผทู ้ าํ รายงานคาดว่าจะเป็ นประโยชน์ต่อผูอ้ ่าน 3. ส่ วนประกอบตอนท้ าย ประกอบด้วยส่ วนต่างๆ ดังนี้ 3.1 ส่ วนอ้างอิง หมายถึง ส่ วนที่แสดงหลักฐานประกอบการค้นคว้าและการเขียน รายงานเพื่อให้ทราบว่าผูท้ าํ รายงานได้คน้ คว้ามาจากแหล่งใดบ้าง นับเป็ นส่ วนที่ทาํ ให้รายงานมี ความน่าเชื่อ และแสดงถึงความมีจริ ยธรรมทางวิชาการ ส่ วนอ้างอิงมี 2 ลักษณะ คือ การอ้างอิงใน เนื้อหาของรายงาน และการอ้างอิงที่อยูท่ า้ ยเล่มของรายงาน -- การอ้างอิงในเนื้อหาของรายงาน จะปรากฏเมื่อผูท้ าํ รายงานได้คดั ลอกข้อความ หรื ออ้างคําพูดหรื อแนวคิดของบุคคลอื่นมาไว้ในการทํารายงานของตน โดยระบุนามผูแ้ ต่ง ปี ที่พมิ พ์ และ/หรื อเลขหน้า -- การอ้างอิงที่อยูต่ อ้ นท้ายเล่มของรายงาน คือ การนํารายการที่อา้ งอิงในเนื้อหา ทั้งหมดมาจัดรวบรวมไว้ตอนท้ายเล่มของรายงานในลักษณะที่ เรี ยกว่า รายการอ้างอิง (Reference)


- 175 -

3.2 ภาคผนวก คือ รายการที่ผทู ้ าํ รายงานต้องการเสนอเพิม่ เติมนอกเหนือจากส่ วนที่ เป็ นเนื้อเรื่ องเนื่องจากรายการนั้นไม่เหมาะที่จะเสนอแทรกไว้ในส่ วนเนื้อหา แต่มีความสัมพันธ์ และ ช่วยให้เข้าใจเนื้อเรื่ องดีข้ ึน เช่น ตัวเลขสถิติ แบบสอบถาม ตาราง ลําดับเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ 3.3 อภิธานศัพท์ คือ รายการอธิบายความหมายของคํา ที่ปรากฏในรายงานมักจะ เป็ นคําเฉพาะสาขาวิชาหรื อ คําท้องถิ่นในภาคต่างๆ ซึ่งผูอ้ ่านรายงานอาจไม่คุน้ เคยมาก่อน จึงควร นํามาอธิบายไว้ทา้ ยรายงาน

หลักเกณฑ์ การพิมพ์ รายงาน ในการพิมพ์รายงานที่เป็ นลายลักษณ์อกั ษร ควรพิมพ์หรื อเขียนด้วยลายมือที่อ่านง่าย และ เป็ นระเบียบเพือ่ ให้สบายตาต่อผูอ้ ่านและสวยงาม การพิมพ์รายงานมีขอ้ ที่ควรปฏิบตั ิ ดังนี้ 1. กระดาษพิมพ์ ควรเป็ นสี ขาว มีขนาด 8.5x11 นิ้ว หมึกพิมพ์ควรเป็ นสี ดาํ หรื อสี น้ าํ เงิน 2. ความกว้างของขอบกระดาษการจัดเตรี ยมการดาษเพือ่ พิมพ์รายงานควรกําหนดที่วา่ ง ของขอบการดาษตามที่นิยมใช้ในการพิมพ์ดงั นี้คือ ห่างจากขอบกระดาษด้านบน 1.5 นิ้ว ห่างจาก ขอบกระดาษด้านล่าง 1 นิ้ว จากห่ างขอบกระดาษด้านซ้าย 1.5นิ้วห่างจากขอบกระดาษด้านขวา 1นิ้ว ปั จจุบนั การพิมพ์รายงาน มักพิมพ์ดว้ ยเครื่ องคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถจัดข้อความในแต่ละ บรรทัดด้านขวาให้ตรงกันในแนวเดียวกัน โดยห่างจากขอบกระดาษ 1 นิ้ว ตามกําหนดวิธีการ ปรับบรรทัด แบบนี้อาจทําให้ระยะห่างของคําภายในบรรทัดหนึ่ง ๆไม่เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ทาง ไวยากรณ์ ดังนั้นจึงมีขอ้ เสนอแนะ ให้งดวิธีการปรับให้คาํ ด้านขวาตรงกันทุกบรรทัด สําหรับขอบ กระดาษด้านล่างนั้น อาจเหลือที่วา่ งจากขอบกระดาษมากกว่า 1 นิ้ว ได้ในกรณี ที่บรรทัดสุ ดท้าย เป็ นหัวข้อ ควรปั ดไปพิมพ์ในหน้าถัดไป แต่สาํ หรับส่ วนท้ายหน้าที่กระดาษจะต้องบันทึกรายการ เชิงอรรถ ก็ควรปรับที่วา่ งให้พอกับข้อความและควรคงระยะห่างจากขอบกระดาษล่าง ตามที่ กําหนดไว้ 1 นิ้ว เช่นเดิม 3. การย่อหน้าและระยะการพิมพ์ ให้เว้นจากริ มขอบซ้ายของหน้ากระดาษ 1.5 นิ้วตามที่ กําหนดก่อนจากนั้นจึงนับเข้า 5-7 ระยะหรื อ 5-7 ตัวอักษรเริ่ มพิมพ์ขอ้ ความย่อหน้าในระยะที่ 6-8 บรรทัดต่อไปให้พิมพ์ชิดขอบกระดาษตามระยะที่กาํ หนดไว้ การพิมพ์ขอ้ ความในแต่ละย่อหน้าให้ เว้นระยะตามหลักเกณฑ์การพิมพ์ทว่ั ไป คือ 2 บรรทัดสําหรับขึ้นหัวข้อใหม่และเว้น 1 บรรทัด สําหรับรายการต่อเนื่อง


- 176 4 การพิมพ์รายการของ คํานํา สารบาญ บรรณานุกรม ภาคผนวก ฯลฯ ให้วางข้อความ ดังกล่าวไว้ตรงกลางหน้ากระดาษห่ างจาก ขอบกระดาษด้านบน 2 นิ้ว เมื่อพิมพ์ขอ้ ความแล้วให้ เว้น 3 บรรทัดหรื อ 3 ระยะเครื่ องพิมพ์ดีดก่อนที่จะพิมพ์ขอ้ ความอื่น 5. การพิมพ์หน้าชื่อบท หรื อชื่อเรื่ องมีแนวการพิมพ์ดงั นี้ 5.1 ให้วางชื่อบทไว้กลางหน้ากระดาษโดยห่ างจากขอบกระดาษบน 2 นิ้ว สําหรับชื่อ เรื่ องหรื อชื่อบทให้อยูก่ ลางหน้ากระดาษของบรรทัดต่อจากชื่อบทโดยไม่มีบรรทัดว่างคัน่ 5.2 ข้อความที่อยูใ่ นบรรทัดแรกของเนื้อหาในย่อหน้าแรกของบทให้พิมพ์ห่างจากชื่อ บท 2 บรรทัด 5.3 การพิมพ์รายการบรรณานุกรม บรรณานุกรมที่มีท้งั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษให้ พิมพ์รายการภาษาไทยก่อน โดยจัดเรี ยงแต่ละรายชื่อตามลําดับอักษร ก-ฮ เว้น 1 บรรทัดตามด้วย รายชื่อภาษาอังกฤษโดยมีวิธีเรี ยงดังนี้ 5.3.1 ให้พิมพ์รายชื่อของวัสดุสารสนเทศที่นาํ มาอ้างอิงแต่ละรายชื่อให้พิมพ์ห่าง จากขอบกระดาษ 1.5 นิ้ว ตามที่กาํ หนดไว้ถา้ ไม่จบในบรรทัดเดียวกันให้ข้ ึนบรรทัดใหม่โดยให้เว้น จากขอบกระดาษเข้ามาอีก 5 หรื อ 7 ระยะแล้วเริ่ ม พิมพ์ระยะที่ 6 หรื อระยะที่ 8 5.3.2 ถ้าอ้างอิงงานของผูเ้ ขียนคนเดียวกัน 2 ครั้งรายการที่ 2 ไม่ตอ้ งใส่ ชื่อผูแ้ ต่งซํ้า แต่ให้ขีดเส้นยาวเท่ากับ 8 ระยะ ตามด้วยเครื่ องหมายมหัพภาคก่อนที่จะลงชื่อเรื่ องเป็ นรายการต่อไป 6. การกําหนดเลขหน้าของรายงานในการกําหนดเลขหน้าของรายงานผูท้ าํ รายงานอาจระบุ เลขหน้าไว้ที่ใดที่หนึ่งของหน้า กระดาษดังนี้ 6.1. ระบุเลขหน้า ที่ริมขวาด้านบนของหน้ากระดาษให้ตวั เลขอยูห่ ่างจาก ขอบกระดาษด้านขวา 1 นิ้ว 6.2. ระบุเลขหน้าตรงกลางหน้ากระดาษให้ตวั เลขอยูห่ ่างจากขอบกระดาษ 1 นิ้ว 6.3 ระบุเลขหน้าที่ริมขวาด้านล่างของหน้ากระดาษให้ตวั เลขอยูห่ ่ างจาก ขอบกระดาษด้าน ขวา 1 นิ้ว 6.4 ให้ระบุเลขหน้าของรายงานทุกๆ หน้ายกเว้นหน้าว่าง ไม่นบั เป็ นส่ วนหนึ่งของ รายงานทั้งนี้ให้ เริ่ มนับจากหน้าปกใน หน้าที่มีภาพ ประกอบเต็มหน้าและหน้านําเรื่ องซึ่งอาจไม่มี เลขหน้ากํากับแต่ให้นบั เป็ นส่ วนหนึ่งของรายงาน 6.5 เลขหน้าของส่ วนประกอบตอนต้นของรายงาน ดังกล่าวใน (ข้อ 3.7.1) นิยมใช้ เลขโรมันเล็กหรื อใช้ ตัวอักษร ก ข ค ง เป็ นเครื่ องกําหนดเลขหน้าตามลําดับและนิยมระบุไว้ ตอนล่างของหน้า กระดาษ ห่ างจากขอบกระดาษล่าง 1 นิ้ว เริ่ มต้นด้วยตัวอักษร ข เนื่องจากหน้าปก ในนับเป็ น หน้า ก แต่ไม่นิยมระบุเลขหน้า ดังนั้นหน้าต่อไปเป็ น หน้า ข. 6.6 เลขหน้าของส่ วนเนื้อหาและส่ วนประกอบตอนท้ายของรายงาน ให้เริ่ มต้นด้วย เลขอารบิค 1 2 3 4 5 ตามลําดับ จนจบหน้าท้ายสุ ดของรายงานและบรรณานุกร


- 177 ตัวอย่ าง รายงานฉบับสมบูรณ์ ต่อไปนี้เป็ นการแสดงให้เห็นตัวอย่างการพิมพ์รายงานแต่ละหน้าและการเว้นระยะการพิมพ์ ตัวอย่ าง หน้ าปกในของรายงาน (2 นิ้ว)

การพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Commerce)

กรกนก ฉิมทอง 5310294 ชญาดา นกเทศ 5310518

รายงานนี้ เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาวิชา ทักษะในการศึกษา (ทษ.100110) สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะบริหารธุรกิจ ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก (1 นิ้ว)


- 178 -

ตัวอย่ าง หน้ าคํานํา

(2 นิ้ว)

คํานํา รายงานเรื่ อง การพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) จัดทําขึ้นเพื่อฝึ กปฏิบตั ิการ ศึกษาค้นคว้าและการเขียนรายงานที่ถูกวิธี ซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสค์ของการเรี ยนวิชาการ เขียนรายงานและการใช้หอ้ งสมุดซึ่งจะเป็ นแนวทางในการเขียนรายงานสําหรับวิชาอื่นๆต่อไป เนี้อหาของรายงานจะมีองค์ประกอบด้วย ความหมาย ของการพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ ( E-Commerce) ความสําคัญของการพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ ประโยชน์ ประเภทการพาณิ ชย์ อิเล็กทรอนิกส์และสังคมยุคการพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ ขอบขอบคุณ อาจารย์..........................และท่านเจ้าของหนังสื อและบทความที่ผเู ้ ขียน ใช้อา้ งอิงทุกท่าน หากมีขอ้ บกพร่ องประการใด ผูเ้ ขียนขอรับไว้เพื่อปรับปรุ งครั้งต่อไป

คณะผู้จัดทํา


- 179 ตัวอย่ าง หน้ าสารบัญ (2 นิ้ว)

สารบาญ หน้ า คํานํา.......................................................................................................................... ก สารบัญตาราง…………………………………………………………………….... ข สารบัญภาพ……………………………………………………………………....... ค บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความหมายของการค้าพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์.......................... 1.2 ความเป็ นมาของ E- Commerce…………………………....... 1.3 คุณลักษณะและความสําคัญ E- Commerce............................. 2 การตลาดอิเล็กแทรอนิกส์ ............................................................................. 2.1 การเข้าสู่ ตลาด E- Commerce.................................................. 2.2 ประเภทของการค้าออนไลน์ .................................................. 2.3 การกําหนดราคาสิ นค้า E- Commerce .................................... 3 การโฆษณาบนเว็บ(WEB) 3.1 การค้าปลีก .............................................................................. 3.2 สิ นค้าและการบริ การ E- Commerce ....................................... 3.3 การใช้บริ การ E- Commerce .................................................... บรรณานุกรม ภาคผนวก

1 5 9 12 15 19 20 21 25 30


- 180 ตัวอย่าง หน้าบทที่ (2 นิ้ว)

บทที่ 1 บทนํา (เนือ้ หา) -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------(เนือ้ หา 1)---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------(เนือ้ หา 2)-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

(1 นิว้ )


- 181 ตัวอย่ างหน้ า บรรณานุกรม (2 นิ้ว)

บรรณานุกรม กรรณิ การ์ สวรรค์โพธิพนั ธ์. 2550. การออกแบบให้ น่าใช้ . พิมพ์ครั้งที่ 2 ฉบับปรับปรุ ง. กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์ เคทีพี. กิตติ ภักดีวฒั นะกุล. 2547. คัมภีร์ระบบสารสนเทศ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์ ซีเอ็ดบุค๊ . ------------. “การพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce” 2552. [ออนไลน์ ] สื บค้นจาก http://www.ecomercs (เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2552) ทวีศกั ดิ์ กาญจนสุ วรรณ. 2546. Multimedia ฉบับพืน้ ฐาน. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. Turban, King and Team. 2008. Electronic commerce. 2 nd ed. New York : Prentice.

กิจกรรมที่ 1 ฝึ กปฏิบัติ 1. ให้นกั ศึกษาฝึ กเขียนบรรณานุกรม จากทรัพยากรสื่ อสิ่ งพิมพ์ ประเภทต่างๆดังนี้ 1.1 หนังสื อ (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) .............................................................................................................................................. 1.2 วารสารวิชาการ .................................................................................................................................................. 1.3 หนังสื อพิมพ์ ............................................................................................................................................... 1.4 ประเภทสื่ อ Internet ................................................................................................................................................. 2. ให้นกั ศึกษารวบรวมรายงานเชิงวิชาการ ฉบับสมบูรณ์ ตามรู ปแบบรายงานมาคนละ 1 เรื่ อง ความยาวของเรื่ องไม่นอ้ ยกว่า 10 หน้า มีเอกสารอ้างอิงอย่างน้อย 5 แหล่งข้อมูลสําหรับรายการ บรรณานุกรมและการอ้างอิง


- 182 -

บรรณานุกรม คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2547. การค้ นคว้ าและการเขียนรายงาน. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุ งเทพฯ : ภาควิชาบรรณารักษ์. ประไพ หนุนภักดี. ม.ป.ป. สารนิเทศกับการศึกษาค้ นคว้ า. กรุ งเทพฯ : คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์. พิมลพรรณ ประเสริ ฐวงษ์ เรพเพอร์. 2546. การใช้ ห้องสมุด=Using the Library (LB103). พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง. ราชบัณฑิตยสถาน. 2546. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุ งเทพฯ : นานมีบุค๊ พับลิเคชัน่ ส์. รุ่ งฤดี อภิวฒั นศร และคณะ. 2550. ห้ องสมุดและสารสนเทศเพือ่ การศึกษาค้ นคว้ า. กรุ งเทพฯ: ทริ ปเพิบ้ เอ็ดดูเคชัน่ .


บทส่ งท้ าย กลยุทธ์ ในการสอบ บทนํา การสอบ คือ การวัดหรื อประเมินผลความสามารถของนักศึกษา ณ เวลานั้น ซึ่งเป็ นส่ วนหนึ่ง ของการศึกษาและเป็ นส่ วนหนึ่งของชีวิตการทํางาน เมื่อออกไปทํางานนักศึกษาก็ตอ้ งพร้อมสําหรับการ ทดสอบและประเมินผลในอาชีพนั้นๆด้วย เช่น การสอบเพื่อเข้าทํางาน การสอบใบอนุญาตประกอบ วิชาชีพ เช่น ผูส้ อบบัญชี นักคอมพิวเตอร์ เป็ นต้น ในบทนี้จะได้นาํ เสนอแนวคิดและกลยุทธ์ในการสอบ การสอบนั้นไม่ได้หมายถึงเฉพาะการมา สอบให้ทนั เวลาเท่านั้น แต่จะต้องหมายรวมถึงการเตรี ยมตัวสอบ การกําหนดกลยุทธ์ในการสอบ การ ลดความเครี ยด และการเอาชนะความกลัว รวมทั้งการเรี ยนรู ้จากข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากการสอบเพื่อ หาทางปรับปรุ งตัวต่อไป

ข้ อควรปฏิบตั ใิ นการสอบ ระยะก่ อนการสอบ นักศึกษาควรปฏิบตั ิดงั นี้ การเตรี ยมพร้อมก่อนการสอบนั้นถือเป็ นกุญแจสําคัญของความสําเร็ จในการสอบ ถ้านักศึกษา ได้ปฏิบตั ิตามและฝึ กทักษะการศึกษาทั้งหมดที่เรี ยนมาอย่างสมํ่าเสมอ ตั้งแต่ทกั ษะการฟัง ทักษะการ จดโน้ต ทักษะการอ่านและทักษะการเขียนแล้ว โอกาสในการสอบที่จะประสบผลสําเร็ จก็จะมากขึ้น กลยุทธ์ บางส่ วน ทีน่ ักศึกษาควรเลือกใช้ เพือ่ เตรียมตัวก่อนการสอบ 1. ใช้ เทคนิค SQ3R ในการจับประเด็นสําคัญของเนื้อเรื่ องที่จะสอบ โดยเฉพาะคําถาม ที่ นักศึกษาพยายามตั้งเพื่อตอบคําถาม ในระหว่างการอ่านตําราหรื อทําโน้ตย่อ ซึ่งจะช่วยได้มาก ในการ เตรี ยมตัวสอบ เทคนิคการอ่านแบบ SQ3R การอ่านหนังสื อคงเป็ นเรื่ องยากสําหรับใครหลายคนที่จะอ่านและ ทําความเข้าใจในหนังสื อแต่ละเล่ม วันนี้เรามีเทคนิคจากผูร้ ู ้ต่างๆ เกี่ยวกับการอ่านหนังสื อให้มี ประสิ ทธิภาพมานําเสนอ เราเรี ยกเทคนิคนี้วา่ SQ3R


- 185 -

Survey (สํ ารวจ) : ¾ - สํารวจดูวา่ หนังสื อเล่มนี้มีหวั ข้อเกี่ยวกับเรื่ องอะไร? ใครเป็ นคนเขียน? มีพ้ืนฐานความรู ้ อย่างไร? พิมพ์เมื่อไร? ¾ - อ่านคํานํา และศึกษาว่าผูเ้ ขียนต้องการเขียนตําราเล่มนี้เพื่อให้บุคคลกลุ่มใดอ่าน มีจุดประสงค์ จะครอบคลุมเรื่ องใดบ้าง ผูเ้ ขียนแนะนําวิธีการอ่านหรื อไม่ ¾ - เนื้อหาในหนังสื อกล่าวถึงอะไรบ้าง ¾ - อ่านดรรชนี เพื่อหาบทความที่เฉพาะเจาะจง ¾ - มีภาพประกอบ / แผนภูมิหรื อไม่ ¾ - มีการสรุ ปย่อแต่ละบทหรื อไม่ ¾ - มี สัญญลักษณ์บ่งชี้ เช่น ขนาดตัวอักษร การขีดเส้นใต้ ลําดับความสําคัญของการจัดวางหัวข้อ ซึ่งจะบ่งบอกถึงระดับความสําคัญของแต่ละหัวข้อ Question (ตั้งคําถาม) : ¾ - ก่อนอ่านหนังสื อ นิสิตน่าจะมีคาํ ถามในใจไว้ล่วงหน้าว่าเราจะอ่านหนังสื อเล่มนี้ เพื่ออยากรู ้ อะไร? อยากตอบคําถามอะไร? ¾ - คําถามเหล่านั้นอาจมาจากห้องเรี ยน หรื ออาจมาจากตัวนิสิตเองก็ได้ Read (อ่ าน) : อ่ านครั้งที่ 1 ¾ - อ่านอย่างเร็ วพยายามเจาะหาประเด็นสําคัญของแต่ะละบท แต่ละหัวข้อ แต่ละย่อหน้า ¾ - อย่ามัวแต่ขีดเส้นใต้ หรื อป้ ายปากกาสี ควรทําเครื่ องหมายด้วยดินสอ และเขียนอย่างเบา ๆ ¾ - อย่ามัวแต่จดบันทึก เพราะทําให้สมาธิในการอ่านลดลง อ่ านครั้งที่ 2 ¾ - อ่านซํ้าอีกครั้ง คราวนี้ทาํ เครื่ องหมายข้อความที่สาํ คัญ ¾ - รวบรวมประเด็นต่าง ๆ เข้าด้วยกัน


- 186 ¾ - ลองประเมินเนื้อหา (หากเป็ นข้อโต้แย้งให้พิจารณาว่าอ่านแล้วดูมีเหตุผลหรื อไม่ ข้อมูลที่บอก ในหนังสื อดูขดั กับความจริ ง หรื อความรู ้ที่นิสิตเคยรู ้มาหรื อไม่) ¾ - สรุ ปเนื้อหา เพื่อง่ายต่อการรื้ อฟื้ นความจําในภายหลัง Recall (ฟื้ นความจํา) : ¾ - เมื่อสิ้ นสุ ดเนื้อหาของแต่ละบท ทําบันทึกย่อ อย่าย่อชนิดยาวจนเกินเหตุ ซึ่งเป็ นการแสดงว่า นิสิตยังจับประเด็นไม่ถูกต้อง Review (ทบทวน) : ¾ - สํารวจดูหวั ข้อ (ชื่อ) ของหนังสื อ หัวข้อและเนื้อหาโดยย่อของแต่ละบท ¾ - ตรวจสอบว่าเนื้อหาที่มีน้ นั ตอบคําถามที่นิสิตมีไว้ในใจหรื อไม่ ¾ - อ่านอีกครั้ง เพื่อแน่ใจว่าเราเก็บประเด็นสําคัญของหนังสื อได้หมด ¾ - เติมสิ่ งที่ขาดตกบกพร่ อง 2. พูดคุยกับนักศึกษารุ่นพี่ ที่เคยสอบวิชานี้มาแล้วเพื่อดูวา่ การสอบวิชานี้ยากแค่ไหน อาจารย์ ผูส้ อนจะเน้นการออกข้อสอบจากงานที่หมอบหมาย ให้ทาํ หรื อออกข้อสอบตามคําบรรยายของอาจารย์ รวมทั้งหาข้อมูลเพิ่มเติมด้วยว่า อาจารย์ท่านนี้ชอบให้นกั ศึกษาเขียนตอบในแบบใด เช่น แบบที่มีการ อ้างอิง แบบที่ตอ้ งมีตวั อย่าง หรื อแบบที่ตอ้ งใช้ภาษาให้ถูกต้อง หรื อ บางท่านอาจจะชอบความเป็ น ระเบียบเรี ยบร้อย ดังนั้นลายมือของนักศึกษาก็มีส่วนสําคัญในการทําสอบให้ได้คะแนนดีๆ 3. การทบทวนบทเรียนระยะยาว เป็ นการอ่านหนังสื อ และทบทวนเนื้อหาวิชาต่างๆ อย่าง สมํ่าเสมอตามตารางที่จดั ทําขึ้น รวมทั้งทําโน๊ตย่อไว้เรี ยบร้อยแล้ว ให้มีเนื้อเรื่ องทั้งหมดต่อเนื่องในแผ่น เดียวกันเพื่อสามารถเห็นหัวข้อต่างๆ ทั้งหมดได้ การทบทวนมีประโยชน์ คือ:3.1 ช่วยให้ไม่ตอ้ งทํางานหนักในตอนใกล้สอบ 3.2 ช่วยให้เข้าใจเรื่ องที่เรี ยนอย่างเป็ นระบบและต่อเนื่อง 4. การวางแผนดูหนังสื อ โดยใช้ทกั ษะในการบริ หารเวลาที่ได้ศึกษาไปแล้ว เข้ามาช่วยใน การ วางแผนดูหนังสื อสอบ พยายามพิจารณาถึงปัจจัยต่างๆ ที่ตอ้ งเตรี ยม เช่น เอกสารหรื อหนังสื อที่ตอ้ ง อ่านประกอบ ควรจะดูหนังสื อวิชานี้กี่วนั ก่อนสอบ ในแต่ละวันควรแบ่งเวลาในการดูหนังสื ออย่างไร ถ้านักศึกษาสามารถวางแผนดูหนังสื อล่วงหน้าได้ดี ก็จะลดความวิตกกังวลในการสอบได้มากขึ้น


- 187 -

5. การอ่ านหนังสือสอบ ควรทบทวนด้วยตัวเองและเป็ นกลุ่ม แต่การทบทวนเป็ นกลุม่ ควร เป็ นการอภิปรายแนวคิดที่สาํ คัญๆ ซึ่งกลุ่มหนึ่งๆไม่ควรมีสมาชิกเกิน 5 คน แบ่งเนื้อหากันไปเตรี ยม แล้วมาแลกเปลี่ยนความรู ้กนั ซึ่งวิธีน้ ีจะช่วยกระตุน้ ให้อ่านหนังสื อได้ดีและสร้างความมัน่ ใจว่าดู ประเด็นที่สาํ คัญครบถ้วน และช่วยในด้านการเขียนข้อสอบอีกด้วย 6. คาดคะเนแนวข้ อสอบ ในการเรี ยนแต่ละครั้ง อาจารย์อาจพูดถึงประเด็นหรื อแนวคิด ที่ สําคัญ ซึ่งนักศึกษาควรทบทวนในเรื่ องดังกล่าวเป็ นพิเศษ หรื ออาจคาดเดาถึงแนวข้อสอบ อย่างไรก็ ตามควรอ่านเนื้อหาอื่นให้ครบถ้วน อย่าเชื่อมัน่ แนวข้อสอบที่คาดไว้มากนัก และอาจขอคําแนะนําจาก อาจารย์ในการเตรี ยมตัวสอบวิชานั้นๆได้ 7. รักษาสุ ขภาพร่ างกายในช่ วงก่อนสอบ ในช่วงสอบนั้น นักศึกษาส่ วนใหญ่จะต้องทําสอบ ภายใต้ความเครี ยดและข้อจํากัดของเวลา ดังนั้น นักศึกษาจะทําสอบได้ดี ก็ต่อเมื่อสุ ขภาพร่ างกาย และ สุ ขภาพจิตที่สมบูรณ์ พยายามนอนหลับให้พอเพียง รวมทั้งรับประทานอาหารที่มีคุณค่า ขนมขบเคี้ยว ที่มีน้ าํ ตาลมากๆ อาจทําให้สดชื่นในช่วงเวลาหนึ่ง แต่เมื่อพลังงานของนํ้าตาลหมดไป ร่ างกายเราจะ อ่อนเพลีย เช่นเดียวกับกาแฟ ถ้าดื่มประมาณ 1 ถ้วย อาจช่วยให้ตื่นตัวดูหนังสื อได้ แต่ถา้ มากกว่านั้น คาเฟอีนจะทําให้นกั ศึกษามีความเครี ยดมากขึ้น ส่ วนอาหารถ้ารับประทานน้อยไป นักศึกษาก็จะรู ้สึก หดหู่ แต่ถา้ รับประทานมากไปก็ทาํ ให้ง่วงได้ คําแนะนําที่ดีที่สุด คือ ควรรับประทานอาหารเบาๆที่มี คุณค่าก่อนการสอบ 8. วางแผนใช้ เวลาในคืนก่อนสอบอย่ างระมัดระวัง ในคืนก่อนการสอบนักศึกษาควรทบทวน โน๊ตย่อที่ทาํ ขึ้นโดยละเอียดและรอบคอบก่อนจะนอน แต่อย่าเครี ยดจนนอนไม่หลับ นักศึกษาต้อง นอนให้พอในคืนก่อนสอบ เพราะการนอนหลับสนิทเป็ นเพื่อนที่ดีที่สุดก่อนการสอบ ก่อนนอนสัก ครึ่ งชัว่ โมงนักศึกษาควรพักผ่อน โดยอาจจะฟังเพลงเบาๆ อ่านหนังสื อเบาสมอง หรื อ ทําสมาธิ หรื อ ทําอะไรก็ได้ที่จะผ่อนคลายทั้งร่ างกายและจิตใจ


- 188 เมื่อมาถึงวิทยาลัยในวันที่มีการสอบ พยายามหลีกเลี่ยงความเครี ยดที่อาจเกิดจากเพื่อน โดย เฉพาะกลุ่มเพือ่ นที่ไม่คอยได้เตรี ยมตัวมาหรื อดูหนังสื อมาน้อย แต่จะพยายามพูดถึงคําถามที่ไม่น่าจะ เป็ นไปได้ ซึ่งนักศึกษาไม่ควรสนใจ หรื อเพื่อนอีกกลุ่มหนึ่งที่ไม่ได้ดูหนังสื อมาเช่นกัน และพยายาม ให้นกั ศึกษาช่วยอธิบายแนวคิดสําคัญๆก่อนสอบให้พวกเขาทราบ สําหรับเพื่อนทั้ง 2 กลุ่มนี้ นักศึกษา ควรหลีกเลี่ยง เพื่อไม่ให้ขอ้ มูลที่นกั ศึกษาจัดเรี ยงลําดับมาแล้วกระจัดกระจายในระหว่างการสอบ ในระหว่ างการสอบ นักศึกษาควรปฏิบตั ิดงั นี้ 1. พยายามสงบสติอารมณ์ และสุ ขุมรอบคอบ กฎประการแรกที่สาํ คัญที่สุด เมื่อนักศึกษารับข้อสอบมานั้น คือ สงบสติอารมณ์ สู ดหาย ใจลึกๆ สัก 2-3 ครั้งเพื่อผ่อนคลาย และ มีสมาธิแน่วแน่อยูท่ ี่ขอ้ สอบ ไม่ตอ้ งดูปฏิกิริยาของเพื่อน หรื อ คอยแต่คิดถึงคะแนนที่จะทําให้ได้ นักศึกษาต้องมัน่ ใจในตนเอง ถ้านักศึกษาอ่านทบทวนและฝึ กทักษะ การเรี ยนรู ้อยูเ่ สมอ นักศึกษาก็จะรู ้สึกว่า นักศึกษาเตรี ยมตัวมาดีกว่าคนอื่น และอีกประการหนึ่งให้จาํ ไว้วา่ การสอบ ก็คือ การสอบ (a test is a test) ไม่ใช่วนั อวสานของโลกหากทําสอบไม่ได้ (not the end of the world) อย่างไรก็ตาม หากนักศึกษาไม่ได้เตรี ยมตัวมาอย่างดี จะด้วยสาเหตุอะไรก็ตาม นักศึกษา ก็อาจมีความวิตกกังวลอยูบ่ า้ ง แต่ขณะอยูใ่ นห้องสอบก็แก้ไขอะไรไม่ได้อยูแ่ ล้ว ดังนั้น ควรทําจิตใจให้ สงบตั้งใจทําข้อสอบ และจงอย่าพยายามคิดทุจริ ตเป็ นเด็ดขาด เพราะจะเป็ นการทําลายอนาคตนักศึกษา 2. ทําข้ อสอบอย่ างระมัดระวัง ก่อนลงมือทําข้อสอบ ให้หยิบบัตรประจําตัวนักศึกษา วางบนโต๊ะ ให้อาจารย์ผคู ้ ุมการสอบดู ฟังข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับการสอบที่อาจารย์ประกาศ รวมทั้งอ่านคําชี้แจง / คําสัง่ ในหน้าแรกของข้อสอบ ให้เข้าใจทั้งเรื่ องลักษณะของข้อสอบ การกําหนดคะแนน จํานวนหน้า ก่อนที่จะลงมือทําถ้าไม่เข้าใจ ให้ถามอาจารย์ผคู ้ ุมสอบ จากนั้นควรแบ่งเวลาทําให้เหมาะสม และเหลือเวลาในการตรวจทานด้วย ขณะทําข้อสอบ ให้เลือกทําข้อที่ง่ายที่สุดก่อนส่ วนข้อยากให้ขา้ มไปก่อน โดยทําเครื่ องหมาย ไว้แล้วกลับมาทําใหม่ ถ้านึกไม่ออกให้เดา อย่าเว้นว่างไว้โดยไม่ตอบ พยายามทําให้ครบทุกข้อ หลังทําเสร็ จ เวลาที่เหลือให้ตรวจทานข้อบกพร่ อง และตรวจว่าเขียนชื่อ เลขประจําตัว และ ข้อมูลสําคัญอื่นๆ ครบถ้วนหรื อยัง หลังการสอบไม่ควรอยูถ่ กเถียงกับเพื่อนเพราะจะทําให้กงั วล ควรรี บ กลับบ้าน พักผ่อนและเตรี ยมดูหนังสื อในวิชาถัดไป หรื อถ้ามีสอบในช่วงบ่าย ควรรี บไปรับประทาน อาหาร


- 189 หลังการสอบ หลังการสอบควรมีการประเมินตนเองเพื่อดูขอ้ บกพร่ องและจุดอ่อนของตน โดยควรทําอย่างมีหลักเกณฑ์และยุติธรรมต่อตนเองและผูอ้ อกข้อสอบจึงจะได้ขอ้ วิเคราะห์ที่เป็ น ประโยชน์ต่อตนเองอย่างแท้จริ ง ตัวอย่ างแบบประเมินผลการสอบ หลังจากตรวจสอบแล้วพบว่า ตนเองเตรี ยมตัวไม่พร้อม ก็สามารถแก้ไขในการสอบ ครั้งต่อไปได้ แต่ถา้ เป็ นเพราะทัศนะคติที่ไม่ดีต่ออาจารย์ควรเปลี่ยนทัศนะคติใหม่ 1. การเตรียมตัว ……………….. เวลาน้อย ……………….. ไม่มีสมาธิในการดูหนังสื อ ………………... อ่านหนังสื อไม่จบ ……………….. ไม่สนใจวิชานี้ ……………….. ไม่ชอบอาจารย์ผสู ้ อน ………………… เรี ยนไม่รู้เรื่ อง ………………… มีความกังวลในการสอบ ………………… กินยาระงับง่วงมากเกินไป 2. ระหว่ างการสอบ ………………… รู ้สึกตื่นเต้นมากเกินไป ………………… บรรยากาศในห้องสอบไม่ดี ผูค้ ุมสอบเข้มงวดมาก ………………… อ่านคําชี้แจงไม่ละเอียด ………………… อ่านข้อสอบไม่เข้าใจ ………………… ข้อสอบมากเกินไป ทําไม่ทนั ………………… มาเข้าสอบสาย ………………… อุปกรณ์การสอบไม่พร้อม ………………… กังวลกับวิชาที่จะสอบต่อไป ………………… มีวิชาสอบหนักๆหลายวิชาในวันเดียวกัน ………………… ใจลอย ………………… ง่วงนอน


- 190 -

ข้ อสอบทีม่ หาวิทยาลัยนิยมออกข้ อสอบ มีดงั นี้ 1. ข้ อสอบแบบเลือกตอบ (multiple choice test) ลักษณะข้อสอบประเภทนี้ จะประกอบด้วยโจทย์หรื อข้อความที่เป็ นประโยคที่สมบูรณ์เป็ นตัว คําถาม (Stem) เพื่อวัดความรู ้ความสามารถ และตัวเลือกตั้งแต่ 3 ตัวเลือกขึ้นไปอีก 1 ชุด รวมเป็ น 1 ข้อ ในตัวเลือกนั้นจะมีท้ งั คําตอบถูก (key) และคําตอบผิด (distracter) ที่เป็ นตัวลวงมาให้นกั เรี ยนพิจารณา 1.1 ประเภทคําถามเดี่ยว (single question) เป็ นข้อสอบเลือกตอบที่แต่ละข้อมุ่งถาม เพียงเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งโดยเฉพาะ และสมบูรณ์ในตัวเอง โดยไม่เกี่ยวพันธ์กบั ข้ออื่น ๆ เลย ซึ่งแต่ละข้อ จะเป็ นอิสระต่อกัน 1.2 ประเภทตัวเลือกคงที่ (constant choice) ข้อสอบประเภทนี้ ในแต่ละตอนจะมี ตัวเลือกอยูช่ ุดหนึ่ง ให้นกั ศึกษาพิจารณาตัวเลือกเหล่านี้ แล้วนําไปตอบคําถามที่กาํ หนดมาให้หลาย คําถาม หรื ออาจกล่าวได้วา่ เป็ นข้อสอบที่มีคาํ ถามหลายข้อแต่มีตวั เลือกอยูช่ ุดเดียว ซึ่งข้อสอบชนิดนี้ พัฒนามาจากข้อสอบแบบจับคู่ แต่มีลกั ษณะที่แตกต่างไปจากข้อสอบแบบจับคู่ 1.3 ประเภทสถานการณ์ (situational test) คําถามชนิดนี้จะประกอบด้วยข้อความ รู ปภาพของจริ ง หรื อเรื่ องราวอะไรสักอย่างหนึ่งมาเสนอเร้าใจให้นกั ศึกษาเกิดความคิดก่อนเป็ นตอนนํา จากนั้นจึงตั้งคําถามหลาย ๆ ข้อ หลาย ๆ แง่มุมที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องนั้น คําถามชนิดนี้มีคุณค่าตรงที่ สามารถวัดผลสัมฤทธิ์เบ็ดเสร็ จของการศึกษาได้เป็ นอย่างดี อีกทั้งยังสามารถวัดสมรรถภาพสมองขั้นสูง ได้ง่ายกว่าข้อสอบประเภทอื่น ๆ

วิธีการทําข้ อสอบแบบปรนัย (Objective Test) ข้อสอบปรนัย จะประกอบด้วย 2 ส่ วน คือคําถาม และคําตอบ ตัวคําถามของข้อสอบปรนัยมี จุดมุ่งหมายเพือ่ ให้ผตู ้ อบได้แสดงความรู ้ความสามารถต่าง ๆ ตามที่ผถู ้ ามต้องการซึ่งจะวัดตั้งแต่ความจํา ผิวเผินไปจนถึง ความเข้าใจ ที่ลึกซึ้ง การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การนําไปใช้ได้ ตลอดจนถึงการ ประเมินค่าของชุดวิชานั้นๆ คําถามแต่ละข้อจะถามเฉพาะจุดเล็ก ๆของเนื้อหาสอดคล้องกัวตั ถุประสงค์ ของชุดวิชา และเป็ นไปตามวัตถุประสงต์ของหน่วยของตอน ดังนั้นการทําข้อสอบจํานวนมากจึงต้องใช้ เวลาในการคิดและการตอบเป็ นส่ วนใหญ่ จึงสร้างความวิตกกังวลในการทําข้อสอบได้ นักศึกษาจึงควร ทําความเข้าใจว่าข้อสอบปรนัยเป็ นอย่างไร


- 191 -

เทคนิคการทําข้ อสอบปรนัย 1.ต้องอ่านคําสัง่ และศึกษาทําข้อสอบทั้งฉบับในภาพรวมก่อน 2.วางแผนการใช้เวลาในการทําข้อสอบ 3. ตัดตัวเลือกที่ผดิ ชัดๆ เพื่อกําจัดตัวลวงจะได้พจิ ารณาตัดสิ นใจตัวเลือกอื่นๆ ที่เห็นว่าถูก 4.ระวังโจทย์ที่มีคาํ ปฎิเสธซ้อน เช่น ไม่ใช่, ใช่ เมื่อพบโจทย์ลกั ษณะนี้ตอ้ งพยายามคิดวิเคราะห์ เพื่อหาประเด็นที่ถูกต้องก่อน 5.วิเคราะห์ แยกแยะ เปรี ยบเทียบ ทุกๆ ตัวเลือกจะคล้ายๆ กันมากเพื่อหาข้อที่ถูกที่สุด 6.สังเคราะห์ มีลกั ษณะประมวลตัวเลือกอื่นๆ ที่ถูกมาอยูใ่ นข้อเดียวกันแต่นกั ศึกษาต้องหาข้อที่ ถูกที่สุด 7.พบข้อสอบที่ยากควรทําเครื่ องหมายและข้ามไปก่อนหลังจากนั้นกลับมาพิจารณาอีกครั้งหาก มีเวลาเพียงพอควรทบทวนโดยการอ่านทั้งคําถามและคําตอบอีกครั้งหนึ่ง วิธีเลือกคําตอบในข้ อสอบปรนัย ข้อสอบของมหาวิทยาลัยส่ วนใหญ่มีคาํ ตอบคําตอบให้เลือก 5คําตอบ ซึ่งนักศึกษาสามารถใช้ วิธีการต่อไปนี้ช่วย ในกรณี ที่ไม่รู้คาํ ตอบที่ถูกต้องได้ 1) กําจัดคําตอบที่ผดิ อย่างเห็นได้ชดั ออกไปก่อน ให้เหลือตัวเลือกน้อยลง เพื่อที่คาํ ตอบของเรา จะมีคาํ ตอบที่ถูกมากขึ้น เช่น ถ้าเหลือตัวเลือก 2 ตัว โอกาสตอบถูกก็คือ 50 – 50 2) คําตอบที่มีความหมายคล้ายคลึงกัน มักจะไม่ใช่คาํ ตอบที่ถูก เช่น ถ้าโจทย์ถามว่า กฎทัว่ ไป ในการจําคืออะไร ตัวเลือก ก. ท่องจําครั้งละ 1/2 – 1 ชัว่ โมง ค. อ่านข้อมูลนั้นซํ้าๆ นี่แสดงว่าทั้งข้อ ก. และ ค. ไม่น่าใช่คาํ ตอบที่ถูก ทําให้เราสามารถตัดตัวเลือกดังกล่าวทิ้งไปได้ 3) คําตอบที่กินความกว้าง มักมีโอกาสถูกมากกว่าคําตอบที่เฉพาะเจาะจง ยกตัวอย่างธุรกิจถูก มองว่าเป็ นเกมการแข่งขันเพราะอะไร? ก. มีกาํ หนดเวลา ข. มีคนมากมายเข้ามามีส่วนร่ วม ค. มีผนู ้ าํ ง. มีกฎต่างๆ ที่ไม่แน่นอน แล้วแต่ผกู ้ าํ หนด จ.มีการวางแผน คําตอบ ง. คือคําตอบที่ควรเลือก เพราะครอบคลุมคําตอบอื่นได้


- 192 4) คําตอบที่ตรงข้ามกัน ขัดแย้งกัน ไม่มีคาํ ตอบใดก็คาํ ตอบหนึ่ง น่าจะเป็ นตัวเลือกที่ถูก ยกตัวอย่าง โจทย์ เวลาอ่านหนังสื อทบทวนความรู ้ก่อนสอบที่ดีที่สุด คือช่วงไหน? ก. ก่อนเข้านอน ข. ระหว่างพักกลางวัน ค. ช่วงสุ ดสัปดาห์ ง. หลังตื่นนอน จ.ระหว่างช่วงบ่ายถึงเย็น ตัวเลือก ก. และ ง. ตรงข้ามกันอย่างเห็นได้ชดั และคําตอบที่ถูกคือ ข้อ ก. 5) ข้อมูลจากคําถามข้ออื่นๆ สามารถเป็ นแนวทาง หรื อช่วยให้คาํ ตอบแก่นกั ศึกษาได้ ลอง เว้นคําถามข้ามข้อที่คิดไม่ออกนี้ไปก่อน แล้วทําข้ออื่นๆ ต่อ ถ้ามันยังช่วยไม่ได้ให้ใช้วิธีใน ข้อต่อไป 6) เลือกคําตอบที่ยาวที่สุดหรื อสั้นที่สุด โดยพิจารณาจากลักษณะคําตอบที่ถูกในข้ออื่นๆ เพราะส่ วนใหญ่แล้ว ผูอ้ อกข้อสอบแต่ละคนมักมีสไตล์ของตนเอง คือ อาจชอบให้ตวั เลือก ที่ยาวที่สุดเป็ นคําตอบที่ถูกต้องที่สุด หรื อไม่กช็ อบให้คาํ ตอบที่กะทัดรัดอธิบายแต่นอ้ ยเป็ น คําตอบที่ถูก 7) ระวังถูกลวงด้วยภาษา เพราะคําบางคําสามารถโน้มน้าวเราให้ตอบว่าข้อความนั้นถูกได้ ทั้งๆ ที่มนั ผิด คําที่วา่ นี้ได้แก่ ถ้า... จําเป็ นที่.... ไม่จาํ เป็ นที่..... 8) สังเกตคําบอกใบ้วา่ ข้อความนั้นผิด คือถ้าข้อความนั้นมีคาํ ว่า “เสมอ ตลอด ไม่เลย ไม่เคย เป็ นไปไม่ได้” หรื อคําในลักษณะคล้ายๆ กัน ก็มีโอกาสเป็ นไปได้มากที่มนั จะผิด ดังนั้นถ้า เราไม่แน่ใจว่ามันถูกหรื อผิด ก็ให้ตอบไปว่าผิด 9) ข้อความที่มีคาํ แสดงถึงความลังเล ไม่แน่ชดั เช่นคําว่า บางที ไม่ค่อยจะ กล่าวโดยทัว่ ๆ ไปแล้ว หรื อ โดยปกติแล้ว มักเป็ นข้อความที่ผอู ้ อกข้อสอบกําหนดให้เป็ นคําตอบที่ถูก ตรง


- 193 ข้ามกับกลุ่มคําในข้อ 8) ที่แสดงความชัดเจนเต็มที่ แต่มกั จะเป็ นคําตอบที่ผดิ

2. การทําข้ อสอบอัตนัย ( Essay Test ) ข้อสอบแบบอัตนัย เป็ นข้อสอบที่สร้างขึ้นเพื่อใช้วดั ความรู ้ ความเข้าใจเนื้อหาอย่างแท้จริ ง การจัดลําดับความคิด ความสามารถในการวิเคราะห์วจิ ารณ์ สามารถประยุกต์หลักทัว่ ไปกับกรณี เฉพาะได้ การสอบแบบนี้จึงไม่เพียงเข้าใจเนื้อหาที่เรี ยนเท่านั้น แต่ตอ้ งรู ้จกั การตีความคําถามและเขียน คําตอบให้ผตู ้ รวจเข้าใจด้วย หรื อข้อสอบแบบข้อเขียนนี้ ผูเ้ ขียนจะต้องคิดหาคําตอบเองทั้งหมด ไม่มีโอกาศเดาสุ่ มคําตอบ โดยใช้เทคนิคต่างๆเข้าช่วยแต่กระนั้นผูเ้ รี ยนที่มีความรู ้ความจําพอๆกันสองคน ก็อาจได้คะแนนต่างกัน จาการทําข้อสอบอัตนัยชุดเดียวกัน ทั้งนี้เพราะอีกคนหนึ่งมีวิธีทาํ ข้อสอบที่ดีกว่าจึงได้คะแนนสูงกว่า เทคนิคการทําข้ อสอบอัตนัย ควรปฏิบตั ิดงั นี้ ในการทําข้อสอบอัตนัยเป็ นข้อสอบที่นกั ศึกษาจะต้องคิดหาคําตอบเองทั้งหมด ไม่มีโอกาสเดา สุ่ มคําตอบโดยใช้เทคนิคต่างๆ เข้าช่วย ดังต่อไปนี้ 1. เขียนสิ่ งที่นกั ศึกษาจําได้ลงไปด้วยวิธีแบบจดโน้ตสั้นๆ หรื อรหัสย่อต่างๆ ที่ทาํ ไว้ การเขียน สิ่ งที่นกั ศึกษาจําได้ลงไปก่อน ก็เพื่อป้ องกันไม่ให้คาํ ถามในข้อสอบทําให้เราสับสน และลดความกลัวว่า นักศึกษาจะลืมโน่นลืมนี่ หลังจากลงมือเขียนข้อสอบแล้ว 2. แบ่งเวลาทําข้อสอบ โดยอ่านข้อสอบให้หมด แล้วพิจารณาว่า - มีเวลาในการทําข้อสอบนานเท่าไร - มีคาํ ถามกี่ขอ้ - คําถามข้อไหนยาก / ข้อไหนง่าย - คําถามแต่ละข้อมีคะแนนเท่าไร ถ้าผูอ้ อกข้อสอบไม่เขียนบอกไว้ ให้สนั นิษฐานไว้ ก่อนว่าทุกข้อมีคะแนนเท่ากัน เมื่อทราบคําตอบข้างต้นแล้วให้แบ่งเวลาสําหรับทําข้อสอบแต่ละข้อ อย่างเหมาะสม ตัวอย่ างเช่ น ข้ อสอบชุดหนึ่งให้ เวลาทํา 3 ชั่วโมง คําถาม 4 ข้ อ มีคะแนนดังนี ้ ข้ อแรก 10 คะแนน ข้ อสอง 20 คะแนน ข้ อสาม 20 คะแนน ข้ อสุดท้ าย 50 คะแนน รวมทั้งหมด 100 คะแนน เราจะ แบ่ งเวลาออกเป็ น - เวลาสําหรั บอ่ านข้ อสอบและทบทวนคําตอบตอนท้ าย 30 นาที (เหลือ 150 นาที) - เวลาสําหรั บตอบคําถามข้ อ 1 (10% ของ 150 นาที) 15 นาที - เวลาสําหรั บตอบคําถามข้ อ 2 (20% ของ 150 นาที) 30 นาที


- 194 - เวลาสําหรั บตอบคําถามข้ อ 3 (20% ของ 150 นาที) 30 นาที - เวลาสําหรั บตอบคําถามข้ อ 4 (50% ของ 150 นาที) 75 นาที แต่ถา้ ทุกข้อคะแนนเท่ากัน ให้แบ่งเวลาเท่าๆ กัน และจงอย่าใช้เวลามากไปกว่าที่กาํ หนดนี้ใน แต่ละข้อ เช่น ถ้า 30 นาทีแล้วยังทําข้อ 2 ไม่เสร็ จ ให้เว้นบรรทัดทิ้งไว้ แล้วไปทําข้ออื่น การใช้เวลาเกิน ในข้อหนึ่งข้อใด จะลดเวลาสําหรับข้ออื่นๆ และส่ งผลกระทบต่อคะแนนโดยตรง คือแทนที่จะได้ตอบ ครบถ้วน ได้คะแนนเต็มจากข้ออื่น เราก็จะตอบได้นอ้ ยลง คะแนนน้อยลง โดยเฉพาะในข้อสุ ดท้าย นอกจากนี้การที่เราทําไม่เสร็ จภายในเวลาที่กาํ หนด อาจหมายความว่ามันยากกว่าที่คิด ดังนั้นจึงไม่ควร เอาเวลาของข้ออื่นที่ง่ายกว่าไปทุ่มเทให้กบั มัน ทําข้อที่ง่ายและคะแนนมากก่อน จากตัวอย่างข้างต้น ถ้าข้อ 1 (10 คะแนน) กับข้อ 3 (20 คะแนน) ง่ายสําหรับเรา ให้ทาํ ข้อ 3 ก่อน โดยตอบให้ชดั เจน ตรงคําถาม ภายในเวลาที่ส้ นั ที่สุด เพือ่ ให้มีเวลาเหลือสําหรับข้อที่เราคิดว่ายาก สิ่ งสําคัญ ในการทําข้อสอบอัตนัยอย่างหนึ่ง คือ นักศึกษาต้องอ่านคําถามให้รู้แน่วา่ อะไรคือ คําตอบที่ผอู ้ อกข้อสอบต้องการ ถึงแม้วา่ จะต้องอ่านคําถามนั้นหลายเที่ยวก็ตาม เพราะความเข้าใจผิดจะ ส่ งผลเสี ยอย่างมาก การตีความคําถาม หรื อ การตีโจทย์มีประเด็นที่น่าสนใจ คือ นักศึกษาต้องเข้าใจใน ความหมายของคําสัง่ โจทย์ก่อน จึงจะสามารถตอบคําถามได้อย่างถูกต้อง ซึ่งคําถามที่เรามักจะพบเห็น มากในข้อสอบอัตนัย ดังนี้ ให้ เปรียบเทียบ ว่าของแต่ละอย่างมีอะไรที่เหมือนกัน และมีอะไรที่ต่างกัน ตัวอย่างการตอบข้อสอบแบบนี้คือ สิ่ งที่เหมือนกัน 1………………..

สิ่ งที่แตกต่างกัน 1……………………………..

2………………..

2……………………………..

ให้ อธิบายความ บอกว่ามันคืออะไร เราต้องให้คาํ อธิบายอย่างเพียงพอที่จะบ่งบอกถึง คํานั้นอย่างชัดเจน ตัวอย่างข้อสอบแบบนี้ คือ ให้บรรยายความหมาย โดยแบ่งเป็ น ส่ วนคํานํา (ประเด็นคําถาม ) เนื้อความ (ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องหรื อหลักการและเหตุผล) สรุ ป (สรุ ปใจความสําคัญในสิ่ งที่คาํ ถามต้องการ)


- 195 ให้ วจิ ารณ์ เมื่อเจอคําถามลักษณะนี้เราต้องเอาทัศนะมาตรฐานของคนทัว่ ไปเป็ นหลัก ยกเว้นในกรณี ที่ผอู ้ อกข้อสอบระบุชดั เจนว่า ต้องการความคิดเห็นส่ วนตัวของผูเ้ รี ยนเช่น “ในความ คิดเห็นของนักศึกษา สังคมไทยในสมัยปัจจุปันมีขอ้ ดีและข้อเสี ยอย่างไร” แบบนี้เราถึงแสดงความ คิดเห็นของเราได้ ให้ ลาํ ดับความ ตัวอย่างเช่น “จงเล่าสังไทยในสมัยอดีตจนถึงปั จจุบนั โดยสังเขป” นักศึกษาต้องตอบคําถามประเภทนี้โดยเรี ยงลําดับของเหตุการณ์โดยให้เขียนเหตุการณ์ต่างๆแบบคร่ าวๆ ลงบนด้านหลังกระดาษคําตอบก่อนจากนั้นจึงนําเหตุการณ์มาเขียนขยายความตามลําดับนอกจากความ เป็ นมาแล้วการให้อธิบายขั้นตอนการทํางานของกระบวนการต่างๆก็จดั อยูใ่ นคําถามประเภทนี้เช่นกัน ให้ ยกตัวอย่ าง การตอบคําถามเช่นนี้เราจะต้องอาศัยประสบการณ์และข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับ สิ่ งที่เราจะต้องยกตัวอย่างประกอบ ถ้ านักศึกษาอ่ านคําถามแล้ วรู้สึกว่ ามันยากเหมือนกันหมด ทําไม่ ได้ เลยสักข้ อ ให้ เริ่ มต้ นทีค่ าํ ถาม ทีน่ ักศึกษาคิดว่ าสามารถเขียนอะไรบางอย่างเกีย่ วกับคําตอบได้ โดยนักศึกษาอาจเริ่ มโดยเขียนอธิบาย ความหมายแล้วพยามยามคิดหาเหตุผลประกอบ กลยุทธ์ ต่างๆ ในการเพิม่ คะแนน มีดังต่ อไปนี้ 1. อํานวยความสะดวกให้ผตู ้ รวจ โดยในการเขียนแต่ละย่อหน้าให้แสดงข้อเท็จจริ งหรื อความ คิดเห็นเพียงหนึ่งอย่าง เพื่อให้ผตู ้ รวจหาข้อเท็จจริ งหรื อคําตอบที่ตอ้ งการได้ง่ายขึ้น 2. เขียนให้เรี ยบร้อย สะอาดตาที่สุดเท่าที่จะทําได้ 3. ใช้ปากกาสี ดาํ หรื อนํ้าเงินเขียนข้อความ อย่าใช้ปากกาสี สดใสบาดตา เช่น แดง เขียว เราควร ใช้สีสดๆ นี้ขีดเส้นหรื อโยงลูกศรเท่านั้น 4. เว้นบรรทัดระหว่างคําตอบแต่ละข้อไว้มากๆ สําหรับเขียนเพิ่มทีหลัง จะได้ไม่ตอ้ งเขียนต่อ หน้าอื่น(แล้วบอกผูต้ รวจว่า กรุ ณาอ่านคําตอบข้อนี้ต่อที่หน้า 9) ซึ่งทําให้ผตู ้ รวจเสี ยเวลาพลิก กระดาษคําตอบไปมา 5. ถ้ามีคาํ ถาม 5 ข้อ แล้วให้เลือกทํา 4 ข้อ เมื่อทําทั้ง 4 ข้อเสร็ จแล้ว ไม่ตอ้ งขยันไปทําแถมให้ อีกข้อเอาเวลามาตรวจคําตอบทั้ง 4 ข้อ นั้นให้ถูกต้องครบถ้วนที่สุดจะดีกว่า 6. ใช้แผนภาพ แผนภูมิ หรื อตารางประกอบ ถ้าลักษณะคําถามเปิ ดโอกาสให้ทาํ เช่นนั้นได้ เพราะสิ่ งเหล่านี้จะนําเสนอความคิดของเราและทําให้ผตู ้ รวจเข้าใจได้ง่ายขึ้น 7. ถ้าทําข้อสุ ดท้ายไม่ทนั จริ งๆ ให้เขียนโครงร่ างของคําตอบแบบคร่ าวๆ ไม่ตอ้ งอธิบายใน


- 196 รายละเอียด ต่อไปนี้การทําข้อสอบ ก็ไม่ใช่เรื่ องยากอีกต่อไปแล้วขอให้นกั ศึกษาทุกท่าน ประสบ ความสําเร็ จตามที่หวังไว้ ขอเป็ นกําลังใจให้ทุกท่านสําเร็จการศึกษ

บรรณานุกรม ชวาล แพรัตกุล. ม.ป.ป. เทคนิคการเขียนคําถามเลือกตอบ. กรุ งเทพฯ : กิ่งจันทร์การพิมพ์. นิภา เมธาวีชยั . 2533. การประเมินผลและการสร้ างแบบทดสอบ. กรุ งเทพฯ : วิทยาลัยครู ธนบุรี. บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ์. 2526. การวัดและประเมินผลการศึกษา : ทฤษฎีและการประยุกต์. กรุ งเทพฯ : อักษรเจริ ญทัศน์. บุษยมาส สิ นธุประมา. 2549. “วิธีการเรี ยนอย่างมีคุณภาพในมหาวิทยาลัย” ใน เอกสารประกอบคํา บรรยายรายวิชาการจัดการและทักษะการเรียนระดับอุดมศึกษา. Mark and Cheryl Tackray. 2534. วิธีเรียนอย่ างมีคุณภาพ. แปลจาก How to Succeed to College or University. โดย อุรวดี รุ จิเกียติกาํ จร. พิมพ์ครั้งที่ ๒ กรุ งเทพฯ : เยลโล่การพิมพ์. ยุดา รักไทย. คู่มือ คนเก่ งเรียน”. กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์เอ็กซเปอร์เน็ท. สมนึก ภัททิยธนี. 2537. การวัดผลการศึกษา. กาฬสิ นธุ์ : ประสานการพิมพ์. อุทุมพร จามรมาน. 2538. เทคนิคการศึกษาอย่ างมีประสิ ทธิผล. กรุ งเทพฯ : ฟันนี่พบั ลิชชิ่ง. Stanley Julian C. and Hopkins D. Educational and Psychological Measurement and Evaluation. Prentice-Hall, Inc., 1972. Thorndike, Robert L., and Hagen, Elizabeth. Measurement and Evaluation in Psychological and Evaluation. 3rd ed. John Willey and Sons, Inc., 1969.



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.