a006

Page 1

BIG BAND SBC สุนทรียภาพดานดนตรีชาวบางกอกอุษาคเนย พื้นถิ่นวิทยาลัยเซาธอสี ทบางกอก ---------

“ดนตรีและการฟอนรํา แสดงออกซึ่งความเปนอิสรภาพของอารมณ เปนสุนทรียภาพทาง จินตนาการของมนุษย เปนเครื่องหมายของความเจริญของบุคคล ชุมชน เปนเครื่องวัดความ ศิวิไลซของสังคม และเปนหนาตาของประเทศ” เอกสารนี้เปนบันทึกโครงการกิจกรรมสงเสริมและสืบสานศิลปวัฒนธรรมสากล ฝกหัดและ พัฒนาดนตรีสากล ศิลปะการแสดงของตางชาติ ที่วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอกปฏิบัติในปจจุบัน ประวัติความเปนมาของดนตรีสากล “ชาวบางนา” เปนประชากรพื้นถิ่นของบางกอกอุษาคเนย ที่ตั้งของวิทยาลัยเซาธอีสท บางกอก ในอดีตเมื่อกอน พ.ศ. ๒๕๐๐ หรือเมื่อ ๕๐ ปกอน มีแหลงบันเทิงอยูที่วัด วัดบางนานอก ปากคลองบางนา วัดบางนาใน เมื่อมีงานเทศกาลสําคัญ งานปประเพณี งานฉลอง และงานวายชนม ของผูมีทรัพย มีการละเลนเพื่อความบันเทิงไมมีกําหนดเวลาตายตัว อาจปละ ๑-๒ ครั้งหรือมากกวา ที่พูดกันติดปากก็คือ “ลิเกผาด ระนาดพุม” ลิเก ทองใบ รุงเรือง โขนสด ละครชาตรีของแมครูสุด ประเสริฐ ศรีออน นอกจากนั้นก็มีการละเลนกันเองหลังจากเหน็ดเหนื่อยจากงานในทองนายามค่ํา เลนทรงเจาเขาผี ผูหญิงเลนบายศรี ผูชายเลนผีนางดง วัยรุนเลนลิงลม งานบวชลูกคนมีทรัพยก็จะมี แตรวง สําหรับแหนําพอนาคเขาโบสถบวชพระบรรพชาสามเณร ทั้งหมดที่กลาวมานี้ เลือนหายไป ตามกาลเวลาเหลือที่ยังเห็นอยูก็มีแต “แตรวงแหนํานาคเขาบรรพชาอุปสมบทในอุโบสถวัด ตางๆ ในเขต บางนาและบางกอกอุษาคเนย” แตรวงเปนเครื่องดนตรีฝรั่ง เปนเครื่องเปาทองเหลือง ถือกําเนิดขึ้นในเมืองไทยครั้งแรก พ.ศ.๒๓๙๕ สมัยรัชกาลที่ ๔ ตอมาพระเจนดุริยางค (Peter Feit) บุตรนายยาคอบ ไฟท


(Jacob Feitch) ชาวเยอรมัน กับนางทองอยูชาวมอญพระประแดงผูเปนมารดาคุณพระเจนดุริยางค ผูเปนเจากรมมหรสพหลวง สมัยนั้นรัฐบาลสงเสริมใหมีดนตรีฝรั่งเพื่อความศิวิไลซ โดยใหโรงเรียน ประจําจังหวัดทั่วประเทศมีกองลูกเสือ และใหมีครูที่มีความรูดานดนตรีเพื่อคุมกองดุริยางคลูกเสือ บรรเลงเพลงนํากองลูกเสือ นําขบวนนักกีฬาและกิจกรรมแหอื่น ๆ อันเปนความบันเทิงของอารมณ โรงเรียนประจําจังหวัดและโรงเรียนมัธยมขนาดใหญทุกโรงเรียนมีเครื่องดนตรี มีครู แตครูไมมี ความรูความชํานาญในการสอนมากอนเลย คุณพระเจนดุริยางค บิดาแหงการดนตรีสากลสมัยนั้น จึงใหเรียก ครูดนตรีประจําโรงเรียนในตางจังหวัดมาเขาคายฝกซอมที่กรุงเทพฯ เปนรุนๆ รุนละ ๑-๓ เดือน จนครบทั่วประเทศ ครูดนตรีเหลานี้ กลับไปฝกซอมใหกับศิษยของตนตอไป ทั้งครูและ ศิษยเมื่อมีความชํานาญมากขึ้นมีเวลาวางก็ออกรับงาน รับแสดงดนตรี ตามงานมงคลขึ้นบานใหม งานแต ง แห นํ า นาคเข า โบสถ ไปจนถึ ง งานอวมงคล งานศพหารฟายได เ สริ ม หารายได เ ลี้ ย ง ครอบครัว และแพรหลายมาจนทุกวันนี้ คุณพระเจนดุริยางคมีลูกศิษย ทั่วประเทศ ทานไดรับความ เคารพอยางสูง และไดรับการยกยองใหเปนบิดาแหงการดนตรีสากลของประเทศไทย สิ่งที่นักแตร วงพึงกระทําคือแสดงความกตัญูกตเวที “รําลึก คุณทานดวยการขยันฝกซอมประพฤติตัวดีเปน การตอบแทนใหสมกับศิษยมีครู” สถานภาพปจจุบัน BIG BAND SBC เปนวงดนตรีเครื่องเปาขนาดเล็กของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ตั้งเปน แผนกดนตรี ส ากลเมื่ อ ๘ มิ ถุ น ายน ๒๕๔๘ เป น โครงการภายใต ก ารกํ า กั บ ดู แ ลของ ศูนยศิลปวัฒนธรรม มีผูอํานวยการศูนยฯ เปนผูดูแลบังคับบัญชา ในสายงานของรองอธิการบดี ฝ า ยกิ จ การนั ก ศึ ก ษาและกิ จ การพิ เ ศษ มี อ ธิ ก ารบดี เ ป น ผู ใ ห ก ารสนั บ สนุ น ทั้ ง นี้ เพื่ อ สื บ ทอด เจตนารมยที่จะนําผูฟงเขาสูสุนทรียภาพทางการรับฟงเสียงอันไดเรียบเรียงเปนเพลงไทยคลาสสิก Symphony Orchestra ซึ่งเปนสากลของโลกเพราะดนตรีสากลเปนของโลก คนทั้งโลกรูจักแลว มีแต การจะฝกใหคนไทยไดเขาถึงความประณีต เพิ่มขึ้น เขาสูระดับคลาสสิกสากลในที่สุด วิทยาลัยฯ เปนแหลงใหการศึกษาฝกอบรม จึงตระหนักวาการเลนดนตรีเพื่อเขาถึงความเปนคลาสสิกเปน กิจกรรมที่ ก อประโยชนใ นการพั ฒนาทั ก ษะ สรางสมาธิและสรางความคิ ด ที่เ ป น ระบบ อั น จะ สงเสริมใหการดําเนินชีวิตมีคุณภาพยิ่งขึ้น การที่นักศึกษาสวนหนึ่ง มีใจรักดานดนตรี มีทักษะ อยาก เรียน อยากฝกซอม ใหมีทักษะมีความชํานาญและมีเวทีแสดงทดสอบผลของการฝกซอมใหมีความ ชํานาญ จนสามารถใชประกอบเปนอาชีพที่สองได เปนแบบอยางแกนักศึกษาทั้งวิทยาลัยฯ ได นับวาเปนการลงทุนที่คุมคา อธิการบดีในฐานะผูนําการบริหารจึงเห็นสมควรใหการสนับสนุนอยาง เต็ มที่จึ งขออนุ มัติสภาวิท ยาลั ย ฯ สนับสนุ น เงิน ทุน ตั้ ง แผนกดนตรีส ากลมีว งดนตรี ชื่ อวา BIG BAND SBC โดยกําหนดเปนวัตถุประสงคสังเขปไว ดังนี้


วัตถุประสงค ๑.เพื่ อ ให พั น ธกิ จ ครบถ ว นตามประเภทที่ กํ า หนดในโครงการ/กิ จ กรรมแสดง ศิลปวัฒนธรรมสากลและการฝกหัดดนตรีสากล ๒.ใหการศึกษาและสรางสุนทรีภาพทางดานการบรรเลง การฟง แกนักนักศึกษาและชุมชน เปนบริการสังคม ๓.ตั้งวงดนตรีฝกซอมนักศึกษาชุมชนใกลเคียงที่มีพื้นฐานและใจรักทางดนตรีใหสามารถ รับงานแสดงทั้งภายในและภายนอกได เปนรายไดเสริม ๔.สงเสริมการฟงและเผยแพรธรรมเนียมและมารยาทการชม การบรรเลงเพลงคลาสสิก Symphony orchestra อันเปนสากลของโลก ๕.ใชบรรเลงประกอบในวาระพิเศษทั้งภายในและภายนอกเปนบริการสังคมของวิทยาลัยฯ และชุมชนชาวบางกอกอุษาคเนย การประกอบวง วง BIG BAND SBC ประกอบดวยผูเลนดนตรี จํานวน ๑๔ คน ครูควบคุมวง ๑ คน เปน นักดนตรีมีความชํานาญ มีทักษะจากวงโยธวาทิตมาจากโรงเรียนอรรถวิทย ๑๑ คน เปนนักศึกษา จากโรงเรียนอื่น ๓ คน นักศึกษาทั้งหมด ๑๕ คน เปนนักศึกษาขอรับทุนอุดหนุนจากวิทยาลัยฯ ๑๔ คน ไมขอรับทุน ๑ คน ผูขอรับทุนจะไดรับยกเวนคาเลาเรียน คาบํารุง และมีรายไดจาก การแสดงแตละครั้ง มีรายชื่อผูเริ่มตน ดังนี้ รายชื่อนักศึกษาทุนดนตรีสากล นักศึกษาชาวบางนาบางกอกอุษาคเนย รุนแรก รุนบุกเบิกการดนตรีของวิทยาลัยฯ มีดังนี้ น.ส. ภาวิณี อุดมพันธ (บธ.ตลาด) นางสาวอมรทิพย ปราณีมาโพธิ (บธ ตลาด) นายณภัทร ปญญาพร (วิทยฯเทคฯ) นายพลากร บุญยัง (บธ. คอมฯ) น.ส.สิริพันธุ สกุลแสง (บธ.โลจิสฯ) นายอิทธิกร อับดุลรอมาน (บธ. ตลาด) นายพงศกร มวงคราม (บธ. ตลาด) นายมณัฐพล กาสา (บธ. คอมฯ) นายธงชัย สุขเกษม (บธ.คอมฯ) นายบุญชัย สายธเรศ (บธ.คอมฯ) นายภานุพงษ หุนดี (บธ.คอมฯ) นายกฤษณะ อินทรศิริ (บธ.โลจิสฯ) นายชนาธิป งามขํา (บธ.คอมฯ) (ไมขอรับทุน) นายศราวุธ นูพิมพ (บธ.คอมฯ) นายธนชัย เทพชุลีพรศิลป (บธ.โลจิสฯ) การลงทุน การตั้งวงดนตรีสากล ดนตรีไทย เปนสิ่งที่สถาบันการศึกษาทุกมหาวิทยาลัย ทุกระดับให ความสํ าคั ญ และส ง เสริ ม เพราะเป น สาขาหนึ่ ง ของวั ฒ นธรรม สถาบัน ต อ งลงทุ น เครื่ อ งดนตรี สถานที่ฝกซอม ใหนักศึกษาดนตรีมีทักษะมีความชํานาญเลนประกอบวงได


วิทยาลัยฯ ลงทุนจัดหาเครื่องดนตรีไวใหนักศึกษาไดเลนไดฝกซอม ตามความถนัดของ นักศึกษาแตละคน ประกอบดวย Alto Saxophone ๒ ตัว Tenor Saxophone ๒ ตัว Baritone Saxophone ๑ ตัว Trumpet ๔ ตัว Tenor Trombone ๓ ตัว Brass Trombone ๑ ตัว เครื่องตี มี กลองชุด ๑ ชุด คียบอรด ๑ ตัว กีตารไฟฟา ๑ ตัว ๑ ตัว กีตารเบส เครื่องเคาะ มีกลองคองกา ๑ ชุด กลองทิมเบอเรต ๑ ชุด ลําโพง ๒ ตัว ขาตั้งโนตเพลง ๒๐ ชุด การใชเงินลงทุน ๑. ลงทุนเครื่องดนตรี ๑๔ รายการ ๔๑ ชิ้น ๒. ทุนสนับสนุนคาเลาเรียน ตลอดหลักสูตร นักศึกษาทุนตลอดระยะเวลาศึกษา ๑๔ ทุน ปละ ๓. เครื่องแตงกาย (คนละ ๑,๐๐๐ บาท) X 14 คน ปละ ๔. คาซอมบํารุงเครื่องดนตรี ปละ ๕. บรรจุอาจารยผูสอน ผูควบคุมวง ปละ ๖. คาใชจายวิทยากรรับเชิญ ปละ ๗. คาใชจายเบ็ดเตล็ด (คาพาหนะเดินทางไปแสดง) ปละ รวมคาใชจายประจําป ปละ (๑) ลงทุนอุปกรณ ครั้งแรก (๒) รวมคาลงทุนป ๒๕๔๘ (๑+๒) รวมคาลงทุนป ๒๕๔๙ (๑) รวมคาลงทุนป ๒๕๕๐ (๑) รวมคาลงทุนป ๒๕๕๑ (๑) รวมลงทุน ๔ ป

๒,๐๐๐,๐๐๐

บาท

๗๐๐,๐๐๐ ๑๔,๐๐๐ ๕๐,๐๐๐ ๑๒๐,๐๐๐ ๓๐,๐๐๐ ๓๐,๐๐๐ ๙๔๔,๐๐๐ ๒,๐๐๐,๐๐๐ ๒,๙๔๔,๐๐๐ ๙๔๔,๐๐๐ ๙๔๔,๐๐๐ ๙๔๔,๐๐๐ ๕,๗๗๖,๐๐๐

บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท

การฝกซอม และวินัย - ใชการฝกซอม หลังเลิกเรียน วันเสาร-อาทิตย วันวาง และการเขาคายอบรม - นักศึกษามีวนิ ยั ในการฝกซอมดีมาก - มีบันทึกการฝกซอม ระยะเวลา (ชั่วโมงบิน) และประเมินผลเปนรายวัน โดยนักศึกษา และผูควบคุมการฝกซอมเสนอผูสนับสนุนทุน เปนรายสัปดาหและรายเดือน


หมวดเพลงที่ใชสอน และฝกซอม ๑. เพลงพระราชนิพนธ ๒. เพลงลูกทุงที่กําลังเปนที่นยิ ม ๓. เพลงตลาด String ๔. เพลง JAZZ ๕. เพลงคลาสสิกไทยตนแบบบรรเลงโดยวง ซิมโฟนีออเคสตราของ TPO การออกงานแสดง ๑. แสดงที่สวนหลวง ร.๙ เทศกาลสําคัญ และวันประสาทปริญญาบัตร ของบัณฑิตวิทยาลัย เซาธอีสทบางกอก แสดงแลว ๔ ครั้ง มีผูชมครั้งละประมาณ ๒,๐๐๐ คน ๒. แสดงใหประชาชนชม ในงานพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจาพี่นางเธอเจาฟา กัลยาณิวัฒนากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร ที่วัดบางนาในวันถวายเพลิงพระศพทานมีผูชม ประมาณ ๒,๐๐๐ คน ๓. แสดงประจําที่ศูนยการคาซีคอนสแควรเปนบริการสังคม ภาคการศึกษาละ ๒ ครั้ง มีผูเขาชมประมาณ ครั้งละ ๕๐๐ คน ๔. ไดรับเชิญไปโชวคอนเสิรตแบบเบิรด เบิรด ทั้ง ๒ คอนเสิรต อาจารยผูควบคุมการฝกสอน อาจารย เพียวพันธ เทวงษรักษา เปนผูควบคุมวง อาจารยเพียวพันธ มีความสามารถเลน ดนตรีไดหลายประเภททั้งไทยและสากล ที่ชํานาญและเลนไดดีคือ ทรอมโบน (Trombone) และ ทูบา ทรอมโบน เปนแตรทองเหลืองชนิดหนึ่งมีทอลมสวม ซอนกัน บังคับเสียงโดยวิธีชักทอลม เลื่อนเขาออก ใชในวงโยธวาทิต วงดนตรีลูกทุงและวงซิมโฟนีออเคสตรา Trombone ที่นิยมใชใน ปจจุบัน มี ๔ ชนิด คือ Alto Trombone ระดับเสียงสูงที่สุด คีย Eb ชนิดที่ ๒ Tenor Trombone มี ระดับเสียง Bb ต่ํากวา Alto เปน Trombone มาตรฐาน ชนิดที่ ๓ Marching Trombone เปน Trombone ออกแบบสําหรับเดินเทานั้น ชนิดที่ ๔ Bass Trombone มีระดับเสียงสูงสุดใกลเคียงกับ Tenor และมีระดับเสียงต่ํา ต่ํามาก ต่ํามากกวา Tenor อาจารยเพียวพันธเลนไดดีทุกชนิดอุปกรณ แต ที่ชํานาญที่สุดคือ Tenor Trombone อาจารยเพียวพันธ มีชีวิตแนบแนนอยูกับธรรมชาติ สายลม แสงแดดและเกลียวคลื่น เปน ลูกชาวสวนเกิดที่ ตําบลสวนสม คลองดําเนินสะดวก ซึ่งเปนแดนเกษตรชั้นดีอยู อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร เปนบุตรนายปุน นางถนอม เทวงษรักษา เกิดวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๒๗ ต อ มาภายหลั ง บิ ด าย า ยครอบครั ว ไปประกอบอาชี พ ที่ อํ า เภอหั ว หิ น จั ง หวั ด ประจวบคี รี ขั น ธ อาจารยเพียวพันธ ไดเริ่มการศึกษาเบื้องตนที่โรงเรียนมัธยมไกลกังวลหัวหินจนจบชั้นมัธยม ๖ สมั ค รเข า เรี ย นดนตรี แ ละเป น นั ก ดนตรี วงโยธวาทิ ต ของโรงเรี ย นตั้ ง แต ชั้ น มั ธ ยม ๑ ด ว ยเหตุ


บันดาลใจใหสนใจดนตรีเพราะรูสึกวาตนนาจะมีพรสวรรคทางดนตรีจับเครื่องดนตรีเลนไดมา ตั้งแตชั้นประถม ดนตรีไทยก็เลนไดทั้งระนาดเอก ระนาดทุม ฆองวงและเครื่องประกอบจังหวะ ส ว นการศึ ก ษาในระดั บ มหาวิ ท ยาลั ย นั้ น สอบเข า ศึ ก ษาต อ ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร สาขาดุริยางคศาสตร เปนรุนที่ ๕ (๒๕๔๖) เครื่องดนตรีที่เลนไดดีที่สุดคือ ทรอมโบน และทูบา เครื่องดนตรีอื่นเรียนทฤษฎีจบหมด เรียนอยู ๔ ป สําเร็จการศึกษาปริญญาตรีดุริยางคศาสตรสาขา การแสดงดนตรีในรุนที่ ๕ นี้ นักศึกษาเลือกเรียนทรอมโบนมีมากกวา ๑๐๐ คน แตจบหลักสูตร เพียง ๓๐ คนเทานั้นไดเรียนกับอาจารยสอนเครื่องมือเอก Trombone เปนอาจารยชั้นยอดในวงการ เปนหัวหนากลุม Oboe คือ อาจารยดําริห บรรณวิทยกิจ อาจารยหัวหนากลุมเครื่องเปาทองเหลือง ของวง BSO (Bangkok Symphony Orchestra) ซึ่งมีงานแสดงทั้งในและตางประเทศมาก อาจารยทานเอาใจใสสอนอยางดีนับเปนครูในดวงใจ และอีกทานหนึ่งอาจารยที่เขมงวดกวดขันใหมี วินัยทางดนตรีและไม ทอดทิ้งจนถึงปจจุบัน คือทั้งขยันฝก ซอมและกวดขันใหแสวงหาความรู ใหม ๆ คือทานอาจารยสรพจน วรแสง อาจารยเครื่องเอก Trombone ของวิทยาลัยและวง BSO เชนเดียวกันในขณะเรียนเมื่อมีฝมือดีพอควรครูทานแนะนําใหใชเวลาวางออกไปหารายไดพิเศษหา ประสบการณและรายไดชวยครอบครัว มีรายไดดีพอประมาณ แตตองระมัดระวังมิใหตองเสีย การเรียน ในด า นการแสดง อาจารย เ พี ย วพั น ธ เทวงษ รั ก ษา มี ป ระสบการณ ก ารแสดง ได เ ป น MEMBER รวมวงแสดงรายการใหญอยูในวงดุริยางค THE SOUTHEST ASIA YOUTH SYMPHONY ORCHESTRA, (Wind Ensemble, SAYOWE) ของมหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งดูแลและ อํานวยการโดย รศ.ดร.สุกรี เจริญสุข แสดงที่ศูนยวัฒนธรรมแหงประเทศไทยและรีเจนท ชะอํา นําวง BIG BAND ของ SBC เขารวมคอนเสิรตกับ เบิรด ธงชัย แมคอินไตย ที่ผานมา ทั้งสองคอนเสิรตไดรับคําชมมาก รวมเลน กับวง BSO (Bangkok Symphony Orchestra) สองครั้ง ใกล ๆ นี้ได เขารวม Audition คือ รวมแสดงใหดู และรวมเขาคายคัดสรรฝมือเพื่อเขารวม วง UNITY (University Thailand Youth Ochestra) ซึ่งเปนการรวมตัวกันของสุดยอดเยาวชนดนตรี คลาสสิกกวา ๑๓๐ ชีวิต ในโครงการ The Unity Music Camp คัดเลือกเยาวชนมีฝมือจากทั่วประเทศ ซึ่ ง บั ณ ฑิ ต อึ้ ง รั ง สี ควบคุ ม และอํ า นวยเพลงแสดงที่ ศู น ย วั ฒ นธรรมแห ง ประเทศไทย เมื่ อ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๑ อาจารยเพียวพันธ สมัครเปนอาจารยที่วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ดวยความมุงมั่นที่จะทํา วง Big Band ใหเปน Big Band จริง ๆ หาหนทางพัฒนาการฟง การเลนดนตรี ของลูกหลานชาว บางนาใหยกระดับขึ้นจากการเลนดนตรีการฟงดนตรีในระดับชาวบาน แตเมื่อไดศึกษาวิชาการถึง ระดับปริญญาบัณฑิต นักศึกษาควรมีสํานึก มีความรูและรสนิยมในดนตรีอันเปนสากลบาง เพื่อ สังคมกับบุคคลระดับวิชาการ เชน รูจักเพลงคลาสสิกของดุริยกวีมีชื่อเชนของ Beethoven Mozart


หรือ โจฮันน สเตราส เทคนิค การฟงเพลงคลาสสิก การทําความเขาใจในบทเพลงกอนฟง มารยาท ในการฟง การชมการแสดง การปรบมือ ควรปรบทอนไหน ยาวนานแคไหน หรือถาเปนเพลงไทย ก็ ค วรจะรู จั ก หลวงประดิ ษ ฐ ไ พเราะ (ศร ศิ ล ปบรรเลง) พระยาประสานดุ ริ ย ศั พ ท (แปลก ประสานศัทพ) เปนตน รายการเพลงที่ใชฝกซอมและบรรเลง ทุกครั้งที่วง BIG BAND บรรเลงเพื่อสาธารณะจะอัญเชิญเพลงพระราชนิพนธออกแสดง เพื่อเปนสิริมงคลทุกครั้ง ดวยความที่เปนคลาสสิกอยูในตัว สามารถจูงจินตนาการผูฟงใหเขาถึง ความเปนเพลงคลาสสิกสากลตามเนื้อเพลงได หลังจากนั้น จึงจะตามดวยเพลงตลาด ลูกทุง String และหรือ Jazz ตามสมัยนิยม เพื่อใหผูฟงติดตามและจะจบลงดวยเพลงไทยคลาสสิกเพื่อยกระดับ รสนิ ย มการฟ ง ให เ ป น สากลในโอกาสต อ ไป โดยเลื อ กอั ญ เชิ ญ เพลงตามความเหมาะสมกั บ บรรยากาศสิ่งแวดลอม โดยจะมี “สูจิบัตร” ใหรายละเอียดการแสดงทุกครั้ง ๑. เพลงพระราชนิพนธ ที่ใชบรรเลง ยามเย็น (Love at Sundown) เพลงพระราชนิพนธเพลงแรก จังหวะฟอกซทร็อต สายฝน (Falling Rain) เพลงโปรดเกลาฯ ใหนําออกบรรเลงเปนเพลงที่ ๒ เปนเพลง จังหวะวอลทซ แสงเดือน (Magic Beams) โปรดเกลาฯ ใหใชประกอบระบําบัลเลต ฝกซอมโดยคุณหญิง เจเนเวียฟ เดมอน แสดงในงานการกุศล เกาะในฝน (Dream Island) พระราชนิพนธเปนอันดับ ๔ เปนเพลงปลุกใจใหรัก ชาติบานเมือง บางครั้งเรียกเพลง Alexandra ไรเดือน ( No Moon) เพลงที่ทรงพระราชนิพนธคํารองเปนภาษาอังกฤษ ดวยพระองคเอง อยูในชุด “Still on My Mind” และ “Old Fashioned Melody “ ชะตาชีวิต (H.M. Blues) เปนเพลงที่ทรงพระราชนิพนธขณะที่เสด็จฯ ทรง ศึกษาตอที่ประเทศสวิสเซอรแลนดหลังเสวยราช สมบัติแลว H.M. Blues ยอมาจาก “Hungry Men’s Blues” คือทรงบรรเลงเพลงตลอดครึ่งคืน ในวันเลี้ยงขาราชบริพารและนักเรียนไทยขณะที่ ไมไดทรงเสวยอะไรเลย ใกลรุง (Near Down) ทรงพระราชนิพนธขณะทีเ่ ปนสมเด็จพระอนุชาธิราช เพลงนี้ประพันธเนื้อเพลงตอนไกขันใกลรุงบรรเลงครั้งแรก เมื่อ ๔ มิถุนายน ๒๔๘๙


ดวงใจกับความรัก (Never mind the H.M.Blues) เปนเพลงแจส คลาสสิคระดับเดียวกับ ของ Duke Ellington เพลงชุดมโนราห (Kinari Suite) เปนเพลงพระราชนิพนธประกอบการแสดงบัลเลต ชุดมโนราห มีทั้งหมด ๖ บท คือ “ Nature Waltz” “The Hunter” “ Kinari Waltz” และ “ภิรมยรัก” ๒. เพลงลูกทุง ตลาด และ Jazz BIG BAND เลือกบรรเลงเพลงอันเปนที่นิยมของตลาด ณ เวลานั้น เพื่อความบันเทิงของ ผูฟง และปลู ก ฝง และชั ก นํ า ให ผูฟ งสรางรสนิย มในเพลงคลาสสิ ก ในโอกาสต อไป เหมือ นกั บ ตองเลานิทานใหฟงกอนจึงจะสอนธรรมะได ๓. เพลงไทยคลาสสิก เพลงไทยคลาสสิก เปนเปาหมายสูงสุดไมจํากัดกาลเวลา ที่นํามาศึกษาและฝกซอมเปน เพลงไทยเดิมที่มีอยูเดิมเกาแกก็มีและเขียนขึ้นใหมก็มี เชนเพลง “ศรีอยุธยา” ที่ปรากฏในหนังสือ จดหมายเหตุ ล าลู แ บร เ ป น เพลงสรรเสริ ญ พระบารมี สมเด็ จ พระนารายณ พระเจนดุ ริ ย างค ใ ช วงออเคสตราของกรมศิลปากรบรรเลง ปจจุบันเพลงนี้บรรเลงโดยวง Thailand Philharmonic Orchestra ของวิทยาลัยดุริยางคศิลป มหาวิทยาลัยมหิดล อันมี รศ.ดร.สุกรี เจริญสุข เปนคณบดี และผูอํานวยการ วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก โดยสํานักศิลปวัฒนธรรม แผนกดนตรีสากลไดฝกซอมเพลงที่ รูจักกันดี เปนลําดับ เชน เพลง “พมาเขว” หรือคุนหูกันในนามเพลงชาง ชาง ชาง เพลง “คางคาวกินกลวย” หรือเพลงลิงกับเสือ เปนเพลงไดรับความนิยมสูง เพลง “อัศวลีลา” หรือเพลงมายอง เพลง “ร็องเง็ง” เปนศิลปะการเตนรําพื้นเมืองของชาวไทยมุสลิมภาคใต เพลง “ลาวคําหอม” เปนเพลงประกอบหนาทับลาว จาเผนผยองยิ่ง แตง เพลง “เขมรลออองค” เปนเพลงเกาสมัยอยุธยา ลิเกรองเลนกันทั่วไป รัชกาลที่ ๗ ทรงนํามาปรับปรุงใหม เพลง “สรรเสริญเสือปา” หรือบุหลันลอยเลื่อน (ร.๒) หรือเพลงสรรเสริญ พระบารมี รัชกาลที่ ๕ เพลง “ศรีอยุธยา” สรรเสริญพระนารายณมหาราช ดังกลาวแลว เพลง “คลื่นกระทบฝง” เปนเพลงฉิ่งโบราณเกามาก อยูในชุดเพลงฟองน้ํา เพลง “ฝงน้ํา” ฯลฯ


เพลงไทยคลาสสิกเหลานี้มีบรรเลงใหชาวตางชาติชมเปนการแพรหลายอยูในกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เยอรมัน และหลายประเทศในยุโรป ในโอกาสเทศกาลดนตรีประจําปทุก ป ประเทศไทยมีบรรเลงประจําที่หอแสดงดนตรี วิทยาลัยดุริยางคศิลปมหาวิทยาลัยมหิดล มีผูชมทั้ง ไทยและตางประเทศ ซื้อบัตรเขาชมแนนทุกรอบ วันศุกร และวันเสาร สูจิบัตร สูจิบัตร BIG BAND SBC เปนเอกสารแสดงรายละเอียดกิจกรรมกอนการบรรเลงดนตรีตอ สาธารณชนทุกครั้ง แผนกดนตรีสากล ศูนยศิลปะและวัฒนธรรมจะนําผูชมเขาสูบรรยากาศการ แสดงดวย “สูจิบัตร” ซึ่งจะใหรายละเอียดในบริบทของการรับฟง วันเวลา สถานที่ ผูควบคุมวง เพลงที่นํามาบรรเลง ชื่อเพลง เนื้อรอง เนื้อเรื่อง ชนิดของเครื่องดนตรี เครื่องสาย เครื่องลมไม เครื่อง ลมทองเหลือง เครื่องเคาะใหจังหวะ ประวัติความเปนมาของเพลงรายละเอียดของผูบรรเลง เพื่อเปน การยกยองใหเกียรติในความอุตสาหะฝกซอมและเสียสละมาแสดงใหชม ซึ่งทั้งหมดนี้แสดงรายการ โดยสังเขป จะอยูภายใตการอุปถัมภอุดหนุนของวิทยาลัยฯ โดยรวม เพลงไทยคลาสสิกและการนํานักศึกษาผูฟงในชุมชนเขาสูความเปนสากล พันธกิจของแผนกดนตรีสากล คือ ดําเนินการตามโครงการ/กิจกรรม แสดงศิลปวัฒนธรรม สากล เชน ฝกหัดดนตรีสากล ศิลปะการแสดง งานประดิษฐ งานหัตถกรรมของตางชาติ มีเปาหมาย อยูที่การสงเสริมและสืบสานความเปนเพลงคลาสสิกสากลของเพลงไทย สงเสริมใหนักศึกษา สมาชิกในทองถิ่น ไดเขาถึงความเปนสากลของเพลงไทย ฟงเพลงคลาสสิกเปน รูจักเพลง รูจัก เครื่องมือ รูจักมารยาทในการฟง การชม อันเปนสากลที่ชาวโลกรับรองเปนวัฒนธรรมวาดีวาถูกตอง ซึ่งตองศึกษา ฝกฝน เอาใจใส และเห็นความสําคัญดังตัวอยางผูสนใจดนตรีคลาสสิกทานหนึ่งคือ สมเด็จพระพี่นางฯ มีผูบันทึกพระจริยวัตรของทานวา “พระจริ ย วั ต รของสมเด็ จ พระพี่ น างฯ คื อ ทรงฟ ง อย า งจริ ง จั ง มากก อ นเสด็ จ ฯ ไป ทอดพระเนตรคอนเสิรต พระองคทรงศึกษาโปรแกรมอยางละเอียด มีเพลงอะไรบาง แลวหาเพลง นั้นมาฟง แมแตคณะผูติดตามก็ตองฟงกอนวา เพลงเปนแบบนี้ มีกี่ทอน ตองปรบมือชวงไหนบาง พระองคเปนแบบอยางที่ดีในการศึกษาดนตรี….ทรงสอนนักเรียนทุนวา คุณเปนนักดนตรีจะเลน ตามโนตอยางเดียวไมได แตตองรูใหลึกวา เพลงที่จะเลน มีที่มาที่ไปอยางไร ผูประพันธผานอะไร มาบางในชีวิต และตอนที่เขียนเพลงนั้นสภาพสังคมเปนอยางไร” พระองค ท รงพระราชทานทุ น ส ว นพระองค ส ง นั ก เรี ย นไทยไปเรี ย นดนตรี ต อ ใน ตางประเทศ พระราชทานทุนถึงปริญญาเอก และตอมาไดกอตั้งกองทุนสงเสริมดนตรีคลาสสิก มีผูไดรับทุนรวมทั้งสิ้น ๒๑ คนแลว


แผนขั้นตอนและวิธีการนําเขาสูเพลงคลาสสิก ของ SBC ๑. ใชวง BIG BAND SBC บรรเลงเพลงตลาดเพื่อเราความสนใจ ๒. นําดวยเพลงพระราชนิพนธและสอดแทรกดวยเพลงคลาสสิกทุกโอกาส ๓. สรางเอกลักษณการฟงเพลงไทยคลาสสิก ใหวิทยาลัยฯใชเวลาวางระหวางพักใหเปน ประโยชนกับการฟงเพลงคลาสสิก ชวงเชาเวลา ๗.๐๐ - ๙.๐๐ น. ชวงกลางวันเวลา ๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. และเย็น ๑๖.๐๐ - ๑๘.๐๐ น. เปดเพลงไทยคลาสสิก เชน ลาวคําหอม เขมรลออองค คลื่นกระทบ ฝง คางคาวกินกลวย พมาเขว หรือ ชาง ชาง เปนการสรางความคุนเคย ๔. เพลงที่นํามาเปดใหฟงจะเปนทั้งเพลงคลาสสิกและเพลงไทยเดิมเปดช้ํากันไปมาทุกวัน ตลอดภาคการศึกษาเมื่อสิ้นภาค มีการวัดและประเมินผลโดยแบบสอบถามวานักศึกษารูจักเพลง อะไรบาง มีรางวัลสําหรับผูใหความสนใจ ๕. กอนบรรเลงเพลงทุกโอกาส ทําสูจิบัตรแจก บอกชื่อเพลง ประวัติ ผูบรรเลง รายละเอียด ที่จําเปนแกการแนะนําทุกครั้ง ๖.นํานักศึกษาไปฟงเพลงคลาสสิกซึ่งมีการแสดงเปนประจําที่หอฟงเพลงที่วิทยาลัยดุริยางคศิลป มหาวิทยาลัยมหิดล ภาคการศึกษาละ ๑ ครั้ง กลาวมาทั้งหมดนี้ เปนทั้งปณิธาน ภารกิจ และการปฏิบัติงานของแผนกดนตรีสากล ใน ปจจุบัน. ----------------------------

เอกสารอางอิง รักขิต รัตจุมพฏ, เสี้ยวหนึ่งของรุงงาม Reader’s Digest สรรสาระ หนา ๔๒–๔๙, ฉบับประจํา พฤศจิกายน 2551,บริษัท รีดเดอรส ไดเจสท(ประเทศไทย)จํากัด ๕๔ สุขุมวิท ๒๑ ถนน อโศก เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ๑๐๑๑๐ สุ ก รี เจริ ญ สุ ข รศ.ดร.,พรสวรรค ส ร า งได , วิ ท ยาลั ย ดุ ริ ย างคศิ ล ป มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล, ถนนพุทธมณฑลสาย ๔ ศาลายา จังหวัดนครปฐม ๗๒๑๗๐ THAI BEVERAGE PLC., Thailand Philhamonic Orchestra 7-8 December 2007, College of Music, mahidol University , Salaya, Bakhonpathom, Thailand 73170


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.