ลู่ทางและโอกาสการลงทุนของประเทศไทยในเมียนมา

Page 1

5.1

ภาพรวมการลงทุนไทยในเมียนมา การลงทุนจากตางประเทศในเมียนมาเปนปจจัยขับเคลื่อนการขยายตัวของเศรษฐกิจเมียนมานับตั้ งแต

การประกาศปฏิรูปประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งการลงทุนในธุรกิจพลังงาน และโครงสรางสาธารณูปโภคพื้นฐาน โดยเงินลงทุนสวนใหญมาจากประเทศในภูมิภาคเอเชีย เชน จีน ไทย สิงคโปร ฮองกง เกาหลีใตและมาเลเซีย เปนตน

มูลคาการลงทุนของไทยในเมียนมาปงบประมาณ 1988/1989 ถึง 2015/2016 (มูลคาการลงทุนที่ไดรับการอนุมัติ) ปงบประมาณ (เมษายน-มีนาคม) 2531/2532 - 2545/2546 2546/2547 2547/2548 2548/2549 2549/2550 2551/2552 2552/2553 2553/2554 2554/2555 2555/2556 2556/2557 2557/2558 2558/2559 (ณ 31/08/2558) มูลคาการลงทุนสะสม

มูลคาการลงทุน (ดอลลารสหรัฐ) 1,290.20 22.00 29.02 6,034.40 16.22 15.00 15.25 2,146.00 1.30 529.07 165.68 27.37 10,291.51

ที่มา : Directorate of Investment and Company Administration (2015) (http://dica.gov.mm.x-aas.net/)


ปจจุบัน ณ 31 สิงหาคม 2015 นักลงทุนหรือผูประกอบการไทยมีการลงทุนสะสมในเมียนมา ตั้งแต ป 1989 จํานวน 10,291.51 ลานดอลลารสหรัฐ หรือประมาณรอยละ 18.02 ของมูลคาการลงทุนสะสมจาก ต า งประเทศในเมี ย นมา ซึ่ ง อยู ที่ 57,118.97 ล า นดอลลาร ส หรั ฐ โดยในป ง บประมาณ 2014/2015 ของ เมียนมา นักลงทุนไทยมีการลงทุนในเมียนมามูลค า 165.68 ลานดอลลารสหรัฐ และลาสุด ปงบประมาณ 2558/2559 (ณ 31 สิงหาคม 2015) มีมูลคาการลงทุน 27.37 ลานดอลลารสหรัฐ ใน 5 โครงการลงทุนสําหรับ ธุ ร กิ จ ไ ท ย ห รื อ ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร ไ ท ย ที่ ไ ป ล ง ทุ น ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ ใ น เ มี ย น ม า เ ช น เครือเจริญโภคภัณฑ (ซีพี) ดําเนินธุรกิจในเมียนมามาตั้งแตป 1996 สินคา

บริษัท บางจากปโตรเลียม จํากัด (มหาชน)

เป น ที่ นิ ย มในเมี ย นมาและมี ก ารตั้ ง โรงงานทั้ ง ที่

เปดสถานีบริการน้ํามันบางจากในเมียนมาแลว

ย างกุ ง และในภาคเหนื อตอนกลางของเมี ย นมา

1 แห ง ที่ จั งหวั ด เมี ย วดี ซึ่ งอยู ต รงข ามกั บ อํ าเภอ

จนถึ ง ป จ จุ บั น บริ ษั ท CP ลงทุ น รวมในเมี ย นมา

แม ส อด จั ง หวั ด ตาก ในป 2012 และตั้ ง เป า เพิ่ ม

มูลคากวา 130 ลานดอลลารสหรัฐ

เปน 5 แหงภายในป ค.ศ. 2017

บริ ษัท ปตท.สํ า รวจและผลิต ป โตรเลี ยม จํ า กัด

ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขายางกุง

(มหาชน) (ปตท. สผ.) บริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) (ปตท. สผ.) ปจจุบันมีโครงการสํ ารวจ พัฒนา และผลิตปโตรเลีย มในเมี ยนมาจํานวน 4 โครงการ และเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2012 บริษัท ป ต ท . ส ผ . ร ว ม กั บ บ ริ ษั ท Win Precious Resources Pte. Ltd. (WPR) ได ล งนามสั ญ ญา

ดูแลใหบริการทางการเงิน ครอบคลุมบริการ เงินฝาก สินเชื่อธุรกิจ บริการเพื่อธุรกิจสงออกและ นํ า เข า บริ ก ารโอนเงิ น ต า งประเทศ บริ ก าร แลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ แกบริษัทตางชาติ (Foreign-invested Company) และธนาคารใน ประเทศเมี ย นมา (Domestic Bank) ทั้ ง ในรู ป เงินตราตางประเทศและเงินสกุลเมียนมาจั๊ต

แบงปนผลผลิต (Production Sharing Contract: PSC) กั บ บ ริ ษั ท Myanmar Oil and Gas Enterprise (MOGE) ซึ่งเปนรัฐวิสาหกิจของเมียน มา

ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ธนาคารกรุ ง ไทย จํ า กั ด (มหาชน) ได รั บ อนุ ญ าตให เ ป ด สํ า นั ก งานตั ว แทนในเมี ย นมา

Page | 2


นอกจากนี้ยังมีแผนจะจัดตั้งสาขาในเมียนมาเพื่อ ปล อ ยกู แ ละรั บ ฝากเงิ น เมื่ อ ทางการเมี ย นมา อนุญาต เครือสหพัฒน ผูผลิตและจัดจําหนายสินคาอุปโภคบริโภค เขา ไปลงทุ น ในเมี ย นมาผ า นบริ ษั ท ลู ก ในเครื อ คื อ “บริษัท สหพัฒนาอินเตอรโฮลดิ้ง” เพื่อเขาไปสราง นิคมอุตสาหกรรมในยางกุง และยังมีบริษัทในเครือ ทั้งบริษัท ไอ.ซี.ซี. อินเตอรเนชั่นแนล บริษัท ธนู ลักษณ บริษัท ไลออน บริษัท เบทเตอรเวย บริษัท เพรซิเดนท เบเกอรี่ หรือฟารมเฮาส เขาไปลงทุน ดวยเชนกัน บมจ.ปูนซิเมนตไทย (เอสซีจี) ตั้งโรงงานผลิตปูน ซีเ มนตแบบครบวงจรแห ง แรกที่ เมื อ งเมาะละแหม ง ของเมี ย นมา ในป ค.ศ. 2013 โดยร ว มทุ น กั บ บริ ษั ท เอกชนท องถิ่ น เพื่ อ ใช เ ป น ฐานการผลิ ต ปู น ซี เ มนต ซั พ พอร ต ภายในประเทศ ที่ปจจุบันมีความตองการสูงมาก หลังจากเปดประเทศ โรงงานนี้ตั้งอยู หางจากตั ว เมืองเมาะละแหมง ประมาณ 60 กิโลเมตร คาดวา จะเดินเครื่องผลิตไดตนป ค.ศ. 2016 มีกําลังผลิต วันละ 5,000 ตันหรือปละ 1.8 - 2 ลานตัน จะเปน โรงงานที่มารองรับการขยายตัวของตลาดเมียนมา เพี ย งอย า งเดี ย วยั ง ไม มี แ ผนจะใช เ ป น ฐานเพื่ อ สงออกไปยังประเทศอื่น

นอกจากนี้ ยั งมี ผู ป ระกอบการอื่ น ๆ เช น พรี ไซซ กรุ ป เข า ไปลงทุ น สร า งโรงงานผลิ ต อุ ป กรณ ระบบไฟฟ า เพื่ อ ขายในเมี ย นมาและส ง ออกไป ประเทศเพื่อนบาน และเปนหุนสวนกับบริษัทไทย ที่ ไ ด รั บ สั ม ปทานตั้ ง โรงไฟฟ า ที่ มั ณ ฑะเลย ด ว ย บริษัท ไฮโดรเท็ค จํากัด (มหาชน) หรือ HYDRO ผู ดําเนินธุรกิจรับกอสรางและรับบริหารจัดการงาน วิศวกรรมสิ่งแวดลอม ไดรับอนุมัติจากรัฐบาลเมียน มาในการลงทุนกอสรางระบบบริหารจัดการน้ําเสีย ที่นิคมอุตสาหกรรมมัณฑะเลย ไดรับสัมปทานเปน ระยะเวลา 20 ป และมีแผนจากรัฐบาลเมียนมาให ศึ ก ษาโครงการแปลงน้ํ าทะเลเป น น้ํ า จื ด ซึ่ ง เป น โครงการขนาดใหญสําหรับใชในกรุงเนปดอร เมือง หลวงของเมียนมา บริษัท กันกุลเอ็นจิเนียริ่ง เขาไป ลงทุนดานพลังงานทดแทนในเมียนมา และบริษัท อื่นๆ ที่เขาไปลงทุนในธุรกิจโรงไฟฟาและเสาสาย สงกระแสไฟฟาแรงสูง เชน บริษัทผลิตไฟฟาราชบุรี โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) บริษัท ยูไนเต็ดเพาเวอร ออฟเอเชีย จํากัด (มหาชน) บริษัท โตโย-ไทย คอร ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และบริ ษัท สยามสตี ล เกรตติ้ง จํากัด เปนตน


5.2

จุดแข็ง จุดออน โอกาสและอุปสรรคของการลงทุนในเมียนมา แมวาปจจุบันเมียนมาจะเปนประเทศที่ถือไดวาเปนเปาหมายของนักลงทุน มาตั้งแตการเริ่มเปดประเทศ

อยางไรก็ตามจําเปนตองพิจารณาถึงจุดออน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรคของเมียนมาที่รองรับการลงทุนทั้ง จากของไทยและนานาประเทศ ซึ่งสรุปมีดังนี้

จุดออน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรคในเมียนมา มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ ทั้งทางบก ทางทะเล ทรัพยากรปาไม แรธาตุและพื้นที่ เพาะปลูกที่อุดมสมบูรณ

จุดแข็ง

มีอาณาเขตติดกับจีน อินเดีย บังคลาเทศ ลาว และไทย ทําใหเมียนมาเปนประเทศที่อยู ท ามกลางของกลุ มประเทศอาเซี ย น และเอเชี ย ใต รวมทั้ งอยู ในภู มิภ าคลุ มแม น้ํ า โขง ระเบียงเศรษฐกิจของภูมิภาค และมีพรมแดนติดกับทะเล ทําใหมีความไดเปรียบในการ ติดตอคาขายนําเขาสงออกสินคาและวัตถุดิบไปยังประเทศตางๆ ได มี แรงงานจํ านวนมากและยั ง มี ค าจ างแรงงานต่ํ า (ค าแรงขั้ น ต่ํ า 3,600 จั๊ ต หรื อ 2.80 ดอลลาร ส หรั ฐ ต อ วั น หรื อ 72 ดอลลาร ส หรั ฐ ต อ เดื อ น มี บั ง คั บ ใช 1 กั น ยายน ค.ศ. 2015) เหมาะกับการลงทุนในอุตสาหกรรมที่มีการใชแรงงานเขมขนหรือใช เปนฐาน การผลิตสินคาเพื่อสงออกไปยังประเทศอื่น ประชากรสวนใหญมีรายไดที่ไมสูงมากนักและมีกําลังซื้อที่ต่ํา แรงงานสวนใหญเปนแรงงานไรฝมือ มีทักษะการทํางานที่ไมสูง และตอง ไดรับการ ฝกอบรมกอนทํางาน และผูที่มีความรูความสามารถในการทําธุรกิจระหวางประเทศมีนอย ขาดความพรอมดานโครงสรางพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภคทั้งไฟฟา ประปา เสนทาง คมนาคมขนสงไมเอื้อตอการจัดตั้งโรงงานการคาและการลงทุน

จุดออน

เปนประเทศที่ตองพึ่งพาการนําเขาเพราะอุตสาหกรรมการผลิตในประเทศยังอยูในชวง ของการพัฒนา เมียนมาอยูระหวางการพัฒนาระบบการเงินภายในประเทศ อัตราแลกเปลี่ยน อัตราเงิน เฟอ และราคาสินทรัพยไมมีเสถียรภาพ


จุดออน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรคในเมียนมา ไดรับสิทธิพิเศษทางภาษี (GSP) จากประเทศคูคา รัฐบาลเปดรับการลงทุนจากตางประเทศเพื่อสงเสริมการพัฒนาในประเทศ ทําให เศรษฐกิจมีการขยายตัวอยางรวดเร็ว กฎหมายกฎระเบียบของประเทศโดยเฉพาะที่เกี่ยวของกับการคาการลงทุนไดรับการ ปรับปรุงจากอดีตเปนอยางมากทําใหชวยเอื้ออํานวยแกประกอบการหรือนักลงทุนที่เขา ไปลงทุนอยางมาก

โอกาส

มีแหลงทุนจากภายนอกขนาดใหญ โดยเฉพาะจีนและญี่ปุนที่ใหการสนับสนุนการพัฒนา เศรษฐกิจและเขตเศรษฐกิจพิเศษ ขาดแคลนอุตสาหกรรมภาคการผลิต จึงเปนโอกาสของสินคาอุปโภคบริโภค อาหาร รวมทั้งอุตสาหกรรมพลังงานและโครงสรางพื้นฐานซึ่งตองมีการพัฒนา เมียนมามีประชากรจํานวนมาก จึงเปนโอกาสทางการตลาดสําหรับสินคาอุปโภคบริโภค โดยเฉพาะจากไทยซึ่งมีพรมแดนติดกัน ในขณะเดียวกันก็มีคูแขงอยางจีนดวย เมียนมามีแหลงทองเที่ยวหลากหลายทั้งธรรมชาติ ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม ทําให การทองเที่ยวมีศักยภาพและเปนโอกาสสําหรับธุรกิจการทองเที่ยวและการบริการ ทหารยังมีสวนรวมในการปกครองประเทศสงผลตอความเชื่อมั่นของนักลงทุน (จะมี เลือกตั้งทั่วไปในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2015) ความไมแนนอนของกฎหมายกฎระเบียบสงผลกระทบตอการวางแผนการบริหาร จัดการ และการลงทุนในประเทศ

อุปสรรค

ปญหาการสูรบระหวางชนกลุมนอย ความขัดแยงของรัฐตางๆ กับรัฐบาลกลาง สงผล กระทบตอการเขาไปลงทุน การคา การขนสงในหลายพื้นที่ของประเทศ กฎระเบียบทางการคามีการเปลี่ยนแปลงบอย การปฏิบัติงานของหนวยราชการมีความ ลาชา ขาดการประสานงานที่ดีระหวางหนวยงานราชการดวยกัน ขาดระบบการจัดเก็บขอมูลที่ถูกตองและมีประสิทธิภาพ ทําใหขาดขอมูลสนับสนุนการ วางแผนการคาและการลงทุน มีมาตรการกีดกันทางการคา เชน มาตรการขอใบอนุญาตนําเขา (Import Licensing)


5.3

อุตสาหกรรม / ธุรกิจไทยที่มีศักยภาพและโอกาสในเมียนมา จากจุดแข็ง จุดออน ตลอดจนโอกาสและอุปสรรคของการคาการลงทุนในเมียนมา ประกอบกับการที่

รัฐบาลมีนโยบายสงเสริมใหมีการลงทุนจากตางประเทศ โดยการเปดเสรีดานการลงทุนเพิ่มขึ้นจากในอดีต รวมทั้งผลประโยชนที่จะไดรับจากการเขาไปลงทุนแลว ทําใหเมียนมาเปนประเทศที่มีศักยภาพและไดรับความ นาสนใจในการลงทุนจากตางประเทศ สําหรับอุตสาหกรรม / ธุรกิจไทยที่มีศักยภาพและโอกาสในเมียนมา มี ดังนี้

อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม เมี ย นมาเป น อี ก ปร ะเ ทศ ที่ น าล ง ทุ น ใ น

นํ าเข าทุ กชนิ ด ยกเว น อาวุ ธ ยุ ทโธปกรณ สํ าหรั บ

อุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอและเครื่ อ งนุ ง ห ม สํ า หรั บ

กลุมประเทศพัฒนานอยที่สุด 50 ประเทศ นับตั้งแต

ผูประกอบการที่พยายามมองหาฐานการผลิตเพื่ อ

วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2013 เปนตนไป หลังจากที่

เพิ่มโอกาสทางการคาและรักษาความอยูรอดของ

เมียนมาโดนตัดสิทธิ GSP มาตั้งแตป ค.ศ. 1997 จะ

ธุรกิจ

ช ว ยสนั บ สนุ น ให อุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอและเสื้ อ ผ า สําเร็จรูปเติบโตไดอยางรวดเร็ว และผูประกอบการ

อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม เปนหนึ่ง

ไทยสามารถใชสิทธิสะสมถิ่นกําเนิดสินคากับ เมียน

ในสินคาหรืออุตสาหกรรมที่อยูใน "ยุทธศาสตรการ

มาภายใต ร ะบบ GSP ของสหภาพยุ โ รปได ตั้ งแต

สงออกแหงชาติ" ของเมียนมา รวมทั้งการที่สหภาพ

วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2014 เปนตนไป เชนกัน

ยุโรปกลับมาใหสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร (GSP) แก เ มี ย นมา ซึ่ ง GSP เป น ระบบสิ ท ธิ พิ เ ศษทาง

ดังนั้นทําใหเมียนมาเปนประเทศที่นาลงทุนใน

ศุ ล กากรที่ ป ระเทศพั ฒ นาแล ว ให แ ก สิ น ค า ที่ มี

อุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอและเครื่ อ งนุ ง ห ม สํ า หรั บ

แหล ง กํ า เนิ ด ในประเทศกํ า ลั ง พั ฒ นา โดยการ

ผูประกอบการที่พยายามมองหาฐานการผลิตเพื่ อ

ลดหย อ นหรื อ ยกเว น ภาษี นํ า เข า แก สิ น ค า ในข าย

เพิ่มโอกาสทางการคาและรักษาความอยูรอดของ

ได รั บ สิ ท ธิ ซึ่ ง สิ ท ธิ GSP ที่ เ มี ย นมาได รั บ คื น นั้ น

ธุรกิจ ซึ่งผูประกอบการไทยสามารถลงทุนโดยการ

เป น GSP ระบบ Everything But Arms (EBAs) เ

ร ว มทุ น กั บ นั ก ธุ ร กิ จ ท อ งถิ่ น ในเมี ย นมา เพื่ อ ลด

ป น สิ ท ธิ พิ เ ศษปลอดภาษี แ ละปลอดโควต าสิ น ค า

ต น ทุ น ด า นการขนส ง และขยายตลาดได อ ย า งมี

Page | 6


ประสิ ท ธิ ภ าพในระยะยาว ทั้ ง นี้ แม ว า ค า จ า ง

สูภาคใตของเมียนมา ซึ่งสามารถเขาไปสูพื้นที่ทาง

แรงงานในเมียนมาจะต่ํ ากวาไทย และไดรับสิ ทธิ

เศรษฐกิจที่สําคัญในอนาคตของเมียนมา คือ ภาค

ประโยชนทางภาษีก็ตาม แตในเมียนมายังมีปญหา

ตะนาวศรี (Thanintaryi Division) ที่ประกอบดวย

ด า นระบบสาธารณู ป โภค ต น ทุ น การขนส ง และ

เมืองแหงศักยภาพทางเศรษฐกิจในอนาคต ไดแก

ตนทุนการเชาที่ดินในอัตราที่สูง ปจจัยเหลาเปนสิ่ง

ทวาย มะริด และเกาะสอง และที่สําคัญไปกวานั้น

ที่ นั ก ลงทุ น ต อ งพิ จ ารณาด ว ย โดยนั ก ลงทุ น หรื อ

เมืองหลักอยางผาอัน ยังถูกรายลอมไปดวยพื้ น ที่

ผูประกอบการอาจเขาไปลงทุนในเขตอุตสาหกรรม

อนาคตทางเศรษฐกิ จ ของเมี ย นมาทั้ ง สิ้ น และ

อื่นๆ นอกเหนือจากเมืองใหญอยางยางกุง เชน ใน

สามารถเดิ น ทางเข าจากชายแดนไทยในจั ง หวั ด

เมื อ งผาอั น รั ฐ กะเหรี่ ย ง ซึ่ ง เป น ศู น ย ก ลาง

ตากได

อุตสาหกรรมของเมียนมาตอนใต เปนเสมือนประตู

อุตสาหกรรมผลิตกระแสไฟฟา ปญหาการขาดแคลนไฟฟา เปนหนึ่งในปญหา

ป จ จุ บั น อุ ต สาหกรรมผลิ ต กระแสไฟฟ า ของ

ของผูประกอบการหรือนักลงทุนที่เขาไปลงทุน ใน

เมียนมาอยูภายใตกฎหมายไฟฟาฉบับใหมป ค.ศ.

เมียนมา ปจจุบันเมียนมาขาดแคลนกระแสไฟฟา

2013 ซึ่งรัฐสภาเมียนมาไดประกาศใชเมื่อวันที่ 27

อยูมากและมีปญหาไฟฟาดับบอย สงผลใหรัฐบาล

ตุ ล าคม ค.ศ. 2013 หนึ่ ง ในสาระสํ า คั ญ ของ

เมี ย นมาต องเร งปฏิ รู ป และพั ฒ นาระบบไฟฟ าใน

กฎหมายฉบับใหมนี้ คือ การจัดตั้งคณะกรรมการ

ประเทศใหมีศักยภาพมากขึ้น โดยตั้งเปาเพิ่มกําลัง

กํ า กั บ กิ จ ก า ร ไ ฟ ฟ า (Electricity Regulatory

การผลิ ต กระแสไฟฟ า เป น 27,000 เมกะวั ต ต

Commission: ERC) เพื่ อ กํ า กั บ ดู แ ลบริ ษั ท และ

ภายในป ค.ศ. 2573 จึ ง นั บ เป น โอกาสของ

หนวยงานที่ผูกขาดกิจการไฟฟาในประเทศ รวมทั้ง

ผู ป ระกอบการ ไ ทยใ น การเ ข าไ ปล ง ทุ น ใ น

ให อํ า นาจแก MOEP รั ฐ บาลท อ งถิ่ น เขตการ

อุตสาหกรรมผลิตกระแสไฟฟา ในภาคมัณฑะเลย

ป ก ค ร อ ง ต น เ อ ง (Self-Administrated Zone:

รัฐคะฉิ่น และรัฐกะเหรี่ยง และภาคตะนาวศรีซึ่งอยู

SAZ) แล ะหน ว ยการปกครองตนเอง (Self-

ใกลกับไทย

Administrated Divisions : SAD) ใ น ก า ร อ อ ก ใบอนุญาตหรืออนุมัติการลงทุนใหแกนิติบุคคลที่จะ เขามาดําเนินกิจการที่เกี่ยวของกับพลังงานไฟฟา


ทั้ ง ด า นการผลิ ต กระแสไฟฟ า และระบบสายส ง

ในโครงการโรงไฟฟาไดโดยไมจํากัดขนาด และนัก

กระแสไฟฟ า รวมถึ ง การจํ า หน า ยกระแสไฟฟ า

ลงทุนตางชาติ สามารถถื อหุน ได ทั้งหมด (รอยละ

ขณะเดี ย วกั น กฎหมายไฟฟ าฉบั บ ใหม ยั งมี ค วาม

100) ในโครงการโรงไฟฟ า พลั ง น้ํ า และโรงไฟฟ า

ยืดหยุนและใหสิทธิประโยชนแกนักลงทุนตางชาติ

ถานหิน โดยตองไดรับความเห็นชอบจาก MOEP

มากขึ้น อนุญาตใหนักลงทุนตางชาติสามารถลงทุน

กอน

อุตสาหกรรมอาหารทะเลแปรรูปและหองเย็น เมี ย นมามี ท รั พ ยากรทางทะเลอุ ด มสมบู ร ณ

ตางๆ ที่ไมใชภาษีมากมาย จึงสงผลใหการสงออก

โดยเฉพาะมะริดซึ่งเปนศูนยกลางประมงของเมียน

ไปยังกลุมประเทศสหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกาทํา

มา ป จ จุ บั น โรงงานผลิ ต อาหารทะเลแปรรู ป ใน

ไดยากขึ้น เนื่องจากประเทศเหลานี้มีมาตรการกีด

เมี ย นมาเริ่ ม มี ก ารพั ฒ นามากยิ่ ง ขึ้ น เพื่ อ ให ไ ด

กันที่เขมงวด และอาหารทะเลแปรรูปมีกฎระเบียบ

มาตรฐานการผลิ ต จึ ง จํ า เป น ต อ งยกระดั บ

ที่เขมงวดเกี่ยวกับเรื่องของบรรจุภัณฑและการผลิต

เทคโนโลยี ก ารผลิ ต เพื่ อ ได รั บ การรั บ รอง GMP

ที่ ต อ ง ไ ด ม า ต ร ฐ า น สํ า ห รั บ ก า ร ส ง อ อ ก

(Good Manufacturing Practice) แล ะ HACCP (Hazard Analysis and Critical Control Point)

น อ ก จ า ก นี้ ก า ร ที่ เ มี ย น ม า ไ ด รั บ คื น

ใ น ก า ร ส ง อ อ ก ไ ป ยั ง ต ล า ด ต า ง ป ร ะ เ ท ศ

สิ ทธิ GSP จากสหภาพยุ โ รป จะส งผลกระทบต อ

การแปรรู ป อาหารทะเลและอุ ต สาหกรรม

การแขงขันทางดานราคาอยางมากสําหรับ สิ น ค า

เกี่ ย วเนื่ อ งเป น อุ ต สาหกรรมที่ มี โ อกาสสํ า หรั บ

ประเภทเดี ย วกั น โดยเฉพาะในสิ น ค าเกษตรและ

ผูประกอบการไทยในเมียนมา เชน โรงงานอาหาร

สินคาประมง เชน กุงเนื่องจากมีสวนตางของอัตรา

ทะเลกระป องและแปรรูป อุตสาหกรรมห องเย็ น

ภาษี MFN (Most Favored Nation Treatment)

โรงงานแชแข็งอาหารทะเล และ ธุรกิจอาหารแช

แ ล ะ อั ต ร า ภ า ษี ภ า ย ใ ต สิ ท ธิ

เยือกแข็ง อยางไรก็ตาม สินคาประมงจัดเปนสินคา

ประโยชน GSP (Margin of Preference) สูง1 ปร

ที่มีการแขงขันสูงในตลาดโลก จึงมีมาตรการกีดกัน

ะกอบกั บ ต น ทุ น แรงงานและต น ทุ น การผลิ ต ใน

1

สืบคนจาก www.fisheries.go.th/foreign/images/Word/gsp.doc (2557)

Page | 8


เมียนมายังอยูในระดับต่ําทําใหสวนตางของราคา

ยอดขนาดการลงทุนไปสูการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําได

ยิ่งสูงมากขึ้น

ไม ว าจะเป น การเลี้ ย งกุ งทะเล หรื อปลาทะเล ที่ ผูประกอบการหรือนักลงทุนมีความชํานาญและมี

ดังนั้นการไปลงทุนในอุตสาหกรรมอาหารทะเล

ประสบการณในอุตสาหกรรมประเภทนี้

แช แ ข็ ง จึ ง เป น โอกาสอย า งยิ่ ง ของนั ก ลงทุ น โดยเฉพาะนั กลงทุ น ไทย และสามารถพั ฒ นาต อ

อุตสาหกรรมกอสรางและวัสดุกอสราง การก อ สร า งเป น สิ่ ง ที่ เ ติ บ โตพร อ มกั บ การ

การคาและการลงทุน ซึ่งอุตสาหกรรมกอสรางและ

ขยายตัวและการเติบโตทางเศรษฐกิจ ซึ่งเมียนมา

วัสดุกอสราง ยังรวมไปถึงเทคนิคการกอสราง การ

ตองมีการพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐาน ทั้งในดาน

ออกแบบ และสถาป ต ยกรรมรู ป แบบใหม ด ว ย

ระบบไฟฟ า น้ํ า ประปา การขนส ง ทางถนน

นอกจากนี้ ก ลุ ม สิ น ค า วั ส ดุ ก อ สร า ง เช น วั ส ดุ

สนามบิ น รถไฟ และเทคโนโลยี ส ารสนเทศ เช น

กอสราง อิฐ กระเบื้อง ตาขายพลาสติก สีทาถนน

ร ะ บ บ อิ น เ ต อ ร เ น็ ต ซึ่ ง เ ป น โ อ ก า ส ข อ ง

ทาบ า น เคมี ภั ณ ฑ ทํ า ความสะอาด และเครื่ อ ง

ผูประกอบการไทยที่จะเขาไปลงทุน พัฒนาระบบ

สุขภัณฑที่มีศักยภาพในการสงออกไปยังเมืองใหญ

โครงสรางพื้นฐานและสาธารณูปโภคในพื้นที่ตางๆ

ที่ มี ก ารขยายตั ว ของการก อ สร า ง อาทิ ย า งกุ ง

เพื่ อ รองรั บ การเชื่ อ มโยงและพั ฒ นาเศรษฐกิ จ

มัณฑะเลย และเมียวดี เปนตน

อุตสาหกรรมแปรรูปสินคาเกษตร การแปรรูปสินคาเกษตร จะไดประโยชน

เปนอุตสาหกรรมที่ผูประกอบการไทยมีศั กยภาพ

จากนโยบายรั ฐ บาลเมี ย นมา ที่ อ ยู ร ะหว า งการ

ดังนั้นจึงเปนโอกาสของผูประกอบการไทยในการ

พั ฒ นานโยบายด านเกษตรอย างมาก เช น ขยาย

ไปลงทุนในเมียนมา เชน การลงทุนในโรงสีขาวซึ่ง

ระบบชลประทานภาครัฐ และสงเสริมใหเกษตรกร

ปจจุบันมีประมาณ 1,000 โรง ทั้งประเทศ การตั้ง

ขยายพื้ น ที่ เ พาะปลู ก พื ช เกษตร ตลอดจนการ

โรงงานสกัดน้ํามันปาลม ซึ่งปจจุบันยังมีอยูนอย ทํา

สงเสริมใหตางชาติเขามาลงทุนในทุกดานเกี่ยวกับ

ให เ มี ย นมาต อ งมี ก ารนํ า เข า น้ํ า มั น พื ช ซึ่ ง ราคา

ภาคเกษตร อุตสาหกรรมการแปรรูปสินคาเกษตร


น้ํามันพืชในเมียนมาค อนข างแพง รวมทั้งการตั้ ง

ปรั บ ปรุ ง พื้ น ที่ เ กษตรใหม ๆ การจั ด หาแหล ง

โรงงานน้ําตาล เปนตน

ชลประทานและเทคโนโลยี ส มั ย ใหม เพื่ อพั ฒ นา สินคาใหทันสมัยและมีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น

นอกจากนี้ ยังมีสินคาที่เกี่ยวกับการเกษตรที่มี โอกาสของไทย ได แ ก เครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ

ดั งนั้ น จึ ง มีความจํ าเป น ต อ งจั ด หาสิ น ค าเกี่ ย วกั บ การเกษตรเขามาชวย

เครื่ อ งจั ก รกลการเกษตรขนาดเล็ ก การพั ฒ นา

บริการดานการทองเที่ยวและธุรกิจที่เกี่ยวของ เ มี ย น ม า มี ส ถ า น ที่ ท อ ง เ ที่ ย ว ใ น เ ชิ ง

ระลึก และอีกมากมายหลายสินคา หรือแมแตการ

ประวั ติ ศ าสตร วั ฒ นธรรม ธรรมชาติ แ ละเชิ ง

เข า ไปสนั บ สนุ น ในด า นการบริ ก ารตามแหล ง

อนุ รั กษ ห ลากหลาย ทั้ งสถานที่ ทองเที่ ย วที่ ไดขึ้น

ท อ งเที่ ย ว แหล ง พั ก ผ อ นสํ า คั ญ ๆ การให ก าร

ทะเบียนใหเปนเมืองมรดกโลก (World Heritage

บริ การ เรื่ องการตลาด การโฆษณา การทํ า การ

Sites) อาทิ เจดียหมื่นองค หาดงาปาลีที่เปนแหลง

ประชาสัมพันธ การจัดแพ็กเกจทองเที่ยว และอีก

ทองเที่ยวที่มีชื่อเสียงของประเทศ ทะเลสาบอินเล

มากมาย สิ่ ง เหล า นี้ ล ว นแล ว แต เ ป น โอกาสของ

เมืองทาตอนซึ่งมีชาวมอญเป นชนเผาแรกที่ ส ร าง

ผูประกอบการไทยเชนกัน

อารยธรรมขึ้นเปนเอกลักษณของตน และสถานที่ สํ า คั ญ ท า ง ศ า ส น า เ จ ดี ย ช เ ว ด า ก อ ง

นอกจากธุรกิจหรืออุตสาหกรรมขางตน ยังมี

พระธาตุ อิน ทร แขวน ซึ่ งเป น สถานที่ ทองเที่ ย วที่

ธุรกิจอื่นๆ ที่มีศักยภาพในการขยายตัวไปตามการ

สามารถเที่ยวไดตลอดทั้งป ดังนั้นการเขาไปลงทุน

เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ของเมี ย นมา ไม ว า จะเป น

ในกิจการดานการทองเที่ยวและธุรกิจที่เกี่ยวของ

ธุรกิจดานแฟชั่นความสวยความงาม และอาหาร

เชน โรงแรม รีสอรท และรานอาหาร จึงยังมีโอกาส

เสริ ม สถานที่ อ อกกํ า ลั ง กาย ฟ ต เนส หรื อ โยคะ

มากสําหรับผูประกอบการไทย และยังรวมถึงธุรกิจ

ธุ ร กิ จ สื่ อ ธุ ร กิ จ โฆษณาและการจั ด กิ จ กรรม

ในลั ก ษณะของการ “สนั บ สนุ น ” เช น การส ง

ประชาสั มพั น ธ ห รื อส งเสริ มการตลาดต างๆ การ

ผลิตภัณฑเขาไปขาย โดยเฉพาะผลิตภัณฑสปา ที่

จั ด ตั้ ง สถาบั น ฝ ก อบรมวิ ช าชี พ บริ ก ารทาง

พบว า เป น ที่ ชื่ น ชอบของนั ก ท อ งเที่ ย วอย า งมาก

การแพทย สุ ข ภาพ คลิ นิ ก รั ก ษาโรคเฉพาะทาง

หรืออุปกรณที่เกี่ยวของกับโรงแรม อาหาร ของที่

โรงพยาบาลศู น ย สุ ข ภาพ เพื่ อ ตอบสนองความ

Page | 10


ตองการมีสุขภาพดีของประชากรเมียนมาที่ตื่นตัว ในเรื่องสุขภาพและมีกําลังซื้อสูง

5.4

อัตราภาษีที่สําคัญ เมื่ อวั น ที่ 2 เมษายน ค.ศ. 2015 เมี ย นมาได

1) ภาษีการคา (Commercial Tax)

เริ่มใชกฎหมายภาษีฉบับป ค.ศ. 2015 ซึ่งปรับปรุง

เมียนมาไมมีระบบจัดเก็บภาษีมูลคาเพิ่ม แตมี

จากกฎหมายภาษีป ค.ศ. 2014 โดยมีผลยอนหลัง

การเก็บภาษี การคาจากการค าสิ นค าและบริ ก าร

ตั้งแตวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 20152 ซึ่งมีสาระสําคัญ

แทน โดยสวนของสินคาเรียกเก็บจากผูผลิตสินคา

ดังนี้

ส ว นของการบริ การเรี ย กเก็ บ จากผูให บ ริการ ซึ่ ง กฎหมายใหม ไ ด ใ ห อํ า นาจกรมศุ ล กากรเป น ผู มี อํานาจเก็บภาษีตั้งแตรอยละ 5 - 200 และยกเวน ในสวนของกิจกรรมดานการบริการ

ตัวอยางอัตราภาษีการคาที่สําคัญ สินคา บุหรี่ ใบยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล ประเภทสุราดีกรีสูงและเบียร สินคาประเภทอัญมณี เชน หยก ทับทิม เพชร และพลอย น้ํามันเบนซิน ดีเซล และน้ํามันเครื่องบิน กาซธรรมชาติ

สินคาที่ไดรับยกเวนภาษีการคา

อัตราภาษี รอยละ 120 รอยละ 60 รอยละ 15 รอยละ 10 รอยละ 8

กฎหมายภาษี ฉบั บ ใหม มีก ารปรั บ ลดจํ า นวน รายการสิ น ค าที่ ได รั บ ยกเว น ภาษี การค าลงเหลือ

2 สํานักงานสงเสริมการคาระหวางประเทศ ณ

กรุงยางกุง เมียนมา (2558)


79 รายการ เช น ข าวเปลื อก ข าวสาร งา น้ํ ามั น

คอมพิวเตอร โทรศัพทเคลื่อนที่ ไขสบู และอาหาร

ปาลม ผัก ออย กระเทียม หัวหอม ยางพารา ปุย

สั ต ว ทั้ ง ใ น รู ป แ บ บ ส ด แ ล ะ แ ห ง เ ป น ต น

และอุปกรณและเครื่องจักรดานการเกษตร เปนตน

ขณะเดี ย วกั น ก็ ไ ด เ พิ่ ม รายการสิ น ค า ที่ ไ ด รั บ การ

จากเดิ ม 84 รายการ ซึ่ ง สิ น ค า ที่ ถู ก ตั ด ออกจาก

ยกเว น ภาษี ก ารค า อาทิ ใบชาสดและแห ง

รายการสินคาที่ไดรับการยกเวนภาษีการคา อาทิ

รถดับเพลิง และรถบรรทุกศพ เปนตน

บริการที่ไดรับยกเวนภาษีการคา กฎหมายภาษีฉบับใหมมีการปรับลดประเภท

หิ น มี คาที่ ยั งไม ได เ จี ย ระไนจากร อยละ 30 เหลื อ

บริ ก ารที่ ไ ด รั บ การยกเว น ภาษี ก ารค า ลงเหลื อ

รอยละ 15 ในขณะที่เครื่องประดับมีคาปรับลดลง

23 รายการ จากเดิม 26 รายการ โดยบริการที่ไม

จากรอยละ 10 เหลือรอยละ 5 นอกจากนี้ยังมีการ

รวมอยูในรายการยกเวนภาษีการคา อาทิ บริการ

เ รี ย ก เ ก็ บ ภ า ษี ก า ร ค า สํ า ห รั บ ก า ร ส ง อ อ ก

ด านข อมู ล และเทคโนโลยี และบริ การ ด านการ

กระแสไฟฟาในอัตรารอยละ 8 ของรายไดจากการ

ขนสงสินคา ตองเสียภาษีการคาในอัตรารอยละ 5

สงออก

ของรายไดที่ไดรับ จากการใหบริ การ และบริการ ดานการกอสรางอาคารและการซื้อขายอาคารตอง

ทั้งนี้ เกณฑขั้นต่ําเพื่อรับสิทธิยกเวนภาษี

เสียภาษีการคาในอัตรารอยละ 3 ของรายไดจาก

การคา กฎหมายภาษีฉบับใหม ไดป รับเพิ่ มเกณฑ

การใหบริการ

ขั้นต่ําของมูลคาการผลิตและการจําหนายสินคาใน

สินคาสงออก กฎหมายภาษี ฉ บั บ ใหม ไ ด ป รั บ ลดอั ต รา ภาษีการคาสําหรับสินคาสงออกประเภทหยกและ

เมียนมา รวมทั้งการบริการและการคาที่จะไดรับ สิทธิยกเวนภาษีการคาจาก 15,000,000 จั๊ต เปน 20,000,000 จั๊ต

2) ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา (Personal Income Tax) ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาเก็บจากชาวเมียนมา

(1) กรณี ช าวต า งชาติ ผู มี เ งิ น ได แ ละอยู อ าศั ย ใน

และชาวต า งชาติ ที่ มี เ งิ น ได ใ นเมี ย นมา ดั ง นี้

เมียนมามากกวา 182 วันตอป (นับ 1 เมษายน - 31 มีนาคม)

Page | 12


(2) กรณี ช าวต า งชาติ ที่ อ าศั ย อยู ใ นเมี ย นมา มากกว า 90 วั น จะต อ งมี ใ บรั บ รองการจด

ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาเก็บในอัตรารอยละ 0

ทะเบียน คนตางชาติ (Foreign Registration

- 25 แต มี ก ารเพิ่ ม รายการหั ก ลดหย อ นภาษี ค า

Certificate : FRC)

อุปการะเลี้ย งดู บิด ามารดา 1,000,000 จั๊ตตอคน

(3) กรณีชาวตางชาติที่อยูในเมียนมาไมถึง 90 วัน

และปรั บ เพิ่ มการหั กลดหย อนภาษี คูส มรสที่ ไม มี

และชาวเมี ย นมาที่ มี เ งิ น ได จ ากการทํ า งาน

เงิ น ได เ ป น 1,000,000 จั๊ ต ต อ คน และบุ ต รเป น

ภายในประเทศ

500,000 จั๊ตตอคน (จากเดิม 300,000 จั๊ตตอคน)

3) ภาษีเงินไดนิติบุคคล (Corporate Income Tax) เกณฑตองเสียภาษี เงินไดนิติบุคคล มีดังนี้ (1) นิติบุคคลที่มีถิ่นอยูในเมียนมา (Resident) หากบริ ษั ท จดทะเบี ย นภายใต ก ฎหมาย Myanmar Company Act มี ห น า ที่ ต อ ง เสียภาษีจากรายไดที่ไดรับทั้งในและนอก ประเทศเมียนมา (2) นิ ติ บุ ค คลที่ ไ ม ไ ด มี ถิ่ น ที่ อ ยู ใ นเมี ย นมา (Non-Resident) คื อ บ ริ ษั ท ที่ ไ ม ไ ด จ ด ทะเบี ย นภายใต Myanmar Company

5.5

Act แต มี ร ายได เ กิ ด ขึ้ น ในเมี ย นมา ให สาขาของบริษัทที่ มีรายได เสียภาษี อั ต รา รอยละ 25 (3) ภาษีกําไรหุน (Capital Gains Tax) อัตรา รอยละ 10 (4) รายได จ ากอสั ง หาริ ม ทรั พ ย (Income from property) รายได จ ากการให เ ช า ที่ดิน อาคารและสํานักงาน ใชอัตราภาษี เงินไดนิติบุคคลรอยละ 10

คาใชจายในการดําเนินธุรกิจ

1) อัตราคาจาง / คาแรง

2015 เปนตนไป โดยคาแรงขั้นต่ําอยูที่ 3,600 จั๊ต

รัฐบาลเมียนมาอนุมัติปรับขึ้นคาแรงขั้นต่ําเปน

(ประมาณ 100 บาท หรือ 2.80 ดอลลารสหรัฐ 3)

ครั้งแรก มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 กันยายน ค.ศ.

ตอการทํางานวันละ 8 ชั่วโมง ครอบคลุมแรงงาน

3 อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2558 1,283.0

จั๊ตตอ 1 ดอลลารสหรัฐ (http://www.cbm.gov.mm/)


ทุกภาคสวนและอุตสาหกรรม ยกเวนกิจการขนาด

62 ดอลลาร ส หรั ฐ ) ต อ เดื อ น เป น 120,000 จั๊ ต

เล็ กที่ มีลู กจ า งไม ถึง 15 คน ทั้ งนี้ ไม ได มี การระบุ

(ราว 98 ดอลลารสหรัฐ) ตอเดือน

คาตอบแทนพิเศษในกรณีทํางานลวงเวลา ในขณะที่ เมื่ อ วั น ที่ 1 เมษายน ค.ศ. 2015

การพิจารณาอัตราเงินเดือนของชาวเมียนมา

กระทรวงการคลั ง ของเมี ย นมาปรั บ เพิ่ ม อั ต รา

ในปจจุบันขึ้นอยูกับประสบการณการทํางานและ

เงินเดือนขาราชการจากเดิม 75,000 จั๊ต (ประมาณ

ประเภทสาขาอาชีพเปนหลัก ดังนี้

อาชีพ แรงงานไรฝมือ นักบัญชี แรงงานมีฝมือ วิศวกรการผลิต ผูจัดการโรงงาน

อัตราเงินเดือน (ดอลลารสหรัฐ) 90 150 300 700 800

ที่มา : Tratus Research อางอิงใน Myanmar Investment Update ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย (2558)

2) คาเชาที่ดิน/โรงงานและสํานักงาน โรงงานและสํานักงาน

อัตราคาเชา (ดอลลารสหรัฐตอตารางเมตรตอเดือน) โรงงานในนิคมอุตสาหกรรม 2.2 - เขตอุตสาหกรรม Hlaing Tharyar 2.2 - เขตอุตสาหกรรม Shwe Pyi Thar 1.67 - เขตอุตสาหกรรม South Dagon สํานักงาน 43 - เขตยางกุงและยานเศรษฐกิจ 25 - นอกเขตเมือง

Page | 14


ที่มา : Tratus Research อางอิงใน Myanmar Investment Update ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย (2558)

3) คาใชจายดานสาธารณูปโภค คากระแสไฟฟา บริษัททองถิ่น  สําหรับอยูอาศัย  สําหรับทําธุรกิจ บริษัทตางชาติ  สําหรับอยูอาศัย  สําหรับทําธุรกิจ

อัตราคาใชจาย (ดอลลารสหรัฐตอกิโลวัตต) 0.038 0.083 0.12 0.12

ที่มา : Tratus Research อางอิงใน Myanmar Investment Update ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย (2558)

คาน้ําประปา สําหรับครัวเรือน สําหรับธุรกิจ

อัตราคาใชจาย (ดอลลารสหรัฐตอลูกบาศกเมตร) 0.44 0.88

ที่มา : JETRO อางอิงใน Myanmar Investment Update ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย (2558)


คากาซ สําหรับครัวเรือน สําหรับธุรกิจ

อัตราคาใชจาย (ดอลลารสหรัฐตอ 1 พันลูกบาศกฟุต) 8.61 8.61

ที่มา : JETRO อางอิงใน Myanmar Investment Update ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย (2558)

คาโทรศัพทพื้นฐาน คาติดตั้ง คาโทรศัพทพื้นฐาน - โทรศัพทพื้นฐาน ภายในจังหวัดเดียวกัน โทรศัพททางไกล (ในประเทศ) คาโทรศัพทพื้นฐาน – โทรศัพทเคลื่อนที่ ภายในจังหวัดเดียวกัน โทรศัพททางไกล (ในประเทศ)

อัตราคาใชจาย 650 ดอลลารสหรัฐ 0.015 ดอลลารสหรัฐตอนาที 0.025 ดอลลารสหรัฐตอนาที 0.025 ดอลลารสหรัฐตอนาที 0.025 ดอลลารสหรัฐตอนาที

ที่มา : Tratus Research อางอิงใน Myanmar Investment Update ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย (2558)

Page | 16


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.