ข้อมูลทั่วไปประเทศกัมพูชา

Page 1

Page | 1

ชื่อประเทศ เมืองหลวง เมืองสำคัญทำงเศรษฐกิจ

พระประมุข นำยกรัฐมนตรี วันชำติ

กัมพูชามีชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) กรุงพนมเปญ (Phnom Penh) พนมเปญ (Phnom Penh) กัมปงจาม (Kampong Cham) กันดาล (Kandal) กัมปอต (Kampot) พระตะบอง (Battambang) พระสีหนุ (Preah Sihanouk) เกาะกง (Koh Kong) เสียมเรียบ (Siem Reap) พระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม สีหมุนี (Preah Bat Samdech Preah Boromneath Norodom Sihamoni) สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโชฮุน เซน (Samdech Akka Moha Sena Padei Techo Hun Sen) 9 พฤศจิกายน


สกุลเงิน และอัตรำแลกเปลี่ยนต่อดอลลำร์ สหรัฐ และเงินบำทไทย Page | 2

กัมพูช ามีเงิน ตราประจ าชาติ ได้แก่ เงินสกุล “เรียล“ (Riel) แต่มีการใช้เงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ กันอย่างแพร่หลายในการทาธุรกรรมทางเศรษฐกิจ ทั้ ง ในเมื อ งหลวงและเมื อ งท่ อ งเที่ ย ว ซึ่ ง รั ฐ บาล พยายามรักษาเสถียรภาพให้อัตราแลกเปลี่ยนอยู่ที่ 4,000 เรี ย ล (บวก/ลบ 100) ต่ อ ดอลลาร์ ส หรั ฐ เพื่อให้ เกิดความนิ ย มใช้เงิน เรี ย ลเป็ น สื่ อกลางใน การแลกเปลี่ยนให้มากขึ้น

สกุลเงิน ธนบัตร (เรียล) อัตราแลกเปลี่ยนโดยเฉลี่ยใน ปี 2558

ที่มาภาพ : www.uasean.com

เรียล (Riel) สัญญลักษณ์สกุลเงิน KHR มีชนิดราคา 100 500 1,000 2,000 5,000 10,000 20,000 50,000 และ100,000 1 USD = 4,100 KHR 1 THB = 129.87 KHR


ปัจจุบัน กัมพูชาเป็นหนึ่งในประเทศที่มีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูงมาก โดยเฉพาะในช่วงสอง ทศวรรษที่ผ่านมา กัมพูชามีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเร็วที่สุดเป็นลาดับที่หก โดยในปี 2557 กัมพูชามี อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเฉลี่ยร้อยละ 6.97 ภาคอุตสาหกรรมการผลิตเป็นภาคเศรษฐกิจหลัก ในการ ขั บ เคลื่ อ นการเติ บ โต ทางเศรษฐกิ จ ของประเทศ รั ฐ บาลกั ม พู ช ามี น โยบายและจุ ด มุ่ ง หมายที่ จ ะพั ฒ นา อุตสาหกรรมของประเทศโดยจะมุ่งเน้ น ส่ งเสริ มการลงทุนจากต่ างประเทศในสาขาต่ างๆ เพื่อเพิ่ม ความ หลากหลายทางเศรษฐกิจ (economic diversification) สู่สาขาใหม่ๆ ซึ่งปัจจุบันรัฐบาลกัมพูชาอยู่ระหว่าง การจัดทาแผนนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรม สาหรับปี 2558 - 2568 (Industrial Development Policy 2015-2025) นอกจากนี้การขยายตัวทางเศรษฐกิจยังสอดคล้องกับ IMF ที่คาดการณ์ว่า เศรษฐกิจกัมพูชาจะ ขยายตัวสูงถึงร้อย 7.20 ในปี 2558 ส าหรั บ ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งกั ม พู ช ากั บ ประเทศไทย ประเทศกัมพูชามีความสาคัญในเชิง ยุ ท ธศาสตร์ ต่ อ ไทยในทุ ก ๆ ด้ า น เนื่ อ งจากมี พรมแดนทางบกติดต่อกันยาว 798 กิโลเมตร และ มีพื้นที่อ้างสิทธิทางทะเลประมาณ 26,000 ตาราง กิโลเมตร อีกทั้งกัมพูชายังเป็นแหล่งวัตถุดิบ ตลาด การค้าและแหล่งลงทุนที่สาคัญของไทย มีศักยภาพ

ด้านการท่องเที่ยว ทั้งนี้ห ากสองประเทศมีความ ร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดเพื่อมุ่งไปสู่การเป็นหุ้นส่วน ทางยุทธศาสตร์และทางเศรษฐกิจเพื่อผลประโยชน์ ร่วมกันในอนาคต ทั้งประเทศไทยและกัมพูชาจะ กลายเป็ น จุ ด เชื่ อ มโยงทางเศรษฐกิ จ และการ ท่องเที่ยวกับลาวตอนใต้และเวียดนามตอนใต้ได้อีก ด้วย

Page | 3


พื้นที่ตั้ง ภูมปิ ระเทศและสภำพอำกำศ ประเทศกัมพูชาตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทร อิ น โดจี น ในเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ มี พื้ น ที่ 181,035 ตารางกิ โ ลเมตร เป็ น พื้ น ดิ น 176,515 ตารางกิ โ ลเมตร พื้ น น้ า 4,520 ตารางกิ โ ลเมตร หรื อ มี ข นาดประมาณ 1 ใน 3 ของประเทศไทย เส้นเขตแดนโดยรอบประเทศมีความยาวประมาณ 2,000 กิ โ ลเมตร มี พ รมแดนติ ด ต่ อ กั บ ประเทศ เพื่อนบ้าน 2,572 กิโลเมตร ติดต่อกับประเทศไทย ประมาณ 803 กิ โ ลเมตร ประเทศลาวประมาณ 541 กิโลเมตร ประเทศเวียดนามประมาณ 1,228 กิโ ลเมตร และอ่าวไทย ประมาณ 443 กิโ ลเมตร โดยมีลักษณะภูมิประเทศ ดังนี้ ภำคเหนือ 

มี พ รมแดนติ ด กั บ ประเทศไทย (จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ศรี ส ะเกษ สุ ริ น ทร์ และ บุรีรัมย์) และ สปป.ลาว (แขวงอัตตะปือ และจาปาสัก) มี แ ม่ น้ าโขงไหลจากสปป.ลาว เข้ า สู่ ภาคเหนือของกัมพูชาแล้วไหลผ่านเข้าเขต เวียดนาม มีความยาวในเขตกัมพูชารวม 500 กิโลเมตร มีแนวเทือกเขาพนมดงรักกั้นเป็นพรมแดน กับประเทศไทย

Page | 4

ภำคกลำง  

พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบ ประกอบด้วยที่ ราบรอบตนเลสาบ และที่ราบลุ่มแม่น้าโขง ตนเลสาบเป็นทะเลสาบน้าจืดขนาดใหญ่ ครอบคลุ ม พื้ น ที่ 5 จั ง หวั ด ของกั ม พู ช า ได้แก่ กัมปงธม กัมปงชนัง โพธิสัตว์ พระ ตะบอง และเสียมราฐ มี ก ารท าอาชี พ เกษตรกรรมและอาชี พ ประมงอยู่ บ ริ เ วณที่ ร าบภาคกลาง รอบ ตนเลสาบ พื ช ที่ ส าคั ญ คื อ ข้ า ว เจ้ า ยางพารา พริกไทย และบริเวณรอบตนเล สาบ เป็นแหล่งประมงน้าจืดที่สาคัญที่สุด ในภูมิภาค


ภำคตะวันออก 

มี พ รมแดนติ ด กั บ ประเทศเวี ย ดนาม (จังหวัดกอนทูม เปลกู ซาลาย ดั๊กลั๊ก ส่อง แบ๋ เตยนิ น ลองอาน ด่ ง ท๊ า บ อั น ซาง และเกียงซาง) มีแนวเทือกเขาอันนัมกั้นเป็นพรมแดนกับ ประเทศเวียดนาม

ภำคตะวันตก 

มี พ รมแดนติ ด กั บ ประเทศไทย (จั ง หวั ด สระแก้ว จันทบุรี และตราด)

ภำคใต้  

มีภูเขาที่เป็ น หย่ อมๆ อยู่ บ ริ เวณเกาะกง พระสีหนุ (กัมปงโสม) และกัมปงสปือ ติดกับอ่าวไทย

สภำพภูมิประเทศ ภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นพื้นที่ราบลุ่ม ที่ราบ สูงและภูเขา พื้นที่ภูมิประเทศมีลักษณะคล้ายอ่าง เก็บน้า กล่าวคือ พื้นที่ตอนกลางของประเทศเป็นที่ ราบลุ่ม ระหว่างแม่น้าโขงกับแม่น้าบาสัก (Bassac) และมีทะเลสาบขนาดใหญ่ เป็นพื้นที่ที่อุดมสมบูรณ์ ไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ ส่วนรอบๆ ประเทศมี เทือกเขาสลั บ ซับ ซ้ อ น ติดต่อกันเป็น แนวยาวสู ง ประมาณ 1,400 เมตร อยู่ ติ ด กั บ ประเทศไทย ตั้งแต่จังหวัดจันทบุรีทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตลอดไปทางด้านทิศเหนือ ส่วนภูเขาที่เป็นหย่อมๆ มีอยู่บริเวณเกาะกง กัมปงโสม และกัมปงสปือ ซึ่ง อยู่ทางตอนใต้ของประเทศ

สภำพภูมิอำกำศ

ทรัพยำกรธรรมชำติ

กัมพูชา มีภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน-ร้อน ชื้น มีฤดูฝนยาวนาน โดยแบ่งเป็น 2 ฤดู คือ ในเขต ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีภูมิอากาศเป็นแบบฤดู ฝน เริ่ ม ตั้ ง แต่ เ ดื อ นพฤษภาคมถึ ง เดื อ นตุ ล าคม สาหรับฤดูแล้งเริ่มต้นในเดือนพฤศจิกายนถึงเดือน พฤษภาคม อุ ณ หภู มิ โ ดยเฉลี่ ย 20-36 องศา เซลเซียส โดยอุณหภูมิจะสูงกว่า 30 องศาเซลเซียส ในเดื อ นที่ ร้ อ นที่ สุ ด คื อ เดื อ นเ ม ษา ย น แ ล ะ พฤษภาคม ส่วนฤดูหนาวเป็นช่วงเดือนมกราคมซึ่ง มีอุณหภูมิต่าที่สุด

กัมพูชาเป็นประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่ อุดมสมบูรณ์ ประกอบด้วย

1

Vietnam Forestry Outlook Study, http://www.fao.org, (2558)

ป่ ำ ไม้ ครอบคลุ ม พื้ น ที่ ป ระมาณร้ อ ยละ 501 ของพื้นที่ของประเทศ บริเวณป่าไม้ที่ หนาแน่น คือเทือกเขาบรรทัดทางตอนใต้ และตะวั น ตกเฉี ย งใ ต้ ข อง ปร ะ เ ท ศ ประกอบด้วยไม้ประดู่ ไม้ตะเคียน ไม้ชิงชัง ไม้มะค่า ไม้พะยูน ไม้เต็ง ไม้แดงและไม้ ยาง เป็นต้น

Page | 5


สินแร่ต่ำงๆ มีจานวนมาก ได้แก่ ทอง ทองแดง แร่เหล็ก แมงกานิส ถ่านหิน ดีบุก ตะกั่ว ฯลฯ โดย - แร่เหล็ก พบมากตามเทือกเขาพนม ดงรัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งจังหวัดพระวิหาร สตึงเต รง อุดรเมียนเจยและพระตะบอง - แมงกานิส มีมากที่จังหวัดพระวิหาร ถ่านหิน ส่วนมากอยู่ที่จังหวัดสตึงเตรง - พลอย (ทับทิมและไพลิ น) ส่ วนมาก อยู่ที่จังหวัดพระตะบอง พระวิหาร เกาะกง รัตนคีรี และไพลิน - ทอง ค้นพบที่บ่อซ็อมตร็อบ จังหวัด เสียมราฐ พนมกาโบร์ จังหวัดอุดรเมียนเจย พนม แดก จังหวัดพระวิหาร - บอกไซท์ ค้ น พบในจั ง หวั ด พระ ตะบอง และมณฑลคีรี - แร่เงิน มีที่บ่อซ็อมตร็อบ และพนม กาโบร์ จังหวัดอุดรเมียนเจยและสาโรง จังหวัดกัม ปงสปือ  สั ต ว์ น้ ำ กั ม พู ช ามี แ นวชายฝั่ ง ทะเล ทางอ่ า วไทยซึ่ ง เป็ น แหล่ ง ที่ มี สั ต ว์ น้ าชุ ก ชุ ม นอกจากนี้ยังมีบริเวณตนเลสาบซึ่งเป็นทะเลสาบ น้าจืดขนาดใหญ่  น้ ำมั น และก๊ำ ซธรรมชำติ กัมพูช ามี แหล่ ง น้ ามั น ดิ บ และก๊ า ซธรรมชาติ ห ลายแห่ ง โดยเฉพาะบริเวณนอกชายฝั่งด้านตะวันตกเฉียงใต้ ของประเทศ 

แม่น้ำ/ทะเลสำบสำคัญ ได้แก่ แม่ น้ ำโขง ไหลจาก สปป.ลาวเข้ า สู่ ภาคเหนื อ ของกั ม พู ช าแล้ ว ไหลผ่ า นเข้ า เขต 

เวี ย ดนาม มี ค วามยาวในเขตกั ม พู ช ารวม 500 กิโลเมตร  แม่น้ำทะเลสำบตนเล เชื่อมระหว่าง แม่น้าโขงกับทะเลสาบ ความยาว 130 กิโลเมตร  แม่ น้ ำบำสั ก (Bassac) เชื่ อ มต่ อ กั บ แม่ น้ าทะเลสาบที่ ห น้ า พระราชวั ง กรุ ง พนมเปญ ความยาว 80 กิโลเมตร  บึ ง ตนเลสำบ (Tonle Sap) เป็ น ทะเลสาบขนาดใหญ่ มี เ นื้ อ ที่ 3,000 ตาราง กิโลเมตร

ที่มาภาพ : www.tourismcambodia.com ภูเขำ กัมพูช ามีภูเ ขาล้ อ มรอบอยู่ 3 ด้าน โดยด้า น ทิศเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ มีแนวเทือกเขา พนมดงรักเป็นแนวกั้นกับไทย ด้านใต้และตะวันตก เฉี ย งใต้ มี แ นวเทื อ กเขาบรรทั ด เป็ น แนวกั้ น พรมแดนกั บ ไทย และด้ า นตะวั น ออก มี แ นว เทื อ กเขาอั น นั ม เป็ น พรมแดนกั บ เวี ย ดนาม นอกจากนี้ยอดเขาที่สูงที่สุดของกัมพูชา คือ พนม อาออรัล (Phanom Aural) ซึ่งสูง 1,813 เมตร อยู่ ทางทิ ศ ตะวั น ออกของทิ ว เขาบรรทั ด (พนม กระวาน) เป็นที่ตั้งของเขตรักษาพั นธุ์สัตว์ป่าพนม ออรัล (Phanom Aural Wildlife Sanctuary)

Page | 6


ประชำกรและชนกลุ่มน้อยที่สำคัญในกัมพูชำ ใ น ปี 2557 มี ป ร ะ ช า ก ร 15.41 ล้ า น ค น ประชากรกัมพูชาส่วนใหญ่เป็นเชื้อชาติเขมรร้อยละ 90 ส่วนที่เหลือประกอบด้วยชาวเวียดนามร้อยละ

5 ชาวจีนร้อยละ 1 และอีกร้อยละ 4 เป็นชนกลุ่ม น้อย ได้แก่ ชาวจามและชาวเขา โดยโครงสร้างของ ประชากรในกัมพูชา แสดงรายละเอียดในตาราง

ตำรำงโครงสร้ำงประชำกรในกัมพูชำ ปี 2556 และ 2557 รำยกำร

ปี 2556

ปี 2557

จานวนประชากร อัตราการเจริญเติบโตของประชากร อัตราส่วนเพศ

15.14 ล้านคน 1.82 % 0.953 ชาย ต่อ 1 หญิง

15.41 ล้านคน 1.80 % 0.954 ชาย ต่อ 1 หญิง

ที่มา : National Institute of Statistics of Cambodia, http://www.nis.gov.kh, (2558)

Page | 7


รำยกำร อัตราส่วนเพศชายต่อหญิง (sex ratio)

ปี 2557  

  

โครงสร้างอายุ (age structure)

    

อายุมัธยฐาน ( median age)

  

ที่มา : The World Fact Book (2558)

แรกเกิด : 1.05 ชาย ต่อ 1 หญิง 0 – 14 ปี : 1.02 ชาย ต่อ 1 หญิง (ชาย 2,489,964 คน/หญิ ง 2,447,645 คน) 15 – 24 ปี : 0.98 ชาย ต่อ 1 หญิง (ชาย 1,532,016 คน/หญิ ง 1,564,240 คน) 25 – 54 ปี : 0.96 ชาย ต่อ 1 หญิง (ชาย 3,043,676 คน/หญิ ง 3,178,825 คน) 55 – 64 ปี : 0.63 ชาย ต่อ 1 หญิง (ชาย 315,741 คน/หญิ ง 501,544 คน) 65 ปีขึ้นไป : 0.6 ชาย ต่อ 1 หญิง (ชาย 238,840 คน/หญิ ง 396,265 คน) ทั้งหมด : 0.94 ชาย ต่อ 1 หญิง 0 – 14 years : 31.43% 15 – 24 years : 19.71% 25 – 54 years : 39.61% 55 – 64 years : 5.20% 65 years and over : 4.04% ทั้งหมด : 24.1 ปี ชาย : 23.4 ปี หญิง : 24.8 ปี

Page | 8


ภำษำ ศำสนำ ประเพณีและวัฒนธรรม ภำษำ

ลักษณะทำงสังคม และวัฒนธรรม

กัมพูชาใช้ภาษาเขมรเป็นภาษาราชการ และ ภาษาอื่ น ๆ ที่ ใ ช้ ใ นการติ ด ต่ อ ทางธุ ร กิ จ ได้ แ ก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส เวียดนาม จีน (แต้จิ๋ว) และไทย

ในประเทศกั ม พู ช าจะมี ก ารท าบุ ญ ประเพณี ต่ า งๆ คล้ า ยกั บ ประเทศไทย เช่ น ประเพณี วั น สงกรานต์ และประเพณี วั น ลอยกระทง แต่ อย่างไรก็ตาม กัมพูช าจะมีประเพณีวัฒ นธรรมที่ เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง เช่น

ศำสนำ ศาสนาประจาชาติของกัมพูชา คือ ศาสนาพุทธ นิ ก ายเถรวาท ซึ่ ง แยกเป็ น 2 นิ ก ายย่ อ ย คื อ ธรรมยุตินิกายและมหานิกาย ประชาชนส่วนใหญ่ จะนับถือศาสนาพุทธ ประมาณร้อยละ 90 และนับ ถือศาสนาอื่นๆ อีกร้อยละ 10 ได้แก่ ศาสนาอิสลาม และศาสนาคริ ส ต์ จากการที่ พุ ท ธศาสนาเป็ น ศาสนาหลั ก ท าให้ ป ระเพณี ป ฏิ บั ติ ต่ า งๆ ของ ประชาชนชาวกัมพูช าจะสอดคล้ อ งใกล้ เ คี ย งกั บ ประเทศไทยเป็นอย่างมาก โดยผู้สูงอายุจะเข้าวัด ฟังธรรม เมื่อมีงานบุ ญตามประเพณี ประชาชน หนุ่มสาวและเด็กจะร่วมแรงช่วยเหลือจัดการงาน อย่างสม่าเสมอ ทั้งนี้ จะมีงานบุญประเพณีที่สาคัญ ทางพระพุ ท ธศาสนาตามจั น ทรคติ เ ช่ น เดี ย ว ประเทศไทย

ระบ ำอั ป สรำ (apsara dance) เป็ น การ แสดงนาฏศิลป์ที่โดดเด่นของกัมพูชา ซึ่งถอด แบบการแต่ ง กายและท่ า ร่า ยร ามาจากภาพ จาหลักรูปนางอัปสรที่ปราสาทนครวัด

ที่มาภาพ : www.tourismcambodia.org 

เทศกำลน้ำ (water festival) หรือ บุน อม ตุ ก (bon om tuk) เป็ น เทศกาลประจ าปี ที่ ยิ่งใหญ่ของกัมพูชา จัดขึ้นในคืนวันเพ็ญเดือน สิบสองราวๆ เดือนพฤศจิกายน เพื่อเป็นการ แสดงความส านึ ก ในพระคุ ณ ของแม่ น้ าที่ น า ความอุ ด มสมบู ร ณ์ ม าให้ โดยจะมี ก ารจั ด กิจกรรมการแข่งเรือยาว แสดงพลุดอกไม้ไฟ และการแสดงขบวนเรือประดับไฟ

Page | 9


ระบบกำรศึกษำ ประเทศกั ม พู ช าจั ด ระบบการศึ ก ษารู ป แบบ เดี ย วกั บ ประเทศไทย เริ่ ม ต้ น จากระดั บ ปฐมวั ย (pre-school อายุ 3-5 ปี ) ระดั บ ประถมศึ ก ษา ( primary school : grade 1-6 อ า ยุ 6-11 ปี ) ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น (lower secondary :grade 7-9 อายุ 12-14 ปี ) ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา ตอนปลาย (upper secondary : grade 10-12 อายุ 15-17 ปี ) และ ระดั บ มหาวิ ท ยา ลั ย / การศึ ก ษาในระดั บ ที่ สู ง ขึ้ น (อายุ 18 ปี ขึ้ น ไป)

โดยทั่วไปแล้วเด็กชาวกัมพูชาที่มีอายุอย่างต่า 6 ปี จะต้องเริ่มเข้ารับการศึกษา แต่ก็มีเป็นจานวนมาก เช่นกันที่อายุล่วงเลยไปมากกว่านั้นกว่าจะเริ่มเข้า โรงเรี ยน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแถบชนบท ทั้งนี้ ก า ร ศึ ก ษ า ภ า ค บั ง คั บ คื อ ศึ ก ษ า ถึ ง ร ะ ดั บ มัธยมศึกษาตอนต้น ซึ่งสถานการณ์ของโรงเรียนใน ระดั บ ต่ า งๆ ในปี ก ารศึ ก ษา 2557/2558 แสดง รายละเอียดในตาราง

ตำรำงจำนวนโรงเรียน นักเรียน และอำจำรย์ผู้สอน ในปี 2557/2558 ระดับ

จำนวนโรงเรียน

จำนวนห้องเรียน

จำนวนนักเรียน

จำนวนอำจำรย์

ก่อนวัยเรียน ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ปลาย

3,443 7,051 1,674 455

5,261 59,654 12,390 5,933

163,468 2,012,175 546,864 262,072

4,839 44,292 27,793 12,227

ที่มา : Education Statistics and Indicators 2014-2015, http://www.moeys.gov.kh, (2558)

Page | 10


สำธำรณูปโภคพื้นฐำน2 ด้ำนกำรสื่อสำรโทรคมนำคม 

จานวนโทรศัพท์พื้นฐานและมือถือที่ใช้งาน ในปี 2557

จานวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ในปี 2557

19,105,115 หมายเลข 738,641 คน

ด้ำนพลังงำน 

การผลิตกระแสไฟฟ้า ในปี 2557

การบริโภคไฟฟ้าต่อคนต่อปี ในปี 2557

ด้ำนคมนำคมขนส่ง ทำงบก จากรายงานของกระทรวง Public Works and Transport (MPWT) ของประเทศกั ม พู ช า พบว่าในปี 2555 ถนนในกัมพูช ามีความยาวรวม ทั้ ง สิ้ น 52,586 กิ โ ลเมตร จ าแนกเป็ น ถนนทาง หลวง (national roads) ยาว 5,600 กิ โ ลเมตร ถนนสายจั งหวัด (provincial roads) ยาว 6,607 กิโลเมตร และถนนสายชนบท (rural roads) ยาว 40,379 กิ โ ลเมตร โดยถนนสายหลั ก จะเชื่อ มต่อ จากกรุ งพนมเปญไปยั งจั งหวัดและจุ ดศูน ย์ กลาง ของท้องถิ่น ต่ างๆ ที่มีความส าคั ญ ทางเศรษฐกิ จ ถนนส่ ว นใหญ่ ก่ อ สร้ า งขึ้ น ในช่ ว งปี พ.ศ. 24632473 โดยขณะนี้ กระทรวงการก่อสร้างและขนส่ง ได้มีการปรับปรุงและขยายทางในถนนสายหลั กที่ เชื่ อ มโยงจั ง หวั ด ต่ า งๆ ให้ มี ม าตรฐานมากขึ้ น ปั จ จุ บั น ถนนในกั ม พู ช าสามารถรองรั บ น้ าหนั ก 2

6,263 ล้านกิโลวัตต์ 344 กิโลวัตต์ บรรทุ ก สู ง สุ ด ได้ ที่ 20 ตั น (Maximum Gross Vehicle Weight – GVW) กัมพูช าจาแนกเส้ นทางรถยนต์ส ายหลั กและ สายรองโดยใช้ตัวเลขกากับ กล่าวคือ เส้นทางสาย หลักที่ออกจากกรุงพนมเปญไปยังภูมิภาคต่างๆ จะ ใช้เลขหลั กเดียว (National Road) ส่ ว นเส้ นทาง สายรอง (Feeder Road) จะมีหมายเลขแยกย่อย เป็น 2 หรือ 3 หลัก จากหมายเลขถนนสายหลั ก โดยถนนสายหลักของกัมพูชามี 7 สายนับเวียนซ้าย แต่ละเส้นทางตัดผ่านจังหวัดต่างๆ มีระยะทางรวม 30,268 กิโลเมตร แบ่งเป็น เส้นทางหลวง 4,695 กิโลเมตร ถนนสายจังหวัด 6,615 กิโลเมตร และ ถนนสายชนบท 18,958 กิโลเมตร มีเส้นทางสาคัญ ได้แก่  ถนนหมำยเลข 1 กรุ ง พนมเปญ-บาเวต (ชายแดนเวียดนามตอนใต้) จากพนมเปญ ไปทางตะวันออก ผ่านจังหวัดกันดาล ข้าม แม่ น้ าโขงเข้ า จั ง หวั ด เปรยแวง จั ง หวั ด สว ายเรี ย ง สุ ด ทางที่ ด่ า นพรมแดน

National Strategic Development Plan Update 2014-2018, Ministry of Planning, Cambodia http://www.mop.gov.kh, (2558)

Page | 11


นานาชาติ บ าเวต ติ ด ต่ อ กั บ ด่ า นมอกไบ ของเวี ย ดนาม ระยะทางรวม 167 กิ โ ลเมตร ต่ อ ไปถึ ง นครโฮจิ มิ น ห์ ข อง เวียดนามอีก 68 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทาง 3–3.5 ชั่วโมง 

ถนนหมำยเลข 2 จากกรุงพนมเปญ ไปทางใต้ ผ่ า นจั ง หวั ด กั น ดาล ไป สิ้ น สุ ด ที่ พ นมเดิ น จั ง หวั ด ตาแก้ ว มี ด่ า น ส า ห รั บ ค น ท้ อ ง ถิ่ น ข้ า ม ไ ป เ วี ย ด น า ม ไ ด้ มี ร ะ ย ะ ท า ง 1 2 1 กิ โ ลเมตร ใช้ เ วลาเดิ น ทาง 1.5–2 ชั่วโมง ถนนหมำยเลข 3 จากกรุงพนมเปญ ไปทางใต้ เกาะตะเข็บจังหวัดกันดาล กับกัมปงสปือ ผ่านจังหวัดตาแก้ วเข้า จั งหวัดกัมปอต แล้ ว เลี ย บชายฝั่ งไป ทางตะวั น ตกจนจรดทางหล ว ง ห ม า ย เ ล ข 4 ใ น เ ข ต สี ห นุ วิ ล ล์ ระยะทาง 202 กิ โ ลเมตร ใช้ เ วลา เดินทาง 3.5–4.5 ชั่วโมง ถนนหมำยเลข 4 กรุงพนมเปญ-สีหนุ วิลล์ จากกรุงพนมเปญผ่านจังหวัดกัม ปงสปือ และจังหวัดเกาะกง จนจรด ชายทะเลอ่าวไทย บริเวณท่าเรื อสีหนุ วิล ล์ ระยะทาง 226 กิโ ลเมตร เป็น เส้ น ทางขนส่ งสิ น ค้าที่ส าคัญและถื อ เป็ น ถนนราดยางที่ ดี ที่ สุ ด ตลอด เส้ น ทางของกัม พูช า ใช้เวลาในการ เดินทาง 3.5–4 ชั่วโมง

ถนนหมำยเลข 5 กรุงพนมเปญ-ปอย เ ป ต จ า ก ก รุ ง พ น ม เ ป ญ ไ ป ท า ง ตะวั น ตกเฉี ย งเหนื อ ผ่ า นจั ง หวั ด กันดาล เข้าจังหวัดกัมปงชนัง จั งหวัด โพธิสัตว์ จังหวัดพระตะบอง จังหวัด บั น เตี ย เมี ย นเจย และสิ้ น สุ ด ทางที่ ด่ า นพรมแดนนานาชาติ ป อยเปตอ รั ญ ป ร ะ เ ท ศ จั ง ห วั ด ส ร ะ แ ก้ ว ระยะทางรวม 407 กิโลเมตร ใช้เวลา เดินทาง 5.5–7.5 ชั่วโมง

ถนนหมำยเลข 6 จากกรุงพนมเปญ ขึ้ น ไปทางเหนื อ ผ่ า นเขตจั ง หวั ด กันดาล กัมปงจาม เข้าจังหวั ดกัมปง ธม จังหวัดเสียมราฐ แล้ ว ไปบรรจบ กั บ ถนนหมายเลข 5 ที่ อ าเภอศรี โสภณ จั ง หวั ด บั น เตี ย เมี ย นเจย ระยะทางรวม 416 กิโลเมตร ใช้เวลา เดินทาง 6.5–8 ชั่วโมง

ถนนหมำยเลข 7 แยกจากถนน หมายเลข 6 ที่บ้านเชิงไพร จังหวัดกัม ปงจามไปทางตะวั น ตก ผ่ า นตั ว จังหวัด มุ่งสู่ ช ายแดนด้านเวี ยดนาม ก่ อ นเลี้ ย วขึ้ น ไปทางเหนื อ เข้ า สู่ ตั ว จังหวัดกระแจะ จังหวัดสตึงเตรง ไป จนจรดด่านพรมแดนนานาชาติ บ้าน โอสวาย–เวื อ นคา แขวงจ าปาศั ก ดิ์ ของ สปป.ลาว ระยะทางรวม 461 กิ โ ลเมตร ใช้ เ วลาเดิ น ทาง 3.5-4.5 ชั่วโมง

Page | 12


ทำงรถไฟ ปัจจุบันกัมพูชาไม่ได้ใช้เส้นทางรถไฟเป็นหลัก ในการขนส่งเชิงพาณิชย์ โดยระบบรถไฟที่มีอยู่ใน กัมพูชาประกอบด้วยเส้นทาง 2 สาย คือ ทำงรถไฟสำยเหนือ จากกรุ ง พนมเปญ-ปอยเปต ชายแดนไทย กัมพูชา มีระยะทาง 386 กิโลเมตร เส้นทางนี้หาก มีการซ่อมแซมและก่อสร้างส่วนที่เหลื อสาเร็จจะ สามารถเชื่อมต่อกับ ระบบรางรถไฟของประเทศ ไทยได้ อย่ า งไรก็ ต าม เส้ น ทางนี้ ใ นช่ ว งกรุ ง พนมเปญ-ศรี โ สภณ (บั น เตี ย เมี ย นเจย) อยู่ ใ น ระหว่ า งการซ่ อ มบ ารุ ง เป็ น ระยะทาง 338 กิโลเมตร ส่วนเส้นทางที่เหลือจากศรีโสภณ-ปอย เปต ระยะทาง 38 กิโลเมตร ได้ถูกทาลายลงในช่วง สงครามกลางเมืองกลางทศวรรษที่ 1970 ปัจจุบัน อยู่ ใ นระหว่ า งการด าเนิ น การก่ อ สร้ า งเพิ่ ม เติ ม อย่ า งไรก็ ต าม เส้ น ทางรถไฟสายนี้ อ อกแบบมา รองรับน้าหนักบรรทุกได้เพียง 10 ตันเท่านั้น แต่ หลังจากมีการก่อสร้าง ซ่อมแซมและปรับปรุงทาง รถไฟในเส้ น ทางนี้ จะสามารถรองรั บ น้ าหนั ก บรรทุกได้ถึง 20 ตัน และทาความเร็วสูงสุดได้ 50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

ทำงรถไฟสำยใต้ เริ่มต้นจากกรุงพนมเปญ-สีหนุวิลล์ มีระยะทาง 264 กิ โ ลเมตร ซึ่ ง เชื่ อ มต่ อ กั บ ท่ า เรื อ สี ห นุ วิ ล ล์ สภาพของรางรถไฟเส้ น ทางนี้ ยั ง อยู่ ใ นสภาพที่ ค่อนข้างดี เนื่องจากไม่มีการใช้งานมากนัก และ รางรถไฟออกแบบมาเพื่อรองรับกับน้าหนักบรรทุก ได้ 20 ตั น แต่ ใ นทางปฏิ บั ติ จ ะรองรั บ น้ าหนั ก บรรทุกเพียง 15 ตันเท่านั้น ปัจจุบันอยู่ในระหว่าง การปรั บ ปรุ ง และซ่ อ มแซมเส้ นทาง ทั้ ง นี้ ห ากใน อนาคตเส้นทางรถไฟทั้งสองสายได้รับการปรับปรุง และพัฒนาจนสาเร็จจะสามารถลดระยะเวลาและ ต้นทุนในการขนส่งได้ม ากขึ้น นอกจากนี้ เส้นทาง รถไฟดังกล่าวจะกลายมาเป็นเส้นทางการคมนาคม ที่ ส าคั ญ อี ก เส้ น ทางหนึ่ ง ในเส้ น ทางระเบี ย ง เศรษฐกิ จ ใต้ ข องอนุ ภู มิ ภ าคลุ่ ม แม่ น้ าโขง (GMS Southern Economic Corridor) รวมทั้งเป็นส่วน ห นึ่ ง ข อ ง เ ส้ น ท า ง ที่ เ รี ย ก ว่ า “SingaporeKunming Railway Link-SKRL” ซึ่ ง เชื่ อ มระบบ เครือข่ายทางรถไฟจากสิงคโปร์ถึงคุนหมิง มณฑล ยูนนาน โดยมีระยะทางรวมทั้งสิ้น 5,382 กิโลเมตร

ทำงเรือ ใ น กั ม พู ช า มี ท่ า เ รื อ น้ า ลึ ก แ ห่ ง เ ดี ย ว ตั้ ง อยู่ ใ นจั ง หวั ด พระสี ห นุ ( Preah Sihanouk Province) คือ ท่าเรือสีหนุวิลล์ (Sihanoukville

Autonomous Port) เป็นท่าเรือที่มีการขยายตัว อย่ า งต่ อ เนื่ อ งและในปั จ จุ บั น ท่ า เรื อ แห่ ง นี้ มี ท่ า เทียบเรือ 12 แห่งพร้อมสิ่งอานวยความสะดวกที่ ทันสมัยในการขนถ่ายสินค้า เป็นท่าเรือที่สามารถ รองรั บ เรื อ เดิ น สมุ ท รได้ โดยมี ท างเข้ า ท่ า เรื อ 2

Page | 13


ช่องทาง คือ ช่องทางใต้ (South Channel) มีท่า เทียบเรือยาว 5.5 กิโลเมตร น้าลึก 8.4 เมตรและ ความกว้ า ง 80-100 เมตร และช่ อ งทางเหนื อ (North Channel) มีท่าเทียบเรือยาว 1 กิโลเมตร น้ าลึ ก 10 เมตรและความกว้าง 150-200 เมตร ส่ ว นใหญ่ เ ส้ น ทางเดิ น เรื อ จากท่ า เรื อ แห่ ง นี้ ไปยัง ท่าเรือต่างๆ ทั่วโลกโดยผ่านประเทศสิงคโปร์ นอกจากนี้ยังมีท่าเรือที่มีขนาดเล็กกว่าท่าเรือสี หนุวิลล์ คือ ท่าเรือออกญามงริทธี (Oknha Mong Port) เป็นท่าเรือเอกชน ตั้งอยู่ที่จังหวัดพระสีหนุ เป็นท่าเรือที่ขนถ่ายสินค้าทั่วไปที่มีขนาดเล็ก ส่วน ใหญ่ จ ะใช้ ข นส่ ง สิ น ค้ า จากประเทศไทยและ ประเทศมาเลเซีย กำรขนส่งทำงน้ำภำยในประเทศ การขนส่งทางน้ าภายในประเทศส่ว นใหญ่ ใช้ แม่น้าโขง แม่น้าตนเลสาบ และแม่น้าบาสัก ซึ่งมี ความยาวประมาณ 1,750 กิโลเมตร ในฤดูฝน และ อาจลดลงเหลือ 580 กิโลเมตร ในฤดูแล้ง ท่าเรือใน กัมพูชามี 7 แห่ง ได้แก่

ที่มาภาพ : www.chinadailyasia.com

ท่ ำ เ รื อ พ น ม เ ป ญ ( Phnom Penh Autonomous Port) มี 2 แ ห่ ง คื อ ท่าเรือเก่าพนมเปญ ตั้งอยู่ในกรุงพนมเปญ ริมฝั่งตนเลสาบ ส่วนท่าเรือใหม่พนมเปญ ตั้ ง อยู่ ใ นจั ง หวั ด กั น ดาล เปิ ด อย่ า งเป็ น ทางการเมื่อปี 2556 สร้างขึ้นเพื่อรองรับ การพัฒนาทางเศรษฐกิจที่จะเพิ่มขึ้น โดย จะใช้เป็นประตูการค้า และศูนย์กระจาย สิ น ค้ า ที่ ส าคั ญ แห่ ง ใหม่ ข องกั ม พู ช า ท่ ำ เ รื อ ส ตึ ง เ ต ร ง ( Stueng Traeng Port) อยู่ในจังหวัดสตึงเตรง เป็นท่าเรือ ส าคั ญ บนแม่ น้ าโขง ห่ า งจากท่ า เรื อ กระแจะ 115 กิโลเมตร ท่ ำ เรื อ กระแจะ (Kratie Port) อยู่ ใ น จั ง หวั ด กระแจะ เป็ น ท่ า เรื อ ส าคั ญ บน แม่น้าโขง ห่างจากท่าเรือกัมปงจาม 115 กิโลเมตร ท่ำเรือกัมปงจำม (Tonle Bet Port) อยู่ ในจังหวัดกัมปงจาม เป็นท่าเรือสาคัญบน แม่น้าโขง ท่ำเรือเนี๊ยกเรือง (Neak Loeang Port) อยู่ในจังหวัดไปรเวง เป็นท่าเรือสาคัญบน แม่ น้ าโขง ห่ า งจากท่ า เรื อ พนมเปญ 60 กิโลเมตร ท่ ำ เรื อ จองคะเนี๊ ย ะ (Chong Khneas Port) อยู่ ใ นจั ง หวั ด เสี ย มราฐ ตั้ ง อยู่ บ น แม่น้าตนเลสาบ ท่ำเรือพสำร์ครอม (Phsar Krom Port) อยู่ในจังหวัดกัมปงชะนัง ตั้งอยู่บนแม่น้า ตนเลสาบ

Page | 14


ทำงอำกำศ ในปั จ จุ บั น กั ม พู ช ามี ส นามบิ น ที่ ส าคั ญ ที่ ให้บริการเชิงพาณิชย์และเป็นสนามบินนานาชาติ มี 3 แห่ง คือ

การขยายตั ว ของการท่ อ งเที่ ย วในกั ม พู ช า เนื่องจากเสียมราฐเป็นจังหวัดที่รัฐบาลกัมพูชา เลื อ กในการด าเนิ น ยุ ท ธศาสตร์ ส่ ง เสริ ม การ ท่องเที่ยว เพราะว่ามีแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญที่ เป็ น มรดกโลก คื อ นครวั ด และนครธม 3)

ที่มาภาพ : www.cambodia-airports.aero 1)

ท่ำอำกำศยำนนำนำชำติพนมเปญ (Phnom Penh International Airport) เ ป็ น ท่ า อากาศยานหลักของกัมพูชา ตั้งอยู่ห่างจากใจ กลางกรุงพนมเปญไปทางตะวันตก 7 กิโลเมตร มี พื้ น ที่ 3 8 7 เ ฮ ก ต า ร์ ( hectare) ห รื อ 3,870,000 ตารางเมตร

2)

ท่ ำ อำกำศยำนนำนำชำติ เ สี ย มรำฐ (Siem Reap International Airport) เ ป็ น ท่ า อากาศยานที่มีขนาดใหญ่เป็ น อัน ดับ 2 ของ กัมพูชา ตั้งอยู่ในจังหวัดเสียมราฐ มีพื้นที่ 197 เฮกตาร์ ( hectare) หรื อ 1,970,000 ตาราง เมตร เป็นสนามบินที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อรองรับ

ท่ำ อำกำศยำนนำนำชำติสี หนุ (Sihanouk International Airport) ตั้ ง อยู่ ใ นจั ง หวั ด พระสี ห นุ ห่ า งจากตั ว เมื อ ง 18 กิ โ ลเมตร มี พื้ น ที่ 123.84 เฮกตาร์ (hectare) หรื อ 1,238,400 ตารางเมตร เป็นสนามบินอีกแห่ง หนึ่ ง ที่ รั ฐ บาลกั ม พู ช าพั ฒ นาเพื่ อ ให้ ร องรั บ นักท่องเที่ยวและนักลงทุน เนื่องจากจัง หวัด พระสีหนุเป็นเมืองที่มีความอุดมสมบูรณ์ทาง ธรรมชาติ แ ละมี ท่ า เรื อ น้ าลึ ก ซึ่ ง เอื้ อ ต่ อ การ พั ฒ นาเป็ น เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษและเขต ท่องเที่ยวทางทะเล

ที่มาภาพ : www.cambodia-airports.aero

Page | 15


ระบบกำรเมือง กำรปกครองและบุคคลสำคัญ ระบบกำรเมืองกำรปกครอง กัมพูช ามีร ะบบการปกครองเป็ น ประชาธิป ไตยแบบรัฐ สภา โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขภายใต้ รัฐธรรมนูญและมีนายกรัฐมนตรีดารงตาแหน่งหัวหน้าคณะรัฐบาล มีวาระการดารงตาแหน่ง คราวละ 5 ปี พระมหากษัต ริ ย์ อ งค์ปั จ จุ บั น คื อ พระบาทสมเด็จ พระบรมนาถ นโรดม สี ห มุนี (His Majesty Preah Bat Samdech Preah Boromneath Norodom Sihamoni) เสด็ จ ขึ้ น ครองราชย์ เ มื่ อ วั น ที่ 14 ตุ ล าคม พ.ศ. 2547 รัฐสภำของกัมพูชำประกอบด้วย 2 สภำ คือ 

สภำแห่ ง ชำติ (The National Assembly) ประกอบด้วยสมาชิก 123 คน ซึ่งมาจากการ เลื อ กตั้ ง จากประชาชนผู้ มี สิ ท ธิ์ เ ลื อ กตั้ ง ทั่ ว ประเทศ มีวาระการดารงตาแหน่งคราวละ 5 ปี การเลือกตั้งครั้งล่าสุดได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ.2551 ปรากฏว่ า มี พ รรค การเมื อ งที่ ช นะการเลื อ กตั้ ง และได้ รั บ การ จั ด สรรที่ นั่ ง ในสภาแห่ ง ชาติ ได้ แ ก่ พรรค ป ร ะ ช า ช น กั ม พู ช า ( The Cambodian People’s Party:CPP) ได้ 90 ที่นั่ง พรรคสม รังสี (Sam Rainsy: SRP) ได้ 26 ที่นั่ง พรรค สิ ทธิมนุ ษยชน (Human Right Party) ได้ 3 ที่ นั่ ง พรรคนโรดมรณฤทธิ์ ( Norodom Ranaridh Party) ได้ 2 ที่นั่ งและพรรคฟุ น ซิ น เ ป ค ( National United Front for an Independent, Neutral, Peaceful, and Cooperative Cambodia:FUNCINPEC) ได้ 2 ที่ นั่ ง ใ น ปั จ จุ บั น ส ม เ ด็ จ เ ฮ ง สั ม ริ น (Somdech Heng Samrin) ด ารงต าแหน่ ง เป็นประธานสภาแห่งชาติ

วุฒิสภำ (The Senate) ประกอบด้วยสมาชิก 61 คน โดยสมาชิก 2 คน ได้รับการแต่งตั้ง จากพระมหากษัตริย์ และสมาชิกอีก 2 คน ได้รับการแต่ง ตั้ งโดยเสี ย งข้า งมากของสภา แห่ ง ชาติ ส่ ว นที่ เ หลื อ อี ก 57 คนได้ รั บ การ เลือกตั้งทางอ้อมโดยการลงคะแนนเสียงลับ มี วาระการด ารงต าแหน่ ง คราวละ 6 ปี การ เลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาครั้งล่าสุดได้จัดขึ้นเมื่อ วันที่ 29 มกราคม พ.ศ.2555 ปรากฏว่าพรรค ประชาชนกั ม พู ช า (CPP) ได้ 46 ที่ นั่ ง และ พรรคสมรังสี (SRP) ได้ 11 ที่นั่ง

รัฐบำล รัฐบาลกัมพูชาปัจจุบันเป็นรัฐบาลพรรคเดี่ยว โดยมี ส มเด็ จ อั ค คมหาเสนาบดี เ ดโชฮุ น เซน ( Samdech Akka Moha Sena Padei Techo Hun Sen) เป็นนายกรัฐมนตรี

Page | 16


กำรแบ่งเขตกำรปกครอง ในปั จ จุ บั น กั ม พู ช าแบ่ ง เขตการปกครอง ออกเป็น 1 ราชธานี (กรุง) คือกรุงพนมเปญและ

24 จังหวัด (เขต) แต่ละจังหวัดจะแบ่งเขตปกครอง ภายในออกเป็นอาเภอ (Srok) กับตาบล (Khum) กรุง 26 แห่ง อาเภอ 159 แห่ง เขต 8 แห่ง ตาบล 1,417 ตาบล แขวง 204

ภำพแสดงรำยชื่อจังหวัดต่ำงๆ ของกัมพูชำ

ที่มา : คู่มือ “เตรียมความพร้อมผูป้ ระกอบการขนส่งไทยสู่อาเซียน” (ราชอาณาจักรกัมพูชา)

Page | 17


รำยชื่อจังหวัดในกัมพูชำ ชื่อจังหวัด

เมืองหลวง

พื้นที่ (ตำรำงกิโลเมตร)

Page | 18

1

บันเตียเมียนเจย (Banteay Meanchey)

เมืองศรีโสภณ (Serei Sophoan)

6,679.00

2

พระตะบอง (Battambang)

เมืองพระตะบอง (Battambang)

11,748.00

3

กัมปงจาม (Kampong Cham)

เมืองกัมปงจาม (Kampong Cham)

9,798.60

4

กัมปงชนัง (Kampong Chhnang)

เมืองกัมปงชนัง (Kampong Chhnang)

5,521.00

5

กัมปงสปือ (Kampong Speu)

เมืองชบาร์ มอน (Chbar Mon Town)

6,969.72

6

กัมปงธม (Kampong Thom)

เมืองสตึง (Stueng)

7

กัมปอต (Kampot)

เมืองกัมปอต (Kampot)

4,873.00

8

กันดาล (Kandal)

เมืองตาขะเมา (Ta Khmao)

3,211.76

9

แกบ (Kep)

เมืองแกบ (Kep)

10

เกาะกง (Koh Kong)

เมืองเขมระภูมินทร์(Khemarak Phumin)

10,045.00

11

กระแจะ (Kratie)

เมืองกระแจะ (Kratie)

11,094.00

12

มณฑลคีรี (Mondulkiri)

เมืองแสนมโนรมย์ (Sen Monorom)

14,288.00

13

อุดรเมียนเจย (Oddar Meanchey)

เมืองสาโรง (Samrong)

4,873.00

14

ไพลิน (Pailin)

เมืองไพลิน (Pailin)

1,062.00

15

พนมเปญ (Phnom Penh)

กรุงพนมเปญ (Phnom Penh)

16

พระสีหนุ (Preah Sihanouk or Sihanoukville)

เมืองพระสีหนุ (Preah Sihanouk)

17

พระวิหาร (Preah Vihear)

เมืองพระวิหาร (Preah Vihear)

18

ไปรเวง (Prey Veng)

เมืองไปรเวง (Prey Veng)

19

โพธิสัตว์(Pursat)

เมืองโพธิสัตว์(Pursat)

12,692.00

20

รัตนคีรี (Ratanakiri)

เมืองบานลุง (Ban Lung)

10,782.00

21

เสียมราฐ (Siem Reap)

เมืองเสียมราฐ (Siem Reap)

10,299.00

22

สตึงเตรง (Stung Treng)

เมืองสตึงเตรง (Stung Treng)

12,016.00

23

สวายเรียง (Svay Rieng)

เมืองสวายเรียง (Svay Rieng)

2,848.85

24

ตาแก้ว (Takeo)

เมืองตาแก้ว (Takeo)

3,562.70

25

ตะโบงคมุม (Tbong Khmum)

เมืองซวง (Suomg)

4,928.00

ที่มา : Cambodia Municipality and Province Investment Information, (2558)

15,061.00

336.00

678.46 2,536.68 14,031.00 4,883.00


รำยชื่อผู้นำระดับสูงของรัฐบำลกัมพูชำ

2

ชื่อ Samdech Akka Moha Sena Padei Techo Hun Sen Samdech Krolahom Sar Kheng

3

H.E. Mr. Sok An

4

H.E.General. Tea Banh

5 6

H.E.Mr. Keat Chhon H.E. Mr. Hor Namhong

7

H.E.Mrs. Men Sam An

1

8 H.E.Mr. Bin Chhin 9 H.E.Mr. Yim Chhai Ly 10 H.E.Mr. General Ke Kim Yan

ตำแหน่ง นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจาสานัก คณะรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจาสานัก คณะรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี กระทรวงกลาโหม รองนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวง การต่างประเทศ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ประสานงานรัฐสภาและผู้ตรวจการแผ่นดิน รองนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี

ที่มา : The World Factbook, Central Intelligence Agency, (2558)

Page | 19


เวลำและวันหยุดนักขัตฤกษ์ ประเทศกัมพูชาใช้เขตแบ่งเวลาเดียวกับประเทศไทย คือเวลามาตรฐานโลกที่เมืองกรีนิช (Greenwich Mean Time : GMT) บวกอีก 7 ชั่วโมง และมีเวลาทางานและวันหยุดนักขัตฤกษ์ ดังนี้ เวลาราชการ เวลาทาการธนาคาร วันหยุดนักขัตฤกษ์

วันจันทร์ถึงศุกร์ เวลา เวลา 8.00 น.-12.00 น. และ เวลา 14.00 -17.00 น. วันจันทร์ถึงวันศุกร์ เวลา 8.00 น.-15.00 น. วันปีใหม่สากล 1 มกราคม วันปลดปล่อยกัมพูชาจากเขมรแดง วันที่ 7 มกราคม วันมาฆบูชา ตามปฎิทินจันทรคติ วันสตรีสากล วันที่ 8 มีนาคม วันขึ้นปีใหม่เขมร ซึ่งตรงกับวันสงกรานต์ วันที่ 13 – 16 เมษายน วันแรงงาน วันที่ 1 พฤษภาคม วันวิสาขบูชา ตามปฎิทินจันทรคติ วันเด็กสากล วันที่ 1 มิถุนายน วันแรกนาขวัญ วันแรม 4 ค่า เดือน 6 วันรัฐธรรมนูญ วันที่ 24 กันยายน วันสารทเขมร เรียกว่าวันปรอจุมเบณ (pchum ben day) ตรงกับวันแรม 15 ค่า เดือน 10 จะหยุดราชการ 3 วัน ตั้งแต่วันแรม 14 ค่า เดือน 10 จนถึงขึ้น 1 ค่า เดือน 11 วันขึ้นครองราชย์ของพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี วันที่ 29 ตุลาคม วันรับอิสระภาพจากฝรั่งเศส วันที่ 9 พฤศจิกายน เทศกาลน้า (water festival) มีงานประเพณีแข่งเรือ จะหยุดราชการ 3 วัน ตั้งแต่วันขึ้น 14 ค่า เดือน 12 ถึงวันแรม 1 ค่า เดือน 1 วันสิทธิมนุษยชนสากล วันที่ 10 ธันวาคม วันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหนุ วันที่ 15 ตุลาคม วันพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระมหากษัตรีย์ พระวรราชมารดา นโรดมมุนีนาถสีหนุ วันที่ 18 มิถุนายน

Page | 20


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.