สุขภาวะ0810

Page 1

Health of Buddhist Monks in Kalasin Province Wannapa Nitimongkonchai*1 Som Nasa-arn1 Wimonrat Phupasuk4 Penkhae thamsenanupap 3 Sirichai Rintarhat2 Suwattana Onprasonk 5 Nisakorn Palasarn6 Burin Chindaphan6 ABSTRACT This cross-sectional study aimed to survey the Buddhist Monk’s health in Kalasin Province and use the data for health promotion planning. The research consisted of 2 phases: 1) mental health self-assessment evaluation 2) physical examination by the physicians and nurses. The data were collected from 2,206 Buddhist monks using healthy-evaluation questionnaire, which was developed by the Department of Health. Statistical analysis used both descriptive and inferential statistics. The results revealed that ; The first phase, mental health self-assessment evaluation showed that total score of mental health and anxiety level was low ( X =1.54). The details revealed that their comfort feeling and healthy was moderate ( X =2.02) and do anything late than normal was moderate (X= 2.10). The second phase, the result of health-examination by the physicians and nurses indicate that the monks had risk of asymptomatic Disease with 44.38 % of diabetic, 11.74 % of stroke and 6.75 % of hypertension. And the monks had clinical disease with the highest percentage (29.87%) of High Density Lipoprotein (HDL), and the lesser percentage of Fasciopsiasis, Hypertension, and Diabetes Mellitus (i.e. 8.39%, 5.62%, and 5.26%), respectively. Regarding this results, Public-Health Offices should set a policy to promote the physical and mental health for the Buddhist monks, particularly for the monks whom had chronic disease and anxiety problems. Key Word ; The Buddhist Monks, Kalasin Province 1

Ph.D. Environmental Education , Developmental Public-Health Strategy, Kalasin Public Health Office, Ph.D. (Candidate) Environmental Education , Environmental Occupation Work-Group, Kalasin Hospital, 3 Ph.D. (Biology) Lecturer, Faculty of Environment and Resource Studies, Mahasarakham University, 2


4

MA.(Social Research) , Developmental Public-Health Strategy, Kalasin Public Health Office, 5 M.PH.(Biostatistics), Developmental Public-Health Strategy, Kalasin Public Health Office, 6 B.PH.(Public Health), Developmental Public-Health Strategy, Kalasin Public Health Office. *Corresponding Author : E-mail ; n_wannapa@yahoo.com, n.wannapa@hotmail.com.


สุขภาวะของพระสงฆ์ในจังหวัดกาฬสินธุ ์ วรรณภา นิติมงคลชัย* 1 สม นาสอ้ าน1 วิมลรัตน์ ภูผาสุข4 เพ็ญแข ธรรมเสนานุภาพ 3 ศิริชัย รินทะราช2 สุวัฒนา อ่อนประสงค์5 นิสากร พละสาร6 บุรินทร์ จินดาพรรณ6 บทคัดย่อ การศึกษาครัnงนีnใช้ รูปแบบการวิ จัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง (Cross-sectional study) มีวั ต ถุ ประสงค์ เ พืs อศึ กษาสุข ภาวะของพระสงฆ์ในจั ง หวั ด กาฬสิน ธุ์ และเพืs อใช้ เ ป็ นข้ อมู ลในการ ส่งเสริ มการดู แลสุขภาพของพระสงฆ์ในจั ง หวั ดกาฬสินธุ์ แบ่ งการวิ จัย ออกเป็ น 2 ระยะ ดัง นีn ระยะที= 1 การประเมินสุข ภาพจิ ต ตนเองของพระสงฆ์ และระยะที= 2 การตรวจสุข ภาพร่ างกาย ทัsวไปโดยแพทย์และพยาบาล เก็บรวบรวมข้ อมูลกับพระสงฆ์ จํานวน 2,206 รูป ใช้ แบบตรวจ ประเมินสุขภาวะของพระสงฆ์ของกรมอนามัย วิเคราะห์ข้อมูลด้ วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติวิเคราะห์ ดําเนินการวิจัยระหว่ างวันทีs 1 กรกฎาคม 2552 - 30 กันยายน 2552 ผลการศึกษา ปรากฎดังนีn ระยะที= 1 การประเมินสุขภาพจิตตนเองของพระสงฆ์ พบว่ า พระสงฆ์ในจั งหวั ด กาฬสินธุ์ มีระดับสุขภาพจิตและความเครียดโดยรวมอยู่ในระดับน้ อย ( X =1.54) เมืsอพิ จารณาใน รายละเอียด พบว่ า พระสงฆ์ร้ ูสึกสบายและมีสุขภาพดีอยู่ในระดับปานกลาง ( X =2.02) และทํา อะไรช้ ากว่ าปกติอยู่ในระดับปานกลาง ( X = 2.10) ระยะที= 2 การตรวจสุ ข ภาพร่ า งกายทัs ว ไปโดยแพทย์ แ ละพยาบาล พบว่ า พระสงฆ์มีภาวะเสีsยงต่อการป่ วยเป็ นโรคเบาหวานสูงถึงร้ อยละ 44.38 รองลงมาคือ โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต คิดเป็ นร้ อยละ 11.74 และโรคความดันโลหิ ตสูง คิดเป็ นร้ อยละ 6.75 และมีภาวะป่ วย เป็ นโรคไขมันในเลือดสูงมากทีsสุด คิดเป็ นร้ อยละ 29.87 รองลงมาคื อ โรคพยาธิใบไม้ ในลําไส้ โรคความดันโลหิ ตสูง และโรคเบาหวาน คิดเป็ นร้ อยละ 8.39, 5.62, และ 5.26 ตามลําดับ ซึsง หน่ วยงานด้ านสาธารณสุขควรมุ่งเน้ นการวางแผนและนโยบายในการส่งเสริ มสุขภาพของพระสงฆ์ เพิs ม ขึn น และควรมุ่ ง เน้ น ให้ ค วามสํา คั ญ กับ พระสงฆ์ในกลุ่ ม ทีsเ ป็ นโรคเรืn อรั ง และกลุ่ ม ทีsมีปั ญ หา สุขภาพจิตเพิsมเติม คําสําคัญ : พระสงฆ์ จังหวัดกาฬสินธุ์


กิตติกรรมประกาศ การศึกษาวิ จัยสุขภาวะพระสงฆ์ครัnง นีnได้ รับงบประมาณสนั บสนุ นจากสํา นั กงานสาธารณสุข จังหวัดกาฬสินธุ์ และได้ รับความกรุณาอย่างยิsงจากท่านนายแพทย์พิสิทธิ} เอืnอวงศ์กูล (นายแพทย์ สาธารณสุขจั ง หวั ดกาฬสิน ธุ์) นายแพทย์ สมยศ ศรี จารนั ย (นายแพทย์ เ ชีsย วชาญ) นางธีระพั น ธ์ ศรีบุญลือ (นักวิชาการสาธารณสุขเชีsยวชาญ) และหัวหน้ ากลุ่มงานทุกกลุ่มงานในสํานักงานสาธารณสุข จังหวัดกาฬสินธุ์ ทีsให้ คาํ ปรึกษาและให้ การสนับสนุ นการดําเนิ นงานวิ จัยจนสําเร็จลุล่วง และทีsสาํ คัญ การวิจัยครัnงนีnสาํ เร็จลงได้ ด้วยความร่วมมืออย่างดียsงิ จากภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ได้ แก่ เจ้ าหน้ าทีs จากโรงพยาบาลชุมชนทุกแห่ ง เจ้ าหน้ าทีsจากสํานักงานสาธารณสุขอําเภอทุกอําเภอ เจ้ าหน้ าทีsสถานี อนามัย นักวิชาการสาธารณสุข และอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้านทุกคน ทีsให้ ความร่ วมมือ เก็บรวบรวมข้ อมูลวิจัย คณะผู้จัดทําจึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนีn คณะผู้จัดทํา พฤศจิกายน 2552


สารบัญ

Abstract บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ บททีs 1 บทนํา ความเป็ นมาและความสําคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ ขอบเขตการวิจัย เครืsองมือทีใs ช้ ในการวิจัย นิยามศัพท์เฉพาะ ระยะเวลาทีsใช้ ในการวิจัย บททีs 2 เอกสารและงานวิจัยทีsเกีsยวข้ อง แนวคิดเกียs วกับพฤติกรรมสุขภาพ แนวคิดเกียs วกับการดูแลสุขภาพตนเอง งานวิจัยทีsเกียs วข้ อง บททีs 3 ระเบียบวิธวี ิจัย บททีs 4 ผลการศึกษาวิจัย บททีs 5 สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผล เอกสารอ้ างอิง ภาคผนวก เครืsองมือทีsใช้ ในการวิจัย

หน้า ก ค ง 1 1 2 2 3 3 3 4 4 15 23 28 29 40 47 52


สารบัญตาราง

ตารางทีs ตารางทีs ตารางทีs ตารางทีs

1 2 3 4

ข้ อมูลทัsวไป การประเมินสุขภาพจิตตนเองของพระสงฆ์ การตรวจสุขภาพร่างกายทัวs ไปโดยแพทย์และพยาบาล เปรียบเทียบภาวะเสีsยงต่อการป่ วยด้ วยโรค (Clinical Disease) 5 อันดับแรกกับภาวะเสีsยงต่อการป่ วยเป็ นโรค (Asymptomatic Disease) 5 อันดับแรก

หน้า 29 34 37 38


บทที= 1 บทนํา ความเป็ นมาและความสําคัญของปั ญหา พระพุ ท ธศาสนากั บ สั ง คมไทย มี ค วามสั ม พั น ธ์ แ ละผู ก พั น กั น อย่ า งลึ ก ซึn ง สถาบั น พระพุทธศาสนาเป็ นสถาบันทีsกล่อมเกลาจิตใจประชาชนให้ ยึดมัsนในการทําความดีมาโดยตลอดตัnงแต่ อดี ต จนถึ ง ปั จ จุ บัน พระสงฆ์ จึ ง ถื อได้ ว่ า เป็ นบุ ค คลทีsมีค วามสํา คั ญ มากในการอบรมสัsง สอนและ เผยแพร่พระพุทธศาสนาให้ กบั ประชาชนเพืsอให้ ประกอบแต่กรรมดี ละเว้ นการประพฤติความชัsวและ ละเว้ นอบายมุข ทัnงมวล ดังนัn น การดําเนิ นวิ ถีชีวิตของพระสงฆ์จึง ต้ องเกีsยวข้ องสัมพั น ธ์กับชุ มชน เพราะพระสงฆ์ต้องพึ งพิ งชีวิต ความเป็ นอยู่ กับชุ มชน เริsมตัnงแต่ อาหาร ซึs งพระสงฆ์ไ ด้ รับจากการ บิณฑบาตจากประชาชนทีsนาํ มาถวาย รวมทัnงปัจจัยอืนs ๆทีsล้วนได้ รับจากชุมชนทัnงสิnน แต่อย่างไรก็ตามการอาศัยปั จจั ยสีsในการดํารงชีวิตของพระสงฆ์จากประชาชนนัn น ได้ ส่งผล กระทบต่อสุขภาวะร่างกายของพระสงฆ์อย่างชัดเจน และเป็ นสาเหตุทsสี นับสนุ นให้ เกิดการเจ็บป่ วยใน พระสงฆ์ได้ อีกทัnง วิถีการดําเนินชีวิตของพระสงฆ์ทsตี ้ องอยู่ในกรอบวินัยสงฆ์ไม่สามารถเลือกอาหาร ทีsฉันได้ รวมถึงการจัดเตรียมอาหารถวายพระสงฆ์ในปั จจุ บัน มุ่งเน้ นความสะดวกรวดเร็วเป็ นหลัก ซืnออาหารทีsอยู่ใกล้ ตัว โดยลืมคิดถึงสมดุ ลทางโภชนาการ โดยส่วนใหญ่ อาหารทีsพระสงฆ์ได้ รับมัก อุดมไปด้ วยอาหารรสจัด ทัnงรสหวาน รสเค็ม และรสมันมากเกินไป รวมถึงมีปริมาณคาร์โบไฮเดรต และไขมันสูง ทําให้ ย่อยยาก ดังนัnน พระสงฆ์จาํ นวนมากจึงตกอยู่ในภาวะเสีsยงต่ อการเจ็บป่ วยด้ วย โรคต่างๆ เนืsองจากต้ องฉันอาหารเหล่านีnเป็ นประจํา ส่วนสาเหตุสนั บสนุ นรองลงมา พบว่ า พระสงฆ์ส่วนใหญ่ ออกกําลังกาย โดยการเดินรอบ วั ด/อุโบสถ และกวาดลานวั ดเท่านัn น ซึsงกิจกรรมดังกล่ าว ใช้ ระยะเวลาเฉลีsยเพี ยงวั นละ 10-15 นาที ซึsงยังไม่เพียงพอสําหรับการเผาพลาญพลังงานในแต่ ละวั น ส่งผลให้ พระสงฆ์มีความเสีsยงต่ อ การเจ็บป่ วยด้ วยโรคไขมันในเลือดสูงและโรคอ้ วนตามมา จากผลการสุ่มตรวจสุข ภาพพระสงฆ์ทsัว ประเทศ โดยกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (2551) จํานวน 24,445 รูป พบว่ า มีพระสงฆ์สุขภาพดี ไม่ พบความผิดปกติเพี ยงร้ อยละ 49 (ใน จํานวนนีnพระสงฆ์ทsสี ขุ ภาพดีทsสี ดุ อยู่ในภาคเหนือ ร้ อยละ 77) และทีsเหลือร้ อยละ 51 แบ่ งออกเป็ น ร้ อยละ 28 เป็ นโรคแล้ ว โดยโรคทีsพบว่ าพระสงฆ์เป็ นกันมาก และเข้ ารักษาตัวมากเป็ นอันดับ 1 คือ โรคเบาหวาน ปี ละกว่ า 3,000 รูป (มากทีsสุดในภาคกลาง พบร้ อยละ 39) ทีsเหลืออีกร้ อยละ 24 มี ความเสีsยงต่อการเจ็บป่ วย ซึsงหากไม่แก้ไขจะกลายเป็ นผู้ป่วยใหม่ทนั ที โดยพบว่ าพระสงฆ์มีความเสีsยงต่อการเจ็บป่ วยด้ วยโรคไขมันในเลือดสูง คิดเป็ นร้ อยละ 18 รองลงมา คือ โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน คิดเป็ นร้ อยละ 6 และร้ อยละ 5 ตามลําดับ


ทีsสาํ คัญพบว่ า พระสงฆ์มีปัญหาทางด้ านสุขภาพทีsเกีsยวกับการเจ็บป่ วยด้ วยโรคอันเนืs องจาก การสูบบุ หรีsมากขึn น ถึง แม้ ว่าในปั จจุ บัน จะมีการประชาสัมพั นธ์และการจั ดรณรงค์งดถวายบุ หรีsแก่ พระสงฆ์ รวมถึงการรณรงค์วัดปลอดบุหรีsกต็ าม แต่ปัญหาดังกล่าวก็ยังคงมีอยู่และไม่ได้ ลดน้ อยลงไป แต่อย่างใด ปัจจุ บันจังหวัดกาฬสินธุ์ มีพระสงฆ์ทnังฝ่ ายธรรมยุ ตและฝ่ ายมหานิ กายจํานวนทัnงสิnน 3,607 รูป และมีวัดจํานวนทัnงสิnน 666 วัด(www.itti-patihan.com ลงวันทีs 3 ตุลาคม 2552) ซึsงทีsผ่าน มาพระสงฆ์ในจังหวัดกาฬสินธุจ์ ะได้ รับการดูแลสุขภาพเฉพาะยามเจ็บป่ วยเท่านัnน การดําเนินงานด้ าน สาธารณสุขยังขาดรูปแบบการดูแลสุขภาพอย่ างต่ อเนืs องจากกลุ่มแพทย์และพยาบาล โดยเฉพาะใน กลุ่มพระสงฆ์ทsมี ีโรคเรืnอรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิ ตสูง โรควั ณโรค และโรคทางจิ ต เวช เป็ นต้ น อีกทัnง การดําเนินงานด้ านการส่งเสริมสุขภาพของประชาชนตามนโยบายเมืองไทยแข็งแรงทีs ผ่านมา ยังคงเน้ นกลุ่มเป้ าหมายไปยังประชาชนในพืnนทีsเป็ นหลัก ส่งผลให้ พระสงฆ์ในพืn นทีsยังไม่ได้ รับการดูแลและส่งเสริมสุขภาพอย่างจริงจังเท่าทีsควร จากปัญหาการขาดรูปแบบการดูแลและส่งเสริมสุขภาพของพระสงฆ์ดังกล่ าว จึ งเป็ นสาเหตุ ให้ ทางสํานักงานสาธารณสุขจังหวั ดกาฬสินธุ์ได้ จัดทําโครงการวิ จัย “สุขภาวะของพระสงฆ์ในจั งหวั ด กาฬสินธุ”์ ขึnน เพืsอใช้ เป็ นข้ อมูลพืnนฐานในการวางแผน/นโยบายทางด้ านสาธารณสุขเพืsอส่งเสริมการ ดูแลสุขภาพของพระสงฆ์ในจังหวัดกาฬสินธุใ์ ห้ มีสขุ ภาวะทางร่างกายและจิตใจทีsดีต่อไป วัตถุประสงค์ เพืsอได้ ข้อมูลเกีsยวกับสุขภาวะทางร่างกายและจิตใจของพระสงฆ์ในจังหวัดกาฬสินธุ์ ขอบเขตการวิจยั กลุ่มประชากร ประชากรทีsใช้ ในการศึกษา ประกอบด้ วย พระสงฆ์ทsจี าํ พรรษาในจังหวัดกาฬสินธุ์ สังกัดทัnง นิกายธรรมยุตและมหานิกาย ในช่วงวันทีs 1 กรกฎาคม 2552- 30 กันยายน 2552 จํานวน 3,607 รูป กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้ วย พระสงฆ์ทsจี าํ พรรษาในจังหวัดกาฬสินธุ์ สังกัดทัnงนิกายธรรมยุต และมหานิกาย ในช่วงวันทีs 1 กรกฎาคม 2552- 30 กันยายน 2552 ได้ มาโดยวิ ธีการเลือกแบบ เฉพาะเจาะจง (พระสงฆ์ทsสี มัครใจเข้ าร่วมโครงการฯ) จํานวน 2,206 รูป


เครือ= งมือที=ใช้ในการวิจยั ใช้ แบบตรวจประเมินสุขภาวะของพระสงฆ์และแบบประเมินสุขภาพจิ ตตนเองของพระสงฆ์ สร้ างขึnนโดยกรมอนามัย กระทรวงส่าธารณสุข ประกอบด้ วย ส่วนที= 1 ข้ อมูลทัsวไป ส่วนที= 2 แบบประเมินสุขภาพจิตตนเองของพระสงฆ์ จํานวน 28 ข้ อ ส่วนที= 3 แบบตรวจร่างกายและวิ นิจฉั ยโรคทัsวไป ประกอบด้ วย ค่ าดัชนี มวลกาย ภาวะ โรคอ้ วน ค่านําn ตาล ในเลือด ค่าความดันโลหิตสูง ผลทางห้ องปฏิบัติการ (ตรวจเลือดและตรวจหา พยาธิ) ผลเอกซเรย์ และการวินิจฉัยโรคทัsวไป ประกอบด้ วย สุขภาพแข็งแรง โรคทีsเป็ น (Clinical Disease) และโรคทีsมีความเสีsยง (Asymptomatic Disease) นิยามศัพท์เฉพาะ สุขภาวะทางจิ ต หมายถึง สุขภาพจิตพระสงฆ์ทไsี ด้ จากการประเมินสุขภาพจิตตนเองของ พระสงฆ์ตามแบบประเมินสุขภาพจิตทีsกรมอนามัยสร้ างขึnน สุขภาวะทางร่างกาย หมายถึง สุขภาพร่างกายพระสงฆ์ทsไี ด้ จากการตรวจร่างกายและ วินิจฉัยโรคทัsวไปจากคณะแพทย์และพยาบาล พระสงฆ์ หมายถึง พระสงฆ์ฝ่ายธรรมยุตและฝ่ ายมหานิกาย ทีsพาํ นักในวัดตามทะเบียนของ สํานักพระพุทธศาสนาของจังหวัดกาฬสินธุ์ ระยะเวลาที=ใช้ในการวิจยั ดําเนินการวิจัยระหว่ างวันทีs 1 กรกฏาคม 2552 -30 กันยายน 2552


บทที= 2 เอกสารและงานวิจยั ที=เกีย= วข้อง การศึกษาวิ จัย “สุขภาวะของพระสงฆ์ในจั ง หวั ดกาฬสินธุ์” คณะผู้ วิจัยได้ ทบทวนเอกสาร ทฤษฎีและงานวิจัยทีsเกีsยวข้ องเพืsอจัดทํากรอบแนวคิดการวิจัย โดยนําเสนอตามลําดับ ดังนีn 1. แนวคิดเกีsยวกับพฤติกรรมสุขภาพ 2. แนวคิดเกีsยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง 3. งานวิจัยทีsเกีsยวข้ อง 1. แนวคิดเกีย= วกับพฤติกรรมสุขภาพ ความหมายของ พฤติ กรรม (Behavior) พฤติกรรม (Behavior) หมายถึง การแสดงออก ของสิsงมีชีวิตในลักษณะต่างๆ ตามสภาพการณ์ สภาวะแวดล้ อม และสิsงกระตุ้นหรือสิsงเร้ า (ธนวรรธน์ อิsมสมบู รณ์, 2544 : 9) พฤติกรรมของมนุ ษย์ หมายถึงปฏิกิริยาต่ างๆ ทีsบุคคลนัn นแสดงออกมาทัnง ภายในและภายนอกร่างกายตัวบุคคลซึsง Benjamin S. Bloom และ Masia (1985 อ้ างถึงใน อุษณีย์ วรรณาลัย, 2550) ได้ แบ่งพฤติกรรมออกเป็ น 3 ด้ าน คือ 1. พฤติกรรมด้ านพุทธิปัญญา (Cognitive Domain) จะเป็ นความรู้ความเข้ าใจ ข้ อเท็จจริง ต่ างๆ รวมทัnงการพั ฒนาความสามารถ และทักษะทางสติปัญญา การใช้ ความคิดวิจารณญาณ เพืsอ ประกอบการตัดสินใจ พฤติกรรมด้ านนีnประกอบด้ วย ความรู้ หรือความจํา ความเข้ าใจ การนําความรู้ไป ใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมินผล 2. พฤติกรรมด้ านทัศนคติ (Affective Domain) หมายถึง ความสนใจ ความรู้สึก ท่ าที ความชอบ การให้ คุณค่า การรับ การเปลีsยนค่านิยมทีsยึดถืออยู่ ซsึ งประกอบด้ วย การรั บรู้ การตอบสนอง การให้ คาํ การจัดกลุ่มคํา การแสดงคุณลักษณะตามค่านิยมทีsยึดถือ 3. พฤติ กรรมด้ า นการปฏิบัติ (Psychomotor Domain) เป็ น การใช้ ความสามารถทีsจ ะ แสดงออก และ สังเกตได้ ในสถานการณ์หนึs ง พฤติกรรมนีn เป็ นพฤติกรรมชิn นสุดท้ ายทีsต้องอาศั ย พฤติกรรมด้ านพุทธิปัญญา และทัศนคติ เป็ นส่วนประกอบ ทแวดเดิล (Twaddle 1981 : 11) ให้ ความหมายพฤติกรรมว่ า เป็ นปฏิกริ ิยาหรือกิจกรรมทุก ชนิ ดของสิsงมีชีวิต พฤติกรรมของมนุ ษย์หมายถึงปฏิกิริยาต่ างๆ ทีsบุคคลแสดงออกทัnงภายในและ ภายนอกตัวบุคคล มีทnังทีsสังเกตได้ และสังเกตไม่ได้ ซึsงจะแตกต่ างกันไปตามสภาพสังคมวัฒนธรรม โดยได้ รับอิทธิพลจากความคาดหวังของบุคคลในครอบครั ว สถานการณ์ในขณะนัn น และประสบการณ์ ในอดีต ประภาเพ็ญ สุวรรณ (2526 : 28) กล่ าวว่ า พฤติกรรม หมายถึงปฏิกิริยาหรือกิจกรรมทุก ชนิ ดทีsมนุ ษย์ กระทํา แม้ ว่ าจะสังเกตได้ หรื อไม่ไ ด้ กต็ าม สําหรับพฤติกรรมสุขภาพก็มีความหมาย


ทํานองเดียวกับพฤติกรรมทัsวๆ ไป แต่มุ่งเน้ นเฉพาะในเรืsองของสุขภาพอนามัย เช่ น การปฏิบัติตน เกีsยวกับการรักษาความสะอาดของร่ างกาย ซึsงได้ แก่ การอาบนํnา แปรงฟั น ตัดเล็บ ทีsแสดงออกดัง ตัวอย่างทีsยกมานีn จะสามารถมองเห็นและสังเกตได้ อย่างชัดเจนว่ าบุคคลได้ กระทําหรือปฏิบัติ สมจิตต์ สุพรรณทัสน์ (2533 : 97) ให้ ความหมายของพฤติกรรมว่ า หมายถึงการแสดงออก ท่าทีของบุคคล การคิด การพูด การเดิน การวิsง การหัวเราะ การรับประทานอาหาร การหายใจ การ เต้ นของหัวใจ ความรู้สกึ ของบุคคล ซึsงล้ วนแต่เป็ นพฤติกรรมของบุคคลทัnงสิnน พฤติกรรมแบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะคือ 1. พฤติกรรมภายใน (Covert behavior) เป็ นพฤติกรรมทีsไม่สามารถมองเห็นได้ แต่ มีความ พร้ อมทีsจะแสดงออกมาให้ ปรากฏได้ เช่น สัญชาตญาณ ความรู้สึกนึ กคิด ความรู้ ความเข้ าใจ ความ เชืsอและเจตคติ ทีsอยู่ภายในตัวของบุคคล 2. พฤติกรรมภายนอก (Overt behavior) เป็ นพฤติกรรมทีsบุคคลแสดงออกมาให้ มองเห็น หรือสังเกตได้ เช่น การกระทํา การปฏิบัติ ไม่ปฏิบัติรวมทัnงการพูด การเขียน ทีsแสดงถึงความรู้ ความ เข้ าใจ ความเชืsอและเจตคติทsจี ะทําในเรืsองใดเรืsองหนึsงด้ วย ดังนัn น จึ งสามารถสรุปความหมายของคําว่ า “ พฤติกรรม (Behavior) ” ได้ ว่า พฤติกรรม หมายถึง ปฏิกิริยาต่ างๆ ทัnงภายในและภายนอกทีsบุคคลแสดงออกมา โดยสามารถแบ่ งออกได้ เป็ น พฤติกรรมด้ านพุทธิปัญญา พฤติกรรมด้ านทัศนคติ และพฤติกรรมด้ านการปฏิบัติ ความหมายของ สุขภาพ (Health) สุขภาพของคนเรานัnนเป็ น คุณภาพของชีวิต ซึsงไม่ คงทีsและไม่ แน่ นอนเสมอไป ขึnนๆ ลงๆ หรื อ อาจกล่ าวได้ ว่า สุขภาพเป็ นกระบวนการทีsเปลีsยนแปลงได้ (Dynamic Process) โดยสุขภาพของคนเรา จะ มีการเปลีsยนแปลงอยู่เป็ นครัnงคราวเสมอในการดํารงชีวิต และกระบวนการทีsเปลีsยนแปลงได้ ส่วนใหญ่ ขึnนอยู่กบั องค์ประกอบสําคัญ 3 ประการของสุขภาพ คือ กรรมพันธุ์ สิsงแวดล้ อม และสุขปฏิบัติ หรือ ทีsเรียกว่ า พฤติกรรมสุขภาพ นัsนเอง (ปัญญา สังขวดี และคณะ,2543) องค์การอนามั ยโลก (WHO) กล่ าวว่ า สุขภาพ (Health) ของคนเรานัn นประกอบด้ วย 4 มิติทsี สําคัญ คือ มิติทางกาย มิติทางสังคม มิติทางจิต และมิติทางจิตวิญญาณ ซึsงการมีสุขภาพดีนnั น มิติทnัง 4 จะต้ องสมดุลสอดคล้ องกัน (ธวัชชัย เพ็งพิ นิจ, 2548 : 2) พร้ อมทัnงได้ ให้ คาํ นิ ยามไว้ ว่า “ Health is a state of complete physical, mental and social well being and not merely the absence of disease or infirmity ” ซึsงหมายความว่ า “ สุขภาพ ” หมายถึง สภาวะทีsมีความสมบูรณ์ของร่ างกาย จิตใจ และสามารถอยู่ ในสังคมได้ อย่ างมี ความสุข มิใช่ เพียงแต่ ปราศจากโรค และความพิการเท่ านัn น (ประเวศ วะสี, 2541 : 4 อ้ างถึงใน ภาสินี เข็มทอง,2546 : 10) สุขภาพ (Health) หมายถึ ง “ ภาวะแห่ งความสมบู รณ์ของร่ างกายและจิ ตใจรวมถึงการ ดํารงชีวิตอยู่ในสังคมด้ วยดี และคําว่ าสุขภาพนีn มิได้ หมายความเฉพาะเพี ยงแต่ การไม่ เป็ นโรค หรือ ทุพลภาพเท่านัnน” ซึsงสุขภาพอาจแบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะ คือ


1. สุขภาพส่วนบุคคล (Personal Health) เป็ นการกล่าวถึงความรู้ เจตคติ และการปฏิบัติตาม หลักของสุขภาพในแต่ละบุ คคลทีsเกีsยวข้ องกับสภาพของร่ างกายและจิ ตใจ เช่ น สุขภาพ หู ตา ปาก ฟั น ผิวหนั ง มือ ผม เท้ า การปฏิบัติด้านการแปรงฟั น การอาบนํnา การรับประทานอาหารให้ ถูก สุขลักษณะ เพืsอก่อให้ เกิดสุขภาพทีsดีมีสวัสดิภาพ 2. สุขภาพส่วนชุ มชน (Community Health) เป็ นการกล่ าวถึงความรู้เจตคติและการปฏิบัติ ตามหลักของสุขภาพในส่วนทีsเกีsยวข้ องกับชุมชนหรือสาธารณะ ซึsงถือเป็ นการส่งเสริมสุขภาพของคนแต่ ละคนทีsอาศัยอยู่ในชุมชนนัnน โดยมีจุดมุ่งหมายทีsจะช่ วยกันปฏิบัติทางสุขภาพทีsถูกต้ องตามสุขลักษณะ เช่น การจัดหานําn ดืsมทีsสะอาด การกําจั ดขยะมูลฝอย การลดมลภาวะทีsก่อให้ เกิดอันตรายต่ อสุขภาพ รวมถึงการป้ องกันโรคระบาดต่างๆ เป็ นต้ น สุขภาพทีsสมบูรณ์ของบุคคลนัnน ย่อมประกอบไปด้ วย 3 ส่วน คือ 1. สุขภาพทางกาย (Physical Health) หมายถึง สภาพทีsดีของร่ างกาย มี การพัฒนาทีs เหมาะสมกับวัย ทําให้ อวัยวะส่วนต่างๆ ของร่ างกายอยู่ ในภาวะทีsปกติแข็งแรง ปราศจากโรคภั ยไข้ เจ็บ ไม่มีความพิการใดๆ ร่างกายสามารถทํางานต่างๆ ได้ อย่ างมีประสิทธิภาพ ซึsงลักษณะสุขภาพทีsดีทาง กายนัnน ควรประกอบด้ วย 1.1 ร่ างกายมีความสมบู รณ์แข็งแรง ระบบต่ างๆ และอวั ยวะทุกส่วน ทํางานได้ ดีมี ประสิทธิภาพ 1.2 ร่ างกายมี ความเจริ ญงอกงาม การเจริ ญของอวัยวะต่ างๆ เป็ นไปเหมาะสมกับวั ย รวมทัnงภาวะทางสมองด้ วย 1.3 ร่างกายมีสมรรถภาพสูง สามารถทํางานได้ นานๆ โดยไม่เหนืsอยง่าย 1.4 การนอนและการพักผ่อนเป็ นไปตามปกติ ภายหลั งจากการนอนหลั บและพั กผ่ อน แล้ ว ร่างกายจะคืนสู่สภาพปกติสดชืsน 1.5 สุขภาพฟันมีความแข็งแรง หู สามารถรับฟังได้ ดี ตาสามารถมองเห็นถนัด 1.6 ผิวพรรณผุดผ่อง หน้ าตาอิsมเอิบ มีความสดชืsน 1.7 รูปร่างทรวดทรงสมส่วน สง่างาม 1.8 ร่างกายปราศจากโรคu3616 .◌ั ยไข้ เจ็บต่างๆ 2. สุขภาพทางจิ ต (Mental Health) หมายถึง มีสภาพจิ ตปกติ สามารถปรับตัวให้ เข้ ากับ บรรยากาศของสังคมได้ ทุกระดับชัnน สามารถควบคุมอารมณ์ได้ เหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆ ซึsงผู้ มี สุขภาพจิตดี ย่อมมีผลมาจากสุขภาพกายดีด้วย ดังทีs John Lock ได้ กล่ าวไว้ ว่า “ A Sound mind is in a sound body ” คือ “ จิตใจทีsแจ่ มใส ย่อมอยู่ในร่างกายทีsสมบูรณ์ ” 3. สุขภาพทางสังคม (Social Health) หมายถึง การมีสภาพของความเป็ นอยู่ หรือการดําเนิ น ชีวิตอยู่ในสังคมได้ อย่ างปกติสุขไม่ ทาํ ให้ ผู้ อืsนหรือสังคมเดือดร้ อนอีกด้ วยสามารถเข้ ากับบุ คคลและ ชุมชนได้ ทุกสถานะอาชีพ ไม่เป็ นคนถือตัว ไม่เป็ นคนเอารัดเอาเปรียบบุ คคลอืsน จะอยู่ ทsไี หนทํางาน


ในตําแหน่ งหน้ าทีsอะไร มีแต่ คนเขาชมชอบไปหมด เป็ นทีsเคารพรักและเป็ นทีsนับถือของคนทัsวไป (อ้ างแล้ ว ปัญญา สังขวดี และคณะ, 2543) จากคําจํากัดความของสุขภาพโดยทัsวไป พบว่ า มีความเกีsยวข้ องซึsงกันและกันของร่ างกาย จิ ตใจ วิ ญญาณ และสังคม ในมิติทsีเป็ นทัnงด้ านบวก ได้ แก่การมีสุขภาพดี จะรวมถึงการมีร่างกายทีs สมบู รณ์แข็งแรง และด้ านลบ ได้ แก่ การเป็ นโรค ความเจ็บป่ วย ความไม่ สบายภาวะทีsไม่ ปรารถนา การบาดเจ็บ เป็ นต้ น นอกจากนีnยังมีการกําหนดความหมายของสุขภาพโดยการวัดค่ าต่ างๆ ของร่ างกาย ได้ แก่ ความดันโลหิต อุณหภูมิ หากร่ างกายมีอุณหภูมิ ความดันโลหิต และค่าอืนs ๆ เป็ นต้ น (จารุวรรณ นิพพานนท์, รศ. และคณะ, 2550) หากค่าทีsวัดเหล่ านัnนอยู่ในระดับปกติ ก็ถือว่ ามีสุขภาพดี หากค่ าทีs วัดได้ ไม่อยู่ในระดับปกติ ก็ถือว่ าสุขภาพไม่ดี ทัnงนีn เกณฑ์ปกติสาํ หรับคนหนึs งนัn นอาจไม่ ปกติสาํ หรับ อีกคนหนึsงก็ได้ ความหมายของ พฤติกรรมสุขภาพ (Health behavior) สุชาติ โสมประยู ร (2525 : 44) ได้ ให้ ค วามหมายว่ า พฤติ กรรมสุขภาพ หมายถึ ง ความสามารถในการแสดงออกเกีsยวกับสุขภาพทัnงทางด้ านความรู้ เจตคติ การปฏิบัติและทักษะ โดย เน้ นในเรืsองพฤติกรรมสุขภาพทีsสามารถสังเกตและวัดได้ เพืsอให้ เกิดการเรียนรู้ในเรืsองสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ (Health behavior) หมายถึง พฤติกรรมทีsเกีsยวข้ องหรือมีผลต่ อสุขภาพ ของบุคคล ครอบครัวหรือชุมชน ไม่ ว่าจะในลักษณะทีsทาํ ให้ เกิดผลดี หรือผลเสียต่อสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ เป็ นการจําแนกพฤติกรรมตามแนวคิดทางสาธารณสุข ซึsงหมายถึง การปฏิบัติ หรือแสดงออกของบุ คคลในการกระทํา หรืองดเว้ นการกระทําในสิsงทีsมีผลต่ อสุขภาวะ โดยอาศัย ความรู้ ความเข้ าใจ เจตคติและการปฏิบัติตนทางสุขภาพทีsเกีsยวข้ องสัมพันธ์กนั อย่างเหมาะสม(เฉลิม ตันสกุล, 2543 : 17) พฤติกรรมสุขภาพ หมายถึง การแสดงออกหรื อการปฏิบัติของบุคคลในเรืs องการดู แลเอาใจใส่ สุขภาพของตนเองเพืsอไม่ให้ ตนเองเจ็บป่ วย โดยทัsวไปแล้ วพฤติกรรมสุขภาพทีsถูกต้ อง ในทางด้ านสุข ศึกษานัnน จะต้ องมีการแสดงออกอย่างเด่นชัดและสามารถสังเกตเห็นได้ ของทักษะทีsสาํ คัญ 3 ประการคือ ความรู้ทางด้ านสุขภาพ (Health knowledge) ทัศนคติทางด้ านสุขภาพ (Health attitude) และการ ปฏิบัติทางด้ านสุขภาพ (Health practice) (อ้ างแล้ ว ปัญญา สังขวดี และคณะ, 2543) พฤติกรรมสุขภาพแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ 1. พฤติกรรมการป้ องกันโรคหรื อสภาวะปกติ หมายถึง การปฏิบัติทุกอย่ างทีsจะช่ วยส่งเสริม สุขภาพของบุคคลและป้ องกันไม่ให้ เกิดโรค มี 2 ลักษณะคือ 1.1 พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ เพืsอรักษาสุขภาพให้ แข็งแรง ดําเนินชีวิตอย่าง ปกติสขุ 1.2 พฤติกรรมป้ องกันไม่ให้ เกิดความเจ็บป่ วยหรือโรคต่างๆ แบ่งเป็ น 1.2.1 การป้ องกันโรคเบืnองต้ น 1.2.2 การป้ องกันความรุนแรงของโรค


1.2.3 การป้ องกันการแพร่ระบาด 2. พฤติกรรมเมืsอเจ็บป่ วย หมายถึง การปฏิบัติงานของบุ คคล เมืsอเจ็บป่ วยหรืออยู่ในภาวะ สุขภาพทีsผิดปกติซsึงจะแตกต่างกันไปขึnนอยู่กบั องค์ประกอบหลายๆอย่ างเช่ นความรู้เกีsยวกับโรค การ รั บรู้เกีsยวกับความรุนแรง ความเชืsอเดิม ค่ านิ ยม ขนบธรรมเนี ยมประเพณี ฯลฯ (อ้ างแล้ ว อุษณีย์ วรรณาลัย, 2551) พฤติกรรมสุขภาพ (Health Behavior) หมายถึง การเปลีsยนแปลงทีsเกีsยวข้ องกับสุขภาพซึsง เกิดขึnนทัnงภายใน (Covert Behavior) และภายนอก (Overt Behavior) พฤติกรรมสุขภาพจะรวมถึง การปฏิบัติทsสี งั เกตได้ และการเปลีsยนแปลงทีsสงั เกตไม่ได้ แต่สามารถวั ดได้ ว่าเกิดขึnน (Good, 1959) พฤติกรรมภายใน เป็ นปฏิกิริยาภายในตัวบุ คคลมีทnังเป็ นรูปธรรมและนามธรรม ทีsเป็ นรูปธรรมซึsง สามารถใช้ เครืs องมือบางอย่ างเข้ าวั ดหรือสัมผั สได้ เช่ น การเต้ น ของหั ว ใจ การบี บตั วของลําไส้ พฤติ กรรมเหล่ านีn เป็ น ปฏิกิริ ยาทีsมี อยู่ ตามสภาพของร่ างกาย ส่ ว นทีs เป็ นนามธรรมได้ แก่ ความคิ ด ความรู้สกึ เจตคติ ค่านิยม เป็ นต้ น พฤติกรรมภายในนีn ไม่ สามารถสัมผัสหรื อวัดด้ วยเครืs องมื อต่ างๆ ได้ เพราะไม่ มีตัวตน จะทราบได้ เมืs อแสดงพฤติกรรมออกมาเท่ านัn น พฤติกรรมภายนอกเป็ นปฏิกิริยา ต่างๆ ของบุคคลทีsแสดงออกมาทัnงทางวาจาและการกระทํา ซึsงปรากฏให้ บุคคลอืsนเห็นหรือสังเกตได้ เช่น ท่าทางหรือคําพูดทีsแสดงออกไม่ว่าจะเป็ นนําn เสียง สีหน้ า เป็ นต้ น พฤติกรรมสุขภาพ หมายถึง ความสามารถในการแสดงออกเกีsยวกับสุขภาพทัnงทางด้ านความรู้ เจตคติ และทักษะ โดยเน้ นเรืsองพฤติกรรมสุขภาพทีsสามารถสังเกตและวัดได้ เพืsอให้ เกิดการเรียนรู้ใน เรืsองสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ หมายถึง การกระทํา การปฏิบัติ การแสดงออกและท่าทีทsีจะทํา ซึsงจะ ก่อให้ เกิดผลดี หรือผลเสียต่อสุขภาพของตนเอง ครอบครัว หรือชุมชน พฤติกรรมสุขภาพ จําแนกออกได้ เป็ น 2 ลักษณะ คือ 1. เป็ นการกระทํา (Action) พฤติกรรมสุขภาพในลักษณะทีsเป็ นการกระทํา คือ การกระทําหรือ การปฏิบัติของบุคคลทีsมีผลดีหรือผลเสียต่อสุขภาพ 2. เป็ นการไม่ กระทํา (Non Action) ส่วนพฤติกรรมทีsเป็ นการไม่ กระทํา คือ การงดเว้ นไม่ กระทําหรือการไม่ปฏิบัติของบุคคลทีsมีผลดีหรือผลเสียต่อสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ (Health Behavior) หมายถึง กิจกรรมหรือการปฏิบัติใดๆ ของปั จเจก บุ คคลทีsกระทําไปเพืs อจุ ดประสงค์ในการส่งเสริม ป้ องกัน หรือบํารุงรักษาสุขภาพ โดยไม่ คาํ นึ งถึง สถานะสุขภาพทีsดาํ รงอยู่หรือรับรู้ได้ ไม่ ว่าพฤติกรรมนัn นๆ จะสัมฤทธิ}ผลสมความมุ่งหมายหรื อไม่ ใน ทีsสุด (ปณิธาน หล่ อเลิศวิทย์, 2541 อ้ างถึงใน สุภัทร ชูประดิษฐ์ , 2550) จากความหมายทีsนั กวิ ชาการทางสุข ศึ กษาได้ ให้ ไ ว้ นnั น พอสรุปได้ ว่ า พฤติ กรรมสุขภาพ หมายถึง การปฏิบัติหรือการแสดงออกของบุคคลในการกระทํา หรืองดเว้ นการกระทําในสิsงทีsเป็ นผลดี หรือผลเสียต่ อสุขภาพ โดยอาศัยความรู้ ความเข้ าใจ เจตคติและการปฏิบัติทางสุขภาพทีsเกีsยวข้ อง สัมพันธ์กนั


ลักษณะของพฤติกรรมสุขภาพ 1. พฤติกรรมสุขภาพทีsพึงประสงค์หรือพฤติกรรมเชิงบวก (Positive Behavior) หมายถึง พฤติกรรมทีsบุคคลปฏิบัติแล้ วส่งผลดีต่อสุขภาพของบุคคลนัnนเอง เป็ นพฤติกรรมทีsควรส่งเสริมให้ บุคคล ปฏิบัติต่อไป เช่น การออกกําลังกาย การับประทานอาหารให้ ถูกต้ องตามหลักโภชนาการ การแปรงฟั น อย่ างถูกวิ ธี เป็ นต้ น พฤติกรรมสุขภาพอันพึ งประสงค์ประกอบด้ วยพฤติกรรมสุขภาพใน 4 กลุ่ม พฤติกรรมด้ วยกัน คือ (ธนวรรธน์ อิsมสมบูร์, 2544 : 99 – 100) 1.1 พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพทีsพึงประสงค์ เป็ นพฤติกรรมสุขภาพทีsมีความสําคัญ ทีsสุดทีsทาํ ให้ บุคคลต่างๆ ไม่ เจ็บป่ วย มีสุขภาพทีsดี และมีความเสีsยงต่อการเจ็บป่ วยน้ อยทีsสดุ พฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพทีsสาํ คัญ คือ พฤติกรรมเกีsยวกับการโภชนาการทีsถูกต้ องเหมาะสมของ บุคคลในแต่ ละวัย ตัnงแต่ ระหว่ างตัnงครรภ์ หลั งคลอดไปจนถึงวัยสูงอายุ พฤติกรรมการออกกําลังกาย และการพั กผ่ อนหย่ อนใจของคนทุ กเพศทุ กวั ย ตามสภาวะทางเศรษฐกิจแต่ ละบุ คคลหรื อแต่ ล ะ ครอบครัว และตามสภาวะสังคมและสิsงแวดล้ อมของแต่ละสังคม พฤติกรรมเกีsยวกับการอนามัยแม่และ เด็กและพฤติกรรมเกีsยวกับการส่งเสริมทันตสุขภาพของบุคคลทุกวัย ฯลฯ 1.2 พฤติกรรมการป้ องกันโรคทีsพึงประสงค์ เป็ นพฤติกรรมสุขภาพทัnงในการป้ องกัน โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ รวมทัnงการป้ องกันอุบัติภัยและอืนs ๆ ด้ วยทีsจะทําให้ บุคคลไม่บาดเจ็บหรือ เจ็บป่ วย พฤติกรรมป้ องกันโรคทีsสาํ คัญ ได้ แก่ พฤติกรรมเกีsยวกับสุขปฏิบัติทsวั ไป พฤติกรรมเกีsยวกับ การสุข าภิ บาลอาหาร พฤติกรรมเฉพาะการป้ องกันโรคบางโรค พฤติกรรมการป้ องกัน อุ บัติ ภั ย พฤติกรรมเกีsยวกับการบริโภคอาหารและยา ฯลฯ 1.3 พฤติกรรมการเจ็บป่ วยและการรักษาพยาบาลทีsพึงประสงค์ เป็ นพฤติกรรมสุขภาพ ทีsพึงประสงค์สาํ หรับบุคคลและครอบครัวต่ างๆ เมืsอเกิดการเจ็บป่ วยขึnนมา ในอันทีsจะช่ วยเหลือและ ดูแลตนเอง หรือบุคคลอืนs ในครอบครัวได้ อย่ างถูกต้ อง และเหมาะสมเพืs อให้ หายจากความเจ็บป่ วย และไม่พิการหรือเสียชีวิต พฤติกรรมการเจ็บป่ วยและการรักษาพยาบาลทีsพึงประสงค์ทsีสาํ คัญ ได้ แก่ การทีs บุค คลมี การรั บรู้ ถึงความเจ็บป่ วยและสาเหตุข องความเจ็บป่ วยของตนเอง หรื อบุ ค คลอืsน ใน ครอบครัวอย่างถูกต้ องตามหลักการทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ มีการดูแลรักษาพยาบาลเบืnองต้ นอย่ าง ถูกวิธี และมีการแสวงหาบริการรักษาพยาบาลอย่างถูกวิธี ฯลฯ ซึsงจะทําให้ ผ้ ู ป่วยหายจากการเจ็บป่ วย ได้ ในทีsสดุ 1.4 พฤติกรรมการมี ส่วนร่ วมในการแก้ ไขปั ญหาสาธารณสุข พฤติกรรมสุขภาพทีsพึง ประสงค์กลุ่ มสุดท้ ายทีsมีความสําคัญต่ อการแก้ ไขปั ญหาสุขภาพชุมชน โดยเฉพาะอย่ างยิsงการควบคุ ม โรคติดต่อในชุมชน เช่น การควบคุมโรคติดต่อในระบบทางเดินอาหาร การควบคุมโรคพิษสุนัขบ้ า การ ควบคุมโรคไข้ เลือดออก การควบคุมหนอนพยาธิ และการควบคุมโรคไข้ มาลาเรีย เป็ นต้ น พฤติกรรม การมีส่วนร่วมในการแก้ ปัญหาสาธารณสุขทีsสาํ คัญ ได้ แก่ พฤติกรรมการควบคุ มโรคติดต่ อต่ างๆ เช่ น การนําเด็กไปรับการหยอดวัคซีนโปลิโอในโครงการกวาดล้ างโปลิโอ การนําสุนัขไปฉี ดวัคซี นป้ องกันพิษ สุนัขบ้ า การทําลายแหล่ งเพาะพันธุ์พันยุงลายหรือตัวอ่อนของยุงลาย การชุบมุ้ งด้ วยสารเคมี เพืsอควบคุ ม


ยุงก้ นปล่ องทีsเป็ นพาหะนําโรคมาลาเรีย การกําจัดขยะและสิsงปฏิกูลของบ้ านเรื อนต่ างๆ อย่ างถูกวิธี การ ถ่ายอุจจาระในส้ วมทีsถูกสุขลักษณะ การจัดการสุขาภิบาลอาหารตามหลักการสุขาภิบาลอาหารของสถาน ประกอบการร้ านอาหาร และผู้สมั ผัสอาหาร เป็ นต้ น 2. พฤติกรรมเชิงลบ หรือ พฤติกรรมเสีsยง (Negative Behavior) หมายถึง พฤติกรรมทีs บุคคลปฏิบัติแล้ วจะส่งผลเสียต่อสุขภาพ ทําให้ เกิดปั ญหาสุขภาพ หรือเป็ นโรค เช่ น การดืsมสุรา และ เครืsองดืsมทีsมีแอลกอฮอล์ การสูบบุ หรีs การรับประทานอาหารจําพวกแป้ งและ ไขมันมากเกินความ จําเป็ น การบริโภคอาหารทีsปรุงไม่สกุ เป็ นต้ น จะต้ องหาสาเหตุทsกี ่อให้ เกิดพฤติกรรม เพืsอปรั บเปลีs ยน และควบคุมให้ บุคคลเปลีsยนไปแสดงพฤติกรรมทีsพึงประสงค์ (เฉลิมพล ตันสกุล. 2543 : 18) ประเภทของพฤติกรรมสุขภาพ 1. มีการแบ่งประเภทพฤติกรรมสุขภาพ เป็ น 4 ลักษณะ ดังนีn 1.1 พฤติกรรมการเจ็บป่ วย (Illness behavior) เป็ นพฤติกรรมทีsแสดงออกในรูป ของการดูแลแก้ไขปัญหาเมืsอตนเองหรือครอบครัวป่ วย พฤติกรรมการเจ็บป่ วยนีn รวมกลุ่มพฤติกรรม ต่ างๆ หลายอย่ างไว้ ด้ว ยกัน เช่ น การรับรู้ เมืsอตนเองเจ็บป่ วย การรับรู้เมืsอสมาชิกในครอบครั ว เจ็บป่ วย แบบแผนการแสวงหาการรักษาการเจ็บป่ วยของบุ คคลหรือครอบครัว การเปลีsยนแปลง บทบาทของคนป่ วยในครอบครัว การดูแลพึsงพาตนเองของบุคคลหรือครอบครัวเมืsอเจ็บป่ วย 1.2 พฤติกรรมการป้ องกัน โรค (Preventive behavior) เป็ นพฤติกรรม สุขภาพทีs แสดงออกในรูปของการป้ องกันตนเอง หรือบุคคลอืนs มิให้ เจ็บป่ วย พฤติกรรมการป้ องกันโรคนีnได้ แก่ การกระทําหรื อปฏิบัติของบุคคลทีsนําไปสู่การป้ องกันโรค การป้ องกันการเจ็บป่ วย รวมทัnงการป้ องกัน อุบัติภัยทัnงของตนเอง ของครอบครัวและของคนอืนs ในชุมชนด้ วย 1.3 พฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพ (Promotive behavior) เป็ นพฤติกรรมสุขภาพทีs แสดงออกโดยการกระทํา หรือการปฏิบัติ ทีsส่งผลกระทบต่อการส่งเสริมสุขภาพของตนเองหรือบุ คคล อืนs ๆในครอบครัวและชุมชนด้ วย 1.4 พฤติกรรมการมีส่วนร่ วม เป็ นพฤติกรรมสุขภาพทีsแสดงออกในรูปของการกระทํา หรือการปฏิบัติร่วมกับบุคคลอืนs ๆ ในชุมชน เพืsอการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของชุมชน 2. มีการแบ่งพฤติกรรมสุขภาพ เป็ น 5 ลักษณะพฤติกรรม ดังนีn 2.1 พฤติกรรมการใช้ บริการ (Medical utilization) หมายถึง พฤติกรรมการไปรับ การรักษาต่างๆไม่ว่าจะเป็ นแผนปกติหรือแผนโบราณ การซืnอยากินเองและการรับข้ อมูลจากร้ านขาย ยา 2.2 พฤติกรรมการทําแผนการรักษา (Compliance behavior) หมายถึง พฤติกรรม ระหว่ างการรักษาหรือในการดูแลของแพทย์ รวมถึงกิจกรรมทีsเกีsยวกับการรักษาของแพทย์ กิจกรรม ในชีวิตประจําวันทีsแพทย์ต้องการให้ ปฏิบัติในระหว่ างการรับการรักษา 2.3 พฤติกรรมการดู แลตนเอง (Safe – care) หมายถึง พฤติกรรมทีsผู้ ป่วยต้ อง จัดการกับชีวิตประจําวันของตน ขณะทีsรักษาและขณะทีsกลับบ้ านและอยู่ในสังคม


2.4 พฤติกรรมรับรู้ข่าวสาร (medical information seeking behavior) หมายถึง การเสาะหาข้ อมูลการเจ็บป่ วย และการรักษา การดู แลตนเอง หมายรวมถึงกลุ่มคนทีsผู้ ป่วยสอบถาม ข้ อมูลทีsเกีsยวกับการเจ็บป่ วย 2.5 พฤติกรรมการเผชิญปัญหา (Coping behavior) หมายถึง วิธคี ิด วิธกี ารขอความ ช่วยเหลือ วิธีการขอข้ อมู ลข่ าวสาร เพืsอให้ สามารถควบคุ มภาวะทางจิตใจและสถานการณ์ทางสังคมใน ระหว่างทีsรักษา หรือเมืsอกลับไปสู่สังคมและครอบครัวแล้ ว องค์ประกอบของพฤติกรรมสุขภาพ ความรู้ (K = Knowledge) หมายถึง ความสามารถในการจําหรือระลึกได้ ซsึงประสบการณ์ ต่างๆ ทีsเคยได้ รับรู้มา ความเชืsอ (B = Belief) หมายถึง ความนึ กคิดหรือความเข้ าใจของบุ คคลต่ อสิsงใดสิsงหนึs ง อาจจะมีเหตุผลหรือไม่มีเหตุผลก็ได้ และจะทําให้ มนุ ษย์มีความโน้ มเอียงทีsจะปฏิบัติตามแนวคิดและ ความเข้ าใจนัnนๆ ค่ านิ ยม (V = Value) หมายถึง ความต้ องการทีsได้ รับการประเมินค่ าอย่ างรอบคอบและ ปรากฏว่ ามีคุณค่าแก่การเลือกไว้ เป็ นสมบัติของตน ความคิดเห็น (O = Opinion) หมายถึง การแสดงออกด้ วยวาจาถึงความรู้สึกนึ กคิดต่ อสิsงใด สิsงหนึsงหรือประเด็นเรืsองใดหนึs ง นอกจากนีn ยังหมายรวมถึงเจตนารมณ์ ปฏิกิริยาความรู้สึกนึ กคิดทีs เป็ นอคติด้วย การรับรู้ (P = Perception) หมายถึง การมองเห็นตีความ หรือการเข้ าใจสถานการณ์หรือสิsง ต่างๆในลักษณะทีsอาจเหมือนหรือแตกต่างไปจากการมองเห็น หรือความเข้ าใจของคนอืนs ทัnงนีnเพราะ เป็ นการตีความจากมุมมอง จากประสาทสัมผัสและประสบการณ์ของตนเอง ทัศนคติ หรือ เจตคติ (A =Attitude) หมายถึง สภาพทางจิ ตใจ ความคิดและปฏิกิริยา ตอบสนองต่อสิsงเร้ าหรือปฏิกริ ิยาของบุคคลใดบุคคลหนึsง หรือเป็ นการแสดงถึงความรู้สกึ ทีsมีต่อสิsงใดสิsง หนึsง ความตัnงใจ (I = Intention) หมายถึง การมีเจตนา มีจุดมุ่งหมาย หรือมีเป้ าหมายในการ กระทําสิsงใดสิsงหนึsง ทักษะ (S = Skill) หมายถึง การมีความเชีsยวชาญ ชํานาญ หรือมีประสบการณ์ในการปฏิบัติ หรือการกระทํา การปฏิบัติ ( P = Practice) หมายถึง การได้ กระทําประจํา หรือซําn ๆ จนเคยชิน หรือ เป็ น นิสยั ในช่วงระยะเวลาหนึsง


ตัวกําหนดพฤติกรรมสุขภาพ ตัวกําหนดพฤติกรรมสุขภาพหรือปัจจัยเสีsยงต่อสุขภาพของประชาชนชาวไทย มีดังนีn 1. ปัจจัยเสีsยงทางสรีระภาพ (Physiological risk factor) วิ ทยาการระบาดของโรคไม่ ติดต่ อ และอุบัติภัยโรคทีsเกิดจากความเสืsอมทําลาย และโรคติดต่อบางชนิดทีsเป็ นปัญหาปัจจุ บันและอนาคตของ ประเทศเช่น โรคความดัน โลหิตสูง โรคเบาหวาน มะเร็งเป็ นต้ น 2. ปัจจัยเสีsยงทางสิsงแวดล้ อม (Risk condition) ความยากจนและความเครียด อันตรายจาก การทํางาน ความแออัดของทีsพักอาศัยและชุมชน และมลภาวะทางสิsงแวดล้ อม 3. ปั จจั ยเสีsยงทางสังคมจิ ตวิ ทยา (Psychosocial risk factor) การถูกทอดทิnง การขาดแรง สนั บสนุ นทางสังคม การไม่ มีเครือข่ ายทางสังคม ความเครียด ปั ญหาทางอารมณ์ มีความภูมิใจใน ตนเองตํsา ซึsงจะนําไปสู่ปัญหาสุขภาพจิต เป็ นต้ น 4. ปั จจั ยเสีsยงทางพฤติกรรม (Behavior risk factor) การสูบบุ หรีs อุปนิ สัยในการบริโภค อาหาร การดืsมสุรา การใช้ สารเสพติด การออกกําลังกาย และการฝ่ าฝื นกฎระเบียบหรือกฎหมาย รวมถึงปั จ จัยทีsมี ผลต่ อพฤติกรรมเหล่ านัn นตั วกําหนดพฤติ กรรมสุข ภาพ และสถานะทางสุ ขภาพ มี ความสัมพันธ์กนั ในเกือบจะทุกโรค สาเหตุการตายทีsสาํ คัญของประชาชนในประเทศด้ อยพั ฒนา พบว่ า ส่วนใหญ่ เป็ นโรคติดต่อ ส่วนในประเทศพัฒนาพบว่ าส่วนใหญ่ เป็ นโรคเรืnอรังและอุบัติเหตุ พฤติกรรมเสีย= งทางสุขภาพ พฤติกรรมเสีsยงทางสุขภาพ คือ พฤติกรรมทีsสัมพั นธ์กับการเกิดโรค ปั ญหาสุขภาพบางครัn ง ตรวจวัดไม่ ได้ ชัดเจนมากกว่าหนึsงปัจจัย พฤติกรรมเสีsยงจึงเป็ นรูปแบบพฤติกรรมสุขภาพของบุคคลทีsมี การปฏิบัติ ตัว ไม่ ถูกต้ อง เป็ น ผลเสี ยต่ อสุข ภาพ พฤติ กรรมเสีs ยงเหล่ านีn จะไม่ สามารถเกิด ขึnน ได้ ถ้า ปราศจากสิsงแวดล้ อมสนับสนุ นปัจจัยทีsมีผลต่อพฤติกรรมสามารถจัดกลุ่มได้ เป็ น 3 กลุ่มปัจจัย ดังนีn ปัจจัยนํา (Predisposing factor) หมายถึง ปัจจัยทีsเป็ นพืnนฐาน และก่อให้ เกิดแรงจู งใจ ในการ แสดงพฤติกรรมของบุ คคลหรือในอีกด้ านหนึs ง ปั จจั ยนีn จะเป็ นความพอใจของบุ คคล ซึsงได้ มาจาก ประสบการณ์การเรียนรู้ ปัจจัยนีnมีผลในทางสนับสนุ นหรือยับยัnงการแสดงพฤติกรรม ทัnงนีnขn ึนอยู่กบั แต่ ละบุคคลได้ ความรู้ ความเชืsอ เจตคติ ค่านิยม การรับรู้เป็ นปัจจัยภายในตัวบุคคล ปั จจั ยเอืnอ (Enabling factor) หมายถึง สิsงทีsเ ป็ นแหล่ ง ทรั พยากรทีsจําเป็ น ในการแสดง พฤติกรรมของบุ คคล ชุ มชน รวมทัnงทักษะทีsจะช่ วยให้ บุคคลสามารถแสดงพฤติกรรมนัn นๆ ได้ และ สามารถทีsจะใช้ แหล่ งทรัพยากรเหล่ านัn น ซึsงเกีsยวข้ องกับราคาระยะทาง เวลา ความยากง่ ายของการ เข้ าถึงบริการ ประสบการณ์และอืนs ๆ ซึsงเป็ นปัจจัยภายนอกตัวบุคคล ปั จจั ยเสริมหรือสนั บสนุ น (Reinforcing factor) หมายถึง ผลสะท้ อนทีsบุคคลจะได้ รับ หรือ คาดว่ าจะได้ รับจากการแสดงพฤติกรรมนัnน อาจช่วยสนั บสนุ นหรือยับยัnงการแสดงพฤติกรรมสุขภาพ ได้ ทnังสิsงทีsเป็ นรางวั ล ผลตอบแทนและการลงโทษ เช่ น ความคิดเห็นจากเพืs อน ครอบครัว เป็ นต้ น (อ้ างแล้ ว จารุวรรณ นิพพานนท์, รศ. และคณะ, 2550)


ผลกระทบของพฤติกรรมต่อปั ญหาสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพมีผลกระทบโดยตรงต่อปัญหาสุขภาพหรือปัญหาสาธารณสุข ทัnงในส่วนทีsเป็ น ปั ญหาสุขภาพของแต่ ละบุ คคล ปั ญ หาสุข ภาพของแต่ ละครอบครั วปั ญหาสุขภาพของแต่ ละชุ มชน ดังต่อไปนีn 1. การทีsบุคคลมี พฤติกรรมสุขภาพไม่ ถูกต้ อง หรื อไม่ เหมาะสม เป็ นสาเหตุโดยตรงของการ เจ็บป่ วยของบุคคลนัnนๆ เอง หรือเป็ นสาเหตุโดยตรงของการเจ็บป่ วยของบุ คคลอืsนๆ ในครอบครัว รวมทัnง เป็ นสาเหตุโดยตรงของการเจ็บป่ วยของบุ ค คลอืsน ๆ ในชุ มชนด้ ว ย เช่ น การทีsบุค คล รับประทานอาหารทีsทาํ จากปลานําn จืดชนิดมีเกล็ดโดยไม่ไม่ได้ ปรุงสุกด้ วยความร้ อนเสียก่อนทําให้ ติด โรคพยาธิใบไม้ นับได้ การทีsผู้ดูแลเด็กซึsงเป็ นใครก็ได้ ไม่ได้ ล้างมือฟอกสบู่ก่อนทําอาหารให้ เด็ก ทําให้ เด็กเป็ นโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน การทีsบุคคลในบางครอบครัวไม่ได้ มีการกําจั ดลูกนํnายุ งลายทําให้ ด เกิดการแพร่กระจายของโรคไข้ เลือดออกขึnนในหมู่บ้าน เป็ นต้ น 2. เมืsอบุคคลเจ็บป่ วย ตัวบุคคลนัnนเอง หรือบุคคลอืนs ในครอบครัวให้ การดูแลรักษาพยาบาล ทีsไม่ถูกต้ องก็จะทําให้ การเจ็บป่ วยนัnนรุนแรงขึnน หรือเสียชีวิตได้ เช่น การซืnอยามารับประทานเองโดย ไม่ร้ ูแน่ ว่าป่ วยเป็ นโรคอะไร หรือเมืsอแพทย์ให้ ยามารักษาแล้ ว แต่ไม่ได้ รับประทานยาให้ ถูกต้ องและ ครบถ้ วน ก็จะทําให้ โรคไม่หายและในบางครัnงหรือในบางโรคก็จะทําให้ เกิดการดืnอยาของเชืnอโรคด้ วย เช่ น ในการรักษาผู้ ป่วยวั ณโรค ซึsงต้ องการพฤติกรรมการรักษาทีsถูกต้ องสมํsาเสมอและต่ อเนืs องจน กว่ าโรคจะหาย ถ้ าการรักษาไม่สมํsาเสมอนอกจากโรคจะไม่หายแล้ วเชืnอวั ณโรคอาจจะดืnอต่ อยาและทํา ให้ เกิดการแพร่กระจายของเชืnอโรคทีsดn ือยา ซึsงเป็ นปัญหาของการควบคุมวัณโรคอย่างมาก 3. ในการแก้ไขปัญหาสุขภาพของแต่ละบุคคลของแต่ละครอบครัว และของแต่ ละชุ มชนต้ อง อาศัยการมีพฤติกรรมสุขภาพทีsถูกต้ องของบุคคลต่างๆ เป็ นสําคัญ กล่ าวคือ ปั ญหาสุขภาพของแต่ ละ บุคคลหรื อปั ญหาสาธารณสุขของชุมชนต่ างๆ จะแก้ ไขได้ นn ั น บุคคลต่ างๆ ต้ องมีพฤติกรรมสุขภาพทีs จําเป็ นสําหรับการส่งเสริมสุขภาพอย่ างพอเพียง จึงจะมี สุขภาพทีsดี บุคคลต่ างๆ ต้ องมีการกระทํา การ ปฏิ บัติ การไม่ กระทํา หรื อการไม่ ปฏิ บัติ พฤติ กรรมจะทํา ให้ ตนเองไม่ เ จ็บป่ วย บุ ค คลอืsน ๆ ใน ครอบครัว หรือในชุมชนไม่เจ็บป่ วยในกรณีทsบี ุคคลใดก็ตาม หรือบุคคลใดบุคคลหนึsงในครอบครัวเกิด การเจ็บป่ วยขึnนมาไม่ ว่าด้ วยโรคอะไรก็ตาม บุคคลนัn นๆ หรือบุคคลในครอบครั วจําเป็ นต้ องมี ความรู้ ความเข้ าใจทีs ถูกต้ องเกีsยวกับการเจ็บป่ วยและสาเหตุ ของการเจ็บ ป่ วย รวมทัnง มีการดู แลรักษาอย่ า ง ถูกต้ องและทันท่วงที จึ งจะทําให้ หายป่ วย เช่ น เมืsอบุ คคลป่ วยเป็ นโรคมาลาเรีย บุ คคลนัn นเองหรือ บุคคลอืนs ๆ ในครอบครัวจําเป็ นต้ องรับรู้ถึงอาการของโรคได้ อย่ างถูกต้ อง มีความตระหนั กว่ าน่ าจะ เป็ นอาการของโรคมาลาเรีย เพืsอจะได้ ขอรับการตรวจวินิจฉัยตัnงแต่ เมืsอมีอาการในระยะเริsมแรก และ ได้ รับดารรักษาทันท่วงทีก่อนทีsโรคจะรุนแรง หรือมีการแพร่ กระจายของเชืnอโรคต่ อไปยังบุ คคลอืsนๆ ในชุ มชน และเมืsอได้ รับยารักษา จากสถานบริ การสาธารณสุขแล้ ว ก็ต้องรั บประทานยาจนครบตาม แผนการรักษา เพืsอให้ หายขาดจากโรค ไม่ กลับเป็ นโรคซําn หรือทําให้ โรคแพร่ กระจายออกไป และใน บางกรณีทาํ ให้ เกิดการดืnอยาของเชืnอโรคได้ ด้ วยเหตุนn ีการดําเนินงานแก้ไขปัญหาสุขภาพหรือปัญหาสา


ธารสุข จึงต้ องมุ่งเน้ นการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน เพืsอนให้ มีการกระทําหรื อการปฏิบัติทsี ถูกต้ องสําหรับการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขได้ อย่างยัsงยืน (ธนวรรธน์ อิsมสมบูรณ์, 2544 : 94) ความสําคัญของการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพ คนเราทุกคนย่ อมปรารถนาทีsจะมีสุขภาพดีด้ว ยกันทัnงนัn น องค์การอนามัยโลกได้ ตnั งความ คาดหวังทีsจะให้ ประชาชนในโลกมีสขุ ภาพดี ได้ ให้ ความหมายของคําว่ า “ สุขภาพดี” ไว้ ว่า หมายถึง สภาวะทีsร่างกายมีความสมบูรณ์ทnงั ร่างกาย จิตใจและสังคมปราศจากโรคหรือความพิการใดๆ สุขภาพ ทีsสมบูรณ์เป็ นสิทธิอนั ชอบธรรมของบุคคล โดยไม่คาํ นึงถึงเชืnอชาติ ศาสนา การเมือง เศรษฐกิจและ สังคม ดังนัn น หากประเทศใด ประชาชนมีสุขภาพสมบู รณ์ ก็ถือได้ ว่ าประเทศนัn นมัsนคงสมบู รณ์ เนืsองจากประชาชนสามารถทํางานได้ อย่างเต็มความสามารถ มีรายได้ ดี มีการศึกษาดี มีความเป็ นอยู่ ดี ทีsกล่าวมาเป็ นความคาดหวังขององค์การอนามัยโลก แต่ในความเป็ นจริงภาวะสุขภาพของบุ คคลจะ มีการเปลีsยนแปลงเกิดขึn นได้ ตลอดเวลาในทุกขัnน ตอนของชีวิต ภาวะสุข ภาพทีsมีความผิดปกติของ อวัยวะต่างๆ ภายในร่ างกายหรือความผิดปกติทางใจ ทําให้ เกิดการเปลีs ยนแปลงหน้ าทีsปกติทางด้ าน ร่ างกาย จิตใจและสังคมแสดงว่ าเกิดความเจ็บป่ วย คนทีsอยู่ ในภาวะเจ็บป่ วยเล็กน้ อยเป็ นคนทีsเริsมมี ปัญหาในการปรับตัวทางด้ านร่างกาย จิตใจและสังคม เป็ นบางช่วงเวลา และหากผู้นnันมีปัญหาในการ ปรับตัวมากขึnนและตลอดเวลา ทําให้ เกิดการเจ็บป่ วยรุนแรงมากขึnน ซึsงจะต้ องได้ รับการดู แลรักษา ทันท่วงที มิเช่นนัnนอาจทําให้ ถึงแก่ความตายได้ แต่ถ้าหากผู้ป่วยได้ รับการดูแลรักษา ก็จะกลับไปสู่สภาวะ ปกติหรือสมบูรณ์ได้ ดังนัnน จะเห็นได้ ว่าภาวะสุขภาพและความเจ็บป่ วยเป็ นภาวะทีsมีการเปลีsยนแปลง ต่อเนืsองกัน ภาวะสุขภาพและการเจ็บป่ วยทีsเกิดขึnนตลอดเวลา การส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของบุ คคลทีs มีสขุ ภาพดีถึงสุขภาพสมบูรณ์มากในระยะนีn จะต้ องเน้ นพฤติกรรมทีsเกีsยวข้ องกับการส่ งเสริ มสุขภาพ การดูแลรักษาสุขภาพ การป้ องกันและการคาบคุมโรค เช่น ด้ านโภชนาการการสุขาภิบาล การสร้ างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค ในขณะเดียวกันเมืsอบุคคลมีความเจ็บป่ วยเล็กน้ อย ก็ต้องป้ องกันไม่ให้ เจ็บป่ วยรุนแรง ขึnนหรือตายได้ การป้ องกันในระยะนีnจะต้ องค้ นหาสิsงผิดปกติในขณะโรคเกิดขึnนแล้ ว เพืsอช่วยลดความ รุนแรง หยุดยัnงการดําเนินของโรค ป้ องกันการแพร่ กระจายของโรค หมายความว่ า ในระยะทีsบุคคล รู้สึกว่ ามี ความผิ ดปกติ เ กิด ขึnน ในร่ า งกายบุ คคลจะต้ องแสวงหาการรั กษา และให้ ความร่ วมมือใน แผนการรักษาโดยการกระทําในสิsงทีsเป็ นผลดีต่อสุขภาพและการงดกระทําหรือละเว้ นการปฏิบัติในสิsง ทีsเป็ นผลดีต่อสุขภาพ


2. แนวคิดเกีย= วกับการดู แลสุขภาพตนเอง โดยธรรมชาติของมนุ ษย์ เมืsอเกิดปั ญหาต่ างๆ ขึnนในชีวิต ก็จะพยายามหาทางแก้ ปัญหาด้ วย ตัวเองก่อนเป็ นอันดับแรก เมืsอรู้ว่าไม่ สามารถแก้ ปัญหาได้ เอง ก็จะแสวงหาความช่ วยเหลือจากผู้ อืsน ใน เรืsองความเจ็บป่ วย หรือปัญหาสุขภาพก็เช่นเดียวกัน ทุกคนต้ องการทีsจะดู แลตนเองให้ มีสุขภาพดีอยู่ เสมอ ดังนัn นกล่ าวได้ ว่า " การดู แลสุขภาพตนเอง เป็ นกิจกรรมทีsบุคคลแต่ ละคนปฏิบัติและยึดเป็ น แบบแผนในการปฏิบัติเพืsอให้ มีสขุ ภาพดี " อาจแบ่งขอบเขตการดู แลสุขภาพตนเอง เป็ น 2 ลักษณะ คือ 1. การดู แลสุขภาพตนเองในสภาวะปกติ ถือเป็ นการดู แลสุขภาพตนเอง และสมาชิกใน ครอบครัว ให้ มีสขุ ภาพแข็งแรง สมบูรณ์อยู่เสมอ ได้ แก่ 1.1 การดู แลส่งเสริมสุขภาพ เพืs อให้ สุขภาพแข็งแรง สามารถดําเนิ นชีวิตได้ อย่ าง ปกติสขุ เช่น การออกกําลังกาย การสร้ างสุขวิทยาส่วนบุคคลทีsดี ไม่ดืsมสุรา ไม่สบู บุหรีs หลีกเลีsยงจาก สิsงทีsเป็ นอันตรายต่อสุขภาพ 1.2 การป้ องกันโรค เพืs อไม่ให้ เจ็บป่ วยเป็ นโรค เช่ น การไปรับภูมิคุ้ มกันโรคต่ างๆ การไปตรวจสุขภาพ การป้ องกันตนเองไม่ให้ ติดโรค 2. การดู แลสุขภาพตนเองเมือ= เจ็ บป่ วย ได้ แก่ การขอคําแนะนํา แสวงหาวามรู้จากผู้ ร้ ู เช่ น อาสาสมัครสาธารณสุขต่างๆ ในชุมชน บุคลากรสาธารณสุข เพืs อให้ ได้ แนวทางปฏิบัติ หรือการรักษา เบืnองต้ นให้ หาย จากความเจ็บป่ วย ประเมินตนเองได้ ว่า เมืsอไรควรไปพบแพทย์ เพืs อรักษาก่อนทีsจะ เจ็บป่ วยรุนแรง และปฏิบัติตามคําแนะนําของแพทย์ หรือบุ คลากรสาธารณสุข เพืs อบรรเทาความ เจ็บป่ วย และมีสขุ ภาพดีดังเดิม การทีsประชาชนทัsวไปสามารถดู แลสุขภาพตนเองได้ นnั น จําเป็ นต้ องมีความรู้ ความเข้ าใจใน เรืsองการดูแลสุขภาพ ตัnงแต่ยังไม่เจ็บป่ วย เพืsอบํารุงรักษาตนเองให้ สมบูรณ์แข็งแรง รู้จักทีsจะป้ องกัน ตัวเองมิให้ เกิดโรค และเมืsอเจ็บป่ วยก็ร้ ูวิธีทsีจะรักษาตัวเอง เบืnองต้ นจนหายเป็ นปกติ หรือรู้ว่าเมืsอไร ต้ องไปพบแพทย์ หรือเจ้ าหน้ าทีsสาธารณสุข (สํานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย, 2545) โดยทัsวไปมนุ ษย์มีความต้ องการทีsจะดูแลตนเอง เพืsอดํารงชีวิตและคงไว้ ซsึงสุขภาพทีsสมบู รณ์ รวมทัnงเพืsอหลีกเลีsยงภยันตรายต่างๆ ทีsคุกคามชีวิต การส่งเสริมการดูแลตนเองของบุคคล จึงเป็ นการ ช่ วยให้ บุคคลมี ความสามารถและรั บผิด ชอบในการดู แลสุขภาพของตนเองครอบครัว และชุ มชน (เบญจพร ทองเทีsยงดี, 2541 : 22) เอืnอมพร ทองกระจาย (2533 อ้ างถึงใน มนาพร สุภาพ, 2542 : 21) ให้ ความหมายของ การดู แลสุขภาพตนเองไว้ พอสรุปได้ ว่า การดู แลสุขภาพตนเองเป็ นกระบวนการทีsทุกคนสามารถทํา กิจกรรมต่ างๆ ทีsเกีsยวข้ องกับสุขภาพได้ ด้วยตนเอง โดยมีวั ตถุประสงค์เพืs อส่งเสริมสุขภาพ การ ป้ องกัน โรค การบําบัดรั กษาตนเอง ซึs งรวมไปถึงการฟืn นฟูสภาพร่ างกายและจิต ใจหลั งการเจ็บป่ วย กระบวนการดูแลสุขภาพตนเองนีn เป็ นกระบวนการทีsเกิดขึnนอย่างต่อเนืs อง ตลอดช่ วงชีวิตของทุกคน ไม่ได้ เกิดขึnนเฉพาะครัnงคราว


คาร์ล และ ค๊อบบ์ (Karl & Cobb, 1966 อ้ างถึงใน มัลลิกา มัติโก, 2530 : 71) กล่ าวว่ า การ ดูแลสุขภาพตนเอง เป็ นกิจกรรมใดๆ ทีsกระทําขึnนโดยบุ คคล การดู แลสุขภาพตนเองเป็ นการดําเนิ น ชีวิ ตของบุ คคลทีsมีแบบแผน การดู แลสุขภาพตนเองเชืs อว่ า ตนเองมี สุขภาพแข็ง แรง การกระทํา พฤติกรรมเหล่านัnนล้ วนเป็ นไปเพืsอการป้ องกันโรค หรือค้ นให้ พบโรค ในขณะทีsโรคนัnนยังไม่แสดงออก อาการออกมา โอเร็ม (Orem, 1991 : 117) กล่าวว่ า การดู แลสุขภาพตนเองเป็ นกิจกรรมต่ างๆ ทีsบุคคล ริเริsมและกระทําด้ วยตนเอง เพืs อให้ เกิดประโยชน์ในการทีsจะดํารงชีวิต สุขภาพและความเป็ นอยู่ ทsีดี การดูแลสุขภาพตนเองเป็ นกิจกรรมทีsบุคคลทําอย่างจงใจและมีเป้ าหมาย มีระบบระเบียบเป็ นขัnนตอน และเมืsอกระทําอย่างมีประสิทธิภาพจะมีส่วนช่วยให้ โครงสร้ าง หน้ าทีsพัฒนาการดําเนิ นไปได้ ถึงขีดสุด ของแต่ละบุคคล เพนเดอร์ (Pender, 1996 : 97 – 98) กล่ าวถึง การดู แลสุขภาพตนเองว่ า เป็ นกิจกรรมทีs บุคคลริ เริs มและปฏิบัติเพืsอให้ เกิดประโยชน์ แก่ตนเองในการทีsจะดํารงไว้ หรื อทําให้ ดีขn ึนเกีsยวกับชีวิต สุขภาพ และความเป็ นอยู่ ทsีดี ดังนัn น การดู แลสุขภาพตนเองเป็ นกระบวนการทีsบุคคล และครอบครั วมี ความริเริsมทีsจะรับผิดชอบในการพัฒนาการดู แลสุขภาพของตนเองอย่ างมี ประสิทธิภาพ นอกจากนีn การ ดูแลสุขภาพตนเองยังหมายถึงสิsงต่างๆ ทีsผ้ ูป่วยได้ ปฏิบัติด้วยตนเอง เพืsอช่วยลดปั ญหาต่ างๆ ทีsเกิดจาก โรคตลอดจนเป็ นกระบวนการทีsบุคคลทําหน้ าทีsเพืsอก่อให้ เกิดประโยชน์แก่ตนเองในการส่งเสริมสุขภาพ ป้ องกันและตรวจค้ นเกีsยวกับโรค และการรักษา อารีย์ เจี ยมพุก (2544 : 40) กล่ าวถึงการดู แลสุขภาพตนเองว่ า หมายถึง การดําเนิ น กิจกรรมทางด้ านสุขภาพด้ วยตนเองของปัจเจกบุคคล ครอบครัว กลุ่มเพืs อนบ้ าน กลุ่มผู้ ร่วมงานและ ชุ มชน จะโดยการปฏิบัติด้วยตนเองหรือผู้ อืsนช่ วยเหลือ โดยรวมถึงกระบวนการตัดสินใจในเรืsองทีs เกีsยวข้ องกับสุขภาพ การป้ องกันโรค การวิ นิจฉั ย การรักษาโรค และการปฏิบัติตนภายหลั งการรั บ บริการ ทัnงนีn เพืsอให้ เกิดประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองและมีความเป็ นอยู่ทsดี ี แม้ ว่าการดู แลสุขภาพตนเองจะเป็ นการกระทําทีsจงใจและมีเป้ าหมาย แต่ การดู แลสุขภาพ ตนเองนัnน จะกลายเป็ นสุขนิสยั ติดตัวได้ ถ้ าได้ กระทําไปสักระยะหนึsง บุคคลนัnนอาจจะกระทําโดยไม่ได้ ระลึกถึงเป้ าประสงค์ของการกระทํา การทีsจะปฏิบัติการดูแลสุขภาพตนเองเพืsอดํารงรักษาและส่งเสริม สุขภาพ ผู้ปฏิบัติจะต้ องมีความรู้เกีsยวกับเป้ าหมายและสร้ างสุขนิสยั ในการปฏิบัติ และเมืsอสร้ างสุขนิ สัย ในการปฏิบัติได้ บุคคลจะกระทําได้ โดยไม่ ต้องใช้ ความพยายามหรือรู้สกึ เป็ นภาวะอีกต่อไป สมจิต หนุ เจริญกุล (2537 : 24 – 25) กล่าวว่า การดูแลตนเอง เป็ นกิจกรรมทีsบุคคลกระทํา ตามการรับรู้และการให้ ความหมายของการกระทํานัnนต่อตนเอง ซึs งมี ทn ังการดู แลตนเองทีsถูกต้ องและไม่ ถูกต้ อง การดูแลตนเองนัnนจะเป็ นประโยชน์ต่อชีวิตและสุขภาพก็ต่อเมืsอการกระทํานัn นก่อให้ เกิดผลแก่ บุคคลดังต่อไปนีn 1. สนั บสนุ นกระบวนการต่ างๆ ของชีวิต และส่งเสริมการทําหน้ าทีsของร่ างกายให้ เป็ นไป ตามปกติ


2. ส่งเสริมการเจริญเติบโต พัฒนาการ การบรรลุวุฒิภาวะของบุคคลตามศักยภาพ 3. ป้ องกัน ควบคุม หรือรักษาโรคและการบาดเจ็บ 4. ป้ องกันความพิการ หรือปรับชดเชยภาวะไร้ สมรรถภาพ 5. ส่งเสริมสมรรถภาพและความผาสุกของบุคคล การดูแลสุขภาพตนเอง จะช่วยให้ บุคคลตระหนักถึงความเป็ นจริงตามศักยภาพสูงสุดของตน กิจกรรมต่างๆ เหล่ านีnประกอบด้ วย การดูแลส่วนบุคคล และสิsงแวดล้ อม โภชนาการ การออกกําลังกาย การฝึ กปฏิบัติด้านการป้ องกันโรค การแพทย์ และการบําบัด (ทัnงแบบพืnนบ้ านและทางการแพทย์) ทีs มุ่ งมัs นต่ อการหายและการรั กษา กิจกรรมการดู แลตนเองนีn สามารถทําหน้ าทีsแทน หรือถู กใช้ ในการ เชืsอมต่อกับการดูแลของนักวิชาชีพสุขภาพ ซึsงองค์ประกอบหลักของการดูแลสุขตนเอง มีดังนีn (ปราณี เสนีย์, 2545 : 15 – 16) 1. การส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion) หมายถึง กิจกรรมทีsบุคคลได้ กระทําด้ วยตนเอง เพืsอให้ มีสขุ ภาพทีsดีมากทีsสดุ แรงจู งใจคือ เพืsอปรับปรุงสุขภาพให้ ดีขn ึนมากกว่ าป้ องกันโรค 2. การดํารงรักษาสุขภาพ (Health Maintenance) หมายถึง การดํารงไว้ ซsึงภาวะดุ ลยภาพ (Homeostasis) ของสภาพทีsเป็ นอยู่ในปั จจุ บัน กิจกรรมอาจจะเป็ นแบบทีsทาํ เองอย่ างเข้ มแข็ง หรือ เป็ นลักษณะทีsทาํ ตามปกติ 3. การป้ องกันโรค (Disease Prevention) กิจกรรมการป้ องกันโรคมีจุดหมายทีsการลด หรือ จํากัดความเสีsยงของโรคเฉพาะ เช่น การรับวัคซีน การลดอาหารมีรสจัด เป็ นต้ น 4. การตรวจค้ นหาโรค (Disease Protection) เป็ นกิจกรรมทีsประกอบด้ วยการเพิs มความ ตระหนักถึงสภาวะของร่างกาย และอาการต่างๆ ของร่างกาย และการใช้ เครืsองมือและเทคนิควินิจฉัย 5. การบริหารจั ดการโรค (Disease Management) ประกอบด้ วยการดําเนิ นการและการ ตรวจสอบคําแนะนําของแผนการรักษา และนําคําแนะนําหรือข้ อควรปฏิบัตินnั นมาใช้ ในการดําเนิ น ชีวิตประจําวัน มัลลิกา มัติโก (2534 : 20 – 30) ได้ สรุปสาระสําคัญเกีsยวกับการดู แลสุขภาพตนเอง โดย การประมวลจากแนวคิ ดพืn นฐานต่ างๆ จากความหมายของการดู แลสุข ภาพตนเอง โดยกํา หนด ขอบเขตเป็ น 2 ลักษณะใหญ่ ๆ ดังนีn 1. การดูแลสุขภาพตนเองในภาวะปกติ (self – care in health) 1.1 ส่ ง เสริ มพฤติ กรรมทีsจ ะรั กษาสุข ภาพให้ แข็ง แรง ปราศจากความเจ็บป่ วย สามารถดําเนิ นชีวิตอย่ างปกติสุข พยายามหลีกเลีsยงจากอันตรายต่ างๆ ทีsจะส่งผลต่ อสุขภาพและ พยายามสร้ างเสริมสุขภาพ โดยการออกกําลังกาย การมีสุขวิ ทยาส่วนบุ คคลทีsดี การควบคุ มอาหาร การไม่ดืsมสุรา ไม่สบู บุหรีs การกินวิตามินต่างๆ การตรวจสุขภาพฟั นทุก 6 เดือน เป็ นต้ น 1.2 การป้ องกันโรค (disease prevention) เป็ นพฤติกรรมทีsกระทํา โดยมุ่ งทีsจ ะ ป้ องกันไม่ให้ เกิดความเจ็บป่ วย หรือโรคต่ างๆ เช่ น การไปรับภูมิกันโรค โดยแบ่ งระดับของการ ป้ องกันออกเป็ น 3 ระดับ คือ


ก. การป้ องกันความรุนแรงของโรค เป็ นระดับของการป้ องกันทีsมุ่งจะขจั ดให้ หมดไปก่อนทีs อาการของโรคจะรุนแรงมากขึnน ข. การป้ องกันโรคเบืnองต้ น เช่น การได้ รับภูมิคุ้มกันโรค ค. การป้ องกันการแพร่ ระบาดของโรค เป็ นระดับการป้ องกันทีsมีเป้ าหมายต้ องการยับยัnงการ แพร่ระบาดของโรคจากผู้ป่วยไปสู่คนอืนs ๆ 2. การดู แลสุขภาพตนเองเมืsอเจ็บป่ วย (self – care in illness) คําว่ า “ ความเจ็บป่ วย (illness) หมายถึง ความรับรู้ของบุ คคลทีsมีต่อตัวเขาเองว่ า มีความผิดปกติไปจากเดิม ซึsงอาจจะ ตัดสินด้ วยตัวเขาเอง ครอบครัว หรือเครือข่ ายสังคม โดยแต่ละคนจะตอบสนองต่ อความเจ็บป่ วยทีs เกิดขึnนแตกต่างกัน เช่น การงดของแสลง การใช้ สมุนไพร การบีบนวด การซืnอยากินเอง เป็ นต้ น จากความหมายทัnงหมด พอสรุปได้ ว่า การดูแลสุขภาพตนเอง คือ พฤติกรรมการบํารุงรักษา ตนในลักษณะต่างๆ เพืsอป้ องกันโรค ส่งเสริมสุขภาวะ และบําบัดรักษาโรค เพืsอให้ ตนเองมีความสุขใน การดํารงชีวิต การส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพตนเอง การส่งเสริมสุขภาพ ตามคําจํากัดความทีsได้ จากการประชุม ณ กรุงออตตาวา (Ottawa Charter) ในปี 1986 กล่ าวถึ งการส่ งเสริ ม สุ ข ภาพว่ า หมายถึ ง กระบวนการทีs กระตุ้ น ให้ ประชาชนเพิs ม ความสามารถในการควบคุ มตนเองด้ านสุขภาพ และปรั บปรุ งสุขภาพของตนเพืs อให้ บรรลุภ าวะทีs สมบูรณ์ทnงั ร่างกาย จิตใจ และสังคม (นิ คม มูลเมือง, 2541 : 21) หรือเป็ นกระบวนการปลู กฝัง ให้ คนเรามีความสามารถทีsจะควบคุมปัจจัยต่างๆ ทีsเป็ นตัวกําหนดภาวะสุขภาพ เพืsอให้ มีสขุ ภาพทีsดีขn ึน ในปั จจุ บันเริsมมีการใช้ คาํ ว่ า การสร้ างเสริมสุขภาพ โดยให้ ความหมายว่ า เป็ นกระบวนการ ใดๆ ทีsเพิsมความสามารถคนในการควบคุมปัจจัยทีsเป็ นตัวกําหนดสุขภาพ การจัดการด้ านสิsงแวดล้ อม เพืsอลดสิsงทีsเป็ นอันตรายต่อสุขภาพ มีผลในทางการสร้ างสุขภาพ สร้ างความรู้ และค่ านิ ยมในทางบวก ต่ อการมีสุขภาพดีในหมู่ประชาชนและสัง คม รวมไปถึงการจั ดบริการต่ างๆ ทีsจําเป็ นต่ อการสร้ า ง สุขภาพดีด้วย (พรสุข หุ่นนิรันดร์, 2543 : 9 – 10) 1. พฤติกรรมการบริโภคบุ หรี= สุรา และสารเสพติด พฤติ กรรมการบริโภคบุ หรีs และสารเสพติด ยังมี มาก แม้ มีการรณรงค์ อย่ างต่ อเนืs องและ ก่อให้ เกิดผลเสียต่อสุขภาพของประชาชนอย่างมาก ดังนีn 1.1 พฤติ กรรมการสู บ บุ หรี= พระราชบั ญญั ติ คุ้ ม ครองสุ ข ภาพของผู้ ไม่ สู บบุ ห รีs พ.ศ.2535 ได้ ให้ ความหมายบุหรีsไว้ ว่า บุหรีs หมายถึง บุหรีsซิกการ์แรต บุ หรีsซิกการ์ บุ หรีsอืsนๆ ยาเส้ น หรือยาส้ นปรุง ตามกฎหมายว่าด้ วยยาสูบ มีส่วนประกอบทีsเป็ นสารเคมีหลายร้ อยชนิ ด และสารเคมี นn ี จะ เพิs มมากขึn นเมืs อจุ ด บุห รีs เนืs องจากมี การเผาไหม้ ของยาสูบ และส่ ว นประกอบอืsนๆ ของบุ ห รีs ซึs ง ส่วนประกอบทีsสาํ คัญของบุ หรีsเมืsอเกิดการเผาไหม้ หรือเวลาทีsสูบบุ หรีsกค็ ือ สารนิโคติน ส่วนทีsเป็ น นําn มันหรือยางของใบยาสูบในควันบุหรีsและส่วนทีsเป็ น ก๊าซแอมโมเนี ยมซัลไฟด์ อาร์เซนิ ฟินอล และ สารกัมตรังสี เช่ น Lead – 210, Polonium – 210 นอกจากนีn ยังมีสารอืsนอีกเป็ นจํานวนมาก บุ หรีs


เป็ นสารเสพติดชนิดหนึsงตามคํานิยามของคําว่ า สารเสพติดขององค์การอนามัยโลก ซึsงนิยามไว้ ว่า สาร เสพติด คื อ ยาหรือสารเคมีทsีเสพเข้ า สู่ร่างกายแล้ วทําให้ เกิดพิ ษเรืn อรังแกร่ า งกายของ ผู้ เสพ และ ก่อให้ เกิดความเสืsอมโทรมทางร่ างกายและจิตใจของผู้เสพ และยังก่อความเสืsอมโทรมไปถึงสังคมอีกด้ วย องค์การอนามัยโลกได้ คาดการณ์ไว้ ว่าคนทีsสบู บุหรีs 4 คน จะต้ องตายด้ วยโรคจากบุ หรีs 1 คน อย่ างแน่ นอน หรือนาทีละ 20 คน (นิ คม มูลเมือง, 2541 : 52) และผู้ ทsีสูบบุ หรีsมีโอกาสตายจาก หัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน กล้ ามเนืnอหัวใจตาย หรือหัวใจหยุดเต้ นเฉียบพลันประมาณ 2.4 เท่า ของผู้ ทีsไม่สบู บุหรีs โดยเฉพาะผู้ทsสี บู บุหรีsมากกว่ า 40 มวน/วัน จะมีอตั ราเสีsยงสูงขึnน (ณัฐกฤช ฉายเสมแสง , 2543 : 78) 1.2 พฤติ กรรมการใช้สารเสพติ ด สารเสพติด คือ ยาหรือสารเคมีทsีเ สพเข้ า สู่ ร่างกายแล้ ว ทําให้ เกิดพิษเรืnอรังแก่ร่างกายของผู้เสพ และก่อให้ เกิดความเสือs มโทรมทางร่ างกาย และ จิตใจของผู้เสพ และยังก่อความเสือs มโทรมไปถึงสังคมอีกด้ วย ในอดีต สารเสพติดทีsเคยบ่ อนทําลาย สังคมเป็ นอย่างมาก ได้ แก่ ฝิs น เฮโรอีน มอร์ฟีน ซึsงพบว่ าผู้เสพส่วนมากเป็ นวัยผู้ใหญ่ เนืsองจากสาร เสพติดในอดีตมีราคาค่อนข้ างแพง แต่ในปัจจุ บันได้ มีการผลิ ตสารเสพติดชนิ ดใหม่ ๆ ขึnนมาหลายชนิ ด เช่น ยาบ้ า ยาอี และอีกหลายๆ ชนิดทีsกาํ ลังแพร่ระบาดอย่างหนักในปัจจุ บัน เนืsองจากเทคโนโลยีการ ผลิตทันสมัย และสะดวกในการเคลืsอนย้ ายหนี การจั บกุมของเจ้ าหน้ าทีsมากขึnน ต้ นทุนการผลิตถูกลง ทําให้ มีการแพร่ ร ะบาดของสารเสพติ ด อย่ างรวดเร็ว ประกอบกับการรั บเอากระแสของวั ฒนธรรม ตะวันตกเข้ ามาโดยขาดการพิจารณาของสังคม โดยลืมวิ ถีชีวิตความเป็ นไทย เช่ น การเอาวั ฒนธรรม การเทีsยวกลางคืนตามสถานบันเทิงยามราตรีแทนการใช้ ชีวิตอย่างเรียบง่ ายตามแบบวิ ถีชีวิตไทย การ ทิnงค่านิ ยม การอบรมปลูกฝังคุ ณธรรม-จริยธรรมให้ กับเด็กของครอบครัวและสถานการศึกษา การ ละเลยการปลูกฝังให้ เด็กมีความเคารพและเชืsอฟั งผู้ใหญ่ ตnังแต่ เล็ก การให้ อิสรเสรีกับเด็กมากจนเกิน ขอบเขต ซึsงสิsงเหล่านีnเป็ นผลมาจากการเลีnยงดู และการรับเอาค่ านิ ยมตะวั นตกทาใช้ อย่ างขาดปั ญญา โดยไม่ ได้ ปรับให้ เหมาะกับชี วิตและวั ฒนธรรมไทย จึ งทําให้ เกิดกระแสสังคมทีsก่อให้ เกิดผลลบต่ อ สังคมไทยโดยรวม ซึs งในปั จจุ บันสารเสพติดได้ กลายเป็ นปั ญหาทัnงทางเศรษฐกิจและสังคม เนืs องจาก ก่อให้ เกิดผลเสียในวงกว้ าง ทัnงในด้ านส่วนตัว ครอบครัว ชุ มชน ตลอดจนถึงสังคมทีsอยู่ อาศัยละ สังคมใหญ่ คือประเทศชาติ เนืs องจากยาเสพติดจะบัsนทอนชีวิตทําให้ คุณภาพชีวิตลดลง มีเวลาและ โอกาสทีsจะทําคุณประโยชน์แก่ชาติบ้านเมืองน้ อยลง เพราะผู้ ทsีติดสารเสพติดจะมีสุขภาพทรุดโทรม อาจมีอายุ สnัน กว่ าทีsควรเป็ นจากความเจ็บป่ วยต่ างๆ หรืออาจเสีsยงต่ อการเกิดอาชญากรรมทัnงเป็ น ผู้กระทําและเป็ นผู้ถูกกระทํา ซึsงเป็ นผลจากการคบคนชัsวเป็ นมิตร เป็ นต้ น 2. พฤติกรรมการบริโภคอาหาร อาหารเป็ นหนึsงในปัจจัยสีsทsมี ีความจําเป็ นต่อการดํารงชีวิตของมนุ ษย์ ทัnงเพืsอการเจริญเติบโต การซ่ อมแซมส่วนทีsสึกหรอ และให้ มีพลังสําหรับการทํากิจกรรมในชีวิตประจําวั น ดังนัn น เราควร เลือกรับประทานอาหารทีsสะอาด ปลอดภั ย และมีคุณค่ าทางโภชนาการเพืs อภาวะสุขภาพทีsดี แต้ ใน ปัจจุ บันคนไทยยังประสบปัญหาทางด้ านโภชนาการอยู่ มากไม่ ว่าจะเป็ นการขาดอาหาร เช่ น โรคขาด


โปรตีนและพลังงาน โรคขาดสารไอโอดีน โรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก โรคเหล่ านีnทาํ ให้ เด็กไทย เจริญเติบโตและมีพัฒนาการทางร่ างกายอ่อนแอ สมรรถภาพในการทํางานตํsา ในขณะเดียวกันภาวการณ์ โภชนาการเกินกําลัง เป็ นปัญหาใหม่ ทsีมีความรุนแรงเพิs มขึnนเรืsอยๆ อันจะนําไปสู่โรคทีsเกีsยวข้ องอืsนๆ เช่น โรคอ้ วน โรคหัวใจขาดเลือด โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง เป็ นต้ น ซึsงล้ วน เป็ นสาเหตุการเจ็บป่ วยและเสียชีวิตของคนไทยในลําดับต้ นๆ จากสภาพการเปลีsยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม ทีsส่งผลกระทบต่ อวิ ถีชีวิตของประชาชน ทัsวไปให้ ต้องดิnนรนทํามาหากินมากขึnน จนบางครัnงอาจลืมหรือละเลยต่ อการคํานึ งถึงประโยชน์ หรื อ คุณค่าทางโภชนาการทีsร่างกายควรได้ รับในแต่ ละมืn อ หรื อในแต่ ละวัน และบ่ อยครัnงทีsเราเลือกซืnอหรือ บริโภคอาหารเพียงเพราะว่ าสะดวก หรือตามทีsมีขาย เช่ น การซืnออาหารสําเร็จรูปแทนการทําอาหาร รับประทานเองทุกวั น หรือเป็ นส่วนมาก เนืs องจากสะดวกหรือไม่ มีเวลาทําเอง เป็ นต้ น ซึsงอาจไม่ได้ คุณค่าทางอาหารทางโภชนาการครบตามทีsร่างกายต้ องการได้ 3. พฤติกรรมการออกกําลังกาย การพัฒนาประเทศจากเดิมทีsเน้ นการพัฒนาเศรษฐกิจเป็ นเป้ าหมายหลักนัn น ต่ อมานั บตัnงแต่ แผนพั ฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับทีs 8 (พ.ศ.2540 – 2544) เป็ นต้ นมา ได้ เปลีsยน ทิศทางมาสู่การพัฒนาคนมากขึnน คนเป็ นผู้กาํ หนดทิศทางการพัฒนา มีการกําหนดแนวทางการพัฒนา 2 ด้ าน ได้ แก่ การพัฒนาศักยภาพของคนทัnงร่ างกาย สติปัญญาและจิ ตใจ เพืs อให้ มีคุณภาพชีวิตทีsดี และมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาได้ อย่างมีประสิทธิภาพควบคู่ไปกับการพัฒนาสิsงแวดล้ อม ดังนัnน การพั ฒ นาสุข ภาพและพลานามั ย ของคนจึ ง เป็ นองค์ ประกอบและพืn นฐานสํา คั ญ ของการพั ฒ นา ศักยภาพของคน (นิคม มูลเมือง, 2541 : 55) การออกกําลังกายเป็ นการทําให้ ร่างกายได้ ใช้ กาํ ลังงานเพืsอให้ ร่างกายทัnงหมด หรือส่วนใดส่ วน หนึsงได้ เคลืsอนไหว หรือเป็ นกระบวนการทีsทาํ ให้ คนเกิดการเคลืsอนไหว เพืsอให้ อวัยวะและระบบต่างๆ ใน ร่างกายพร้ อมทีsจะทํางานได้ อย่างมีประสิทธิภาพโดยทีsกจิ กรรมทีsเลือกมานัnนต้ องเหมาะสมกับวั ย เพศ และสภาพความพร้ อมของร่ างกายเพืs อช่ วยกระตุ่นให้ อวั ยวะต่ างๆ มีสมรรถภาพในการทําหน้ าทีsทsีดี ยิsงขึnน จะเห็นได้ ว่าการออกกําลังกายนัnนเป็ นการช่วยเสริ มสร้ างสุขภาพ และส่ งผลโดยตรงต่ อคุ ณภาพ ชีวิตของประชาชนทุกคน จึงควรทีsจะส่งเสริมให้ ประชาชนทุกคนได้ ตระหนักและเห็นคุ ณค่ าของการออก กําลังกาย เพืsอเป็ นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตประชาชนอีกทางหนึsงด้ วย 4. พฤติกรรมการจัดการความเครียด ในสภาวะเศรษฐกิจและสังคมปัจจุ บันมีการเปลีsยนแปลงทีsรวดเร็ว และมี การแข่ งขันสูง ซึsงเป็ น ผลสืบเนืs องมาจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่ างต่ อเนืs องและรวดเร็ว แต่ เมืsอเกิดภาวะเศรษฐกิจ ถดถอยเกิดสภาวะการว่ างงานมากขึnน บางคนมีหนีn สินมากทําให้ ประชาชนเผชิญกับความเครียด ซึsง ต้ องต้ องอาศัยการปรับตัวอย่างมาด ถ้ าประชาชนไม่สามารถปรับตัวได้ ตามสถานการณ์กอ็ าจทําให้ เกิด ความเครี ยดและนํา ไปสู่ปัญ หาสุข ภาพจิ ต ได้ และมี แนวโน้ มทีsปัญ หา ทางด้ านสุ ขภาพจิ ต จะสู งขึn น


โดยเฉพาะในประชาชนเขตเมื องหรื อเขตอุตสาหกรรม (อ้ างแล้ ว นิ คมมู ลเมือง, 2541 : 60) เมืsอเรา สังเกตได้ ว่ามีความเครียดเกิดขึnนแล้ ว จากลักษณะดังกล่าวข้ างต้ น เราควรหาวิธจี ัดการกับความเครียด อย่ างเหมาะสม เพืs อไม่ให้ เกิดผลเสียต่ างๆ ตามมาดังกล่ าว ซึsงในทีsนn ี จะขอเสนอวิ ธีการจั ดการกับ ความเครียด ดังนีn เช่น 1. เรียนรู้วิธพี ักผ่อน หางานอดิเรกทีsน่าสนใจทําในยามว่ าง รู้จักใช้ เวลาว่ างให้ เป็ นประโยชน์ 2. ควบคุมความเครียด และค้ นหารูปแบบของความเครียดทีsเหมาะสม ซึsงจะแตกต่ างกันใน แต่ละคน 3. ขจัดอารมณ์เสียออกไป โดยการผ่อนคลายหรือระบายความเครียดในทางทีsเหมาะสม เช่ น การพูด หรือระบายความรู้สึกไม่ พอใจ เศร้ าเสียใจ ท้ อแท้ สิnนหวั งให้ กับคนใกล้ ชิดฟั ง เพืs อให้ เกิด ความรู้สกึ ผ่อนคลาย และอาจทําให้ ได้ รับฟั งข้ อคิดเห็นทีsเป็ นประโยชน์มากขึnน 4. นอนพักผ่อนให้ เพียงพอ อย่างน้ อยวันละ 6 – 8 ชัsวโมง 5. แบ่งเวลาให้ เป็ น โดยควรทํางานอย่างเต็มทีsวันละ 8 ชัsวโมง การทํางานมากเกินไป จะเป็ น การเพิsมความเครียด และความเครียดจะสะสมมากขึnนถ้ าไม่ได้ รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ 6. การออกกําลังกาย เป็ นการลดความเครียดทีsได้ ผลดี โดยเฉพาะการออกกําลังกายแบบแอ โรบิค อย่างน้ อย 20 นาที (สมจิตรา เหง้ าเกษ, 2539 : 43) 7. หัดเป็ นคนใจกว้ าง ยอมรับฟั งความคิดเห็นของผู้อนืs มองคนโลกในแง่ดี 8. รู้จักการให้ และรับความรักและมิตรภาพ รู้จักให้ กาํ ลังใจตนเองและผู้อนืs 9. ควรหาเวลาอยู่คนเดียวบ้ างในแต่ละวัน และใช้ ชีวิตแบบเรียบง่าย 10. เข้ าร่วมกิจกรรมส่วนรวม และช่วยเหลืองานสังคมตามโอกาส 11. ฝึ กการสร้ างอารมณ์ขัน สร้ างจินตนาการในสิsงทีsต้องการความคิดเห็นเหล่ านีn จะส่งผลต่ อ ประสบการณ์และการกระทํา 12. เข้ าร่ วมกิจกรรมทางศาสนา ฝึ กทําสมาธิเพืsอความสงบและพักผ่อนอย่างแท้ จริง 13 การเปลีs ย นแปลงสภาพสิsง แวดล้ อ มเป็ นการเปลีs ย นบรรยากาศรอบตั ว บ้ า ง เช่ น บรรยากาศห้ องทํางานหรื อทีsบ้าน อาจมี การใช้ หลั ก 5 ส. เช่ น สะสาง สะอาด สะดวก สุขลักษณะและ สร้ างสุขนิ สัย เปลีsยนแปลงสิsงรอบตัวเท่าทีsเราจะทําได้ เช่ น ปลูกต้ นไม้ ทําสวน จั ดตู้ โต๊ะเตียงใหม่ รวมทัnงอาจหยุดไปพักผ่อนทัnงกาย ใจ อาจเป็ นทะเล ภูเขา สถานทีsสงบ วัด ชนบท เป็ นต้ น 5. พฤติกรรมการดู แลสุขภาพตนเองด้านการแสวงหาการรักษาพยาบาล การทีsบุคคลสามารถดู แลสภาวะสุขภาพของตนเองได้ อย่ างมี ประสิทธิภาพนัn น จําเป็ นต้ องใช้ ความรู้ ประสบการณ์ และทั กษะทีs ได้ สsั งสมมาตลอดชี วิต ในการทีs จะตัด สิน ใจว่ าจะทํา อย่ างไรใน สถานการณ์ทsกี าํ ลังคุกคามหรือทีsเผชิญอยู่ พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ถือเป็ นพฤติกรรมทีsเกิด จากการเรียนรู้ (Learned Behavior) ไม่ได้ เกิดจากสัญชาตญาณ หรือปฏิกิริยาสะท้ อนของระบบ ประสาท มนุ ษย์จะแสวงหาแนวทางทีsดีทsสี ดุ สําหรับตนเอง หากได้ ผลดีแล้ วก็จะขยายความคิดนัn นไปสู่ ผู้อนืs ในครอบครัว ชุมชน (เอืnอมพร ทองกระจาย, 2532 : 18)


การดู แลสุขภาพตนเองด้ านการแสวงหาการรักษาพยาบาลนัn น บุ คคลจะกระทําเมืsอเกิดการ รั บรู้ว่ามี สsิงผิดปกติเกิดขึnนกับตนเอง ซึs งอาจตัดสินใจด้ วยตนเอง หรื อสมาชิกในครอบครัว ในแต่ ละ บุคคลจะมีการตอบสนองต่ อความเจ็บป่ วยทีsแตกต่ างกัน ตัnงแต่ เกิดความตระหนั ก และประเมินผล เกีsยวกับอาการผิดปกติทsเี กิดขึnน รวมถึงการตัดสินใจทีsจะกระทําการใดๆ เกีsยวกับอาการทีsเกิดขึnนนัn น ตัnงแต่การรักษาด้ วยวิธีการของตนเอง หรือแสวงหาคําแนะนํา หรือการรักษาจากผู้อนืs ทัnงทีsเป็ นสามัญชน จากครอบครัว และเครือข่ายทางสังคม ตลอดจนจากบุคลากรทางสาธารณสุข พฤติกรรมสุขภาพที=สําคัญในอนาคต จากข้ อมูลทีsกล่ า วมา สามารถสรุปเป็ นข้ อทํานายอนาคตพฤติกรรมสุขภาพของคนไทยใน ทศวรรษหน้ า ตามแนวคิดของ จารุวรรณ นิพพานนท์, รศ. และคณะ (2550) ได้ ดังนีn 1. พฤติกรรมการบริโภคยาสูบของคนไทยในปี 2563 กลุ่มผู้ บริโภคยาสูบทีsมีการขยายตัว อย่างชัดเจน คือ กลุ่มวัยรุ่น และผู้หญิง ปัจจัยสําคัญคือ ตลาดยาสูบของโลกจะใช้ กลวิธตี ่างๆเข้ าถึงกลุ่ ม ผู้บริโภค ตลอดจน ราคาบุหรีsลดลง ทําให้ คนไทยหันมาบริโภคบุหรีsต่างประเทศมากขึnน และตลาดบุ หรีs ประเภทซิ การ์ มีแนวโน้ มขยายตัว ในระยะยาว ซึsง พฤติ กรรมการบริโภค ยาสู บมี ส่ วนสัม พั นธ์ กับ พฤติกรรมการบริโภคยาเสพติดเพราะการสูบบุหรีsนาํ ไปสู่การเสพสิsงเสพติดประเภทต่างๆ ได้ 2. พฤติกรรมการบริโภคสุราของคนไทยในปี 2563 คนไทยจะบริโภคสุราเพิs มขึnนทัnงปริมาณ และอัตรา ซึsงกลุ่มทีsขยายตัวอย่างชัดเจน คือกลุ่มวัยรุ่นและผู้หญิง ปัจจัยสําคัญทีsทาํ ให้ คนไทยบริโภค สุราเพิs มขึnน คือ นโยบายเปิ ดตลาดการผลิตสุราเสรี ตลอดจนการซืnอขายสุราได้ อย่ างสะดวกและ วัฒนธรรมไทยทีsถือว่ า การบริโภคสุราเป็ นการเข้ าสังคม 3. พฤติกรรมการบริโภคยาเสพติดของคนไทยในปี 2563 เป็ นปั ญหาสังคมทีsสาํ คัญพบ ปัญหาทุกพืnนทีs ทุกชุมชน การแพร่ ระบาดถึงกลุ่มเยาวชน ปั จจั ยสําคัญ คือ รูปแบบการตลาดทีsใช้ กล ยุทธ์ต่างๆ เพืsอให้ เข้ าถึงกลุ่มผู้เสพ เช่น เครือข่ายเชิงธุรกิจการขายตรง เป็ นต้ น 4. พฤติกรรมการบริโภคอาหารของคนไทยในปี 2563 แนวทางทีsส่งผลกระทบด้ านลบต่ อ สุขภาพ คือฐานะเศรษฐกิจทีsดีขn ึน ความสะดวกในการเลือกซืnออาหาร ไม่ มีเวลาประกอบอาหารทําให้ บริโภคอาหารนอกบ้ านมากขึnน ตลอดจนพฤติกรรมการบริ โภคตามตะวั นตก และสืsอโฆษณาทีsกระตุ้น และจู งใจให้ คนไทยบริโภคอาหารเสริมมากขึnนผลกระทบทีsเกิดขึnน คือ ทําให้ ขาดทัnงสารอาหารและ สารอาหารเกินความต้ องการ ส่วนการศึกษาทีsไม่ได้ รับการพัฒนาความเชืsอเกีsยวกับการบริโภคอาหารทีs ไม่เหมาะสมยังคงมีอยู่ นอกจากนีn ระบบเกษตรกรรมทีsมีการใช้ สารเคมี ยาปฏิชีวนะหรือฮอร์โมนเร่ ง การผลิตมากขึnน ทําให้ เป็ นโรคและเจ็บป่ วยจากสารเคมีและสารก่อมะเร็งเพิs มขึnน ส่วนแนวคิดทีsส่งผล ด้ า นบวกต่ อสุข ภาพ คือ แนวคิด การนํา อาหารมารั กษาโรคระบบการศึ กษาทีsครอบคลุ ม มีการ ตรวจสอบข้ อมูลข่ า วสาร กฎหมายและมาตรการต่ า งๆทีsเข้ มแข็ง ตลอดจนมี พลั งประชาสัง คมทีs เข้ มแข็งจนสามารถคานอํานาจของกลุ่มธุรกิจต่างๆ และความตืsนตัวในเรืsอง สุขภาพของคนไทยจะทํา ให้ คนไทยมีพฤติกรรมบริโภคอาหารทีsเหมาะสม


5. พฤติกรรมทางเพศของคนไทยในปี 2563 พบว่ า คนไทยจะมีเพศสัมพั นธ์แบบมี คู่นอน หลายคนและเปลีsยนคู่นอนสูง การมีเพศสัมพันธ์ตn ังแต่วัยเรียนและก่อนแต่งงานเป็ นเรืsองธรรมดา การมี เพศสัมพันธ์แบบ Heterosexual มีปริมาณเท่าๆกับ Homosexual และ Bisexual สถานบริการทางเพศมี รูปแบบหลากหลาย ปัจจัยทีsทาํ ให้ คนไทยมีพฤติกรรมเสีsยงทางเพศมากขึnน เพราะอิทธิพลจากการพัฒนา สู่ความทันสมัย การมุ่งเน้ นพัฒนาทางด้ านวัตถุนิยมและการพัฒนาทางเทคโนโลยีทsที นั สมัย คาดว่ าในปี 2563 ปั ญหาสาธารณสุขจากพฤติกรรมเสีsยงทางเพศ คือ โรคเอดส์จะลดความสําคัญเนืs องจากการ ค้ น พบวั ค ซีน แต่ โรคจากเพศสัมพั น ธ์ชนิ ดอืsน ๆ จะกลั บมาเป็ น ปั ญ หาสาธารณสุข ทีsสาํ คั ญ ของ พฤติกรรมทีsเสีsยงทางเพศ 6. พฤติกรรมความเครียดของคนไทยในปี 2563 คนไทยจะมีความเครียดมากขึnน จากสถิติ การฆ่าตัวตายในหมู่เยาวชน การฆ่าตัวตายเลียนแบบ อัตราโรคพิ ษสุราเรืnอรังและปั ญหาอาชญากรรม เพิsมขึnน ปัจจัยทีsทาํ ให้ คนไทยมีความเครียดมากขึnน คือ ปัจจัยสุขภาพ เพราะแนวโน้ มคนไทยจะมีปัญหา โรคเรืnอรังเพิsมสูงขึnน กลุ่มทีsมีความเครียดสูงคือ เด็กผู้สงู อายุ 7. พฤติกรรมการออกกําลังกายของคนไทยในปี 2536 คนไทยในสังคมเมืองจะออกกําลัง กายมากขึnน ส่วนคนในสังคมชนบท การออกกําลังกายจะผนวกเข้ าไปกับวิ ถีชีวิตของการประกอบ อาชีพ ปัจจัยทีsส่งเสริมให้ คนไทยออกกําลังกายเพิsมมากขึnน คือนโยบายส่งเสริมสุขภาพของรัฐบาล การ สร้ างสนามกีฬานโยบายส่งเสริมการแข่งขันกีฬาระดับชาติ การผ่อนคลายความเครียดและการกระจาย โอกาสทางการศึกษาเพิsมขึnน 3. งานวิจยั ที=เกีย= วข้อง จากการศึกษางานวิจัยทีsเกีsยวข้ องกับพฤติกรรมสุขภาพ และการดู แลสุขภาพตนเองจากหลาย แหล่งข้ อมูล พบข้ อมูลทีsเกีsยวข้ องกับสุขภาวะของพระสงฆ์ค่อนข้ างน้ อย คณะผู้วิจัย จึ งนําเสนอเฉพาะ ประเด็นทีsเกีsยวข้ องกับข้ อมูลลักษณะทางประชากรของพระสงฆ์หรือตัวแปรอิสระเท่านัnน ดังนีn รองศาสตราจารย์ นายแพทย์พิทยา จารุพูนผล (2547) ได้ ทาํ การวิจัยเรืs อง “ สุขภาวะของ พระภิ กษุ สงฆ์ในเขตกรุงเทพมหานคร ” โดยใช้ วิธีการสํารวจจากการตรวจสุขภาพเบืnองต้ น และ สัมภาษณ์พระภิกษุสงฆ์จาํ นวน 417 รูป จาก 31 วัดในเขตกรุงเทพฯ ซึsงส่วนใหญ่ อายุเฉลีsย 38 ปี ใน จํานวนนีnร้อยละ 60 เป็ นกลุ่มอายุ 20 – 40 ปี เฉลีsยบวชมาประมาณ 10 พรรษา โดยร้ อยละ 42 บวช น้ อย กว่ า 5 พรรษา พบว่ า พระภิกษุสงฆ์ส่วนใหญ่ มีนาํn หนักตัวเกินเกณฑ์ปกติมาก สูงถึงร้ อยละ 38.1 หรือ 159 รูป รองลงมาเป็ นนํnาหนั ก เกณฑ์ปกติ 37.6 หรือ 157 รูป และระดับตํsากว่ าเกณฑ์ร้อยละ 24.2 หรือ 101 รูป โดยในจํานวนนีn มีปัญหาความดันโลหิ ตสูงขัnนต้ น ร้ อยละ 23.4 หรือ 97 รูป และ จากการสํา รวจถึง พฤติ กรรมส่ง เสริ มและดู แลสุข ภาพของพระภิ กษุ พบว่ า มี ปัญหาค่ อนข้ างมาก เนืsองจากพระภิกษุสงฆ์เองไม่ ได้ ใส่ใจต่อเรืsองนีnเท่าทีsควร อย่างไรก็ดี ยังพบตัวเลขทีsน่าสนใจ เพราะยังมี พระภิกษุ สงฆ์ทsีต้องปรั บปรุงพฤติกรรมออกกําลังกายถึง 51.8 หรือสูงถึง 216 รูป ดังนัn น เมืs อ


วิเคราะห์ในภาพรวมพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของพระภิ กษุ สงฆ์ในกลุ่มตัวอย่ างส่วนใหญ่ จึ งอยู่ใน เกณฑ์ทsตี ้ องปรับปรุงมากทีsสดุ โดยสูงถึงร้ อยละ 90.9 อยู่ในเกณฑ์พอใช้ เพียงร้ อย 2.16 รองศาสตราจารย์ เนาวรัตน์ เจริญค้ า และคณะ (2547) ได้ ทาํ วิ จัยเชิงสํารวจเกีsยวการสูบ บุหรีsของพระสงฆ์ในประเทศไทย พบว่ า อัตราความชุกของการสูบบุหรีsในพระภิกษุสงฆ์ในภาพรวมของ ทัnงประเทศเป็ นร้ อยละ 24.4 โดยแตกต่ างกันสําหรั บแต่ ละภูมิภาค คือ อยู่ ในช่ วงร้ อยละ 14.6 สําหรับ ภาคเหนือ ถึงร้ อยละ 40.5 ในภาคตะวันออก ภาคทีsมีอัตราความชุ กของการสูบบุหรีsในพระภิกษุ สงฆ์ ค่ อนข้ างสูงได้ แก่ ภาคตะวันออก ภาคกลาง ภาคใต้ กรุงเทพมหานคร (ร้ อยละ 40.5, 40.2, 33.5, และ 29.7 ตามลําดับ) ส่วนภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนื อและ ภาคเหนื อ มีอัตราความชุ ก เป็ น 22.8, 20.4, และ 14.6 ตามลําดับ เป็ นทีsน่าสังเกตว่ า ภาคทีsมีอตั ราความชุกของการสูบบุหรีsในพระภิกษุสงฆ์ค่อนข้ างสูงนัn น ส่วน ใหญ่ เป็ นพระภิ กษุ มากกว่ า สามเณร และเป็ นพระทีsค่อนข้ า งมีอายุ แม้ ว่า พระภิ กษุ จ ะทราบและ ตระหนักถึงกฎระเบียบเกีsยวกับการสูบบุ หรีsในศาสนสถาน ผลทีsมีต่อสุขภาพ และภาพลักษณ์ในทาง ลบของการสูบบุ หรีs แต่ กย็ ังมีพระสงฆ์จํานวนมากทีsยังติดบุ หรีsอยู่ ซึsงอาจเป็ นความแตกต่ างระหว่ าง ลักษณะการสูบบุ หรีsของพระสงฆ์ในเขตเมืองกับเขตชนบท พระสงฆ์ทsีสูบบุ หรีsมากกว่ า ร้ อยละ 90 รายงานว่ าเริsมสูบบุหรีsมาตัnงแต่ก่อนบวช พระสงฆ์ทsีมาจากภาคทีsมีความชุกของการสูบบุหรีs ค่อนข้ างสูง ระดับของการติดบุ หรีs สูงกว่ าภาคอืsน ๆ คือต้ องสูบบุห รีs มวนแรกหลั งจากตืsน นอน ภายในครึs งชัsวโมง เหตุ ผลทีs สูบบุหรีs เนืs องมาจากความเครีย ด และรายงานว่ าการสูบบุ หรีsมีผลต่ อสุข ภาพ มากกว่ า พระสงฆ์ทsมี าจากภาคทีsมีความชุกตํsา ประมาณร้ อยละ 60 ของพระสงฆ์ทsีเคยสูบบุหรีs เลิกสูบในระหว่ าง ทีsบวชอยู่ ส่วนใหญ่ เลิกมาได้ เกินกว่ า 5 ปี แล้ ว โดยใช้ ความพยายาม 1 – 2 ครัnงจึ งเลิกได้ สาํ เร็จ และ เคยได้ รับคําแนะนําจากพระรูปอืsน ญาติโยม และ แพทย์/พยาบาล พระสงฆ์ส่วนใหญ่ ใช้ วิธีเลิกด้ วย ตนเองหรือ ค่อยๆ ลดจํานวนบุหรีsทsสี บู ลง ปัจจัยทีsมีความสัมพันธ์กบั การสูบบุหรีsของพระภิ กษุ สงฆ์ได้ แก่ อายุ สถานภาพ (พระภิ กษุ / สามเณร) ระยะเวลาทีsบวช และประเภทวั ด (พระอารามหลวง/วั ดราษฎร์) พระสงฆ์ทsีมีระดั บ การศึกษาทางโลกสูง มีแนวโน้ มทีsจะสูบบุ หรีsน้อย พระสงฆ์ส่วนใหญ่ เริsมสูบบุ หรีsตnังแต่ ก่อนบวช และ พระสงฆ์ทsเี คยสูบบุหรีsร้อยละ 60 เลิกสูบบุหรีsในขณะทีsยังบวชอยู่ พระสงฆ์ส่วนใหญ่ มีความต้ องการทีs จะลด ละ เลิก การสูบบุหรีs ประมาณร้ อยละ 44 ของพระสงฆ์ทsีสูบบุ หรีs ให้ เหตุผลว่ าไม่ สามารถเลิก บุ หรีsได้ เ นืs องจากไม่ ทราบวิ ธีและไม่ เ คยได้ รับคํา แนะนําเกีsย วกับการเลิกบุ หรีs ในหนึs งปี ทีsผ่านมามี พระสงฆ์ร้อยละ 52 เคยพยายามเลิกบุหรีs ซึsงเป็ นตัวเลขทีsสูงว่ าในประชาชนทัsวไป ร้ อยละ 72.5 ของ พระสงฆ์ทsสี บู บุหรีsต้องการทีsจะเลิกสูบบุหรีs พระสงฆ์ทsสี าํ รวจในการศึกษาครัnงนีn ร้ อยละ 80 เสนอให้ มี การรณรงค์ไม่ให้ ญาติโยมถวายบุหรีsแก่พระสงฆ์ และอีกร้ อยละ 91 เสนอให้ ส่งเสริมพระสงฆ์ทsสี บู บุ หรีs อยู่ให้ เลิกสูบ นายแพทย์ มานพ ศิริมหาราช (2548) เปิ ดเผยผลการเก็บข้ อมู ลสุขภาพของพระสงฆ์ ด้ าน สถานการณ์อาพาธของพระสงฆ์ในส่วนของโรงพยาบาลสงฆ์ว่า แต่ละปี มีพระสงฆ์อาพาธเข้ ารับการตรวจ


ประมาณ 70,000 – 80,000 รูป โดยสถิติข้อมูลผู้ป่วยนอกพบว่า โรคทีsพระสงฆ์อาพาธมากทีsสุด 10 อันดับ คือ โรคความดันโลหิ ตสูง, โรคเบาหวาน, โรคถุงลมโป่ งพอง, โรคกระดู กเสืsอม, โรคข้ อเข่ า เสือs ม, โรคหั วใจและหลอดเลือด, โรคไขมันในหลอดเลือดสูง, โรคฟั นผุ , โรคเกีsยวกับตา เช่ น ต้ อ กระจก, โรคเหงือกอักเสบ และโรคท้ องเสีย โดยพบว่ า โรคทีsพระสงฆ์อาพาธเป็ นโรคทีsเกิดจากปั จจั ย ภายนอก เช่น โรคถุงลมโป่ งพอง, โรคความดันโลหิ ตสูง และโรคเบาหวาน คิดเป็ นสัดส่วนประมาณ 25 – 30% ของพระสงฆ์อาพาธทีsเข้ ารับการรักษา โดยสาเหตุการอาพาธส่วนใหญ่ มาจากพฤติกรรมการบริโภค โดยเฉพาะการถวายภั ตตาหาร ของพุทธศาสนิกชนทีsบางส่วนอาจจะถวายภัตตาหารทีsเค็มจัด มันจัด หรือหวานจัด จนเป็ นปัจจั ยทีsมีส่วน ทําให้ พระสงฆ์อาพาธ เพราะอาหารทีsมีรสเค็มจัดจะทําให้ เป็ นความดันโลหิ ตสูงได้ ส่วนอาหารทีsหวาน จัด หากพระสงฆ์มีพันธุกรรมทีsเป็ นโรคเบาหวานอยู่แล้ ว ยิsงจะเป็ นส่วนเสริมให้ เป็ นโรคเบาหวานได้ ง่าย ขึnน และในส่วนของอาหารทีsมันจนเกินไป จะทําให้ เป็ นโรคไขมันในเลือดสูงและไขมันอุดตันในเส้ น เลือดได้ สุกญ ั ญา จงเอกวุฒิ และคณะ (2548) ได้ จัดทําโครงการวิจัยสร้ างเสริมสุขภาพสําหรับพระภิกษุ ตามแนวพระพุทธศาสนา จังหวัดอ่างทอง โดยมี วัตถุประสงค์ เพืsอศึกษาปั ญหาสุขภาพและสมรรถภาพ ทางกายของพระภิกษุ เพืsอศึกษาวิจัยและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของพระภิกษุจังหวัดอ่างทอง และเพืsอ พัฒนาคู่มือการสร้ างเสริมสุขภาพสําหรับพระภิ กษุ ตามแนวพุทธศาสนาโดยมีส่วนร่ วมของพระภิ กษุ พบว่ า พระภิกษุร้อยละ 81.8 ไม่เคยตรวจสุขภาพ ร้ อยละ 45.79 มีโรคประจําตัว ร้ อยละ 53.1 ฉั น กาแฟ ร้ อยละ 51.2 ดืsมเครืsองดืsมบํารุงสุขภาพ ร้ อยละ 48.8 ดืsมเครืsองบํารุงกําลัง และร้ อยละ 42.7 สูบบุหรีs นอกจากนีnยังพบว่ า พระภิกษุมีระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตอยู่ในเกณฑ์ตsาํ กว่ าปกติ และสว่ นใหญ่ เป็ นโรคเกีsยวกับกระดูก โรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน โรงพยาบาลสงฆ์ กรมการแพทย์ (2549) ได้ จัดทําโครงการเพืs อพั ฒนาสุขภาพของพระสงฆ์ – สามเณรให้ ยsังยืนแบบองค์รวม เนืsองในโอกาสงานฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 60 ปี ระยะทีs 1 (ดําเนิ นการระหว่ างเดือน กรกฎาคม – มี นาคม 2549) พบว่ า พระภิกษุ มีลักษณะ นิสัยในการเป็ นอยู่ทsีเอืnอต่อการมีสุขภาพทีsดีค่อนข้ างน้ อย ดังนัnน พระสงฆ์ไม่ ค่อยออกกําลั งกาย โดยออก กําลั งนานๆ ครัnง ร้ อยละ 44.4 ไม่ เคยออกกําลังกายเลย ร้ อยละ 17.5 และมีการออกกําลังกาย สมํsาเสมอเพียง 3 ครัnงต่อสัปดาห์คิดเป็ นร้ อยละ 8.7 ส่วนผลการตรวจทางห้ องปฏิบัติการ พบว่า ดัชนี มวลกาย BMI (Body Mass Index) น้ อยเกินไป คิดเป็ นร้ อยละ 17.7 ผลการตรวจปัสสาวะผิดปกติ ร้ อย ละ 10.9 ผลการตรวจเลื อดผิดปกติ ร้ อยละ 37.1 ผลการตรวจเลื อดทางเคมี พบว่ า ระดับนํnาตาลใน เลือดผิดปกติ ร้ อยละ 23.6 ไตผิดปกติ ร้ อยละ 11.1 ไขมันผิดปกติ ร้ อยละ 66.8 ตับผิดปกติ ร้ อยละ 16.1 เอกซเรย์ปอดผิดปกติ ร้ อยละ 12.5 กระทรวงสาธารณสุข (2550) ได้ ทาํ การสํารวจ “ ภาวะสุขภาพพระภิกษุ และสามเณร ” โดยใช้ ประชากรพระภิกษุและสามเณรทัsวประเทศ พบว่ า พระภิกษุประมาณร้ อยละ 4 หรือประมาณ 12,000 รูป มีปัญหาในการงอเข่ า คุ กเข่ า, ร้ อยละ 7 มีอาการปวดหลัง ปวดเอว หรือปวดเมืs อยร่ างกาย


นอกจากนีn พบว่ า พระภิกษุ ร้อยละ 8 ต้ องใช้ ยาแก้ ปวดเป็ นประจํา โดยมี ร้อยละ 6 หรือประมาณ 18,000 รูป ทีsอาพาธจนไม่สามารถปฏิบัติศาสนกิจได้ ตามปกติ จากผลการสํารวจนีn กระทรวงสาธารณสุขจึงมี นโยบายพัฒนาวัดทัsวประเทศ ให้ เป็ นวั ดส่งเสริม สุขภาพของประชาชนตัnงแต่เกิดจนตาย เพืsอสร้ างความเข้ มแข็งของชุมชนและสังคมมีความมัsนคง โดย มุ่งเน้ นองค์ประกอบ 3 อย่ าง คือ บ้ าน วั ด โรงเรียน (บวร) โดยวั ดจะเป็ นสถานทีsกล่ อมเกลา หล่ อ หลอม และพั ฒนาด้ านจิ ตใจ เพืs อสร้ างพลังแห่ งสติปัญญา จนสามารถช่ วยคลีsคลายปั ญหาในชุ มชน และเป็ นทีsพsึงของชุมชนได้ และขณะเดียวกันสุขภาพพระภิกษุและสามเณรต้ องดีเป็ นเบืnองต้ นด้ วย โดย ดําเนิ นการตรวจสุขภาพพระภิ กษุ และสามเณร จั ดการส่งเสริมสุขภาพเพืs อลดพฤติกรรมเสีsยง และ ส่งเสริมการออกกําลั งกายตามความเหมาะสม ซึsงหากมี การปฏิบัติตัว ทีsดีจ ะทํา ให้ ลดอาการต่ างๆ เหล่านีnได้ รวมทัnงพระภิกษุสามารถเทศนาถ่ายทอดความรู้เรืsองการดูแลสุขภาพให้ แก่ประชาชนด้ วย กองสุขศึกษา กรมสนั บสนุ นบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข (2550) ได้ ทาํ การสํารวจ ภาวะสุขภาพของพระสงฆ์ โดยการตรวจสุขภาพพระสงฆ์ – สามเณร ในเขตกรุงเทพมหานคร เพืs อคัด กรองโรคต่ างๆ 28 วั ด จํานวน 1,000 รูป พบกว่ าร้ อยละ 90 ของพระสงฆ์–สามเณร ทีsเข้ ารับการ ตรวจสุขภาพ มีปัญหาในช่ องปาก ได้ แก่ ฟั นผุ รองลงมาร้ อยละ 15 ป่ วยเป็ นโรคเรืnอรัง ได้ แก่ โรค ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคปวดเมืsอย ปวดหลัง โรคข้ อเข่ าอักเสบ มีพระภิ กษุ อีก ร้ อยละ 13 อยู่ในภาวะเสีsยงในการเป็ นโรค ต้ องได้ รับการดู แลรักษาอย่ างต่ อเนืs อง ในขณะทีsผลการ สํารวจสุขภาพพระเมืsอ พ.ศ.2543 พบว่ า ร้ อยละ 49 มีปัญหาสุขภาพ โดยมีพระสงฆ์ – สามเณร อาพาธจนไม่สามารถปฏิบัติศาสนกิจได้ ร้อยละ 6 ต้ องนอนโรงพยาบาลร้ อยละ 1 จารินี ยศปัญญา และวั นเพ็ญ ศิวารมย์ (2550) ได้ ศึกษา รูปแบบการดู แลสุขภาพองค์รวม ของพระภิกษุ สามเณรวัดส่ งเสริ มสุขภาพในพืnนทีsรับผิดชอบศูนย์อนามั ยทีs 6 กรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข (ขอนแก่น) พบว่ า พระภิกษุสามเณรมีค่าดัชนีมวลกายปกติ ร้ อยละ 69.5 รอบเอวปกติ ร้ อยละ 98.3 ร้ อยละ 84.7 ไม่มีโรคประจําตัว ทีsมีโรคประจําตัวส่วนใหญ่ เป็ นโรคเก๊าท์และเบาหวาน ในเรืsองความรู้ในการดูแลสุขภาพของพระภิกษุสามเณร พบว่ า หลังการดําเนิ นการจั ดเสวนาเรืsองการ ดู แลสุขภาพองค์รวมในพระภิ กษุ สามเณร และถวายคู่ มือการดู แลสุขภาพองค์รวมสําหรับพระภิ กษุ สามเณรแล้ ว พบว่ า พระภิกษุสามเณรมีความเข้ าใจเกีsยวกับการดูแลสุขภาพองค์รวม ในเรืsองอาหารทีs เป็ นปั จจั ยเสีsยงต่ อการเกิดโรคความดันโลหิ ต สูง และอาหารทีsไม่ ส่งเสริมสุขภาพ แตกต่ างอย่ างมี นัยสําคัญทางสถิติ (P < 0.001 และ P = 0.008 ตามลําดับ) ส่วนเรืsองการเกิดโรคฟั นผุ โรคติดต่ อ ทางนําn ลาย การออกกําลังกายเพืsอสุขภาพ ปัจจัยเสีsยงต่ อการเกิดโรคเบาหวานและการป้ องกันโรคทีs ติดต่ อทางนํnาลาย เพิs มขึnนอย่ างไม่ มีนัยสําคัญทางสถิติ ส่วนการปฏิบัติตัวเกีsยวกับการดู แลสุขภาพ ตนเองของพระภิ กษุ สามเณร ในด้ า นพฤติกรรมเสีsย งต่ อสุข ภาพ ได้ แก่ 1) การสูบบุ หรีs ก่อน ดําเนิ นการมีการสูบบุ หรีsทุกวั น ร้ อยละ 30.5 หลังดําเนิ นการลดลงเหลือ ร้ อยละ 28.8 อย่ างมี นัยสําคัญทางสถิติ (P = 0.046) 2) การฉันชา กาแฟ เครืsองดืsมชูกาํ ลัง ก่อนดําเนิ นการ มีการฉั นทุก วัน ร้ อยละ 28.8 หลังดําเนินการลดลงเหลือร้ อยละ 25.4 อย่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิติ 3) การใช้ ช้อน


กลางตักอาหาร ก่อนดําเนินการมีการปฏิบัติ ร้ อยละ 50.0 หลังดําเนิ นการเพิs มขึnนเป็ น ร้ อยละ 59.6 อย่ างมีนัยสําคัญทางสถิติ (P = 0.260) 4) การล้ างมื อด้ วยนํnาและสบู่ก่อนฉั นอาหารและหลั งใช้ ส้วม ก่อนดําเนิ นการมีการปฏิบัติทุกครัnง ร้ อยละ 81.0 หลังดําเนิ นการมีการปฏิบัติเพิs มขึnนเป็ นร้ อยละ 81.4 ด้ านพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ ได้ แก่ 1) การฉันเครืsองดืsมบํารุงสุขภาพ ก่อนดําเนิ นการมีการ ฉันทุกวัน ร้ อยละ 32.2 ฉันเป็ นครัnงคราว ร้ อยละ 59.3 หลังดําเนิ นการมีการฉั นทุกวั น ร้ อยละ 22.4 ฉันเป็ นครัnงคราว ร้ อยละ 74.4 2) การฉันผัก ผลไม้ ก่อนดําเนินการมีการฉันผักผลไม้ เป็ นประจําทุก วั น ร้ อยละ 66.0 หลังดําเนิ นการเพิs มขึnนเป็ น ร้ อยละ 67.8 3) การดู แลสุขภาพช่ องปาก ก่อน ดําเนินการมีการแปรงฟั นทุกเช้ า หลังฉันเพลและก่อนนอน ร้ อยละ 53.4 หลังดําเนินการเพิsมขึnนเป็ น ร้ อยละ 55.2 4) การไปพบหมอฟั นในรอบ 1 ปี ทีsผ่านมา ส่วนใหญ่ มีการไปพบเพืs อตรวจสุขภาพฟั น ร้ อยละ 20.3 5) การออกกําลังกาย ก่อนดําเนิ นการมีพฤติกรรมการออกกําลังกายตามกิจของสงฆ์ ได้ แก่ การเดินบิณฑบาตและการกวาดลานวั ดร้ อยละ 83.1 และ 78.0 ตามลําดับ หลังดําเนิ นการมี การออกกําลังกายทัnงสองวิ ธีเพิs มขึnนเป็ น ร้ อยละ 89.8 และ 88.1 ตามลําดับ 6) การนอนหลับ พักผ่อน พบว่ า มีการนอนในเวลากลางคืนนาน 8 ชัsวโมงไม่เปลีsยนแปลงมากนั ก โดยก่อนดําเนิ นการ ปฏิบัติ ร้ อยละ 33.3 หลังดําเนินการปฏิบัติ ร้ อยละ 32.2 ในเรืs องการส่ งเสริ มภาวะโภชนาการแก่พระภิกษุ – สามเณรโดยชุมชน พบว่ า อาหารทีsนํามา ถวายพระส่วนใหญ่ญาติโยมทีsนาํ มาถวายปรุงประกอบเอง ร้ อยละ 68.4 รองลงมา เป็ นการปรุงประกอบ เองและซืnออาหารสําเร็จจากตลาด ประเภทของอาหารทีsนาํ มาถวายพระภิกษุสามเณรส่วนมากเป็ นอาหาร ประเภทต้ ม แกง รองลงมาเป็ นอาหารประเภทผัก ในส่วนของความรู้ด้านสุขาภิ บาลอาหารและสุข วิ ทยาส่วนบุ คคลของ ญาติโยมทีsปรุงประกอบอาหารมาถวายพระภิ กษุ สามเณรเป็ นประจํา พบว่ า มี ความรู้ในเรืsองการหยิบจับภาชนะอุปกรณ์มากทีsสุด รองลงมา ได้ แก่ การล้ างมือและการจั ดเก็บอาหาร สดและอาหารแห้ ง ตามลําดับ สรุปได้ ว่า จากผลการศึกษาภาวะสุขภาพของพระภิกษุในรอบหลายปี ทีsผ่านมา พบว่ า พระภิกษุ ส่วนใหญ่มีปัญหาด้ านสุขภาพเกือบทุกด้ าน และอยู่ในภาวะเสีsยงต่ อการเป็ นโรคอีกเป็ นจํานวนมาก โดย ปั ญหาเหล่ านีn ส่ วนใหญ่ เกิด จากพฤติกรรมการบริ โ ภคอาหาร การไม่ ได้ ออกกําลังกาย การนัs งเป็ น เวลานานๆ และไม่ได้ รับการดูแลเรืsองสุขภาวะอย่างถูกต้ อง


บทที= 3 ระเบียบวิธีวิจยั รูปแบบการวิจยั การวิจัยครัnงนีnใช้ รูปแบบการวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง (Cross-Section study) แบ่ง การวิจัยออกเป็ น 2 ระยะ ดังนีn ระยะที= 1 การประเมินสุขภาพจิตตนเองของพระสงฆ์ ระยะที= 2 การตรวจสุขภาพร่างกายทัsวไปโดยแพทย์และพยาบาล กลุ่มประชากร ประชากรทีsใช้ ในการศึกษา ประกอบด้ วย พระสงฆ์ทsจี าํ พรรษาในจังหวัดกาฬสินธุ์ สังกัดทัnง นิกายธรรมยุตและมหานิกายในช่วงวันทีs 1 กรกฎาคม 2552-30 กันยายน 2552 จํานวน 3,607 รูป กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้ วย พระสงฆ์ทsจี าํ พรรษาในจังหวัดกาฬสินธุ์ สังกัดทัnงนิกายธรรมยุต และมหานิกาย ในช่วงวันทีs 1 กรกฎาคม 2552- 30 กันยายน 2552 ได้ มาโดยวิ ธีการเลือกแบบ เฉพาะเจาะจง (พระสงฆ์ทsสี มัครใจเข้ าร่วมโครงการฯ) จํานวน 2,206 รูป เครือ= งมือที=ใช้ในการวิจยั ใช้ แบบตรวจประเมินสุขภาวะของพระสงฆ์และแบบประเมินสุขภาพจิ ตตนเองของพระสงฆ์ สร้ างขึnนโดยกรมอนามัย กระทรวงส่าธารณสุข ประกอบด้ วย ส่วนที= 1 ข้ อมูลทัsวไป ส่วนที= 2 แบบประเมินสุขภาพจิตตนเองของพระสงฆ์ จํานวน 28 ข้ อ ส่วนที= 3 แบบตรวจร่างกายและวิ นิจฉั ยโรคทัsวไป ประกอบด้ วย ค่ าดัชนี มวลกาย ภาวะ โรคอ้ วน ค่านําn ตาล ในเลือด ค่าความดันโลหิตสูง ผลทางห้ องปฏิบัติการ (ตรวจเลือดและตรวจหา พยาธิ) ผลเอกซเรย์ และการวินิจฉัยโรคทัsวไป ประกอบด้ วย สุขภาพแข็งแรง โรคทีsเป็ น (Clinical Disease) และโรคทีsมีความเสีsยง (Asymptomatic Disease) สถิติที=ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มู ล ได้แก่ เชิงพรรณนาและสถิติวิเคราะห์ ระยะเวลาที=ใช้ในการวิจยั ดําเนินการวิจัยระหว่ างวันทีs 1 กรกฏาคม 2552 -30 กันยายน 2552


บทที= 4 ผลการศึกษาวิจยั ผลการศึกษา ข้อมู ลทัว= ไป พบว่ า พระสงฆ์ฝ่ายมหานิ กายมากทีsสุด คิ ดเป็ น ร้ อยละ 51.49 มีอายุ เฉลีsย 56.9 ปี จํานวนพรรษาทีsบวช 11-15 พรรษามากทีsสุด คิดเป็ นร้ อยละ 33.36 รองลงมา มากกว่ า 15 พรรษา ร้ อยละ 32.60 ระดั บ การศึ กษาทางธรรม จบนั ก ธรรมตรี ม ากทีs สุด คิ ด เป็ นร้ อ ยละ 52.45 และระดั บ การศึกษาทางโลก จบชัnนประถมศึกษามากทีsสดุ คิดเป็ นร้ อยละ 26.70 พระสงฆ์ปัจจุ บันยังสูบบุหรีs และเคยดืsมเครืsองดืsมแอลกอฮอล์ คิดเป็ นร้ อยละ 34.68 และ 36.63 อีกทัnง พบว่ า พระสงฆ์ไม่ได้ ออกกําลังกายมากทีsสดุ คิดเป็ นร้ อยละ 45.42 และพระสงฆ์ทsี ออกกําลังกายมีรูปแบบการออกกําลังกาย คือ เดินรอบวิหาร/อุโบสถ/บริเวณวั ดมากทีsสุด คิดเป็ น ร้ อยละ 56.98 รองลงมา ร้ อยละ 33.47 ใช้ เครืsองช่วยออกกําลังกาย (รายละเอียดตามตารางทีs 1) ตารางที= 1 ข้ อมูลทัsวไป ตรวจสุขภาพทัว= ไป 1.วัด -วัดบ้ าน (มหานิกาย) -วัดป่ า (ธรรมยุต) 2.อายุ -20-45 ปี -46-60 ปี -61 ปี ขึnนไป 3.จํ านวนพรรษาที=บวช -1-5 พรรษา -6-10 พรรษา -11-15 พรรษา -มากกว่ า 15 พรรษา 4.ระดับการศึกษาทางธรรม -ไม่ได้ ศึกษา

จํ านวน/ร้อยละของพระสงฆ์ จํ านวน ร้อยละ 1136 1070

51.49 48.51

608 573 1025

27.56 25.98 46.46

423 328 736 719

19.17 14.87 33.36 32.60

173

7.84


ตรวจสุขภาพทัว= ไป -นักธรรมตรี -นักธรรมโท -นักธรรมเอก 5.ระดับการศึกษาทางโลก -ไม่ได้ ศึกษา -ประถมศึกษา -มัธยมศึกษา -อนุ ปริญญา -ปริญญาตรี -สูงกว่ าปริญญาตรี 6.สูบบุ หรี= -ไม่สบู -เคยสูบ แต่เลิกแล้ ว -ปัจจุบันยังสูบอยู่ 7.ดืม= เครือ= งดืม= แอลกอฮอล์ -ไม่เคย -เคย 8.โรคประจํ าตัว -ไม่มี -มี 9.รับประทานยาประจํ า -ไม่มี -มี 10.เข้ารับบริการตรวจสุขภาพประจํ าปี -ไม่เคย -เคยประจําทุกปี ตามแพทย์นัด -เคยเป็ นครัnงคราว (ทุก 2-3 ปี ) 11.การออกกําลังกาย -ไม่ได้ ออกกําลังกาย -นานๆ ครัnง ไม่สมํsาเสมอ

จํ านวน/ร้อยละของพระสงฆ์ จํ านวน ร้อยละ 1,157 52.45 569 25.79 307 13.92 197 589 524 312 355 229

8.93 26.70 23.75 14.14 16.09 10.38

829 612 765

37.58 27.74 34.68

1,398 808

63.37 36.63

2,006 200

90.90 9.10

1,521 685

68.9 31.1

1,668 102 436

75.60 4.62 19.76

1,002 369

45.42 16.72


ตรวจสุขภาพทัว= ไป -ประมาณ 1-2 ครัnงต่อสัปดาห์ -ประมาณ 3 ครัnงต่อสัปดาห์ -ประจําทุกวัน หรือ มากกว่ า 3 ครัnงต่อ สัปดาห์ 12. รูปแบบการออกกําลังกาย -เดินรอบวิหาร/อุโบสถ/บริเวณวัด -กายบริหาร -ใช้เครือ' งช่วยออกกําลังกาย

จํ านวน/ร้อยละของพระสงฆ์ จํ านวน ร้อยละ 218 9.88 173 7.84 444 20.13

686 115 403

56.98 9.55 33.47

ระยะที= 1 การประเมินสุขภาพจิ ตตนเองของพระสงฆ์ พบว่ า พระสงฆ์มีระดับสุขภาพจิตและความเครียดโดยรวมอยู่ในระดับน้ อย (X=1.54) เมืsอ พิจารณาในรายละเอียด พบว่ า พระสงฆ์ร้ ูสกึ สบายและมีสขุ ภาพดีอยู่ในระดับปานกลาง (X=2.02) และทําอะไรช้ ากว่ าปกติอยู่ในระดับปานกลาง (X= 2.10) เมืsอพิจารณารายด้ าน พบว่ า พระสงฆ์ร้ ูสึกสบายและมีสุขภาพดีในระดับน้ อยมากทีsสุด คิดเป็ นร้ อยละ 73.2 รองลงมา ร้ อยละ 12.9 รู้สึกสบายและมีสุขภาพดีในระดับปกติ และรู้สึกสบายและมีสุขภาพดีในระดับปาน กลางและระดับมาก คิดเป็ นร้ อยละ 12.5 และ 1.4 ตามลําดับ พระสงฆ์ ร้ อยละ 43.2 รู้สกึ ต้ องการยาบํารุงให้ มีกาํ ลังวั งชาในระดับปกติ รองลงมา รู้สึก ต้ องการยาบํารุงให้ มีกาํ ลังวังชาระดับน้ อย คิดเป็ นร้ อยละ 35.4 และรู้สึกต้ องการยาบํารุงให้ มีกาํ ลัง วังชาระดับปานกลางและระดับมาก คิดเป็ นร้ อยละ 16.4 และ 5.1 ตามลําดับ รู้สกึ ไม่สบายมากทีsสดุ อยู่ในระดับปกติ ร้ อยละ 50.4 และร้ อยละ 59.7 รู้สึกเจ็บและปวด บริเวณศีรษะมากทีsสดุ อยู่ในระดับปกติ รู้สึกตึงหรือคล้ ายมีแรงกดทีsศีรษะมากทีsสุดอยู่ในระดับปกติ ร้ อยละ 62.3 และร้ อยละ 47.1 รู้สึกสุขภาพทรุดโทรมและสุขภาพไม่ ดีอยู่ในระดับปกติมากทีsสุด รวมทัnงมีอาการวูบร้ อนหรือหนาวอยู่ในระดับปกติมากทีsสุด คิดเป็ นร้ อยละ 69.5 และรู้สึกกลัวหรือ ตกใจ โดยไม่มีเหตุผลสมควร คิดเป็ นร้ อยละ 73.7 รู้สกึ นอนไม่หลับเพราะกังวลใจอยู่ในระดับปกติมากทีsสดุ คิดเป็ นร้ อยละ 63.5 ไม่ สามารถ หลับได้ สนิทหลังจากหลับไปแล้ วอยู่ในระดับปกติมากทีsสดุ คิดเป็ นร้ อยละ 63.1 และร้ อยละ 71.8 รู้สกึ ตึงเครียดอยู่ตลอดเวลาอยู่ในระดับปกติ รู้สึกหงุดหงิด อารมณ์ไม่ ดีอยู่ในระดับปกติมากทีsสุด คิดเป็ นร้ อยละ 52.9 และรู้สกึ กังวล กระวนกระวาย และเครียดอยู่ตลอดเวลาอยู่ในระดับปกติมาก


ทีsสดุ คิดเป็ นร้ อยละ 73.5 รวมถึงรู้สกึ เรืsองต่างๆ ทับถมจนรับไม่ไหวอยู่ในระดับปกติมากทีsสดุ คิด เป็ นร้ อยละ 73.9 พระสงฆ์ หาอะไรทํา ให้ ตัว เองไม่ มีเวลาว่ า งได้ อยู่ ในระดั บน้ อยมากทีsสุด คิด เป็ นร้ อยละ 81.1 รู้สกึ ว่ าโดยทัsวไปแล้ วทําอะไรๆ ได้ ดีอยู่ในระดับน้ อยมากทีsสดุ คิดเป็ นร้ อยละ 78.9 มีความ พอใจกับการทํางานลุล่ว งไปอยู่ในระดับน้ อยมากทีsสุด คิ ดเป็ นร้ อยละ 81.2 และร้ อยละ 81.5 รู้สึกว่ าสามารถตัดสินใจในเรืsองต่ างๆได้ อยู่ในระดับน้ อย และรู้สึกว่ าได้ ทาํ ตัวให้ เป็ นประโยชน์ใน เรืsองต่างๆ ได้ อยู่ในระดับน้ อยมากทีsสดุ คิดเป็ นร้ อยละ 76.2 รวมถึงสามารถมีความสุขกับกิจกรรม ในชีวิตประจําวันตามปกติได้ อยู่ในระดับ 84.8 พระสงฆ์ร้ ูสึกไม่ คุ้ มค่ าทีsจะมีชีวิตอยู่ ต่อไปอยู่ในระดับปกติมากทีsสุด คิดเป็ นร้ อยละ 89.3 และร้ อยละ 9.3 รู้สึกไม่ คุ้ มค่ าทีsจะมีชีวิตอยู่ ต่อไปอยู่ในระดับน้ อย และรู้สึกไม่ คุ้ มค่ าทีsจะมีชีวิตอยู่ ต่อไปอยู่ในระดับปานกลางและระดับมาก คิดเป็ นร้ อยละ 0.4 และ 1.0 ตามลําดับ พระสงฆ์คิดว่ ามีความเป็ นไปได้ ทsีจะอยากจบชีวิตตัวเองอยู่ในระดับปกติมากทีsสุด คิดเป็ น ร้ อยละ 79.4 รองลงมา ร้ อยละ 18.3 คิดว่ ามีความเป็ นไปได้ ทsีจะอยากจบชีวิตตัวเองอยู่ในระดับ น้ อย และคิดว่ ามีความเป็ นไปได้ ทsจี ะอยากจบชีวิตตัวเองอยู่ในระดับปานกลางและมาก คิดเป็ นร้ อย ละ 1.3 และ 1.0 ตามลําดับ รวมถึง พระสงฆ์มีความคิด ว่ าตัวเองเป็ นคนไร้ ค่าอยู่ ในระดั บปกติ มากทีsสุด ร้ อยละ 82.3 รองลงมา ร้ อยละ 14.7 มีความคิดว่ าตัวเองเป็ นคนไร้ ค่าอยู่ในระดับน้ อย และมีความคิดว่ าตัวเอง เป็ นคนไร้ ค่าอยู่ในระดับปานกลางและระดับมาก คิดเป็ นร้ อยละ 2.2 และ 0.8 ตามลําดับ พระสงฆ์มีความรู้สึกว่ าชีวิตนีn หมดหวั งโดยสิnนเชิงอยู่ในระดับปกติมากทีsสุด คิดเป็ นร้ อยละ 86.2 และร้ อยละ 12 มี ความรู้ สึกว่ าชี วิต นีn หมดหวั ง โดยสิnน เชิ งอยู่ในระดับน้ อย อีกทัnง พบว่ า พระสงฆ์มีความรู้สกึ ว่ าชีวิตนีnหมดหวังโดยสิnนเชิงอยู่ในระดับปานกลางและระดับมาก คิดเป็ นร้ อยละ 1.2 และ 0.6 ตามลําดับ คิดว่ ามี ความเป็ น ไปได้ ทsีจะอยากจบชี วิตตั วเองอยู่ในระดั บปกติมากทีsสุด คิด เป็ น ร้ อยละ 79.4 รองลงมา ร้ อยละ 18.3 คิ ดว่ า มี ความเป็ นไปได้ ทsีจ ะอยากจบชีวิ ต ตั วเองอยู่ ในระดับน้ อย และคิดว่ ามีความเป็ นไปได้ ทsจี ะอยากจบชีวิตตัวเองอยู่ในระดับปานกลางและระดับมาก ร้ อยละ 1.3 และ 1.0 ตามลําดับ พระสงฆ์ร้ ูสึกว่ าบางครัnงทําอะไรไม่ได้ เลยเพราะประสาทตึงเครียดมากอยู่ในระดับปกติมาก ทีsสดุ คิดเป็ นร้ อยละ 83.5 และรู้สกึ ว่ าบางครัnงทําอะไรไม่ได้ เลยเพราะประสาทตึงเครียดมากอยู่ใน ระดับน้ อย ระดับปานกลาง และระดับมาก คิดเป็ นร้ อยละ 13.5 2.4 และ 0.5 ตามลําดับ พระสงฆ์ส่วนใหญ่ พบว่ าตัวเองรู้สึกอยากตายไปให้ พ้นๆ อยู่ในระดับปกติ คิดเป็ นร้ อยละ 92 และพบว่ าตัวเองรู้สึกอยากตายไปให้ พ้นๆ อยู่ในระดับน้ อย ร้ อยละ 7.3 และร้ อยละ 0.2 และ พบว่ าตัวเองรู้สกึ อยากตายไปให้ พ้นๆ อยู่ในระดับปานกลางและระดับมากตามลําดับ


พบว่ ามีความรู้สกึ ทีsอยากจะทําลายชีวิตตัวเองเข้ ามาอยู่ในความคิดเสมอๆ อยู่ในระดับปกติ มากทีsสดุ คิดเป็ นร้ อยละ 79.9 รองลงมา ร้ อยละ 18.1 พบว่ ามีความรู้สึกทีsอยากจะทําลายชีวิต ตัวเองเข้ ามาอยู่ในความคิดเสมอๆ อยู่ในระดับน้ อย อีกทัnง พบว่ ามีความรู้สึกทีsอยากจะทําลายชีวิต ตัวเองเข้ ามาอยู่ในความคิดเสมอๆ อยู่ในระดับปานกลางและระดับมาก คิดเป็ นร้ อยละ 1.4 และ 0.6 ตามลําดับ (รายละเอียดตามตารางทีs 2)


ตารางที= 2 การประเมินสุขภาพจิตตนเองของพระสงฆ์ จํ านวน/ร้อยละของพระสงฆ์

ค่าเฉลีย= (X)

S.D.

แปลผล

สุขภาพจิตและความเครียด

มาก N/%

1.รู้สกึ สบายและมีสขุ ภาพดี 2.รู้สกึ ต้ องการยาบํารุงให้ มีกาํ ลังวังชา 3.รู้สกึ ทรุดโทรมและสุขภาพไม่ ดี 4.รู้สกึ ไม่สบาย 5.เจ็บหรือปวดบริเวณศีรษะ 6.รู้สกึ ตึงหรือคล้ ายมีแรงกดทีศs ีรษะ 7.มีอาการวูบร้ อนหรือหนาว 8.นอนไม่หลับเพราะกังวลใจ 9.ไม่สามารถหลับได้ สนิทหลังจาก หลับแล้ ว 10.รู้สกึ ตึงเครียดอยู่ตลอดเวลา 11.รู้สกึ หงุดหงิด อารมณ์ไม่ดี 12.รู้สกึ กลัวหรือตกใจ โดยไม่มี เหตุผลสมควร 13.รู้สกึ เรืsองต่างๆทับถมจนรับไม่ไหว 14.รู้สกึ กังวล กระวนกระวาย และ เครียดอยู่ตลอดเวลา 15.หาอะไรทําให้ ตวั เองไม่มีเวลาว่าง ได้ 16.ทําอะไรช้ ากว่าปกติ 17.รู้สกึ ว่าโดยทัsวไปแล้ วทําอะไรๆได้ ดี 18.พอใจกับการทํางานลุล่วงไป 19.รู้สกึ ว่าได้ ทาํ ตัวให้ เป็ นประโยชน์ใน เรืsองต่างๆ 20.รู้สกึ ว่าสามารถตัดสินใจในเรืsอง ต่างๆได้ 21.สามารถมี ความสุขกับกิจกรรมใน ชีวิตประจําวัน ตามปกติได้

31/1.4 113/5.1 91/4.1 97/4.4 50/2.3 52/2.4 42/1.9 72/3.3 61/2.8

276/12.5 1,615/73.2 284/12.9 361/16.4 780/35.4 952/43.2 328/14.8 749/34.0 1038/47.1 250/11.3 747/33.9 1112/50.4 161/7.3 678/30.7 1317/59.7 197/8.9 582/26.4 1375/62.3 169/7.7 461/20.9 1534/69.5 179/8.1 554/25.1 1401/63.5 204/9.2 550/24.9 1391/63.1

2.02 1.83 1.76 1.70 1.60 1.51 1.41 1.50 1.50

0.55 0.87 0.88 0.87 0.72 0.75 0.71 0.77 0.75

ปานกลาง น้ อย น้ อย น้ อย น้ อย น้ อย น้ อย น้ อย น้ อย

61/2.8 54/2.5 18/0.8

65/2.9 133/6.0 73/3.3

496/22.5 851/38.6 489/22.2

1584/71.8 1168/52.9 1626/73.7

1.35 1.57 1.30

0.64 0.70 0.56

น้ อย น้ อย น้ อย

29/1.3 29/1.3

55/2.5 62/2.8

492/22.3 494/22.4

1630/73.9 1621/73.5

1.30 1.31

0.57 0.58

น้ อย น้ อย

22/1.0

116/5.3

1790/81.1

278/12.6

1.94

0.45

น้ อย

48/2.2 21/1.0

252/11.4 1800/81.6 153/6.9 1740/78.9

106/4.8 292/13.2

2.10 1.95

0.48 0.48

ปานกลาง น้ อย

ปานกลาง N/%

น้อย N/%

ปกติ N/%

21/1.0 41/1.9

68/3.1 73/3.3

1792/81.2 1681/76.2

325/14.7 411/18.6

1.89 1.87

0.44 0.51

น้ อย น้ อย

12/0.6

56/2.5

1798/81.5

340/15.4

1.87

0.41

น้ อย

18/0.8

36/1.6

1870/84.8

282/12.8

1.89

0.39

น้ อย


ตาราง 2 (ต่อ) จํ านวน/ร้อยละของพระสงฆ์ สุขภาพจิ ตและความเครียด

22.คิดว่าตัวเองเป็ น คนไร้ ค่า 23.รู้สกึ ว่าชีวิตนีnหมดหวังโดย สิnนเชิง 24.รู้สกึ ไม่ค้ มุ ค่าทีจs ะมีชีวิตอยู่ ต่อไป 25.คิดว่ามีความเป็ นไปได้ ทจsี ะ อยากจบชีวิตตัวเอง 26.รู้สกึ ว่าบางครัnงทําอะไรไม่ได้ เลยเพราะประสาทตึงเครียด มาก 27.พบว่าตัวเองรู้สกึ อยากตายไป ให้ พ้นๆ 28.พบว่ามีความรู้สกึ ทีอs ยากจะ ทําลายชีวิตตัวเองเข้ ามาอยู่ใน ความคิดเสมอๆ

ค่าเฉลีย= (X)

S.D.

แปลผล

มาก N/% 18/0.8 13/0.6

ปานกลาง N/% 49/2.2 26/1.2

น้ อย N/% 324/14.7 265/12.0

ปกติ N/% 1815/82.3 1902/86.2

1.19 1.15

0.46 0.41

น้ อย น้ อย

22/1.0

10/0.4

205/9.3

1969/89.3

1.11

0.35

น้ อย

22/1.0

29/1.3

403/18.3

1752/79.4

1.23

0.49

น้ อย

12/0.5

53/2.4

298/13.5

1843/83.5

1.19

0.46

น้ อย

10/0.5

5/0.2

161/7.3

2030/92.0

1.08

0.30

น้ อย

12/0.6

31/1.4

400/18.1

1763/79.9

1.21

0.46

น้ อย

1.54

0.57

น้ อย

รวม



ระยะที= 2 แบบสรุปผลการตรวจสุขภาพพระสงฆ์ (โดยแพทย์และพยาบาล) พบว่ า พระสงฆ์มีค่าดั ชนี มวลกาย เท่า กับ 18.5-23 (พอดี) มากทีsสุด คิดเป็ นร้ อยละ 39.94 รองลงมา เท่ากับ 23.1-29.9 (นําn หนักเกิน) คิดเป็ นร้ อยละ 36.54 (ในจํานวนนีn พบว่ ามี รอบเอวเกิน 90 เซนติเมตร คิดเป็ นร้ อยละ 37.83) ปัญหาความผิดปกติของสายตา พบว่ า พระสงฆ์มีสายตาพร่ ามัวมากทีsสุด คิดเป็ นร้ อยละ 35.13 และมีสายตาสัnน คิดเป็ นร้ อยละ 7.79 และพระสงฆ์มีปัญหาด้ านการได้ ยิน คิดเป็ นร้ อยละ 38.48 ทีsสาํ คัญ พบว่ า พระสงฆ์มีภาวะเสีsยงต่ อการป่ วยเป็ น โรคเบาหวานสูงถึ งร้ อยละ 44.38 รองลงมา มีภาวะเสีsยงต่อโรคอัมพาต/อัมพฤกษ์ ร้ อยละ 11.74 และความดันโลหิ ตสูง ร้ อยละ 6.75 ด้ านภาวะป่ วยเป็ นโรค พบว่ า พระสงฆ์ป่วยเป็ นโรคไขมันในเลือดสูงมากทีsสุด คิดเป็ นร้ อย ละ 29.87 รองลงมา ร้ อ ยละ 8.39 ป่ วยเป็ นโรคพยาธิใ นลํา ไส้ ความดั น โลหิ ต สู ง และ โรคเบาหวาน คิดเป็ นร้ อยละ 5.62 และ 5.26 ตามลําดับ ทีsน่ า สัง เกต พบว่ า พระสงฆ์ในจํา นวน 2,206 รูปทีsไ ด้ รับการตรวจสุข ภาพโดยแพทย์ พบว่ ามีสขุ ภาพดี เพียง 56 รูป หรือคิดเป็ นร้ อยละ 2.5 เท่านัnน (รายละเอียดตามตารางทีs 3)


ตารางที= 3 การตรวจสุขภาพร่างกายทัsวไปโดยแพทย์และพยาบาล จํ านวน/ร้อยละของพระสงฆ์ ตรวจสุขภาพทัว= ไป จํ านวน ร้อยละ 1.ค่าดัชนีมวลกาย 212 9.61 -น้ อยกว่ า 18.5 (น้ อย) 881 39.94 -18.5-23 (พอดี) 806 36.54 -23.1-29.9 (นําn หนักเกิน) 307 13.91 -มากกว่ า 30 (อ้วน) 2.วัดรอบเอว (ไม่เกิน 90 เซนติเมตร) 692 62.17 (1,113 รูป) 421 37.83 -ปกติ -ผิดปกติ 3.ปั ญหาความผิดปกติของสายตา 1,090 49.41 -ไม่มี 172 7.79 -สายตาสัnน 96 4.35 -สายตายาว 6 0.27 -สายตาเอียง 26 1.18 -ตาเข/ตาเหล่ 775 35.13 -สายตาพร่ามัว 41 1.86 -ตาบอด 4.การได้ยิน 1,349 61.15 -ไม่มีปัญหา 849 38.48 -มีปัญหาได้ ยินไม่ชัดเจน 8 0.36 -หูหนวก 56 2.5 5.สุขภาพแข็งแรง (Healthy) 6.ภาวะเสีย= งต่อการป่ วยเป็ นโรค (Asymptomatic Disease) 979 44.38 -เบาหวาน 149 6.75 -ความดันโลหิตสูง 109 4.94 -หัวใจและหลอดเลือด 259 11.74 -อัมพาต อัมพฤกษ์ 93 4.22 -กล้ ามเนืnอ กระดูกและข้ อ


ตรวจสุขภาพทัว= ไป -วัณโรค 7.ป่ วยเป็ นโรค (Clinical Disease) -เบาหวาน -ความดันโลหิตสูง -หัวใจและหลอดเลือด -วัณโรค -อัมพาต อัมพฤกษ์ -ถุงลมปอดอุดกัน< เรื<อรัง -หอบหืด -ไขมันในเลือดสูง -นํา< หนักเกิน/โรคอ้วน -ตับอักเสบ ตับแข็ง -กล้ามเนื<อ กระดูกและข้อ -พยาธิในลําไส้

จํ านวน/ร้อยละของพระสงฆ์ จํ านวน ร้อยละ 31 1.41 124 116 35 29 15 59 4 659 37 45 30 185

5.62 5.26 1.59 1.31 0.68 2.67 0.18 29.87 1.68 2.04 1.36 8.39

ตารางที= 4 เปรียบเทียบภาวะเสีsยงต่อการป่ วยเป็ นโรค (Asymptomatic Disease) 5 อันดับแรก กับภาวะเสีsยงต่อการป่ วยเป็ นโรค (Asymptomatic Disease) 5 อันดับแรก ภาวะป่ วยเป็ นโรค ภาวะเสี=ยงต่อการป่ วยเป็นโรค พระสงฆ์ พระสงฆ์ (Clinical Disease) (Asymptomatic Disease) จํ านวน ร้อยละ จํ านวน ร้อยละ -ไขมันในเลือดสูง -พยาธิใบไม้ในลําไส้ -เบาหวาน -ความดันโลหิ ตสูง -ถุงลมปอดอุดกัน< เรื<อรัง

659 185 124 116 59

29.87 8.39 5.62 5.26 2.67

-เบาหวาน -อัมพาต อัมพฤกษ์ -ความดันโลหิ ตสูง -หัวใจและหลอดเลือด -กล้ ามเนืnอ กระดูกและข้ อ

979 259 149 109 93

44.38 11.74 6.75 4.94 4.22


จากการเปรียบเทียบระหว่ างภาวะป่ วยเป็ นโรค (Clinical Disease) 5 อันดับแรก กับภาวะ เสีsยงต่อการป่ วยเป็ นโรค (Asymptomatic Disease) 5 อันดับแรก พบว่ า พระสงฆ์มีภาวะป่ วย (Clinical Disease) ด้ วยโรค 5 อันดับแรก ได้ แก่ โรคไขมันในเลือดสูง พยาธิใบไม้ ในตับ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคถุงลมปอดอุดกัnนเรืnอรัง ตามลําดับ พระสงฆ์มีภาวะเสีsยงต่อการป่ วยเป็ นโรค (Asymptomatic Disease) 5 อันดับแรก ได้ แก่ โรคเบาหวาน โรคอัมพาต อัมพฤกษ์ โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด และโรค กล้ ามเนืnอ กระดูก และข้ อ ตามลําดับ (รายละเอียดตามตารางทีs 4)


บทที= 5 สรุปผลการวิจยั และอภิปรายผล รูปแบบการวิจยั การศึกษาครัnงนีnใช้ รูปแบบการวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง (Cross-sectional study) เก็บรวบรวมข้ อมูลระหว่ างวันทีs 1 กรกฎาคม 2552 – 30 กันยายน 2552 โดยแบ่งการวิจัย ออกเป็ น 2 ระยะ ดังนีn ระยะที= 1 การประเมินสุขภาพจิตตนเองของพระสงฆ์ ระยะที= 2 การตรวจสุขภาพร่างกายทัวs ไปโดยแพทย์และพยาบาล วัตถุประสงค์การวิจยั เพืsอได้ ข้อมูลเกีsยวกับสุขภาวะทางร่างกายและจิตใจของพระสงฆ์ในจังหวัดกาฬสินธุ์ กลุ่มประชากร ประชากรทีsใช้ ในการศึกษา ประกอบด้ วย พระสงฆ์ทsจี าํ พรรษาในจังหวัดกาฬสินธุ์ สังกัดทัnง นิ ก ายธรรมยุ ต และมหานิ ก าย ในช่ ว งวั น ทีs 1 กรกฎาคม 2552- 30 กั น ยายน 2552 จํานวน 3,607 รูป กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้ วย พระสงฆ์ทsจี าํ พรรษาในจังหวัดกาฬสินธุ์ สังกัดทัnงนิกายธรรมยุต และมหานิกาย ในช่วงวันทีs 1 กรกฎาคม 2552- 30 กันยายน 2552 ได้ มาโดยวิ ธีการเลือกแบบ เฉพาะเจาะจง (พระสงฆ์ทsสี มัครใจเข้ าร่วมโครงการฯ) จํานวน 2,206 รูป สรุปผลการวิจยั ระยะที= 1 การประเมินสุขภาพจิ ตตนเองของพระสงฆ์ พบว่ า พระสงฆ์มีระดับสุขภาพจิ ต และความเครียดโดยรวมอยู่ในระดับน้ อย (X=1.54) เมืsอพิ จารณาในรายละเอียด พบว่ า พระสงฆ์ รู้สกึ สบายและมีสขุ ภาพดีอยู่ในระดับปานกลาง (X=2.02) และทําอะไรช้ ากว่ าปกติอยู่ในระดับปาน กลาง (X= 2.10) เมืsอพิ จารณารายด้ าน พบว่ า พระสงฆ์ร้อยละ 5.1 รู้สึกต้ องการยาบํารุงให้ มี กําลังวังชา รู้สกึ ไม่สบาย รู้สกึ สุขภาพทรุดโทรมและสุขภาพไม่ดี ร้ อยละ 4.4 และ 4.1 ตามลําดับ นอนไม่ หลั บเพราะกัง วลใจ ไม่ สามารถหลับได้ สนิ ทหลั ง จากหลั บไปแล้ ว และรู้สึกตึ ง เครี ย ดอยู่ ตลอดเวลา คิดเป็ นร้ อยละ 3.3, 2.8 และ 2.8 ตามลําดับ


ทีsสาํ คัญ พบว่ า พระสงฆ์ร้ ูสึกไม่ คุ้ มค่ าทีsจะมีชีวิตอยู่ ต่อไปและคิดว่ ามีความเป็ นไปได้ ทsีจ ะ อยากจบชีวิตตัวเอง คิดเป็ นร้ อยละ 1.0 เท่ากัน (22 รูป) รวมถึงพระสงฆ์มีความคิดว่ าตัวเองเป็ น คนไร้ ค่า และรู้สกึ ชีวิตนีnหมดหวังโดยสิnนเชิง คิดเป็ นร้ อยละ 0.8 (18 รูป) และ 0.6 (13 รูป) ตามลําดับ ระยะที= 2 การตรวจสุขภาพร่างกายทัว= ไปโดยแพทย์และพยาบาล พบว่ า พระสงฆ์มีภาวะ เสีsยงต่อการป่ วยเป็ นโรคเบาหวานสูงถึงร้ อยละ 44.38 รองลงมา โรคอัมพาต/อัมพฤกษ์และความ ดันโลหิตสูง ร้ อยละ 11.74 และ6.75 ตามลําดับ มีภาวะป่ วยเป็ นโรคไขมันในเลือดสูงมากทีsสุด คิดเป็ นร้ อยละ 29.87 รองลงมา โรคพยาธิในลําไส้ ความดันโลหิ ตสูง และโรคเบาหวาน คิด เป็ นร้ อยละ 8.39, 5.62 และ 5.26 ตามลําดับ อภิปรายผล ระยะที= 1 การประเมินสุขภาพจิ ตตนเองของพระสงฆ์ จากผลการศึกษาทีsพบว่ า ร้ อยละ 1.0 ของพระสงฆ์ มีความรู้สกึ ไม่คุ้มค่าทีsจะมีชีวิตอยู่ต่อไป และคิดว่ ามีความเป็ นไปได้ ทsีจะอยากจบ ชีวิตตัวเอง รวมถึงพระสงฆ์มีความคิดว่ าตัวเองเป็ นคนไร้ ค่า และรู้สกึ ชีวิตนีnหมดหวังโดยสิnนเชิง คิด เป็ นร้ อยละ 0.8 และ 0.6 ตามลําดับนัnน พระสงฆ์กลุ่มนีnเป็ นกลุ่มทีsน่าเป็ นห่ วงมาก และควรได้ รับ การดูแลสภาพจิตใจอย่างใกล้ ชิด โดยเฉพาะในกลุ่มพระสงฆ์ทsีมีความรู้สึกว่ าอยากตายไปให้ พ้นๆ นัn น ควรได้ รับคําแนะนําจากนั กจิ ตวิ ทยาหรื อจิ ต แพทย์ และควรได้ รับการดู แลอย่ า งใกล้ ชิดจาก เจ้ าหน้ าทีsสาธารณสุขในพืnนทีsอย่างเร่งด่วน เนืsองจาก พระสงฆ์กลุ่มนีnถือว่ าเป็ นกลุ่มทีsมีความเสีsยงสูง ในการทําลายตัวเองได้ และควรได้ รับการจั ดการความเครียดโดยเร็วทีsสุด สอดคล้ องกับการศึกษา ของพิทยา จารุพูนผล (2547) ทีsพบว่ า พระสงฆ์มีระดับความเครียดอยู่ในระดับสูง คิดเป็ นร้ อยละ 80.7 โดยมีพฤติกรรมและการแสดงออกว่ ามีความเครียดคือ วุ่ นวายใจ หงุดหงิด รําคาญใจและ ปวดเกร็งกล้ ามเนืnอบริเวณหลังและไหล่และเกิดอาการมึนงง ซึsงจากสภาพจิ ตใจดังกล่ าวอาจมีสาเหตุ เนืs องมาจาก พระสงฆ์ ส่วนใหญ่ มีอายุ มาก มีโรคประจํา ตัวเรืnอรั ง และขาดคําแนะนําในการดู แล สุขภาพร่างกายและจิตใจจากกลุ่มแพทย์และพยาบาล อีกทัnงพบว่ า การดําเนินงานสาธารณสุขเชิงรุก ทีsผ่ า นมา เน้ น ให้ ค วามสํา คั ญกับการดู แลสุข ภาพประชาชนในชุ มชนเป็ นหลั ก ขาดนโยบายและ แผนงานในการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของพระสงฆ์ในวัด ซึsงอาจเป็ นสาเหตุให้ พระในวั ดไม่ได้ รับ การดู แลสภาพจิ ตใจอย่ า งจริ งจั ง อีกทัnงวิ ถีการดํารงชี วิ ตตามกิจ ของสงฆ์ ไม่ สามารถออกเดิน ไป สังสรรค์ พูดคุย/ปรึกษา/ปรับทุกข์กบั ญาติโยมได้ ซึsงอาจเป็ นเหตุให้ พระสงฆ์เกิดความซึมเศร้ าใน การดํารงชีวิตตามมาได้ ดังนัnน เพืsอเป็ นการส่งเสริมสุขภาพจิตของพระสงฆ์ ชุมชน วัด และโรงเรียน ควรมีการจั ด กิจกรรมร่วมกันในการให้ การช่ วยเหลือแก่พระสงฆ์ทsีมีปัญหาดังกล่ าว ส่วนเจ้ าหน้ าทีsสาธารณสุขใน พืnนทีsควรให้ การดูแลอย่างใกล้ ชิด และออกตรวจสุขภาพและออกประเมินสุขภาพจิ ตในกลุ่มพระสงฆ์


เป็ นประจํา เพืsอให้ พระสงฆ์มีความรู้สกึ ว่ าชีวิตนีn มีคุณค่ าและได้ รับการดู แลเอาใจใส่จากทุกภาคส่วน เพิsมขึnน ระยะที= 2 การตรวจสุ ข ภาพร่ า งกายทัว= ไปโดยแพทย์แ ละพยาบาล จากผลการตรวจ สุขภาพพระสงฆ์ในจังหวัดกาฬสินธุ์ พบว่ า ปัญหาทีsพบและน่ าเป็ นห่ วงมากทีsสุด คือ สุขภาวะของ พระสงฆ์ทsปี ่ วยเป็ นโรคไขมันในเลือดสูง คิดเป็ นร้ อยละ 29.87 และยังพบว่ า ร้ อยละ 44.38 มี ภาวะความเสีsยงต่อการป่ วยเป็ นโรคเบาหวานสูงมาก ซึsงหากขาดการการปฏิบัติตัวทีsดี พระสงฆ์กลุ่ม นีnจะกลายเป็ นผู้ป่วยใหม่ทนั ที ซึsงจะกลายเป็ นกลุ่มผู้ป่วยด้ วยโรคเรืnองรังต่อไป สาเหตุจ ากปั ญ หาดัง กล่ าว อาจเนืs องจากการฉั นอาหารทีsเ สีsย งต่ อการเกิดโรคคือ อาหาร ประเภทหวานจัด เค็มจั ด มันจั ด ซึsงวิ ถีการดําเนิ นชีวิตของพระสงฆ์ไม่ สามารถเลือกฉั นได้ ต้ องฉั น ตามญาติโยมถวาย อีกทัnงการจัดถวายภัตตาหารพระสงฆ์ในปัจจุ บัน มุ่งเน้ นความสะดวกรวดเร็วของ ญาติโยมเป็ นหลัก โดยไม่ได้ คาํ นึ งถึงภาวะสมดุ ลทางโภชนาการเท่าทีsควร ดังนัn น พระสงฆ์จํานวน มากจึงตกอยู่ในภาวะเสีsยงต่อการเจ็บป่ วยด้ วยโรคต่างๆ เนืsองจากต้ องฉันอาหารเหล่านีnเป็ นประจํา ส่วนสาเหตุสนั บสนุ น รองลงมา พบว่ า พระสงฆ์ ส่วนใหญ่ ไ ม่ได้ ออกกําลังกาย ซึsงจากผล การศึกษา พบว่ า พระสงฆ์ร้อยละ 45.42 ไม่ไ ด้ ออกกําลั ง กาย ส่ ว นพระสงฆ์ ทsีออกกํา ลัง กาย พบว่ า ออกกําลังกายโดยการเดินรอบวัด/อุโบสถ/กวาดลานวัด ซึsงเป็ นการออกกําลังกายตามกิจวัตร ของพระสงฆ์ เท่า นัn น กิจกรรมดั งกล่ าวจึ งยัง ไม่ เพี ย งพอสําหรับการเผาพลาญพลั งงานในแต่ ละวั น ส่งผลให้ พระสงฆ์มีความเสีsยงต่อการเจ็บป่ วยด้ วยโรคไขมันในเลือดสูงและโรคอ้ วนตามมา สอดคล้ อง กับการศึ กษาของสุวั ฒสัน รั กขั นโท (2550) ได้ ศึกษาเรืs องพฤติกรรมดู แลสุข ภาพตนเองของ พระภิ กษุในเขตภาคใต้ ตอนบน พบว่ า พระสงฆ์ ส่วนใหญ่ ดืsมนํnาสะอาดไม่ ถึงวั นละ 6 แก้ ว ฉั น ภั ต ตาหารทีs มี ร สจั ด หวานจั ด มี แ ป้ งและไขมั น สู ง ทํา ให้ มี อั ต ราการเจ็ บ ป่ วยสู ง ตามไปด้ ว ย นอกจากนีnยังออกกําลังกายน้ อย ส่วนใหญ่ เป็ นการออกกําลังกายตามกิจวัตรของพระสงฆ์เท่านัnน และ การทําบุญของพุทธศาสนิกชนไทยมีส่วนสําคัญต่อสุขภาพของพระภิกษุ และสอดคล้ องกับมาณพ ศิริ มหาราช (2548) ทีsพบว่ า สาเหตุการอาพาตส่วนใหญ่ มาจากพฤติกรรมการบริโภค โดยเฉพาะการ ถวายภัตตาหารของพุทธศาสนิกชนทีsมีรสหวาน เค็ม มัน มีส่วนทําให้ พระสงฆ์อาพาต โดยอาหาร รสเค็มส่งผลให้ เกิดภาวะเสีsยงต่อโรคความดันโลหิ ตสูง อาหารรสหวานจั ด ถ้ าพระสงฆ์มีพันธุกรรม โรคเบาหวาน ย่อมเป็ นสาเหตุให้ เกิดความเสีsยงเพิsมขึnน และอาจเจ็บป่ วยด้ วยโรคเบาหวานได้ ง่ายขึnน ส่วนอาหารรสมันจัด สามารถก่อให้ เกิดโรคไขมันในเลือดสูงและไขมันอุดตันในเส้ นเลือดได้ ดังนัnน เพืsอลดปัญหาสุขภาพดังกล่าว ชาวพุทธควรเปลีsยนแนวคิดการทําบุ ญ ตักบาตรด้ วย อาหารเพืs อสุขภาพแก่พระภิ กษุ สงฆ์เพิs มขึnน อีกทัnงถ้ าไม่ อยากเห็นพระภิ กษุ เจ็บป่ วยมากยิsงขึnน ชาว พุทธทุ กๆ คนต้ องร่ ว มมื อกัน อาจจะเริs มจากแกนนํา หลั ก 3 ฝ่ ายในชุ มชน คื อ วั ด โรงเรีย น และ ชาวบ้ า น ตัnง กลุ่มขึn นมา ร่ วมมือกันใส่ บาตรแต่ ของทีsมีประโยชน์ ต่อพระสงฆ์ ไม่ ใส่บาตรอาหารทีsมี รสชาติมันจัด เค็มจัด และหวานจัด แต่จะเน้ นไปทีsอาหารเพืsอสุขภาพ ประกอบด้ วยผักและผลไม้ มากขึnนเพืsอสร้ างสุขภาวะทีsดีให้ กบั พระสงฆ์ต่อไป


นอกจากนีnยัง พบว่ า พระสงฆ์ร้อยละ 35.13 มีปัญหาด้ านการมองเห็น มีปัญหาสายตา พร่ามัว และมีพระสงฆ์ร้อยละ 38.48 มีปัญหาการได้ ยิน ซึsงอาจมีสาเหตุเนืs องจากพระสงฆ์มีอายุ มาก โดยผลการศึกษา พบว่ า พระสงฆ์มีอายุมากกว่ า 61 ปี ขึnนไป มีจํานวนมากทีsสุด โดยมีอายุ เฉลีsย 56.9 ปี จึงอาจส่งผลต่อการเสือs มของอวัยวะบางส่วนของร่ างกายได้ ดังนัn น ควรมีรูปแบบ การส่ งเสริ มสุขภาพพระสงฆ์ เพิs มขึn น อาทิ การออกตรวจประเมิน สายตาและการได้ ยิ นเป็ น ระยะ รวมทัnงการให้ คาํ แนะนําด้ านการใช้ อุปกรณ์เสริมในพระสงฆ์บางรูป เป็ นต้ น จากการศึกษาครัnงนีn ยังพบว่ า พระสงฆ์ร้อยละ 34.68 ปั จจุ บันยังสูบบุ หรีsอยู่ และร้ อยละ 36.63 เคยดืsมเครืsองดืsมแอลกอฮอล์ สอดคล้ องกับคําให้ สัมภาษณ์ของพระมหาขนบ สหายปั ญโญ อาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุ ฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย ห้ องเรียนสุราษฎร์ธานี (อ้ างในสุวัฒสัน รักขันโท, อเนก คงขุนทด และ สุมาลัย กาญจนะ, 2551) ทีsกล่าวว่ า “โยมต้ องเข้ า ใจนะ ว่ าพระมี อยู่ มากมายและยัง มีอีกไม่ น้ อยทีsยัง คงสูบบุ หรีs และดืsมกาแฟ ค่อนข้ างมาก แต่ทุกรูปก็ทราบดีอยู่แล้ วว่ าอะไรดี หรือไม่ดีต่อร่างกาย ครัnนจะให้ เปลีsยนแปลง พระก็ ยั ง คงมี ทิฐิ อยู่ คงต้ อ งค่ อยเป็ นค่ อยไป อาจจะต้ องเริs ม ทีsโยมใกล้ ชิด กั บพระก่ อน จากนัn น ก็ต้ อ ง แลกเปลีsยนกันทัnงสองฝ่ าย ว่ าการทําบุญอย่างไรถึงจะเหมาะสม" นอกจากนีnยังสอดคล้ องกับการศึกษาของสุวัฒสัน รักขันโท (2551) ทีsพบว่ า พระสงฆ์ใน เขตภาคใต้ ตอนบน ร้ อยละ 26-38 มีพฤติกรรมการเสพสิsงเสพติดหรือสิsงทีsเป็ นอันตรายต่อสุขภาพ อาทิ พระสงฆ์มากกว่ า 50 เปอร์เซ็นต์ยังคงสูบบุหรีs เป็ นต้ น และสอดคล้ องกับเนาวรัตน์ เจริญค้ า และคณะ (2547 ; อ้ างในสุวัฒสัน รักขันโท อเนก คงขุนทด และสุมาลัย กาญจนะ,2551 ) ได้ ศึกษาวิจัยเชิงสํารวจเกีsยวการสูบบุ หรีsของพระสงฆ์ในประเทศไทย พบว่ า อัตราความชุ กของการสูบ บุหรีsในพระภิกษุสงฆ์ในภาพรวมของทัnงประเทศเป็ นร้ อยละ 24.4 โดยแตกต่ างกันสําหรั บแต่ ละภูมิภาค คือ อยู่ในช่วงร้ อยละ 14.6 สําหรับภาคเหนือ ถึงร้ อยละ 40.5 ในภาคตะวั นออก ภาคทีsมีอัตราความ ชุกของการสูบบุหรีsในพระภิกษุสงฆ์ค่อนข้ างสูงได้ แก่ ภาคตะวันออก ภาคกลาง ภาคใต้ กรุงเทพมหานคร (ร้ อยละ 40.5, 40.2, 33.5, และ 29.7 ตามลําดับ) ส่วนภาคตะวั นตก ภาคตะวั นออกเฉี ยงเหนื อ และ ภาคเหนือ มีอตั ราความชุกเป็ น 22.8, 20.4, และ 14.6 ตามลําดับ เป็ นทีsน่าสังเกตว่ า ภาคทีsมีอตั ราความชุกของการสูบบุหรีsในพระภิกษุสงฆ์ค่อนข้ างสูงนัn น ส่วน ใหญ่ เป็ นพระภิ กษุ มากกว่ า สามเณร และเป็ นพระทีsค่อนข้ า งมีอายุ แม้ ว่า พระภิ กษุ จ ะทราบและ ตระหนักถึงกฎระเบียบเกีsยวกับการสูบบุ หรีsในศาสนสถาน ผลทีsมีต่อสุขภาพ และภาพลักษณ์ในทาง ลบของการสูบบุ หรีs แต่ กย็ ังมีพระสงฆ์จํานวนมากทีsยังติดบุ หรีsอยู่ ซึsงอาจเป็ นความแตกต่ างระหว่ าง ลักษณะการสูบบุ หรีsของพระสงฆ์ในเขตเมืองกับเขตชนบท พระสงฆ์ทsีสูบบุ หรีsมากกว่ า ร้ อยละ 90 รายงานว่ าเริsมสูบบุหรีsมาตัnงแต่ก่อนบวช พระสงฆ์ทsีมาจากภาคทีsมีความชุกของการสูบบุหรีs ค่อนข้ างสูง


ระดับของการติดบุ หรีs สูงกว่ าภาคอืsน ๆ คือต้ องสูบบุห รีs มวนแรกหลั งจากตืsน นอน ภายในครึs งชัsวโมง เหตุ ผลทีs สูบบุหรีs เนืs องมาจากความเครีย ด และรายงานว่ าการสูบบุ หรีsมีผลต่ อสุข ภาพ มากกว่ า พระสงฆ์ทsมี าจากภาคทีsมีความชุกตํsา ประมาณร้ อยละ 60 ของพระสงฆ์ทsีเคยสูบบุหรีs เลิกสูบในระหว่ าง ทีsบวชอยู่ ส่วนใหญ่ เลิกมาได้ เกินกว่ า 5 ปี แล้ ว โดยใช้ ความพยายาม 1 – 2 ครัnงจึ งเลิกได้ สาํ เร็จ และ เคยได้ รับคําแนะนําจากพระรูปอืsน ญาติโยม และ แพทย์/พยาบาล พระสงฆ์ส่วนใหญ่ ใช้ วิธีเลิกด้ วย ตนเองหรือ ค่อยๆ ลดจํานวนบุหรีsทsสี บู ลง ปัจจัยทีsมีความสัมพันธ์กบั การสูบบุหรีsของพระภิ กษุ สงฆ์ได้ แก่ อายุ สถานภาพ (พระภิ กษุ / สามเณร) ระยะเวลาทีsบวช และประเภทวั ด (พระอารามหลวง/วั ดราษฎร์) พระสงฆ์ทsีมีระดั บ การศึกษาทางโลกสูง มีแนวโน้ มทีsจะสูบบุ หรีsน้อย พระสงฆ์ส่วนใหญ่ เริsมสูบบุ หรีsตnังแต่ ก่อนบวช และ พระสงฆ์ทsเี คยสูบบุหรีsร้อยละ 60 เลิกสูบบุหรีsในขณะทีsยังบวชอยู่ พระสงฆ์ส่วนใหญ่ มีความต้ องการทีs จะลด ละ เลิก การสูบบุหรีs ประมาณร้ อยละ 44 ของพระสงฆ์ทsีสูบบุ หรีs ให้ เหตุผลว่ าไม่ สามารถเลิก บุ หรีsได้ เ นืs องจากไม่ ทราบวิ ธีและไม่ เ คยได้ รับคํา แนะนําเกีsย วกับการเลิกบุ หรีs ในหนึs งปี ทีsผ่านมามี พระสงฆ์ร้อยละ 52 เคยพยายามเลิกบุหรีs ซึsงเป็ นตัวเลขทีsสูงว่ าในประชาชนทัsวไป ร้ อยละ 72.5 ของ พระสงฆ์ทsสี บู บุหรีsต้องการทีsจะเลิกสูบบุหรีs พระสงฆ์ทsสี าํ รวจในการศึกษาครัnงนีn ร้ อยละ 80 เสนอให้ มี การรณรงค์ไม่ให้ ญาติโยมถวายบุหรีsแก่พระสงฆ์ และอีกร้ อยละ 91 เสนอให้ ส่งเสริมพระสงฆ์ทsสี บู บุ หรีs อยู่ให้ เลิกสูบ ดังนัn น เพืs อเป็ น การส่ง เสริ มพฤติกรรมสุขภาพพระสงฆ์ หน่ วยงานด้ านสาธารณสุขควรมี บทบาทสําคัญในการวางแผน/นโยบายในการจัดรณรงค์วัดปลอดบุหรีsในแนวทางใหม่ โดยเน้ นการมี ส่วนร่วมของพระสงฆ์ทsสี บู บุหรีsเพิsมขึnน โดยมีชุมชนและโรงเรียนเป็ นกลุ่มสนับสนุ นเพิsมเติม จากการเปรียบเทียบระหว่ างภาวะป่ วยเป็ นโรค (Clinical Disease) 5 อันดับแรก กับภาวะ เสีsยงต่อการป่ วยเป็ นโรค (Asymptomatic Disease) 5 อันดับแรก พบว่ า พระสงฆ์มีภาวะป่ วย (Clinical Disease) ด้ วยโรค 5 อันดับแรก ดังนีn โรคไขมันในเลือดสูง พยาธิใบไม้ ในตับ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคถุงลมปอดอุดกัnนเรืnอรัง ตามลําดับ พระสงฆ์มีภาวะเสีsยงต่อการป่ วยเป็ นโรค (Asymptomatic Disease) 5 อันดับแรก ดังนีn โรคเบาหวาน โรคอัมพาต อัมพฤกษ์ โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด และโรค กล้ ามเนืnอ กระดูก และข้ อ ตามลําดับ (รายละเอียดตามตารางทีs 4) นัnน เป็ นทีsน่าสังเกตว่ า พระสงฆ์ทsมี ีภาวะเสีsยงต่อการป่ วยเป็ นโรคเบาหวานมีจาํ นวนมากถึง 979 รูป หรือร้ อยละ 44.38 ซึsงมีจาํ นวนมากกว่าพระสงฆ์ทsปี ่ วยเป็ นโรคดังกล่าว (124 รูป ร้ อยละ 5.62) เกือบ 4 เท่า ซึsง หากหน่ วยงานสาธารณสุขในพืnนทีsยังไม่เร่งพัฒนารูปแบบการส่งเสริมสุขภาพพระสงฆ์เพืsอลดภาวะ เสีsยงด้ วยโรคดังกล่าวแล้ วนัnน นัsนย่อมหมายถึงว่าพระสงฆ์ในกลุ่มนีnจะกลายเป็ นผู้ป่วยรายใหม่ทนั ที และกลายเป็ นผู้ป่วยโรคเรืnอรังในชุมชนต่อไป ด้ านภาวะป่ วยด้ วยโรคไขมันในเลือดสูงในกลุ่มพระสงฆ์นnั น ถือเป็ นปั ญหาทีsน่าเป็ นห่ วงมาก อีกปัญหาหนึsง เนืsองจากมีจาํ นวนมากถึง 659 รูป หรือร้ อยละ 29.87 ซึsงสาเหตุอาจอาจเนืsองจาก


การฉันอาหารทีsหวานจัด เค็มจัด มันจัด โดยไม่ได้ คาํ นึ งถึงภาวะสมดุ ลทางโภชนาการเท่าทีsควร อีก ทัnงวิถีการดําเนินชีวิตของพระสงฆ์ไม่สามารถเลือกฉันได้ ต้ องฉันตามญาติโยมถวาย ดังนัnน พระสงฆ์ จํานวนมากจึงตกอยู่ในภาวะเสีsยงต่ อการเจ็บป่ วยด้ วยโรคต่างๆ เนืs องจากต้ องฉั นอาหารเหล่ านีn เป็ น ประจําได้ ส่วนสาเหตุสนับสนุ นรองลงมา จากการศึกษาพบว่ า พระสงฆ์ส่วนใหญ่ ไม่ได้ ออกกําลังกาย (ร้ อยละ 45.42) ส่วนพระสงฆ์ทsอี อกกําลังกาย พบว่ า ออกกําลังกายโดยการเดินรอบวัด/อุโบสถ/ กวาดลานวั ด ซึsง เป็ นการออกกําลัง กายตามกิจวั ตรของพระสงฆ์เท่านัn น กิจกรรมดังกล่ า วจึ งยังไม่ เพียงพอสําหรับการเผาพลาญพลังงานในแต่ละวัน ส่งผลให้ พระสงฆ์มีความเสีsยงต่อการเจ็บป่ วยด้ วย โรคไขมันในเลือดสูงและโรคอ้ วนตามมา สอดคล้ องกับโรงพยาบาลสงฆ์ กรมการแพทย์ (2549) ได้ จัดทําโครงการเพืsอพัฒนาสุขภาพของพระสงฆ์ – สามเณรให้ ยsังยืนแบบองค์รวม เนืs องในโอกาสงาน ฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 60 ปี พบว่า พระภิกษุ มีลักษณะนิ สัยในการเป็ นอยู่ ทsีเอืnอต่ อการมี สุขภาพทีsดี ค่อนข้ างน้ อย พระสงฆ์ไม่ ค่อยออกกําลั งกาย โดยออกกําลั งกายนานๆ ครัnง ร้ อยละ 44.4 ไม่ เคยออก กําลังกายเลย ร้ อยละ 17.5 และมีการออกกําลังกายสมํsาเสมอเพียง 3 ครัnงต่อสัปดาห์ คิดเป็ นร้ อยละ 8.7 ส่วนผลการตรวจทางห้ องปฏิบัติการ พบว่า มีไขมันผิดปกติ ร้ อยละ 66.8 ดังนัnน หน่ วยงานด้ านสาธารณสุขจึงควรพัฒนาแนวทางในการส่งเสริมสุขภาพพระสงฆ์ เช่น การจัดถวายความรู้ จัดกิจกรรมส่งเสริมการออกกําลังกายทีsเหมาะสมในกลุ่มพระสงฆ์ทsเี จ็บป่ วย และ การให้ ความรู้แก่ประชาชนในชุมชนเกียs วกับการถวายอาหารทีsไม่ก่อให้ เกิดความเสีsยงต่อการเจ็บป่ วย ด้ วยโรคต่างๆ แก่พระสงฆ์ในพืnนทีs เป็ นต้ น รวมถึงบุคลากรทางการแพทย์ควรมีมาตรการติดตาม ดูแล และให้ การรักษาในกลุ่มพระสงฆ์ทsปี ่ วยอย่างต่อเนืsองด้ วยเช่นกัน ด้ านภาวะเสีsยงต่อการป่ วยเป็ นโรคความดันโลหิตสูง (149 รูป) มีจํานวนมากกว่ าภาวะป่ วย ด้ วยโรคความดันโลหิ ต (116 รูป) และมีแนวโน้ มเช่ น เดียวกันกับโรคเบาหวาน ซึsงเมืsอพิ จารณา สาเหตุการเกิด โรคแล้ ว พบว่ า ไม่ แตกต่ างจากโรคอืsน ๆ มากนั ก เนืs องจากโรคความดันโลหิ ตสูง เกีsยวข้ องกับการฉันอาหารทีsมีรสเค็มจัดเช่นกัน สอดคล้ องกับการศึกษาของจารินี ยศปั ญญา และวั น เพ็ญ ศิวารมย์ (2550) ได้ ศึกษา รูปแบบการดู แลสุขภาพองค์รวมของพระภิกษุ สามเณรวัดส่ งเสริ ม สุขภาพในพืnนทีsรับผิดชอบศูนย์อนามัยทีs 6 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (ขอนแก่น) พบว่ า จาก ผลการศึกษาภาวะสุขภาพของพระภิกษุในรอบหลายปี ทีsผ่านมา พบว่ า พระภิกษุ ส่วนใหญ่ มีปัญหาด้ าน สุขภาพเกือบทุกด้ าน และอยู่ในภาวะเสีsยงต่อการเป็ นโรคอีกเป็ นจํานวนมาก โดยปัญหาเหล่ านีn ส่วนใหญ่ เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การไม่ ได้ ออกกําลังกาย การนัs งเป็ นเวลานานๆ และไม่ ได้ รับการ ดูแลเรืsองสุขภาวะอย่างถูกต้ อง ดังนัnน หน่ วยงานสาธารณสุขควรพั ฒนารูปแบบการส่งเสริมสุขภาพ พระสงฆ์ โดยเฉพาะในกลุ่ ม ของพระสงฆ์ ทsี มี ภ าวะเสีs ย งต่ อ การป่ วยเป็ นโรค (Asymptomatic Disease) ทีsเป็ นปัญหาสุขภาพเพิsมขึnน ด้ านโรคอัมพาต อัมพฤกษ์ ทีsพบว่ าพระสงฆ์มีภาวะเสีsยงต่อการป่ วยเป็ นโรค จํานวน 259 รูป (ร้ อยละ 11.74) ซึsงจากการศึกษาของกระทรวงสาธารณสุข (2550) ได้ ทาํ การสํารวจ “ ภาวะ


สุขภาพพระภิกษุ และสามเณร ” โดยใช้ ประชากรพระภิ กษุ และสามเณรทัsวประเทศ พบว่ า พระภิ กษุ ประมาณร้ อยละ 4 หรือประมาณ 12,000 รูป มีปัญหาในการงอเข่ า คุ กเข่ า, ร้ อยละ 7 มีอาการปวด หลัง ปวดเอว หรือปวดเมืsอยร่ างกาย นอกจากนีn พบว่า พระภิกษุ ร้อยละ 8 ต้ องใช้ ยาแก้ ปวดเป็ นประจํา โดยมีร้อยละ 6 หรือประมาณ 18,000 รูป ทีsอาพาธจนไม่สามารถปฏิบัติศาสนกิจได้ ตามปกติ จากผลการสํารวจนีn กระทรวงสาธารณสุขจึงควรเร่ งให้ มีนโยบายพัฒนาวัดทัsวประเทศ ให้ เป็ นวัด ส่งเสริมสุขภาพของประชาชนตัnงแต่ เกิดจนตาย เพืs อสร้ างความเข้ มแข็งของชุ มชนและสังคมมีความ มัsนคง โดยมุ่งเน้ นองค์ประกอบ 3 อย่ าง คือ บ้ าน วั ด โรงเรียน (บวร) โดยวั ดจะเป็ นสถานทีsกล่ อม เกลา หล่อหลอม และพัฒนาด้ านจิตใจ เพืsอสร้ างพลังแห่ งสติปัญญา จนสามารถช่ วยคลีsคลายปั ญหา ในชุมชนและเป็ นทีsพsึงของชุมชนได้ และขณะเดียวกันสุขภาพพระภิกษุและสามเณรต้ องดีเป็ นเบืnองต้ น ด้ วย โดยดําเนินการตรวจสุขภาพพระภิกษุและสามเณร จัดการส่งเสริมสุขภาพเพืsอลดพฤติกรรมเสีsยง และส่งเสริมการออกกําลังกายตามความเหมาะสม ซึsงหากมีการปฏิบัติตัวทีsดีจะทําให้ ลดอาการต่ างๆ เหล่านีnได้ รวมทัnงพระภิกษุสามารถเทศนาถ่ายทอดความรู้เรืsองการดูแลสุขภาพให้ แก่ประชาชนด้ วย

ข้อเสนอแนะ 1. หน่ วยงานสาธารณสุขควรพัฒนารูปแบบการส่งเสริมสุขภาพพระสงฆ์ โดยเฉพาะในกลุ่ม ของพระสงฆ์ทsมี ีภาวะเสีsยงต่อการป่ วยเป็ นโรค (Asymptomatic Disease) ทีsเป็ นปั ญหา สุขภาพเพิsมขึnน 2. พั ฒ นาแนวทางการติ ด ตามเยีs ย ม การดู แ ลรั กษา และการประเมิ น ผลสุข ภาวะของ พระสงฆ์อย่างต่อเนืsอง โดยเฉพาะในกลุ่มของพระสงฆ์ทsีป่วยด้ วยโรคเรืnอรังและกลุ่มทีsมี ปัญหาสุขภาพจิตทีsต้องการการดูแลอย่างใกล้ ชิดจากแพทย์และพยาบาล


เอกสารอ้างอิง ภาษาไทย กมลรัตน์ หล้ าสุวงษ์. จิตวิทยาสังคม. ภาควิชาแนะแนว และจิตวิทยาการศึกษา.คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, กรุงเทพฯ, 2527. กองแผนงาน. กิจกรรมของวัดซึsงจะเป็ นทีsเลืsอมใสศรัทธาของพุทธศาสนิกชน. เอกสารทาง วิชาการ. ลําดับทีs 1/2529. กรมการศาสนา, กรุงเทพฯ, 2529. เฉลิม ตันสกุล. พฤติกรรมศาสตร์สาธารณสุข. พิมพ์ครัnงทีs 3. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพมหานคร : 2543 ชูศรี วงค์รัตนะ,รศ. เทคนิคการใช้ สถิติเพืsอการวิจัย. พิมพ์ครัnงทีs 8. เทพเนรมิตการพิมพ์, กรุงเทพมหานคร : 2544. ฑิตยา สุวรรณชฏ, สนิท สมัครการ และ สุนทรี โคมิน. ม.ป.ป. มนุ ษยวิทยา จิ ตวิทยาสังคม สังคม วิทยา พัฒนาการ แนวคิดและทฤษฎี. สมาคมสังคมศาสตร์แห่ งประเทศไทย, กรุงเทพฯ. ธนวรรธน์ อิsมสมบูรณ์. เอกสารการสอนชุดวิชา สุขศึกษา และ การประชาสัมพันธ์งานสาธารณสุข หน่ วยทีs 3. ฉบับปรับปรุงครัnงทีs 1. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,กรุงเทพมหานคร : 2544. ณัฐกฤช ฉายเสมแสง. ปัจจัยทีsมีอทิ ธิพลต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ ของข้ าราชการประจําการ จังหวัดลพบุร.ี วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2543. ณรงค์ คงนวล. บทบาทพระสงฆ์วัดชลประทานราชรังสฤษฎ์กบั การพัฒนาสังคม. วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท, จุ ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539. นิคม มูลเมือง. การส่งเสริมสุขภาพ : แนวคิดก้ าวหน้ าของผู้ประกอบวิชาชีพทางสุขภาพ. มหาวิทยาลัย บูรพา, ชลบุรี : 2541. เบญจพร ทองเทีsยงดี, “ ปัจจัยทีsมีอทิ ธิพลต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยวัณโรคใน ศูนย์วัณโรคเขต 7 จังหวัดอุบลราชธานี ”. ปริญญานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2541. ประภาเพ็ญ สุวรรณ. ทัศนคติ : การวัด การเปลีsยนแปลและพฤติกรรมอนามัย. โอเดียนสโตร์, กรุงเทพมหานคร : 2526. ปราณี เสนีย.์ การพัฒนาหลักสูตรการดูแลสุขภาพตนเองของตํารวจตระเวนชายแดนค่ายนเรศวร จังหวัดเพชรบุรี : หลักสูตรฝึ กอบรมการดูแลสุขภาพทางระบบประสาท. วิทยานิพนธ์ศึกษา ศาสตรดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน) บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2545. พระราชวรมุนี (ประยุทธิ} ปยุตโต). สถาบันสงฆ์กบั สังคมไทย. มูลนิธโิ กมลคีมทอง,กรุงเทพฯ,2527.


.................. . สถาบันสงฆ์กบั สังคมไทย. โรงพิมพ์การศาสนา,กรุงเทพฯ,2530. พรสุข หุ่นนิรันดร์. เอกสารคําสอนวิชา สข 531 : พฤติกรรมศาสตร์ทางสุขศึกษา. มหาวิทาลัยศรีนคริ นทรวิโรฒ, กรุงเทพมหานคร : 2543. พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช), ราชบัณฑิต. พจนานุ กรมเพืsอการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคําวัด. วัด ราชโอรสาราม, กรุงเทพมหานคร : 2548. ภัทรพร ไพเราะ. ความสัมพันธ์ระหว่ างปัจจัยคัดสรรกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สงู อายุ ในจังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพยาบาลศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหิดล, 2540. ภาสินี เข็มทอง. “ พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยทํางานในจังหวัดนครนายก ”. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. ภาควิชาพลานามัย,มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2546. มนาพร สุภาพ. ศึกษาพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองด้ านการส่งเสริมสุขภาพและการรักษาโรคของ ผู้สงู อายุในตําบลกําแพงเซา อําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรม-ราช. ปริญญานิพนธ์ศิลปศา สตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2542. มัลลิกา มัติโก. คู่มือวิจัยพฤติกรรมสุขภาพ. โครงช่วยงานวิจัยศูนย์ศึกษานโยบายสาธารณสุข, มหาวิทยาลัยมหิดล : 2534. ________. “ แนวคิดและการพัฒนาการของการดูแลสุขภาพตนเอง ” ในการดูแลตนเองทัศนะทาง สังคมวัฒธรรม. หน้ า 2 – 23. พิมพวัลย์ ปรีดาสวัสดิ}, เพ็ญศรี กวีวงศ์ประเสริฐ และอรัญญา ปูรณัน บรรณาธิการ. ศูนย์ศึกษา นโยบายสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล,นครปฐม : 2530. รวีวรรณ ชินตระกูล. การทําวิจัยทางการศึกษา. ที.พี.ปริnนส์, กรุงเทพมหานคร : 2542. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุ กรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. อักษรทัศน์, กรุงเทพฯ,2525. ยุพเยาว์ วิศพรรณ์. ปัจจัยทีsสมั พันธ์กบั พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของครอบครัวคนงานใน โรงงานอุตสาหกรรมจังหวัดจันทบุร.ี วิทยานิพนธ์คหกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2548. ส่งศรี ชมภูวงศ์. การวิจัยเบืnองต้ น. พิมพ์ครัnงทีs 3. คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏนครศรี-ธรรมราช, นครศรีธรรมราช : 2538. สมจิตต์ สุพรรณทัสน์. สุขศึกษา หน่ วยทีs 3. พิมพ์ครัnงทีs 8. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี : 2533. สมจิต หนุ เจริญกุล, บรรณาธิการ. การดูแลตนเอง : ศาสตร์และศิลป์ ทางการพยาบาล. พิมพ์ครัnงทีs 3. วี.เจ. พริnนติnง, กรุงเทพมหานคร : 2537. สมจิตรา เหง้ าเกษ. ความสัมพันธ์ระหว่ างปัจจัยคัดสรรกับวิถีชีวิตทีsส่งเสริมสุขภาพของพยาบาล วิชาชีพ ศูนย์บริการสาธารณสุข สํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหิดล, 2539.


สุชาติ โสมประยูร. การสอนสุขศึกษา. พิมพ์ครัnงทีs 3. ไทยวัฒนาพานิช, กรุงเทพมหานคร : 2525. อารีย์ เจียมพุก. พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยวัณโรคทีsมารับบริการ ณ คลินิกวัณโรค โรงพยาบาลนครปฐม. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒ, 2544. อุทุมพร จามรมาน. ทฤษฎีการวัดทางจิตวิทยา. โรงพิมพ์ฟันนีsพับลิชชิsง, กรุงเทพฯ, 2537. อุษณีย์ วรรณาลัย, “ กระบวนการเรียนการสอนทางสุขภาพ ”, (สําเนา), วิทยาลัยพยาบาลบรมราช ชนนีนครลําปาง, ลําปาง : 2550. เอืnอมพร ทองกระจาย. การดูแลสุขภาพตนเอง : แนวคิดและการประยุกต์. เอกสารประกอบการ ประชุมวิชาการพฤติกรรมสุขภาพ สถาบันพัฒนาการสาธารรณสุขอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล, นครปฐม : 2532. เอกสารของสํานักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่ งชาติ (สปรส.). ธรรมนู ญสุขภาพคนไทย “ร่าง พระราชบัญญัติสขุ ภาพแห่ งชาติ พ.ศ. …..” ฉบับปรับปรุง 24 กันยายน พ.ศ.2545 (พิมพ์ ครัnงทีs 2 เดือนสิงหาคม 2546) ภาษาอังกฤษ Broom, L. and P. Selsrick. Sociology. Harper Row Publishing, New York. 1977. Cohen, B. Introduction to Sociology. McGraw–Hill Book Company, New York. 1979. Good, C. V. Dictionary of Education. New York : McGraw – Hill book Co. : 1959. Orem, D. E. Nursing : Concepts of practice. 4th ed.St.Louis : Mcgraw Hill. 1991. Pender, P. J. Health Promotion in nursing practice. 3d ed. Toronto : Prentice Hall Canada. 1996. Twaddle, A. C. Sickness behavior and the sick role. Cambridge, Massachusetts :Schenkman Publishing Company. 1981 ข้อมู ลอิเลกทรอนิคส์ กระทรวงสาธารณสุข. “ เผยร้ อยละ 8 ของพระสงฆ์พsึงยาแก้ ปวดเมืsอย 2 หมืsนรูปอาพาธปฏิบัติ ศาสนกิจไม่ได้ ”, ผู้จัดการออนไลน์, <http://www.thaihed.com/hot_news/view.php?ID=614>, สิงหาคม 2550. กองสุขศึกษา กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. “ ทุ่มงบกว่ า 100 ล้ าน พัฒนา สุขภาพพระสงฆ์ พร้ อมผ่าตัดข้ อเข่าเทียมฟรี 61 ข้ อ ” , Hot News, < http://www.thaihed.com/hot_news/view.php?ID=614>, 2550.


คมชัดลึก, “ ทึsงพระออกกําลังกายต้ านโรค 90ท่าบริหารแบบอานาปนสติ”, ข่าวประจําวัน , <http://www.komchadluek.com/2006/08/17/a001_38691.php?news_id=38691 >, สิงหาคม 2549. จารินี ยศปัญญา และวันเพ็ญ ศิวารมย์. “ รูปแบบการดูแลสุขภาพองค์รวมของพระภิกษุสามเณรวัด ส่งเสริมสุขภาพ ในพืnนทีsรับผิดชอบศูนย์อนามัยทีs 6 กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข (ขอนแก่น) ”, <http://203.157.71.149/nuke/modules.php? name=News&file=article&sid=181>, 2550. จารุวรรณ นิพพานนท์, รศ. และคณะ. “ สุขศึกษาและพฤติกรรมในงานสาธารณสุข ”, BehaviorE– Learning, <http://vdo.kku.ac.th/mediacenter/mediacenteruploads/libs/html/1031/lesson7.html>, ธันวาคม 2550. ปัญญา สังขวดี และคณะ. “ พฤติกรรมสุขภาพ ตอนทีs 2 ”, <http://www.nu.ac.th/course_hp/001151/page/2-2.htm>, ธันวาคม 2543. พระราชพิพัฒนโกศล. “ วิจัยพบพระเมืองกรุงอ้ วนเพิsมขึnน ไม่ใส่ใจสุขภาพ – ออกกําลังกาย ”, สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่ งชาติ, <http://www.nrct.net/modules.php?op=modload &name=News&file=article&sid=1590&mode=thread&order=0&thold=0>, ธันวาคม 2547. พระศรีญาณโสภณ. “ พุทธวิธคี ลายเครียด” , <http://tuchae.spaces.live.com/blog/>, 2550. พิทยา จารุพูนผล, รศ.นพ. “ สุขภาวะของพระภิกษุสงฆ์ในเขตกรุงเทพมหานคร ”, ผู้จัดการออนไลน์ , <http://www.manager.co.th>, 2548. มานพ ศิริมหาราช, น.พ. “ วอนงดของบาป เหตุพระอาพาธ ”, <http://topicstock.pantip.com/religious/topicstock/2007/06/Y5497782/Y54977 82.html>, 2548. โรงพยาบาลสงฆ์ กรมการแพทย์, “ โครงการเพืsอพัฒนาสุขภาพของพระสงฆ์ – สามเณรให้ ยsังยืนแบบ องค์รวม ”, <http://www.priest-hospital.go.th>, พฤศจิกายน 2548. สุกญ ั ญา จงเอกวุฒิ, เอก เกิดเต็มภูมิ และสํารอง คุณวุฒิ. “ โครงการวิจัยสร้ างเสริมสุขภาพสําหรับ พระภิกษุตามแนวพระพุทธศาสนาจังหวัดอ่างทอง ”, <ttp://pubnet.moph.go.th/>, 2548. สุภัทร ชูประดิษฐ์ . “ พฤติกรรมสุขภาพ (Health Behavior) ”, <http://gotoknow.org/blog/wellness/22590>, พฤศจิกายน 2550. สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่ งชาติ, “ ข้ อมูลพืnนฐานทางพระพุทธศาสนา ”, <http://www.onab.go.th/data/02.pdf>, ธันวาคม 2550. สํานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย, “ การดูแลสุขภาพตนเอง ”, <http://advisor.anamai.moph.go.th/healthteen/family/self 01.html>, 2545.


อุษณีย์ วรรณาลัย. “ กระบวนการเรียนการสอนทางสุขภาพ ”, <http://www.centered.pbri.net/elearning/lampang/mui/index.html>, ตุลาคม 2550.


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.