SAR วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ปีการศึกษา 2552

Page 1


วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก

รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report, SAR) ประจําปการศึกษา 2552 (1 มิถุนายน 2552 – 31 พฤษภาคม 2553)

มิถุนายน 2553


คํานํา บทสรุปสํ าหรับผู้บริหาร

สารบัญ

บทที่ 1 ขอมูลเบื้องตนของวิทยาลัย 1.1 ประวัติความเปนมาและสภาพปจจุบัน 1.2 ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงค และแผนงาน 1.3 โครงสรางการบริหารงาน 1.4 รายชื่อผูบริหารชุดปจจุบัน 1.5 คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา 10 1.6 หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปดสอน 1.7 คณาจารย 1.8 นักศึกษา 1.9 งบประมาณ 1.10 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา

ก 2 3 4 6 10 11 11 12 12

บทที่ 2 ผลการประเมินตามตัวบ่ งชี้ของ สกอ. องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ องคประกอบที่ 2 การเรียนการสอน องคประกอบที่ 3 กิจกรรมพัฒนานิสิตนักศึกษา องคประกอบที่ 4 การวิจัย องคประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม องคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ องคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

13 17 36 45 52 62 69 86 90

บทที่ 3 สรุปผลการประเมิน และแนวทางพัฒนา จุดเดน จุดทีค่ วรพัฒนา และแนวทางการพัฒนา

96

ภาคผนวก ตารางที่ ส 1. ตารางสรุปการประเมินตามองคประกอบคุณภาพ เฉพาะตัวบงชี้ของ สกอ. ตารางที่ ส 2. ตารางสรุปการประเมินตามมาตรฐานการอุดมศึกษา เฉพาะตัวบงชี้ของ สกอ. ตารางที่ ส 3. ตารางสรุปการประเมินตามมุมมองดานการบริหารจัดการ เฉพาะตัวบงชี้ของ สกอ.

100 103 106


คํานํา รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ปการศึกษา 2552 นี้ จัดทําขึ้นเพื่อเปนขอมูล สําหรับการประเมินคุณภาพภายในของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก เพื่อเสนอตอสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา และเปดเผยตอสาธารณชน เพื่อนําไปสูการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา รายงานนี้ ประกอบดวย 3 สวน คือ บทที่ 1 ขอมูลเบื้องตนของวิทยาลัย บทที่ 2 ผลการประเมิน ตนเองตามตัวบงชี้คุณภาพ 9 องคประกอบ ตามเกณฑของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และสวนที่ 3 ภาคผนวก รายงานการประเมินตนเอง ฉบับนี้ นอกจากจะแสดงถึงสัมฤทธิผลในการดําเนินงานแลว ยังเปน ขอมูลในการวางแผนการดําเนินงานในปการศึกษาตอไปดวย

วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก กันยายน 2553


บทสรุปสําหรับผูบริหาร การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับสถาบันของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ปการศึกษา 2552 9 องคประกอบ 41 ตัวบงชี้ ผลการประเมินไดระดับดีมากในองคประกอบที่ 2, 3, 5, 6, 8, 9 ระดับดีใน องคประกอบที่ 4, 7 ระดับพอใชในองคประกอบที่ 1 ผลการประเมินในภาพรวมไดระดับดีมาก คะแนน การประเมิน 2.56 จุดเดน 1. ผูบริหารระดับสูงมีวิสัยทัศน มีความมุงมั่นตั้งใจ 2. บุคลากรใหความรวมมือ รวมใจในกิจกรรมของวิทยาลัยดี 3. มีความรวมมือและสัมพันธภาพที่ดีกับชุมชน โดยเฉพาะในเรื่องการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 4. ทําเลที่ตั้งดีเหมาะแกการจัดหลักสูตรพิเศษ หลักสูตรบัณฑิตศึกษา ภูมิทัศนเหมาะแกการเปน สถานศึกษา 5. บุคลากรวัยหนุมสาว มีความกระฉับกระเฉง ทําใหทุมเทกับงานเต็มที่ 6. การใชทรัพยากร (สถานที)่ รวมกันอยางคุมคา 7. ใหความสําคัญกับหองสมุด ขอเสนอแนะ 1. ควรสงเสริมใหมีกิจกรรมบริการวิชาการเพิ่มขึ้น 2. ควรสงเสริมคณาจารยวัยหนุมสาวใหเรียนตอปริญญาในระดับสูงขึ้นเพื่อเปนกําลังสําคัญของ วิทยาลัยในอนาคต 3. ควรใหอาจารยแตละคนจัดทําแผนพัฒนาตนเองในเชิงวิชาการ 4. ควรสงเสริมการประชาสัมพันธใหกวางขวางยิ่งขึ้น 5. จากผลการวิจัยสถาบันพบวา ผูใชบัณฑิตอยากใหวิทยาลัยพัฒนาภาษาอังกฤษใหนักศึกษาเพิ่มขึ้น 6. ควรผลักดันนโยบายและทิศทางใหมๆ ใหจริงจัง เชน TQF แนวปฏิบัติที่ดี มีศูนยสืบสานภูมิปญญาบรรพชนบางนา เพื่อสงเสริมใหเกิดความเขาใจวิถีชีวิตและภูมิปญญา บรรพชน จัดเก็บเปนฐานขอมูลไวเพื่อการสืบคนแกผูที่สนใจทั่วไปและเผยแพรในเว็บไซตของวิทยาลัย


บทที่ 1 ขอมูลเบื้องตนของ วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก


บทที่ 1 ข้ อมูลเบือ้ งต้ นของ วิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก 1.1 ประวัติความเป็ นมา และสภาพปัจจุบัน วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ตั้งอยูเลขที่ 290 ถนนสรรพาวุธ แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพมหานคร 10260โทรศัพท 0-2398-1352, 0-2744-7356-68 โทรสาร 0-2398-1356 เว็บไซต : www.southeast.ac.th อีเมล : info@southeast.ac.th ดวยสํานึกในพระคุณของแผนดิน อันมีคุณานุกูลตอตระกูล นายเพิ่ม – นางละออง รุงเรือง จนกอใหเกิด ความเจริญกาวหนาในชีวิต และการงานสืบเนื่องตอกันมาหลายชั่วชีวิต ในเขตพื้นที่บางนา อันเปนเขต ชานเมืองดานตะวันออกเฉียงใตของกรุงเทพมหานคร ประกอบกับความตระหนักในคุณคาของการศึกษา ที่ดีมีคุณภาพสูงเทานั้น ที่ประชาชนชาวไทยควรไดรับ จึงจะกอใหเกิดการพัฒนาสถาพรอยางยั่งยืนแก แผนดินและมวลมนุษยชาติ วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ถือกําเนิดขึ้นมาดวยปณิธานแนวแนในการสราง คนไทยใหเปนมนุษยที่มีศักยภาพและสมรรถนะระดับสากล วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก (Southeast Bangkok College) ไดรับอนุญาตจัดตั้งเมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2542 และทบวงมหาวิทยาลัย (สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา : สกอ. ในปจจุบัน) ไดอนุญาตให เปดดําเนินการ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตใน 3 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการตลาด และสาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ รวมทั้งใหการรับรองวิทยฐานะสถาบันอุดมศึกษาเอกชน เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2543 ซึ่งมีผลทําใหวิทยาลัยสามารถเปดดําเนินการเรียนการสอนไดในภาคการศึกษาแรก ของปการศึกษา 2543 ตอมาในปการศึกษา 2544 วิทยาลัยไดเปดดําเนินการเรียนการสอนคณะนิติศาสตร และบัณฑิตวิทยาลัย หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา และในปการศึกษา 2545 ไดเปดดําเนิน การเรียนการสอนคณะศิลปศาสตร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ และเปดสอน ระดับบัณฑิตศึกษาเพิ่มอีก 1 หลักสูตร คือ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ตอมาในปการศึกษา 2548 บัณฑิตวิทยาลัยไดเปดการเรียนการสอน เพิ่มอีก 2 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส (Logistics Management) และหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต ( Master of Management) สาขาวิชา การจัดการภาครัฐและภาคเอกชน (Public and Private Management)


ในปการศึกษา 2549 วิทยาลัยไดเปดดําเนินการเรียนการสอนคณะวิทยาศาตรและเทคโนโลยี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และเพิ่มสาขาวิชาใหม อีก 1 สาขาวิชา ในคณะบริหารธุรกิจ คือ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส 1.2 ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ และแผนงาน 1.2.1 ปรัชญา คุณวุฒิ คุณธรรม คุณค่ า หมายความวาบัณฑิตของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก จะตองเปนผูที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค อยู 3 ประการใหญๆ คือ คุณวุฒิ หมายความวา บัณฑิตของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก จะตองถึงพรอมในดานวิทยาการ ตางๆ เปนอยางดี มีความรูแตกฉานในสาขาวิชาที่ไดศึกษา มีสมรรถนะสูงระดับสากล สามารถนํา องคความรูที่ไดศึกษาเลาเรียนไปประกอบอาชีพใหเกิดประโยชนทั้งตอตนเอง สังคม และประเทศชาติ ไดเปนอยางดี คุณธรรม หมายความวา บัณฑิตของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก จะตองมีจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ มีจริยธรรม มุงมั่นในการสรางสรรคความเจริญใหแกองคกร มีน้ําใจ มีความรับผิดชอบ มีความเสียสละ และ มีความจงรักภักดี ตอองคกรที่ปฎิบัติหนาที่อยู คุณค่ า หมายความวา บัณฑิตของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก จะตองเปนทรัพยากรมนุษยที่มีคา ทั้งตอองคกร และตอประเทศชาติ 1.2.2 ปณิธาน วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก มีปณิธานแนวแนในการพัฒนาศักยภาพของมนุษยใหมีสมรรถนะสูง ระดับสากล โดยเฉพาะในศาสตรที่วิทยาลัยเปดดําเนินการหลักสูตร วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอกจะพัฒนา ขีดความสามารถของคณาจารย ทรัพยากรเพื่อการเรียนการสอนการวิจัย และเทคโนโลยีเพื่อ การจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและมาตรฐานสูงแกประชาชน 1.2.3 วิสัยทัศน์ “วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก เปนองคกรการเรียนรูที่มีคุณภาพ เพื่อเสริมสรางศักยภาพสูงสุด ของมนุษย ” ซึ่งหมายความวา วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอกจะไดรับการพัฒนาเปนองคกรที่มีศักยภาพตอ การสรางความรู คูคุณธรรม สรางปญญา และสมรรถนะของมนุษย เปนองคกรที่มีความยืดหยุนสูง เปลี่ยนแปลงตามเทคโนโลยี และวิชาการได


1.2.4 พันธกิจ พันธกิจหลักของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก คือ การผลิตบัณฑิต การวิจัย การใหบริการทาง วิชาการ แกสังคม การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย เพื่อใหเปน สถาบันการศึกษาชั้นนําระดับสากลที่มีคุณคาตอสังคม 1.2.5 วัตถุประสงค์ และแผนงาน วัตถุประสงคหลัก ในการจัดการศึกษาของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก คือ การผลิตบัณฑิตใหมี คุณสมบัติที่พึงประสงค 4 ประการ คือ 1) มีความรู ความชํานาญในศาสตรที่ศึกษา 2) มีความสามารถในการใชภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารไดเปนอยางดี 3) มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศไดอยางมีประสิทธิภาพ 4) มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ ตลอดจนความเปนไทย แผนงาน ในปการศึกษา 2552 นี้ วิทยาลัยไดดําเนินงานตามภารกิจตางๆ ดังที่ปรากฎอยูในแผนยุทธศาสตร วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก พ.ศ. 2548 – 2552 1.3 โครงสร้ างการบริหารงาน


โครงสร้ างการบริหารวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์บางกอก สภาวิทยาลัย สภาวิชาการ อธิการบดี

ทีป่ รึกษา

กรรมการบริหารวิทยาลัย สํานักอธิการบดี

รองอธิการบดี ฝ่ ายบริหาร สํานักการคลัง สํานักบริการ ศู นย์ เทคโนโลยี สารสนเทศ

รองอธิการบดี ฝ่ ายวิชาการ บัณฑิตวิทยาลัย คณะบริหารธุรกิจ คณะนิตศิ าสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สํานักวิชาการ สํานักประกัน คุณภาพการศึกษา สํานักทะเบียน และประมวลผล สํานักวิทยบริการ

รองอธิการบดี ฝ่ ายวางแผนและพัฒนา สํานักวิจยั และวางแผน ฝ่ ายวิเทศสัมพันธ์

รองอธิการบดี ฝ่ ายกิจการนักศึกษา และกิจการพิเศษ สํานักกิจการ นักศึกษาและ กิจการพิเศษ สํานักประชา สัมพันธ์ และ การตลาด ศู นย์ ศิลป วัฒนธรรม


1.4 รายชื่อผู้บริหารชุ ดปัจจุบัน คณะกรรมการสภาวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก 1.4.1. สภาวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก มีอํานาจและหนาที่ในการควบคุมดูแลกิจการทั่วไปของวิทยาลัย โดยเฉพาะอยางยิ่ง การวาง นโยบายเกี่ยวกับการศึกษา การวิจัย การใหบริการทางวิชาการแกสังคม การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม การเงินและทรัพยสิน การออกระเบียบขอบังคับตาง ๆ การแตงตั้ง การถอดถอนผูบริหาร และการอนุมัติ ปริญญา ดังมีรายชื่อตอไปนี้ นายกสภาวิทยาลัย นายชนะ รุ่ งแสง

คุณวุฒิ พาณิชยศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ประสบการณ์ อดีต รองประธานกรรมการอํานวยการ บมจ.ธนาคารกสิกรไทย สมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ อุปนายกสภาวิทยาลัย

ศาสตราจารย์ ดร.วรภัทร โตธนะเกษม คุณวุฒิ Ph.D. (Economics) University of IIIinois, U.S.A. ประสบการณ์ อดีต ผูชวยกรรมการผูจัดการธนาคารกสิกรไทย ศาสตราจารยพิเศษ คณะพาณิชยศาสตร และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร กรรมการผูจัดการบริษัท THAI RATING INFORMATION SERVICES (TRIS) กรรมการสภาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ เกียรติคุณ ดร.ไพบูลย์ ช่ างเรียน คุณวุฒิ Ph.D.(Political Science) Syracuse University ประสบการณ อดีต คณบดีคณะรัฐประศาสนศาสตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร ปจจุบัน นายกสภามหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีเอเชีย


-

รองศาสตราจารย นาวาเอก ยุทธนา ตระหงาน คุณวุฒิ M.S.(Computer Science) Florida Institute of Technology U.S.A. ปริญญาบัตร วิทยาลัยปองกันอาณาจักร รุนที่ 49 ประสบการณ อดีต ประธานคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยศรีปทุม ปจจุบัน รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง รองศาสตราจารย ดร.เอกชัย แสงอินทร คุณวุฒิ Ph.D.(Electrical&Electronic Engineering) Imperial College, University of London ประสบการณ อดีต รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม ปจจุบัน อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม รองศาสตราจารย์ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ คุณวุฒิ Ph.D. (Public Ad.) Northern IIIinois University U.S.A. ประสบการณ์ อดีต ผูชวยอธิการบดี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปัจจุบัน เลขาธิการสํานักงานพัฒนาระบบราชการ

รองศาสตราจารย์ วริ ัช สงวนวงศ์ วาน คุณวุฒิ Master of Commerce พาณิชยศาสตรมหาบัณฑิต (M.Com) University of New South Wales, Australia ประสบการณ์ อดีต รองอธิการบดีฝายพัฒนา มหาวิทยาลัยรามคําแหง ผูอํานวยการบัณฑิตศึกษา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคําแหง นายเชนทร์ วิพฒ ั น์ บวรวงศ์ คุณวุฒิ - พบ.ม. (เกียรตินิยมดี) คณะรัฐประศาสนศาสตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร - ปริญญาบัตร วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุนที่ 42 ประสบการณ์ อดีต - กรรมการผูแทนสมาชิกขาราชการพลเรือน - คณะอนุกรรมการกฎหมายกองทุนบําเหน็จบํานาญ ขาราชการ - ผูตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย


ดร.เซ็น แก้ วยศ

คุณวุฒิ Ph.D. (Ed.Admin) University of Alberta Canada ประสบการณ์ อดีต รองอธิบดีกรมวิชาการ, รองอธิบดีกรมอาชีวศึกษา อาจารยประจํา และผูทรงคุณวุฒิ สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

คุณวุฒิ ปัจจุบัน

ดร.ณัฐรัตน์ ประโยชน์ อุดมกิจ Ph.D. (Educational Administration) IIIinois State University, U.S.A. ประสบการณ์ อดีต อาจารยพิเศษ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ผูรับใบอนุญาต – อาจารยใหญโรงเรียนอรรถวิทย ผูพิพากษาสมทบศาลเยาวชนและครอบครัว

กลางกรุงเทพ ดร.ฉันทวิทย สุชาตานนท คุณวุฒิ Ph.D.(Educational Administration) Michigan State University, Michigan, U.S.A. ประสบการณ อดีต ผูชวยเลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา รองเลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา

คุณวุฒิ ปัจจุบัน

ดร.สมศักดิ์ รุ่ งเรือง Ph.D. (Management) Adamson University, Philippines ประสบการณ์ อดีต ผูรับใบอนุญาต – ผูอํานวยการโรงเรียนอรรถวิทยพณิชยการ อธิการบดีวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก

ดร.ทิวา พงศ์ ธนไพบูลย์ คุณวุฒิ Ph.D. (Management) Adamson University, Philippines ประสบการณ์ อดีต อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเซนตจอหน ผูจัดการโรงเรียนอรรถวิทยพาณิชยการ ปัจจุบัน รองอธิการบดีฝายกิจการนักศึกษาและกิจการพิเศษ วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก


ผศ.ดร.วัลยา ชู ประดิษฐ์ คุณวุฒิ Ph.D. (Development Administration) (International Program) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร ประสบการณ์ อดีต รองคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเซนตจอหน ปัจจุบัน รองอธิการบดีฝายวิชาการ วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก นางสุ ณี ทิพย์เกษร คุณวุฒิ ร.ป.ม.(การบริหารโครงการและนโยบาย) มหาวิทยาลัยอีสเทิรนเอเชีย ประสบการณ์ อดีต ครูใหญโรงเรียนคริสตธรรมศึกษา ปัจจุบัน ผูอํานวยการสํานักอธิการบดี วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก 1.4.2 สภาวิชาการ มีอํานาจหนาที่ในการกําหนดนโยบาย แผนพัฒนาวิชาการของวิทยาลัย กํากับดูแลคุณภาพและ มาตรฐานวิชาการของวิทยาลัย กลั่นกรองและเสนอแนะตอสภาวิทยาลัย ในการอนุมัติหลักสูตรการศึกษา การเปดสอน การรับรองมาตรฐานการศึกษา รวมทั้งการปรับปรุงหลักสูตร การยุบรวมและการยกเลิก หลักสูตรการศึกษา ตลอดจนเสนอแนะแนวทางและมาตรการตอสภาวิทยาลัย ในอันที่จะทําใหการศึกษา การวิจัย การใหบริการทางวิชาการแกสังคม และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมใหกาวหนายิ่งขึ้น ซึ่งประกอบไปดวย 1. อธิการบดี ประธานสภาวิชาการ 2. ศ.ดรอุดม วโรตมสิกขดิตก กรรมการสภาวิชาการผูทรงคุณวุฒิ 3. รศ.ดร.พนารัตน ปานมณี กรรมการสภาวิชาการผูทรงคุณวุฒิ 4. รศ.ดร.เชาว โรจนแสง กรรมการสภาวิชาการผูทรงคุณวุฒิ 5. รศ.จุฑามาศ นิศารัตน กรรมการสภาวิชาการผูทรงคุณวุฒิ 6. รศ.ประทีป บัญญัตินพรัตน กรรมการสภาวิชาการผูทรงคุณวุฒิ 7. รองอธิการบดีฝายกิจการนักศึกษาฯ กรรมการสภาวิชาการ 8. คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย กรรมการสภาวิชาการ 9. คณบดีคณะบริหารธุรกิจ กรรมการสภาวิชาการ 10. คณบดีคณะนิติศาสตร กรรมการสภาวิชาการ 11. คณบดีคณะศิลปศาสตร กรรมการสภาวิชาการ 12. คณบดีคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กรรมการสภาวิชาการ 13. รองอธิการบดีฝายวิชาการ กรรมการสภาวิชาการและเลขานุการ 14. หัวหนาสํานักวิชาการ ผูชวยเลขานุการ สภาวิชาการ


1.5 คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา ปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีคําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาชุดใหม โดยมีหนาที่ กําหนดแนวทางการดําเนินการเกี่ยวกับการประกันคุณภาพ ปรับปรุงคูมือการประกันคุณภาพของวิทยาลัย จัดใหมีการเผยแพรระบบประกันคุณภาพการศึกษา กําหนดมาตรฐานการตรวจสอบ และติดตามประเมินผล และหนาที่อื่น ๆ ตามนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย ซึ่งประกอบไปดวย 1. รองอธิการบดีฝายวิชาการ ประธาน 2. คณบดีคณะบริหารธุรกิจ กรรมการ 3. คณบดีคณะนิติศาสตร กรรมการ 4. คณบดีคณะศิลปศาสตร กรรมการ 5. คณะบดีคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กรรมการ 6. คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย กรรมการ 7. หัวหนาสํานักวิชาการ กรรมการ 8. หัวหนาสํานักประกันคุณภาพการศึกษา กรรมการและเลขานุการ 1.6 หลักสู ตรและสาขาวิชาทีเ่ ปิ ดสอน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยเปดสอนในหลักสูตรและสาขาวิชาตาง ๆ ประกอบดวย 1.6.1 คณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ และสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส 1.6.2 คณะนิติศาสตร์ เปดดําเนินการ 1 หลักสูตร คือ หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต 1.6.3 คณะศิลปศาสตร์ เปดดําเนินการ 1 หลักสูตร คือ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ภาษาอังกฤษธุรกิจ 1.6.4 คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เปดดําเนินการ 1 หลักสูตร คือ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.6.5 บัณฑิตวิทยาลัย เปดดําเนินการ 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชา การบริหารธุรกิจ และสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส และหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน จากหลักสูตรและสาขาวิชาที่เปดสอน สรุปแสดงในตารางที่ 1


ตารางที่ 1 แสดงจํานวนคณะและสาขาทีเ่ ปิ ดสอนในปี การศึกษา 2552 คณะ บัณฑิตวิทยาลัย บริหารธุรกิจ นิติศาสตร ศิลปศาสตร วิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี รวม

หลักสู ตรและสาขาวิชา บธ.บ. น.บ. ศ.ศ.บ.

บธ.ม.

กจ.ม.

2 -

1 -

4 -

1 -

2

1

4

1

วท.บ.

รวม

1 -

1

3 4 1 1 1

1

1

10

(4 ปี )

1.7 คณาจารย์ ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอกมีอาจารยประจํา รวมทั้งสิ้น 72 คน จําแนกเปนอาจารย คุณวุฒิปริญญาเอก 16 คน ปริญญาโท 55 คน และปริญญาตรี 1 คน และมีตําแหนงทางวิชาการเปน รองศาสตราจารย 2 คน ผูชวยศาสตราจารย 2 คน และตําแหนงอาจารย 68 คน 1.8 นักศึกษา ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีนักศึกษา จํานวนรวมทั้งสิ้น 1,814 คน คิดเปนจํานวนนักศึกษาเทียบเทา เต็มเวลา (FTES) เทากับ 1,663 คน ดังนี้ ตารางที่ 2 แสดงจํานวนนักศึกษา ประจําปี การศึกษา 2550 – 2552 จําแนกตามคณะ ปี การศึกษา คณะบริหารธุรกิจ คณะนิติศาสตร คณะศิลปศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี บัณฑิตวิทยาลัย รวมจํานวนนักศึกษา

2550 1,426 94 77 114 115 1,826

2551 1,426 76 56 193 100 1,866

2552 1,397 80 45 207 85 1,814


1.9 งบประมาณ ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีระบบการจัดสรรงบประมาณไวในแผนการดําเนินงานโดย อิงพันธกิจ หลัก 5 ประการ คือ การผลิตบัณฑิต การวิจัย การใหบริการทางวิชาการแกสังคม การทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรมและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย โดยแหลงเงินงบประมาณมาจากรายไดของวิทยาลัย (คาหนวยกิตและคาบํารุงการศึกษาอื่นๆ) ซึ่งสํานักการคลังรับผิดชอบภายใตการกํากับดูแลของ รองอธิการบดีฝายบริหาร ในการจัดสรรงบประมาณ มีขั้นตอนการดําเนินการดังนี้ (1) คณะ / สํานัก / ศูนย กําหนดรายละเอียดของงบประมาณประจําป ในสวนของคาตอบแทน คาใชจายคาวัสดุ – ครุภัณฑ และอื่นๆ นําเสนอสํานักการคลัง (2) สํานักการคลังรวบรวม และนําเสนอคณะกรรมการพิจารณางบประมาณประจําป ซึ่งไดรับการ แตงตั้งจากอธิการบดี (3) คณะกรรมการพิจารณางบประมาณ พิจารณาและเสนออธิการบดีเพื่ออนุมัติ (4) คณะ / สํานัก / ศูนย ดําเนินการและเบิกจายงบประมาณตามที่ไดรับอนุมัติ สําหรับการตรวจสอบการใชงบประมาณ สํานักการคลัง มีหนาที่ตรวจสอบการใชงบประมาณของ คณะ / สํานัก / ศูนย 1.10 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยจัดใหมีระบบประกันคุณภาพ และกลไกการประกันคุณภาพที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งเปนสวน หนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา เพื่อนําไปสูการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาอยางตอเนื่อง พรอมรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกได ระบบประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย จําแนกออกเปน 2 ระบบ ไดแก ระบบประกันคุณภาพ ภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก ตามกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ. กลไกและระบบประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย ประกอบดวย 1) มีคณะกรรมการประกันคุณภาพประจําหนวยงานใน 2 ระดับ ไดแก (1) ระดับวิทยาลัย มี คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก (2) ระดับคณะวิชา ศูนย / สํานัก มีคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา ประจําคณะวิชา ศูนย / สํานัก 2) มีเกณฑ / ดัชนีการประกันคุณภาพและการประเมินคุณภาพ 3) มีกระบวนการในการดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษา 4) ผูบริหารและพนักงานของทุกหนวยงานทั้งหมดของวิทยาลัยมีสวนรวม 5) มีการประเมินตนเองและการจัดทํารายงานการประเมินตนเองเพื่อการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในและรองรับการประเมินจากองคกรภายนอก


บทที่ 2 ผลการประเมินตามตัวบงชี้ของ สกอ.


องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ

ตัวบงชี้ที่ 1.1 มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน ตลอดจนมีกระบวนการพัฒนากลยุทธแผนดําเนินงาน และมีการกําหนดตัวบงชี้เพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนินงานตามแผนใหครบทุกภารกิจ ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน 2. มีกระบวนการพัฒนากลยุทธ แผนการดําเนินงานและแผนปฏิบตั กิ าร ประจําปใหสอดคลองกันและกัน และสอดคลองกับภารกิจหลักของ สถาบัน ยุทธศาสตรและแผนพัฒนาของชาติ 3. มีการกําหนดตัวบงชี้ของการดําเนินงาน และกําหนดเปาหมายของ แตละตัวบงชี้เพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนินงาน 4. มีการดําเนินการตามแผนครบทุกภารกิจ 5. มีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ อยางนอยปละ 2 ครั้ง และรายงานผลตอผูบริหารและสภาสถาบัน 6. มีการวิเคราะหความสอดคลองระหวางกลยุทธ แผนการดําเนินงาน เปาประสงค เปาหมายกับยุทธศาสตรและแผนพัฒนาของชาติ ตลอดจนสภาพการณปจจุบันและแนวโนมในอนาคตอยางสม่ําเสมอ 7. มีการนําผลการประเมินและผลการวิเคราะหมาปรับปรุงกลยุทธและ แผนการดําเนินงานอยางตอเนือ่ ง

 

-

-

 -

-

-

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 5-6 ขอแรก : :

เอกสาร หมายเลข 1-1.1-1 1-1.1-2/1 1-1.1-2/2 1-1.1-2 1-1.1-3 1-1.1-4

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ ระดับ 7 ระดับ 4


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลงานผานระดับ 4 ตามเกณฑมาตรฐาน สกอ. คือ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีการกําหนด ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงคของวิทยาลัย และมีการเผยแพรใหคณาจารย เจาหนาที่ และนักศึกษา ทุกคนไดรับทราบ เพื่อเปนแนวทางในการดําเนินงานรวมกัน ระดับ 2 คณะกรรมการจัดทําแผนพัฒนาการศึกษาของวิทยาลัย ไดวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และภัยคุกคาม แลวนํามาพัฒนา กําหนดเปนแผนพัฒนาการศึกษาของวิทยาลัย พ.ศ 2551 – 2555 และแผนการดําเนินงาน ใหสอดคลองกัน โดยครอบคลุมภารกิจหลัก ดานการเรียนการสอน การวิจัย การบริการทางวิชาการ และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ระดับ 3 มีการกําหนดตัวบงชี้ของการดําเนินงาน โดยผนวกใชตัวบงชี้ของ สกอ. สมศ. และตัวบงชี้ ที่พัฒนาขึ้นเปนเครื่องชี้ผลงาน เพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนินงานตามแผนทุกภารกิจ ระดับ 4 มีการดําเนินการตามแผนการดําเนินงานประจําป ตามที่กําหนดไวของทุกหนวยงาน การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย ไมบรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 1-1.1-1 วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก คูมือการศึกษาและหลักสูตร ปการศึกษา 2552 ระดับ 2 1-1.1-2/1 วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก แผนยุทธศาสตร พ.ศ. 2548 - 2552 1-1.1-2/2 ยุทธศาสตร เปาประสงค กลยุทธ ตัวชี้วัด เปาหมาย แผนพัฒนาการศึกษาวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก พ.ศ.2551 – 2555 ระดับ 3 1-1.1-2 ยุทธศาสตร เปาประสงค กลยุทธ ตัวชี้วัด เปาหมายฯ แนวปฎิบัติและแผนการดําเนินงาน ประจําปการศึกษา 2552 ของ 1-1.1-3 ทุกหนวยงาน ระดับ 4 1-1.1-4 รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ประจําปการศึกษา 2552 ของ ทุกหนวยงาน


ตัวบงชี้ที่ 1.2 รอยละของการบรรลุเปาหมายตามตัวบงชี้ของการปฏิบัติงานที่กําหนด ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 บรรลุเปาหมายรอยละ 60-74 บรรลุเปาหมายรอยละ 75-89 บรรลุเปาหมายรอยละ 90-100 : :

คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

รอยละ 85 รอยละ 88

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยไดกําหนดตัวบงชี้ ตามแผนดําเนินการประจําป จํานวน 263 ตัวบงชี้ โดยสามารถดําเนินการใหบรรลุเปาหมายได 232 ตัวบงชี้ คิดเปนรอยละ 88 การบรรลุเปาหมาย บรรลุเปาหมาย เพราะวิทยาลัยไดกําหนดเปาหมายไวที่ รอยละ 88 การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด รอยละ 88 1-1.2-1 รายงานผลการดําเนินงานตามยุทธศาสตร เปาประสงค กลยุทธ ตัวชี้วัด และเปาหมายของแผนพัฒนาการศึกษา วิทยาลัยเซาธอีสท บางกอก ปการศึกษา 2552


องคประกอบที่ 2 การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ที่ 2.1 มีระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. มีระบบและกลไกการเปดและปดหลักสูตร 2. มีการกําหนดเปาหมายการผลิตบัณฑิตทุกหลักสูตรในแผนการผลิต บัณฑิต 3. มีการเตรียมความพรอมกอนการเปดหลักสูตรใหมและการปรับปรุง หลักสูตรใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรทุกเรื่อง 4. มีการวิเคราะหขอมูลการดําเนินการทุกหลักสูตรประจําปการศึกษา เชน รอยละของหลักสูตรที่ไมเปนไปตามเกณฑมาตรฐานรอยละของ บทความจากวิทยานิพนธที่ตีพิมพเผยแพรรอยละของบัณฑิตที่ทํางาน ตรงสาขา 5. มีการนําผลการวิเคราะหขอมูลการดําเนินการหลักสูตรประจําป การศึกษาไปปรับปรุงหลักสูตร และหรือปรับปรุงระบบและกลไก การบริหารหลักสูตร 6. หลักสูตรที่เปดสอนทุกหลักสูตรไดมาตรฐานตามเกณฑมาตรฐาน หลักสูตรทุกเรื่อง และมีการประกันคุณภาพหลักสูตรครบทุกประเด็น ตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร 7. หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เนนการวิจัย (ปริญญาโทเฉพาะแผน (ก) และปริญญาเอก) ที่เปดสอนมีจํานวนมากกวารอยละ 50 ของ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด

 

-

เอกสาร หมายเลข 2-2.1-1 2-2.1-2

-

2-2.1-3

-

2-2.1-4

-

2-2.1-5

-

2-2.1-6

-

-

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 5 ขอแรก

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบ 6 ขอแรก : :

ระดับ 6 ระดับ 6


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลงานผานระดับ 6 ตามมาตรฐาน สกอ. คือ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีการกําหนดแนวปฎิบตั แิ ละขัน้ ตอนการเปดและปดหลักสูตรของวิทยาลัย ใหสอดคลอง กับแนวปฏิบัติในการนําเสนอหลักสูตรระดับอุดมศึกษาตอสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา และ แนวปฏิบัติการแจงปดหลักสูตรสาขาวิชาตามที่สํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษากําหนด ระดับ 2 มีการกําหนดเปาหมายการรับนักศึกษา และแผนการผลิตบัณฑิตในทุกหลักสูตร ระดับ 3 มีการเตรียมความพรอมกอนเปดหลักสูตรใหม โดยการศึกษาความเปนไปไดของโครงการ เปดดําเนินการหลักสูตร การทําแผนธุรกิจโครงการ และจัดทําหลักสูตรตามเกณฑมาตรฐาน ทุกหลักสูตร ระดับ 4 มีการวิเคราะหขอมูลการดําเนินงานหลักสูตรทุกปการศึกษา ไดแก รอยละของหลักสูตรที่ได มาตรฐาน รอยละของบทความวิทยานิพนธที่ตีพิมพเผยแพร รอยละของบัณฑิตที่ทํางานตรงสาขา เปนตน ระดับ 5 มีการนําผลการวิเคราะหขอมูลการดําเนินการหลักสูตร มาวิเคราะหเพื่อปรับปรุงและแกไขระบบ และกลไกการบริหารหลักสูตร ระดับ 6 หลักสูตรทุกหลักสูตรของวิทยาลัยไดรับความเห็นชอบจากสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา (สกอ.) ดังนี้ 1. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (การบัญชี) รับรองหลักสูตร 23 ก.ค. 2551 2. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (การตลาด) รับรองหลักสูตร 23 ก.ค. 2551 3. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (คอมพิวเตอรธุรกิจ) รับรองหลักสูตร 23 ก.ค. 2551 4. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการโลจิสติกส) รับรองหลักสูตร 10 ส.ค. 2549 5. หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต รับรองหลักสูตร 23 ก.ค. 2551 6. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษธุรกิจ) รับรองหลักสูตร 23 ก.ค. 2551 7. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศ) รับรองหลักสูตร 18 ก.ค. 2549 8. หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต รับรองหลักสูตร 23 ก.ค. 2551 9. หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การจัดการโลจิสติกส) รับรองหลักสูตร 23 ก.ค. 2551 10. หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต (การจัดการภาครัฐและเอกชน) รับรองหลักสูตร 23 ก.ค. 2551 การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย


รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 2-2.1-1 แนวปฎิบตั แิ ละขัน้ ตอนการเปดและปดหลักสูตรของวิทยาลัย ระดับ 2 2-2.1-2 เปาหมายการรับนักศึกษาและแผนการผลิตบัณฑิตแตละหลักสูตร ระดับ 3 2-2.1-3 (ตัวอยาง) การศึกษาความเปนไปไดโครงการเปดดําเนินการ หลักสูตร/แผนธุรกิจโครงการฯ ระดับ 4 2-2.1-4 รายงานการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2551 ระดับ 5 1-1.1-5/1 รายงานการประชุมคณะผูบริหารวิทยาลัย ปการศึกษา 2552 ระดับ 6 2-2.1-6 หลักสูตรที่ไดรับการรับรองจากสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา (ทุกหลักสูตร) ตัวบงชี้ที่ 2.2 มีกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. มีกลไกการใหความรูความเขาใจกับอาจารยผูสอนถึงวัตถุประสงค และเปาหมายของการจัดการศึกษาทุกหลักสูตร 2. มีการออกแบบการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมการเรียนรูที่เนน ผูเรียนเปนสําคัญทุกหลักสูตร 3. มีการใชสื่อเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมในการสอนเพื่อสงเสริม การเรียนทุกหลักสูตร 4. มีการจัดการเรียนการสอนที่มีความยืดหยุนและหลากหลายที่จะ สนองตอบตอความตองการของผูเรียน 5. มีการประเมินผลการเรียนการสอนที่สอดคลองกับสภาพการเรียนรูที่ จัดใหผูเรียน และอิงพัฒนาการของผูเรียนทุกหลักสูตร 6. มีการประเมินผลความพึงพอใจของผูเรียนในเรื่องคุณภาพการสอน และสิ่งสนับสนุนการเรียนรูทุกหลักสูตร 7. มีระบบการปรับปรุงวิธีการเรียนการสอน และพัฒนาผูเรียนอยาง ตอเนื่องทุกหลักสูตร

-

เอกสาร หมายเลข 2-2.2-1

-

2-2.2-2

-

2-2.2-3

-

2-2.2-4

-

2-2.1-5

-

2-2.1-6

-

2-2.2-7


เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรก มีการดําเนินการ 5-6 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :

ระดับ 6 ระดับ 7

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลงานผานระดับ 7 ตามมาตรฐาน สกอ. คือ เกณฑ ระดับ 1 ระดับ 2

ระดับ 3

ระดับ 4

ระดับ 5

ระดับ 6

ระดับ 7

การดําเนินงานในแตละระดับ มีกลไกการใหความรูความเขาใจกับอาจารยผูสอน ถึงวัตถุประสงคและเปาหมายของการ จัดการศึกษาทุกหลักสูตร วิทยาลัยกําหนดใหผูสอนจัดทําแผนการสอนและโครงการสอนทุกวิชา โดยมีการระบุ วัตถุประสงคของการสอน วิธีการสอน กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการสอน ตลอดจน การวัดผล โดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ วิทยาลัยสงเสริมใหมีการใชสื่อเทคโนโลยี ในการสงเสริมการเรียนรู โดยจัดใหมีการนํา โครงการสอน แผนการสอน เอกสารประกอบการสอน และสื่อตาง ๆ ไวบน website ของ อาจารย รวมทั้งจัดใหมี e-mail, web board ในการสื่อสารแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางอาจารย และนักศึกษา วิทยาลัยสงเสริมใหอาจารยจัดการเรียนการสอนที่หลากหลายตอบสนองตอความตองการ ของผูเรียน สงเสริมใหนักศึกษาไดเรียนรูดวยตัวเอง ใหมีการมอบหมาย ใหทํารายงาน โครงงาน ตามความสนใจของผูเรียน วิทยาลัยกําหนดใหผูสอนตองกําหนดระบบการวัดและประเมินผล ตามหลักเกณฑของ คณะกรรมการกํากับมาตรฐานวิชาการทุกหลักสูตร ไวในโครงการสอน โดยตองแจงให ผูเรียนทราบกอนสอน และประเมินผลตามกิจกรรม โดยอิงพัฒนาการของผูเรียน วิทยาลัยจัดใหมีการประเมินการสอนของอาจารย โดยนักศึกษาทุกภาคการศึกษา โดยมี การประเมินผลความพึงพอใจของนักศึกษาตอคุณภาพการสอนของอาจารย และ สิ่งสนับสนุนการเรียนรู การประเมินคุณภาพการสอนนี้ เปนการประเมิน online อาจารย ผูสอนสามารถตรวจสอบขอมูลผลการประเมินของตนเองไดจากระบบบริหารการศึกษา วิทยาลัยมีการปรับปรุงวิธีการเรียนการสอนโดยใชสื่อ E-Learning และสงเสริมใหผูเรียน ศึกษาคนควาเพิ่มเติม


การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 2-2.2-1 รายงานสรุปการประชุมเตรียมความพรอม เปดภาคการศึกษา ที่ 1 / 2552 และ 2 / 2552 ระดับ 2 2-2.2-2 โครงการสอนของทุกรายวิชา ปการศึกษา 2552 ระดับ 3 2-2.2-3 ตัวอยาง Website ของอาจารย/e-book รายวิชา/ web-board ของคณะ ระดับ 4 2-2.2-2 โครงการสอนรายวิชา / จํานวนชั่วโมงที่เปดใหบริการแกนักศึกษา 2-2.2-4 ในการใชหองสมุด และหองคอมพิวเตอร ระดับ 5 2-2.2-2 โครงการสอนรายวิชา ปการศึกษา 2552 ระดับ 6 2-2.2-6 รายงานผลการประเมินการสอนของอาจารย ปการศึกษา 2552 ระดับ 7 2-2.2-7 ตัวอยาง E-Learning หลักการสืบคนขอมูลสารสนเทศในหัวขอ การใชหองสมุดรายวิชาทักษะในการศึกษา ตัวบงชี้ที่ 2.3 มีโครงการหรือกิจกรรมที่สนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนซึ่งบุคคล องคกร และชุมชนภายนอกมีสวนรวม ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เอกสาร เกณฑมาตรฐาน มี ไมมี หมายเลข  1. มีระบบและกลไกที่กําหนดใหผูทรงคุณวุฒิ หรือผูรูในชุมชนมาชวย 2-2.3-1 ในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรทุกหลักสูตร  2. มีการจัดการเรียนการสอนที่สงเสริมใหผูเรียนมีความรูและทักษะ 2-2.3-2 ที่นําไปใชในการปฏิบัติไดจริง โดยมีผูทรงคุณวุฒิ หรือผูรูในชุมชน มีสวนรวมทุกหลักสูตร  3. มีการจัดโครงการ กิจกรรมทางการศึกษาทั้งที่กําหนดและไมกําหนด 2-2.3-3 ในหลักสูตรโดยความรวมมือกับองคการหรือหนวยงานภายนอก  4. มีการติดตาม ตรวจสอบและประเมินกิจกรรมการเรียนการสอน 2-2.3-4 ที่ไดรับการสนับสนุนจากผูทรงคุณวุฒิหรือชุมชนภายนอกสถาบัน ทุกหลักสูตร


เกณฑมาตรฐาน 5. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการมีสวนรวมของบุคคล

มี

ไมมี

-

เอกสาร หมายเลข 2-2.3-5

องคการ และชุมชนภายนอกในการพัฒนาหลักสูตรและการเรียน การสอนทุกหลักสูตร เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 4 ขอแรก

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 4 ขอแรก

คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :

ระดับ 5 ระดับ 5

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลงานผานระดับ 5 ตามมาตรฐาน สกอ. คือ เกณฑ ระดับ 1 ระดับ 2

ระดับ 3

ระดับ 4

ระดับ 5

การดําเนินงานในแตละระดับ วิทยาลัยมีระบบและกลไกในการเชิญผูทรงคุณวุฒิเขามารวมในการพัฒนาและปรับปรุง หลักสูตรทุกหลักสูตร วิทยาลัยมีการจัดการเรียนการสอน หรือจัดโครงการกิจกรรมตาง ๆ โดยใหผูทรงคุณวุฒิ ภายนอกที่มีความรู มีประสบการณ มาเปนอาจารยพิเศษประจําหลักสูตรหรือวิทยากร บรรยายพิเศษ มีการจัดโครงการและกิจกรรมทางการศึกษาทั้งที่กําหนด และไมกําหนดในหลักสูตร โดย ความรวมมือกับสถานประกอบการในการศึกษาดูงานและฝกงาน รวมทั้งโครงการสหกิจ ศึกษา มีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินกิจกรรมการเรียนรูของนักศึกษาที่ไดปฎิบัติงานหรือ เรียนรูจากภายนอก เชน โครงการฝกงานภายนอก โครงการสหกิจศึกษา มีการจัดการนิเทศ โดยอาจารย เพื่อติดตามการเรียนรูของนักศึกษา มีการนําผลการประเมินจากผูทรงคุณวุฒิ มาใชในการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรในทุกรอบ ระยะเวลา 5 ป เพื่อพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนใหสอดคลองและทันตอการ เปลีย่ นแปลง

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย


รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 2-2.3-1 คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร ระดับ 2 2-2.3-2 คําสั่งแตงตั้งอาจารยพิเศษ ปการศึกษา 2552 สรุปรายชื่อวิทยากร ภายนอก ที่มาบรรยายพิเศษ ปการศึกษา 2552 ระดับ 3 2-2.3-3 สรุปโครงการศึกษาดูงานภายนอกวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2552/โครงการสหกิจศึกษา ระดับ 4 2-2.3-4 รายงานการประเมินการเรียนรูในโครงการฝกงานภายนอก/ โครงการสหกิจศึกษา ระดับ 5 2-2.3-5 รายงานการประชุมสภาวิชาการ ครั้งที่ 1/2552 ตัวบงชี้ที่ 2.4 จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวนอาจารยประจํา ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 6-9.99% และ -6 – (-9.99)% ≥ +10% หรือ ≤ -10% ของเกณฑมาตรฐาน ของเกณฑมาตรฐาน : :

คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552 ผลการดําเนินงาน คณะ บริหารธุรกิจ นิติศาสตร ศิลปศาสตร วิทยาศาสตรฯ บัณฑิตวิทยาลัย สถาบัน

จํานวน อาจารย 42 5 5 5 15 72

FTES 882 54 31 156 76 1,199

คะแนน 3 (-5.99) – 5.99% ของเกณฑมาตรฐาน 6.9.99% ของเกณฑ 33.41% ของเกณฑ

FTES / นักศึกษาตออาจารย หางจาก รอยละ อาจารย ตามเกณฑปกติ เกณฑ 21 : 1 25 : 1 -4 -16 11 : 1 25 : 1 -14 -56 6:1 25 : 1 -19 -76 31 : 1 20 : 1 11 55 5:1 10 : 1 -5 50 16 : 1 25 : 1 -9 36

ในปการศึกษา 2552 จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวนอาจารยประจําเทากับ รอยละ 33.41 ของเกณฑ ซึ่งวิทยาลัยตองเรงเพิ่มจํานวนนักศึกษาในคณะที่มีจํานวนนักศึกษานอยใหมากขึ้น เพื่อให เกิดประสิทธิภาพในการดําเนินงาน


การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 1 รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน 33.41% ของเกณฑ มาตรฐาน

เอกสารหมายเลข 2-2.4-1 2-2.4-2

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย ไมบรรลุเปาหมาย ชื่อเอกสาร / รายละเอียด จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา ปการศึกษา 2552 ขอมูลจํานวนบุคลากรปจจุบัน วิทยาลัยเซาธอีสท บางกอก ปการศึกษา 2552

ตัวบงชี้ที่ 2.5 สัดสวนของอาจารยประจําที่มีวุฒิปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก หรือเทียบเทา ตออาจารยประจํา ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 วุฒิปริญญาเอกอยูระหวาง 1. วุฒิปริญญาเอกอยูระหวาง 1. วุฒิปริญญาเอกมากกวาหรือ เทากับรอยละ 30 และ รอยละ 20-29 และ รอยละ 1-19 หรือ วุฒปิ ริญญาเอก 2. วุฒิปริญญาตรีเทากับหรือ 2. วุฒิปริญญาตรีเทากับหรือ อยูระหวางรอยละ 20-29 แต นอยกวารอยละ 5 นอยกวารอยละ 5 วุฒิปริญญาตรีมากกวารอยละ 5 หรือ 1. วุฒิปริญญาเอกมากกวาหรือ เทากับรอยละ 30 และ 2. วุฒิปริญญาตรีมากกวารอยละ 5 คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

: :

รอยละ 20 – 29 รอยละ 22.22

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีคณาจารยคุณวุฒิปริญญาเอกจํานวน 16 คน ปริญญาโท 55 คน และ ปริญญาตรี 1 คน โดยมีอาจารยประจํารวม 72 คน คิดเปนสัดสวนอาจารยคุณวุฒิปริญญาเอก รอยละ 22.22 และคุณวุฒิปริญญาตรี รอยละ 1.39


การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข รอยละ 22 2-2.5-1

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย ชื่อเอกสาร / รายละเอียด ขอมูลจํานวนบุคลากรปจจุบันวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ปการศึกษา 2552 (ปริญญาเอก)

ตัวบงชี้ที่ 2.6 สัดสวนของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงอาจารย ผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารย ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 ผูดํารงตําแหนงระดับ ผศ. รศ. 1. ผูดํารงตําแหนงระดับ ผศ. รศ. 1. ผูดํารงตําแหนงระดับ ผศ. รศ. และศ. รวมกันอยูระหวาง และศ. รวมกันอยูระหวาง และศ. รวมกันมากกวาหรือ รอยละ 1-39 เทากับ รอยละ 60 รอยละ 40-59 และ 2. ผูดํารงตําแหนงระดับ รศ. 2. ผูดํารงตําแหนงระดับ รศ. หรือ ผูดํารงตําแหนงระดับ ผศ. ขึ้นไปเทากับหรือมากกวา ขึ้นไปเทากับหรือมากกวา รศ. และศ. รวมกันอยูระหวาง รอยละ 10 รอยละ 10 รอยละ 40-59 แตผูดํารงตําแหนง หรือ ระดับ รศ. ขึ้นไปนอยกวา 1. ผูดํารงตําแหนงระดับ ผศ. รศ. รอยละ 10 และศ. รวมกันมากกวาหรือ เทากับรอยละ 60 และ 2. ผูดํารงตําแหนงระดับ รศ. ขึ้นไปนอยกวาละ 10 คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

: :

รอยละ 10 รอยละ 5.55

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีคณาจารยดํารงตําแหนงทางวิชาการเปนรองศาสตราจารย จํานวน 2 คน และผูชวยศาสตราจารย จํานวน 2 คน รวมเปนผูมีตําแหนงทางวิชาการจํานวน 4 คน จากจํานวนอาจารย ประจําทั้งหมด 72 คน คิดเปนรอยละ 5.55


การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 1 คะแนน รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข รอยละ 6 2-2.6-1

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย ไมบรรลุเปาหมาย ชื่อเอกสาร / รายละเอียด ขอมูลจํานวนบุคลากรปจจุบันวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ปการศึกษา 2552 (ตําแหนงวิชาการ)

ตัวบงชี้ที่ 2.7 มีกระบวนการสงเสริมการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพของคณาจารย ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. สถาบันมีการกําหนดจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารยไวเปน ลายลักษณอักษร 2. มีกระบวนการสงเสริมใหผูเกี่ยวของไดปฏิบัติตามจรรยาบรรณ วิชาชีพ 3. มีการกํากับดูแลการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 4. มีระบบในการดําเนินการกับผูที่ไมปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 5. มีการดําเนินการวางแผน ปองกัน หรือหาแนวทางแกไขการกระทํา ผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ

-

เอกสาร หมายเลข 2-2.7-1

-

2-2.7-2

  

-

2-2.7-3 2-2.7-4 2-2.7-5

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3 ขอแรก : :

คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรก ระดับ 5 ระดับ 5


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลงานผานระดับ 5 ตามมาตรฐาน สกอ. คือ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีการกําหนดจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารยวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอกไวเปนลายลักษณ อักษร ระดับ 2 มีกระบวนการสงเสริมใหคณาจารยและเจาหนาที่ ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ ระดับ 3 มีการกํากับดูแลการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยการจัดทําคูมือการปฏิบัติงานและ จรรยาบรรณคณาจารย เผยแพรใหคณาจารยไดรับทราบ และเนนย้ําความสําคัญอยูเสมอใน การประชุมกอนเปดภาคการศึกษาทุกป ระดับ 4 มีระบบในการดําเนินการกับผูที่ไมปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ และมีการประเมินผล การปฏิบัติงานที่ครอบคลุมประเด็นเรื่องจรรยาบรรณ ระดับ 5 มีการดําเนินการวางแผน ปองกัน หรือหาแนวทางแกไขการกระทําผิดจรรยาบรรณ เชน ใหมีคณะกรรมการกํากับมาตรฐานวิชาการ ทําหนาที่พิจารณาการตัดเกรดเพื่อปองกัน การใชเกรดเปนเครื่องมือในการชักจูงนักศึกษา หรือมีคณะกรรมการประเมินผล การปฏิบัติงานในแตละภาคการศึกษา เพื่อใหคณาจารยตระหนักถึงผลลัพธในการทํางาน การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ระดับ 1 2-2.7-1 ระดับ 2

2-2.2-1

ระดับ 3

2-2.7-1

ระดับ 4

2-2.7-4

ระดับ 5

2-2.7-5

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย ชื่อเอกสาร / รายละเอียด คูมือปฏิบัติงานบุคลากร สําหรับอาจารยวิทยาลัย เซาธอีสทบางกอก รายงานสรุปการประชุมเตรียมความพรอมเปดภาค การศึกษาที่ 1/2552 และ 2/2552 คูมือปฏิบัติงานบุคคลากร สําหรับอาจารยวิทยาลัย เซาธอีสทบางกอก ขอบังคับวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก วาดวยการ บริหารงานบุคคล ในวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก พ.ศ. 2550 คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติงาน ประจําปการศึกษา 2552


ตัวบงชี้ที่ 2.8 มีระบบและกลไกสนับสนุนใหอาจารยประจําทําการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ขอ เอกสาร เกณฑมาตรฐาน มี ไมมี หมายเลข  1. มีการกําหนดแนวทางการพัฒนาอาจารยดานความรูความเขาใจ 2-2.8-1 เกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมการเรียนการสอน  2. มีกลไกการบริหารวิชาการที่จะกระตุนใหอาจารยคิดคนพัฒนา 2-2.8-2 นวัตกรรมใหม ๆ ในดานการเรียนการสอน  3. มีแหลงทุนสนับสนุนการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและ 2-2.8-3 นวัตกรรมทางการศึกษา  4. มีผลงานวิจยั ดานการเรียนการสอนและมีการจัดเวทีแลกเปลีย่ นและ 2-2.8-4 เผยแพรผลงานวิจัยดานการเรียนการสอนและนวัตกรรมทาง การศึกษาอยางสม่ําเสมอ  5. มีการสรางเครือขายวิจัยดานนวัตกรรมการเรียนการสอนทั้งภายใน 2-2.8-5 และภายนอกสถาบัน เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอ คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3-4 ขอ

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :

4 ขอ 5 ขอ

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลงานผาน 5 ขอตามมาตรฐาน สกอ. คือ เกณฑ ขอ 1

ขอ 2

การดําเนินงานในแตละขอ มีการกําหนดแนวทางการพัฒนาอาจารย ดานความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับการวิจัยและ พัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน เชน โครงการสรางและสงเสริมนักวิจัย โครงการ ฝกอบรมการวิจัย โครงการคลีนิกวิจัย โครงการเผยแพรงานวิจัย มีกลไกการบริการวิชาการที่จะกระตุนใหอาจารยคิดคนพัฒนานวัตกรรมใหมๆ ในดาน การเรียนการสอน เชน นโยบายสงเสริมการพัฒนานวัตกรรม เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน


เกณฑ ขอ 3

ขอ 4

ขอ 5

การดําเนินงานในแตละขอ มีแหลงทุนสนับสนุนการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน และนวัตกรรมทางการศึกษา ไดแก โครงการทุนอุดหนุนการวิจัยภายในวิทยาลัย โครงการจัดหาทุนอุดหนุน การวิจัย จากภายนอกวิทยาลัย มีผลงานวิจัยดานการเรียนการสอน และมีการจัดเวทีแลกเปลี่ยน และเผยแพรผลงานวิจัย ดานการเรียนการสอน และนวัตกรรมทางการศึกษา โดยการประสานกับสํานักวิทยบริการ ในการนําเสนอผานฐานขอมูลของวิทยาลัย และเผยแพรในวารสารวิชาการวิทยาลัย เซาธอีสทบางกอก รวมทั้งบรรจุไวในฐานขอมูลของ Thailis Digital Collection มีการสรางเครือขายวิจัยดานนวัตกรรมการเรียนการสอนทั้งภายในและภายนอกสถาบัน เชน โครงการวิจัยรวมกับวิทยาลัยเซนตหลุยส โครงการเครือขายวิจัยภาคกลางตอนบน โครงการตนกลานักวิจัย

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ขอ 1 2-2.8-1 ขอ 2

2-2.2-1

ขอ 3

2-2.8-1

ขอ 4

2-2.8-4

ขอ 5

2-2.8-5

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย ชื่อเอกสาร / รายละเอียด แนวปฏิบตั แิ ละแผนการดําเนินงานของสํานักวิจยั และ วางแผน ประจําปการศึกษา 2552 เอกสารประกอบการประชุมเตรียมความพรอมกอนเปด ภาคการศึกษา 1/2552 แนวปฏิบตั แิ ละแผนการดํานินงานของสํานักวิจยั และ วางแผน ประจําปการศึกษา 2552 รายงานการประเมินตนเอง (SAR) สํานักวิจัยและ วางแผน ประจําปการศึกษา 2552 โครงการวิจัยรวมกับวิทยาลัยเซนตหลุยส โครงการ เครือขายวิจัยภาคกลางตอนบน โครงการตนกลาวิจัย


ตัวบงชี้ที่ 2.9 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงานทําและการประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 รอยละ 1- รอยละ 59 รอยละ 60- รอยละ 79 มากกวาหรือเทากับรอยละ 80 : :

คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552 ผลการดําเนินงาน คณะ

ผูสําเร็จ การศึกษา

ผูกรอก แบบสอบ ถาม

บริหารธุรกิจ นิติศาสตร ศิลปศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สถาบัน

377 10 19 42 448

315 10 19 37 381

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

ผูมีงานทํา ประจําอยูแลว กอนสําเร็จ การศึกษา 173 5 27 205

รอยละ 80 รอยละ 90.70

ศึกษาตอ

มีงานทํา/ประกอบ อาชีพอิสระหลัง สําเร็จการศึกษา

รอยละ

41 1 5 47

101 4 19 5 117

90.09 100 100 100 90.70

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด รอยละ 90.70 2-2.9-1 รายงานการสํารวจภาวะการมีงานทําของบัณฑิตและมหาบัณฑิตที่ สําเร็จการศึกษา ปการศึกษา 2550 – 2551


ตัวบงชี้ที่ 2.10 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดรับเงินเดือนเริ่มตนเปนไปตามเกณฑ ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 รอยละ 1- รอยละ 74 ไดรับ รอยละ 75- รอยละ 99 ไดรับ รอยละ 100 ไดรับเงินเดือนเทากับ เงินเดือนเทากับหรือสูงกวา เงินเดือนเทากับหรือสูงกวา หรือสูงกวาเกณฑ ก.พ. เกณฑ ก.พ. เกณฑ ก.พ. คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552 ผลการดําเนินงาน

คณะ บริหารธุรกิจ นิติศาสตร ศิลปศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวม

บัณฑิตที่มีงานทําและใหขอมูล 270 9 17 37 333

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

: :

รอยละ 95 รอยละ (100)

บัณฑิตที่ไดเงินเดือนตามเกณฑ 270 9 17 37 333

รอยละ 100 100 100 100 100

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด รอยละ 100 2-2.9-1 รายงานการสํารวจภาวะการมีงานทําของบัณฑิต ประจําป 2552 ตัวบงชี้ที่ 2.11 ระดับความพึงพอใจของนายจาง ผูประกอบการ และผูใชบัณฑิต ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 ระดับความพึงพอใจมีคะแนน ระดับความพึงพอใจมีคะแนน ระดับความพึงพอใจมีคะแนนเฉลี่ย เฉลี่ยอยูระหวาง 1- 2.49 เฉลี่ยอยูระหวาง 2.50- 3.49 มากกวาหรือเทากับ 3.50


คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

≥ 3.50 4.15

: :

ผลการดําเนินงาน ระดับความพึงพอใจของนายจาง ผูประกอบการ และผูใชบัณฑิตที่มีตอบัณฑิต ปการศึกษา 2551 คณะ บริหารธุรกิจ นิติศาสตร ศิลปศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวม

จํานวนบัณฑิต 286 9 17 22 334

*หมายถึง จํานวนบัณฑิตที่นายจางตอบแบบสํารวจกลับคืนมา การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

คาเฉลี่ย 4.01 4.30 3.50 4.02 4.15

ระดับความพึงพอใจ มาก มาก มาก มาก มาก

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด 4.15 2-2.11-1 สรุปรายงานความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต ประจําปการศึกษา 2551 ตัวบงชี้ที่ 2.12 รอยละของนักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาที่สําเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปที่ผานมาที่ไดรับ การประกาศเกียรติคุณยกยองในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม กีฬา สุขภาพ ศิลปะและวัฒนธรรม และดานสิ่งแวดลอมในระดับชาติหรือนานาชาติ ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 รอยละ 0.003- รอยละ 0.015 รอยละ 0.016- รอยละ 0.029 1. มากกวาหรือเทากับรอยละ 0.030 และ 2. อยางนอยรอยละ 50 ของนักศึกษา และศิษยเกาไดรางวัล ในขอ 1 เปนรางวัลดานศิลปะและ วัฒนธรรม


คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

: :

รอยละ 0.02 รอยละ 0.15

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยสํารวจพบวามีนักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาที่สําเร็จการศึกษา ในรอบ 5 ป ที่ไดรับการประกาศเกียรติคุณยกยองในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม กีฬา สุขภาพ ศิลปะและวัฒนธรรม และดานสิง่ แวดลอม ในระดับชาติจาํ นวน 6 คน โดยมีนักศึกษาปจจุบัน จํานวน 1,814 คน และศิษยเกาที่สําเร็จการศึกษาไปแลวในรอบ 5 ป จํานวน 2,056 คน คิดเปนรอยละ 6 x 100 = 0.15 3,870 และในจํานวนนีม้ ผี ไู ดรางวัลทางดานศิลปะและวัฒนธรรมจํานวน 5 คน ผลการดําเนินงานอยูในระดับ 3 คะแนน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. นายธนชัย เทพชุลีพรศิลป สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส 2. นางสาวสิริพันธุ สกุลแสง สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส 3. นายเจษฎา มีเมล สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ 4. นายภานุพงษ หุน ดี สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ 5. นายชนาธิป งามขํา สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ ไดรับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 “Central Festival Pattaya Beach Music Contest” หนวยงาน ศูนยการคาเซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยาบีช จังหวัดชลบุรี เมื่อ วันที่ 20 กันยายน 2552 6. นางสาวปุณณดา เรืองอุนแกว สาขาวิชาการตลาด ไดรับรางวัลรางวัลชนะเลิศ ประกวดแผนการตลาด “TK Young Marketing camp” หนวยงาน สํานักงานอุทยานการเรียนรู TK Park สํานักนายกรัฐมนตรี เมื่อ วันที่ 27 พฤศจิกายน 2552 การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด รอยละ 0.15 2-2.12-1 ประวัติและผลงานนักศึกษาที่ไดรับรางวัลดีเดน


องคประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา

ตัวบงชี้ที่ 3.1 มีการจัดบริการแกนักศึกษาและศิษยเกา ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. มีการสํารวจความตองการจําเปนของนักศึกษาปที่ 1

-

2. มีการจัดบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวกที่เอื้อตอการพัฒนา

-

เอกสาร หมายเลข 3-3.1-1/1 3-3.1-1/2 3-3.1-2/1 3-3.1-2/2

การเรียนรูของนักศึกษา

ภาพถายประกอบ

3. มีการจัดบริการดานกายภาพที่สงเสริมคุณภาพชีวิตของนักศึกษา

  

-

6. มีการจัดโครงการเพื่อพัฒนาประสบการณทางวิชาชีพแกนักศึกษา และศิษยเกา

-

7. มีการประเมินคุณภาพของการใหบริการทั้ง 5 เรื่องขางตนเปน ประจําทุกป

-

8. นําผลการประเมินคุณภาพของการใหบริการมาพัฒนาการจัดบริการ แกนักศึกษาและศิษยเกา

-

4. มีการจัดบริการใหคําปรึกษาแกนักศึกษา 5. มีบริการขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนตอนักศึกษาและศิษยเกา

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 7 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 7 ขอแรก

3-3.1-3

3-3.1-4 3-3.1-5/1 3-3.1-5/2 1-1.2-2 3-3.1-6/1 3-3.1-6/2 3-3.1-6/3 3-3.1-7/1 3-3.1-7/2 3-3.1-7/3 3-3.1-7/4 3-3.1-8

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :

ระดับ 7 ระดับ 8


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลงานระดับ 8 ตามเกณฑมาตรฐาน สกอ. คือ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีการจัดทําสํารวจความตองการจําเปนของนักศึกษาปที่ 1 ตั้งแตชวงที่เปดภาคเรียน ตามโครงการ ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม มีการแจกคูมือการศึกษาและหลักสูตร ปการศึกษา 2552 ใหกับ นักศึกษาใหม ระดับ 2 มีการจัดบริการสิ่งอํานวยความสะดวกที่เอื้อตอการเรียนรูของนักศึกษา เชน จัดซื้อระบบ บริหารงานวิทยาลัย (E-Registration) เพื่อเอื้อและอํานวยความสะดวกใหกับนักศึกษา โครงการ จัดซื้อหนังสือตําราเพื่อใชศึกษาคนควาในหองสมุด ระดับ 3 มีการจัดการดานกายภาพที่สงเสริมคุณภาพชีวิตของนักศึกษา โดยการจัดพื้นที่ใชสอยในอาคาร เรียนในลักษณะเบ็ดเสร็จ ทั้งดานการเรียนการสอน และการใหบริการแกนักศึกษา มีการประกัน อุบัติเหตุ มีรานอาหาร ซุมเครื่องดื่ม ตู ATM ศูนยจําหนายหนังสือและอุปกรณการศึกษา มีบริการ รถรับ-สงนักศึกษา ตามจุดชุมชนตางๆ จํานวน 5 สาย ไดแก สายบางนา – ตราด สายเคหะบางพลี สายตําหรุ สายปากน้ํา และ สายพระประแดง ตลอดจนมีกองทุนกูยืมเพื่อการศึกษา และ ทุนการศึกษาของวิทยาลัยหลายประเภท อาทิ ทุนชางเผือกมัธยมสูบัณฑิต ทุนความสามารถพิเศษ ประเภท ฟุตบอล ดนตรีสากล เชียรลีดเดอร ทุนเรียนดีเยี่ยม ทุนเรียนดีแตขาดแคลนทุนทรัพย เปนตน ระดับ 4 มีการจัดบริการดานการแนะแนวและการใหคําปรึกษา เชน กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพของ ตนเองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน โครงการปจฉิมนิเทศนักศึกษา/ประกาศการจัดหางาน/ งานประจํา-พิเศษ เปนตน ระดับ 5 มีการจัดบริการขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนแกนักศึกษาและศิษยเกา เชน จัดบอรด ประชาสัมพันธจัดหางาน การจัดทํา Website ขอมูลขาวสารวิทยาลัย โครงการลูกเซาธอีสท ออกคายอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 11 ระดับ 6 มีการจัดโครงการเพื่อพัฒนาประสบการณทางวิชาชีพแกนักศึกษาและศิษยเกา เชน โครงการ แขงขันพูดภาษาอังกฤษในที่ชุมชน (คณะศิลปศาสตร) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการซอมและ ประกอบคอมพิวเตอร และระบบเครือขายเบื้องตน (สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ)โครงการศึกษาดูงานที่ศาลจังหวัดธัญญบุรี (คณะนิติศาสตร) เปนตน ระดับ 7 มีการประเมินคุณภาพของการใหบริการที่จําเปนเปนประจําทุกป โดยจะมีการประเมินผลการ ดําเนินงานโครงการและกิจกรรมทุกกิจกรรม เชน 7.1 มีการสํารวจความตองการจําเปนของนักศึกษา สํานักกิจการนักศึกษาและกิจการพิเศษ มีการสํารวจความตองการของนักศึกษาในวันปฐมนิเทศ โดยสํารวจความตองการหรือความ คาดหวังของนักศึกษาที่อยากใหวิทยาลัยเปนในดานตางๆ ไดแก ดานวิชาการ ดานการจัดกิจกรรม ดานสิง่ อํานวยความสะดวก ดานการจัดสถานที่ ความรวดเร็วแมนยําในการลงทะเบียนเรียน


เกณฑ

ระดับ 8

การดําเนินงานในแตละระดับ การประชาสัมพันธขอมูลขาวสารตาง ๆ สําหรับผลของการสํารวจขอมูล สํานักกิจการนักศึกษา และกิจการพิเศษ จะนําขอมูลที่ไดรับมาปรับปรุงแกไขและนํากลับไปพัฒนาวิทยาลัยตอไป 7.2 การจัดบริการแกนักศึกษา มีการจัดหนวยบริการแกนักศึกษาใหครอบคลุมตามความ ตองการจําเปน โดยมีการบริการดังตอไปนี้ - การบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวกที่เอื้อตอการพัฒนาการเรียนรู เชน วิทยาลัยไดมี การจัดตกแตงอาคารสถานที่ใหทันสมัย ติดตั้งเครื่องปรับอากาศทุกหองเรียน มีอุปกรณการเรียน ครบครัน หองสมุดมีตําราที่ทันสมัย มีหองปฏิบัติการตาง ๆ ที่สนับสนุนการเรียนการสอน เชน หองปฏิบัติการคอมพิวเตอรที่มีระบบ Internet และจัดตั้งศูนยบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อ เปนศูนยกลางในการดําเนินงานใหบริการคอมพิวเตอรแกหนวยงานของวิทยาลัย เพื่อเอื้อและ อํานวยความสะดวกในการเรียนการสอน การวิจัย ระบบงานบริหาร การเงิน และงานทะเบียน ตลอดจนโปรแกรมตาง ๆ เพื่อความทันสมัยตอการพัฒนาดานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร - การบริการดานการใหคําปรึกษา วิทยาลัยมีการแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาใหชวยในการ สอดสองดูแลใหคําปรึกษาแกนักศึกษาทั้งในเรื่องวิชาการ ปญหาสวนตัวไดตลอดเวลา และ นอกจากนี้วิทยาลัยยังมีการแตงตั้งฝายใหคําปรึกษา ไวใหนักศึกษาที่มีปญหาเกี่ยวกับวิชาการ และปญหาสวนตัว โดยจะมีการจัดเก็บขอมูลเปนความลับและติดตามผลสําหรับนักศึกษาที่มี ปญหาอยางใกลชิด - การบริการดานขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนตอนักศึกษาและศิษยเกา วิทยาลัยมีการ จัดทําบอรดของแตละสํานัก แตละคณะ และบอรดสวนกลาง เพื่อติดประกาศขอมูลขาวสารของ วิทยาลัย และยังนําขอมูลขาวสารที่สําคัญลงในเว็บไซต เพื่อเผยแพรและประชาสัมพันธ ทําให ขอมูลขาวสารรวดเร็ว ทันสมัย และเขาถึงทั้งนักศึกษาและศิษยเกา ตลอดจนใหบริการการจัด หางานใหนักศึกษา โดยประสานงานกับหนวยงานที่รองขอ - การจัดโครงการเพื่อพัฒนาประสบการณทางวิชาชีพแกนักศึกษา และศิษยเกา วิทยาลัย จะมีฝา ยแนะแนวและจัดหางาน ไวเปนผูป ระสานงานและติดตอระหวางหนวยงานสงนักศึกษา ไปฝกงานเพื่อหาประสบการณในดานวิชาชีพ หรือหารายไดในชวงปดภาคเรียน สําหรับการ พัฒนาศิษยเกาดานการบริการและวิชาชีพ วิทยาลัยจะมีการสงขาวสารใหกับศิษยเกาในการเขา รวมสัมมนาในดานวิชาการและวิชาชีพที่วิทยาลัยจัดขึ้น และเห็นวาเปนประโยชนกับศิษยเกา มีการนําผลการประเมินโครงการ รวบรวมการแสดงความคิดเห็นของนักศึกษาผานเว็บไซต และ กลองรับความคิดเห็น มาประเมินเพื่อปรับปรุงการใหบริการแกนักศึกษา

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย


รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ระดับ 1 3-3.1-1/1 3-3.1-1/2 ระดับ 2 3-3.1-2/1 3-3.1-2/2 ระดับ 3 3-3.1-3/1 3-3.1-3/2 ระดับ 4 ระดับ 5

ระดับ 6

3-3.1-1/1 3-3.1-4 1-1.2-2 3-3.1-5/1 3-3.1-5/2 3-3.1-6/1 3-3.1-6/2

ระดับ 7

3-3.1-6/3 3-3.1-7/1

ระดับ 8

3-3.1-7/2 3-3.1-7/3 3-3.1-8

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด - โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม - คูมือการศึกษาและหลักสูตร ป 2552 - การจัดซื้อระบบบริหารงานวิทยาลัย (E-Registration) - โครงการจัดซื้อหนังสือตําราเพื่อใชศึกษาคนควา - ขอมูลเชิงประจักษ (ภาพถายประกอบ) - คูมือการศึกษาและหลักสูตรปการศึกษา 2552 (สวนบริการและ สวัสดิการสําหรับนักศึกษา) โครงการปฐมนิเทศนักศึกษา/ประกาศการจัดหางาน/งานประจําพิเศษ เปนตน - โครงการลูกเซาธอีสทบางกอกออกคายอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 11 - ขอมูลประชาสัมพันธจัดหางาน - การจัดทํา Websites ขอมูลขาวสารวิทยาลัย - โครงการแขงขันพูดภาษาอังกฤษในที่ชุมชน (คณะศิลปศาสตร) - โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการซอมและประกอบคอมพิวเตอรและ ระบบเครือขาย (สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ) - โครงการศึกษาดูงานที่ศาลจังหวัดธัญญบุรี (คณะนิติศาสตร) - การประเมินผลความตองการจําเปนของนักศึกษา ระดับปริญญา ตรีเบื้องตน - ขอมูลเอกสารการใหคําปรึกษา - ขอมูลเอกสารการรับสมัครงาน - รายงานการประชุมสํานักกิจการนักศึกษา - (ตัวอยาง) แบบสอบถามโครงการดอกเสลาบานสพรั่ง (สําหรับ ศิษยเกา)


ตัวบงชี้ที่ 3.2 มีการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษาที่ครบถวนและสอดคลองกับคุณลักษณะของบัณฑิต ที่พึงประสงค ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน มี ไมมี เอกสาร หมายเลข 1-1.1-2 1. มีการจัดทําแนวทางสงเสริมการจัดกิจกรรมที่สอดคลองกับ  3-3.2-1/1 วิสัยทัศนของสถาบันและคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค 3-3.2-1/2 ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา 2. มีการสงเสริมใหสถาบันและองคการนักศึกษาจัดกิจกรรมนักศึกษา ใหครบทุกประเภท โดยอยางนอยตองดําเนินการใน 5 ประเภท ดังนี้  3-3.1-6/3 - กิจกรรมวิชาการ 3-3.2-2/1 3-3.2-2/2 3-3.2-2/3 3-3.2-2/4 3-3.2-2/5 3-3.2-2/6 - กิจกรรมกีฬาและการสงเสริมสุขภาพ  3-3.2-2/7 3-3.2-2/8 1-1.2-3 - กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนและรักษาสิ่งแวดลอม  1-1.2-2 3-3.2-2/9 3-1.2-4 1-1.2-1 - กิจกรรมนันทนาการ   3-3.2-2/10 - กิจกรรมสงเสริมศิลปวัฒนธรรม 3-3.2-2/11 3-3.2-2/12


เกณฑมาตรฐาน

มี

3. มีกระบวนการติดตามและประเมินผลโครงการหรือกิจกรรม ทั้งที่ จัดโดยสถาบันและองคการนักศึกษาทุกสิ้นปการศึกษา

4. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนา

คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

นักศึกษาอยางตอเนื่อง เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก

ไมมี

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3 ขอแรก : :

เอกสาร หมายเลข 1-1.2-1 1-1.2-2 1-1.2-3 1-1.2-4 3-3.2-15 3-3.2-16 3-3.2-17 3-3.2-18 1-1.2-1 1-1.2-2

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ ระดับ 4 ระดับ 4

ผลการดําเนินงาน วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผาน 4 ระดับตามเกณฑมาตรฐาน สกอ. ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ 1. มีการจัดทําแนวทางสงเสริมการจัดกิจกรรมที่สอดคลองกับวิสัยทัศนองวิทยาลัยคือ มีการกําหนดเปนแนวปฏิบัติและแผนดําเนินการสํานักกิจการนักศึกษาประจําป 2552 2. มีการจัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนการจัดกิจกรรมนักศึกษาอยางครอบคลุม ทุกประเภทอยางเหมาะสมโดยผานการพิจารณาจากคณะกรรมการพิจารณางบประมาณ ระดับ 1 3. สํานักกิจการนักศึกษารวมกับ องคการนักศึกษาไดจัดทําโครงการโดยมีการระบุ คุณลักษณะของผูเขารวมกิจกรรม เปาหมาย จํานวนผูเขารวม ตัวบงชี้ความสําเร็จของ กิจกรรม วิธีการดําเนินการประเมินผล 4. มีการกําหนดนโยบายและดําเนินการใหนักศึกษาเขารวมโครงการ/กิจกรรมที่เปน การสงเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค


เกณฑ

ระดับ 2

การดําเนินงานในแตละระดับ มีการสงเสริมใหวิทยาลัยและองคการนักศึกษาจัดกิจกรรมนักศึกษาใน 5 ประเภทดังนี้ 2.1 กิจกรรมวิชาการ เชน โครงการศึกษาดูงานที่ศาลจังหวัดธัญญบุรี โครงการ วันรพี 2552 สัมมนาทางวิชาการ “กลยุทธทางการตลาดขายตรง ” (คณะบริหารธุรกิจ) โครงการอบรมทักษะการสราง Basic Web e-Commute ดวยภาษา ASP.Net โครงงาน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนวิชาภูมิปญญาไทยดานศิลปวัฒนธรรม จังหวัดอยุธยา โครงการ ศึกษาดูงานเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนวิชาภูมิปญญาไทยดานภูมิปญญาชาวบาน จังหวัด สมุทรปราการ 2.2 กิจกรรมกีฬาและสงเสริมสุขภาพ เชน โครงการภาคีรณรงคการปองกันการแพร ระบาดของไขหวัดใหญสายพันธใหม 2009 โครงการการเขารวมแขงขัน ฟุตบอล (ฝายกีฬาฟุตบอล) โครงการเขารวมแขงขันเชียรลีดเดอร (ฝาย เชียรลดี เดอร) 2.3 กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนและรักษาสิ่งแวดลอม เชน - โครงการลูกเซาธอีสทบางกอกออกคายอาสาพัฒนาชนบทครั้งที่ 11 - โครงการสัมมนาผูนํานักศึกษาดานกิจกรรมเพื่อพัฒนากิจกรรมนักศึกษา - โครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - โครงการคายเรียนรูคุณธรรม นําชีวิตพอเพียง ป 2552 2.4 กิจกรรมนันทนาการ เชน - โครงการ SBC FRESHY NO ALCOHOL 2009 - กิจกรรมไหวพระ 9 วัด - กิจกรรมรณรงค งดเหลา ปลอดบุหรี่ - กิจกรรม SBC Green World - กิจกรรม SBC Freshy No Alcohol 2009 2.5 กิจกรรมสงเสริมศิลปวัฒนธรรม เชน - โครงการหลอเทียนและแหเทียนจํานําพรรษา - โครงการลอยกระทงสืบสานประเพณีไทย - โครงการวันสถาปนาวิทยาลัย - โครงการรดน้ําดําหัวขอพรผูใหญและฝายบริหาร - โครงการพิธีประณตนอมสักการบูรพคณาจารยและพิธีกตัญูกตเวธิคุณ - โครงการดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ 37 (ดุริยารมณ อุดมศึกษา) - โครงการศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครั้งที่ 10 (ศิลปะ ศิลปน ศิลปากร)


เกณฑ

ระดับ 3

ระดับ 4

การดําเนินงานในแตละระดับ มีกระบวนการติดตามและประเมินผลโครงการหรือกิจกรรมทั้งที่จัดโดยวิทยาลัยและ องคการนักศึกษาทุกสิ้นปการศึกษา กระบวนการติดตามหรือการประเมินผลโครงการหรือ กิจกรรมหลังจากที่ไดทําโครงการหรือกิจกรรมเสร็จเรียบรอยจะมีการทําการประเมินผล โครงการทุกครั้งในสรุปรายงานโครงการทั้งที่ดําเนินการโดยวิทยาลัยหรือองคการ นักศึกษาเชนโครงการ SBC FRESHY NO ALCOHOL 2009 โครงการลูกเซาธอีสท บางกอกออกคายอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 11 โครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โครงการ คายเรียนรูคุณธรรมนําชีวิตพอเพียง มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษาอยางตอเนื่องเชน ปรับเพิ่มกิจกรรมของโครงการและเพิ่มงบประมาณ เชน โครงการลูกเซาธอีสทบางกอก ออกคายอาสาพัฒนาชนบทครั้งที่ 11 โครงการ SBC FRESHY NO ALCOHOL 2009 เปนตน

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตังบงชี้ สกอ. 3 คะแนน รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข 3-3.2-1 ระดับ 1

ระดับ 2

3-3.2-1/1 3-3.1-1/2 3-3.1-6/3 3-3.2-2/1 3-3.2-2/2 3-3.2-2/3 3-3.2-2/4

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย ชื่อเอกสาร / รายละเอียด - แนวปฏิบตั แิ ละแผนการดําเนินการ สํานักิจการนักศึกษา ปการศึกษา 2552 - คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการพิจารณางบประมาณ ป 2552 - คูมือการศึกษาและหลักสูตรปการศึกษา 2552 - โครงการศึกษาดูงานที่ศาลจังหวัดธัญญบุรี จ.ปทุมธานี - โครงการวันรพี - สัมมนาทางวิชาการ กลยุทธทางการตลาดขายตรง (คณะบริหารธุรกิจ) - โครงการอบรมทักษะการสราง Basic Web e- Commerce ดวยภาษา ASP.Net (คณะวิทยาศาสตร) - โครงการศึกษาดูงานเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนวิชา ภูมิปญญาไทยดานศิลปวัฒนธรรม จ.อยุธยา


หลักฐาน

เอกสารหมายเลข 3-3.2-2/5 3-3.2-2/6 3-3.2-2/7 3-3.2-2/8 1-1.2-2 3-3.2-2/9 1-1.2-4 1-1.2-1 1-1.2-3 3-3.2-2/10 3-3.2-2/11 3-3.2-2/12 3-3.2-2/13 3-3.2-2/14 3-3.2-2/15 3-3.2-2/16 1-1.2-1 1-1.2-2

ระดับ 3

ระดับ 4

1-1.2-3 1-1.2-4 1-1.2-1 1-1.2-2

ชื่อเอกสาร / รายละเอียด - โครงการศึกษาดูงานเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนวิชา ภูมิปญญาไทยดานภูมิปญญาชาวบาน จ.สมุทรปราการ - โครงการภาคีรณรงคการปองกันการแพรระบาดของ ไขหวัดใหญสายพันธุใหม 2009 - โครงการการเขารวมการแขงขันฟุตบอล (ฝายกีฬาฟุตบอล - โครงการการเขารวมการแขงขันเชียรลีดเดอร (ฝายเชียรลีด - โครงการลูกเซาธอีสทบางกอกออกคายอาสาพัฒนา ชนบท ครั้งที่ 11 - โครงการสัมมนาผูนํานักศึกษาดานกิจกรรมเพื่อพัฒนา กิจกรรมนักศึกษา ป 52 - โครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - โครงการ SBC FRESHY NO ALCOHOL 2009 - โครงการคายเรียนรูคุณธรรม นําชีวิตพอเพียง ป 2552 - โครงการหลอเทียน และแหเทียนจํานําพรรษา - โครงการลอยกระทงสืบสานประเพณีไทย - โครงการวันสถาปนาวิทยาลัย - โครงการรดน้าํ -ดําหัวขอพรผูบริหารและผูสูงอายุ - โครงการพิธีประณตนอมสักการบูรพคณาจารย - โครงการดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ 37 (ดุริยารมณ อุดมศึกษา) - โครงการศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครั้งที่ 10 (ศิลปะ ศิลปน ศิลปากร) - โครงการSBC FRESHY NO ALCOHOL 2009 - โครงการลูกเซาธอีสทบางกอกออกคายอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 11 - โครงการคายเรียนรูคุณธรรม นําชีวิตพอเพียง ป2552 - โครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ป2552 - โครงการSBC FRESHY NO ALCOHOL 2009 - โครงการลูกเซาธอีสทบางกอกออกคายอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 11


องคประกอบที่ 4 การวิจัย

ตัวบงชี้ที่ 4.1 มีการพัฒนาระบบและกลไกในการสนับสนุนการผลิตงานวิจัยและงานสรางสรรค ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ขอ เอกสาร หมายเลข 1-1.1-2

เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. มีการจัดทําระบบบริหารงานวิจัยและงานสรางสรรค เพื่อให บรรลุเปาหมายตามแผนของสถาบันและสอดคลองกับยุทธศาสตร การวิจัยของชาติ 2. มีการจัดทําระบบฐานขอมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวของกับ การบริหารงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ใชประโยชนไดจริง 3. มีการจัดสรรทรัพยากรการเงิน ทรัพยากรบุคคล แหลงคนควาตาง ๆ เพื่อสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรค 4. มีระบบและกลไกพัฒนาทรัพยากรบุคคลดานการวิจัย 5. มีระบบสรางขวัญและกําลังใจและยกยองนักวิจัยที่มีผลงานวิจัยและ งานสรางสรรคดีเดน 6. มีระบบและกลไกสงเสริมความรวมมือระหวางนักวิจัยกับองคกร ภายนอกทั้งภาครัฐเอกชนและภาคอุตสาหกรรม

-

-

-

4-4.1-1 4-4.1-2 4-4.1-3

1-1.1-2 4-4.1-4

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอ คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3-4 ขอ

คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 5 ขอ : :

5 ขอ 5 ขอ


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลงานผาน 5 ขอตามมาตรฐาน สกอ. คือ เกณฑ การดําเนินงานในแตละขอ ขอ 1 สํานักวิจัยและวางแผนมีการจัดทําระบบบริหารงานวิจัยและงานสรางสรรค เพื่อให บรรลุเปาหมายตามแผนของสถาบันและสอดคลองกับยุทธศาสตรการวิจัยของชาติ โดยเฉพาะ ยุทธศาสตรการวิจัยที่ 3 : การสรางศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนา ทางวิทยาการและทรัพยากรบุคคล - กลยุทธการวิจัยที่ 1 วิจัยเพื่อการพัฒนานวัตกรรมและองคความรูใหมทาง วิทยาศาสตร ทางสังคมศาสตร และการพัฒนาองคความรูใหมในวิทยาการตาง ๆ - กลยุทธการวิจัยที่ 2 วิจัยเพื่อการสรางศักยภาพและความสามารถของทรัพยากร บุคคลในวิทยาการตาง ๆ โดยสํานักวิจยั และวางแผนไดพฒ ั นาเปนกลยุทธและแผนงานวิจัย ป 2552-2553 ขอ 2 สํานักวิจัยและวางแผนมีฐานขอมูลบุคลากรนักวิจัย และฐานขอมูลงานวิจัยเพื่อการสืบคน งานวิจัยของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ขอ 3 สํานักวิจัยและวางแผน มีหนาที่ดําเนินการในการจัดสรรทรัพยากรการเงิน จากแหลงทุนทั้ง ทุนวิจัยของวิทยาลัย และทุนวิจัยของแหลงทุนภายนอก รวมทั้งสนับสนุนทรัพยากรบุคคล แหลงคนควาตาง ๆ เพื่อสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรค ตามที่ อาจารยเสนอ โครงการ ขอ 4 สํานักวิจัยและวางแผน มีระบบและกลไกพัฒนาทรัพยากรบุคคลดานการวิจัย ตามกลยุทธ และแผนงานวิจยั ป 2552-2553 กลยุทธที่ 4 การพัฒนาศักยภาพบุคลากรดานการวิจัย ขอ 5 ขอ 6 สํานักวิจัยและวางแผน มีการรวมมือกับเครือขายการวิจัยภาคกลางตอนบน และโครงการ รวมมือกับวิทยาลัยเอกชนดวยกัน ไดแกวิทยาลัยพยาบาลเซนตหลุยส การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย


รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน ขอ 1 ขอ 2 ขอ 3 ขอ 4 ขอ 5 ขอ 6

เอกสารหมายเลข 1-1.1-2 4-4.1-1 , 4-4.1-2 4-4.1-3 1-1.1-2 4-4.1-4 , 4-4.1-5

ชื่อเอกสาร / รายละเอียด กลยุทธและแผนงานวิจัย ป 2552-2553 ฐานขอมูลบุคคลากรงานวิจัย และฐานขอมูลงานวิจัย(database) แฟมเอกสารอนุมัติโครงรางงานวิจัยของอาจารย กลยุทธและแผนงานวิจัย ป52-53 แฟมการประชุมเครือขาย (RS 006) ,แฟมความรวมมือภายนอก สถาบัน(วิทยาลัยเซนตหลุยส)

ตัวบงชี้ที่ 4.2 มีระบบบริหารจัดการความรูจากงานวิจัยและงานสรางสรรค ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ขอ เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. มีระบบและกลไกสนับสนุนการเผยแพรผลงานวิจัยและ งานสรางสรรคทั้งในวงการวิชาการและการนําไปใช ประโยชน 2. มีระบบรวบรวม คัดสรร วิเคราะหและสังเคราะหความรู จากงานวิจัยและงานสรางสรรคที่เชื่อถือไดและรวดเร็วทัน ตอการใชประโยชน 3. มีการสรางเครือขายเผยแพรผลงานวิจัยและงาน สรางสรรคไปยังผูเกี่ยวของทั้งภายในและภายนอกสถาบัน 4. มีระบบและกลไกการสนับสนุนความรวมมือระหวาง นักวิจัยกับองคการภายนอกสถาบันเพื่อการนําผลงานไปใช ประโยชน 5. มีกลไกสนับสนุนการจดสิทธิบัตรการซื้อขายทรัพยสิน ทางปญญา ตลอดจนการคุมครองสิทธิของงานวิจัย หรือ สิ่งประดิษฐ หรือนวัตกรรมใหแกนักวิจัยเจาของผลงาน

-

เอกสาร หมายเลข 4-4.2-1

-

-

-

4-4.1-2

-

4-4.1-4 , 4-4.1-5

-

-


เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอ

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3 ขอ

คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอ 4 ขอ 3 ขอ

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลงานผาน 3 ขอตามมาตรฐาน สกอ. คือ เกณฑ การดําเนินงานในแตละขอ ขอ 1 สํานักวิจยั และวางแผนมี “คูมือการวิจัยของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ” ระบบและกลไก สนับสนุนการเผยแพรผลงานวิจัยและงานสรางสรรคทั้งในวงการวิชาการและการนําไปใช ประโยชน ขอ 2 ขอ 3 สํานักวิจัยและวางแผน กําลังดําเนินการจัดทํา ฐานขอมูลงานวิจัย (database) เพื่อแสดง บน website ของวิทยาลัยเพื่อสรางเครือขายเผยแพรผลงานวิจัยและงานสรางสรรคไปยัง ผูเกี่ยวของทั้งภายในและภายนอกสถาบัน ขอ 4 สํานักวิจัยและวางแผน เริ่มสรางระบบและกลไกการสนับสนุนความรวมมือระหวางนักวิจัย กับ องคกรภายนอกสถาบันเพื่อการนําผลงานไปใชประโยชน ไดแกความรวมมือกับเครือขาย การวิจัยภาคกลางตอนบน และความรวมมือกับวิทยาลัยพยาบาลเซนตหลุยส ขอ 5 การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ขอ 1 4-4.2-6 ขอ 2 ขอ 3 4-4.1-2 ขอ 4 4-4.1-5 ขอ 5 -

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย ไมบรรลุเปาหมาย ชื่อเอกสาร / รายละเอียด คูมือการวิจัยของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ฐานขอมูลงานวิจัย (database) แฟมความรวมมือภายนอกสถาบัน -


ตัวบงชี้ที่ 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา เกณฑการประเมิน : 1. เกณฑทั่วไป คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 อยูระหวาง 1- 16,999.- บาท 17,000.- บาท – 24,999.- บาท มากกวาหรือเทากับ 25,000.- บาท คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

: :

25,000 26,055.55

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2552 วิทยาลัยไดรับเงินสนับสนุนการวิจัยและสรางสรรคจากภายในและภายนอก รวมทั้งสิ้น 1,876,000 บาท ดังนั้นเงินสนับสนุนการวิจัยและงานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบัน ตอจํานวนอาจารยประจํา 72 คน จึงเทากับ 26,055.55 บาท การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข 1 4-4.1-1

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย ชื่อเอกสาร / รายละเอียด เอกสารฐานขอมูลบุคลากรนักวิจัย ป 2552

ตัวบงชี้ที่ 4.4 รอยละของงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ตีพิมพเผยแพร ไดรับการจดทะเบียนทรัพยสินทาง ปญญา หรือนําไปใชประโยชนทั้งในระดับชาติและในระดับนานาชาติตอจํานวนอาจารยประจํา ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑการประเมิน : 1. เกณฑทั่วไป คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 รอยละ 1- รอยละ 19 รอยละ 20- รอยละ 29 มากกวาหรือเทากับรอยละ 30 คาเปาหมายของวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

: :

รอยละ 15 รอยละ 6


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลงานวิจัยตีพิมพเผยแพร จํานวน 4 เรื่อง โดยมีจํานวนอาจารย ประจําทั้งสิ้น 72 คน คิดเปนรอยละ 4 x 100 = 6 72 โดยมีรายละเอียด ดังนี้ อําพล นววงศเสถียร. 2552. ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจซื้อสินคาไพรเวทแบรนดของผูบริโภคใน กรุงเทพฯ. นวัตกรรมทางรัฐประศาสนศาสตร : รวมบทความวิชาการในวาระครบรอบการสถาปนา 54 ป คณะรัฐประศาสนศาสตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร จิระภา สุขเกษม. 2552. ปจจัยที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการใชบริการสปาของประชากร ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ปที่ 6 ฉบับที่ 9 กรกฎาคม - ธันวาคม 2552. นันทิยา สุวรรณ. 2553. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ระหวางวิธีการสอนภาษาอังกฤษแบบการแปล กฎไวยากรณ และแบบการสื่อสาร เรื่องการใช Simple Present Tense, Simple Past Tense และ Present Continuous Tense for Future ของนักศึกษาปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก. วารสารวิชาการ วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก. ปที่ 7 ฉบับที่ 10 มกราคม – มิถุนายน 2553. ญาณวัฒน พลอยเทศ. 2553. ปญหาการใชเสรีภาพเกี่ยวกับการชุมนุมในการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย ศึกษาการชุมนุมตามบทบัญญัติ มาตรา 63 แหงรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550. วารสารวิชาการวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก. ปที่ 7 ฉบับที่ 10 มกราคม – มิถุนายน 2553. งานวิจัยทั้ง 2 เรื่องนี้ นอกจากตีพิมพเผยแพรในวารสารวิชาการฯแลว ยังไดเผยแพรและเขารวม นําเสนอผลงานวิจัย ในการประชุมวิชาการระดับชาติ “การวิจัยสูวิทยาการทางปญญาสําหรับคนไทย ” (The Research Through Intellectual Sciences for Thai People) ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา กรุงเทพมหานคร ดวย การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 1

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย ไมบรรลุเปาหมาย


รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข 4-4.4-1

4-4.4-2 4-4.4-3 4-4.4-4

ชื่อเอกสาร / รายละเอียด วารสารนวัตกรรมทางรัฐประศาสนศาสตร : รวมบทความ วิชาการใรวารสารครบรอบการสถาปนา 54 ป คณะรัฐศาสนศาสตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร วารสารวิชาการวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ปที่ 6 ฉบับที่ 9 ก.ค. – ธ.ค. 2552 วารสารวิชาการวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ปที่ 7 ฉบับที่ 10 ม.ค. – มิ.ย. 2553 โปรแกรมและบทคัดยอ การประชุมวิชาการระดับชาติ “การวิจัยสูวิทยาการทางปญญา สําหรับคนไทย ” มหาวิทยาลัยราชภัฎบานสมเด็จเจาพระยา กรุงเทพมหานคร


องคประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแกสังคม

ตัวบงชี้ที่ 5.1 มีระบบและกลไกในการบริการทางวิชาการแกสังคมตามเปาหมายของสถาบัน ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. มีการจัดทํานโยบาย แผนกลยุทธ และแผนดําเนินงานของ การบริการวิชาการแกสังคม 2. มีคณะกรรมการ คณะทํางานหรือหนวยงานดําเนินการใหบริการ วิชาการแกสังคมตามแผนที่กําหนด 3. มีการกําหนดหลักเกณฑและหรือระเบียบในการใหบริการวิชาการ แกสังคม 4. มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนที่กําหนด 5. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบริการวิชาการแกสังคม 6. มีการจัดทําแผนการเชื่อมโยงและบูรณาการการบริการทางวิชาการ แกสังคมเขากับการเรียนการสอน หรือการวิจัย หรือการทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม 7. มีการประเมินสัมฤทธิผลและนําผลการประเมินไปพิจารณา ปรับปรุงความเชื่อมโยงและบูรณาการระหวางการบริการวิชาการ แกสังคมกับภารกิจอื่น ๆ ของสถาบัน

-

เอกสาร หมายเลข 5-5.1-1

-

5-5.1-2

-

5-5.1-2

  -

5-5.1-4 5-5.1-5 -

-

-

เกณฑการประเมิน : 1. เกณฑทั่วไป คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3-4 ขอแรก

คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 5 ขอแรก : :

ระดับ 5 ระดับ 5


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานระดับ 5 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีการจัดทํานโยบาย แผนกลยุทธ และแผนดําเนินงานของการบริการวิชาการแกสังคม ระดับ 2 มีหนวยงานดําเนินการ โดยมีฝายฝกอบรมและบริการทางวิชาการ สํานักวิชาการ ทําหนาที่ รับผิดชอบการดําเนินการและประสานงานโครงการใหบริการทางวิชาการแกสังคม ตามที่ ระบุไวในแผน ระดับ 3 มีการกําหนดหลักเกณฑในการใหบริการทางวิชาการแกสังคม ไดแก แนวปฎิบัติในการ ใหบริการทางวิชาการแกสังคม ซึ่งทุกคณะจะมีภารกิจในการจัดบริการทางวิชาการ แกชุมชน สังคม ในศาสตรสาขาที่ชํานาญ โดยแตละสาขาวิชา จะมีโครงการบริการวิชาการ แกชุมชน สังคม อยางนอยปละ 1 เรื่อง โดยในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีโครงการบริการ วิชาการ วิชาชีพ จํานวนรวมทั้งสิ้น 33 โครงการ ระดับ 4 มีการประเมินผลการปฎิบัติงานตามแผนที่กําหนด โดยการประเมินผลงาน โครงการ ใหบริการทางวิชาการแกสังคมทุกโครงการ โดยเปรียบเทียบกับแผนที่กําหนดไว ระดับ 5 มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบริการทางวิชาการแกสังคม การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 1-1.1-2/2 ยุทธศาสตร เปาประสงค กลยุทธ ตัวชี้วัด เปาหมาย แผนพัฒนา การศึกษา วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก แผนยุทธศาสตร พ.ศ. 2551 – 2555 ระดับ 2 5-5.1-2 แนวปฎิบตั แิ ละแผนดําเนินการสํานักวิชาการ (ฝายฝกอบรมและ บริการทางวิชาการ) ปการศึกษา 2552 ระดับ 3 5-5.1-2 แนวปฎิบัติและแผนดําเนินการ ฝายฝกอบรมและบริการทาง วิชาการ ปการศึกษา 2552 ระดับ 4 5-5.1-4 รายงานผลการปฎิบัติงานตามยุทธศาสตรที่ 3 : พัฒนาบริการทาง วิชาการตามความตองการของชุมชน/สังคม ระดับ 5 5-5.1-5 แฟมโครงการบริการทางวิชาการแกสังคม


ตัวบงชี้ที่ 5.2 รอยละของอาจารยประจําที่มีสวนรวมในการใหบริการทางวิชาการแกสังคม เปนที่ปรึกษา เปนกรรมการวิทยานิพนธภายนอกสถาบัน เปนกรรมการวิชาการ กรรมการวิชาชีพใน ระดับชาติหรือระดับนานาชาติตออาจารยประจํา ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา เกณฑการประเมิน : 1. เกณฑทั่วไป คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 อยูระหวางรอยละ 1- รอยละ 14 รอยละ 15- รอยละ 24 มากกวาหรือเทากับรอยละ 25 : :

คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

รอยละ 15 รอยละ 28

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 นี้ อาจารยประจําของวิทยาลัย มีสวนรวมในการใหบริการทางวิชาการ แกสังคม เปนกรรมการวิชาการ กรรมการวิชาชีพ จํานวน 20 คน จากจํานวนอาจารยทั้งหมด 72 คน คิดเปน รอยละ 28 ดังรายละเอียดตอไปนี้ ลักษณะการเปนกรรมการ วิทยานิพนธ วิชาการ วิชาชีพ

ลําดับที่

ชื่อ - สกุล อาจารยประจํา

1

อาจารยสุริยะ พุมเฉลิม

คอมพิวเตอร ธุรกิจ

2

อาจารยเชาวลิต จันภิรมย

คอมพิวเตอร ธุรกิจ

3

อาจารยสุดาสวรรค งามมงคล วงษ

คอมพิวเตอร ธุรกิจ

4

อ.รวมพล จันทศาตร

โลจิสติกส

5

อ.สุรัตน จันทองปาน

โลจิสติกส

6

อ.อํานวย แกวใส

โลจิสติกส

7

ดร.จิระภา สุขเกษม

ประกันคุณภาพ

8

อาจารยธิปตย โสตธิวรรณ

วิจัย

หนวยงานที่เปนกรรมการ สํานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา สํานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา สํานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา อนุกรรมการสมาคม โลจิสติกสแหงประเทศไทย อุปนายกสมาคมโลจิสติกส แหงประเทศไทย อนุกรรมการสมาคม โลจิสติกสแหงประเทศไทย กรรมการตรวจประเมิน ภายใน ม.เกริก คณะกรรมการเครือขายวิจัย อุดมศึกษา ภาคกลางตอนบน


ลําดับที่

ชื่อ - สกุล อาจารยประจํา

ลักษณะการเปนกรรมการ วิทยานิพนธ วิชาการ วิชาชีพ

9

อาจารยสคุ นธ สนธิ

กิจการนักศึกษา

10

อาจารยวฤนดา วงษเล็ก

กิจการนักศึกษา

11

อาจารยอารีย เพชรหวน

12

ดร.สฤษดิผ์ ล ชมไพศาล

13

อาจารยเกษม มโนสันต

14

อาจารยญาณวัฒน พลอย เทศ

15

ดร.ทิวา พงศธนไพบูลย

16

อาจารยศรีมณา เกษสาคร

หนวยงานที่เปนกรรมการ

ประธานคณะอนุกรรมการฝาย พัฒนาศักยภาพนักศึกษา เลขานุการคณะอนุกรรมการฝาย พัฒนาศักยภาพนักศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา สมาคม สถาบันอุดมศึกษาเอกชน แหงประเทศไทย อนุกรรมการพัฒนาระบบ เครือขายหองสมุด บรรณารักษ สถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง ประเทศไทย สํานักอนุญาโตตุลาการ อนุญาโตตุลาการ สํานักงานศาลยุติธรรม ที่ปรึกษาอาวุโส สถาบันพัฒนาวิสาหกิจ ดานกฎหมาย ขนาดกลางและขนาดยอม และการควบคุม ภายใน

อนุกรรมการ จัดทําแผนพัฒนา พนักงานสวน ตําบล 1. กรรมการ วิชาการสถาบัน อุดมศึกษา ภาคกลางเพือ่ พัฒนาบัณฑิต อุดมคติไทย 2. อุปนายกฝาย วิชาการ อนุกรรมการ จัดทําแผนพัฒนา พนักงาน สวนตําบล

องคการบริหารสวนตําบลบาง น้ําผึ้ง กรมสงเสริมการปกครอง สวนทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย สํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

สมาคมครูสถานศึกษาเอกชน แหงประเทศไทย องคการบริหารสวนตําบลบาง น้ําผึ้ง กรมสงเสริมการปกครอง สวนทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย


ลําดับที่

17

18

19

20

ชื่อ - สกุล อาจารยประจํา

อาจารยนันทิยา สุวรรณ

รศ.ดร.เฉลิมรัฐ ขัมพานนท

ดร.จตุพร สังขวรรณ

อาจารยไชยยศ ไชยมัน่ คง

ลักษณะการเปนกรรมการ วิทยานิพนธ วิชาการ วิชาชีพ อนุกรรมการ จัดทําแผนพัฒนา พนักงาน สวนตําบล กรรมการ สอบดุษฎี นิพนธ กรรมการ ที่ปรึกษา ดุษฎีนิพนธ กรรมการ สอบ วิทยานิพนธ

องคการบริหารสวนตําบลบาง น้ําผึ้ง กรมสงเสริมการปกครอง สวนทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนา ทรัพยากรมนุษย มหาวิทยาลัยปทุมธานี มหาวิทยาลัยรามคําแหง

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยอีสทเทิรนเอเชีย

กรรมการกํากับ มาตรฐาน

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

หนวยงานที่เปนกรรมการ

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด รอยละ 28 5-5.2-1 รายชื่ออาจารยที่มีสวนรวมในการใหบริการทางวิชาการแกสังคม ตัวบงชี้ที่ 5.3 รอยละของกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความตองการพัฒนา และเสริมสรางความเขมแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติและนานาชาติตออาจารยประจํา ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑการประเมิน : 1. เกณฑทั่วไป คะแนน 1 อยูระหวางรอยละ 1- รอยละ 19 คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

คะแนน 2 รอยละ 20- รอยละ 29

คะแนน 3 มากกวาหรือเทากับรอยละ 30 : :

รอยละ 20 รอยละ 46


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยจัดใหมีกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการและวิชาชีพ ที่ตอบสนอง ความตองการพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ รวมทั้งสิ้น 33 โครงการ โดยมีจํานวนอาจารยประจําทั้งสิ้น 72 คน คิดเปนรอยละ 46 ดังมีรายละเอียดดังตอไปนี้ ลําดับที่

1

2

3

4

5

6

กิจกรรม / โครงการ คณะบริหารธุรกิจ โครงการบริการชุมชน”กรอกแบบภาษีเงินไดบุคคล ธรรมดา” (29 ม.ค.53) (จํานวน 38 หนวยงาน) - กลุมงานที่ 1 โครงการบริการชุมชน”กรอกแบบภาษีเงินไดบุคคล ธรรมดา” (29 ม.ค.53) (จํานวน 38 หนวยงาน) - กลุมงานที่ 2 โครงการบริการชุมชน”กรอกแบบภาษีเงินไดบุคคล ธรรมดา” (29 ม.ค.53) (จํานวน 38 หนวยงาน) - กลุมงานที่ 3 โครงการบริการชุมชน”กรอกแบบภาษีเงินไดบุคคล ธรรมดา” (29 ม.ค.53) (จํานวน 38 หนวยงาน) - กลุมงานที่ 4 โครงการบริการชุมชน”กรอกแบบภาษีเงินไดบุคคล ธรรมดา” (29 ม.ค.53) (จํานวน 38 หนวยงาน) - กลุมงานที่ 5 โครงการสัมมนาวิชาการเรื่อง "เตรียมหลักฐาน เอกสารอยางนักบัญชีมอื อาชีพ (24 พ.ค.52)

ลักษณะการบริการวิชาการ บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบใหเปลา

บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบใหเปลา

บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบใหเปลา

บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบใหเปลา

บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบใหเปลา

บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบเก็บ คาลงทะเบียน

7

โครงการฝกอบรม"การจัดทําบัญชีดวยโปรแกรม สําเร็จรูปทางการบัญชี ครั้งที่ 2 (2 -3 มี.ค.52)

บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบใหเปลา

8

โครงการสัมมนา การสรางความสามารถทางการ แขงขันทางการตลาดของธุรกิจไดอยางไร

บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบใหเปลา

9

โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ "เทคนิคการขาย แบบมืออาชีพ" 27 ส.ค.52

บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบใหเปลา

10

โคงการ SBC TUTOR CAMP (15-16 ธ.ค.2552)

บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบใหเปลา

กลุมเปาหมาย นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป


กิจกรรม / โครงการ โครงการสัมมนา การเปดการคาเสรีและผลกระทบ ตอโลจิสติกสในประเทศไทย (21 ม.ค. 53)

ลักษณะการบริการวิชาการ บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบเก็บ คาลงทะเบียน

12

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อฝกทักษะการ ประกอบเครื่องคอมพิวเตอร(21 ม.ค. 53)

บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบใหเปลา

13

โครงการสัมมนา”เทคโนโลยีการประมวลผลภาพ Image Processing (20 ก.ย. 52)

บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบใหเปลา

14

โครงการเสริมทักษะดานคอมพิวเตอรธุรกิจ”การ พัฒนาเว็บไซต”(29 ม.ค. 53)

บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบใหเปลา

15

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อฝกทักษะ การ ติดตั้งระบบเครือขาย(2 ก.พ. 53)

บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบใหเปลา

16

โครงการสัมมนาระบบเครือขายในองคกร (9 พ.ค. 53)

บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบใหเปลา

17

โครงการฝกอบรมภาคปฎิบัติโดยใชโปรแกรม สําเร็จรูปทางสถิติ (5-6 ต.ค.52)

บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบเก็บ คาลงทะเบียน

18

โครงการภาคีรณณรงคการแผระบาดของไขหวัด ใหญ สายพันธุใหม 2009 (9 ก.ย.-1 ต.ค.52)

บริการอื่น ๆ

19

โครงการลูกเซาวอีสทบางกอก ออกคายอาสาพัฒนา บริการอื่น ๆ ชนบท ครั้งที่ 11 (9 ก.ย.-1 ต.ค.52)

20

โครงการรวมรณรงค 9 วันอันตราย เมาไมขับ - งวง บริการอื่น ๆ ไมขับ (8 เม.ย.53)

ลําดับที่

11

กลุมเปาหมาย นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป


ลําดับที่

21

กิจกรรม / โครงการ

คณะนิติศาสตร โครงการชวยเหลือและใหบริการทางกฎหมาย

22

โครงการที่ปรึกษากฎหมายประจําศาลจังหวัด พระโขนง

23

โครงการบรรยายพิเศษทางกฎหมาย

24

คณะศิลปศาสตร โครงการ Brush Up English Grammar 1

ลักษณะการบริการวิชาการ - ใหบริการใหคําปรึกษาเกี่ยวกับปญหา ขอกฎหมาย และการดําเนินคดีในศาล - ขอรับคําปรึกษาไดที่คณะนิติศาสตร วันจันทร-ศุกร 8.30-16.30 น. - เปนการบริการแบบใหเปลา - ใหความชวยเหลือ และใหคําแนะนํา กับประชาชนทีม่ าศาลในคดีทกุ ประเภท - การบรรยายพิเศษในหัวขอทาง กฎหมายทีอ่ ยูใ นความสนใจ - เปนการบริการแบบใหเปลา

- บริการจัดอบรม / สัมมนา แบบเก็บคา ลงทะเบียน

25

โครงการสอนภาษาอังกฤษนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 6 รร.ดานชางวิทยา จ.สุพรรณบุรี

- บริการจัดอบรม / สัมมนา แบบให เปลา

26

โครงการอบรมภาษาอังกฤษสําหรับบุคลากร โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษา พัฒนาการ

- บริการจัดอบรม / สัมมนา แบบให เปลา

27

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร ภาษาอังกฤษ สําหรับพนักงานนวดแผนโบราณ

- บริการจัดอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร แบบใหเปลา

28

โครงการอบรมภาษาอังกฤษ และเรียนรูวัฒนธรรม ตางชาติสําหรับพอคา แมคา ตลาดน้ําบางน้ําผึ้ง อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ

- บริการจัดอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร แบบใหเปลา

29

โครงการอบรมภาษาอังกฤษสําหรับนักกฎหมาย

- บริการจัดอบรม / สัมมนา แบบให เปลา

กลุมเปาหมาย นักศึกษา คณาจารย ผูสนใจทั่วไป

ผูสนใจทั่วไป

นักเรียนมัธยมศึกษา ผูสนใจทั่วไป

นักศึกษาคณะศิลปศาสตร และผูสนใจ ทั่วไป นักเรียน ชั้น ม.6 รร.ดานชางวิทยา จ.สุพรรณบุรี บุคลากรโรงเรียน นวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษา พัฒนาการ พนักงานนวดแผน โบราณ ตลาดน้ํา บางน้ําผึ้ง อ. พระประแดง จ. สมุทรปราการ พอคา แมคา ตลาดน้ําบางน้ําผึ้ง อ. พระประแดง จ. สมุทรปราการ นักกฎหมาย ผูสนใจทั่วไป


ลําดับที่

30

31

32

33

กิจกรรม / โครงการ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพในงาน E-Commerce ดานภาษา ASP.NET โครงการ Hardware Academy Evolution

ลักษณะการบริการวิชาการ บริการจัดอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร มีคาใชจาย บริการจัดอบรม แบบใหเปลา

บัณฑิตวิทยาลัย - สัมมนาโดยมีคา ลงทะเบียน โครงการสัมนาทางวิชาการเรื่อง “กลยุทธโลจิสติกส ฝาวิกฤตสภาวะเศรษฐกิจและ การเมืองปจจุบัน” โครงการอบรมโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติเพื่อการ - อบรมเชิงปฎิบัติการแบบใหเปลา วิเคราะห (SPSS)

คณะ บริหารธุรกิจ นิติศาสตร ศิลปศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี บัณฑิตวิทยาลัย รวม

จํานวนโครงการทางวิชาการ 20 3 6 2 2 33

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

กลุมเปาหมาย นักศึกษา ผูสนใจทั่วไป นักศึกษา ผูสนใจทั่วไป ผูสนใจทั่วไป

นักศึกษา ผูสนใจทั่วไป

จํานวนอาจารยประจํา 42 5 5 5 15 72

รอยละ 48 60 120 40 13 46

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด รอยละ 46 5-5.3-1 สรุปโครงการและกิจกรรมบริการวิชาการแกสังคม ประจําปการศึกษา 2552 ตัวบงชี้ที่ 5.4 รอยละของระดับความพึงพอใจของผูรับบริการ ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 รอยละ 65- รอยละ 74

คะแนน 2 รอยละ 75- รอยละ 84

คะแนน 3 มากกวาหรือเทากับรอยละ 85


คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

: :

รอยละ 85 รอยละ 88.4

ขอมูลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 โครงการบริการทางวิชาการของวิทยาลัย มีรอยละของระดับความพึงพอใจ ของผูรับบริการ คิดเปนรอยละ 88.4 คณะ บริหารธุรกิจ นิติศาสตร ศิลปศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี บัณฑิตวิทยาลัย รวม การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

ความพึงพอใจของผูรับบริการ (รอยละ) 84 95 90 88 85 88.4 การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด 5-5.3-1 สรุปโครงการและกิจกรรมบริการวิชาการแกสังคม ประจําปการศึกษา 2552


องคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

ตัวบงชี้ที่ 6.1 มีระบบและกลไกในการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ

เอกสาร หมายเลข 1-1.2-2 1-1.2-1 3-3.2-18 1-1.1-2 6-6.1-1 6-6.1-2 3-3.2-14 3-3.2-15 3-3.2-18 6-6.1-3

เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. มีการกําหนดนโยบายที่ชัดเจนปฏิบัติได และมีแผนงานรองรับ 2. มีการกําหนดกิจกรรมหรือโครงการที่เปนประโยชนสอดคลองกับ แผนงาน และมีการดําเนินกิจกรรมอยางตอเนื่อง

 

-

3. มีการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมกับภารกิจ ดานอื่น ๆ 4. มีการสงเสริมการดําเนินงานดานศิลปวัฒนธรรมทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ อาทิ การจัดทําฐานขอมูลดานศิลปวัฒนธรรม การสรางบรรยากาศศิลปะและวัฒนธรรม การจัดกิจกรรม ประชุม เสวนาทางวิชาการ การจัดสรรงบประมาณสนับสนุนอยางพอเพียง และตอเนื่อง 5. มีการกําหนดหรือสรางมาตรฐานดานศิลปวัฒนธรรม โดย ผูเชี่ยวชาญ และมีผลงานเปนที่ยอมรับในระดับชาติหรือนานาชาติ 6. มีการเผยแพรและบริการดานศิลปวัฒนธรรมในระดับชาติและ นานาชาติ อาทิ มีสถานที่หรือเวทีแสดงผลงาน จัดทําวารสาร ศิลปวัฒนธรรมในระดับตาง ๆ มีความรวมมือในการใหการบริการ วิชาการดานศิลปวัฒนธรรมกับสังคมในระดับตาง ๆ

-

-

-

-

-

-

เกณฑการประเมิน : 1. เกณฑเฉพาะสถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตและพัฒนาศิลปวัฒนธรรม คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 4 ขอแรก

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 4-5 ขอแรก

คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :

ระดับ 4 ระดับ 4


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานระดับ 4 ตามมาตรฐาน สกอ. ดังนี้ เกณฑ ระดับ 1 ระดับ 2

ระดับ 3

ระดับ 4

ระดับ 5 ระดับ 6

การดําเนินงานในแตละระดับ มีการกําหนดนโยบายที่ชัดเจนปฏิบัติไดและมีแผนงานรองรับ เชน มีการกําหนด แนวปฎิบัติและแผนการดําเนินงานกิจกรรมงบประมาณประจําป 2552 มีการกําหนดกิจกรรมหรือโครงการที่เปนประโยชนสอดคลองกับแผนงาน เชน การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมนิสิตนักศึกษา, โครงการ SBC FRESHY NO ALCOHOL 2009 โครงการสงเสริมศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครั้งที่ 10 และโครงการ/กิจกรรมอื่น ในแนวปฏิบัติและแผนการดําเนินงานสํานักกิจการนักศึกษา ปการศึกษา 2552 มีการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม เชน โครงการอาหารพื้นถิ่น “ขนมตึงตัง ขนมเอกลักษณของบางนา ” นําผลการสืบสาน เผยแพรวัฒนธรรม มาจัดทําฐานขอมูล ดานศิลปวัฒนธรรม และนํามาบูรณาการกับพันธกิจดานการเรียนการสอนในรายวิชาภูมิ ปญญาไทย วิชาจริยธรรม วิชาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเปนวิชาในหมวดศึกษาทั่วไป รวมทั้ง บูรณาการกับการเรียน วิชาบัญชีตนทุน เปนตน นอกจากนี้ยังบูรณาการเขากับการบริการวิชาการแกชุมชน โดยการจัดสาธิต สอนและ เผยแพร ใหกับผูสนใจในชุมชน สังคม ในเทศกาลสงกรานตของทุกป และเผยแพรผานสื่อ เคเบิ้ลทีวีทองถิ่นดวย มีการสงเสริมการดําเนินงานดานศิลปวัฒนธรรมทั้งในระดับชาติโดยการจัดสรร งบประมาณอยางพอเพียงและตอเนื่อง เชน โครงการดนตรีไทยอุดมศึกษาครั้งที่ 37 โครงการศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครั้งที่ 10 มีการสรางบรรยากาศเพื่อสงเสริมทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม เชน โครงการอนุรักษวัฒนธรรมการแตงกายดวยผาไทยทุกวันพฤหัสบดี โครงการพิธรี ดน้าํ – ดําหัวขอพรผูบริหารและผูสูงอายุฯ โครงการวันสถาปนาวิทยาลัย เปนตน -

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย


รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 3-3.2-1 แนวปฎิบัติและแผนการดําเนินการสํานักกิจการนักศึกษา (สวนศูนยศลิ ปวัฒนธรรม) - โครงการ SBC FRESHY NO ALCOHOL 2009 ระดับ 2 1-1.2-1 - แนวปฏิบัติและแผนการดําเนินการสํานักกิจการนักศึกษา ป 2552 3-3.2-2 - โครงการสงเสริมศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครั้งที่ 10 3-3.2-2/16 - โครงการศึกษาความเปนมารับการถายทอดวิธีทําขนมตึงตังและ ระดับ 3 6-6.1-1 เผยแพรวัฒนธรรมอาหารทองถิ่นบางนา “ขนมตึงตัง” สาขาวิชา การบัญชี - โครงการฟนฟูอนุรักษสืบสาน เผยแพรวัฒนธรรมทองถิ่น 6-6.1-2 การละเลน “สะบามอญ” สาขาวิชาการบัญชี - โครงการวันสถาปนาวิทยาลัย ระดับ 4 3-3.2-2/14 - โครงการพิธรี ดน้าํ - ดําหัวขอพรผูบริหารและผูสูงอายุ 3-3.2-2/13 - โครงการดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ 37 3-3.2-2/15 - โครงการศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครั้งที่ 10 3-3.2-2/16 - โครงการอนุรักษวัฒนธรรมการแตงกายดวยผาไทย 6-6.1-4 ทุกวันพฤหัสบดี ระดับ 5 ระดับ ** ตัวบงชี้ที่ 6.2 มีผลงานหรือชิ้นงานการพัฒนาองคความรู และสรางมาตรฐานศิลปวัฒนธรรม (เฉพาะสถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตและพัฒนาศิลปวัฒนธรรม) ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 จํานวน 1 ผลงาน คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

คะแนน 2 จํานวน 2 ผลงาน

คะแนน 3 จํานวนมากกวาหรือเทากับ 3 ผลงาน : :

2 ผลงาน 3 ผลงาน


ผลการดําเนินงาน 1. ขนมตึงตัง ขนมเอกลักษณบางนา อาหารไทยมีเอกลักษณเฉพาะถิ่น ประกอบดวย พืช สมุนไพร วัสดุธรรมชาติ นํามา ประดิษฐ ผสมใหคุณคาทางโภชนาการ อาหารหลายอยาง บอกถิ่นที่มา เชน ขาวซอยจากภาคเหนือ ขาวยํา จากปกษใต และ “ขนมตึงตัง” ของบางนาที่กําลังจะสูญหายไป ผลงาน “ขนมตึงตัง ขนมเอกลักษณบางนา ” เปนขนมของชาวไทย เชื้อสายมอญ แหงคลองบางนาแท ๆ ไมมีปรากฎในตําราอาหารใด ๆ ไมมีคนทํารับประทานมานานเกือบ 50 ป ซึ่งกําลัง จะสูญหายไป กลุมสาขาวิชาบริหารธุรกิจจึงไดฟนฟูและพัฒนาองคความรู ดานวัฒนธรรมการกินของ ชาวมอญบางนาขึ้นมาสรางเปนผลงานเพื่อการสืบสานและอนุรักษตอไป โดยมีการศึกษาวิธีการทํา นํามา จัดแสดง และสาธิต ใหประชาคมบางนาไดทดลองชิมโดยจัดเปนประเพณีเผยแพรในงานสงกรานตของ ทุกป ผลการประเมินพบวา สังคมชาวบางนาเกิดการตื่นตัววาบางนายังมีของดีอีกมากที่ยังไมได รับการถายทอดภูมิปญญา จากผูเฒาผูแก ซึ่งนับวันจะสูญหาย วิทยาลัยไดจัดตั้งศูนยสืบสานภูมิปญญา บรรพชนบางนา เพื่อสงเสริมใหเกิดความเขาใจวิถีชีวิตและภูมิปญญาบรรพชน 2. สะบามอญ วัฒนธรรมการละเลนพื้นบานของชาวพระประแดง พระโขนง บางนา บางพลี (6-6.1-2) การละเลนสะบามอญ เปนการละเลนของชาวมอญ โดย คณะบริหารธุรกิจได รวมกับ คณะศิลปศาสตรและนิติศาสตร ศึกษาความเปนมา นํามาฝกหัด โดยนักศึกษาที่สนใจ มีการจัดแสดง และ เผยแพร และรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของตาง ๆ มาเผยแพรตอสาธารณชนที่สนใจการฝกหัด เพื่อสรางผลงาน “การละเลนสะบามอญ” นี้เปนการสงเสริมใหเกิดความเขาใจวิถีชีวิตและภูมิปญญาบรรพชน 3. เพลงเรือชุมชนมอญ (6-6.1-3) เปนวัฒนธรรมที่สูญหายไปไมนอยกวา 50 ปแลว เดิมมีการเลน ในชวงเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน ซึ่งเปนประเพณีแขงเรือประจําป สถานที่เลน หนาเมืองพระประแดง หรือแหลมปูเจาสมิงพราย การละเลนจะเปนการรองรํา แกเพลงในเชิงเกี้ยวพาราศี หนุมสาวที่เลนตองมี ไหวพริบปฎิพานในเรื่องเพลง เพราะจะเปนการแตงสด รองสด การแตงกายของหนุมสาวก็จะแตงตัวตาม วัฒนธรรม ซึ่งมีความสวยงาม ผลงานในการพัฒนาองคความรูดานศิลปะและวัฒนธรรม จํานวน 3 ชิ้นงาน วิทยาลัย ไดนํามารวบรวม เพื่อตีพิมพเผยแพรในจุลสารศิลปและวัฒนธรรม วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก และเผยแพร เปนรูปเลมในสํานักวิทยบริการ และจัดเก็บเปนฐานขอมูลไวเพื่อการสืบคนแกผูที่สนใจทั่วไป และเผยแพรไวในเว็บไซตของวิทยาลัย www.southeast.ac.th การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย


รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด 6-6.1-1 - รายงานการสืบสานวัฒนธรรมอาหารทองถิ่นบางนา “ขนมตึงตัง” (คณะบริหารธุรกิจ 4-4.3-1) - รายงานการเผยแพรวัฒนธรรมอาหารทองถิ่นบางนา “ขนมตึงตัง” (คณะบริหารธุรกิจ 4-4.3-2) - สูจิบัตร โครงการฟนฟู อนุรักษ สืบสาน เผยแพรวัฒนธรรม อาหารทองถิ่นบางนา “ขนมตึงตัง” (คณะบริหารธุรกิจ 4-4.3-3) 6-6.1-2 - รายงานการสืบสานวัฒนธรรมทองถิ่นการละเลน “สะบามอญ” (คณะบริหารธุรกิจ 4-4.3-4) - รายงานการเผยแพรวัฒนธรรมทองถิ่นการแสดง การละเลน “สะบามอญ” (คณะบริหารธุรกิจ 4-4.3-5) - สูจิบัตร โครงการฟนฟู อนุรักษ สืบสาน เผยแพรวัฒนธรรม การละเลน “สะบามอญ” (คณะบริหารธุรกิจ 4-4.3-6) 6-6.1-3 - ประวัติบุคคลสําคัญดานวัฒนธรรม อาจารย ฉวีวรรณ ควรแสวง - จุลสารศิลปะและวัฒนธรรม วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ฉบับที่ 40, 42 และ 48 ** ตัวบงชี้ที่ 6.3 ประสิทธิผลในการอนุรักษ พัฒนาและสรางเสริมเอกลักษณศิลปวัฒนธรรม (เฉพาะสถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตและพัฒนาศิลปวัฒนธรรม) ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. มีแผนหรือโครงการเพื่อการอนุรักษ พัฒนาและเสริมสราง เอกลักษณศิลปวัฒนธรรม 2. มีการดําเนินการตามแผนหรือโครงการที่กําหนด 3. มีการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมเขากับพันธกิจอื่น อีก 1 ดาน อยางนอย 1 โครงการ 4. มีการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมเขากับพันธกิจอื่น อีก 2 ดาน อยางนอย 1 โครงการ

-

เอกสาร หมายเลข 3-3.2-13

 

-

1-1.1-2 6-6.1-1

-

6-6.1-2


เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

5. มีการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมเขากับพันธกิจอื่น อีกมากกวาหรือเทากับ 2 ดาน และมีการนําศิลปวัฒนธรรมหรือ ภูมิปญญาไทยออกเผยแพรในระดับสากล อยางนอย 1 โครงการ

-

เอกสาร หมายเลข -

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3 ขอแรก

คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรก : :

ระดับ 4 ระดับ 4

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 4 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีแผนหรือโครงการเพื่อการอนุรักษพัฒนาและเสริมสรางเอกลักษณศิลปวัฒนธรรม ในการจัด โครงการ/กิจกรรมจะตองบรรจุไวในแนวปฎิบัติและแผนการดําเนินงานประจําป เชน โครงการ ลอยกระทงสืบสานประเพณีไทย ระดับ 2 มีการดําเนินการตามแผนหรือโครงการที่กําหนดทุกครั้งที่จะทําโครงการ/กิจกรรมจะดําเนินการ ตามแนวปฎิบัติและแผนการดําเนินการสํานักกิจการนักศึกษา ประจําปการศึกษา 2552 ระดับ 3 มีการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม เขากับพันธกิจดานการเรียนการสอนโดยนํา ผลการสืบสาน เผยแพรวัฒนธรรม มาจัดทําฐานขอมูลดานศิลปวัฒนธรรม และนํามาบูรณาการกับ พันธกิจดานการเรียนการสอนในรายวิชาภูมิปญญาไทย วิชาจริยธรรม วิชาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเปนวิชาในหมวดศึกษาทั่วไป นอกจากนี้ยังนํามาบูรณาการกับการเรียนวิชาเอกเลือกของ กลุมสาขาวิชาการบัญชี ไดแก วิชาการบัญชีตนทุน (6-6.3-1) เปนตน


เกณฑ ระดับ 4

การดําเนินงานในแตละระดับ มีการบูรณาการงานดานศิลปวัฒนธรรม เขากับพันธกิจดานการบริการวิชาการ และพันธกิจดาน การวิจัยโดย โครงการอาหารพื้นถิ่น “ขนมตึงตัง ขนมเอกลักษณบางนา ” ไดบูรณาการเขากับ การบริการวิชาการแกชุมชน โดยการจัดสาธิต สอน และเผยแพร ใหกับผูสนใจ ในชุมชน สังคม ในเทศกาลสงกรานตของทุกป ที่วิทยาลัย และเผยแพรผานสื่อเคเบิ้ลทีวี ของ บริษัท ปราการเคเบิ้ล ทีวี จํากัด และบริษัท นครเขื่อนขันธ เคเบิ้ลทีวี จํากัด รวมทั้งเผยแพรผานวิทยุชุมชน และ หนังสือพิมพทองถิ่น เพื่ออนุรักษ สืบสานวัฒนธรรม ตอไป สําหรับฐานขอมูลซึ่งพัฒนามาจาก โครงการเรียนรู สืบสาน อนุรักษ วัฒนธรรม และภูมิปญญาบรรพชนนั้น ยังนํามาบูรณาการเขากับ พันธกิจดานการวิจัย ในการดําเนินโครงการวิจัยประวัติศาสตรทองถิ่นบางนา ซึ่งดําเนินการขั้นตน ไปแลวในปการศึกษา 2552 และในป 2553 จะดําเนินการขอทุนสนับสนุนการวิจยั ทั้งจากภายใน และภายนอกวิทยาลัย โดยมีประธานคณะทํางานวิจัย คือ ดร. อําพล นววงศเสถียร (ผูชวยคณบดี คณะบริหารธุรกิจ) และมีอาจารยสมชาย ชูประดิษฐ เปนที่ปรึกษาโครงการ

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 3-3.2-2/11 โครงการลอยกระทงสืบสานประเพณีไทย ระดับ 2 3-3.2-1 แนวฏิบัติและแผนการดําเนินงานสํานักกิจการนักศึกษา ปการศึกษา 2552 ระดับ 3 6-6.3-1 - โครงการสอนวิชาภูมิปญญาไทย (คณะบริหารธุรกิจ 4-4.4-2) - โครงการสอนวิชาจริยธรรม (คณะบริหารธุรกิจ 4-4.4-3) - โครงการสอนวิชาเศรษฐกิจพอเพียง (คณะบริหารธุรกิจ 4-4.4-4) - โครงการสอนวิชาการบัญชีตนทุน (คณะบริหารธุรกิจ 4-4.4-5) ระดับ 4 6-6.3-2 หลักฐานการเผยแพรทางเคเบิ้ลทีวีทองถิ่น/วิทยุชุมชนทองถิ่น 6-6.3-3 หลักฐานการบูรณาการกับพันธกิจดานการวิจัย


องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ที่ 7.1 สภาสถาบันใชหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการและสามารถผลักดันสถาบันใหแขงขันได ในระดับสากล ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ขอ เอกสาร เกณฑมาตรฐาน มี ไมมี หมายเลข  1. สภาสถาบันมีบทบาทสําคัญในการกําหนดทิศทาง ยุทธศาสตรและ 7-7.1-1 นโยบายของสถาบัน  7-7.1-2 2. สภาสถาบันมีการติดตามผลการดําเนินงานตามภารกิจหลักของ สถาบันมากกวาปละ 2 ครั้ง  3. มีการประชุมกรรมการสภาสถาบันอยางต่ํารอยละ 80 ของแผน 7-7.1-3 ในการประชุมแตละครั้งมีกรรมการเขารวมโดยเฉลี่ยไมนอยกวา รอยละ 80 โดยมีการสงเอกสารใหกรรมการสภาสถาบันอยางนอย 7 วันกอนการประชุม  4. สภาสถาบันจัดใหมีการประเมินผลงานของอธิการบดีหรือผูบริหาร 7-7.1-4 สูงสุดตามหลักเกณฑที่ตกลงกันไวลวงหนา  7-7.1-5 5. สภาสถาบันมีการดําเนินงานโดยใชหลักธรรมาภิบาลและสงเสริม การบริหารงานโดยใชหลักธรรมาภิบาลทั่วทั้งองคกร เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 4 ขอ คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 4 ขอ

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :

5 ขอ 5 ขอ


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน 5 ขอ ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละขอ ขอ 1 คณะกรรมการสภาวิทยาลัยมีบทบาทสําคัญในการกําหนดทิศทาง ยุทธศาสตรและนโยบาย ของวิทยาลัย โดยมีสว นรวมในการใหขอ เสนอแนะ และพิจารณาใหความเห็นชอบแผน ยุทธศาสตร พ.ศ. 2548 – 2552 ของวิทยาลัย และแผนการพัฒนาการศึกษา วิทยาลัย เซาธอีสทบางกอก พ.ศ. 2551 – 2555 ขอ 2 คณะกรรมการสภาวิทยาลัยมีการติดตามผลการดําเนินงานตามภารกิจหลักของวิทยาลัย มากกวาปละ 2 ครั้ง โดยในการประชุมแตละครั้ง ฝายบริหารจะรายงานการดําเนินงานตาม ภารกิจหลักของวิทยาลัยทุกครั้ง ขอ 3 มีการประชุมกรรมการสภาวิทยาลัย จํานวน 4 ครั้ง ตามที่กําหนดไวในแผนการประชุม โดย มีกรรมการเขารวมประชุมเฉลี่ยไมนอยกวารอยละ 80 โดยมีการจัดสงเอกสาร อยางนอย 7 วัน กอนการประชุม ขอ 4 สภาวิทยาลัยจัดใหมีการประเมินผลงานของอธิการบดี ตามหลักเกณฑที่ตกลงไวลวงหนา ขอ 5 สภาวิทยาลัยมีการดําเนินงานโดยใชหลักธรรมาภิบาล และสงเสริมการบริหารงาน โดยใช หลักธรรมาภิบาลทั่วทั้งองคกร การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ขอ 1 7-7.1-1/1 (1-1.1-2/1) 7-7.1-1/2 (1-1-1-2/2) ขอ 2 7-7.1-2 (1-1.1-5-2) ขอ 3 7-7.1-3 ขอ 4 ขอ 5

7-7.1-4 7-7.1-5

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก แผนยุทธศาสตร พ.ศ. 2548 – 2552 แผนพัฒนาการศึกษา วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก พ.ศ. 2551 – 2555 รายงานการประชุมสภา วิทยาลัยประจําป พ.ศ. 2552 สรุปรายงานกรรมการที่เขารวมประชุมสภาและลายเซ็นตเขารวม ประชุมประจําป พ.ศ. 2552 แบบประเมินผลการปฎิบัติงานบุคลากร (อธิการบดี/รองอธิการบดี) สรุปรายงานผลการดําเนินงานของสภาวิทยาลัยประจําป พ.ศ. 2552


ตัวบงชี้ที่ 7.2 ภาวะผูนําของผูบริหารทุกระดับของสถาบัน ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. มีกระบวนการสรรหาผูบริหารที่เปนระบบ โปรงใส ตรวจสอบได

-

2. ผูบริหารดําเนินการบริหารดวยหลักธรรมาภิบาลและใชศักยภาพ

-

-

-

ภาวะผูนําที่มีอยูโดยคํานึงถึงประโยชนของสถาบันและผูมีสวนได สวนเสีย 3. มีกระบวนการประเมินศักยภาพและผลการปฏิบัติงานของผูบริหาร ที่ชัดเจนและเปนที่ยอมรับในสถาบัน 4. มีการจัดทําแผนและกลไกการพัฒนาศักยภาพของผูบริหารตามผล การประเมิน และดําเนินการตามแผนอยางครบถวน

เอกสาร หมายเลข 7-7.2-1/1 7-7.2-1/2 7-7.2-1/3 7-7.2-2 7-7.2-2/2 7-7.2-3/1 7-7.2-3/2 7-7.2-4

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3 ขอแรก

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :

ระดับ 4 ระดับ 4

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานระดับ 4 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีกระบวนการสรรหาผูบริหารที่เปนระบบ โปรงใส ตรวจสอบได โดยมีการแตงตั้ง คณะกรรมการสรรหาและคัดเลือก มีแบบฟอรมการพิจารณา และปฎิบัติตามระเบียบฯ วาดวยการบริหารงานบุคคลของวิทยาลัยอยางเครงครัด ระดับ 2 ผูบริหารดําเนินการบริหารดวยหลักธรรมาภิบาล และใชศักยภาพภาวะผูนําที่มีอยูโดย คํานึงถึงประโยชนของสถาบันและผูมีสวนไดสวนเสีย


เกณฑ ระดับ 3

ระดับ 4

การดําเนินงานในแตละระดับ มีกระบวนการประเมินผลศักยภาพ และผลการปฎิบัติงานของผูบริหารที่ชัดเจน และเปนที่ ยอมรับในสถาบัน โดยมีคณะกรรมการประเมินผลการปฎิบัติงาน และมีการรายงานผลให อธิการบดีรับทราบ และใหผลปอนกลับแกผูถูกประเมินเพื่อพัฒนาตนเอง เมื่อปรากฎวาผลการประเมินผูบริหารไมเปนไปตามเกณฑ ใหสํานักอธิการบดีเสนอแผน และกลไกในการพัฒนาศักยภาพใหสูงขึ้น

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน ระดับ 1

ระดับ 2

ระดับ 3

ระดับ 4

เอกสาร หมายเลข 7-7.2-1/1 7-7.2-1/2 7-7.2-1/3 7-7.2-2/1 (2-2.2-1) 7-7.2-2/2 (1-1.1-5/1) 7-7.2-3/1 7-7.2-3/2 7-7.2-4

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการสรรหาและคัดเลือก แบบฟอรมพิจารณาคุณสมบัติ และการสัมภาษณบุคลากร ระเบียบฯ วาดวยการบริหารงานบุคคลในวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก เอกสารประกอบการประชุมเตรียมความพรอม ปการศึกษา 2552 รายงานการประชุมคณะผูบริหาร ปการศึกษา 2552 รายงานผลการปฎิบัติงานของบุคลากร ประจําปการศึกษา 2552 คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการประเมินผลการปฎิบัติงาน ประจําป การศึกษา 2552 เกณฑการประเมินผลการปฏิบัติงานประจําปของบุคลากร วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก


ตัวบงชี้ที่ 7.3 มีการพัฒนาสถาบันสูองคการเรียนรู ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน 1. มีการทบทวนและจัดทําแผนการจัดการความรู เพื่อมุงสูองคกรแหง การเรียนรูและประชาสัมพันธเผยแพรใหประชาคมของสถาบันรับทราบ 2. มีการดําเนินการตามแผนจัดการความรูและประสบความสําเร็จตาม เปาหมายไมนอยกวารอยละ 50 3. มีการดําเนินการตามแผนจัดการความรูและประสบความสําเร็จตาม เปาหมายรอยละ 100 4. มีการติดตามประเมินผลความสําเร็จของการจัดการความรู 5. มีการนําผลการประเมินไปปรับใชในการพัฒนากระบวนการ จัดการความรูใหเปนสวนหนึ่งของกระบวนงานปกติและปรับปรุง แผนการจัดการความรู

มี

ไมมี

-

เอกสาร หมายเลข 7-7.3-1

-

7-7.3-2

-

-

 

-

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3 ขอแรก

คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรก : :

ระดับ 3 ระดับ 3

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 2 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีการทบทวนและจัดทําแผนการจัดการความรู เพื่อมุงสูองคกรแหงการเรียนรู และ ประชาสัมพันธเผยแพรใหประชาคมของวิทยาลัยทราบ โดยมีระบบในการรวบรวมความรู จากการอบรม การประชุมสัมมนา มีการเผยแพรความรูโดยใชเอกสาร/จุลสาร และ เทคโนโลยีสารสนเทศ (ผานโปรแกรม Microsoft Outlook และ เว็บไซตของวิทยาลัย)


เกณฑ ระดับ 2

ระดับ 3

การดําเนินงานในแตละระดับ มีการดําเนินการตามแผนจัดการความรู และประสบความสําเร็จตามเปาหมายประมาณ ครึ่งหนึ่งของแผนโดยเปาหมายหลักในปการศึกษา 2552 คือ จัดใหมีหนวยงานกลาง ในการดําเนินการและเผยแพรความรู ตามแผนการจัดการความรู มีการดําเนินการตามแผนจัดการความรู และประสบตามสําเร็จตามเปาหมาย กลาวคือ ทุกคณะมีการดําเนินการดานการจัดการความรูอยางเปนรูปธรรม

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 7-7.3-1 แผนการจัดการความรู วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ปการศึกษา 2552 ระดับ 2 7-7.3-2 ตัวอยาง Print out การจัดการความรูของหนวยงานกลาง (สํานักวิทยบริการ) และหนวยงานคณะ (คณะศิลปศาสตร) ระดับ 3 7-7.3-3 การจัดการความรูของคณะ ปการศึกษา 2552 ตัวบงชี้ที่ 7.4 มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อพัฒนาและธํารงรักษาไวใหบุคลากรมี คุณภาพและประสิทธิภาพ ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน 1. มีการจัดทําแผนการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนรูปธรรม ภายใต การวิเคราะหขอมูลเชิงประจักษ 2. มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนการสงเสริม สมรรถนะในการปฏิบัติงาน เชน การสรรหา การจัดวางคนลง ตําแหนง การกําหนดเสนทางเดินของตําแหนง การสนับสนุน เขารวมประชุม ฝกอบรมและหรือเสนอผลงานทางวิชาการ การประเมินผลการปฏิบัติงาน มาตรการสรางขวัญกําลังใจ มาตรการลงโทษ รวมทั้งการพัฒนา และรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพ

มี

ไมมี

-

-

เอกสาร หมายเลข 7-7.4-1 7-7.4-2/1 7-7.4-2/2 7-7.4-2/3


เกณฑมาตรฐาน 3. มีระบบสวัสดิการและเสริมสรางสุขภาพที่ดี และสรางบรรยากาศ ที่ดีใหบุคลากรทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพและอยูอยางมีความสุข 4. มีระบบสงเสริมสนับสนุนบุคลากรที่มีศักยภาพสูงใหมีโอกาส ประสบความสําเร็จและกาวหนาในอาชีพอยางรวดเร็วตามสายงาน 5. มีการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรทุกระดับอยางเปนระบบ 6. มีการนําผลการประเมินความพึงพอใจเสนอผูบริหารระดับสูง และ มีแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาเพื่อใหดีขึ้น

มี

ไมมี

-

เอกสาร หมายเลข 7-7.4-3

-

7-7.4-4

-

 

-

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก มีการดําเนินการ 3- 4 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 5 ขอแรก : :

ระดับ 4 ระดับ 4

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 4 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีการจัดทําแผนการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนรูปธรรม ภายใตการวิเคราะหขอมูล เชิงประจักษ ไดแก การจัดทําแผนพัฒนาอาจารยและบุคลากร ระดับ 2 มีระบบและกลไกการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนการสงเสริมสมรรถนะในการ ปฎิบัติงาน เชน การสรรหา การกําหนดตําแหนง การสนับสนุนใหเขารวมอบรม ประชุม สัมมนา และ/หรือเสนอผลงาน การประเมินผลการปฎิบัติงาน การสรางขวัญกําลังใจ มาตรการลงโทษ รวมทั้งการพัฒนาและรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพ ระดับ 3 มีระบบสวัสดิการและเสริมสรางสุขภาพที่ดี และสรางบรรยากาศที่ดีใหบุคลากรทํางานได อยางมีประสิทธิภาพและอยูอยางมีความสุข มีสวัสดิการตามที่ระบุไวใน ระเบียบฯ วาดวย การบริหารงานบุคคล ในวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ระดับ 4 มีระบบสงเสริมสนับสนุนบุคลากรที่มีศักยภาพสูงใหมีโอกาสประสบความสําเร็จและ กาวหนาในอาชีพอยางรวดเร็ว โดยการสงเสริมใหลาศึกษาตอ การใหทุนเพื่อการศึกษาตอ


การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 1-1.1-2/1 แผนยุทธศาสตร วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก พ.ศ. 2548-2552 ระดับ 2 7-7.4-2/1 แนวปฎิบัติและแผนการดําเนินงาน ฝายบุคคล สํานักอธิการบดี ปการศึกษา 2552 สรุปการเขารวมประชุม ฝกอบรม ของคณาจารยและเจาหนาที่ 7-7.4-2/2 ปการศึกษา 2552 สรุปรายงานการประเมินผลการปฎิบัติงานของคณาจารย เจาหนาที่ 7-7.4-2/3 ปการศึกษา 2552 ระดับ 3 7-7.2-1/3 ระเบียบฯ วาดวยการบริหารงานบุคคลในวิทยาลัยเซาธอีสท บางกอก ระดับ 4 7-7.4-4 รายงานการลาศึกษาตอ และการใหทุนเพื่อการศึกษาตอ ตัวบงชี้ที่ 7.5 ศักยภาพของระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. มีนโยบายในการจัดทําระบบฐานขอมูลเพื่อการตัดสินใจ 2. มีระบบฐานขอมูลเพื่อการตัดสินใจ 3. มีการประเมินประสิทธิภาพ และความปลอดภัยของระบบฐานขอมูล 4. มีการประเมินความพึงพอใจของผูใชฐานขอมูล 5. มีการนําผลการประเมินในขอ 3 และ 4 มาปรับปรุงระบบฐานขอมูล 6. มีการเชื่อมโยงระบบฐานขอมูลของสถาบันผานระบบเครือขายกับ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาตามรูปแบบมาตรฐานที่ กําหนด

     

-

เอกสาร หมายเลข 7-7.5-1 7-7.5-2 7-7.5-3 7-7.5-4 7-7.5-4 7-7.5-5

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 2 ขอแรก

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 2 ขอแรก

คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 3 ขอแรก


คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

: :

ระดับ 3 ระดับ 6

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 6 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 วิทยาลัยมีนโยบายในการจัดทําระบบฐานขอมูลเพื่อการตัดสินใจ โดยจัดทําฐานขอมูล ใหตรงกับความตองการของผูใชมากที่สุด ระดับ 2 วิทยาลัย มีการจัดซื้อและพัฒนาระบบซอฟตแวรเพื่อสนับสนุนดานการเรียนการสอน ดานการบริหารจัดการ และดานการใหบริการ โดยแบงเปนระบบตางๆ ดังนี้ 1. ระบบบริการการศึกษา ประกอบดวย ระบบยอย ดังนี้ 1.1 ระบบฐานขอมูลพื้นฐาน 1.2 ระบบงานทะเบียน ประวัตินักศึกษา 1.3 ระบบงานทะเบียนอาจารยและเจาหนาที่ 1.4 ระบบงานกําหนด และรับรายงานตัวนักศึกษาใหม 1.5 ระบบกําหนดตารางเรียน ตารางสอน และตารางสอบ 1.6 ระบบรับลงทะเบียนนักศึกษา 1.7 ระบบงานใบรับรอง 1.8 ระบบงานวัดผลและประมวลผล 1.9 ระบบงานสําเร็จการศึกษา 1.10 ระบบงานบริการผานทาง web site (1) สําหรับนักศึกษา อาจารย และบุคคลทั่วไป (2) สําหรับผูบริการ 2. ระบบงบประมาณ การเงิน และบัญชี 2.1 ระบบงบประมาณการเงิน 2.2 ระบบบัญชี Express 3. ระบบงานบุคลากร 3.1 ระบบฐานขอมูลบุคลากร 4. ระบบอิเล็กทรอนิกสเมล 5. ระบบฐานขอมูลหองสมุดออนไลน


เกณฑ ระดับ 3

ระดับ 4 ระดับ 5 ระดับ 6

การดําเนินงานในแตละระดับ 1. ติดตั้งระบบไฟฟาสํารองและระบบการจายไฟฟาสํารอง เพื่อใหระบบมีความมั่นคงและ มีเสถียรภาพสูง เมื่อเกิดปญหาไฟฟาดับ เครื่องคอมพิวเตอรแมขายยังสามารถทํางานได เปนปกติ และระบบฐานขอมูลตางๆ สามารถทํางานไดตามปกติ 2. มีการกําหนดรหัสหรือการกําหนดสิทธิ์ในการเขาถึงขอมูล ของระบบฐานขอมูลตางๆ สําหรับผูปฎิบัติงานในแตละระดับ 3. ดําเนินการติดตั้งอุปกรณ Firewall และ IDS/IPS เพื่อปองกันการใชเครือขายอินเทอรเน็ต อยางผิดประเภท และสรางระบบตรวจจับและปองกันการบุกรุก จากบุคคลที่ ประสงคราย 4. ดําเนินการติดตั้ง Radius Server ดวยโปรแกรม Internet Authentication Service (IAS) ของบริษัทไมโครซอฟต เพื่อใชสําหรับตรวจสอบ และระบุตัวตนพรอมทั้งกําหนดสิทธิ์ ในการใชงานและจัดเก็บล็อคไฟลตาม พรบ. คอมพิวเตอร ป 2550 มีการประเมินความพึงพอใจ ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของระบบฐานขอมูล โดยผล การประเมินความพึงพอใจของผูใชบริการโดยรวมอยูในระดับมาก ( x =3.94) มีการนําผลการประเมินมาปรับปรุงระบบฐานขอมูล มีการเชื่อมโยงระบบฐานขอมูลของวิทยาลัยผานระบบเครือขายของ สกอ. เชน ฐานขอมูล นักศึกษา ฐานขอมูลบุคลากร ฐานขอมูลหลักสูตร ซึ่งตองจัดสงตามกําหนดเวลา รวมทั้ง การเชื่อมโยงผานระบบ CHE QA ONLINE เปนตน

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 7-7.5-1 การอนุมัติโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศของวิทยาลัย ระดับ 2 7-7.5-2 คูมือการใชงานระบบฐานขอมูลตางๆ ของวิทยาลัย ระดับ 3 7-7.5-3 รายงานการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2552 ฝายบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ ระดับ 4 7-7.5-4 รายงานสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ ประสิทธิภาพ และ ความปลอดภัยของระบบฐานขอมูล ระบบบริการการศึกษา ระดับ 5 7-7.5-4 รายงานสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ ประสิทธิภาพ และ ความปลอดภัยของระบบฐานขอมูล ระบบบริหารการศึกษา ระดับ 6 7-7.5-5 การจัดสงฐานขอมูลตาง ๆ ให สกอ. ตามกําหนดเวลา การเชื่อมโยง ระบบ CHE QA ONLINE เปนตน


ตัวบงชี้ที่ 7.6 ระดับความสําเร็จในการเปดโอกาสใหบุคคลภายนอกเขามามีสวนรวมในการพัฒนา สถาบันอุดมศึกษา ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. มีการเปดเผยขอมูลขาวสารแกประชาชนอยางโปรงใส ผานชองทาง ตาง ๆ อาทิ เอกสารสิ่งพิมพ เว็บไซต นิทรรศการ 2. มีระบบการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนผานชองทางที่เปดเผย และเปนที่รับรูกันโดยทั่วอยางนอย 3 ชองทาง 3. มีการนําความคิดเห็นของประชาชนไปประกอบการบริหารงาน โดยมีเจาหนาที่รับผิดชอบและมีการดําเนินงานอยางเปนรูปธรรม 4. มีที่ปรึกษาที่มาจากภาคประชาชน ทั้งที่เปนทางการและไมเปน ทางการ และมีการดําเนินกิจกรรมรวมกันอยางตอเนื่องและชัดเจน เชน จัดประชุมรวมกันอยางนอยปละ 2 ครั้ง 5. มีกระบวนการหรือกลไกการติดตามตรวจสอบโดยภาคประชาชน

-

เอกสาร หมายเลข 7-7.6-1

-

7-7.6-2

-

7-7.6-3

-

-

-

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก มีการดําเนินการ 3- 4 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :

ระดับ 3 ระดับ 4

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 3 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 วิทยาลัยมีระบบในการเปดเผยขอมูลผานชองทางตางๆ ของวิทยาลัย ไดแก จดหมายขาว เว็บไซตของวิทยาลัย สื่อหนังสือพิมพ โทรทัศน เคเบิลทีวี วิทยุชุมชน อยางตอเนื่อง ระดับ 2 มีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนผานชองทางที่เปดเผย และเปนที่รับรูกันอยางนอย 3 ชองทาง ไดแก ชองทาง web board ระบบรับเรื่องรองเรียนผานเว็บไซต ระบบรับฟง ความคิดเห็นของนักศึกษาเพื่อนําไปปรับปรุงและพัฒนากระบวนการทํางานและการ ใหบริการ


เกณฑ ระดับ 3

ระดับ 4

การดําเนินงานในแตละระดับ วิทยาลัยมีแนวทางในการนําความคิดเห็นของภาคประชาชน มาพัฒนาการดําเนินงานของ วิทยาลัย ผานคณะกรรมการที่เปนบุคคลภายนอกที่เขามาเกี่ยวของ เชน คณะกรรมการ กํากับมาตรฐาน เปนตน มีที่ปรึกษาที่มาจากภาคประชาชน เขารวมในการจัดโครงการตาง ๆ ของวิทยาลัย เชน โครงการอบรมภาษาอังกฤษ และเรียนรูวัฒนธรรมตางชาติ สําหรับ พอคา แมคา ตลาดน้ํา บางน้ําผึ้ง อ.พระประแดง สมุทรปราการ วิทยาลัยมีที่ปรึกษาโครงการเปนนายก อบต. บางน้ําผึ้ง เปนตน การมีที่ปรึกษามาจากภาคประชาชน ทําใหโครงการประสบความสําเร็จ เปนอยางยิ่ง และไดรับการรองขอใหจัดโครงการตอเนื่องอีก เปนตน

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 7-7.6-1 จดหมายขาว (Newsletter) SBC (มิ.ย. 52 – พ.ค. 53) ตัวอยาง สิ่งพิมพที่มีการเผยแพรขอมูลขาวสารของวิทยาลัย เว็บไซต วิทยาลัย ระดับ 2 7-7.6-2 ตัวอยางเอกสารการรับฟงความคิดเห็นจากประชาชน เชน เว็บบอรดการรับฟงความคิดเห็น ระดับ 3 7-7.6-3 คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการกํากับมาตรฐาน ระดับ 4 7-7.6-4 โครงการอบรมภาษาอังกฤษและเรียนรูวัฒนธรรมตาชาติของพอคา แมคา ตลาดน้ําบางน้ําผึ้ง ฯ


ตัวบงชี้ที่ 7.7 รอยละของอาจารยประจําที่ไดรับรางวัลผลงานทางวิชาการหรือวิชาชีพในระดับชาติหรือ นานาชาติ ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑการประเมิน : 1. เกณฑเฉพาะสถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตและพัฒนาศิลปวัฒนธรรม คะแนน 1 รอยละ 0.1- รอยละ 0.99

คะแนน 2 รอยละ 1- รอยละ 1.99

คะแนน 3 1.มากกวาหรือเทากับรอยละ 2 และ 2.อยางนอยรอยละ 50 ของผูที่ไดรับ รางวัลในขอ 1 เปนรางวัลดานศิลปะ และวัฒนธรรม

หมายเหตุ กรณีไดขอ 1 แตไมไดขอ 2 ถือวา ไดคะแนน 2

คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

: :

รอยละ 0.1 รอยละ 1.4

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 อาจารยประจําของวิทยาลัยยังไดรับรางวัลผลงานวิชาชีพในระดับนานาชาติ จํานวน 1 คน คือ ดร.สฤษดิ์ผล ชมไพศาล ไดรับรางวัล Highly Recommended Lawyer จาก Global Counsel 3000 การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย


ตัวบงชี้ที่ 7.8 มีการนําระบบบริหารความเสี่ยงมาใชในกระบวนการบริหารการศึกษา ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. มีการแตงตั้งคณะกรรมการหรือคณะทํางานบริหารความเสี่ยง โดยมีผูบริหารระดับสูงและตัวแทนที่รับผิดชอบพันธกิจหลักของ สถาบันรวมเปนคณะกรรมการหรือคณะทํางาน โดยผูบริหาร ระดับสูงตองมีบทบาทสําคัญในการกําหนดนโยบายหรือแนวทาง ในการบริหารความเสี่ยง 2. มีการวิเคราะหและระบุปจจัยเสี่ยงที่สงผลกระทบหรือสรางความ เสียหายหรือความลมเหลวหรือลดโอกาสที่จะบรรลุเปาหมายใน การบริหารงาน และจัดลําดับความสําคัญของปจจัยเสี่ยง 3. มีการจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง โดยแผนดังกลาวตองกําหนด มาตรการหรือแผนปฏิบัติการในการสรางความรู ความเขาใจใหกับ บุคลากรทุกระดับในดานการบริหารความเสี่ยงและการดําเนินการ แกไข ลด หรือปองกันความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรม 4. มีการดําเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง 5. มีการสรุปผลการดําเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง ตลอดจนมี การกําหนดแนวทางและขอเสนอแนะในการปรับปรุงแผนบริหาร ความเสี่ยงโดยไดรับความเห็นชอบจากผูบริหารสูงสุดของสถาบัน

-

เอกสาร หมายเลข 7-7.8-1

-

7-7.8-2

-

7-7.8-3

7-7.8-3 -

-

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก มีการดําเนินการ 3- 4 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :

ระดับ 1 ระดับ 4


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 4 ดังนี้ เกณฑ ระดับ 1 ระดับ 2

ระดับ 3

ระดับ 4

การดําเนินงานในแตละระดับ มีการแตงตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โดยมีผูบริหารระดับสูงเปนกรรมการ มีหนาที่ในการกําหนดนโยบาย และแนวทางในการบริหารความเสี่ยง วิทยาลัยและหนวยงานหลักไดมีการวิเคราะหและระบุปจจัยเสี่ยงที่จะสงผลกระทบหรือ สรางความเสียหาย หรือความลมเหลว ทําใหโอกาสในการบรรลุเปาหมายตามภารกิจหลัก ลดลง มีการจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง ปการศึกษา 2552 โดยมุงสรางความรูความเขาใจใหแก บุคลากรทุกระดับ ในดานการบริหารความเสี่ยง และการดําเนินการเพื่อแกไข ลด หรือ ปองกันความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น มีการดําเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 7-7.8-1 คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ระดับ 2 7-7.8-2 สรุปรายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ครั้งที่ 1/2552, ครั้งที่ 2/2552 ระดับ 3 7-7.8-3 แผนบริหารความเสี่ยง วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ปการศึกษา 2552 ระดับ 4 7-7.8-3 แผนบริหารความเสี่ยง วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ปการศึกษา 2552


ตัวบงชี้ที่ 7.9 ระดับความสําเร็จของการถายทอดตัวชี้วัดและเปาหมายของระดับองคกรสูระดับบุคคล ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เอกสาร เกณฑมาตรฐาน มี ไมมี หมายเลข  1. มีการกําหนดแนวทางการดําเนินการในการประเมินผลภายใน 7-7.9-1 สถาบัน  2. มีแผนงานการประเมินผลภายในสถาบัน 7-7.9-2  3. มีการกําหนดตัวบงชี้และเปาหมายตามพันธกิจและยุทธศาสตรของ 7-7.9-3 สถาบัน  4. มีการจัดทํา Strategy Map ของหนวยงานในระดับคณะหรือ เทียบเทา โดยกําหนดเปาประสงคของแตละประเด็นยุทธศาสตร ที่เกี่ยวของกับหนวยงานใหเชื่อมโยงกับเปาประสงคและประเด็น ยุทธศาสตรของสถาบัน  5. มีการยืนยันวิสัยทัศนและประเด็นยุทธศาสตรของ สถาบันอุดมศึกษาในระดับคณะหรือเทียบเทา  6. มีระบบในการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดและเปาหมาย ตามคํารับรองของผูบริหารระดับตาง ๆ  7. มีการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดและเปาหมายตาม คํารับรอง  8. มีการนําผลการประเมินการดําเนินงานของผูบริหาร ไปเชื่อมโยง กับระบบการสรางแรงจูงใจ เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรก มีการดําเนินการ 5- 7 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :

ระดับ 5 ระดับ 3


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 3 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 วิทยาลัยมีการกําหนดแนวทางการดําเนินการในการประเมินผลภายในสถาบัน ทั้งในระดับบุคคลและหนวยงาน โดยชี้แจงและทําความเขาใจกับบุคลากรทุกระดับ ในการประชุมสัมมนาประจําป ระดับ 2 มีแผนงานการประเมินผลภายในสถาบัน ทั้งในระดับบุคคลและหนวยงาน ในระเบียบฯ วาดวยการบริหารงานบุคคลในวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ระดับ 3 มีการกําหนดตัวบงชี้และเปาหมายตามพันธกิจและยุทธศาสตรของวิทยาลัย โดยมี แผนยุทธศาสตรทั้ง 5 ดาน คือ การสรางบัณฑิตที่พึงประสงค การสรางผลงานวิจัยเพื่อ การพัฒนา การพัฒนาบริการทางวิชาการตามความตองการของชุมชน/สังคม การทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรมสงเสริมสืบสาน สานสัมพันธวัฒนธรรมกับชุมชน และอนุรักษภูมิปญญา บรรพชนทองถิ่น และการพัฒนาวิทยาลัยและเสริมสรางการบริหารจัดการที่ดี การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 1 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย ไมบรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 7-7.9-1 เอกสารประกอบการประชุมการสัมมนาประจําปการศึกษา 2552 (นโยบายและวิสัยทัศนของวิทยาลัย) ระดับ 2 7-7.2-1/3 ระเบียบฯ วาดวยการบริหารงานบุคคลในวิทยาลัยเซาธอีสท บางกอก (การประเมินผล) ระดับ 3 7-7.9-3 ยุทธศาสตร เปาประสงคฯ แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ. 2551-2555 (1-1.1-2/2)


องคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ

ตัวบงชี้ที่8.1 มีระบบและกลไกในการจัดสรร การวิเคราะหคาใชจาย การตรวจสอบการเงินและงบประมาณ อยางมีประสิทธิภาพ ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เอกสาร เกณฑมาตรฐาน มี ไมมี หมายเลข 1. มีแผนกลยุทธทางการเงินที่สอดคลองกับยุทธศาสตรของสถาบันให  8-8.1-1 เปนไปตามเปาหมาย  2. มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางการเงิน แผนการจัดสรร และการ 8-8.1-1 วางแผนการใชเงินอยางมีประสิทธิภาพ โปรงใส ตรวจสอบได  3. มีการจัดทําระบบฐานขอมูลทางการเงินที่ผูบริหารสามารถนําไปใช 8-8.1-1 ในการตัดสินใจและวิเคราะหสถานะทางการเงิน 4. มีการจัดทํารายงานทางการเงินอยางเปนระบบ อยางนอยปละ 2 ครั้ง  8-8.1-4  5. มีการนําขอมูลทางการเงินไปใชในการวิเคราะหคาใชจาย และ 8-8.1-5 วิเคราะหสถานะทางการเงินและความมั่นคงขององคการอยาง ตอเนื่อง  6. มีหนวยงานตรวจสอบภายในและภายนอก ทําหนาทีต่ รวจ ติดตาม 8-8.1-1 การใชเงินใหเปนไปตามระเบียบและกฎเกณฑที่สถาบันกําหนด 7. ผูบริหารระดับสูงมีการติดตามผลการใชเงินใหเปนไปตามเปาหมาย  8-8.1-4 และนําขอมูลจากรายงานทางการเงินไปใชในการวางแผนและ การตัดสินใจ เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรก มีการดําเนินการ 5- 6 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :

ระดับ 7 ระดับ 7


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานระดับ 7 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีการกําหนดแผนการดําเนินงานทางดานการเงิน ที่สอดคลองกับยุทธศาสตรของวิทยาลัย ใหเปนไปตามเปาหมาย ระดับ 2 มีการกําหนดแนวทางการจัดหาทรัพยากรทางดานการเงิน แผนการจัดการ และวางแผน การใชเงินอยางมีประสิทธิภาพ โปรงใส ตรวจสอบได โดยดําเนินการตามแนวปฎิบัติและ แผนการดําเนินงานสํานักการคลัง ระดับ 3 มีการจัดทําฐานขอมูลทางการเงิน เพื่อใชในการวิเคราะหสถานะทางการเงิน และการ ตัดสินใจ โดยสํานักการคลังเปนผูดูแลระบบและวิเคราะหสถานะทางการเงินตามที่ ผูบริหารตองการ ระดับ 4 มีการจัดทํารายงานทางการเงินอยางเปนระบบ โดยวิทยาลัยตองเสนอผลการตรวจสอบ บัญชี เพื่อแสดงสถานะการเงินและทรัพยสินของวิทยาลัย เพื่อขออนุมัติงบการเงินประจําป ตอสภาวิทยาลัยเปนประจําทุกป ระดับ 5 มีการนําขอมูลทางการเงินไปใชในการวิเคราะหคาใชจาย และวิเคราะหสถานะการเงินและ ความมั่นคงขององคกรอยางตอเนื่อง ระดับ 6 มีหนวยงานตรวจสอบภายในและภายนอก ทําหนาที่ตรวจติดตามการใชเงินใหเปนไปตาม ระเบียบที่วิทยาลัยกําหนด ระดับ 7 ผูบริหารระดับสูงมีการติดตามผลการใชเงินใหเปนไปตามเปาหมาย และนําขอมูลจาก รายงานทางการเงินไปใชในการวางแผนและการตัดสินใจ การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย


รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 8-8.1-1 แนวปฏิบัติและแผนการดําเนินงาน สํานักการคลัง ปการศึกษา 2552 ระดับ 2 8-8.1-1 แนวปฎิบัติและแผนการดําเนินงาน สํานักการคลัง ปการศึกษา 2552 ระดับ 3 8-8.1-1 แนวปฎิบัติและแผนการดําเนินงาน สํานักการคลัง ปการศึกษา 2552 (การใชฐานขอมูล) ระดับ 4 8-8.1-4 งบการเงินประจําป 2552 ระดับ 5 8-8.1-5 รายงานการเงิน ประจําป 2552 ระดับ 6 8-8.1-1 แนวปฎิบัติและแผนการดําเนินงาน สํานักการคลัง ปการศึกษา 2552 (ภาระหนาที่) ระดับ 7 8-8.1-4 งบการเงินประจําป 2552 ตัวบงชี้ที่ 8.2 มีการใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันรวมกัน ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. มีคณะกรรมการวิเคราะหความตองการการใชทรัพยากรของ หนวยงาน 2. มีผลการวิเคราะหความตองการในการใชทรัพยากรของหนวยงาน 3. มีแผนการใชทรัพยากรรวมกันกับหนวยงานอื่นในสถาบัน 4. มีแผนการใชทรัพยากรรวมกันกับหนวยงานอื่นนอกสถาบัน 5. มีผลการประหยัดงบประมาณที่เกิดจากการใชทรัพยากรรวมกันกับ หนวยงานอื่น

-

เอกสาร หมายเลข 8-8.2-1

  

-

8-8.2-2 8-8.2-3 8-8.2-4 -

-

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3 ขอแรก

คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรก : :

ระดับ 4 ระดับ 4


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 4 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีคณะกรรมการวิเคราะหความตองการใชทรัพยากรของวิทยาลัย โดยคณะผูบริหาร วิทยาลัย จะทําหนาที่วิเคราะหความตองการใชทรัพยากร เพื่อใชในการวางแผนดําเนินงาน ระดับ 2 มีผลการวิเคราะหความตองการทรัพยากรของวิทยาลัย ระดับ 3 มีแผนการใชทรัพยากรรวมกันกับหนวยงานอื่นในสถาบัน ซึ่งเปนนโยบายและแผนงาน ของวิทยาลัย ที่จะใหทุกหนวยงานไดใชทรัพยากรใหเกิดประโยชนสูงสุด ระดับ 4 มีแผนการใชทรัพยากรรวมกันกับหนวยงานอื่นภายนอกสถาบัน เชน การใชหอประชุมของ วิทยาลัย ซึ่งเปดใหหนวยงานภายนอกมาใชได เพื่อประโยชนทางการศึกษาหรือเพื่อบริการ ชุมชน โดยสํานักบริการจะมีหนาที่รับผิดชอบ การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ระดับ 1 8-8.2-1 (1-1.1-5/1) ระดับ 2 8-8.2-2 (1-1.1-5/1) ระดับ 3 8-8.2-3 (2-2.2-1) ระดับ 4 8-8.2-4

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด รายงานการประชุมคณะผูบริหารวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2552 รายงานการประชุมคณะผูบริหารวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2552 เอกสารประกอบการประชุม การเตรียมความพรอม ประจําปการศึกษา 2552 แนวปฎิบัติและแผนการดําเนินงาน สํานักบริการ ปการศึกษา 2552


องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

ตัวบงชี้ที่ 9.1 มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในที่เปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เอกสาร เกณฑมาตรฐาน มี ไมมี หมายเลข  1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่เหมาะสม 9-9.1-1/1 กับระดับการพัฒนาของสถาบัน 9-9.1-1/2  2. มีการกําหนดนโยบายและใหความสําคัญเรื่องการประกันคุณภาพ 9-9.1-2 จากคณะกรรมการระดับนโยบายและผูบริหารสูงสุดของสถาบัน ภายใตการมีสวนรวมจากภาคีทั้งภายในและภายนอกสถาบัน  3. มีการกําหนดมาตรฐานตัวบงชี้ และเกณฑคุณภาพที่สอดคลองกับ 9-9.1-3 มาตรฐานการอุดมศึกษา และมาตรฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ และ สอดคลองกับการประเมินคุณภาพภายนอก  4. มีการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพที่ครบถวน ทั้งการควบคุม 9-9.1-4 คุณภาพ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพอยางตอเนื่อง เปนประจํา (อยางนอย 3 ปนับรวมปที่มีการติดตาม)  5. มีการนําผลการประกันคุณภาพมาพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงาน 9-9.1-5  6. มีระบบฐานขอมูลและสารสนเทศที่สนับสนุนการประกันคุณภาพ 9-9.1-6 การศึกษาและใชรวมกันทั้งระดับบุคคล ภาควิชา คณะ และสถาบัน  7. มีระบบสงเสริมการสรางเครือขายดานการประกันคุณภาพ การศึกษาระหวางหนวยงานทั้งภายในและภายนอกสถาบัน เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 4 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 4 ขอแรก

คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 5 ขอแรก : :

ระดับ 6 ระดับ 6


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 6 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในวิทยาลัย ระดับ 2 มีการกําหนดนโยบายและใหความสําคัญ เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับ 3 มีการกําหนดมาตรฐานตัวบงชี้และเกณฑคุณภาพที่สอดคลองกับมาตรฐานการอุดมศึกษา และมาตรฐานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ และสอดคลองกับการประเมินคุณภาพภายนอก ระดับ 4 มีการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพที่ครบถวน ทั้งการควบคุมคุณภาพ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพอยางตอเนื่องเปนประจํา ระดับ 5 มีการนําผลประเมินมาพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงาน ระดับ 6 มีระบบฐานขอมูลและสารสนเทศที่สนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษา และใชรวมกัน ทั้งระดับบุคคล สาขาวิชา คณะและสถาบัน การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ระดับ 1 9-9.1-1/1 9-9.1-1/2 ระดับ 2 9-9.1-2 ระดับ 3 9-9.1-3 ระดับ 4 9-9.1-4 ระดับ 5

9-9.1-5

ระดับ 6

9-9.1-6

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา รายงานการประชุมคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา ปการศึกษา 2552 รายงานการประชุมคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา (แผนการประกันคุณภาพการศึกษา) รายงานการปรับปรุงตามขอเสนอแนะการประเมินคุณภาพภายใน วิทยาลัย ขอมูลพื้นฐาน (Common Data Set) สาขาวิชา คณะ หนวยงาน สนับสนุน และสถาบัน


ตัวบงชี้ที่ 9.2 มีระบบและกลไกการใหความรูและทักษะดานการประกันคุณภาพแกนักศึกษา ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ

เอกสาร หมายเลข 9-9.2-1/1 9-9.2-1/2 9-9.2-2

เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. มีระบบการใหความรูและทักษะการประกันคุณภาพการศึกษาแก นักศึกษา 2. มีระบบสงเสริมใหนักศึกษานําความรูดานการประกันคุณภาพไปใช กับกิจกรรมนักศึกษา 3. มีกลไกใหนักศึกษามีสวนรวมในการประกันคุณภาพการศึกษาของ มหาวิทยาลัย 4. นักศึกษามีการใชกระบวนการคุณภาพ ในการพัฒนาคุณภาพของ กิจกรรมหรือโครงการนักศึกษา 5. นักศึกษาสรางเครือขายการพัฒนาคุณภาพภายในสถาบันและ ระหวางสถาบัน 6. มีระบบติดตามประเมินผลการประกันคุณภาพในกิจกรรมที่ นักศึกษาดําเนินการ และในสวนที่นักศึกษามีสวนรวมกับการ ประกันคุณภาพของสถาบัน 7. มีการนําผลการประเมินไปพัฒนากระบวนการใหความรูและกลไก การดําเนินงานประกันคุณภาพที่เกี่ยวของกับนักศึกษาอยางตอเนื่อง

-

-

-

-

9-9.2-3/1 9-9.2-3/2 9-9.2-4

-

9-9.2-5

-

-

-

-

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการไมครบ 4 ขอแรก มีการดําเนินการ 4- 5 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 6 ขอแรก : :

ระดับ 5 ระดับ 5


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 5 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 วิทยาลัยมีระบบการใหความรูและทักษะการประกันคุณภาพการศึกษาแกนักศึกษา เชน การปฐมนิเทศนักศึกษาใหม การเผยแพรประชาสัมพันธขาวสารดานการประกันคุณภาพ การศึกษา ในจุลสารประกันคุณภาพ, SBC Newsletter และเว็บไซตสํานักประกันคุณภาพ ระดับ 2 มีระบบสงเสริมและใหความรูเรื่องวงจร PDCA แกนักศึกษาเพื่อนําไปใชในกิจกรรม นักศึกษา ระดับ 3 นักศึกษาสามารถประเมินการสอนของอาจารยในทุกภาคการศึกษา และมีสวนรวมในการ ประเมินผลการโครงการตางๆ ที่วิทยาลัยจัดให ระดับ 4 นักศึกษาสามารถนําวงจร PDCA มาประเมินผลโครงการ และใหขอเสนอแนะ เพื่อ ปรับปรุงคุณภาพของโครงการ ระดับ 5 นักศึกษาสามารถนําความรูดานการประกันคุณภาพไปใชในกิจการองคการนักศึกษา เพื่อใชประเมินกิจกรรม/โครงการที่ดําเนินการรวมกันระหวางสถาบัน การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 9-9.2-1/1 กําหนดการปฐมนิเทศนักศึกษา ปการศึกษา 2552 9-9.2-1/2 จุลสารประกันคุณภาพ, SBC Newletter ,Print out ขอมูลเผยแพร สํานักประกันคุณภาพ ระดับ 2 9-9.2-2 ตัวอยางโครงการ/กิจกรรมของนักศึกษา และองคการนักศึกษา ปการศึกษา 2552 ระดับ 3 9-9.2-3/1 รายงานการประเมินการสอนของอาจารยโดยนักศึกษา ปการศึกษา 2552 9-9.2-3/2 รายงานประเมินผลการจัดโครงการ/กิจกรรมตาง ๆ ที่วิทยาลัยจัด ปการศึกษา 2552 ระดับ 4 9-9.2-4 ตัวอยางขอเสนอแนะจากการรประเมินกิจกรรม/โครงการของ นักศึกษา ปการศึกษา 2552 ระดับ 5 9-9.2-5 ตัวอยางการประเมินกิจกรรม/โครงการที่จัดขึ้นระหวางสถาบัน ปการศึกษา 2552


ตัวบงชี้ที่ 9.3 ระดับความสําเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. มีการดําเนินการตามระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในระดับคณะ และสถาบันอยางตอเนื่อง 2. มีการปรับปรุงระบบประกันคุณภาพภายในโดยสอดคลองกับ พันธกิจและพัฒนาการของสถาบัน 3. มีการรายงานผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตอหนวยงาน ที่เกี่ยวของและสาธารณชนภายในเวลาที่กําหนด

-

เอกสาร หมายเลข 9-9.3-1

-

9-9.3-2

-

4. มีการนําผลการประเมินไปใชในการปรับปรุงการดําเนินงานของ หนวยงานอยางตอเนื่อง 5. มีนวัตกรรมดานการประกันคุณภาพที่หนวยงานพัฒนาขึ้น หรือมี การจัดทําแนวปฏิบัติที่ดี เพื่อเปนแหลงอางอิงใหกับหนวยงานและ สถาบันอื่น ๆ

-

9-9.3-3/1 9-9.3-3/2 9-9.3-3/3 9-9.3-4

-

-

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3 ขอแรก

คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรก : :

ระดับ 4 ระดับ 4

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 5 ดังนี้ เกณฑ ระดับ 1 ระดับ 2

การดําเนินงานในแตละระดับ วิทยาลัยมีการดําเนินการตามระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายใน ระดับคณะและ สถาบันโดยดําเนินการอยางตอเนื่อง มีการปรับปรุงระบบประกันคุณภาพภายในโดยสอดคลองกับพันธกิจ และพัฒนาการของ สถาบัน


เกณฑ ระดับ 3

ระดับ 4

การดําเนินงานในแตละระดับ มีการรายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในตอหนวยงานที่เกี่ยวของ และเผยแพร ผลประเมินทางจุลสารประกันคุณภาพ และเผยแพรตอสาธารณชนภายในเวลาที่กําหนด โดยผานทางเว็บไซตของวิทยาลัย ในสวนของหนวยงานประกันคุณภาพการศึกษา (www.southeast.ac.th) มีการนําผลการประเมินไปใชในการปรับปรุงการดําเนินงานของหนวยงานอยางตอเนื่อง

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ระดับ 1 9-9.3-1 ระดับ 2 9-9.3-2 ระดับ 3 9-9.3-3/1 9-9.3-3/2 9-9.3-3/3 ระดับ 4 9-9.3-4

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา ปการศึกษา 2552 แผนกําหนดเปาหมายระดับสถาบัน ปการศึกษา 2552 รายงานการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2552 จุลสารประกันคุณภาพการศึกษา เว็บไซตของวิทยาลัย รายงานการประเมนิตนเอง ปการศึกษา 2551


ภาคผนวก



จุดแข็ง ขอเสนอแนะ และแนวทางการพัฒนา องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนการดําเนินงาน จุดแข็ง - มีแผน โครงการ ชัดเจนดี ขอเสนอแนะ - ประเมินและวิเคราะหแผน และการนําผลการประเมินมาปรับปรุงการดําเนินงานของวิทยาลัย และนําผลการประเมินเสนอสภาวิทยาลัยดวย องคประกอบที่ 2 การเรียนการสอน จุดแข็ง 1. หลักสูตรที่เปดสอนมีการพัฒนาเริ่มตนจากการวิเคราะหความตองการของตลาดแรงงานอยาง แทจริง 2. ทุกหลักสูตร(10 หลักสูตร) ไดรับการรับรองตามมาตรฐานของ สกอ. 3. การจัดการเรียนการสอนทุกหลักสูตรมุงเนนสรางคุณภาพอยางชัดเจน 4. การจัดการเรียนการสอนทุกหลักสูตร / รายวิชา เนนนักศึกษาเปนศูนยกลาง 5. นักศึกษาไดมีโอกาสแสดงความคิดริ่เริ่ม ความคิดสรางสรรคอยางมาก 6. การจัดการเรียนการสอนทุกหลักสูตรเนนการสรางเอกลักษณ ศักยภาพ ใหเปนไปตามที่ วิทยาลัยกําหนด 7. ทุกหลักสูตรมีการกําหนดรายวิชาที่มีลักษณะยืดหยุนและเปนไปตามความตองการของ นักศึกษา ขอเสนอแนะ 1. ควรใหมีการทําวิจัยเนนพัฒนาการเรียนการสอนใหมากขึ้น


องคประกอบที่ 3 กิจกรรมพัฒนานิสิตนักศึกษา จุดแข็ง 1. วิทยาลัยมีกิจกรรมการพัฒนานักศึกษาที่เขมแข็ง และมุงพัฒนานักศึกษาใหมีเอกลักษณ สอดคลองกับปรัชญา คุณวุฒิ คุณธรรม คุณคา อยางมาก 2. นักศึกษาไดมีสวนรวมในกิจกรรมที่ทางวิทยาลัยจัดดําเนินการอยางมาก 3. วิทยาลัยมีการดําเนินการที่ทําใหนักศึกษากับวิทยาลัยมีความสัมพันธใกลชิดกันมาก องคประกอบที่ 4 การวิจัย จุดแข็ง - วิทยาลัยใหการสนับสนุนเรื่องงานวิจัยดี มีกําหนดนโยบายใหเปอรเซ็นตโดยใหผลงานวิจัย คิดเปน 20 % ของการประเมินผลงานประจําป ขอเสนอแนะ - ยังขาดรางวัลใหกับนักวิจัยหรือผลงานวิชาการ - ควรพัฒนาเครือขายทั้ง เครือขายนักวิชาการและเครือขายชุมชน องคประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม จุดแข็ง 1. บุคลากรมีความตั้งใจที่จะชวยจัดทําโครงการบริการวิชาการแกสังคม แนวทางเสริม 1. ควรมีการสงเสริมใหคณาจารยพัฒนาความรู และแลกเปลี่ยนประสบการณ จากหนวยงาน ภายนอก หรือศาสตรที่สถาบันเปดสอน จุดที่ควรพัฒนา 1. ควรมีแผนบริการวิชาการแกสังคม ที่สรางรายไดเขาสถาบัน ขอเสนอแนะ 1. ควรมีการสํารวจความตองการของทองถิ่นบางนา สมุทรปราการ ถึงความตองการที่สถาน ประกอบการจะไดรับความรู ศาสตรหรือวิทยาการใหม ๆ เพื่อสถาบันจะไดทําการวางแผนจัด ฝกอบรมบริการวิชาการไดตรงกลุมเปาหมาย


องคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม จุดแข็ง 1. สถาบันมีความตั้งใจพัฒนาอนุรักษงานศิลปวัฒนธรรม แนวทางเสริม 1. ควรมีการสงเสริมใหบุคลากร พัฒนาองคความรูรวมกับชุมชนอยางจริงจัง 2. ควรทําวิจัยเพื่อตอยอดการวิจัยประวัติศาสตรทองถิ่นบางนาอยางจริงจัง จะไดนําความรูมาใช ประโยชนสูงสุดกับสถาบัน องคประกอบที่ 7 การบริหารจัดการ จุดแข็ง 1. ผูบริหารมีความมุงมั่นและตั้งใจพัฒนาวิทยาลัยตามนโยบายที่ตั้งไว 2. คณาจารยและบุคลากรมีศักยภาพ ทุมเทการทํางานใหวิทยาลัยอยางเต็มที่ แนวทางเสริม 1. ควรพัฒนาเรื่องการจัดการความรูใหชัดเจนและเปนรูปธรรม สงเสริมใหมีเวทีสําหรับการ แลกเปลี่ยนเรียนรู และติดตามประเมินผลสําเร็จของการจัดการความรู 2. ควรจัดทํา Strategy Map ทั้งในระดับวิทยาลัยและคณะ โดยเชื่อมโยงประเด็นใหสอดคลองกับ เปาประสงค และยุทธศาสตรของวิทยาลัย มุงสูวิสัยทัศน จุดที่ควรพัฒนา 1. การจัดทําแผนบริหารความเสี่ยงยังไมชัดเจน ขอเสนอแนะ 1. ควรจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง วิเคราะห input process output สรุปผลการดําเนินงานตาม แผนบริหารความเสี่ยง กําหนดแนวทางและขอเสนอแนะในการปรับปรุงแผนบริหารความ เสี่ยง


องคประกอบที่ 8 จุดแข็ง 1. มีการใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันอยางเปนรูปธรรม แนวทางเสริม 1. ควรสรุปผลการวิเคราะหความตองการใชทรัพยากรสถาบัน เพื่อนําขอมูลไปใชประกอบการ วางแผนการใชทรัพยากรใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น องคประกอบที่ 9 จุดแข็ง - ผูบริหารมีนโยบายและใหการสนับสนุนชัดเจน - ผูปฏิบัติงานมุงมั่นและตั้งใจ ขอเสนอแนะ - ควรมีเครือขายประกันคุณภาพของนักศึกษาระหวางสถาบัน


ขอมูลสัมภาษณ ผูบริหาร วิทยาลัย

สรุปบทสัมภาษณ

คณะผูบริหารทางวิทยาลัย 1. อธิการบดี 2. รองอธิการบดีฝายกิจการนักศึกษาและกิจการพิเศษ 3. รองอธิการบดีฝา ยวางแผนและพัฒนา 4. คณบดีคณะบริหารธุรกิจ 5. คณบดีคณะศิลปศาสตร 6. คณบดีคณะนิติศาสตร 7. คณบดีคณะวิทยาศาสตร 8. คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย จุดแข็ง

1. ฝายบริหารมีการถายทอดนโยบายสูองคกรทุกระดับอยางชัดเจนและทั่วทั้งองคกร 2. ฝายบริหารเปดโอกาสใหบุคคลากรมีสวนรวมในการบริหาร เชน การวางแผนจากระดับลาง 3. 4. 5. 6. 7. 8.

จุดออน

ขึ้นสูระดับบน ฝายบริหารใชหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานอยางมาก ฝายบริหารมีความมุงมั่นในการพัฒนาวิทยาลัยทุกภาคสวนรวมกันอยางชัดเจน ฝายบริหารพยายามสราง Brand ของมหาวิทยาลัยใหเปนที่ยอมรับของสังคมอยางตอเนื่อง วิทยาลัยกําหนดทิศทาง จุดมุงหมาย เปาหมาย ของการดําเนินงานอยางชัดเจน วิทยาลัยมีจุดมุงหมายดานคุณภาพของหลักสูตรและประสิทธิภาพอยางมาก ฝายบริหารกําหนดเอกลักษณ/บัณฑิตที่พึงประสงคอยางชัดเจนและสงผลตอคุณภาพของนักศึกษา อยางแทจริง

1. ชื่อของวิทยาลัยยังไมไดเปนที่ยอมรับของประเทศไทยเนื่องจากเปนภาษาอังกฤษ


ขอมูลสัมภาษณกรรมการสภาวิทยาลัย ขอเสนอแนะ • กรรมการสภาเห็นวาวิทยาลัยมีการเติบโตอยางตอเนื่อง มั่นคง และในอนาคตใหเนนการเปด การศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอกใหมากขึ้นตอไป และใหสงเสริมทางดานงานวิจัย ใหมากขึ้น • กรรมการสภาเห็นวาคณาจารยของเราอยูในวัยหนุมสาวกันมาก จึงนาจะมีแผนสงเสริมใหเรียนตอ ใหมากขึ้น ควรมีการพัฒนาดานภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมรับเขตการคาเสรีอาเซียน ( AFTA), ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) • นาจะสงเสริมการเรียนการสอนในเชิง Global Business ใหมากขึ้น • นโยบาย สกอ. บางเรื่องยังมีปญหาในทางปฏิบัติ เชน เรื่อง TQF วิทยาลัยอาจจะจัดการสัมมนาเชิง Workshop เพื่อชวยใหอาจารยเขาใจมากยิ่งขึ้น

ขอมูลสัมภาษณอาจารย จุดแข็ง

- ผูบริหารระดับสูงมีนโยบายชัดเจน ในเรื่องประกันคุณภาพ พรอมชี้แจงใหทุกระดับได รับทราบ - เปนสถาบันที่มีความเชี่ยวชาญในดานบริหารธุรกิจ - มีนักศึกษาบริหารธุรกิจในสัดสวนที่มาก - อาจารยมีความรูความสามารถดานบริหารธุรกิจดี - ทําเลที่ตั้งแวดลอมดวยอุตสาหกรรมโลจิสติกส - การดูแลนักศึกษาดี อาจารยที่ปรึกษาดูแลใกลชิด - มีสภาพแวดลอมสะดวกในการเดินทาง - สิง่ แวดลอมเปน Green Place - เปนสังคมการเรียนรูของสังคมเขตบางนา โดยมีการอบรมใหชุมชน - พัฒนานักศึกษาใหมีทักษะการปฏิบัติงานและปรับตัวเขากับสภาพการทํางานไดดี - ทําเลเปนศูนยกลางของอุตสาหกรรมหลากหลาย - อาจารยมีความใกลชิดกับนักศึกษา สงผลทําใหมีความสัมพันธกับศิษยเกา - คุณภาพของหลักสูตรผานการรับรองจากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา - คุณภาพของบัณฑิต ผูวาจางมีความพึงพอใจคอนขางสูง - วิทยาลัยมีการกําหนดทิศทางชัดเจน - สนับสนุนใหบุคลากรเขาอบรมทั้งอาจารยชาวไทย ชาวตางประเทศ - จัดกิจกรรมใหนักศึกษาฝกงานนอกสถานที่


- ศูนย SALLC (ศูนยการเรียนรูดวยตนเอง) เพื่อใหนักศึกษาไดเรียนรูภาษาอังกฤษดวยตนเอง - หมวดศึกษาทั่วไปสอบวัดความรู ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร และความรูทางดานธุรกิจ นักศึกษาป 1 และป 4 - อาจารยเปนผูมีประสบการณ - นักศึกษานอยเขาถึงที่เรียนไดอยางดี - การสอนเนนนักศึกษาเปนศูนยกลางการเรียนรู - สงเสริมใหนักศึกษามีการเรียนรูตลอดชีวิต โดยเฉพาะคณะนิติศาสตร - บุคลากรมีความจงรักภักดีสูงตอองคกร - สนับสนุนใหอาจารยเรียนตอปริญญาเอก ใหมีโอกาสไดเรียนโดยเสมอภาค - สนับสนุนใหทุนนักศึกษาเปนทุนใหเปลา - มีโครงการบริการวิชาการฟรีมาก จุดที่ควรพัฒนา - สถานที่ทํากิจกรรมของนักศึกษายังไมเพียงพอ - การใชประโยชนจากฐานขอมูลยังไมเต็มที่ ทําใหสูญเสียโอกาสและรายไดที่องคกรพึงไดรับ - ควรมีศูนยสงเสริมการเรียนรูในแตละ Area โดยเฉพาะ Business Center - ควรปรับปรุงหลักสูตร English for Specific Purposes (ภาษาอังกฤษเฉพาะทาง) เชน ภาษาอังกฤษสําหรับ IT หรือภาษาอังกฤษสําหรับนักกฎหมาย - หลักสูตรควรสอดคลองกับที่ตั้ง เชน การจัดการอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมบริการ การจัดการ การทองเที่ยว การโรงแรม

ขอมูลสัมภาษณบุคลากร

จุดแข็ง

-

ผูบริหารรับฟงความคิดเห็นจากบุคลากรทุกระดับ ผูบริหาร คณาจารย เจาหนาที่ มีความเปนกันเอง สนับสนุนบุคลากรใหเรียนตอ มีการจัดสรรทุนให บุคลากรมีความสามัคคี ชวยเหลือซึ่งกันและกันในการทํากิจกรรม สงเสริมอนุรักษวัฒนธรรมไทยการแตงกายผาไทยทุกวันพฤหัสบดี

จุดที่ควรพัฒนา - ควรสงเสริมใหมกี ารแลกเปลีย่ นเรียนรูท ง้ั ภายในหนวยงานและภายนอกหนวยงาน - ควรมีกองทุนสะสมเงินเลี้ยงชีพ


ขอมูลการสัมภาษณศิษยเกา จุดแข็ง

-

ความรู ศาสตรที่ไดรับจากสถาบัน สามารถนําไปใชไดตรงกับชีวิตการทํางาน อาจารยผูสอนใหความรูเต็มที่กับนักศึกษาทั้งดานการเรียนและเรื่องสวนตัว อาจารยกับศิษยมีความใกลชิดผูกพัน ชวยเหลือเอื้อเฟอ เกื้อกูลกันเปนอยางดี ระบบการเรียนการสอนของสถาบันมีกระบวนการที่ดี มีทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติเหมาะ สําหรับนักศึกษาภาคปกติที่ไมเคยมีประสบการณในการทํางาน สามารถเรียนรูไดจริง - กิจกรรม ชมรม ของวิทยาลัยมีความหลากหลาย ใหเลือก ถานักศึกษามีความสนใจทํากิจกรรม จะเปนประโยชนมาก

จุดที่ควรพัฒนา - ควรทําประชาสัมพันธ หรือการทํากิจกรรมที่เปนการใหขอมูลกับบุคคลทั่วไป ในเรื่องการ สรางความเขาใจกับคําวา วิทยาลัยกับมหาวิทยาลัย โดยยึดกลุมเปาหมายกลุมโรงเรียน กลุม สถานประกอบการผานสื่อตาง ๆ เชน หนังสือพิมพ เปนตน - ควรมีศูนยออกกําลังกายประจําสถาบันและสงเสริมใหนักศึกษาที่วางจากการเรียนมาออกกําลัง กายเพื่อสุขภาพที่ดี - ควรเรงเปลี่ยนประเภทจาก วิทยาลัย เปน มหาวิทยาลัยใหไดเร็วที่สุด - วิทยาลัยควรเพิ่มคณะสาขาวิชาใหมากขึ้น เชน เพิ่มคณะนิเทศศาสตร - วิทยาลัยควรเพิ่มเทคโนโลยีดานการเรียนการสอน เชน มีสถานีวิทยุของ SBC เพื่อ ประชาสัมพันธขาวสารภายใน บริการความรูดานวิชาการแกสังคมในรัศมียานบางนาและ สมุทรปราการ - ในอนาคตอีก 5 – 10 ปขางหนา วิทยาลัยควรมีสถานีโทรทัศนเคเบิ้ลทีวีทองถิ่นของสถาบันเพื่อ จะไดเปนชองทางการประชาสัมพันธขาวสารของวิทยาลัย

ขอมูลการสัมภาษณศิษยปจจุบัน จุดแข็ง

- อาจารยมีความใกลชิดกับนักศึกษาใหความชวยเหลือในทุกดาน และใหคําแนะนําในการ ดําเนินชีวิตที่ดี - หลักสูตรการเรียนการสอนของสถาบันถาเปรียบเทียบกับสถาบันอื่นอยูในระดับดี สามารถ แขงขันกับสถาบันอื่นได - ความสัมพันธรุนพี่รุนนองมีความสนิทสนมกันเปนอยางดี - วิทยาลัยมีบริการสื่อการเรียนการสอนที่นักศึกษาสามารถเขาถึงการใชบริการไดงายโดยไมมี ขั้นตอนหรือกระบวนการที่ยุงยากซับซอน - วิทยาลัยมีความอบอุน มีบรรยากาศสวยงาม


จุดที่ควรพัฒนา - ควรมีหองสําหรับการทํากิจกรรมเฉพาะของสาขาวิชา - ควรมีสถานีวิทยุประจําสถาบัน และหองประชาสัมพันธของสถาบันในการจัดทํารายการ - ควรมีหองออกกําลังกาย และอุปกรณกีฬา ที่มีความหลากหลาย เพียงพอตอความตองการของ นักศึกษา - ควรพัฒนาหองพยาบาลใหมีเจาหนาที่ประจํา และใหคําแนะนําในการปฐมพยาบาลเบื้องตนที่ สมบูรณ - ควรเพิ่มสถานที่พักผอนใหเพียงพอกับจํานวนนักศึกษา - ควรเปดคณะ หลักสูตรที่หลากหลาย เชน คณะนิเทศศาสตร สาขาวิชาเทคโนโลยี สื่อสารมวลชน, การโรงแรม - ควรจัดใหมีการทํากิจกรรมเสริมรวมกันระหวางอาจารยกับศิษยเพื่อสรางความสัมพันธที่ดีอยู แลวใหเพิ่มมากขึ้น - จัดกิจกรรมระหวางรุนพี่กับรุนนอง เชน กิจกรรมเลี้ยงสงรุนพี่ที่สําเร็จการศึกษาโดยรุนนอง เปนผูจัด และสรางใหเปนวัฒนธรรมคูกับ SBC - ควรเพิ่มที่จอดรถ ที่ทานอาหารใหเพียงพอกับจํานวนนักศึกษา - ควรปรับปรุงหองน้ําใหมีความสะอาดมากขึ้น



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.