รายงานการประเมินตนเอง (ภายใน)

Page 1


1

คํานํา

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พุทธศักราช 2542 หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพ การศึกษา มาตรา 47 มาตรา 48 มาตรา 49 และมาตรา 50 กําหนดให้ทุกสถานศึกษาต้องผ่านการประเมิน คุ ณ ภาพการศึ ก ษา จากสํา นัก งานรั บ รองมาตรฐานและประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา (องค์ก ารมหาชน) เพื่อให้การศึกษาไทยมีมาตรฐานสู งและเป็ นไปในทิศทางเดียวกัน ปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ได้จดั ทํารายงานการประเมินตนเอง ระดับสถาบัน ซึ่งรายละเอียดของข้อมูลนําเสนอประกอบด้วย 3 ส่ วน คือ ส่ วนที่ 1 สภาพปั จจุบนั ของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ส่ วนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ส่ วนที่ 3 แนวทางการพัฒนาวิทยาลัยและสรุ ปค่าคะแนนตามตัวบ่งชี้ที่ 1-18 วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ได้จดั ทํารายงานประเมินตนเอง ระดับสถาบันพร้อมเอกสารประกอบ โดยครอบคลุมเนื้ อหาในทุกด้านตามตัวบ่งชี้ ของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพื่อเสนอคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาใช้เป็ นข้อมูลในการพิจารณาต่อไป

วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก กันยายน 2554


2

สารบัญ

คํานํา บทสรุ ปสําหรับผูบ้ ริ หาร บทที่ 1 ข้ อมูลเบือ้ งต้ นของวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก 1.1 ประวัติความเป็ นมาและสภาพปัจจุบนั

ก 1

1.2 ปรัชญา ปณิ ธาน วิสยั ทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์และแผนงาน

2

1.3 โครงสร้างการบริ หารงาน

4

1.4 คณะกรรมการสภาและคณะกรรมการบริ หารวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก

5

1.5 หลักสู ตรและสาขาวิชาที่เปิ ดสอน 1.6 คณาจารย์

6 6

1.7 นักศึกษา

9

1.8 งบประมาณ

9

1.9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา

10

บทที่ 2 ผลการประเมินตนเอง ตัวบ่งชี้ที่ 1 บัณฑิตปริ ญญาตรี ที่ได้งานทําหรื อประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

11

ตัวบ่งชี้ที่ 2 คุณภาพของบัณฑิตปริ ญญาตรี โท และเอก ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์

15

ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผลงานของผูส้ าํ เร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่

19

ตัวบ่งชี้ที่ 4 ผลงานของผูส้ าํ เร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรื อเผยแพร่

23

ตัวบ่งชี้ที่ 5 งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรื อเผยแพร่

24

ตัวบ่งชี้ที่ 6 งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่นาํ ไปใช้ประโยชน์

31

ตัวบ่งชี้ที่ 7 ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ

38

ตัวบ่งชี้ที่ 8 ผลการนําความรู ้และประสบการณ์จากการให้บริ การวิชาการมาใช้ในการพัฒนา

43

การเรี ยนการสอนและการวิจยั ตัวบ่งชี้ที่ 9 ผลการเรี ยนรู ้และเสริ มสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรื อองค์กรภายนอก 53 ตัวบ่งชี้ที่ 10 การส่ งเสริ มและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม

70

ตัวบ่งชี้ที่ 11 การพัฒนาสุ นทรี ยภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม

91


3

ตัวบ่งชี้ที่ 12 การปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ของสภาสถาบัน

95

ตัวบ่งช้ที่ 13 การปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ของผูบ้ ริ หารสถาบัน

99

ตัวบ่งชี้ที่ 14 การพัฒนาคณาจารย์

101

ตัวบ่งชี้ที่ 15 ผลการประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยต้นสังกัด

105

ตัวบ่งชี้ที่ 16 ผลการพัฒนาตามอัตลักษณ์ของสถาบัน

106

ตัวบ่งชี้ที่ 17 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของสถาบัน

114

ตัวบ่งชี้ที่ 18 ผลการชี้นาํ ป้ องกัน หรื อแก้ปัญหาของสังคมในด้านต่างๆ

119

บทที่ 3 แนวทางการพัฒนาวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอกและสรุปคะแนนการประเมิน 1. ด้านคุณภาพบัณฑิต 2. ด้านงานวิจยั และงานสร้างสรรค์ 3. ด้านการบริ การวิชาการแก่สงั คม 4. ด้านการทํานุบาํ รุ งศิลปะและวัฒนธรรม 5. ด้านการบริ หารและการพัฒนาสถาบัน 6. ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน 7. กลุ่มตัวบ่งชี้อตั ลักษณ์ 8. กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่ งเสริ ม สรุ ปค่าคะแนนตามตัวบ่งชี้ 1 -18 ภาคผนวก เอกสารประกอบระบบคุณภาพ

132 133 133 134 134 135 135 135 136


บทสรุ ปสํ าหรับผู้บริหาร วิ ท ยาลัย เซาธ์ อี ส ท์บ างกอก จัด ตั้ง ขึ้ น ด้ว ยความสํา นึ ก ในพระคุ ณ ของแผ่น ดิ น ที่ เ ห็ น คุ ณ ค่ า ของ การศึกษาโดยได้รับอนุ มตั ิจดั ตั้งเมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2542 และได้รับรองวิทยฐานะสถาบันอุดมศึกษา เอกชนเมื่อ วันที่ 3 มี นาคม 2543 ซึ่ งทําให้วิทยาลัยสามารถเปิ ดดําเนิ นการหลักสู ตรแรก คือ หลักสู ตร บริ หารธุรกิจบัณฑิต ใน 3 สาขาวิชา ได้ต้ งั แต่ภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา 2543 ปั จจุบนั วิทยาลัยมีโครงสร้างการจัดองค์กรเป็ น 5 คณะ เปิ ดดําเนิ นการหลักสู ตรระดับปริ ญญาโท 2 หลั ก สู ตร 3 สาขาวิ ช า ปริ ญญาตรี 4 หลั ก สู ตร 7 สาขาวิ ช า มี ค ณาจารย์ ท้ ั งสิ้ น 83 คน จํ า แนก เป็ นคุณวุฒิปริ ญญาเอก 19 คน ปริ ญญาโท 63 คน และปริ ญญาตรี 1 คน ในปี การศึ กษา 2553 มี นักศึ กษา จํานวนรวมทั้งสิ้ น 2,566 คน ในจํานวนนี้ รวมนักศึ กษาระดับปริ ญญาโท จํานวน 100 คน โดยวิทยาลัย มุ่งผลิตบัณฑิ ตที่ มีคุณภาพตามปรั ชญาและปณิ ธานของวิทยาลัย อี กทั้งบัณฑิ ตที่ สําเร็ จการศึ กษาจะต้องมี คุณสมบัติพึงประสงค์ ดังนี้ 1. มีความรู ้ ความชํานาญในศาสตร์ เฉพาะสาขาหรื อวิชาเอก 2. มีความรู ้ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 3. มีความรู ้ ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่ อสารได้เป็ นอย่างดี 4. มีคุณธรรม จริ ยธรรม ตลอดจนความเป็ นไทย ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกของวิทยาลัย ทั้ง 6 ด้ าน และ 2 กลุ่มตัวบ่ งชี้ มีดังนี้ ด้ านที่ 1 ด้ านคุณภาพบัณฑิต ผลการประเมิน พบว่า ร้อยละของบัณฑิตปริ ญญาตรี ที่ได้ทาํ งานหรื อประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี คิดเป็ นร้อยละ 99.40 เป็ นไปตามเป้ าหมายของวิทยาลัย และได้เงินเดือนเริ่ มต้นเป็ นไปตามเกณฑ์ อีกทั้งได้รับ การตอบรับว่า ระดับความพึงพอใจของนายจ้าง / ผูป้ ระกอบการอยูใ่ นระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 4.88) คุณลักษณะ บัณฑิตของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอกที่โดดเด่น คือ ด้านความมีคุณธรรม จริ ยธรรมตลอดจนความเป็ นไทย สําหรับผลงานของผูส้ าํ เร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาโท ที่ได้รับการตีพิมพ์หรื อเผยแพร่ ปรากฏในฐานข้อมูล TCI มีจาํ นวน 20 เรื่ อง สําหรับวิทยานิพนธ์ และงานวิชาการของนักศึกษาที่ได้รับรางวัลในระดับชาติ วิทยาลัย ยังไม่มีบณั ฑิตที่ได้รับรางวัล แต่วิทยาลัยจะมุ่งมัน่ ที่จะดําเนินการเพื่อให้บรรลุเป้ าหมายที่ต้ งั ไว้


ข ด้ านที่ 2 ด้ านงานวิจัยและงานสร้ างสรรค์ ผลการประเมิน พบว่า วิทยาลัยมีนโยบายส่ งเสริ มการวิจยั ที่ชดั เจน พิจารณาได้จากงานวิจยั หรื องาน สร้ างสรรค์ที่ได้รับการตี พิมพ์ห รื อเผยแพร่ จํานวน 14 ผลงาน มี ง านวิจยั หรื องานสร้ างสรรค์ที่นําไปใช้ ประโยชน์ จํานวน 25 ผลงาน และมีผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ จํานวน 9 ผลงาน จากจํานวน อาจารย์ประจํา 83 คน ทั้งนี้ วิทยาลัยจะได้พฒั นาแนวทางส่ งเสริ มให้ผลงานวิชาการของอาจารย์ ได้รับการ รับรองคุณภาพมากยิง่ ขึ้น ด้ านที่ 3 ด้ านการบริการวิชาการแก่ สังคม ผลการประเมิน พบว่า ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยจัดการบริ การวิชาการแก่สังคม จํานวนทั้งสิ้ น 22 โครงการ และสามารถนําความรู ้และประสบการณ์จากการให้บริ การวิชาการมาใช้ในการพัฒนาการเรี ยน การสอนและการวิจยั จํานวน 19 โครงการ จากจํานวนโครงการทั้งสิ้ น 22 โครงการ และจากการจัดการ บริ การวิชาการแก่ สังคมของวิทยาลัยนั้น มี ผลต่อการเรี ยนรู ้ และเสริ มสร้ างความเข้มแข็งของชุ มชนหรื อ องค์กรภายนอก จํานวน 10 โครงการ ทั้งนี้ ความเข้มแข็งของชุมชนพิจารณาจากทิศทางการเปลี่ยนแปลงที่ดี ของชุมชน ซึ่งชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ตามศักยภาพของตน ด้ านที่ 4 ด้ านการทํานุบํารุ งศิลปะและวัฒนธรรม ผลการประเมิน พบว่า ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยดําเนินการส่ งเสริ มและสนับสนุนด้านศิลปะและ วัฒนธรรมทั้งในรู ปของการจัดโครงการหรื อกิ จกรรมด้านศิ ลปะและวัฒนธรรมทั้งนี้ เพื่อเป็ นการอนุ รักษ์ พัฒนา และสร้างเสริ มเอกลักษณ์ศิลปะและวัฒนธรรม การดําเนิ นโครงการหรื อกิจกรรมจะเปิ ดโอกาสให้ บุ คลากรและนักศึ ก ษาเข้ามามี ส่วนร่ วมในกิ จ กรรมนั้น ๆ วิทยาลัยเอื้ อประโยชน์ให้โดยการจัดพื้น ที่ ทาง วัฒนธรรมรองรั บการจัดโครงการหรื อกิ จกรรมทุกประเภท และนอกจากนี้ วิทยาลัยดําเนิ นการเสริ มสร้าง บรรยากาศการทํางานหรื อ Green and Clean College เพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีของบุคลากร และนักศึกษา อัน ส่ งผลให้เกิ ดประสิ ทธิ ภาพในการทํางาน / การศึกษาได้ ซึ่ งการปรับเปลี่ยนภูมิทศั น์อาคารสถานที่โดยรอบ และภายในอาคาร ถือเป็ นมิติการพัฒนาสุ นทรี ยภาพทางศิลปะและวัฒนธรรมได้ ด้ านที่ 5 ด้ านการบริหารและการพัฒนาสถาบัน ผลการประเมิน พบว่า การดําเนิ นงานของสภาวิทยาลัย ครอบคลุมทุกประเด็นของการบริ หารจัดการ มีความคล่องตัวรั บผิดชอบร่ วมกัน และเป็ นการกระจายอํานาจ ผูบ้ ริ หารสถาบันปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ โดยเน้นการทํางานเป็ นที ม มี ความโปร่ งใส ตรวจสอบได้ มีการจัดระบบระเบียบการปฏิบตั ิงานได้อย่าง ชัดเจน การบริ หารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาล และให้ความสําคัญกับบุคลากรทุกระดับโดยการจัดสรร งบประมาณในการพัฒนาบุคลากรไว้ค่อนข้างสู ง และมีนโยบายส่ งเสริ มสนับสนุ นการศึกษาต่อในระดับที่ สู งขึ้นของอาจารย์ประจํา รวมทั้งส่ งเสริ มการเข้าสู่ ตาํ แหน่งทางวิชาการของอาจารย์ประจํา


ค ด้ านที่ 6 ด้ านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน ผลการประเมิน พบว่า บุคลากรของวิทยาลัยทุกคณะและทุกหน่วยงานให้ความร่ วมมือในการประกัน คุณภาพของคณะ / หน่ วยงาน / วิทยาลัย โดยวิทยาลัยมีระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในที่ ก่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่ อง แสดงให้เห็นว่าวิทยาลัยเห็นความสําคัญของการประกัน คุณภาพการศึกษาเพื่อมุ่งมัน่ ผลิตบัณฑิตและจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ


ง กลุ่มตัวบ่ งชี้อตั ลักษณ์ วิ ท ยาลัย กํา หนดอัต ลัก ษณ์ “ความรู ้ คู่ คุ ณ ธรรม สร้ า งสรรค์สัง คม” และกํา หนดเอกลัก ษณ์ “สร้างสรรค์สังคม” จากผลการประเมิน พบว่า วิทยาลัยสามารถกําหนดกลยุทธ์และแผนการปฏิบตั ิงานที่ สอดคล้อ งกับ อัต ลัก ษณ์ ข องสถาบัน ฝ่ ายบริ ห ารและบุ ค ลากรมี ส่ ว นร่ ว มในการกํา หนดอัต ลัก ษณ์ แ ละ เอกลักษณ์ของสถาบัน รวมทั้งผูเ้ รี ยนซึ่งถือได้วา่ เป็ นผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยที่สาํ คัญ อัตลักษณ์และเอกลักษณ์ของ วิทยาลัยถูกประเมินผลโดยบุคลากรและนักศึกษา เพื่อพิจารณาความเหมาะสมสอดคล้องในการปฏิบตั ิงาน และการดําเนินงานภายใต้อตั ลักษณ์และเอกลักษณ์ของวิทยาลัยสามารถสร้างคุณค่าต่อสังคมได้ บัณฑิตของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ได้รับการยอมรั บ จากผูป้ ระกอบการด้านความมีคุณธรรม จริ ยธรรมตลอดจนความเป็ นไทย ซึ่งสอดคล้องกับอัตลักษณ์ของวิทยาลัย วิทยาลัยให้การส่ งเสริ มโครงการหรื อกิจกรรมเพื่อการบริ การวิชาการแก่สังคม เพื่อสังคม / ชุมชน ท้องถิ่น สามารถนําความรู ้จากการรับบริ การไปสร้างความเข้มแข็งให้กบั สังคม / ชุมชน / ท้องถิ่นได้ ในการ ดํา เนิ น โครงการหรื อ กิ จ กรรมเพื่ อการบริ ก ารวิช าการแก่ สัง คมนั้น วิท ยาลัย จะส่ ง เสริ มให้บุ คลากรและ นักศึกษา เข้ามามีส่วนร่ วมในการดําเนิ นโครงการ หรื อกิ จกรรมดังกล่าว และต้องมีการประเมินผลเพื่อวัด ความสําเร็ จของโครงการหรื อกิ จกรรม เพื่อนําข้อเสนอแนะไปใช้ในการปรั บปรุ งโครงการหรื อกิ จกรรม ดังกล่าวในครั้งต่อไป กลุ่มตัวบ่ งชี้มาตรการส่ งเสริม วิทยาลัยมีโครงการหรื อกิจกรรมที่ได้ดาํ เนิ นงาน ที่มีประโยชน์และสร้างคุณค่ารวมทั้งมีบทบาทใน การชี้นาํ หรื อแก้ปัญหาสังคมในด้านสิ่ งเสพติด และด้านจิตสาธารณะซึ่ งในการดําเนิ นโครงการหรื อกิจกรรม มีการดําเนิ นงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) และประเมินผลเพื่อวัดการบรรลุเป้ าหมายของแผน ซึ่ งโครงการ หรื อกิจกรรมที่ได้ดาํ เนินการนั้นมีประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อสถาบัน และต่อชุมชนหรื อสังคม โครงการ / กิจกรรมชี้นาํ ป้ องกันหรื อแก้ปัญหาสังคมในประเด็น สิ่ งเสพติด มีดงั นี้ 1) กิจกรรมรณรงค์ 9 วันอันตราย 2) กิจกรรมงดเหล้าเข้างานวัด โครงการ / กิจกรรมชี้นาํ ป้ องกัน หรื อแก้ปัญหาสังคมในประเด็น จิตสาธารณะ มีดงั นี้ 1) ปล่อยเต่าทะเลคืนสู่ ธรรมชาติ 2) กิจกรรมปั นนํ้าใจ ทะเลใส ใส่ ใจน้อง


แนวทางการพัฒนาวิทยาลัย

จากผลการประเมินวิทยาลัย ควรมีแนวทางพัฒนาวิทยาลัย ดังนี้ 1. ด้ านคุณภาพบัณฑิต 1) พัฒนาคุณภาพบัณฑิต ด้านความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่ อสารได้ให้มีคุณภาพ มากยิง่ ขึ้น 2) มุ่งสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการให้กบั บัณฑิต 2. ด้ านงานวิจัยและงานสร้ างสรรค์ 1) กระตุน้ ให้อาจารย์เร่ งสร้างผลงานวิจยั เพื่อเป็ นประโยชน์ต่อการเรี ยนการสอน 2) พัฒนาแนวทางส่ งเสริ มให้ผลงานวิชาการของอาจารย์ได้รับการรับรองคุณภาพมากยิง่ ขึ้น 3. ด้ านการบริการวิชาการแก่ สังคม 1) โครงการหรื อกิจกรรมบริ การวิชาการแก่สงั คม ควรเป็ นโครงการหรื อกิจกรรมที่ช่วยให้สงั คม / ชุมชน / ท้องถิ่น เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีข้ ึน และสามารถนําประโยชน์จากการดําเนินโครงการ หรื อกิจกรรมไปพัฒนาการเรี ยนการสอนได้ 2) โครงการ / กิจกรรมบริ การวิชาการแก่สงั คม ควรเน้นโครงการต่อเนื่อง และมีการติดตาม ผลสัมฤทธิ์ของโครงการหรื อกิจกรรม 4. ด้ านการทํานุบาํ รุงศิลปะและวัฒนธรรม 1) จัดโครงการหรื อกิจกรรม ด้านการอนุรักษ์ และส่ งเสริ มวิถีชีวิตตามแบบวัฒนธรรมไทยให้กบั ชุมชนมากขึ้น 2) ดําเนินโครงการ Green and Clean College สถาบันการศึกษา สี เขียว เพือ่ เป็ นแบบอย่างแก่สงั คม 5. ด้ านการบริหารและการพัฒนาสถาบัน 1) ส่ งเสริ มอาจารย์ประจําให้มีโอกาสศึกษาต่อในระดับปริ ญญาที่สูงขึ้น 2) จัดตั้งกองทุน / สวัสดิการที่สาํ คัญและจําเป็ นแก่บุคลากร 6. ด้ านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน 1) คณะกรรมการประกันคุณภาพระดับสถาบัน กระตุน้ ให้คณะกรรมการดําเนินการประกันคุณภาพ ตามแผนและระยะเวลาที่กาํ หนด 2) สร้างระบบฐานข้อมูลพื้นฐาน online เพื่อความสะดวกรวดเร็วและเป็ นมาตรฐานเดียวกันในการ เรี ยกใช้ขอ้ มูลอ้างอิงและใช้งาน


ส่ วนที่ 1 สภาพปัจจุบันของ วิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก


1

บทที่ 1 ข้ อมูลพืน้ ฐานและสภาพการดําเนินงานของวิทยาลัย

1. ชื่อสถาบัน วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 2. สถานทีต่ ้งั 298 ซอยเชษฐา ถนนสรรพวุธ แขวงบางนา เขตบางนา กรุ งเทพมหานคร 10260 โทรศัพท์ 0-2398-1352, 0-2744-7356-65 โทรสาร 0-2398-1356 เว็บไซต์ : www.southeast.ac.th อีเมล์ : info@southeast.ac.th 3. ปี ทีใ่ ห้ ข้อมูล ปี การศึกษา 2553 4. ประวัติและสภาพปัจจุบันของวิทยาลัย วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก (Southeast Bangkok College) เป็ นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ที่ได้รับ อนุมตั ิจดั ตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2542 โดยมีปณิ ธานอันแน่วแน่ ในการสร้างคนไทยให้เป็ นผูท้ ี่มีความรู ้ ความสามารถ มีคุณธรรม และมีศกั ยภาพในระดับสากล ซึ่งมี ดร.สมศักดิ์ รุ่ งเรื อง เป็ นผูร้ ับใบอนุญาตและเป็ น อธิการบดี และมีนายชนะ รุ่ งแสง เป็ นนายกสภาวิทยาลัย ทบวงวิทยาลัย (ปั จจุ บนั คือ สํานักงานคณะกรรมการการอุด มศึกษา) ได้อนุ มตั ิให้วิทยาลัย เปิ ด ดําเนิ นการจัดการเรี ยนการสอนในระดับปริ ญญาตรี ในปี การศึกษา 2543 มีหลักสู ตรบริ หารธุ รกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการตลาด และสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยเปิ ดดําเนิ นการสอนในหลักสู ตร 4 ปี และหลักสู ตรต่อเนื่อง ในปี การศึกษา 2544 วิทยาลัยได้รับอนุมตั ิให้เปิ ดดําเนินการจัดการเรี ยนการสอน ในระดับปริ ญญาตรี เพิ่มอีก 1 หลักสู ตร คือ หลักสู ตรนิติศาสตรบัณฑิต สังกัดคณะนิติศาสตร์ และได้รับอนุมตั ิให้เปิ ดหลักสู ตรใน ระดับบัณฑิตศึกษา 1 หลักสู ตร คือ หลักสู ตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริ หารการศึกษา สังกัด บัณฑิตวิทยาลัย ในปี การศึกษา 2545 วิทยาลัยได้รับอนุมตั ิให้เปิ ดดําเนินการจัดการเรี ยนการสอนในระดับ ปริ ญญาตรี เพิ่มอีก 1 หลักสู ตร คือ หลักสู ตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ สังกัดคณะศิลปศาสตร์ และ ในระดับบัณฑิตศึกษาเพิ่มอีก 1 หลักสู ตร คือ หลักสูตรบริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต ในปี การศึ ก ษา 2548 วิ ท ยาลั ย ได้ รั บ อนุ มั ติ ใ ห้ เ ปิ ดดํ า เนิ นการการจั ด การเรี ยนการสอน ในระดับบัณฑิตศึกษาเพิ่มอีก 2 หลักสู ตร คือ หลักสู ตรบริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิ สติกส์ และหลักสู ตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน


2

ในปี การศึกษา 2549 วิทยาลัยได้รับอนุมตั ิให้เปิ ดดําเนินการจัดการเรี ยนการสอน ในระดับปริ ญญาตรี เพิ่มอี ก 2 หลัก สู ตร คื อ หลัก สู ตรวิทยาศาสตรบัณ ฑิ ต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สังกัด คณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และหลักสู ตรบริ หารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ 5. ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ อัตลักษณ์ และเอกลักษณ์ ของวิทยาลัย ปรัชญา คุณวุฒิ คุณธรรม คุณค่ า หมายความว่าบัณฑิตของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก จะต้องเป็ นผูท้ ี่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์อยู่ 3 ประการใหญ่ๆ คือ คุณวุฒิ หมายความว่า บัณฑิตของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก จะต้องถึงพร้อมในด้านวิทยาการต่างๆ เป็ นอย่างดี มีความรู ้แตกฉานในสาขาวิชาที่ได้ศึกษา มีสมรรถนะสู งระดับสากล สามารถนําองค์ความรู ้ที่ได้ ศึกษาเล่าเรี ยนไปประกอบอาชีพให้เกิดประโยชน์ท้ งั ต่อตนเอง สังคม และประเทศชาติ ได้เป็ นอย่างดี คุณธรรม หมายความว่า บัณฑิตของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก จะต้องมีจรรยาบรรณ แห่ งวิชาชีพ มีจริ ยธรรม มุ่งมัน่ ในการสร้างสรรค์ความเจริ ญให้แก่องค์กร มีน้ าํ ใจ มีความรับผิดชอบ มีความเสี ยสละ และ มีความจงรักภักดี ต่อองค์กรที่ปฏิบตั ิหน้าที่อยู่ คุณค่ า หมายความว่า บัณฑิตของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก จะต้องเป็ นทรัพยากรมนุษย์ ที่มีค่าทั้ง ต่อองค์กร ต่อสังคม และต่อประเทศชาติ ปณิธาน วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก มีปณิ ธานแน่ วแน่ ในการพัฒนาศักยภาพของมนุ ษย์ให้มีสมรรถนะสู ง ระดับ สากล โดยเฉพาะในศาสตร์ ที่ วิ ท ยาลัย เปิ ดดํา เนิ น การ วิ ท ยาลัย เซาธ์ อี ส ท์บ างกอกจะพัฒ นาขี ด ความสามารถของคณาจารย์ ทรัพยากรเพื่อการเรี ยนการสอนการวิจยั และเทคโนโลยีเพื่อการจัดการศึกษา ที่ มีคุณภาพและมาตรฐานสู งแก่ประชาชน วิสัยทัศน์ SBC เป็ นสถาบันการศึ กษาที่ มีสมรรถนะสู ง ดําเนิ นภารกิ จที่ มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล ด้วยการบริ หารจัดการที่ดี มีคุณธรรมตามหลักธรรมาภิบาล พันธกิจ พันธกิจหลักของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก คือ การผลิตบัณฑิต การวิจยั การให้บริ การทางวิชาการ แก่สงั คม การทํานุบาํ รุ งศิลปวัฒนธรรม และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อให้เป็ นสถาบันการศึกษาชั้นนํา ระดับสากลที่มีคุณค่าต่อสังคม


3

อัตลักษณ์ อัตลักษณ์ของวิทยาลัย ซึ่ งหมายถึง ผลการพัฒนาสถาบัน และผลการพัฒนาบัณฑิตให้เกิดอัตลักษณ์ ตามปรั ช ญา ปณิ ธ าน วิ สั ย ทัศ น์ พัน ธกิ จ และวัต ถุ ป ระสงค์ ข องวิ ท ยาลัย คื อ “ความรู ้ คู่ คุ ณ ธรรม สร้างสรรค์สงั คม” เอกลักษณ์ “สร้างสรรค์สงั คม” วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ห ลัก ในการจัด การศึ ก ษาของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก คือ การผลิ ตบัณฑิ ตให้มี คุณสมบัติที่พึงประสงค์ 4 ประการ คือ 1) มีความรู ้ ความชํานาญในศาสตร์ที่ศึกษา 2) มีความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่ อสารได้เป็ นอย่างดี 3) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ 4) มีคุณธรรม จริ ยธรรม และจรรยาบรรณ ตลอดจนความเป็ นไทย


4

6. โครงสร้ างการบริหารงาน โครงสร้ างการบริหารวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก

สภาวิทยาลัย สภาวิชาการ อธิการบดี

ทีป่ รึกษา

กรรมการบริหารวิทยาลัย สํ านักอธิการบดี

รองอธิการบดี ฝ่ ายบริหาร สํานักการคลัง สํานักบริ การ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ

รองอธิการบดี ฝ่ ายวิชาการ

รองอธิการบดี ฝ่ ายวางแผนและพัฒนา

บัณฑิตวิทยาลัย สํานักวิจยั และวางแผน คณะบริ หารธุรกิจ ฝ่ ายนิเทศสัมพันธ์ คณะนิติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักวิชาการ สํานักประกันคุณภาพการศึกษา สํานักทะเบียนและประมวลผล สํานักวิทยบริ การ

รองอธิการบดี ฝ่ ายกิจการนักศึกษา และกิจการพิเศษ สํานักกิจการนักศึกษาและ กิจการพิเศษ สํานักประชาสัมพันธ์และ การตลาด ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม


5

7. คณะกรรมการสภาวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก สภาวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก มีอาํ นาจและหน้าที่ ในการควบคุมดู แลกิ จการทัว่ ไปของวิทยาลัย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การวาง นโยบายเกี่ยวกับการศึกษา การวิจยั การให้บริ การทางวิชาการแก่สังคม การทํานุบาํ รุ งศิลปวัฒนธรรม การเงิน และทรัพย์สิน การออกระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ การแต่งตั้ง การถอดถอนผูบ้ ริ หาร และการอนุ มตั ิปริ ญญา ฯลฯ คณะกรรมการสภาวิทยาลัย มีรายนามดังต่อไปนี้ 1. นายชนะ รุ่ งแสง นายกสภา 2. ศาสตราจารย์ ดร.วรภัทร โตธนเกษม อุปนายกสภา 3. ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.ไพบูลย์ ช่างเรี ยน กรรมการสภา 4. รองศาสตราจารย์ นาวาเอก ยุทธนา ตระหง่าน กรรมการสภา 5. รองศาสตราจารย์ ดร.เอกชัย แสงอินทร์ กรรมการสภา 6. รองศาสตราจารย์ ดร.ทศพร ศิริสมั พันธ์ กรรมการสภา 7. รองศาสตราจารย์ วิรัช สงวนวงศ์วาน กรรมการสภา 8. นายเชนทร์ วิพฒั น์บวรวงศ์ กรรมการสภา 9. ดร.เซ็น แก้วยศ กรรมการสภา 10. ดร.ณัฐรัตน์ ประโยชน์อุดมกิจ กรรมการสภา 11. ดร.ฉันทวิทย์ สุ ชาตานนท์ กรรมการสภา 12. ดร.สมศักดิ์ รุ่ งเรื อง กรรมการสภา 13. ดร.ทิวา พงศ์ธนไพบูลย์ กรรมการสภา 14. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วัลยา ชูประดิษฐ์ กรรมการสภา 15. นางสุ ณี ทิพย์เกษร เลขานุการ คณะกรรมการบริหารวิทยาลัย 1. ดร.สมศักดิ์ รุ่ งเรื อง 2. ดร.ทิวา พงศ์ธนไพบูลย์ 3. ผศ.ดร.วัลยา ชูประดิษฐ์ 4. ดร.เฉลิมวิทย์ ฉิ มตระกูล 5. ดร.จิระภา สุ ขเกษม 6. ดร.สฤษดิ์ผล ชมไพศาล 7. อาจารย์ชาลินี พรรธนะแพทย์ 8. อาจารย์ศรี มณา เกษสาคร 9. อาจารย์ภูษิตย์ วงษ์เล็ก

อธิการบดี รองอธิการบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาและกิจการพิเศษ รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา คณบดีคณะบริ หารธุรกิจ คณบดีคณะนิติศาสตร์ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รักษาการคณบดีคณะศิลปศาสตร์ รักษาการคณบดีบณั ฑิตวิทยาลัย


6

8. หลักสู ตรและสาขาวิชาทีเ่ ปิ ดสอน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยเปิ ดสอนในหลักสูตรและสาขาวิชาต่าง ๆ ประกอบด้วย คณะบริ ห ารธุ ร กิ จ หลัก สู ต รบริ ห ารธุ ร กิ จ บัณ ฑิ ต สาขาวิ ช าการบัญ ชี สาขาวิ ช าการตลาด สาขาวิ ช าคอมพิ ว เตอร์ ธุ ร กิ จ และสาขาวิ ช าการจัด การโลจิ ส ติ ก ส์ ซึ่ ง เปิ ดสอนในสถานที่ ต้ ัง หลัก (กรุ งเทพมหานคร) และศูนย์การศึกษานอกสถานที่ต้ งั ณ โรงเรี ยนเทคโนโลยีศรี ราชา จังหวัดชลบุรี คณะนิติศาสตร์ เปิ ดดําเนินการ 1 หลักสูตร คือ หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต คณะศิ ล ปศาสตร์ เปิ ดดํา เนิ น การ 1 หลัก สู ต ร คื อ หลัก สู ต รศิ ล ปศาสตรบัณ ฑิ ต สาขาวิ ช า ภาษาอังกฤษธุรกิจ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เปิ ดดําเนิ นการ 1 หลักสู ตร คือ หลักสู ตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย เปิ ดดํ า เนิ นการ 2 หลั ก สู ตร คื อ หลั ก สู ตรบริ หารธุ ร กิ จ มหาบั ณ ฑิ ต สาขาการบริ ห ารธุ ร กิ จ และสาขาวิ ช าการจัด การโลจิ ส ติ ก ส์ และหลัก สู ต รการจัด การมหาบัณ ฑิ ต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน จากหลักสู ตรและสาขาวิชาที่เปิ ดสอน สรุ ปแสดงในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 แสดงจํานวนหลักสู ตร คณะและสาขาวิชาทีเ่ ปิ ดสอนในปี การศึกษา 2553 หลักสู ตรและสาขาวิชา คณะ บธ.ม. กจ.ม. บธ.บ. น.บ. ศ.ศ.บ. วท.บ. รวม บัณฑิตวิทยาลัย บริ หารธุรกิจ นิติศาสตร์ ศิลปศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวม

2 2

1 1

4 4

1 1

1 1

1 1

3 4 1 1 1 10

9. คณาจารย์ ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอกมีอาจารย์ประจํา รวมทั้งสิ้ น 83 คน จําแนกเป็ นอาจารย์ คุ ณวุฒิปริ ญญาเอก 19 คน ปริ ญญาโท 63 คน และปริ ญญาตรี 1 คน และมี ตาํ แหน่ งทางวิชาการเป็ นรอง ศาสตราจารย์ 3 คน ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ 2 คน และตําแหน่งอาจารย์ 78 คน ดังแสดงในตารางที่ 3


7

ตารางที่ 2 แสดงจํานวนอาจารย์ ประจํา จําแนกตามคณะ อาจารย์ คณะ/สาขาวิชา ป.เอก ป.โท ป.ตรี คณะบริ หารธุรกิจ - สาขาวิชาการบัญชี 8 - สาขาวิชาการตลาด 2 6 - สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 8 - สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ 9 - สาขาวิชาศึกษาทัว่ ไป 3 15 (ร่ วมสอน) รวม 5 46 คณะนิติศาสตร์ 1 4 คณะศิลปศาสตร์ 1 4 1 - สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4 - สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ บัณฑิตวิทยาลัย 9 3 รวมทั้งสิ้น 16 61 1

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ป.เอก ป.โท ป.เอก ป.โท

รวม

-

-

-

1

8 8 8 9 19

-

-

-

1 -

52 5

-

-

-

-

6

1

-

-

-

5

1 2

-

1 1

1 2

15 83

สําหรับศูนย์การศึกษานอกสถานที่ต้ งั โรงเรี ยนเทคโนโลยีศรี ราชา ซึ่ งวิทยาลัยขออนุ ญาตเปิ ด ดํ า เ นิ น ก า ร ใ น ห ลั ก สู ต ร บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ บั ณ ฑิ ต ส า ข า วิ ช า ก า ร บั ญ ชี ส า ข า วิ ช า ก า ร ต ล า ด สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ธุรกิ จ และสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ ในปี การศึกษา 2553 นั้น มีอาจารย์ประจํา เป็ นไปตามเกณฑ์ สาขาวิชาละ 5 คน หมายเหตุ วิทยาลัยใช้การนับจํานวนอาจารย์ และนักวิจยั ในแต่ละปี การศึกษา ตามเงื่อนไขของ สมศ. ดังนี้ - กรณี มีระยะเวลาทํางาน 9 เดือนขึ้นไป ให้นบั เป็ น 1 คน - กรณี มีระยะเวลาทํางาน 6-9 เดือน ให้นบั เป็ น 0.5 คน - กรณี มีระยะเวลาทํางานน้อยกว่า 6 เดือน ไม่สามารถนํามานับได้


8

ตารางที่ 3 จํานวนบุคลากรจําแนกตามคณะประเภทและวุฒิการศึกษา ตํ่ากว่ าปริญญา ปริญญา คณะ ตรี ตรี บริหารธุรกิจ - สายอาจารย์ - สายสนับสนุน 2 นิติศาสตร์ - สายอาจารย์ - สายสนับสนุน 2 ศิลปศาสตร์ - สายอาจารย์ - สายสนับสนุน วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี - สายอาจารย์ - สายสนับสนุน บัณฑิตวิทยาลัย - สายอาจารย์ - สายสนับสนุน สํ านักต่ างๆ รวม

ปริญญา โท

ปริญญา เอก

รวม

47 -

5 -

52 2

4 -

1 -

5 2

-

1 1

4 -

1 -

6 1

-

1

4 -

1 -

5 1

37 37

2 27 36

4 5 68

11 19

15 2 69 160


9

10. นักศึกษา ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีนกั ศึกษา จํานวนรวมทั้งสิ้ น 2,566 คน ตารางที่ 4 แสดงจํานวนนักศึกษา ประจําปี การศึกษา 2551 – 2553 จําแนกตามคณะ ปี การศึกษา

2551

2552

คณะบริ หารธุรกิจ คณะนิติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บัณฑิตวิทยาลัย รวม รวมจํานวนนักศึกษา

1,426 76 56 193 100 1,851 1,851

1,397 80 45 207 85 1,814 1,814

2553 กรุงเทพฯ ศรีราชา 1,867 222 74 57 246 100 2,344 222 2,566 ข้อมูล 5 กรกฎาคม 2553

11. งบประมาณ ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีระบบการจัดสรรงบประมาณไว้ในแผนการดําเนิ นงานโดย อิงพันธกิจ หลัก 5 ประการ คื อ การผลิ ต บัณ ฑิ ต การวิ จ ัย การให้ บ ริ การทางวิ ช าการแก่ สั ง คม การทํา นุ บ ํา รุ ง ศิ ล ปวัฒ นธรรมและการพัฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ โดยแหล่ ง เงิ น งบประมาณมาจากรายได้ข องวิ ท ยาลัย (ค่าหน่วยกิตและค่าบํารุ งการศึกษาอื่นๆ) ซึ่งสํานักการคลังรับผิดชอบภายใต้การกํากับดูแลของรองอธิการบดี ฝ่ ายบริ หาร ในการจัดสรรงบประมาณ มีข้ นั ตอนการดําเนินการดังนี้ (1) คณะ / สํา นัก / ศูน ย์ กําหนดรายละเอี ย ดของงบประมาณประจําปี ในส่ วนของค่าตอบแทน ค่าใช้จ่ายค่าวัสดุ – ครุ ภณ ั ฑ์ และอื่นๆ นําเสนอสํานักการคลัง (2) สํานักการคลังรวบรวม และนําเสนอคณะกรรมการที่แต่งตั้งจากอธิการบดี เพื่อพิจารณา (3) คณะกรรมการพิจารณากลัน่ กรอง แล้วทําเสนออธิการบดีเพื่อพิจารณาอนุมตั ิ (4) คณะ / สํานัก / ศูนย์ ดําเนินการและเบิกจ่ายงบประมาณตามที่ได้รับอนุมตั ิ สําหรับการตรวจสอบการใช้งบประมาณ สํานักการคลัง มีหน้าที่ตรวจสอบการใช้งบประมาณของ คณะ / สํานัก / ศูนย์


10

12. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยจัดให้มีระบบประกันคุณภาพ และกลไกการประกันคุณภาพที่มีประสิ ทธิ ภาพ ซึ่ งเป็ นส่ วน หนึ่ งของกระบวนการบริ หารการศึกษา เพื่อนําไปสู่ การพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาอย่างต่อเนื่อง พร้อมรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกได้ ระบบประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย จําแนกออกเป็ น 2 ระบบ ได้แก่ ระบบประกันคุณภาพ ภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก ตามกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ. กลไกและระบบประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย ประกอบด้วย 1) มีคณะกรรมการประกันคุณภาพประจําหน่วยงานใน 2 ระดับ ได้แก่ 1) ระดับวิทยาลัย มีคณะกรรมการการประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 2) ระดับคณะวิชา ศูนย์ / สํานัก มีคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา ประจําคณะวิชา ศูนย์ / สํานัก 2) มีเกณฑ์ / ดัชนีการประกันคุณภาพและการประเมินคุณภาพ 3) มีกระบวนการในการดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษา 4) ผูบ้ ริ หารและบุคลากรของทุกหน่วยงานทั้งหมดของวิทยาลัยมีส่วนร่ วม 5) มีการประเมินตนเองและการจัดทํารายงานการประเมินตนเองเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในและรองรับการประเมินจากองค์กรภายนอก


11

ส่ วนที่ 2 ผลการประเมินตามตัวบ่ งชี้ของ สมศ.


12

บทที่ 2 ผลการประเมินตนเอง วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอกได้ประเมินตนเอง ประจําปี การศึกษา 2553 ตามเกณฑ์มาตราฐาน ตัวบ่งชี้ เพื่อการรับรองมาตราฐานการศึกษาระดับอุดมศึกษา ผลการประเมินมาตราฐาน 18 ตัวบ่งชี้ ของ วิทยาลัยมีดงั นี้ ตัวบ่ งชี้ที่ 1 บัณฑิตปริญญาตรีทไี่ ด้ ทาํ งานหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี คําอธิบาย บัณฑิตปริ ญญาตรี ที่สาํ เร็ จการศึกษาในหลักสูตรภาคปกติ ภาคพิเศษและภาคนอกเวลาในสาขา นั้นๆ ที่ได้งานทําหรื อมีกิจการของตนเองที่มีรายได้ประจําภายในระยะเวลา 1 ปี นับจากวันที่สาํ เร็ จการศึกษา เมื่อเทียบกับบัณฑิตที่สาํ เร็ จการศึกษาในปี การศึกษานั้น การนับการมีงานทํา นับกรณี การทํางานสุ จริ ตทุกประเภทที่สามารถสร้างรายได้เข้ามาประจํา เพื่อเลี้ยงชีพตนเองได้ โดยการนับจํานวนผูม้ ีงานทําของผูส้ าํ เร็ จการศึกษาที่ลงทะเบียนเรี ยนในภาคพิเศษหรื อ ภาคนอกเวลา ให้นบั เฉพาะผูท้ ี่เปลี่ยนงานใหม่หลังสําเร็ จการศึกษาเท่านั้น ผลการดําเนินงาน บัณฑิตปริ ญญาตรี ที่ได้งานทําหรื อประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี ของวิทยาลัย มีรายละเอียดดังนี้ รายการข้ อมูล 1. จํานวนผูส้ าํ เร็ จการศึกษาทั้งภาคปกติและ ภาคพิเศษ 2. จํานวนผูต้ อบแบบสอบถาม 3. จํา นวนผู ้สํ า เร็ จ การศึ ก ษาที่ ไ ด้ ง านทํา / เปลี่ยนงาน 4. จํานวนผูส้ ําเร็ จการศึกษาที่ประกอบอาชี พ อิสระ 5. จํานวนบัณฑิตที่มีงานทําก่อนเข้าศึกษา 6. จํานวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 7. เงินเดื อนหรื อรายได้ต่อเดื อนของผูส้ ําเร็ จ การศึกษา รวมคะแนน

คณะ คณะ บริหารธุรกิจ นิตศิ าสตร์ (คน) (คน)

คณะ ศิลปศาสตร์ (คน)

คณะ วิทยาศาสตร์ ฯ (คน)

สถาบัน

497

19

7

37

560

481

18

7

36

542

463

18

7

34

522

16

0

0

1

17

9 18

5 0

0 0

3 2

17 20

9,700

8,700

15,500

15,500

11,000

4.98

5.00

5.00

4.84

4.97


13

วิธีการคํานวณ

=

จํานวนบัณฑิตปริ ญญาตรี ที่ได้งานทําหรื อประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี จํานวนบัณฑิตที่ตอบแบบสํารวจทั้งหมด

479 - 27 452 ×100 = ×100 481 - 27 454 = 99.55 ใช้บญั ญัติไตรยางค์เทียบกําหนด ร้อยละ 100 เท่ากับ 5 คะแนน 99.55 = ×5 100 = 4.98 คะแนน

คณะบริ หารธุรกิจ =

18 - 5 13 ×100 = ×100 18 - 5 13 = 100 ใช้บญั ญัติไตรยางค์เทียบกําหนด ร้อยละ 100 เท่ากับ 5 คะแนน 100 = ×5 100 = 5.00 คะแนน

คณะนิติศาสตร์ =

7 ×100 7 = 100 ใช้บญั ญัติไตรยางค์เทียบกําหนด ร้อยละ 100 เท่ากับ 5 คะแนน 100 = ×5 100 = 5.00 คะแนน

คณะศิลปศาสตร์ =

×100


14

35 – 5 30 ×100 = ×100 36 - 5 31 = 96.77 ใช้บญั ญัติไตรยางค์เทียบกําหนด ร้อยละ 100 เท่ากับ 5 คะแนน 96.77 = ×5 100 = 4.84 คะแนน

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี =

539 - 37 502 ×100 = ×100 542 - 37 505 = 99.40 ใช้บญั ญัติไตรยางค์เทียบกําหนด ร้อยละ 100 เท่ากับ 5 คะแนน 99.40 = ×5 100 = 4.97 คะแนน

สถาบัน

=

สรุปผลการประเมินตัวบ่ งชี้ที่ 1 คณะบริ หารธุรกิจ

4.98 คะแนน

คณะนิติศาสตร์

5.00 คะแนน

คณะศิลปศาสตร์

5.00 คะแนน

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

4.84 คะแนน

สถาบัน

4.97 คะแนน

เอกสารหลักฐาน 1.1 สรุ ปจํานวนนักศึกษาที่สาํ เร็จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ปี การศึกษา 2552 1.2 ประกาศสภาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ฉบับที่ 4/2552 นักศึกษาสําเร็ จการศึกษา ภาคการศึกษา ที่1/2552


15

1.3 ประกาศสภาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ฉบับที่ 1/2553 นักศึกษาสําเร็ จการศึกษา ภาคการศึกษา ที่ 2/2552 1.4 ประกาศสภาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ฉบับที่ 2/2553 นักศึกษาสําเร็ จการศึกษา ภาคการศึกษา ที่ 2/2552 และภาคฤดูร้อน ปี การศึกษา 2552 1.5 รายงานการวิจยั ภาวะการมีงานทําหรื อประกอบอาชีพอิสระของนักศึกษา วิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก ปี การศึกษา 2552 – 2553 (สํานักวิจยั )


16

ตัวบ่ งชี้ที่ 2 คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โท และเอก ตามคุณลักษณะบัณฑิตทีพ่ งึ ประสงค์ คําอธิบาย คุณภาพของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ (TQF : HEd. หรื อ Thai Qualifications Framework for Higher Education) หมายถึง คุณลักษณะของบัณฑิตระดับปริ ญญาตรี ปริ ญญาโท และปริ ญญาเอก ตามกรอบมาตรฐานคุ ณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ ที่ สกอ.ระบุ โดยเป็ น คุณลักษณะ บัณฑิตที่พึงประสงค์ตามที่สถาบันกําหนด ครอบคลุมอย่างน้อย 5 ด้าน 1) ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม 2) ด้านความรู ้ 3) ด้านทักษะทางปั ญญา 4) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ รับผิดชอบ และ 5) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่ อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้ง TQF ตามสาขาวิชาชีพที่ประกาศใช้ ตลอดจนสอดคล้องกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ที่สภาหรื อ องค์กรวิชาชีพกําหนดเพิ่มเติม หรื อสอดคล้องกับความต้องการของผูใ้ ช้บณั ฑิต กรณี ที่เ ป็ นวิชาชี พ ที่ มีก ารเพิ่มเติ ม คุ ณ ลัก ษณะของบัณฑิ ต ที่ เ พิ่ มเติ ม จากกรอบมาตรฐาน ทั้ง 5 ด้าน ต้องทําการประเมินครบทุกด้าน ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 คุณภาพของบัณฑิต ปริ ญญาตรี และปริ ญญาโท วิทยาลัย ไม่ได้ประเมิน ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ (TQF : HEd.) เนื่ องจากกําลังอยู่ในกระบวนการ ปรั บปรุ งหลักสู ตรให้เป็ นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ ซึ่ งจะใช้หลักสู ตรใหม่ ทั้งหมดในปี การศึกษา 2555 ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยจึงได้ใช้แบบประเมินคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ของ วิ ท ยาลัย และตามความต้อ งการของผูใ้ ช้บ ัณ ฑิ ต ครบทุ ก หลัก สู ต รในระดับ ปริ ญ ญาตรี โดยครอบคลุ ม ทั้ง 4 ด้าน คือ 1. ด้านความรู ้ความชํานาญในศาสตร์หรื อสาขาวิชา 2. ด้านความรู ้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 3. ด้านความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่ อสาร 4. ด้านความมีคุณธรรมจริ ยธรรมตลอดจนความเป็ นไทย สําหรับในหลักสู ตรบัณฑิตศึกษานั้น บัณฑิตวิทยาลัยได้ดาํ เนิ นการสํารวจความพึงพอใจของ ผูป้ ระกอบการที่มีต่อมหาบัณฑิตที่สาํ เร็ จการศึกษา ในปี การศึกษา 2553 ครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน คือ 1. ด้านความรู ้ความสามารถและทักษะวิชาชีพ 2. ด้านความรู ้ความสามารถพิเศษ 3. ด้านบุคลิกภาพ 4. ด้านคุณธรรม จริ ยธรรมและการมีวินยั


17

วิธีการคํานวณ =

ผลรวมของค่าคะแนนที่ได้จากการประเมินบัณฑิต จํานวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด

1,185 246 = 4.82 ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิต (คะแนนเต็ม 5)

คณะบริ หารธุรกิจ =

=

4.82

คะแนน

63 13 = 4.85 ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิต (คะแนนเต็ม 5) = 4.85 คะแนน

คณะนิติศาสตร์ =

30 6 = 5.00 ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิต (คะแนนเต็ม 5) = 5.00 คะแนน

คณะศิลปศาสตร์ =


18

146 30 = 4.87 ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิต (คะแนนเต็ม 5) = 4.87 คะแนน

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี =

1,424 295 = 4.83 ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิต (คะแนนเต็ม 5) = 4.83 คะแนน

สถาบัน(ระดับปริ ญญาตรี )

=

92 บัณฑิตวิทยาลัย = 20 = 4.60 ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินมหาบัณฑิต (คะแนนเต็ม 5) = 4.60 คะแนน

สถาบัน(ระดับปริ ญญาตรี และปริ ญญาโท)

=

= ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิต (คะแนนเต็ม 5) =

1,516 315 4.81 4.81 คะแนน


19

สรุ ปผลการประเมินตัวบ่ งชี้ที่ 2 คณะบริ หารธุรกิจ

4.82 คะแนน

คณะนิติศาสตร์

4.85 คะแนน

คณะศิลปศาสตร์

5.00 คะแนน

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

4.87 คะแนน

บัณฑิตวิทยาลัย

4.60 คะแนน

สถาบัน (รวมระดับปริญญาตรี) 4.83 คะแนน สถาบัน 4.81 คะแนน เอกสารหลักฐาน 2.1 รายงานการวิจยั เรื่ อง คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามความต้องการของ ผูป้ ระกอบการ ปี การศึกษา 2552 – 2553 (สํานักวิจยั ) 2.2 รายงานการสํารวจความพึงพอใจของผูป้ ระกอบการที่มีต่อมหาบัณฑิตที่สาํ เร็ จการศึกษา ปี การศึกษา 2553 (สํานักวิจยั )


20

ตัวบ่ งชี้ที่ 3 ผลงานของผู้สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททีไ่ ด้ รับการตีพมิ พ์ เผยแพร่ คําอธิบาย ผลงานของผูส้ าํ เร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ เป็ นปั จจัยสําคัญของ คุณภาพของผูส้ าํ เร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาโทที่แสดงถึงความเป็ นผูน้ าํ ทางความคิด ความสามารถด้านการ คิดเชิ งวิพากษ์ การนําเสนอผลงาน มี ทกั ษะในการวิจยั ทักษะและภู มิปัญญาในฐานะนักวิชาการและนัก วิชาชีพชั้นสู ง ผลงานผูส้ าํ เร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาโท หมายถึง บทความวิจยั ของวิทยานิ พนธ์ สารนิพนธ์ ที่ตีพิมพ์หรื อศิลปนิ พนธ์ที่เผยแพร่ โดยผลงานของผูส้ ําเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาโท ไม่สามารถนับเป็ น ผลงานของอาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิพนธ์ได้ ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 บัณฑิตวิทยาลัย มีผลงานของผูส้ าํ เร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาโทที่เป็ น บทความวิจยั ตีพิมพ์ในรายงานสื บเนื่ องจากการประชุ มวิชาการระดับชาติ จํานวน 1 เรื่ อง วารสารวิชาการ ระดับชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI จํานวน 4 เรื่ อง และวารสารวิชาการวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก จํานวน 15 เรื่ อง รายละเอียดปรากฏในตารางที่ 3.1 ตารางที่ 3.1 ผลงานของผูส้ าํ เร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ ที่ 1

2

3

4

รายชื่อบทความวิจยั จากวิทยานิพนธ์ /สาร ตีพมิ พ์ ในวารสาร นิพนธ์ คุณภาพการให้บริ การของผูข้ นส่ งเคมีภณั ฑ์ วิจยั และพัฒนา ทางรถยนต์ วไลยอลงกรณ์ใน พระบรม ราชูปถัมภ์ ปั จจัยส่ วนประสมทางตลาดที่มีผลต่อการ วิจยั และพัฒนา ตัดสิ นใจศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา วไลยอลงกรณ์ใน ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ในเขต พระบรม พื้นที่การศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 ราชูปถัมภ์ ปั ญหาอุปสรรคของผูป้ ระกอบการต่อการ วิจยั และพัฒนา ปฏิบตั ิตามนโยบายการจัดระบบคนต่างด้าว วไลยอลงกรณ์ใน ตามพระราชบัญญัติการทํางานของคนต่าง พระบรม ด้าว พ.ศ. 2551 : กรณี จงั หวัดสมุทรปราการ ราชูปถัมภ์ การรับรู ้ของประชาชนต่อประสิ ทธิผลการ วิจยั และพัฒนา ให้บริ การแก่ประชาชนแบบบูรณาการของ วไลยอลงกรณ์ใน พระบรม เจ้าหน้าที่ตาํ รวจสถานีตาํ รวจภูธรพระ ราชูปถัมภ์ ประแดง

ปี ที/่ ฉบับที่ ปี ที่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม – เมษายน 2556)

ปี ที่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม – เมษายน 2556)

ชื่อเจ้ าของบทความ

ค่ านํา้ หนัก

ชลมัย เอกอรุ ณ

0.75

สามารถ โมราวรรณ

0.75

ปี ที่ 8 ฉบับที่ 2 อรองค์ ขวัญนาค (พฤษภาคม – สิ งหาคม 2556)

0.75

ปี ที่ 8 ฉบับที่ 2 วิริทธิ์พล (พฤษภาคม – สิ งหาคม 2556) ภาศรี ชาเนตร์

0.75


21 ที่ 5

6

7

8

9

10

รายชื่อบทความวิจยั จากวิทยานิพนธ์ /สาร นิพนธ์ ปั จจัยที่มีผลต่อการนําระบบบริ หาร คุณภาพทัว่ ทั้งองค์การมาใช้ในโรงเรี ยน อาชีวศึกษาเอกชนในเขต กรุ งเทพมหานคร ความคิดเห็นของพนักงานต่อการ ดําเนินงานของระบบคุณภาพ ISO 9001:2000 กรณี บริ ษทั สตาร์เฟล็กซ์ จํากัด ความคิดเห็นของผูใ้ ช้งานที่มีต่อโปรแกรม สําเร็ จรู ปเพื่อการจัดการคลังสิ นค้า “คุณภาพการให้บริ การของธนาคารไทย พาณิ ชย์ จํากัด (มหาชน) สาขาซี คอนสแควร์” “ปั จจัยที่มีผลต่อความสุ ขในการทํางาน กรณี : บริ ษทั พระราม 3 ฮอนด้าคาร์ส์ จํากัด” ปั จจัยการตัดสิ นใจเลือกผูร้ ับจัดการขนส่ ง

11

ความพึงพอใจของผูร้ ับบริ การสายการบิน ต้นทุนตํ่า กรณี : สายการบินนกแอร์

12

ประสิ ทธิภาพการจัดการการขนส่ ง กรณี ศึกษา บริ ษทั ปราการเอ็นเตอร์ไพรส์ ( 1999 ) จํากัด ความคิดเห็นพนักงานที่มีต่อการนําระบบ การผลิตแบบทันเวลาพอดีมาใช้ใน กระบวนการผลิตชิ้นส่ วนรถยนต์ กรณี โรงงานผลิตท่อนํ้ามันและท่อเบรครถยนต์ ประสิ ทธิภาพการจัดการคลังสิ นค้าของ พนักงานบริ ษทั เนสท์เล่ (ไทย) จํากัด สาขาบางปู ความคิดเห็นของพนักงานฝ่ ายผลิตที่มีต่อ ปั ญหาในกระบวนการผลิตของ บริ ษทั เทรเชอร์ บ๊อก จํากัด การตัดสิ นใจเลือกซื้อสื่ อสิ่ งพิมพ์ของ พนักงาน บริ ษทั ดูอิ้งเวล อินเตอร์เนชัน่ แนล จํากัด

13

14

15

16

ตีพมิ พ์ ในวารสาร นําเสนอในงาน ประชุมวิชาการ ระดับชาติ เบญจมิตรวิชาการ วารสารวิชาการ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก วารสารวิชาการ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก วารสารวิชาการ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก วารสารวิชาการ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก วารสารวิชาการ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก วารสารวิชาการ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก วารสารวิชาการ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก วารสารวิชาการ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก วารสารวิชาการ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก วารสารวิชาการ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก วารสารวิชาการ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก

ปี ที/่ ฉบับที่

ชื่อเจ้ าของบทความ

ครั้งที่ 1 ณ มหาวิทยาลัยธนบุรี อัณณพ อนันตรักษ์ 31 พฤษภาคม 2554

ค่ านํา้ หนัก 0.50

ปี ที่ 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2555)

สกุณา ปั ตถาทุม

0.25

ปี ที่ 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2555)

เรณู ปั ญกาที

0.25

ปี ที่ 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2555)

ศรัญภัทร ศรี สุธรรม

0.25

ปี ที่ 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2555)

เบญญพัฒน์ สิ ทธิพจน์สกุล

0.25

ปี ที่ 9 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2555)

พรรธิภา จํารัส

0.25

ปี ที่ 9 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2555)

ธนกฤต แสนทะวงศ์

0.25

ปี ที่ 9 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2555)

ปรี ดา ศรี หะรัญ

0.25

ปี ที่ 9 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2555)

ณัฐวัฒน์ เภตราวนิชย์

0.25

ปี ที่ 10 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2556)

ฐิตารี ย ์ สาริ กนั

0.25

ปี ที่ 10 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2556)

ทัศนะ ฮับเซาะ

0.25

วรัญญา ใจใส

0.25

ปี ที่ 10 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2556)


22 ที่ 17

18

19

20

รายชื่อบทความวิจยั จากวิทยานิพนธ์/สาร นิพนธ์ แรงจูงใจในการทํางานของลูกจ้าง โรงงานเภสัชกรรมทหาร ปั จจัยส่ วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อ การตัดสิ นใจของผูใ้ ช้บริ การเช่า สนามฟุตบอลเอ็ทตี้วนั อินดอร์ ซอคเกอร์ จังหวัดสมุทรปราการ แรงจูงใจในการปฏิบตั ิงานของพนักงาน รักษาความปลอดภัย บริ ษทั ดูอิ้งเวล อินเตอร์เนชัน่ แนล จํากัด ปั จจัยที่มีผลต่อการตัดสิ นใจเช่าห้องพัก ของผูพ้ กั อาศัยในหอพักอ่องเอี่ยม

ตีพิมพ์ในวารสาร วารสารวิชาการ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก วารสารวิชาการ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก วารสารวิชาการ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก วารสารวิชาการ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก

ปี ที่/ ฉบับที่ ปี ที่ 10 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2556)

ชื่อเจ้าของบทความ

ค่านํ้าหนัก

วราภรณ์ เล้าวงษ์

0.25

ปี ที่ 10 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2556)

เอกรักษ์ ทองสุ ข

0.25

ปี ที่ 10 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2556)

วิไลวรรณ แจ่มรัศมี

0.25

ปี ที่ 10 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2556)

ศยามล อ่องเอี่ยม

0.25

โดยมีจาํ นวนผูส้ าํ เร็ จการศึกษา ระดับปริ ญญาโท ทั้งหมดจํานวน 20 คน วิธีการคํานวณ ผลรวมถ่วงนํ้าหนักของผลงานที่ตีพิมพ์หรื อเผยแพร่ ของผูส้ าํ เร็ จการศึกษาปริ ญญาโท ×100 จํานวนผูส้ าํ เร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาโท (4 × 0.75) + (1 × 0.50)+ (15 ×0.25) = ×100 20 7.25 = ×100 20 = 36.25 =

เกณฑ์การให้คะแนน ใช้บญั ญัติไตรยางศ์เทียบ กําหนดร้อยละ 25 เท่ากับ 5 5 ผล 36.25 = × 36.25 25 = 7.25


23

สรุ ปผลการประเมินตัวบ่ งชี้ที่ 3 บัณฑิตวิทยาลัย

5.00 คะแนน

สถาบัน

5.00 คะแนน

เอกสารหลักฐาน 3.1 รายงานสื บเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ เบญจมิตรวิชาการครั้งที่ 1 “การวิจยั สู่การพัฒนาที่ยง่ั ยืน” มหาวิทยาลัยธนบุรี 3.2 หนังสื อตอบรับจากสถาบันวิจยั และพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรม ราชูปถัมภ์ที่ ศธ 0551.09/พิเศษ ลงวันที่ 7 เมษยายน 2554 ให้ตีพิมพ์ในวารสารวิจยั และ พัฒนาวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปี ที่ 8 ฉบันที่ 1 (มกราคม – เมษายน 2556) จํานวน 2 ฉบับ 3.3 หนังสื อตอบรับจากสถาบันวิจยั และพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรม ราชูปถัมภ์ที่ ศธ 0551.09/พิเศษ ลงวันที่ 7 เมษยายน 2554 ให้ตีพิมพ์ในวารสารวิจยั และ พัฒนาวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปี ที่ 8 ฉบันที่ 2 (พฤษภาคม – สิ งหาคม 2556) จํานวน 2 ฉบับ 3.4 หนังสื อตอบรับจากสํานักวิชการ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ที่ วชก.0022/พิเศษ ลงวันที่ 9 สิ งหาคม 2553 ให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ปี ที่ 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม –มิถุนายน 2555) จํานวน 4 ฉบับ 3.5 หนังสื อตอบรับจากสํานักวิชาการ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ที่ วชก. 0033/พิเศษ ลงวันที่ 20 สิ งหาคม 2553 ให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ปี ที่ 10 ฉบับที่ 1 (มกราคม –มิถุนายน 2556) จํานวน 2 ฉบับ 3.6 หนังสื อตอบรับจากสํานักวิชาการ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ที่ วชก. 0030/พิเศษ ลงวันที่ 16 สิ งหาคม 2553 ให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ปี ที่ 9 ฉบับที่ 2 (กรกฏาคม –ธันวาคม 2555) จํานวน 4 ฉบับ 3.7 หนังสื อตอบรับจากสํานักวิชาการ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ที่ วชก. 0040/พิเศษ ลงวันที่ 10 กันยายน 2553 ให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ปี ที่ 10 ฉบับที่ 1 (มกราคม –มิถุนายน 2556) จํานวน 2 ฉบับ 3.8 หนังสื อตอบรับจากสํานักวิชาการ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ที่ วชก. 0042/พิเศษ ลงวันที่ 15 กันยายน 2553 ให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ปี ที่ 10 ฉบับที่ 2 (กรกฏาคม –ธันวาคม 2556) จํานวน 3 ฉบับ


24

ตัวบ่ งชี้ที่ 4

ผลงานของผูส้ าํ เร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรื อเผยแพร่ ไม่ประเมินตัวบ่งชี้น้ ี เนื่องจากวิทยาลัยไม่ได้เปิ ดดําเนินการในหลักสู ตร ระดับปริ ญญาเอก


25

ตัวบ่ งชี้ที่ 5 งานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ทไี่ ด้ รับการตีพมิ พ์ หรือเผยแพร่ คําอธิบาย การวิ จ ัย เป็ นพัน ธกิ จ หนึ่ ง ที่ สําคัญของสถาบัน อุ ด มศึ ก ษา การดําเนิ น การตามพัน ธกิ จ อย่างมี ประสิ ทธิภาพและประสบความสําเร็ จนั้น สามารถพิจารณาได้จากผลงานวิจยั และงานสร้างสรรค์ที่มีคุณภาพ และมี การเผยแพร่ อย่า งกว้างขวาง จากการเปรี ย บเที ยบจํานวนบทความวิจยั ที่ ตีพิมพ์และจํานวนผลงาน สร้างสรรค์ที่เผยแพร่ ในระดับชาติหรื อระดับนานาชาติของอาจารย์ประจําและนักวิจยั ประจํา ผลการดําเนินงาน ในปี การศึ ก ษา 2553 วิ ท ยาลัย มี ง านวิ จ ัย ที่ ไ ด้รั บ การตี พิ ม พ์เ ผยแพร่ จํา นวนทั้ง สิ้ น 14 เรื่ อ ง แบ่งเป็ น คณะบริ หารธุ รกิจ 7 เรื่ อง คณะนิ ติศาสตร์ 2 เรื่ อง คณะศิลปศาสตร์ 1 เรื่ อง คณะวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี 1 เรื่ อง และบัณฑิตวิทยาลัย จํานวน 3 เรื่ อง รายละเอียดของงานวิจยั แต่ละคณะมีดงั นี้ 1. คณะบริหารธุรกิจ คณะบริ หารธุ รกิจ มีผลงานวิจยั ที่ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสื บเนื่ องจากการประชุมวิชาการ ระดับชาติ จํานวน 4 เรื่ อง และได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ ในวารสารวิชาการระดับชาติที่มีชื่อปรากฏอยู่ใน ประกาศของ สมศ. จํานวน 3 เรื่ อง รวมทั้งหมด 7 เรื่ อง โดยมีอาจารย์ประจํา จํานวน 52 คน รายละเอียดของ งานวิจยั ปรากฏในตารางที่ 5. 1 ตารางที่ 5.1 งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ คณะบริ หารธุรกิจ

1

ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสิ นใจซื้อ สิ นค้าไพรเวทแบรนด์ใน กรุ งเทพมหานคร

ดร.อําพล นววงศ์เสถียร

ปี ที่ ตีพมิ พ์ เผยแพร่ 2553

2

การสื บทอดธุรกิจ : ประเด็นสําคัญ ของความท้าทายเพือ่ การอยูร่ อดและ ยัง่ ยืน ปัจจัยที่มีผลต่อการเติบโตที่ยง่ั ยืน ของธุรกิจครอบครัวในตลาด หลักทรัพย์ไทย การรับรู้และตระหนักของนักศึกษา ระดับปริ ญญาตรี ที่เกี่ยวกับปั ญหา อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ดา้ น การใช้งานบนเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต

ดร.อําพล นววงศ์เสถียร

2553

ดร.อําพล นววงศ์เสถียร

2553

วารสารพัฒนบริ หารศาสตร์ สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์

0.50

อ.สุ ดาสวรรค์ งามมงคลวงศ์

2553

ตีพิมพ์ในรายงานสื บเนื่องจากการประชุม วิชาการระดับชาติ เบญจมิตรวิชาการครั้ง ที่ 1 “การวิจยั สู่ การพัฒนาที่ยงั่ ยืน”

0.125

ที่

3

4

รายชื่อบทความวิจยั

ชื่อเจ้ าของบทความ

ชื่อวารสารหรือรายงานสื บเนื่องจากการ ประชุ มวิชาการ

ค่ า นํา้ หนัก

หนังสื อการสัมมนาวิชาการและรวม บทความวิชาการเนื่องในโอกาสครบรอบ 54 ปี คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ วารสารบริ หารธุรกิจ คณะพาณิ ชยศาสตร์ และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

0.50

0.50


26 ที่

รายชื่อบทความวิจยั

ชื่อเจ้ าของบทความ พ.อ.อ.สุ ริยะ พุม่ เฉลิม

5

การยอมรับและความคิดเห็นต่อ บริ การอิเล็กทรอนิ กส์ช็อปปิ้ งของ นักศึกษาระดับปริ ญญาตรี ในเขต จังหวัดสมุทรปราการ

6

การพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน อ.รวมพร ทองรัศมี วิชาสถิติจากการใช้โปรแกรม สําเร็จรู ปทางด้านสถิติของนักศึกษา ระดับปริ ญญาตรี สถาบันอุดมศึกษา เขตกรุ งเทพมหานคร แนวทางการพัฒนาห้องสมุดมีชีวติ อ.นันทภัค แก้วใหญ่ กรณี ศึกษา สํานักวิทยบริ การ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก

7

ปี ที่ ตีพมิ พ์ เผยแพร่ 2553

ชื่อวารสารหรือรายงานสื บเนื่องจากการ ประชุ มวิชาการ

ค่ า นํา้ หนัก

ตีพิมพ์ในรายงานสื บเนื่องจากการประชุม วิชาการระดับชาติ เบญจมิตรวิชาการครั้ง ที่ 1 “การวิจยั สู่ การพัฒนาที่ยงั่ ยืน”

0.125

2553

ตีพิมพ์ในรายงานสื บเนื่องจากการประชุม วิชาการระดับชาติ เบญจมิตรวิชาการครั้ง ที่ 1 “การวิจยั สู่ การพัฒนาที่ยงั่ ยืน”

0.125

2553

ตีพิมพ์ในรายงานสื บเนื่องจากการประชุม วิชาการระดับชาติ เบญจมิตรวิชาการครั้ง ที่ 1 “การวิจยั สู่ การพัฒนาที่ยงั่ ยืน”

0.125

2. คณะนิติศาสตร์ คณะนิ ติศาสตร์ มี งานวิจยั ที่ ได้รับการตี พิมพ์เผยแพร่ จํานวน 2 เรื่ อง โดยมี อาจารย์ประจํา จํานวน 5 คน รายละเอียดของงานวิจยั ปรากฏในตารางที่ 5.2 ตารางที่ 5.2 งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ คณะนิติศาสตร์ ที่ 1

2

รายชื่อบทความวิจยั

ชื่อเจ้ าของบทความ

ปั ญ หาการใช้ เ สรี ภาพเกี่ ย วกั บ การ อ.ญาณวัฒน์ ชุมนุมในการปกครองระบบประชาธิ ป พลอยเทศ ไตย ศึ ก ษาการชุ ม นุ ม ตามบทบัญ ญัติ มาตรา 63 แห่งรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ปั ญ หาการบัง คับ ใช้ ก ฏหมายตาม อ.พิชญ์สินี ศรี สวัสดิ์ พระราชบัญญัติคุม้ ครองสุ ขภาพของ ผูไ้ ม่สูบบุหรี่ พ.ศ. 2535

ปี ทีต่ ีพมิ พ์ เผยแพร่

ชื่อวารสารหรือรายงานสื บเนื่องจากการ ประชุ มวิชาการ

ค่ า นํา้ หนัก

2553

การประชุ มวิชาการระดับชาติ การวิจยั สู่ วิ ท ยาการทางปั ญ ญาสํา หรั บ คนไทย ณ โรงแรมบ้านเจ้าพระยา มหาวิทยาลัย ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา การประชุ มระดับชาติ เบญจมิ ตรครั้งที่ 1 “การวิ จ ัย สู่ ก ารพัฒ นาที่ ย ง่ั ยื น ” ณ ห้ อ ง ประชุ มใหญ่ อาคารเอนกประสงค์ มหาวิทยาลัยธนบุรี

0.125

2553

0.125


27

3. คณะศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มีงานวิจยั ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ จํานวน 1 เรื่ อง โดยมีอาจารย์ประจํา จํานวน 6 คน รายละเอียดของงานวิจยั ปรากฏในตารางที่ 5.3 ตารางที่ 5.3 งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ คณะศิลปศาสตร์ รายชื่อบทความวิจยั

ที่ 1

ชื่อเจ้ าของบทความ

การเปรี ยบเที ยบผลสัมฤทธิ์ ระหว่าง อ.นันทิยา สุ วรรณ วิ ธี ก ารสอนภาษาแบบการแปลกฏ ไวยากรณ์ แ ละแบบการสื่ อสาร เรื่ อง การใช้ Simple Present tense, Simple Past tense และ Present Continuers tense for Future ของ นักศึกษาปริ ญญาตรี ชั้นปี ที่ 1

ปี ทีต่ ีพมิ พ์ เผยแพร่

ชื่อวารสารหรือรายงานสื บเนื่องจาก การประชุ มวิชาการ

ค่ า นํา้ หนัก

2553

การประชุ ม วิ ช าการระดับ ชาติ ก าร วิจยั สู่ วิทยาการทางปั ญญาสําหรับคน ไทย ณ โรงแรมบ้ า นเจ้ า พระยา มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ บ้ า นสมเด็ จ เจ้าพระยา

0.125

4. คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีงานวิจยั ที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ จํานวน 1 เรื่ อง โดยมี อาจารย์ประจํา จํานวน 5 คน รายละเอียดของงานวิจยั ปรากฏในตารางที่ 5.4 ตารางที่ 5.4 งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายชื่อบทความวิจยั

ที่ 1

ชื่อเจ้ าของบทความ

ระบบสนับสนุ นการตัดสิ นใจในการ อ.ชาลินี พรรธนะแพทย์ เลื อ กสถาบั น การเงิ น เพื่ อ อนุ มั ติ สิ นเชื่อรถยนต์

ปี ทีต่ ีพมิ พ์ เผยแพร่

ชื่อวารสารหรือรายงานสื บเนื่องจาก การประชุ มวิชาการ

ค่ า นํา้ หนัก

2552

The 5th National Conference on Computing and Information Technology 2009

0.25

5. บัณฑิตวิทยาลัย บัณฑิตวิทยาลัย มีงานวิจยั ที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ จํานวน 3 เรื่ อง โดยมีอาจารย์ประจํา จํานวน 15 คน รายละเอียดของงานวิจยั ปรากฏในตารางที่ 5.5 ตารางที่ 5.5 งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ บัณฑิตวิทยาลัย ที่

รายชื่อบทความวิจยั

ชื่อเจ้ าของบทความ

1

การควบคุมการบริ หารในโรงเรี ยน อาชีวศึกษาเอกชน

ดร.ภูษิตย์ วงษ์เล็ก

2

Cross – Cultural Value Differences ดร. จตุพร สังขวรรณ of Working Adult Gen X and Gen Y Respondents in Thailand

ปี ทีต่ ีพมิ พ์ เผยแพร่ ปี ที่ 6 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2554 September 2010

ชื่อวารสารหรือรายงานสื บเนื่องจาก การประชุ มวิชาการ วารสารวิจยั และพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

ค่ า นํา้ หนัก 0.25

International Journal of Management and Business (IJMB). Volume 1 – No.1

0.75


28 ที่

รายชื่อบทความวิจยั

3

Business Ethics of Government Employees and Future Lawyers in Thailand: A Study of Age, Gender, Management Experience, and Education

ปี ทีต่ ีพมิ พ์ เผยแพร่ ดร. จตุพร สังขวรรณ January 2011 ชื่อเจ้ าของบทความ

ชื่อวารสารหรือรายงานสื บเนื่องจาก การประชุ มวิชาการ International Business Research Vol. 4, No.1 Published by Canadian Center of Science and Education

วิธีการคํานวณ =

ผลรวมถ่วงนํ้าหนักของงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ จํานวนอาจารย์ประจําและนักวิจยั ทั้งหมด

×100

(0.5 × 3) + (0.125 ×4) ×100 52 = 3.85 เทียบค่าสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ร้อยละ 10 เท่ากับ 5 คะแนน 5 ผลร้อยละ 3.85 = × 3.85 10 = 1.93 คะแนน คณะบริ หารธุรกิจ =

(0.125 × 2) ×100 5 = 5 เทียบค่าสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ร้อยละ 10 เท่ากับ 5 คะแนน 5 ผลร้อยละ 5 = ×5 10 = 2.50 คะแนน

คณะนิติศาสตร์

=

ค่ า นํา้ หนัก 0.75


29

(0.125 × 1) ×100 6 = 2.08 เทียบค่าสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ร้อยละ 10 เท่ากับ 5 คะแนน 5 ผลร้อยละ 2.08 = × 2.08 10 = 1.04 คะแนน

คณะศิลปศาสตร์ =

(0.25 × 1) ×100 5 = 5 เทียบค่าสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร้อยละ 20 เท่ากับ 5 คะแนน 5 ×5 ผลร้อยละ 5 = 20 = 1.25 คะแนน

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี =

(0.25 × 1) + (0.75 ×2) ×100 15 1.75 = ×100 15 = 11.67 เทียบค่าสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ร้อยละ 10 เท่ากับ 5 คะแนน ผลร้อยละ 11.67 = 5 คะแนน

บัณฑิตวิทยาลัย

=

สถาบัน

=

ผล

=

1.93 + 2.50 + 1.04 + 1.25 + 5.00 5 2.34 คะแนน


30

สรุ ปผลการประเมินตัวบ่ งชี้ที่ 5 คณะบริ หารธุรกิจ

1.93 คะแนน

คณะนิติศาสตร์

2.50 คะแนน

คณะศิลปศาสตร์

1.04 คะแนน

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

1.25 คะแนน

บัณฑิตวิทยาลัย

5.00 คะแนน

สถาบัน

2.34 คะแนน

เอกสารหลักฐาน 5.1 หนังสื อการสัมนาทางวิชาการและรวมบทความวิชาการเนื่องในโอกาสครบรอบ 54 ปี คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ (ดร.อําพล นววงศ์เสถียร) 5.2 วารสารบริ หารธุ ร กิ จ คณะพาณิ ช ยศาสตร์ แ ละการบัญ ชี มหาวิ ท ยาลัย ธรรมศาสตร์ ฉบับที่ 124 (ดร.อําพล นววงศ์เสถียร) 5.3 วารสารพัฒนบริ หารศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ ปี ที่ 50 ฉบับที่ 1/2553 (ดร.อําพล นววงศ์เสถียร) 5.4 รายงานสื บเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ เบญจมิตรวิชาการครั้งที่ 1 “การวิจยั สู่ การ พัฒ นาที่ ย ั่ง ยื น ”

มหาวิ ท ยาลัย ธนบุ รี (อาจารย์สุ ด าสวรรค์ งามมงคลวงศ์ ,

อาจารย์ สุ ริ ยะ พุ่ ม เฉลิ ม ,อาจารย์ร วมพร ทองรั ศ มี ,อาจารย์นั น ทภั ค แก้ ว ใหญ่ , อาจารย์พิชญ์สินี ศรี สวัสดิ์) 5.5 รายงานสื บเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “การวิจยั สู่ วิทยาการทางปั ญญาสําหรับคน ไทย” ณ มหาวิ ทยาลัย ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

(อาจารย์ญาณวัฒน์ พลอยเทศ ,

อาจารย์นนั ทิยา สุ วรรณ) 5.6 Proceeding : The 5th National Conference on Computing and Information Technology 2009 (อาจารย์ชาลินี พรรธนะแพทย์) 5.7 หนังสื อตอบรับจากสถาบันวิจยั และพัฒนา ที่ ศธ.0551.09/พิเศษ ลงวันที่ 11 มิถุนายน 2553 ให้ตีพิมพ์ในวารสารวิจยั และพัฒนาวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชู ปถัมภ์ ปี ที่ 6 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2554


31

5.8 International Journal of Management and Business (IJMB). Volume 1 – No.1 , September 2010. (ดร.จตุพร สังขวรรณ) 5.9 International Business Research Vol.4, No.1, January 2011 (ดร.จตุพร สังขวรรณ)


32

ตัวบ่ งชี้ที่ 6 งานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ทนี่ ําไปใช้ ประโยชน์ คําอธิบาย การวิจยั เป็ นพันธกิจหนึ่งที่สาํ คัญของวิทยาลัย การดําเนินการตามพันธกิจอย่างมีประสิ ทธิภาพ และประสบความสํา เร็ จ นั้น สามารถพิจ ารณาได้จ ากผลงานวิ จ ัย และงานสร้ างสรรค์ที่มี คุ ณ ภาพและมี ประโยชน์สู่ การนําไปใช้จากการเปรี ยบเทียบจํานวนงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ของอาจารย์ประจําและ นักวิจยั ประจําที่นาํ ไปใช้ประโยชน์ในการแก้ปัญหาตามวัตถุประสงค์ที่ระบุไว้ในโครงการวิจยั และรายงาน การวิจยั โดยได้รับการรับรองการใช้ประโยชน์จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของอาจารย์ประจําและนักวิจยั ประจํา การนําไปใช้ประโยชน์ของงานวิจยั เป็ นการนําไปใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ที่ระบุไว้ใน โครงการ/โครงการวิจยั และรายงานการวิจยั อย่างถูกต้อง สามารถนําไปสู่ การแก้ปัญหาได้อย่างเป็ นรู ปธรรม กับกลุ่ มเป้ าหมาย โดยมี หลักฐานปรากฏอย่า งชัดเจนถึ งการนํา ไปใช้จนก่ อให้เ กิ ด ประโยชน์ ได้จริ งตาม วัตถุประสงค์ และได้การรับรองการใช้ประโยชน์จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผลการดําเนินงาน งานวิจยั หรื องานสร้ างสรรค์ที่นําไปใช้ประโยชน์ของวิทยาลัย ในปี การศึ กษา 2553 นี้ มี จํานวนทั้งสิ้ น 25 เรื่ อง แบ่งเป็ นงานวิจยั ของอาจารย์คณะบริ หารธุ รกิ จ 15 เรื่ อง คณะนิ ติศาสตร์ 3 เรื่ อง คณะศิลปศาสตร์ 2 เรื่ อง คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 2 เรื่ อง และบัณฑิ ตวิทยาลัย 3 เรื่ อง งานวิจยั ที่ นํา ไปใช้ป ระโยชน์ ไ ด้รั บ การรั บ รองการใช้ป ระโยชน์ จ ากหน่ ว ยงานของภาครั ฐ และเอกชน สํา หรั บ รายละเอียดของงานวิจยั ในแต่ละคณะ มีดงั นี้ 1. คณะบริหารธุรกิจ คณะบริ หารธุ รกิจ ในปี การศึกษา 2553 มีผลงานวิจยั ที่นาํ ไปใช้ประโยชน์และได้รับการ รับรองจากหน่วยงานที่นาํ ไปใช้ประโยชน์ จํานวน 15 ชิ้นงาน โดยมีจาํ นวนอาจารย์ 52 คน รายละเอียดปรากฏ ในตารางที่ 6.1


33

ตารางที่ 6.1 งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่นาํ ไปใช้ประโยชน์ คณะบริ หารธุรกิจ ที่

รายชื่องานวิจัย

1

ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสิ นใจ ซื้อสิ นค้าไพรเวทแบรนด์ใน กรุ งเทพมหานคร ปัจจัยที่มีผลต่อจรรยาบรรณ นักวิจยั ของนักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา สถาบันอุดมศึกษาเอกชนใน เขตกรุ งเทพมหานคร การรับรู้และตระหนักของ นักศึกษาระดับปริ ญญาตรี สถาบันอุดมศึกษาในเขต กรุ งเทพมหานครเกี่ยวกับ ปัญหาอาชญากรรมทาง คอมพิวเตอร์ร้านระบบ เครื อข่าย แนวทางการพัฒนาห้องสมุด มีชีวติ :กรณี ศึกษาสํานักวิทย บริ การวิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก การพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิชาสถิติจากการ ใช้โปรแกรมสําเร็ จรู ปทางด้าน สถิติของนักศึกษาระดับ ปริ ญญาตรี สถาบันอุดมศึกษา เขตกรุ งเทพมหานคร ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ เหตุการณ์เชิงลบทัศนคติที่ผดิ และความคิดอัตโนมัติทางลบ ที่มีภาวะซึมเศร้าของกลุ่ม วัยรุ่ นไทยตอนกลางในจังหวัด พระนครศรี อยุธยา การศึกษาความต้องการในการ พัฒนาความรู้ต่อเนื่องทาง วิชาชีพ (CPD) ของผูท้ าํ บัญชี เขตบางนาและ จังหวัดสมุทรปราการ

2

3

4

5

6

7

ปี ทีน่ ําไปใช้ ประโยชน์

ดร.อําพล นววงศ์เสถียร

2551

2553

หจก.ธนบุรีมาสเตอร์ กรุ๊ ป

อ.ธิปัตย์ โสตถิวรรณ์

2551

2553

วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี ตรัง

อ.สุ ดาสวรรค์ งามมงคลวงศ์

2551

2553

วิ ท ย า ลั ย ก รุ ง เ ท พ สุ วรรณภูมิ

อ.นันทภัค แก้วใหญ่

2551

2553

วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี ตรัง

อ.รวมพร ทองรัศมี

2552

2553

วิทยาลัยพยาบาล เซนต์หลุยส์

อ.สุ ณี ทิพย์เกษร และคณะ

2552

2553

ศูนย์ฝึกอบรมเด็กและ เยาวชนบ้านมุทิตา

อ.กาญจนา แป้ นนวล และคณะ

2553

2553

บริ ษทั เอ็ม.ดับบลิว.เอ อินเตอร์เนชัน่ แนล จํากัด

ชื่อเจ้ าของผลงาน

ชื่อหน่ วยงานทีน่ ําไป ใช้ ประโยชน์

หลักฐานรับรองการ ใช้ ประโยชน์ (มี) / (ไม่ ม)ี 

ปี ทีง่ านวิจัย แล้ วเสร็จ


34 ปี ทีง่ านวิจัย แล้ วเสร็จ

ปี ทีน่ ําไปใช้ ประโยชน์

ชื่อหน่ วยงานทีน่ ําไป ใช้ ประโยชน์

หลักฐานรับรองการ ใช้ ประโยชน์ (มี) / (ไม่ ม)ี 

ที่

รายชื่องานวิจัย

ชื่อเจ้ าของผลงาน

8

ความคิดเห็นเกี่ยวกับ สภาพแวดล้อมวิทยาลัย เซาธ์อีสท์บางกอกของ บุคลากรและนักศึกษา ความพึงพอใจของผูเ้ รี ยนต่อ คุณภาพการจัดการเรี ยนการ สอนของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก ภาวะการมีงานทําของบัณฑิต วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก การศึกษาอัตลักษณ์ของ บัณฑิตวิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก

อ.ธิปัตย์ โสตถิวรรณ์ และอ.พิชญ์สินี ศรี สวัสดิ์

2553

2553

วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี ตรัง

อ.เรณู จันทะวงศา และอ.สันติภูมิ ราชวิชา

2553

2553

วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี ตรัง

อ.ธิปัตย์ โสตถิวรรณ์ และอ.สุ คนธ์ สนธิ อ.ธิปัตย์ โสตถิวรรณ์ และอ.ทรงพล นคเรศเรื องศักดิ์

2553

2553

2553

2553

วิทยาลัยพยาบาล เซนต์หลุยส์ วิทยาลัยพยาบาล เซนต์หลุยส์

คุ ณ ลัก ษณะของบัณ ฑิ ต ที่ พึ ง ประสงค์ ต ามความต้อ งการ ของผูใ้ ช้บณั ฑิตวิทยาลัย เซาธ์อีสท์บางกอก การศึ กษาสภาพปั จจัย ในการ สอนที่ สัมพันธ์ กับการเรี ย นรู ้ อย่างมีความสุ ขของนักศึ กษา วิ ท ยาลัย เซาธ์ อี ส ท์ บ างกอก วิทยาเขตบางนา การศึ กษาสภาพปั จจัย ในการ สอนที่ สัมพันธ์ กับการเรี ย นรู ้ อย่างมีความสุ ขของนักศึ กษา วิ ท ยาลัย เซาธ์ อี ส ท์ บ างกอก วิทยาเขตเทคโนโลยีศรี ราชา การยอมรับและความคิ ดเห็ น ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ในเขตจังหวัดสมุทรปราการที่ ใช้บริ การอิเล็กทรอนิ กส์ ช็อป ปิ้ งบนเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต

อ.ธิปัตย์ โสตถิวรรณ์ และอ.นริ ศ พุม่ ดนตรี

2553

2553

วิทยาลัยพยาบาล เซนต์หลุยส์

อ.ธิปัตย์ โสตถิวรรณ์

2553

2553

วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี ตรัง

ดร.เฉลิมวิทย์ ฉิ มตระกูล และอ.ภิญญดา หงษ์จรเดชา

2553

2553

วิทยาลัยพยาบาล เซนต์หลุยส์

อ.สุ ริยะ พุม่ เฉลิม

2553

2553

หจก.ธนบุรีมาสเตอร์ กรุ๊ ป

9

10 11

12

13

14

15


35

2. คณะนิติศาสตร์ คณะนิ ติศาสตร์ มี ผลงานวิจ ัยที่ นําไปใช้ประโยชน์และได้รับการรั บรองจากหน่ วยงานที่ นําไปใช้ประโยชน์ จํานวน 3 ชิ้น โดยมีอาจารย์ประจํา จํานวน 5 คน รายละเอียดปรากฏในตารางที่ 6.2 ตารางที่ 6.2 งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่นาํ ไปใช้ประโยชน์ คณะนิติศาสตร์ ที่

รายชื่องานวิจัย

ชื่อเจ้ าของผลงาน

ปี ทีง่ านวิจัย แล้ วเสร็จ

1

ปั ญ หาการใช้เ สรี ภ าพเกี่ ย วกับ กา รชุ มนุ ม ใน กา ร ปก ค ร อ ง ระบอบประชาธิ ปไตย ศึกษาการ ชุมนุมตามบทบัญญัติ มาตรา 63 แห่งรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ปั ญ หาการบัง คับ ใช้ ก ฎหมาย คุม้ ครอง สุ ขภาพของผูไ้ ม่ สูบบุหรี่ พ.ศ. 2535 ความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ สภาพ แวดล้ อ ม วิ ท ยาลั ย เซาธ์ อี ส ท์ บางกอก ของบุ ค ลากรและ นักศึกษา

อ.ญาณวัฒน์ พลอยเทศ

2552

2553

สน.บางนา

หลักฐานรับรองการ ใช้ ประโยชน์ (มี) / (ไม่ ม)ี 

อ.พิชญ์สินี ศรี สวัสดิ์

2553

2553

โรงเรี ยนอรรถวิทย์

อ.ธิปัตย์ โสตถิวรรณ์ และอ.พิชญ์สินี ศรี สวัสดิ์

2553

2553

วิทยาลัยบรมราชชนนี ตรัง

2

3

ปี ทีน่ ําไปใช้ ประโยชน์

ชื่อหน่ วยงานทีน่ ําไป ใช้ ประโยชน์

3. คณะศิลปศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ มีผลงานวิจยั ที่นาํ ไปใช้ประโยชน์และได้รับการรั บรองจากหน่ วยงานที่ นําไปใช้ประโยชน์ จํานวน 2 ชิ้น โดยมีอาจารย์ จํานวน 6 คน รายละเอียดปรากฏในตารางที่ 6.3 ตารางที่ 6.3 งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่นาํ ไปใช้ประโยชน์ คณะศิลปศาสตร์ ที่ 1

2

รายชื่องานวิจัย

ชื่อเจ้ าของผลงาน

การเปรี ยบเที ย บผลสั ม ฤทธิ์ อ.นันทิยา สุ วรรณ ระหว่า งวิธี ก ารสอนภาษาแบบ กา ร แ ป ล ก ฏ ไ ว ย า กร ณ์ แ ล ะ แบบการสื่ อ สาร เรื่ อง การใช้ Simple Present tense, Simple Past tense และ Present Continuers tense for Future ของ นักศึกษา ปริ ญญาตรี ชั้นปี ที่ 1 ความพึงพอใจของผูเ้ รี ยนต่อ อ.เรณู จันทะวงศา คุณภาพการจัดการเรี ยนการสอน และอ.สันติภูมิ ราชวิชา ของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก

ปี ทีง่ านวิจัย แล้ วเสร็จ

ปี ทีน่ ําไปใช้ ประโยชน์

ชื่อหน่ วยงานทีน่ ําไป ใช้ ประโยชน์

2552

2553

โรงเรี ยนมารดานฤมล

2553

2553

วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี ตรัง

หลักฐานรับรองการ ใช้ ประโยชน์ (มี) / (ไม่ ม)ี 


36

4. คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีผลงานวิจยั ที่นาํ ไปใช้ประโยชน์และได้รับการรับรอง จากหน่วยงานที่นาํ ไปใช้ประโยชน์ จํานวน 2 ชิ้น โดยมีอาจารย์ จํานวน 5 คน รายละเอียดปรากฏใน ตารางที่ 6.4 ตารางที่ 6.4 งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่นาํ ไปใช้ประโยชน์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ 1

2

รายชื่องานวิจัย

ชื่อเจ้ าของผลงาน

การศึกษาอัตลักษณ์ ของบัณฑิ ต อ.ธิปัตย์ โสตถิวรรณ์ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก และอ.ทรงพล นคเรศเรื องศักดิ์ คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึง อ.ธิปัตย์ โสตถิวรรณ์ ประสงค์ตามความต้องการของ และอ.นริ ศ พุม่ ดนตรี ผูใ้ ช้บณั ฑิต วิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก

ปี ทีง่ านวิจัย แล้ วเสร็จ

ชื่อหน่ วยงานทีน่ ําไป ใช้ ประโยชน์

ปี ทีน่ ําไปใช้ ประโยชน์

2553

2553

วิทยาลัยพยาบาล เซนต์หลุยส์

2553

2553

วิทยาลัยพยาบาล เซนต์หลุยส์

หลักฐานรับรองการ ใช้ ประโยชน์ (มี) / (ไม่ ม)ี 

5. บัณฑิตวิทยาลัย บัณฑิตวิทยาลัย มีผลงานวิจยั ที่นาํ ไปใช้ประโยชน์และได้รับการรับรองจาก หน่วยงานที่นาํ ไปใช้ประโยชน์ จํานวน 3 ชิ้นโดยมีอาจารย์ จํานวน 15 คนรายละเอียดปรากฏใน ตารางที่ 6.5 ตารางที่ 6.5 งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่นาํ ไปใช้ประโยชน์ บัณฑิตวิทยาลัย ที่

รายชื่องานวิจัย

ชื่อเจ้ าของผลงาน

1

การควบคุมการบริ หารใน โรงเรี ยนอาชีวศึกษาเอกชน

2

Cross – Cultural Value ดร. จตุพร สังขวรรณ Differences of Working Adult Gen X and Gen Y Respondents in Thailand Business Ethics of Government ดร. จตุพร สังขวรรณ Employees and Future Lawyers in Thailand: A Study of Age, Gender, Management Experience, and Education

3

ดร. ภูษิตย์ วงษ์เล็ก

ปี ทีง่ านวิจัย แล้ วเสร็จ

ปี ทีน่ ําไปใช้ ประโยชน์

2552

2553

2553

2553

2553

2553

วิธีการคํานวณ =

ผลรวมของงานวิจยั ที่นาํ ไปใช้ประโยชน์ ×100 จํานวนอาจารย์ประจําและนักวิจยั ประจําทั้งหมด

ชื่อหน่ วยงานทีน่ ําไป ใช้ ประโยชน์ โรงเรี ยนสุ วรรณภูมิ เทคโนโลยีและ บริ หารธุรกิจ บริ ษทั มิตราทร จํากัด

ห้างหุน้ ส่ วน จํากัด สุ วทิ ย์ ทนายความและ บัญชี

หลักฐานรับรองการ ใช้ ประโยชน์ (มี) / (ไม่ ม)ี 


37

15 ×100 52 = 28.85 เทียบค่า ร้อยละ 20 เท่ากับ 5 คะแนน

คณะบริ หารธุรกิจ

=

ผลร้อยละ 28.85

=

5 คะแนน

3 ×100 5 = 60 เทียบค่า ร้อยละ 20 เท่ากับ 5 คะแนน

คณะนิติศาสตร์

ผลร้อยละ

=

60

=

5 คะแนน

2 ×100 6 = 33.33 เทียบค่า ร้อยละ 20 เท่ากับ 5 คะแนน

คณะศิลปศาสตร์

=

ผลร้อยละ 33.33

=

5 คะแนน

2 ×100 5 40

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี = = เทียบค่า ร้อยละ 20 เท่ากับ 5 คะแนน ผลร้อยละ

40

=

5 คะแนน

3 ×100 15 = 20 เทียบค่า ร้อยละ 20 เท่ากับ 5 คะแนน

บัณฑิตวิทยาลัย

ผลร้อยละ

=

20

=

5 คะแนน


38

15 + 3 + 2 + 2 + 3 ×100 83 25 ×100 = 83 = 30.12 เทียบค่า ร้อยละ 20 เท่ากับ 5 คะแนน

สถาบัน

ผลร้อยละ

=

30.12 =

5 คะแนน

สรุ ปผลการประเมินตัวบ่ งชี้ที่ 6 คณะบริ หารธุรกิจ

5 คะแนน

คณะนิติศาสตร์

5 คะแนน

คณะศิลปศาสตร์

5 คะแนน

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

5 คะแนน

บัณฑิตวิทยาลัย

5 คะแนน

สถาบัน

5 คะแนน

เอกสารหลักฐาน 6.1 สรุ ปหลักฐานรับรองการใช้ประโยชน์ของงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก ปี การศึกษา 2553


39

ตัวบ่ งชี้ที่ 7 ผลงานวิชาการทีไ่ ด้ รับการรับรองคุณภาพ คําอธิบาย ผลงานวิชาการที่มีคุณภาพ สะท้อนถึงสมรรถนะในการศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ สังเคราะห์ วิจยั การปฏิบตั ิ จริ ง และได้นาํ มาใช้ในการแก้ปัญหา หรื อ พัฒนางานในหน้าที่จนเกิ ดผลดี ต่อการพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษา และเป็ นประโยชน์ต่อความก้าวหน้าทางวิชาการ ผลการดําเนินงาน ในปี การศึ กษา 2553 วิทยาลัยมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการรั บรองคุณภาพ จํานวน 9 ผลงาน เป็ นผลงานของคณะบริ หารธุ รกิจ 4 เรื่ อง คณะนิ ติศาสตร์ 1 เรื่ อง คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 1 เรื่ อง คณะศิลปศาสตร์ 1 เรื่ อง และบัณฑิตวิทยาลัย จํานวน 2 เรื่ อง รายละเอียดของผลงานในคณะต่างๆ มี ดังนี้ 1. คณะบริหารธุรกิจ คณะบริ หารธุรกิจ มีผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ จํานวนรวมทั้งสิ้ น 4 ผลงาน โดยมีอาจารย์ประจํา จํานวนทั้งสิ้ น 52 คน รายละเอียดชื่อผลงาน ปี ที่ผลงานเสร็ จ ชื่อหน่วยงานที่รับรอง และค่านํ้าหนักของผลงานวิชาการแต่ละผลงาน ปรากฎในตารางที่ 7.1 ตารางที่ 7.1 ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ คณะบริ หารธุรกิจ ที่

ชื่อบทความวิชาการ/หนังสื อ

1 ปัจจัยที่มีผลต่อความสําเร็ จของธุรกิจ ครอบครัว 2 การประกันคุณภาพการศึกษา อีเลิร์นนิง: ความท้าทายของการเรี ยนรู ้ ที่ไร้พรมแดน 3 จากธุรกิจครอบครัว สู่ ธุรกิจระดับ โลก:ทฤษฎีการถ่ายโอนธุรกิจสู่ การ เติบโตอย่างยัง่ ยืน 4 หลักการตลาด

ตีพมิ พ์ ในวารสาร/หนังสื อ

ปี ที่ /ฉบับที่

วารสารพัฒนบริ หารศาสตร์ สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

ปี ที่ 49 ฉบับที่ 1/2552 ปี ที่ 20 ฉบับที่ 3

ปี การศึกษาที่ เผยแพร่ มกราคม-มีนาคม 2552

มิถุนายน-กันยายน 2552

ชื่อเจ้ าของบทความ/ หนังสื อ

ค่ า นํา้ หนัก

อําพล นววงศ์เสถียร

0.25

อําพล นววงศ์เสถียร

0.25

วารสารการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์

ปี ที่ 16 ฉบับที่ 2

กรกฎาคม-ธันวาคม 2552

อําพล นววงศ์เสถียร

0.25

หนังสื อ (ผ่านเกณฑ์การพิจารณาการขอ ตําแหน่งทางวิชาการแล้ว)

ปี การศึกษา 2552

ปี การศึกษา 2552

อําพล นววงศ์เสถียร

1

2. คณะนิติศาสตร์ คณะนิ ติศาสตร์ มีผลงานวิชาการเป็ นตําราที่มีคุณภาพสู ง ผ่านการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และตี พิมพ์เผยแพร่ (ล่ าสุ ดเป็ นฉบับปรั บปรุ งครั้ งที่ 10) ซึ่ งตําราวิชาการเรื่ อง การภาษี อากรนี้ ได้ใช้ ประกอบการเรี ย นการสอนในมหาวิ ทยาลัย ทั้ง ของรั ฐ และเอกชน หลายแห่ ง ผลงานวิ ช าการของคณะ นิติศาสตร์ มีรายละเอียด ปรากฏในตารางที่ 7.2


40

ตารางที่ 7.2 ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ คณะนิติศาสตร์

ชื่อบทความวิชาการ/ หนังสื อ 1 การภาษีอากร ที่

ตีพมิ พ์ ในวารสาร/หนังสื อ

ปี ที่ /ฉบับที่

ปี การศึกษาที่ เผยแพร่

ชื่อเจ้ าของบทความ/ หนังสื อ

ค่ า นํา้ หนัก

หนังสื อ สํานักพิมพ์ บริ ษทั พัฒนา วิชาการ

ฉบับปรับปรุ ง ครั้งที่ 10

2553

เกษม มโนสันต์

1

3. คณะศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มีผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ จํานวน 1 เรื่ อง รายละเอียดปรากฏในตารางที่ 7.3 ตารางที่ 7.3 ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ คณะศิลปศาสตร์

ชื่อบทความวิชาการ/ หนังสื อ 1 ทักษะในการศึกษา ที่

ตีพมิ พ์ ในวารสาร/หนังสื อ

ปี ที่ /ฉบับที่

หนังสื อ (ผ่านเกณฑ์การพิจารณา การขอตําแหน่งทางวิชาการแล้ว)

ปี การศึกษา 2552

ปี การศึกษาที่ เผยแพร่ ปี การศึกษา 2552

ชื่อเจ้ าของบทความ/ หนังสื อ อารี ย ์ เพชรหวน

ค่ า นํา้ หนัก 1

4. คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ จํานวน 1 เรื่ อง รายละเอียด ปรากฏในตารางที่ 7.4 ตารางที่ 7.4 ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชื่อบทความวิชาการ/ หนังสื อ 1 องค์การและการจัดการ ที่

ตีพมิ พ์ ในวารสาร/หนังสื อ

ปี ที่ /ฉบับที่

หนังสื อ (ผ่านเกณฑ์การพิจารณา การขอตําแหน่งทางวิชาการแล้ว)

ปี การศึกษา 2552

ปี การศึกษาที่ เผยแพร่ ปี การศึกษา 2552

ชื่อเจ้ าของบทความ/ หนังสื อ

ค่ า นํา้ หนัก

วัลยา ชูประดิษฐ์

1

5. บัณฑิตวิทยาลัย บัณฑิตวิทยาลัย มีผลงานวิชาการเป็ นตําราที่มีคุณภาพสู งผ่านการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และ ตี พิมพ์เผยแพร่ ห ลายครั้ ง ซึ่ งตําราด้านกลยุทธ์ก ารขนส่ งและโลจิ สติ กส์ น้ ี มีการใช้กันอย่างแพร่ ห ลายใน สถาบันทั้งของรัฐและเอกชน ที่เปิ ดสอนด้านโลจิสติกส์ ผลงานวิชาการของบัณฑิตวิทยาลัย มีรายละเอียด จํานวน 2 เรื่ อง รายละเอียดปรากฏในตารางที่ 7.5


41

ตารางที่ 7.5 ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ บัณฑิตวิทยาลัย

ชื่อบทความวิชาการ/ หนังสื อ 1 กลยุทธ์การขนส่ ง ที่

ตีพมิ พ์ ในวารสาร/หนังสื อ บริ ษทั วิชน่ั พรี เพรส จํากัด

2 กลยุทธ์โลจิสติกส์ บริ ษทั วิชน่ั พรี เพรส จํากัด และซัพพลายเซนเพื่อ การแข่งขันในตลาดโลก

ปี ที่

พิมพ์ ครั้งที่

2552 2554

พิมพ์ครั้งที่ 1 (1,500 เล่ม)

2550

พิมพ์ครั้งที่ 1 (3,000 เล่ม)

2550

พิมพ์ครั้งที่ 2 (3,000 เล่ม) พิมพ์ครั้งที่ 3 (1,500 เล่ม)

2553

พิมพ์ครั้งที่ 2 (1,500 เล่ม)

ชื่อเจ้ าของบทความ/ ค่ า หนังสื อ นํา้ หนัก ไชยยศ ไชยมัน่ คง และ 1 มยุขพันธ์ ไชยมัน่ คง ไชยยศ ไชยมัน่ คง และ 1 มยุขพันธ์ ไชยมัน่ คง

วิธีการคํานวณ

=

ผลรวมถ่วงนํ้าหนักของผลงานวิชาการที่ได้รับรองคุณภาพ จํานวนอาจารย์ประจําและนักวิจยั ประจําทั้งหมด

คณะบริ หารธุรกิจ

=

= เทียบค่า ร้อยละ 10 เท่ากับ ผลร้อยละ 3.37

= =

(0.25 x 3) + 1 ×100 52 3.37 5 คะแนน 5 ×3.37 10 1.69 คะแนน

1× 1 ×100 5 = 20 เทียบค่า ร้อยละ 10 เท่ากับ 5 คะแนน

คณะนิติศาสตร์ =

ผลร้อยละ

20

= 5 คะแนน

×100


42

1× 1 คณะศิลปศาสตร์ = ×100 6 = 16.67 เทียบค่า ร้อยละ 10 เท่ากับ 5 คะแนน ผลร้อยละ

16.67 = 5 คะแนน

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี = = เทียบค่า ร้อยละ 10 เท่ากับ 5 คะแนน ผลร้อยละ 20 เท่ากับ

5

1× 1 ×100 5 20

คะแนน

1×2 ×100 15 = 13.33 เทียบค่า ร้อยละ 10 เท่ากับ 5 คะแนน

บัณฑิตวิทยาลัย =

ผลร้อยละ 13.33 เท่ากับ

5

คะแนน

(0.25 ×3) + (1 × 1) + (1 × 1) + (1 × 1) + (1 × 1) + (1 × 2) ×100 83 = 8.13 เทียบค่า ร้อยละ 10 เท่ากับ 5 คะแนน

สถาบัน

=

ผลร้อยละ 8.13

5 ×8.13 10 = 4.07 คะแนน

=


43

สรุ ปผลการประเมินตัวบ่ งชี้ที่ 7 คณะบริ หารธุรกิจ

1.69 คะแนน

คณะนิติศาสตร์

5

คะแนน

คณะศิลปศาสตร์

5

คะแนน

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

5

คะแนน

บัณฑิตวิทยาลัย

5

คะแนน

สถาบัน

4.07 คะแนน

เอกสารหลักฐาน 7.1 ดร.อําพล นววงศ์เสถียร. 2552. ปัจจัยที่มีผลต่อความสําเร็ จของธุรกิจครอบครัว. วารสารพัฒนบริหารศาสตร์ .ปี ที่ 49 ฉบับที่ 1/2552. มกราคม – มีนาคม 2552. 7.2 ดร.อําพล นววงศ์เสถียร. 2552. การประกันคุณภาพการศึกษาอีเลิร์นนิง: ความท้าทายของการ เรี ยนรู ้ที่ไร้พรมแดน. วารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 20 ฉบับที่ 3. มิถุนายน – กันยายน 2552. 7.3 ดร.อําพล นววงศ์เสถียร. 2552. จากธุรกิจครอบครัวสู่ ธุรกิจระดับโลก: ทฤษฎีการถ่าย โอน ธุ รกิจสู่ การเติบโตอย่างยัง่ ยืน. วารสารการจัดการภาครั ฐและภาคเอกชน. ปี ที่ 16 ฉบับที่ 2. กรกฏาคม – ธันวาคม 2552. 7.4 ดร.อําพล นววงศ์เสถียร. 2552. หลักการตลาด. กรุ งเทพฯ : วิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก. 7.5 อ.เกษม มโนสันต์. 2554. การภาษีอากร. (ฉบับปรับปรุ ง ครั้งที่ 10). กรุ งเทพฯ : บริ ษทั พัฒนาวิชาการ (2535) จํากัด. 7.6 อ.อารี ย ์ เพชรหวน. 2552. ทักษะในการศึกษา. กรุ งเทพฯ : วิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก. 7.7 ดร.วัลยา ชูประดิษฐ์. 2553. องค์ การและการจัดการ. กรุ งเทพฯ : วิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก. 7.8 อ.ไชยยศ ไชยมัน่ คง และ มยุขพันธ์ ไชยมัน่ คง. 2554. กลยุทธ์ การขนส่ ง. (พิมพ์ครั้งที่ 2) กรุ งเทพฯ : วิชน่ั พรี เพรส จํากัด. 7.9 อ.ไชยยศ ไชยมัน่ คง และ มยุขพันธ์ ไชยมัน่ คง. 2553.กลยุทธ์ โลจิสติกส์ และ ซัพพลายเซนเพือ่ การแข่ งขันในตลาดโลก. กรุ งเทพฯ : วิชน่ั พรี เพรส จํากัด


44

ตัวบ่ งชี้ที่ 8 ผลการนําความรู้และประสบการณ์ จากการให้ บริการวิชาการมาใช้ ในการพัฒนา การเรียนการสอนและการวิจัย คําอธิบาย การให้บริ การวิชาการ หมายถึง การที่สถาบันอุดมศึกษาซึ่ งอยู่ในฐานะที่เป็ นที่พ่ ึงของชุมชน หรื อสังคมเป็ นแหล่งอ้างอิงทางวิชาการ หรื อทําหน้าที่ใดๆ ที่มีผลต่อการพัฒนาชุมชนในด้านวิชาการหรื อการ พัฒนาความรู ้ ตลอดจนความเข้มแข็งของประเทศชาติและนานาชาติ การบริ การวิชาการเป็ นการบริ การที่มี ค่าตอบแทนและบริ การวิชาการให้เปล่าโดยมีการนําความรู ้และประสบการณ์มาใช้พฒั นาหรื อบูรณาการเข้า กับการเรี ยนการสอนและการวิจยั อาทิ บทความ ตํารา หนังสื อ รายวิชาหรื อหลักสูตร เป็ นต้น ผลการดําเนินงาน ในปี การศึ ก ษา 2553 คณะต่ า งๆ ได้ ร วบรวมจัด ระบบและมี ก ารประมวลความรู ้ แ ละ ประสบการณ์จากการให้บริ การวิชาการมาใช้ประโยชน์ในการเรี ยนการสอนและการวิจยั โดยนําไปต่อยอด ขยายผล นําไปสู่ การปรั บปรุ งรายวิชาหรื อเปิ ดรายวิชาใหม่ ๆ จํานวนรวมทั้งสิ้ น 19 โครงการจากจํานวน โครงการบริ การวิชาการที่ดาํ เนินการในปี 2553 จํานวนทั้งหมด 22 โครงการ สําหรับการนําความรู ้และประสบการณ์จากโครงการบริ การวิชาการมาใช้ในการพัฒนาการเรี ยน การสอนและการวิจยั มีดงั นี้ 1. คณะบริหารธุรกิจ คณะบริ หารธุรกิจ มีโครงการ/กิจกรรมบริ การวิชาการ จํานวน 10 โครงการ นําผลมาใช้ใน การพัฒ นาการเรี ย นการสอน การวิ จ ัย การเปิ ดรายวิชาใหม่ การปรั บปรุ งหลัก สู ต ร จํานวน 7 โครงการ รายละเอียดปรากฏในตารางที่ 8.1 ตารางที่ 8.1 การนําความรู ้และประสบการณ์การให้บริ การวิชาการมาใช้ในการพัฒนา การเรี ยนการสอน และการวิจยั คณะบริ หารธุรกิจ การนําไปใช้ ประโยชน์ ที่

ชื่อโครงการ

1.

E-Commerce เรื่ องง่ายมาก กว่าที่คุณคิด (2551)

การเรียน การสอน 103405 พาณิ ชย์ อิเล็กทรอนิกส์ (2551)

การวิจัย ความคิดเห็นและการ ยอมรับการใช้บริ การ อีช็อปปิ้ งของนักศึกษา ในเขตจังหวัด สมุทรปราการ (2553)

ปรับปรุ งรายวิชา

เปิ ดรายวิชาใหม่

-

103310 การพัฒนา เว็บเพื่องาน พาณิ ชย์ อิเล็กทรอนิกส์ (หลักสู ตร ปรับปรุ งใหม่ 2555)

หนังสื อ/ บทความ/ เอกสารหลักฐาน ตํารา หมายเลข 8.1.1 หมายเลข 8.1.9


45 การนําไปใช้ ประโยชน์ ที่

ชื่อโครงการ

2.

การป้ องกันความปลอดภัย จากอาชญากรรมทาง คอมพิวเตอร์ (2551)

3.

กลยุทธ์การสร้างตราสิ นค้า เพื่อสร้างความได้เปรี ยบใน การแข่งขันให้กบั ธุรกิจ (2551)

การเรียน การสอน 103402 ระบบ สารสนเทศเพื่อ การจัดการ (2551)

104402 การ จัดการเชิง กลยุทธ์ (2551)

การวิจัย การรับรู ้และความ ตระหนักของ นักศึกษาในเขต กรุ งเทพมหานคร เกี่ยวกับปั ญหา อาชญากรรมทาง คอมพิวเตอร์ดา้ น การใช้งานบน เครื อข่าย อินเทอร์เน็ต (2553) ปั จจัยที่มีผลต่อการ

ปรับปรุ ง รายวิชา 103202 ระบบ สารสนเทศ เพื่อการ จัดการ

เปิ ดราย วิชาใหม่ 103413 ความ ปลอดภัยใน ระบบ สารสนเทศ (หลักสู ตร ปรับปรุ ง ใหม่ 2555)

หนังสื อ/ บทความ/ เอกสารหลักฐาน ตํารา บทความวิชาการ หมายเลข 8.1.2 เรื่ อง อาชญากรรม หมายเลข 8.1.10 ทางคอมพิวเตอร์ ปั ญหาที่มาพร้อม กับการเติบโตของ เทคโนโลยี (2553)

หมายเลข 8.1.3 หมายเลข 8.1.11

ตัดสิ นใจซื้ อสิ นค้า ไพรเวทแบรนด์ใน

-

-

-

กรุ งเทพมหานคร (2553)

4.

5.

การพัฒนาความรู ้ต่อเนื่องทาง 101101 หลักการบัญชี วิชาชีพบัญชี (2552) ขั้นต้น (2552)

การเพิ่มขีดความสามารถใน การแข่งขันทางธุรกิจโดยใช้ เครื่ องมือ Green Lean Logistics (2553)

6.

เส้นทางสู่นกั ขายมืออาชีพ (2553)

105101 หลักการจัดการ โลจิสติกส์ (2553)

102201 หลักการตลาด (2553)

การศึกษาความ ต้องการในการ พัฒนาความรู ้ ต่อเนื่องทางวิชาชีพ (CPD) ของผูท้ าํ บัญชีเขตบางนา และจังหวัด สมุทรปราการ (2553) ปั จจัยที่ส่งผลต่อ ต้นทุนโลจิสติกส์ ของไทย: กรณี ศึกษา ผูป้ ระกอบการ ด้านโลจิสติกส์ที่จด ทะเบียนกับสมาคม ผูร้ ับจัดการขนส่ ง สิ นค้าระหว่าง ประเทศ (2553) -

หมายเลข 8.1.4 หมายเลข 8.1.12

-

-

-

หมายเลข 8.1.5 หมายเลข 8.1.13

-

-

-

-

-

-

หมายเลข 8.1.6 หมายเลข 8.1.14


46 การนําไปใช้ ประโยชน์ ที่

ชื่อโครงการ

7.

การต่อยอดธุรกิจด้วย E-Marketing E-Commerce และ E-Shopping (2553)

การเรียน การสอน 103402 ระบบ สารสนเทศเพื่อ การจัดการ (2553)

การวิจัย

ปรับปรุ ง รายวิชา

เปิ ดราย วิชาใหม่

-

-

-

หนังสื อ/ บทความ/ เอกสารหลักฐาน ตํารา หมายเลข 8.1.7 หมายเลข 8.1.10 -

2. คณะนิติศาสตร์ คณะนิ ติศาสตร์ มีโครงการบริ การทางวิชาการจํานวน 3 โครงการ โดยนําผลการให้บริ การ วิชาการมาพัฒนาการเรี ยนการสอน 3 โครงการ และในจํานวนนี้ ได้นาํ ผลการให้บริ การวิชาการมาพัฒนา งานวิจยั ด้วย รายละเอียด ปรากฏในตารางที่ 8.2 ตารางที่ 8.2 การนําความรู ้และประสบการณ์การให้บริ การวิชาการมาใช้ในการพัฒนาการเรี ยน การสอนและการวิจยั คณะนิติศาสตร์ การนําไปใช้ ประโยชน์ ที่

ชื่อโครงการ

1.

โครงการช่วยเหลือและ ให้บริ การทางกฏหมาย

2.

3.

โครงการที่ปรึ กษา กฏหมายประจําศาล จังหวัดพระโขนง โครงการบรรยายพิเศษ ทางกฏหมาย

การเรียน การสอน

การวิจัย

300408 การให้ ปั ญหาการใช้เสรี ภาพ คําปรึ กษากฏหมายและ เกี่ยวกับการชุมนุม การว่าความ ในการปกครอง ระบบประชาธิปไตย ศึกษาการชุมนุมตาม บทบัญญัติ มาตรา 63 แห่งรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 300408 การให้ คําปรึ กษากฏหมาย และการว่าความ 300201 กฏหมาย ปั ญหาการใช้เสรี ภาพ รัฐธรรมนูญ เกี่ยวกับการชุมนุม ในการปกครอง ระบอบ ประชาธิปไตย ศึกษา การชุมนุมตาม บทบัญญัติ มาตรา 63 แห่งรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550

ปรับปรุ ง รายวิชา

เปิ ดรายวิชาใหม่

หนังสื อ/ บทความ/ ตํารา

เอกสารหลักฐาน หมายเลข 8.2.1 8.2.2 8.2.3

-

-

-

-

-

-

หมายเลข 8.2.4

หมายเลข 8.2.5 8.2.6

-

-

-


47

3. คณะศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มีโครงการบริ การวิชาการ จํานวน 6 โครงการ โดยนําผลการให้บริ การ วิชาการมาพัฒนาการเรี ยนการสอนทั้ง 6 โครงการ และในจํานวนโครงการทั้ง 6 นี้ ยังนําไปสู่ การพัฒนา งานวิจยั อีก 2 โครงการ รายละเอียดปรากฏในตารางที่ 8.3 ตารางที่ 8.3 การนําความรู ้และประสบการณ์การให้บริ การวิชาการมาใช้ในการพัฒนาการเรี ยนการสอนและ การวิจยั คณะศิลปศาสตร์ การนําไปใช้ ประโยชน์ ที่

ชื่อโครงการ

การเรียน การสอน

1.

โครงการอบรม ภาษาอังกฤษและความ แตกต่างระหว่าง วัฒนธรรมตะวันตก และตะวันออกสําหรับ พ่อค้าแม่คา้ ตลาดนํ้าบางนํ้าผึ้ง อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ (ปี 2552) โครงการอบรม

201409 ภาษาอังกฤษเพื่อ ธุรกิจการท่องเที่ยว 1 201410 ภาษาอังกฤษเพื่อ การท่องเที่ยว 2 (ปี 2552 - 2553) 201406 สัมนาการสื่ อสาร ระหว่างชนชาติต่าง วัฒนธรรม (ปี 2553)

2.

3.

การวิจัย

ปรับปรุ ง รายวิชา

เปิ ดรายวิชาใหม่

หนังสื อ/ บทความ/ ตํารา

เอกสารหลักฐาน หมายเลข 8.3.1

-

201409 ภาษาอังกฤษเพื่อ ธุรกิจการท่องเที่ยว 1 ภาษาอังกฤษสําหรับ พนักงานนวด (ปี 2552) 201410 ภาษาอังกฤษเพื่อ การท่องเที่ยว 2 (ปี 2552 - 2553) 201304 ภาษาอังกฤษ สําหรับการประชาสัมพันธ์ (English for Spa) (ปี 2553) โครงการสอน 100112 ภาษาอังกฤษ 1 การเปรี ยบเทียบ ภาษาอังกฤษสําหรับ ผลสัมฤทธิ์ระหว่าง นักเรี ยน ม.6 วิธีการสอน โรงเรี ยนด่านช้างวิทยา ภาษาอังกฤษแบบ จ.สุ พรรณบุรี (ปี 2552) แปลกฏไวยากรณ์ และแบบการ สื่ อสารเรื่ องการใช้ Simple Present Tense Simple Past Tense และ Present

-

-

-

หมายเลข 8.3.2

-

-

-

หมายเลข 8.3.3

-

-

-


48

ที่

4.

5.

6.

ชื่อโครงการ

โครงการสอน ภาษาอังกฤษและ ภาษาจีน นักเรี ยนชั้น ม.6 โรงเรี ยนมารดานฤมล จ.ฉะเชิงเทรา (ปี 2553)

การนําไปใช้ ประโยชน์ การเรียน การสอน

100112 ภาษาอังกฤษ 1 (ปี 2554) 201414 ภาษาจีน 1 (ปี 2554)

โครงการสอน 201304 ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษเพื่อเตรี ยม สําหรับการ สอบ TOEIC (ปี 2552) ประชาสัมพันธ์ (Announcement) โครงการสอน 201206 การอ่าน ภาษาอังกฤษเพื่อเตรี ยม ภาษาอังกฤษธุรกิจ สอบ TOEIC (ปี 2553) (ปี 2554) โครงการอบรม 100112 ภาษาอังกฤษ ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ 1 (ปี 2552) Brush Up (ปี 2552)

การวิจัย Continuous Tense for Future ของ นักศึกษา ปริ ญญาตรี ชั้นปี ที่ 1 วิทยาลัย เซาธ์อีสท์บางกอก (ปี 2552) การศึกษาการสอน ภาษาอังกฤษแบบ โครงงานและการ พัฒนาทักษะ ความคิดของ นักศึกษา ปริ ญญาตรี ชั้นปี ที่ 2 วิทยาลัย เซาธ์อีสท์บางกอก (ปี 2553)

ปรับปรุ งรายวิชา

เปิ ดรายวิชาใหม่

หนังสื อ/ บทความ/ตํารา

เอกสารหลักฐาน

หมายเลข 8.3.4

-

-

-

หมายเลข 8.3.5

-

-

-

-

-

-

-

-

หมายเลข 8.3.6

4. คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีโครงการบริ การวิชาการที่ตอบสนองและสร้างความเข้มแข็ง ต่อชุ มนุ มและสังคม จํานวน 2 โครงการ โดยทั้ง 2 โครงการนี้ สามารถนําผลการให้บริ การทางวิชาการมา พัฒนาการเรี ยนการสอนและการวิจยั ได้ ดังรายละเอียดปรากฏในตารางที่ 8.4


49

ตารางที่ 8.4 การนําความรู ้และประสบการณ์การให้บริ การวิชาการมาใช้ในการพัฒนาการเรี ยนการสอนและ การวิจยั คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การนําไปใช้ ประโยชน์ ที่

1.

2.

ชื่อโครงการ

การเรียน การสอน

การอบรมอินเตอร์เน็ต ชุมชนสําหรับผูบ้ ริ หาร และประชาชน ตําบลบางนํ้าผึ้ง การอบรมเชิงปฏิบตั ิการ ASP.NET for E- commerce

400204 เทคโนโลยีสารสนเทศ

การวิจัย

103405 พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ 103404 การเขียน โปรแกรมบนอินเตอร์เน็ต

-

ปรับปรุ ง รายวิชา

-

-

เปิ ดรายวิชาใหม่

-

-

หนังสื อ/ บทความ/ ตํารา -

-

เอกสารหลักฐาน หมายเลข 8.4.1 8.4.2

หมายเลข 8.4.3 8.4.4 8.4.5

5. บัณฑิตวิทยาลัย บัณฑิตวิทยาลัย มีโครงการบริ การวิชาการ จํานวน 1 โครงการ ซึ่ งการดําเนิ นโครงการดังกล่าวทํา ให้สามารถนําผลมาใช้ในการพัฒนาการเรี ยนการสอนได้ จํานวน 3 รายวิชา รายละเอียดปรากฏในตารางที่ 8.5 ตารางที่ 8.5 การนําความรู ้และประสบการณ์การให้บริ การวิชาการมาใช้ในการพัฒนาการเรี ยนการสอนและ การวิจยั บัณฑิตวิทยาลัย การนําไปใช้ ประโยชน์ ที่

ชื่อโครงการ

การเรียน การสอน

1.

การสัมมนาทางวิชาการ เรื่ อง “ขับเคลื่อน โลจิสติกส์และการตลาด อย่างไร ? ในยุคโลกไร้ พรมแดน

745501 การจัดการ โลจิสติกส์และ ซัพพลายเชน 745103การจัดการสิ นค้า คงคลังและคลังสิ นค้า 705202 การจัดการ ส่ งเสริ มการตลาด

การวิจัย

-

ปรับปรุ ง รายวิชา

-

เปิ ดรายวิชาใหม่

-

หนังสื อ/ บทความ/ ตํารา

-

เอกสารหลักฐาน หมายเลข 8.5.1 8.5.2 8.5.3 8.5.4

วิธีการคํานวณ

=

จํานวนโครงการ⁄กิจกรรมบริ การวิชาการ ที่นาํ มาใช้ในการพัฒนาการเรี ยนการสอน และการวิจยั ×100 จํานวนโครงการ/กิจกรรมบริ การวิชาการทั้งหมด


50

7 ×100 10 = 70 เทียบค่า ร้อยละ 30 เท่ากับ 5 คะแนน ผลร้อยละ 70 = 5 คะแนน คณะบริ หารธุกิจ =

3 ×100 3 = 100 เทียบค่า ร้อยละ 30 เท่ากับ 5 คะแนน คณะนิติศาสตร์

=

ผล ร้อยละ 100 =

5 คะแนน

6 = ×100 6 = 100 เทียบค่า ร้อยละ 30 เท่ากับ 5 คะแนน

คณะศิลปศาสตร์

ผล ร้อยละ 100

=

5 คะแนน

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี = = เทียบค่า ร้อยละ 30 เท่ากับ 5 คะแนน ผล ร้อยละ 100

=

2 ×100 2 100 5 คะแนน


51

1 ×100 1 = 100 เทียบค่า ร้อยละ 30 เท่ากับ 5 คะแนน

บัณฑิตวิทยาลัย

=

ผล ร้อยละ 100

=

5 คะแนน

7+3+6+2+1 ×100 10 + 3 + 6 + 2 + 1 19 = ×100 22 = 86.36 เทียบค่า ร้อยละ 30 เท่ากับ 5 คะแนน

สถาบัน

=

ผล ร้อยละ 86.36 = 5

คะแนน

สรุ ปผลการประเมินตัวบ่ งชี้ที่ 8 คณะบริ หารธุรกิจ คณะนิติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บัณฑิตวิทยาลัย สถาบัน

5 5 5 5 5 5

คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

เอกสารหลักฐาน 8.1.1 โครงการบริ การทางวิชาการ เรื่ อง E-Commerce เรื่ องง่ายมากกว่าที่คุณคิด 8.1.2 โครงการบริ การทางวิชาการ เรื่ อง การป้ องกันความปลอดภัยจากอาชญากรรมทาง คอมพิวเตอร์ 8.1.3 โครงการบริ การทางวิชาการ เรื่ อง กลยุทธ์การสร้างตราสิ นค้าเพื่อสร้างความได้เปรี ยบในการ แข่งขันให้กบั ธุรกิจ 8.1.4 โครงการบริ การวิชาการ เรื่ อง การพัฒนาความรู ้ต่อเนื่องทางวิชาชีพบัญชี


52

8.1.5 โครงการบริ การทางวิชาการ เรื่ อง การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจโดยใช้ เครื่ องมือ Green Lean Logistics 8.1.6 โครงการบริ การทางวิชาการ เรื่ อง เส้นทางสู่นกั ขายมืออาชีพ 8.1.7 โครงการบริ การทางวิชาการ เรื่ อง แนวทางในการจัดทํา E-Marketing , E-Commerce และ E-Shopping 8.1.8 สรุ ปโครงการการบริ การวิชาการของคณะบริ หารธุรกิจ 8.1.9 มคอ.3 และมคอ.5 วิชา 103405 พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ 8.1.10 มคอ.3 และมคอ.5 วิชา 103402 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 8.1.11 มคอ.3 และมคอ.5 วิชา 104402 การจัดการเชิงกลยุทธ์ 8.1.12 มคอ.3 และมคอ.5 วิชา 101101 หลักการบัญชีข้นั ต้น 8.1.13 มคอ.3 และมคอ.5 วิชา 105101 หลักการจัดการโลจิสติกส์ 8.1.14 มคอ.3 และมคอ.5 วิชา 102201 หลักการตลาด 8.2.1 โครงการช่วยเหลือและให้บริ การทางกฎหมาย 8.2.2 มคอ.3 วิชา 300408 การให้คาํ ปรึ กษากฎหมายและการว่าความ 8.2.3 งานวิจยั ปั ญหาการใช้เสรี ภาพเกี่ยวกับการชุมนุมในการปกครองระบอบประชาธิปไตย ศึกษาการชุมนุมตามบทบัญญัติ มาตรา 63 แห่ งรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 8.2.4 โครงการที่ปรึ กษากฎหมายประจําศาลจังหวัดพระโขนง 8.2.5 โครงการบรรยายพิเศษทางกฎหมาย 8.2.6 มคอ.3 วิชา 300201 กฎหมายรัฐธรรมนูญและสถาบันการเมือง 8.3.1 โครงการอบรมภาษาอังกฤษและความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมตะวันตกและตะวันออกสําหรับ พ่อค้าแม่คา้ ตลาดนํ้าบางนํ้าผึ้ง อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ (ปี 2552) 8.3.2 โครงการอบรมภาษาอังกฤษสําหรับพนักงานนวด (ปี 2552) 8.3.3 โครงการสอนภาษาอังกฤษสําหรับนักเรี ยน ม.6 โรงเรี ยนด่านช้างวิทยา จ.สุ พรรณบุรี (ปี 2552) 8.3.4 โครงการสอนภาษาอังกฤษและภาษาจีนนักเรี ยนชั้น ม.6 โรงเรี ยนมารดานฤมล จ.ฉะเชิงเทรา (ปี 2553) 8.3.5 โครงการสอนภาษาอังกฤษเพื่อเตรี ยมสอบ TOEIC (ปี 2552) โครงการสอนภาษาอังกฤษเพื่อเตรี ยม สอบ TOEIC (ปี 2553) 8.3.6 โครงการอบรมไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ Brush Up (ปี 2552) 8.4.1 โครงการอบรมอินเทอร์เน็ตชุมชน สําหรับผูบ้ ริ หารและประชาชนตําบลบางนํ้าผึ้ง 8.4.2 มคอ.3 วิชา 400204 เทคโนโลยีสารสนเทศ 8.4.3 โครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ ASP.NET for E- Commerce


53

8.4.4 มคอ.3 วิชา 103405 พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ 8.4.5 มคอ.3 วิชา 103404 การเขียนโปรแกรมบนอินเตอร์เน็ต 8.5.1 สรุ ปโครงการสัมมนาทางวิชาการ เรื่ อง ขับเคลื่อนโลจิสติกส์และการตลาดอย่างไรในยุคโลกไร้ พรมแดน 8.5.2 มคอ.3 วิชา 745501 การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 8.5.3 มคอ.3 วิชา 745103 การจัดการสิ นค้าคงคลังและคลังสิ นค้า 8.5.4 มคอ.3 วิชา 705202 การจัดการส่ งเสริ มการตลาด


54

ตัวบ่ งชี้ที่ 9 ผลการเรียนรู้และเสริมสร้ างความเข้ มแข็งของชุ มชนหรือองค์ กรภายนอก คําอธิบาย โครงการที่ มีผลต่อการพัฒนาและเสริ มสร้ างความเข้มแข็งของชุ มชน หมายถึ ง โครงการที่ สถาบันจัดขึ้ นเพื่อพัฒนาหรื อองค์กรภายนอกและเมื่ อดําเนิ นการแล้วมี ผลก่ อให้เกิ ดการเปลี่ ยนแปลงไป ในทางที่ดีข้ ึนแก่ชุมชน หรื อองค์กรภายนอกในด้านต่างๆ หรื อทําให้ชุมชนหรื อองค์กรภายนอกสามารถพึ่งพา ตนเองได้ตามศักยภาพของตน ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยและคณะวิชาต่างๆ ได้ดาํ เนิ นโครงการที่มีผลต่อการพัฒนาและ เสริ มสร้างความเข้มแข็งของชุ มชน จํานวนทั้งสิ้ น 10 โครงการ แบ่งเป็ นโครงการของวิทยาลัยและคณะ บริ หารธุรกิจ จํานวน 3 โครงการ โครงการของคณะนิ ติศาสตร์ 3 โครงการ โครงการของคณะศิลปศาสตร์ 2 โครงการ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี จํานวน 1 โครงการ และบัณฑิตวิทยาลัย จํานวน 1 โครงการ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. คณะบริหารธุรกิจ คณะบริ หารธุ รกิจ มีการดําเนิ นงานในการจัดทําโครงการที่มีผลต่อการพัฒนาชุมชนและ องค์กรภายนอกอย่างต่อเนื่องทุกปี การศึกษาซึ่ งสอดคล้องกับแผนพัฒนาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก กิจกรรม ในโครงการเป็ นการเรี ยนรู ้ร่วมกันของอาจารย์ นักศึกษา ผูน้ าํ หรื อสมาชิกของชุมชนอย่างต่อเนื่ อง โดยเน้น ประโยชน์ ความเข้ม แข็ ง และมี คุ ณ ค่ า ต่ อ ชุ ม ชนอย่ า งยัง่ ยื น ผลของการจัด ทํา โครงการก่ อ ให้ เ กิ ด การ เปลี่ยนแปลงที่ดีต่อชุมชน โดยทําให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ตามศักยภาพของตน ซึ่งคณะบริ หารธุรกิจ มีกระบวนการดําเนินการตามตัวบ่งชี้ที่ 9 รายละเอียดปรากฏในตารางที่ 9.1 ตารางที่ 9.1 ผลการเรี ยนรู ้ และเสริ มสร้ างความเข้มแข็งของชุ มชนหรื อองค์กรภายนอก คณะบริ หารธุรกิจ การดําเนินงาน ประเด็น หลักฐาน (มี) /  (ไม่ มี)  9.1.1 คําสัง่ แต่งตั้งคณะกรรม 1. มีการดําเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) การบริ หารคณะ โดยการมีส่วนร่ วมของชุ มชนหรือองค์ กร 9.1.2 รายงานการประชุมคณะกรรม คณะบริ หารธุ รกิจได้แต่งตั้งคณะกรรมการ การบริ หารคณะบริ หารธุรกิจ บริ ห ารคณะเพื่ อ ดํา เนิ น งานตามวงจรคุ ณ ภาพ ปี การศึกษา 2553 PDCA โดยมีท้ งั 4 สาขาวิชา ร่ วมรับผิดชอบใน การจั ด ทํา โครงการอย่ า งชั ด เจน และในปี การศึกษา 2553


55

ประเด็น คณะได้ปฏิบตั ิตามแผนการดําเนิ นงาน โดยเน้น การเสริ มสร้ า งความเข้ ม แข็ ง ให้ กั บ ชุ ม ชน ส่ งเสริ มความรู ้และเทคโนโลยีที่ทนั สมัย พัฒนา ไปสู่ สังคมแห่ งการเรี ยนรู ้ สังคมแห่ งภูมิปัญญา และเอื้ออาทร จัดทําโครงการทั้งด้านบริ การ วิชาการและด้านทํานุบาํ รุ งศิลปะและวัฒนธรรม ที่ จ ั ด ทํ า ขึ้ นอย่ า งต่ อ เนื่ องซึ่ งในการจั ด ทํ า โครงการดังกล่าวคณะได้นาํ ข้อมูลที่ได้รวบรวม จากการปฏิบตั ิงานในปี การศึกษา 2552 มา วางแผนโดยให้ชุมชนมี ส่วนร่ วมในการจัดทํา แผนให้สอดคล้องกับอัตลักษณ์ วัฒนธรรม วิถี ความเป็ นอยูข่ องชุมชน และสอดคล้องกับ อัต ลัก ษณ์ ข องคณะบริ ห ารธุ ร กิ จ คื อ ความรู ้ คู่คุณธรรม สร้างสรรค์สงั คม คณะได้ ท ํา การประเมิ น ผลหลัง เสร็ จ สิ้ น โครงการ/กิ จ กรรม โดยใช้แ บบสอบถาม การ สั ม ภาษณ์ ด้ว ยปากเปล่ า พร้ อ มทั้ง สั ง เกตุ พฤติกรรมของชุ มชนและนําข้อมูลที่ได้จากการ ประเมินผลมาเป็ นแนวทางในการพัฒนาปรับปรุ ง จัด ทําแผนและแนวปฏิ บตั ิ ใ นปี การศึ ก ษา 2554 รวมทั้งได้รวบรวมความรู ้ ไว้เป็ นฐานข้อมูลเพื่อ ประโยชน์ต่อชุมชน/สังคม และการเรี ยนการสอน ของคณะ 2. การดําเนินงานบรรลุเป้าหมายตามแผนไม่ ตาํ่ กว่ า ร้ อยละ 80 - ผลการดําเนินงานในโครงการของ ปี การศึกษา 2553 ผูเ้ ข้าร่ วมโครงการมีความ พึงพอใจ คิดเป็ นร้อยละ 84 และการนําองค์ ความรู ้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ คิดเป็ นร้อยละ 80

การดําเนินงาน (มี) /  (ไม่ มี)

หลักฐาน 9.1.3 รายงานโครงการสํารวจความ ต้องการ ของชุมชนเพื่อกําหนดทิศทาง และแผนในการบริ การทางวิชาการ 2553 9.1.4 แนวปฏิบตั ิและแผนการดําเนินงาน คณะบริ หารธุรกิจ ปี การศึกษา 2553

9.1.5 รายงานสรุ ปผลการปฏิบตั ิงานตาม แนวปฏิบตั ิและแผนการดําเนินงาน คณะบริ หารธุรกิจ ปี การศึกษา 2553


56

ประเด็น 3. ชุ มชนหรือองค์ กรมีผ้ ูนําหรือสมาชิกทีม่ ีการ เรียนรู้ และดําเนินกิจกรรมอย่ างต่ อเนื่อง - คณะบริ หารธุ รกิ จ ได้ ด ํ า เนิ นการ โครงการที่จดั ทําอย่างต่อเนื่ องทุกปี เพื่อส่ งเสริ ม ให้เกิดการสร้างองค์กรเครื อข่ายชุมชน โดยผ่าน ผูน้ าํ ชุมชน อาทิ “โครงการค่ายเรี ยนรู ้คุณธรรม นํ า ชี วิ ต พอเพี ย ง” ที่ ด ํ า เนิ นการมาตั้ งแต่ ปี การศึ ก ษา 2551 เป็ นความร่ วมมื อ ระหว่ า ง วิ ท ยาลัย และชุ ม ชนตํา บลบางนํ้าผึ้ ง ในการ เรี ยนรู ้ ประสานงานและจัดกิ จกรรมร่ วมกับ ชุมชน โดยผ่านผูน้ าํ ชุมชนและคณะกรรมการ ของชุมชน โครงการ“กรอกแบบภาษี เ งิ น ได้ บุ ค คล ธรรมดาอย่างไรให้ถูกต้อง” ซึ่ งให้ประโยชน์ต่อ ชุ ม ชนในด้า นวิ ช าการ โดยนํา ความรู ้ ที่ ไ ด้ไ ป ประยุกต์ใช้ในการยื่นแบบภาษีเงิ นได้ประจําปี ของชุมชน “โครงการความร่ วมมือทางวิชาการ การวิจยั บริ การวิชาการและการบริ หารจัดการ ระหว่าง วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอกกับวิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี ตรัง” ซึ่ ง เป็ นโครงการแลกเปลี่ ย นทางวิ ช าการเพื่ อ ประโยชน์ ต่องานวิ จ ัย และนํา ผลวิ จ ัย ไปใช้ใ ห้ เกิดประโยชน์ต่อชุมชน ซึ่งโครงการดังกล่าวข้างต้นเป็ นโครงการที่ วิทยาลัยจัดทําอย่างต่อเนื่องทุกปี

การดําเนินงาน หลักฐาน (มี) /  (ไม่ มี)  9.1.6 รายงานผลการดําเนินงาน "โครงการ ค่ายเรี ยนรู ้คุณธรรมนําชีวติ พอเพียง” 9.1.7 รายงานผลการดําเนินงาน โครงการ บริ การชุมชน “กรอกแบบภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดาอย่างไรให้ถกู ต้อง” 9.1.8 เอกสาร“โครงการความร่ วมมือ วิชาการ การวิจยั บริ การวิชาการและ การบริ หารจัดการ ระหว่าง วิทยาลัย เซาธ์อีสท์บางกอกกับวิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี ตรัง”


57

ประเด็น 4. ชุ มชนหรือองค์ กรสร้ างกลไกทีม่ ีการพัฒนา ตนเองอย่ างต่ อเนื่องและยัง่ ยืน โดยคง อัตลักษณ์ และวัฒนธรรมของชุ มชนหรือองค์ กร - คณะบริ หารธุ รกิ จ ได้นาํ วิธีการแลกเปลี่ยน เรี ย นรู ้ การเปิ ดโอกาสให้ ชุ ม ชนแสดงความ คิดเห็น หรื อเสนอความต้องการ เพื่อก่อให้เกิด การสร้างเครื อข่ายในพื้นที่ การเรี ยนรู ้ร่วมกัน และให้เกิดความต่อเนื่องในการดําเนิ นโครงการ และมี ก ารพัฒ นาการดํา เนิ น กิ จ กรรมร่ ว มกัน ระหว่างสถาบันและชุมชนที่ยงั่ ยืน 5. มีผลกระทบทีเ่ กิดประโยชน์ สร้ างคุณค่าต่ อ สั งคมหรือชุ มชน / องค์ กรมีความเข้ มแข็ง - จากการดําเนินงานโครงการของ คณะบริ หารธุ ร กิ จ ทํา ให้ เ กิ ด การแลกเปลี่ ย น เรี ยนรู ้ สร้ างสายสัมพันธ์ที่ดีงาม เกิ ดเครื อข่าย ความร่ ว มมื อ ในกิ จ กรรมของชุ ม ชน ในด้า น วิชาการ ด้านศิ ลปะและวัฒนธรรม ซึ่ งมีความ สอดคล้องและตอบสนองนโยบายของรั ฐบาล ในการพัฒนาสังคม

การดําเนินงาน หลักฐาน (มี) /  (ไม่ มี)  9.1.5 รายงานสรุ ปผลการปฏิบตั ิงานตาม แนวปฏิบตั ิและแผนการดําเนินงาน คณะบริ หารธุรกิจ ปี การศึกษา 2553 9.1.3 รายงานโครงการสํารวจความ ต้องการ ของชุมชนเพื่อกําหนดทิศทาง และแผนในการบริ การทางวิชาการ 2553 9.1.9 หลักฐานการเข้าร่ วมประชุมที่ องค์กรต่างๆ ภายในชุมชนขอความ ร่ วมมือ 

9.1.3 รายงานโครงการสํารวจความ ต้องการของชุมชนเพื่อกําหนดทิศทาง และแผนในการบริ การทางวิชาการ 2553 9.1.10 แผนพัฒนาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2553-2556) 9.1.11 แผนการศึกษา-ยุทธศาสตร์ เป้ าประสงค์ กลยุทธ์ ตัวชี้วดั เป้ าหมาย คณะบริ หารธุรกิจปี การศึกษา 2553-2556 9.1.6 รายงานโครงการค่ายเรี ยนรู ้ คุณธรรมนําชีวิตพอเพียง ปี 2553


58

2. คณะนิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มีโครงการที่มีผลต่อการพัฒนาและเสริ มสร้างความเข้มแข็งของชุมชน 3 โครงการ ได้แ ก่ “โครงการช่ ว ยเหลื อ และให้ บ ริ ก ารทางกฏหมาย” “โครงการที่ ป รึ ก ษากฏหมายประจํา ศาล จังหวัดพระโขนง” และ“โครงการบรรยายพิเศษทางกฏหมาย” ซึ่ งทั้งสามโครงการคณะนิ ติศาสตร์ จดั ขึ้นเพื่อ พัฒนาชุมชน และมีการดําเนินการดังรายละเอียด ปรากฏในตารางที่ 9.2 ตารางที่ 9.2 ผลการเรี ยนรู ้และเสริ มสร้างความเข้มแข็งของชุมชน หรื อ องค์กรภายนอก คณะนิติศาสตร์ การดําเนินงาน ประเด็น หลักฐาน (มี) /  (ไม่ มี)  1. มี ก ารดํ า เนิ น งานตามวงจรคุ ณ ภาพ 9.2.1 แนวปฏิบตั ิและแผนการ ดําเนินงาน คณะนิติศาสตร์ (PDCA) โดยการมีส่วนร่ วมของชุมชนหรื อ ปี 2553 องค์ก ร มี ก ารนํา วงจรคุ ณ ภาพมาใช้ใ นการ ดํา เนิ น งานในรู ปของคณะกรรมการบริ ก าร วิ ช าการ คณะนิ ติ ศ าสตร์ ซึ่ งประกอบด้ว ย คณาจารย์ประจําคณะนิติศาสตร์ บุคลากรคณะ นิ ติ ศ าสตร์ และผู ้ท รงคุ ณ วุ ฒิ ท างวิ ช าชี พ กฏหมายในชุ ม ชน ร่ ว มกัน วางแผนในการ ดําเนิ นงานโครงการ (Plan) หลังจากมีแผนใน การดําเนิ น การบริ ก ารวิ ชาการแก่ สังคมตาม แผน (Do) และหลัง จากที่ มี ก ารดํา เนิ น การ ให้ บ ริ การดั ง กล่ า วคณะกรรมการบริ การ วิ ช าการคณะนิ ติ ศ าสตร์ จะร่ ว มประชุ ม เพื่ อ ดํ า เนิ นการติ ดตาม ตรวจสอบ ตลอด ระยะเวลาที่ ใ ห้ บ ริ การวิ ช าการตลอดปี การศึกษา ให้ขอ้ เสนอแนะ แนวทาง แก้ปัญหา ต่ า ง ๆ (Check) และมี ก ารประเมิ น ผลการ ดํา เนิ น การบริ ก ารวิ ช าการแก่ สั ง คมเพื่ อ ให้ ท ร า บ แ ล ะ ต ร ว จ ส อ บ ถึ ง ก า ร บ ร ร ลุ วัตถุประสงค์พร้ อมกับนําข้อเสนอแนะต่างๆ นํา ไปปรั บ ปรุ งในโครงการหรื อกิ จ กรรม ต่อไป


59

ประเด็น อันเป็ นการต่อเนื่องของกิจกรรม (Action) 2. การดําเนินงานบรรลุเป้าหมายตาม แผนไม่ ตํ่ากว่ า ร้ อยละ 80 ในแผนการดําเนิ นด้านบริ การวิชาการแก่ สังคม คณะนิ ติศาสตร์ ได้ต้ งั เป้ าหมายไว้ ใน แผนร้อยละ 80 3. ชุ มชนหรื อองค์ กรมีผ้ ูนําหรื อ สมาชิ กที่มี การเรี ยนรู้ และดําเนิ นกิจกรรมอย่ างต่ อเนื่อง การดําเนิ นงานกิ จกรรมอย่างต่อเนื่ องตั้งแต่ปี การศึ ก ษา 2552 ต่ อ เนื่ อ งมาจน ปี การศึ ก ษา 2553 และปั จจุบนั (ปี การศึกษา 2554) 4. ชุ ม ชนหรื อ องค์ ก รสร้ างกลไกที่ มี ก าร พัฒนาตนเองอย่ างต่ อเนื่อง และยัง่ ยืนโดยคง อั ต ลั ก ษณ์ แ ละวั ฒ นธรรมของชุ ม ชนหรื อ องค์ กร ดําเนินงานของคณะนิ ติศาสตร์ ในด้านการ บริ การวิ ช าการแก่ สั ง คมดั ง กล่ า วเป็ นการ ทํา งานร่ วมกั บ ตัว แทนของชุ ม ชน ซึ่ งเป็ น บุคคลภายนอกที่ได้เข้าร่ วมเป็ นคณะกรรมการ บริ การวิชาการคณะนิ ติศาสตร์ ได้ร่วมประชุม วางแผนและเสนอแนะให้ขอ้ คิดเห็นต่างๆ อัน เ ป็ น ก ล ไ ก ที่ ทํ า ใ ห้ ค ณ ะ นิ ติ ศ า ส ต ร์ ไ ด้ พัฒนาการดําเนิ นงานด้านบริ การวิชาการแก่ สังคม อันเป็ นการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่ อง และยัง่ ยืน ตามวัฒ นธรรมของชุ ม ชนสัง คม รอบวิทยาลัย

การดําเนินงาน (มี) /  (ไม่ มี)

หลักฐาน

9.2.2 รายงานการประชุ ม คณะ นิติศาสตร์

9.2.3โครงการช่ ว ยเหลื อ และให้ บริ หารทางกฏหมาย 9.2.4 โครงการที่ปรึ กษากฏหมาย ประจําศาลจังหวัด พระโขนง

9.2.3 โครงการช่วยเหลือและให้ บริ หารทางกฏหมาย 9.2.4 โครงการที่ปรึ กษากฏหมาย ประจําศาลจังหวัด พระโขนง 9.2.5 โครงการบรรยายพิเศษทาง กฎหมาย


60

การดําเนินงาน หลักฐาน (มี) /  (ไม่ มี) 5. มีผลกระทบทีเ่ กิดประโยชน์ สร้ าง  9.2.6 หนังสื อขอบคุณ สถานี ตํารวจนครบาลบางนา คุ ณค่ า ต่ อสั งคมหรื อชุ มชน / องค์ กรมีความ เข้ มแข็ง กา ร ให้ บ ริ ก า รวิ ช าก า รแ ก่ ชุ ม ช น ดัง กล่ า ว ได้ก่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ ต่ อ สั ง คม ชุมชน อันเป็ นการสร้างคุณค่าของความรู ้ทาง วิชาชีพกฏหมายต่อสังคม เพื่อให้เป็ นสังคมที่ มีความสงบสุ ขจนก่อเกิดเป็ นสังคมหรื อชุมชน ที่ เ ข้ ม แข็ ง ในที่ สุ ด (สรุ ปผลการประเมิ น โครงการช่วยเหลือและให้บริ การทางกฏหมาย และสรุ ป ผลการประเมิ น โครงการที่ ปรึ ก ษา กฏหมายประจํ า ศาลจั ง หวั ด พระโขนง ภาพถ่ายกิ จกรรมการสร้ างความเข้มแข็งของ องค์การที่นาํ ความรู ้จากการให้บริ การวิชาการ ชุมชนของคณะนิติศาสตร์) ประเด็น

3. คณะศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มีโครงการที่มีผลต่อการพัฒนาและเสริ มสร้ างความเข้มแข็งของชุ มชน ได้แก่ การทํา Brochure ภาษาอังกฤษ เผยแพร่ ประโยชน์น้ าํ ตะลิงปลิงพืชสมุนไพรเพื่อส่ งเสริ มธุรกิจการท่องเที่ยว ตลาดนํ้าบางนํ้าผึ้ง อ.พระประแดง จ. สมุทรปราการ ซึ่งคณะศิลปศาสตร์ได้นาํ องค์ความรู ้จากการจัดโครงการ ฟื้ นฟู อนุ รักษ์ สื บสาน เผยแพร่ วัฒนธรรมอาหารท้องถิ่น กิจกรรมกินอยู่อย่างไทย ตะลิงปลิงพืชสมุนไพร เพื่อสุ ขภาพ และโครงการสอนภาษาอังกฤษและภาษาจีน นักเรี ยนชั้น ม.6 โรงเรี ยนมารดานฤมล อ.บางปะกง จ.ฉะเชิ งเทรา ปี การศึกษา 2553 ซึ่ งคณะศิลปศาสตร์ ได้จดั ขึ้นเพื่อพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษและ ภาษาจีนของเยาวชนในชุมชนเป็ นการเตรี ยมความพร้อมสู่ ประชาคมอาเซี ยนซึ่ งโครงการนี้ เมื่อดําเนิ นการ แล้วมีผลก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีต่อชุมชน โดยทําให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ตามศักยภาพของ ตน ซึ่งวิทยาลัยมีการดําเนินการรายละเอียด ปรากฏในตารางที่ 9.3


61

ตารางที่ 9.3 ผลการเรี ยนรู ้และเสริ มสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรื อองค์กรภายนอก คณะศิลปศาสตร์ การดําเนินงาน หลักฐาน (มี) /  (ไม่ มี)  1. มี ก ารดํ า เนิ น งานตามวงจรคุ ณภาพ 9.3.1 แผนพัฒนาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์ (PDCA) บางกอกระยะที่ 1 (พ.ศ. 2553-2556) โดยการมีส่วนร่ วมของชุมชนหรื อองค์กรคณะ 9.3.2 แผนการศึกษา - ยุทธศาสตร์ ศิ ล ป ศ า ส ต ร์ มี ก า ร จั ด ร ะ บ บ แ ล ะ แ ผ น เป้ าประสงค์กลยุทธ์ ตัวชี้วดั เป้ าหมาย ดําเนินงานตามวงจรคุณภาพ PDCA โดยร่ วมมือ คณะศิลปศาสตร์ ปี การศึกษา 2553-2556 กับ สํา นัก วิ จ ัย และพัฒ นา ดํา เนิ น การสํา รวจ 9.3.3 แนวปฏิบตั ิและแผนการ ความต้ อ งการด้ า นการบริ การวิ ช าการกั บ ดําเนินงาน คณะศิลปศาสตร์ โรงเรี ย นมารดานฤมล แล้ว นํา มากํา หนดเป็ น ปี การศึกษา 2553 แผนดํา เนิ น งาน (P) และขั้น ตอนในการ 9.3.4 คําสัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการประจํา ปฏิ บตั ิ งาน เพื่ อนํา ไปปฏิ บตั ิ จ ริ ง ตามแผน (D) คณะศิลปศาสตร์ รวมทั้งได้ทาํ การประเมินผลโครงการด้านความ 9.3.5 รายงานการประชุมคณะกรรมการ พึ ง พอใจของผู ้เ ข้ า รั บ การอบรม และการ ประจําคณะศิลปศาสตร์ ปี การศึกษา ทดสอบย่อย เพื่อทดสอบความเข้าใจของผูเ้ ข้า 2553 รับการอบรม (C) และจัดการประชุมทีมงาน ของคณะ หลัง อบรมเสร็ จ เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง งาน และเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการสอน และบริ การ ในครั้งต่อไป (A) รวมทั้งโครงการ บริ การทาง วิชาการนี้ ยงั สามารถนําผลการประเมินที่ได้ไป ใช้ในปี การศึกษาต่อไป  2. การดําเนินงานบรรลุเป้าหมายตามแผน 9.3.5 รายงานการประชุมคณะกรรมการ ประจํา คณะศิ ล ปศาสตร์ ปี การศึ ก ษา ไม่ ตํ่ากว่ า ร้ อยละ 80 2553 คณะศิ ล ปศาสตร์ ได้ ก ํ า หนดแผนการ 9.3.6โครงการ สานบ้าน สานฝัน เพื่อผู ้ บริ ก ารวิ ช าการเพื่ อ นํา ผลการเรี ย นรู ้ ไ ปสร้ า ง พิการ ความเข้มแข็งให้กบั ชุมชนหรื อองค์กรภายนอก 9.3.7 รายงานการพัฒนาคุณภาพชี วิตผู ้ จํา นวน 1 โครงการคื อ โครงการ “การสอน พิการโดย อบต. นิคมกระเสี ยว ภาษาอังกฤษและภาษาจีน” สําหรับ นักเรี ยนชั้น จ.สุ พรรณบุรี มัธยมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนมารดานฤมล ประเด็น


62

ประเด็น

การดําเนินงาน (มี) /  (ไม่ มี)

อ.บางปะกง จ.ฉะเชิ งเทรา” และสามารถทําได้ ครบทั้ง 1 โครงการ ซึ่ งคิดเป็ นร้อยละ 100 ของ แผนที่ต้ งั ไว้

3. ชุ มชนหรือองค์ กรทีไ่ ด้ รับการส่ งเสริมและ สร้ างความเข้ มแข็ง คณะศิลปศาสตร์ มีผนู ้ าํ หรื อสมาชิกที่มีการ เรี ยนรู ้และดําเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องดังนี้ ชุ มชนสวนบางนํา้ ผึง้ จ.สมุทรปราการ ชาวบ้านในชุมชนสวนบางนํ้าผึ้งอ.พระประแดง มี การเรี ยนรู ้ และดํ า เนิ นธุ รกิ จการค้ า นํ้ า ตะลิงปลิงและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารด้วยการ แปรรู ปผลตะลิงปลิงสดเป็ นตะลิงปลิงแช่อิ่มซึ่ ง สะท้อ นการเรี ย นรู ้ แ ละดํา เนิ น กิ จ กรรมอย่า ง ต่อเนื่อง ชุ มชนบางวัว จ. ฉะเชิงเทรา ผู ้บ ริ หารโรงเรี ยนมารดานฤมล เรี ยนรู ้ ถึ ง ความสํ า คัญ ของภาษาที่ ส ามจึ ง มี ก ารพัฒ นา หลัก สู ตรภาษาต่ า งประเทศโดยเปิ ดหลัก สู ต ร สอนภาษาจีนให้กบั นักเรี ยน โรงเรี ยนมารดานฤมลต่อไป ชุ มชนตําบลนิคมกระเสี ยว จ. สุ พรรณบุรี อบต.ตําบลนิคมกระเสี ยวรายงานผลการพัฒนา

หลักฐาน 9.3.8 โครงการมอบหนั ง สื อและ อุปกรณ์กีฬาให้กบั โรงเรี ยนบ้านหนอง กระดี่ จ.สุ พรรณบุรี 9.3.9โครงการ ฟื้ นฟู อนุ รักษ์ สื บสาน เผยแพร่ วัฒ นธรรมอาหารท้ อ งถิ่ น กิจกรรมกิ นอยู่อย่างไทย ตะลิงปลิงพืช สมุนไพรเพื่อสุ ขภาพ 9.3.10โครงการสอนภาษาอังกฤษและ ภาษาจีน นักเรี ยน ม.6 โรงเรี ยนมารดานฤมล จ. ฉะเชิงเทรา 9.3.11 ภาพถ่ายสวนตะลิงปลิงวัตถุดิบ ในการทํานํ้าตะลิงปลิงเป็ น อุตสาหกรรมในครัวเรื อนชุมชน บางนํ้าผึ้ง 9.3.12 ภาพถ่ายธุรกิจการค้านํ้า ตะลิงปลิงในชุมชนบางนํ้าผึ้ง 9.3.13 ภาพถ่ายการแปรรู ปอาหาร ตะลิงปลิงแช่อิ่ม 9.3.14 ภาพถ่ายการสอนภาษาจีนที่ โรงเรี ยนมารดานฤมล 9.3.15 รายงานการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู ้ พิการโดย อบต. นิคมกระเสี ยว จ.สุ พรรณบุรี


63

ประเด็น คุณภาพชี วิตผูพ้ ิการว่า หลังจากได้รับบ้านจาก คณะศิลปศาสตร์ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอกผู ้ พิ ก ารมี ก ํา ลัง ใจไม่ ย่อ ท้อ ต่ อ อุ ป สรรคในชี วิ ต โดยดําเนินกิจกรรมปลูกพืชสวนครัวเป็ นอาหาร เลี้ยงชีพและพึ่งพาตัวเอง 4. ชุ มชนหรือองค์ กรทีไ่ ด้ รับการส่ งเสริมและ สร้ างความเข้ มแข็ง คณะศิลปศาสตร์ มีการสร้ างกลไกที่มีการ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่ องและยัง่ ยืน เช่นชุมชน บางนํ้าผึ้ ง อ.พระประแดง มี ก ารดํา เนิ น งาน ด้านธุ ริจการค้านํ้าตะลิงปลิงและตะลิ งปลิงแช่ อิ่มมากกว่า2ปี โดยคงอัตลักษณ์และวัฒนธรรม ของชุ ม ชนด้ า นการผลิ ต และแปรรู ปพื ช ผัก สมุ น ไพรผลไม้ ในชุ ม ชนเป็ นเครื่ อ งดื่ ม และ อาหารท้องถิ่นส่ งเสริ มธุรกิจการท่องเที่ยว 5. มีผลกระทบทีเ่ กิดประโยชน์ สร้ างคุณค่ าต่ อ ชุ มชน ชาวสวนบางนํ้าผึ้ ง อ.พระประแดง คื อ ชาวบ้านสามารถสร้ างรายได้ให้กบั ครอบครั ว เป็ นการพึ่ ง ตนเองและมี ก ารพัฒ นาผลิ ต ภัณ ฑ์ อาหารเพื่ อ การเติ บ โตของอุ ต สาหกรรมใน ครัวเรื อนขยายสู่ ชุมชน การบริ การการสอนภาษาจีนที่โรงเรี ยนมาร ดานฤมล เป็ นการสร้างสร้างประโยชน์ดา้ นการ พัฒนาทักษะการใช้ภาษาที่สานต่ อเยาวชนใน ชุมชนเพื่อเตรี ยมความพร้อมของเยาวชนไทยสู่ การเป็ นประชาคมอาเซียนของประเทศไทยในปี 2558 ดังนั้นโรงเรี ยนมารดานฤมลจึงสานต่อการ ดําเนินงานนี้โดยมีโครงการเปิ ดหลักสู ตรสอน

การดําเนินงาน (มี) /  (ไม่ มี)

หลักฐาน

9.3.11 ภาพถ่ายสวนตะลิงปลิงวัตถุดิบ ในการทํานํ้าตะลิงปลิงเป็ น อุตสาหกรรมในครัวเรื อนชุมชน บางนํ้าผึ้ง 9.3.12 ภาพถ่ายธุรกิจการค้านํ้า ตะลิงปลิงในชุมชนบางนํ้าผึ้ง 9.3.13 ภาพถ่ายการแปรรู ปอาหาร ตะลิงปลิงแช่อิ่ม

9.3.11 ภาพถ่ายสวนตะลิงปลิงวัตถุดิบ ในการทํานํ้าตะลิงปลิงเป็ น อุตสาหกรรมในครัวเรื อนชุมชน บางนํ้าผึ้ง 9.3.12 ภาพถ่ายธุรกิจการค้านํ้า ตะลิงปลิงในชุมชนบางนํ้าผึ้ง 9.3.13 ภาพถ่ายการแปรรู ปอาหาร ตะลิงปลิงแช่อิ่ม 9.3.14 ภาพถ่ายการสอนภาษาจีนที่ โรงเรี ยนมารดานฤมล


64

ประเด็น ภาษาจีนต่อไป

การดําเนินงาน (มี) /  (ไม่ มี) 

หลักฐาน

4. วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีการดําเนินงานในการจัดทําโครงการที่มีผลต่อการพัฒนาชุมชน และองค์กรภายนอกอย่างต่อเนื่ องทุกปี การศึ กษาซึ่ งสอดคล้องกับแผนพัฒนาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก กิจกรรมในโครงการเป็ นการเรี ยนรู ้ร่วมกันของอาจารย์ นักศึกษา ผูน้ าํ หรื อสมาชิกของชุมชนอย่างต่อเนื่ อง โดยเน้นประโยชน์ ความเข้มแข็งและมีคุณค่าต่อชุมชนอย่างยัง่ ยืน ผลของการจัดทําโครงการก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงที่ดีต่อชุมชน โดยทําให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ตามศักยภาพของตน ซึ่ งคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มีกระบวนการดําเนินการตามตัวบ่งชี้ที่ 9 รายละเอียดปรากฏในตารางที่ 9.4 ตารางที่ 9.4 ผลการเรี ยนรู ้และเสริ มสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรื อองค์กรภายนอกของคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี การดําเนินงาน ประเด็น หลักฐาน (มี) /  (ไม่ มี)  9.4.1 เอกสารโครงการบริ การวิชาการ 1. มีการดําเนินงานตามวงจรคุณภาพ “การอบรมอินเทอร์ เน็ตสําหรั บผูบ้ ริ หาร (PDCA) โดยการมีส่วนร่ วมของชุ มชนหรือ และประชาชนตําบลบางนํ้าผึ้ง” องค์ กร 9.4.2 แบบประเมินและสรุ ปผลการ คณะวิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มี ประเมินโครงการ การจัดวางระบบ และแผนดําเนิ นงานตามวงจร 9.4.3 รายงานการประชุม คุณภาพ PDCA โดยร่ วมมือกับสํานักวิจยั และ “การปรับปรุ งเทคนิคการสอน และ พัฒนา ดําเนิ นการสํารวจความต้องการด้านการ จุดบกพร่ องในการสอนของแต่ละวัน” บริ ก า รวิ ช า กา ร กั บ อง ค์ ก าร บ ริ หา รส่ ว น ตํา บลบางนํ้าผึ้ ง แล้ว นํา มากํา หนดเป็ นแผน ดําเนินงาน (P) และขั้นตอนในการ ปฎิบตั ิงาน เพื่อนําไปปฏิบตั ิจริ งตามแผน (D) รวมทั้งได้ทาํ การประเมินผลโครงการด้านความพึงพอใจของ ผูเ้ ข้า รั บ การอบรม และการทดสอบย่อ ย เพื่ อ ทดสอบความเข้า ใจของผูเ้ ข้ารั บการอบรม(C) และจัดการ ประชุมทีมงานของคณะ หลังอบรม เสร็ จในแต่ละวัน เพื่อปรับปรุ งงาน และเพิม่


65

ประเด็น ประสิ ท ธิ ภ าพในการสอน และบริ ก ารในวัน ต่อไป (A) รวมทั้งโครงการ บริ การทางวิชาการ นี้ ยัง สามารถนํา ผลการประเมิ น ที่ ไ ด้ไ ปใช้ใ น ปี การศึกษาต่อไป 2. บรรลุเป้าหมายตามแผนไม่ ตํ่ากว่ า ร้ อยละ 80 คณะวิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไ ด้ กํา หนดแผนการบริ ก ารวิ ช าการเพื่ อ นํา ผลการ เรี ย นรู ้ ไ ปสร้ า งความเข้ม แข็ง ให้ก ับ ชุ ม ชนหรื อ องค์กรภายนอก จํานวน 1 โครงการคือ โครงการ “การอบรมอิ นเทอร์ เน็ ตชุ มชนสํา หรั บผูบ้ ริ หาร และประชาชนตําบลบางนํ้าผึ้ง” และสามารถทํา ได้ครบทั้ง 1 โครงการ ซึ่ งคิดเป็ นร้ อยละ 100 ของแผนที่ต้ งั ไว้ 3. ชุ มชนหรือองค์ กรมีผ้ ูนําหรือสมาชิกทีม่ ี การเรี ย นรู้ และดํ า เนิ น กิจ กรรมอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมีการส่ งเสริ ม ให้ ชุ มชน หรื อบุ ค ลากรที่ ผ่ า นการอบรม สามารถดํา เนิ น กิ จ กรรมได้ด้ว ยตนเองอย่ า ง ต่อเนื่ อง เช่น สามารถดูแลและปรับปรุ งเว็บไซต์ ของตําบลบางนํ้าผึ้ง การรั บส่ ง e-mail เพื่อ โต้ตอบกับหน่ วยงานราชการ หรื อเอกชน การ ค้นหาข้อมูลที่ตอ้ งการผ่านเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต เป็ นต้น ซึ่ งกิ จ กรรมเหล่ า นี้ ผู ้ป ฏิ บ ัติ ก าร เช่ น เจ้าหน้าที่ สํานักงาน และบุคลากรขององค์การ บริ หารส่ วนตําบลบางนํ้าผึ้ง ได้นาํ ความรู ้ ที่ได้ จากการเรี ยนรู ้ ใ น “โครงการ การอบรม อิ น เทอร์ เน็ ต ชุ ม ชนสํ า หรั บ ผู ้ บ ริ หาร และ ประชาชนตําบลบางนํ้าผึ้ง” ไปใช้อย่างต่อเนื่อง

การดําเนินงาน (มี) /  (ไม่ มี)

หลักฐาน

9.4.1 เอกสารโครงการบริ การวิชาการ “การอบรมอินเทอร์เน็ตสําหรับผูบ้ ริ หาร และประชาชนตําบลบางนํ้าผึ้ง”

9.4.1 เอกสารโครงการบริ การวิชาการ “การอบรมอินเทอร์ เน็ตสําหรั บผูบ้ ริ หาร และประชาชนตําบลบางนํ้าผึ้ง” 9.4.3 รายงานการประชุม “การปรับปรุ งเทคนิคการสอน และ จุดบกพร่ องในการสอนของแต่ละวัน”


66

ประเด็น

การดําเนินงาน (มี) /  (ไม่ มี)

หลักฐาน

และสมํ่าเสมอ 4. ชุ มชนหรือองค์ กรสร้ างกลไกทีม่ ีการ พัฒนาตนเองอย่ างต่ อเนื่องและยัง่ ยืน โดยคง อัตลักษณ์ และวัฒนธรรมของชุ มชนหรือองค์ กร คณะวิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มี บ ริ การ วิ ช าการที่ มุ่ ง เน้น ให้ผูเ้ ข้า รั บ การอบรมทัน ต่ อ ข้อมูลข่าวสารที่มีมากในปั จจุบนั โดยนําความรู ้ ที่ได้จากการอบรมมาค้นหา สื บค้น รวมไปถึ ง การปรั บ ปรุ ง และพัฒ นาตนเองอย่า งต่ อ เนื่ อ ง และยัง่ ยืน โดยยังคงอัตลัก ษณ์ และวัฒนธรรม ของชุมชนอย่างชัดเจน เช่น การเผยแพร่ ประวัติ ความเป็ นมาของตําบล สิ นค้า และผลิตภัณฑ์ที่ น่ าสนใจ รวมถึ ง สถานที่ ท่องเที่ ย วต่ าง ๆ ของ ตําบล เป็ นต้น 5. มีผลกระทบทีเ่ กิดประโยชน์ สร้ างคุณค่ า ต่ อสั งคมหรือชุ มชน/องค์ กรมีความเข้ มเข็ง

-

9.4.1 เอกสารโครงการบริ การวิชาการ “การอบรมอินเทอร์ เน็ตสําหรั บผูบ้ ริ หาร และประชาชนตําบลบางนํ้าผึ้ง” 9.4.3 รายงานการประชุม “การปรับปรุ งเทคนิคการสอน และ จุดบกพร่ องในการสอนของแต่ละวัน”

-

5. บัณฑิตวิทยาลัย บัณฑิตวิทยาลัย ได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดทําโครงการพัฒนาขีดความ สามารถด้านการบริ หารพนักงานระดับ 8 ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) จํานวน 13 รุ่ น ตั้งแต่วนั ที่ 24 มิถุนายน 2553 ถึง 19 ธันวาคม 2553 ณ ห้องควีนปาล์ม (203) อาคารฝึ กอบรม ศูนย์ ส่ งเสริ มและฝึ กอบรมการเกษตรแห่ งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม โดย บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก จะรับผิดชอบในด้านหลักสู ตรและวิทยากรในการฝึ กอบรม เพื่อ เสริ มสร้างความพร้อมในด้านการบริ หารให้กบั ผูบ้ ริ หารของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) อันจะก่อให้เกิดการเสริ มสร้างความเข้มแข็ง ความมัน่ คง และการพัฒนาความยัง่ ยืนกับประเทศ รวมทั้งเพิ่มพูนความรู ้ และประสบการณ์ ให้แก่ ผูเ้ ข้าร่ วมฝึ กอบรมในการพัฒนาให้เป็ นนักบริ หารมืออาชี พ ต่อไป ผูเ้ ข้าร่ วมอบรมเป็ นพนักงานระดับ 8 จากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรในส่ วนกลาง และส่ วนภูมิภาค จํานวน รุ่ นละ 44 คน


67

โดยบัณฑิตวิทยาลัยได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณ์การเกษตรในการพิจารณาหัวข้อการฝึ กอบรมเพื่อให้ตรงกับวัตถุประสงค์ และจัดทําเอกสารประกอบ คําบรรยาย และทําแบบทดสอบความรู ้ก่อนและหลังการฝึ กอบรม (Pre-test/Post-test), แบบประเมินผลการ พัฒนาขีดความสามารถด้านการบริ หารพนักงาน และสรุ ปผลการดําเนินงานโครงการพัฒนาขีดความสามารถ ด้านการบริ หารพนักงานโดยทําบันทึกเสนอให้ผบู ้ ริ หารรับทราบหลังจากเสร็ จสิ้ นโครงการ รายละเอียดตาม ตารางที่ 9.5 ตารางที่ 9.5 ผลการดําเนินงานการเรี ยนรู ้และเสริ มสร้างความเข้มแข็งขององค์กรภายนอก ประเด็น 1. มีการดําเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) โดยการมีส่วนร่ วมของชุ มชนหรือองค์ กร - บัณฑิตวิทยาลัย (คณะกรรมการดําเนิ นงาน) เข้า ร่ วมประชุ ม ร่ วมกั บ สํ า นั ก ส่ ง เสริ มและฝึ กอบรม กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร (ธ.ก.ส.) เพื่อ กําหนดแผนงานของโครงการฝึ กอบรม - คณะกรรมการดําเนินงาน ดําเนินการโครงการ ฝึ กอบรมตามแผนงาน - คณะกรรมการดําเนินงาน ประเมินผลการฝึ ก อบรมแต่ละรุ่ น - คณะกรรมการดําเนินงาน นําประเด็นต่าง ๆ จาก ข้อควรปรับปรุ งและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม มาปรับปรุ ง โครงการอบรมรุ่ นต่อไป 2. การดําเนินงานบรรลุเป้าหมายตามแผน ไม่ ตํ่ากว่ า ร้ อยละ 80 - โครงการฝึ กอบรมครั้งนี้ แบ่งการดําเนินการออกเป็ น 2 ช่วง การดําเนินการครั้งนี้ เป็ นช่วงที่ 1 ของโครงการ ซึ่ งมี จ าํ นวนผูเ้ ข้า รั บการฝึ กอบรมประมาณครึ่ งหนึ่ ง ของผูเ้ ข้ารับการอบรมทั้งหมด (ประมาณ 700 คน)

การดําเนินงาน หลักฐาน (มี) /  (ไม่ มี) 9.5.1 หนังสื อเชิญเข้าร่ วมดําเนินงาน  โครงการของสํานักส่ งเสริ มและ ฝึ กอบรม, จดหมายเชิญประชุมและ สรุ ปรายละเอียดการเข้าร่ วมประชุม 9.5.2 โครงการพัฒนาขีด ความสามารถด้านการบริ หาร พนักงานระดับ 8 ธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 9.5.3 รายงานผลการดําเนินงาน โครงการพัฒนาขีดความสามารถ ด้านการบริ หารพนักงานระดับ 8 (ธ.ก.ส) รุ่ นที่ 3 , รุ่ นที่ 5 , รุ่ นที่ 11 , รุ่ นที่ 12 และ รุ่ นที่ 13

9.5.3 รายงานผลการดําเนินงาน โครงการพัฒนาขีดความสามารถ ด้านการบริ หารพนักงานระดับ 8 (ธ.ก.ส) รุ่ นที่ 3 , รุ่ นที่ 5 , รุ่ นที่ 11 , รุ่ นที่ 12 และ รุ่ นที่ 13


68

ประเด็น - จํานวนผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรมทั้ง 13 รุ่ น มีจาํ นวน ทั้งสิ้ น 682 คน คิดเป็ นร้อยละ 97.42 ของผูเ้ ข้ารับการ ฝึ กอบรมช่วงที่ 1 (ประมาณ 700 คน) 3. ชุ มชนหรือองค์ กรมีผู้นําหรือสมาชิกทีม่ ี การเรียนรู้ และดําเนินกิจกรรมอย่ างต่ อเนื่อง ผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรมทั้ง 13 รุ่ น มีคะแนนเฉลี่ย ของการเรี ยนรู ้หลังการฝึ กอบรมมากกว่าคะแนนเฉลี่ย ของการเรี ยนรู ้ก่อนการฝึ กอบรม 4. ชุ มชนหรือองค์ กรสร้ างกลไกทีม่ ีการ พัฒนาตนเองอย่ างต่ อเนื่องและยั่งยืน โดยคงอัตลักษณ์ และวัฒนธรรมของชุ มชนหรือองค์ กร ผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรมทั้ง 13 รุ่ น นําความรู ้ที่ ได้ รั บ ไปพัฒ นาทัก ษะที่ จ ํา เป็ นในการปฏิ บ ัติ ง าน เหมาะสมตามวิสยั ทัศน์ของ ธ.ก.ส. 5. มีผลกระทบทีเ่ กิดประโยชน์ สร้ างคุณค่ า ต่ อสั งคมหรือชุ มชน / องค์ กรมีความเข้ มแข็ง ผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรมทั้ง 13 รุ่ น มีความรู ้ ทักษะ ที่ จําเป็ น เหมาะสมตามที่ ธ.ก.ส. คาดหวัง และมีทศั นคติ ที่ ดี ต่ อ การทํา งานและองค์ก ร มี ค วามตระหนัก ต่ อ บทบาทและความสําคัญของตนเองและมุ่งมัน่ ในการ พัฒนา ธ.ก.ส. ให้เจริ ญก้าวหน้า

การดําเนินงาน (มี) /  (ไม่ มี)

หลักฐาน

9 . 5 . 2 โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า ขี ด ความสามารถด้ า นการบริ หาร พนั ก งานระดั บ 8 ธนาคารเพื่ อ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

9.5.3 รายงานผลการดํา เนิ น งาน โครงการพัฒ นาขี ด ความสามารถ ด้า นการบริ หารพนั ก งานระดับ 8 (ธ.ก.ส) รุ่ นที่ 3 , รุ่ นที่ 5 , รุ่ นที่ 11 , รุ่ นที่ 12 และ รุ่ นที่ 13

9.5.3 รายงานผลการดํา เนิ น งาน โครงการพัฒ นาขี ด ความสามารถ ด้า นการบริ หารพนั ก งานระดับ 8 (ธ.ก.ส) รุ่ นที่ 3 , รุ่ นที่ 5 , รุ่ นที่ 11 , รุ่ นที่ 12 และ รุ่ นที่ 13


69

สรุ ปผลการประเมินตัวบ่ งชี้ที่ 9 คณะบริ หารธุรกิจ คณะนิติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บัณฑิตวิทยาลัย สถาบัน

5 5 5 4 5 5

คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

เอกสารหลักฐาน 9.1.1 คําสัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการบริ หารคณะ 9.1.2 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริ หาร 9.1.3 รายงานโครงการสํารวจความต้องการ ของชุมชนเพื่อกําหนดทิศทางและแผนในการบริ การ ทางวิชาการ 2553 9.1.4 แนวปฏิบตั ิและแผนการดําเนินงานคณะบริ หารธุรกิจ ปี การศึกษา 2553 9.1.5 รายงานสรุ ปผลการปฏิบตั ิงานตาม แนวปฏิบตั ิและแผนการดําเนิ นงานคณะบริ หารธุ รกิ จ ปี การศึกษา 2553 9.1.6 รายงานผลการดําเนินงาน โครงการ “ค่ายเรี ยนรู ้คุณธรรมนําชีวิตพอเพียง” 9.1.7 รายงานผลการดําเนิ นงาน โครงการ บริ การชุ มชน “กรอกแบบภาษีเงิ นได้บุคคลธรรมดา อย่างไรให้ถูกต้อง” 9.1.8 เอกสารโครงการความร่ วมมื อวิชาการ การวิจ ัย บริ ก ารวิชาการและการบริ ห าร จัด การ ระหว่างวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอกกับวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง 9.1.9 หลักฐานการเข้าร่ วมประชุมที่องค์กรต่างๆ ภายในชุมชนขอความร่ วมมือ 9.1.10 หลักฐานการเข้าร่ วมประชุมที่องค์กรต่างๆ ภายในชุมชนขอความร่ วมมือแผนพัฒนาวิทยาลัย เซาธ์อีสท์บางกอก ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2553-2556) 9.1.11 แผนการศึกษา-ยุทธศาสตร์ เป้ าประสงค์ กลยุทธ์ ตัวชี้วดั เป้ าหมายคณะบริ หารธุรกิจ ปี การศึกษา 2553-2556 9.2.1 แนวปฏิบตั ิและแผนการดําเนินงาน คณะนิติศาสตร์ ปี 2553 9.2.2 รายงานการประชุมคณะนิติศาสตร์ 9.2.3 โครงการช่วยเหลือและให้บริ การทางกฎหมาย


70

9.2.4 9.2.5 9.2.6 9.3.1

โครงการที่ปรึ กษากฎหมายประจําศาลจังหวัดพระโขนง โครงการบรรยายพิเศษทางกฎหมาย หนังสื อขอบคุณ สถานีตาํ รวจนครบาลบางนา แผนพัฒนาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอกระยะที่ 1 (พ.ศ. 2553-2556)

9.3.2 แผนการศึกษา -ยุทธศาสตร์ เป้ าประสงค์กลยุทธ์ ตัวชี้วดั เป้ าหมายคณะศิลปศาสตร์ ปี การศึกษา 2553-2556 9.3.3 สรุ ปการสํารวจความต้องการของชุมชนการรับการบริ การวิชาการ (สํานักวิจยั ) 9.3.4 9.3.5 9.3.6 9.3.7 9.3.8 9.3.9

คําสัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการประจํา คณะศิลปศาสตร์ รายงานการประชุมคณะกรรมการประจําคณะศิลปศาสตร์ ปี การศึกษา 2553 โครงการ สานบ้าน สานฝัน เพื่อผูพ้ ิการ รายงานการพัฒนาคุณภาพชีวิตผูพ้ ิการโดย อบต. นิคมกระเสี ยว จ.สุ พรรณบุรี โครงการมอบหนังสื อและอุปกรณ์กีฬาให้กบั โรงเรี ยนบ้านหนองกระดี่ จ.สุ พรรณบุรี โครงการ ฟื้ นฟู อนุรักษ์ สื บสาน เผยแพร่ วัฒนธรรมอาหารท้องถิ่น กิจกรรมกินอยู่ อย่างไทยตะลิงปลิงพืชสมุนไพรเพื่อสุ ขภาพ 9.3.10 โครงการสอนภาษาอังกฤษและภาษาจีน นักเรี ยน ม.6 โรงเรี ยนมารดานฤมล จ. ฉะเชิงเทรา 9.3.11 ภาพถ่ายธุรกิจการค้านํ้าตะลิงปลิงในชุมชนบางนํ้าผึ้ง 9.3.12 ภาพถ่ายการแปรรู ปอาหารตะลิงปลิงแช่อิ่ม 9.3.13 ภาพถ่ายการสอนภาษาจีนที่โรงเรี ยนมารดานฤมล 9.4.1 เอกสารโครงการบริ การวิชาการ “การอบรมอินเทอร์ เน็ตสําหรับผูบ้ ริ หาร และประชาชน ตําบลบางนํ้าผึ้ง” 9.4.2 แบบประเมินและสรุ ปผลการประเมินโครงการ“การอบรมอินเทอร์เน็ตสําหรับผูบ้ ริ หาร และ ประชาชนตําบลบางนํ้าผึ้ง 9.4.3 รายงานการประชุม “การปรับปรุ งเทคนิคการสอน และจุดบกพร่ องในการสอน ของแต่ละวัน” 9.5.1 หนังสื อเชิญเข้าร่ วมดําเนินงานโครงการของสํานักส่ งเสริ มและฝึ กอบรม, จดหมายเชิญ ประชุมและสรุ ปรายละเอียดการเข้าร่ วมประชุม 9.5.2 โครงการพัฒนาขีดความสามารถด้านการบริ หารพนักงานระดับ 8 ธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณ์การเกษตร 9.5.3 รายงานผลการดําเนินงานโครงการพัฒนาขีดความสามารถด้านการบริ หารพนักงานระดับ 8 (ธ.ก.ส) รุ่ นที่ 3 , รุ่ นที่ 5 , รุ่ นที่ 11 , รุ่ นที่ 12 และ รุ่ นที่ 13


71

ตัวบ่ งชี้ที่ 10 การส่ งเสริมและสนับสนุนด้ านศิลปะและวัฒนธรรม คําอธิบาย ศิลปะและวัฒนธรรม เป็ นตัวบ่งชี้ถึงคุณภาพ วิถีชีวิตและจิตใจที่ดีงามของบุคคลและสังคม เป็ นพันธกิ จหลักประการหนึ่ งที่ สถาบันพึง ตระหนัก ที่ จะต้องให้ความสําคัญในการส่ งเสริ ม สนับสนุ น เพื่อให้สังคมในสถาบันอยูร่ ่ วมกันอย่างมีความสุ ข อย่างมีคุณค่าสามารถเป็ นแบบอย่างที่น่าศรัทธา และเป็ นที่ ยอมรับของสังคม การส่ งเสริ มสนับสนุ นจําต้องดําเนิ นการอย่างมีประสิ ทธิ ภาพที่จริ งใจได้ต่อเนื่ องที่มนั่ คง และยัง่ ยืนโดยการกําหนดวัตถุประสงค์และเป้ าหมายที่ชดั เจนและสามารถประเมินผลได้ ผลการดําเนินงาน ในปี การศึ ก ษา 2553 คณะวิ ช าต่ า งๆ ร่ ว มกับ วิ ท ยาลัย ได้ด ํา เนิ น โครงการส่ ง เสริ ม และ สนับสนุ นด้านศิลปะและวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่ อง ก่อให้เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อชุมชนและได้รับ การยกย่องในระดับชาติ รายละเอียดการดําเนินการมี ดังนี้ 1. คณะบริหารธุรกิจ คณะบริ หารธุ รกิ จ มี นโยบาย แผน ระบบกลไกในการส่ งเสริ มและสนับสนุ นด้าน ศิลปะและวัฒนธรรม รวมทั้งมีโครงการ/กิ จกรรมที่ส่งเสริ มและสนับสนุ นด้านศิลปะและวัฒนธรรม ซึ่ ง คณะบริ หารธุรกิจมีการดําเนินการตามรายละเอียด ดังปรากฏในตารางที่ 10.1 ตารางที่ 10.1 การส่ งเสริ มและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม คณะบริ หารธุรกิจ การดําเนินงาน ประเด็น หลักฐาน (มี) / (ไม่ มี)  10.1.1 แผนพัฒนาวิทยาลัย 1. มีการดําเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) เซาธ์อีสท์บางกอก ระยะที่ 1 - คณะบริ หารธุ รกิจมีการดําเนิ นงานในการ (พ.ศ. 2553-2556) ส่ งเสริ มและสนับสนุ นด้านศิลปะและวัฒนธรรม 10.1.2 แผนการศึกษาที่ ส อดคล้อ งกับ แผนพัฒ นาวิ ท ยาลัย เซาธ์ อี ส ท์ ยุทธศาสตร์ เป้ าประสงค์ กลยุทธ์ บางกอก ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2553-2556) ซึ่ งกําหนด ตัวชี้วดั เป้ าหมาย ไว้ในยุทธศาสตร์ ที่ 6 การทํานุ บาํ รุ งศิลปะและ คณะบริ หารธุรกิจ วัฒนธรรม โดยใช้ 3 กลยุทธ์เป็ นกลไกในการ ปี การศึกษา 2553-2556 ส่ งเสริ มและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม 10.1.3 แนวปฏิบตั ิและแผนการ กลยุทธ์ ท1ี่ การสร้างระบบและกลไกการ ดําเนินงานคณะบริ หารธุรกิจ ดําเนินงานทํานุบาํ รุ งศิลปะและวัฒนธรรม ปี การศึกษา 2553 กลยุทธ์ ที่ 2 การอนุรักษ์และพัฒนาศิลปะและ วัฒนธรรมท้องถิ่นและของชาติ


72

ประเด็น กลยุทธ์ ที่ 3 การนําองค์ความรู ้ดา้ นศิลปวัฒนธรรม กระบวนการเรี ยนการสอน โดยมี คณะกรรมการด้ า นศิ ล ปะและ วัฒ นธรรมคณะบริ ห ารธุ รกิ จเป็ นผูด้ าํ เนิ น การ ตามแผนการศึกษา -ยุทธศาสตร์ เป้ าประสงค์ กลยุทธ์ ตัวชี้วดั เป้ าหมายคณะบริ หารธุรกิจ ปี การศึกษา 2553-2556 และแนวปฏิบตั ิและ แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ปี การศึกษา 2553 ซึ่ งคณะกรรมการมีหน้าที่ใน การกําหนดนโยบายด้านศิ ลปะและวัฒนธรรม และเข้าร่ วมการจัดทําแนวปฏิ บตั ิ และแผนการ ดํา เนิ น งานประจํา ปี 2553 คณะบริ ห ารธุ ร กิ จ เพื่ อ กํา หนดงบประมาณตามโครงการหรื อ กิจกรรมตลอดปี การศึกษา 2553 และกําหนด วิธีการติดตาม การประเมิ นผลการปฏิ บตั ิงาน ทุกโครงการตามตัวบ่งชี้ โดยเน้นการมีส่วนร่ วม และการพัฒนาอย่างต่อเนื่ อง เพื่อนําองค์ความรู ้ ด้ า นศิ ล ปะและวัฒ นธรรมมาบู ร ณาการใน การเรี ยนการสอนและจั ด ทํา ฐานข้อ มู ล ใน การบริ การและเผยแพร่ สู่ สาธารณะ 2. การดําเนินงานบรรลุเป้าหมายตามแผน ไม่ ตํ่ากว่ า ร้ อยละ 80 - การดํา เนิ น งานในทุ ก โครงการที่ ไ ด้ ปฏิ บตั ิ เสร็ จสิ้ นผูร้ ั บผิดชอบในโครงการจะทํา การประเมิ น ผลการปฏิ บ ัติ ง านโดยใช้ แ บบ ประเมิ น ที่ ไ ด้ มี ก ารพัฒ นาให้ ส อดคล้อ งกั บ เป้ าหมายตามแผนงาน

การดําเนินงาน (มี) / (ไม่ มี)

หลักฐาน 10.1.4 คําสัง่ แต่งตั้ง คณะกรรมการด้าน ศิลปวัฒนธรรม คณะบริ หารธุรกิจ 10.1.5 รายงานการประชุม คณะกรรมการบริ หาร คณะบริ หารธุรกิจครั้งที่ 1-5 ปี การศึกษา 2553

10.1.5 รายงานการประชุม คณะกรรมการบริ หาร คณะบริ หารธุรกิจครั้งที่ 1-5 /2553 10.1.6 รายงานสรุ ปผลการ ปฏิบตั ิงานตามแนวปฏิบตั ิและ แผนการดําเนินงานคณะ บริ หารธุรกิจ ปี การศึกษา 2553


73

ประเด็น ผลการดําเนินได้บรรลุตามเป้ าหมาย 84% และ ได้ทาํ การจัดทํารายงานเพื่อเก็บเป็ นฐานข้อมูล และนํา มาทบทวนตามวาระการประชุ ม ของ คณะกรรมการบริ ห ารคณะบริ ห ารธุ ร กิ จ เพื่ อ ประเมินผลสัมฤทธิ์ จากการดําเนินงานตามแผน พร้อมนํามาใช้ในการพัฒนางานด้านศิลปะและ วัฒนธรรมอย่างต่อเนื่ อง และเป็ นแนวทางใน การจัด ทํา แผนและแนวปฏิ บ ัติ ใ นปี การศึ ก ษา ต่อไป 3. มีการดําเนินงานสมํ่าเสมออย่ างต่ อเนื่อง - คณะบริ หารธุ รกิ จมี การจัดทําโครงการ

การดําเนินงาน (มี) / (ไม่ มี)

หลักฐาน

10.1.6 รายงานสรุ ปผลการ ปฏิบตั ิงาน ตามแนวปฏิบตั ิและ แผนการดําเนินงาน คณะบริ หารธุรกิจ ปี การศึกษา 2553

10.1.6 รายงานสรุ ปผลการ ปฏิบตั ิงานตามแนวปฏิบตั ิและ แผนการดําเนินงานคณะ บริ หารธุรกิจ ปี การศึกษา 2553 10.1.7 จุลสารศิลปะและ วัฒนธรรม วิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก 10.1.8 แหล่งสื บค้น www.southeast.ac.th

ในการส่ ง เสริ ม และสนับ สนุ น ด้า นศิ ล ปะและ วัฒนธรรมทั้งภายในและภายนอกโดยให้ความ ร่ ว ม มื อ กั บ ห น่ ว ย ง า น ภ า ย ใ น เ ช่ น คณะศิลปศาสตร์ สํานักงานกิจการนักศึกษาและ กิจการพิเศษ ในโครงการฟื้ นฟู อนุรักษ์ สื บสาน เผยแพร่ วฒั นธรรมท้องถิ่นอย่างต่อเนื่ อง ตลอด ทุกปี การศึกษา 4. เกิดประโยชน์ และสร้ างคุณค่ าต่ อชุ มชน - การดําเนินงานในโครงการและกิจกรรมด้าน ศิ ลปวัฒนธรรมตามแผนและแนวปฎิ บตั ิอย่าง ต่อเนื่องส่ งผลให้คณะบริ หารธุรกิจมีองค์ความรู ้ ที่ เ ป็ นฐานข้อ มู ล ที่ เ ป็ นประโยชน์ แ ละสร้ า ง คุ ณ ค่ า ต่ อ ชุ ม ชน โดยในปี การศึ ก ษา 2553 สาขาวิ ช าการบัญชี คณะบริ ห ารธุ รกิ จ ได้นํา นักศึกษาและคณาจารย์ของคณะบริ หารธุ รกิ จ ร่ วมทําโครงการเผยแพร่ วฒั นธรรมท้องถิ่น บางนา ณ ตลาดนํ้าบางนํ้าผึ้งอําเภอพระประแดง


74

ประเด็น จังหวัดสมุทรปราการโดยจัดแสดงและเผยแพร่ วัฒนธรรมท้องถิ่นบางนา คือ แสดงการละเล่น พื้นบ้านสะบ้ามอญ และจัดบูธเผยแพร่ “ขนมตึงตัง ขนมเอกลักษณ์บางนา” ในวันที่ 22 พฤศจิกายน 2553 โดยการเรี ยนเชิญ จากนายกองค์การบริ หารส่ วนตําบลบางนํ้าผึ้งและ ได้มีการเผยแพร่ องค์ความรู ้จากกิจกรรมด้าน ศิลปวัฒนธรรมทั้งภายในและภายนอก ผ่านทาง จุลสารศิลปะและวัฒนธรรมวิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก ซึ่งแต่ละเรื่ องที่เผยแพร่ จะจัดเก็บไว้เป็ น ฐานข้อมูล ที่สาํ นักวิทยบริ การ เพื่อเป็ นแหล่ง สื บค้นสําหรับผูท้ ี่สนใจทัว่ ไปและให้บริ การแก่ ชุมชน 5. ได้ รับการยกย่ องระดับชาติและหรือ นานาชาติ - จากการให้ความสําคัญด้านศิลปะและ วัฒ นธรรมอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ทํา ให้ นัก ศึ ก ษาของ คณะบริ ห ารธุ รกิ จ ได้รั บรางวัล ในปี การศึ ก ษา 2553 จํานวน 1 คน คือ นางสาวภิรญา กีรติวฒ ุ ิพร

การดําเนินงาน (มี) / (ไม่ มี)

หลักฐาน 10.1.9 รายงานโครงการเผยแพร่ วัฒนธรรม ท้องถิ่นบางนา ณ ตลาดนํ้าบางนํ้าผึ้ง อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ โดยจัดแสดงและเผยแพร่ วัฒนธรรมท้องถิ่นบางนา คือ แสดงการละเล่นพื้นบ้าน สะบ้ามอญ และจัดบูธเผยแพร่ “ขนมตึงตัง ขนมเอกลักษณ์ บางนา” วันที่ 22 พฤศจิกายน 2553

10.1.10 สําเนาเกียรติคุณบัตร เยาวสตรี ไทย ดีเด่น ประจําปี 2553 – นางสาวภิรญา กีรติวฒ ุ ิพร จาก สภาสตรี แห่งชาติ ในพระ บรมราชินูปถัมภ์ กระทรวง ยุติธรรม ฯ 10.1.11 สําเนาเกียรติคุณบัตรเด็ก และเยาวชนดีเด่นแห่งชาติ ประจําปี การศึกษา 2553 – นางสาวภิรญา กีรติวฒ ุ ิพร จากกระทรวงศึกษาธิการ

2. คณะนิติศาสตร์ คณะนิ ติศาสตร์ มีนโยบาย แผน ระบบกลไกในการส่ งเสริ มและสนับสนุนด้านศิลปะ และวัฒนธรรม รวมทั้งมี โครงการ/กิ จกรรมที่ ส่งเสริ มและสนับสนุ นด้านศิลปะและวัฒนธรรม ซึ่ งคณะ นิติศาสตร์มีการดําเนินการตามรายละเอียด ดังปรากฏในตารางที่ 10.2


75

ตารางที่ 10.2 การส่ งเสริ มและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม คณะนิ ติศาสตร์ การดําเนินงาน ประเด็น หลักฐาน (มี) / (ไม่ มี)  10.2.1 แผนพัฒนาวิทยาลัย 1. มีการดําเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) เซาธ์อีสท์บางกอก ระยะที่ 1 คณะนิ ติ ศ าสตร์ มี ก ารดํา เนิ น งานในการ (พ.ศ. 2553-2556) ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น ด้ า น ศิ ล ป ะ แ ล ะ 10.2.2 แผนการศึกษา-ยุทธศาสตร์ วัฒนธรรมที่ สอดคล้องกับแผนพัฒนาวิทยาลัย เป้ าประสงค์ กลยุทธ์ ตัวชี้วดั เซาธ์อีสท์บางกอก ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2553-2556) เป้ าหมายคณะนิติศาสตร์ ซึ่ งกําหนดไว้ในยุทธศาสตร์ ที่ 6 การทํานุ บาํ รุ ง ปี การศึกษา 2553-2556 ศิลปะและวัฒนธรรม โดยใช้ 3 กลยุทธ์เป็ น 10.2.3 แนวปฏิบตั ิและแผนการ กลไกในการส่ งเสริ มและสนับสนุ นด้านศิลปะ ดําเนินงานคณะนิติศาสตร์ และวัฒนธรรม ปี การศึกษา 2553 กลยุทธ์ ที่ 1 การสร้างระบบและกลไกการ 10.2.4 คําสัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการ ดําเนินงานทํานุบาํ รุ งศิลปะและ ด้านศิลปวัฒนธรรม วัฒนธรรม คณะนิติศาสตร์ กลยุทธ์ ที่ 2 การอนุรักษ์และพัฒนาศิลปะและ 10.2.5 รายงานการประชุม วัฒนธรรมท้องถิ่นและของชาติ คณะกรรมการคณะนิติศาสตร์ กลยุทธ์ ที่ 3 การนําองค์ความรู ้ดา้ น ครั้งที่ 1-4 ปี การศึกษา 2553 ศิลปวัฒนธรรมสู่กระบวนการเรี ยน การสอน โดยมี ค ณะกรรมการด้ า นศิ ล ปะและ วัฒนธรรมคณะนิ ติศาสตร์ เป็ นผูด้ าํ เนิ นการตาม แผนการศึ ก ษา -ยุท ธศาสตร์ เป้ าประสงค์ กล ยุ ท ธ์ ตั ว ชี้ วั ด เป้ าหมายคณะนิ ติ ศ าสตร์ ปี การศึ กษา 2553-2556 และแนวปฏิ บตั ิ และ แผนการดําเนินงาน คณะนิติศาสตร์ ปี การศึกษา 2553 ซึ่ งคณะกรรมการมีหน้าที่ในการกําหนด นโยบายด้านศิลปะและวัฒนธรรมและเข้าร่ วม การจัด ทํา แนวปฏิ บ ัติแ ละแผนการดําเนิ น งาน ประจํา ปี 2553 คณะนิ ติ ศ าสตร์ เพื่ อ กํา หนด งบประมาณตามโครงการหรื อกิจกรรมตลอดปี


76

ประเด็น การศึกษา 2553 และกําหนดวิธีการติดตาม การประเมินผลการปฏิบตั ิงานทุกโครงการตาม ตัวบ่งชี้ โดยเน้นการมีส่วนร่ วม และการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง เพื่อนําองค์ความรู ้ดา้ นศิลปะและ วัฒนธรรมมาบูรณาการในการเรี ยนการสอน และจัดทําฐานข้อมูลในการบริ การและเผยแพร่ สู่ สาธารณะ 2. การดําเนินงานบรรลุเป้าหมายตามแผน ไม่ ตํ่ากว่ า ร้ อยละ 80 การดํา เนิ น งานในทุ ก โครงการที่ ไ ด้ปฏิ บ ัติ เสร็ จ สิ้ น ผู ้รั บ ผิ ด ชอบในโครงการจะทํา การ ประเมินผลการปฏิบตั ิงานโดยใช้แบบประเมิน ที่ได้มีการพัฒนาให้สอดคล้องกับเป้ าหมายตาม แผนงาน ผลการดําเนิ นได้บรรลุตามเป้ าหมาย และได้ ท ํ า การจั ด ทํ า รายงานเพื่ อ เก็ บ เป็ น ฐานข้อ มู ล และนํา มาทบทวนตามวาระการ ประชุ มของคณะกรรมการคณะนิ ติศาสตร์ เพื่อ ประเมินผลสัมฤทธิ์ จากการดําเนิ นงานตามแผน พร้อมนํามาใช้ในการพัฒนางานด้านศิลปะและ วัฒนธรรมอย่างต่อเนื่ อง และเป็ นแนวทางใน การจัด ทํา แผนและแนวปฏิ บ ัติ ใ นปี การศึ ก ษา ต่อไป 3. มีการดําเนินงานสมํ่าเสมออย่ าต่ อเนื่อง คณะนิ ติศาสตร์ มีการจัดทําโครงการในการ ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น ด้ า น ศิ ล ป ะ แ ล ะ วัฒนธรรมทั้งภายในและภายนอกโดยให้ความ ร่ วมมือกับหน่วยงานภายใน เช่น คณะบริ ห ารธุ รกิ จ สํา นักงานกิ จการนักศึ กษา และกิจการพิเศษ ในโครงการฟื้ นฟู อนุรักษ์

การดําเนินงาน (มี) / (ไม่ มี)

หลักฐาน

10.2.4 รายงานการประชุม คณะกรรมการบริ หาร คณะนิติศาสตร์ ปี การศึกษา 2553 10.2.5 รายงานสรุ ปผลการ ปฏิบตั ิงานตามแนวปฏิบตั ิและ แผนการดําเนินงาน คณะนิติศาสตร์ ปี การศึกษา 2553

10.2.5 รายงานการประชุม คณะกรรมการคณะนิติศาสตร์ ครั้งที่ 1-4 ปี การศึกษา 2553


77

ประเด็น สื บสาน เผยแพร่ วั ฒ นธรรมท้ อ งถิ่ น อย่ า ง ต่อเนื่อง ตลอดทุกปี การศึกษา 4. เกิดประโยชน์ และสร้ างคุณค่ าต่ อชุ มชน การดําเนินงานในโครงการและกิจกรรมด้าน ศิ ลปวัฒนธรรมตามแผนและแนวปฎิ บตั ิ อย่าง ต่อเนื่ องส่ งผลให้คณะนิ ติศาสตร์ มีองค์ความรู ้ที่ เป็ นฐานข้อมูล ที่เป็ นประโยชน์และสร้างคุณค่า ต่ อ ชุ ม ชน โดยในปี การศึ ก ษา 2553 คณะ นิ ติ ศ าสตร์ ไ ด้นํา นั ก ศึ ก ษาและคณาจารย์ข อง คณะนิ ติ ศ าสตร์ ร่ วมทํา โครงการเผยแพร่ วัฒนธรรมท้องถิ่นบางนา ณ ตลาดนํ้าบางนํ้าผึ้ง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการโดย จัดแสดงและเผยแพร่ วฒั นธรรมท้องถิ่นบางนา คื อ แสดงการละเล่ น พื้ น บ้า นสะบ้า มอญ และ จัด บู ธ เผยแพร่ “ขนมตึ ง ตัง ขนมเอกลัก ษณ์ บางนา” ในวันที่ 22 พฤศจิกายน 2553 โดยการ เรี ยนเชิญจาก นายกองค์การบริ หารส่ วนตําบล บางนํ้าผึ้งและได้มีการเผยแพร่ องค์ความรู ้ จาก กิ จ กรรมด้า นศิ ล ปวัฒ นธรรมทั้ง ภายในและ ภายนอก ผ่านทางจุลสารศิลปะและวัฒนธรรม วิ ท ยาลัย เซาธ์ อี ส ท์ บ างกอก ซึ่ งแต่ ล ะเรื่ องที่ เ ผ ย แ พ ร่ จ ะ จั ด เ ก็ บ ไ ว้ เ ป็ น ฐ า น ข้ อ มู ล ที่ สํา นัก วิ ท ยบริ ก าร และ เพื่ อ เป็ นแหล่ ง สื บ ค้น สําหรั บผูท้ ี่ สนใจโดยทัว่ ไป และให้บริ การแก่ ชุมชน

การดําเนินงาน (มี) / (ไม่ มี)

หลักฐาน

10.2.5 รายงานการประชุม คณะกรรมการคณะนิติศาสตร์ ครั้งที่ 1-4 ปี การศึกษา 2553 10.2.6 จุลสารศิลปะและ วัฒนธรรม วิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก 10.2.7 แหล่งสื บค้น www.southeast.ac.th 10.1.9 รายงานโครงการเผยแพร่ วัฒนธรรมท้องถิ่นบางนา ณ ตลาดนํ้าบางนํ้าผึ้ง อ. พระประแดง จ. สมุทรปราการ โดยจัดแสดงและ เผยแพร่ วฒั นธรรมท้องถิ่นบางนา คือ แสดงการละเล่นพื้นบ้าน สะบ้ามอญ และจัดบูธเผยแพร่ “ขนมตึงตัง ขนมเอกลักษณ์บางนา” วันที่ 22 พฤศจิกายน 2553


78

ประเด็น 5. ได้ รั บการยกย่ องระดั บ ชาติ แ ละหรื อ นานาชาติ คณะนิ ติศาสตร์ ได้ให้ความสําคัญเกี่ ยวกับ ด้านการส่ งเสริ มและสนับสนุ นด้านศิลปะและ วัฒนธรรม และรวมถึ งการเกิ ดประโยชน์และ สร้างคุณค่าต่อชุมชนโดยปลูกฝังและสนับสนุ น นักศึกษาคณะนิติศาสตร์ดา้ นคุณธรรมจริ ยธรรม และการบํา เพ็ญประโยชน์ แ ก่ ส่ว นรวม ซึ่ ง ใน ปี การศึกษา ๒๕๕๓ มีนกั ศึกษาคณะนิ ติศาสตร์ ได้รับรางวัลจํานวน ๑ คน คือ นายธนพร ฉายงาม

การดําเนินงาน (มี) / (ไม่ มี) 

หลักฐาน 10.2.8 สําเนาใบประกาศเกียรติคุณ นายธนพร ฉายงาม เกี ย รติ บ ัต รวิ ท ยากรฝึ กอบรมพี่ เลี้ยงงานชุมนุมลูกเสื อครั้งที่ 17

3. คณะศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มีนโยบาย แผน ระบบกลไกในการส่ งเสริ มและสนับสนุนด้านศิลปะ และวัฒ นธรรม รวมทั้ งมี โ ครงการ/กิ จ กรรมที่ ส่ ง เสริ มและสนั บ สนุ น ด้ า นศิ ล ปะและวัฒ นธรรม ซึ่งคณะศิลปศาสตร์มีการดําเนินการตามรายละเอียด ดังปรากฏในตารางที่ 10.3 ตารางที่ 10.3 การส่ งเสริ มและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม คณะศิลปศาสตร์ การดําเนินงาน ประเด็น หลักฐาน (มี) / (ไม่ มี)  10.3.1 แผนพัฒนาวิทยาลัย 1. มีการดําเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) เซาธ์อีสท์บางกอก ระยะที่ 1 - คณะศิ ล ปศาสตร์ มี ก ารดํา เนิ น งานในการ (พ.ศ. 2553-2556) ส่ งเสริ มและสนับสนุ นด้านศิ ลปะและวัฒนธรรมที่ 10.3.2 แผนการศึกษาสอดคล้องกับแผนพัฒนาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ยุทธศาสตร์เป้ าประสงค์ ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2553-2556) ซึ่ ง กํา หนดไว้ใ น กลยุทธ์ ตัวชี้วดั เป้ าหมาย ยุทธศาสตร์ที่ 6 การทํานุ บาํ รุ งศิลปะและวัฒนธรรม คณะศิลปศาสตร์ โดยใช้ 3 กลยุทธ์เป็ นกลไกในการส่ งเสริ มและ ปี การศึกษา 2553-2556 สนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม กลยุทธ์ ที่ 1 การสร้างระบบและกลไกการดําเนินงาน ทํานุบาํ รุ งศิลปะและวัฒนธรรม


79

ประเด็น กลยุทธ์ ที่ 2 การอนุรักษ์และพัฒนาศิลปะและ วัฒนธรรมท้องถิ่นและของชาติ กลยุทธ์ ที่ 3 การนําองค์ความรู ้ดา้ นศิลปวัฒนธรรมสู่ กระบวนการเรี ยนการสอน โดยมีคณะกรรมการด้านศิลปะและวัฒนธรรม คณะศิลปศาสตร์ เป็ นผูด้ าํ เนิ นการตามแผนการศึกษา -ยุทธศาสตร์ เป้ าประสงค์ กลยุทธ์ ตัวชี้วดั เป้ าหมาย คณะศิ ลปศาสตร์ ปีการศึ กษา 2553-2556 และ แนวปฏิ บ ัติ แ ละแผนการดํา เนิ น งาน คณะศิ ล ป ศาสตร์ ปี การศึกษา 2553 ซึ่งคณะกรรมการมีหน้าที่ ในการกําหนดนโยบายด้านศิลปะและวัฒนธรรม และเข้า ร่ ว มการจัด ทํา แนวปฏิ บ ัติ แ ละแผนการ ดําเนิ น งานประจํา ปี 2553 คณะศิ ลปศาสตร์ เพื่อ กํา หนดงบประมาณตามโครงการหรื อ กิ จ กรรม ตลอด ปี การศึกษา 2553 และกําหนดวิธีการติดตาม การประเมินผลการปฏิบตั ิงานทุกโครงการตามตัว บ่งชี้ โดยเน้นการมี ส่วนร่ วม และการพัฒนาอย่าง ต่ อ เนื่ อง เพื่ อ นํ า องค์ ค วามรู ้ ด้ า นศิ ลปะและ วัฒนธรรมมาบูรณาการในการเรี ยนการสอนและ จั ด ทํา ฐานข้อ มู ล ในการบริ การและเผยแพร่ สู่ สาธารณะ 2. การดําเนินงานบรรลุเป้าหมายตามแผน ไม่ ตํ่ากว่ า ร้ อยละ 80 - การดําเนิ น งานในทุ ก โครงการที่ ได้ปฏิ บตั ิ เสร็ จ สิ้ น ผูร้ ั บ ผิ ด ชอบในโครงการจะทํา การการ ประเมินผลการปฏิบตั ิงานโดยใช้แบบประเมินที่ได้ มีการพัฒนาให้สอดคล้องกับเป้ าหมายตามแผนงาน ผลการดําเนินได้บรรลุตามเป้ าหมาย 80% และได้ ทําการจัดทํารายงานเพื่อเก็บเป็ นฐานข้อมูล และ

การดําเนินงาน (มี) / (ไม่ มี)

หลักฐาน 10.3.3 แนวปฏิบตั ิและแผนการ ดํา เนิ น งาน คณะศิ ล ปศาสตร์ ปี การศึกษา 2553 10.3.4 คําสัง่ แต่งตั้งคณะ กรรมการด้านศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปศาสตร์ 10.3.5 รายงานการประชุม คณะกรรมการศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปศาสตร์ ปี การศึกษา 2553

10.3.5 รายงานการประชุม คณะกรรมการศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปศาสตร์ ปี การศึกษา 2553


80

ประเด็น

การดําเนินงาน (มี) / (ไม่ มี)

นํ า ม า ท บ ท ว น ต า ม ว า ร ะ ก า ร ป ร ะ ชุ ม ข อ ง คณะกรรมการศิลปวัฒนธรรมคณะศิลปศาสตร์ เพื่อ ประเมิ น ผลสั ม ฤทธิ์ จากการดํา เนิ น งานตามแผน พร้ อ มนํา มาใช้ใ นการพัฒ นางานด้า นศิ ล ปะและ วัฒนธรรมอย่างต่อเนื่ อง และเป็ นแนวทางในการ จัดทําแผนและแนวปฏิบตั ิในปี การศึกษาต่อไป

3. มีการดําเนินงานสมํ่าเสมออย่ างต่ อเนื่อง - คณะศิ ล ปศาสตร์ มี ก ารจัด ทํา โครงการใน การส่ งเสริ มและสนั บ สนุ นด้ า นศิ ลปะและ วัฒ นธรรมทั้ง ภายในและภายนอกโดยให้ ค วาม ร่ วมมือกับหน่ วยงานภายในเช่น คณะบริ หารธุ รกิจ สํา นัก งานกิ จ การนั ก ศึ ก ษาและกิ จ การพิ เ ศษ ใน โครงการฟื้ นฟู อนุรักษ์ สื บสาน เผยแพร่ วฒั นธรรม ท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง ตลอดทุกปี การศึกษา 4. เกิดประโยชน์ และสร้ างคุณค่ าต่ อชุ มชน - การดําเนิ นงานในโครงการและกิจกรรมด้าน ศิ ล ปวัฒ นธรรมตามแผนและแนวปฎิ บ ัติ อ ย่ า ง ต่ อเนื่ องส่ งผลให้คณะศิ ลปศาสตร์ มีองค์ความรู ้ ที่ เป็ นฐานข้อมูล ที่เป็ นประโยชน์และสร้างคุณค่า ต่อชุมชน โดยในปี การศึกษา 2553 สาขา

หลักฐาน 10.3.6 โครงการเผยแพร่ วัฒนธรรมท้องถิ่นบางนา ณ ตลาดนํ้าบางนํ้าผึ้ง อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ โดยจัดแสดงและเผยแพร่ วัฒนธรรมท้องถิ่นบางนา คือ แสดงการละเล่นพื้นบ้าน สะบ้ามอญ และจัดบูธเผยแพร่ “ขนมตึงตังขนมเอกลักษณ์ บางนา” วันที่ 22 พฤศจิกายน 2553 10.3.10 โครงการ ฟื้ นฟู อนุรักษ์ สื บสาน เผยแพร่ วัฒนธรรม อาหารท้องถิ่น กิจกรรมกินอยู่ อย่างไทย ตะลิงปิ งพืชสมุนไพร เพื่อสุ ขภาพ 10.3.7 รายงานการประเมิน ตนเอง คณะศิลปศาสตร์ ปี การศึกษา 2552-2553

10.3.5 รายงานการประชุม คณะกรรมการคณะศิลปศาสตร์ ปี การศึกษา2553 10.3.6 โครงการเผยแพร่ วัฒนธรรมท้องถิ่นบางนา ณ ตลาดนํ้าบางนํ้าผึ้ง


81

ประเด็น

การดําเนินงาน (มี) / (ไม่ มี)

วิชาอังกฤษธุ รกิจ คณะศิลปศาสตร์ ได้นาํ นักศึกษา และคณาจารย์ของคณะฯ ร่ วมทําโครงการเผยแพร่ วัฒ นธรรมท้อ งถิ่ น บางนา ณ ตลาดนํ้า บางนํ้า ผึ้ ง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการโดยจัด แสดงและเผยแพร่ ว ฒ ั นธรรมท้อ งถิ่ น บางนา คื อ แสดงการละเล่ น พื้ น บ้า นสะบ้า มอญ และจัด บู ธ เผยแพร่ “ขนมตึ งตัง ขนมเอกลักษณ์ บางนา” ใน วันที่ 22 พฤศจิ กายน 2553 โดยการเรี ยนเชิ ญจาก นายกองค์ก ารบริ หารส่ ว นตํา บลบางนํ้าผึ้ ง และ คณะฯนํา นั ก ศึ ก ษาและอาจารย์ร่ วมเรี ยนรู ้ อ งค์ ความรู ้ตะลิงปลิงโดยใช้ทอ้ งถิ่นสวนบางนํ้าผึ้ง อ.พระประแดง เป็ นห้องปฏิบตั ิการเพื่อจัดโครงการ ฟื้ นฟู อนุรักษ์ สื บสาน เผยแพร่ วฒั นธรรมอาหาร ท้องถิ่น กิจกกรรมกินอยูอ่ ย่างไทยตะลิงปลิงพืช สมุนไพรเพื่อสุ ขภาพ ในวันที่ 8 เมษายน 2554 พิธีรดนํ้าดําหัวผูส้ ู งอายุ ในประเพณี สงกรานต์โดยมี การเผยแพร่ องค์ความรู ้จากกิจกรรมด้าน ศิลปวัฒนธรรมทั้งภายในและภายนอก ผ่านทาง จุลสารศิลปะและวัฒนธรรม วิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก ซึ่งแต่ละเรื่ องที่เผยแพร่ จะจัดเก็บไว้เป็ น ฐานข้อมูลที่สาํ นักวิทยบริ การ และ เพื่อเป็ นแหล่ง สื บค้นสําหรับผูท้ ี่สนใจโดยทัว่ ไป และให้บริ การ แก่ชุมชน 5. ได้ รับการยกย่ องระดับชาติและหรือนานาชาติ จํานวน 1 คน คือ น.ส. ธนิศา อ่วมน้อย

หลักฐาน อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ โดยจัดแสดงและเผยแพร่ วัฒนธรรมท้องถิ่นบางนา คือ แสดงการละเล่นพื้นบ้านสะบ้า มอญ และจัดบูธเผยแพร่ “ขนม ตึงตัง ขนมเอกลักษณ์บางนา” 10.3.8 จุลสารศิลปะและ วัฒนธรรม วิทยาลัย เซาธ์อีสท์บางกอก 10.3.9 แหล่งสื บค้นเว็บไซต์ คณะศิลปศาสตร์ www.southeast.ac.th 10.3.10 โครงการ ฟื้ นฟู อนุ รักษ์ สื บสาน เผยแพร่ วัฒ นธรรม อาหารท้อ งถิ่ น กิ จ กรรมกิ น อยู่ อย่างไทย ตะลิงปลิงพืชสมุนไพร เพื่อสุ ขภาพ 10.3.11 Brochure ภาษาอังกฤษ เผยแพร่ องค์ความรู ้ตะลิงปลิง พืช สมุนไพรท้องถิ่นให้กบั อบต.บาง นํ้าผึ้งเพื่อให้ความรู ้แก่ นักท่องเที่ยวต่างชาติเรื่ อง สรรพคุณและประโยชน์ของ ตะลิงปลิง ประกาศนียบัตร “โครงการทูต ความดี แห่งประเทศไทย 2554”


82

4. คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีนโยบาย แผน ระบบกลไกในการส่ งเสริ มและ สนับสนุ นด้านศิลปะและวัฒนธรรม รวมทั้งมีโครงการ / กิจกรรม ที่ส่งเสริ มด้านศิลปะและวัฒนธรรมตาม รายละเอียดดังปรากฏในตารางที่ 10.4 ตารางที่ 10.4 การส่ งเสริ มและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การดําเนินงาน ประเด็น หลักฐาน (มี) / (ไม่ มี) 10.4.1 แผนพัฒนาวิทยาลัย 1. มี ก า ร ดํ า เนิ น ง า น ต า ม ว ง จรคุ ณ ภ า พ เซาธ์ อี ส ท์ บ างกอกระยะที่ 1 (PDCA)  (2553 – 2557) คณะวิทยาศาตร์ มีการกําหนดแผนงานด้าน 10.4.2 แผนยุทธศาสตร์ของ การส่ งเสริ มและสนับสนุ นด้านศิลปวัฒนธรรม คณะวิทยาศาสตร์ฯ สอดคล้องกับแผนพัฒนาวิทยาลัยใน กลยุทธ์ที่ 1 10.4.3 แนวปฏิบตั ิและแผนการ การสร้ า งระบบกลไกการดํา เนิ น งานด้า นการ ดําเนินงานคณะวิทย์ฯ ปี 2553 ทํานุ บาํ รุ งศิ ลปะวัฒนธรรมไทย ยุทธศาตร์ ที่ 6 10.4.4 รายงานการประชุมของ การทํานุ บาํ รุ งศิลปะวัฒนธรรม โดยเริ่ มจากการ คณะกรรมการคณะเพื่ อ แต่ ง ตั้ง แ ต่ ง ตั้ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ด้ า น ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม คณะกรรมการดํา เนิ น งานด้า น ศิลปวัฒนธรรมของคณะ ซึ่งมีหน้าที่ประชุมและ ศิลปวัฒนธรรม เขียนแผนงาน (P) เพื่อใช้ในการดําเนินงาน หรื อ 10.4.5 รายงานการประชุมของ สนับสนุนงานด้านศิลปวัฒนธรรมของคณะ (D) คณะกรรมการด้าน ซึ่งประกอบได้ดว้ ย ศิลปวัฒนธรรมของคณะฯ ใน 1) โครงการอบรมพัฒนาจิต ณ สวนเบญจทัศน์ ส่ วนของการกําหนดโครงการ 2) โครงการสานฝันแบ่ งปันน้ อง ณ ด้านศิลปะวัฒนธรรม โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ จันทบุรี 10.4.6 รายงานสรุ ปผลของ 3) โครงการ 5 ส. โครงการด้านส่ งเสริ ม และทํานุ และกรรมการดํ า เนิ นการติ ด ตามผลการ บํารุ งศิลปะวัฒนธรรม ดําเนิ นงานในแต่ละโครงการมาสรุ ปผล(C) เพื่อ รายงานต่อคณบดี คณะวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เพื่อนํามาเขียนแผนการดําเนิ นงานด้านนี้ ในปี ต่อไป (A)


83

การดําเนินงาน หลักฐาน (มี) / (ไม่ มี) 10.4.7 เอกสารสรุ ปโครงการ 2. บรรลุเป้าหมายตามแผนไม่ ตํ่ากว่ า  อบรมพัฒนาจิต ณ ร้ อยละ 80 สวนเบญจทัศน์ ในปี การศึกษา 2553 นี้ คณะวิทยาศาสตร์ฯ 10.4.8 เอกสารสรุ ปโครงการ ได้กาํ หนดผลงานด้านส่ งเสริ ม และสนับสนุน สานฝันแบ่งปั นน้อง ณ โรงเรี ยน งานด้านศิลปวัฒนธรรม จํานวน 3 โครงการคือ ศึกษาสงเคราะห์จนั ทบุรี 1) โครงการอบรมพัฒนาจิต ณ 10.4.9 เอกสารสรุ ป สวนเบญจทัศน์ โครงการ 5 ส. 2) โครงการสานฝันแบ่ งปันน้ อง ณ 10.4.2 แผนยุทธศาสตร์ของ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ จันทบุรี คณะวิทยาศาสตร์ฯ 3) โครงการ 5 ส. ประจําปี การศึกษา 2553 ซึ่ งคณะฯ สามารถทําได้ท้ งั 3 โครงการ และ 10.4.3 แนวปฏิบตั ิและแผนการ มีผลการ ประเมินมากกว่า 3.51 และคิดเป็ นร้อย ดําเนินงานคณะวิทย์ฯ ปี 2553 ละของ โครงการคือ ร้อยละ 100 ประเด็น

3. มีการดําเนินการอย่ างสมํา่ เสมอและ ต่ อเนื่อง คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี มี ก าร จัดทําโครงการที่เป็ นการส่ งเสริ มและสนับสนุน ด้านศิลปะวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่องตลอดทุก ปี การศึกษา 4. เกิดประโยชน์ และสร้ างคุณค่ าต่ อชุ มชน จากการที่คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ดํา เนิ น การส่ ง เสริ มและสนั บ สนุ น งานด้ า น ศิลปะวัฒนธรรม ทั้ง 3 โครงการ คือ 1) โครงการอบรมพัฒนาจิต ณ สวนเบญจทัศน์ ทํ า ให้ เ กิ ด ประโยชน์ ต่ อ ตั ว นั ก ศึ ก ษา และ บุคลากรที่ไปร่ วมกิจกรรมในด้านจิตใจ ส่ งเสริ ม ให้มีสมาธิในการทํางาน และการปฏิบตั ิตน และ การวางตัวที่ดีมีคุณค่าต่อสังคม

10.4.8 เอกสารสรุ ปโครงการ สานฝันแบ่งปันน้อง ณ โรงเรี ยน ศึกษาสงเคราะห์จนั ทบุรี

10.4.7 เอกสารสรุ ปโครงการ อบรมพัฒนาจิต ณ สวนเบญจทัศน์ 10.4.8 เอกสารสรุ ปโครงการ สานฝันแบ่งปันน้อง ณ โรงเรี ยน ศึกษาสงเคราะห์จนั ทบุรี 10.4.9 เอกสารสรุ ปโครงการ 5 ส.


84

ประเด็น 2) โครงการสานฝันแบ่ งปันน้ อง ณ โรงเรียน ศึ กษาสงเคราะห์ จันทบุรี ทําให้นกั ศึกษาที่เข้า ร่ ว มโครงการได้แ สดงออกถึ งจิ ตสาธารณะ ที่ รู ้จกั แบ่งปั นช่วยเหลือ กับโรงเรี ยนที่ขาดแคลน ทํา ให้ นั ก เรี ยน อาจารย์ ส ามารถนํ า เครื่ อง คอมพิวเตอร์ไปใช้ประโยชน์ในการเรี ยน การสอน และการทํางานของโรงเรี ยนได้ ทําให้ เกิ ดคุณค่าทางด้านจิตใจ และเป็ นที่ยอมรับของ สังคม 3) โครงการ 5 ส. ทําให้เกิดความสวยงาม ของสภาพแวดล้อม และบรรยากาศที่ได้ในการ ทํางาน และการเรี ยนการสอน พิจารณาได้จาก แบบสํา รวจความพึ ง พอใจของบุ ค ลากร และ นัก ศึ ก ษาในภาพรวมที่ ไ ด้ค่า เฉลี่ ย มากว่า 3.51 คะแนน

การดําเนินงาน (มี) / (ไม่ มี)

หลักฐาน 10.4.2 แผนยุทธศาสตร์ของ คณะวิทยาศาสตร์ฯ ประจําปี การศึกษา 2553

5. บัณฑิตวิทยาลัย บัณฑิตวิทยาลัย มีนโยบาย แผน ระบบกลไกในการส่ งเสริ มและสนับสนุ นด้านศิลปะ และวัฒ นธรรม รวมทั้ง มี โ ครงการ/กิ จ กรรมที่ ส่ ง เสริ มและสนั บ สนุ น ด้า นศิ ล ปะและวัฒ นธรรม ซึ่ ง บัณฑิตวิทยาลัยมีการดําเนินการตามรายละเอียด ดังปรากฏในตารางที่ 10.5 ตารางที่ 10.5 การส่ งเสริ มและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม บัณฑิตวิทยาลัย การดําเนินงาน ประเด็น หลักฐาน (มี) / (ไม่ มี)  10.5.1 แผนพัฒนาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์ 1. มีการดําเนินงานตามวงจร บางกอก ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2553-2556) คุณภาพ (PDCA) 10.5.2 แผนยุ ท ธศาสตร์ เป้ าประสงค์ บั ณ ฑิ ตวิ ท ยาลั ย มี การกํ า หนด ก ล ยุ ท ธ์ ตั ว ชี้ วั ด เ ป้ า ห ม า ย ข อ ง แ ผ น ง า น ด้ า น ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ บัณฑิตวิทยาลัย ปี การศึกษา 2553-2556 สนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม (สอดคล้องกับแผนพัฒนาวิทยาลัย


85

ประเด็น เซาธ์ อี ส ท์บ างกอก ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2553 – 2556) ในยุทธศาสตร์ที่ 6 การ ทํานุบาํ รุ งศิลปวัฒนธรรม กลยุทธ์ที่ 1 ก า ร ส ร้ า ง ร ะ บ บ แ ล ะ ก ล ไ ก ก า ร ดําเนิ นงานทํานุ บาํ รุ งศิลปวัฒนธรรม และกลยุทธ์ที่ 3 การนําองค์ความรู ้ ด้า นศิ ล ปวัฒ นธรรมสู่ ก ระบวนการ เรี ยนการสอน) ซึ่ งปรากฏอยู่ในแนว ปฏิบตั ิและแผนการดําเนินงานบัณฑิต วิทยาลัย พ.ศ. 2553 บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการดํา เนิ น งานด้า นการ ส่ งเสริ มและสนับสนุนด้านศิลปะและ วัฒ นธรรม โดยคณะกรรมการฯได้ ดําเนิ นการตาม แผนการดําเนิ นการ ของบั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย ปี การศึ ก ษา 2553 ประกอบด้ ว ย 2 โครงการ และ 1 กิจกรรม คือ - โครงการพิธีประณตน้ อมสั กการะ บูรพคณาจารย์ ระดับบัณฑิตศึกษา - โครงการ พี่ M.B.A. ปันนํา้ ใจให้ น้ องบ้ านโสสะ - กิจกรรม 5 ส. คณะกรรมการฯ ได้ดาํ เนินการติดตาม ผลการดําเนินงานของทั้ง 2 โครงการ และ 1 กิจกรรม โดยคณะกรรมการฯ นําสรุ ปผลการดําเนินงานเสนอต่อ คณบดีบณั ฑิตวิทยาลัยและ คณะกรรมการบัณฑิตวิทยาลัย เพื่อ

การดําเนินงาน (มี) / (ไม่ มี)

หลักฐาน 10.5.3 แนวปฏิบตั ิและแผนการ ดําเนินงานบัณฑิตวิทยาลัย ปี การศึกษา 2553 10.5.4 รายงานการประชุมคณะกรรมการ บัณฑิตวิทยาลัย ครั้งที่ 3/2554 วาระที่ 2 เรื่ องเสนอเพื่ อ ทราบกิ จ กรรมพัฒ นา การเรี ยนการสอน ได้ แ ก่ โครงการ ประณตน้อมสักการบูรพคณาจารย์ 10.5.5 รายงานการประชุมคณะกรรมการ บัณฑิตวิทยาลัย ครั้งที่ 4/2554 วาระที่ 2 เรื่ องเสนอเพื่ อ ทราบกิ จ กรรมพัฒ นา การเรี ยนการสอน ได้ แ ก่ โครงการ พี่ MBA ปั นนํ้าใจให้นอ้ งบ้านโสสะ


86

ประเด็น

การดําเนินงาน (มี) / (ไม่ มี)

หลักฐาน

นําข้อเสนอแนะมากําหนดเป็ น แผนการดําเนินงานในปี การศึกษา ถัดไป  2. การดําเนินงานบรรลุ เป้าหมายตามแผนไม่ ตํ่ากว่ าร้ อยละ 80 การดําเนิ นงานในทุกโครงการ ที่ ไ ด้ป ฏิ บ ัติ เ สร็ จ สิ้ น ผูร้ ั บ ผิ ด ชอบใน โครงการจะทํา การประเมิ น ผลการ ปฏิบตั ิงานโดยใช้แบบประเมินที่ได้มี การพัฒนาให้สอดคล้องกับเป้ าหมาย ตามแผนงานและได้ ท ํา การจั ด ทํา รายงานเพื่ อ เก็บเป็ นฐานข้อมู ล และ ป ร ะ เ มิ น ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ จ า ก ก า ร ดําเนิ นงานตามแผน พร้ อมนํามาใช้ ในการพั ฒ นางานด้ า นศิ ล ปะและ วัฒ นธรรมอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และเป็ น แนวทางในการจัด ทํา แผนและแนว ปฏิบตั ิในปี การศึกษาต่อไป 3. มีการดําเนินงานสมํ่าเสมอ อย่ างต่ อเนื่อง บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย มี ก า ร จั ด ทํ า โครงการในการส่ งเสริ มและสนับสนุน ด้า นศิ ล ปะและวัฒ นธรรมทั้ง ภายใน และภายนอก เพื่ อ อนุ รั ก ษ์ สื บ สาน เผยแพร่ วฒั นธรรมอย่างต่อเนื่ อง ตลอด ทุกปี การศึกษา

10.5.6 สรุ ปผลการดําเนินงานโครงการ ประณตน้อมสักการะบูรพคณาจารย์ 10.5.7 สรุ ปผลการดําเนินงานโครงการ พี่ MBA ปั นนํ้าใจให้นอ้ งบ้านโสสะ 10.5.3 แนวปฏิบตั ิและแผนการ ดําเนินงานบัณฑิตวิทยาลัย ปี การศึกษา 2553 10.5.4 รายงานการประชุมคณะกรรมการ บัณฑิตวิทยาลัย ครั้งที่ 3/2554 วาระที่ 2 เรื่ องเสนอเพื่ อ ทราบกิ จ กรรมพัฒ นา การเรี ยนการสอน ได้ แ ก่ โครงการ ประณตน้อมสักการบูรพคณาจารย์ 10.5.5 รายงานการประชุมคณะกรรมการ บัณฑิตวิทยาลัย ครั้งที่ 4/2554 วาระที่ 2 เรื่ องเสนอเพื่ อ ทราบกิ จ กรรมพัฒ นา การเรี ยนการสอน ได้ แ ก่ โครงการ พี่ MBA ปั นนํ้าใจให้นอ้ งบ้านโสสะ 10.5.6 สรุ ปผลการดําเนินงานโครงการ ประณตน้อมสักการะบูรพคณาจารย์ 10.5.7 สรุ ปผลการดําเนินงานโครงการ พี่ MBA ปั นนํ้าใจให้นอ้ งบ้านโสสะ 10.5.3 แนวปฏิบตั ิและแผนการ ดําเนินงานบัณฑิตวิทยาลัย ปี การศึกษา 2553


87

ประเด็น

4. เกิดประโยชน์ และสร้ างคุณค่ าต่ อ ชุ มชน การดําเนิ นงานด้านการส่ งเสริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น ด้ า น ศิ ล ป ะ แ ล ะ วั ฒ นธร รมของ บั ณ ฑิ ตวิ ทยาลั ย ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม ง า ม ท า ง ด้ า น สภาพแวดล้อมของบัณฑิตวิทยาลัยและ เกิ ดความสุ ขแก่ บุคลากรและนักศึกษา ของบัณฑิตวิทยาลัย โดยดู ได้จากการ สํารวจความพึงพอใจของบุคลากรและ นักศึกษาในภาพรวมจะต้องไม่นอ้ ยกว่า 3.51 นอกจากนั้นการดําเนิ นการในด้าน ดังกล่ าวยังก่ อให้เกิ ดวัฒนธรรมอันดี งามแก่นกั ศึกษาของบัณฑิตวิทยาลัยใน ด้านคุ ณธรรม จริ ยธรรม การมี น้ ําใจ เสี ยสละและการมีส่วนร่ วมกับสังคม

การดําเนินงาน (มี) / (ไม่ มี)

หลักฐาน 10.5.4 รายงานการประชุมคณะกรรมการ บัณฑิตวิทยาลัย ครั้งที่ 3/2554 วาระที่ 2 เรื่ องเสนอเพื่ อ ทราบกิ จ กรรมพัฒ นา การเรี ยนการสอน ได้ แ ก่ โครงการ ประณตน้อมสักการบูรพคณาจารย์ 10.5.5 รายงานการประชุมคณะกรรมการ บัณฑิตวิทยาลัย ครั้งที่ 4/2554 วาระที่ 2 เรื่ องเสนอเพื่อทราบกิจกรรมพัฒนา การเรี ยนการสอน ได้แก่ โครงการ พี่ MBA ปั นนํ้าใจให้นอ้ งบ้านโสสะ 10.5.6 สรุ ปผลการดําเนินงานโครงการ ประณตน้อมสักการะบูรพคณาจารย์ 10.5.7 สรุ ปผลการดําเนินงานโครงการ พี่ MBA ปั นนํ้าใจให้นอ้ งบ้านโสสะ


88

การดําเนินงาน หลักฐาน (มี) / (ไม่ มี)  10.5.8 สําเนาใบประกาศเกียรติคุณ ที่ 5. ได้ รับการยกย่ องระดับชาติ ได้รับรางวัลชนะเลิศ ภาคกลางตอนล่าง และหรือนานาชาติ และภาคตะวันออก ระดับอุดมศึกษาใน จากการให้ค วามสํา คัญ คุ ณ ธรรม โครงการ “นักเรี ยน นักศึกษา กองทุนฯ และจริ ย ธรรม ทําให้นักศึ กษาบัณฑิ ต ดีเด่น ประจําปี การศึกษา 2551” ซึ่ง วิ ท ยาลัย ได้รั บ รางวัล ในปี การศึ ก ษา พิจารณาจากการมีผลการเรี ยนดี มีความ 2551 จํานวน 1 คน คือ ประพฤติเหมาะสม และตระหนักใน นายสามารถ โมราวรรณ หน้าที่การเป็ นผูก้ ยู้ มื จึงสมควรได้รับการ ยกย่องและเป็ นแบบอย่าง ประเด็น

สรุ ปผลการประเมินตัวบ่ งชี้ที่ 10 คณะบริ หารธุรกิจ คณะนิติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บัณฑิตวิทยาลัย สถาบัน

5 5 5 4 5 5

คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

เอกสารหลักฐาน 10.1.1 แผนพัฒนาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2553-2556) 10.1.2 แผนการศึกษา-ยุทธศาสตร์ เป้ าประสงค์กลยุทธ์ ตัวชี้วดั เป้ าหมายคณะบริ หารธุรกิจ ปี การศึกษา 2553-2556 10.1.3 แนวปฏิบตั ิและแผนการดําเนินงานคณะบริ หารธุรกิจ ปี การศึกษา 2553 10.1.4 คําสัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการด้านศิลปวัฒนธรรมคณะบริ หารธุรกิจ 10.1.5 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริ หารคณะบริ หารธุรกิจครั้งที่ 1-5 ปี การศึกษา 2553 10.1.6 รายงานสรุ ปผลการปฏิบตั ิงานตามแนวปฏิบตั ิและแผนการดําเนินงานคณะ บริ หารธุรกิจ ปี การศึกษา 2553 10.1.7 จุลสารศิลปะและวัฒนธรรม วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 10.1.8 แหล่งสื บค้น www.southeast.ac.th


89

10.1.9 รายงานโครงการเผยแพร่ วฒั นธรรม ท้องถิ่นบางนา ณ ตลาดนํ้าบางนํ้าผึ้ง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โดยจัดแสดงและเผยแพร่ วฒั นธรรมท้องถิ่น บางนา คือ แสดงการละเล่นพื้นบ้านสะบ้ามอญ และจัดบูธเผยแพร่ “ขนมตึงตัง ขนมเอกลักษณ์ บางนา” วันที่ 22 พฤศจิกายน 2553 10.1.10 สําเนาเกียรติคุณบัตรเยาวสตรี ไทย ดีเด่นประจําปี 2553 –นางสาวภิรญา กีรติวฒ ุ ิพร จากสภาสตรี แห่ งชาติ ในพระบรมราชินูปถัมภ์ กระทรวงยุติธรรม ฯ 10.1.11 สําเนาเกียรติคุณบัตรจากกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อแสดงว่า นางสาวภิรญา กีรติวฒ ุ ิ พร เป็ นเด็กและเยาวชนดีเด่นแห่งชาติ ประจําปี 2553 10.2.1 แผนพัฒนาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2553-2556) 10.2.2 แผนการศึกษา-ยุทธศาสตร์ เป้ าประสงค์ กลยุทธ์ ตัวชี้วดั เป้ าหมายคณะนิติศาสตร์ ปี การศึกษา 2553-2556 10.2.3 แนวปฏิบตั ิและแผนการดําเนินงานคณะนิติศาสตร์ ปี การศึกษา 2553 10.2.4 คําสัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการด้านศิลปวัฒนธรรมคณะนิติศาสตร์ 10.2.5 รายงานการประชุม คณะกรรมการคณะนิติศาสตร์ ครั้งที่ 1-4 ปี การศึกษา 2553 10.2.6 รายงานสรุ ปผลการปฏิบตั ิงานตามแนวปฏิบตั ิและแผนการดําเนินงานคณะนิติศาสตร์ ปี การศึกษา 2553 10.2.7 แหล่งสื บค้น www.southeast.ac.th 10.2.8 สําเนาใบประกาศเกียรติคุณ นายธนพร ฉายงาม 10.3.1 แผนพัฒนาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2553-2556) 10.3.2 แผนการศึกษา-ยุทธศาสตร์เป้ าประสงค์ กลยุทธ์ ตัวชี้วดั เป้ าหมายคณะศิลปศาสตร์ ปี การศึกษา 2553-2556 10.3.3 แนวปฏิบตั ิและแผนการดําเนินงาน คณะศิลปศาสตร์ ปี การศึกษา 2553 10.3.4 คําสัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการด้านศิลปวัฒนธรรมคณะศิลปศาสตร์ 10.3.5 รายงานการประชุมคณะกรรมการศิลปวัฒนธรรมคณะศิลปศาสตร์ ปี การศึกษา 2553 10.3.6 รายงานสรุ ปผลการปฏิบตั ิงานตามแนวปฏิบตั ิและแผนการดําเนินงาน คณะศิลปศาสตร์ปีการศึกษา 2553 10.3.7 รายงานการประเมินตนเอง คณะศิลปศาสตร์ ปี การศึกษา 2552-2553 10.3.8 จุลสารศิลปะและวัฒนธรรม วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก


90

10.3.9 แหล่งสื บค้นเว็บไซต์คณะศิลปศาสตร์ www.southeast.ac.th 10.3.10 โครงการฟื้ นฟู อนุรักษ์ สื บสาน เผยแพร่ วฒั นธรรมอาหารท้องถิ่นกิจกรรมกินอยูอ่ ย่าง ไทยตะลิงปลิงพืชสมุนไพรเพื่อสุ ขภาพ 10.3.11 Brochure ภาษาอังกฤษเผยแพร่ องค์ความรู ้ตะลิงปลิง พืชสมุนไพรท้องถิ่นให้กบั อบต. บางนํ้าผึ้ง เพื่อให้ความรู ้แก่นกั ท่องเที่ยวต่างชาติเรื่ องสรรพคุณและประโยชน์ของ ตะลิงปลิง 10.1.11 สําเนาใบประกาศเกียรติคุณ นางสาวธนิศา อ่วมน้อย 10.4.1 แผนพัฒนาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ระยะที่ 1 (2553 – 2556) 10.4.2 แผนยุทธศาสตร์ของคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ประจําปี การศึกษา 2553 10.4.3 แนวปฏิบตั ิและแผนการดําเนินงานคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ประจําปี การศึกษา 2553 10.4.4 รายงานการประชุมของคณะกรรมการคณะเพื่อแต่งตั้งคณะกรรมการ ดําเนินงานด้านศิลปวัฒนธรรม 10.4.5 รายงานการประชุมของคณะกรรมการด้านศิลปวัฒนธรรมของคณะฯ ในส่ วน ของการกําหนดโครงการด้านศิลปวัฒนธรรม 10.4.6 รายงานสรุ ปผลของโครงการด้านส่ งเสริ ม และทํานุบาํ รุ งศิลปวัฒนธรรม 10.4.7 เอกสารสรุ ปโครงการอบรมพัฒนาจิต ณ สวนเบญจทัศน์ 10.4.8 เอกสารสรุ ปโครงการสานฝันแบ่งปันน้อง ณ โรงเรี ยนศึกษาสงเคราะห์ จ.จันทบุรี 10.4.9 เอกสารสรุ ปโครงการ 5 ส. 10.5.1 แผนพัฒนาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2553-2556) 10.5.2 แผนยุทธศาสตร์ เป้ าประสงค์ กลยุทธ์ ตัวชี้วดั เป้ าหมายของบัณฑิตวิทยาลัย ปี การศึกษา 2553-2556 10.5.3 แนวปฏิบตั ิและแผนการดําเนินงานบัณฑิตวิทยาลัย ปี การศึกษา 2553 10.5.4 รายงานการประชุมคณะกรรมการบัณฑิตวิทยาลัย ครั้งที่ 3/2554 วาระที่ 2 เรื่ องเสนอ เพื่อทราบกิจกรรมพัฒนาการเรี ยนการสอน ได้แก่ โครงการประณตน้อมสักการะบูรพ คณาจารย์ 10.5.5 รายงานการประชุมคณะกรรมการบัณฑิตวิทยาลัย ครั้งที่ 4/2554 วาระที่ 2 เรื่ องเสนอ เพื่อทราบกิจกรรมพัฒนาการเรี ยนการสอน ได้แก่ โครงการพี่ MBA ปันนํ้าใจให้นอ้ ง บ้านโสสะ 10.5.6 สรุ ปผลการดําเนินงานโครงการประณตน้อมสักการะบูรพคณาจารย์


91

10.5.7 สรุ ปผลการดําเนินงานโครงการพี่ MBA ปั นนํ้าใจให้นอ้ งบ้านโสสะ 10.5.8 สําเนาใบประกาศเกียรติคุณ ที่ได้รับรางวัลชนะเลิศ ภาคกลางตอนล่างและภาค ตะวันออก ระดับอุดมศึกษาในโครงการ “นักเรี ยน นักศึกษา กองทุนฯ ดีเด่น ประจําปี การศึกษา 2551” ซึ่งเป็ นผูท้ ี่มีผลการเรี ยนดี มีความประพฤติเหมาะสมและตระหนักใน หน้าที่การเป็ นผูก้ ยู้ มื จึงสมควรได้รับการยกย่องและเป็ นแบบอย่าง


92

ตัวบ่ งชี้ที่ 11 การพัฒนาสุ นทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม คําอธิบาย ศิลปะและวัฒนธรรมเกี่ยวข้องกับความสุ นทรี ยแ์ ละรสนิ ยม เกิดรู ปแบบวิถีชีวิตและสังคม โดยมีลกั ษณะที่เป็ นผลวัตร มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา จําเป็ นต้องรู ้ทนั อย่างมีปัญญา โดยมีแผนในการ พัฒนาให้ความรู ้ และประสบการณ์ ดา้ นสุ นทรี ยภาพในบริ บทของศิลปะและวัฒนธรรม สามารถเลือกรั บ รักษาและสร้างให้ตนเองและสังคมอยูร่ ่ วมกันอย่างรู ้คุณค่าความงาม อย่างมีสุนทรี ยท์ ี่มีรสนิยม ผลดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยมีโครงการพัฒนาสภาพแวดล้อมและเสริ มสร้างบรรยากาศการ ทํางานหรื อ Green and Clean College ซึ่ งเป็ นโครงการที่ทุกคณะเข้าร่ วมในการดําเนิ นงานโดยแต่ละคณะ อาจจะจัดให้มีกิจกรรมย่อยๆ เพื่อตอบสนองโครงการพัฒนาสภาพแวดล้อมและเสริ มสร้างบรรยากาศการ ทํางานได้ สําหรับรายละเอียดของการดําเนิ นงานตามโครงการทั้งในระดับสถาบันและระดับคณะวิชา นั้นมีรายละเอียด ปรากฏในตารางที่ 11.1 การดําเนินงาน ประเด็นการพิจารณา หลักฐาน (มี) /  (ไม่ มี)  11.1.1. แผนยุทธศาสตร์ 1. การมี ส่ วนร่ วมของบุ ค ลกรในสถาบั น ที่ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก/ ก่อให้ เกิดวัฒนธรรมทีด่ ี แผนพัฒนาวิทยาลัยระยะที่ 1 วิ ท ย า ลั ย จั ด ใ ห้ มี โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า (พ.ศ. 2553 – 2556) สภาพแวดล้อ มและเสริ ม สร้ า งบรรยากาศการ 11.1.2 คู่มือการประกอบการ ทํางานหรื อ Green and Clean College โดยนํา ปฏิบตั ิงานกิจกรรม 5 ส. กิ จ กรรม 5 ส. มาประยุ ก ต์ ใ ช้ ป ระกอบการ ปฏิ บ ั ติ ง าน ซึ่ งโครงการดั ง กล่ า วนี้ วิ ท ยาลัย กํา หนดไว้ ใ นแผนยุ ท ธศาสตร์ ข องวิ ท ยาลั ย ยุทธศาสตร์ ที่ 1 การบริ หารจัดการและอยู่ในกล ยุ ท ธ์ ที่ 2 ก า ร พั ฒ น า ท า ง ก า ย ภ า พ แ ล ะ สภาพแวดล้อมในการทํางาน มีวตั ถุประสงค์เพื่อ พัฒนาสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการทํางาน กิ จกรรม 5 ส. ถูกกําหนดให้ใช้เป็ นแนวทาง ปฏิบตั ิงาน โดยทุกหน่วยงานภายในวิทยาลัยต้อง ดําเนินการและใช้แนวทางเดียวกัน


93

ประเด็นการพิจารณา

การดําเนินงาน (มี) /  (ไม่ มี)

กิ จกรรม 5 ส. นี้ เป็ นกิ จกรรมที่ มุ่ง เน้นการมี ส่ วนร่ วมของบุคลากรทุกภาคส่ วนของคณะและ วิ ท ยาลัย เพื่ อ ก่ อ ให้ เ กิ ด วัฒ นธรรมที่ ดี ใ นการ ทํางานร่ วมกัน น อ ก จ า ก นี้ กิ จ ก ร ร ม อื่ น ๆ ที่ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด สุ น ทรี ยภาพในมิ ติ ศิ ล ปะและวัฒ นธรรมของ วิทยาลัยนั้น ก็มุ่งเน้นการมีส่วนร่ วมของบุคลากร ทุกภาคส่ วน เช่น กิจกรรมที่เป็ นประเพณี ของชาติ หรื อของวิ ท ยาลัย บุ ค ลากรทุ ก ระดั บ รวมทั้ ง นักศึ กษา จะเข้ามามี ส่วนร่ วมในการดําเนิ นงาน เป็ นการ หล่อหลอมให้เกิ ดความรักความเข้าใจ ในวัฒนธรรม หรื อวิถีชีวิตที่ดีงามของคนไทย 2. อาคารสถานที่ สะอาดถู ก สุ ข ลั ก ษณะและ ตกแต่ งอย่ างมีความสุ นทรีย์ อาคารสถานที่ ภายในวิทยาลัยถูกออกแบบไว้ โดยเน้น การเกิ ด อรรถประโยชน์ สูง สุ ดในการใช้ งาน สภาพแวดล้อมทางกายภาพและทางชีวภาพไม่ ส่ งผลกระทบหรื อก่อมลภาวะต่อกัน

3. ปรั บแต่ งและรั กษาภู มิ ทั ศ น์ ให้ สวยงาม ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ งแวดล้ อม วิ ท ยาลัย โดยสํ า นั ก บริ การมี ฝ่ ายงานอาคาร สถานที่ – ตกแต่ ง และงานสวน/ต้น ไม้ มี ห น้า ที่ รั บ ผิ ด ชอบดู แ ลสภาพแวดล้อ มทั้ง ภายในและ ภายนอกอาคาร นอกจากนี้ วิทยาลัยยังเลือกใช้วสั ดุ ภัณฑ์ที่ไม่ทาํ ลายธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม และมี การรณรงค์การประหยัดพลังงาน เช่น นโยบายเปิ ด เครื่ องปรับอากาศ เวลา 09.00 น. และทุกครั้งที่ตวั

หลักฐาน 11.1.2 กิจกรรมประเพณี ประจําปี ของชาติ เช่น กิจกรรม ประเพณี ประณตน้อมสักการะ บูรพคณาจารย์,กิจกรรมหล่อ เทียน/แห่เทียนเข้าพรรษา, กิจกรรมรดนํ้า-ขอพรผูใ้ หญ่ใน เทศกาลสงกรานต์,กิจกรรมวัน สําคัญทางศาสนา เป็ นต้น 11.1.3 กิจกรรมประเพณี ของ วิทยาลัยเช่นกิจกรรมทําบุญ เนื่องในวันสถาปนาวิทยาลัย กิจกรรมไหว้ศาลตายาย/พระ พรหมเจ้าที่ เป็ นต้น 11.1.4 รู ปถ่ายอาคารสถานที่ ของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก

11.1.4 รู ปถ่ายอาคารสถานที่ ของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก


94

ประเด็นการพิจารณา ไปไฟต้องดับ – นํ้าต้องปิ ด เป็ นต้น 4. มีพืน้ ที่ทางวัฒนธรรมที่เอือ้ และส่ งเสริ มต่ อ การจั ด กิ จ กรรมและมี ก ารจั ด กิ จ กรรมอย่ าง สมํ่าเสมอ ภายในอาคารเฉลิ ม พระเกี ย รติ 6 รอบ พ ร ะ ช น ม พ ร ร ษ า วิ ท ย า ลั ย ไ ด้ จั ด ใ ห้ ล า น อเนกประสงค์ช้ ัน 2 เป็ นพื้นที่ ทางวัฒนธรรมและ กิจกรรมต่างๆ ซึ่ งมีการใช้พ้ืนที่ดงั กล่าวตลอดอย่าง ต่ อ เนื่ อง เช่ น กิ จ กรรมวัน เฉลิ ม พระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ และสมเด็จพระนาง เจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ กิจกรรมไหว้ครู กิจกรรม รั บ น้อ งใหม่ กิ จ กรรมรดนํ้า ดํา หั ว และกิ จ กรรม สาธิตต่างๆ เป็ นต้น ส่ วนภายในอาคารเฉลิมพระเกี ยรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา (อาคาร 12 ชั้น ) วิทยาลัย ได้จ ัด พื้นที่ โถงชั้นที่ 1 เป็ นพื้นที่ ทางวัฒนธรรมเพื่อจัด กิจกรรมต่างๆ ทางวัฒนธรรมด้วยเช่นกัน 5. ระดั บ ความพึ ง พอใจของบุ ค ลากรและ นักศึกษาไม่ ตํ่ากว่ า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 วิ ท ยาลัย มี ก ารประเมิ น ความพึ ง พอใจของ บุคลากรและนักศึกษาที่มีต่อการพัฒนาสุ นทรี ยภาพ ในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรมของวิทยาลัย โดยมีผลการประเมิน 4.35 จากคะแนนเต็ม 5

การดําเนินงาน (มี) /  (ไม่ มี) 

หลักฐาน 11.1.4 รู ปถ่ายอาคารสถานที่ ของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก

11.1.5 รายงานโครงการ สํารวจความพึงพอใจการ พัฒนาสุ นทรี ยภาพในมิติทาง ศิลปะและวัฒนธรรม (สํานักวิจยั )


95

สรุปผลการประเมินตัวบ่ งชี้ที่ 11 คณะบริ หารธุรกิจ

5 คะแนน

คณะนิติศาสตร์

5 คะแนน

คณะศิลปศาสตร์

5 คะแนน

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

5 คะแนน

บัณฑิตวิทยาลัย

5 คะแนน

สถาบัน

5 คะแนน

เอกสารหลักฐาน 11.1.1 แผนยุทธศาสตร์วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก/แผนพัฒนาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2553 – 2556) 11.1.2 คู่มือประกอบการปฏิบตั ิงานกิจกรรม 5 ส. 11.1.3 รู ปถ่ายอาคารสถานที่ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 11.1.4 รู ปถ่ายการใช้พ้นื ที่จดั กิจกรรมทางวัฒนธรรมของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 11.1.5 รายงานโครงการสํารวจความพึงพอใจการพัฒนาสุ นทรี ยภาพในมิติทางศิลปะและ วัฒนธรรม (สํานักวิจยั )


96

ตัวบ่ งชี้ที่ 12 การปฏิบัติตามบทบาทหน้ าทีข่ องสภาสถาบัน คําอธิบาย สภาสถาบันอุดมศึกษาถือเป็ นองค์กรหลักของสถาบันที่ตอ้ งมีบทบาทสําคัญในการกําหนด นโยบาย กรอบทิ ศ ทางการดํา เนิ น งานตามอัต ลัก ษณ์ ข องสถาบัน อุ ด มศึ ก ษา กํา หนดระบบกลไกและ กระบวนการที่เป็ นรู ปธรรมในการบริ หารจัดการ เพื่อให้เกิดการกํากับดูแลและขับเคลื่อนสถาบันอุดมศึกษา รวมทั้งการควบคุมและตรวจสอบการดําเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาให้เกิดประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผลและ การพัฒนาสถาบันอย่างยัง่ ยืน การประเมินผลความสําเร็ จในการปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ของสภาสถาบันจะมุ่งเน้นการ ประเมินคุณภาพในการกําหนดทิศทางกํากับดูแลและขับเคลื่อนการดําเนิ นงานของสถาบันอุดมศึกษาตาม หน้าที่ และบทบาทของสถาบัน การบริ หารและการจัดการตามหลักธรรมาภิบาล การดําเนิ นงานตามมติการ ประชุมสภาสถาบันอุดมศึกษา ผลการดําเนินงาน สภาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก มีอาํ นาจและหน้าที่ในการควบคุมดูแลกิจการของวิทยาลัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการกําหนดทิศทาง กํากับนโยบายเกี่ ยวกับ การผลิตบัณฑิต การวิจยั การให้บริ การทาง วิชาการแก่สังคม การทํานุ บาํ รุ งศิลปวัฒนธรรม การเงินและทรัพย์สิน การออกระเบียบและข้อบังคับต่างๆ โดยมีรายนามกรรมการสภาวิทยาลัยชุดปัจจุบนั ดังนี้ 1. นายชนะ รุ่ งแสง นายกสภาวิทยาลัย 2. ศาสตราจารย์ ดร.วรภัทร โตธนเกษม อุปนายกสภาวิทยาลัย 3. ศาสตรจารย์เกียรติคุณ ดร.ไพบูลย์ ช่างเรี ยน กรรมการสภาวิทยาลัย 4. รองศาสตราจารย์ นาวาเอกยุทธนา ตระหง่าน กรรมการสภาวิทยาลัย 5. รองศาสตราจารย์ ดร.เอกชัย แสงอินทร์ กรรมการสภาวิทยาลัย 6. รองศาสตราจารย์ ดร.ทศพร ศิริสมั พันธ์ กรรมการสภาวิทยาลัย 7. รองศาสตราจารย์วิรัช สงวนวงศ์วาน กรรมการสภาวิทยาลัย 8. นาย เชนทร์ วิพฒั น์บวรวงศ์ กรรมการสภาวิทยาลัย 9. ดร. เซ็น แก้วยศ กรรมการสภาวิทยาลัย 10. ดร.ณัฐรัตน์ ประโยชน์อุดมกิจ กรรมการสภาวิทยาลัย 11. ดร. ฉันทวิทย์ สุ ชาตานนท์ กรรมการสภาวิทยาลัย 12. ดร.สมศักดิ์ รุ่ งเรื อง กรรมการสภาวิทยาลัย 13. ดร.ทิวา พงษ์ธนไพบูลย์ กรรมการสภาวิทยาลัย 14. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วัลยา ชูประดิษฐ์ กรรมการสภาวิทยาลัย 15. นางสุ ณี ทิพย์เกษร เลขานุการ


97

สภาวิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน ที่ครอบคลุม 5 ประเด็น ได้แก่ 1. การปฏิบตั ิตามอํานาจหน้าที่ของสภาวิทยาลัย 2. การกําหนดทิศทาง กํากับนโยบาย ระเบียบ และข้อบังคับ 3. การปฏิบตั ิตามกฏ ระเบียบ ข้อบังคับของต้นสังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. การกํากับ ติดตาม การดําเนินงานของอธิการบดี 5. การบริ หารงานด้วยหลักธรรมาภิบาล โดยสภาวิทยาลัยได้ประเมินผลการดําเนิ นงาน โดยใช้แบบประเมินตนเอง ซึ่ งผ่านความ เห็นชอบจากคณะกรรมการสภา ในการประชุมวิทยาลัยครั้งที่ 2/2553 เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2554 คะแนนการประเมินผลการดําเนินงานของสภาวิทยาลัย เท่ากับ 4.65 คะแนน


98

สําหรับตัวอย่าง ประเด็นการดําเนินงานของสภาวิทยาลัย ที่ครอบคลุม 5 ประเด็น มีรายละเอียด ดังนี้ 1. การปฏิบัติตามอํานาจหน้ าที่ของสภาวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546 แก้ ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 เช่น (1) การอนุ มตั ิแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กลุ่มสาขาบริ หารธุ รกิจ และกลุ่มสาขามนุ ษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ (การประชุมสภาวิทยาลัยครั้งที่ 1/2552) (2) การอนุ ม ัติ แ ผนการเงิ น งบดุ ล งบการเงิ น ประเภทต่ า งๆการจัด สรรทุ น ออกเป็ นกองทุ น ประเภทต่างๆ (การประชุมสภาวิทยาลัย ครั้งที่ 3/2551 , ครั้งที่ 3/2552 , ครั้งที่ 3/2553) (3) การอนุ มตั ิหลักสู ตรและการปรับปรุ งหลักสู ตร (การประชุมสภาวิทยาลัย ครั้งที่ 1/2551 , ครั้งที่ 3/2553) (4) การอนุมตั ิการให้ปริ ญญากิตติมศักดิ์แก่ผทู ้ รงคุณวุฒิ (การประชุมสภาวิทยาลัย ครั้งที่ 3/2551 , ครั้งที่ 4/2552 , ครั้งที่ 4/2553) เป็ นต้น 2. การกําหนดทิศทาง กํากับนโยบาย ระเบียบ และข้ อบังคับ เช่น (1) การกํากับนโยบายด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่ งปรากฏอยูใ่ นรายงานการประชุม สภาวิทยาลัย ทุกครั้ง (การประชุมสภาวิทยาลัย ครั้งที่1/2552 , 2/2552 , 3/2552 , 4/2552 , 1/2553 , 2/2553 , 3/2553, 4/2553) (2) การกํา กับ ดู แ ลการจัด การศึ ก ษาให้ เ ป็ นไปตามประกาศของกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร (การประชุมสภาวิทยาลัย ครั้งที่ 1/2553) เป็ นต้น 3. การปฏิบัติตามกฏ ระเบียบ ข้ อบังคับของต้ นสั งกัดและหน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้ อง เช่น (1) การปฏิ บตั ิ ตามประกาศกระทรวงศึ ก ษาธิ การ เรื่ อง มาตรฐานคุ ณวุฒิระดับอุ ดมศึ กษา พ.ศ. 2552 ซึ่ งใช้ในการปรับปรุ งหลักสู ตรใหม่ทุกหลักสู ตรที่จะใช้ในปี การศึกษา 2555 (การประชุมสภาวิทยาลัย ครั้งที่ 3/2552) (2) การปฏิบตั ิตามระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษา ว่าด้วย มาตรฐานหลักเกณฑ์และ วิ ธี ก ารแต่ ง ตั้ง คณาจารย์ใ นสถาบัน อุ ด มศึ ก ษาเอกชนให้ ด ํา รงตํา แหน่ ง ทางวิ ช าการ (การประชุมสภาวิทยาลัย ครั้งที่ 4/2551 , 4/2552) เป็ นต้น


99

4. การกํากับ ติดตาม การดําเนินงานของอธิการบดี สภาวิทยาลัย ในการประชุ มครั้ งที่ 2/2554 ได้อนุ มตั ิในหลักการ เรื่ อง ข้อบังคับ วิทยาลัย เซาธ์ อี ส ท์บ างกอก ว่ า ด้ว ย การประเมิ น ผลการปฏิ บ ัติ ง านของอธิ ก ารบดี (การประชุ ม สภาวิ ท ยาลัย ครั้งที่ 4/2551, 4/2552) ส่ วนการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของอธิ การบดี ในการศึกษา 2553 ยังคงใช้แบบประเมิน เดิม ตามมติของสภาวิทยาลัย ในการประชุม ครั้งที่ 3 / 2554 5. การบริหารงานด้ วยหลักธรรมาภิบาล เช่น (1) การให้ ค วามสํา คัญ ของการบริ ห ารด้ว ยหลัก ธรรมาภิ บ าล (การประชุ ม สภาวิ ท ยาลัย ครั้งที่ 3/2553) (2) การส่ งเสริ มด้านความรับผิดชอบต่อการปฏิบตั ิหน้าที่ของสภาวิทยาลัย (การประชุ มสภา วิทยาลัยครั้งที่ 2/2553) เป็ นต้น สรุ ปผลการประเมินตัวบ่ งชี้ที่ 12 คณะไม่ประเมินในตัวบ่งชี้น้ ี สถาบัน

4.65 คะแนน

เอกสารหลักฐาน 1. แบบประเมินผลการดําเนินงานของสภาวิทยาลัย 2. รายงานการประชุมคณะกรรมการสภา ปี 2551 3. รายงานการประชุมคณะกรรมการสภา ปี 2552 4. รายงานการประชุมคณะกรรมการสภา ปี 2553


100

ตัวบ่ งชี้ที่ 13 การปฏิบัติตามบทบาทหน้ าทีข่ องผู้บริหารสถาบัน คําอธิบาย การประเมิ น ผลตามหน้า ที่ แ ละบทบาทของผูบ้ ริ ห ารในการบริ ห ารและการจัด การให้ บรรลุผลสําเร็ จตามแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบตั ิงานประจําปี ของสถาบันอุดมศึกษา จะมุ่งเน้นการประเมิน คุณภาพของการบริ หารงานตามนโยบายของสภาสถาบันอุดมศึกษา ประสิ ทธิ ผลของแผนปฏิบตั ิการประจําปี ความสามารถในการบริ หารและการจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ผลการดําเนิน การประเมินผลการปฏิบตั ิงานของผูบ้ ริ หารสถาบัน (อธิการบดี) สภาวิทยาลัยได้แต่งตั้ง กรรมการสภา เพื่อทําหน้าที่ประเมินผลการปฏิบตั ิงานของอธิการบดีในรอบปี การศึกษา 2553 สําหรับการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของผูบ้ ริ หารคณะ (คณบดี) อธิการบดีมีคาํ สัง่ แต่งตั้ง คณะกรรมการ เพื่อประเมินผลการปฏิบตั ิงานของคณบดี เมื่อคณะกรรมการประเมินผลการปฏิบตั ิงานแล้ว จึง เสนออธิการบดี เพื่อพิจารณาอนุมตั ิผลการประเมินต่อไป รายละเอียดและคะแนนการประเมิน ปรากฏใน ตารางที่ 13.1 ตารางที่ 13.1 ผลการประเมินการปฏิบตั ิงานของคณบดีและอธิการบดี คณะ/สถาบัน

คะแนน

คณบดีคณะบริ หารธุรกิจ

4.25

คณบดีคณะนิติศาสตร์

4.20

คณบดีคณะศิลปศาสตร์

4.44

คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

4.39

คณบดีบณั ฑิตวิทยาลัย อธิการบดีวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก

4.25


101

สรุปผลการประเมินตัวบ่ งชี้ที่ 13 คณะบริ หารธุรกิจ

4.25 คะแนน

คณะนิติศาสตร์

4.20 คะแนน

คณะศิลปศาสตร์

4.44 คะแนน

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

4.39 คะแนน

บัณฑิตวิทยาลัย

4.25 คะแนน

สถาบัน

คะแนน

รายการหลักฐาน 13.1 รายงานการประเมิ น ตนเอง และรายงานการประเมิ น ผลการปฏิ บ ัติ ง านของคณบดี คณะบริ หารธุรกิจ ปี การศึกษา 2553 13.2 รายงานการประเมิ น ตนเอง และรายงานการประเมิ น ผลการปฏิ บ ัติ ง านของคณบดี คณะนิติศาสตร์ ปี การศึกษา 2553 13.3 รายงานการประเมิ น ตนเอง และรายงานการประเมิ น ผลการปฏิ บ ัติ ง านของคณบดี คณะศิลปศาสตร์ ปี การศึกษา 2553 13.4 รายงานการประเมิ น ตนเอง และรายงานการประเมิ น ผลการปฏิ บ ัติ ง านของคณบดี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปี การศึกษา 2553 13.5 รายงานการประเมิ น ตนเอง และรายงานการประเมิ น ผลการปฏิ บ ัติ ง านของคณบดี บัณฑิตวิทยาลัย ปี การศึกษา 2553 13.6 รายงานการประเมิ น ตนเอง และรายงานการประเมิ น ผลการปฏิ บ ัติ ง านของอธิ ก ารบดี ปี การศึกษา 2553


102

ตัวบ่ งชี้ที่ 14 การพัฒนาคณาจารย์ คําอธิบาย คุณภาพของคณาจารย์เป็ นปั จจัยสําคัญที่ส่งผลต่อคุณภาพของผูเ้ รี ยน รวมทั้งจากความสําเร็ จ ของสถาบันในการส่ งเสริ ม สนับสนุ นการพัฒนาคุณภาพอาจารย์ เพื่อให้อาจารย์ติดตามความก้าวหน้าทาง วิชาการอย่างต่อเนื่ อง อันจะทําให้สถาบันสามารถแข่งขันได้ในระดับสากล คุณภาพคณาจารย์พิจารณาจาก คุณวุฒิและตําแหน่งทางวิชาการ ผลการดําเนินงาน การดําเนิ นงาน การพัฒนาคณาจารย์ ของวิทยาลัยในปี การศึกษา 2553 มีรายละเอียด ปรากฏ ในตารางที่ 14.1 ตารางที่ 14.1 คุณวุฒิและตําแหน่งทางวิชาการ จําแนกตามคณะวิชาต่างๆ อาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ คณะ รวม ป.เอก ป.โท ป.ตรี ป.เอก ป.โท ป.เอก ป.โท คณะบริ หารธุรกิจ 5 46 1 52 คณะนิติศาสตร์ 1 4 5 คณะศิลปศาสตร์ 1 4 1 6 คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ 4 1 5 เทคโนโลยี บัณฑิตวิทยาลัย 9 3 1 1 1 15 รวม 16 61 1 2 1 2 83 เกณฑ์ การพิจารณา กําหนดค่ านํา้ หนักระดับคุณภาพอาจารย์ ดังนี้ ตําแหน่ งทางวิชาการ / วุฒิการศึกษา อาจารย์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

0 1 3 6

2 3 5 8

5 6 8 10


103

ค่ าดัชนีคุณภาพอาจารย์ คํานวณได้ ดังนี้

=

ผลรวมถ่วงนํ้าหนักของอาจารย์ประจํา จํานวนอาจารย์ประจําทั้งหมด

(5 x 5) + (46 x 2) +(1 x 5) 52 122 = 52 = 2.35 เทียบค่าดัชนีคุณภาพอาจารย์ เป็ น 6 เท่ากับ 5 คะแนน 5 × 2.35 ผล 2.35 = 6 = 1.96

คณะบริ หารธุกิจ

(1 x 5) + (4 x 2) 5 13 = 5 = 2.6 เทียบค่าดัชนีคุณภาพอาจารย์ เป็ น 6 เท่ากับ 5 คะแนน 5 ผล 2.6 = × 2.6 6 = 2.17

คณะนิติศาสตร์


104

(1 x 5) + (4 x 2) + (1 x 0) คณะศิลปศาสตร์ 6 13 = 6 = 2.17 เทียบค่าดัชนีคุณภาพอาจารย์ เป็ น 6 เท่ากับ 5 คะแนน 5 ผล 2.17 = × 2.17 6 = 1.81

(1 x 6) + (4 x 2) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5 14 = 5 = 2.80 เทียบค่าดัชนีคุณภาพอาจารย์ เป็ น 6 เท่ากับ 5 คะแนน 5 ผล 2.80 = × 2.80 6 = 2.33

คณะบัณฑิตวิทยาลัย

(9 x 5) + (3 x 2) + (1 x 6) + (1 x 8) + (1 x 5) 15

70 15 = 4.67 เทียบค่าดัชนีคุณภาพอาจารย์ เป็ น 6 เท่ากับ 5 คะแนน 5 x 4.67 ผล 4.67 = 6 = 3.89 =


105

(16 x 5) + (61 x 2) + (1 x 0) + (2 x 6) + (1 x 8) + (2 x 5) 83 232 = 83 = 2. 80 เทียบค่าดัชนีคุณภาพอาจารย์ เป็ น 6 เท่ากับ 5 คะแนน 5 ผล 2. 80 = x 2. 80 6 = 2.33

สถาบัน

สรุปผลการประเมินตัวบ่ งชี้ที่ 14 คณะบริ หารธุรกิจ

1.96 คะแนน

คณะนิติศาสตร์

2.17 คะแนน

คณะศิลปศาสตร์

1.81 คะแนน

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

2.33 คะแนน

บัณฑิตวิทยาลัย

3.89 คะแนน

สถาบัน

2.33 คะแนน

เอกสารหลักฐาน 14.1 ข้อมูลจํานวนบุคลากรประจําวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ปี การศึกษา 2553


106

ตัวบ่ งชี้ที่ 15 ผลการประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยต้ นสั งกัด คําอธิบาย ตามกฏกระทรวงว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 ระบุไว้ ว่า “ให้หน่ วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษาจัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา นั้นอย่างน้อยหนึ่ งครั้งในทุกสามปี และแจ้งผลให้สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาทราบ รวมทั้งเปิ ดเผยผลการ ติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาต่อสาธารณชน” ทั้งนี้ สถานศึกษาจะดําเนิ นการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในที่ครอบคลุมตัวบ่งชี้ที่สาํ นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาหรื อต้นสังกัดกําหนด โดยจะเป็ นตัวบ่งชี้ ที่เน้นด้านปั จจัยนําเข้าและกระบวนการ ซึ่ งผลการประเมินการประกันคุณภาพภายในโดยต้นสังกัดนี้ จะเป็ น คะแนนที่ ส ามารถสะท้อ นประสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ลของคุ ณ ภาพการดํา เนิ น งานด้า นต่ า งๆ ของ สถาบันอุดมศึกษาได้ ดังนั้น ในการประเมินตัวบ่งชี้ จะใช้ค่าเฉลี่ยคะแนนประเมินการประกันคุณภาพภายใน โดยต้นสังกัดโดยไม่ตอ้ งทําการประเมินใหม่ ผลดําเนินงาน คะแนนการประกันคุณภาพภายในของคณะและสถาบัน รับรองโดยต้นสังกัด มีรายละเอียดดังนี้ สรุ ปผลการประเมินตัวบ่ งชี้ที่ 15 คณะบริ หารธุรกิจ คณะนิติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บัณฑิตวิทยาลัย สถาบัน

4.44 4.26 4.23 4.10 4.25 4.52

คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

เอกสารหลักฐาน 15.1.1 รายงานการประเมินตนเอง (SAR) คณะบริ หารธุรกิจ ปี การศึกษา 2553 15.1.2 รายงานการประเมินตนเอง (SAR) คณะนิติศาสตร์ ปี การศึกษา 2553 15.1.3 รายงานการประเมินตนเอง (SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปี การศึกษา 2553 15.1.4 รายงานการประเมินตนเอง (SAR) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปี การศึกษา 2553 15.1.5 รายงานการประเมินตนเอง (SAR) บัณฑิตวิทยาลัย ปี การศึกษา 2553 15.1.6 รายงานการประเมินตนเอง (SAR) วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ปี การศึกษา 2553


107

ตัวบ่ งชี้ที่ 16 ผลการพัฒนาตามอัตลักษณ์ ของสถาบัน คําอธิบาย สถาบันอุดมศึกษา มีพนั ธกิจในการผลิตและพัฒนากําลังคนระดับกลางและระดับสู ง การ วิจยั เพื่อสร้างและพัฒนาองค์ความรู ้ การบริ การวิชาการแก่สังคมและการทํานุบาํ รุ งศิลปวัฒนธรรม การจัดตั้ง สถาบันอุดมศึกษาจึ งหลากหลายตามวัตถุประสงค์ของสถาบัน นําไปสู่ การกําหนดเป้ าหมายและแผนการ ปฏิบตั ิงาน รวมทั้งแผนพัฒนาคุณภาพของสถาบันแต่ละแห่งที่จะสร้างองค์ความรู ้ให้สอดคล้องตามอัตลักษณ์ และวัตถุประสงค์ ตัวบ่ งชี้ที่ 16.1 ผลการบริ หารสถาบันให้เกิดอัตลักษณ์ การบริ หารวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก เพื่อให้เกิดอัตลักษณ์ “ความรู ้ คู่คุณธรรม สร้างสรรค์ สังคม” นั้น วิทยาลัยดําเนินการตามรายละเอียดที่ปรากฏในตารางที่ 16.1 ตารางที่ 16.1 ผลการบริ หารสถาบัน ให้เกิดอัตลักษณ์ การดําเนินงาน ประเด็น หลักฐาน (มี) / (ไม่ มี)  16.1.1 แผนพัฒนาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์ 1. มีการกําหนดกลยุทธ์ และแผนการปฏิบตั งิ าน บางกอก ระยะที่ 1 ทีส่ อดคล้ องกับอัตลักษณ์ ของสถาบัน (พ.ศ. 2553 – 2556) วิทยาลัย ได้จ ัดประชุ มเพื่อค้น หาอัต ลัก ษณ์ ของสถาบันทั้งจากการประชุมหารื อ ขอความเห็น อย่างไม่เป็ นทางการและเป็ นทางการในส่ วนงาน ประชุมประกันคุณภาพ การประชุมผูบ้ ริ หาร เป็ น ต้น จนถึงการประชุมซึ่ งมีอธิ การบดีเป็ นประธาน โดยมีคณบดี หัวหน้าสาขาวิชา ผูอ้ าํ นวยการสํานัก ต่ า งๆ เข้า ประชุ ม เรื่ อ ง การค้น หาและกํา หนด อัตลักษณ์ ของสถาบันซึ่ งอัตลักษณ์ ของวิทยาลัย เซาธ์ อี ส ท์ บ างกอก คื อ "ความรู ้ คู่ คุ ณ ธรรม สร้างสรรค์สงั คม” และได้มีการกําหนดกลยุทธ์และแผนปฏิบตั ิงาน เพื่อให้สอดคล้องกับอัตลักษณ์ ของสถาบันโดย กําหนดให้


108

ประเด็น 1. ความรู้ วิ ท ยาลัย กํา หนดตัว ชี้ ว ดั ที่ ใ ช้คื อ ภาวะการมีงานทําของบัณฑิต การสั ง เคราะห์ ผล เพื่ อ วิ ท ยาลัย จะได้ มุ่ ง เน้ น การผลิ ต บั ณ ฑิ ต ที่ มี ค วามสามารถใน สาขาวิชาที่ เรี ยน มี ทกั ษะ มี คุณสมบัติตามความ ต้องการของผูใ้ ช้บณั ฑิต 2. คุณธรรม วิทยาลัยกําหนดตัวชี้วดั ที่ใช้ คือ ความพึงพอใจของผูป้ ระกอบการ การสั งเคราะห์ ผล เพื่อวิทยาลัยจะได้ผลิต บัณฑิ ตที่ มีทกั ษะในการประกอบอาชี พการงาน และมีทกั ษะในการดําเนิ นชี วิต มีปัจจัยคํ้าจุนการ

การดําเนินงาน (มี) / (ไม่ มี)

หลักฐาน 16.1.2 รายงานการวิจยั เรื่ อง ภาวะการมีงานทําหรื อประกอบอาชีพ ของนักศึกษาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก ปี การศึกษา 2552 – 2553 (สํานักวิจยั ) 16.1.3 รายงานวิจยั เรื่ อง คุณลักษณะ ของบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามความ ต้องการของผูป้ ระกอบการ ปี การศึกษา 2552 – 2553 (สํานักวิจยั )

ดําเนินชีวิตภายนอกสถานศึกษาได้ 3. สร้ างสรรค์ สังคม วิทยาลัยกําหนดตัวชี้วดั ที่ใช้ คือ ความพึงพอใจของผูป้ ระกอบการ และ โครงการบริ ก ารวิ ช าการสู่ สั ง คม และกิ จ กรรม นั ก ศึ ก ษาที่ ล งสู่ สั ง คม การสร้ า งสรรค์ สั ง คม หมายถึง การเป็ นบุคลากรที่มีคุณค่าต่อองค์กร ต่อ หน่วยงานนายจ้างมีความพึงพอใจ การสั งเคราะห์ ผล เพื่อวิทยาลัยจะได้ผลิต บัณ ฑิ ต ให้ มี ท ัก ษะชี วิ ต มี กิ จ กรรมนั ก ศึ ก ษาที่ เสริ มสร้างให้นกั ศึกษาดําเนินตนอยูใ่ นสังคม และ มีส่วนร่ วมในการพัฒนา สร้างสรรค์สังคมทั้งใน ระดับหน่วยงาน องค์กร และระดับชาติ การดํา เนิ น การค้น หา กํา หนดอัต ลัก ษณ์ การกํ า หนดกลยุ ท ธ์ และแผนปฏิ บ ั ติ ง านที่ สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของวิทยาลัยได้ผา่ นความ เห็นชอบจากสภาวิทยาลัยแล้ว

16.1.4 -รายงานการประชุมสภา วิทยาลัยครั้งที่ 5/2553 วันที่ 15 ธันวาคม 2553 -รายงานการประชุมสภา วิทยาลัยครั้งที่ 1/2554 วันที่ 26 เมษายน 2554


109

ประเด็น 2. มีการสร้ างระบบการมีส่วนร่ วมของผู้เรียน และบุคลากรในการปฏิบตั ติ ามกลยุทธ์ ทกี่ าํ หนด อย่ างครบถ้ วนสมบูรณ์ วิ ท ยาลั ย ได้ จ ั ด ทํา แผนยุ ท ธศาสตร์ และ แผนพัฒนาวิทยาลัย ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2553 – 2556) โดยกําหนดกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของ สถาบันและครอบคลุมพันธกิจหลักทั้ง 4 ด้าน คือ การผลิตบัณฑิต การวิจยั การบริ การทางวิชาการ แก่สังคม และการทํานุ บาํ รุ งศิลปวัฒนธรรม ทั้งนี้ โดยมุ่งเน้นบุคลากรและผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ พันธกิจด้ านการผลิตบัณฑิต วิทยาลัยสร้าง และส่ งเสริ มหลักสูตรสหกิจศึกษาและการฝึ กงาน เพื่อพัฒนาประสบการณ์จริ ง เป็ นการเตรี ยมความ พร้อมก่อนสู่ โลกแห่ งการทํางาน พันธกิจด้ านการวิจัย วิทยาลัยส่ งเสริ มและ สนับสนุ น ให้อาจารย์ผลิ ตและสร้ า งผลงานวิจ ัย เพื่ อ นํา ผลงานวิ จ ัย ไปใช้ป ระโยชน์ ใ นการเรี ย น การสอนสร้างองค์ความรู ้ใหม่แก่นกั ศึกษา พันธกิจด้ านการบริการทางวิชาการแก่ สังคม วิ ท ยาลัย สร้ า งระบบและกลไกการบริ ก ารทาง วิ ช าการ เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพด้า นการบริ ก าร วิชาการและการเรี ยนการสอน นักศึกษาสามารถ นํา ความรู ้ ไ ปเผยแพร่ สู่ สั ง คมชุ ม ชนได้ สั ง คม/ ชุมชนได้นาํ ความรู ้ต่อยอดพัฒนาชุมชนต่อไป พัน ธกิจด้ า นการทํ า นุ บํ า รุ ง ศิ ล ปวัฒ นธรรม วิ ท ยาลัย สร้ า งระบบและกลไกการทํา นุ บ ํา รุ ง ศิ ล ปวัฒ นธรรม เพื่ อ การอนุ รั ก ษ์ พ ัฒ นาและ เผยแพร่ ศิ ล ปวัฒ นธรรมท้อ งถิ่ น และนํ า องค์ ความรู ้จากกิจกรรมศิลปวัฒนธรรมสู่ กระบวนการ

การดําเนินงาน (มี) / (ไม่ มี)

หลักฐาน 16.1.1 แผนพัฒนาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2553 – 2556)


110

ประเด็น

การดําเนินงาน (มี) / (ไม่ มี)

หลักฐาน

เรี ยนรู ้ พัฒนากิ จกรรมนอกชั้นเรี ยน เพื่อปลูกฝั ง คุณธรรม จริ ยธรรม จิตสาธารณะ 3. ผลการประเมินความเห็นของบุคลากร เกีย่ วกับการปฏิบัตงิ านของสถาบันทีส่ อดคล้อง กับอัตลักษณ์ โดยมีผลการประเมินไม่ ตํ่ากว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 วิ ท ยาลัย ได้ จ ั ด ทํา โครงการสํ า รวจความ คิดเห็ นของบุคลากรเกี่ ยวกับการปฏิ บตั ิงานของ สถาบัน ที่ ส อดคล้อ งกับ อัตลัก ษณ์ โดยมี ผลการ ประเมิน 3.98 จากคะแนนเต็ม 5 4. ผลการดําเนินงานก่ อให้ เกิดผลกระทบทีเ่ ป็ น ประโยชน์ และ/หรือสร้ างคุณค่ าต่ อสั งคม จากการดํา เนิ น การตามกรอบอัต ลัก ษณ์ “ความรู ้ คู่คุณธรรม สร้างสรรค์สังคม” ซึ่ งทําให้ บัณฑิตของวิทยาลัยมีทกั ษะในการประกอบอาชีพ มีคุณธรรม และร่ วมในการสร้างสรรค์องค์กร ทั้ง ในระดับหน่วยงาน จนกระทัง่ ถึงระดับสังคมเป็ น ที่ยอมรับของสังคมรวมทั้งการที่ วิทยาลัยมุ่งเน้น การจัดการให้บริ การทางวิชาการแก่ ชุมชนอย่าง ต่ อ เนื่ อ ง และเปิ ดโอกาสให้ ชุ ม ชน/ท้ อ งถิ่ น สามารถใช้ ท รั พยากรของวิ ท ยาลั ย ในการ สร้างสรรค์กิจกรรมต่างๆ เพื่อสังคม/ชุมชนได้

16.1.5 รายงานโครงการสํารวจความ พึงพอใจของบุคลากรเกี่ยวกับการ พัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผล สะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของวิทยาลัย เซาธ์อีสท์บางกอก (สํานักวิจยั )

16.1.6 โครงการบริ การวิชาการแก่ ชุมชน/สังคม (คณะ)


111

ประเด็น 5. ได้ รับการยกย่ องชมเชยในระดับชาติและ/ หรือนานาชาติในประเด็นทีเ่ กีย่ วกับอัตลักษณ์ วิทยาลัยมีนกั ศึกษาที่ได้รับการยกย่องชมเชย ประกาศเกี ยรติ คุณด้านคุ ณธรรม จริ ยธรรม โดย หน่ ว ยงานหรื อ องค์ก รระดับ ชาติ จํา นวน 4 คน ดังนี้ 1. นายสามารถ โมราวรรณ 2. นางสาวภิรญา กีรติวุฒิพร 3. นายธนพร ฉายงาม 4. นางสาวธนิศา อ่ วมน้ อย

การดําเนินงาน หลักฐาน (มี) / (ไม่ มี)  16.1.7 สรุ ปรายชื่อนักศึกษาที่ได้รับ รางวัลประกาศเกียรติคุณ

สรุ ปผลการประเมินตัวบ่ งชี้ที่ 16.1 คณะดําเนินการร่ วมกับสถาบันใช้ผลระดับสถาบัน สถาบัน

5 คะแนน เอกสารหลักฐาน 16.1.1 แผนพัฒนาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2553 – 2556) 16.1.2 รายงานการวิจยั เรื่ อง ภาวะการมีงานทําหรื อประกอบอาชีพของนักศึกษาวิทยาลัย เซาธ์อีสท์บางกอก ปี การศึกษา 2552 – 2553 (สํานักวิจยั ) 16.1.3 รายงานวิ จ ัย เรื่ อง คุ ณ ลัก ษณะของบัณ ฑิ ต ที่ พึ ง ประสงค์ต ามความต้อ งการของ ผูป้ ระกอบการ ปี การศึกษา 2552 – 2553 (สํานักวิจยั ) 16.1.4 รายงานการประชุมสภาวิทยาลัยครั้งที่ 5/2553 วันที่ 15 ธันวาคม 2553 รายงานการประชุมสภาวิทยาลัยครั้งที่ 1/2554 วันที่ 26 เมษายน 2554 16.1.5 รายงานโครงการสํารวจความพึงพอใจของบุคลากรเกี่ยวกับการพัฒนาตามจุดเน้นและ จุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก (สํานักวิจยั ) 16.1.6 โครงการบริ การวิชาการแก่ชุมชน/สังคม (คณะ) 16.1.7 สรุ ปรายชื่อนักศึกษาที่ได้รับรางวัลประกาศเกียรติคุณ


112

ตัวบ่ งชี้ที่ 16.2 ผลการพัฒนาบัณฑิตตาม(อัตลักษณ์ ) คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ คําอธิบาย สถาบันอุดมศึกษา มีพนั ธกิจในการผลิตและพัฒนากําลังคนระดับกลางและระดับสู ง การวิจยั เพื่อสร้างและพัฒนาองค์ความรู ้ การบริ การวิชาการแก่สังคม และการทํานุ บาํ รุ งศิลปวัฒนธรรม นําไปสู่ การ กําหนดเป้ าหมายและแผนปฏิบตั ิงาน รวมทั้งแผนพัฒนาคุณภาพของสถาบัน แต่ละแห่ งที่จะสร้างองค์ความรู ้ ให้สอดคล้องตามอัตลักษณ์และวัตถุประสงค์ ผลการดําเนินงาน ในปี การศึกษา 2553 วิทยาลัยไม่ได้ประเมินผลการพัฒนาบัณฑิตวิทยาลัยตามอัตลักษณ์ โดย วิทยาลัยได้ใช้แบบประเมินคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ของวิทยาลัยและตามความต้องการของผูใ้ ช้ บัณฑิตครบทุกหลักสู ตรในระดับปริ ญญาตรี โดยครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน คือ 1. ด้านความรู ้ความชํานาญในศาสตร์หรื อสาขาวิชา 2. ด้านความรู ้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 3. ด้านความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่ อสาร 4. ด้านความมีคุณธรรมจริ ยธรรมตลอดจนความเป็ นไทย สําหรับในหลักสู ตรบัณฑิตศึกษานั้น บัณฑิตวิทยาลัยได้ดาํ เนิ นการสํารวจความพึงพอใจของ ผูป้ ระกอบการที่มีต่อมหาบัณฑิตที่สาํ เร็ จการศึกษา ในปี การศึกษา 2553 ครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน คือ 1.ด้านความรู ้ความสามารถและทักษะวิชาชีพ 2.ด้านความรู ้ความสามารถพิเศษ 3.ด้านบุคลิกภาพ 4.ด้านคุณธรรม จริ ยธรรมและการมีวินยั วิธีการคํานวณ =

ผลรวมของค่าคะแนนที่ได้จากการประเมินบัณฑิต จํานวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด


113

1,185 246 = 4.82 ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิต (คะแนนเต็ม 5)

คณะบริ หารธุรกิจ =

=

4.82

คะแนน

63 13 = 4.85 ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิต (คะแนนเต็ม 5) = 4.85 คะแนน

คณะนิติศาสตร์ =

30 6 = 5.00 ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิต (คะแนนเต็ม 5) = 5.00 คะแนน

คณะศิลปศาสตร์ =

146 30 = 4.87 ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิต (คะแนนเต็ม 5) = 4.87 คะแนน

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี =


114

92 บัณฑิตวิทยาลัย = 20 = 4.60 ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินมหาบัณฑิต (คะแนนเต็ม 5) = 4.60 คะแนน

1,516 315 = 4.81 ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิต (คะแนนเต็ม 5) = 4.81 คะแนน

สถาบัน

=

สรุปผลการประเมินตัวบ่ งชี้ที่ 16.2 คณะบริ หารธุรกิจ

4.82 คะแนน

คณะนิติศาสตร์

4.85 คะแนน

คณะศิลปศาสตร์

5.00 คะแนน

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

4.87 คะแนน

บัณฑิตวิทยาลัย

4.60 คะแนน

สถาบัน

4.81 คะแนน

เอกสารหลักฐาน 16.2.1 รายงานการวิจยั เรื่ อง คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามความต้องการของ ผูป้ ระกอบการ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ปี การศึกษา 2552 – 2553 (สํานักวิจยั ) 16.2.2 รายงานการสํารวจความพึงพอใจของผูป้ ระกอบการที่มีต่อมหาบัณฑิตที่สาํ เร็ จการศึกษา ปี การศึกษา 2553 (สํานักวิจยั )


115

ตัวบ่ งชี้ที่ 17 ผลการพัฒนาตามจุดเน้ นและจุดเด่ นทีส่ ่ งผลสะท้ อนเป็ นเอกลักษณ์ ของสถาบัน คําอธิบาย พิจารณาผลการดําเนิ นงานตามจุดเน้น จุดเด่น หรื อความเชี่ยวชาญเฉพาะของสถาบันที่ส่งผล สะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของสถาบัน ซึ่งเป็ นผลลัพธ์จากการดําเนินงานของสถาบันนั้น ผลการดําเนินงาน วิทยาลัยมุ่งดําเนิ นการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นของวิทยาลัยซึ่ งผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ ของสถาบัน ดังนี้ การดําเนินงาน ประเด็น หลักฐาน (มี) / (ไม่ มี)  17.1 -รายงานการประชุมสภา 1. มีการกําหนดกลยุทธ์ การปฏิบัติงานที่ วิทยาลัยฯ เรื่ องการกําหนด สอดคล้องกับจุดเน้ น จุดเด่ น หรือความเชี่ยวชาญ เอกลักษณ์วิทยาลัย ครั้งที่ 1/2554 เฉพาะของสถาบัน โดยได้ รับความเห็นชอบจาก วันที่ 26 เมษายน 2554 สภาสถาบัน (สํานักอธิการบดี) วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก กําหนดเอกลักษณ์ - รายงานการประชุมเรื่ องการ ไว้ดงั นี้ “สร้างสรรค์สงั คม” พร้อมทั้งตัวบ่งชี้เพื่อ กําหนดอัตลักษณ์ วิทยาลัย ประเมินผลการดําเนินงานที่ได้รับความเห็นชอบ ครั้งที่ 1/2554 จากสภาวิทยาลัยและในการประชุมครั้งที่ 1/2554 วันที่ 7 มีนาคม 2554 วันที่ 26 เมษายน 2554 ครั้งที่ 2/2554 วิทยาลัยได้กาํ หนดกลยุทธ์การปฏิบตั ิงานให้ วันที่ 18 มีนาคม 2554 สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของสถาบัน เน้นการ (สํานักประกันคุณภาพ) ให้บริ การทางวิชาการแก่สงั คม เพื่อสังคม / ชุมชน / ท้องถิ่น สามารถนําความรู ้จากการรับบริ การไปสร้าง ความเข้มแข็งให้กบั สังคม / ชุมชน / ท้องถิ่นได้ การดําเนิ นการให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ ของสถาบั น นั้ น วิ ท ยาลั ย กํ า หนดไว้ ใ นแผน ยุทธศาสตร์ และกําหนดกลยุทธ์ไว้ คือ กลยุทธ์การ สร้ า งระบบและกลไกการบริ การทางวิ ช าการ กลยุทธ์การให้บริ การทางวิชาการและกลยุทธ์การ นํา กิ จ กรรมการบริ การทางวิ ช าการ สู่ ก ระบวน การเรี ย นการสอน ทั้ง นี้ ได้รับ ความเห็ น ชอบจาก สภาวิทยาลัยแล้ว


116

ประเด็น 2. มีการสร้ างระบบการมีส่วนร่ วมของผู้เรียน และบุ ค ลากรในการปฏิ บั ติ ต ามกลยุ ท ธ์ ที่กํา หนด อย่ างครบถ้ วนสมบูรณ์ วิ ท ยาลั ย กํา หนดให้ ทุ ก คณะวิ ช าต้อ งจั ด โครงการหรื อกิจกรรมบริ การทางวิชาการแก่สังคม ตามความสอดคล้องกับคุณลักษณะของแต่ละคณะ เพื่อให้เกิ ดผลการพัฒนาตามจุ ดเน้นและจุ ดเด่ นที่ ส่ งผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ “สร้ างสรรค์สังคม” ของวิทยาลัยได้แก่ 1. โครงการบางพลีโมเดล เป็ นโครงการที่ ทุ ก คณะร่ ว มกัน จัด การบริ ก ารทางวิ ช าการ ตาม ความต้องการของชุมชน 2. โครงการบริ การทางวิ ช าการให้ กั บ นั ก เรี ย นมั ธ ยมศึ ก ษาชั้ นปี ที่ 6 โรงเรี ย นมารดา นฤมล ต.บางวัว อ.บางปะกง จ.ฉะเชิ งเทรา ซึ่ ง มี ความต้อ งการจะพัฒ นาความรู ้ ด้า นภาษาจี น และ ภาษาอังกฤษ 3. โครงการที่ปรึ กษากฏหมายประจํ า ศาล จังหวัดพระโขนง โครงการดังกล่าวนี้ เกิดจากการมี ส่ วนร่ วม ของผูเ้ รี ยนและบุคลากรที่เกี่ ยวข้อง เช่ น โครงการบางพลี โ มเดล หน่ ว ยงานทุ ก หน่ ว ย สามารถส่ งผู ้ส นใจ หรื อประสงค์ จ ะเข้ า ร่ วม โครงการ มาช่วยดําเนิ นงานได้ เช่น สํานักหอสมุด นํานัก วิจ ัยที่ มีผลงาน ด้า นการจัด ห้องสมุด มี ชี วิต มาร่ วมจัดห้องสมุดให้กบั อบต.บางพลี เป็ นต้น

การดําเนินงาน (มี) / (ไม่ มี) 

หลักฐาน 17.2 โครงการบางพลีโมเดล 17.3 โครงการบริ การทาง วิชาการให้กบั นักเรี ยน มัธยมศึกษาชั้นปี ที่ 6 โรงเรี ยนมารดานฤมล ต.บางวัว อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา 17.4 โครงการที่ปรึ กษากฏหมาย ประจําศาลจังหวัดพระโขนง


117

ประเด็น 3. ผลการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรที่ เกีย่ วกับการดําเนินการตามจุดเน้ น และจุดเด่ นหรื อ ความเชี่ ยวชาญเฉพาะของสถาบัน ไม่ ตํ่ากว่ า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 บุ ค ลากรมี ค วามพึ ง พอใจเกี่ ย วกั บ การ พัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็ น เอกลัก ษณ์ ข องวิ ท ยาลั ย เซาธ์ อี ส ท์ บ างกอกใน ภาพรวมมี ค วามพึ ง พอใจในระดั บ มาก โดยมี ค่ า เฉลี่ ย เท่ า กั บ 4.01 จากคะแนนเต็ ม 5 ทั้ง นี้ บุคลากรมีความพึงพอใจในด้านการสร้างแรงจูงใจ ในการปฏิบตั ิงานเพื่อสร้างเอกลักษณ์ให้บรรลุตาม เป้ าหมายที่ วิทยาลัยกําหนดไว้มากที่ สุด มีค่าเฉลี่ย เท่ า กับ 4.28 รองลงมาคื อ การมี ส่ ว นร่ ว มในการ กําหนดแผนยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับ การสร้ า งสรรค์สั ง คมที่ เ ป็ นจุ ด เน้ น จุ ด เด่ น หรื อ ความเชี่ ยวชาญที่ส่งผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ ของ วิทยาลัย โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.12 และ การสร้าง ความรู ้ความเข้าใจในกระบวนการดําเนิ นงานและ เป้ าหมายของการสร้ า งที่ วิ ท ยาลัย กํา หนด และ กระบวนการประเมินการปฏิบตั ิงานของการสร้ าง เอกลักษณ์ ที่วิทยาลัย กํา หนดไว้ มี ค่าเฉลี่ ยเท่ากัน คือ 4.11 ตามลําดับ 4. ผลการดําเนินงานบรรลุตามจุดเน้ น จุดเด่ น หรือความเชี่ ยวชาญเฉพาะของสถาบัน และเกิดผล กระทบทีเ่ กิดประโยชน์ และสร้ างคุณค่ าต่ อสั งคม โครงการบริ การทางวิชาการของวิทยาลัย เกิ ด ประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อสังคม

การดําเนินงาน (มี) / (ไม่ มี) 

หลักฐาน 17.5 รายงานโครงการสํารวจ ความพึงพอใจ ของบุคลากร เกี่ยวกับการพัฒนาตามจุดเน้น และ จุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็ น เอกลักษณ์ของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก(สํานักวิจยั )


118

ประเด็น - โครงการที่ ป รึ ก ษากฏหมายประจํ า ศาล จังหวัดพระโขนง ผล ประชาชนที่ประสบปั ญหาด้านการถูก ฟ้ องร้ องโดยไม่เป็ นธรรมหรื อไม่ได้รับความเป็ น ธรรมจากผู ้รั ก ษากฎหมาย ได้มี ช่ อ งทางในการ ขอรั บ คํา ปรึ ก ษาทางกฎหมาย ทํา ให้ไ ด้รั บ ทราบ ข้อเท็จจริ ง และขอบเขตของกฎหมาย สามารถใช้ ประโยชน์ จากกฎหมายได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งและ เป็ นธรรม ไม่เสี ยเปรี ยบผูใ้ ช้กฎหมายที่มีความรู ้ทาง กฎหมายและใช้ช่องทางกฎหมายเอารัดเอาเปรี ยบ ประชาชนผูไ้ ม่รู้กฎหมาย - โครงการบริการทางวิชาการให้ กบั นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนมารดานฤมล ผล นักเรี ยนมีความต้องการเรี ยนภาษาจีน และ ภาษาอังกฤษ ทําให้โรงเรี ยนสามารถจัดการเรี ยน การสอนได้ ต รงตามความต้อ งการของผู ้เ รี ยน รวมทั้งสร้างจิตสาธารณะ บําเพ็ญประโยชน์ให้กบั นักศึกษา รุ่ นพี่ ที่ออกไปช่วยอาจารย์สอนนักเรี ยน ม.6 - โครงการบางพลีโมเดล ผล วิท ยาลัย สามารถจัด บริ ก ารเชิ ง วิ ชาการต่ าง ๆ เพื่ อ ตอบรั บ กับ ความต้อ งการของชุ ม ชนได้อ ย่า ง เหมาะสม 5. สถาบั น มี เ อกลั ก ษณ์ ต ามจุ ด เน้ น จุ ด เด่ น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะทีก่ าํ หนด และได้ รับการ ยอมรับในระดับชาติ และ / หรือ นานาชาติ วิ ท ยาลัย มี นั ก ศึ ก ษาที่ ไ ด้ รั บ การยกย่ อ ง ชมเชย ประกาศเกี ยรติคุณ ด้านคุณธรรมจริ ยธรรม สร้างสรรค์สงั คม โดยหน่วยงานหรื อ

การดําเนินงาน (มี) / (ไม่ มี)

หลักฐาน 17.2 โครงการบางพลีโมเดล 17.3 โครงการบริ การทาง วิชาการให้กบั นักเรี ยน มัธยมศึกษาชั้นปี ที่ 6 โรงเรี ยนมารดานฤมล ต.บางวัว อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา 17.4 โครงการที่ปรึ กษากฏหมาย ประจําศาลจังหวัดพระโขนง

17.6 รายชื่อนักศึกษาที่ได้รับ รางวัลประกาศเกียรติคุณ


119

การดําเนินงาน (มี) / (ไม่ มี)

ประเด็น

หลักฐาน

องค์กรระดับชาติ จํานวน 4 คน ดังนี้ 1. นายสามารถ โมราวรรณ 2. นางสาวภิรญา กียรติวุฒิพร 3. นายธนพร ฉายงาม 4. นางสาวธนิศา อ่ วมน้ อย สรุ ปผลการประเมินตัวบ่ งชี้ที่ 17 คณะดําเนินการร่ วมกับสถาบันใช้ผลระดับสถาบัน สถาบัน

5 คะแนน

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1 คะแนน ปฏิบตั ิได้ 1 ข้อ

2 คะแนน ปฏิบตั ิได้ 2 ข้อ

3 คะแนน ปฏิบตั ิได้ 3 ข้อ

4 คะแนน ปฏิบตั ิได้ 4 ข้อ

5 คะแนน ปฏิบตั ิได้ 5 ข้อ

เอกสารหลักฐาน 17.1 รายงานการประชุมสภาวิทยาลัยฯ เรื่ องการกําหนดเอกลักษณ์วิทยาลัย ครั้งที่ 1/2554 วันที่ 26 เมษายน 2554 (สํานักอธิการบดี) รายการประชุมเรื่ องการกําหนดอัตลักษณ์ วิทยาลัย ครั้งที่ 1/2554 วันที่ 7 มีนาคม 2554 ครั้งที่ 2/2554 วันที่ 18 มีนาคม 2554 (สํานักประกันคุณภาพฯ) 17.2 โครงการบางพลีโมเดล 17.3 โครงการบริ การทางวิชาการให้กบั นักเรี ยนมัธยมศึกษาชั้นปี ที่ 6 โรงเรี ยนมารดานฤมล ต.บางวัว อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา 17.4 โครงการที่ปรึ กษากฏหมายประจําศาลจังหวัดพระโขนง 17.5 รายงานโครงการสํารวจความพึงพอใจ ของบุคลากรเกี่ยวกับการพัฒนาตาม จุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก(สํานักวิจยั ) 17.6 รายชื่อนักศึกษาที่ได้รับรางวัลประกาศเกียรติคุณ


120

ตัวบ่ งชี้ที่ 18 ผลการชี้นํา ป้องกัน หรือแก้ปัญหาของสั งคมในด้ านต่ างๆ คําอธิบาย สถาบันอุดมศึกษาเลือกการดําเนิ นการ 2 ประเด็น จากประเด็นชี้นาํ หรื อแก้ปัญหาสังคมใน ด้านต่างๆ โดยวิทยาลัยเลือกดําเนิ นการในเรื่ อง จิตสาธารณะ และสิ่ งเสพติด ทั้งนี้ ประเด็นที่สถาบัน เลือกได้ผา่ นการเห็นชอบจากสภาวิทยาลัยแล้วในการประชุมครั้งที่ 1 / 2554 วันที่ 26 เมษายน 2554 ตัวบ่ งชี้ที่ 18.1 ผลการชี้นาํ ป้ องกัน หรื อแก้ปัญหาของสังคมในประเด็น “สิ่ งเสพติด” วิ ท ยาลัย มี โ ครงการ / กิ จ กรรมที่ ไ ด้ด าํ เนิ น งาน ที่ มี ป ระโยชน์ แ ละสร้ า งคุ ณ ค่ า รวมทั้ง มี บทบาทในการชี้นาํ หรื อแก้ปัญหาสังคมในด้าน “สิ่ งเสพติด” ดังนี้ ประเด็น 1. มีการดําเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) วิทยาลัยดําเนิ นโครงการเพิ่มขีดความสามารถสู่ การเป็ นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนสร้างเสริ ม สุ ขภาพโดยได้รับการสนับสนุ น งบประมาณ จากสํ า นั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การสร้ า งเสริ ม สุ ข ภ า พ ( ส ส ส . ) ทั้ ง นี้ มี ก ลุ่ ม เ ค รื อ ข่ า ย สถาบันการศึกษาเอกชน 10 แห่ ง ร่ วมจัดโครงการ / กิจกรรม ในสี่ มิติ ได้แก่ กาย จิต สังคม ปัญญา โครงการ / กิจกรรม ด้านการต่อต้านสิ่ งเสพติด กิจกรรมรณรงค์ 9 วันอันตราย ดํา เนิ น โครงการด้ว ยเห็ น ว่ า วัน ที่ 10 – 18 เมษายน 2553 เป็ นวัน มหาสงกรานต์ ถื อ เป็ น ประเพณี ที่สําคัญของคนไทย และเป็ นวันหยุดหลาย วันติดต่อกัน ประชาชนที่เข้ามาทํางานในกรุ งเทพฯ จะมี โ อกาสได้ก ลับ บ้า นต่ า งจัง หวัด เพื่ อ ไปพบกับ ครอบครั ว เพราะฉะนั้นการเดิ นทางพร้อมๆ กันจึง เกิดขึ้น การเดินทางไม่ว่าจะเป็ นรถโดยสาร รถยนต์ ส่ วนตัว มอเตอร์ไซต์ หรื อทางนํ้าย่อมเกิดอุบตั ิเหตุ

การดําเนินงาน หลักฐาน (มี) / (ไม่ มี)  18.1.1 สรุ ปผลการดําเนินงาน โครงการเพิ่มขีดความสามารถ สู่การเป็ นสถาบันอุดมศึกษา เอกชนสร้างเสริ มสุ ขภาพ (สํานักกิจการนักศึกษา) 18.1.2 สรุ ปผลการดําเนินงาน โครงการพัฒนากิจกรรม นักศึกษา (สํานักกิจการนักศึกษา ฯ)


121

ประเด็น ได้ ทุ ก เวลาถ้ า ผู ้ ใ ช้ ร ถใช้ ถ นนมี ค วามประมาท โดยเฉพาะผูข้ บั ขี่ที่ไม่มีความรับผิดชอบหาความสุ ข ส่ ว นตัว โดยการดื่ ม สุ ร าในขณะขับ ขี่ จ ะทํา ให้เ กิ ด อุบตั ิเหตุได้ง่าย เป็ นการสู ญเสี ยทั้งทรัพย์สิน และชีวิต ของคนในครอบครั ว วิ ท ยาลัย เป็ นห่ ว งในความ ปลอดภัยของประชาชนในระหว่างการเดิ นทางช่ วง สงกรานต์ จึ งได้ร่ว มรณรงค์ 9 วัน อัน ตราย ให้กับ ประชาชนทัว่ ไปเพื่อลดการสู ญเสี ยชีวิตและทรัพย์สิน ดําเนิ น การรณรงค์ ในระหว่า งวัน ที่ 7 – 9 เมษายน 2553 ผลการประเมินกิจกรรมรณรงค์ 9 วันอันตราย บรรลุเป้ าหมาย ภาพรวมความพึงพอใจ 4.40 อยู่ใน ระดั บ ดี ม าก ในภาพรวมคื อ อาจารย์ บุ ค ลากร นักศึกษาและบุคคลทัว่ ไป มีความสนใจ และให้ความ ร่ วมมือในการจัดกิจกรรมเป็ นอย่างดี แนวปฏิ บ ั ติ ที่ ดี ได้ รั บ ความร่ วมมื อ จาก หน่ ว ยงานต่ า งๆ เช่ น สถานี ตาํ รวจนครบาลบางนา ศูนย์บริ การรถตูส้ ี่ แยกบางนา ซึ่ งเป็ นชุมชนใหญ่มีรถ ตู ้ ใ ห้ บ ริ ก า ร แ ก่ ป ร ะ ช า ช น ทั้ ง ภ า คต ะ วั น ออ ก ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ ภาคกลาง เป็ นต้น ปั ญ หาและอุ ป สรรค ไม่ มี เ พราะทุ ก ฝ่ ายให้ ความร่ วมมือเป็ นอย่ างดี แนวทางพั ฒ นาและการขยายผล ควรจั ด กิจกรรมลักษณะนีเ้ ป็ นกิจกรรมต่ อเนื่อง กิจกรรมงดเหล้าเข้างานวัด การดําเนินกิจกรรมเพื่อมุ่งหมายให้ นักศึกษา เกิ ด ความผู ก พัน และรู ้ จ ั ก กั บ เพื่ อ นในระดั บ ชั้ น เดี ย วกัน มากขึ้ น และได้รู้ จ ัก รุ่ น พี่ แ ละบุ ค ลากรใน วิ ท ยาลั ย มี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ ที่ ดี ต่ อ กั น รวมถึ ง กล้ า แสดงออกในทางที่ถูกต้อง

การดําเนินงาน (มี) / (ไม่ มี)

หลักฐาน


122

ประเด็น และสามารถดูแลรักษาสุ ขภาพกันมากขึ้น เยาวชนรุ่ น ใหม่ไม่ยงุ่ เกี่ยวกับแอลกอฮอล์และบุหรี่ โดยหันมาทํา กิจกรรมอย่างอื่นแทนการยุง่ เกี่ยวกับยาเสพติด การดําเนินกิจกรรมให้นกั ศึกษามีความรู ้ ความ เข้าใจ และตระหนักถึงโทษและอันตรายจากการดื่ ม แอลกอฮอล์และสู บบุหรี่ นักศึ กษาสามารถรู ้ จกั กัน สร้ า งความผู ก พัน มี ป ฏิ สั ม พัน ธ์ ที่ ดี กั บ รุ่ นพี่ ก ล้ า แสดงออกอย่างมัน่ ใจ โดยไม่ยุ่งเกี่ยวกับแอลกอฮอล์ และบุหรี่ ผลการประเมิ นกิ จกรรมโดยภาพรวม ผูเ้ ข้าร่ วมโครงการมีความพึงพอใจ 4.39 อยูใ่ นระดับ พึงพอใจมาก ข้ อเสนอแนะ ต้ องการให้ เป็ นกิจกรรมต่ อเนื่อง คุ ณ ค่ า ที่ ไ ด้ รั บ ในภาพรวม นั ก ศึ ก ษาและ ผู ้เ ข้า ร่ วมโครงการได้ รั บ รู ้ ถึ ง ผลเสี ย ของการดื่ ม เครื่ องดื่ มแอลกอฮอล์ ทํา ให้ดื่ มน้อยและเลิ ก ดื่ มใน ที่สุด การปฏิบัติที่ดี / แบบอย่ างที่ดีใช้ เป็ นแบบอย่ าง ในการรณรงค์ การเลิกดื่มแอลกอฮอล์ แนวทางการพัฒนาและการขยายผล ขยายผล สู่ครอบครั วและเพื่อน 2. บรรลุเป้าหมายตามแผนไม่ ตํ่ากว่ าร้ อยละ 80 ก า ร ดํ า เ นิ น กิ จ ก ร ร ม ข อ ง เ ค รื อ ข่ า ย สถาบัน อุ ด มศึ ก ษาเอกชนสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพใน 2 กิ จ กรรม คื อ กิ จ กรรมรณรงค์ 9 วัน อัน ตราย และ กิ จ กรรมงดเหล้า เข้า งานวัด มี เ ป้ าหมายผูเ้ ข้า ร่ ว ม กิจกรรม 510 คน แต่มีผเู ้ ข้าร่ วมโครงการจริ งจํานวน 504 คน คิดเป็ นร้ อยละ 98.82 มี คะแนนความพึง พอใจเฉลี่ ย เท่ า กับร้ อยละ 87.50 สู งกว่าเป้ าหมาย (ร้อยละ 80)

การดําเนินงาน (มี) / (ไม่ มี)

หลักฐาน

18.1.1 สรุ ปผลการดําเนินงาน โครงการเพิม่ ขีดความสามารถ สู่การเป็ นสถาบันอุดมศึกษา เอกชนสร้างเสริ มสุ ขภาพ (สํานักกิจการนักศึกษา) 18.1.2 สรุ ปผลการดําเนินงาน โครงการพัฒนากิจกรรม นักศึกษา (สํานักกิจการนักศึกษา ฯ)


123

ประเด็น 3. มีประโยชน์ และสร้ างคุณค่ าต่ อสถาบัน วิทยาลัยดําเนิ นกิจกรรมรณรงค์ 9 วันอันตราย และกิจกรรมอื่นๆ (รายละเอียดในเอกสารอ้างอิง) ทําให้วิทยาลัย เป็ นที่รู้จกั ในกลุ่มสถาบันการศึ กษา เอกชน และชุ มชน อี กทั้ งเกิ ดเครื อข่ า ยกลุ่ ม สถาบันการศึ กษาเอกชน เพื่อเอื้ ออํานวยประโยชน์ ต่ อ กั น ในการจั ด โครงการ / กิ จ กรรมร่ วมกั น การดํา เนิ น กิ จ กรรมดัง กล่ า วเป็ นจุ ด ร่ วมที่ ท ํา ให้ อาจารย์ บุคลากร นักศึกษา และประชาชนทัว่ ไปได้ ทํา งานร่ วมกั น เป็ นการเพิ่ ม ศัก ยภาพ และขยาย ขอบเขตการทํา งานแลกเปลี่ ย นเรี ยนรู ้ ร ะหว่ า ง สถาบัน การศึ ก ษากับ ชุ ม ชน / ท้อ งถิ่ น ทํา ให้ เ กิ ด ปฏิสัมพันธ์และความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน เกิดความรัก ความสามัคคี เป็ นการสร้ างคุ ณค่าอี กมิติหนึ่ งให้กบั วิทยาลัย นอกจากนี้ ย งั ได้ประสบการณ์ การทํางาน ร่ วมกั บ ชุ ม ชนสามารถนํ า ไปใช้ ใ นการพั ฒ นา กิจกรรมนักศึกษาได้ 4. มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์ และสร้ างคุณค่ า ต่ อชุ มชนหรือสั งคม การดําเนิ น กิ จ กรรมต่ อต้านสิ่ งเสพติ ด ในทุ ก รู ปแบบซึ่งวิทยาลัยดําเนินการนั้น ส่ งผลกระทบที่ เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อชุมชน / สังคม ดังนี้ - การปฏิบัติที่ดี / แบบอย่ างที่ดี หน่ วยงานต่างๆ เช่ น สถานี ตาํ รวจนครบาล บางนา สามารถนํ า รู ปแบบการจั ด กิ จ กรรมไป ประยุกต์ใช้ในการดําเนิ นงานด้านการรณรงค์ต่อต้าน สิ่ งเสพติดได้ วินรถโดยสาร (รถตู)้ / มอเตอร์ไซต์

การดําเนินงาน หลักฐาน (มี) / (ไม่ มี)  18.1.1 สรุ ปผลการดําเนินงาน โครงการเพิ่มขีดความสามารถ สู่การเป็ นสถาบันอุดมศึกษา เอกชนสร้างเสริ มสุ ขภาพ (สํานักกิจการนักศึกษา) 18.1.2 สรุ ปผลการดําเนินงาน โครงการพัฒนากิจกรรม นักศึกษา (สํานักกิจการนักศึกษา ฯ)

18.1.1 สรุ ปผลการดําเนินงาน โครงการเพิ่มขีดความสามารถ สู่การเป็ นสถาบันอุดมศึกษา เอกชนสร้างเสริ มสุ ขภาพ (สํานักกิจการนักศึกษา) 18.1.2 สรุ ปผลการดําเนินงาน โครงการพัฒนากิจกรรม นักศึกษา (สํานักกิจการนักศึกษา ฯ)


124

การดําเนินงาน (มี) / (ไม่ มี)

ประเด็น

หลักฐาน

รั บ จ้า งสามารถร่ ว มเป็ นส่ ว นหนึ่ ง ในการสอดส่ อ ง พฤติ กรรมที่ มิชอบของบุคคลต้องสงสัยว่ามีสิ่งเสพ ติดในครอบครอง - การดําเนินงานร่ วมกับเครื อข่ าย กิ จกรรมทางสังคมมิ สามารถดําเนิ นการได้ โดยลําพัง ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลจะมี มากขึ้ น ถ้า มี ก ารทํา งานร่ ว มกัน / การมี เ ครื อข่า ยจะ ช่ ว ยทํา ให้ ก ารดํา เนิ น กิ จ กรรมทางสั ง คมประสบ ผลสําเร็ จ ได้ดี เ ครื อข่า ยมิ ได้ห มายความเฉพาะกลุ่ ม สถาบัน การศึ ก ษาเท่ า นั้น แต่ ห มายรวมถึ ง สั ง คม / ชุมชน / ท้องถิ่น / ประชาชนทัว่ ไปด้วย - การพัฒนาความรู้ การสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องถึงพิษภัยของสิ่ งเสพติด ที่มาในรู ปแบบต่างๆ แต่ในท้ายที่สุดส่ งผลเสี ยต่อชีวิต และทรัพย์สินได้ - การร่ วมมือร่ วมใจกัน / การทํางานเป็ นที ม / ความสามัคคี วิทยาลัย ชุ มชน ท้องถิ่น ประชาชนทัว่ ไป มีความใกล้ชิดกันเอื้อประโยชน์ต่อกัน และเป็ นที่ พึ่งพาอาศัยของกันและกันได้

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1 คะแนน -

2 คะแนน ปฏิบตั ิได้ 1 ข้อ

3 คะแนน ปฏิบตั ิได้ 2 ข้อ

4 คะแนน ปฏิบตั ิได้ 3 ข้อ

5 คะแนน ปฏิบตั ิได้ 4-5 ข้อ


125

สรุ ปผลการประเมินตัวบ่ งชี้ที่ 18.1 คณะดําเนินการร่ วมกับสถาบันใช้ผลระดับสถาบัน สถาบัน

5 คะแนน

เอกสารหลักฐาน 18.1.1 สรุ ปผลการดําเนินงานโครงการเพิ่มขีดความสามารถสู่ การเป็ นสถาบันอุดมศึกษา เอกชนสร้างเสริ มสุ ขภาพ (สํานักกิจการนักศึกษา ฯ) 18.1.2 สรุ ปผลการดําเนินงานโครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา (สํานักกิจการนักศึกษา ฯ)


126

ตัวบ่ งชี้ที่ 18.2 ผลการชี้นํา ป้องกัน หรือแก้ปัญหาของสั งคมในประเด็น “จิตสาธารณะ” คําอธิบาย วิทยาลัยมีโครงการ / กิจกรรมที่ได้ดาํ เนินงานที่มีประโยชน์และสร้างคุณค่ารวมทั้งมีบทบาท ในการชี้นาํ หรื อการแก้ปัญหาสังคมในด้าน “จิตสาธารณะ” ดังนี้ การดําเนินงาน ประเด็น หลักฐาน (มี) / (ไม่ มี)  18.2.1 สรุ ปผลการดําเนินงาน 1. มีการดําเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) โครงการเพิ่มขีดความสามารถ วิทยาลัยดําเนิ นโครงการเพิ่มขีดความสามารถสู่ สู่การเป็ นสถาบันอุดมศึกษา การเป็ นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนสร้างเสริ มสุ ขภาพ เอกชนสร้างเสริ มสุ ขภาพ โดยได้รับการสนับสนุ นงบประมาณจากสํานักงาน 18.2.2 สรุ ปผลการดําเนินงาน กองทุ น สนับ สนุ น การสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ (สสส.) โครงการพัฒนากิจกรรม ทั้ง นี้ มี ก ลุ่ ม เครื อ ข่ า ยสถาบัน การศึ ก ษาเอกชน 10 นักศึกษา แห่ ง ร่ วมจัดโครงการ / กิจกรรม ในสี่ มิติ ได้แก่ กาย (สํานักกิจการนักศึกษา ฯ) จิต สังคม ปั ญญา โครงการ / กิจกรรม ด้านการส่ งเสริ ม “จิตสาธารณะ” ปล่อยเต่าทะเลคืนสู่ ธรรมชาติ

ดําเนิ นโครงการด้วยเห็ นว่า ธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้อมมีความสําคัญต่อมนุ ษย์ และมนุ ษย์ควร เห็ น และสํา นึ ก ในคุ ณ ค่ า ของสิ่ ง แวดล้อม ไม่ เ พีย ง เห็นแต่คุณค่าเฉพาะในเรื่ องของตนเองเท่านั้น การจัด กิ จกรรมปล่ อ ยเต่ า ทะเลคื น สู่ ธรรมชาติ จึ งมี วัตถุประสงค์เพื่อเป็ นการเรี ยนรู ้และปลูกจิตสํานึกใน การอนุ รักษ์ธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม และเพื่อการ อยู่ร่ว มกัน ได้ร ะหว่า งมนุ ษ ย์กับสิ่ ง แวดล้อม แบบ พึ่งพาอาศัยกัน การดําเนิ นกิ จกรรม โดยการปล่อยเต่าทะเล คืนสู่ ธรรมชาติ และร่ วมกันทําความสะอาดเก็บขยะ ริ มชายหาด


127

ประเด็น ผลการประเมิ นกิ จกรรมปล่อยเต่าทะเลคืนสู่ ธรรมชาติ บรรลุเป้ าหมาย ภาพรวมความพึงพอใจ 4.25 อยู่ใ นระดับ พึ ง พอใจมาก คุ ณ ค่ า ที่ ไ ด้รั บ ใน ภาพรวมคือ นักศึกษา และผูเ้ ข้าร่ วมโครงการได้รับ ความรู ้ ความเข้าใจเกี่ ยวกับการดู แลรั กษาธรรมชาติ ตระหนักถึงความสําคัญของสิ่ งแวดล้อม ร่ วมอนุรักษ์ ธรรมชาติ แ ละสิ่ งแวดล้ อ ม ลดการเอาเปรี ยบ สิ่ งแวดล้อมลงได้ การปฏิ บัติที่ดี / แบบอย่ างที่ ดี สามารถทํา กิจกรรมร่ วมกับสังคมได้ แนวทางพัฒนาและการขยายผล นัก ศึ ก ษา สามารถนํา ไปใช้ ป ระโยชน์ ใ นชี วิ ต ประจํา วั น และ ขยายผลไปสู่ครอบครั วและเพื่อน กิจกรรมปั นนํ้าใจ ทะเลใส ใส่ ใจน้อง ดําเนินโครงการด้วยเห็นว่า ปั จจุบนั เป็ นยุค ของเทคโนโลยีและการแข่งขัน หัวใจหลักของการ ดําเนิ นชี วิตคือ การสร้ างรายได้ ปั ญหาที่ตามมาคือ เด็ ก และเยาวชนถู ก ทอดทิ้ ง บ้า งอาจกลายเป็ นเด็ ก กํา พร้ า เด็ ก เร่ ร่ อนไร้ ที่ พ่ ึ ง ครอบครั ว แตกแยก มี พ ฤติ ก รรมไม่ เ หมาะสมกับ วัย ท้า ยที่ สุ ด ขาดและ หมดโอกาสในชี วิ ต วิทยาลัย จึ ง จัด กิ จ กรรมขึ้ น เพื่อ ช่วยส่ งเสริ มและสนับสนุ นคุณภาพชี วิตให้ดีข้ ึน โดย การสนับ สนุ น อุ ป กรณ์ กี ฬ าและสิ่ ง ของแก่ เ ด็ก ด้อ ย โอกาส โดยมี วตั ถุประสงค์เพื่อการช่ วยเหลือเด็กที่ ด้อยโอกาสทางสังคมให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ ึน

การดําเนินงาน (มี) / (ไม่ มี)

หลักฐาน


128

ประเด็น การดําเนินโครงการโดยการบริ จาคสิ่ งของ / เครื่ องใช้ที่จาํ เป็ นในการดํารงชีวิต ผลการประเมินกิจกรรมโดยภาพรวม 4.37 อยู่ในระดับพึงพอใจมาก บรรลุเป้ าหมาย คุ ณค่ าที่ ได้รับในภาพรวม คือ การได้รับรู ้ถึงผลของการมีจิต สาธารณะต่อสังคม ได้ตอบแทนสังคมร่ วมกันและ ควรจัดเป็ นกิจกรรมต่อเนื่อง การปฏิ บั ติ ที่ ดี / แบบอย่ า งที่ ดี คื อ การได้ มี โอกาสช่ วยเหลือเด็กที่ ด้อยโอกาสทางสั งคม ให้ ได้ มี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น และส่ งเสริ มนั ก ศึ ก ษาและ บุคลากรให้ เป็ นผู้มีจิตสาธารณะต่ อสังคม แนวทางการพัฒนาและการขยายผล สามารถ ขยายผลสู่สังคม ครอบครั วและเพื่อน กิ จ กรรมภู มิ ปั ญญาไทย – ความกตั ญ �ู – บําเพ็ญประโยชน์ ดํา เนิ น กิ จ กรรมด้ ว ยเห็ น ว่ า เป็ นการปลู ก จิ ต สํ า นึ ก ให้ นั ก ศึ ก ษาเกิ ด ความรั ก และกตัญ �ู ต่ อ บิ ดา – มารดาของตน เป็ นจุ ดเริ่ มต้น ของการสร้ าง ความรั กความปรองดองในสถาบันครอบครัว และ ร่ วมกั น บํ า เพ็ ญ ประโยชน์ ทํ า ความสะอาดที่ สาธารณะ วัตถุประสงค์หลักในการจัดกิจกรรมเน้น ความกตัญ �ู ต่ อ บิ ด า – มารดา และการบํา เพ็ ญ ประโยชน์ส่งเสริ มการสร้างจิตสาธารณะแก่นกั ศึกษา การดํา เนิ น โครงการ เพื่ อ สร้ า งเสริ ม คุ ณ ภาพ ชีวิตให้มีพฤติกรรมที่สงบดํารงตนอยูใ่ นศีลธรรมและ เห็ น แก่ ประโยชน์ ส่ว นรวม รู ้ จ ัก การบําเพ็ญตนให้ เป็ นประโยชน์แก่ส่วนรวมได้

การดําเนินงาน (มี) / (ไม่ มี)

หลักฐาน


129

ประเด็น

การดําเนินงาน (มี) / (ไม่ มี)

หลักฐาน

ผลการประเมิ น กิ จ กรรมโดยภาพรวม 4.30 อยูใ่ นระดับความพึงพอใจมาก บรรลุเป้ าหมาย คุณค่าที่ได้รับในภาพรวม คือ สามารถปรับแนวคิด มาใช้ในชีวิตประจําวันได้ การปฏิ บัติที่ดี / แบบอย่ า งที่ ดี คื อ การสร้ าง จิ ตสํานึ กที่ ดีต่อการกตัญ�ูต่อบิ ดา – มารดาและเห็ น ความสําคัญของการเสี ยสละ เป็ นผู้ให้ และรู้ จั กการ บําเพ็ญประโยชน์ ต่อส่ วนรวม แนวทางพัฒนาและการขยายผล สามารถขยาย ผลสู่ครอบครั ว สังคมและบุคคลทั่วไป 2. บรรลุเป้าหมายตามแผนไม่ ตํ่ากว่ าร้ อยละ 80 ก า ร ดํ า เ นิ น กิ จ ก ร ร ม ข อ ง เ ค รื อ ข่ า ย สถาบัน อุ ด มศึ ก ษาเอกชนสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพใน 3 กิ จ กรรม คื อ กิ จ กรรมปล่ อยเต่ า ทะเลคื น ธรรมชาติ กิจกรรมปั นนํ้าใจ ทะเลใส ใส่ ใจน้อง และกิจกรรม ภูมิปัญญาไทย - ความกตัญ�ู – บําเพ็ญประโยชน์ มี เป้ าหมายผูเ้ ข้า ร่ ว มกิ จ กรรม 154 คน มี ผูเ้ ข้า ร่ ว ม กิจกรรม 154 คน คิดเป็ นร้อยละ 100 มีคะแนนความ พึงพอใจเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 86.13 สู งกว่าเป้ าหมาย (ร้อยละ 80) 3. มีประโยชน์ และสร้ างคุณค่ าต่ อสถาบัน วิทยาลัยดําเนิ นกิ จกรรมปล่อยเต่าทะเลคืนสู่ ธรรมชาติ และกิ จ กรรมอื่ น ๆ (รายละเอี ย ดใน เอกสารอ้า งอิ ง ) ทํา ให้วิ ทยาลัย เป็ นที่ รู้ จ ัก ในกลุ่ ม สถาบัน การศึ ก ษาเอกชน และชุ ม ชน อี ก ทั้ง เกิ ด เครื อข่ายกลุ่มสถาบันการศึกษาเอกชน เพื่อ

18.2.1 สรุ ปผลการดําเนินงาน โครงการเพิ่มขีดความสามารถ สู่การเป็ นสถาบันอุดมศึกษา เอกชนสร้างเสริ มสุ ขภาพ 18.2.2 สรุ ปผลการดําเนินงาน โครงการพัฒนากิจกรรม นักศึกษา (สํานักกิจการนักศึกษา ฯ)

18.2.1 สรุ ปผลการดําเนินงาน โครงการเพิ่มขีดความสามารถ สู่การเป็ นสถาบันอุดมศึกษา เอกชนสร้างเสริ มสุ ขภาพ 18.2.2 สรุ ปผลการดําเนินงาน โครงการพัฒนากิจกรรม นักศึกษา (สํานักกิจการนักศึกษา ฯ)


130

ประเด็น

การดําเนินงาน (มี) / (ไม่ มี)

หลักฐาน

เอื้ อ อํา นวยประโยชน์ ต่ อ กัน ในการจัด โครงการ / กิ จ กรรมร่ ว มกัน การดํา เนิ น กิ จ กรรมดัง กล่ า วเป็ น จุ ด เริ่ มต้น และจุ ด ร่ วมที่ ท ํา ให้ อ าจารย์ บุ ค ลากร นักศึกษา และประชาชนทัว่ ไปได้ทาํ งานร่ วมกัน เป็ น การเพิ่มศักยภาพและขอบเขตการทํางานช่ วยเหลื อ แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ระหว่างสถาบันการศึกษากับชุมชน / ท้ อ งถิ่ น ทํ า ให้ เ กิ ด การปฏิ สั ม พั น ธ์ แ ละสร้ า ง ความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน เกิ ดความรั ก ความสามัคคี เป็ นการสร้ า งคุ ณ ค่ า อี ก มิ ติ ห นึ่ งให้ กั บ วิ ท ยาลั ย นอกจากนี้ ยัง ได้ป ระสบการณ์ ก ารทํา งานร่ ว มกับ ชุ ม ชนสามารถนํ า ไปใช้ ใ นการพัฒ นากิ จ กรรม นักศึกษา และที่สาํ คัญส่ งเสริ มจิตสาธารณะได้ 4. มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์ และสร้ างคุณค่ า ต่ อชุ มชนหรือสั งคม การดําเนิ นกิ จกรรมสร้ างจิ ตสาธารณะในทุก รู ปแบบซึ่งวิทยาลัยดําเนินการนั้น ส่ งผลกระทบที่ เกิ ด ประโยชน์ และสร้ า งคุ ณ ค่ า ต่ อ ชุ ม ชน / สั ง คม ดังนี้ 1. มี บทบาทในการเป็ นส่ ว นหนึ่ งของสังคม ร่ วมช่วยเหลือแบ่งปั นสงเคราะห์บุคคลซึ่งด้อย โอกาสให้ได้พอมี โอกาสบ้างในบางเรื่ องที่สามารถ ช่วยเหลือได้ อาจโดยการบริ จาคช่วยเหลือในรู ปของ สิ่ งของเครื่ องใช้หรื อช่วยเหลือในรู ปกําลังกาย (ช่ ว ยแรง) ซึ่ ง ไม่ ว่ า จะในรู ป แบบใด ถื อ เป็ นการ แบ่งปันแก่สงั คม

18.2.1 สรุ ปผลการดําเนินงาน โครงการเพิ่มขีดความสามารถ สู่การเป็ นสถาบันอุดมศึกษา เอกชนสร้างเสริ มสุ ขภาพ 18.2.2 สรุ ปผลการดําเนินงาน โครงการพัฒนากิจกรรม นักศึกษา (สํานักกิจการนักศึกษา ฯ)


131

การดําเนินงาน (มี) / (ไม่ มี)

ประเด็น

หลักฐาน

2. มีบทบาทในการร่ วมอนุ รักษ์สิ่งแวดล้อม / จริ ยธรรมสิ่ งแวดล้อม โดยมีความรู ้ความเข้าใจ ในคุณค่าและประโยชน์ของทรัพยกรธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้อม สามารถใช้สิ่งแวดล้อมได้อย่างถูกต้อง และเกิ ด อรรถประโยชน์ สู งสุ ด สามารถเป็ น แบบอย่างที่ดีแก่ชุมชน / ท้องถิ่นได้ 3. การเชื่ อมโยง และเกิ ด การทํางานร่ วมกับ เครื อข่ายกลุ่มสถาบันการศึกษาเอกชน ในการ ผลิ ต นัก ศึ ก ษาซึ่ งมี คุ ณ ลัก ษณะทางวิ ช าการ และคุ ณ ลั ก ษณะทางจิ ต ใจที่ ดี เ หมาะสมกั บ เป็ น ปั ญญาชน นําความรู ้ ความสามารถที่มีอยู่ถ่ายทอด / เป็ นแบบอย่างที่ดีแก่สงั คมได้ 4. หน่ วยงานที่เกี่ ยวข้องได้รับประโยชน์จาก การร่ วมแสดงพลังบําเพ็ญประโยชน์เกิดความสะอาด และเป็ นระเบียบเรี ยบร้ อย และเกิ ดการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง 5. ชุ ม ชนเกิ ด การเรี ย นรู ้ และปรั บ ตัว เพื่ อ พัฒนาสภาพแวดล้อมของตน เกิดความสามัคคีร่วม แรงร่ วมใจ ในการทํางานได้ เกณฑ์ การให้ คะแนน 1 คะแนน -

2 คะแนน ปฏิบตั ิได้ 1 ข้อ

3 คะแนน ปฏิบตั ิได้ 2 ข้อ

4 คะแนน ปฏิบตั ิได้ 3 ข้อ

5 คะแนน ปฏิบตั ิได้ 4-5 ข้อ


132

สรุ ปผลการประเมินตัวบ่ งชี้ที่ 18.2 คณะดําเนินการร่ วมกับสถาบันใช้ผลระดับสถาบัน สถาบัน

5 คะแนน

เอกสารหลักฐาน 18.2.1 สรุ ปผลการดําเนินงานโครงการเพิ่มขีดความสามารถสู่ การเป็ นสถาบันอุดมศึกษา เอกชนสร้างเสริ มสุ ขภาพ (สํานักกิจการนักศึกษาฯ) 18.2.2 สรุ ปผลการดําเนินงานโครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา (สํานักกิจการนักศึกษาฯ)


133

ส่ วนที่ 3 แนวทางการพัฒนาวิทยาลัย


134

บทที่ 3 แนวทางการพัฒนาวิทยาลัย วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ดําเนินการประเมินตนเองตามผลการดําเนินงานการจัดการศึกษา ในปี การศึกษา 2553 (มิถุนายน 2553 – พฤษภาคม 2554) โดยใช้ตวั บ่งชี้ การประเมินคุณภาพการศึกษาตาม เกณฑ์การประเมินภายนอกของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน) ผลการประเมิ น สามารถสรุ ป เป็ นจุ ด เด่ น และแนวทางเสริ ม เพื่ อ พัฒ นา รวมทั้งจุ ด ที่ ค วรพัฒนาและแนว ทางแก้ไขเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของวิทยาลัยให้เกิดประสิ ทธิผล ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 9. ด้ านคุณภาพบัณฑิต จุดเด่น บัณฑิตของวิทยาลัยมีอตั ราการได้งานสูง และส่ วนใหญ่ได้ทาํ งานตรงตามสาขาวิชา ผูป้ ระกอบการหรื อนายจ้างมีความพึงพอใจในคุณภาพบัณฑิตอยูใ่ นระดับดี โดยเฉพาะมีความพอใจบัณฑิตที่ มีคุณธรรม จริ ยธรรมตลอดจนความเป็ นไทยอยูใ่ นระดับมาก จุดที่ควรพัฒนา ในส่ วนของความพึงพอใจคุณภาพของบัณฑิต ผูป้ ระกอบการเห็นว่ามีสิ่งที่ ควรพัฒนา คือ ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่ อสาร ซึ่ งผูป้ ระกอบการมีความคาดหวังเป็ น อย่างมากว่าบัณฑิ ต ควรมี ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่ อสารได้เป็ นอย่างดี สอดรั บกับ ประชาคมอาเซี ยนในอนาคต ส่ วนในระดับบัณฑิตวิทยาลัยนั้นยังไม่มีผลงานวิทยานิ พนธ์หรื องานวิชาที่โดด เด่ น รวมทั้งนักศึ กษาในระดับบัณฑิ ตวิทยาลัย ยังให้ความสนใจกับการเลือกเรี ยน แผน ก. (วิทยานิ พนธ์) ค่อนข้างน้อย ทําให้จาํ นวนบทความจากวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาโทได้รับการตีพิมพ์นอ้ ย แนวทางการพัฒนา 1. การพัฒนาคุณภาพบัณฑิต โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในด้านทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในการ สื่ อสารการกําหนดให้นกั ศึกทุกคนที่เข้าศึกษาต้องเข้าสอบ English Proficiency Exam และต้องผ่านเกณฑ์ 70 % เพื่อให้มีทกั ษะการใช้ภาษาอังกฤษในระดับ Independent User ได้ สําหรับการพัฒนาจริ ยธรรม คุณธรรม และจรรยาบรรณของบัณฑิตนั้นวิทยาลัยได้ ดําเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้บณั ฑิตมีคุณสมบัติเป็ นไปตามอัตลักษณ์ของวิทยาลัย จึงกําหนดเกณฑ์การเข้า ร่ วมกิ จกรรมเพื่อการพัฒนาจริ ยธรรม คุณธรรม และจรรยาบรรณ เป็ นส่ วนหนึ่ งของคุ ณสมบัติการสําเร็ จ การศึกษา 2. การมุ่งสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการให้กบั บัณฑิตวิทยาลัย โดยเน้นการสร้างงานวิจยั วิทยานิ พนธ์ หรื อผลงานทางวิชาการอื่น ๆ ที่แสดงให้เห็นถึงศักยภาพของนักศึกษาระดับบัณฑิตวิทยาลัยซึ่ ง ต้องอาศัยอาจารย์ผคู ้ วบคุมวิทยานิพนธ์ หรื ออาจารย์ที่ปรึ กษาในการสร้างสรรค์ผลงาน


135 10. ด้ านงานวิจัยและงานสร้ างสรรค์

จุดเด่น วิทยาลัยมีนโยบายสนับสนุนการวิจยั ที่ชดั เจน ทั้งการวิจยั สถาบัน การวิจยั เพื่อการเรี ยนการสอนการวิจยั เพื่อสร้างองค์ความรู ้ใหม่ และการวิจยั เพื่อแก้ปัญหาสังคม รวมทั้งการจัดให้มี ระเบียบการส่ งเสริ มการวิจยั และงบประมาณสําหรับการวิจยั จากภายในสถาบัน และทุนวิจยั จากภายนอก สถาบัน นอกจากนี้ ยงั ได้จดั สรรงบประมาณในการจัดทําวารสารวิชาการ เพื่อเผยแพร่ ผลงานวิจยั และผลงาน ทางวิชาการของอาจารย์ดว้ ย วิทยาลัยได้จดั มีคลีนิกวิจยั เพื่อให้คาํ ปรึ กษาแก่อาจารย์ที่ทาํ งานวิจยั ตั้งแต่เริ่ มต้น จนเสร็ จสิ้ นโครงการ จุดที่ควรพัฒนา อาจารย์ยงั ขาดความสนใจและไม่เห็นความสําคัญของการสร้างผลงานเมื่อ ได้รับการกระตุน้ จากวิทยาลัยครั้งหนึ่ งก็จะเริ่ มเตรี ยมตัวทําหรื อทําเล็กน้อย หากคณะกรรมการส่ งเสริ มการ วิจยั พิจารณาโครงร่ างงานวิจยั และเสนอให้แก้ไข อาจารย์จะใช้เวลาอย่างมากในการดําเนิ นการ นโยบายการ ส่ งเสริ มให้ทาํ ผลงานวิจยั เพื่อผลงานวิชาการนั้นเป็ นเรื่ องของความสมัครใจของแต่ละบุคคล เพราะอาจารย์ ในสถาบันอุดมศึกษาย่อมมีเสรี ภาพในวิชาการ ดังนั้นการเร่ งรัดจึงทําได้ค่อนข้างยาก แนวทางการพัฒนา วิทยาลัยได้กาํ หนดให้ผลงานวิจยั และ / หรื อผลงานทางวิชาการเป็ นส่ วน หนึ่ งของการประเมินผลการปฏิบตั ิงานประจําปี เพื่อกระตุน้ ให้อาจารย์ได้สร้างผลงานวิจยั เพื่อเป็ นประโยชน์ ต่อการเรี ยนการสอนและเป็ นผลงานประกอบการขอตําแหน่ งทางวิชาการ รวมทั้งกําหนดภาระงานของ อาจารย์ให้มีความชัดเจนยิง่ ขึ้น โดยภาระงานของอาจารย์ตอ้ งประกอบด้วยการสอนและการวิจยั 11. ด้ านการบริการวิชาการแก่ สังคม จุดเด่น วิทยาลัยได้จดั ให้บริ การทางวิชาการแก่ชุมชน โดยจัดให้บริ การทั้งภายใน และภายนอกสถาบัน ตามความชํานาญของคณะวิชาต่างๆ ได้แก่ การอบรมให้ความรู ้ ด้านคอมพิวเตอร์ การอบรมภาษาอังกฤษแก่บุคลากรในหน่วยงานต่างๆ การให้คาํ ปรึ กษาและความช่วยเหลือด้านกฏหมายเป็ น ต้น นอกจากนี้ วิทยาลัยยังเอื้อให้ประชาคมบางนา ใช้สถานที่ในการประชุมคณะกรรมการชุมชน การประชุม ผูน้ าํ ชุมชนเขตบางนา เป็ นต้น วิทยาลัยได้รับความร่ วมมือและให้ความร่ วมมือกับชุมชนทุกครั้งที่จดั กิจกรรม ด้านการบริ การวิชาการแก่สงั คม จุดที่ควรพัฒนา แผนหรื อโครงการจัดให้บริ การทางวิชาการแก่สังคม ยังทําได้ในวงจํากัด เนื่ องจากอาจารย์ผสู ้ อน มีภาระงานสอนมากในบางภาคการศึกษา การจัดให้บริ การทางวิชาการตามที่ชุมชน ต้องการบางครั้ง ทําได้ไม่เต็มที่ เพราะเวลาในการเตรี ยมตัวน้อย แนวทางการพัฒนา วิทยาลัยสํารวจความต้องการรับบริ การทางวิชาการล่วงหน้าเพื่อใช้ใน การวางแผนอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และให้ บ ริ ก ารแก่ ชุ ม ชนอย่ า งต่ อ เนื่ อ งเป็ นประจํา รวมทั้ง เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์โครงการต่างๆ ให้ชุมชนรับรู ้อย่างทัว่ ถึง


136 12. ด้ านการทํานุบํารุ งศิลปะและวัฒนธรรม

จุดเด่น วิทยาลัยมีโครงการ / กิจกรรมเพื่อการทํานุบาํ รุ งศิลปวัฒนธรรมตลอดทั้งปี รวมทั้ง ได้ร่วมกับชุมชนจัดกิจกรรม เพื่อให้นกั ศึกษาเห็นความสําคัญของศิลปวัฒนธรรม และวิถีการดําเนินชีวิตของ คนไทย 1) ด้านพุทธศาสนา โครงการ / กิจกรรม แห่ เทียนจํานําพรรษาสื บสานวัฒนธรรมไทย เพื่อเป็ น การอนุ รักษ์ สื บทอดประเพณี และวัฒนธรรมอันดีงามทางพระพุทธศาสนา อันแสดงออกถึงบทบาทหน้าที่ ของพุทธศาสนิกชนที่ดี 2) ด้านการแสดงความกัตญ�ูกตเวที และสื บทอดประเพณี วฒ ั นธรรมไทย โครงการ / กิ จ กรรม พิ ธีประณตน้อมสั ก การบู รพคณาจารย์ เพื่ อเป็ นการอนุ รั ก ษ์สืบทอดประเพณี และ วัฒนธรรมอันดีงาม อันแสดงออกซึ่งความกตัญ�ูกตเวที และระลึกถึงพระคุณของครู อาจารย์ 3) ด้านการส่ งเสริ มผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาไทย และส่ งเสริ มการแสดงออก ถึงเอกลัษณ์ของชาติไทยโครงการ / กิจกรรม แต่งผ้าไทย งามอย่างไทย สวมใส่ แบบสุ ภาพ เพื่อรณรงค์ให้ บุคลากรร่ วมมือกันอนุรักษ์ สื บทอด และตระหนักในคุณค่า ความสําคัญของวัฒนธรรมที่ดีงามของไทย 4) ด้านการสร้างเสริ มกิจกรรม และเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างรุ่ นพี่รุ่ นน้อง โครงการ / กิจกรรม Freshy Day เพื่อสร้างสรรค์กิจกรรมสําหรับน้องใหม่ โดยไม่มีความรุ นแรง ไม่มีการ บังคับหรื อริ ดรอนสิ ทธิ์ มีการรณรงค์ปลูกจิตสํานึ กที่ดีให้รุ่ นน้องห่ างไกลจากเหล้า บุหรี่ ยาเสพติด การพนัน ต่างๆ ทั้งยังเป็ นการเชื่อมความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างนักศึกษารุ่ นพี่กบั รุ่ นน้อง และทําให้นกั ศึกษาเกิดความรัก ในคณาจารย์และสถาบัน จุดที่ควรพัฒนา โครงการ / กิ จกรรมต่างๆ ที่วิทยาลัยได้ดาํ เนิ นการผ่านมาแล้วนั้นไม่ว่าจะ เป็ นกิจกรรมเพื่อบริ การชุมชน หรื อกิจกรรมที่สามารถชี้ให้เห็นว่าวิทยาลัยเป็ นศูนย์กลางของชุมชนยังขาดการ ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ ในวงกว้าง แนวทางการพัฒนา วิทยาลัยปรับปรุ งและขยายศูนย์ศิลปวัฒนธรรมของวิทยาลัยให้รองรับ โครงการ / กิจกรรมบริ การชุมชนมากขึ้น เช่น มีการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน ดนตรี ไทยแนวนาฏศิลป์ ให้แก่เยาวชนและบุคคลทัว่ ไปที่สนใจ การสร้างอาชีพหรื อเพิ่มพูนรายได้ให้แก่ผสู ้ นใจ เช่น การทําขนมไทย พื้นบ้าน และขนมไทยที่กาํ ลังถูกลืม ซึ่งเป็ นการสร้างความเข้าใจและความภาคภูมิใจในวิถีชีวิตให้แก่ชุมชน 13. ด้ านการบริหารและการพัฒนาสถาบัน จุดเด่น วิทยาลัยกําหนดปรัชญา นโยบายและเป้ าหมายในการบริ หารจัดการไว้อย่างชัดเจนมี คณะกรรมการฝ่ ายต่างๆ เพื่อให้เกิดความคล่องตัวและรับผิดชอบร่ วมกัน และเป็ นการกระจายอํานาจ วิทยาลัย เน้น การทํา งานเป็ นที ม มี ค วามโปร่ ง ใสตรวจสอบได้ มี ก ารจัด ระบบและระเบี ย บการปฏิ บ ัติ ง าน เช่ น แผนพัฒนาวิทยาลัย ระเบียบและแนวปฏิบตั ิของคณะ / สํานัก และกําหนดภารกิจไว้อย่างชัดเจน มีการกําหนด แผนกลยุ ท ธ์ ที่ เ ชื่ อ มโยงกับ ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ มี ก ารใช้ท รั พ ยากรภายในและภายนอกวิ ท ยาลัย อย่ า งมี


137

ประสิ ทธิ ภาพ และมีการสร้างระบบฐานข้อมูลที่เหมาะสมเพื่อการบริ หารจัดการการเรี ยนการสอนและการ วิจยั วิทยาลัยให้ความสําคัญกับบุคลากรทุกระดับ โดยจัดสรรงบประมาณในการพัฒนาบุคลากรไว้ค่อนข้าง สูง จุดที่ควรพัฒนา วิทยาลัยควรติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ ของ วิทยาลัย 14. ด้ านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน จุดเด่น บุคลากรของวิทยาลัยทั้งคณะวิชา และหน่วยงานสนับสนุน ให้ความร่ วมมือ ในการประกัน คุ ณภาพการศึ ก ษาของคณะและวิทยาลัย คณะกรรมการทุก ชุ ดมี การทํางานประสานกัน ดี เนื่องจากวิทยาลัยมีขนาดไม่ใหญ่ บุคลากรรู ้จกั คุน้ เคยและทราบลักษณะของการทํางานของแต่ละคนเป็ นอย่าง ดี รวมทั้งได้รับการสนับสนุนทุกด้านจากฝ่ ายบริ หาร จุ ด ที่ ควรพัฒ นา แม้บุ คลากรจะยิน ดี ใ ห้ความร่ ว มมื อไม่ ต่ อต้าน แต่ ก ระบวนการทํางาน ค่อนข้างล่าช้าไม่เป็ นไปตามกําหนดเวลา หรื อแผนงานที่วางไว้ แนวทางการพัฒนา คณะกรรมการประกันคุ ณภาพระดับสถาบันต้องหามาตรการในการ กระตุน้ และส่ งเสริ มให้การดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษา เป็ นไปตามแผนงานและกําหนดเวลาที่วางไว้ 15. กลุ่มตัวบ่ งชี้อตั ลักษณ์ จุดเด่น วิทยาลัยกําหนดอัตลักษณ์อย่างชัดเจนและสามารถวัดความสําเร็ จของตัวบ่งชี้ได้ อย่างเป็ นรู ปธรรม และมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับปรัชญาของวิทยาลัย ซึ่ งเน้นผูเ้ รี ยนให้มีทกั ษะด้านความรู ้ (วิชาการ) ด้านคุณธรรม (การดําเนินชีวิต) และด้านคุณค่า (ใช้ความรู ้ความสามารถอย่างถูกวิธี) จุดที่ควรพัฒนา อัตลักษณ์ของวิทยาลัย ต้องเป็ นที่รู้จกั และเข้าใจร่ วมกันทั้งฝ่ ายบริ หาร คณาจารย์และนักศึกษา แนวทางการพัฒนา วิทยาลัยส่ งเสริ มให้นกั ศึกษาเข้าใจในความหมายของ อัตลักษณ์ “ความรู ้ คู่คุณธรรม สร้างสรรค์สงั คม” อย่างแท้จริ ง 16. กลุ่มตัวบ่ งชี้มาตรการส่ งเสริม จุดเด่น วิทยาลัยดําเนินโครงการ / กิจกรรม เพื่อพัฒนานักศึกษา หลากหลาย กิจกรรม มีการบริ การข้อมูลข่าวสารแก่นกั ศึกษา ส่ งเสริ มนักศึกษานําวงจรคุณภาพ (PDCA) ไปใช้ในการจัด โครงการ / กิจกรรม และมีการวัดความสําเร็ จของโครงการ / กิจกรรม ครบทุกโครงการ / กิจกรรม จุดที่ควรพัฒนา วิทยาลัยดําเนินการสร้างเครื อข่ายกับนักศึกษาต่างสถาบันอย่างเป็ นรู ปธรรม มากขึ้น แนวทางการพัฒนา วิทยาลัยควรส่ งเสริ มให้นกั ศึกษามีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ประสบการณ์ การดําเนินกิจกรรมร่ วมกับสังคม / ชุมชน


138

สรุปค่ าคะแนนตามตัวบ่ งชี้ 1 -18 ตัว บ่ งชี้

รายละเอียด

ด้ านคุณภาพบัณฑิต 1. บัณฑิตปริ ญญาตรี ที่ได้ทาํ งานหรื อประกอบ อาชีพอิสระภายใน 1 ปี 2. คุณภาพของบัณฑิตปริ ญญาตรี โท เอก ตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ 3. ผลงานของผูส้ าํ เร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาโท ที่ได้รับการตีพิมพ์หรื อเผยแพร่ 4. ผลงานของผูส้ าํ เร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาเอก ที่ได้รับการตีพิมพ์หรื อเผยแพร่ ด้ านงานวิจัยและงานสร้ างสรรค์ 5. งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์ หรื อเผยแพร่ 6. งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่นาํ ไปใช้ประโยชน์ 7. ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ ด้ านการบริการวิชาการแก่ สังคม 8. ผลการนําความรู ้และประสบการณ์จากการ ให้บริ การวิชาการมาใช้ในการพัฒนาการเรี ยนการ สอนและการวิจยั 9. ผลการเรี ยนรู ้และเสริ มสร้างความเข้มแข็งของ ชุมชนหรื อองค์กรภายนอก ด้ านการทํานุบาํ รุงศิลปะและวัฒนธรรม 10. การส่ งเสริ มและสนับสนุนด้านศิลปะและ วัฒนธรรม 11. การพัฒนาสุ นทรี ยภาพในมิติทางศิลปะและ วัฒนธรรม ค่ าเฉลีย่ (ตัวบ่ งชี้ 1 – 11) (ตัวหาร) ต้ องมากกว่ า 3.51 (ผล)

บริหาร นิติ ธุรกิจ ศาสตร์

ศิลป ศาสตร์

วิทย์ ฯ

บัณฑิตฯ

สถาบัน

4.97

4.98

5.00

5.00

4.84

ไม่ ประเมิน

4.82

4.85

5.00

4.87

4.60

4.81

5.00

5.00

ไม่ประเมิน ไม่ประเมิน

1.93 5.00 1.69

2.50 5.00 5.00

1.04 5.00 5.00

1.25 5.00 5.00

5.00 5.00 5.00

2.34 5.00 4.07

5.00

5.00

5.00

5.00

5.00

5.00

5.00

5.00

5.00

4.00

5.00

5.00

5.00

5.00

5.00

4.00

5.00

5.00

5.00

38.42 9

4.27

5.00

42.35 9

4.71

5.00

41.04 9

4.56

5.00

38.96 9

4.33

5.00

44.60 9

4.95

5.00

46.19 10

4.62


139

ตัว บ่ งชี้

รายละเอียด

ด้ านการบริหารและการพัฒนาสถาบัน 12. การปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ของสภาสถาบัน 13. การปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ของผูบ้ ริ หาร สถาบัน 14.

การพัฒนาคณาจารย์ ด้ านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน 15. ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรอง โดยต้นสังกัด 16.

กลุ่มตัวบ่ งชี้อตั ลักษณ์ ผลการพัฒนาตามอัตลักษณ์ของสถาบัน 16.1 ผลการบริ หารสถาบันให้เกิดอัตลักษณ์ 16.2 ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ์

ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผล สะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของสถาบัน กลุ่มตัวบ่ งชี้มาตรการส่ งเสริม 18. ผลการชี้นาํ ป้ องกัน หรื อแก้ปัญหาของสังคม ในด้านต่างๆ 18.1 ผลการชี้นาํ ป้ องกันหรื อการแก้ปัญหา ของสังคมในประเด็น “สิ่ งเสพติด” 18.2 ผลการชี้นาํ ป้ องกันหรื อปัญหาของ สังคมประเด็น “จิตสาธารณะ” ค่ าเฉลีย่ (ตัวบ่ งชี้ 12 – 18) (ตัวหาร) (ต้ องมากกว่ า 3.51) (ผล)

บริหาร นิติ ศิลป วิทย์ ฯ บัณฑิตฯ สถาบัน ธุรกิจ ศาสตร์ ศาสตร์

4.25 1.96

4.20 2.17

4.44 1.81

4.39 2.33

4.25 3.89

2.33

4.44

4.26

4.23

4.10

4.25

4.52

(คณะดําเนินการร่ วมกับสถาบันใช้ผลระดับสถาบัน)

5.00

5.00

5.00

5.00

5.00

5.00

4.82

4.85

5.00

4.87

4.60

4.81

(คณะดําเนินการร่ วมกับสถาบันใช้ผลระดับสถาบัน)

17.

ค่ าเฉลีย่ รวม (18 ตัวบ่ งชี้ + +) ต้ องมากกว่ า 3.51

(ตัวหาร) (ผล)

4.65

ไม่ประเมิน

5.00

5.00

5.00

5.00

5.00

5.00

(คณะดําเนินการร่ วมกับสถาบันใช้ผลระดับสถาบัน)

5.00

5.00

5.00

5.00

5.00

5.00

5.00

5.00

5.00

5.00

5.00

5.00

35.47

35.48

35.48

35.69

36.99

4.43

4.44

4.44

4.46

4.62

73.89

77.83 17

76.52

74.65

81.59

4.58

4.50

4.39

4.80

8

17

4.35

8

8

17

8

17

8

17

9

19


140

ช่วงคะแนน

4.51 – 5.00 3.51 – 4.50 2.51 – 3.50 1.51 – 2.50 0.00 – 1.50

ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุ ง ต้องปรับปรุ งด่วน


141

ภาคผนวก เอกสารประกอบระบบคุณภาพ


142

เอกสารประกอบระบบคุณภาพ ด้ าน / กลุ่มตัวบ่ งชี ้ 1. ด้ านคุณภาพบัณฑิต

หลักฐาน 1. สรุ ปจํานวนนักศึกษาที่สาํ เร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ปี การศึกษา 2552 (เอกสารหมายเลข 1.1) 2. ประกาศสภาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ฉบับที่ 4 / 2552 นักศึกษา สําเร็ จการศึกษา ภาคการศึกษาที่ 1 / 2552 (เอกสารหมายเลข 1.2) 3. ประกาศสภาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ฉบับที่ 1 / 2553 นักศึกษา สําเร็ จการศึกษา ภาคการศึกษาที่ 2 / 2552 (เอกสารหมายเลข 1.3) 4. ประกาศสภาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ฉบับที่ 2 / 2553 นักศึกษา สําเร็ จการศึกษา ภาคการศึกษาที่ 2 / 2552 และภาคฤดูร้อน ปี การศึกษา 2552 (เอกสารหมายเลข 1.4) 5. รายงานการวิจยั ภาวะการมีงานทําหรื อประกอบอาชีพอิสระของ นักศึกษาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ปี การศึกษา 2552 – 2553 (เอกสารหมายเลข 1.5) 6. รายงานการวิจยั เรื่ อง คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามความ ต้องการของผูป้ ระกอบการ ปี การศึกษา 2552 – 2553 (เอกสารหมายเลข 2.1) 7. รายงานการสํารวจความพึงพอใจของผูป้ ระกอบการที่มีต่อ มหาบัณฑิตที่สาํ เร็ จการศึกษา ปี การศึกษา 2553 (เอกสารหมายเลข 2.2) 8. รายงานสื บเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ เบญจมิตรวิชาการ ครั้งที่ 1 “การวิจยั สู่การพัฒนาที่ยง่ั ยืน” มหาวิทยาลัยธนบุรี (เอกสารเลขหมาย 3.1) 9. หนังสื อตอบรับจากสถาบันวิจยั และพัฒนามหาวิทยาลัย ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ที่ ศธ 0551.09/พิเศษ ลงวันที่ 7 เมษยายน 2554 ให้ตีพิมพ์ในวารสารวิจยั และ พัฒนาวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปี ที่ 8 ฉบันที่ 1 (มกราคม – เมษายน 2556) จํานวน 2 ฉบับ (เอกสารหมายเลข 3.2)


143

ด้ าน / กลุ่มตัวบ่ งชี ้

หลักฐาน 10. หนังสื อตอบรับจากสถาบันวิจยั และพัฒนา มหาวิทยาลัย ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ที่ ศธ 0551.09/พิเศษ ลงวันที่ 7 เมษยายน 2554 ให้ตีพิมพ์ในวารสารวิจยั และ พัฒนาวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปี ที่ 8 ฉบันที่ 2 (พฤษภาคม – สิ งหาคม 2556) จํานวน 2 ฉบับ (เอกสารหมายเลข 3.3) 11. หนังสื อตอบรับจากสํานักวิชการ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ที่ วชก.0022/พิเศษ ลงวันที่ 9 สิ งหาคม 2553 ให้ตีพมิ พ์ใน วารสารวิชาการวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ปี ที่ 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม –มิถุนายน 2555) จํานวน 4 ฉบับ (เอกสารหมายเลข 3.4) 12. หนังสื อตอบรับจากสํานักวิชาการ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ที่ วชก. 0033/พิเศษ ลงวันที่ 20 สิ งหาคม 2553 ให้ตีพิมพ์ใน วารสารวิชาการวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ปี ที่ 10 ฉบับที่ 1 (มกราคม –มิถุนายน 2556) จํานวน 2 ฉบับ (เอกสารหมายเลข 3.5) 13. หนังสื อตอบรับจากสํานักวิชาการ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ที่ วชก. 0030/พิเศษ ลงวันที่ 16 สิ งหาคม 2553 ให้ตีพมิ พ์ใน วารสารวิชาการวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ปี ที่ 9 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม –ธันวาคม 2555) จํานวน 4 ฉบับ (เอกสารหมายเลข 3.6) 14. หนังสื อตอบรับจากสํานักวิชาการ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ที่ วชก. 0040/พิเศษ ลงวันที่ 10 กันยายน 2553 ให้ตีพมิ พ์ใน วารสารวิชาการวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ปี ที่ 10 ฉบับที่ 1 (มกราคม –มิถุนายน 2556) จํานวน 2 ฉบับ (เอกสารหมายเลข 3.7) 15. หนังสื อตอบรับจากสํานักวิชาการ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ที่ วชก. 0042/พิเศษ ลงวันที่ 15 กันยายน 2553 ให้ตีพมิ พ์ใน วารสารวิชาการวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ปี ที่ 10 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม –ธันวาคม 2556) จํานวน 3 ฉบับ (เอกสารหมายเลข 3.8)


144

ด้ าน / กลุ่มตัวบ่ งชี ้

หลักฐาน

2. ด้ านงานวิจยั และ งานสร้ างสรรค์

1. หนังสื อการสัมมนาทางวิชาการและรวมบทความวิชาการเนื่องใน โอกาสครบรอบ 54 ปี คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิต พัฒนบริ หารศาสตร์ (ดร.อําพล นววงศ์เสถียร) (เอกสารหมายเลข 5.1) 2. วารสารบริ หารธุรกิจ คณะพาณิ ชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ฉบับที่ 124 (ดร.อําพล นววงศ์เสถียร) (เอกสารหมายเลข 5.2) 3. วารสารพัฒนบริ หารศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ ปี ที่ 50 ฉบับที่ 1 / 2553 (ดร.อําพล นววงศ์เสถียร) (เอกสารหมายเลข 5.3) 4. รายงานสื บเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ เบญจมิตรวิชาการ ครั้งที่ 1 “การวิจยั สู่การพัฒนาที่ยง่ั ยืน” มหาวิทยาลัยธนบุรี (อาจารย์สุดาสวรรค์ งามมงคลวงศ์, อาจารย์สุริยะ พุม่ เฉลิม, อาจารย์รวมพร ทองรัศมี, อาจารย์นนั ทภัค แก้วใหญ่, อาจารย์พิชญ์สินี ศรี สวัสดิ์) (เอกสารหมายเลข 5.4) 5. รายงานสื บเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “การวิจยั สู่วิทยาการทางปัญญาสําหรับคนไทย” ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้าน สมเด็จเจ้าพระยา (อาจารย์ญาณวัฒน์ พลอยเทศ, อาจารย์นนั ทิยา สุ วรรณ) (เอกสารหมายเลข 5.5) 6. Proceeding : The 5th National Conference on computing and Information Technology 2009 (อาจารย์ชาลินี พรรธนะแพทย์) (เอกสารหมายเลข 5.6) 7. หนังสื อตอบรับจากสถาบันวิจยั และพัฒนา ที่ศธ. 0551.09 / พิเศษ ลงวันที่ 11 มิถุนายน 2553 ให้ตีพิมพ์ในวารสารวิจยั และ พัฒนาวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปี ที่ 6 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2554 (เอกสารหมายเลข 5.7) 8. International Journal of Management and Business (IJMB). Volume 1 – No.1, September 2010 (ดร.จตุพร สังขวรรณ) (เอกสารหมายเลข 5.8)


145

ด้ าน / กลุ่มตัวบ่ งชี ้

หลักฐาน 9. International Business Research Vol.4,No.1, January 2011 (ดร.จตุพร สังขวรรณ) (เอกสารหมายเลข 5.9) 10. สรุ ปหลักฐานรับรองการใช้ประโยชน์ของงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ปี การศึกษา 2553 (เอกสารหมายเลข 6.1) 11. ดร.อําพล นววงศ์เสถียร. 2552. ปั จจัยที่มีผลต่อ ความสําเร็ จของธุรกิจครอบครัว. วารสารพัฒนบริ หารศาสตร์. ปี ที่ 49 ฉบับที่ 1 / 2552. มกราคม – มีนาคม 2552. (เอกสารหมายเลข 7.1) 12. ดร.อําพล นววงศ์เสถียร. 2552. การประกันคุณภาพ การศึกษาอีเลิร์นนิง : ความท้าทายของการเรี ยนรู ้ที่ ไร้พรมแดน. วารสารศึกษาศาสตร์ ปี ที่ 20 ฉบับที่ 3 .มิถุนายน – กันยายน 2552. (เอกสารหมายเลข 7.2) 13. ดร.อําพล นววงศ์เสถียร. 2552. จากธุรกิจ ครอบครัวสู่ธุรกิจระดับโลก : ทฤษฎีการถ่ายโอน ธุรกิจสู่ การเติบโตอย่างยัง่ ยืน.วารสารการจัดการ ภาครัฐและภาคเอกชน. ปี ที่ 16 ฉบับที่ 2. กรกฎาคม – ธันวาคม 2552. (เอกสารหมายเลข 7.3) 14. ดร.อําพล นววงศ์เสถียร. 2552. หลักการตลาด. กรุ งเทพฯ : วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก. (เอกสารหมายเลข 7.4) 15. อ.เกษม มโนสันต์. 2554. การภาษีอากร. (ฉบับปรับปรุ ง ครั้งที่ 10). กรุ งเทพฯ : บริ ษทั พัฒนาวิชาการ (2535) จํากัด. (เอกสารหมายเลข 7.5)


146

ด้ าน / กลุ่มตัวบ่ งชี ้

3.ด้ านการบริการวิชาการแก่สังคม

หลักฐาน 16. อ.อารี ย ์ เพชรหวน. 2552. ทักษะในการศึกษา. กรุ งเทพฯ : วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก. (เอกสารหมายเลข 7.6) 17. ดร.วัลยา ชูประดิษฐ์. 2553. องค์การและการจัดการ. กรุ งเทพฯ : วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก. (เอกสารหมายเลข 7.7) 18. อ.ไชยยศ ไชยมัน่ คง และมยุขพันธ์ ไชยมัน่ คง. 2554.กลยุทธ์การขนส่ ง. (พิมพ์ครั้งที่ 2) กรุ งเทพฯ : วิชน่ั พรี เพรส จํากัด. (เอกสารหมายเลข 7.8) 19. อ.ไชยยศ ไชยมัน่ คง และมยุขพันธ์ ไชยมัน่ คง. 2553. กลยุทธ์โลจิสติกส์และซัพพลายเซนเพื่อการ แข่งขันในตลาดโลก. กรุ งเทพฯ : วิชนั่ พรี เพรส จํากัด. (เอกสารหมายเลข 7.9) 1. โครงการบริ การทางวิชาการ เรื่ อง E-Commerce เรื่ องง่ายมากกว่าที่คุณคิด (เอกสารหมายเลข 8.1.1) 2. โครงการบริ การทางวิชาการ เรื่ อง การป้ องกันความ ปลอดภัยจากอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (เอกสารหมายเลข 8.1.2) 3. โครงการบริ การทางวิชาการ เรื่ อง กลยุทธ์การสร้าง ตราสิ นค้าเพื่อสร้างความได้เปรี ยบในการแข่งขัน ให้กบั ธุรกิจ (เอกสารหมายเลข 8.1.3) 4. โครงการบริ การทางวิชาการ เรื่ อง การพัฒนาความรู ้ ต่อเนื่องทางวิชาชีพบัญชี (เอกสารหมายเลข 8.1.4) 5. โครงการบริ การทางวิชาการ เรื่ อง การเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ โดยใช้ เครื่ องมือ Green Lean Logistics (เอกสารหมายเลข 8.1.5)


147

ด้ าน / กลุ่มตัวบ่ งชี ้

หลักฐาน 6. โครงการบริ การทางวิชาการ เรื่ อง เส้นทางสู่นกั ขาย มืออาชีพ (เอกสารหมายเลข 8.1.6) 7. โครงการบริ การทางวิชาการ เรื่ อง แนวทางในการ จัดทํา E-Marketing ,E-Commerce และ E-Shopping (เอกสารหมายเลข 8.1.7) 8. สรุ ปโครงการการบริ การทางวิชาการของ คณะบริ หารธุรกิจ (เอกสารหมายเลข 8.1.8) 9. เอกสารประกอบการบูรณาการเข้ากับการเรี ยน การสอน (เอกสารหมายเลข 8.1.9) 10. เอกสารประกอบการบูรณาการเข้ากับการวิจยั (เอกสารหมายเลข 8.1.10) 11. โครงการช่วยเหลือและให้บริ การทางกฎหมาย (เอกสารหมายเลข 8.2.1) 12. มคอ.3 วิชา 300408 การให้คาํ ปรึ กษากฎหมายและ การว่าความ (เอกสารหมายเลข 8.2.2) 13. งานวิจยั ปัญหาการใช้เสรี ภาพเกี่ยวกับการชุมนุม ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยศึกษาการ ชุมนุมตามบทบัญญัติ มาตรา 63 แห่ งรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 (เอกสารหมายเลข 8.2.3) 14. โครงการที่ปรึ กษากฎหมายประจําศาล จังหวัดพระโขนง (เอกสารหมายเลข 8.2.4) 15. โครงการบรรยายพิเศษทางกฎหมาย (เอกสารหมายเลข 8.2.5) 16. มคอ.3 วิชา 300201 กฎหมายรัฐธรรมนูญ (เอกสารหมายเลข 8.2.6)


148

ด้ าน / กลุ่มตัวบ่ งชี ้

หลักฐาน 17. โครงการอบรมภาษาอังกฤษและความแตกต่าง ระหว่างวัฒนธรรมตะวันตกและตะวันออกสําหรับ พ่อค้าแม่คา้ ตลาดนํ้าบางนํ้าผึ้ง อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ (ปี 2552) (เอกสารหมายเลข 8.3.1) 18. โครงการอบรมภาษาอังกฤษสําหรับพนักงานนวด (ปี 2552) (เอกสารหมายเลข 8.3.2) 19. โครงการสอนภาษาอังกฤษสําหรับนักเรี ยน ม.6 โรงเรี ยนด่านช้างวิทยา จ.สุ พรรณบุรี (ปี 2552) (เอกสารหมายเลข 8.3.3) 20. โครงการสอนภาษาอังกฤษและภาษาจีน นักเรี ยน ชั้น ม.6 โรงเรี ยนมารดานฤมล จ.ฉะเชิงเทรา (ปี 2553) (เอกสารหมายเลข 8.3.4) 21. โครงการสอบภาษาอังกฤษเพื่อเตรี ยมสอบ TOEIC (ปี 2552) โครงการสอนภาษาอังกฤษเพื่อเตรี ยม สอบ TOEIC (ปี 2553) (เอกสารหมายเลข 8.3.5) 22. โครงการอบรมไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ Brush Up (ปี 2552) (เอกสารหมายเลข 8.3.6) 23. โครงการอบรมอินเตอร์เน็ตชุมชน สําหรับ ผูบ้ ริ หารและประชาชนตําบลบางนํ้าผึ้ง (เอกสารหมายเลข 8.4.1) 24. มคอ.3 วิชา 400204 เทคโนโลยีสารสนเทศ (เอกสารหมายเลข 8.4.2) 25. โครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ ASP.NET for E-Commerce (เอกสารหมายเลข 8.4.3) 26. มคอ.3 วิชา 103405 พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ (เอกสารหมายเลข 8.4.4)


149

ด้ าน / กลุ่มตัวบ่ งชี ้

หลักฐาน 27. มคอ.3 วิชา 103404 การเขียนโปรแกรม บนอินเตอร์เน็ต (เอกสารหมายเลข 8.4.5) 28. สรุ ปโครงการสัมมนาทางวิชาการ เรื่ อง ขับเคลื่อนโลจิสติกส์และการตลาดอย่างไรในยุคไร้ พรมแดน (เอกสารหมายเลข 8.5.1) 29. มคอ.3 วิชา 745501 การจัดการโลจิสติกส์และ ซัพพลายเซน (เอกสารหมายเลข 8.5.2) 30. มคอ.3 วิชา 745103 การจัดการสิ นค้าคงคลังและ คลังสิ นค้า (เอกสารหมายเลข 8.5.3) 31. มคอ.3 วิชา 705202 การจัดการส่ งเสริ มการตลาด (เอกสารหมายเลข 8.5.4) 32. คําสัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการบริ หาร คณะบริ หารธุรกิจ (เอกสารหมายเลข 9.1.1) 33. รายงานการประชุมคณะกรรมการบริ หาร คณะบริ หารธุรกิจ (เอกสารหมายเลข 9.1.2) 34. รายงานโครงการสํารวจความต้องการของชุมชน เพื่อกําหนดทิศทางและแผนในการบริ การทาง วิชาการ ปี 2553 (เอกสารหมายเลข 9.1.3) 35. แนวปฏิบตั ิและแผนการดําเนินงาน คณะบริ หารธุรกิจ ปี การศึกษา 2553 (เอกสารหมายเลข 9.1.4) 36. รายงานสรุ ปผลการปฏิบตั ิงานตามแนวปฏิบตั ิและ แผนการดําเนินงานคณะบริ หารธุรกิจ ปี การศึกษา 2553 (เอกสารหมายเลข 9.1.5) 37. รายงานผลการดําเนินงาน โครงการค่ายเรี ยนรู ้ คุณธรรมนําชีวิตพอเพียง (เอกสารหมายเลข 9.1.6)


150

ด้ าน / กลุ่มตัวบ่ งชี ้

หลักฐาน 38. รายงานผลการดําเนินงานโครงการบริ การชุมชน “กรอกแบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาอย่างไรให้ ถูกต้อง” (เอกสารหมายเลข 9.1.7) 39. เอกสารโครงการความร่ วมมือทางวิชาการ การวิจยั การบริ การวิชาการและการบริ หารจัดการระหว่าง วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอกกับวิทยาลัย บรมราชชนนี ตรัง (เอกสารหมายเลข 9.1.8) 40. หลักฐานการเข้าร่ วมประชุมที่องค์กรต่างๆ ภายใน ชุมชนขอความร่ วมมือ (เอกสารหมายเลข 9.1.9) 41. แผนพัฒนาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ระยะที่ 1 (พ.ศ 2553 - 2556) (เอกสารหมายเลข 9.1.10) 42. แผนการศึกษา – ยุทธศาสตร์ เป้ าประสงค์ กลยุทธ์ ตัวชี้วดั เป้ าหมาย คณะบริ หารธุรกิจ ปี การศึกษา 2553 – 2556 (เอกสารหมายเลข 9.1.11) 43. สรุ ปผลการประเมินโครงการช่วยเหลือและ ให้บริ การทางกฎหมาย (เอกสารหมายเลข 9.2.1) 44. สรุ ปผลการประเมินโครงการที่ปรึ กษากฎหมาย ประจําศาลจังหวัดพระโขนง (เอกสารหมายเลข 9.2.2) 45. แนวปฏิบตั ิและแผนการดําเนินงาน คณะนิติศาสตร์ ปี การศึกษา 2553 (เอกสารหมายเลข 9.2.3) 46. แผนการศึกษา – ยุทธศาสตร์ เป้ าประสงค์ กลยุทธ์ ตัวชี้วดั เป้ าหมาย คณะศิลปศาสตร์ ปี การศึกษา 2553 – 2556 / แนวปฏิบตั ิและแผนการดําเนินงาน คณะศิลปศาสตร์ ปี การศึกษา 2553 (เอกสารหมายเลข 9.3.1)


151

ด้ าน / กลุ่มตัวบ่ งชี ้

หลักฐาน 47. คําสัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการประจําคณะศิลปศาสตร์ (เอกสารหมายเลข 9.3.3) 48.รายงานการประชุมคณะกรรมการประจํา คณะศิลปศาสตร์ ปี การศึกษา 2553 (เอกสารหมายเลข 9.3.4) 49. โครงการฟื้ นฟู อนุรักษ์ สื บสาน เผยแพร่ วัฒนธรรมอาหารท้องถิ่น กิจกรรมกินอยูอ่ ย่างไทย ตะลิงปลิงพืชสมุนไพรเพื่อสุ ขภาพ (เอกสารหมายเลข 9.3.5) 50. โครงการสอนภาษาอังกฤษและภาษาจีน นักเรี ยน ม.6 โรงเรี ยนมารดานฤมล จ.ฉะเชิงเทรา (เอกสารหมายเลข 9.3.6) 51. ภาพถ่ายธุรกิจการค้านํ้าตะลิงปลิงในชุมชน บางนํ้าผึ้ง (เอกสารหมายเลข 9.3.7) 52. เอกสารโครงการบริ การวิชาการ “การอบรมอินเทอร์เน็ตสําหรับ ผูบ้ ริ หารและประชาชนตําบลบางนํ้าผึ้ง” (เอกสารหมายเลข 9.4.1) 53. แบบประเมินและสรุ ปผลการประเมินโครงการ “การอบรมอินเทอร์เน็ตสําหรับผูบ้ ริ หารและประชาชนตําบล บางนํ้าผึ้ง” (เอกสารหมายเลข 9.4.2) 54. รายงานการประชุม “การปรับปรุ งเทคนิคการสอนและ จุดบกพร่ องในการสอนของแต่ละวัน” (เอกสารหมายเลข 9.4.3) 55. จดหมายเชิญเข้าร่ วมโครงการฯ (เอกสารหมายเลข 9.5.1) 56. รายงานผลการดําเนินโครงการฯ (เอกสารหมายเลข 9.5.2)


152

ด้ าน / กลุ่มตัวบ่ งชี้

4. ด้ านการทํานุบํารุ งศิลปะและ วัฒนธรรม

หลักฐาน 57.โครงการเป็ นไปอย่างต่อเนื่องจากรุ่ นที่ 1- รุ่ นที่ 13 (เอกสารหมายเลข 9.5.3) 58. รายงานผลการดําเนินงานโครงการฯ ผูเ้ ข้าอบรมสามารถนําผลที่ได้จาก การอบรมไปพัฒนาตนเอง (เอกสารหมายเลข 9.5.4) 59. รายงานผลการดําเนินงานโครงการฯ (เอกสารหมายเลข 9.5.5) 1. แผนพัฒนาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2553-2556) (เอกสารหมายเลข 10.1.1) 2. แผนการศึกษา-ยุทธศาสตร์ เป้ าประสงค์กลยุทธ์ ตัวชี้วดั เป้ าหมายคณะ บริ หารธุรกิจ ปี การศึกษา 2553-2556 (เอกสารหมายเลข 10.1.2) 3. แนวปฏิบตั ิและแผนการดําเนินงานคณะบริ หารธุรกิจ ปี การศึกษา 2553 (เอกสารหมายเลข 10.1.3) 4. คําสัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการด้านศิลปวัฒนธรรมคณะบริ หารธุรกิจ (เอกสารหมายเลข 10.1.4) 5. รายงานการประชุมคณะกรรมการบริ หาคณะบริ หารธุรกิจ ครั้งที่ 1-5 ปี การศึกษา 2553 (เอกสารหมายเลข 10.1.5) 6. รายงานสรุ ปผลการปฏิบตั ิงานตามแนวปฏิบตั ิและแผนการดําเนินงาน คณะบริ หารธุรกิจ ปี การศึกษา 2553 (เอกสารหมายเลข 10.1.6) 7. จุลสารศิลปะและวัฒนธรรม วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก (เอกสารหมายเลข 10.1.7) 8. แหล่งสื บค้น www.southeast.ac.th (เอกสารหมายเลข 10.1.8) 9. รายงานโครงการเผยแพร่ วฒั นธรรมท้องถิ่นบางนา ณ ตลาดนํ้า บาง นํ้าผึ้ง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โดยจัดแสดงและ เผยแพร่ วฒั นธรรมท้องถิ่นบางนา คือ แสดงการละเล่นพื้นบ้านสะบ้า มอญ และจัดบูธเผยแพร่ “ขนมตึงตัง ขนมเอกลักษณ์บางนา” วันที่ 22 พฤศจิกายน 2553 (เอกสารหมายเลข 10.1.9)


153

ด้ าน / กลุ่มตัวบ่ งชี้

หลักฐาน 10. สําเนาประกาศเกียรติคุณบัตรจากสภาสตรี แห่งชาติ ในพระบรม ราชินูปถัมภ์ กระทรวงยุติธรรมเพื่อแสดงว่า นางสาวภิรญา กีรติวฒ ุ ิพร เป็ นเยาวสตรี ไทยดีเด่นประจําปี 2553 (เอกสารหมายเลข 10.1.10) 11. สําเนาเกียรติคุณบัตรจากกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อแสดงว่า นางสาว ภิรญา กีรติวฒ ุ ิพร เป็ นเด็กและเยาวชนดีเด่นแห่ งชาติ ประจําปี 2553 (เอกสารหมายเลข 10.1.11) 12. คําสัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการศิลปะและวัฒนธรรม (เอกสารหมายเลข 10.2.1) 13. รายงานการประเมินตนเอง (SAR) คณะนิติศาสตร์ ปี การศึกษา 2553 (เอกสารหมายเลข 10.2.2) 14. รายงานโครงการเผยแพร่ วฒั นธรรม ท้องถิ่นบางนา ณ ตลาดนํ้าบาง นํ้าผึ้ง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ (เอกสารหมายเลข 10.2.3) 1 5 . สํ า เ น า ใ บ ป ร ะ ก า ศ เ กี ย ร ติ คุ ณ ข อ ง น า ย ธ น พ ร ฉ า ย ง า ม (เอกสารหมายเลข 10.2.4) 16. แผนการศึกษา – ยุทธศาสตร์ เป้ าประสงค์ กลยุทธ์ ตัวชี้วดั เป้ าหมาย คณะศิลปศาสตร์ ปี การศึกษา 2553-2556 (เอกสารหมายเลข 10.3.1) 17. แนวปฏิบตั ิและแผนการดําเนินงาน คณะศิลปศาสตร์ ปี การศึกษา 2553 (เอกสารหมายเลข 10.3.2) 18. คําสัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการด้านศิลปวัฒนธรรมคณะศิลปศาสตร์ (เอกสารหมายเลข 10.3.3) 19. รายงานการประชุมคณะกรรมการประจําคณะศิลปศาสตร์ ปี การศึกษา 2553 (เอกสารหมายเลข 10.3.4)


154

ด้ าน / กลุ่มตัวบ่ งชี้

หลักฐาน 20. โครงการเผยแพร่ ว ฒ ั นธรรมท้องถิ่ นบางนา ณ ตลาดนํ้าบางนํ้าผึ้ง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โดยจัดแสดงและเผยแพร่ วัฒนธรรมท้องถิ่นบางนา คือ การแสดงการละเล่นพื้นบ้านสะบ้ามอญ แ ล ะ จั ด บู ธ เ ผ ย แ พ ร่ “ ข น ม ตึ ง ตั ง ข น ม เ อ ก ลั ก ษ ณ์ บ า ง น า ” (เอกสารหมายเลข 10.3.5) 21. รายงานการประเมินตนเองคณะศิลปศาสตร์ ปี การศึกษา 2552-2553 (เอกสารหมายเลข 10.3.6) 22. Brochure ภาษาอังกฤษเผยแพร่ องค์ความรู ้ ตะลิงปลิงพืชสมุนไพร ท้องถิ่นให้กบั อบต.บางนํ้าผึ้ง เพื่อให้ความรู ้แก่นกั ท่องเที่ยวต่างชาติ เรื่ องสรรพคุณและประโยชน์ของตะลิงปลิง (เอกสารหมายเลข 10.3.7) 23. สํ า เนาใบประกาศเกี ย รติ คุ ณ ของ นางสาวธนิ ศ า อ่ ว มน้ อ ย (เอกสารหมายเลข 10.3.8) 24. แผนยุทธศาสตร์ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจําปี การศึกษา 2553 (เอกสารหมายเลข 10.4.1) 25. แนวปฏิบตั ิและแผนการดําเนินงานคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ประจําปี การศึกษา 2553 (เอกสารหมายเลข 10.4.2) 26. รายงานการประชุมของคณะกรรมการคณะเพื่อแต่งตั้งคณะกรรมการ ดําเนินงานด้านศิลปวัฒนธรรม (เอกสารหมายเลข 10.4.3) 27. รายงานการประชุมของคณะกรรมการด้านศิลปวัฒนธรรมของคณะฯ ในส่ วนของ การกําหนดโครงการด้านศิลปวัฒนธรรม (เอกสารหมายเลข 10.4.4) 28. รายงานสรุ ปผลของโครงการด้านส่ งเสริ ม และทํานุบาํ รุ ง ศิลปวัฒนธรรม (เอกสารหมายเลข 10.4.5) 29. เอกสารสรุ ปโครงการอบรมพัฒนาจิต ณ สวนเบญจทัศน์ (เอกสารหมายเลข 10.4.6)


155

ด้ าน / กลุ่มตัวบ่ งชี้

หลักฐาน 30. เอกสารสรุ ปโครงการสานฝันแบ่งปันน้อง ณ โรงเรี ยนศึกษาสงเคราะห์ จันทบุรี (เอกสารหมายเลข 10.4.7) 31. เอกสารสรุ ปโครงการ 5 ส. (เอกสารหมายเลข 10.4.8) 32. แผนยุทธศาสตร์ เป้ าประสงค์ กลยุทธ์ ตัวชี้วดั เป้ าหมายของบัณฑิต วิทยาลัย ปี การศึกษา 2553 - 2556 (เอกสารหมายเลข 10.4.9) 33. แนวปฏิบตั ิและแผนการดําเนินงานบัณฑิตวิทยาลัย ปี การศึกษา 2553 (เอกสารหมายเลข 10.4.10) 34. รายงานการประชุมคณะกรรมการบัณฑิตวิทยาลัย ครั้งที่ 3/2554 วาระที่ 2 เรื่ องเสนอเพื่อทราบ กิจกรรมพัฒนาการเรี ยนการสอน ได้แก่ โครงการประณตน้อมสักการบูรพคณาจารย์ (เอกสารหมายเลข 10.4.11) 35. รายงานการประชุมคณะกรรมการบัณฑิตวิทยาลัย ครั้งที่ 4/2554 วาระที่ 2 เรื่ องเสนอเพือ่ ทราบ กิจกรรมพัฒนาการเรี ยนการสอน ได้แก่ โครงการ พี่ MBA ปั นนํ้าใจให้นอ้ งบ้านโสสะ (เอกสารหมายเลข 10.4.12) 36. สรุ ปผลการดําเนินงานโครงการประณตน้อมสักการบูรพคณาจารย์ (เอกสารหมายเลข 10.4.13) 37. สรุ ปผลการดําเนินงานโครงการพี่ MBA ปั นนํ้าใจให้นอ้ ง บ้านโสสะ (เอกสารหมายเลข 10.4.14) 38. สําเนาใบประกาศเกียรติคุณที่ได้รับรางวัลชนะเลิศภาคกลางตอนล่าง และภาคตะวันออก ระดับอุดมศึกษานายสามารถ โมราวรรณ ใน โครงการ “นักเรี ยน นักศึกษา กองทุนฯ ดีเด่น ประจําปี การศึกษา 2551” ซึ่งเป็ นผูท้ ี่มีผลการเรี ยนดี มีความประพฤติ เหมาะสมและตระหนักในหน้าที่การเป็ นผูก้ ยู้ มื จึงสมควรได้รับการยก ย่องและเป็ นแบบอย่าง (เอกสารหมายเลข 10.4.15)


156

ด้ าน / กลุ่มตัวบ่ งชี้

5. ด้ านการบริหารและการพัฒนา สถาบัน

หลักฐาน 39. คู่มือประกอบการปฏิบตั ิงานกิจกรรม 5 ส. (เอกสารหมายเลข 11.1.1) 40. ภาพถ่ายอาคารสถานที่ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก (เอกสารหมายเลข 11.1.2) 41. ภาพถ่ายการใช้พ้ืนที่จดั กิจกรรมทางวัฒนธรรมของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์ บางกอก (เอกสารหมายเลข 11.1.3) 42. รายงานโครงการสํารวจความพึงพอใจการพัฒนาสุ นทรี ยภาพในมิติทาง ศิลปะและวัฒนธรรม (สํานักวิจยั ) (เอกสารหมายเลข 11.1.4) 1. แบบประเมินผลการดําเนินงานของสภาวิทยาลัย (เอกสารหมายเลข 12.1.1) 2. รายงานการประชุมคณะกรรมการสภา ปี 2551 (เอกสารหมายเลข 12.1.2) 3. รายงานการประชุมคณะกรรมการสภา ปี 2552 (เอกสารหมายเลข 12.1.3) 4. รายงานการประชุมคณะกรรมการสภา ปี 2553 (เอกสารหมายเลข 12.1.4) 5. รายงานการประเมินตนเองและรายงานการประเมินตนเองของคณบดี คณะบริ หารธุรกิจ ปี การศึกษา 2553 (เอกสารหมายเลข 13.1) 6. รายงานการประเมินตนเองและรายงานการประเมินตนเองของคณบดี คณะนิติศาสตร์ ปี การศึกษา 2553 (เอกสารหมายเลข 13.2) 7. รายงานการประเมินตนเองและรายงานการประเมินตนเองของคณบดี คณะศิลปศาสตร์ ปี การศึกษา 2553 (เอกสารหมายเลข 13.3) 8. รายงานการประเมินตนเองและรายงานการประเมินตนเองของคณบดี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปี การศึกษา 2553 (เอกสารหมายเลข 13.4) 9. รายงานการประเมินตนเองและรายงานการประเมินตนเองของคณบดี บัณฑิตวิทยาลัย ปี การศึกษา 2553 (เอกสารหมายเลข 13.5)


157

ด้ าน / กลุ่มตัวบ่ งชี้

6. ด้ านการพัฒนาและประกัน คุณภาพภายใน

7. กลุ่มตัวบ่ งชี้อตั ลักษณ์

หลักฐาน 10. รายงานการประเมินตนเองและรายงานการประเมินตนเองของ อธิการบดี ปี การศึกษา 2553 (เอกสารหมายเลข 13.6) 11. ข้อมูลจํานวนบุคลากรประจําวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ปี การศึกษา 2553 (เอกสารหมายเลข 14.1) 1. รายงานการประเมินตนเอง(SAR) คณะบริ หารธุรกิจ ปี การศึกษา 2553 (เอกสารหมายเลข 15.1) 2. รายงานการประเมินตนเอง(SAR) คณะนิติศาสตร์ ปี การศึกษา 2553 (เอกสารหมายเลข 15.2) 3. รายงานการประเมินตนเอง(SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปี การศึกษา 2553 (เอกสารหมายเลข 15.3) 4. รายงานการประเมินตนเอง(SAR) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปี การศึกษา 2553 (เอกสารหมายเลข 15.4) 5. รายงานการประเมินตนเอง(SAR) บัณฑิตวิทยาลัย ปี การศึกษา 2553 (เอกสารหมายเลข 15.5) 6. รายงานการประเมินตนเอง(SAR) วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ปี การศึกษา 2553 (เอกสารหมายเลข 15.6) 1. แผนพัฒนาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2553-2556) (เอกสารหมายเลข 16.1.1) 2. รายงานการวิจยั เรื่ อง ภาวะการมีงานทําหรื อประกอบอาชีพของ นักศึกษาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ปี การศึกษา 2552-2553 (เอกสารหมายเลข 16.1.2) 3. รายงานการวิจยั เรื่ อง คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ ตามความต้องการของผูป้ ระกอบการ ปี การศึกษา 2552-2553 (เอกสารหมายเลข 16.1.3) 4. รายงานการประชุมสภาวิทยาลัย ครั้งที่ 5/2553 วันที่ 15 ธันวาคม 2553 รายงานการประชุมสภาวิทยาลัย ครั้งที่ 1/2554 วันที่ 26 เมษายน 2554 (เอกสารหมายเลข 16.1.4)


158

ด้ าน / กลุ่มตัวบ่ งชี้

8. กลุ่มตัวบ่ งชี้มาตรการส่ งเสริม

หลักฐาน 5. รายงานโครงการสํารวจความพึงพอใจของบุคลากรเกี่ยวกับ การพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก (เอกสารหมายเลข 16.1.5) 6. โครงการบริ การวิชาการแก่ชุมชน / สังคม (เอกสารหมายเลข 16.1.6) 7. สรุ ปรายชื่อนักศึกษาที่ได้รับรางวัลประกาศเกียรติคุณ (เอกสารหมายเลข 16.1.7) 8. รายงานการสํารวจความพึงพอใจของผูป้ ระกอบการที่มีต่อมหาบัณฑิตที่ สําเร็ จการศึกษา ปี การศึกษา 2553 (เอกสารหมายเลข 16.2.1) 9. รายงานการประชุมสภาวิทยาลัย เรื่ องการกําหนดเอกลักษณ์วิทยาลัย ครั้งที่ 1/2554 วันที่ 26 เมษายน 2554 (สํานักอธิการบดี) รายงานการประชุม เรื่ องการกําหนดอัตลักษณ์วิทยาลัย ครั้งที่ 1/2554 วันที่ 7 มีนาคม 2554 และ ครั้งที่ 2/2554 วันที่ 18 มีนาคม 2554 (สํานักประกันคุณภาพการศึกษา) (เอกสารหมายเลข 17.1) 10. โครงการบางพลีโมเดล (เอกสารหมายเลข 17.2) 11. โครงการบริ การทางวิชาการให้กบั นักเรี ยนมัธยมศึกษาชั้นปี ที่ 6 โรงเรี ยนมารดานฤมล ต. บางวัว อ. บางปะกง จ. ฉะเชิงเทรา (เอกสารหมายเลข 17.3) 12. โครงการที่ปรึ กษากฏหมายประจําศาลจังหวัดพระโขนง (เอกสารหมายเลข 17.4) 1. สรุ ปผลการดําเนินงานโครงการเพิ่มขีดความสามารถสู่ การเป็ นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนสร้างเสริ มสุ ขภาพ (เอกสารหมายเลข 18.1.1) 2. สรุ ปผลการดําเนินงานโครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา (สํานักกิจการนักศึกษาฯ) (เอกสารหมายเลข 18.1.2)



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.