ท่าคันโท3

Page 1

เป้าประสงค์ที่ ๓: หลักประกันสุขภาพที่เป็นธรรมทั่วถึงมีคุณภาพ ตัวชีว้ ัดที่ ๓: ร้อยละของกองทุนสุขภาพที่มคี วามสําเร็จของการบริหารจัดการทีด่ ีในการสร้างหลักประกันสุขภาพใน พื้นที่ ในระดับ ๕ เป้าประสงค์ที่ ๔: มีระบบภูมิคุ้มกันที่สามารถรองรับความพร้อมในการลดผลกระทบจากโรคและภัยคุกคามสุขภาพได้อย่าง ทันการณ์ ตัวชี้วัดที่ ๔: ร้อยละของ คปสอ. ที่ผ่านเกณฑ์ความพร้อมการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข เป้าประสงค์ที่ ๕ อําเภอท่าคันโทสามารถลดการป่วยและตายด้วยโรคที่เป็นปัญหาของจังหวัดได้ ตัวชี้วัดที่ ๕: ร้อยละของ คปสอ.ที่มคี วามสําเร็จในการจัดการโรคที่เป็นปัญหาของจังหวัดผ่านเกณฑ์ เป้าประสงค์ที่ ๑๒ มีระบบสุขภาพบนฐานความรู้ด้วยการจัดการความรู้อย่างมีเหตุผล ตัวชี้วัดที่ ๑๓ ร้อยละของหน่วยงานที่ผ่านเกณฑ์ระดับความสําเร็จในการนําองค์ความรู้ไปใช้ในการพัฒนาระบบสุขภาพและ แก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ ระดับ ๕ เป้าประสงค์ที่ ๖: มีทางเลือกสุขภาพที่หลากหลายผสมผสานภูมิปัญญาไทยและสากลอย่างรู้เท่าทันและพึ่งตนเองได้ ตัวชี้วัดที่ ๖: ร้อยละ คปสอ.มีความสําเร็จการพัฒนาการแพทย์แผนไทยในระดับ ๕ เป้าประสงค์ที่ ๗: อําเภอท่าคันโทมีปัจจัยพื้นฐานที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดีบนพื้นฐานของคุณภาพการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก ตัวชีว้ ัดที่ ๗: ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานความปลอดภัยด้านสุขภาพจากสารเคมีกําจัดศัตรูพชื ในเลือดของ ประชาชน ในระดับ ๕ เป้าประสงค์ที่ ๘: สังคมท่าคันโทมีวัฒนธรรมสุขภาพและวิถีชีวิตสุขภาพที่มคี วามสุขพอเพียงเป็นองค์รวม ตัวชี้วัดที่ ๘: ร้อยละของชุมชนที่ผ่านเกณฑ์วัฒนธรรมและวิถแี ห่งสุขภาวะในระดับ ๕ เป้าประสงค์ที่ ๙: ระดับความสําเร็จของชุมชนที่มีระบบสุขภาพชุมชนที่เข้มแข้ง ตัวชี้วัดที่ ๙ : ระดับความสําเร็จของชุมชนทีม่ ีระบบสุขภาพชุมชนที่เข้มแข็ง เป้าประสงค์๑๐ :สังคมท่าคันโทเป็นสังคมที่ไม่ทอดทิ้งคนทุกข์ยากและผู้ด้อยโอกาสด้านสุขภาพ ตัวชี้วัดที่ ๑๑ :ร้อยละของชุมชนที่มีระดับความสําเร็จในการจัดการด้านสุขภาพ คนพิเศษ ได้อย่างมีมาตรฐาน และเป็นองค์ รวมในระดับ ๕ ๑.โครงการบูรณาการอําเภอสุขภาพดีตามวิถวี ัฒนธรรมสุขภาพพอเพียงโดยภูมิปัญญาไทยอําเภอท่าคันโท ปี ๒๕๕๕ ๒. หัวหน้าโครงการ นายสมดี โคตตาแสง สาธารณสุขอําเภอท่าคันโท ๓. ความสําคัญ หลักการและเหตุผล การจัดการสุขภาพชุมชน ถือเป็นรากฐานสําคัญของการพัฒนาให้เกิดหมู่บ้าน และสังคมไทยที่แ ข็งแรง ยั่งยืน เพราะในกระบวนการพัฒนาหมู่บ้านจัดการสุขภาพ จะมุ่งเน้นให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน จากประสบการตรง ความรู้เชิง วิชาการจากชุมชน โดยมีเจ้าหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง และอํานวยความสะดวก กระบวนการนี้จะช่วยให้องค์กรชุมชนเติบโต ทางปัญญา และมีศักยภาพเพียงพอที่จะจัดการตนเองได้ ไม่เฉพาะเรื่องสุขภาพเท่านั้น แต่ยังเป็นรากฐานการพัฒนาใน ด้านอื่น ๆ ด้วย กระบวนการพัฒนาหมู่บ้านให้ชุมชนมีการจัดการด้านสุขภาพได้นั้น ต้องอาศัย ความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย ที่เกี่ยวข้องด้านสุขภาพทุกภาคส่วนทั้งภาคประชาชน ภาครัฐ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร่วมกันบริห ารจัด การ ชุมชนร่วมกัน ดังนั้นภาคีเครื อข่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้องในด้า นสุข ภาพ จะต้องได้รับการส่งเสริม พัฒนา สนับสนุนด้าน วิช าการ และการบริห ารจั ดการ เพื่ อให้มี ค วามพร้ อมที่จะดํ า เนิ นการหมู่ บ้ านจั ด การสุ ข ภาพ สู่ระบบสุ ข ภาพภาค ประชาชน ประชาชนเข้มแข็ง ชุมชนเข้มแข็ง รวมทั้งนโยบายนโยบายการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ได้ขยาย โอกาสการเข้าถึงบริการสุขภาพของประชาชนที่ได้ครอบคลุมอย่างทั่วถึง ทําให้ประชาชนมีหลักประกันสุขภาพ และ สามารถเข้ ารั บ การรัก ษาตามสิ ท ธิป ระโยชน์ โดยไม่ ต้ องวิ ตกกังวลว่าจะถู กปฏิ เ สธการรั กษาเพราะไม่มีเ งินจ่ ายค่ า รักษาพยาบาล โครงสร้างพื้นฐานของระบบบริการสุขภาพที่พัฒนามาอย่างต่อเนื่องเป็นองค์ประกอบสําคัญที่ทําให้การ


ดําเนินนโยบายการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ที่สําคัญการเปลี่ยนแปลงระบบการเงินการคลังสาธารณสุขที่ เกิดขึ้นพร้อมกับนโยบายหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า ได้ทําให้การจัดสรรงบประมาณการแพทย์และการสาธารณสุข เป็นไปอย่างมีความเป็นธรรม ตามจํานวนประชากรที่แต่ละหน่วยบริการต้องรับผิดชอบ สําหรับ สํานักงานสาธารณสุข อําเภอท่าคันโท ในปี พ.ศ.๒๕๕๔ ระหว่างหน่วยงานภายในและภายนอกได้ร่วมกระบวนการระบบการจัดการสุขภาพ ชุมชนโดยมีระบบกองทุนสุขภาพ มีหน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและหน่วยบริการปฐมภูมิ ร่วมกันเป็นเจ้าของ สุขภาพร่วมกั น แต่บางองค์กรยังมีปั ญหาต่ างๆ อาทิเช่ น นโยบายของผู้บ ริหารทั้งหน่วยงานองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นและหน่วยบริการปฐมภูมิ ยังไม่ชัดเจน การมีส่วนร่วมในกระบวนการทํางานของชุมชน ยังมีไม่มากเท่าที่ควร จึงได้มีแ นวคิด ในการนําเอาแผนที่นําทางยุ ทธศาสตร์มาเป็นเครื่องมือในการจัด ทําโครงการพัฒนาระบบการจัด การ สุขภาพชุมชน โดยชุมชน เพื่อชุมชน เพื่อนําองค์ความรู้ด้านภูมิปัญญาไทยมาใช้พัฒนาระบบการจัดการสุขภาพ/แก้ไข ปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ของอําเภอท่าคันโทให้เข้มแข็งและยั่งยืนต่อไป ๔. ความเชือ่ มโยงและสอดคล้อง ตอบสนองยุทธศาสตร์สขุ ภาพอําเภอท่าคันโท

ตอบสนองยุทธศาสตร์สขุ ภาพจังหวัดกาฬสินธุ์

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔: การสร้างวัฒนธรรมสุขภาพ และวิถชี ีวิตที่มคี วามสุขในสังคมสุขภาวะ

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔: การสร้างวัฒนธรรมสุขภาพและ วิถีชีวติ ที่มคี วามสุขในสังคมสุขภาวะ

เป้าประสงค์ที่ ๘: สังคมท่าคันโทมีวัฒนธรรมสุขภาพและ วิถีชีวิตสุขภาพที่มีความสุขพอเพียงเป็นองค์รวม เป้าประสงค์ที่ ๙: ระดับความสําเร็จของชุมชนที่มีระบบ สุขภาพชุมชนที่เข้มแข้ง เป้าประสงค์๑๐ :สังคมท่าคันโทเป็นสังคมที่ไม่ทอดทิ้งคน ทุกข์ยากและผูด้ ้อยโอกาสด้านสุขภาพอย่างเคารพในคุณค่า และศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์ เป้าประสงค์ที่ ๗: อําเภอท่าคันโทมีปัจจัยพื้นฐานที่เอื้อต่อ การมีสุขภาพดีบนพื้นฐานของคุณภาพการสร้างเสริม สุขภาพเชิงรุก

เป้าประสงค์ที่ ๘: สังคมกาฬสินธุ์มีวัฒนธรรมสุขภาพและวิถี ชีวิตสุขภาพทีม่ ีความสุขพอเพียงเป็นองค์รวม เป้าประสงค์ที่ ๙: ระดับความสําเร็จของชุมชนที่มีระบบ สุขภาพชุมชนที่เข้มแข้ง เป้าประสงค์๑๐ :สังคมกาฬสินธุ์เป็นสังคมที่ไม่ทอดทิ้งคนทุกข์ ยากและผู้ด้อยโอกาสด้านสุขภาพอย่างเคารพในคุณค่าและ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ เป้าประสงค์ที่ ๗: จังหวัดกาฬสินธุ์มีปัจจัยพื้นฐานที่เอื้อต่อ การมีสุขภาพดีบนพื้นฐานของคุณภาพการสร้างเสริมสุขภาพ เชิงรุก

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ : การสร้างทางเลือกสุขภาพที่ หลากหลายผสมผสานภูมปิ ัญญาไทยและสากล เป้าประสงค์ที่ ๖: มีทางเลือกสุขภาพที่หลากหลาย ผสมผสานภูมปิ ัญญาไทยและสากลอย่างรู้เท่าทันและ พึ่งตนเองได้

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ : การสร้างทางเลือกสุขภาพที่ หลากหลายผสมผสานภูมปิ ัญญาไทยและสากล เป้าประสงค์ที่ ๖: มีทางเลือกสุขภาพที่หลากหลายผสมผสาน ภูมิปญ ั ญาไทยและสากลอย่างรู้เท่าทันและพึ่งตนเองได้

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ : การสร้างระบบสุขภาพและ การแพทย์ที่ผู้รับบริการอุ่นใจ และผู้ให้บริการมีความสุข เป้าประสงค์ที่ ๓: หลักประกันสุขภาพที่เป็นธรรมทั่วถึงมี คุณภาพ

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ : การสร้างระบบสุขภาพและ การแพทย์ที่ผู้รับบริการอุ่นใจ และผู้ให้บริการมีความสุข เป้าประสงค์ที่ ๓: หลักประกันสุขภาพที่เป็นธรรมทั่วถึงมี คุณภาพ

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๖ :การสร้างระบบสุขภาพบน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๖ :การสร้างระบบสุขภาพบน ฐานความรู้ด้วยการจัดการความรู้ ฐานความรู้ด้วยการจัดการความรู้ เป้าประสงค์ ๑๒ :มีระบบสุขภาพบนฐานความรู้ ด้วยการ เป้าประสงค์ ๑๒ :มีระบบสุขภาพบนฐานความรู้ ด้วยการจัด จัดความรู้อย่างมีเหตุผล ความรู้อย่างมีเหตุผล


ขั้นตอนและกระบวนการหลัก( Work Flow) กระบวนการวางแผน ( Plan ) ๑. ชุมชนมีการใช้ข้อมูลด้านสุขภาพ ในการวิเคราะห์ชุมชนและ การจัดการสุขภาพชุมชนที่สอดคล้องกับ ความต้องการและ สภาพปัญหาของพื้นที่ ๒. ชุมชนมีการจัดทําแผนชุมชน โดยใช้เครื่องมือแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์โดยนักจัดการสุขภาพชุมชน ๓. มีการกําหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ และผลสัมฤทธิ์ของการ จัดการระบบสุขภาพชุมชนที่ต้องการในอนาคตไว้ชัดจน ๔. มีการกําหนดตัวชี้วัด ผู้รับผิดชอบ การระดมทุนและ ทรัพยากร ระยะเวลา วิธีการประเมินผลไว้อย่างชัดเจน ๕. มีการอนุมัติแผนงานโครงการที่มาจากแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์

การสังเคราะห์และกําหนดมาตรฐาน ( Standard ) ๑. มีการสร้างนวัตกรรมจากบทเรียนผลการดําเนินงาน และมีผลสําเร็จในการพัฒนา เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพ ของพื้นที่ ที่ตอบสนองความต้องการของประชาชน อย่างเป็นรูปธรรม ๒. มีการพัฒนาผลงานที่เป็นเลิศจากการดําเนินงานการ จัดการระบบสุขภาพเพื่อคงสภาพหรือรักษามาตรฐาน ๓. มีการกําหนดเป็นมาตรฐานจากบทเรียนเพื่อการ พัฒนางาน

การปฏิบัติตามแผน ( Do ) ๑.มีการถ่ายทอดและอธิบ ายสื่อความเข้าใจให้ประชาชน รับรู้และมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพ ๒.มีการระดมทุนและทรัพยากรทีเ่ หมาะสมกับการ ดําเนินงาน ๓.มีการพัฒนารูปแบบการให้บริการในหน่วยบริการและ ในสุขศาลาที่เหมาะสม เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และ บริบทของชุมชน ๔.มีการจัดกิจกรรมด้านสุขภาพ กิจกรรมการเรียนรู้ใน หน่วยบริการ และในสุขศาลา ที่ครอบคลุมทุกด้านการ รักษาพยาบาล การควบคุมป้องกันโรคที่เป็นปัญหาของ ชุมชน การส่งเสริมสุขภาพ การดูแลฟื้นฟูสุขภาพในชุมชน ๕.มีการแต่งตั้งคณะทํางาน / คณะกรรมการ องค์การ ต่างๆในชุมชนบริหารจัดการ เพื่อเป็นคณะทํางาน และ ติดตามประเมินผล

การประเมินผล ( Check ) ๑. มีการกําหนดรูปแบบการวัดและประเมินผลรูป แบบ การดําเนินงานในหน่วยบริการ และในสุขศาลา ๒. มีการติดตามประเมินผลแผนงานโครงการตามที่ กําหนดไว้ ๓. มีการรายงานผลการประเมิน

การปรับปรุงและพัฒนา ( Action ) ๑. มีการนําผลการประเมินมาสรุปบทเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อปรับปรุง กระบวนการดําเนินงาน ๒. นําผลการวิเคราะห์ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มาปรับปรุงพัฒนารูป แบบการ ดําเนินงาน ๓. มีการเปรียบเทียบผลการให้บ ริการในชุมชนกับค่าเป้าหมายที่กําหนดไว้ และกับ หมู่บ้านอื่น


๕. วัตถุประสงค์ของโครงการ ๑. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการสร้างหลักประกันสุขภาพในพื้นที่ และบริหารจัดการกองทุนทีด่ ี ๒. เพื่อให้ชุมชนมีม าตรการ กลไก ในการสร้างพฤติก รรมทางสุขภาพที่ส อดคล้องกับ วิถีชีวิตสุข ภาพแบบ พอเพียง ๓. เพื่อให้หมูบ่ ้านจัดการสุขภาพมีการนํานวัตกรรมสุขภาพที่ได้จากการดําเนินการตามแผนสุขภาพชุมชนมา ใช้แก้ไขปัญหาสุขภาพของพื้นที่ ๔. เพื่อพัฒนาสุขศาลาให้ได้มาตรฐานสุขศาลากาฬสินธุ์ ๕. เพื่อพัฒนาระบบความพร้อมการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ๖. เพื่อจัดการลดโรคที่เป็นปัญหาของอําเภอท่าคันโทตามเกณฑ์มาตรฐาน ๖ โรค ๗. เพื่อนําองค์ความรู้ด้านภูมิปัญญาไทยไปใช้ในการพัฒนาระบบสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ ๘. เพื่อพัฒนางานแพทย์แผนไทยในรพ.สต.และสุขศาลาให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน ๙. เพื่อส่งเสริมการคุ้มครองความปลอดภัยจากการได้รับสารเคมีกําจัดศัตรูพืชของเกษตรกรและด้านอาหาร ปลอดภัยจากสารเคมีตกค้าง ๑๐. เพื่อพัฒ นากระบวนการบูรณาการความร่วมมือกับ ภาคี เครือข่ายในการดู แลสุขภาพของคนพิเ ศษทาง สังคม ในชุมชนแบบองค์รวมและครอบคลุม ๖. ขอบเขตโครงการ ๖.๑ ขอบเขต ประเด็น กลุ่มเป้าหมายผู้รับประโยชน์จาก โครงการ พื้นที่ เป้าหมาย

ขอบเขตโครงการ ประชาชนทั่วไป ๑. กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นทุกตําบล ๕ แห่ง ๒. รพสต.กุงเก่า รพสต. ดงสมบูรณ์ สอ.หนองแซง สอ.ยางอู้ม สอ.ดง กลาง สอ.กุดจิก สอ.แสนสุข ๓. สุขศาลาทุกหมูบ่ ้าน ๔๖ แห่ง ๔. หมู่บ้านทุกหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ ๔๖ หมูบ่ ้าน


๗. ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ ผลผลิต ๑.ท้องถิ่นและชุมชนมีส่วนร่วมในการสร้างหลักประกันสุขภาพ พื้นที่และบริหารจัดการกองทุนที่ดี ๒.ชุมชนมีระบบการบริหารจัดการวัฒนธรรมสุขภาพและวิถี สุขภาพ ๓.มีมาตรการกลไกเพื่อการสร้างพฤติกรรมทางสุขภาพสอดคล้อง กับ วิถีชีวิตสุขภาพ ๔.ชุมชนต้นแบบที่สมบูรณ์ตามเกณฑ์วัฒนธรรมสุขภาพและวิถี ชีวิตสุขถาวะที่มีความสุขพอเพียงชุมชนมีระบบการบริหารจัดการ วัฒนธรรมสุขภาพและวิถีสุขภาพ ๕.การนํานวัตกรรมสุขภาพที่ได้จากการดําเนินการตามแผน สุขภาพชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพ ๖.สุขศาลาผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ๗.ทีมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระดับ อําเภอ ตําบล ชุมชน ๘.ระบบการบูรณาการจัดการโรคที่เป็นปัญหาสุขภาพในพื้นที่ ๙.การนําองค์ความรู้ด้านภูมิปัญญาไทยแก้ปัญ หาสุขภาพพื้นที่ ๑๐.มีการผสมผสานการให้บริการแพทย์แผนไทยใน รพ. และ รพ. สต. อย่างมีคุณภาพและได้มาตรฐาน ๑๑.มีการจัดบริการแพทย์แผนไทยในสุขศาลา และใช้แก้ป ัญหา สุขภาพ ๑๒.เกษตรกร และกลุ่มเสี่ยง ได้รับ การคุ้มครองความปลอดภัย ด้านสุขภาพจากสารเคมีกําจัดศัตรูพืช ๑๓.ประชาชนได้รับ การคุ้มครองและส่งเสริมการบริโภคอาหาร ปลอดภัยจากสารเคมีตกค้าง ๑๔.การบูรณาการความร่วมมือและการจัดการคนพิเศษทางสังคม ที่เป็นองค์รวมและครอบคลุม ๑๕.สร้างองค์ความรู้ใ นการดูแลสุขภาพของคนพิเศษทางสังคมใน ชุมชน

ผลลัพธ์ ๑.ท้องถิ่นและชุมชนมีส่วนร่วมในการสร้างหลักประกัน สุขภาพพื้นที่และบริหารจัดการที่ดี ๒.ชุมชนมีระบบการบริหารจัดการวัฒนธรรมสุขภาพและวิถี สุขภาพ ๓.มาตรการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ๔.มีชุมชนต้นแบบที่สมบูรณ์ตามเกณฑ์วัฒนธรรมสุขภาพและ วิถีชีวิตสุขถาวะที่มีความสุขพอเพียงชุมชนมีระบบการบริหาร จัดการวัฒนธรรมสุขภาพและวิถีสุขภาพ ๕.ชุมชนเกิดผลสัมฤทธิ์จากวัฒนธรรมและวิถีสุขภาพ ๖.สุขศาลามาตรฐาน ๗.ความสําเร็จของทีมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ระดับอําเภอ ตําบล ชุมชน ๘.ประสิทธิภาพของระบบการบูรณาการจัดการโรคที่เป็น ปัญหาสุขภาพในพื้นที่ ๙.ความสําเร็จการผสมผสานการให้บ ริการแพทย์แผนไทยใน รพ. และ รพ.สต. ได้มาตรฐาน ๑๐.ความสําเร็จการจัดบริการแพทย์แผนไทยในสุขศาลา และ ใช้แก้ปัญหาสุขภาพ ๑๑.ประชาชนมีความปลอดภัยด้านสุขภาพจากสารเคมีกําจัด ศัตรูพืชในเลือด ๑๒.ประชาชนได้รับ การคุ้มครองการบริโภคอาหารที่ป ลอดภัย จากสารเคมีตกค้าง ๑๓.ชุมชนมีการบูรณาการความร่วมมือและการจัดการคน พิเศษทางสังคมที่เป็นองค์รวมครอบคลุมมาตรฐาน ๑๔.ความสําเร็จของการนําองค์ความรู้ด้านภูมิปัญญาไทยลด โรคทีเ่ ป็นปัญหาสุขภาพในพื้นที่


๘. ตัวชีว้ ัดความสําเร็จของโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์

ตัวชีว้ ัด

๑. ท้องถิ่นและชุมชนมีส่วนร่วมในการสร้าง

ค่าเป้าหมาย

ระยะเวล า ต.ค.๕๔ก.พ.๕๕

๑. ร้อยละของกองทุนสุขภาพที่ หลักประกันสุขภาพพื้นทีแ่ ละบริหารจัดการทีด่ ี มีความสําเร็จของการบริหาร จัดการที่ดีในการสร้าง หลักประกันสุขภาพในระดับ ๕ ๒.ชุมชนมีระบบการบริหารจัดการวัฒนธรรม ๒.ร้อยละของชุมชนทีผ่ ่านเกณฑ์ สุขภาพและวิถีสขุ ภาพ วัฒนธรรมและวิถีแห่งสุข ภาวะในระดับ ๕ ๓.ชุมชนเกิดผลสัมฤทธิ์จากวัฒนธรรมและวิถี ๓.ร้อยละชุมชนเกิดผลสัมฤทธิ์ สุขภาพ จากวัฒนธรรมและวิถีสุขภาพ ๔.มีชมุ ชนต้นแบบทีส่ มบูรณ์ตามเกณฑ์วัฒนธรรม ๔.ร้อยละชุมชนต้นแบบที่ สุขภาพและวิถีชีวติ สุขถาวะที่มีความสุขพอเพียง สมบูรณ์ตามเกณฑ์วัฒนธรรม ชุมชน สุขภาพและวิถีชีวติ สุขถาวะที่มี ความสุขพอเพียงชุมชน ๕.มีระบบการบริหารจัดการวัฒนธรรมสุขภาพและ ๕.ร้อยละมีระบบการบริหาร วิถีสขุ ภาพโดยมีมาตรการ กลไกเพื่อสร้างพฤติกรรม จัดการวัฒนธรรมสุขภาพและวิถี สุขภาพในการจัดการปัญหาสารเคมี การใช้ สุขภาพ สมุนไพร ภูมปิ ัญญาไทย สายใยรัก ๖.ชุมชนมีระบบสุขภาพชุมชนทีเ่ ข้มแข็ง ๖.ระดับความสําเร็จของชุมชน ที่มีระบบสุขภาพชุมชนที่ เข้มแข็ง

ร้อยละ ๑๐๐ ๕ กองทุน

๗.สุขศาลาได้มาตรฐาน - สุขศาลาสายใยรัก

ระดับ ๕ ม.ค.๕๕รพ.สต. ๗ แห่ง ก.ค.๕๕ สุขศาลา ๔๖แห่ง ระดับ๕ ม.ค.๕๕ระดับอําเภอ ๑ ทีม ก.ค.๕๕

๘.ความสําเร็จของทีมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทาง สาธารณสุขระดับอําเภอ ตําบล ชุมชน

๗.ระดับความสําเร็จการ ดําเนินงานพัฒนา สุขศาลา สายใยรัก ๘.ระดับความสําเร็จของทีมตอบ โต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ระดับอําเภอ ตําบล SRRT ชุมชน

ระดับ ๕ ชุมชน ๔๖ หมู่บ้าน ๑๙ หมู่บ้าน ๑๙ หมู่บ้าน

ม.ค.๕๕ก.ค.๕๕ ม.ค.๕๕ก.ค.๕๕ ม.ค.๕๕ก.ค.๕๕

๑๙ หมู่บ้าน

ม.ค.๕๕ก.ค.๕๕

ระดับ ๕ ๔๖ ชุมชน

ต.ค.๕๔มี.ค.๕๕

ระดับตําบล ๕ ทีม SRRT ชุมชน ๑๙

ทีมต้นแบบ


ผลผลิต/ผลลัพธ์

ตัวชีว้ ัด

๙.ประสิทธิภาพของระบบการบูรณาการจัดการโรค ๙.ระดับความสําเร็จของระบบ ที่เป็นปัญหาสุขภาพในพื้นที่ การบูรณาการจัดการโรคที่เป็น ปัญหาสุขภาพในพื้นที่ ๑๐.ความสําเร็จของการนําองค์ความรู้ด้านภูมิ ๑๐.ระดับความสําเร็จของการ ปัญญาไทยลดโรคที่เป็นปัญหาสุขภาพในพื้นที่ นําองค์ความรูด้ ้านภูมิปัญญา ไทยลดโรคที่เป็นปัญหาสุขภาพ ในพื้นที่ ๑๑.มีการผสมผสานการให้บริการแพทย์แผนไทยใน ๑๑.ร้อยละของหน่วยงานมี รพ. และ รพ.สต. อย่างมีคุณภาพและได้มาตรฐาน ความสําเร็จการพัฒนา การแพทย์แผนไทยในระดับ ๕ ๑๒.มีการจัดบริการแพทย์แผนไทยในสุขศาลา และ ใช้แก้ปญ ั หาสุขภาพ ๑๓.ประชาชนมีความปลอดภัยด้านสุขภาพจาก ๑๒.ระดับความสําเร็จของการ สารเคมีกําจัดศัตรูพืชในเลือด ดําเนินงานความปลอดภัยด้าน - ชุมชนต้นแบบเกษตรอินทรีย์ สุขภาพจากสารเคมีกําจัด ศัตรูพืชในเลือดของประชาชน ๑๔.ประชาชนมีความปลอดภัยด้านสุขภาพจาก ๑๓.ระดับความสําเร็จของการ สารเคมีตกค้าง ดําเนินงานความปลอดภัยจาก - ตลาดปลอดสารเคมีตกค้าง สารเคมีตกค้าง ๑๕.ชุมชนมีการบูรณาการความร่วมมือและการ ๑๔.ร้อยละของชุมชนทีม่ ีระดับ จัดการคนพิเศษทางสังคมทีเ่ ป็นองค์รวมครอบคลุม ความสําเร็จในการจัดการด้าน และมีมาตรฐาน สุขภาพ คนพิเศษทางสังคม ได้ อย่างมีมาตรฐานและเป็นองค์ รวม

ค่าเป้าหมาย

ระยะเวล า ระดับ ๕ ม.ค.๕๕จํานวน ๕ ตําบล ก.ค.๕๕ ๖ โรค ระดับ ๕ ม.ค.๕๕จํานวน ๕ ตําบล ก.ค.๕๕ ๖ โรค ระดับ ๕ รพ.สต. ๗ แห่ง ม.ค.๕๕สุขศาลา ๔๖แห่ง ก.ค.๕๕ ระดับ ๕ เกษตรกลุ่มเสีย่ ง ร้อยละ ๒๐

ม.ค.๕๕ก.ค.๕๕

ระดับ ๕

ม.ค.๕๕ก.ค.๕๕

ร้อยละ 100 ชุมชน ๔๖ หมู่บ้าน

ม.ค.๕๕ก.ค.๕๕


๙. ความเชือ่ มโยงกับยุทธศาสตร์ ความสัมพันธ์หรือเชื่อมโยง โครงการหลักทีส่ ่งผลต่อการบรรลุค่า เป้าหมายภายใต้ตัวชี้วดั ของยุทธศาสตร์ การสาธารณสุขระดับจังหวัด

X X

เหตุผลและรายละเอียด ตัวชีว้ ัดที่ ๓: ร้อยละของกองทุนสุขภาพที่มีความสําเร็จของ การบริหารจัดการที่ดีในการสร้างหลักประกันสุขภาพในพื้นที่ ในระดับ ๕ เป้าประสงค์ที่ ๓:หลักประกันสุขภาพที่เป็นธรรมทั่วถึงมีคุณภาพ ตัวชี้วัดที่ ๘: ร้อยละของชุมชนทีผ่ ่านเกณฑ์วัฒนธรรมและวิถี แห่งสุขภาวะในระดับ ๕ เป้าประสงค์ที่ ๘: สังคมท่าคันโทมีวัฒนธรรมสุขภาพและวิถีชีวิต สุขภาพทีม่ ีความสุขพอเพียงเป็นองค์รวม ตัวชี้วัดที่ ๙ : ระดับความสําเร็จของชุมชนที่มีระบบสุขภาพ ชุมชนที่เข้มแข็ง เป้าประสงค์ที่ ๙: ระดับความสําเร็จของชุมชนที่มีระบบสุขภาพ ชุมชนที่เข้มแข้ง ตัวชี้วัดที่ ๔: ร้อยละของ คปสอ. ทีผ่ ่านเกณฑ์ความพร้อมการ ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข เป้าประสงค์ที่ ๕ อําเภอท่าคันโทสามารถลดการป่วยและตาย ด้วยโรคที่เป็นปัญหาของจังหวัดได้ ตัวชี้วัดที่ ๕: ร้อยละของ คปสอ.ที่มคี วามสําเร็จในการจัดการ โรคที่เป็นปัญหาของจังหวัดผ่านเกณฑ์ ตัวชี้วัดที่ ๑๓ ร้อยละของหน่วยงานที่ผ่านเกณฑ์ระดับ ความสําเร็จในการนําองค์ความรู้ไปใช้ในการพัฒนาระบบสุขภาพ และแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ ระดับ ๕ เป้าประสงค์ที่ ๑๒ มีระบบสุขภาพบนฐานความรู้ด้วยการจัดการ ความรู้อย่างมีเหตุผล ตัวชีว้ ัดที่ ๖: ร้อยละ คปสอ.มีความสําเร็จการพัฒนา การแพทย์แผนไทยในระดับ ๕ เป้าประสงค์ที่ ๖: มีทางเลือกสุขภาพที่หลากหลายผสมผสานภูมิ ปัญญาไทยและสากลอย่างรู้เท่าทันและพึ่งตนเองได้ ตัวชีว้ ัดที่ ๗: ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานความ ปลอดภัยด้านสุขภาพจากสารเคมีกําจัดศัตรูพืชในเลือดของ ประชาชน ในระดับ ๕ เป้าประสงค์ที่ ๗: อําเภอท่าคันโทมีปัจจัยพื้นฐานที่เอื้อต่อการมี สุขภาพดีบนพื้นฐานของคุณภาพการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก


โครงการสนับสนุนที่ส่งผลต่อการบรรลุค่า X เป้าหมายภายใต้ตัวชี้วดั ของยุทธศาสตร์ การสาธารณสุขระดับจังหวัด

ตัวชี้วัดที่ ๑๑ :ร้อยละของชุมชนที่มีระดับความสําเร็จในการ จัดการด้านสุขภาพ คนพิเศษ ได้อย่างมีมาตรฐาน และเป็นองค์ รวมในระดับ ๕ เป้าประสงค์๑๐ :สังคมท่าคันโทเป็นสังคมที่ไม่ทอดทิ้งคนทุกข์ ยากและผู้ด้อยโอกาสด้านสุขภาพอย่างเคารพในคุณค่าและ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ เป้าประสงค์ที่๑๑ การจัดการระบบสุขภาพของอําเภอท่าคันโทมี เอกภาพและธรรมาภิบาลที่สมดุลยั่งยืน ตัวชี้วดั ที่ ๑๒ ร้อยละของ คปสอ.ที่มีการจัดการระบบสุขภาพ ให้มีเอกภาพและธรรมาภิบาลทีส่ มดุลยั่งยืน ระดับ ๕ เป้าประสงค์ที่๑๓ บุคลากรที่ทํางานด้านสุขภาพของอําเภอท่า คันโทมีสมรรถนะสูงปฏิบตั ิงานอย่างมีความสุขบนพื้นฐาน วัฒนธรรมองค์กรที่เข้มแข็ง ตัวชี้วดั ที่ ๑๔ ร้อยละของหน่วยงานทีผ่ ่านเกณฑ์ความสําเร็จ ของการดําเนินงานการพัฒนาบุคลากรและการสร้างความสุข ในการทํางาน บนพื้นฐานวัฒนธรรมองค์กรที่เข้มแข็ง


๑๐.รายละเอียด งบประมาณตามโครงการขั้นตอนการวางแผน กระบวนการกิจกรรมหลัก

กลุม่ เป้าหมายและจํานวน กลุ่มเป้าหมาย

หลักประกันสุขภาพที่เป็นธรรมฯ ๑. จัดทําฐานข้อมูลสุขภาพชุมชนในพื้นที่และนํามา วิเคราะห์ป ัญหาเพื่อจัดทําแผนงานโครงการ

กองทุน ๕ แห่ง

๒. สร้างความเข้าใจแก่ผู้บริหารองค์การบริหารส่วน ท้องถิ่น

นายกอปท. และปลัดอปท.แห่ง ละ ๑๐ คน

๓. อบรมพัฒนาองค์ความรู้การจัดทํานวัตกรรม

กองทุน ๕ แห่ง

๔. สร้างศูนย์เรียนรู้กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับ อําเภอ ๔.๑ จัดประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพทีมพัฒนา ศักยภาพ กองทุนระดับอําเภอ

ตัวชีว้ ัดและค่าเป้าหมาย ร้อยละ 100 ของกองทุนหลักประกันสุขภาพมี การจัดทําฐานข้อมูลสุขภาพชุมชนในพื้นที่ และ นํามาวิเคราะห์ปัญหาเพื่อจัดทําแผนงาน โครงการ ร้อยละ 100 ของนายกอปท. และปลัด อปท. เข้าร่วมกิจกรรมการสร้างความเข้าใจในการ บริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ ทุกกองทุนได้รับ การอบรมพัฒนาองค์ความรู้ การจัดทํานวัตกรรม

กองทุน ๕ แห่ง

ศูนย์เรียนรู้กองทุนหลักประกันสุขภาพ ๖ แห่ง

กองทุนแห่งๆละ ๑๕ คน

ร้อยละของคณะกรรมการบริหารกองทุนและ ทีมSAT ชุมชน ได้รับการอบรม (๙๐ คน) (ร้อย ละ ๑๐๐) มีแหล่งเรียนรู้และเข้าถึงข้อมูลทุกด้านของ กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับอําเภอได้

ระยะเวลา ดําเนินการ เริ มต้ น สิ นสุ ด

ผู้รับผิดชอบ หลัก ร่ วม

พ.ย.๕๔

พ.ย.๕๔

คปสอ.

กองทุน ฯ

บูรณาการกับ งบประมาณจาก สสจ.

ธ.ค.๕๔

ธ.ค.๕๔

สสจ. กส.

คปสอ.

งบประมาณจากงบ สาธารณสุขมูลฐาน

ธ.ค.๕๔

ก.ค.๕๕ รพ.สต./ สอ.

ชุมชน

งบประมาณจากกองทุน ๕ กองทุนๆละ ๑๐,๐๐๐ บาท รวม ๕๐,๐๐๐ บาท

พ.ย.๕๔

พ.ย.๕๔

สสจ. กส.

คปสอ.

ธ.ค.๕๔

ม.ค.๕๕

คปสอ.

สอ.

งบประมาณ

๔.๒ แหล่งเรียนรู้กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับอําเภอ

จํานวน ๕ แห่ง

๔.๓. มีระบบสารสนเทศให้ประชาชนเข้าถึงและ เรียนรู้โดยใช้สื่อ/เทคโนโลยีที่เหมาะสม

จํานวน ๕ กองทุน

ร้อยละ 100 ของความพึงพอใจของประชาชน ต่อกองทุนหลักประกันสุขภาพ

ธ.ค.๕๔

ม.ค.๕๕

คปสอ.

สอ.

๕. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทําแผนทีท่ างเดิน ยุทธศาสตร์โดยนักจัดการสุขภาพ

กองทุน ๕ แห่ง ผู้นําชุมชน/ครู/อสม./ปราชญ์ ชาวบ้าน ๔๖ หมู่บ ้านละ ๓ คน

มีการจัดอบรมนักจัด การสุขภาพอย่าง 1 ครั้ง/ปี งบประมาณจากกองทุน และกองทุนได้จัดทําแผนงานโครงการ ๕ กองทุนๆละ ๒๐,๐๐๐ บาท รวม ๑๐๐,๐๐๐ บ.

พ.ย.๕๔

พ.ย.๕๔

คปสอ.

รพ.สต./ สอ.


รวม ๑๓๘ คน ๖. จัดเวทีนําเสนอแผนงาน/โครงการ ในระดับ ตําบล กองทุนระดับ A+ = ๓ กองทุน มีการจัดเวทีนําสนอแผนงาน/โครงการ ในระดับ บูรณาการกับ งบประมาณ มิ.ย.๕๕ กองทุนระดับA = ๒ กองทุน โดยคณะกรรมการกองทุนและที่ปรึกษา ตําบลโดยคณะกรรมการกองทุนและทีป่ รึกษา เป้าประสงค์ที่ ๘ คณะกรรมการกองทุนเป็น ผูพ้ ิจารณา คณะกรรมการกองทุนเป็น ผูพ้ ิจารณา อย่าง น้อย 1 ครั้ง

ส.ค.๕๕

สสจ. กส.

คปสอ.

๗. พัฒนายกระดับ กองทุนหลักประกันสุขภาพให้เป็น ระดับ A และ A+

กองทุน ๒ แห่ง

ต.ค.๕๔

ก.ย.๕๕

คปสอ.

กองทุน ฯ

๘. ประเมินการบริหารจัดการกองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับอําเภอ

กองทุน ๕ แห่ง

มี.ค.๕๕

ส.ค.๕๕

สสจ. กส.

คปสอ.

๙. ประเมินการบริหารจัดการกองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับ A+ โดยทีม SAT

กองทุน ๒ แห่ง

ร้อยละกองทุนระดับ A+ ได้รับการประเมิน โดยทีม SATอําเภอ(๖ กองทุน) (ร้อยละ ๑๐๐) และประเมินทีม SAT จังหวัด ๒ แห่ง

บูรณาการกับ งบประมาณ พ.ค.๕๕ พ.ค.๕๕ จาก สสจ.

สสจ. กส.

คปสอ.

๑๐. การประชาสัมพันธ์การดําเนินงานกองทุน หลักประกันสุขภาพผ่านสื่อทุกรูป แบบในพื้นที่

กองทุน ๕ แห่ง

มีการประชาสัมพันธ์การดําเนินงานกองทุน หลักประกันสุขภาพผ่านสื่ออย่างน้อย 1 ช่องทาง จัดประกวดและนําเสนอสุดยอดนวัตกรรม กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับจังหวัด 1 ครั้ง / ปี

๑๑.จัดประกวดและนําเสนอสุดยอดนวัตกรรมกองทุน กองทุน ๑แห่ง หลักประกันสุขภาพระดับ จังหวัด

ร้อยละ100 ของกองทุนอยู่ในระดับ A และ A+

งบประมาณจากกองทุน หลักประกันสุขภาพ ท้องถิ่น ร้อยละของกองทุนได้รับการประเมินจากทีม งบประมาณจากสสจ. พัฒนาอําเภออย่างน้อย ๒ ครั้ง/ปี(ร้อยละ๑๐๐) (๖,๐๐๐ บ.)

สสจ.

มี.ค.๕๕

มี.ค.๕๕

สสจ. กส.

คปสอ.

ต.ค.๕๔

ก.ย.๕๕

คปสอ.

กองทุน ฯ


กระบวนการ กิจกรรมหลัก

กลุ่มเป้าหมาย และ จํานวนกลุ่มเป้าหมาย

ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย

งบประมาณ

ระยะเวลาดําเนินการ เริ่มต้น ม.ค.๕๕

สิ้นสุด มี.ค.๕๕

ผู้รับผิดชอบ หลัก ร่วม สสจ./อบจ รพ.สต./สอ.

การจัดการระบบสุขภาพชุมชนที่เข้มแข็ง ๑๒. พัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข ประจําหมู่บ ้านตามหลักสูตรมาตรฐาน อสม. จังหวัดกาฬสินธุ์ ๑๓. จัดประชาคมเพื่อสร้างเข้าใจและหา รูป แบบการให้บริการที่เหมาะสมกับความ ต้องการของชุมชน และการระดมทรัพยากร ทั้งภายใน/ภายนอกชุมชนและองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ๑๔. ปรับปรุงพัฒนาโครงสร้าง/สถานที่ให้ เหมาะสมในการให้บริการของสุขศาลา

- อสม.ในหมู่บ ้านเป้าหมาย ปี ๒๕๕๕ จํานวน ๑๒ คน

อสม.ที่ผ่านการอบรมมีความรู้และ สามารถปฏิบ ัติงานในสุขศาลา ร้อยละ ๘๐

งบประมาณจาก สสจ.และ อบจ.

- อปท./ อสม./ประชาชน/ จนท.สธ./วัด/โรงเรียน ในหมู่บ ้าน เป้าหมาย ปี ๒๕๕๒-๒๕๕๔ จํานวน ๒๘ แห่ง

- ร้อยละของสุขศาลาที่มีการจัด ประชาคม ร้อยละ ๑๐๐

บูรณาการกับ การจัดการ สุขภาพ ข้อ ๔.๓

พ.ย.๕๔

มี.ค.๕๕

รพ.สต.

อปท./ผนช./ พระ/รร./ ปชช.

- สุขศาลาในหมู่บ ้านเป้าหมาย ปี ๒๕๕๒-๒๕๕๔ จํานวน ๔๖ แห่ง

- ร้อยละของสุขศาลาที่มีการปรับปรุง/ พัฒนาตามเกณฑ์ ร้อยละ ๑๐๐

พ.ย.๕๔

มี.ค.๕๕

อปท. / ชุมชน

รพ.สต.

๑๕. สนับ สนุนวัสดุ ครุภัณท์ ที่จําเป็นสําหรับ การพัฒนาสุขศาลากาฬสินธุ์ ๑๖. จัดทําฐานข้อมูลด้านสุขภาพ เพื่อใช้ใน การวางแผนการให้บริการในสุขศาลา

- สุขศาลาในหมู่บ ้านเป้าหมาย ปี ๒๕๕๔ จํานวน ๒๘ แห่ง - สุขศาลาในหมู่บ ้านเป้าหมาย ปี ๒๕๕๒-๒๕๕๔ จํานวน ๔๖ แห่ง

- ร้อยละของสุขศาลาที่มีการปรับปรุง/ พัฒนาตามเกณฑ์ ร้อยละ ๑๐๐ - ร้อยละของสุขศาลาที่มีการจัดทํา ฐานข้อมูล ร้อยละ ๑๐๐

งบประมาณจาก อปท. งบสสม. ๔๖ หมู่บ ้าน อปท.๔๖๐,๐๐๐ บ. งบลงทุนจาก สสจ.

มี.ค.๕๕

มี.ค.๕๕

สสจ.

กองทุนฯ

บูรณาการกับ การจัดการ สุขภาพ งบประมาณจากงบ สาธารณสุขมูลฐาน

พ.ย.๕๔

ก.ย.๕๕

อสม.

รพ.สต./ อปท.พระ/ รร./

๑๗. จัดกิจกรรมการให้บริการด้านสุขภาพ ตามเกณฑ์มาตรฐานสุขศาลา จังหวัด กาฬสินธุ์

- สุขศาลาในหมู่บ ้านเป้าหมาย ปี ๒๕๕๒-๒๕๕๔ จํานวน ๔๖ แห่ง

- ร้อยละของสุขศาลาที่มีการจัด กิจกรรมการให้บริการตามเกณฑ์ ร้อย ละ ๗๐

งบประมาณจากกองทุน ๑๐๐,๐๐๐ บ.

พ.ย.๕๔

ก.ย.๕๕

อสม.

รพ.สต./ อปท./กอง ทุนฯ


- ร้อยละของสุขศาลาที่ผ่านการ ประเมินตามเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐

บูรณาการกับ การจัดการ สุขภาพ

รอบที่ 1 มีค.๕๕

รอบที่ 2 ก.ค.๕๕

คปสอ.

๑๙. จัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การ - สุขศาลาในหมู่บ ้านเป้าหมาย ปี ถ่ายทอดความรู้ ในสุขศาลา (โรงเรียนอสม.) ๒๕๕๒-๒๕๕๔ จํานวน ๔๖ แห่ง

- ร้อยละของสุขศาลาที่มีการจัด กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร้อยละ ๑๐๐

บูรณาการกับ การจัดการ สุขภาพ

ส.ค.๕๕

ก.ย.๕๕

อสม.

รพ.สต./ อปท.พระ/ รร./

๒๐. จัดประกวดการบริหารจัดการสุขศาลา ระดับ ตําบล อําเภอ จังหวัด

- สุขศาลาในหมู่บ ้านเป้าหมาย ปี ๒๕๕๒-๒๕๕๔ จํานวน ๔๖ แห่ง

- อสม.ที่ผ่านการอบรมมีความรู้และ สามารถปฏิบ ัติงานในสุขศาลา ร้อยละ ๘๐

บูรณาการกับงบประมาณ จาก สสจ.กาฬสินธุ์

ส.ค.๕๕

ก.ย.๕๕

สสจ.

คปสอ./รพ. สต.

๒๑.กําหนดเกณฑ์มาตรฐานสุขศาลากาฬสินธุ์

- สุขศาลาในหมู่บ ้านเป้าหมาย ปี ๒๕๕๒-๒๕๕๔ จํานวน ๔๖ แห่ง

- ร้อยละของสุขศาลาที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานสุขศาลากาฬสินธุ์ ร้อยละ ๘๐

บูรณาการกับงบประมาณ จาก สสจ.กาฬสินธุ์

พ.ย.๕๔

ธ.ค.๕๔

สสจ.

คปสอ./รพ. สต.

๒๒.ส่งเสริมพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านสุขภาพและ - สุขศาลาในหมู่บ ้านเป้าหมาย บริการสุขภาพในสุขศาลา ปี ๒๕๕๒-๒๕๕๔ จํานวน ๔๖ แห่ง

- ร้อยละของสุขศาลาที่มีการส่งเสริม พัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านสุขภาพและบริการ สุขภาพ

บูรณาการกับงบประมาณ จาก สสจ.กาฬสินธุ์

มี.ค.๕๕

ส.ค.๕๕

สสจ.

คปสอ./รพ. สต./ อปท

๑๘. ติดตามประเมินผลการให้บริการในสุข ศาลา ในระดับชุมชน (สร้าง SATชุมชน ประเมินสุขศาลา)

- สุขศาลาในหมู่บ ้านเป้าหมาย ปี ๒๕๕๒-๒๕๕๔ จํานวน ๔๖ แห่ง

กองทุนฯ


กระบวนการ กิจกรรมหลัก

กลุ่มเป้าหมาย และ จํานวนกลุ่มเป้าหมาย

วัฒนธรรมและวิถีสุขภาพที่มีความสุขพอเพียง ๗๐. มีการจัดตั้งทีมคณะกรรมการ/คณะทํางานในการดําเนินงานสุขภาพใน ชุมชน ซึ่งประกอบไปด้วย นักจัดการสุขภาพ ครู ผู้นําชุมชน อสม. พระ เป็นต้น เพื่อการจัดการวัฒนธรรมและวิถีแห่งสุขภาวะ ๗๑. คณะกรรมการฯรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลความต้องการสุขภาพตาม วิถีชุมชน

ภาคีเ ครือข่ายที่เกี่ยวข้อง เช่น อปท./ รร. / วัด / อสม. /แกนนํา / เกษตกร / พัฒนากร ฯลฯ

๗๒. ค้นหาแกนนําสุขภาพในการเป็นผู้นําการเปลี่ยนแปลงในการสร้างวิถี สุขภาพ ๗๓. สร้างและพัฒนาแกนนําสุขภาพเพื่อเป็นผู้นําด้านสุขภาพ อย่างน้อย 3 เรื่อง / ตําบล ๗๔. จัดเวทีประชาคมสมัชชาสุขภาพระดับตําบลเพื่อสร้างพันธสัญญาเพื่อ การสร้างพฤติกรรมสุขภาพและประกาศพันธสัญญา วัฒนธรรมสุขภาพ

ตัวชี้วัดและค่า เป้าหมาย หน่วยวัด จํานวน คน/ทีม ๒๐

งบประมาณ

ระยะเวลาดําเนินการ

ผู้รับผิดชอบ

บูรณาการ

เริ่มต้น ต.ค.-๕๔

สิ้นสุด พ.ย.-๕๔

หลัก คปสอ

ร่วม รพ.สต.

ตําบล

บูรณาการ

ธ.ค.-๕๔

ม.ค.-๕๕

คปสอ

มีแกนนําสุขภาพชุมชน อย่าง น้อย 1 ด้าน / เรื่อง แกนนําสุขภาพในชุมชน

ครั้ง / ปี

บูรณาการ

ก.พ.-๕๔

ก.พ.-๕๔

คปสอ.

รพ.สต.

ตําบล

มี.ค.-๕๕

มี.ค.-๕๕

คปสอ.

กองทุน

ประชาชนในชุมชน

ครั้ง / ปี

งบประมาณจาก CUP ท่าคันโท เป็น เงิน ๒๐,๐๐๐ บาท

พ.ค.-๕๕

พ.ค.-๕๕

คปสอ.

รพ.สต.

๗๕. รณรงค์ / ประชาสัมพันธ์/ สร้างกระแสวัฒนธรรมสุขภาพใหม่

ประชาชนในชุมชน

ครั้ง / ปี

บูรณาการ

ต.ค.-๕๔

ก.ย.-๕๕

สสจ

๗๖. ประเมินผล / คัดเลือก / ครัวเรือนบุคคล / แกนนําต้นแบบด้าน สุขภาพ / มอบรางวัล

บุคคล / แกนนําต้นแบบ

คน / ครัวเรือน

บูรณาการ

มิ.ย.-๕๕

ก.ค.-๕๕

สสจ

ครั้ง / ปี

บูรณาการ

ส.ค.-๕๕

ก.ย.-๕๕

สสจ

แห่ง/ ตําบล

ต.ค.๕๕

ต.ค.๕๕

คปสอ.

ภาคีเ ครือข่ายที่เกี่ยวข้อง เช่น อปท./ รร. / วัด / อสม. /แกนนํา / เกษตกร / พัฒนากร ฯลฯ

๗๗. เสวนาวัฒนธรรมสุขภาพในระดับชุมชน ถอดบทเรียน / สังเคราะห์องค์ แกนนํา / ประชาชน ความรู้ ๗๓. สร้างแหล่งเรียนรู้ โรงเรียนนวัตกรรม

กองทุน ฯ


กระบวนการ/กิจกรรมหลัก

กลุ่มเป้าหมาย และจํานวน กลุ่มเป้าหมาย

การตอบโต้ผลกระทบจากโรคและภัย สุขภาพ ๑. การเตรียมความพร้อม(Preparation) ทีมระดับตําบล ๑.๑. จัดทําแผนบูรณาการ ระหว่างทีม ระบาดวิทยา และทีมระบบบริการการแพทย์ ฉุกเฉิน(EMS) ๑.๒ ประชุมเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะ ฉุกเฉิน ๑.๓ ประชุมติดตามและบริหารเหตุการณ์ โดยทีม PHER Management Team ๑.๔ แต่งตั้งคณะกรรมการตอบโต้ภาวะ ฉุกเฉินจ.กาฬสินธุ์ ๑.๕ จัดซื้ออุป กรณ์และจัดหาอุปกรณ์ เพื่อ ป้องกันความเสี่ยงให้สอดคล้องภาวะฉุกเฉิน ๑.๖ จัดทําฐานข้อมูลอุป กรณ์ภายใน จังหวัด/พื้นที่ ๑.๗ จัดทําฐานข้อมูลบุคคลทีมพร้อมช่อง ทางการประสาน

ตัวชี วัดและ ค่ าเป้าหมาย

๕ ตําบล

อย่างน้อย 5 คน/อําเภอ

-ทุกอําเภอจัดหา อุปกรณ์ให้ครบทุก ความเสี) ยง

งบประมาณ

งบCUP 10000 บ.

ระยะดําเนินการ

ผู้รับผิดชอบรับดําเนินการ เริ มต้ น สิ นสุ ด สสจ. คปสอ. สสอ. รพ. รพ.สต อปท. ต.ค.54 ก.ย.55

ชุมชน

อื นๆ


กระบวนการ/กิจกรรมหลัก

๑.๘ จัดทําแผน MOU ร่ วมกับ อปท. ๑.๙ สํารวจความเสี) ยงทุกอําเภอ ๑.๑๐ ซ้อมแผนความเสี) ยง ๑.๑๑ คปสอ. ทุกแห่ง จัดทําแผนปฏิ บตั กิ าร แยกรายความเสี) ยง ๑.๑๒ ประกวด PHER Management ดีเด่น กิจกรรมหลักที ๒. การเผชิญเหตุ(Response) - โครงการแท็กซี)สุขภาพ ( Healthy Taxi) ส่ งเสริ มให้มีมาตรฐานของแท็กซี)สุขภาพ เพือ) ความปลอดภัยด้านสุขภาพแก่ผู้ให้ บริ การ รับส่ งกลับบ้าน - จัดตัTงศูนย์เตรี ยมพร้อมด้านการแพทย์และ สาธารณสุ ข เพือ) เป็ นศู นย์กลางในการ ดําเนินงานเฝ้ าระวังแจ้งเตือนภัย และการ บริ หารจัดการปั ญหาระดับชาติ

กลุ่มเป้าหมาย และจํานวน กลุ่มเป้าหมาย

ตัวชี วัดและ ค่ าเป้าหมาย

งบประมาณ

ระยะดําเนินการ

ผู้รับผิดชอบรับดําเนินการ เริ มต้ น สิ นสุ ด สสจ. คปสอ. สสอ. รพ. รพ.สต อปท.

ชุมชน

อืน ๆ

อย่างน้อย 3 เรื) อง ต.ค.54 ก.ย.55 ครอบคลุมทุก ตําบล ตําบลละ 1 คัน จังหวัดละ 1 ศูนย์ อําเภอละ 1 ศูนย์


กระบวนการ/กิจกรรมหลัก

- จัดทําระบบเฝ้ าระวังแจ้งเตือนภัย เช่ น โรคมือ เท้า ปาก - อบรมจัดตัTงหน่วยสอบสวนโรค เคลือ) นทีเ) ร็ วระดับตําบล(SRRT) - อบรมจัดตัTงหน่วยสอบสวนโรค เคลือ) นทีเ) ร็ วระดับชุมชน(SRRT) - จัดระบบการบรรเทาและให้ความ ช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยในพืTนทีเ) กิดเหตุ อย่างทัว) ถึงภายใน ๒๔ ชัว) โมง - จัดตัTงห้องปฏิบตั ิการที)มคี วามพร้ อม

กลุ่มเป้าหมาย และจํานวน กลุ่มเป้าหมาย

ตัวชี วัดและ ค่ าเป้าหมาย

5 ตําบล/5 ทีม SRRT ชุมชนต้นแบบ 19 ทีม

งบประมาณ

เงินบํารุ ง รพ.สต. 70000 บ. งบกองทุน 50000 บ.

ระยะดําเนินการ

ผู้รับผิดชอบรับดําเนินการ เริ มต้ น สิ นสุ ด สสจ. คปสอ. สสอ. รพ. รพ.สต อปท.

ชุมชน

อืน ๆ


- จัดระบบการฟืT นฟูและเยีย) วยาหลัง เกิดภาวะฉุ กเฉิ นตามลําดับความ เร่ งด่วน ร่ วมกับหน่ วยงานที)เกี)ยวข้อง กิจกรรมหลักที ๔. การป้องกันระยะ ยาว (Prevention) - จัดทําบูรณาการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ร่ วมกับ อปท./ผูป้ ระกอบการ/ หน่วยงานที)เกี)ยวข้องในพืTนที) - ผลักดันให้ อปท. บรรจุเรื) องความ เสี) ยงไว้ในข้อบังคับ/เทศบัญญัติ - ประชาคมให้ประชาชนทราบ ตระหนักมีความรู ้ ป้ องกันความเสี) ยง - สร้างชุมชนเข้มแข็ง/ อปท. ต้นแบบ ตอบโต้ภาวะฉุ กเฉิ น(PHER)

ต.ค.54 ก.ย.55

อย่างน้อยอําเภอละ 3 แห่ ง

เป้าประสงค์ ที ๔ มีระบบภูมิค้ ุมกันที สามารถรองรั บความพร้ อมในการลดผลกระทบจากโรคและภัยคุกคามสุ ขภาพได้ อย่างทันการณ์ ตัวชี วัดเป้าประสงค์ ที ๔ ................................ ผลผลิต ................................


กระบวนการ/กิจกรรมหลัก

กิจกรรมหลักที ๕. การประชาสั มพันธ์ ก่อนเกิ ดเหตุ ป้ องกัน เตือนภัย - รณรงค์- เคาะประตูบา้ น- วิทยุชุมชน - จัดระบบการฟืT นฟูและเยียวยาหลัง เกิดภาวะฉุ กเฉิ นตามลําดับความ เร่ งด่วน ร่ วมกับ หน่วยงานที)เกี) ยวข้อง - ทําหนังสื อแจ้งประชาสัมพันธ์ ชุมชน/วัด/โรงเรี ยน ทราบ สอดคล้อง กับความเสี) ยงตามช่วงเวลา ขณะเกิดเหตุ - ตัTงทีมประชาสัมพันธ์ - สรุ ปเหตุการณ์อย่างต่อเนื)อง สรุ ป Case conference หลังเกิดเหตุ - สรุ ปเหตุการณ์และบทเรี ยนทุกครัTง เป็ นลายลักษณ์อกั ษร

กลุ่มเป้าหมาย และจํานวน กลุ่มเป้าหมาย

ตัวชี วัดและ ค่ าเป้าหมาย

งบประมาณ

ระยะดําเนินการ

ผู้รับผิดชอบรับดําเนินการ เริ มต้ น สิ นสุ ด สสจ. คปสอ. สสอ. รพ. รพ.สต อปท. ต.ค.54 ก.ย.55

ชุมชน

อืน ๆ


ระยะเวลาดําเนินงาน กระบวนการ / กิจกรรมหลัก ลดโรคที่เป็นปัญหา MCH ๑.พัฒนาศักยภาพเครือข่ายงาน อนามัยแม่และเด็กระดับจังหวัด โซน อําเภอ ตําบล สุขศาลา ศูนย์เด็กฯ/โรงเรียนสายใยรัก ๒. ประสานงานและบูรณาการ การทํางานเพื่อแก้ไขปัญหาใน พื้นที่ ๓.ถ่ายทอดนโยบายทุกระดับ ๔. สนับ สนุนกิจกรรมการแก้ไข ปัญหาอนามัยแม่และเด็กใน พื้นที่ ๕. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภาคี เครือข่ายและชุมชน ๕.๑ ครอบครัวสายใยรัก ตัวอย่าง ๕.๒ แม่สายใยรักแห่งครอบครัว

ตัวชี้วัด / ค่าเป้าหมาย

- ตําบลสายใยรักแห่ง ครอบครัว ๑ อําเภอ ๑ ตําบล สุขศาลา ศูนย์เด็ก/ โรงเรียนสายใยรัก - มีการประชุม คณะกรรมการ - มีแผนชุมชน - ชุมชนมีการดําเนินงาน และกิจกรรมอย่างเข้มแข็ง มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ระดับตําบล

งบประมาณ

MCH Board สสจ. จังหวัด

ผู้รับผิดชอบ MCH Board รพ. สสอ. อําเภอ

รพ. สต.

อปท.

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

เริ่มต้น

สิ้นสุด

กันยายน ๒๕๕๔

ธันวาคม ๒๕๕๔

ü

ü

ü

ü

กันยายน ๒๕๕๔

ธันวาคม ๒๕๕๔

ü

ü

ü

กันยายน ๒๕๕๔

ธันวาคม ๒๕๕๔

ü

ü

กันยายน ๒๕๕๔ มิถุนายน ๒๕๕๕

ü

กันยายน ๒๕๕๔

ü

งบกองทุน ๕๐๐๐๐

บูรณาการกิจกรรมที่ ๑ บูรณาการกิจกรรมที่ ๑ บูรณาการกิจกรรมที่ ๑ เงินบํารุง รพ.สต. ๗๐๐๐๐

ธันวาคม ๒๕๕๔


ระยะเวลาดําเนินงาน กระบวนการ / กิจกรรมหลัก

ตัวชี้วัด / ค่าเป้าหมาย

๑.พัฒนาศักยภาพทีมMCH Board ระดับจังหวัด โซน อําเภอ

งบประมาณ

- โซนละ ๕๐,๐๐๐ บาท - อําเภอละ ๕,๐๐๐ บาท

๒. นิเทศ / ติดตามและ - รพ.สายใยรักฯ ๑ แห่ง ประเมินผลรับรองโรงพยาบาล - รพ.สต. สายใยรักฯ ๗ สายใยรักแห่งครอบครัว และ แห่ง - ตําบลสายใยรักฯ รพ.สต. สายใยรักแห่งครอบครัว ๑ แห่ง ๓. มีการจัดการความรู้ คลัง ความรู้ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อนําความรู้สู่การแก้ไขปัญ หา ในพื้นที่ แนวทางระดับเขต ๑. แนวทางการดูแลแม่และเด็ก เขต๑๒

ผู้รับ ผิดชอบ MCH Board รพ. สสอ. อําเภอ

เริ่มต้น

สิ้นสุด

MCH Board จังหวัด

กันยายน ๒๕๕๔

ธันวาคม ๒๕๕๔

กันยายน ๒๕๕๕

ธันวาคม ๒๕๕๕

กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕

มิถุนายน ๒๕๕๕

กันยายน ๒๕๕๔

ธันวาคม ๒๕๕๔

ตุลาคม ๒๕๕๔

ธันวาคม ๒๕๕๔

สสจ.

รพ. สต.

อปท.


ระยะเวลาดําเนินงาน กระบวนการ / กิจกรรมหลัก

ตัวชี้วัด / ค่าเป้าหมาย

ระดับจังหวัด ( จังหวัด , อําเภอ , ตําบล ) ๑. CPG / WI การดูแลแม่และ เด็ก( กรณีมารดาและเด็กปกติ , กรณีมารดาและเด็กมีภาวะเสี่ยง และกรณีมารดาและเด็กป่วย )

งบประมาณ

บูรณาการเป้าประสงค์ ที่ ๑ รพ./ รพ.สต. สายใยรัก

เริ่มต้น

สิ้นสุด

ตุลาคม ๒๕๕๔

ธันวาคม ๒๕๕๔

MCH Board จังหวัด

ü

๒.คู่มือการส่งเสริมการเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่และเด็กป่วย

ตุลาคม ๒๕๕๔

ธันวาคม ๒๕๕๔

๓. คู่มือส่งเสริมการดูแลเด็ก อายุ ๐ - ๕ ปี ๔.คู่มือการบริการคลินิกฝาก ครรภ์และเด็กดีคุณภาพ

ตุลาคม ๒๕๕๔

ธันวาคม ๒๕๕๔

ตุลาคม ๒๕๕๔

ธันวาคม ๒๕๕๔

๕.แนวทางการส่งต่อและติดตาม ผล ๖.หลักสูตรนมแม่ ( ๒๐ ชั่วโมง ) ๗. คู่มือการบริการที่เป็นมิตรกับ วัยรุ่น ๘.มาตรฐานโรงพยาบาลสายใยรัก ร้อยละ๑๐๐ของ แห่งครอบครัวและ รพ.สต.สายใย โรงพยาบาลสายใยรักแห่ง รักแห่งครอบครัว ครอบครัวและ รพ.สต. สายใยรักแห่งครอบครัว รพ. ๑ แห่ง รพ.สต. ๗

ตุลาคม ๒๕๕๔

ธันวาคม ๒๕๕๔

ü

ตุลาคม ๒๕๕๔ ตุลาคม ๒๕๕๔

ธันวาคม ๒๕๕๔ ธันวาคม ๒๕๕๔

ü ü

ตุลาคม ๒๕๕๔

มีนาคม ๒๕๕๔

เงินบํารุง รพ.๓๐,๐๐๐ บาท

สสจ.

ผู้รับผิดชอบ MCH Board รพ. สสอ. รพ.สต. อปท. อําเภอ

ü ü ü

ü ü

ü

ü

ü

ü


แห่ง

๙.หลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่

๘ แห่ง

๑๐.แนวทางการดูแลการตั้งครรภ์ ๖ ตําบล ไม่พึงประสงค์ (SEX วัยใส) ระดับหมู่บ้าน ( สุขศาลา ) ๑. คู่มือ " อสม.สายใยรักแห่ง ครอบครัว"

บูรณาการเป้าประสงค์ ที่ ๑ กองทุน ๒๕๐๐๐ บาท

ตุลาคม ๒๕๕๔

ธันวาคม ๒๕๕๔

ตุลาคม ๒๕๕๔

ธันวาคม ๒๕๕๔

ตุลาคม ๒๕๕๔

ธันวาคม ๒๕๕๔

งบ สสจ. จํานวน ๕๕๗ เล่ม

ü ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü


กระบวนการ/กิจกรรมหลัก ลดโรค TB 1.สร้างแนวปฏิบตั ิ ( care map) การดูแลผูป้ ่ วยวัณโรค ในรพ./ชุมชน - แนวทางการคัดกรองค้นหา -แนวทางการดูแลรักษาต่อเนื) อง เชื)อมโยงถูกต้อง (Plam D/C โดยที มสหวิชาชีพ) ตรวจ Lap พืTนฐาน cbx,lfl,bun,xr,e lyk,HIV

กลุ่มเป้าหมายและจํานวน กลุ่มเป้าหมาย 1.ผูส้ ูงอายุ 2.ผูป้ ่ วยเรืT อรัง DM,HIV (OPI) 3.ผูส้ มั ผัสร่ วมบ้าน, เด็ก 0-5 ปี 4.ผูป้ ่ วยวัณโรครับยาทุกราย

2.พัฒนาศักยภาพบุคลากร - มีผรู ้ ับผิดชอบวัณโรค 2 คน 1.จนท. - อบรมฟืT นฟูความรู ้แก่เจ้าหน้าที) อสม. Dot เจ้าหน้าที) 2.อสม DOT -ทบทวน Case กรณี ศกึ ษาระดับจังหวัดนิ เทศ - Dot meeting สัญจรทุก 3 เดือน - ประกวดนวัตกรรม best prachice ระดับรพช. - จัดเวที KM/TB - มีคาํ สั)งแต่งตัTงคณะกรรมการระดับ คปสอ./รพ

ตัวชี วัดและค่ าเป้าหมาย

งบประมาณ บูรณาการ

- อัตราการค้นหา ครอบคลุม>70 %

DHF

ระยะดําเนินการ เริ มต้ น

สิ นสุ ด

ผู้รับผิดชอบรับดําเนินการ สสจ

คปสอ

สสอ

ตค.54 กย.55

- อัตราการ Admit ผูป้ ่ วยวัณโรค 70 %

- Dot meeting 4 ครัTง/ปี

-1 เรื) อง/ปี /ที) รางวัลที) 1,2,3

ตค.54 กย.55

รพ

อปท ชุ มชน

อืน ๆ


กระบวนการ/กิจกรรมหลัก

กลุ่มเป้าหมายและจํานวน กลุ่มเป้าหมาย

3.พัฒนาคุณภาพการดําเนิ นงานวัณโรคตามมาตรฐาน - ประเมินมาตรฐาน รพ. ตามเกณฑ์สํานักวัณโรค

คปสอ.ทุกแห่ ง - ผลการดําเนิ นงานวัณโรคตามเกณฑ์มาตรฐาน HIV testing (85%) - การเข้าถึงยา ARV ให้ผูป้ ่ วยวัณโรค/ HIV - มีฐานข้อมูลโรคที) เป็ นปั จจุบนั เชื)อมโยงระดับ คปสอ. - มี TB Clinc full time ทุกแห่งแยกเป็ นสัดส่ วน/IC - มีบริ เวณเก็บเสมหะ 4. สร้างภาคีเครื อข่ายการดําเนิ นงานวัณโรคในชุมชน - มีโครงการแก้ปัญหาโรควัณโรคในพืTนที) รพ.สต./ 1 -.สคร.6 /สสจ -.อปท,สสอ,รพช แห่ ง -.อสม,ครู,ผูน้ าํ ชุมชน - ประชาสัมพันธ์ความรู ้เรื) องวัณโรคแก้ ปชช. อย่างครอบคลุม เช่น วิทยุชุมชน,ป้ ายผ้า ป้ ายรณรงค์ ระดับอําเภอ,เรื) องเล่า

ระยะดําเนินการ ตัวชี วัดและค่ าเป้าหมาย

ผู้รับผิดชอบรับดําเนินการ

งบประมาณ เริ มต้ น

- รพ.ผ่านเกณฑ์

สิ นสุ ด

สสจ

คปสอ

ตค.54 กย.55

ตค.54 กย.55

สสอ

รพ

อปท ชุ มชน

อืน ๆ

- มาตรฐานระดับ A - Success rate 90 % - ARV 60 % - Dead rate 3 - Default rate 3 % - 90 %/ รพ.สต. - 1 เรื) อง / ตําบล - สัปดาห์ รณรงค์วนั วัณโรคโลก 24 มี.ค. 55 (ทุกแห่ ง)

5.สร้างนวัตกรรมต้นแบบโดยได้รับทุนสนับสนุนงาน

คปสอ.ทุกแห่ ง

- 1 แห่ง /อําเภอ (อําเภอที มีความชุกโรค)

ตค.54 กย.55

7.จัดตัTงกองทุน วัณโรค ในพืTนที)

คปสอ.ทุกแห่ ง

- 1 แห่ ง /อําเภอ (อําเภอที มีความชุกโรค)

ตค.54 กย.55


กระบวนการ/กิจกรรมหลัก

กลุม่ เป้ าหมายและ จํานวนกลุ่มเป้ าหมาย

ตัวชีTวดั และค่า เป้ าหมาย

งบประมาณ

ระยะดําเนินการ เริ) มต้น

สิT นสุด

ต.ค.๕๔

ก.ย. ๕๕

ผูร้ ับผิดชอบรั บดําเนินการ สสจ.

คปสอ.

รพ.

รพ.สต.

ลดโรค DM / HT กลยุทธที ๑ การพัฒนาระบบข้อมูล สารสนเทศโรคเบาหวาน/ความดัน โลหิ ตสู ง ๑.มีศนู ย์ขอ้ มูลข่าวสาร และการ จัดการระดับจังหวัด/อําเภอ

คปสอ. รพ. ๑ แห่ง รพ.สต. ๗ แห่ง

คปสอ.ทุ กแห่ ง มี ศูนย์ขอ้ มูลโรคเรืT อรัง

๒.พัฒนาโปรแกรมสําหรับจัดเก็บ/ บันทึกข้อมูลที) สาํ คัญและข้อมูลตาม ตัวชีTวดั ของโรค DM/HT

คปสอ. รพ. ๑ แห่ง รพ.สต. ๗ แห่ง

คปสอ. ทุ กแห่ ง มี โปรแกรมสําหรับ การจัดเก็บข้อมูล โรคเรืT อรัง

บูรณาการ งบ สสจ.

ต.ค.๕๔

๓.พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศให้ คปสอ. รพ. ๑ แห่ง รพ.สต. ๗ แห่ง สามารถเชื)อมโยงข้อมูลระหว่าง เครื อข่ายให้บริ การได้

คปสอ. ๑ แห่ง / รพ.สต. ๗ แห่ง มี ข้อมูลสารสนเทศใน การบริ หารจัดการ โรคเรืT อรัง

บูรณาการ งบ สสจ.

ต.ค.๕๔

๔.พัฒนาระบบการขึTน ทะเบียนกลุ่ม คปสอ. รพ. ๑ แห่ง รพ.สต. ๗ แห่ง เสี) ยงสูง/กลุม่ ป่ วย/กลุม่ ป่ วยที)มี ภาวะแทรกซ้อน

คปสอ. ๑ แห่ง / รพ.สต. ๗ แห่ง

บูรณาการ งบ สสจ.

ต.ค.๕๔

ก.ย. ๕๕

ก.ย. ๕๕

ก.ย. ๕๕

อปท.

ชุมชน

อื)น ๆ


๕.ออกแบบรายงานวิธีการจัดเก็บ รายงานหรื อข้อมูลพืTนฐานสําหรับ สุขศาลากาฬสิ นธุ์

สุ ขศาลา ๖๐ แห่ง

๖.จัดประชุมเชิงปฏิบตั ิการบุคลากร ในการใช้งานโปรแกรมที) พฒั นาขึTน โดยคณะทํางาน ๗.ประเมินผล

๓ ครัTง/ปี (คปสอ. ๑ แห่ง /รพ.สต. ๗ แห่ง)

พ.ย.๕๔

๖๐ แห่ง

ร้อยละ ๑๐๐

๔ ครัTง/ปี

บูรณาการ งบ สสจ.

ต.ค.๕๔

บูรณาการ งบ สสจ.

ต.ค.๕๔

ธ.ค. ๕๔ √

ก.ย. ๕๕

ก.ย. ๕๕

กลยุทธที) ๒ พัฒนาระบบบริ การดูแล ผูป้ ่ วยเบาหวาน/ความดันโลหิ ตสูง

๑.พัฒนา/จัดทําแนวทางการจัดการ คปสอ./รพ.สต. โรคเบาหวานและความดันโลหิ ตสูง ด้านการคัดกรอง/การดูแลรักษา/ มาตรฐานการส่ งต่อ/การดูแล ต่อเนื) อง ( CPG)

มาตรฐานคู่มือการ ดูแลรักษาผูป้ ่ วย เบาหวาน/ความดัน โลหิ ตสูง (CPG DM/HT)

ต.ค.๕๔

ก.ย. ๕๕ √


๒.พัฒนาบุคลากรตามแนวทางเวช ปฏิบตั ิที)กาํ หนดพัฒนาบุคลากร(ใน การดําเนิ นงานให้บริ การควบคุม ป้ องกันและรักษาโรคเรืT อรังเน้น ๒ โรค ได้แก่ DM/HT การคัดกรอง กลุ่มเสี) ยง/การปรับเปลี)ยนพฤติกรรม สุขภาพ/การดําเนินงานคลินิก DPAC/การเยี)ยมผูป้ ่ วยโรคเรืT อรัง ฯลฯ) ๓.พัฒนาคลินิกบริ การให้เป็ นแบบ แผนการดูแลเรืT อรังตามมาตรฐาน (Chronic care Model )

คปสอ. รพ.๑ แห่ง / คปสอ. รพ.๑ แห่ง รพ.สต. ๗ แห่ง /รพ.สต. ๗ แห่ง

ต.ค.๕๔

ต.ค.๕๔

๔.ส่งเสริ มสนับสนุนจัดตัTงคลินิก DPAC ในสถานบริ การสาธารณสุข ทุกระดับ

รพท. ๑ แห่ง/รพช. ทุกแห่ ง ๑๓ แห่ง/รพ.สต. ๑๕๖ แห่ง/PCU ๒ แห่ง รพท. ๑ แห่ง/รพช. ๑ ทุกแห่ ง แห่ง/รพ.สต. ๗ แห่ง/ PCU ๒ แห่ง

๕.พัฒนาคลินิก DPAC ต้นแบบทุก แห่ ง

รพท.๑ แห่ง/รพช.๑ แห่ง/รพ.สต. ๗ แห่ง

รพ. ๑ แห่ง / รพ. สต. ๗ แห่ง

ต.ค.๕๔

รพท.๑ แห่ง/รพช.๑ ๖. พัฒนาบุคลากรในการตรวจคัด กรองภาวะแทรกซ้อนทางตา/ไต/เท้า แห่ง/รพ.สต. ๗ แห่ง

รพ./รพ.สต. ๗ แห่ง ๆ ละ ๑ คน

ต.ค.๕๔

๗. การบริ หารจัดการใช้กล้องถ่าย จอประสาทตาและการแปลผล

ทุกแห่ ง

ต.ค.๕๔

รพท.๑ แห่ง/รพช.๑ แห่ง

ต.ค.๕๔

ก.ย. ๕๕

ก.ย. ๕๕

ก.ย. ๕๕

ก.ย. ๕๕

ก.ย. ๕๕ ก.ย. ๕๕ √


๘. หน่วยบริ การจัดหาซืTอครุ ภณั ฑ์ที) จําเป็ น เช่น Mono Filament, urine/micro albumin strip ฯลฯ

รพท. ๑ แห่ง/รพช. ๑ ทุกแห่ ง แห่ง/รพ.สต. ๗ แห่ง

๙.นิ เทศงาน ติดตามและประเมินผล

๒ ครัTง/ปี

๑๐.สร้างขวัญกําลังใจ ยกย่องให้คาํ ชมเชยผูป้ ฏิบตั ิงาน เช่น พัฒนาการ ทํางานเป็ นทีมระหว่างบุคลากรใน สถานบริ การ,การส่ งเข้าศึกษา ต่อเนื) องหรื อฝึ กอบรมระยะสัTน

รพท. ๑ แห่ง/รพช. ๑ ทุกแห่ ง แห่ง/รพ.สต. ๗ แห่ง

๒ ครัTง/ปี

กลยุทธที ๓ พัฒนาระบบการทํา งาน เชิ งรุ ก

๑.ตรวจสุขภาพเชิงรุ กในพืTนที) แบบ บูรณาการ(คัดกรองความเสี) ยง) ร่ วมกับหน่ วยงานที)เ กี)ยวข้องทัTงใน และนอกกระทรวงสาธารณสุข

คัดกรองเบาหวาน/ ความดันใน ประชาชนอายุ ≥๓๕ ปี

ประชาชนอายุ ≥ ๓๕ ปี ได้รั บการคัด กรองเบาหวาน/ ความดันมากกว่า ร้อยละ ๙๐

บูรณาการ งบ PP เชิง รุ ก รพ./รพ. สต.

๒.ขึTนทะเบียนกลุม่ เสี) ยงสู ง DM/HT รพท. ๑ แห่ง/รพช. ๑ ทุกแห่ ง แห่ง/รพ.สต. ๗ แห่ง ทุกราย

๓.กลุม่ เสี) ยงสู งได้รับการ ปรับเปลี)ยนพฤติกรรมตามแนว ทางการดําเนินงานเสริ มทักษะ ปรับเปลี)ยนพฤติกรรมลดเสี) ยงลด โรคไม่ติดต่อเรืT อรัง

กลุม่ เสี)ยงสูงได้รับ การปรั บเปลี)ยน พฤติกรรม

กลุม่ เสี)ยงสูงได้รับ การปรั บเปลี)ยน พฤติกรรมมากว่า ร้อยละ ๖๐


๔.จัดระบบการส่งต่อผูป้ ่ วยรายใหม่ (๑. ในกรณี ที)แพทย์วินิจฉัยที) รพ. สต. ๒.ในกรณี ที)แพทย์วินิจฉัยที) รพ.เพื)อตรวจยืนยันและไป ลงทะเบียนที)หน่วยบริ การประจํา และติดตามแผนการรักษาอย่าง ต่อเนื) อง) ๕.หน่ วยบริ การทุกระดับมีการ ให้บริ การเชิงรุ กในการเยี)ยมบ้าน

รพท. ๑ แห่ง/รพช. ๑ ทุกแห่ ง แห่ง/รพ.สต. ๗ แห่ง

ผูป้ ่ วยเบาหวาน/ ความดันโลหิ ตสูง

ผูป้ ่ วยเบาหวาน/ ความดันโลหิ ตสูง ได้รับบริ การเชิงรุ ก ในการเยี)ยมบ้า น อย่างน้อยร้อยละ ๙๐

๖.ร่ วมพัฒนาระบบบริ การโดยใช้สุข ศาลาเป็ นศูนย์กลาง กลยุทธที) ๕ สนับสนุนให้องค์กร/ รพท./รพช. ทุกแห่ ง ชุมชนมีส่วนร่ วมในการดูแลสุ ขภาพ ตนเองโดยการผสมผสานการใช้ภมู ิ ปัญญาท้องถิ)น ๑.มีการจัดตัTงชมรม DM/HT รพ. ๑ แห่ง รพ.สต. ๒.มีกิจกรรมส่งเสริ มลดเสี)ยงลด ๗ แห่ง โรคโดยการมีส่วนร่ วมของชุม ชน

รพท./รพช. ทุกแห่ ง มีการจัดตัTงชมรม เบาหวาน/ความดัน อย่างน้อย ๑ ชมรม ร้อยละ ๕๐ ของรพ. สต. มีการจัดตัTง ชมรมเบาหวาน/ ความดันอย่างน้อย ๑ ชมรม


จํานวน ๖ ตําบล หมูบ่ า้ นปรับเปลี)ยน พฤติกรรมสุ ขภาพ ๒๒ บ้าน

มีการจัดประชุมเชิง ปฏิบตั ิการนําองค์ ความรู้ดา้ นภูมิปัญญา ไทยมาใช้แก้ปัญหา สุ ขภาพพืTนที) โรคเบาหวาน ความ ดันโลหิ ต

งบกองทุน ฯ ๑๒๐,๐๐๐ บ. (G ๑๒)

๒.จัดเวทีสงั เคราะห์ผลการ ดําเนิ นงาน และจัดมหกรรม แลกเปลี)ยนเรี ยนรู ้ระดับอําเภอ/ ตําบล/ชุมชน

จัดเวทีสังเคราะห์ผล การดําเนินงาน และ จัดมหกรรม แลกเปลี) ยนเรี ยนรู้ ระดับอําเภอ/ตําบล อย่างน้อย ๒ครัTง/ปี

มีการจัดเวที สังเคราะห์ผลการ ดําเนินงาน และเป็ น เวทีแลกเปลี)ยน เรี ยนรู้ระดับอําเภอ/ ตําบล /ชุ มชน อย่าง น้อย ๔ ครัTง/ปี

งบ CUP ๑๐,๐๐๐ บ. ( G ๑๒)

๒.วิจยั รู ปแบบการปรับเปลี)ยน พฤติกรรมการดูแลตนเอง

1 อําเภอ

1 แห่ง

กลยุทธ์ ที ๗ ส่ งเสริมการจัดการโรค ด้ วยนวตกรรม

๑.ประชุมเชิงปฏิบตั ิการนําองค์ ความรู ้ดา้ นภูมิปัญญาไทยมาใช้ แก้ปัญหาสุ ขภาพพืTนที) โรคเบาหวาน ความดันโลหิ ต


ผลลัพธ์

กลยุทธ์

ลดการ พัฒนาศักยภาพ ป่วย ภาคีเ ครือข่าย DHF เกี่ยวกับ การเฝ้า ระวังป้องกัน ควบคุมโรค

กลุ่มเป้าหมายและ กระบวนการ/กิจกรรมหลัก จํานวนกลุ่มเป้าหมาย 1. พัฒนาระบบเฝ้าระวัง โรคของหน่วยบริการและ ชุมชน 1.1 แต่งตั้งคณะกรรมการ ระดับอําเภอ=ทีมสห จัดการโรค วิชาชีพ ระดับตําบล=ผู้นํา ระดับ อําเภอ ตําบล ,อปท., อสม.,ครู,จนท.สา ธารณสุข 1.2 ประชุมเชิงปฏิบ ัติการ การจัดการ ระบบเฝ้าระวังโรคในระดับ อําเภอและตําบล ๖โรค 1.3 ฝึกอบรมการจัดการ ระบบสารสนเทศสนเทศ เกี่ยวกับ การเฝ้าระวังโรค 1.4 ติดตามนิเทศหรือ ประเมินผลการ ดําเนินงานเฝ้าระวังโรค ระดับ อําเภอและตําบล

SRRT,อปท.,ผู้นํา ,อสม. ๑๐๐ คน ครูอนามัยโรงเรียน SRRT (รพ.,สสอ.,รพ สต.) คปสอ. 1 แห่ง ตําบล ๕ ตําบล

1.5 สรุป ผลประเมินและ ถอดบทเรียนการดําเนินงาน SATจังหวัด SAT ในพื้นที่ อําเภอ

ตัวชี้วัดและค่า เป้าหมาย

1 อําเภอ 1 ทีม

งบประมาณ

-

ระยะดําเนินการ เริ่มต้น

สิ้นสุด

พ.ย54

พ.ย54

สสจ

1 ตําบล 1 ทีม

-ร้อยละ 80 ของคปสอ. งบ CUP. ก.พ. มีระบบ ๑๕๐๐๐ บ. 55 เฝ้าระวังโรคเชื่อมโยงกับ ภาคีเครือข่ายในชุมชน -ร้อยละ 80 ของคปสอ. มีการบริหารจัด การ ม.ค. ระบบสารสนเทศ งบ สสจ. 55 SATประเมินคปสอ.2 ครั้ง/ปี งบ สสจ. SATอําเภอประเมิน ตําบล 2 ครั้ง2/ปี งบ คปสอ. -ร้อยละ 100 ของคปสอ.มีการสรุป ผล ประเมินและถอด บทเรียน -

มี.ค55

ก.พ.. 55

ม.ค.55 ก.ค.55

ก.ค.55

/

คป สอ.

ผู้รับผิดชอบรับ ดําเนินการ รพ. สสอ. รพ. สต. อปท. ชุมชน อื่นๆ


ลดการ ส่งเสริมการมีส่วน ป่วย ร่วมของภาคี DHF เครือข่าย

2. พัฒนาการจัดทําแผน ป้องกันควบคุมโรคแบบมี ส่วนร่วมของเครือข่ายทั้ง ในระดับอําเภอ/ตําบล/ ชุมชน

พื้นทีเ่ สี่ยงสูง ๓ แห่ง

2.1 ศึกษา วิเคราะห์ และ คณะกรรมการจัดการ สะท้อนสภาพปัญหา โรคระดับอําเภอ เกี่ยวกับ ปัจจัยเสี่ยงด้าน ตําบล กองทุนสุขภาพ สิ่งแวดล้อมและพฤติกรรม การป้องกันโรคในพื้นที่เสี่ยง สูง 2.3 ร่วมกับภาคีเครือข่าย พื้นทีเ่ สี่ยงสูง ๙ ขับเคลื่อนวาระของชุมชน ชุมชน หรือมาตรการทางสังคมหรือ นวัตกรรมป้องกันโรคให้ สอดคล้องกับ บริบทพื้นที่ 2.4 จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ป ระกวดนวัตกรรม ป้องกันโรคระดับ อําเภอ 3. ขับเคลื่อนกลยุทธ์ ป้องกันโรคของชุมชน (กําจัดยุงและป้องกันยุง กัด) 3.1 จัดเวทีประชาคม เพื่อกําหนดวาระของชุมชน หรือมาตรการทางสังคมหรือ

คปสอ. 18 แห่งพื้นที่ เสี่ยงสูง ๔ แห่ง

ผู้นําชุมชน คน

-ร้อยละ 80 ของ หมู่บ้านเสี่ยง

-ร้อยละ 100 ของ คปสอ.มีการศึกษา วิเคราะห์และสะท้อน ข้อมูลให้กับ พื้นที่มี แผนการป้องกันและ ควบคุมโรคครอบคลุม พื้นทีเ่ สี่ยงสูง -ร้อยละ 100 ของคปสอ.มีการ ขับ เคลื่อนวาระของ ชุมชนหรือมาตรการทาง สังคมหรือนวัตกรรม มาตรการป้องกันโรค -ร้อยละ 100 ของ คป สอ.มีการใช้นวัตกรรม ป้องกันโรค -ร้อยละ 80 ของพื้นที่ เสี่ยงมี การดําเนินการ ครอบคลุมกิจกรรม

อปท คน

ที่กําหนด

ครู คน

-ร้อยละ 80 ของพื้นที่มี

งบ คปสอ.

งบ คปสอ. งบ คปสอ.

พ.ย54 ก.พ. 55

พ.ย54 ก.ย.. 55

งบ สสจ.

ก.ค. 55

ก.ค.55

งบกองทุน

เม.ย 55

ส.ค.55

เม.ย 55

เม.ย55

สุขภาพ


ถ่ายทอดนวัตกรรมตาม บริบทของชุมชน 3.2 สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ข้อตกลงจาก เวทีประชาคมถึงประชาชน อย่างต่อเนื่อง

ค่าความ อสม. คน

ชุกลูกน้ําต่ํากว่า 10

หลังคาเรือน

-ร้อยละ 100 ของ สถานบริการ

เม.ย 55

ส.ค.55

วัดโรงเรียน รพ.สต.

มีค่าความชุกลูกน้ํา เท่ากับ 0

พ.ค. 55

ส.ค.55

พ.ค. 55

ส.ค.55

ม.ค. 55

ม.ค.55

ม.ค. 55

ม.ค.55

ม.ค. 55

ก.ย. 55

3.3 สร้างแรงจูงใจเชิญ ชวนให้ประชาชนเข้ามามี ส่วนร่วม 3.4 รณรงค์ป รับปรุง สิ่งแวดล้อมทั่วทุกหลังคา เรือนและสถานบริการใน ชุมชน 4. พัฒนาระบบการ ประเมินผลร่วมกับชุมชน 4.1 สร้างเครื่องมือการ ประเมินค่าความชุก ลูกน้ําหรือการปรับ เปลี่ยน พฤติกรรม 4.2 ประชุมชี้แจงระบบการ ประเมิน 4.3 ร่วมกับ แกนนําชุมชน ดําเนินการ ประเมิน 4.4 สรุปผลการประเมินและ สะท้อนข้อมูลกลับให้กับ ชุมชน

งานควบคุมโรค สสจ. คปสอ. พื้นทีเ่ สี่ยงสูง ตัวแทนชุมชน นคม.

แห่ง

-ร้อยละ 80 ของพื้นที่ เสี่ยงสูงมี การประเมินผลอย่าง ต่อเนื่อง

งบ สสจ. งบ คปสอ.

อย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี -


4.5 นคม.สุ่มประเมินและ สะท้อนข้อมูลกลับให้กับ ชุมชน 5. ถอดบทเรียนร่วมกับ ชุมชน 5.1 ประชุมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกับ แกนนําใน ชุมชน

-นคม.สุ่มประเมินทุก 3 เดือน -ร้อยละ 80 ของ รพ รพสต. แห่งผู้นํา สต.มีการสร้างนวัตกรรม ชุมชน อปท ครูอสม. และถ่ายทอดนวัตกรรม งบกองทุน

ก.ค. 55

ส.ค.55

ม.ค. 55

ม.ค.55

5.2 สรุปบทเรียนและ แลกเปลี่ยนกับ ชุมชนอื่น 5.3 สร้างนวัตกรรมและ ถ่ายทอดในศูนย์เรียนรู้ฯหรือ โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพ การเตรียมความ พร้อมและบูรณา การโต้ตอบภาวะ ฉุกเฉิน (กรณีเกิด การระบาดของ โรค)

6. การเตรียมความพร้อม และบูรณาการโต้ตอบภาวะ ฉุกเฉิน (กรณีเกิดการ ระบาดของโรค) SRRT ทุกอําเภอ/ 6.1 หน่วยงานทุกระดับ มี ตําบล/ชุมน ความพร้อม (บุคลากร/วัสดุ อุปกรณ์) ในการโต้ตอบ ภาวะฉุกเฉิน กรณีเกิดการ ระบาดของโรค

-ร้อยละ 100 ของคปสอ.มีการเตรียม ความพร้อมตาม มาตรฐาน

งบ อปท. งบ สสจ./ งบ คปสอ./ อปท.


ผลลัพธ์

กลยุทธ์

ลดการ 1.พัฒนาศักยภาพ ตาย บุคลากรและ LEPTO เครือข่าย

พัฒนาศักยภาพ ภาคีเครือข่าย เกี่ยวกับการเฝ้า ระวังป้องกัน ควบคุมโรค

กระบวนการ/กิจกรรมหลัก 1.1 ประชุมวิชาการการจัดการโรคตั้งแต่ การตรวจ/วินิจฉัย/การดูแลรักษาและการ ส่งต่อ

กลุ่มเป้าหมาย และจํานวน กลุ่มเป้าหมาย ระดับอําเภอ= ทีมสหวิชาชีพ

ตัวชี้วัดและค่า เป้าหมาย -ร้อยละ 80 ของคปสอ.มีการ กําหนดแนวทาง จัดการโรค(CPG)

งบประมาณ งบ สสจ.

ระยะดําเนินการ เริ่มต้น ม.ค. 55

สิ้นสุด

ผู้รับผิดชอบรับดําเนินการ คป รพ. สสจ สอ. สสอ. รพ. สต. อปท. ชุมชน

1.2 จัดทําคูมือ/แนวทางการดูแลรักษาและ รพ./รพ.สต. การส่งต่อผู้ป ่วย สําหรับ แพทย์/พยาบาล/ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข 1. พัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคของหน่วย บริการและชุมชน 1.1 แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการโรค ระดับ อําเภอ ตําบล

ระดับอําเภอ= ทีมสหวิชาชีพ ระดับตําบล=ผู้ นํา,อปท.,อสม., ครู,จนท.สา ธารณสุข

1 อําเภอ 1 ทีม1 ตําบล 1 ทีม

-

-ร้อยละ 80 ของคปสอ.มีระบบ 1.2 ประชุมเชิงปฏิบ ัติการการจัดการ SRRT,อปท.,ผู้นํา เฝ้าระวังโรค ระบบเฝ้าระวังโรคในระดับอําเภอและ ,อสม.ครูอนามัย เชื่อมโยงกับภาคี ตําบล โรงเรียน เครือข่ายในชุมชน บูรณาการ 1.3 ฝึกอบรมการจัดการระบบ SRRT (รพ. -ร้อยละ 80 งบ สสจ. สารสนเทศสนเทศเกี่ยวกับการเฝ้าระวังโรค ,สสอ.,รพสต.) ของคปสอ.มีการ บริหารจัดการระบบ สารสนเทศที่เป็น

พ.ย54 พ.ย54

ก.พ. 55 ม.ค. 55

ก.พ..55 ม.ค.55

/


ระบบ 1.4 ติดตามนิเทศหรือประเมินผลการ ดําเนินงานเฝ้าระวังโรคระดับอําเภอ ตําบล

ลดการ ส่งเสริมการมีส่วน ป่วย ร่วมของภาคี LEPTO เครือข่าย

1.5 สรุปผลประเมินและถอดบทเรียนการ ดําเนินงานในพื้นที่ 2. พัฒนาการจัดทําแผนป้องกันควบคุม โรคแบบมีส่วนร่วมของเครือข่ายทั้งใน ระดับอําเภอ/ตําบล/ชุมชน

2.1 ศึกษา วิเคราะห์ และสะท้อนสภาพ ปัญหาเกี่ยวกับ ปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม และพฤติกรรมการป้องกันโรคในพื้นที่เสี่ยง สูง

2.2 ร่วมกับภาคีเครือข่าย นักจัดการ สุขภาพ จัดทําแผนป้องกันและควบคุมโรค ในพื้นที่

พื้นทีเ่ สี่ยงสูง แห่ง

SATประเมินคปสอ. 2 ครั้ง/ปี งบ สสจ. SATอําเภอประเมิน ตําบล 2 ครั้ง2ปีร้อยละ 100 ของคปสอ.มีการ สรุปผลประเมินและ ถอดบทเรียน งบ คปสอ. -ร้อยละ 80 ของ งบ คปสอ. หมู่บ ้านเสี่ยง

คณะกรรมการ จัดการโรคระดับ อําเภอระดับ ตําบล

-ร้อยละ 100 ของคปสอ.มี การศึกษา วิเคราะห์ และสะท้อนข้อมูล ให้กับ พื้นที่ งบ คปสอ.

พ.ย54 พ.ย54

พื้นทีเ่ สี่ยงสูง ชุมชนกองทุน สุขภาพ

-ร้อยละ 80 ของ กองทุนสุขภาพมี แผนการป้องกัน และควบคุมโรค ครอบคลุมพื้นที่ เสี่ยงสูง

พ.ย54 พ.ย54

คปสอ. 18 แห่ง ตําบล SAT จังหวัด SAT อําเภอ

งบ กองทุน

มี.ค55

ก.ค.55 -ร้อยละ 100 ของคปสอ. มีการสรุป ฯ


พื้นทีเ่ สี่ยงสูง 2.3 ร่วมกับภาคีเครือข่ายขับเคลื่อนวาระ ชุมชน ของชุมชนหรือมาตรการทางสังคมหรือ นวัตกรรมป้องกันโรคให้สอดคล้องกับ บริบท พื้นที่ 2.4 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้หรือ ประกวด นวัตกรรมป้องกันโรคระดับ อําเภอ

คปสอ. 18 แห่ง

-ร้อยละ 100 ของคปสอ.มีการ งบ คปสอ. ขับเคลื่อนวาระของ ชุมชนหรือ มาตรการทางสังคม หรือนวัตกรรม ป้องกันโรค -ร้อยละ 100 ของคปสอ.มีการ งบ สสจ. ใช้นวัต กรรมป้องกัน โรค

ก.พ. 55

ก.ย..55

ก.ค. 55

ก.ค.55

3. ขับเคลื่อนกลยุทธ์ป้องกันโรคของ ชุมชน 3.1 จัดเวทีป ระชาคม เพื่อกําหนดวาระ ของชุมชนหรือมาตรการทางสังคมหรือ ถ่ายทอดนวัตกรรมตามบริบทของชุมชน 3.2 สื่อสารประชาสัมพันธ์ข้อตกลงจาก เวทีประชาคมถึงประชาชนอย่างต่อเนื่อง 3.3 สร้างแรงจูงใจเชิญชวนให้ประชาชน เข้ามามีส่วนร่วม 3.4 รณรงค์ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทั่วทุก หลังคาเรือนและสถานบริการในชุมชน

-ร้อยละ 80 ของ พื้นทีเ่ สี่ยงสูง พื้นที่เสี่ยงมีการ แห่งผู้นําชุมชน ดําเนินการ คนอปท คนครู ครอบคลุมกิจกรรม คนอสม. คน ที่กําหนด หลังคาเรือน วัด โรงเรียน รพ.สต.

งบกองทุน สุขภาพ

เม.ย 55 เม.ย 55 พ.ค. 55 พ.ค. 55

เม.ย55 ส.ค.55 ส.ค.55 ส.ค.55


4. ถอดบทเรียนร่วมกับชุมชน

ผู้นําชุมชน

-ร้อยละ 80 ของ รพสต.มีการ งบกองทุน สร้างนวัตกรรมและ ถ่ายทอด

4.2 สรุปบทเรียนและแลกเปลี่ยนกับ

อปท

นวัตกรรม

ชุมชนอื่น 4.3 สร้างนวัต กรรมและถ่ายทอดในศูนย์ เรียนรู้หรือโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพ 5. การเตรียมความพร้อมและบูรณาการ โต้ตอบภาวะฉุกเฉิน (กรณีเกิดการระบาด ของโรค) 5.1 หน่วยงานทุกระดับ มีความพร้อม (บุคลากร/วัสดุอุปกรณ์) ในการโต้ตอบ ภาวะฉุกเฉิน กรณีเกิดการระบาดของโรค 1.1 ประชุมวิชาการการจัดการโรคตั้งแต่ การตรวจ/วินิจฉัย/การดูแลรักษาและการ ส่งต่อ

ครู

4.1 ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับ แกนนําในชุมชน

การเตรียมความ พร้อมและบูรณา การโต้ตอบภาวะ ฉุกเฉิน (กรณีเกิด การระบาดของ โรค) ลดการ 1.พัฒนาศักยภาพ ตาย บุคลากรและ อุจจาระ เครือข่าย ร่วง

รพสต. แห่ง

อสม. SRRT ทุก อําเภอ/ตําบล

ระดับอําเภอ= ทีมสหวิชาชีพ

พัฒนาศักยภาพ ภาคีเครือข่าย เกี่ยวกับการเฝ้า ระวังป้องกัน ควบคุมโรค

1. พัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคของหน่วย บริการและชุมชน 1.1 แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการโรคระดับ อําเภอ ตําบล

ระดับอําเภอ= ทีมสหวิชาชีพ ระดับตําบล=ผู้ นํา,อปท.,อสม., ครู,จนท.สา

ส.ค.55

-ร้อยละ 100 ของคปสอ.มีการ เตรียมความพร้อม ตามมาตรฐาน

งบ สสจ./ งบ คปสอ.

ม.ค. 55

ม.ค.55

-ร้อยละ 80 ของคปสอ.มีการ กําหนดแนวทาง จัดการโรค(CPG)

งบ สสจ.

ม.ค. 55

ม.ค.55

1.2 จัดทําคูมือ/แนวทางการดูแลรักษาและ รพ./รพ.สต. การส่งต่อผู้ป ่วย สําหรับ แพทย์/พยาบาล/ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ลดการ ป่วย อุจจาระ ร่วง

ก.ค. 55

1 อําเภอ 1 ทีม1 ตําบล 1 ทีม


ธารณสุข 1.2 ประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดการ ระบบเฝ้าระวังโรคในระดับอําเภอและ ตําบล 1.3 ฝึกอบรมการจัดการระบบ สารสนเทศ สนเทศเกี่ยวกับ การเฝ้าระวังโรค 1.4 ติดตามนิเทศหรือประเมินผลการ ดําเนินงานเฝ้าระวังโรคระดับอําเภอ 1.5 สรุปผลประเมินและถอดบทเรียน ลดการ ส่งเสริมการมีส่วน ป่วย ร่วมของภาคี อุจจาระ เครือข่าย ร่วง

การดําเนินงานในพื้นที่ 2. พัฒนาการจัดทําแผนป้องกันควบคุม โรคแบบมีส่วนร่วมของเครือข่ายทั้งใน ระดับอําเภอ/ตําบล/ชุมชน

SRRT,อปท.,ผู้นํา -ร้อยละ 80 ,อสม. ของคปสอ.มีระบบ เฝ้าระวังโรคเชื่อมโยง ครูอนามัย กับภาคีเครือข่ายใน โรงเรียน ชุมชน SRRT (รพ. -ร้อยละ 80 ,สสอ.,รพสต.) ของคปสอ.มีการ บริหารจัดการระบบ สารสนเทศที่เป็น ระบบ คปสอ. 18 แห่ง SATประเมินคปสอ.2 ตําบล ครั้ง/ปี -ร้อยละ 100 SATจังหวัด ของคปสอ.มีการ สรุปผลประเมินและ SATอําเภอ ถอดบทเรียน พื้นทีเ่ สี่ยงสูง -ร้อยละ 80 ของ แห่ง หมู่บ ้านเสี่ยง

-ร้อยละ 100 2.1 ศึกษา วิเคราะห์ และสะท้อนสภาพ คณะกรรมการ ของคปสอ.มี ปัญหาเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม จัดการโรคระดับ การศึกษา วิเคราะห์ และพฤติกรรมการป้องกันโรคในพื้นที่เสี่ยง อําเภอระดับ และสะท้อนข้อมูล สูง ตําบล ให้กับ พื้นที่ 2.2 ร่วมกับ ภาคีเครือข่าย นักจัดการ พื้นทีเ่ สี่ยงสูง -ร้อยละ 80 ของ สุขภาพ จัดทําแผนป้องกันและควบคุมโรค ชุมชนกองทุน กองทุนสุขภาพมี

บูรณากร

ก.พ. 55

ก.พ..55

งบ สสจ.

ม.ค. 55

ม.ค.55

งบ สสจ.

มี.ค55

ก.ค.55

-

ก.ค.55

งบ คปสอ.

งบ คปสอ.

พ.ย54 พ.ย54

งบ กองทุน

พ.ย54 พ.ย54

/


ในพื้นที่

สุขภาพ

2.3 ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายขับ เคลื่อน วาระของชุมชนหรือมาตรการทางสังคม หรือนวัตกรรมป้องกันโรคให้สอดคล้องกับ บริบทพื้นที่

พื้นทีเ่ สี่ยงสูง ชุมชน

2.4 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้หรือ ประกวดนวัตกรรมป้องกันโรคระดับอําเภอ คปสอ. 18 แห่ง 3. ขับเคลื่อนกลยุทธ์ป้องกันโรคของ ชุมชน 3.1 จัดเวทีป ระชาคม เพื่อกําหนดวาระ ผู้นําชุมชน คน ของชุมชนหรือมาตรการทางสังคมหรือ

อปท คน

ถ่ายทอดนวัตกรรมตามบริบทของชุมชน

ครู คน

3.2 สื่อสารประชาสัมพันธ์ข้อตกลงจาก อสม. คน เวทีประชาคมถึงประชาชนอย่างต่อเนื่อง 3.3 สร้างแรงจูงใจเชิญชวนให้ ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม 3.4 รณรงค์ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทั่วทุก หลังคาเรือนและสถานบริการในชุมชน

แผนการป้องกันและ ควบคุมโรค ครอบคลุมพื้นที่เสี่ยง สูง -ร้อยละ 100 ของคปสอ.มีการ ขับเคลื่อนวาระของ ชุมชนหรือมาตรการ ทางสังคมหรือ นวัตกรรมป้องกันโรค งบ คปสอ. -ร้อยละ 100 ของคปสอ.มีการใช้ นวัตกรรมป้องกันโรค งบ สสจ.

งบกองทุน

ก.พ. 55

ก.ย..55

ก.ค. 55

ก.ค.55

เม.ย 55

เม.ย55

เม.ย 55

ส.ค.55

สุขภาพ

หลังคาเรือน วัดโรงเรียนรพสต

พ.ค. 55 พ.ค. 55

ส.ค.55 ส.ค.55


4. ถอดบทเรียนร่วมกับชุมชน 4.1 ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับ แกนนําในชุมชน

การเตรียมความ พร้อมและบูรณา การโต้ตอบภาวะ ฉุกเฉิน (กรณีเกิด การระบาดของ โรค)

รพสต. แห่งผู้นํา -ร้อยละ 80 ของ รพ งบกองทุน ชุมชน อปทครู สต.มีการสร้าง นวัตกรรมและ ถ่ายทอดนวัตกรรม

ก.ค. 55

ส.ค.55

ม.ค. 55

ม.ค.55

4.2 สรุปบทเรียนและแลกเปลี่ยนกับ ชุมชนอื่น 4.3 สร้างนวัต กรรมและถ่ายทอดใน ศุนย์เรียนรู้หรือโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพ อสม. 5. การเตรียมความพร้อมและบูรณาการ โต้ตอบภาวะฉุกเฉิน (กรณีเกิดการระบาด ของโรค)

5.1 หน่วยงานทุกระดับ มีความพร้อม (บุคลากร/วัสดุอุปกรณ์) ในการโต้ตอบ ภาวะฉุกเฉิน กรณีเกิดการระบาดของโรค

SRRT ทุก อําเภอ/ตําบล

-ร้อยละ 100 ของคปสอ.มีการ เตรียมความพร้อม ตามมาตรฐาน

งบ สสจ./ งบ คปสอ.


กระบวนการ กิจกรรมหลัก การนําองค์ความรู้ไปใช้ในการ พัฒนาระบบสุขภาพและแก้ไข ปัญหาสุขภาพในพื้นที่ 1. การประชุ มเชิงปฏิ บตั กิ ารเพื)อ นําเสนอแผนงาน/โครงการ และการจัดทําข้อตกลงในการ ประเมินผลต่อคณะกรรมการ ประเมินผล 2. การออกประเมินติดตาม ความก้าวหน้าการดําเนินงาน แผนงาน/โครงการฯ โดยทีม ประเมินระดับจังหวัด ปี ละ 2 ครัTง

กลุ่มเป้าหมาย และ จํานวนกลุ่มเป้าหมาย ผูร้ ับผิดชอบแผนงาน/ โครงการ/ตามเป้ าประสงค์ 12 (รพช. 1 แห่ ง สสอ. 1 แห่ งรพ.สต.) หน่วยงาน ละ 2 คน

ตัวชี วัดและ ค่ าเป้าหมาย

งบประมาณ

ร้ อยละ 100 ของ งบ สสจ. ผูร้ ับผิดชอบแผนงาน/ โครงการ/เป้ าประสงค์ 12 ของ รพช./สสอ. นําเสนอ แผนงาน/โครงการ รับทราบและจัดทํา ข้อตกลงในการ ประเมินผลต่อ คณะกรรมการประเมินผล ผูร้ ับผิดชอบแผนงาน/ ร้ อยละ 100 ของ รพช. งบ สสจ. โครงการ/ตามเป้ าประสงค์ (14 แห่ ง) และ สสอ. (18 12 (รพช. 1 แห่ ง สสอ. 1 แห่ ง) มีรายงาน แห่ ง) หน่วยงานละ 2 ความก้าวหน้าของ คน แผนงาน/โครงการ หน่วยงานละ 1 เรื) อง

สถานที ห้อ ง ประชุ ม สสจ.กส

ห้อ ง ประชุ ม ปัญญานุ สติ สสจ.กส

ระยะเวลาดําเนินการ

ผู้รับผิดชอบ

เริ มต้ น 14 ธค. 54

สิ นสุ ด 15 ธค. 54

หลัก สสจ.

ร่ วม รพช. สสอ. อปท. สสจ. สอ. รร. วัด ชุมชน ฯลฯ

งวดที) 1 2 เมย. 55 งวดที) 2 12 กค.55

งวดที) 1 10 เมย. 55 งวดที) 2 13 กค.55

สสจ.

รพช. สสอ. ผูร้ ับผิดชอบ แผนงาน/ โครงการ


กระบวนการ กิจกรรมหลัก

กลุ่มเป้าหมาย และ จํานวนกลุ่มเป้าหมาย

ตัวชี วัดและ ค่ าเป้าหมาย

งบประมาณ

ร้อยละ 100 ของผูร้ ับผิดชอบ งบ สสจ. แผนงาน/โครงการ/ เป้ าประสงค์ 12 ของ รพช./ สสอ. ร่ วมวิเคราะห์ผลการ ดําเนิ นงานและรายงาน ความก้าวหน้าแผนงาน/ โครงการ ร้อยละ 100 ของ รพช. งบ สสจ. 4. การประชุ มเชิงปฏิ บตั กิ ารเพื)อ ผูร้ ับผิดชอบแผนงาน/ แลกเปลี)ยนเรี ยนรู ้ ผลการ โครงการ (รพช. 1 แห่ ง (14 แห่ ง) และ สสอ. (18 แห่ ง) เข้าร่ วมเวที แลกเปลี)ยน ดําเนินงานพัฒนาระบบสุ ขภาพ สสอ. 1 แห่ ง) และ เรี ยนรู ้ และมีนวัตกรรม และแก้ไขปั ญหาสาธารณสุ ขใน กลุ่มเป้ าหมายในการ สุขภาพในการพัฒนาระบบ พืTนที) ดําเนินงานฯ จํานวน 100 สุขภาพ/แก้ไขปัญหาสุขภาพ คน ในพืT นที) หน่ วยงานละ 1 เรื) อง หน่ วยงานระดับจังหวัดมี 5. การประชุ มเชิงปฏิ บตั กิ ารเพื)อ ผูร้ ับผิดชอบแผนงาน/ งบ สสจ. สังเคราะห์องค์ความรู ้ เชิ ง โครงการ/ตามเป้ าประสงค์ ฐานความรู ้ที)เกิดจากการ ยุทธศาสตร์ สําหรับการตัดสิ นใจ 12 (รพช. 1 แห่ ง สสอ. 1 สังเคราะห์องค์ความรู ้และ ส่งกลับข้อมูลให้แก่ผบู้ ริ หาร เชิ งนโยบาย แห่ ง) หน่วยงานละ 2 เพื) อการตัดสินใจเชิงนโยบาย คน ในปี 2556

3. การประชุ มเชิงปฏิ บตั กิ ารเพื)อ วิเคราะห์ผลการดําเนินงานและ รายงานความก้าวหน้าแผนงาน/ โครงการ

ผูร้ ับผิดชอบแผนงาน/ โครงการ/ตามเป้ าประสงค์ 12 (รพช. 1 แห่ ง สสอ. 1 แห่ ง) หน่วยงานละ 2 คน

สถานที

ระยะเวลาดําเนินการ

ผู้รับผิดชอบ

เริ มต้ น 24 เมย. 55

สิ นสุ ด 25 เมย. 55

หลัก สสจ.

ร่ วม รพช. สสอ. อปท. สสจ. สอ. รร. วัด ชุมชน ฯลฯ

ห้อ ง ประชุ ม ปัญญานุ สติ สสจ.กส

26 กค. 55

27 กค. 55

สสจ.

รพช. สสอ. รพ.สต. ชุมชน ผูร้ ับผิดชอบ แผนงาน/ โครงการ

ห้อ ง ประชุ ม ปัญญานุ สติ สสจ.กส

28 สค. 55

29 สค. 55

สสจ.

รพช. สสอ. อปท. สสจ. สอ.

ห้อ ง ประชุ ม ปัญญานุ สติ สสจ.กส


กระบวนการ กิจกรรมหลัก

กลุ่มเป้าหมาย และ จํานวนกลุ่มเป้าหมาย

1. การประชุ มเชิงปฏิ บตั ิการเพื)อ ผูร้ ับผิดชอบแผนงาน/ โครงการในทุก วิเคราะห์ปัญหาสุ ขภาพ กําหนดค่าเป้ าหมาย/ตัวชีTวดั ใน เป้ าประสงค์ ทุกระดับ การดําเนิ นงาน เพื)อพัฒนา ระบบบริ การสุ ขภาพและการนํา องค์ความรู ้ไปแก้ไขปัญหา สาธารณสุ ขในพืTนที)จาก เป้ าประสงค์ตามยุทธศาสตร์ สํานักงานสาธารณสุ ขจังหวัด กาฬสิ นธุ์

2. นําเสนอแผนงาน/โครงการ และจัดทําข้อตกลงในการ ประเมินผลต่อคณะกรรมการ ประเมินผล

ตัวชี วัดและ ค่ าเป้าหมาย

งบประมาณ สถานที

ระยะเวลาดําเนินการ เริ มต้ น 1 พ.ย.54

ร้ อยละ 100 ของ งบกองทุน = ผูร้ ับผิดชอบแผนงาน/ ๑๐๐,๐๐๐ บ. โครงการ/ในทุก เป้ าประสงค์ ทุกระดับ วิเคราะห์และกําหนด เป้ าหมายในการ พัฒนา ระบบบริ การสุ ขภาพหรื อ แก้ไขปั ญหาสาธารณสุ ข ในพืTนที)จากเป้ าประสงค์ ตามยุทธศาสตร์สํานักงาน สาธารณสุ ขจังหวัด กาฬสิ นธุ์ ผูร้ ับผิดชอบแผนงาน/ ร้ อยละ 100 ของ สสจ.กส 14 ธค. 54 โครงการตามเป้ าประสงค์ ผูร้ ับผิดชอบแผนงาน/ ที)เป็ นปั ญหาหรื อพัฒนา 2 โครงการ/เป้ าประสงค์ 12 เรื) อง รับทราบและจัดทํา ข้อตกลงในการ ประเมินผลต่อ คณะกรรมการประเมินผล

ผู้รับผิดชอบ

สิ นสุ ด 13 ธค. 54

หลัก CUP

ร่ วม รพช. สสอ. อปท. สสจ. สอ. รร. วัด ชุมชน ฯลฯ

15 ธค. 54

CUP

รพช. สสอ. อปท. สสจ. สอ. รร. วัด ชุมชน ฯลฯ


กระบวนการ กิจกรรมหลัก

กลุ่มเป้าหมาย และ จํานวนกลุ่มเป้าหมาย

ตัวชี วัดและ ค่ าเป้าหมาย

งบประมาณ

สถานที

ระยะเวลาดําเนินการ เริ มต้ น

สิ นสุ ด

งวดที) 1 2 เมย. 55 งวดที) 2 12 กค.55

งวดที) 1 10 เมย. 55 งวดที) 2 13 กค.55

ผู้รับผิดชอบ หลัก

ร่ วม

กับสํานักงานสาธารณสุ ข จังหวัดกาฬสิ นธุ์

3. รับการประเมินติดตาม ความก้าวหน้าการดําเนินงาน แผนงาน/โครงการฯ โดยทีม ประเมินระดับจังหวัด ปี ละ 2 ครัTง

ผูร้ ับผิดชอบแผนงาน/ โครงการ และ กลุ่มเป้ าหมายในโครงการ ตามเป้ าประสงค์ที)เป็ น ปั ญหาหรื อพัฒนา 2 เรื) อง

ร้ อยละ 100 ของ CUP ผูร้ ับผิดชอบแผนงาน/ โครงการและ กลุ่มเป้ าหมายในโครงการ มีรายงานความก้าวหน้า ของแผนงาน/โครงการ และได้รับการประเมิน

CUP

รพช. สสอ. อปท. สสจ. สอ. รร. วัด ชุมชน ฯลฯ


กระบวนการ กิจกรรมหลัก

กลุ่มเป้าหมาย และ จํานวนกลุ่มเป้าหมาย

ตัวชี วัดและ ค่ าเป้าหมาย

งบประมาณ

ร้ อยละ 100 ของ CUP ผูร้ ับผิดชอบแผนงาน/ โครงการกลุ่มเป้ าหมายใน โครงการ ร่ วมวิเคราะห์ ผลการดําเนินงานและ รายงานความก้าวหน้า แผนงาน/โครงการ 5. เข้าร่ วมประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร ผูร้ ับผิดชอบแผนงาน/ ร้ อยละ 100 ของ เพือ) วิเคราะห์ผลการดําเนินงาน โครงการตามเป้ าประสงค์ ผูร้ ับผิดชอบแผนงาน/ และรายงานความก้าวหน้า ที)เป็ นปั ญหาหรื อพัฒนา 2 โครงการเข้าร่ วมวิเคราะห์ แผนงาน/โครงการ เรื) อง ผลการดําเนินงานและ รายงานความก้าวหน้า แผนงาน/โครงการที) จังหวัดจัด 4. การประชุ มเชิงปฏิ บตั กิ ารเพื)อ วิเคราะห์ผลการดําเนินงานและ รายงานความก้าวหน้าแผนงาน/ โครงการ

สถานที

ผูร้ ับผิดชอบแผนงาน/ โครงการ และ กลุ่มเป้ าหมายในโครงการ ตามเป้ าประสงค์ที)เป็ น ปั ญหาหรื อพัฒนา 2 เรื) อง

สสจ.กส

ระยะเวลาดําเนินการ

ผู้รับผิดชอบ

เริ มต้ น 1 เมย. 55

สิ นสุ ด 1 เมย. 55

หลัก CUP

ร่ วม รพช. สสอ. อปท. สสจ. สอ. รร. วัด ชุมชน ฯลฯ

24 เมย. 55

25 เมย. 55

CUP

รพช. สสอ. อปท. สสจ. สอ. รร. วัด ชุมชน ฯลฯ


กระบวนการ กิจกรรมหลัก

กลุ่มเป้าหมาย และ จํานวนกลุ่มเป้าหมาย

6. ประชุ มเชิ งปฏิบตั กิ ารจัด มหกรรมการแลกเปลี)ยนเรี ยนรู ้ และสังเคราะห์องค์ความรู ้จาก ผลการดําเนินงานพัฒนาระบบ สุ ขภาพและแก้ไขปัญหา สาธารณสุ ขในพืTนที) (เบาหวาน ความดันโลหิตสู ง)

ผูร้ ับผิดชอบแผนงาน/ โครงการ และ กลุ่มเป้ าหมายในโครงการ ตามเป้ าประสงค์ที)เป็ น ปั ญหาหรื อพัฒนา 2 เรื) อง

ตัวชี วัดและ ค่ าเป้าหมาย

งบประมาณ

สถานที

ร้ อยละ 100 ของ บูรณาการ ผูร้ ับผิดชอบแผนงาน/ งบ CUP = โครงการกลุ่มเป้ าหมายใน ๑๐,๐๐๐ บ. โครงการ ได้แลกเปลี)ยน เรี ยนรู ้และสังเคราะห์องค์ ความรู ้ จากผลการ ดําเนินงานพัฒนาระบบ สุ ขภาพและแก้ไขปัญหา สาธารณสุ ขในพืTนที) 7. ร่ วมประชุมเชิงปฏิบตั ิการเพือ) ผูร้ ับผิดชอบแผนงาน/ ร้ อยละ 100 ของ สสจ.กส แลกเปลี)ยนเรี ยนรู ้ ผลการ โครงการ ตามเป้ าประสงค์ ผูร้ ับผิดชอบแผนงาน/ ดําเนินงานพัฒนาระบบสุ ขภาพ ที)เป็ นปั ญหาหรื อพัฒนา 2 โครงการกลุ่มเป้ าหมายใน และแก้ไขปั ญหาสาธารณสุ ขใน เรื) อง โครงการ ร่ วมแลกเปลี)ยน พืTนที) เรี ยนรู ้ผลการดําเนิ นงาน พัฒนาระบบสุ ขภาพและ แก้ไขปั ญหาสาธารณสุ ข ในพืTนที)

ระยะเวลาดําเนินการ

ผู้รับผิดชอบ

เริ มต้ น 15 กค. 55

สิ นสุ ด 15 กค. 55

หลัก CUP

ร่ วม รพช. สสอ. อปท. สสจ. สอ. รร. วัด ชุมชน ฯลฯ

26 กค. 55

27 กค. 55

CUP

รพช. สสอ. อปท. สสจ. สอ. รร. วัด ชุมชน ฯลฯ


กระบวนการ กิจกรรมหลัก

กลุ่มเป้าหมาย และ จํานวนกลุ่มเป้าหมาย

ตัวชี วัดและ ค่ าเป้าหมาย

8. ร่ วมประชุมเชิงปฏิบตั ิการเพือ) สังเคราะห์องค์ความรู ้ เชิ ง ยุทธศาสตร์ สําหรับการตัดสิ นใจ เชิ งนโยบาย

ผูร้ ับผิดชอบแผนงาน/ โครงการ ตามเป้ าประสงค์ ที)เป็ นปั ญหาหรื อพัฒนา 2 เรื) อง

หน่วยงานระดับจังหวัดมี ฐานความรู ้ที)เกิดจากการ สังเคราะห์องค์ความรู ้แ ละ ส่ งกลับข้อมูลให้แก่ ผูบ้ ริ หารเพือ) การตัดสิ นใจ เชิ งนโยบายในปี 2556

งบประมาณ

สถานที สสจ.กส

ระยะเวลาดําเนินการ เริ มต้ น 28 สค. 55

สิ นสุ ด 29 สค. 55

ผู้รับผิดชอบ หลัก สสจ.

ร่ วม รพช. สสอ. อปท. สสจ. สอ.


กระบวนการ กิจกรรมหลัก ๓๐. พัฒนาการให้บริการด้านการแพทย์แผนไทยใน สถานบริการให้ได้มาตรฐานและมีคุณภาพ ๓๐.๑ วิเคราะห์สถานการณ์และวางแผนการ ดําเนินงาน ๓๐.๒ พัฒนาศักยภาพบุคลกรผู้รบั ผิดชอบและผู้ ให้บ ริการ - สร้างความเข้าใจเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบใน รพ./สสอ./รพ.สต.โดยการจัดเวทีระดับโซน ๔๑.๓ ส่งเสริมและสนับ สนุนการใช้ยาสมุนไพรใน สถานบริการ ๑) จัดหายาสมุนไพรสนับ สนุนสถานบริการให้ เพียงพอ

กลุ่มเป้าหมาย และ จํานวนกลุ่มเป้าหมาย

ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย

งบประมาณ

คปสอ.

คปสอ.มีการวิเคราะห์การ ดําเนินงานและจัดทําแผนฯ ร้อย ละ ๑๐๐

รพ.แห่งละ ๑ คน สสอ. ๑ คน รพ.สต. ๗ คน

เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานใน รพ./สสอ.และ รพ.สต. ได้รบั การ พัฒนา ร้อยละ ๑๐๐

รพ. และ รพ.สต. ๘ แห่ง

-มูลค่าการใช้ยาสมุนไพรเพิ่มขึ้น จาก ปี ๒๕๕๔ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๒๕

๒) พัฒนากระบวนการผลิตยาสมุนใน รพ. -ประชุมคณะทํางาน และศึกษาดูงานการผลิต

รพ. ๓ แห่ง (กมลาไสย นามน และคําม่วง)

๓) จัดทําคู่มือการใช้ยาสมุนไพรสําหรับ รพ. และ รพ.สต.

รพ. และ รพ.สต. ๗ แห่ง

รพ. และ รพ.สต. มีคู่มือการใช้ยา สมุนไพร ร้อยละ ๑๐๐

ระยะเวลาดําเนินการ

ผู้รับผิดชอบ

เริ่มต้น

สิ้นสุด

หลัก

ร่วม

บูรณาการกับ งบประมาณ นักจัด การสุขภาพชุมชน ข้อ ๔.๓

ต.ค.๕๔

พ.ย.๕๔

คปสอ.

งบประมาณจาก คปสอ.

ต.ค.๕๔

พ.ย.๕๔

คปสอ.

ต.ค.๕๓

ก.ย.๕๔

คปสอ.

พ.ย.๕๔

ก.ย.๕๕

คปสอ.

สสจ.

ธ.ค.๕๔

ก.พ.๕๕

คปสอ.

รพ.สต.

สสจ.


กระบวนการ กิจกรรมหลัก

กลุ่มเป้าหมาย และ จํานวนกลุ่มเป้าหมาย

ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย

ผู้ช่วยแพทย์แผนไทยในรพ./รพ. สต. ๑๐ คน

-ผู้ช่วยแพทย์แผนไทยใน รพ./ รพ.สต. ที่ผ่านก่อนปี ๒๕๕๓ ร้อยละ ๑๐๐

รพ.ทุกแห่ง และ รพ.สต. อําเภอละ ๑ แห่ง

๒) จัดประกวดสถานบริการดีเด่นด้านการแพทย์ รพ./รพ.สต. อําเภอละ ๑ แห่ง/ แผนไทย ๑ ครั้ง

-รพ.พัฒนาการบริการทุกแห่ง -มีรพ.สต.ต้นแบบตําบลละ 1 แห่ง -มี รพ.สต.ต้นแบบระดับ อําเภอ ๑ แห่ง

๓) พัฒนานวัตกรรมแพทย์แผนไทยเพื่อสร้าง เสริมหรือแก้ป ัญหาสุขภาพในพื้นที่ (หมู่บ ้าน ตําบล หรืออําเภอ) ๔๑.๖ จัดบริการตามหลัก 8 อ. ด้านการแพทย์แผน ไทยและสมาธิ

-อําเภอมีการนาการแพทย์แผน งบจาก CUP ท่าคันโท ไทยมาสร้างเสริมหรือแก้ปัญหา ๑๐,๓๐๘ บาท สุขภาพ ร้อยละ ๑๐๐ รพ. และ รพ.สต. จัดบริการตาม หลัก ๘ อ. ร้อยละ ๑๐๐

งบประมาณ

ระยะเวลาดําเนินการ

ผู้รับผิดชอบ

เริ่มต้น

สิ้นสุด

หลัก

ร่วม

ธ.ค.๕๔

ม.ค.๕๕

สสจ.

คปสอ.

ธ.ค.๕๔

ก.ค.๕๕

คปสอ.

สสจ.

มี.ค.๕๕

พ.ค.๕๕

คปสอ.

รพ.สต.

ธ.ค.๕๔

ส.ค.๕๕

คปสอ.

สสจ.

ก.พ.๕๕

มี.ค.๕๕

คปสอ.

รพ.สต.

มี.ค.๕๕

พ.ค.๕๕

คปสอ.

สสจ.

๔๑.๔ พัฒนาบุคลากรผู้ให้บ ริการ ๑) อบรมฟื้นฟูความรู้ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย

งบประมาณจาก สสจ. กาฬสินธุ์

๔๑.๕ พัฒนารูป แบบบริการในสถานบริการ ๑) พัฒนาการบริการใน รพ.และคัดเลือก รพ. สต.พัฒนาเป็นรพ.สต.ต้นแบบด้านแพทย์แผนไทย

๔๑.๗ การศึกษาวิจัยความรู้ และพฤติกรรมการใช้ แพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพของประชาชน

อําเภอละ ๑ พื้นที่ รพ. และ รพ.สต.ทุกแห่ง ประชาชนทั่วไป

มีผลงานวิจัย ๑ เรื่อง


กระบวนการ กิจกรรมหลัก

กลุ่มเป้าหมาย และ จํานวนกลุ่มเป้าหมาย

ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย

๔๑.๘ การติดตามสนับ สนุนการดําเนินงาน

คปสอ. รพ. และ รพ.สต.ทุกแห่ง

-คปสอ. รพ. และ รพ.สต.ได้รบั การติดตามสนับสนุน ๑๐๐%

๔๒. พัฒนากลุ่มองค์กรในชุมชนให้มีความรู้ทักษะ และมีส่วนร่วมในการดําเนินงาน ๔๒.๑ จัดอบรมสร้างความเข้าใจและให้ความรู้

-ตัวแทน จาก อปท. อสม.

ชุมชนที่มีการจัดอบรมให้

ผู้นําชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน

ความรู้แก่ภาคีเครือข่าย

นักจัดการสุขภาพชุมชน

ร้อยละ ๘๐

แก่ภาคีเครือข่ายในชุมชน

งบประมาณ

งบกองทุนฯ ๑๗,๐๐๐ บาท

ระยะเวลาดําเนินการ

ผู้รับผิดชอบ

เริ่มต้น ก.พ.๕๕

สิ้นสุด มิ.ย.๕๕

หลัก คปสอ.

ม.ค.๕๕

เม.ย.๕๕

คปสอ.

ธ.ค.๕๕

ม.ค.๕๕

คปสอ.

ธ.ค.๕๔

พ.ค.๕๕

คปสอ.

ร่วม สสจ.

สสจ.

๑๙ ชุมชน จํานวน ๑๐๐ คน ๔๒.๒ จัดทําแผนเพื่อพัฒนางานแพทย์แผนไทย ใน ชุมชน ๔๒.๓ จัดอบรมให้ความรู้ และทักษะการให้บ ริการใน สุขศาลา

๕๓. พัฒนาการบริการด้านการแพทย์แผนไทยใน ชุมชนแบบมีส่วนร่วม และแก้ปัญหาสุขภาพในพื้นที่

ชุมชนเป้าหมาย ๑๙ ชุมชน -อสม./หมอพื้นบ้านในสุขศาลา ๑๙ ชุมชน ชุมชนละ ๑ คนรวม ๑๙ คน

ชุมชนมีแผนพัฒนาแพทย์แผนใน ชุมชน ร้อยละ ๑๐๐ อสม./หมอพื้นบ้านผ่านการร้อย จากกองทุนหลักประกัน ละ ๘๐ สุขภาพท้องถิ่น งบ สสจ.

สสจ.


กระบวนการ กิจกรรมหลัก

กลุ่มเป้าหมาย และ จํานวนกลุ่มเป้าหมาย

๕๓.๑ จัดมหกรรมแพทย์แผนไทย แพทย์พื้นบ้าน -เจ้าหน้าที่ สสอ. รพ. รพ.สต. และแพทย์ทางเลือก เพื่อสร้างกระแสและแลกเปลี่ยน อปท. ภาคีเครือข่าย องค์กร เรียนรู้การดําเนินงาน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๕๓.๒ จัดทําคู่มือและสื่อให้ความรู้ -คู่มือการใช้ยาสมุนไพรสําหรับ สุขศาลา -จัดทําแผ่นพับ แผ่นไวนิล ๕๔. จัดทําแผนงาน/โครงการบูรณาการความ ปลอดภัยด้านสุขภาพจากสารเคมีในเลือดของ ประชาชน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ โดย การมีส่วนร่วมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย จํานวนผู้เข้าร่วมงานไม่น้อยกว่า คน ๑๐๐ คน

-สุขศาลาในหมู่บ้านเป้าหมาย

สุขศาลาในหมู่บ ้านเป้าหมายมี

๒๑ แห่ง

คู่มือการดําเนินงานและสื่อให้

จัดทําแผนบูรณาการจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อสม./ แกนนําชุมชน / กระทรวง สาธารณสุข / กระทรวงเกษตร และ สหกรณ์ / อปท.

๕๕. แผนบูรณาการความปลอดภัยด้าน สุขภาพ งบประมาณจาก อปท. / งบ จากสารเคมีในเลือดของประชาชนประจําปี กองทุนสุขภาพตําบล / อื่นๆ งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ มีการสนับ สนุนงบประมาณ จากหน่วยงานอื่นนอกเหนือจากหน่วยงานสาธารณสุข อย่างน้อย ๑ แห่ง

งบประมาณ

ความรู้ ร้อยละ 100 -มีแผนบูรณาการระดับ จังหวัด บูรณาการกับงบประมาณนัก ๑ แผนงาน จัดการสุขภาพชุมชน ข้อ ๔.๓

-จํานวนแผนบูรณาการระดับ อําเภอ (ร้อยละ 100)

งบประมาณจาก CUP ท่าคัน โท เป็นเงิน ๑๐,๐๐๐ บาท

ระยะเวลาดําเนินการ

ผู้รับผิดชอบ

เริ่มต้น มิ.ย.๕๕

สิ้นสุด ก.ค.๕๕

หลัก คปสอ.

ร่วม สสจ.

ธ.ค.๕๔

ม.ค.๕๕

คปสอ.

พ.ย.๕๓

ธ.ค.๕๓

คปสอ.

สอ./ ชุมชน

พ.ย.๕๓

ธ.ค.๕๓

สอ./รพ. สต.

อปท


๕๕. มีการดําเนินงานตรวจสารเคมีในเลือด ในกลุ่มเป้าหมายปี ๒๕๕๔ จํานวน ๓ กลุ่ม

๑. กลุ่มเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง อายุ ๑๕-๖๐ ปี ในหมู่บ้านเป้าหมาย จํานวน ๔๖ หมู่บ้าน

ร้อยละของเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงอายุ ๑๕-๖๐ ปี ได้รับการตรวจสารเคมี (ร้อยละ ๒๐) ร้อยละของตลาดได้รับการตรวจสารเคมี (ร้อยละ ๕๐)

๒. กลุ่มผู้จําหน่ายสินค้าใน ตลาดสด ๓. กลุ่มผู้จําหน่ายสารเคมีกําจัด ศัตรูพืช - จํานวน ๔๖ ชุมชน และ จํานวน ร้าน รวม ๕,๐๐๐แผ่น

ร้อยละของร้านค้าได้รับการตรวจสารเคมี (ร้อยละ ๕๐)(จํานวนร้าน ร้อยละ ๑๐๐) -การดําเนินการตรวจระดับจังหวัด

-งบประมาณจากกองทุนฯ ค่าชุด ตรวจ เป็นเงิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท - ค่าชุดตรวจหาสารเอนไซม์โคลีน เอสเตอเรส ๑๐๐ คน - ค่ากระดาษทดสอบโคลีนเอสเตอ เลส ๑๐๐ คน -- ค่าชุดตรวจอาหารปลอดภัย= ๒๐๐๐๐ บ.

๕๖. มีการรณรงค์ลดการใช้สารเคมีกําจัด ศัตรูพืช และมีการใช้นวัตกรรมเพื่อลด สารเคมีในเลือดในกลุ่มที่ตรวจพบทั้งกลุ่มเดิม ที่ตรวจพบ ปี ๒๕๕๓ และเป้าหมาย ปี ๒๕๕๔ เช่น ๔.๑ จัดทําแผ่นพับการดูแล ตนเองสําหรับผู้จําหน่ายสารเคมีกําจัด ศัตรูพืช ๔.๒สําหรับประชาชนทั่วไป ๕๗. การจัดอบรม อสม.ในหมู่บ้านให้มี - จํานวน ๑๙ ชุมชนx ๑๐ คน รวม ๑๙๐ คน ความรู้และสร้างทัศนคนติในเรื่องการใช้ สารเคมีที่ถูกต้องเพื่อไปให้ความรู้แก่ ประชาชน ๒.กิจกรรมเสริมอื่นๆ ตามความ เหมาะสม ได้แก่รณรงค์ลดการใช้สารเคมีใน การทําการเกษตรกรรม เพิ่มทางเลือกใน การใช้ผลิตภัณฑ์กําจัดศัตรูพืชอื่นแทน สารเคมี เช่น สารสกัดจากพืชต่างๆโดยความ ร่วมมือจากหน่วยงานทางการเกษตร มีการ ทําการเกษตรอินทรีย์โดยความร่วมมือจาก หน่วยงานทางการเกษตร

ร้อยละของมีผู้ตรวจพบสารเคมีในเลือดในระดับ ไม่ปลอดภัย (ร้อยละ ๑๐๐)

ร้อยละของอสม. ที่ผ่านการอบรมตามเป้าหมาย(ร้อยละ ๙๐)

งบประมาณจาก อปท. / กองทุน

๕๘. มีการตรวจซ้ําในกลุ่มที่เคยตรวจพบ สารเคมีในเลือดในระดับไม่ปลอดภัยร้อยละ ๑๐

- ปี ๒๕๕๓ จํานวน ละ ๔๕

อยู่ในงบดําเนินงาน

จํานวน ๑๙ ชุมชน

คน ร้อยละ ๔๕.๘๘ ปี ๒๕๕๔ประมาณ ร้อย

ม.ค.๕๔

ก.ค.๕๔

คป สอ.

รพ.สต../ เกษตร/ อปท. กองทุนฯ

ก.พ. ๕๔

ก.พ. ๕๔

คป สอ

อปท

ก.พ. ๕๔

ก.พ. ๕๔

คป สอ

อปท

ม.ค.๕๔

ก.ค. ๕๔

คป สอ

อปท


กระบวนการ กิจกรรมหลัก ๖๕. จัดตั้งคณะทํางานระดับ จังหวัด/ระดับอําเภอและ คณะกรรมการชุมชนเป้าหมายโดยการมีส่วนร่วมจาก ผู้เกี่ยวข้อง และมีการจัดทําแผน

กลุ่มเป้าหมาย และ จํานวนกลุ่มเป้าหมาย เกษตรฯ/ท้องถิ่น/สาธารณสุข/ อุตสาหกรรม/ปศุสัตว์/ศึกษาฯ/ ประชาสัมพันธ์ /พช./ชมรม ผู้ป ระกอบการค้าอาหารฯลฯ จํานวน ๕ ตําบล ทุกหมู่บ้าน ๑๙ หมู่บ ้าน

๖๖. มีการจัดตั้งชุมชนต้นแบบเกษตรอินทรีย์ โดยใช้ กลไกกองทุนสุขภาพ ขับเคลื่อนให้เกิดเป็นหมู่บ้าน/ ชุมชน ๖๗. มีการเฝ้าระวังคุณภาพอาหารปลอดภัย กลุ่มครัวเรือน จํานวน - ครัวเรือน ๑. กลุ่มครัวเรือน สุ่มประเมินระดับ อําเภอโดย จนท./ อสม./อ.ย.น้อย ๒ กลุ่มหญิงตั้งครรภ์(ดําเนินการใน G 5) ทีมสหวิชาชีพ ๒๕ คน x๑อําเภอ ๓. ติดตามผลการคัดกรองทารกแรกเกิด(ดําเนินการ ในG5)

๖๗.๓ จัดมหกรรมรณรงค์สนับ สนุนเกษตรอินทรีย์

ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย

งบประมาณ

เริ่มต้น พ.ย.-๕๓

จํานวนภาคีเครือข่ายเข้าร่วม ร้อยละ๑๐๐

บูรณาการ งบCUP สารเคมี

ร้อยละของหมู่บ้าน/ชุมชนเป็น ชุมชนไอโอดีน (ร้อยละ ๑๐๐)

กองทุนสุขภาพ = ๑๒๐,๐๐๐ บาท

ร้อยละของครัวเรือนบริโภค อาหารปลอดภัย (ร้อยละ ๙๐) คนพิเศษทางสังคม ได้รบั การ เยี่ยม ๑ ครั้งต่อปี ร้อยละ ๑๐๐

บูรณาการกับงานเชิงรุก

*เครือข่ายจิตอาสา ตําบลละ ๕ ร้อยละ ๑๐๐ ของผู้ผ่านการ คน พัฒนาศักยภาพเครือข่าย ได้ให้ *นักเรียนจิต อาสา ตําบลละ ๑๐ การดูแลคนพิเศษทางสังคม คน ๕๐ คน เกษตรฯ/ท้องถิ่น/สาธารณสุข/ อุตสาหกรรม/ปศุสัตว์/ศึกษาฯ/ ประชาสัมพันธ์ /พช./ชมรม ผู้ป ระกอบการค้าอาหารฯลฯ

งบ สสจ. ทุกอําเภอ ๑ แห่ง

ระยะเวลาดําเนินการ

ผู้รับผิดชอบ

สิ้นสุด ก.ย.-๕๔

หลัก สสจ

ร่วม คปสอ.

พ.ย.-๕๓

ธ.ค.-๕๓

คปสอ.

รพ.สต.

ม.ค.-๕๔

มี.ค.-๕๔

คปสอ.

กองทุนฯ

พ.ย.-๕๓

ก.ย.-๕๔

คปสอ.

รพ.สต./ สอ.

ก.พ.-๕๔

ก.ย.-๕๔

คปสอ.

พ.ย.-๕๓

ก.ย.-๕๔

สสจ

คปสอ.


กระบวนการ กิจกรรมหลัก

กลุ่มเป้าหมาย และ จํานวนกลุ่มเป้าหมาย

ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย

งบประมาณ

ร้อยละ ๑๐๐ ของ ตําบล จัดเวที จํานวน ๕ ตําบล เสวนา และมีแผนการดูแลคน พิเศษทางสังคม ๖๐. จัดทําคู่มือการดูแลสุขภาพคนพิเศษทางสังคม ๔๖ เล่ม (หมู่บ้านละ 1 เล่ม) ร้อยละ ๑๐๐ ของหมู่บ้าน ได้รับ คู่มือ ที่สอดคล้องและเหมาะสม ๖๑. การฟื้นฟูสุขภาพคนพิเศษทางสังคมแบบสหวิชาชีพ ทีมสหวิชาชีพ ๒๕ คน x๑๘อําเภอ คนพิเศษทางสังคม ได้รบั การ บูรณาการกับ งานเชิงรุก เยี่ยม ๔ ครั้งต่อปี ร้อยละ ๑๐๐ ๓ บาท รวมเป็นเงิน รพ. สต.PCU รพ.๒๒๓,๕๖๐ บาท ๖๓. สร้างและพัฒนาเครือข่าย ผู้ดูแลคนพิเศษทาง *เครือข่ายจิตอาสา ตําบลละ ๕ ร้อยละ ๑๐๐ ของผู้ผ่านการ งบจากกองทุนฯ จํานวน สังคมในชุมชน คน พัฒนาศักยภาพเครือข่าย ได้ให้ ๕ กองทุน = ๑๐๐,๐๐๐ *เสริมสร้างนักเรียนจิตอาสา พัฒนาคนพิเศษทางสังคม *นักเรียนจิตอาสา ตําบลละ ๑๐ การดูแลคนพิเศษทางสังคม บ. คน ๕๐ คน ๖๔. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนําเสนอ Best ( ๑ อําเภอx ๕ คน ) ผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมเวที Practice แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร้อยละ ๑๐๐

ระยะเวลาดําเนินการ เริ่มต้น พ.ย.-๕๓

สิ้นสุด ก.ย.-๕๔

ผู้รับผิดชอบ หลัก สสจ

ร่วม คปสอ.

๕๙. เสวนาคณะทํางานสุขภาพคนพิเศษทางสังคม ระดับ ชุมชน /จัดทําแผนสุขภาพคนพิเศษทางสังคม

พ.ย.-๕๓

ธ.ค.-๕๓

คปสอ.

รพ.สต.

ม.ค.-๕๔

มี.ค.-๕๔

คปสอ.

กองทุนฯ

พ.ย.-๕๓

ก.ย.-๕๔

คปสอ.

รพ.สต./ สอ.


๑๑. ผู้รับผิดชอบ ตําแหน่งในโครงการ

ชื่อผูร้ ับผิดชอบ

บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ (เพื่อใช้ประโยชน์กําหนด JD/ KPI บุคคล) ๑.ผู้อนุมตั โิ ครงการ ๒.ผู้เห็นชอบโครงการและผูต้ ดิ ตามกํากับดูแล โครงการ

ผู้สนับสนุนโครงการ (Project Sponsor)

นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ ผู้เชีย่ วชาญ ด้านเวชกรรมป้องกัน ผู้เชีย่ วชาญด้านสาธารณสุข นายอําเภอท่าคันโท

หัวหน้าโครงการ (Project Manager)

นายสมดี โคตตาแสง

๑.ผลักดันการดําเนินงานด้านยุทธศาสตร์ ใน องค์กรอย่างจริงจัง ๒.ควบคุม กํากับ อํานวยความสะดวก และ แก้ปัญหา จากการดําเนินงานด้านยุทธศาสตร์

ทีมผู้ร่วมโครงการ (Project Team)

นายวราวุฒิ ตุลาพัฒน์ นายสมชาย ปัสสาจันทร์ นางเพชรรัตน์ วงค์ไชยชาญ นายลือชัย พันธุภา นายจักรี สงตลาด นายศิริชยั ไกรเสน นายคมกริช โภคสวัสดิ์ นางดารณี ขันธ์โฮม นางลัดดาวัลย์ ทะรังศรี นายทวิช วงค์ไชยชาญ นายวรกร วิชยั โย นายกิตติพงษ์ สอนล้อม นางสาวนฤชล เชยชมศรี นายจักรพันธ์ คงแสนคํา นางสาวพรธิพา ภูสีเขียว

๑.ให้ความรู้ในการจัดทําแผนสุขภาพชุมชน ๒.ร่วมจัดทําแผนสุขภาพชุมชน ๓.ติดตามและประเมิน ๔.จัดทําแผนปฏิบตั ิงาน (Action Plan) เพือ่ การ ขับเคลื่อนเป้าประสงค์ ๕.ศึกษาระบบการปฏิบัติงานในภาพรวม และ ขั้นตอนต่าง ๆ ให้เข้าใจ เข้าถึง และสร้างคุณค่า เชิงสร้างสรรค์ ๖.วิเคราะห์ความต้องการของชุมชน ๗.การจัดทําสัญญาประชาคม ๘.พัฒนาตามพันธะสัญญา ๙.ประเมินผลการปฏิบตั ติ ามสัญญาประชาคม ๑๐.ร่วมนําเสนอผลการพัฒนาตามวัฒนธรรมและ วิถีชีวติ ในเวทีระดับอําเภอ


๑๒. งบประมาณ และประมาณการกระแสเงินสด แผนการใช้จ่ายงบประมาณ งบประมาณบูรณาการโครงการ สสอ. ท่าคันโทหมวดเงินบํารุง รพ.สต.และกองทุนสุขภาพ จํานวนเงิน ๑,๕๓๗,๘๘๔ บาท( หนึ่งล้านห้าแสนสามหมื่นเจ็ดพันแปดร้อยแปดสิบสี่บาทถ้วน)ดังรายละเอียดดังนี้ ประเด็น งบประมา ไตรมาสที่ ไตรมาสที่ ไตรมาสที่ ไตรมาสที่ ณทั้งหมด ๑ ๒ ๓ ๔ ๑๕๓๗๘๘๔ ๑. รายรับ ๑๕๓๗๘๘๔ ๒.รายจ่าย ๑.จัดอบรมคณะกรรมการบริหารกองทุนและ งบกองทุน ๕๐๐๐๐ ทีม SAT ชุมชน(งบกองทุนฯจํานวน ๕ ๕๐๐๐๐บ. กองทุนๆละ ๑๐,๐๐๐บาท) ๒.จัดอบรมนักจัดการสุขภาพระดับตําบล(งบ งบกองทุน ๑๐๐๐๐๐ จากกองทุนฯ จํานวน ๕ กองทุนๆละ ๑๐๐๐๐๐ ๒๐,๐๐๐ บาท) ๓.ประเมินการบริหารจัดการกองทุน งบสสจ ๓๐๐๐ ๓๐๐๐ หลักประกันสุขภาพระดับอําเภอ(งบ สสจ. ) ๖๐๐๐ บ. - ค่าตอบแทนทีมประเมิน จํานวน ๖ คน เป็นเงิน ๖,๐๐๐ บาท ๔.จัดมหกรรมสุขภาพดีวถิ ชี าวท่าคันโท งบ CUP ๒๐๐๐๐ บาท ๔.๑.การจัดสือ่ สารระบบสุขภาพและลง นามบันทึกความร่วมมือฯ - ค่าอาหารและอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม ๑๐.๐๐๐ ๔.๒.การจัดมหกรรมวิถีสขุ ภาพ -ค่ารางวัลสมนาคุณจัดมหกรรมประกวด นวัตกรรม ๑๐,๐๐๐ บาท ๕.ปรับปรุงพัฒนาโครงสร้าง/สถานที่ให้ เหมาะสมในการให้บริการของสุขศาลา(งบ สสม.จาก อปท.) จํานวน ๔๖ หมู่บ้านๆละ ๑๐,๐๐๐ บาท

งบCUP ๒๐๐๐๐ บ. ๑๐๐๐๐

๑๐๐๐๐ งบ อปท. (สสม) ๔๖๐๐๐๐ บ.

๔๖๐๐๐๐


ประเด็น

งบประมา ณทั้งหมด

ไตรมาสที่ ๑

งบCUP ๑๐๐๐๐

๑๐๐๐๐

๗. อบรมจัดตัTงหน่วยสอบสวนโรคเคลื)อนที) เร็ วระดับตําบล(SRRT)

เงินบํารุง รพ.สต. ๗๐๐๐๐ บ.

๗๐๐๐๐

๘.อบรมจัดตัTงหน่วยสอบสวนโรคเคลื)อนที) เร็ วระดับชุมชน(SRRT)

งบกองทุน ๕๐๐๐๐ บ.

๕๐๐๐๐

๙.มาตรฐานโรงพยาบาลสายใยรักแห่ง เงินบํารุง รพ. ครอบครัวและ รพ.สต.สายใยรักแห่งครอบครัว - วัสดุพัฒนาโรงพยาบาลสายใยรัก ๓๐๐๐๐ บ.

๓๐๐๐๐

๑๐.แนวทางการดูแลการตัง้ ครรภ์ไม่พึง ประสงค์ (SEX วัยใส)

งบกองทุน ๒๕๐๐๐ บ.

๒๕๐๐๐

๑๑.พัฒนาศักยภาพเครือข่ายงานอนามัยแม่ และเด็กระดับ อําเภอ ตําบล สุขศาลา ศูนย์ เด็กฯ/โรงเรียนสายใยรัก

งบกองทุน ๕๐๐๐๐ บ.

๕๐๐๐๐

๑๒.พัฒนาศักยภาพเครือข่ายงานอนามัยแม่ เงินบํารุง และเด็กระดับจังหวัด โซน อําเภอ ตําบล สุข รพ.สต. ศาลา ศูนย์เด็กฯ/โรงเรียนสายใยรัก ๗๐๐๐๐ บ. - ครอบครัวสายใยรักตัวอย่าง - แม่สายใยรักแห่งครอบครัว

๗๐๐๐๐

๑. รายรับ ๒.รายจ่าย ๖.ประชุ มเตรี ยมความพร้อมตอบโต้ภาวะ ฉุ กเฉินและซ้อมแผนความเสี) ยง - ค่าอาหารกลางวัน จํานวน๑๐๐ X ๕๐ บ.= ๕๐๐๐ บ - ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม ๑๐๐ คนX ๒๕X๒ = ๕๐๐๐ บ.

ไตรมาสที่ ไตรมาสที่ ไตรมาสที่ ๒ ๓ ๔


ประเด็น

งบประมา ณทั้งหมด

๑. รายรับ ๒.รายจ่าย ๑๓.ประชุมเชิงปฏิบตั ิการการจัดการระบบเฝ้า งบ CUP ระวังโรคในระดับอําเภอและตําบลของโรค TB ๑๕๐๐๐ บ. Diarrhea DHF Lepto SRRT,อปท.,ผู้นํา,อสม.ครูอนามัยโรงเรียน - ค่าอาหารกลางวัน จํานวน๑๐๐ X ๕๐ บ.= ๕๐๐๐ บ - ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม ๑๐๐ คนX๒๕ X๒ = ๕๐๐๐ บ. - ค่าพาหนะ ๑๐๐ คน X๕๐ บ.= ๕๐๐๐ บ. ๑๔.ประชุมเชิงปฏิบตั ิการนําองค์ความรู้ด้าน ภูมิปญ ั ญาไทยมาใช้แก้ปัญหาสุขภาพพื้นที่ โรคเบาหวาน ความดันโลหิต

งบกองทุน ๑๐๐๐๐๐

๑๕.ประชุมเชิงปฏิบตั ิการนําองค์ความรู้ด้าน งบ CUP ๑๐๐๐๐ บ. ภูมิปญ ั ญาไทยมาใช้แก้ปัญหาสุขภาพพื้นที่ โรคเบาหวาน ความดันโลหิต - ค่าอาหารกลางวัน จํานวน๑๐๐ X ๕๐ บ.= ๕๐๐๐ บ - ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม ๑๐๐ คนX๒๕ X๒ = ๕๐๐๐ บ.

ไตรมาสที่ ๑

ไตรมาสที่ ไตรมาสที่ ไตรมาสที่ ๒ ๓ ๔ ๑๕๐๐๐

๑๐๐๐๐๐

๑๐๐๐๐


ประเด็น ๑. รายรับ ๒.รายจ่าย ๑๖.พัฒนากลุ่มองค์กรในชุมชนให้มคี วามรู้ และมีส่วนร่วมในการดําเนินงาน - จัดประชุมสร้างความเข้าใจและให้ความรู้/ ปรับทัศนคติ แก่ภาคีเครือข่ายในชุมชน/สุข ศาลาเพื่อพัฒนานวัตกรรมแพทย์แผนไทยเพื่อ สร้างเสริมหรือแก้ปญ ั หาสุขภาพในพื้นที่ จํานวน ๒๑ หมูบ่ ้านๆละ ๒ คน ๔๒ คนและ ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย ๘ คน= ๕๐ คน - ค่าอาหารกลางวัน ๕๐X๕๐ บ.=๒๕๐๐ บ. - ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม ๕๐X๒๕X๒= ๒๕๐๐ บ. - ค่าพาหนะ ๕๐X๕๐ บ.=๒๕๐๐ บ. - ค่าวัสดุสาธิตนวัตกรรมแพทย์แผนไทย = ๒๘๐๘ บาท ๑๗.การสร้างเครือข่ายการดําเนินงาน การแพทย์แผนไทยเพือ่ ดูแลสุขภาพในชุมชน ๑๘.ตรวจสารเคมีในเลือดเกษตรกรกลุ่มเสีย่ ง - จัดซื้อวัสดุและน้ํายาตรวจ ๑๙.ขับเคลื่อนชุมชนต้นแบบเกษตรอินทรีย์ - อบรมเกษตรอินทรียช์ ุมชนต้นแบบ” เกษตรกรปลอดโรคผูบ้ ริโภคปลอดภัย” ๒๐.การประกวดชุมชนต้นแบบเกษตรอินทรีย์ - ค่าสมนาคุณรางวัลประกวด รางวัลที๑่ =๒๐๐๐ บ. รางวัลที่ ๒=๑๕๐๐ บ. รางวัลที่ ๓ =๑๑๐๐ บ. รางวัลชมเชย ๓ รางวัลๆ๓๐๐ บ.=๙๐๐ บ.

งบประมา ณทั้งหมด

ไตรมาสที่ ๑

งบCUP ๑๐๓๐๘ บ.

๑๐๓๐๘

งบกองทุน ๑๗๐๐๐ บ. งบกองทุน ๕๐๐๐๐ งบกองทุน ๑๐๐๐๐๐

๑๗๐๐๐

งบCUP ๑๐๐๐๐ บ.

ไตรมาสที่ ไตรมาสที่ ไตรมาสที่ ๒ ๓ ๔

๕๐๐๐๐ ๑๐๐๐๐๐ ๑๐๐๐๐


ประเด็น

งบประมา ณทั้งหมด

ไตรมาสที่ ๑

ไตรมาสที่ ไตรมาสที่ ไตรมาสที่ ๒ ๓ ๔

๑. รายรับ ๒.รายจ่าย - ค่าสมนาคุณคณะกรรมการประกวดระดับ อําเภอ ๕ คนX๓๐๐ บาท =๑๕๐๐ บ. - ค่าสถานที่พร้อมเครื่องเสียงในการจัด มหกรรมระดับอําเภอ = ๓๐๐๐ บ. ๒๑.การตรวจสารเคมีในผัก ผลไม้ และ งบกองทุน ๕๐๐๐๐ เนื้อสัตว์แปรรูป ๕๐๐๐๐ บ. - ค่าวัสด้ํายา/ชุดตรวจ ๒๒. พัฒนาระบบบริการดูแลและฟื้นฟูในการ เงินบํารุง ๙๓๙๔๒ ๙๓๙๔๒ จัดบริการฟื้นฟูผู้พกิ าร ผูส้ ุงอายุ ผูด้ ้อยโอกาส งบ PP เชิงรุก รพ.สต. ๑๘๗๘๘๔ ๒๓.จัดกิจกรรมด้านสุขภาพเกีย่ วกับคนพิเศษ งบกองทุน ๑๐๐๐๐๐ ทางสังคม ๑๐๐๐๐๐ รวมงบประมาณทั้งสิ้น จํานวนเงิน ๑,๕๓๗,๘๘๔ บาท *ค่าใช้จ่ายทุกหมวดรายการถัวจ่ายกันได้* ( หนึ่งล้านห้าแสนสามหมืน่ เจ็ดพันแปดร้อยแปดสิบสี่บาทถ้วน)


๑๓. ประโยชน์ทจี่ ะได้รับ ด้านผลประโยชน์โครงการ ผู้ที่ เกี่ยวข้อง สสอ.

บวกสูง+๓

ลดภาระใน การติดตาม ประเมินผล ตัวแทนภาค ประชาชนมี ประชาชน หลักประกัน สุขภาพที่เป็น ธรรมและ ทั่วถึง อปท.

บวกกลาง+๒

บวกต่ํา+๑

ลดภาระใน การติดตาม ประเมินผล

ลบต่ํา-๑

ลบกลาง-๒

ลบสูง-๓

รวม +๒

สอ.

+๓ +๓

ได้รับการ ยอมรับจาก ประชาชน รวม

+๑ +๙


๑๔.ความเสี ยงของโครงการ (เฉพาะโครงการที ใช้ งบเกิน...........บาท ) ๑๔.๑ การระบุความเสี่ยง ประเด็นที่ต้องพิจารณา คําอธิบาย ๑. ด้านการบริหารจัดการ ๑.๑ เนื่องจากได้มีการจัดทําแผนยุทธศาสตร์การ ๑.๑ ระยะเวลาในการจัดทํา สาธารณสุขในระยะ ๕ ปี (๒๕๕๑-๒๕๕๕ ) เพื่อใช้ใน แผน

๑.๒ การนําแผนยุทธศาสตร์สู่ การปฏิบตั ิ

ความเสี่ยงทีอ่ าจจะเกิดขึ้น ๑.๑ ทําให้การดําเนินงานตาม แผนงาน/โครงการและการบรรลุผล สัมฤทธิ์ตามแผนยุทธศาสตร์ไม่เป็นไป ตามระยะเวลาที่กําหนดไว้

การดําเนินงานกระบวนการทางยุทธศาสตร์ของอําเภอ ท่าคันโทเพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพจังหวัด กาฬสินธุ์ ให้บ รรลุตามเป้าหมายขององค์กร และได้มี การเชิญผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกระดับให้มีส่วนร่วมในการ ดําเนินการจัดทําแผนทุกขั้นตอน จึงทําให้การจัดทํา แผนล่าช้า ๑.๒ การพัฒนาระบบกลไกทางยุทธศาสตร์ ยังไม่ ๑.๒ การขับเคลื่อนกระบวนการทาง สามารถกระจายสู่การปฏิบัติในหน่วยงานเครือข่ายได้ ยุทธศาสตร์อาจไม่บรรลุผลสัมฤทธิ์ที่ กําหนดไว้ ทุกระดับ

๒. ด้านบุคลากร ๒.๑ ความรู้ ความเข้าใจใน ๑.ความรู้ความเข้าใจในการจัดทําแผนยุทธศาสตร์ทั้งใน ๒.๑ กระบวนการในการจัดทําแผนไม่ ระดับจังหวัดและระดับ อําเภอ ยังไม่กระจายถึง มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร การจัดทําแผนของบุคลากร บุคลากรทุกคน มีเพียงแต่เจ้าหน้าที่ผู้รับ ผิดชอบการ จัดทําแผนของหน่วยงานเท่านั้นที่ได้เข้าร่วมใน กระบวนการจัดทําแผน ๒. กระบวนทัศน์ทางความคิดของบุคลากรด้านการ พัฒนาระบบงานยังมุ้งเน้นที่งานประจํา

๓. บุคลากรไม่ใช้การวิเคราะห์ สังเคราะห์ เชิง ยุทธศาสตร์ และข้อเท็จจริงของพื้นที่ มาใช้ในการจัดทํา แผนยุทธศาสตร์ โดยพบว่าขาดแผนที่เป็น Initiative

๓.๑ ผู้บ ริหารขาดข้อมูลที่มี ๓. เครื่องมือที่ใช้ในการบริหาร ๓.๑ ขาดการจัดการระบบเครือข่ายเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการสนับ สนุนการบริหารทางยุทธศาสตร์ ประสิทธิภาพ เพื่อใช้ในการตัดสินใจ ทางยุทธศาสตร์ ทางการบริหาร


ความเสี่ยงสําคัญ (#) ความเสี่ยง ๑. การดําเนินงานตามแผนงาน/ โครงการและการบรรลุผลสัมฤทธิ์ ตามแผนยุทธศาสตร์ไม่เป็นตาม ระยะเวลาที่กําหนดไว้ ๒. การขับเคลื่อนกระบวนการทาง ยุทธศาสตร์อาจไม่บรรลุผลสัมฤทธิ์ ที่กําหนดไว้ ๓. กระบวนการในการจัดทําแผน ไม่มีประสิทธิภาพเท่าทีค่ วร ๔. ผู้บริหารขาดข้อมูลทีม่ ี ประสิทธิภาพ เพื่อใช้ในการ ตัดสินใจทางการบริหาร

เกรดที่ ได้รับ

แนวทางการบริหาร ความเสี่ยง

ผู้รับผิดชอบ นํา แนวทางไปใช้

ต้นทุนที่ อาจเกิดขึ้น


โครงการ:บูรณาการอําเภอสุขภาพดีตามวิถีสขุ ภาพแบบพอเพียง อําเภอท่าคันโท ปี ๒๕๕๕ งบประมาณบูรณาการโครงการ สสอ. ท่าคันโท เงินบํารุง รพ.สต. และกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น ๑๕. ลงนามโครงการ ลงชือ่ …………………………………………….เสนอโครงการ (นายวราวุฒิ ตุลาพัฒน์) ผู้ช่วยสาธารณสุขอําเภอท่าคันโท ลงชื่อ.........................................................ผู้เห็นชอบโครงการ ( นายสมดี โคตตาแสง ) สาธารณสุขอําเภอท่าคันโท

ลงชื่อ .................................................. ผู้เห็นชอบโครงการ ( นายสมยศ ศรีจารนัย ) นายแพทย์เชี่ยวชาญ ผู้อํานวยการโรงพยาบาลท่าคันโท

ลงชื่อ .................................................. ผูอ้ นุมัติโครงการ


15. ระยะเวลาดําเนินงานตามโครงการ กิจกรรมสําคัญ ๑.จัดอบรมคณะกรรมการบริหารกองทุนและทีม SAT ชุมชน(งบกองทุนฯจํานวน ๖กองทุนๆละ ๑๐,๐๐๐บาท) ๒.จัดอบรมนักจัดการสุขภาพระดับตําบล(งบจากกองทุนฯ จํานวน ๖ กองทุนๆละ ๒๐,๐๐๐ บาท) ๓.ประเมินการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับอําเภอ(งบ CUP ท่าคันโท) ๔.จัดมหกรรมสุขภาพดีวถิ ชี าวท่าคันโท ๕.ปรับปรุงพัฒนาโครงสร้าง/สถานที่ให้เหมาะสมในการ ให้บริการของสุขศาลา(งบจาก อปท.) จํานวน ๔๖หมู่บ้านๆ ละ ๑๐,๐๐๐ บาท ๖.ประชุ มเตรี ยมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและซ้อม แผนความเสี) ยง

ปี ๒๕๕๔ ต.ค. พ.ย.

ธ.ค.

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

ปี ๒๕๕๕ เม.ย. พ.ค. มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.


กิจกรรมสําคัญ

ปี ๒๕๕๔ ต.ค.

๗.. อบรมจัดตัTงหน่วยสอบสวนโรคเคลื)อนที) เร็ วระดับตําบล (SRRT)

๘. พัฒนาศักยภาพเครือข่ายงานอนามัยแม่และเด็กระดับ อําเภอ ตําบล สุขศาลา ศูนย์เด็กฯ/โรงเรียนสายใยรัก ๙.พัฒนานวัตกรรมแพทย์แผนไทยเพื่อสร้างเสริมหรือ แก้ปัญหาสุขภาพในพื้นที่ (หมู่บ้าน ตําบล หรืออําเภอ) ๑๐แผนบูรณาการความปลอดภัยด้านสุขภาพจากสารเคมีใน เลือดของเกษตรกรและอาหารปลอดภัยจากสารเคมีตกค้าง ๑๑.มีการดําเนินงานตรวจสารเคมีในเลือดในกลุม่ เป้าหมาย ๑๒.อบรมเกษตรอินทรีย์ เกษตรกรปลอดโรคผู้บริโภค ปลอดภัย ๑๓.มหกรรมประกวดชุมชนต้นแบบเกษตรอินทรีย์ ๑๔.การฟื้นฟูสุขภาพคนพิเศษทางสังคมแบบสหวิชาชีพ บูรณาการกับงบประมาณ PP เชิงรุก ๓ บาท) -สร้างและพัฒนาเครือข่าย ผู้ดูแลคนพิเศษทางสังคมในชุมชน

๑๕.จัดเวทีประชาคมสมัชชาสุขภาพระดับอําเภอเพื่อสร้าง พันธสัญญาเพื่อการสร้างพฤติกรรมสุขภาพและประกาศ พันธสัญญา วัฒนธรรมสุขภาพเสวนาวัฒนธรรมสุขภาพใน ระดับชุมชน บทเรียน / สังเคราะห์องค์ความรู้

พ.ย.

ปี ๒๕๕๕ ธ.ค.

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย. พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.