ท่าคันโท2

Page 1

เป้าประสงค์ที่ ๑ : ระบบบริการสุขภาพและการแพทย์มปี ระสิทธิภาพมีการใช้เทคโนโลยีอย่างพอประมาณ ตามหลักวิชาการอย่างถูกต้องเหมาะสม ตัวชี้วัดที่ ๑. ร้อยละหน่วยบริการระดับโรงพยาบาลที่ผ่านระดับความสําเร็จของการพัฒนาสู่ความเป็นเลิศใน คุณภาพการบริการสุขภาพของหน่วยบริการ (Center of excellence) เป้าประสงค์ที่ ๒ ผู้รับบริการมีความอุ่นใจและเชือ่ มั่นในคุณภาพการรักษาและบริการ ตัวชี้วัดที่ ๒ ร้อยละของสถานบริการที่ผ่านระดับความเชือ่ มั่นในคุณภาพการรักษาและการบริการในระดับ 5 เป้าประสงค์ที่ ๙: ระดับความสําเร็จของชุมชนที่มีระบบสุขภาพชุมชนที่เข้มแข้ง ตัวชี้วัดที่ ๑๐ : ร้อยละของเครือข่ายบริการปฐมภูมิที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่กําหนดใน ระดับ 5 ๑. ชื่อโครงการ: บูรณาการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพและรักษาพยาบาลเพือ่ สร้างความสุข ความเชือ่ มั่น สู่ความเป็นเลิศ สสอ.ท่าคันโท ปี ๒๕๕๕ ๒. หัวหน้าโครงการ นายสมดี โคตรตาแสง สาธารณสุขอําเภอท่าคันโท ๓. ความสําคัญ หลักการและเหตุผล การพัฒนาคุณภาพของหน่วยบริการสุขภาพในปัจจุบัน โดยเฉพาะหน่วยบริการปฐมภูมิทกุ แห่งต้องมีการ ปรับปรุงในด้านการให้บริการสุขภาพที่ได้มาตรฐาน เพือ่ ยกระดับหน่วยบริการของตนเองให้ทดั เทียมกับหน่วย บริการอื่นและต้องอาศัยความร่วมมือของบุคลากรสาธารณสุขในหน่วยบริการ พร้อมทั้งการมีส่วนร่วมจากทุกภาค ส่วนภายใต้ข้อจํากัดทั้งในเรื่องโครงสร้างขององค์กร การขาดแคลนทรัพยากร โดยเฉพาะทรัพยากรบุคคลทั้งในเชิง คุณภาพและปริมาณ จํานวนหน่วยบริการปฐมภูมิทมี่ ีจํานวนมากและมีความหลากหลายของบริบทพื้นที่ จะต้องมี การพัฒนาคุณภาพการบริการให้ได้มาตรฐานวิชาชีพ และเทคโนโลยีทเี่ หมาะสม และการสร้างกระบวนการการ ดําเนินงานทีด่ ี (Best Pactice) เพื่อตอบสนองต่อความต้องการหรือปัญหาสุขภาพของประชาชน และเป็นแนว ทางการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพบริการของหน่วยบริการในอนาคต การเปลีย่ นแปลงของปัญหาสุขภาพ และความจําเป็นทีบ่ ทบาทของหน่วยบริการปฐมภูมิ จําเป็นต้องมีการ พัฒนาบทบาทให้สอดคล้อง กับสถานการณ์สงั คมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป เดิมปัญหาสุขภาพที่พบ คือโรคติดเชื้อ การ ขาดสารอาหาร เจ้าหน้าทีส่ าธารณสุขต้องใช้ความรู้ ความเข้าใจทางการแพทย์ และต้องมีบทบาทลงไปร่วมจัดการ แต่ปัจจุบันสิง่ ทีเ่ รากําลังเผชิญ คือปัญหาโรคเอดส์ อุบัตเิ หตุ โรคเรื้อรัง โรคหัวใจ โรคเบาหวาน มะเร็ง อ้วน บทบาทของเจ้าหน้าทีต่ ้องปรับจากการดูแลผูต้ ิดเชื้อ มาเป็นการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง บทบาทสําคัญของเจ้าหน้าที่จึงมี เพิ่มขึ้นว่าการใช้ความรู้ทางการแพทย์ แต่ต้องเข้าใจมิติทางสังคมจิตวิทยา นํามาประยุกต์ใช้มากขึ้น ร่วมกับความ เข้าใจต่อชีวติ ประจําวันของผู้รับบริการในชุมชน เพื่อมุ่งสู่ทศิ ทางการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน คือ ขยายขอบเขต จากการดูแลโรค ความเจ็บป่วย ไปสู่การเยียวยาคนทั้งคนดูแลอย่างองค์รวม ด้วยความใส่เข้าใจ และใส่ใจ การ ปรับจากงานรับเป็นงานรุก เพื่อป้องกันปัญหาสุขภาพแนวใหม่ คํานึงถึงปัจจัยทางวัฒนธรรม สังคม โดยการเพิม่ บทบาท นอกจากเป็นผู้ให้บริการ ควรเพิ่มบทบาทผู้กระตุ้น อํานวยการ ส่งเสริม สนับสนุนกระบวนการในการ พัฒนาสุขภาพของชุมชน ที่อยู่ในชุมชน ใกล้ชดิ ชุมชน เข้าใจชีวิต เข้าใจปัญหาของชุมชน เป็นการดูแลที่เข้าใจ ใส่ ใจความเป็นมนุษย์ สู่ระบบการบริการสาธารณสุขที่มหี ัวใจ ในปีทผี่ ่านมาการพัฒนาคุณภาพบริการของหน่วยบริการปฐมภูมขิ องอําเภอท่าคันโท มีการพัฒนา คุณภาพการบริการเพื่อให้ได้มาตรฐานวิชาชีพและเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมทุกหน่วยบริการ ส่วนในเรื่องการสร้าง กระบวนการการดําเนินงานทีด่ ี (Best Pactice) นั้น จะมีเฉพาะบางหน่วยบริการเท่านั้นที่มีการดําเนินการอย่าง จริงจัง ซึ่งอาจมีสาเหตุจากการขาดทักษะ ขาดความรูค้ วามเข้าใจในการค้นหา เพื่อให้ได้กระบวนการการ ดําเนินงานทีด่ ี ( Best Pactice )ในชุมชนของตนเอง


ในปีงบประมาณ ๒๕๕๕ นี้จึงมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องในทุกหน่วยบริการปฐมภูมิ เพื่อยกระดับ คุณภาพบริการสุขภาพของหน่วยบริการให้มีประสิทธิภาพอย่างกว้างขวางเพื่อตอบสนองนโยบายโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพขนาดใหญ่ ตามตัวชี้วดั ของกระทรวงสาธารณสุข และมีการเผยแพร่ผลสัมฤทธิด์ ังกล่าวสูส่ าธารณะ ต่อไป

๔. วัตถุประสงค์ของโครงการ ๑. เพื่อพัฒนาระบบบริการสูค่ วามเป็นเลิศงานอนามัยแม่และเด็ก สายใยรักแห่งครอบครัว ๒. ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน HA (Hospital Accraditation) ๓.ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน PCA ๔.ส่งเสริมการรวมกลุม่ ของวิชาชีพเพื่อการพัฒนาการรักษาพยาบาลที่มคี ุณภาพ ๕. เพือ่ วิเคราะห์สภาพการณ์ปัจจุบันด้านคุณภาพการบริการทั้งด้านการแพทย์และการให้บริการใน โรงพยาบาลและ รพ.สต. ๖. เพื่อพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลต้นแบบให้ได้มาตรฐานตามตัวชี้วัดกระทรวงฯ ๗. พัฒนาศักยภาพ SAT ,QRT และทีมพัฒนางานคุณภาพระอําเภอและ รพ.สต.

๕. ขอบเขตและกระบวนการที่สําคัญ ประเด็น รพ. สสอ. รพ.สต. พื้นที่ เป้าหมาย

๕.๑ ขอบเขต

ขอบเขตโครงการ ๑.คณะกรรมการจัดทําแผน COE ระดับอําเภอ จํานวน ๒๐ คน ๒.ทีมพัฒนาคุณภาพบริการปฐมภูมิระดับอําเภอ จํานวน ๑๕ คน ๓.ทีมพัฒนางานคุณภาพโรงพยาบาล จํานวน ๒๕ คน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล จํานวน ๗ แห่ง โรงพยาบาลชุมชน ๑ แห่ง PCU รพ.ท่าคันโท


๕.๒ ขั้นตอนและกระบวนการในการดําเนินโครงการ (ระบุความเชื่อมโยงเป็นกระบวนการตามหลักการ P-D-C-A-S โดยแสดงเป็น ในแนวตั้งหรือแนวนอน) YES

NO

-แต่งตั้งคณะทํางานพัฒนาเครือข่ายบริการ ปฐมภูมิ -การ SWOT คัดเลือก best practice วิเคราะห์สภาพการณ์ป ัจจุบ ันด้านคุณภาพ บริการทั้งด้านการแพทย์และการให้บริการ ระดับโรงพยาบาล (Medical Quality andService Quality) -ประเมินตนเอง

-จัดทําแผนพัฒนาเครือข่ายบริการปฐมภูมิ แผนพัฒนา COE ของ คปสอ.และจัดทําแผนพัฒนายกระดับระบบคุณภาพการบริการของ โรงพยาบาลเพื่อเสนอเป็นแนวทางการปฏิบ ัติร่วมกันของหน่วยงาน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

พัฒนาศักยภาพ SAT ,QRT และทีมพัฒนางานคุณภาพ ระดับอําเภอพัฒนาศักยภาพบุคลากรในหน่วยบริการปฐมภูมิ

ดําเนินการพัฒนาระบบการคุณภาพของสถานพยาบาล ตามแผนคุณภาพบริการทั้งด้านการแพทย์และการให้บ ริการ ระดับโรงพยาบาล (Medical Quality andService Quality)และ พัฒนา รพ.สต.ตามเกณฑ์ PCA ,ตัวชี้วัด ๖ ตัว ของกระทรวง ตรวจสอบแก้ไข ให้การสนับ สนุนในการพัฒนา งาน (CQI งาน ๒-๓ Cycle) โดยทีมสหวิชาชีพ

พัฒนาระบบการนิเทศ ติดตามและประเมินผลภายในองค์กร

พัฒนาส่วนที่ไม่ผ่านเกณฑ์เพื่อพัฒนาปรับปรุงแก้ไข

จัดเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และประกวดผลงานบริการที่จัด กระบวนการด้านบริหารจัดการคุณภาพของทีมพัฒนาคุณภาพ

สรุปประเมินผลการพัฒนาระบบคุณภาพของสถานบริการเสนอผู้บริหาร ประกวดผลงานการพัฒนาคุณภาพ และการเผยแพร่ผลงาน


๖. ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ ผลผลิต ๑. ประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจในการพัฒนาสู่ความ เป็นเลิศแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง ๒. ประชุม SWOT คัดเลือก best practice วิเคราะห์สภาพการณ์ป ัจจุบ ันด้านคุณภาพบริการทั้ง ด้านการแพทย์และการให้บ ริการระดับ โรงพยาบาล (Medical Quality and Service Quality) และ รพ. สต. ตามเกณฑ์ PCA และตัวชี้วัดกระทรวง ๓. พัฒนาศักยภาพ SAT ,QRT และทีมพัฒนางาน คุณภาพระอําเภอพัฒนาระบบการคุณภาพของ สถานพยาบาล จํานวน ๔๕ คน ๔.ดําเนินการพัฒนาระบบการคุณภาพของ สถานพยาบาล ตามแผน คุณภาพบริการทั้งด้าน การแพทย์และการให้บริการระดับโรงพยาบาล (Medical Quality andService Quality) และ รพ.สต. ตามเกณฑ์ PCA และตัวชี้วัดกระทรวง ๕.สรุปผลการดําเนินการตามแผนพัฒนาCOEและ แผนพัฒนางานคุณภาพ ๖.ตรวจสอบแก้ไข ให้การสนับ สนุนในการพัฒนา งาน (CQI งาน ๒-๓ Cycle) โดยทีมสหวิชาชีพ ๗.พัฒนาระบบการนิเทศ ติดตามและประเมินผล ภายในองค์กร ๘. พัฒนาส่วนที่ไม่ผ่านเกณฑ์เพื่อพัฒนาปรับปรุงแก้ไข ๙.จัดเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มวิชาชีพ และ ประกวดการบริการที่จัด กระบวนการด้านบริหาร จัดการคุณภาพของทีมพัฒนาคุณภาพ ๑๐.สรุปประเมินผลการพัฒนาระบบคุณภาพของ สถานบริการเสนอผู้บริหารประกวดผลงานการพัฒนา คุณภาพและการเผยแพร่ผลงาน

ผลลัพธ์ ๑.ระดับความสําเร็จในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพสู่ความเป็นเลิศ ๒.ระดับความสําเร็จในการพัฒนาระบบคุณภาพการบริการทั้งด้าน การแพทย์และการให้บ ริการระดับโรงพยาบาล (Medical Quality andService Quality) ๓.ร้อยละความสําเร็จในการพัฒนา รพ.สต. ตามมาตรฐาน PCA ๔.ร้อยละความสําเร็จในการพัฒนามาตรฐานการบริการสุขภาพ รพ.สต. ตามเกณฑ์ ๖ ตัวชี้วัดกระทรวง


๗. ตัวชี้วัดความสําเร็จของโครงการ ผลผลิต ๑. ประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจในการพัฒนาสู่ความ เป็นเลิศและพัฒนางานคุณภาพแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง ๒. การ SWOT คัดเลือก best practice วิเคราะห์ สภาพการณ์ปัจจุบ ันด้านคุณภาพบริการทั้งด้าน การแพทย์และการให้บ ริการระดับโรงพยาบาล (Medical Quality andService Quality) และ PCA รพ.สต. และตัวชี้วัดกระทรวง ๖ ตัวชี้วัด ๓ พัฒนาศักยภาพ SAT ,QRT และทีมพัฒนางาน คุณภาพระอําเภอพัฒนาระบบการคุณภาพของ สถานพยาบาล จํานวน ๔๕ คน ๔.ดําเนินการตามแผนพัฒนาCOEและแผนการพัฒนา ระบบการคุณภาพของสถานพยาบาล ตามแผน คุณภาพบริการทั้งด้านการแพทย์และการให้บ ริการ ระดับโรงพยาบาล (Medical Quality andService Quality)และ PCA รพ.สต. และตัวชี้วัดกระทรวง ๖ ตัว ๕.สรุปผลการดําเนินการตามแผนพัฒนาCOE และ แผนพัฒนางานคุณภาพในการตรวจสอบแก้ไข ให้การ สนับสนุนในการพัฒนา งาน (CQI งาน ๒-๓ Cycle) โดยทีม สหวิชาชีพ ๖.พัฒนาระบบการนิเทศ ติดตามและประเมินผล ภายในองค์กร ๗ พัฒนาส่วนที่ไม่ผ่านเกณฑ์เพื่อพัฒนาปรับปรุงแก้ไข ๘.จัดเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มวิชาชีพ และ ประกวดการบริการที่จัด กระบวนการด้านบริหาร จัดการคุณภาพของทีมพัฒนาคุณภาพ ๙.สรุปประเมินผลการพัฒนาระบบคุณภาพของสถาน บริการเสนอผู้บ ริหารประกวดผลงานการพัฒนา คุณภาพและการเผยแพร่ผลงาน

ตัวชี้วัด ๑.มีคําสั่งคณะกรรมการจัดทํา แผนพัฒนา COEและงานคุณภาพ ๒.มีแผนพัฒนา COE และ แผนพัฒนางานคุณภาพ

ค่าเป้าหมาย ระยะเวลา มี

ธ.ค. ๕๔

มี

ม.ค. ๕๕

ร้อยละ ๑๐๐

มค.๕๕

ร้อยละ ๑๐๐

กพ.๕๕

๓. ร้อยละของการพัฒนาทีม SAT ,QRT และทีมพัฒนางานคุณภาพ ระอําเภอพัฒนาระบบการ ร้อยละ ๑๐๐ คุณภาพของสถานพยาบาล ๔. ร้อยละของหน่วยงานผ่าน เกณฑ์การประเมิน มาตรฐาน ร้อยละ ๑๐๐ คุณภาพบริการของกระทรวง สาธารณสุข HA/HPH / PCA ๕.ร้อยละ ของหน่วยงานสรุปผล การดําเนินงานและ ที่มีการ ร้อยละ ๑๐๐ นําเสนอกระบวนการการ ดําเนินงานที่ดี ( Best Practice ) และเผยแพร่สู่ สาธารณะ ๖.ร้อยละของหน่วยงานมีการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามกลุ่มวิชาชีพ ร้อยละ ๑๐๐

มี.ค. ๕๕ ก.ค.๕๕

ก.ค.๕๕

ก.ค.๕๕


ผลลัพธ์

ตัวชี้วัด

๑.การพัฒนาระบบบริการสุขภาพสูค่ วาม ๑.ระดับความสําเร็จในการ เป็นเลิศ พัฒนาระบบบริการสุขภาพสูค่ วาม ๒.การพัฒนาระบบคุณภาพการบริการทั้ง เป็นเลิศ ด้านการแพทย์และการให้บริการระดับ ๒.ระดับความสําเร็จในการพัฒนา โรงพยาบาล (Medical Quality ระบบคุณภาพการบริการทั้ง andService Quality) ด้านการแพทย์และการ ให้บริการระดับโรงพยาบาล (MedicalQuality andService ๓.การพัฒนาระบบคุณภาพการบริการทั้ง Quality) ด้านการแพทย์และการให้บริการระดับ ๓.ร้อยละของรพ.สต.ได้รับการ รพ.สต. PCA และตัวชี้วดั ๖ ตัวของ พัฒนาระบบคุณภาพการ กระทรวง บริการทั้งด้านการแพทย์และ การให้บริการระดับรพ.สต. PCA และตัวชี้วดั ๖ ตัวของ กระทรวง ๔.การพัฒนาระบบคุณภาพการบริการ ๔.ร้อยละความสําเร็จของการ รพ.สต.ตามเกณฑ์ ๖ ตัวชี้วัดของ พัฒนาระบบคุณภาพการ กระทรวง บริการ รพ.สต.ตามเกณฑ์ ๖ ตัวชี้วดั ของกระทรวง

ค่าเป้าหมาย ระยะเวลา ระดับ ๕

ก.ค. ๕๕

ระดับ ๕

ก.ค.๕๕

ร้อยละ ๑๐๐

ก.ค.๕๕

ร้อยละ ๑๐๐

ก.ค.๕๕


๘. ความเชือ่ มโยงกับยุทธศาสตร์ ความสัมพันธ์หรือเชื่อมโยง

เหตุผลและรายละเอียด

โครงการหลักที่สง่ ผลต่อการบรรลุค่า เป้าหมายภายใต้ตัวชี้วดั ของยุทธศาสตร์ อําเภอท่าคันโท (โครงการพัฒนาคุณภาพบริการสาธารณสุขสู่ ความเป็นเลิศ

ตัวชี้วัด : ระดับความสําเร็จในการพัฒนาสู่ความเป็นเลิศในคุณภาพบริการ สุขภาพ ( Center of excellence) ค่าเป้าหมาย : ร้อยละ ๑๐๐ เป้าประสงค์ : ๑. จัดระบบบริการการแพทย์ที่มีการใช้เทคโนโลยีอย่าง พอประมาณตามหลักวิชาการอย่างถูกต้องเหมาะสม ประเด็นยุทธศาสตร์ : ๑. การสร้างระบบสุขภาพและการแพทย์ที่ ผู้รับบริการอุ่นใจ ผู้ให้บริการมีความสุข

โครงการสนับสนุนทีส่ ่งผลต่อการบรรลุค่า เป้าหมายภายใต้ตัวชี้วดั ของยุทธศาสตร์ อําเภอท่าคันโท (โครงการสร้างความสุข ความเชื่อมั่นในการ บริการรักษา พยาบาล)

ตัวชี้วัด๒ : ร้อยละของสถานบริการที่ผ่านระดับความเชือ่ มั่นในคุณภาพการ รักษาและการบริการในระดับ ๕ ค่าเป้าหมาย : ระดับ ๕ เป้าประสงค์ : ๒. ผู้รับบริการมีความอุ่นใจและเชือ่ มั่นในคุณภาพการรักษา และการบริการ ประเด็นยุทธศาสตร์ : ๑ การสร้างระบบสุขภาพและการแพทย์ทผี่ ู้รับบริการ อุ่นใจ ผู้ให้บริการมีความสุข

โครงการสนับสนุนทีส่ ่งผลต่อการบรรลุค่า เป้าหมายภายใต้ตัวชี้วดั ของ ยุทธศาสตร์ อําเภอท่าคันโท (พัฒนาบริการปฐมภูมิใกล้บ้านใกล้ใจให้ได้ มาตรฐาน)

ตัวชี้วัด ๑๐ : ร้อยละของเครือข่ายศูนย์สุขภาพชุมชนทีผ่ ่านเกณฑ์มาตรฐาน ที่กําหนด ในระดับ ๕ ค่าเป้าหมาย : ร้อยละ ๖๐ เป้าประสงค์ : ๙ ระบบสุขภาพชุมชนและเครือข่ายบริการปฐมภูมทิ ี่เข้มแข็ง ประเด็นยุทธศาสตร์ : ๔. การสร้างวัฒนธรรมสุขภาพและวิถีชีวิตที่มคี วามสุข ในสังคมแห่งสุขภาวะ

โครงการสัมพันธ์ทสี่ ่งผลต่อการบรรลุค่า เป้าหมายภายใต้ตัวชี้วดั ของ อําเภอท่าคันโท โครงการพัฒนาคนในระบบยุทธศาสตร์ให้ เป็น Autonomous

ตัวชี้วัด๑๔ : ร้อยละของหน่วยงานทีผ่ ่านเกณฑ์ระดับความสําเร็จของการ ดําเนินงาน การพัฒนาบุคลากร ระดับ ๕ ค่าเป้าหมาย : ร้อยละ ๑๐๐ เป้าประสงค์ : ๑๓. บุคลากรด้านสุขภาพของจังหวัดกาฬสินธุ์มีสมรรถนะสูง ปฏิบตั ิงานอย่างมีความสุขบนพื้นฐานวัฒนธรรมองค์กรที่เข้มแข็งประเด็น ยุทธศาสตร์ ๖ การสร้างระบบสุขภาพบนฐานความรู้ด้วยการจัดการความรู้


๙. ผู้รับผิดชอบ ตําแหน่งในโครงการ

ชื่อผู้รับผิดชอบ

บทบาทหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ

Project Sponsor

นายแพทย์พิสทิ ธิ์ เอือ้ วงศ์กูล อนุมัติให้การสนับสนุนโครงการ รวมทั้ง นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นทีป่ รึกษาของโครงการ นายแพทย์สมยศ ศรีจารนัย สาธารณสุขเขตพื้นที่โซน ๕ นายวัลลพ เรืองพรเจริญ นายอําเภอท่าคันโท

Project Manager

นายสมดี โคตตาแสง สาธารณสุขอําเภอท่าคันโท นายวราวุฒิ ตุลาพัฒน์ ผู้ช่วยสาธารณสุขอําเภอท่าคันโท

-ผลักดันให้โครงการประสบผลสําเร็จ และดูแลบริหารโครงการโดยรวม -ร่วมจัดทําแผนแผนพัฒนา COE -ติดตามและประเมิน

Project Team

นางจรูญรัตน์ บุญโพธิ์ นางลัดดาวัลย์ ศรชัย นายสมชาย ปัสสาจันทร์ นางสาวณัฐกฤตา ทุมวงศ์ นายลือชัย พันธุภา นายจักรี สงตลาด นางเพชรรัตน์ วงค์ไชยชาญ นางดารณี ขันธ์โฮม นายศิริชยั ไกรเสน นายคมกริช โภคสวัสดิ์

๑.กําหนดจุดยืน กรอบนิยาม และ เป้าประสงค์ ของการพัฒนาสูค่ วามเป็น เลิศในคุณภาพบริการสุขภาพของหน่วย บริการ จังหวัดกาฬสินธุ์ ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ๒.กํากับให้มีการขับเคลื่อน Goal สู่การ ปฏิบตั ิ มีการรายงาน รวมถึงการจัดทํา คําของบประมาณจากผู้บริหารระดับสูง ๓.ทบทวนประเมินประสิทธิผลของ ผลสัมฤทธิ์ และสังเคราะห์สู่การพัฒนา ของระบบยุทธศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ ๔สื่อสารยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่ความ เป็นเลิศแก่ผู้มสี ่วนได้ส่วนเสีย ให้เข้าถึง เข้าใจ ถึงกระบวนการต่างๆ ของ COE ให้สามารถปฏิบตั ิได้อย่างมีประสิทธิภาพ


๑๑. งบประมาณ และประมาณการกระแสเงินสด โครงการใช้งบประมาณบูรณาการทั้งหมด ๔๒๐,๐๐๐ บาท รายละเอียดดังนี้ งบประมาณ ประเด็น ระยะเวลา ๑. รายรับ ๒.รายจ่าย ๑พัฒนาระบบบริการสุขภาพสู่ ความเป็นเลิศอนามัยแม่และ เด็ก การ SWOT คัดเลือก best practice วิเคราะห์สภาพการณ์ ปัจจุบันด้านคุณภาพบริการทั้ง ด้านการแพทย์และการ ให้บริการระดับโรงพยาบาล (Medical Quality andService Quality) ๑.๑. ประชุมชีแ้ จงสร้างความ เข้าใจในการพัฒนาสู่ความเป็น เลิศและพัฒนางานคุณภาพแก่ ผู้ที่เกีย่ วข้อง รพ.รพ.สต. สสอ. ๑.๒.พัฒนาศักยภาพ QRT และ ทีมพัฒนางานคุณภาพระอําเภอ พัฒนาระบบการคุณภาพของ สถานพยาบาล ๔๕ คน

ทั้งหมด ๔๒๐,๐๐๐ ๔๒๐,๐๐๐

ไตรมาสที่ ๑

บูรณาการ กิจกรรมที่ 3 บูรณาการงบ สสจ.

ไตรมาสที่ ๒

ไตรมาสที่ ๓

ไตรมาสที่ ๔


๑๑. งบประมาณ และประมาณการกระแสเงินสด(ต่อ) ประเด็น ๑. รายรับ ๒.รายจ่าย ๒.จัดทําแผนพัฒนา COE และแผนพัฒนางานคุณภาพ ๓.ดําเนินการตาม แผนพัฒนาCOEและ แผนการพัฒนาระบบการ คุณภาพของสถานพยาบาล ตามแผน คุณภาพบริการ ทั้งด้านการแพทย์และการ ให้บริการระดับ โรงพยาบาล (Medical Quality andService Quality) ๓.๑.พัฒนางานMCH สายใยรักสูค่ วามเป็นเลิศ และงานคุณภาพ HA PCA -รพ.สต.สายใยรัก -รพ.สายใยรัก ๒๐,๐๐๐บ. -HA รพ.๕๐,๐๐๐ บาท

งบประมาณ ทั้งหมด

ระยะเวลา ไตรมาสที่ ๑

ไตรมาสที่ ๒

บูรณาการ กิจกรรม ๓.๔

๓.๒ อบรมหลักสูตร โรงเรียนพ่อแม่ รพ.สต.ๆ ละ ๑๐,๐๐๐ บาท ๓.๓ สุขศาลา/ศูนย์เด็กเล็ก สายใยรักแห่งๆละ ๑๐,๐๐๐ บาท

เงินบํารุง รพ.สต. ๗๐,๐๐๐

๓.๔ ค่าวัสดุปรับปรุงระบบ คุณภาพบริการของ รพ.สต.๗

เงินบํารุงรพ.สต. ๓๕๐,๐๐๐

รพ.สต.ๆละ ๕๐,๐๐๐ บ.

ไตรมาสที่ ๓

ไตรมาสที่ ๔


๑๑. งบประมาณ และประมาณการกระแสเงินสด(ต่อ) ประเด็น งบประมาณ ระยะเวลา ไตรมาสที่ ๑ ไตรมาสที่ ๒ ไตรมาสที่ ๓ ทั้งหมด

ไตรมาสที่ ๔

๑. รายรับ ๒.รายจ่าย ๔.สรุป ผลการดําเนินการตาม แผนพัฒนาCOและ แผนพัฒนางานคุณภาพใน การตรวจสอบแก้ไข ให้ การสนับสนุนในการพัฒนา งาน (CQI งาน ๒-๓Cycle) โดยทีม สหวิชาชีพ ๕.พัฒนาระบบการนิเทศ ติดตามและประเมินผลภายใน องค์กร ๖. พัฒนาส่วนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ เพื่อพัฒนาปรับปรุงแก้ไข ๗.จัดเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในกลุ่มวิชาชีพ และประกวดการ บริการที่จัด กระบวนการด้าน บริหารจัดการคุณภาพของทีม พัฒนาคุณภาพ ๘.สรุปประเมินผลการพัฒนา ระบบคุณภาพของสถานบริการ เสนอผู้บริหารประกวดผลงาน การพัฒนาคุณภาพและการ เผยแพร่ผลงาน

*งบประมาณทุกรายการ ถัว่ จ่ายกันได้* ๑.เงินบํารุงรพ.สต. ๔๒๐,๐๐๐ บาท

บูรณาการ กิจกรรมที่ ๓

บูรณาการ กิจกรรมที่ ๓

บูรณาการ กิจกรรมที่ ๓

บูรณาการ กิจกรรมที่ ๓

บูรณาการ กิจกรรมที่ ๓

บูรณาการ กิจกรรมที่ ๓

บูรณาการ กิจกรรมที่ ๓

บูรณาการ กิจกรรมที่ ๓

รวมบูรณาการงบประมาณ จํานวนเงิน ๔๒๐,๐๐๐ บาท (สี่แสนสองหมื่นบาทถ้วน)


๑๒. ผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ บทบาท รายละเอียด -ผู้ประเมิน อนุมตั ิ อนุมัตโิ ครงการ ประเมินโครงการ

-ผู้ให้ -ผู้ที่ได้รับผล

หน่วยงาน กลุ่มบุคคล -นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด กาฬสินธุ์ -คณะกรรมการจังหวัด -นายอําเภอ ให้คําแนะนําในการจัดทําแผนพัฒนา COE - สสจ. – สสอ. - สอ. – รพ. หน่วยบริการปฐมภูมิทกุ แห่ง -เจ้าหน้าที่หน่วยบริการปฐมภูมิ

ประเด็นปัญหาผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ ผู้ที่เกีย่ วข้อง

ส่งผลกระทบต่อความสําเร็จ ได้รับผลกระทบ ของโครงการ จากโครงการ สสอ/โรงพยาบาล - ควบคุมกํากับติดตาม ประเมินผล PCU/สอ. อปท.

- การค้นหา COE - รู้สภาพพื้นที่ - มีส่วนร่วมในการ ดําเนินงานตามแผน COE - มีส่วนร่วมในการสนับสนุน งบประมาณ

-

ประเด็นปัญหาที่ อาจจะมี - บุคคลากรมีจํากัด

- บุคลากรขาดทักษะ และประสบการณ์ - ไม่เห็นความสําคัญ ของการดําเนินงาน

แนวทางในการแก้ไข - ขอสนับสนุนบุคลากร จาก สสจ. และรพ. - จัดศึกษาดูงานนอก เครือข่าย - กําหนดให้เป็นนโยบาย ของจังหวัด


๑๓. ประโยชน์ที่จะได้รับ ด้านความคุ้มค่าในการลงทุน (ถ้ามี) ด้านผลประโยชน์โครงการ ผู้ที่เกีย่ วข้อง

บวกสูง (+๓)

คปสอ. สอ.

บวกกลาง (+๒) ลดภาระใน การติดตาม ประเมินผล

บวกต่ํา (+๑)

ลบต่ํา (-๑)

ลบกลาง (-๒)

ลบสูง (-๓)

รวม +๒

ลดภาระในการ ดูแลสุขภาพ ประชาชน

+๓

อปท.

ได้รับการ ยอมรับจาก ประชาชน

+๑

รวม

+๖

๑๔. โครงการอื่นที่เกี่ยวข้อง ชื่อโครงการอื่นทีส่ ัมพันธ์ โครงการพัฒนาสมรรถนะฯ โครงการยกระดับมาตรฐาน การแพทย์ และการ สาธารณสุขให้เกิดความ ประทับใจ โครงการพัฒนาเครือข่าย บริการสุขภาพปฐมภูมิทมี่ ี มาตรฐานและเข้มแข็ง

โครงการอื่นเป็น โครงการต้นน้ํา

โครงการอื่นเป็น โครงการทีต่ ้องทํา ร่วมกัน

โครงการอื่นเป็น โครงการปลายน้ํา

X X

X

รายละเอียดลักษณะ ความสัมพันธ์ บุคลากรสาธารณสุข ได้รับการพัฒนา มีกิจกรรมที่ สอดคล้องและ สนับสนุนซึง่ กันและ กัน มีกิจกรรมที่ สอดคล้องและ สนับสนุนซึง่ กันและ กัน


๑๕. ความเสี่ยงของโครงการ การระบุความเสี่ยง ประเด็นที่ตอ้ งพิจารณา ด้านส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนในชุมชนเข้ามามีส่วน ร่วมในการจัดทําแผนพัฒนา COE - อปท. - ประชาชน ด้านสร้างองค์ความรู้ในการจัดทําแผน พัฒนา COE และค้นหา COE ของชุมชน ด้านระบบการติดตามและประเมินผล แผนพัฒนา COE ด้านความสอดคล้องของระยะเวลาในการ ดําเนินงานตามแผนพัฒนา COE ของ คปสอ. กับPCU

คําอธิบาย - ไม่เห็นความสําคัญในการดําเนินงาน - เพิ่มภาระในการปฏิบตั ิงาน

ความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น - ไม่ให้ความร่วมมือในการ ดําเนินงาน

- ไม่มีความรูแ้ ละทักษะในการกําหนด COE ในชุมชน - การติดตามที่ไม่ตอ่ เนื่อง

- ไม่สามารถกําหนด COE ของ ชุมชนได้ - การจัดทําแผนไม่บรรลุ เป้าหมาย - ไม่มีการบูรณาการแผนให้ สอดคล้องกัน

- ช่วงเวลาในการดําเนินการตามแผน ไม่ตรงกัน

ความเสี่ยงสําคัญ (๒) ความเสี่ยง ไม่ให้ความร่วมมือในการ ดําเนินงาน

ไม่เข้าใจแนวคิด การกําหนด COE ของชุมชนได้

เกรดที่ ได้รับ B

C

แนวทางการบริหาร ความเสี่ยง ๑.ประชุมชีแ้ จงให้เห็น ความสําคัญ ๒.กําหนดเป็นนโยบายทีต่ ้อง กําหนด

ผู้รับผิดชอบ นํา แนวทางไปใช้ .- สสอ. - สอ.- รพ.

๑.ศึกษาดูงานสร้างองค์ความรู้ .- สสอ. เพิ่มทักษะและประสบการณ์ - สอ.- รพ. ในการกําหนด COE ของ ชุมชน

ต้นทุนที่ อาจเกิดขึ้น -


๑๐.รายละเอียด งบประมาณตามโครงการขั้นตอนการวางแผน กระบวนการกิจกรรมหลัก

กลุม่ เป้าหมายและจํานวน ตัวชีว้ ัดและค่าเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย

งบประมาณ

๑.๑. ประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจใน ต.ค.๕๔ พ.ย.๕๔ การพัฒนาสู่ความเป็นเลิศและพัฒนา งานคุณภาพแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง รพ.รพ.สต. สสอ.

๑พัฒนาระบบบริการสุขภาพสู่ความเป็นเลิศ การ SWOT คัดเลือก best practice วิเคราะห์ สภาพการณ์ปัจจุบันด้านคุณภาพบริการทั้งด้าน การแพทย์และการให้บริการระดับโรงพยาบาล (Medical Quality andService Quality)

๒.จัดทําแผนพัฒนา COE และแผนพัฒนางาน คุณภาพ ๓.ดําเนินการตามแผนพัฒนาCOEและแผนการ พัฒนาระบบการคุณภาพของสถานพยาบาล ตาม แผน คุณภาพบริการทั้งด้านการแพทย์และการ ให้บริการระดับโรงพยาบาล (Medical Quality

ระยะเวลา ดําเนินการ เริ่มต้น สิ้นสุด

รพ.สต. ๗ แห่ง

ร้อยละของ รพ.สต.ผ่านการ เกณฑ์ตัวชี้วัดกระทรวงร้อยละ ๑๐๐

andService Quality)

๓.๑ ค่าวัสดุปรับปรุงระบบคุณภาพ บริการพัฒนางานคุณภาพ PCA HA ตัวชี้วัดกระทรวง และงานสายใยรักฯ ของ รพ.สต.๗ แห่ง

งบเงินบํารุง รพ.สต. = ๓๕๐,๐๐๐ บ. ร้อยละของ รพ.สต.ผ่านการ เกณฑ์สายใยรักแห่งครอบครัว ร้อยละ ๑๐๐

๓.๒.พัฒนางานMCH สายใยรักสู่ความ เป็นเลิศ -รพ.สต.

ผู้รับผิดชอบ หลัก ร่วม คปสอ

รพ. รพ.สต. สสอ.


กระบวนการกิจกรรมหลัก ๔.สรุป ผลการดําเนินการตามแผนพัฒนาCOและ แผนพัฒนางานคุณภาพในการตรวจสอบแก้ไข ให้การสนับ สนุนในการพัฒนา งาน (CQI งาน ๒-๓Cycle)โดยทีม สหวิชาชีพ ๕.พัฒนาระบบการนิเทศ ติดตามและประเมินผล ภายในองค์กร ๖. พัฒนาส่วนที่ไม่ผ่านเกณฑ์เพื่อพัฒนาปรับปรุง แก้ไข

๗.จัดเวทีการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ในกลุ่มวิชาชีพ และประกวดการบริการที่จัด กระบวนการ ด้านบริหารจัดการคุณภาพของทีมพัฒนา คุณภาพ

๘.สรุปประเมินผลการพัฒนาระบบคุณภาพ ของสถานบริการเสนอผูบ้ ริหารประกวด ผลงานการพัฒนาคุณภาพและการเผยแพร่ ผลงาน

กลุม่ เป้าหมายและจํานวน ตัวชีว้ ัดและค่าเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย

งบประมาณ บูรณาการกิจกรรมที่ 3

ระยะเวลา ดําเนินการ เริ่มต้น สิ้นสุด

ผู้รับผิดชอบ หลัก ร่วม


กระบวนการ กิจกรรมหลัก ๙. แต่งตั้งคณะทํางาน คณะกรรมการ QRT

กลุ่มเป้าหมาย และ จํานวนกลุ่มเป้าหมาย QRT อําเภอ

ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย

รพ.สต.ละ ๑ คน ๗ แห่ง หลักสูตร ๒ วัน

บูรณาการกับงบประมาณจาก สสจ.กาฬสินธุ์ บูรณาการกับงบประมาณจาก สสจ.กาฬสินธุ์ บูรณาการกับงบประมาณจาก สสจ.กาฬสินธุ์ บูรณาการกับงบประมาณจาก สสจ.กาฬสินธุ์

๑๓.อบรมหลักสูตรโรงเรียนพ่อ,แม่ รพ.สต. สุขศาลา รพ.สต. ๗ แห่ง ศูนย์เด็กเล็ก สุขศาลา ๖๐ แห่ง ศูนย์เด็กเล็ก ๑๕ แห่ง

จํานวน ๙๐ คน หลักสูตร ๑ วัน

งบประมาณเงินบํารุง ๗ แห่ง -รพ.สต.งบ ๗๐,๐๐๐ บาท

๑๔.จัดมุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่รพ.สต. สุขศาลา ศูนย์เด็กเล็ก สายใยรักแห่งครอบครัว

รพ.สต. ๗ แห่ง สุขศาลา ๔๖ แห่ง ศูนย์เด็กเล็ก ๑๓ แห่ง

บูรณาการงบกิจกรรมที่ ๑๓

๑๐. ประชุมชี้แจงแนวทางการดําเนินงานทีมแกนนํา ผู้รับ ผิดชอบงานระดับ อําเภอ ๑๑. อบรมหลักสูตร ทีมนํา ผู้รับ ผิดชอบงานระดับ อําเภอ ๑๒. อบรมหลักสูตร การจัดการความรู้ เช่น การ ผู้รับ ผิดชอบงานระดับ เล่าเรื่อง การเขียน การถอดบทเรียน อําเภอ/ตําบล

รพ.สต. ๗ แห่ง สุขศาลา ๖๐ แห่ง ศูนย์เด็กเล็ก ๑๕ แห่ง

๑๕. พัฒนาออกแบบ ประเภทนวัตกรรม

QRT จังหวัด

๑๖. จัดเวทีประกวดผลงานระดับจังหวัด

QRT จังหวัด

๑๗. พัฒนานโยบายและมีแผนยุทธศาสตร์การ ดําเนินงานด้านสุขภาพ

คปสอ.

๑๕ คน

งบประมาณ

คปสอ. ละ ๔ คน คปสอ. ละ ๔ คน ๓ วัน

๑ ครั้ง มีแผนยุทธศาสตร์การดําเนินงานด้าน สุขภาพ

บูรณาการกับงบประมาณจาก สสจ.กาฬสินธุ์ บูรณาการกับงบประมาณจาก สสจ.กาฬสินธุ์ บูรณาการกับงบประมาณนัก จัดการสุขภาพชุมชน ข้อ ๔.๓

ระยะเวลาดําเนินการ

ผู้รับผิดชอบ

เริ่มต้น

สิ้นสุด

หลัก

ร่วม

ต.ค.๕๔

ต.ค.๕๔

คปสอ.

รพ.สต.

พ.ย.๕๔

พ.ย.๕๔

สสจ.

คปสอ.

พ.ย.๕๔

พ.ย.๕๔

สสจ.

คปสอ.

พ.ย.๕๔

พ.ย.๕๔

สสจ.

คปสอ.

พ.ย.๕๔

พ.ย.๕๔

สสจ.

คปสอ.

ส.ค.๕๕

สสจ.

คปสอ.

ก.ค.๕๕

คปสอ.

สจ. รพ.สต.

ส.ค.๕๕ ต.ค.๕๔


๑๘. พัฒนาระบบบริหารเครือข่ายสถานบริการให้มี มาตรฐานเพื่อจัดระบบบริการด้านสุขภาพให้ได้ต าม ชุดสิทธิประโยชน์ (รพ.สต. / PCU รพ.สต.ขนาด ใหญ่)

คปสอ.

เครือข่ายสถานบริการมีการจัดระบบ บริการด้านสุขภาพที่ได้มาตรฐานตาม ชุดสิทธิป ระโยชน์

บูรณาการกิจกรรมที่ ๓

ต.ค.๕๔

ก.ค.๕๕

คปสอ.

สอ. รพ.สต.

๑๙. สนับสนุนบุคลากร วัสดุ ครุภัณฑ์ เวชภัณฑ์ ที่ จําเป็นอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม

คปสอ.

มีการสนับ สนุนบุคลากร วัสดุ คุรุภัณฑ์ เวชภัณฑ์ ที่จําเป็นอย่างทั่วถึงและเป็น ธรรม

บูรณาการกับงบประมาณจาก สสจ.กาฬสินธุ์

ต.ค.๕๔

ก.ค.๕๕

คปสอ.

สจ. รพ.สต.


๑๖. ระยะเวลาดําเนินงานตามโครงการ กิจกรรมที่สําคัญ ๑. ประชุมเพื่อศึกษาความพร้อมและความต้องการขององค์การ ค้นหา COE ของแต่ละชุมชน ๒. แต่งตั้งคณะทํางาน เพื่อจัดทําแผนพัฒนา COE ของ คปสอ.

๓. จัดกระบวนการเตรียมความพร้อมด้านบุคลากร งบประมาณ ทรัพยากร ปัจจัยเอื้อ/สนับ สนุนต่อแผนงาน ๔. นําเสนอแผนต่อประธาน คปสอ.ท่าคันโท

๕. ดําเนินงานตามแผน ๖. มีระบบการติดตามและประเมินผลตามแผน ๗. นําเสนอผลงาน COE ต่อ คปสอ.ท่าคันโท ๘. เผยแพร่ผลการดําเนินงาน( Best Practice )ในเวที แลกเปลี่ยนเรียนรู้

ปี ๒๕๕๔ ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

ปี ๒๕๕๕ เม.ย. พ.ค. มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.


กิจกรรมที่สําคัญ ๙. แต่งตั้งคณะทํางาน คณะกรรมการ QRT ๑๐. ประชุมชี้แจงแนวทางการดําเนินงานทีมแกนนํา ๑๑. อบรมหลักสูตร ทีมนํา ๑๒. อบรมหลักสูตร การจัดการความรู้ เช่น การเล่าเรื่อง การ เขียน การถอดบทเรียน ๑๓. พัฒนาออกแบบ ประเภทนวัตกรรม ๑๔. จัดเวทีป ระกวดผลงานระดับ จังหวัด ๑๕. พัฒนานโยบายและมีแผนยุทธศาสตร์การดําเนินงานด้าน สุขภาพ ๑๖. พัฒนาระบบบริหารเครือข่ายสถานบริการให้มีมาตรฐานเพื่อ จัดระบบบริการด้านสุขภาพให้ได้ตามชุดสิทธิประโยชน์ (รพ.สต. / PCU รพ. PCA รพ.สต.ขนาดใหญ่) ๑๗. สนับ สนุนบุคลากร วัสดุ ครุภัณฑ์ เวชภัณฑ์ ที่จําเป็นอย่าง ทั่วถึงและเป็นธรรม

ปี ๒๕๕๔ ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

ปี ๒๕๕๕ เม.ย. พ.ค. มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.


โครงการ: บูรณาการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพและรักษาพยาบาลเพื่อสร้างความสุข ความเชื่อมัน่ สู่ ความเป็น เลิศ หน่วยบริการ สังกัด สสอ.ท่าคันโท ปี ๒๕๕๕ งบประมาณ บูรณาการโครงการ รพ.สต.ในสังกัด สสอ.ท่าคันโท จํานวนเงิน ๔๒๐,๐๐๐ บาท (สี่แสนสองหมื่นบาทถ้วน) ๑๗. ลงนาม

ลงชื่อ……………………..…………………. ผู้เสนอโครงการ (นายวราวุฒิ ตุลาพัฒน์) ผู้ช่วยสาธารณสุขอําเภอท่าคันโท ลงชื่อ................................................... ผูเ้ ห็นชอบโครงการ ( นายสมดี โคตตาแสง ) สาธารณสุขอําเภอท่าคันโท

ลงชื่อ .................................................. ผู้เห็นชอบโครงการ ( นายสมยศ ศรีจารนัย ) นายแพทย์เชี่ยวชาญ ผู้อํานวยการโรงพยาบาลท่าคันโท

ลงชื่อ .................................................. ผู้อนุมัติโครงการ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.