คำม่วงสามชัย2

Page 1

๑. ชื่อโครงการ :โครงการเสริมพลังชุมชน พัฒนาคนสามชัย- คําม่วงสุขภาพดี ปี ๒๕๕๕ ๒. ความสําคัญ หลักการและเหตุผล พระราชบัญญัติปรับ ปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้กําหนดให้กระทรวงสาธารณสุขมี อํานาจหน้าที่เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพอนามัย ป้องกันควบคุม และรักษาโรคภัย การฟื้นฟูสมรรถภาพของ ประชาชนและราชการอื่น จากแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔) ได้กําหนดนโยบาย วิสัยทัศ น์มุ่งพัฒนาสู่ "สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน (Green and Happiness Society) คนไทยมีคุณธรรมนํา ความรอบรู้ รู้ทันโรค ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง สังคมสันติสุข เศรษฐกิจมีคุณภาพ เสถียรภาพและเป็นธรรม สิ่งแวดล้อมมีคุณภาพ และทรัพยากรที่ยั่งยืน อยู่ภายใต้ระบบบริหารจัดการประเทศ ที่มีธรรมาภิบ าล ดํารงไว้ซึ่ง ระบบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และอยู่ในประชาคมโลกได้อย่างมีศักดิ์ศรี" .รัฐบาลได้ โดยมีนโยบายที่จะส่งเสริมให้คนไทย อยู่เย็นเป็นสุข ทั้งกาย ใจ สังคม และปัญญาสามารถดํารงชีพบนพื้นฐาน ความพอดี พอประมาณอย่างมีเหตุผล ภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยให้ทุกภาคส่วนมีเป้าหมายร่วมกันใน การนําพาทุกชุมชนของประเทศไทย ดํารงชีพแบบเศรษฐกิจพอเพียงแล้วนําไปสู่การมีสุขภาพแบบพอเพียงภายใน ปี ๒๕๕๕ โดยใช้แนวคิด หลัก คือ คนคือศูนย์กลางในการพัฒนาโดย มีวัต ถุประสงค์คือ สร้างสุขภาพดี สร้า ง รากฐานความเข้มแข็งสุขภาพระดับครอบครัวและชุมชน สร้างระบบบริการดี ระบบบริการสุขภาพที่มีหัวใจเป็น มนุษย์ สร้างสังคมดี มีหลักประกันสุขภาพที่อุ่นใจและมั่นคง สร้างชีวิตที่มีความสุขพอเพียง สังคมแห่งการเรียนรู้ พัฒนาศักยภาพความเป็นมนุษย์ โดยมีพันธกิจ คือ สร้างเอกภาพทางความคิด สร้างจิตสํานึกสุขภาพใหม่ สร้าง ระบบจั ดการที่ โปร่งใส สร้ างกลไกการมีส่วนร่ วมในการพัฒ นา โดยการพัฒ นาระบบสุข ภาพภาคประชาชน ให้เกิดการจัดการสุขภาพชุมชนแบบบูรณาการ ได้แ ก่ การเสริมสร้างความเข้มแข็งขององค์กร/กําลังคน/ ภาคี เครือข่ายสุขภาพ การระดมทุนจากชุมชน และแหล่งต่าง ๆ การจัดทําแผนสุขภาพชุมชน การถ่ายทอดความรู้สู่ ชุมชน และการจัดกิจกรรมสร้างสุขภาพในชุมชน โดยการเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน ยึดหลักการพึ่งพาตนเอง ลดการพึ่งพิงภายนอก ด้วยการคํานึงถึงศักยภาพ ทรัพยากร ภูมิปัญญา วิถีชีวิต วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมใน ท้องถิ่นเป็นหลัก รวมทั้งกําหนดแนวทางพัฒนาศักยภาพ อสม.ให้มีขีดสมรรถนะที่สูงขึ้นเพีย งพอต่อการจัดบริการ และดูแ ลส่ง เสริ มสุข ภาพประชาชน โดยมี ศู นย์ส าธารณสุ ข มูล ฐานเดิม หรื อ สุ ข ศาลา ในปั จจุบัน เป็ นสถานที่ ดํา เนิ นงานซึ่ งกระบวนการหนึ่ง ในการจั ด การสุ ข ภาพชุ มชนโดยชุมชน เพื่อชุมชน สู่ การเป็นชุ มชนสามารถ พึ่งตนเองและดูแลตนเอง ได้อย่างยั่งยืน ดังนั้น คปสอ.คําม่วง- สามชัย จึงได้จัดทําโครงการเสริมพลังชุมชน พัฒนา คน สามชัย- คําม่วง สุขภาพดี ปี ๒๕๕๕ เพื่อพัฒนาระบบสุขภาพของชุมชนเพื่อสร้างวัฒนธรรมสุขภาพและวิถีสุขภาพ ที่มีเข้มแข็ง แบบพอเพียง ต่อไป ๓. วัตถุประสงค์ของโครงการ ๓.๑ ชุมชนมีการบูรณาการหน่วยงานภาคี เพือ่ จัดการสุขภาพแบบบูรณาการในชุมชน นําไปสู่ นวัตกรรมสุขภาพที่สามารถแก้ปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ ๓.๒ สถานบริการสุขภาพในชุมชน หรือสุขศาลา เป็นศูนย์เรียนรู้ด้านสุขภาพในชุมชนที่ได้มาตรฐาน ๓.๓ สร้างชุมชนต้นแบบด้านการจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ สามารถขยายผลเป็นแหล่งเรียนรู้ของ ชุมชนอื่นได้


๔. ขอบเขตและกระบวนการทีส่ ําคัญ ๔.๑ ขอบเขต ประเด็น กลุ่มผู้รับบริการเป้าหมาย พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ เป้าหมาย

ขอบเขตโครงการ - ประชาชนทุกตําบลในอําเภอสามชัย - คําม่วง - พื้นที่ทุกตําบล จํานวน ๑๐ ตําบลในอําเภอสามชัย-คําม่วง - เป้าหมายหมู่บ้านยุทธศาสตร์ รพ.สต./รพ. ละ ๓ หมู่บ้าน ปี ๒๕๕๓ – ๒๕๕๕ จํานวน ๓๘ หมูบ่ ้าน

๔.๒ ขั้นตอนและกระบวนการในการดําเนินโครงการ (รูปแบบ Flow Chart ตามหลัก P-D-C-A-S) แต่งตั้งคณะทํางาน/ประชุม ผู้รับผิดชอบโครงการ

จัดประชุมชี้แจงแก่ คณะทํางาน รพสต. / รพ. และภาคีเครือข่าย

กําหนดรูป แบบการ ดําเนินงาน/คัดเลือก หมู่บ้านเป้าหมาย ๓

คณะทํางานของ รพ. สต./รพ.อบรมพัฒนา ศักยภาพนักจัดการ สุขภาพชุมชนเดิม/ใหม่ ร่วมกับ อปท.

พัฒนาระบบข้อมูลด้าน สุขภาพในชุมชน ตําบลเพื่อ จัดทําแผนสุขภาพในพื้นที่ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

จัดเวทีประชาพิจารณ์แผน ระดับหมู่บ ้าน/ระดับตําบล / อําเภอ ๓๘ หมู่บ ้าน/ ๑๒ ตําบลเป้าหมาย ร่วมกับภาคี สุขภาพ

๖ ๗ พัฒนาทีมติดตามประเมินแผน สุขภาพ( SAT ) ระดับตําบล / หมู่บ้าน เพื่อค้นหานวัตกรรม สุขภาพชุมชนที่เกิดจาก แผนงานโครงการ

จัดตั้งโรงเรียน อสม./พัฒนา สุขศาลา ๓๘ แห่ง ให้ได้ มาตรฐานร่วมกับ สสจ/ อปท./คปสอ./รพ.สต./รพ.

รพ.สต./รพ.ร่วมกับทีม คปสอ.กําหนดรูป แบบ การบริการด้านสุขภาพใน สุขศาลาโดย อสม. ๙

คณะกรรมการ คปสอ.ประเมิน จัดลําดับตําบล/หมู่บ้าน จัดการ สุขภาพแบบบูรณาการ และ สุขศาลา มาตรฐาน ในระดับ A,B,C,D

๑๐

จัดงานมหกรรม ถอดบทเรียน และมอบ รางวัล/ใบประกาศ ตําบล/หมู่บ ้าน และสุขศาลามาตรฐาน A,B,C,D

๑๑

สรุป องค์ความรู้จาก นวัตกรรมชุมชนและขยาย ผลการดําเนินงานยัง หมู่บ ้านอื่นในปีต่อไป

๑๒


๕. ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ ผลผลิต ๑.นักจัดการสุขภาพชุมชน มีองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการ แผนสุขภาพในชุมชน ๒.ชุมชนมีการนําข้อมูลด้านสุขภาพ เพื่อจัดทําแผนงานด้าน สุขภาพแบบบูรณาการเพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติจนเกิดผล สัมฤทธิ์ เป็นวัฒนธรรมและวิถีสขุ ภาพ ๒. อสม.มีศกั ยภาพในการปฏิบตั ิงานด้านบริการในสุขศาลา ๒. มีสขุ ศาลา ที่ได้มาตรฐาน โดยการ บูรณาการหน่วยงานภาคี และการเชื่อมโยงวัฒนธรรมสุขภาพของชุมชน

ผลลัพธ์ ๑. ชุมชนมีวัฒนธรรมสุขภาพและวิถีสุขภาพที่เข้มแข็ง ภายใต้บริบทของแต่ละชุมชน ๒. มีระบบบริหารจัดการระบบสุขภาพชุมชน ที่หลากหลายอย่างรู้เท่าทันและพึ่งตนเองได้ ๓. มีนวัตกรรมสุขภาพชุมชน ในการดูแลสุขภาพ

๖. ตัวชี้วัดความสําเร็จของโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ ๑.นักจัดการสุขภาพชุมชน มีองค์ความรู้ด้านการบริหาร จัดการแผนสุขภาพในชุมชน

ตัวชีว้ ัด ๑. ระดับความสําเร็จของการพัฒนา ศักยภาพองค์ความรู้นักจัดการ สุขภาพ และการนําไปใช้ในการ พัฒนาระบบสุขภาพรพ.สต./สุขศาลา ๒.ชุมชนมีการนําข้อมูลด้าน ๒. ร้อยละของหมูบ่ ้าน/สุขศาลา สุขภาพ เพื่อจัดทําแผนงานด้าน เป้าหมายมีการจัดการระบบข้อมูล สุขภาพแบบบูรณาการเพื่อใช้ ด้านสุขภาพ เป็นแนวทางในการปฏิบตั ิ ๓. ร้อยละของหมู่บ้านเป้าหมายมี การจัดทําแผนสุขภาพชุมชนสูก่ าร ปฏิบตั ิ ติดตามประเมินผล ๓. การมีส่วนร่วมในการจัดทํา ๔. ประชาคมเรื่องแผนสุขภาพ แผนสุขภาพชุมชน/การ ชุมชน/การให้บริการในสุขศาลา ให้บริการในสุขศาลา ๔. อสม.มีศกั ยภาพในการ ๕. อสม.ทีผ่ ่านการอบรมมีความรู้ ปฏิบตั ิงานในสุขศาลา ความสามารถปฏิบัตงิ านในสุขศาลา ๕. มีการนําองค์ความรู้ไปใช้ใน ๖. ร้อยละสุขศาลาทีม่ ีการปรับปรุง/ การพัฒนาระบบสุขภาพและ พัฒนาตามเกณฑ์ แก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นทีแ่ ละ ๗. ร้อยละสุขศาลาจัดกิจกรรม มีสขุ ศาลา เป็นศูนย์เรียนรู้ด้าน แลกเปลีย่ นเรียนรู้ สุขภาพของชุมชน ๘. นวัตกรรมสุขภาพของชุมชน ผลผลิต/ผลลัพธ์ ตัวชีว้ ัด ๖. ชุมชนมีวัฒนธรรมสุขภาพและ ๙. ระดับความสําเร็จของชุมชนทีม่ ี วิถีสขุ ภาพที่เข้มแข็ง ภายใต้ ระบบสุขภาพชุมชนที่เข้มแข็ง บริบทของแต่ละชุมชน ๑๐.สุขศาลาผ่านประเมินตามเกณฑ์

ค่าเป้าหมาย เป้าหมาย ๑๐ ตําบล คําม่วง ๖ ตําบล สามชัย ๔ ตําบล

ระยะเวลา มี.ค.๕๕

ร้อยละ ๑๐๐ ในเป้าหมาย หมู่บ้านยุทธศาสตร์ ๓๘ หมู่ สุขศาลา ๓๘ แห่ง

มี.ค.๕๕

ร้อยละ ๑๐๐ ในเป้าหมาย หมู่บ้านยุทธศาสตร์ และ สุขศาลา ๓๘ แห่ง ร้อยละ๘๐ในหมูบ่ ้านเป้าหมาย ในโรงเรียน อสม. ๑๐ ตําบล - ร้อยละ ๑๐๐ สุขศาลา ๓๘ แห่ง - ร้อยละ ๑๐๐ สุขศาลา ๓๘ แห่ง - อย่างน้อยชุมชนละ๑ เรื่อง ค่าเป้าหมาย ร้อยละ ๑๐๐ ในเป้าหมาย หมู่บ้านยุทธศาสตร์๓๘หมูบ่ ้าน ร้อยละ ๘๐ ในสุขศาลา ๓๘ แห่ง

มี.ค. ๕๕ มี.ค. ๕๕ ก.ค. ๕๕

ระยะเวลา มี.ค.๕๕


๗. ความเชือ่ มโยงกับยุทธศาสตร์ ความเชือ่ มโยงกับยุทธศาสตร์

เหตุผลและรายละเอียด

โครงการหลักทีส่ ่งผลต่อการบรรลุค่าเป้าหมายภายใต้ตัวชี้วัด ประเด็นยุทธศาสตร์ ๔ : สร้างวัฒนธรรมสุขภาพและวิถีชีวิตที่มี - เพื่อสร้างกระแส และกิจกรรมทั้งในระดับอําเภอ และชุมชน เพื่อการกระตุ้นให้มกี ารรับรู้ในการ ความสุขในสังคมแห่งสุขภาวะ ดําเนินงานของโครงการเพือ่ การจัดการวัฒนธรรมและ วิถีแห่งสุขภาวะภายใต้บริบทของชุมชน เป้าประสงค์ ๙ : ชาวอําเภอสามชัย -คําม่วงมีระดับความสําเร็จของ ตัวชี้วัด ๘ :ชุมชนผ่านเกณฑ์วัฒนธรรมและวิถีสุขภาวะใน ชุมชนที่มีระบบสุขภาพที่เข้มแข็ง ระดับ ๕ ( ร้อยละ ๑๐๐ ของหมูบ่ ้านเป้าหมาย) ตัวชี้วัด ๙ : ชุมชนทีม่ ีระบบสุขภาพที่เข้มแข็ง ( ร้อยละ ๑๐๐ ของหมูบ่ ้านเป้าหมาย) ประเด็นยุทธศาสตร์ ๑ : การสร้างระบบสุขภาพและการแพทย์ที่ ผู้รับบริการอุ่นใจ ผู้ให้บริการมีความสุข เป้าประสงค์ ๓ : หลักประกันสุขภาพที่เป็นธรรมทั่วถึงมีคุณภาพ

ประเด็นยุทธศาสตร์ ๒ : การสร้างระบบภูมิคุ้มกันเพื่อลด ผลกระทบจากโรคและภัยคุกคามสุขภาพ

ความสัมพันธ์ระหว่างยุทธศาสตร์

- เพือ่ การสร้าง ความรู้ ความเข้าใจ เข้าถึง หลักประกันสุขภาพ และสามารถค้นพบปัญหา แก้ไข ปัญหา และจัดการปัญหาสุขภาพในพื้นทีข่ อง ประชาชนได้ด้วยตนเอง ตัวชี้วัด ๓ : ระดับความสําเร็จในการดําเนินงานการสร้าง หลักประกันสุขภาพในพื้นที่ ที่ระดับ ๕ - เพือ่ การลดโรครายโรค และกําหนดบทบาทหน่วย บริการ ต่อการจัดการโรคที่เป็นปัญหา โดยให้ท้องถิ่น และชุมชนมีส่วนร่วมในการ จัดทําแผน จัดสรร ทรัพยากร และร่วมดําเนินงานเพื่อลดการป่วย ลด ความรุนแรง และการตายด้วยโรคที่เป็นปัญหาใน ชุมชน และยกระดับการระบบบริการการแพทย์ ฉุกเฉินในระดับชุมชน และการสร้างภูมคิ ุ้มกันทาง สุขภาพอย่างรู้เท่าทัน เหตุผลและรายละเอียด

ตัวชีว้ ัดที่ ๔ ร้อยละของ คปสอ.ทีผ่ ่านเกณฑ์มาตรฐาน เป้าประสงค์ที่ ๔ : มีระบบภูมิคมุ้ กันทีส่ ามารถรองรับความ พร้อมในการลดผลกระทบจากโรคและภัยคุกคามสุขภาพได้อย่าง ด้านระบบภูมิคมุ้ กันทีส่ ามารถรองรับความพร้อมใน ทันการณ์ การลดผลกระทบจากโรคและภัยคุกคามสุขภาพได้ อย่างทันการณ์ (ร้อยละ ๑๐๐ ) เป้าประสงค์ ๕ : อําเภอสามชัย – คําม่วง สามารถลดการป่วยตาย ตัวชี้วัด : จํานวนโรคที่เป็นปัญหาของพื้นที่ผ่านเกณฑ์ ด้วยโรคที่เป็นปัญหาของอําเภอได้ มาตรฐาน (DM,HT,DHF,TB,Diarr, Lepto, MCH )


ประเด็นยุทธศาสตร์ ๖ : การสร้างระบบสุขภาพบนฐานความรู้ ด้วยการจัดการความรู้ เป้าประสงค์ ๑๒ : มีระบบสุขภาพบนฐานความรู้ด้วยการจัดความรู้ อย่างมีเหตุผล

ระดับ ๕ - กําหนดรูปแบบหรือโครงสร้างในการพัฒนาระบบ สุขภาพหรือแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ ซึง่ ได้แก่ CQI วิจัย หรือนวัตกรรม ตัวชี้วัด : หน่วยงานที่ผ่านเกณฑ์ระดับความสําเร็จในการ นําองค์ความรู้ไปใช้ในการพัฒนาระบบสุขภาพและแก้ไข ปัญหาสุขภาพในพื้นที่ ะดับ ๕ ( การจัดการสุขภาพในชุมชนที่เข้มแข็งแบบพอเพียง)

๘. รายละเอียดกิจกรรมโครงการ กระบวนงาน/กิจกรรมหลัก ๑.ประชุมแต่งตั้งคณะทํางานระดับ ตําบล และชีแ้ จงการดําเนินงาน กําหนดแนวทางตามโครงการและ คัดเลือกหมูบ่ ้านเป้าหมาย ๒.อบรมพัฒนาศักยภาพนักจัดการ สุขภาพชุมชนเดิม/ใหม่ เพื่อพัฒนา ระบบข้อมูลด้านสุขภาพในชุมชน เพื่อจัดทําแผนสุขภาพชุมชน

ผลผลิต

ระยะเวลา (ว.ด.ป) หน่วย จํานวน เริ่มต้น สิ้นสุด คน ๒๐ ต.ค.๕๔ ธ.ค.๕๔ คน แห่ง/ คน

ผู้รับ ผิดชอบ

งบประมาณ (ระบุรายละเอียดที่ใช้)

คปสอ.

- ค่าอาหาร,อาหารว่าง พร้อมเครื่องดื่ม ๒๐ คน x ๕๐ บาท = ๑,๐๐๐ บาท - งบพัฒนางาน สาธารณสุขมูลฐานของ ชุมชน/งบกองทุน หลักประกันสุขภาพ/งบ จาก อปท./สสจ.กส.

๑๐ ธ.ค.๕๔ มี.ค.๕๕ คปสอ./อปท./ แห่ง/ สสจ./รพ.สต. คน


๓.จัดเวทีประชาพิจารณ์แผนระดับ หมู่บ้าน/ระดับตําบล /อําเภอ ร่วมกับภาคีเครือข่ายสุขภาพ ๔. จัดตัง้ คณะทํางานในการ ดําเนินงานสุขภาพในชุมชน ซึ่งประกอบไปด้วย นักจัดการ สุขภาพ ครู ผู้นําชุมชน อสม.เป็นต้น เพื่อการจัดการวัฒนธรรมสุขภาพ และวิถแี ห่งสุขภาวะ ๕.วิเคราะห์หาความต้องการและ สืบค้นวัฒนธรรมสุขภาพตามวิถี ชุมชน เพื่อค้นหาสิ่งทีด่ ีในชุมชนที่ สามารถนํามาปฏิบตั ิจนเป็น วัฒนธรรมในชุมชน ๖.พัฒนาทีมติดตามประเมินแผน สุขภาพ (SAT ชุมชน) ระดับตําบล /หมู่บ้าน เพื่อค้นหา นวัตกรรม สุขภาพชุมชนทีเ่ กิดจากแผนงาน/ โครงการชุมชน

กระบวนงาน/กิจกรรมหลัก

ตําบล มบ.

๑๐ ๓๘

ธ.ค.๕๔ มี.ค.๕๕ อปท./รพสต./ ชุมชน

-งบกองทุนหลักประกัน สุขภาพ/งบจาก อปท.

คณะ

ธ.ค.๕๔ มี.ค.๕๕ อปท./รพสต./ ชุมชน

-งบกองทุนหลักประกัน สุขภาพ/งบจาก อปท.

๑/๓๘ ธ.ค.๕๔ มี.ค.๕๕ อปท./รพสต./ ชุมชน

งบกองทุนหลักประกัน สุขภาพ/งบจาก อปท.

ครั้ง/ หมู่

๑ทีม/ ๑๐/ ตําบล ๑๐

ผลผลิต

ธ.ค.๕๔ มี.ค.๕๕ สสจ./รพ.สต./ อปท.

ระยะเวลา (ว.ด.ป) ผู้รับผิด หน่วย จํานวน เริ่มต้น สิ้นสุด ชอบ ๗.กํ า หนดสั ญญาประชาคม เพื่ อใช้ ครั้ง/ ๑/๓๘ ต.ค.๕๔ มี.ค.๕๕ อปท./รพสต./ ชุมชน เป็นแนวทางในการปฏิบัติจนเกิด ผล หมู่ สั ม ฤ ทธิ์ จ ากนวั ต กรรมสุ ข ภาพ/ วัฒนธรรมและวิถีสุขภาพ ๘. พัฒนาโรงเรียน อสม./ดําเนินการ สถาน ๑๓/ ต.ค.๕๔ มี.ค.๕๕ สสจ/อปท./รพ. สต. บริกา ๕๓๘+ อบรมเข้ม อสม.ตามหลักสูตร โรงเรียน อสม. และฝึกปฏิบตั ิ ร/คน ๙๗๓= ๑,๕๑๑ ต่อเนื่องในรพ.สต./โรงพยาบาล ๑/ ต.ค.๕๔ มี.ค.๕๕ อปท./รพสต./ ชุม ๙.จัดตั้งกลุ่ม/เครือข่าย ต้นแบบใน ชุมชน การดูแลสุขภาพตามวิถสี ุขภาวะที่ ชน/ ๓๘ แห่ง กําหนดในสัญญาประชาคม ๓๘ ต.ค.๕๔ มี.ค.๕๕ อปท./รพ.สต. ๑๐.ปรับปรุง /พัฒนาสุขศาลา ให้ได้ แห่ง มาตรฐาน คปสอ./อปท./ ๑๑. สํารวจและประเมินไขว้ชุมชน รพ.สต. พร้อมประชุมคณะทํางานร่วมในสุข ศาลาเพื่อนําวิเคราะห์หาส่วนขาด

สสจ.กส.

งบประมาณ (ระบุรายละเอียดที่ใช้) งบกองทุนหลักประกัน สุขภาพ/งบจาก อปท. - งบ อบจ.กาฬสินธุ์/ สสจ.กส. -งบ สสม,งบกองทุน หลักประกันสุขภาพ งบกองทุนหลักประกัน สุขภาพ/งบจาก อปท. งบ อปท.,งบ สสม./งบ กองทุนหลักประกัน - ค่าอาหาร,อาหารว่าง พร้อมเครื่องดื่ม๒๐คน x ๕๐ บาท x ๓ ครั้ง


เพื่อพัฒนาด้านบริการกําหนด รูปแบบการบริการด้านสุขภาพในสุข ศาลาโดย อสม. ๑๒. จัดประชาคมในชุมชนเพื่อ รับทราบปัญหาและความต้องการ ด้านการบริการในชุมชนและความ พร้อมของชุมชน และ อสม. ๑๓.คณะทํางานร่วมกําหนดแนวทาง พัฒนา รูปแบบเอกสารและบริการ ในสุขศาลาโดย ทีม สหวิชาชีพ ๑๔. จัดอบรมและพัฒนาองค์ความรู้ ในการดําเนินงานมาตรฐานสุขศาลา เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้ด้านสุข ภาพของ ชุมชน ๑๕. แต่ ง ตั้ ง คณะอนุ กรรมการเพื่ อ ติด ตามประเมิน มาตรฐานสุ ข ศาลา และหมู่บ้านเป้าหมาย เพื่อจัดลําดับ หมู่บ้าน A, B, C, D ๑๖. จัด มหกรรมแลกเปลี่ ยนเรียนรู้ และถอดบทเรียนตามวัฒนธรรมและ วิถีสุขภาพ เพื่อสังเคราะห์องค์ความรู้ สามารถนําไปแลกเปลี่ย นเรียนรู้กับ ชุ ม ชนอื่ น และมอบรางวั ล แก่ หมู่บ้าน/อปท.จัดการสุขภาพ ๑๗. สรุปผล/จัดทํารูปเล่มนวัตกรรม รวม

= ๓,๐๐๐ บาท ตําบล หมู่ บ้าน

๑๐ ต.ค.๕๔ มี.ค.๕๕ อปท./รพสต./ ชุมชน ๓๘

งบ อปท.,งบ สสม./ งบกองทุนหลักประกัน

๑ ๑๐/ ต.ค.๕๔ มี.ค.๕๕ ทีม/ ๑๐ ตําบล อสม. ๑,๕๑ ต.ค.๕๔ มี.ค.๕๕ /มบ. ๑/ ๓๘ คณะ/ มบ.

๑/ ๓๘

คปสอ./ - ค่าอาหาร,อาหารว่าง รพ.สต./ชมรม พร้อมเครื่องดื่ม๒๐คน อสม. x ๕๐ บาท x ๑ ครั้ง /อปท./รพ.สต. = ๑,๐๐๐ บาท - ค่าอาหารทีมประเมิน ๑,๕๐๐ บาท x ๒ ครั้ง = ๓,๐๐๐ บาท ต.ค.๕๔ มี.ค.๕๕ คปสอ./อปท. -ร่วมกับ คปสอ. รพ.สต./ชมรม ( ค่าวัสดุสําหรับ อสม. สุขศาลา ตําบล ละ ๑,๐๐๐ บ.x ๑๐ ตําบล มี.ค.๕๕ ก.ค.๕๕ คปสอ./อปท. = ๑๐,๐๐๐ บาท รพ.สต./ชมรม อสม.

ก.ย.๕๔ ก.ย.๕๕ คปสอ.

-ค่าวัสดุ จัดทํารูปเล่ม ๓,๐๐๐ บาท

รวมเป็นเงิน ๒๑,๐๐๐ (สองหมื่นหนึ่งพันบาทถ้วน) แหล่งงบประมาณ งบ คปสอ. หมายเหตุ : ทุกรายการสามารถถัวเฉลีย่ กันได้


๙. ผูร้ ับผิดชอบ ตําแหน่งในโครงการ ผู้สนับสนุนโครงการ (Project Sponsor) ผู้สนับสนุนโครงการ (Project Sponsor)

หัวหน้าโครงการ (Project Manager) Project Team

ทีมผูส้ นับสนุน คุณกิจ

ชื่อผูร้ ับผิดชอบ นางฉวีวรรณ ชมพูเขา นักวิชาการ สาธารณสุขชํานาญการพิเศษ ประธานสาธารณสุขโซนคําสมสหัสชัย นายแพทย์สมานมิตร อัฐนาค ผู้อํานวยการโรงพยาบาลคําม่วง ประธาน คปสอ. คําม่วง-สามชัย นายประสิทธิ์ สงกันหา สาธารณสุขอําเภอคําม่วง นางจุฑามาศ วิลาศรี สาธารณสุขอําเภอสามชัย นางประทุมมาศ ไชยสุนทร หัวหน้ากลุ่มงานเวชปฏิบตั ิครอบครัวและ ชุมชน โรงพยาบาลคําม่วง

บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ อนุมัติ ให้การสนับสนุนโครงการ รวมทัง้ เป็นที่ ปรึกษาของโครงการ (CEO)

นางสาวสุกฤตา ศรีณะพรม

- ส่งเสริม และ กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ใน หน่วยงาน คุณอํานวย (Facilitator)

- นายคงฤทธิ์ วันจรูญ - นายทินกร ถิ่นวรแสง - นางสาวสุวรรณี ศรีหงษ์ทอง - นายกฤตเมธ อัตภูมิ - นางพนมวรรณ์ ศรีคิรินทร์ - นายพูลศิลป์ แสงบุตร - นายมณี กองอุดม - นายพิเชษฐ แสนพันดร - นางดุษฎี มงคล - นางนาถนรินทร์ ทรัพย์กลุ - นายรุ่งธรรม ม่วงจันทร์ - นางสาวจินตนา ศรีมูลมาตร - นางสาวเอมอร ชนะบุตร -นายชื่นชม ภูบุญคง - หัวหน้างานโรงพยาบาลคําม่วง -เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลคําม่วงทุกคน -ผอ.รพ.สต / สถานีอนามัยทุกแห่ง -เจ้าหน้าที่ ในรพ.สต.ทุกคน

KM team (คุณกิจ) - แต่งตัง้ คณะทํางาน /-วิเคราะห์ปัญหาระบบ สุขภาพในสถานบริการและชุมชน - ร่วมกําหนดรูปแบบแนวทางในการดําเนินงาน - ชีแ้ จงแนวทางการดําเนินงานสําหรับผูเ้ กีย่ วข้อง - วางแผนกําหนดแนวทางการดําเนินงาน/ แสวงหาองค์ความรูแ้ ละดําเนินงานตามแผน - ติดตามและควบคุมกํากับการดําเนินงาน - ประเมินผลการดําเนินงาน/ปัญหาอุปสรรค - ประเมินผลคัดเลือกหมู่บ้าน/สุขศาลา มาตรฐาน ระดับ A, B, C, D - สรุปExplicit และ Tacit knowledge เพื่อ - เผยแพร่องค์ความรู้ทั้งในและนอกเครือข่าย

ติดตาม ,สนับสนุน,เป็นทีป่ รึกษาของโครงการ คุณเอื้อ (CKO)

รับผิดชอบ ผลักดันให้โครงการประสบผลสําเร็จ และดูแลบริหารโครงการโดยรวม คุณประสาน (Project Network)

- ร่วมกําหนดรูปแบบแนวทางในการดําเนินงาน แสวงหาองค์ความรูแ้ ละดําเนินงานตามแผน -เสนอปัญหาอุปสรรค/ร่วมประเมินผล


10

10. งบประมาณ และประมาณการกระแสเงินสด โครงการใช้งบทั้งหมด ๒๑,๐๐๐ บาท ดังรายละเอียดดังนี้ ประเด็น

งบประมาณ ทั้งหมด

๑. รายรับ

๒๑,๐๐๐

๒.รายจ่าย

๒๑,๐๐๐

ไตรมาสที่ ๑ ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

๒.๑ กิจกรรม ประชุมแต่งตั้ง

คณะทํางาน ๒.๒ กิจกรรม พัฒนารูปแบบ เอกสารและบริการ ในสุขศาลาโดย ทีมสหวิชาชีพ ๒.๓ กิจกรรม ประเมินไขว้ หมู่บ้านและ มาตรฐานสุขศาลา หมู่บ้านเป้าหมาย ๒.๔ กิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้

ไตรมาสที่ ๒ ม.ค.

ก.พ. มี.ค.

ไตรมาสที่ ๓ เม.ย พ.ค. มิ.ย.

ไตรมาสที่ ๔ ก.ค.

ส.ค. ก.ย.

๑,๐๐๐ ๓,๐๐๐

๑,๐๐๐

๑,๕๐๐

๑,๕๐๐

๑๐,๐๐๐

๒.๕ กิจกรรม สรุปผล/จัดทํา

๓,๐๐๐

รูปเล่มนวัตกรรม

รวม

๔,๐๐๐

๑,๐๐๐

๑,๕๐๐

๑,๕๐๐

๑๑. ผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ ประเด็นปัญหาจาก Stakeholder ผู้ที่เกี่ยวข้อง

ส่งผลกระทบต่อ ความสําเร็จของโครงการ

ได้รับผลกระทบ จากโครงการ

ประเด็นปัญหาที่ อาจจะมี

แนวทางในการแก้ไข

๑๓,๐๐๐


11

คปสอ.

- การควบคุมกํากับติดตาม ประเมินผล

-

PCU/สอ.

-การบริการเชิงรุกของ เจ้าหน้าที่ -บริบทพื้นที่ที่ดําเนินงาน -ภาคีเครือข่ายในพื้นที่

-

ตัวแทนภาคี -แรงจูงใจ เครือข่าย/ -ภาคีเครือข่ายสร้างสุขภาพ ประชาชน มีความเข้มแข็ง

อปท.

-มีส่วนร่วมในการประชา สัมพันธ์ - มีส่วนร่วมในการประ เมิน ผลโครงการ - มีส่วนร่วมในการประชา คมหมู่บ้าน - จัดเวทีประชาพิจารณ์แผน หมู่บ้าน -จัดเวทีเจรจาภาคีแผน ตําบล

-

-

-บุคคลากรมีจํากัด - บุคลากรใน CUP บูรณา - การทํางานแยก ยุทธศาสตร์การพัฒนา ส่วน องค์กรร่วมกัน - บูรณาการการดําเนินภาคี ระดับอําเภอ -บุคลากรมีภาระ -ปรับเปลีย่ นแผนงานตาม งานมาก ความเหมาะสม - ขาดการนําเอา -พัฒนา อสม.เชีย่ วชาญ ศักยภาพของภาคี บริการเชิงรุก เครือข่ายให้เข้ามา - จัดการความรู้การบริการ เชิงรุกสําหรับจนท.สอ./รพ. มีส่วนร่วม -ภาคีเครือข่ายไม่มี -ส่งเสริมชมรม จิตอาสา ส่วนร่วมในการ - จัดสรรงบประมาณค่าตอบ จัดทําแผนงานใน แทนตามความเหมาะสม ชุมชนและ - ขอสนับสนุนจากภาคีอื่น ค่าตอบแทนในการ อาทิ อปท./กองทุนฯลฯ ปฏิบตั ิงาน - กําหนดเป้าหมายร่วมกัน -ไม่เห็น - กําหนดให้เป็นนโยบายของ ความสําคัญของ จังหวัด/อําเภอ การดําเนินงาน - สนับสนุนให้ชุมชนมีส่วน - การทํางานแยก ร่วมในการจัดทําข้อบัญญัติ ส่วน ร่วมกับ อปท. - มีการประสานงานอย่าง ต่อเนื่อง - มีการกําหนดแนวทางและ ข้อปฏิบตั ิของวัฒนธรรม สุขภาพและวิถีชีวิตนําสู่ พันธะสัญญาของชุมชน


12

๑๒. ประโยชน์ทจี่ ะได้รับ ด้านการคุ้มค่าคุ้มทุน ๑. ส่งเสริมการพึ่งตนเอง ของประชาชน สามารถลดการพึ่งพิงภาครัฐ ๒. สามารถบูรณาการเข้ากับโครงการอื่นของภาคีเครือข่ายได้ ด้านผลประโยชน์โครงการ (ทางสังคม ผู้ที่เกีย่ วข้อง หน่วยงาน/

บวกสูง (+๓) ส่งเสริมการ พึ่งตนเองของ ประชาชน

เจ้าหน้าที่

ประชาชน

ผู้นํา/อสม.

บวกกลาง (+๒)

ลดภาระการดูแล รักษาผูป้ ่วยที่ ชุมชนสามารถ ดูแลได้ สามารถดูแล ตนเองได้อย่าง เหมาะสมเกิด การพึ่งตนเอง และการมีส่วน ร่วมของชุมชน ชุมชนสามารถ ดูแลชุมชนโดย ชุมชนเพือ่ ชุมชน ได้

เกิดความ ตระหนักถึง หน้าที่ในการ ดูแลสุขภาพของ ประชาชน อปท./ภาคี บทบาทในการ เกิดการมีส่วน เครือข่ายอื่นๆ ดูแลสุขภาพของ ร่วมของอปท. / ประชาชนใน ภาคีเครือข่าย พื้นที่แบบบูรณา การ รวม

+๑๒

+๖

บวกต่ํา (+๑)

ลบต่ํา (-๑)

ลบกลาง (-๒) การพึ่งพิง หน่วยงานของ รัฐ ภาระงานมาก บุคลากรน้อย

ลบสูง (-๓)

รวม +๑ ๐

ไม่เห็นความ ขาดความ -๒ สําคัญของ ตระหนักในการ บุคลากรใน ดูแลสุขภาพและ ชุมชนและการ มีส่วนร่วมของ รักษาแบบภูมิ ชุมชน ปัญญาไทย ไม่เข้าใจถึง +๒ บทบาทหน้าที่ ของตนเอง

-๖

-ไม่เข้าใจถึง บทบาทหน้าที่ -การสนับสนุน งบประมาณ - การมีส่วนร่วม แบบบูรณาการ -๙

+๒

+๓


1

๑๓. ความเสี่ยงของโครงการ การระบุความเสี่ยง ประเด็นที่ตอ้ งพิจารณา - การจัดกิจกรรมให้สําเร็จตาม นโยบาย

คําอธิบาย เนื่องจากเป็นโครงการทีด่ ําเนินการใน พื้นที่ทุกแห่งของหน่วยบริการ กิจกรรมที่ จะดําเนินงานในชุมชน ควรเป็นแบบเชิง บูรณาการ จะได้เข้ากับบริบทและความ ต้องการของชุมชน จะได้สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์และนโยบายของอําเภอและ จังหวัด

ความเสีย่ งที่อาจจะเกิดขึ้น - ขาดความต่อเนื่องของกิจกรรม - จัดกิจกรรมตามนโยบาย ไม่ใช่จดั ตาม ความต้องการและบริบทของชุมชน - การมีส่วนร่วมของชุมชนในทุก ขั้นตอนการดําเนินงาน - การกําหนดบทบาทและหน้าที่ให้ องค์กรหรือบุคคลที่มีอยู่ในชุมชนให้ ชัดเจน

- ความคลอมคลุมในพื้นทีอ่ ําเภอ

ในเขตอําเภออําเภอสามชัย–คําม่วง - ดําเนินการใน ๑๐ ตําบล ๑๓ รพ.สต.,PCU / ๓๘ หมู่บ้าน - มีคณะอนุกรรมการประเมินหมู่บ้าน จากหน่วยงานภาคีต่างๆ ที่ร่วม ดําเนินงานตามแบบประเมิน ของอําเภอ คําม่วง - สามชัย

- ความต่อเนื่องของกิจกรรมและการมี ส่วนร่วมของพื้นที่

- คณะอนุกรรมการประเมิน

-การประเมินหมู่บ้านเพือ่ จัดลําดับ A, B, C, D

- ความร่วมมือและความเข้าใจไปใน ทิศทางเดียวกันของคณะกรรมการและ การมีส่วนร่วมของหน่วยงานภาคีอาจ ไม่ต่อเนื่อง - บริบทในการทํางานของภาคี ที่มา จากหน่วยงานทีแ่ ตกต่างกัน

- มีการประเมินหมูบ่ ้านเพื่อจัดลําดับของ - คณะกรรมการประเมินและ หมู่บ้าน/ ตําบล A, B, C, D ซึง่ เป็น ประชาชนในพื้นที่อาจไม่เข้าใจใน การดําเนินงานใหม่ เกณฑ์การประเมิน - การให้ความสําคัญของบุคคลใน ชุมชน

ความเสี่ยงสําคัญ (๒) ความเสี่ยง - ด้านการสร้างองค์ความรู้

เกรดที่ แนวทางการบริหาร ได้รับ ความเสี่ยง B ๑.การจัดการความรู้ของทีม

ผู้รับผิดชอบ นํา ต้นทุนทีอ่ าจเกิดขึ้น แนวทางไปใช้ เครือข่ายสุขภาพ - มีบคุ ลากรที่


2

ของผู้ให้บริการ/ภาคี เครือข่าย -ความพร้อมของชุมชน และผู้ให้บริการ

วิทยากรทีเ่ ป็นรูปแบบเอกสาร และด้านวิทยากรที่เป็นTacit ๒.สร้างModel ของ ชุมชน ๓.การสร้างมาตรฐานหมู่บ้าน จัดการสุขภาพแบบพอเพียง

- ภาคีเครือข่ายและชุมชน ไม่ให้ความร่วมมือในการ ดําเนินกิจกรรมหรือไม่ สามารถปฏิบัติตามได้

A

- การจัดเวทีชี้แจงก่อน ดําเนินโครงการ

B

- ความร่วมมือและความ เข้าใจไปในทิศทางเดียวกัน ของคณะอนุกรรมการใน การประเมิน - ผลการจัดลําดับหมู่บ้าน A, B, C, D สุขศาลา และ PCU มาตรฐาน

C

B

- ติดตามนิเทศงาน,คอยให้ ข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรม อย่างต่อเนื่อง - จัดอบรมเพิ่มเติมและเพิ่ม ช่องทางในการจัดส่งแผนงาน โครงการแก่หน่วยงานอื่น - ทําความเข้าใจและชีแ้ จงเกณฑ์ การดําเนินงานรวมถึงกิจกรรม ให้ชัดเจน - จัดประชุมชี้แจงกําหนดและ แนวทางเกณฑ์การประเมิน ร่วมกันให้ชดั เจน - ชีแ้ จงแนวทางแก่แกนนําภาคี เครือข่าย จนท./ รพ. และ เกณฑ์การประเมินให้ชัดเจน

,อปท. - คณะกรรมการ กองทุนสุขภาพ - สอ./ PCU

Borderless คือทํางาน ไม่มีขอบเขตให้รู้ทุกงาน - มีภาคีเครือข่ายทํางาน แบบบูรณาการ ให้ทุกคน เป็น Generalize คือ ให้ เรียนรู้งานทั่วไป และบาง งานควรให้เป็น Specific คือรู้ให้เชีย่ วชาญและลึก เครือข่ายสุขภาพ การมีส่วนร่วมของ ,อปท. ประชาชน,อปท. ภาคี - คณะกรรมการ เครือข่ายต่างๆในชุมชน กองทุนสุขภาพ - รพ.สต./ รพ. คปสอ. - สอ./PCU

รูปแบบการดําเนินงาน

- คปสอ. - สอ./PCU -ภาคีเครือข่าย

- มาตรฐานการประเมิน แบบบูรณาการ

- สอ. -มาตรฐานสุขศาลา -รูปแบบหมูบ่ า้ นจัดการ - PCU - คณะกรรมการ สุขภาพแบบพอเพียง ภาคีเครือข่าย

๑๔. ลงนาม (ลงชื่อ)..............................................................ผู้เสนอโครงการ (นางประทุมมาศ ไชยสุนทร) พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ (ลงชื่อ)…………………………………………..............ผู้เห็นชอบโครงการ (นางจุฑามาศ วิลาศรี)


3

สาธารณสุขอําเภอสามชัย รองประธาน คปสอ.คําม่วง-สามชัย (ลงชื่อ)…………………………………………………..…ผู้เห็นชอบโครงการ (นายประสิทธิ์ สงกันหา) สาธารณสุขอําเภอคําม่วง รองประธาน คปสอ.คําม่วง-สามชัย (ลงชื่อ)……………………………............................ผู้เห็นชอบโครงการ (นายสมานมิตร อัฐนาค) ผูอ้ ํานวยการโรงพยาบาลคําม่วง ประธาน คปสอ.คําม่วง-สามชัย (ลงชื่อ)…………………………………………………..…ผู้อนุมัตโิ ครงการ (นางฉวีวรรณ ชมภูเขา) นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ ประธานคณะกรรมการประสานงานพัฒนางานสาธารณสุข หน่วยงานสาธารณสุขเขตพื้นที่ โซนที่ ๓


4

๑๕. ระยะเวลาดําเนินงานตามโครงการ กิจกรรมที่สําคัญ

ปี ๒๕๕๔

ปี ๒๕๕๕

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ๑. แต่งตั้งคณะทํางานในระดับอําเภอ/ตําบล /หมู่บ้าน ๒.อบรมพัฒนาศักยภาพนักจัดการสุขภาพชุมชนเดิม/ใหม่ เพื่อพัฒนาระบบ ข้อมูลด้านสุขภาพในชุมชน ตําบลเพื่อจัดทําแผนสุขภาพในพื้นที่ โดยการมีส่วน ร่วมของชุมชน/ ทบทวนแผน/ วิเคราะห์ความต้องการ ๓. จัดเวทีประชาพิจารณ์แผนในระดับหมู่บ้าน/ตําบล ๔. จัดตั้งโรงเรียน อสม./ดําเนินการอบรมเข้มและต่อเนื่อง อสม.ตามหลักสูตร โรงเรี ย น อสม. และฝึ ก ปฏิ บั ติ ก ารและอบรมต่ อ เนื่ อ งในสถานี อ นามั ย / โรงพยาบาล ๖. ปรับปรุง /พัฒนาสุขศาลา ให้ได้มาตรฐาน ๗. คณะทํางานร่วมกําหนดแนวทางพัฒนา รูปแบบเอกสารและบริการในสุข ศาลาโดย ทีมสหวิชาชีพ ๘. จัดอบรมและพัฒนาองค์ความรู้ ในการดําเนินงานมาตรฐานสุขศาลา เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้ ด้านสุขภาพของชุมชน ๙. ติดตามประเมินไขว้หมู่บ้านและประเมินมาตรฐานสุขศาลาหมู่บ้านเป้าหมาย คปสอ.คําม่วง - สามชัย เพื่อจัดลําดับหมู่บ้าน รวมทั้งสุขศาลา A, B, C, D ๑๐. จัดมหกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เครือข่ายสุขภาพ ๑๑. สรุปถอดบทเรียนนวัตกรรมเพือ่ พัฒนาขยายผลแก่ชุมชนอื่นในปีตอ่ ไป หมู่บ้านเป้าหมายยุทธศาสตร์และสุขศาลาของอําเภอสามชัย-คําม่วง ปี ๒๕๕๕


5

สถานบริการ ๑. PCU รพ.คําม่วง ๒. สอ. เก่าเดื่อ ๓. รพ.สต. ดินจี่ ๔. รพ.สต. นาตาล ๕. รพ.สต.ดงสวนพัฒนา ๖. รพ.สต. โพน ๗. รพ.สต. นาบอน ๘. รพ.สต. สูงเนิน ๙. รพ.สต. หนองแซง ๑๐. รพ.สต.หนองกุงน้อย ๑๑. รพ.สต. คําสร้างเทีย่ ง ๑๒. รพ.สต. จาน ๑๓. รพ.สต. หนองแสง

ชื่อหมู่บ้านเป้าหมาย ( ปี ๒๕๕๓-๒๕๕๔) ๓ หมู่บ้าน บ้านหนองสระพัง หมูท่ ี่ ๓ บ้านคําม่วง บ้านเก่าเดือ่ หมู่ที่ ๗ บ้านเก่าเดื่อ บ้านโพนแพง หมูท่ ี่ ๕ บ้านโคกสนาม บ้านนาไร่เดียว หมูท่ ี่ ๖ บ้านโจดนาตาล บ้านสร้างแข้ หมู่ที่ ๑๐ บ้านดงสวนพัฒนา บ้านหนองบอน หมู่ที่ ๘ บ้านหนองซองแมว บ้านสะพานหิน หมู่ที่ ๓ บ้านคําเมย บ้านหนองยางเหนือ หมูท่ ี่ ๔ บ้านเนินยาง บ้านหนองกุงใหญ่ หมูท่ ี่ ๑ บ้านท่างาม บ้านกุดแห่ หมู่ที่ ๕ บ้านสันติสุข บ้านท่าสะอาด หมูท่ ี่ ๗ บ้านคําแคน บ้านหนองช้าง หมูท่ ี่ ๓ บ้านห้วยยาง บ้านโคกสําราญ หมูท่ ี่ ๑ บ้านคําหุ่ง รวมทั้งหมด

หมู่ที่ ๕ หมูท่ ี่ ๖ หมู่ที่ ๓ หมู่ที่ ๔ หมู่ที่ ๗ หมู่ที่ ๙ หมู่ที่ ๕ หมู่ที่ ๘ หมู่ที่ ๖ หมูท่ ี่ ๒๐ หมูท่ ี่ ๓ หมูท่ ี่ ๔ หมู่ที่ ๖

บ้านสันเมือง หมู่ที่ ๘ -บ้านดินจี่ หมูท่ ี่ ๒ บ้านนาทัน หมูท่ ี่ ๑๓ บ้านดงสวนพัฒนา หมู่ที่ ๑๕ บ้านโพนนาเรียง หมูท่ ี่ ๖ บ้านโนนศรีสวัสดิ์ หมู่ที่ ๗ บ้านหนองม่วง หมู่ที่ ๒ บ้านหนองกุงกลาง หมู่ที่ ๘ บ้านหนองกุงน้อย หมู่ที่ ๗ บ้านคําสร้างเทีย่ ง หมู่ที่ ๑ บ้านนาดูน หมู่ที่ ๖ บ้านหนองแสงใหม่ หมูท่ ี่ ๓

รวมจํานวน หมู่บ้าน ๓ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓๘

หมู่บ้านเป้าหมาย ปี ๒๕๕๕

บ้านนาเจริญ หมู่ที่ ๑๑


6


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.