คู่มือการประกันคุณภาพการำศึกษาภายใน ปี 2553

Page 1

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก

สํ านักประกันคุณภาพการศึกษา ธันวาคม 2553


คํานํา เพื่อส่ งเสริ ม สนับสนุน พัฒนาการดําเนิ นงานเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับบริ บทที่เปลี่ยนแปลงไป และความเคลื่อนไหวด้านคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาระดับอุดมศึกษาต่าง ๆ อาทิ กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551 – 2565) กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน พ.ศ. 2553 ประกาศ กระทรวงศึกษาธิ การ เรื่ องมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ และอัตลักษณ์ของวิทยาลัย รวมทั้งการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามที่จะเริ่ มต้นในปี งบประมาณ 2554 จนถึงปี งบประมาณ 2558 และการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตามแนวทางของสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา ตั้งแต่ปีการศึกษา 2553 เป็ นต้นไป สํา นัก ประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษา จึ ง ได้จ ัด ทํา คู่ มื อ การประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายใน ประจําปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ฉบับนี้ ข้ ึน โดยมีวตั ถุประสงค์ให้วิทยาลัย คณะ สาขาวิชา และหน่ วยงานสนับสนุ น มีแนวทางปฏิบตั ิในการกํากับและพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษาที่ ชัดเจนสอดคล้องกับกรอบแผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาว มาตรฐานเกี่ยวกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาต่างๆ ที่เกี่ ยวข้อง และสามารถรองรั บการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและเกิ ด ประสิ ทธิ ผล และหวังเป็ นอย่างยิ่งว่าเอกสารฉบับนี้ จะเป็ นคู่มือส่ งเสริ มให้วิทยาลัย คณะ สาขาวิชาและ หน่วยงานสนับสนุนจัดการศึกษาและดําเนินงานตามภารกิจได้อย่างมีคุณภาพ และนําไปสู่การสร้างผลผลิตที่มี คุณภาพ สามารถตอบสนองสังคมและประเทศชาติตามเป้ าหมายของวิทยาลัย

สํานักประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก


สารบัญ

บทที่ 1 การประกันคุณภาพการศึกษาภายในวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก

หน้ า 1

ระบบการประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก กลไกการขับเคลื่อนการประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาภายในวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก คณะกรรมการดําเนินงานประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก การดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปี การศึกษา 2552 ปฏิทินการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 2 การประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา

1 3 7 8 13 14 25

ความจําเป็ นและวัตถุประสงค์ของการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 กับการประกันคุณภาพการศึกษา กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) การประกันคุณภาพกับมาตรฐานการศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน การเชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพการศึกษาภายในและการประเมิน คุณภาพภายนอก 3 ตัวบ่ งชี้ เกณฑ์ และแนวปฏิบัติในการประเมินคุณภาพ ตามองค์ ประกอบคุณภาพ

26 28

องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิ ธาน วัตถุประสงค์ และแผนดําเนินการ องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิต องค์ประกอบที่ 4 การวิจยั องค์ประกอบที่ 5 การบริ การทางวิชาการแก่สงั คม

38 41 56 60 66

26

29 31 32 37 38


องค์ประกอบที่ 6 การทํานุบาํ รุ งศิลปะและวัฒนธรรม องค์ประกอบที่ 7 การบริ หารและการจัดการ องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ 4 กรอบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก

70 72 81 83 86

กลุ่มเน้นวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก กรอบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก การกําหนดตัวบ่งชี้อตั ลักษณ์วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ข้อมูลกลางและหน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อสนับสนุนคณะหน่วยงาน ประเภทหน่วยงานในระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 5 แนวทางการดําเนินงานเพือ่ รองรับการประเมินคุณภาพภายใน

86 86 86 91 95 97

แผนพัฒนาคุณภาพตัวบ่งชี้ปีการศึกษา 2551 เพื่อบรรลุเป้ าหมายปี การศึกษา 2552 วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก แผนพัฒนาคุณภาพตัวบ่งชี้ปีการศึกษา 2552 เพื่อบรรลุเป้ าหมายปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ผู้จัดทํา

98 101 102


1

บทที่ 1 การประกันคุณภาพการศึกษาภายในวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก 1. ระบบการประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก

ระบบการประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ปี การศึกษา 2553 คือ เริ่ มตั้งแต่การ ทบทวนคณะกรรมการดําเนิ นงานประกันคุณภาพภายใน ปี การศึกษา 2552 เพื่อแต่งตั้งคณะกรรมการ ดําเนิ นงานประกันคุณภาพภายใน ปี การศึกษา 2553 ประกอบด้วยผูบ้ ริ หารและเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบงาน ด้านประกันคุณภาพ โดยมีรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการเป็ นประธานดําเนินการประชุมหารื อ เมื่อที่ประชุมมีมติ พิจารณาให้ความเห็นชอบในประเด็นที่เป็ นเชิงนโยบายแล้วนั้น ฝ่ ายเลขานุ การงานประกันคุณภาพการศึกษา ดําเนิ นการบรรจุวาระในที่ประชุ มคณะกรรมการประกันคุณภาพ เพื่อพิจารณาให้ขอ้ เสนอแนะและความ เห็นชอบอีกครั้ง อาทิ กรอบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตัวบ่งชี้ อัตลักษณ์ระดับสถาบัน แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา เป็ นต้น กรอบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในจะกําหนดตามบริ บท ตามพันธกิจของหน่วยงาน เช่น สําหรับการประกันคุณภาพการศึกษาภายในคณะ สาขาวิชา และสําหรับการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุ นการเรี ยนการสอน ซึ่ งหน่ วยงานสนับสนุ นการเรี ยนการสอนสามารถกําหนดเป็ น องค์ประกอบด้านภารกิจหลักมีตวั บ่งชี้ของการดําเนินงานตามภารกิจของแต่ละหน่วยงาน การติ ด ตามผลการดํา เนิ น งานของคณะ สาขาวิช า และหน่ ว ยงานตามกรอบการประกัน คุ ณ ภาพ การศึกษาภายใน ดําเนินการทุกรอบภาคการศึกษา และรายงานต่อที่ประชุมคณะกรรมการดําเนิ นงานประกัน คุณภาพภายใน ในขณะเดียวกันนําเครื่ องมือการจัดการความรู ้มาช่วยขับเคลื่อน เช่น การนําเสนอแนวปฏิบตั ิที่ ดีเพื่อนช่วยเพื่อน การแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ แผนการประกันคุณภาพการศึกษาของแต่ละปี การศึกษาซึ่ งสอดคล้องกับแนวทางการประกันคุณภาพ ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กําหนดให้ระดับคณะ สาขาวิชาและหน่วยงานดําเนิ นการจัดทํา รายงานการประเมินตนเอง (SAR) คือ เดือนพฤษภาคม และประเมินคุณภาพภายใน โดยผูท้ รงคุณวุฒิ ภายนอก ช่ วงเดื อนสิ งหาคม จากนั้นสถาบัน คณะ สาขาวิชาและหน่ วยงานนําผลการประเมิ นคุ ณภาพ การศึ กษาภายในของคณะกรรมการประเมินเสนอต่อที่ประชุ มคณะกรรมการประกันคุ ณภาพของสถาบัน เพื่อพิจารณาให้ขอ้ เสนอแนะ เพื่อจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (Improvement Plan) ในการยกระดับ คุณภาพการดําเนินงานตามแนวทางวงจรคุณภาพ P D C A


2

แผนภาพระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายใน ของวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก หน่วยงาน

คณะกรรมการดําเนินงานประกัน / อธิการบดี / กรรมการบริ หาร

คณะ / สาขาวิชา

การจัดการความรู ้(KM)

คู่มือการประกันคุณภาพภายใน

การจัดการความรู ้(KM)

หน่วยงาน

ติดตาม / ตรวจสอบการพัฒนา

คณะ / สาขาวิชา

SAR / ประเมินภายใน ระดับคณะ / หน่วยงาน

SAR / ประเมินภายใน ระดับสถาบัน

แนวปฎิบตั ิที่ดี Best Practice

ทบทวน จุดอ่อน / จุดแข็ง / จุดที่ตอ้ งพัฒนา

การวางแผนเพือ่ พัฒนาให้ดีข้ นึ

แนวปฎิบตั ิที่ดี Best Practice


3

2. กลไกการขับเคลือ่ นการประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก 1. คณะทํางานปี การศึกษา 2553 1.1 คณะกรรมการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะ สาขาวิชาและ หน่วยงาน ปี การศึกษา 2553 1.2 คณะกรรมการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับสถาบัน ปี การศึกษา 2553 1.3 คณะกรรมการดําเนินงานจัดการความรู ้ ปี การศึกษา 2553 1.4 คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง ปี การศึกษา 2553 2. โครงการด้ านการประกันคุณภาพการศึกษา 2.1 โครงการอบรมให้ความรู ้และทักษะด้านการประกันคุณภาพการศึกษาแก่นกั ศึกษา 2.2 โครงการการจัดทําคู่มือประกันคุณภาพการศึกษาแก่นกั ศึกษา 2.3 โครงการอบรมให้ความรู ้การประกันคุณภาพการศึกษาแก่บุคลากรในสถาบัน 2.4 โครงการอบเชิงปฏิบตั ิการระบบฐานข้อมูล CHE QA ON LINE 3. การประชุ มคณะทํางาน รายละเอียดปรากฏดังตารางสรุ ปกิจกรรมการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี การศึกษา 2553 ลําดับที่ การดําเนินงาน ว/ด/ป สถานที่ 1. ประชุ ม ซั ก ซ้อ มเตรี ยมรั บ การตรวจประเมิ น 1 มิ.ย.53 ห้ อ งประชุ ม วิ ท ยาลั ย เซาธ์ อี ส ท์ (ต่อเนื่อง) กลุ่มรอพินิจ คณะบริ หารธุรกิจ บางกอก 2. ประชุมซักซ้อมเตรี ยมรับการตรวจประเมิน (ซํ้า) 14 มิ.ย. 53 ห้ อ งประชุ ม วิ ท ยาลั ย เซาธ์ อี ส ท์ กลุ่มไม่รับรอง คณะนิติศาสตร์ และ บางกอก คณะศิลปศาสตร์ 3. Pre – Audit กลุ่มไม่รับรอง คณะนิ ติศาสตร์ และ 24 มิ.ย. 53 ห้ อ งประชุ ม วิ ท ยาลั ย เซาธ์ อี ส ท์ คณะศิลปศาสตร์ บางกอก 4. เข้าร่ วมสัมมนาประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 23 ก.ค. 53 โรงแรมมิลาเคิล กรุ งเทพฯ เกณฑ์ใหม่ ของสกอ. 5. โครงการอบรมให้ ค วามรู ้ แ ละทัก ษะด้า นการ 28 ก.ค. 53 ห้ อ งประชุ ม วิ ท ยาลั ย เซาธ์ อี ส ท์ ประกันคุณภาพการศึกษาแก่นกั ศึกษา บางกอก 6. Presentation กลุ่มรอพินิจ คณะบริ หารธุรกิจ 26 ส.ค.53 ห้ อ งประชุ ม วิ ท ยาลั ย เซาธ์ อี ส ท์ บางกอก


4

ลําดับที่ การดําเนินงาน ว/ด/ป 7. ตรวจประเมิน (ต่อเนื่อง) กลุ่มรอพินิจ 13 ก.ย. 53 คณะบริ หารธุรกิจ 8. Pre – Audit กลุ่มไม่รับรอง คณะนิ ติศาสตร์ และ 27 ก.ย. 53 คณะศิลปศาสตร์ 9. ประชุมการจัดทํา TQF 13 ต.ค. 53 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21.

ป ร ะ ชุ ม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ดํ า เ นิ น ก า ร แ ผ น ยุทธศาสตร์วิทยาลัย โครงการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ การประกันคุณภาพ การศึกษา ป ร ะ ชุ ม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ดํ า เ นิ น ก า ร แ ผ น ยุทธศาสตร์วิทยาลัย ประชุ ม คณะกรรมการดํ า เนิ น งานประกั น คุณภาพการศึกษาภายใน ป ร ะ ชุ ม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ดํ า เ นิ น ก า ร แ ผ น ยุทธศาสตร์วิทยาลัย โครงการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้การประกันคุณภาพ การศึกษา ประชุ ม คณะกรรมการดํ า เนิ น งานประกั น คุณภาพการศึกษาภายใน ประชุ ม เตรี ยมตรวจการประเมิ น คุ ณ ภาพ ภายนอกรอบสาม โครงการอบรมผูป้ ระเมินขั้นสู ง โครงการอบรมผูป้ ระเมินภายใน โครงการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้เทคนิคการสอน ประชุ ม เตรี ย มความพร้ อ มการตรวจประเมิ น (ซํ้า) กลุ่มไม่รับรอง คณะนิติศาสตร์และ คณะศิลปศาสตร์

14 ต.ค. 53 15 ต.ค. 53 3 พ.ย. 53 11 พ.ย. 53 17 พ.ย. 53 18 พ.ย. 53 14 ธ.ค. 53 21 ธ.ค. 54 7 ม.ค. 54 11 ม.ค. 54 19 ม.ค. 54 27 ม.ค. 54

สถานที่ ห้ อ งประชุ ม วิ ท ยาลั ย เซาธ์ อี ส ท์ บางกอก ห้ อ งประชุ ม วิ ท ยาลั ย เซาธ์ อี ส ท์ บางกอก ห้ อ งประชุ ม วิ ท ยาลั ย เซาธ์ อี ส ท์ บางกอก ห้ อ งประชุ ม วิ ท ยาลั ย เซาธ์ อี ส ท์ บางกอก ม.ศิลปากร สนามจันทร์ ห้ อ งประชุ ม วิ ท ยาลั ย เซาธ์ อี ส ท์ บางกอก ห้ อ งประชุ ม วิ ท ยาลั ย เซาธ์ อี ส ท์ บางกอก ห้ อ งประชุ ม วิ ท ยาลั ย เซาธ์ อี ส ท์ บางกอก โรงแรมสยามซิต้ ี กรุ งเทพฯ ห้ อ งประชุ ม วิ ท ยาลั ย เซาธ์ อี ส ท์ บางกอก ศูนย์การประชุมแห่ งชาติสิริกิตต์ โรงแรมสยามซิต้ ี กรุ งเทพฯ ม.ศรี ปทุม บางเขน ม.มหิ ดล ศาลายา ห้ อ งประชุ ม วิ ท ยาลั ย เซาธ์ อี ส ท์ บางกอก


5

ลําดับที่ การดําเนินงาน 22. โครงการอบรมให้ความรู ้และทักษะ ด้านการประกันคุณภาพการศึกษาแก่นกั ศึกษา 23. ตรวจประเมิน (ซํ้า) กลุ่มไม่รับรอง คณะนิติศาสตร์ และคณะศิลปศาสตร์ 24. โครงการถ่ า ยทอดความรู ้ เ ตรี ย มรั บ การตรวจ ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (สมศ.) 25. ประชุ ม คณะกรรมการดํ า เนิ น งานประกั น คุณภาพการศึกษาภายใน 26. ประชุ ม ถ่ า ยทอดอัต ลัก ษณ์ วิ ท ยาลัย เซาธ์ อี ส ท์ บางกอก 27. โครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการเรื่ องความสัมพันธ์ ระว่างการประกันคุณภาพการศึ กษาภายในกับ การประเมินคุณภาพภายนอก 28. ประชุ ม ถ่ า ยทอดอัต ลัก ษณ์ วิ ท ยาลัย เซาธ์ อี ส ท์ บางกอก 29. ประชุมคณะกรรมการดําเนินงาน ประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 30. ประชุมถ่ายทอดการจัดการความรู ้และ แผนจัดการความเสี่ ยง 31. ประชุมถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 32. ประชุมคณะกรรมการดําเนินงาน ประกันคุณภาพการศึกษาภายใน (ระดับคณะ) 33. ประชุมแผนอุดมศึกษา 15 ปี 34. ประชุมเตรี ยมพร้อมตรวจประเมิน คุณภาพภายนอก รอบสาม (สมศ.) 35. ประชุมกลุ่มเบญจมิตร

ว/ด/ป 1 ก.พ. 54

สถานที่ ห้องบรรยาย 142 อาคารเฉลิ มพระ เกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา 7-8 ก.พ. 53 ห้ อ งประชุ ม วิ ท ยาลั ย เซาธ์ อี ส ท์ บางกอก 23 ก.พ. 54 ห้ อ งประชุ ม วิ ท ยาลั ย เซาธ์ อี ส ท์ บางกอก 2 มี.ค. 54 ห้ อ งประชุ ม วิ ท ยาลั ย เซาธ์ อี ส ท์ บางกอก 7 มี.ค. 54 ห้ อ งประชุ ม วิ ท ยาลั ย เซาธ์ อี ส ท์ บางกอก 14 มี. ค. 54 ห้ อ งประชุ ม วิ ท ยาลั ย เซาธ์ อี ส ท์ บางกอก 18 มี.ค. 54

4 เม.ย. 54 5 เม.ย. 54

ห้ อ งประชุ ม วิ ท ยาลั ย เซาธ์ อี ส ท์ บางกอก ห้ อ งประชุ ม วิ ท ยาลั ย เซาธ์ อี ส ท์ บางกอก ห้ อ งประชุ ม วิ ท ยาลั ย เซาธ์ อี ส ท์ บางกอก ห้ อ งประชุ ม วิ ท ยาลั ย เซาธ์ อี ส ท์ บางกอก ห้ อ งประชุ ม วิ ท ยาลั ย เซาธ์ อี ส ท์ บางกอก โรงแรมเซ็นจูรี่ พาร์ค กรุ งเทพฯ เมืองทองธานี

7 เม.ย. 54

ม.ธนบุรี

21 มี.ค. 54 24 มี.ค. 54 25 มี.ค. 54 1 เม.ย. 54


6

ลําดับที่ การดําเนินงาน 36. โครงการอบรมเชิ งปฏิ บตั ิการระบบฐานข้อมูล CHE QA ONLINE 37. ประชุ ม คณะกรรมการดํ า เนิ น งานประกั น คุณภาพการศึกษาภายใน (ระดับคณะ) 38. ประชุมถ่ายทอดเอกลักษณ์ของ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 39. ประชุ มพิจารณาแผนพัฒนาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก (ระยะที่ 1) 40. เข้าร่ วมงานประชุมวิชาการกลุ่มเบญจมิตร ครั้งที่ 1

ว/ด/ป สถานที่ 21 เม.ย. 54 ม.เกษตรศาสตร์ บางเขน 22 เม.ย. 54 ห้ อ งประชุ ม วิ ท ยาลั ย เซาธ์ อี ส ท์ บางกอก 25 เม.ย. 54 ห้ อ งประชุ ม วิ ท ยาลั ย เซาธ์ อี ส ท์ บางกอก 11 พ.ค. 54 ห้ อ งประชุ ม วิ ท ยาลั ย เซาธ์ อี ส ท์ บางกอก 31 พ.ค. 54 ม.ธนบุรี

4. การเผยแพร่ ข้อมูลและเอกสารทีเ่ ป็ นประโยชน์ 4.1 รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ปี การศึกษา 2553 ระดับสถาบัน 4.2 จุลสารการประกันคุณภาพการศึกษา 4.3 คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา 4.4 คู่มือการประกันคุณภาพภายใน สําหรับหน่วยงานสนับสนุนการเรี ยนการสอน วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ปี การศึกษา 2553 4.5 ประกาศนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก


7

3. นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาภายในวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก

วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ได้ตระหนักถึ งความสําคัญและความจําเป็ นของการประกันคุณภาพ การศึกษา ตามสาระสําคัญที่ระบุในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ประกอบกับพระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการกระทรวงศึกษาธิ การ พ.ศ. 2546 และ กฎกระทรวงว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2546 และพ.ศ.2553 โดยวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอกมุ่งมัน่ ที่จะพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา อย่างยัง่ ยืน อันแสดงถึงปณิ ธานและความรับผิดชอบต่อสังคมและประเทศชาติ ในการดําเนิ นภารกิจหลักของ วิทยาลัย คือ การผลิตบัณฑิต การวิจยั การให้บริ การทางวิชาการแก่ชุมชน และการทํานุบาํ รุ งศิลปวัฒนธรรม ทั้งนี้ เพื่อให้การดําเนิ นการด้านการประกันคุณภาพเป็ นไปอย่างสอดคล้องในทิศทางเดียวกัน จึงได้กาํ หนด นโยบายด้านประกันคุณภาพของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ดังนี้ 1) มีแผนและนโยบายที่จะพัฒนาคุณภาพการศึกษาทั้งในระดับปริ ญญาตรี และปริ ญญาโท เพื่อให้ เป็ นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและระดับสากล โดยมุ่งสร้างความแข็งแกร่ งทางวิชาการ สนับสนุ นการศึกษา ค้นคว้าวิจยั และพัฒนาระบบบริ หารจัดการ 2) มีแผนและนโยบายที่จะให้สถาบัน คณะ สาขาวิชา หน่ วยงานภายในวิทยาลัย และนักศึกษา ดํา เนิ น การการมี ส่ ว นร่ ว มในการดํา เนิ น การประกัน คุ ณ ภาพ ให้ เ ป็ นไปตามมาตรฐานของสํา นัก งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา และมาตรฐานสากล โดยมุ่งให้ทุกหน่ วยงาน รวมทั้งการมีส่วนร่ วมของ นักศึกษา พัฒนาระบบ กลไกการประกันคุณภาพให้เหมาะสมตามเกณฑ์ เงื่อนไข ความพร้อม และความ จําเป็ นอื่นๆ 3) มีแผนและนโยบายให้หน่ วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้องได้เข้ามามีส่วนร่ วมในกระบวนการประกัน คุณภาพการศึกษา รวมทั้งจัดให้มีการทํารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาเผยแพร่ ต่อสาธารณชน 4) มีแผนและนโยบายในการส่ งเสริ มให้นักศึกษามีความรู ้และทักษะด้านการประกันคุณภาพ การศึกษาของสถาบัน โดยให้ความรู ้ ส่ งเสริ มและสนับสนุนให้นกั ศึกษาจัดทําโครงการด้านวิชาการ บริ การ วิชาการ บําเพ็ญประโยชน์หรื อโครงการกิ จกรรมอื่นๆ โดยใช้กระบวนการคุณภาพ เช่ น 5 ส. วงจรการ ประกันคุณภาพ P D C A ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพกิจกรรมหรื อโครงการของนักศึกษา

ประกาศ เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2552


8

4. คณะกรรมการดําเนินงานประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก เพื่อให้การดําเนินงานประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ดําเนินไปด้วยความเรี ยบร้อย มีประสิ ทธิ ภาพและบรรลุผลตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) อีก ทั้งรองรับการประกันคุณภาพภายใน สกอ. และการประเมินคุณภาพภายนอก (สมศ.) และสอดคล้องกับ นโยบายด้านการประกันคุณภาพการศึกษาวิทยาลัยฯ จึ งแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนิ นงานประกันคุณภาพ ภายในวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ดังนี้ ที่ปรึ กษา 1. คณะกรรมการอํานวยการ 1.1) อธิการบดี 1.2) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ประธานกรรมการ 1.3) รองอธิการบดีฝ่ายบริ หาร กรรมการ 1.4) รองอธิการบดีฝ่ายวางแผน กรรมการ และพัฒนา 1.5) รองอธิการบดีฝ่ายกิจการ กรรมการ นักศึกษาและกิจการพิเศษ 1.6) ผูช้ ่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ กรรมการ โดยมีหน้ าที่ 1. กําหนดนโยบาย แผน กรอบและแนวปฏิบตั ิในการดําเนิ นงานประกันคุณภาพการศึกษา ภายในระดับสถาบัน 2. กํากับ ติดตาม ตรวจสอบการดําเนิ นงานประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับสถาบัน คณะ สาขาวิชา และหน่วยงาน 3. ให้การส่ งเสริ ม สนับสนุนการดําเนิ นงานประกันคุณภาพการศึกษาภายในวิทยาลัยเซาธ์ อีสท์บางกอก ให้ดาํ เนินไปด้วยความเรี ยบร้อยและมีประสิ ทธิภาพ 4. รายงานข้อมูลการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายในวิทยาลัยฯ ต่อ สภาวิทยาลัย 5. ให้ขอ้ เสนอแนะในการแก้ไขปั ญหาและอุปสรรคในการดําเนิ น งานประกัน คุ ณ ภาพ การศึกษาภายในวิทยาลัยฯ


9

2. คณะกรรมการดําเนินงาน รายชื่อคณะกรรมการดําเนินงาน ประกันคุณภาพ ที่ 1 อธิการบดีวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 2 รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ 1) หน่ วยงานจัดการเรียนการสอน 1.1) คณะบริหารธุรกิจ 3 ดร.จิระภา สุขเกษม 4

ดร.อําพล นววงศ์เสถียร

5

อาจารย์ศิริวรรน หว่องเจริ ญ

6

อาจารย์จริ ยา ศรี จรู ญ

7

อาจารย์สุดาสวรรค์ งามมงคลวงศ์

8

อาจารย์รวมพล จันทศาสตร์

9

อาจารย์พรรณทิพย์ บุญเหลือ

10 1.2) คณะนิติศาสตร์ 11 12

อาจารย์นทั ธีรา พุมมาพันธ์ ดร.สฤษดิ์ผล ชมไพศาล อาจารย์ญาณวัฒน์ พลอยเทศ

13

อาจารย์พิชญ์สินี ศรี สวัสดิ์

14

อาจารย์สุชญั ญา คล้ายเนตร

ตําแหน่ ง ที่ปรึ กษา ประธานกรรมการ

คณบดีคณะ บริ หารธุรกิจ ผูช้ ่วยคณบดีคณะ บริ หารธุรกิจ หัวหน้าสาขาวิชาการ บัญชี หัวหน้าสาขาวิชา การตลาด หัวหน้าสาขาวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ หัวหน้าสาขาวิชาการ จัดการโลจิสติกส์ เลขานุการคณะ บริ หารธุรกิจ QA คณะบริ หารธุรกิจ คณบดีคณะนิติศาสตร์ ผูช้ ่วยคณบดีคณะ นิติศาสตร์ เลขานุการคณะ นิติศาสตร์ อาจารย์ประจําคณะ นิติศาสตร์


10

1.3) คณะศิลปศาสตร์ 15

อาจารย์ศรี มณา เกษสาคร

16

อาจารย์นนั ทิยา สุ วรรณ

17

อาจารย์สนั ติภูมิ ราชวิชา

1.4) คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 18 อาจารย์ชาลินี พรรธนะแพทย์

19

อาจารย์ทรงพล นคเรศเรื องศักดิ์

20

อาจารย์นริ ศ พุม่ ดนตรี

1.5) บัณฑิตวิทยาลัย 21 22 โดยมีหน้ าที่

ดร.ภูษิตย์ วงษ์เล็ก นางสาวนันท์นภัส สว่างการ

รักษาการคณบดีศิลป ศาสตร์ หัวหน้าสาขาวิชา ภาษาอังกฤษธุรกิจ อาจารย์ประจําสาขาวิชา ภาษาอังกฤษธุรกิจ คณบดีคณะ วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี หัวหน้าสาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ประจําสาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ รักษาการคณบดี บัณฑิตวิทยาลัย รักษาการเลขานุการ บัณฑิตวิทยาลัย

1. เข้าร่ วมประชุมเพื่อปรึ กษาหารื อ ลงมติ หรื อรับทราบความเคลื่อนไหวของการ ดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา 2. ทําหน้าที่หลักในการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา เช่น จัดทําคู่มือประกัน คุณภาพการศึกษา และรายงานการประเมินตนเองของคณะ/สาขาวิชา 3. ประสานงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษากับสํานักประกันคุณภาพการศึกษา 4. ให้ขอ้ มูลและแลกเปลี่ยนประเด็นปั ญหาในการดําเนิ นงานด้านการประกันคุณภาพ การศึกษา


11

2) หน่ วยงานสนับสนุนการเรียนการสอน 2.1) สํ านักวิจยั และวางแผน 23 อาจารย์ธิปัตย์ โสตถิวรรณ์ 2.2) สํ านักวิชาการ 24 อาจารย์เรณู จันทะวงศา 2.3) สํ านักอธิการบดี 25 อาจารย์สุณี ทิพย์เกษร 2.4) สํ านักวิทยบริการ 26 อาจารย์อารี ย ์ เพชรหวน 2.5) สํ านักกิจการนักศึกษาและกิจการพิเศษ 27 อาจารย์สุคนธ์ สนธิ 28

อาจารย์วฤนดา วงษ์เล็ก

2.6) สํ านักการคลัง 29 อาจารย์พิชยา พรพันธ์ 2.7) สํ านักประกันคุณภาพการศึกษา 30 อาจารย์บริ สุทธิ์ ผึ่งผดุง 2.8) ศูนย์ บริการเทคโนโลยีและสารสนเทศ 31 นายพลาธิสร แสงตระการ โดยมีหน้ าที่

ผูอ้ าํ นวยการสํานักวิจยั และวางแผน ผูอ้ าํ นวยการสํานักวิชาการ ผูอ้ าํ นวยการสํานักอธิการบดี ผูอ้ าํ นวยการสํานักวิทยบริ การ ผูอ้ าํ นวยการสํานักกิจการนักศึกษา และกิจการพิเศษ ผูช้ ่วยผูอ้ าํ นวยการสํานักกิจการ นักศึกษาและกิจการพิเศษ ผูอ้ าํ นวยการสํานักการคลัง ผูอ้ าํ นวยการสํานักประกันคุณภาพ การศึกษา รักษาการผูอ้ าํ นวยการศูนย์บริ การ เทคโนโลยีและสารสนเทศ

1. เข้าร่ วมประชุมเพื่อปรึ กษาหารื อ ลงมติ หรื อรับทราบความเคลื่อนไหวของการ ดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา 2. ทําหน้าที่หลักในการดําเนิ นงานประกันคุณภาพการศึกษาของหน่ วยงาน เช่น จัด ทํา คู่ มื อ ประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษา และรายงานการประเมิ น ตนเองของ หน่วยงาน


12

3. ประสานงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษากับสํานักประกันคุณภาพการศึกษา 4. ให้ขอ้ มูลและแลกเปลี่ยนประเด็นปั ญหาในการดําเนิ นงานด้านการประกันคุณภาพ การศึกษา 3. ฝ่ ายเลขานุการ

โดยมีหน้ าที่

32 อาจารย์บริ สุทธิ์ ผึ่งผดุง 33 อาจารย์สรยศ รุ่ งเรื อง 34 นางสาวนิ้มฤทัย รัตนสุ วรรณ

ผูอ้ าํ นวยการสํานักประกันคุณภาพการศึกษา ผูช้ ่วยผูอ้ าํ นวยการสํานักประกันคุณภาพการศึกษา เจ้าหน้าที่สาํ นักประกันคุณภาพการศึกษา

1. จัดทําวาระการประชุมและรายงานการประชุมคณะกรรมการดําเนิ นงานประกัน คุณภาพการศึกษาภายในวิทยาลัยฯ 2. จัดทําข้อมูลการดําเนิ นการด้านการประกันคุณภาพการศึกษาเสนอต่อที่ประชุ ม คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา 3. วิเคราะห์และสรุ ปข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อนําเสนอ ต่อที่ประชุม 4. ดําเนิ นการให้มีการประชุ มคณะกรรมการดําเนิ นงานประกันคุณภาพการศึกษา ภายในวิทยาลัยฯ ให้เป็ นไปด้วยความเรี ยบร้อย


13

5. การดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก สรุปกิจกรรมการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายในวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก ลําดับที่ ว/ด/ป กิจกรรม 1 2 มีนาคม 2554 1. ประชุ มเตรี ยมความพร้ อมเพื่อจัดทํารายงานการ 14 มีนาคม 2554 ประเมินตนเอง(SAR) ประจําปี การศึกษา 2553 2. ประชุมสัมมนาโครงการถ่ายทอดความรู ้เชิงปฏิบตั ิการ เรื่ องความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่ า งการประกั น คุ ณ ภาพ การศึ ก ษาภายในกับ การประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา ภายนอก 3. การจัดทํารายงานการประเมินตนเอง(SAR) ประจํา ปี การศึ ก ษา 2553 พร้ อมจัด เก็บข้อ มูล พื้ น ฐานและ รวบรวมเอกสารหลักฐานอ้างอิง 2 เมษายน 2554 1. จั ด ทํา รายงานการประเมิ น ตนเอง(SAR) ประจํา ปี การศึ ก ษา 2553 พร้ อมจัด เก็บข้อ มูล พื้ น ฐานและ รวบรวมเอกสารหลักฐานอ้างอิง (ต่อเนื่อง) 2. ประชุมสภาวิทยาลัย เพื่อขอความเห็นชอบและอนุมตั ิ ตัวบ่งชี้ที่ตอ้ งผ่านมติสภาวิทยาลัย 3 พฤษภาคม 2554 จั ด ทํา รายงานการประเมิ น ตนเอง(SAR) ประจํา ปี การศึ ก ษา 2553 พร้ อมจัด เก็บข้อ มูล พื้ น ฐานและ รวบรวมเอกสารหลักฐานอ้างอิง (ต่อเนื่อง) 4 มิถุนายน 2554 1. รายงานการประเมินตนเอง(SAR) ประจําปี การศึกษา 2553 เพื่ อ รั บ การตรวจประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา ภายในเสร็ จเรี ยบร้อยสมบูรณ์ 2. (ร่ า ง) รายงานการประเมิ น ตนเอง(SAR) ประจํา ปี การศึ ก ษา 2553 เพื่ อรั บการตรวจประเมิ น คุ ณ ภาพ การศึกษาภายนอกเสร็ จประมาณ 90% 3. Pre – audit รับการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษา ภายใน


14

5

6

7

กรกฏาคม 2554

1. รับการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ( สกอ. โดยคณะกรรมการภายนอก) 2. ปรั บปรุ งแก้ไขรายงานการประเมินตนเอง(SAR) ประจํ า ปี การศึ ก ษา 2553 ตามความเห็ นของ คณะกรรมการภายนอก(ผูต้ รวจประเมิน) 3. จัด ทํา รายงานการประเมิ น ตนเอง(SAR) ประจํา ปี การศึ ก ษา 2553 เพื่ อรั บการตรวจประเมิ น คุ ณ ภาพ การศึกษาภายนอก (สมศ.) ฉบับสมบูรณ์ สิ งหาคม 2554 1. ประชุมสภาวิทยาลัย เพื่อ รายงานผลการตรวจประเมิ น คุ ณ ภาพ การศึกษาภายใน (สกอ.) สภาวิทยาลัยให้ความเห็นชอบรายงาน การประเมินตนเอง (SAR) ประจําปี การศึกษา 2553 ฉบับดําเนินการส่ ง สมศ. 2. ดําเนิ นการส่ งรายงานการประเมิ นตนเอง (SAR) ประจําปี การศึกษา 2553 (ฉบับดําเนิ นการส่ ง สมศ.) ซึ่ งผ่ า นความเห็ น ชอบจากสภาวิ ท ยาลัย ให้ สมศ. ไม่ น้ อ ยกว่ า 30 วัน ก่ อ นรั บ การตรวจประเมิ น คุณภาพการศึกษาภายนอกจาก สมศ. กันยายน 2554 รั บ การตรวจประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายนอก (สิ้ นปี งบประมาณ 2554) รอบสาม (สมศ.)

6. ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก ปี การศึกษา 2552 วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ได้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง โดยใน ปี การศึกษา 2552 ได้รับการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับสถาบัน จากคณะกรรมการผูต้ รวจประเมินจาก สกอ. ใน 9 องค์ประกอบ 41 ตัวบ่งชี้ ผลการตรวจประเมินฯ องค์ประกอบที่ 2 , 3 , 5 , 6 ,8 และ 9 ได้ระดับดี มาก องค์ประกอบที่ 4 และ 7 ได้ระดับดี องค์ประกอบที่ 1 ได้ระดับพอใช้ ผลการประเมินฯ ในภาพรวม ได้ ระดับดีมาก คะแนนการประเมิน 2.56


15

จุดเด่ น 1. ผูบ้ ริ หารระดับสู งมีวิสยั ทัศน์ มีความมุ่งมัน่ ตั้งใจ 2. บุคลากรให้ความร่ วมมือ ร่ วมใจในกิจกรรมของวิทยาลัยฯเป็ นอย่างดี 3. มี ค วามร่ ว มมื อ และมี สั ม พัน ธภาพที่ ดี กับ ชุ ม ชน โดยเฉพาะในเรื่ อ งการทํา นุ บ ํา รุ ง ศิลปวัฒนธรรม 4. ทําเลที่ต้ งั ดีเหมาะแก่การจัดหลักสู ตรพิเศษ หลักสู ตรบัณฑิตศึกษา ภูมิทศั น์เหมาะ แก่ การเป็ นสถานศึกษา 5. บุคลากรวัยหนุ่มสาว มีความกระฉับกระเฉง ทําให้ทุ่มเทกับงานอย่างเต็มที่ 6. การใช้ทรัพยากร(สถานที่)ร่ วมกันอย่างคุม้ ค่า 7. ให้ความสําคัญกับห้องสมุด ข้ อเสนอแนะ 1. ควรส่ งเสริ มให้มีกิจกรรมบริ การวิชาการเพิม่ มากขึ้น 2. ควรส่ งเสริ มคณาจารย์วยั หนุ่มสาวให้เรี ยนต่อปริ ญญาในระดับสู งขึ้นเพื่อเป็ นกําลังสําคัญ ของวิทยาลัยฯในอนาคต 3. ควรให้อาจารย์แต่ละท่านจัดทําแผนพัฒนาตนเองในเชิงวิชาการ 4. ควรส่ งเสริ มการประชาสัมพันธ์ให้กว้างขวางยิง่ ขึ้น 5. จากผลการวิจยั สถาบันพบว่า ผูใ้ ช้บณั ฑิตต้องการให้วิทยาลัยฯพัฒนาภาษาอังกฤษให้กบั นักศึกษาเพิ่มมากขึ้น 6. ควรผลักดันนโยบายและทิศทางใหม่ๆ ให้จริ งจัง เช่น TQF แนวปฏิบัติทดี่ ี มีศูนย์สืบสานภูมิปัญญาบรรพชนบางนา เพื่อส่ งเสริ มให้เกิดความเข้าใจวิถีชีวิตและ ภูมิปัญญาบรรพชน จัดเก็บเป็ นฐานข้อมูลไว้เพื่อการสื บค้นแก่ผทู ้ ี่สนใจทัว่ ไปและเผยแพร่ ในเว็บไซต์ของวิทยาลัยฯ


16

จุดแข็ง ข้ อเสนอแนะ และแนวทางการพัฒนา องค์ ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนการดําเนินงาน จุดแข็ง มีแผนงาน โครงการที่ชดั เจนดี ข้อเสนอแนะ ประเมินและวิเคราะห์แผน และการนําผลการประเมินมาปรับปรุ งการดําเนิ นงาน ของวิทยาลัย และนําผลการประเมินเสนอต่อสภาวิทยาลัยฯ ด้วย องค์ ประกอบที่ 2 การเรียนการสอน จุดแข็ง 1. หลัก สู ต รที่ เ ปิ ดสอนมี ก ารพัฒนาเริ่ มต้น จากการวิเ คราะห์ ค วามต้อ งการของ ตลาดแรงงานอย่างแท้จริ ง 2. ทุกหลักสู ตร(10 หลักสู ตร) ได้รับการรับรองตามมาตรฐานของ สกอ. 3. การจัดการเรี ยนการสอนทุกหลักสู ตรเน้นสร้างคุณภาพอย่างชัดเจน 4. การจัดการเรี ยนการสอนทุกหลักสู ตรและทุกรายวิชาเน้นนักศึกษาเป็ นศูนย์กลาง 5. นักศึกษาได้มีโอกาสแสดงความคิดริ เริ่ ม ความคิดสร้างสรรค์อย่างมาก 6. การจัด การเรี ย นการสอนทุ ก หลัก สู ตรเน้น การสร้ างเอกลัก ษณ์ ศัก ยภาพให้ เป็ นไปตามที่วิทยาลัยฯกําหนด 7. ทุ ก หลัก สู ต รมี ก ารกํา หนดรายวิ ช าที่ มี ล ัก ษณะยืด หยุ่น และเป็ นไปตามความ ต้องการของนักศึกษา ข้ อเสนอแนะ ควรให้มีการทําวิจยั เน้นการพัฒนาการเรี ยนการสอนให้มากขึ้น องค์ ประกอบที่ 3 กิจกรรมพัฒนานิสิตนักศึกษา จุดแข็ง 1. วิทยาลัยมี กิจกรรมการพัฒนานักศึ กษาที่ เข้มแข็งและมุ่งพัฒนานักศึ กษาให้มี เอกลักษณ์สอดคล้องกับปรัชญาของวิทยาลัยฯ(คุณวุฒิ คุณธรรม คุณค่า) อย่าง มาก 2. นักศึกษาได้มีส่วนร่ วมในกิจกรรมที่ทางวิทยาลัยฯจัดดําเนินการอย่างมาก 3. วิทยาลัยฯมีการดําเนินการที่ทาํ ให้นกั ศึกษากับวิทยาลัยฯมีความใกล้ชิดกันมาก


17

องค์ ประกอบที่ 4 การวิจัย จุดแข็ง วิทยาลัยฯให้การสนับสนุ นเรื่ องงานวิจยั ดี มีการกําหนดนโยบายให้เปอร์ เซ็นต์โดย ให้ผลงานวิจยั คิดเป็ น 20% ของการประเมินผลงานประจําปี ข้ อเสนอแนะ 1. ยังขาดรางวัลให้กบั นักวิจยั หรื อผลงานวิชาการ 2. ควรพัฒนาเครื่ อข่ายทั้งเครื อข่ายนักวิชาการและเครื อข่ายชุมชน องค์ ประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแก่สังคม จุดแข็ง 1. บุคลากรมีความตั้งใจที่จะช่วยจัดทําโครงการบริ การทางวิชาการแก่สงั คม แนวทางเสริ ม 1. ควรมีการส่ งเสริ มให้คณาจารย์พฒั นาความรู ้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์จาก หน่วยงานภายนอก หรื อศาสตร์ที่สถาบันเปิ ดสอน จุดที่ควรพัฒนา 1. ควรมีแผนบริ การวิชาการแก่สงั คมที่สร้างรายได้เข้าสถาบัน ข้ อเสนอแนะ 1. ควรมี ก ารสํา รวจความต้องการของท้องถิ่ น บางนา สมุ ทรปราการ ถึ ง ความ ต้องการที่สถานประกอบการจะได้รับความรู ้ ศาสตร์หรื อวิทยาการใหม่ๆ เพื่อ สถาบันจะได้ทาํ การวางแผนจัดฝึ กอบรมบริ การวิชาการได้ตรงกลุ่มเป้ าหมาย องค์ ประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม จุดแข็ง 1. สถาบันมีความตั้งใจพัฒนา อนุรักษ์งานศิลปวัฒนธรรม แนวทางเสริ ม 1. ควรมีการส่ งเสริ มให้บุคลากรพัฒนาองค์ความรู ้ร่วมกับชุมชนอย่างจริ งจัง 2. ควรทําวิจยั เพื่อต่อยอดการวิจยั ประวัติศาสตร์ ทอ้ งถิ่นบางนาอย่างจริ งจังจะได้นาํ ความรู ้มาใช้ประโยชน์สูงสุ ดกับสถาบัน


18

องค์ ประกอบที่ 7 การบริหารจัดการ จุดแข็ง 1. ผูบ้ ริ หารมีความมุ่งมัน่ และตั้งใจพัฒนาวิทยาลัยตามนโยบายที่ต้ งั ไว้ 2. คณาจารย์และบุคลากรมีศกั ยภาพ ทุ่มเทการทํางานให้วิทยาลัยอย่างเต็มที่ แนวทางเสริ ม 1. ควรพัฒนาเรื่ องการจัดการความรู ้ให้ชดั เจนและเป็ นรู ปธรรม ส่ งเสริ มให้มีเวที สําหรั บการแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู ้ และติ ดตามประเมิ นผลสําเร็ จของการจัดการ ความรู ้ 2. ควรจัดทํา Strategy Map ทั้งในระดับวิทยาลัยและคณะ โดยเชื่อมโยงประเด็น ให้สอดคล้องกับเป้ าประสงค์และยุทธศาสตร์ของวิทยาลัย มุ่งสู่วิสยั ทัศน์ จุดที่ควรพัฒนา 1. การจัดทําแผนบริ หารความเสี่ ยงยังไม่ชดั เจน ข้ อเสนอแนะ 1. ควรจัดทําแผนบริ หารความเสี่ ยง วิเคราะห์ input process output สรุ ปผลการ ดําเนินงานตามแผนบริ หารความเสี่ ยง กําหนดแนวทางและข้อเสนอแนะในการ ปรับปรุ งแผนบริ หารความเสี่ ยง องค์ ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ จุดแข็ง 1. มีการใช้ทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันอย่างเป็ นรู ปธรรม แนวทางเสริ ม 1. ควรสรุ ปผลการวิเคราะห์ความต้องการใช้ทรัพยากรสถาบันเพื่อนําข้อมูลไปใช้ ประกอบการวางแผนการใช้ทรัพยากรให้มีประสิ ทธิภาพยิง่ ขึ้น องค์ ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ จุดแข็ง 1. ผูบ้ ริ หารมีนโยบายและให้การสนับสนุนชัดเจน 2. ผูป้ ฎิบตั ิงานมุ่งมัน่ และตั้งใจ ข้ อเสนอแนะ 1. ควรมีเครื่ อข่ายการประกันคุณภาพของนักศึกษาระหว่างสถาบัน


19

ผลการประเมินตามองค์ ประกอบ องค์ ประกอบ

การประเมิน ตนเอง 1. ปรัชญา ปณิ ธาน วัตถุประสงค์ และแผนการ 2.50 ดําเนินงาน 2. การเรี ยนการสอน 2.42 3. กิจกรรมพัฒนานิสิตนักศึกษา 3.00 4. การวิจยั 2.25 5. การบริ การทางวิชาการ 3.00 6. การทํานุบาํ รุ งศิลปวัฒนธรรม 3.00 7. การบริ หารจัดการ 2.33 8. การเงินและงบประมาณ 3.00 9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ 2.67 รวม 2.56

การประเมินโดย คณะกรรมการ 2.00

ผลการประเมิน

2.58 3.00 2.25 3.00 2.66 2.33 3.00 2.67 2.56

ดีมาก ดีมาก ดี ดีมาก ดีมาก ดี ดีมาก ดีมาก ดีมาก

สรุปบทสั มภาษณ์ ข้ อมูลสั มภาษณ์ ผ้ ูบริหารวิทยาลัย คณะผู้บริหารวิทยาลัย ประกอบด้ วย 1. อธิการบดี 2. รองอธิการบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาและกิจการพิเศษ 3. รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา 4. คณบดีคณะบริ หารธุรกิจ 5. คณบดีคณะศิลปศาสตร์ 6. คณบดีคณะนิติศาสตร์ 7. คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโยลี 8. คณบดีบณั ฑิตวิทยาลัย

พอใช้


20

จุดแข็ง

จุดอ่อน

1. ฝ่ ายบริ หารมีการถ่ายทอดนโยบายสู่ องค์การทุกระดับอย่างชัดเจนและทัว่ ทั้งองค์กร 2. ฝ่ ายบริ หารเปิ ดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่ วมในการบริ หาร เช่น การวางแผนจากระดับ ล่างขึ้นสู่ ระดับบน 3. ฝ่ ายบริ หารใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริ หารงานอย่างมาก 4. ฝ่ ายบริ หารมีความมุ่งมัน่ ในการพัฒนาวิทยาลัยทุกภาคส่ วนร่ วมกันอย่างชัดเจน 5. ฝ่ ายบริ หารพยายามสร้าง Brand ของวิทยาลัยให้เป็ นที่ยอมรับของสังคมอย่างต่อเนื่อง 6. วิทยาลัยกําหนดทิศทาง จุดมุ่งหมาย เป้ าหมายของการดําเนินงานอย่างชัดเจน 7. วิทยาลัยมีจุดมุ่งหมายด้านคุณภาพของหลักสูตรและประสิ ทธิภาพอย่างมาก 8. ฝ่ ายบริ หารกําหนดเอกลักษณ์ /บัณฑิตที่พ่ ึงประสงค์อย่างชัดเจน และส่ งผลต่อคุณภาพ ของนักศึกษาอย่างแท้จริ ง

1. ชื่อของวิทยาลัยยังไม่ได้เป็ นที่ยอมรับของประเทศไทยเนื่องจากเป็ นภาษาอังกฤษ ข้ อมูลสั มภาษณ์ กรรมการสภาวิทยาลัย ข้ อเสนอแนะ 1. กรรมการสภาเห็นว่า วิทยาลัยมีการเติบโตอย่างต่อเนื่ อง มัน่ คง และในอนาคตให้เน้น การเปิ ดการศึ ก ษาระดับ ปริ ญ ญาโทและระดับ ปริ ญ ญาเอกให้ม ากขึ้ น ต่ อ ไป และให้ ส่ งเสริ มทางด้านงานวิจยั ให้มากขึ้น 2. กรรมการสภาเห็นว่า คณาจารย์อยู่ในวัยหนุ่ มสาวกันมาก จึงน่ าจะมีแผนส่ งเสริ มให้ เรี ย นต่ อ ให้ม ากขึ้ น ควรมี ก ารพัฒ นาด้า นภาษาอัง กฤษเพื่ อ เตรี ย มรั บ เขตการค้า เสรี อาเซียน(AFTA) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC) 3. ควรส่ งเสริ มการเรี ยนการสอนในเชิง Global Business ให้มากขึ้น 4. นโยบาย สกอ. บางเรื่ องยังมีปัญหาในทางปฏิบตั ิ เช่น เรื่ องTQF วิทยาลัยอาจจะจัดการ สัมมนาเชิง Workshop เพื่อช่วยให้อาจารย์เข้าใจมากยิง่ ขึ้น


21

ข้ อมูลสั มภาษณ์ อาจารย์ จุดแข็ง 1. ผูบ้ ริ หารระดับสูงมีนโยบายชัดเจนในเรื่ องการประกันคุณภาพการศึกษา พร้อมทั้งชี้แจง ให้ทุกระดับได้รับทราบ 2. เป็ นสถาบันที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านบริ หารธุรกิจ 3. มีนกั ศึกษาบริ หารธุรกิจในสัดส่ วนที่มาก 4. อาจารย์มีความรู ้ความสามารถด้านบริ หารธุรกิจดี 5. ทําเลที่ต้ งั แวดล้อมด้วยอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ 6. การดูแลนักศึกษาดี อาจารย์ที่ปรึ กษาดูแลใกล้ชิด 7. มีสภาพแวดล้อมสะดวกในการเดินทาง 8. สิ่ งแวดล้อมเป็ น Green Place 9. เป็ นสังคมการเรี ยนรู ้ของสังคมเขตบางนา โดยมีการอบรมให้ชุมชน 10. พัฒนานักศึกษาให้มีทกั ษะการปฏิบตั ิงานและปรับตัวเข้ากับสภาพการทํางานได้ดี 11. ทําเลเป็ นศูนย์กลางของอุตสาหกรรมหลากหลาย 12. อาจารย์มีความใกล้ชิดกับนักศึกษา ส่ งผลทําให้มีความสัมพันธ์กบั ศิษย์เก่า 13. คุณภาพของหลักสู ตรผ่านการรับรองจากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 14. คุณภาพของบัณฑิต ผูว้ า่ จ้างมีความพึงพอใจค่อนข้างสูง 15. วิทยาลัยมีการกําหนดทิศทางชัดเจน 16. สนับสนุนให้บุคลากรเข้าอบรมทั้งอาจารย์ชาวไทย ชาวต่างประเทศ 17. จัดกิจกรรมให้นกั ศึกษาฝึ กงานนอกสถานที่ 18. ศูนย์ SALLC (ศูนย์การเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง) เพื่อให้นักศึกษาได้เรี ยนรู ้ภาษาอังกฤษด้วย ตนเอง 19. หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป จัดการสอบวัดความรู ้ทางภาษาอังกฤษ คณิ ตศาสตร์ และความรู ้ ทางด้านบริ หารธุรกิจ แก่นกั ศึกษาชั้นปี ที่ 1 และปี ที่ 4 20. อาจารย์เป็ นผูม้ ีประสบการณ์ 21. นักศึกษามีนอ้ ยเข้าถึงบทเรี ยนได้อย่างดี 22. การเรี ยนการสอนเน้นนักศึกษาเป็ นศูนย์กลางการเรี ยนรู ้ 23. ส่ งเสริ มให้นกั ศึกษามีการเรี ยนรู ้ตลอดชีวิต โดยเฉพาะคณะนิติศาสตร์ 24. บุคลากรมีความจงรักภักดีต่อองค์กรเป็ นอย่างสูง


22

จุดทีค่ วรพัฒนา

25. สนับสนุนให้อาจารย์เรี ยนต่อในระดับปริ ญญาเอก ให้มีโอกาสได้เรี ยนโดยเสมอภาค 26. สนับสนุนให้ทุนนักศึกษาเป็ นทุนให้เปล่า 27. มีโครงการบริ การทางวิชาการโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย

1. สถานที่ทาํ กิจกรรมของนักศึกษายังไม่เพียงพอ 2. การใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลยังไม่เต็มที่ ทําให้สูญเสี ยโอกาสและรายได้ที่องค์กรพึง ได้รับ 3. ควรมีศูนย์ส่งเสริ มการเรี ยนรู ้ในแต่ละ Area โดยเฉพาะBusiness Center 4. ควรปรับปรุ งหลักสู ตร English for Specific Purposes (ภาษาอังกฤษเฉพาะทาง) เช่น ภาษาอังกฤษสําหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ หรื อภาษาอังกฤษสําหรับ นักกฏหมาย 5. หลักสู ตรควรสอดคล้องกับที่ต้ งั เช่ น การจัดการอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมบริ การ การจัดการการท่องเที่ยว การโรงแรม ข้ อมูลสั มภาษณ์ บุคลากร จุดแข็ง 1. ผูบ้ ริ หารรับฟังความคิดเห็นจากบุคลากรทุกระดับ 2. ผูบ้ ริ หาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่มีความเป็ นกันเอง 3. สนับสนุนบุคลากรให้เรี ยนต่อ มีการจัดสรรทุนให้ 4. บุคลากรมีความสามัคคี ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการทํากิจกรรม 5. ส่ งเสริ ม อนุรักษ์วฒั นธรรมไทยการแต่งกายผ้าไทยทุกวันพฤหัสบดี จุดทีค่ วรพัฒนา 1. ควรส่ งเสริ มให้มีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ท้ งั ภายในหน่วยงานและภายนอกหน่วยงาน 2. ควรมีกองทุนสะสมเงินเลี้ยงชีพ ข้ อมูลการสั มภาษณ์ ศิษย์ เก่ า จุดแข็ง 1. ความรู ้ ศาสตร์ที่ได้รับจากสถาบัน สามารถนําไปใช้ได้ตรงกับชีวิตการทํางาน 2. อาจารย์ผสู ้ อนให้ความรู ้อย่างเต็มที่กบั นักศึกษาทั้งด้านการเรี ยนและเรื่ องส่ วนตัว 3. อาจารย์กบั ลูกศิษย์มีความใกล้ชิดผูกพัน ช่วยเหลือเอื้อเฟื้ อเกื้อกูลกันเป็ นอย่างดี


23

จุดทีค่ วรพัฒนา

4. ระบบการเรี ยนการสอนของสถาบันมีกระบวนการที่ดี มีท้ งั ภาคทฤษฎี และภาคปฏิบตั ิ เหมาะสําหรับนักศึกษาภาคปกติที่ไม่เคยมีประสบการณ์ในการทํางาน สามารถเรี ยนรู ้ได้ จริ ง 5. กิจกรรม ชมรมของวิทยาลัยมีความหลากหลายให้เลือก ถ้านักศึกษามีความสนใจ เข้า ร่ วมกิจกรรมจะเป็ นประโยชน์อย่างมาก

1. ควรทําการประชาสัมพันธ์ หรื อการทํากิ จกรรมที่เป็ นการให้ขอ้ มูลกับบุคคลทัว่ ไปใน เรื่ องการสร้างความเข้าใจกับคําว่า วิทยาลัยกับมหาวิทยาลัย โดยยึดกลุ่มเป้ าหมายกลุ่ม โรงเรี ยน กลุ่มสถานประกอบการผ่านสื่ อต่างๆ เช่น หนังสื อพิมพ์ เป็ นต้น 2. ควรมีศูนย์ออกกําลังกายประจําสถาบันและส่ งเสริ มให้นกั ศึกษาที่วา่ งจากการเรี ยนมาออก กําลังกายเพื่อสุ ขภาพที่ดี 3. ควรเร่ งเปลี่ยนประเภทจากวิทยาลัยเป็ นมหาวิทยาลัยให้ได้เร็ วที่สุด 4. วิทยาลัยควรเพิ่มคณะ สาขาวิชาให้มากขึ้น เช่น เพิ่มคณะนิเทศศาสตร์ 5. วิ ทยาลัย ควรเพิ่มเทคโนโลยีด้านการเรี ย นการสอน เช่ น มี สถานวิทยุของ SBC เพื่อ ประชาสัมพันธ์ข่าวสารภายใน บริ การความรู ้ดา้ นวิชาการแก่สังคมในรัศมีย่านบางนา และสมุทรปราการ 6. ในอนาคตอีก 5-10 ปี ข้างหน้า วิทยาลัยควรมีสถานี โทรทัศน์เคเบิ้ลทีวีทอ้ งถิ่นของสถาบัน เพื่อจะได้เป็ นช่องทางการประชาสัมพันธ์ข่าวสารของวิทยาลัย ข้ อมูลการสั มภาษณ์ ศิษย์ ปัจจุบัน จุดแข็ง 1. อาจารย์มีความใกล้ชิดกับนักศึกษาให้ความช่วยเหลือในทุกด้าน และให้คาํ แนะนําในการ ดําเนินชีวิตที่ดี 2. หลัก สู ต รการเรี ย นการสอนของสถาบัน ถ้าเปรี ย บเที ย บกับสถาบัน อื่ น อยู่ใ นระดับ ดี สามารถแข่งขันกับสถาบันอื่นได้ 3. ความสัมพันธ์ระหว่างรุ่ นพี่กบั รุ่ นน้องมีความสนิทสนมกันเป็ นอย่างดี 4. วิทยาลัยมีบริ การสื่ อการเรี ยนการสอนที่นกั ศึกษาสามารถเข้าถึงการใช้บริ การได้ง่ายโดย ไม่มีข้ นั ตอนหรื อกระบวนการที่ยงุ่ ยากซับซ้อน 5. วิทยาลัยมีความอบอุ่น มีบรรยากาศสวยงาม


24

จุดทีค่ วรพัฒนา

1. ควรมีหอ้ งสําหรับการทํากิจกรรมเฉพาะสาขาวิชา 2. ควรมีสถานีวิทยุประจําสถาบันและห้องประชาสัมพันธ์ของสถาบันในการจัดทํารายการ 3. ควรมีหอ้ งออกกําลังกายและอุปกรณ์กีฬาที่มีความหลากหลาย เพียงพอต่อความต้องการ ของนักศึกษา 4. ควรพัฒ นาห้องพยาบาลให้มี เจ้า หน้า ที่ ประจําและให้คาํ แนะนําในการปฐมพยาบาล เบื้องต้นที่สมบูรณ์ 5. ควรเพิ่มสถานที่พกั ผ่อนให้เพียงพอกับจํานวนนักศึกษา 6. ควรเปิ ดคณะ หลักสู ตรที่ หลากหลาย เช่ น คณะนิ เทศศาสตร์ สาขาวิชาเทคโนโลยี สื่ อสารมวลชน การโรงแรม 7. ควรจั ด ให้ มี ก ารทํา กิ จ กรรมเสริ มร่ วมกั น ระหว่ า งอาจารย์ กั บ ลู ก ศิ ษ ย์เ พื่ อ สร้ า ง ความสัมพันธ์ที่ดีอยูแ่ ล้วให้เพิ่มมากขึ้น 8. จัดกิจกรรมระหว่างรุ่ นพี่กบั รุ่ นน้อง เช่น กิจกรรมเลี้ยงส่ งรุ่ นพี่ที่สาํ เร็ จการศึกษาโดยรุ่ น น้องเป็ นผูจ้ ดั และสร้างให้เป็ นวัฒนธรรมคู่กบั SBC 9. ควรเพิ่มที่จอดรถ ที่รับประทานอาหารให้เพียงพอกับจํานวนนักศึกษา 10. ควรปรับปรุ งห้องนํ้าให้มีความสะอาดมากขึ้น


25

7. ปฏิทนิ การดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก กรอบเวลาการตรวจประกันคุณภาพภายในและประเมินคุณภาพรอบสาม (ระยะเวลา 7 เดือน) ลําดับที่ เดือน กิจกรรม 1 2 มีนาคม 2554 1. ประชุมเตรี ยมความพร้อมเพื่อจัดทํา SAR ประจําปี การศึกษา 2553 14 มีนาคม 2554 2. ประชุ ม สั ม มนาโครงการถ่ า ยทอดความรู ้ เ ชิ ง ปฏิ บ ัติ ก าร เรื่ อง ความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายในกับการประเมิน คุณภาพภายนอก 3. การจัดทํารายงาน SAR ประจําปี การศึกษา 2553 พร้อมจัดเก็บ ข้อมูล – หลักฐาน 2 เมษายน 2554 1. จัดทํารายงาน SAR ประจําปี การศึกษา 2553 พร้อมจัดเก็บ ข้อมูล – หลักฐาน (ต่อเนื่อง) 2. ประชุมสภาวิทยาลัย ขอความเห็นชอบและอนุมตั ิตวั บ่งชี้ที่ตอ้ ง ผ่านมติสภาวิทยาลัย 3 พฤษภาคม 2554 1. จัดทํารายงาน SAR ประจําปี การศึกษา 2553 พร้อมจัดเก็บ ข้อมูล – หลักฐาน (ต่อเนื่อง) 4 มิถุนายน 2554 1. รายงาน SAR ประจําปี การศึกษา 2553 สําหรับประเมินภายในเสร็ จ สมบรู ณ์ 2. (ร่ าง) รายงาน SAR ประจําปี การศึกษา 2553 สําหรับประเมิน ภายนอก เสร็ จประมาณ 90% 3. Pre – audit ตรวจประเมินภายใน 5 กรกฎาคม 2554 1. ตรวจประเมินคุณภาพภายใน (สกอ. โดยกรรมการภายนอก) 2. ปรับปรุ งแก้ไข SAR ปี การศึกษา 2553 ตามความเห็น ของกรรมการภายนอก 3. จัดทํา SAR ปี การศึกษา 2553 สําหรับประเมินภายนอก (สมศ.) ฉบับสมบูรณ์


26

ลําดับที่ 6

เดือน สิ งหาคม 2554

7

กันยายน 2554 (สิ้ นปี งบประมาณ 2554)

กิจกรรม 1. ประชุมสภาวิทยาลัย (ต้นเดือนสิ งหาคม) - รายงานผลประเมินภายใน (สกอ.) - สภาให้ความเห็นชอบ รายงาน SAR ฉบับส่ ง สมศ. 2. ส่ ง SAR (ฉบับ สมศ.) ที่ผา่ นความเห็นชอบจากสภาวิทยาลัยให้ สมศ. ไม่นอ้ ยกว่า 30 วัน ก่อนรับการประเมิน 1. ตรวจประเมินคุณภาพการศึกษา รอบสาม (สมศ.)


27

บทที่ 2 การประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา 1. ความจําเป็ นและวัตถุประสงค์ ของการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา ภารกิจหลักที่สถาบันอุดมศึกษาจะต้องปฏิบตั ิมี 4 ประการ คือ การผลิตบัณฑิต การวิจยั การให้บริ การ ทางวิชาการแก่สังคม และการทํานุ บาํ รุ งศิลปะและวัฒนธรรม การดําเนิ นการตามภารกิจทั้ง 4 ประการ ดังกล่าว มีความสําคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศทั้งระยะสั้นและระยะยาว ปั จจุบนั มีปัจจัยภายในและ ภายนอกหลายประการที่ทาํ ให้การประกันคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษา เป็ นสิ่ งจําเป็ นที่จะต้องเร่ ง ดําเนินการ ปัจจัยดังกล่าวคือ 1) คุณภาพของสถาบันอุดมศึกษาและบัณฑิตภายในประเทศมีแนวโน้มที่จะมีความแตกต่าง กันมากขึ้น ซึ่งจะก่อให้เกิดผลเสี ยแก่สงั คมโดยรวมของประเทศในระยะยาว 2) ความท้าทายของโลกาภิวตั น์ต่อการอุดมศึกษาทั้งในประเด็นการบริ การการศึกษาข้าม พรมแดน และการเคลื่อนย้ายนักศึกษาและบัณฑิต อันเป็ นผลจากการรวมตัวของประเทศในภูมิภาคอาเซียน ซึ่งทั้งสองประเด็นต้องการการรับประกันของคุณภาพการศึกษา 3) สถาบันอุดมศึกษามีความจําเป็ นที่จะต้องสร้างความมัน่ ใจแก่สังคมว่าสามารถพัฒนาองค์ ความรู ้ แ ละผลิ ต บัณ ฑิ ตตอบสนองต่ อ ยุทธศาสตร์ ก ารพัฒนาประเทศให้มากขึ้ น ไม่ ว่า จะเป็ นการสร้ า งขี ด ความสามารถในการแข่งขันระดับสากล การพัฒนาภาคการผลิตจริ งทั้งอุตสาหกรรมและบริ การ การพัฒนา อาชีพ คุณภาพชีวิตความเป็ นอยูร่ ะดับท้องถิ่นและชุมชน 4) สถาบันอุดมศึกษาจะต้องให้ขอ้ มูลสาธารณะ (public information) ที่เป็ นประโยชน์ ต่อผูม้ ี ส่ วนได้ส่วนเสี ยทั้งนักศึกษา ผูจ้ า้ งงาน ผูป้ กครอง และประชาชนทัว่ ไป 5) สังคมต้องการระบบอุดมศึกษาที่เปิ ดโอกาสให้ผมู ้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยมีส่วนร่ วม(participation) มีความโปร่ งใส (transparency) และมีความรับผิดชอบซึ่งตรวจสอบได้ (accountability) ตามหลักธรรมาภิบาล 6) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 กําหนดให้ สถานศึ ก ษาทุ กแห่ ง จัดให้มีระบบการประกัน คุ ณ ภาพภายใน รวมถึ ง ให้มีสํานัก งานรั บรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษาทําหน้าที่ประเมินคุณภาพภายนอก โดยการประเมินผลการ จัดการศึกษาของ สถานศึกษา 7) กระทรวงศึกษาธิ การได้มีประกาศกระทรวงศึกษาธิ การ เรื่ อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2552 และคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ประกาศแนว ทางการปฏิบตั ิตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2552 เพื่อให้การ


28

จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาเป็ นไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษาและเพื่อการประกันคุณภาพของบัณฑิตในแต่ ละระดับคุณวุฒิและสาขาวิชา ด้วยความจําเป็ นดังกล่าวสถาบันอุดมศึกษาร่ วมกับต้นสังกัดจึงจําเป็ นต้องพัฒนาระบบและกลไกการ ประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีวตั ถุประสงค์ดงั นี้ 1) เพื่ อ ตรวจสอบและประเมิ น การดํา เนิ น งานของคณะ สาขาวิ ช า หน่ ว ยงานและ สถาบันอุดมศึกษาในภาพรวม ตามระบบคุณภาพและกลไกที่สถาบันนั้น ๆ กําหนดขึ้นโดยวิเคราะห์ เปรี ยบเทียบผลการดําเนินงานตามตัวบ่งชี้ในทุกองค์ประกอบคุณภาพว่าเป็ นไปตามเกณฑ์และได้มาตรฐาน 2) เพื่อให้คณะ สาขาวิชา หน่วยงาน และสถาบันอุดมศึกษาทราบสถานภาพของตนเองอัน จะนําไปสู่ การกําหนดแนวทางในการพัฒนาคุณภาพไปสู่ เป้ าหมาย (targets) และเป้ าประสงค์ (goals) ที่ต้ งั ไว้ ตามจุดเน้นของตนเองและเป็ นสากล 3) เพื่อให้คณะ สาขาวิชา หน่วยงาน และสถาบันอุดมศึกษาทราบจุดแข็ง จุดที่ควรปรับปรุ ง ตลอดจนได้รับข้อเสนอแนะในการพัฒนาการดําเนิ นงานเพื่อเสริ มจุดแข็ง และพัฒนาจุดที่ควรปรับปรุ งของ สถาบันอย่างต่อเนื่อง 4) เพื่ อ ให้ ข ้อ มู ล สาธารณะที่ เ ป็ นประโยชน์ ต่ อ ผูม้ ี ส่ ว นได้ส่ ว นเสี ย ทํา ให้ ม ่ัน ใจว่ า สถาบันอุดมศึกษาสามารถสร้างผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพและได้มาตรฐานตามที่กาํ หนด 5) เพื่อให้หน่วยงานต้นสังกัดของสถาบันอุดมศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีขอ้ มูล พื้นฐานที่จาํ เป็ นสําหรับการส่ งเสริ มสนับสนุนการจัดการอุดมศึกษาในแนวทางที่เหมาะสม 2. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.2542 แก้ ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กับการประกันคุณภาพ การศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้กาํ หนด จุดมุ่งหมายและหลักการของการจัดการศึกษาที่ มุ่งเน้นคุณภาพและมาตรฐาน โดยกําหนดรายละเอียดไว้ใน หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่ งประกอบด้วยระบบ การประกันคุณภาพภายในและ ระบบการประกันคุณภาพภายนอก เพื่อใช้เป็ นกลไกในการรักษาคุณภาพและมาตรฐานของสถาบันอุดมศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน เป็ นการสร้างระบบและกลไกในการพัฒนา ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินการดําเนินงานของสถานศึกษา ให้เป็ นไปตามนโยบาย เป้ าหมายและระดับคุณภาพตามมาตรฐาน ที่กาํ หนด โดยสถานศึกษาและหรื อหน่วยงานต้นสังกัด โดยหน่วยงาน ต้นสังกัดและสถานศึกษากําหนดให้มี ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่า การประกันคุณภาพการศึกษาภายในเป็ นส่ วนหนึ่ ง ของกระบวนการบริ หารการศึกษาที่ตอ้ งดําเนิ นการอย่างต่อเนื่ อง มีการจัดทํารายงานประจําปี ที่เป็ นรายงาน


29

ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในเสนอต่อสภาสถาบัน เพื่อพิจารณาและเปิ ดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนําไปสู่ การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและ เพื่อรองรับการประกันคุณภาพการศึกษาภายนอก การประกันคุณภาพการศึกษาภายนอก เป็ นการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาเพื่อให้มีการติดตาม และตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยคํานึ งถึงความมุ่งหมาย หลักการ และ แนวการจัดการศึกษาในแต่ละระดับ ซึ่ งประเมินโดยสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา (องค์การมหาชน) หรื อเรี ยกชื่อย่อว่า สมศ. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้กาํ หนดให้สถานศึกษาทุกแห่ งต้องได้รับการประเมินคุณภาพการศึกษา ภายนอกอย่างน้อย 1 ครั้งในทุกรอบ 5 ปี นับตั้งแต่การประเมินครั้งสุ ดท้าย และเสนอผลการประเมินต่อ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน ซึ่ง สมศ. ได้ดาํ เนิ นการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก (พ.ศ.25442548) เสร็ จสิ้ นไปแล้ว ปั จจุบนั อยูร่ ะหว่างประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สอง (พ.ศ.2549-2553) และการ เตรี ยมการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สาม (พ.ศ.2554-2558) ในการประเมินรอบที่สามของ สมศ. เป็ น การประเมินทั้งระดับสถาบันและระดับคณะ แต่หากสถาบันใดจัดการศึกษานอกสถานที่ต้ งั หลักการประเมิน จะครอบคลุมการจัดการ นอกสถานที่ต้ งั หลักทั้งหมด นอกจากนั้นการประเมินคุณภาพจะมีความ สอดคล้องกับจุดเน้นหรื อกลุ่มสถาบันที่แต่ละสถาบันเลือกตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ 3. กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2565) ได้กาํ หนดแนวทาง การพัฒนาและ แก้ปัญหาอุ ดมศึ กษาที่ ไร้ ทิศทาง ซํ้าซ้อน ขาดคุ ณภาพและขาดประสิ ทธิ ภาพ โดยใช้กลไกการประเมิ น คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเป็ นกลไกหลักในการดําเนิ นการ กล่าวคือ ให้มีการสร้าง กลไกการประเมิน คุณภาพสถาบันอุดมศึกษาตามพันธกิจของสถาบันในแต่ละกลุ่ม ซึ่ งมีพ้ืนที่บริ การและจุดเน้นระดับการศึกษาที่ ต่างกัน รวมทั้งมีพนั ธกิ จและบทบาทในการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิ จของประเทศต่างกันตามความ หลากหลาย ทั้งการพัฒนาฐานราก สังคม เศรษฐกิจรวมถึงการกระจายอํานาจในระดับท้องถิ่น การขับเคลื่อน ภาคการผลิตในชนบท ท้องถิ่นและระดับประเทศ จนถึงการแข่งขันในโลกาภิวตั น์ ซึ่ งระบบอุดมศึกษาแต่ละ กลุ่มเหล่านี้จะนําไปสู่การเปลี่ยนแปลงอุดมศึกษาและส่ งผล กระทบที่เป็ นประโยชน์ต่อประเทศอย่างมีนยั สําคัญ อาทิ สามารถสร้างความเป็ นเลิศได้ตามพันธกิจของตัวเอง สามารถตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ การพัฒนา ประเทศดีข้ ึน ส่ งผล เชิงบวกต่อการผลิต พัฒนาและการทํางานของอาจารย์ สามารถปรับจํานวนของ บัณฑิตในสาขาที่เป็ นความต้องการของสังคม ลดการว่างงาน โดยที่สถาบันอุดมศึกษาในกลุ่มเหล่านี้ มีกลไก ร่ วมกันในการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อให้นกั ศึกษาสามารถต่อยอดถ่ายโอนแลกเปลี่ยนกันได้ระหว่าง กลุ่ม และในระยะยาวการประเมินคุณภาพควรนําไปสู่ ระบบรับรองวิทยฐานะ (accreditation) ที่นกั ศึกษาและ สาธารณะให้ความเชื่อถือ


30

จากกรอบแผนอุ ด มศึ ก ษาระยะยาว 15 ปี ดัง กล่ า ว กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารได้มี ป ระกาศ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร เรื่ อง มาตรฐานสถาบัน อุ ด มศึ ก ษาในปี 2551 กํา หนดประเภทหรื อ กลุ่ ม สถาบันอุดมศึกษาเป็ น 4 กลุ่ม คือ กลุ่ม ก วิทยาลัยชุ มชน หมายความถึง สถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตระดับตํ่ากว่าปริ ญญาตรี จัดฝึ กอบรมสนองตอบความต้องการของท้องถิ่น เพื่อเตรี ยมกําลังคนที่มีความรู ้เข้าสู่ ภาค การผลิตจริ งในชุมชน สถาบันสนับสนุ นรองรั บการเปลี่ ยนอาชี พพื้นฐาน เช่ น แรงงานที่ ออกจาก ภาคเกษตรเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ ที่ ส่ งเสริ มให้ประชาชนได้มีโอกาสเรี ยนรู ้ตลอดชีวิตอันจะนําไปสู่ ความเข้มแข็งของชุมชนและการพัฒนาที่ยง่ั ยืน กลุ่ม ข สถาบันที่เน้ นระดับปริ ญญาตรี หมายความถึง สถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตระดับ ปริ ญญาตรี เพื่อให้ได้บณั ฑิตที่มีความรู ้ความสามารถเป็ นหลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลง ในระดับภูมิภาค สถาบันมีบทบาทในการสร้างความเข้มแข็งให้กบั หน่ วยงานธุ รกิจและบุคคลในภูมิภาคเพื่อ รองรับการดํารงชีพ สถาบันอาจมีการจัดการเรี ยนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริ ญญาโท ด้วยก็ได้ กลุ่ม ค สถาบันเฉพาะทาง หมายความถึง สถาบันที่ เน้นการผลิตบัณฑิ ตเฉพาะทางหรื อ เฉพาะกลุ่มสาขาวิชา ทั้งสาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์ กายภาพ วิทยาศาสตร์ ชีวภาพ สังคมศาสตร์ หรื อ มนุษยศาสตร์ รวมทั้งสาขาวิชาชีพเฉพาะทาง สถาบันอาจเน้นการทําวิทยานิ พนธ์หรื อการวิจยั หรื อ เน้นการ ผลิตบัณฑิตที่มีความรู ้ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะในการประกอบอาชีพระดับสู งหรื อ เน้นทั้งสองด้าน รวมทั้งสถาบันอาจมีบทบาทในการพัฒนาภาคการผลิตจริ งทั้งอุตสาหกรรมและบริ การ สถาบันในกลุ่มนี้ อาจ จําแนกได้เป็ น 2 ลักษณะคือ ลักษณะที่ 1 เป็ นสถาบันที่เน้นระดับบัณฑิตศึกษา และลักษณะที่ 2 เป็ นสถาบัน ที่เน้นระดับปริ ญญาตรี กลุ่ม ง สถาบั น ที่ เน้ น การวิจัย ขั้น สู ง และผลิต บัณฑิ ต ระดับบั ณฑิต ศึ กษาโดยเฉพาะระดั บ ปริ ญญาเอก หมายความถึง สถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะระดับ ปริ ญญาเอก และเน้นการทําวิทยานิพนธ์และการวิจยั รวมถึงการวิจยั หลังปริ ญญาเอก สถาบันเน้นการผลิตบัณฑิตที่เป็ นผูน้ าํ ทางความคิดของประเทศ สถาบันมีศกั ยภาพในการขับเคลื่อนอุดมศึกษาไทยให้อยูใ่ นแนวหน้าระดับสากล มุ่งสร้างองค์ความรู ้ทฤษฎี และข้อค้นพบใหม่ทางวิชาการ ดังนั้น การประกันคุณภาพการศึกษาจึงต้องสร้าง กลไกการประเมินคุณภาพให้สอดรับกับการแบ่งกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา 4 กลุ่มดังกล่าว


31

4. การประกันคุณภาพกับมาตรฐานการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ในหมวด 5 ที่ว่า ด้วยการบริ หารและการจัดการศึกษา มาตรา 34 ได้กาํ หนดให้คณะกรรมการการอุดมศึกษามีหน้าที่พิจารณา เสนอมาตรฐานการอุดมศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ และ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึ กษาของชาติ โดยคํานึ งถึงความเป็ นอิสระและความเป็ นเลิศทางวิชาการของ สถาบันอุดมศึ กษา คณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงได้จดั ทํามาตรฐานการอุดมศึกษาเพื่อใช้เป็ นกลไกระดับ กระทรวง ระดับคณะกรรมการการอุดมศึกษา และระดับ หน่ วยงานเพื่อนําไปสู่ การกําหนดนโยบายการ พัฒนาการอุดมศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาต่อไป มาตรฐานการอุดมศึกษาที่จดั ทําขึ้นฉบับนี้ ได้ใช้มาตรฐาน การศึกษาของชาติที่เปรี ยบเสมือนร่ มใหญ่ เป็ นกรอบในการพัฒนาโดยมีสาระสําคัญที่ครอบคลุมเป้ าหมายและ หลักการของการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทย และเป็ นมาตรฐานที่คาํ นึ งถึงความหลากหลายของกลุ่ม หรื อประเภทของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อให้ทุกสถาบันสามารถนําไปใช้กาํ หนดพันธกิจและมาตรฐานของการ ปฏิบตั ิงานได้ มาตรฐานการอุดมศึกษา ที่ปรากฏตามประกาศกระทรวงศึกษาธิ การ ลงวันที่ 7 สิ งหาคม 2549 ประกอบด้วยมาตรฐาน 3 ด้าน ได้แก่ มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต มาตรฐานด้านการบริ หารจัดการการ อุดมศึกษา และมาตรฐานด้านการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู ้และสังคมแห่ งการเรี ยนรู ้ มาตรฐานย่อย ทั้ง 3 ด้านนี้ อยูใ่ นมาตรฐานการศึกษาของชาติที่ประกอบด้วยมาตรฐานย่อย 3 มาตรฐานเช่นกัน คือ มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ท้ งั ในฐานะพลเมืองและพลโลก มาตรฐานที่ 2 แนว การจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 3 แนวการสร้างสังคมแห่ ง การเรี ยนรู ้ / สังคมแห่ งความรู ้ แต่ละมาตรฐานย่อย ของมาตรฐานการอุดมศึกษาจะมีความสอดคล้องและสัมพันธ์กบั มาตรฐานย่อยของมาตรฐานการศึกษาของ ชาติ เพื่ อ ให้ก ารพัฒ นาคุ ณ ภาพและมาตรฐานการศึ ก ษาบรรลุ ต ามจุ ด มุ่ ง หมายและหลัก การของการจัด การศึ กษาของชาติ นอกเหนื อจากมาตรฐานการอุ ดมศึ กษาที่ เป็ นมาตรฐานแม่บทแล้วคณะกรรมการการ อุดมศึกษาได้จดั ทํามาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2551 เพื่อนําไปสู่ การ พัฒนาสถาบันอุดมศึกษาตามกลุ่มสถาบันที่มีปรัชญา วัตถุประสงค์ และพันธกิจในการจัดตั้งที่แตกต่างกันได้ อย่างมีประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล ประกอบด้วยมาตรฐานหลัก 2 ด้าน คือ มาตรฐานด้านศักยภาพและ ความพร้อมในการจัดการศึกษา และมาตรฐานด้านการดําเนิ นการตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา และ กําหนดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาเป็ น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม ก วิทยาลัยชุมชน กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับ ปริ ญญาตรี กลุ่ม ค สถาบันเฉพาะทาง และกลุ่ม ง สถาบันที่เน้นการวิจยั ขั้นสู งและผลิตบัณฑิตระดับ บัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะระดับปริ ญญาเอก นอกจากนั้นยังได้จดั ทํากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึ กษา แห่ งชาติ พ.ศ. 2552 เพื่อให้เป็ นไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษาและเพื่อเป็ นการประกัน


32

คุณภาพบัณฑิตในแต่ละระดับคุณวุฒิและสาขาวิชา โดยกําหนดให้คุณภาพของบัณฑิตทุกระดับคุณวุฒิและ สาขาวิชาต้องเป็ นไปตามมาตรฐานผลการเรี ยนรู ้อย่างน้อย 5 ด้าน คือ ด้านคุณธรรมจริ ยธรรม ด้านความรู ้ ด้านทักษะทาง ปั ญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ และด้านทักษะการ วิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่ อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะกรรมการการอุดมศึกษายังได้กาํ หนด เกณฑ์มาตรฐานอื่น ๆ อาทิ เกณฑ์มาตรฐานหลักสู ตรระดับอุดมศึกษา หลักเกณฑ์การขอเปิ ดและดําเนินการ หลักสู ตรระดับปริ ญญาในระบบการศึกษาทางไกล หลักเกณฑ์การกําหนดชื่อปริ ญญา หลักเกณฑ์และแนว ปฏิบตั ิเกี่ยวกับการพิจารณาประเมินคุณภาพการจัดการศึกษานอกสถานที่ต้ งั ของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อ ส่ งเสริ มให้ส ถาบัน อุ ด มศึ ก ษาได้พ ฒ ั นาด้านวิชาการและวิชาชี พ รวมทั้ง การพัฒนาคุ ณ ภาพและยกระดับ มาตรฐานในการจัด การศึ ก ษาระดับ อุ ด มศึ ก ษาให้ มี ค วามทัด เที ย มกัน และพัฒ นาสู่ ส ากล ซึ่ งทํา ให้ สถาบันอุดมศึกษาสามารถจัดการศึกษาได้อย่างยืดหยุ่นคล่องตัวและต่อเนื่ องในทุกระดับการศึกษา ตลอดจน สะท้อนให้เห็นถึงมาตรฐานคุณภาพการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา เพื่อให้การ จัดการศึกษาทุกระดับ และทุกประเภทมีคุณภาพและได้มาตรฐานตามที่กาํ หนด ทั้งมาตรฐานการศึกษาระดับชาติ มาตรฐานการ อุดมศึกษา มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา และสัมพันธ์กบั มาตรฐานและหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการจัด การศึกษาอื่นๆ รวมถึงกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ จึงจําเป็ นต้องมีระบบประกันคุณภาพที่ พัฒนาขึ้นตามที่กาํ หนดไว้ในกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 5. การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วิ ท ยาลัย เซาธ์ อี ส ท์บ างกอก ได้ต ระหนัก ดี ถึ ง ความสํา คัญ ของการประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษาและ ดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษาตามหลักการสําคัญ 3 ประการ คือ การให้เสรี ภาพทางวิชาการ (academic freedom) ความมีอิสระในการดําเนินการของสถาบัน (institutional autonomy) และความพร้อมของสถาบันที่ จะรับการตรวจสอบคุณภาพจากภายนอกตามหลักการของความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ (accountability) สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ได้ระบุให้ หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และกําหนดมาตรฐานการ อุ ดมศึ กษาที่ สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติ และแผนการศึ กษาแห่ งชาติ สนับสนุ น ทรัพยากร ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยคํานึ งถึงความเป็ นอิสระ และความเป็ นเลิศทางวิชาการของสถานศึกษาระดับปริ ญญาตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งสถานศึกษาแต่ละแห่ ง และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงมีหน้าที่ร่วมกับสถานศึกษาในการจัดให้มี ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดยมีรายละเอียดดังนี้


33

5.1 กฎกระทรวงว่ าด้ วยระบบหลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา หลังจากที่พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.2542 มีผลบังคับใช้ สํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (ทบวงมหาวิทยาลัยเดิม) ในฐานะหน่วยงานต้นสังกัดที่ทาํ หน้าที่กาํ กับดูแล สถาบันอุดมศึกษา ได้เสนอระบบการประกันคุณภาพการศึกษาให้คณะรัฐมนตรี พิจารณาเพื่อให้สอดคล้องกับ เจตนารมณ์แห่ งพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าว ซึ่ งคณะรัฐมนตรี ในการประชุมเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2543 ได้มี มติเห็นชอบกับระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ทบวงมหาวิทยาลัย เดิม) ซึ่งต่อมาได้จดั ทําเป็ นประกาศทบวงมหาวิทยาลัย เรื่อง ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในระดับอุดมศึ กษา พ.ศ.2545 เพื่อใช้เป็ นแนวปฏิบตั ิ สาระสําคัญของประกาศฉบับนี้ ระบุให้ ทบวงมหาวิทยาลัยสนับสนุ นและส่ งเสริ มสถาบันอุดมศึกษา จัดทําระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามภารกิ จหลักของสถาบันอุดมศึ กษาให้มีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล รวมทั้งให้มีการประเมินผลและ ติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาจากภายใน หรื อโดยหน่วยงานต้น สังกัดที่มีหน้าที่กาํ กับดูแลสถาบันการศึกษา เพื่อเตรี ยมความพร้อมสําหรับการประเมินคุณภาพจากภายนอก รวมถึงสนับสนุ นให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษาขึ้นในแต่ละคณะ หรื อ สถาบันอุดมศึกษา เพื่อกําหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ แนวทาง วิธีการตรวจสอบและประเมินระบบกลไกและ ประเมินผลการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของแต่ละคณะหรื อสถาบันอุดมศึกษา หลังจากดําเนินการตามประกาศฉบับปี พ.ศ.2545 ไประยะหนึ่ ง สํานักงานคณะกรรมการการ อุ ด มศึ ก ษาจึ ง ได้จ ัด ทํากฎกระทรวงว่ า ด้ วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกัน คุ ณภาพการศึ กษาภายใน สถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2546 เพื่อให้เป็ นไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ในมาตรา 5 และมาตรา 47 วรรคสอง โดยสาระสําคัญเกี่ยวกับระบบและกลไกการ ประกันคุณภาพการศึกษาภายในของกฎกระทรวงฉบับนี้ ยังคงไว้ตามประกาศทบวงมหาวิทยาลัยฯ พ.ศ.2545 ซึ่งสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ถือปฏิบตั ิมาอย่างต่อเนื่อง ต่อมาในปี 2553 กระทรวงศึกษาธิการได้ ออกกฎกระทรวงว่ าด้ วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 แทนฉบับเดิม โดยรวมการประกันคุณภาพภายในและภายนอกของการศึกษาทุกระดับไว้ในฉบับเดียวกัน มีคณะกรรมการ ประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษาทําหน้าที่หลัก 2 ประการคือ 1) วางระเบียบหรื อออกประกาศกําหนด หลักเกณฑ์และแนวปฏิบตั ิเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา เพื่อส่ งเสริ มสนับสนุ นและ พัฒนาการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ 2) เสนอแนะแนวทางปรับปรุ ง และพัฒนาคุณภาพการศึกษาแก่สถานศึกษา โดยนําผลการประเมินคุณภาพทั้ง ภายในและภายนอกไปปรับปรุ งคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่ อง นอกจากนี้ ยงั มีการปรับเปลี่ยนให้ระบบการ ประกันคุณภาพภายในประกอบด้วย การประเมินคุณภาพ การติดตามตรวจสอบคุณภาพ และการพัฒนา


34

คุณภาพ และกําหนดให้ หน่ วยงานต้ นสั งกัดจัดให้ มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาอย่ างน้ อยหนึ่งครั้ง ในทุกสามปี และแจ้งผลให้สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาทราบ รวมทั้งเปิ ดเผยผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพ การศึกษาต่อสาธารณชน 5.1.1 หลักเกณฑ์ การประกันคุณภาพการศึ กษาภายใน หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพ การศึกษาภายในที่ระบุในกฎกระทรวง ให้พิจารณาจากประเด็นต่อไปนี้ 1) ระบบการประกันคุณภาพภายในของคณะและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยคํานึ งถึง มาตรฐานการศึกษาระดับอุดมศึกษาตามที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกําหนด 2) ผลการปฏิบตั ิงานของคณะและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาตามระบบการประกันคุณภาพ ภายในที่กาํ หนดไว้ 3) ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิ ผลการดําเนิ นงานตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ที่ส่งผล ต่อคุณภาพการศึกษาตามตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา 5.1.2 วิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่ระบุในกฎกระทรวงให้ใช้แนวปฏิบตั ิดงั นี้ 1) ให้คณะและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา จัดให้มีหน่วยงานหรื อคณะกรรมการที่รับผิดชอบ การดําเนิ นการด้านการประกันคุณภาพการศึกษาขึ้น โดยมีหน้าที่พฒั นาบริ หารและติดตาม การดําเนิ นการ ประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตลอดจนประสานกับหน่ วยงานภายนอกเพื่อให้เกิ ดความมัน่ ใจว่าการจัด การศึกษาจะเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ 2) ให้คณะและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในเพื่อใช้ กํากับ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาให้มีประสิ ทธิภาพ ภายใต้กรอบนโยบายและหลักการ ที่สาํ นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากําหนด 3) ให้คณะและสถานศึ กษาระดับอุดมศึ กษา ดําเนิ นการตามระบบการประกันคุ ณภาพ การศึกษาภายใน โดยถือเป็ นส่ วนหนึ่งของกระบวนการบริ หารการศึกษา 4) ให้คณะและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา จัดให้มีระบบและกลไกควบคุมคุณภาพของ องค์ประกอบต่างๆ ที่ใช้ในการผลิตบัณฑิต ดังนี้ (1) หลักสู ตรการศึกษาในสาขาวิชา ต่างๆ (2) คณาจารย์และ ระบบการพัฒนาคณาจารย์ (3) สื่ อการศึกษาและเทคนิ คการสอน (4) ห้องสมุดและแหล่งการเรี ยนรู ้อื่น (5) อุปกรณ์การศึกษา (6) สภาพแวดล้อมในการเรี ยนรู ้และบริ การการศึกษา (7) การวัดผลการศึกษาและ สัมฤทธิ ผลทางการเรี ยนของนักศึกษา (8) องค์ประกอบอื่นตามที่แต่ละสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาเห็นสมควร ทั้งนี้ ให้แต่ละคณะและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีระบบการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา


35

ตามที่เห็นสมควร โดยให้สาํ นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาส่ งเสริ มและสนับสนุนให้มีการพัฒนาด้านการ ประกันคุณภาพการศึกษาในระดับคณะของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาอย่างต่อเนื่อง 5.1.3 การรายงานผลการประกันคุณภาพการศึกษา ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ถือเป็ นส่ วนหนึ่งของกระบวนการบริ หารการศึกษาที่คณะและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ต้องดําเนิ นการอย่าง มีระบบและต่อเนื่ อง สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาต้องจัดทํารายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในเสนอ ต่อสภาสถาบัน หน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณาและเปิ ดเผยต่อสาธารณชน โดยให้ สอดคล้องกับเจตนารมณ์และแนวทางของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 5.1.4 การติ ดตามตรวจสอบของต้ นสั งกัด ให้หน่ วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษาจัดให้ มีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษานั้นอย่ างน้ อยหนึ่งครั้งในทุกสามปี และแจ้ง ผลให้สถานศึ ก ษาระดับ อุ ด มศึ ก ษาทราบ รวมทั้ง เปิ ดเผยผลการติ ด ตาม ตรวจสอบคุ ณ ภาพการศึ ก ษาต่ อ สาธารณชน 5.2 แนวทางการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 5.2.1 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา สถาบันอุดมศึกษาอาจพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาที่เหมาะสมสอดคล้องกับระดับ การพัฒนาของสถาบัน โดยอาจเป็ นระบบประกันคุณภาพการศึกษาที่ใช้กนั แพร่ หลายในระดับชาติ หรื อ นานาชาติ หรื อเป็ นระบบเฉพาะที่สถาบันพัฒนาขึ้นเอง แต่ไม่ว่าจะเป็ นระบบคุณภาพการศึกษาแบบใด จะต้องมีกระบวนการทํางานที่เริ่ มต้นจากการวางแผนการดําเนิ นงาน ตามแผน การตรวจสอบประเมิน และ การปรับปรุ งพัฒนา ทั้งนี้เพื่อให้การดําเนินภารกิจของสถาบันบรรลุเป้ าประสงค์และ มีพฒั นาการอย่างต่อเนื่อง ขณะเดียวกันก็เป็ นหลักประกันแก่สาธารณชนให้มนั่ ใจว่าสถาบันอุดมศึกษาสามารถสร้างผลผลิตทางการศึกษา ที่มีคุณภาพ 5.2.2 มาตรฐาน ตัวบ่ งชี แ้ ละเกณฑ์ ประเมินคุณภาพ มาตรฐาน เป็ นกรอบสํา คัญ ในการดํา เนิ น งานของสถาบัน อุ ด มศึ ก ษา คื อ มาตรฐานการ อุดมศึกษา อย่างไรก็ตามในปั จจุ บนั สถาบันอุดมศึกษาต่างๆ ยังต้องดําเนิ นการให้ได้ตามมาตรฐานและ หลักเกณฑ์อื่นๆที่เกี่ ยวข้องอีกมาก เช่ น มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่ งชาติ เกณฑ์มาตรฐานหลักสู ตรระดับอุดมศึกษา มาตรฐานเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก ของ สมศ. เป็ นต้น ตัวบ่ งชี้ เป็ นข้อกําหนดของการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน พัฒนาขึ้นในองค์ประกอบ คุณภาพ 9 ด้าน ครอบคลุมพันธกิจหลัก 4 ประการของการอุดมศึกษาและพันธกิจสนับสนุน ได้แก่


36

(1) ปรัชญา ปณิ ธาน วัตถุประสงค์และแผนดําเนิ นการ (2) การผลิตบัณฑิต (3) กิจกรรม การพัฒนานักศึกษา (4) การวิจยั (5) การบริ การทางวิชาการแก่สังคม (6) การทํานุ บาํ รุ งศิลปะและ วัฒนธรรม (7) การบริ หารและการจัดการ (8) การเงินและงบประมาณและ (9) ระบบและกลไกการประกัน คุณภาพ ซึ่ งตัวบ่งชี้ดงั กล่าวสามารถชี้วดั คุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานและ หลักเกณฑ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบคุณภาพนั้นๆ ได้ท้ งั หมด ทั้งตัวบ่งชี้ ที่ใชประเมินปั จจัยนําเข้า กระบวนการ และผลผลิตหรื อผลลัพธ์ เกณฑ์ การประเมิน เป็ นมาตรวัดของแต่ละตัวบ่งชี้ซ่ ึ งพัฒนาจากเกณฑ์และแนวปฏิบตั ิ ที่เป็ น มาตรฐาน ซึ่ งกําหนดโดยสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรื อโดยหน่ วยงานที่เกี่ ยวข้อง อาทิ สมศ. ทั้งนี้เพื่อให้การประเมินคุณภาพการศึกษามีความสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกัน 5.2.3 กลไกการประกันคุณภาพ ในด้านของกลไกการประกันคุณภาพ ผูท้ ี่มีความสําคัญส่ งผลให้การดําเนิ นงานประสบ ความสําเร็ จและนําไปสู่ การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่ อง คือ คณะกรรมการระดับนโยบายและผูบ้ ริ หารสู งสุ ด ของสถาบัน ซึ่ งจะต้องให้ความสําคัญและกําหนดนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาที่ชดั เจน และเข้าใจ ร่ ว มกัน ทุ ก ระดับ โดยมอบหมายให้ ห น่ ว ยงานหรื อ คณะกรรมการรั บ ผิ ด ชอบในการติ ด ตาม ตรวจสอบ ประเมิน และกระตุน้ ให้เกิดการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่ อง หน้าที่สาํ คัญประการหนึ่ งของคณะกรรมการหรื อ หน่ วยงานนี้ คือ การจัดระบบประกันคุ ณภาพการศึกษาพร้อมทั้งตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพที่ เหมาะสมสําหรับสถาบัน ระบบประกันคุณภาพที่ใช้ตอ้ งสามารถเชื่ อมโยงให้เกิดคุณภาพของการปฏิบตั ิงาน ตั้งแต่ระดับระดับคณะ ระดับสาขาวิชา ระดับหน่วยงานและระดับสถาบัน โดยจําเป็ นต้ องจัดทําคู่มือคุณภาพ การศึกษาในแต่ ละระดับ เพื่อกํากับการดําเนินงาน แต่ที่สาํ คัญคณะกรรมการหรื อหน่วยงานนี้ ตอ้ งประสานงาน และผลักดันให้เกิดระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศที่มีประสิ ทธิภาพซึ่งสามารถใช้งานร่ วมกันได้ในทุกระดับ 5.2.4 ระบบฐานข้ อมูลและระบบสารสนเทศ การวิเคราะห์ และวัดผลดําเนิ นงานเป็ นสิ่ งจําเป็ นในกระบวนการประกันคุณภาพ การวัดและ วิเคราะห์ผลการดําเนิ นงาน จะไม่สามารถทําได้อย่างถูกต้องและมีประสิ ทธิ ภาพหากปราศจากฐานข้อมูล และ ระบบสารสนเทศที่เป็ นจริ ง ถูกต้องตรงกันทุกระดับตั้งแต่ระดับบุคคล ภาควิชา คณะวิชา และสถาบัน ตลอดจน เป็ นข้อมูลที่สามารถเรี ยกใช้ได้อย่างรวดเร็ ว ดังนั้น ระบบสารสนเทศที่ดี มีประสิ ทธิ ภาพจึงเป็ นปั จจัยสําคัญยิง่ ที่ จะส่ งผลต่อความสําเร็ จของการประกันคุณภาพการศึกษา และส่ งผลต่อคุณภาพในทุกขั้นตอนการดําเนิ นงาน ตั้งแต่การวางแผน การปฎิบตั ิงานประจํา การตรวจสอบประเมินตลอดจนถึงการปรับปรุ งและพัฒนา


37

6. การเชื่อมโยงระหว่ างการประกันคุณภาพการศึกษาภายในและการประเมินคุณภาพ ภายนอก ตามมาตรา 48 ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ระบุว่า ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็ นส่ วนหนึ่ งของกระบวนการบริ หารการศึกษา ที่ตอ้ งดําเนินการ อย่างต่อเนื่ อง มาตรา 49 ของพระราชบัญญัติฉบับเดียวกันระบุถึงการประเมินคุณภาพภายนอกไว้ว่า ให้มี สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มีฐานะเป็ นองค์การมหาชน ทําหน้าที่พฒั นาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และทําการประเมินผลการจัดการศึกษา เพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพของ สถานศึกษา จากข้อมูลข้างต้นจะเห็ นว่า การประกันคุณภาพการศึกษาภายในเป็ นส่ วนหนึ่ งของ กระบวนการบริ หารการศึกษาปกติที่ตอ้ งดําเนิ นการอย่างต่อเนื่ อง โดยมีการควบคุมดูแลปั จจัยที่ เกี่ยวข้องกับ คุณภาพ มีการตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานเพื่อนําไปสู่ การพัฒนาปรับปรุ งคุณภาพอย่าง สมํ่าเสมอ ด้วยเหตุน้ ี ระบบประกันคุณภาพภายในจึงต้องดูแลทั้งปั จจัยนําเข้า (input) กระบวนการ (process) และผลผลิตหรื อผลลัพธ์ (output/outcome) ซึ่ งต่างจากการประเมินคุณภาพภายนอกที่เน้นการประเมินผลการ จัดการศึกษา จะเห็นว่า เมื่อสถาบันอุดมศึกษามีการดําเนิ นการประกันคุณภาพภายในแล้ว จําเป็ นต้องจัดทํา รายงานประจําปี ที่เป็ นรายงานประเมินคุณภาพภายใน ซึ่ งเป็ นผลจากการประกันคุณภาพภายในหรื อเรี ยกว่า รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) เพื่อนําเสนอสภาสถาบัน หน่วยงาน ต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิ ดเผยต่อสาธารณชน เอกสารดังกล่าว จะเป็ นเอกสารเชื่อมโยงระหว่าง การประกันคุณภาพภายในของสถาบัน การติดตามตรวจสอบของต้นสังกัด และการประเมินคุณภาพภายนอก โดยสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรื อ สมศ. ดังนั้น สถาบัน อุ ด มศึ ก ษาจํา เป็ นต้อ งจัด ทํา รายงานการประเมิ น ตนเองที่ ส ะท้อ นภาพที่ แ ท้จ ริ ง ของสถาบัน ในทุ ก องค์ประกอบคุณภาพ


38

บทที่ 3 ตัวบ่ งชี้ เกณฑ์ และแนวปฏิบตั ิในการประเมินคุณภาพตามองค์ ประกอบคุณภาพ องค์ ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดําเนินการ ตัวบ่ งชี้ที่ 1.1 : กระบวนการพัฒนาแผน ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน มี ไม่ มี เอกสารหมายเลข 1. มีการจัดทําแผนกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับนโยบายของ สภาวิทยาลัย โดยการมีส่วนร่ วมของบุคลากรในวิทยาลัย และได้รับความเห็นชอบจากสภาวิทยาลัย โดยเป็ นแผน ที่ เชื่อมโยงกับปรัชญาหรื อปณิ ธานของวิทยาลัย ตลอดจน สอดคล้องกับจุดเน้นของกลุ่มสถาบัน กรอบแผน อุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) และแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2551-2554) 2. มีการถ่ายทอดแผนกลยุทธ์ระดับสถาบันไปสู่ ทุกหน่วยงาน ภายใน 3. มีกระบวนการแปลงแผนกลยุทธ์เป็ นแผนปฏิบตั ิการ ประจําปี ครบ 4 พันธกิจ คือ ด้านการเรี ยนการสอน การวิจยั การบริ การทางวิชาการและการทํานุบาํ รุ งศิลปะและ วัฒนธรรม 4. มีตวั บ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบตั ิการประจําปี และ ค่าเป้ าหมายของแต่ละตัวบ่งชี้ เพื่อวัดความสําเร็ จของการ ดําเนินงานตามแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบตั ิการประจําปี 5. มีการดําเนินงานตามแผนปฏิบตั ิการประจําปี ครบ 4 พันธกิจ 6. มีการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผน ปฏิบตั ิการประจําปี อย่างน้อยปี ละ 2 ครั้ง และรายงานผล ต่อผูบ้ ริ หารเพื่อพิจารณา


39

เกณฑ์ มาตรฐาน 7. มีการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผน กลยุทธ์ อย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง และรายงานผลต่อผูบ้ ริ หาร และสภาสถาบันเพื่อพิจารณา 8. มีการนําผลการพิจารณา ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะของ สภาสถาบัน ไปปรับปรุ งแผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบตั ิการ ประจําปี

มี

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 2 หรื อ 3 ข้อ

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 4 หรื อ 5 ข้อ

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 6 หรื อ 7 ข้อ

ค่าเป้ าหมายของวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553 ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน …….ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ผลการดําเนินงาน ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7 ข้อ 8

8 ข้อ

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 8 ข้อ


40

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน

การบรรลุเป้าหมายตามแผน

รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7 ข้อ 8

เอกสารหมายเลข

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด


41

องค์ ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบ่ งชี้ท2ี่ .1:ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสู ตร ชนิดของตัวบ่ งชี้: กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน 1. มีระบบและกลไกการเปิ ดหลักสู ตรใหม่และปรับปรุ ง หลักสูตรตามแนวทางปฏิบตั ิที่กาํ หนดโดยคณะกรรมการ การอุดมศึกษา และดําเนินการตามระบบที่กาํ หนด 2. มีระบบและกลไกการปิ ดหลักสู ตรตามแนวทางปฏิบตั ิที่ กํา หนดนโยบายคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษาและ ดําเนินการตามระบบที่กาํ หนด 3. ทุ ก หลั ก สู ต รมี ก ารดํ า เนิ น งานให้ เ ป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานหลักสู ตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 4. มี ค ณะกรรมการรั บ ผิ ด ชอบควบคุ ม กํ า กั บ ให้ มี ก าร ดําเนิ นการได้ครบถ้วนทั้งข้อ 1 ข้อ 2 และข้อ 3 ข้างต้น ตลอดเวลาที่จดั การศึกษา และมีการประเมินหลักสู ตรทุก หลัก สู ต รอย่ า งน้อ ยตามกรอบเวลาที่ ก ํา หนดในเกณฑ์ มาตรฐานหลักสู ตรฯ 5. มี ค ณะกรรมการรั บ ผิ ด ชอบควบคุ ม กํ า กั บ ให้ มี ก าร ดําเนิ นการได้ครบถ้วนทั้งข้อ 1 ข้อ 2 และข้อ 3 ข้างต้น ตลอดเวลาที่จดั การศึกษา และมีการพัฒนาหลักสู ตร เกณฑ์ การประเมิน: 1. เกณฑ์ ทวั่ ไป คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการ มีการดําเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 3 ข้อ

มี

ไม่ มี

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 4 ข้อ 5 ข้อ

เอกสารหมายเลข

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 5 ข้อ


42

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน …. ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสาร หมายเลข ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5

ผลการดําเนินงาน

การบรรลุเป้าหมายตามแผน

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด

ตัวบ่ งชี้ท2ี่ .2:อาจารย์ ประจําทีม่ ีคุณวุฒิปริญญาเอก ชนิดของตัวบ่ งชี้:ปัจจัยนําเข้ า เกณฑ์ การประเมิน: 1) แปลงค่าร้อยละของอาจารย์ประจําที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอกเป็ นคะแนนระหว่าง 0 – 5 เกณฑ์ สถาบันกลุ่ม ข และ ค2 1) ค่าร้อยละของอาจารย์ประจําที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอกที่กาํ หนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป หรื อ


43

2) ค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจําที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอกเปรี ยบเทียบกับปี ที่ผา่ นมา ที่กาํ หนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 6 ขึ้นไป ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

4 คะแนน

ผลการดําเนินงาน …………………………………………………………………………………………

ร้อยละของอาจารย์ประจําที่มีวฒ ุ ิปริ ญญาเอก

=

จํานวนอาจารย์ที่มีวฒ ุ ิปริ ญญาเอก จํานวนอาจารย์ท้ งั หมด

x100

แปลงค่าร้อยละเป็ นคะแนน คะแนนที่ได้

=

ร้อยละของอาจารย์ที่มีวฒ ุ ิปริ ญญาเอก x5 ร้อยละของอาจารย์ประจําที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอกที่กาํ หนดคะแนนเต็ม 5

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน

รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน

การบรรลุเป้าหมายตามแผน

เอกสารหมายเลข

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด


44

ตัวบ่ งชี้ท2ี่ .3 : อาจารย์ ประจําทีด่ ํารงตําแหน่ งทางวิชาการ ชนิดของตัวบ่ งชี้ : ปัจจัยนําเข้ า เกณฑ์ การประเมิน : 1) แปลงค่าร้อยละของอาจารย์ประจําที่ดาํ รงตําแหน่งทางวิชาการเป็ นคะแนนระหว่าง 0 – 5 เกณฑ์ สถาบันกลุ่ม ข และ ค2 1) ค่าร้อยละของอาจารย์ประจําที่ดาํ รงตําแหน่งผูช้ ่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และ ศาสตราจารย์รวมกัน ที่กาํ หนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป หรื อ 2) ค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจําที่ดาํ รงตําแหน่งผูช้ ่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์รวมกัน เปรี ยบเทียบกับปี ที่ผา่ นมา ที่กาํ หนดให้เป็ น คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 12 ขึ้นไป ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

1 คะแนน

ผลการดําเนินงาน ……………………………………………………………………………………………………..... ร้อยละของอาจารย์ประจําที่ดาํ รง ตําแหน่งทางวิชาการ

=

จํานวนอาจารย์ประจําที่ดาํ รงตําแหน่งทางวิชาการ x 100 จํานวนอาจารย์ท้ งั หมด

แปลงค่าร้อยละเป็ นคะแนน = ร้อยละของอาจารย์ประจําที่ดาํ รงตําแหน่งทางวิชาการ คะแนนที่ได้ x 5 ร้อยละของอาจารย์ประจําที่ดาํ รงตําแหน่งทางวิชาการที่กาํ หนดคะแนนเต็ม 5 การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน

การบรรลุเป้าหมายตามแผน


45

รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน

เอกสารหมายเลข

ตัวบ่ งชี้ท2ี่ .4 : ระบบการพัฒนาคณาจารย์ และบุคลากรสายสนับสนุน ชนิดของตัวบ่ งชี้:กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน มี 1. มีแผนการบริ หารและการพัฒนาคณาจารย์ท้ งั ด้านวิชาการ เทคนิคการสอนและการวัดผลและมีแผนการบริ หารและ พัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนที่มีการวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิง ประจักษ์ 2. มีการบริ หารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสาย สนับสนุนให้เป็ นไปตามแผนที่กาํ หนด 3. มีสวัสดิการเสริ มสร้างสุ ขภาพที่ดี และสร้างขวัญและ กําลังใจให้คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนสามารถ ทํางานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ 4. มีระบบการติดตามให้คณาจารย์และบุคลากรสาย สนับสนุนนําความรู ้และทักษะที่ได้จากการพัฒนามาใช้ ในการจัดการเรี ยนการสอนและการวัดผลการเรี ยนรู ้ของ นักศึกษา ตลอดจนการปฏิบตั ิงานที่เกี่ยวข้อง 5. มีการให้ความรู ้ดา้ นจรรยาบรรณอาจารย์และบุคลากร สายสนับสนุน และดูแลควบคุมให้คณาจารย์และบุคลากร สายสนับสนุนถือปฏิบตั ิ 6. มีการประเมินผลความสําเร็ จของแผนการบริ หารและการ พัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน 7. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุ งแผนหรื อปรับปรุ ง การบริ หารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสาย สนับสนุน

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข


46

เกณฑ์ การประเมิน: คะแนน 1 มีการดําเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 3 หรื อ 4 ข้อ

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 5 หรื อ 6 ข้อ

ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 7 ข้อ

7 ข้อ

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 มีผลการดําเนินงาน ….. ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7

ผลการดําเนินงาน

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน

การบรรลุเป้าหมายตามแผน

รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด


47

หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด

ตัวบ่ งชี้ท2ี่ .5 : ห้ องสมุด อุปกรณ์ การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ ชนิดของตัวบ่ งชี้ : ปัจจัยนําเข้ า เกณฑ์ มาตรฐาน 1. มีการจัดการหรื อจัดบริ การเพื่อให้นกั ศึกษามีเครื่ อง คอมพิวเตอร์ใช้ในอัตราไม่สูงกว่า 8 FTES ต่อเครื่ อง 2. มีบริ การห้องสมุดและแหล่งเรี ยนรู ้อื่น ๆ ผ่านระบบ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ และมีการฝึ กอบรมการใช้งานแก่ นักศึกษาทุกปี การศึกษา 3. มีบริ การด้านกายภาพที่เหมาะสมต่อการจัดการเรี ยน การสอนและการพัฒนานักศึกษาอย่างน้อยในด้าน ห้องเรี ยน ห้องปฏิบตั ิการ อุปกรณ์การศึกษา และจุด เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต 4. มีบริ การอํานวยความสะดวกที่จาํ เป็ นอื่น ๆ อย่างน้อย ในด้านงานทะเบียนนักศึกษาผ่านระบบเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ การบริ การอนามัยและการรักษาพยาบาล การจัดการหรื อจัดบริ การด้านอาหารและสนามกีฬา 5. มีระบบสาธารณูปโภคและรักษาความปลอดภัยของอาคาร ตลอดจนบริ เวณโดยรอบ อย่างน้อยในเรื่ องประปา ไฟฟ้ า ระบบกําจัดของเสี ย การจัดการขยะ รวมทั้งมีระบบและ อุปกรณ์ป้องกันอัคคีภยั ในบริ เวณอาคารต่าง ๆ โดยเป็ นไป ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

มี

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข


48

เกณฑ์ มาตรฐาน 6. มีผลการประเมินคุณภาพของบริ การในข้อ 2-5 ทุกข้อ ไม่ต่าํ กว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 7. มีการนําผลการประเมินคุณภาพในข้อ 6 มาใช้เป็ นข้อมูล ในการพัฒนาการจัดบริ การด้านกายภาพที่ตอบสนองความ ต้องการของผูร้ ับบริ การ

มี

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข

เกณฑ์ การประเมิน: คะแนน 1 มีการดําเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 2 หรื อ 3 ข้อ

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 4 หรื อ 5 ข้อ

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 6 ข้อ

ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553 ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน …. ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ผลการดําเนินงาน ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7

7ข้อ

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 7 ข้อ


49

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน

การบรรลุเป้าหมายตามแผน

รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด

ตัวบ่ งชี้ท2ี่ .6:ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ชนิดของตัวบ่ งชี้: กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน 1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการจัดการเรี ยน การสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญทุกหลักสู ตร 2. ทุกรายวิชาของทุกหลักสู ตร มีรายละเอียดของรายวิชาและ ของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ก่อนการเปิ ดในแต่ละ ภาคการศึกษา ตามที่กาํ หนดในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ 3. ทุกหลักสูตรมีรายวิชาที่ส่งเสริ มทักษะการเรี ยนรู ้ดว้ ย ตนเอง และการให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้จากการปฏิบตั ิท้ งั ใน และนอกห้องเรี ยนหรื อจากการทําวิจยั

มี

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข


50

เกณฑ์ มาตรฐาน 4. มีการให้ผมู ้ ีประสบการณ์ทางวิชาการหรื อวิชาชีพจาก หน่วยงานหรื อชุมชนภายนอกเข้ามามีส่วนร่ วมในกระบวน การเรี ยนการสอนทุกหลักสู ตร 5. มีการจัดการเรี ยนการรู ้ที่พฒั นาจากการวิจยั หรื อจาก กระบวนการจัดการความรู ้เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอน 6. มีการประเมินความพึงพอใจของผูเ้ รี ยนที่มีต่อคุณภาพ การจัดการเรี ยนการสอนและสิ่ งสนับสนุนการเรี ยนรู ้ ทุกรายวิชา ทุกภาคการศึกษา โดยผลการประเมินความ พึงพอใจแต่ละรายวิชาต้องไม่ต่าํ กว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5 7. มีการพัฒนาหรื อปรับปรุ งการจัดการเรี ยนการสอน กลยุทธ์ การสอน หรื อการประเมินผลการเรี ยนรู ้ ทุกรายวิชา ตาม ผลการประเมินรายวิชา เกณฑ์ การประเมิน: คะแนน 1 มีการดําเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 2 หรื อ 3 ข้อ

ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 4 หรื อ 5 ข้อ

มี

ไม่ มี

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 6 ข้อ 7 ข้อ

เอกสารหมายเลข

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 7 ข้อ


51

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน ....... ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7

ผลการดําเนินงาน

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน

การบรรลุเป้าหมายตามแผน

รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด


52

ตัวบ่ งชี้ท2ี่ .7:ระบบและกลไกการพัฒนาสั มฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต ชนิดของตัวบ่ งชี้: กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน 1. มีการสํารวจคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ตาม ความต้องการของผูใ้ ช้บณั ฑิตอย่างน้อยสําหรับทุก หลักสูตรระดับปริ ญญาตรี ทุกรอบระยะเวลาตามแผน กําหนดการศึกษาของหลักสู ตร 2. มีการนําผลจากข้อ 1 มาใช้ในการปรับปรุ งหลักสูตร การจัดการเรี ยนการสอน การวัดผลการศึกษาและ สัมฤทธิผลทางการเรี ยนที่ส่งเสริ มทักษะอาชีพและ คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามความต้องการ ของผูใ้ ช้บณั ฑิต 3. มีการส่ งเสริ มสนับสนุนทรัพยากรทั้งด้านบุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศ และงบประมาณที่เอื้อต่อการ พัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิต 4. มีระบบและกลไกการส่ งเสริ มให้นกั ศึกษาระดับปริ ญญาตรี และบัณฑิตศึกษาเข้าร่ วมกิจกรรมการประชุมวิชาการหรื อ นําเสนอผลงานทางวิชาการในที่ประชุมระหว่างสถาบัน หรื อที่ประชุมระดับชาติหรื อนานาชาติ 5. มีกิจกรรมเสริ มสร้างคุณธรรมจริ ยธรรมให้แก่นกั ศึกษา ระดับปริ ญญาตรี และบัณฑิตศึกษาที่จดั โดยสถาบัน เกณฑ์ การประเมิน: 1. เกณฑ์ ทวั่ ไป คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการ มีการดําเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 3 ข้อ

มี

ไม่ มี

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 4 ข้อ

เอกสารหมายเลข

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 5 ข้อ


53

ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

5 ข้อ

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน.....ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5

ผลการดําเนินงาน

การบรรลุเป้าหมายตามแผน

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด


54

ตัวบ่ งชี้ท2ี่ .8:ระดับความสํ าเร็จของการเสริมสร้ างคุณธรรมจริยธรรมทีจ่ ัดให้ กบั นักศึกษา ชนิดของตัวบ่ งชี้: ผลผลิต เกณฑ์ มาตรฐาน มี ไม่ มี เอกสารหมายเลข 1. มี การกําหนดพฤติ ก รรมด้านคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมสําหรั บ นักศึกษาที่ตอ้ งการส่ งเสริ มไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษร 2. มี ก ารถ่ า ยทอดหรื อเผยแพร่ พฤติ ก รรมด้ า นคุ ณ ธรรม จริ ยธรรม สําหรั บนักศึกษาที่ตอ้ งการส่ งเสริ มตามข้อ 1ไปยัง ผูบ้ ริ หาร คณาจารย์ นักศึกษาและผูเ้ กี่ยวข้องทราบอย่างทัว่ ถึง ทั้งสถาบัน 3. มีโครงการหรื อกิจกรรมส่ งเสริ มการพัฒนาพฤติกรรมด้าน คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมที่ ก าํ หนดในข้อ 1 โดยระบุตวั บ่ งชี้ แ ละ เป้ าหมายวัดความสําเร็ จที่ชดั เจน 4. มีการประเมินผลโครงการหรื อกิจกรรมส่ งเสริ มคุณธรรม จริ ยธรรมของนักศึกษาตามตัวบ่งชี้และเป้ าหมายที่กาํ หนดใน ข้อ 3 โดยมีผลการประเมินบรรลุเป้ าหมายอย่างน้อยร้ อยละ 90 ของตัวบ่งชี้ 5. มี นัก ศึ ก ษาหรื อ กิ จ กรรมที่ เ กี่ ย วกับ นั ก ศึ ก ษาได้รั บ การ ยกย่องชมเชย ประกาศเกียรติคุณด้านคุณธรรมจริ ยธรรมโดย หน่วยงานหรื อองค์กรระดับชาติ เกณฑ์ การประเมิน: คะแนน 1 มีการดําเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 2 ข้อ

ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 4 ข้อ 5 ข้อ

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 5 ข้อ


55

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน ..... ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5

ผลการดําเนินงาน

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน

การบรรลุเป้าหมายตามแผน

รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5

เอกสารหมายเลข

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด


56

องค์ ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา ตังบ่ งชี้ที่ 3.1 : ระบบและกลไกการให้ คาํ ปรึกษาและบริการด้ านข้ อมูลข่ าวสาร ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน มี 1. มีการจัดบริ การให้คาํ ปรึ กษาทางวิชาการและแนวการใช้ชีวิตแก่ นักศึกษา 2. มีการจัดบริ การข้อมูลข่าวสารที่เป็ นประโยชน์ต่อนักศึกษา 3. มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาประสบการณ์ทางวิชาการและวิชาชีพ แก่นกั ศึกษา 4. มีการจัดบริ การข้อมูลข่าวสารที่เป็ นประโยชน์ต่อศิษย์เก่า 5. มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู ้และประสบการณ์ให้ศิษย์เก่า 6. มีผลการประเมินคุณภาพของการให้บริ การในข้อ 1-3 ทุกข้อ ไม่ ตํ่ากว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 7. มีการนําผลการประเมินคุณภาพของการให้บริ การมาใช้เป็ น ข้อมูลในการพัฒนาการจัดบริ การที่สนองความต้องการของ นักศึกษา เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการ มีการดําเนินการ 1 ข้อ 2 หรื อ 3 ข้อ ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 4 หรื อ 5 ข้อ

ไม่ มี

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 6 ข้อ 7 ข้อ

เอกสารหมายเลข

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 7 ข้อ


57

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน ...... ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ผลการดําเนินงาน ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7 การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน

รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7

การบรรลุเป้าหมายตามแผน

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด


58

ตัวบ่ งชี้ที่ 3.2 : ระบบและกลไกการส่ งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน 1. สถาบันจัดทําแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาที่ส่งเสริ มผล การเรี ยนรู ้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ ทุกด้าน 2. มีกิจกรรมให้ความรู ้ และทักษะการประกันคุณภาพการศึกษา แก่นกั ศึกษา 3. มีการส่ งเสริ มให้นกั ศึกษานําความรู ้ดา้ นการประกันคุณภาพไป ใช้ใ นการจัด กิ จกรรมที่ ด าํ เนิ นการโดยนัก ศึ กษาอย่างน้อย 5 ประเภทสําหรับระดับปริ ญญาตรี และอย่างน้อย 2 ประเภท สําหรับระดับบัณฑิตศึกษาจากกิจกรรมต่อไปนี้ -กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริ มคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ -กิจกรรมกีฬาหรื อการส่ งเสริ มสุ ขภาพ -กิจกรรมบําเพ็ญประโยชน์หรื อรักษาสิ่ งแวดล้อม -กิจกรรมเสริ มสร้างคุณธรรมและจริ ยธรรม -กิจกรรมส่ งเสริ มศิลปะและวัฒนธรรม 4. มี ก ารสนั บ สนุ น ให้ นั ก ศึ ก ษาสร้ า งเครื อ ข่ า ยพัฒ นาคุ ณ ภาพ ภายในสถาบันและระหว่างสถาบัน และมีกิจกรรมร่ วมกัน 5. มี การประเมิ นความสําเร็ จตามวัตถุประสงค์ของแผนการจัด กิจกรรมพัฒนานักศึกษา 6. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุ งแผนหรื อปรับปรุ งการจัด กิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการ มีการดําเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 3 หรื อ 4 ข้อ

มี

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 5 ข้อ

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 6 ข้อ


59

ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

6 ข้อ

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน .... ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ผลการดําเนินงาน ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน

รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6

การบรรลุเป้าหมายตามแผน

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด


60

องค์ ประกอบที่ 4 การวิจัย ตัวบ่ งชี้ที่ 4.1 : ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน มี 1. มีระบบและกลไกบริ หารงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายตามแผนด้านการวิจยั ของสถาบัน และดําเนินการตามระบบที่กาํ หนด 2. มีการบูรณาการกระบวนการวิจยั หรื องานสร้างสรรค์กบั การเรี ยนการสอน 3. มีการพัฒนาศักยภาพด้านการวิจยั หรื องานสร้างสรรค์และ ให้ความรู ้ดา้ นจรรยาบรรณการวิจยั แก่อาจารย์ประจําและ นักวิจยั 4. มีการจัดสรรงบประมาณของสถาบัน เพื่อเป็ นทุนวิจยั หรื อ งานสร้างสรรค์ 5. มีการสนับสนุนพันธกิจด้านการวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ ตามอัตลักษณ์ของสถาบันอย่างน้อยในประเด็นต่อไปนี้ - ห้องปฏิบตั ิการวิจยั ฯ หรื อหน่วยวิจยั ฯ หรื อศูนย์เครื่ องมือ หรื อศูนย์ให้คาํ ปรึ กษาและสนับสนุนการวิจยั ฯ - ห้องสมุดหรื อแหล่งค้นคว้าข้อมูลสนับสนุนการวิจยั ฯ - สิ่ งอํานวยความสะดวกหรื อการรักษาความปลอดภัยใน การวิจยั ฯ เช่น ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบรักษา ความปลอดภัยในห้องปฏิบตั ิการวิจยั - กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริ มงานวิจยั ฯ เช่น การจัดประชุม วิชาการ การจัดแสดงงานสร้างสรรค์ การจัดให้มี ศาสตราจารย์อาคันตุกะหรื อศาสตราจารย์รับเชิญ (visiting professor) 6. มีการติดตามและประเมินผลการสนับสนุนในข้อ 4 และ ข้อ 5 อย่างครบถ้วนทุกประเด็น

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข


61

เกณฑ์ มาตรฐาน 7. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุ งการสนับสนุนพันธกิจ ด้านการวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ของสถาบัน 8. มีระบบและกลไกเพื่อสร้างงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์บน พื้นฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น หรื อจากสภาพปัญหาของสังคม เพื่อตอบสนองความต้องการของท้องถิ่นและสังคม และ ดําเนินการตามระบบที่กาํ หนด (เฉพาะกลุ่ม ข และ ค 2) เกณฑ์ การประเมิน : 1. เกณฑ์ ทวั่ ไป คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการ มีการดําเนินการ 1 ข้อ 2 หรื อ 3 ข้อ

มี

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 4 หรื อ 5 ข้อ

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 6 ข้อ

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 7 ข้อ

2. เกณฑ์ เฉพาะสถาบันกลุ่ม ข และ ค 2 คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 มีการดําเนินการ มีการดําเนินการ มีการดําเนินการ 1 ข้อ 2 หรื อ 3 ข้อ 4 หรื อ 5 ข้อ

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 6 ข้อ

คะแนน 5 มีการดําเนินการ ครบ 7 ข้อตาม เกณฑ์ทวั่ ไป และ ครบถ้วนตาม เกณฑ์มาตรฐาน เพิ่มเติมเฉพาะกลุ่ม

ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

8 ข้อ


62

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน .... ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ผลการดําเนินงาน ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7 ข้อ 8 การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7 ข้อ 8

การบรรลุเป้าหมายตามแผน

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด


63

ตัวบ่ งชี้ที่ 4.2 : ระบบและกลไกการจัดการความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน 1. มีระบบและกลไกสนับสนุนเผยแพร่ ผลงานงานวิจยั หรื อ งานสร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการหรื อการตีพิมพ์ใน วารสารระดับชาติหรื อนานาชาติ และมีการเผยแพร่ ผลงาน วิจยั หรื องานสร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการหรื อการ ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรื อนานาชาติ 2. มีระบบและกลไกการรวบรวม คัดสรร วิเคราะห์และ สังเคราะห์ความรู ้จากงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ เพื่อให้ เป็ นองค์ความรู ้ที่คนทัว่ ไปเข้าใจได้ และดําเนินการตาม ระบบที่กาํ หนด 3. มีการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ องค์ความรู ้จากงาน วิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่ได้จากข้อ 2 สู่สาธารณชนและ ผูเ้ กี่ยวข้อง 4. มีการนําผลงานงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ และมีการรับรองการใช้ประโยชน์จริ งจาก หน่วยงานภายนอกหรื อชุมชน 5. มีระบบและกลไกเพื่อช่วยในการคุม้ ครองสิ ทธิ์ของ งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่นาํ ไปใช้ประโยชน์ และ ดําเนินการตามระบบที่กาํ หนด เกณฑ์ การประเมิน : 1. เกณฑ์ ทวั่ ไป คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการ มีการดําเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 3 ข้อ

มี

ไม่ มี

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 4 ข้อ

เอกสารหมายเลข

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 5 ข้อ


64

ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

5 ข้อ

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน ....... ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ผลการดําเนินงาน ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน

รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5

การบรรลุเป้าหมายตามแผน

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด


65

ตัวบ่ งชี้ที่ 4.3 : เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ต่อจํานวนอาจารย์ ประจําและนักวิจัยประจํา ชนิดของตัวบ่ งชี้ : ปัจจัยนําเข้ า เกณฑ์ การประเมิน : โดยการแปลงจํานวนเงินต่อจํานวนอาจารย์ประจําและนักวิจยั ประจําเป็ นคะแนนระหว่าง 0 – 5 1. เกณฑ์ เฉพาะสถาบันกลุ่ม ข และ ค2 จําแนกเป็ น 3 กลุ่มสาขาวิชา วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอกทําการเปิ ดการเรี ยนการสอนจํานวน 2 กลุ่มสาขาวิชา ได้แก่ 1) กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันที่กาํ หนดให้ เป็ นคะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน 2) กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันที่กาํ หนดให้ เป็ นคะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

4

ผลการดําเนินงาน ..................................................................................................................................................................... การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน

การบรรลุเป้าหมายตามแผน


66

องค์ ประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแก่ สังคม

ตัวบ่ งชี้ที่ 5.1 : ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน 1. มีระบบและกลไกการบริ การทางวิชาการแก่สงั คม และ ดําเนินการตามระบบที่กาํ หนด 2. มีการบูรณาการงานบริ การทางวิชาการแก่สงั คมกับ การเรี ยนการสอน 3. มีการบูรณาการงานบริ การทางวิชาการแก่สงั คมกับ การวิจยั 4. มีการประเมินผลความสําร็ จของการบูรณาการงานบริ การ ทางวิชาการแก่สงั คมกับการเรี ยนการสอนและการวิจยั 5. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุ งการบูรณาการ งานบริ การทางวิชาการแก่สงั คมกับการเรี ยนการสอนและ การวิจยั

มี

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 2 ข้อ

ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 4 ข้อ 5 ข้อ

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 5 ข้อ


67

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน ..... ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5

ผลการดําเนินงาน

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5

การบรรลุเป้าหมายตามแผน

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด


68

ตัวบ่ งชี้ที่ 5.2 : กระบวนการบริการทางวิชาการให้ เกิดประโยชน์ ต่อสังคม ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน 1. มีการสํารวจความต้องการของชุมชน หรื อภาครัฐ หรื อภาค เอกชน หรื อหน่วยงานวิชาชีพ เพื่อประกอบการกําหนด ทิศทางและการจัดทําแผนการบริ การทางวิชาการตาม จุดเน้นของสถาบัน 2. มีความร่ วมมือด้านบริ การทางวิชาการเพือ่ การเรี ยนรู ้และ เสริ มสร้างความเข้มแข็งของชุมชน หรื อภาคเอกชน หรื อ ภาครัฐ หรื อหน่วยงานวิชาชีพ 3. มีการประเมินประโยชน์หรื อผลกระทบของการให้บริ การ ทางวิชาการต่อสังคม 4. มีการนําผลการประเมินในข้อ 3 ไปพัฒนาระบบและกลไก หรื อกิจกรรมการให้บริ การทางวิชาการ 5. มีการพัฒนาความรู ้ที่ได้จากการให้บริ การทางวิชาการและ ถ่ายทอดความรู ้สู่ บุคลากรภายในสถาบันและเผยแพร่ สู่ สาธารณชน

มี

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 2 ข้อ

ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 4 ข้อ 5 ข้อ

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 5 ข้อ


69

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลดําเนินงาน ..... ข้อ ดังนี้ เกณฑ์

ผลการดําเนินงาน

ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน

การบรรลุเป้าหมายตามแผน

รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด


70

องค์ ประกอบที่ 6 การทํานุบํารุ งศิลปะและวัฒนธรรม

ตัวบ่ งชี้ที่ 6.1 : ระบบและกลไกการทํานุบาํ รุงศิลปะและวัฒนธรรม ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน 1.มี ร ะบบและกลไกการทํา นุ บ ํา รุ งศิ ล ปะและวัฒ นธรรม และ ดําเนินการตามระบบที่กาํ หนด 2.มีการบูรณาการงานด้านทํานุ บาํ รุ งศิ ลปะและวัฒนธรรมกับการ จัดการเรี ยนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา 3.มีการเผยแพร่ กิจกรรมหรื อการบริ การด้านทํานุ บาํ รุ งศิ ลปะและ วัฒนธรรมต่อสาธารณชน 4.มีการประเมินผลความสําเร็ จของการบูรณาการงานด้านทํานุ บาํ รุ ง ศิ ล ปะและวัฒ นธรรมกับ การจัด การเรี ย นการสอนและกิ จ กรรม นักศึกษา 5.มีการนําเสนอผลการประเมินไปปรับปรุ งการบูรณาการงานด้าน ทํานุ บาํ รุ งศิ ลปะและวัฒ นธรรมกับการจัด การเรี ย นการสอนและ กิจกรรมนักศึกษา 6.มี ก ารกํ า หนดหรื อสร้ า งมาตรฐานคุ ณ ภาพด้ า นศิ ล ปะและ วัฒนธรรมและมีผลงานเป็ นที่ยอมรับในระดับชาติ เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการ มีการดําเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 3 ข้อ

มี 

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข

  

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 4 ข้อ 5 ข้อ

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 5 หรื อ 6 ข้อ


71

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน ....... ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ผลการดําเนินงาน ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6

การบรรลุเป้าหมายตามแผน

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด


72

องค์ ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ

ตัวบ่ งชี้ที่ 7.1 : ภาวะผู้นําของสภาสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของสถาบัน ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน 1. สภาสถาบันปฏิบตั ิหน้าที่ตามที่กฎหมายกําหนดครบถ้วน และมีการประเมินตนเองตามหลักเกณฑ์ที่กาํ หนดล่วงหน้า 2. ผูบ้ ริ หารมีวิสยั ทัศน์ กําหนดทิศทางการดําเนินงาน และ สามารถถ่ายทอดไปยังบุคลากรทุกระดับ มีความสามารถ ในการวางแผนกลยุทธ์ มีการนําข้อมูลสารสนเทศเป็ นฐาน ในการปฏิบตั ิงานและพัฒนาสถาบัน 3. ผูบ้ ริ หารมีการกํากับ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน ตามที่มอบหมาย รวมทั้งสามารถสื่ อสารแผนและผลการ ดําเนินงานของสถาบันไปยังบุคลากรในสถาบัน 4. ผูบ้ ริ หารสนับสนุนให้บุคลากรในสถาบันมีส่วนร่ วม ในการบริ หารจัดการ ให้อาํ นาจในการตัดสิ นใจแก่ บุคลากรตามความเหมาะสม 5. ผูบ้ ริ หารถ่ายทอดความรู ้และส่ งเสริ มพัฒนาผูร้ ่ วมงาน เพื่อให้สามารถทํางานบรรลุวตั ถุประสงค์ของสถาบัน เต็มตามศักยภาพ 6. ผูบ้ ริ หารบริ หารงานด้วยหลักธรรมาภิบาลโดยคํานึงถึง ประโยชน์ของสถาบันและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย 7. สภาสถาบันประเมินผลการบริ หารงานของสถาบันและ ผูบ้ ริ หารนําผลการประเมินไปปรังปรุ งการบริ หารงาน อย่างเป็ นรู ปธรรม

มี

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข


73

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 2 หรื อ 3 ข้อ

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 4 หรื อ 5 ข้อ

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 6 ข้อ

ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 7 ข้อ

7 ข้อ

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน ...... ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7

ผลการดําเนินงาน

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน

การบรรลุเป้าหมายตามแผน

รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด


74

หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด

ตัวบ่ งชี้ที่ 7.2 : การพัฒนาสถาบันสู่ สถาบันการเรียนรู้ ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน 1. มีการกําหนดประเด็นความรู ้และเป้ าหมายของการจัดการ ความรู ้ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของสถาบันอย่างน้อย ครอบคลุมพันธกิจด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจยั 2. กําหนดบุคลากรกลุ่มเป้ าหมายที่จะพัฒนาความรู ้และ ทักษะด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจยั อย่างชัดเจน ตามประเด็นความรู ้ที่กาํ หนดในข้อ 1 3. มีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้จากความรู ้ ทักษะ ของผูม้ ีประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) เพื่อค้นหา แนวปฏิบตั ิที่ดีตามประเด็นความรู ้ที่กาํ หนดในข้อ 1 และ เผยแพร่ ไปสู่ บุคลากรกลุ่มเป้ าหมายที่กาํ หนด 4. มีการรวบรวมความรู ้ตามประเด็นที่กาํ หนดในข้อ 1 ทั้ง ที่มีอยูใ่ นตัวบุคคลและแหล่งเรี ยนรู ้อื่น ๆ ที่เป็ นแนวปฏิบตั ิ ที่ดีมาพัฒนาและจัดเก็บอย่างเป็ นระบบโดยเผยแพร่ ออกมา เป็ นลายลักษณ์อกั ษร (explicit knowledge) 5. มีการกําหนดความรู ้ที่ได้จากการพัฒนาจัดการความรู ้ ในปี การศึกษาปั จจุบนั หรื อปี การศึกษาที่ผา่ นมาที่เป็ น ลายลักษณ์อกั ษร (explicit knowledge) และจากความรู ้ ทักษะของผูม้ ีประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) ที่เป็ น แนวปฏิบตั ิที่ดีมาปรับใช้ในการปฏิบตั ิงานจริ ง

มี

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข


75

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 4 ข้อ

ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 5 ข้อ

5 ข้อ

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน ....... ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5

ผลการดําเนินงาน

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน

การบรรลุเป้าหมายตามแผน

รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด


76

ตัวบ่ งชี้ที่ 7.3 : ระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารและการตัดสิ นใจ ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน 1. มีแผนระบบสารสนเทศ (Information System Plan) 2. มีระบบสารสนเทศเพื่อการบริ หารและการตัดสิ นใจตาม พันธกิจของสถาบันโดยอย่างน้อยต้องครอบคลุมการจัด การเรี ยนการสอน การวิจยั การบริ หารจัดการ และการเงิน และสามารถนําไปใช้ในการดําเนินงานประกันคุณภาพ 3. มีการประเมินความพึงพอใจของผูใ้ ช้ระบบสารสนเทศ 4. มีการนําผลการประเมินความพึงพอใจของผูใ้ ช้ระบบ สารสนเทศมาปรับปรุ งระบบสารสนเทศ 5. มีการส่ งข้อมูลผ่านระบบเครื อข่ายของหน่วยงานภายนอก ที่เกี่ยวข้องตามที่กาํ หนด

มี

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 2 ข้อ

ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 4 ข้อ 5 ข้อ

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 5 ข้อ


77

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน .... ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5

ผลการดําเนินงาน

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5

การบรรลุเป้าหมายตามแผน

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด


78

ตัวบ่ งชี้ที่ 7.4 : ระบบบริหารความเสี่ ยง ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน 1. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรื อคณะทํางานบริ หาร ความเสี่ ยง โดยมีผบู ้ ริ หารระดับสู งและตัวแทนที่ รับผิดชอบพันธกิจหลักของสถาบันร่ วมเป็ นคณะกรรมการ หรื อคณะทํางาน 2. มีการวิเคราะห์และระบุความเสี่ ยง และปั จจัยที่ก่อให้เกิด ความเสี่ ยงอย่างน้อย 3 ด้าน ตามบริ บทของสถาบัน จาก ตัวอย่างดังต่อไปนี้ - ความเสี่ ยงด้านทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ อาคารสถานที่) - ความเสี่ ยงด้านยุทธศาสตร์ หรื อกลยุทธ์ของสถาบัน - ความเสี่ ยงด้านนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ - ความเสี่ ยงด้านการปฏิบตั ิงาน เช่น ความเสี่ ยงของ กระบวนการบริ หารหลักสู ตร การบริ หารงานวิจยั ระบบงาน ระบบประกันคุณภาพ - ความเสี่ ยงด้านบุคลากรและความเสี่ ยงด้านธรรมาภิบาล โดยเฉพาะจรรยาบรรณของอาจารย์และบุคลากร - ความเสี่ ยงจากเหตุการณ์ภายนอก 3. มีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ ยงและ จัดลําดับความเสี่ ยงที่ได้จากการวิเคราะห์ในข้อ 2 4. มีการจัดทําแผนบริ หารความเสี่ ยงที่มีระดับความเสี่ ยงสูง และดําเนินการตามแผน 5. มีการติดตาม และประเมินผลการดําเนินงานตามแผน และ รายงานต่อสภาสถาบันเพื่อพิจารณาอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง 6. มีการนําผลการประเมิน และข้อเสนอแนะจากสภาสถาบัน ไปใช้ในการปรับแผนหรื อวิเคราะห์ความเสี่ ยงในรอบปี ถัดไป

มี

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข


79

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 3 หรื อ 4 ข้อ

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 5 ข้อ

ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 6 ข้อ

6 ข้อ

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน...... ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6

ผลการดําเนินงาน

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน

การบรรลุเป้าหมายตามแผน

รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด


80

หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 5 ข้อ 6

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด


81

องค์ ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ

ตัวบ่ งชี้ที่ 8.1 : ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน 1. มีแผนยุทธศาสตร์ ทางการเงินที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของ สถาบัน 2. มี แ นวทางจัด หาทรั พ ยากรทางด้า นการเงิ น หลัก เกณฑ์ก าร จัดสรร และการวางแผนการใช้เงินอย่างมีประสิ ทธิภาพโปร่ งใส ตรวจสอบได้ 3. มีงบประมาณประจําปี ที่สอดคล้องกับแผนปฏิบตั ิการในแต่ละ พันธกิจและการพัฒนาสถาบันและบุคลากร 4. มีการจัดทํารายงานทางการเงินอย่างเป็ นระบบ และรายงานต่อ สภาสถาบันอย่างน้อยปี ละ 2 ครั้ง 5. มีการนําข้อมูลทางการเงินไปใช้ในการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายและ วิเคราะห์สถานะทางการเงินและความมัน่ คงของสถาบันอย่าง ต่อเนื่อง 6. มีหน่วยงานตรวจสอบภายในและภายนอก ทําหน้าที่ตรวจสอบ ติดตามการใช้เงินให้เป็ นไปตามระเบียบและกฎเกณฑ์ที่สถาบัน กําหนด 7. ผูบ้ ริ ห ารระดับ สู ง มี ก ารติ ด ตามผลการใช้เ งิ น ให้เ ป็ นไปตาม เป้ าหมาย และนําข้อมูลจากรายงานทางการเงิ นไปใช้ในการ วางแผนและการตัดสิ นใจ เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 2 หรื อ 3 ข้อ

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 4 หรื อ 5 ข้อ

มี

ไม่ มี

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 6 ข้อ

เอกสารหมายเลข

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 7 ข้อ


82

ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553

7 ข้อ

ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน ........ ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ผลการดําเนินงาน ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7 การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน รายการหลักฐานอ้ างอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7

การบรรลุเป้าหมายตามแผน

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด


83

องค์ ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

ตัวบ่ งชี้ที่ 9.1 : ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน มี 1.มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่ เหมาะสมและสอดคล้องกับพัน ธกิ จและพัฒนาการของ สถาบัน ตั้งแต่ระดับภาควิชาหรื อหน่ วยงานเทียบเท่า และ ดําเนินการตามระบบที่กาํ หนด 2.มี ก ารกํา หนดนโยบายและให้ ค วามสํ า คัญ เรื่ องการ ประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดยคณะกรรมการระดับ นโยบายและผูบ้ ริ หารสู งสุ ดของสถาบัน 3.มีการกําหนดตัวบ่งชี้เพิม่ เติมตามอัตลักษณ์ของสถาบัน 4.มี ก ารดํา เนิ น งานด้า นการประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษา ภายในที่ ครบถ้วน ประกอบด้วย 1) การควบคุ ม ติ ดตาม การดําเนิ นงาน และประเมินคุณภาพ 2) การจัดทํารายงาน ประจํา ปี ที่ เ ป็ นรายงานประเมิ น คุ ณ ภาพเสนอต่ อ สภา สถาบั น และสํ า นั ก คณะกรรมการอุ ด มศึ กษาตาม กําหนดเวลา โดยเป็ นรายงานที่ มีขอ้ มู ลครบถ้ว นตามที่ สํานักคณะกรรมการการอุดมศึกษากําหนดให้ CHE QA Online และ 3 ) การนําผลการประเมินคุณภาพไปทํา แผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถาบัน 5.มี ก ารนํา ผลการประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษา ภายในมา ปรั บ ปรุ ง การทํา งาน และส่ ง ผลให้ มี ก ารพัฒ นาผลการ ดําเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ทุกตัวบ่งชี้ 6.มี ร ะบบสารสนเทศที่ ใ ห้ ข อ้ มู ล สนับ สนุ น การประกัน คุณภาพการศึกษาภายในครบทั้ง 9 องค์ประกอบคุณภาพ

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข


84

เกณฑ์ มาตรฐาน 7.มีส่วนร่ วมของผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยในการประกันคุณภาพ การศึกษา โดยเฉพาะนักศึกษาผูใ้ ช้บณ ั ฑิต และผูใ้ ช้บริ การ ตามพันธกิจของสถาบัน 8.มีเครื อข่ายการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ดา้ นการประกันคุณภาพ การศึกษาระหว่างสถาบัน และมีกิจกรรมร่ วมกัน 9.มี แนวปฏิ บตั ิ ที่ดีห รื องานวิจ ัยด้านการประกัน คุ ณ ภาพ การศึกษาที่หน่วยงานพัฒนาขี้น และเผยแพร่ ให้หน่วยงาน อื่นสามารถนําไปใช้ประโยชน์ เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการ มีการดําเนินการ 1 ข้อ 2 หรื อ 3 ข้อ

มี

คะแนน 3 มีการดําเนินการ 4 หรื อ 5 ข้อ หรื อ 6 ข้อ

ค่าเป้ าหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปี การศึกษา 2553 ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน ...... ข้อ ดังนี้ เกณฑ์ ผลการดําเนินงาน ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7

ไม่ มี

เอกสารหมายเลข

คะแนน 4 มีการดําเนินการ 7 หรื อ 8 ข้อ

คะแนน 5 มีการดําเนินการ 9 ข้อ

9 ข้อ


85

เกณฑ์ ข้อ 8 ข้อ 9

ผลการดําเนินงาน

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑ์ การประเมิน รายการหลักฐานอ้ างอิง เอกสารหมายเลข หลักฐาน ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7 ข้อ 8 ข้อ 9

การบรรลุเป้าหมายตามแผน

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด


86

บทที่ 4 กรอบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก 1. กลุ่มเน้ นวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ได้มีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่ อง มีการประเมินศักยภาพของตนเอง และกําหนดจุดเน้นของวิทยาลัยใหม่จากวิทยาลัยในกลุ่มเน้นพัฒนาศิลปะและวัฒนธรรมเป็ นวิทยาลัยใน กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับปริ ญญาตรี 2. กรอบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก กรอบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก แยกตาม ประเภทและระดับของหน่วยงาน ดังนี้ ตัวบ่ งชี้การประเมินคุณภาพภายในและภายนอก รายละเอียดตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพภายใน และตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่งใช้ในการ ประเมินระดับสถานบัน คณะ สาขาวิชา และหน่วยงาน ลําดับ องค์ ประกอบ/ตัวบ่ งชี้ ความ ชนิดของ ระดับ ระดับ ระดับ ระดับ เชื่อมโยง ตัวบ่ งชี้ สถาบัน คณะ สาขาวิชา หน่ วยงาน 1.ปรัชญา ปณิธาน วัตถุปรสงค์ และแผนการดําเนินการ 1 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน สกอ. 1.1 กระบวนการ    

2 3 4 5 6

2. การผลิตบัณฑิต 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนา และบริ หาหลักสู ตร 2.2 อาจารย์ประจําที่มีคุณวุฒิ ปริ ญญาเอก 2.3 อาจารย์ประจําที่ดาํ รง ตําแหน่งทางวิชาการ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์ และบุคลากรสายสนับสนุน 2.5 ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรี ยนรู ้

สกอ. 2.1 กระบวนการ

-

สกอ. 2.2 ปั จจัยนําเข้า

-

สกอ. 2.3 ปั จจัยนําเข้า

-

สกอ. 2.4 กระบวนการ

-

-

สกอ. 2.5 ปั จจัยนําเข้า

-

วิทยบริ การ

-


87

ลําดับ 7 8

9

10

11

12

13

14

องค์ ประกอบ/ตัวบ่ งชี้ 2.6

ระบบและกลไกการจัด การเรี ยนการสอน 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนา สัมฤทธิผลการเรี ยนตาม คุณลักษณะของบัณฑิต 2.8 ระดับความสําเร็ จของการ เสริ มสร้างคุณธรรม จริ ยธรรมที่จดั ให้กบั นักศึกษา 2.9 บัณฑิตปริ ญญาตรี ที่ได้งาน ทําหรื อประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี 2.10 คุณภาพของบัณฑิตปริ ญญา ตรี โทและเอก ตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิ อุดมศึกษาแห่งชาติ 2.11 ผลงานของผูส้ าํ เร็ จการศึกษา ระดับปริ ญญาโทที่ได้รับการ ตีพิมพ์หรื อเผยแพร่ 3. กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา 3.1 ระบบและกลไกการให้ คําปรึ กษาและบริ การด้าน ข้อมูลข่าวสาร 3.2 ระบบและกลไกการส่ งเสริ ม กิจกรรมนักศึกษา

ความ ชนิดของ ระดับ ระดับ ระดับ เชื่อมโยง ตัวบ่ งชี้ สถาบัน คณะ สาขาวิชา สกอ. 2.6 กระบวนการ   

ระดับ หน่ วยงาน -

สกอ. 2.7 กระบวนการ

-

-

สกอ. 2.8

ผลผลิต

-

-

สมศ. 1

ผลผลิต

-

สมศ. 2

ผลผลิต

-

-

สมศ. 3

ผลผลิต

-

-

สกอ. 3.1 กระบวนการ

-

กิจการ นศ.

สกอ. 3.2 กระบวนการ

-

กิจการ นศ.

-


88

ลําดับ

15 16

17

18 19 20

21 22

23

องค์ ประกอบ/ตัวบ่ งชี้ 4. การวิจัย 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนา งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ 4.2 ระบบและกลไกการจัดการ ความรู ้จากงานวิจยั หรื อ งานสร้างสรรค์ 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจยั หรื อ งานสร้างสรรค์ต่อจํานวน อาจารย์ประจําและนักวิจยั 4.4 งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่ ได้รับการตีพมิ พ์หรื อเผยแพร่ 4.5 งานวิจยั ที่นาํ ไปใช้ประโยชน์ 4.6 ผลงานวิชาการที่ได้รับการ รับรองคุณภาพ 5. การบริการทางวิชาการแก่ สังคม 5.1 ระบบและกลไกการบริ การ ทางวิชาการแก่สงั คม 5.2 กระบวนการบริ การ ทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ ต่อสังคม 5.3 การนําความรู ้และ ประสบการณ์จากการ ให้บริ การวิชาการมาใช้ใน การพัฒนาการเรี ยนการสอน หรื อการวิจยั

ความ เชื่อมโยง

ชนิดของ ตัวบ่ งชี้

ระดับ ระดับ ระดับ ระดับ สถาบัน คณะ สาขาวิชา หน่ วยงาน

สกอ. 4.1 กระบวนการ

-

ส.วิจยั

สกอ. 4.2 กระบวนการ

-

ส.วิจยั

สกอ. 4.3 ปั จจัยนําเข้า

-

ส.วิจยั

สมศ. 5

ผลผลิต

-

ส.วิจยั

สมศ. 6 สมศ. 7

ผลผลิต ผลผลิต

 

 

-

ส.วิจยั ส.วิจยั

สกอ. 5.1 กระบวนการ

-

สกอ. 5.2 กระบวนการ

-

ฝ่ ายฝึ กอบรม และบริ การ ส.วิชาการ ฝ่ ายฝึ กอบรม และบริ การ ส.วิชาการ

สมศ. 8

-

......

ฝ่ ายฝึ กอบรม และบริ การ ส.วิชาการ


89

ลําดับ 24

25 26 27

28

29 30 31 32 33 34

องค์ ประกอบ/ตัวบ่ งชี้

ความ เชื่อมโยง สมศ. 9

5.4 การเรี ยนรู ้และเสริ มสร้าง ความเข้มแข็งของชุมชนหรื อ องค์กรภายนอก 6. การทํานุบํารุ งศิลปะและวัฒนธรรม 6.1 ระบบและกลไกการทํานุ สกอ. 6.1 บํารุ งศิลปะและวัฒนธรรม 6.2 การส่ งเสริ มและสนับสนุน สมศ. 10 ด้านศิลปะและวัฒนธรรม 6.3 การพัฒนาสุ นทรี ยภาพในมิติ สมศ. 11 ทางศิลปะและวัฒนธรรม 7. การบริหารและการจัดการ 7.1 ภาวะผูน้ าํ ของสภาสถาบัน สกอ. 7.1 และผูบ้ ริ หารทุกระดับของ สถาบัน 7.2 การพัฒนาสถาบันสู่สถาบัน สกอ. 7.2 เรี ยนรู ้ 7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการ สกอ. 7.3 บริ หารและการตัดสิ นใจ 7.4 ระบบบริ หารความเสี่ ยง สกอ. 7.4 7.5 การปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ สมศ. 12 ของสภาสถาบัน 7.6 การปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ สมศ. 13 ของผูบ้ ริ หารสถาบัน 7.7 การพัฒนาคณาจารย์ สมศ. 14

ชนิดของ ตัวบ่ งชี้ ......

ระดับ ระดับ ระดับ ระดับ สถาบัน คณะ สาขาวิชา หน่ วยงาน ฝ่ ายฝึ กอบรม   และบริ การ ส.วิชาการ

กระบวนการ

-

......

-

......

-

กระบวนการ

-

-

กระบวนการ

-

-

กระบวนการ

-

ศูนย์บริ การ เทคโนโลยีฯ

กระบวนการ

-

ศูนย์บริ การ เทคโนโลยีฯ

......

-

-

ส.อธิการบดี

......

-

ส.อธิการบดี

......

-

ส.อธิการบดี

ศูนย์ ศิลปวัฒนธรรม ส.กิจการ นศ. ศูนย์ ศิลปวัฒนธรรม ส.กิจการ นศ. ศูนย์ ศิลปวัฒนธรรม ส.กิจการ นศ.


90

ลําดับ

35

36 37

38

39

40

องค์ ประกอบ/ตัวบ่ งชี้

ความ เชื่อมโยง

ชนิดของ ตัวบ่ งชี้

8. การเงินและงบประมาณ 8.1 ระบบและกลไกการเงินและ สกอ. 8.1 กระบวนการ งบประมาณ 9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ 9.1 ระบบและกลไกการประกัน สกอ. 9.1 กระบวนการ คุณภาพการศึกษาภายใน 9.2 ผลประเมินการประกัน สมศ. 15 ผลผลิต คุณภาพภายในโดยต้นสังกัด ตัวบ่ งชี้อตั ลักษณ์ อ. 1 ผลการพัฒนาให้บรรลุตาม สมศ. 16 ...... ปรัชญา ปณิ ธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการ จัดตั้งสถาบัน อ. 2 ผลการพัฒนาตามจุดเน้น สมศ. 17 ...... และจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อน เป็ นเอกลักษณ์ของสถาบัน ตัวบ่ งชี้มาตรการส่ งเสริม ม. 1 ผลการชี้นาํ ป้ องกันหรื อ สมศ. 18 แก้ปัญหาของสังคมในด้าน ต่างๆ

ระดับ ระดับ ระดับ ระดับ สถาบัน คณะ สาขาวิชา หน่ วยงาน 

-

-

-

-

-

-

-


91

3. ข้ อมูลกลางและหน่ วยงานทีร่ ับผิดชอบเพือ่ สนับสนุนคณะหน่ วยงาน ตารางผูร้ ับผิดชอบรายองค์ประกอบคุณภาพทั้ง 9 องค์ประกอบ 23 ตัวบ่งชี้ รายละเอี ย ดตัว บ่ ง ชี้ การประเมิ น คุ ณ ภาพภายใน และตัว บ่ ง ชี้ การประเมิ น คุ ณ ภาพภายนอก หน่ ว ยงานที่ รับผิดชอบรวบรวมข้อมูลตามตัวบ่งชี้ และรองอธิการบดีที่กาํ กับดูแลตัวบ่งชี้ในระดับสถาบัน ลําดับ องค์ ประกอบ/ตัวบ่ งชี้ ความ ชนิดของ หน่ วยงาน/ผู้รับผิดชอบ รองอธิการบดี เชื่อมโยง ตัวบ่ งชี้ ดูแลตัวบ่ งชี้ 1.ปรัชญา ปณิธาน วัตถุปรสงค์ และแผนการดําเนินการ 1 ตัวบ่ งชี้ 1 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน สกอ. 1.1 กระบวนการ ผอ.สํานักวิจยั /วางแผน รองฯวางแผนฯ

2 3 4 5 6 7 8

9

2. การผลิตบัณฑิต 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนา และบริ หาหลักสู ตร 2.2 อาจารย์ประจําที่มีคุณวุฒิ ปริ ญญาเอก 2.3 อาจารย์ประจําที่ดาํ รง ตําแหน่งทางวิชาการ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์ และบุคลากรสายสนับสนุน 2.5 ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรี ยนรู ้ 2.6 ระบบและกลไกการจัด การเรี ยนการสอน 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนา สัมฤทธิผลการเรี ยนตาม คุณลักษณะของบัณฑิต 2.8 ระดับความสําเร็ จของการ เสริ มสร้างคุณธรรมจริ ยธรรม ที่จดั ให้กบั นักศึกษา

สกอ. 2.1 กระบวนการ

ผอ.สํานักวิชาการ

สกอ. 2.2 ปั จจัยนําเข้า

สกอ. 2.5 ปั จจัยนําเข้า

ผอ.สํานักอธิการบดี (งานบุคคล) ผอ.สํานักอธิการบดี (งานบุคคล) ผอ.สํานักอธิการบดี (งานบุคคล) ผอ.สํานักวิทยบริ การ

12 ตัวบ่ งชี้ รองฯวิชาการ ผชอ.วิชาการ รองฯวิชาการ ผชอ.วิชาการ รองฯวิชาการ ผชอ.วิชาการ รองฯวิชาการ ผชอ.วิชาการ รองฯวิชาการ

สกอ. 2.6 กระบวนการ

ผอ.สํานักวิชาการ

รองฯวิชาการ

สกอ. 2.7 กระบวนการ

ผอ.สํานักวิชาการ

รองฯวิชาการ

ผอ.สํานักวิชาการ ผอ.สํานักกิจการ นศ.

รองฯวิชาการ

สกอ. 2.3 ปั จจัยนําเข้า สกอ. 2.4 กระบวนการ

สกอ. 2.8

ผลผลิต


92

ลําดับ 10

11

12

13

14

15 16

17

องค์ ประกอบ/ตัวบ่ งชี้ 2.9

บัณฑิตปริ ญญาตรี ที่ได้งาน ทําหรื อประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี 2.10 คุณภาพของบัณฑิตปริ ญญา ตรี โทและเอก ตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิ อุดมศึกษาแห่งชาติ 2.11 ผลงานของผูส้ าํ เร็ จการศึกษา ระดับปริ ญญาโทที่ได้รับการ ตีพิมพ์หรื อเผยแพร่ 3. กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา 3.1 ระบบและกลไกการให้ คําปรึ กษาและบริ การด้าน ข้อมูลข่าวสาร 3.2 ระบบและกลไกการส่ งเสริ ม กิจกรรมนักศึกษา 4. การวิจัย 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนา งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ 4.2 ระบบและกลไกการจัดการ ความรู ้จากงานวิจยั หรื อ งานสร้างสรรค์ 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจยั หรื อ งานสร้างสรรค์ต่อจํานวน อาจารย์ประจําและนักวิจยั

ความ เชื่อมโยง สมศ. 1

ชนิดของ ตัวบ่ งชี้ ผลผลิต

หน่ วยงาน/ผู้รับผิดชอบ รองอธิการบดี ดูแลตัวบ่ งชี้ ผอ.สํานักวิจยั ฯ รองฯวิชาการ

สมศ. 2

ผลผลิต

ผอ.สํานักวิชาการ

รองฯวิชาการ

สมศ. 3

ผลผลิต

คณบดีบณั ฑิตวิทยาลัย

รองฯวิชาการ

สกอ. 3.1 กระบวนการ

ผอ.สํานักกิจการ นศ.

2 ตัวบ่ งชี้ รองฯ กิจการ นศ.

สกอ. 3.2 กระบวนการ

ผอ.สํานักกิจการ นศ.

สกอ. 4.1 กระบวนการ

ผอ.สํานักวิจยั ฯ

รองฯ กิจการ นศ. 6 ตัวบ่ งชี้ รองฯวางแผนฯ

สกอ. 4.2 กระบวนการ

ผอ.สํานักวิจยั ฯ

รองฯวางแผนฯ

สกอ. 4.3 ปั จจัยนําเข้า

ผอ.สํานักวิจยั ฯ

รองฯวางแผนฯ


93

ลําดับ 18 19 20

21 22

23

24

25 26 27

องค์ ประกอบ/ตัวบ่ งชี้

ความ ชนิดของ หน่ วยงาน/ผู้รับผิดชอบ เชื่อมโยง ตัวบ่ งชี้ 4.4 งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่ สมศ. 5 ผลผลิต ผอ.สํานักวิจยั ฯ ได้รับการตีพมิ พ์หรื อเผยแพร่ 4.5 งานวิจยั ที่นาํ ไปใช้ประโยชน์ สมศ. 6 ผลผลิต ผอ.สํานักวิจยั ฯ 4.6 ผลงานวิชาการที่ได้รับการ สมศ. 7 ผลผลิต ผอ.สํานักวิจยั ฯ รับรองคุณภาพ 5. การบริการทางวิชาการแก่ สังคม 5.1 ระบบและกลไกการบริ การ สกอ. 5.1 กระบวนการ ผอ.สํานักวิชาการ ทางวิชาการแก่สงั คม 5.2 กระบวนการบริ การ สกอ. 5.2 กระบวนการ ผอ.สํานักวิชาการ ทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ ต่อสังคม 5.3 การนําความรู ้และ สมศ. 8 ...... ผอ.สํานักวิชาการ ประสบการณ์จากการ ผอ.สํานักวิจยั ให้บริ การวิชาการมาใช้ใน การพัฒนาการเรี ยนการสอน หรื อการวิจยั 5.4 การเรี ยนรู ้และเสริ มสร้าง สมศ. 9 ...... ผอ.สํานักวิชาการ ความเข้มแข็งของชุมชนหรื อ ผอ.สํานักวิจยั องค์กรภายนอก 6. การทํานุบํารุ งศิลปะและวัฒนธรรม 6.1 ระบบและกลไกการทํานุ สกอ. 6.1 กระบวนการ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม บํารุ งศิลปะและวัฒนธรรม 6.2 การส่ งเสริ มและสนับสนุน สมศ. 10 ...... ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม ด้านศิลปะและวัฒนธรรม 6.3 การพัฒนาสุ นทรี ยภาพในมิติ สมศ. 11 ...... ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม ทางศิลปะและวัฒนธรรม

รองอธิการบดี ดูแลตัวบ่ งชี้ รองฯวางแผนฯ รองฯวางแผนฯ รองฯวางแผนฯ 4 ตัวบ่ งชี้ รองฯ วิชาการ รองฯ วิชาการ

รองฯวิชาการ รองฯวางแผนฯ

รองฯวิชาการ รองฯวางแผนฯ 3 ตัวบ่ งชี้ รองฯ กิจการ นศ. รองฯ กิจการ นศ. รองฯ กิจการ นศ.


94

ลําดับ

28

29 30 31 32 33 34

35

36 37

องค์ ประกอบ/ตัวบ่ งชี้ 7. การบริหารและการจัดการ 7.1 ภาวะผูน้ าํ ของสภาสถาบัน และผูบ้ ริ หารทุกระดับของ สถาบัน 7.2 การพัฒนาสถาบันสู่สถาบัน เรี ยนรู ้ 7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการ บริ หารและการตัดสิ นใจ 7.4 ระบบบริ หารความเสี่ ยง 7.5 การปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ ของสภาสถาบัน 7.6 การปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ ของผูบ้ ริ หารสถาบัน 7.7 การพัฒนาคณาจารย์

ความ เชื่อมโยง

ชนิดของ ตัวบ่ งชี้

หน่ วยงาน/ผู้รับผิดชอบ

สกอ. 7.1 กระบวนการ

ผอ.สํานักอธิการบดี

รองอธิการบดี ดูแลตัวบ่ งชี้ 7 ตัวบ่ งชี้ รองฯ บริ หาร

สกอ. 7.2 กระบวนการ

ผอ.สํานักอธิการบดี

รองฯ บริ หาร

สกอ. 7.3 กระบวนการ

ผอ.ศูนย์ ICT

รองฯ บริ หาร

สกอ. 7.4 กระบวนการ สมศ. 12 ......

ผอ.สํานักประกัน ผอ.สํานักอธิการบดี

รองฯ บริ หาร รองฯ บริ หาร

สมศ. 13

......

ผอ.สํานักอธิการบดี

รองฯ บริ หาร

สมศ. 14

......

ผอ.สํานักอธิการบดี

รองฯ บริ หาร

8. การเงินและงบประมาณ 8.1 ระบบและกลไกการเงินและ สกอ. 8.1 กระบวนการ ผอ.สํานักการคลัง งบประมาณ 9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ 9.1 ระบบและกลไกการประกัน สกอ. 9.1 กระบวนการ ผอ.สํานักประกัน คุณภาพการศึกษาภายใน คุณภาพ 9.2 ผลประเมินการประกัน สมศ. 15 ผลผลิต ผอ.สํานักประกัน คุณภาพภายในโดยต้นสังกัด คุณภาพ

1 ตัวบ่ งชี้ อธิการบดี 2 ตัวบ่ งชี้ รองฯวิชาการ รองฯวิชาการ


95

ลําดับ

38

39

40

องค์ ประกอบ/ตัวบ่ งชี้ ตัวบ่ งชี้อตั ลักษณ์ อ. 1 ผลการพัฒนาให้บรรลุตาม ปรัชญา ปณิ ธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการ จัดตั้งสถาบัน อ. 2 ผลการพัฒนาตามจุดเน้น และจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อน เป็ นเอกลักษณ์ของสถาบัน ตัวบ่ งชี้มาตรการส่ งเสริม ม. 1 ผลการชี้นาํ ป้ องกันหรื อ แก้ปัญหาของสังคมในด้าน ต่างๆ

ความ ชนิดของ หน่ วยงาน/ผู้รับผิดชอบ เชื่อมโยง ตัวบ่ งชี้ สมศ. 16

......

ผอ.สํานักประกันคุณภาพ

รองอธิการบดี ดูแลตัวบ่ งชี้ 2 ตัวบ่ งชี้ รองฯ วิชาการ

สมศ. 17

......

ผอ.สํานักประกันคุณภาพ

รองฯ วิชาการ

ผอ.สํานักประกันคุณภาพ

1 ตัวบ่ งชี้ รองฯ วิชาการ

สมศ. 18

4. ประเภทหน่ วยงานในระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน เพื่อให้การดําเนินงานประกันคุณภาพภายใน วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอกเป็ นไปด้วยความเรี ยบร้อย และมีประสิ ทธิภาพ จึงกําหนดหน่วยงานที่ตอ้ งดําเนินการจัดทําการประกันคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2553 ดังนี้ 1. หน่วยงานการเรี ยนการสอน คณะบริ หารธุรกิจ คณะนิติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย 2. หน่วยงานสนับสนุนการเรี ยนการสอน สํานักวิชาการ สํานักอธิการบดี สํานักการคลัง


96

สํานักทะเบียนและประมวลผล สํานักวิจยั สํานักวิทยบริ การ สํานักประชาสัมพันธ์และการตลาด สํานักกิจการนักศึกษาและกิจการพิเศษ ศูนย์บริ การเทคโนโลยีสารสนเทศ


97

บทที่ 5 แนวทางการจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากผลการประเมินคุณภาพภายใน หลังจากที่ดาํ เนินการประเมินคุณภาพภายในเสร็ จสิ้ นแล้ว ผูบ้ ริ หารระดับคณะ สาขาวิชา หน่วยงาน สนับสนุนการเรี ยนการสอน และระดับสถาบัน นําผลการประเมินและข้อเสนอแนะเข้าสู่ การประชุมเพื่อ วางแผนพัฒนาคุณภาพหรื อปรับปรุ งการดําเนินภารกิจอย่างเป็ นรู ปธรรม โดยจัดทําเป็ นแผนปฏิบตั ิการในการ แก้ไขจุดที่ควรปรับปรุ ง และเสริ มจุดแข็ง ซึ่งประกอบด้วย กิจกรรมที่ตอ้ งดําเนินการ กําหนดเวลเริ่ มต้นจนถึงเวล สิ้ นสุ ดกิจกรรม งบประมาณสําหรับแต่ละกิจกรรม ตลอดจนผูร้ ับผิดชอบกิจกรรม รวมทั้งรายละเอียดที่เป็ น ประโยชน์ท้ งั นี้เพื่อให้สามารถติดตามตรวจสอบการพัฒนาได้อย่างต่อเนื่อง


98

แผนพัฒนาคุณภาพตัวบ่ งชี้ปีการศึกษา 2551 เพือ่ บรรลุเป้าหมายปี การศึกษา 2552 วิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก

ลําดับ ที่

ตัว บ่ งชี้

1.

1.2

ร้ อ ย ล ะ ข อ ง ก า ร บ ร ร ลุ เป้ าหมายตามตัวบ่ งชี้ ของ การปฏิบตั ิงานที่กาํ หนด

ร้อยละ

2.12

ร้ อ ย ล ะ ข อ ง นั ก ศึ ก ษ า ปั จจุ บ ั น และศิ ษย์ เ ก่ าที่ สําเร็ จการศึ กษาในรอบ 5 ปี ที่ ผ่ า นมาที่ ไ ด้ รั บ การ ประกาศเกี ยรติคุณยกย่อง ในด้า นวิ ช าการ วิ ช าชี พ คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม กี ฬ า สุ ข ภ า พ ศิ ล ป ะ แ ล ะ วัฒนธรรมและ ด้ า น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ใ น ระดับชาติ หรื อนานาชาติ ร้ อ ยละของงานวิ จ ัย และ งานสร้ า งสรรค์ ที่ ตี พิ ม พ์ เ ผ ย แ พ ร่ ไ ด้ รั บ ก า ร จ ด ทะเบี ย นทรั พ ย์ สิ นทาง ปั ญ ญ า ห รื อ นํ า ไ ป ใ ช้ ประโยชน์ท้ งั ในระดับชาติ และในระดับนานาชาติต่อ จํานวนอาจารย์ประจํา

ร้อยละ

0.15

2

0.20

หน่วยงานด้านการเรี ยนการสอน ต้องเร่ งสร้างเสริ มและปลูกฝังคุณธรรม จริ ยธรรมแก่นกั ศึกษา

ร้อย

1.1

1

15

ส่ งเสริ มสร้างสรรค์ศกั ยภาพ ของอาจารย์ในการทําวิจยั อย่างต่อเนื่อง

2.

3.

4.4

ชื่อตัวบ่ งชี้

หน่ วย นับ

ปี การศึกษา 2551 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน 78 2

เป้ าหมาย ปี การศึกษา 2552 85

แนวทางการปรับปรุ ง นําผลการดําเนินงานตาม แผนปฏิบตั ิการปี 2551 มาวิเคราะห์ หาสาเหตุการไม่บรรลุตวั ชี้วดั

ผู้รับ ผิดชอบ

งบ ประมาณ

ระยะ เวลา

สอดคล้ องกับยุทธศาสตร์ ของวิทยาลัย ประเด็นที่

รองฯ วางแผนฯ ผอ. สํานักวิจยั รองฯ วิชาการ ผอ.สํานัก กิจการ นักศึกษาฯ

-

ก.ย. 53

การเรี ยนการสอน

-

ตลอดปี

การพัฒนานักศึกษาและ ศิษย์เก่า

รองฯ วางแผนฯ ผอ. สํานักวิจยั

-

มิ.ย.52 มิ.ย.53

การวิจยั

สอดคล้ อง กับ พันธกิจ ก า ร เ รี ย น การสอน

ก า ร เ รี ย น การสอน

การวิจยั


99 ลําดับ ที่

ตัว บ่ งชี้

4.

5.2

5.

7.3

6.

7.6

7.

7.7

ชื่อตัวบ่ งชี้

หน่ วย นับ

ปี การศึกษา 2551 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน 10 1

เป้ าหมาย ปี การศึกษา 2552 15

ผู้รับ ผิดชอบ

งบ ประมาณ

จัดหาอาจารย์ อาวุโสที่มีชื่อเสี ยง หรื อมี ความเชี่ ย วชาญในวิ ช าชี พ มาร่ ว มงาน เพื่อเป็ นพี่เลี้ยงให้แก่อาจารย์รุ่นใหม่ ๆ

รองฯ วิชาการ ผอ.สํานัก วิชาการ

แนวทางการปรับปรุ ง

ร้อยละของอาจารย์ประจํา ที่ มีส่ว นในการให้บริ การ ทางวิชาการแก่ สังคมเป็ น ที่ ป รึ กษา เป็ นกรรมการ วิ ท ย า นิ พ น ธ์ ภ า ย น อ ก สถาบั น เป็ นกรรมการ วิชาการ กรรมการวิชาชี พ ในระดับ ชาติ ห รื อ ระดับ น า น า ช า ติ ต่ อ อ า จ า ร ย์ ประจํา มีการพัฒนาสถาบัน สู่องค์กรเรี ยนรู้

ร้อยละ

ระดับ

1

1

3

พัฒ นาระบบบริ ห ารจัด การความรู ้ ใ น องค์กรให้เป็ นรู ปธรรม

ระดับ ความสํา เร็ จ ในการ เ ปิ ด โ อ ก า ส ใ ห้ บุ ค คลภายนอกเข้ า มามี ส่ วนร่ วมในการพั ฒ นา สถาบันอุดมศึกษา ร้อยละของอาจารย์ประจํา ที่ได้รับรางวัลผลงาน ทาง วิ ช าการหรื อ วิ ช าชี พ ใน ระดับชาติ หรื อนานาชาติ

ระดับ

2

2

3

จั ด สรรผู ้ เ ชี่ ยวชาญภายนอกเข้ า สู่ สถาบันเพื่อพัฒนาวิทยาลัย

ร้อยละ

0

0

0.1-0.99

ส่ งเสริ มอาจารย์ให้สร้ างสรรค์ ผลงาน ทางวิชาการเพิ่มมากขึ้น

ระยะ เวลา

สอดคล้ องกับยุทธศาสตร์ ของวิทยาลัย ประเด็นที่

สอดคล้ อง กับ พันธกิจ การบริ การ ทางวิชาการ แก่สงั คม

-

ตลอดปี

การบริ การทางวิชาการ

รองฯ บริ หาร ผอ.สํานัก อธิการบดี รองฯ บริ หาร ผอ.สํานัก อธิการบดี

-

ตลอดปี

การบริ หารจัดการ

ก า ร เ รี ย น การสอน

-

ตลอดปี

การบริ หารจัดการ

ก า ร เ รี ย น การสอน

รองฯ วิชาการ ผอ.สํานัก วิชาการ

-

ตลอดปี

การเรี ยนการสอน

ก า ร เ รี ย น การสอน


100 ลําดับ ที่

ตัว บ่ งชี้

8.

9.2

มี ระบบและกลไกการให้ ความรู ้และทักษะด้านการ ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ แ ก่ นักศึกษา

ระดับ

9.

9.3

ระดับความสําเร็จของ ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ การศึกษาภายใน

ระดับ

ชื่อตัวบ่ งชี้

หน่ วย นับ

ปี การศึกษา 2551 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน 4 2

3

2

เป้ าหมาย ปี การศึกษา 2552 5

4

แนวทางการปรับปรุ ง ส่ งเสริ มให้คณะและหน่วยงานถ่ายทอด ความรู ้ดา้ นการประกันคุณภาพ แก่นกั ศึกษา

ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ ค ณ ะ แ ล ะ ห น่ ว ย ง า น ดํา เนิ น การประกัน คุ ณ ภาพตามแผน และกําหนดเวลาที่วางไว้

ผู้รับ ผิดชอบ

งบ ประมาณ

ระยะ เวลา

สอดคล้ องกับยุทธศาสตร์ ของวิทยาลัย ประเด็นที่

รองฯ วิชาการ ผอ.สํานัก ประกัน คุณภาพ รองฯ วิชาการ ผอ.สํานัก ประกัน คุณภาพ

-

ตลอดปี

การบริ หารจัดการ

-

ตลอดปี

การบริ หารจัดการ

สอดคล้ อง กับ พันธกิจ ก า ร เ รี ย น การสอน

ก า ร เ รี ย น การสอน


101

แผนพัฒนาคุณภาพตัวบ่ งชี้ปีการศึกษา 2552 เพือ่ บรรลุเป้าหมายปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก

ลําดับ ที่

ตัว บ่ งชี้

ชื่อตัวบ่ งชี้

1.

1.2

ร้ อ ย ล ะ ข อ ง ก า ร บ ร ร ลุ เป้ าหมายตามตัวบ่ งชี้ ของ การปฏิบตั ิงานที่กาํ หนด

ร้อยละ

4.2

มี ระบบบริ หารจั ด การ ความรู้ จ ากงานวิ จ ัย และ งานสร้างสรรค์

ข้อ

3

2

4

เข้าร่ วมในเครื อข่ายวิจยั ต่าง ๆ เพื่อสร้าง ความสัมพันธ์ และได้แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ กับทีมวิจยั ที่มีประสบการณ์

3.

4.4

ร้อย

6

1

15

ส่ งเสริ มสร้างสรรค์ศกั ยภาพ ของอาจารย์ในการทําวิจยั อย่างต่อเนื่อง

4.

7.9

ร้ อ ยละของงานวิ จ ัย และ งานสร้ า งสรรค์ ที่ ตี พิ ม พ์ เ ผ ย แ พ ร่ ไ ด้ รั บ ก า ร จ ด ทะเบี ย นทรั พ ย์ สิ นทาง ปั ญ ญ า ห รื อ นํ า ไ ป ใ ช้ ประโยชน์ท้ งั ในระดับชาติ และในระดับนานาชาติต่อ จํานวนอาจารย์ประจํา ระดับความสําเร็ จของการ ถ่ า ย ท อ ด ตั ว ชี้ วั ด แ ล ะ เป้ าหมายของระดับองค์กร สู่ระดับบุคคล

1

5

ส่ งเสริ มให้บุ คลากรได้มีโอกาสทราบ แผนการดําเนินงานของวิทยาลัย

2.

หน่ วย นับ

ระดับ

ปี การศึกษา 2551 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน 83 2

3

เป้ าหมาย ปี การศึกษา 2552 85

แนวทางการปรับปรุ ง

นําผลการดําเนินงานตาม แผนปฏิบตั ิการปี 2552 มาวิเคราะห์ หาสาเหตุการไม่บรรลุตวั ชี้วดั

ผู้รับ ผิดชอบ

งบ ประมาณ

ระยะ เวลา

สอดคล้ องกับยุทธศาสตร์ ของวิทยาลัย ประเด็นที่

สอดคล้ อง กับ พันธกิจ ก า ร เ รี ย น การสอน

รองฯ วางแผนฯ ผอ. สํานักวิจยั รองฯ วางแผนฯ ผอ. สํานักวิจยั รองฯ วางแผนฯ ผอ. สํานักวิจยั

-

ก.ย. 54

การเรี ยนการสอน

-

ตลอดปี

การวิจยั

การวิจยั

-

มิ.ย.53 มิ.ย.54

การวิจยั

การวิจยั

รองฯ วางแผนฯ ผอ. สํานักวิจยั

-

ตลอดปี

การบริ หารจัดการ

ก า ร เ รี ย น การสอน


102

สํ านักประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.