Ca222 week03 design of the original publication, ethic and law for journalism

Page 1

นศ 222

การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ 2

[CA 222 Printed Media Design 2]

รวมรวม/เรียบเรียง โดย อาจารยณัฏฐพงษ สายพิณ

สาขาวิชานิเทศศาสตร์ บูรณาการ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ โจ้

การเตรียมตนฉบับสิ่งพิมพ และกฎหมาย สําหรับงานวารสารศาสตร • • • • • •

ความสําคัญของต้ นฉบับและการเตรี ยมต้ นฉบับ แนวคิดเกี่ยวกับการเขียนเชิงวารสารศาสตร์ การบรรณาธิกรเนื ้อหาสําหรับสือ่ สิง่ พิมพ์ การบรรณาธิกรภาพสําหรับสือ่ สิง่ พิมพ์ การสัง่ ตัวพิมพ์และการพิสจู น์อกั ษร กฎหมายสือ่ สิง่ พิมพ์ตามพระราช บัญญัติจดแจ้ งการพิมพ์ พ.ศ.2550


การเตรียมตนฉบับและกฎหมายสําหรับงานวารสารศาสตร |

1

การเตรียมขอมูลและตนฉบับสื่อสิ่งพิมพ ในการเตรี ยมข้ อมูลและต้ นฉบับสําหรับผลิตสิง่ พิมพ์หรื อหนังสือสักเล่ม ต้ องผ่านกระบวนการคัดสรรเนื ้อหา เพื่อรวบรวม และเรี ยบเรี ยงออกมาเป็ นต้ นฉบับตามนโยบายและวัตถุประสงค์ที่ได้ กําหนดไว้ ก่อนการผลิต ซึง่ เมื่อได้ ต้นฉบับที่ผา่ นการพิจารณา และตรวจสอบแล้ ว จะสามารถนําไปสูข่ นตอนการผลิ ั้ ตได้ ตอ่ ไป ในการออกแบบภาพประกอบและตัวอักษรให้ สอดคล้ องกับเนื ้อหา และกลุม่ เป้าหมาย ซึง่ การจะให้ ได้ มาซึง่ ความถูกต้ องข้ อมูลนัน้ ต้ องผ่านการพิสจู น์อกั ษรก่อนนําไปออกแบบและผลิตเป็ นรูปเล่ม

การบรรณาธิกรสําหรับสื่อสิ่งพิมพ ความหมาย คําว่า "บรรณาธิกร" โดยทัว่ ไปมักเขียนว่า "บรรณาธิกรณ์" ทังนี ้ ้ มีนกั วิชาการหลายท่านอธิบายว่า คําว่าบรรณาธิกรณ์มา จากคําบาลีวา่ "บรรณ" รวมกับคําว่า "อธิกรณ์" คําว่า บรรณ หมายถึงหนังสือ คําว่า อธิกรณ์ หมายถึงเหตุ โทษ คดี เรื่ องราว ดังนัน้ คําว่าบรรณาธิกรณ์จึงหมายถึง เรื่ องราวที่เกี่ยวกับหนังสือ ซึง่ จะเห็นว่าเป็ นคําที่กว้ างขวางมาก เพราะไม่วา่ จะเป็ นเรื่ องอะไรที่ เกี่ยวข้ องกับหนังสือ ก็เรี ยกว่าบรรณาธิกรณ์ได้ ทงสิ ั ้ ้น ส่วนคําว่า "บรรณาธิกร" ตามพจนานุกรม ฉบับบัณฑิตราชสถาน พ.ศ. 2525 คําว่าบรรณาธิกร เป็ นคําโบราณ หมายถึง การรวบรวมและจัดเลือกเฟ้ นเรื่ องลงพิมพ์ จะเห็นว่าคํา ๆ นี ้น่าจะตรงกับคําว่า Editing มากกว่า อย่างไรก็ดี ในวงการวารสารศาสตร์ ก็นิยมใช้ ทงั ้ 2 คํา โดยให้ ความหมายที่เหมือนกันว่าตรงกับคําว่า Editing ใน ภาษาอังกฤษ หมายถึง การเตรี ยมการตรวจแก้ ปรับปรุงต้ นฉบับ การคัดเลือกเรื่ อง การคัดเลือกอักษรพิมพ์ การพิสจู น์อกั ษร การ พาดหัวข่าว การเขียนชื่อเรื่ อง การใช้ ภาพ และการวางรูปแบบการเข้ าหน้ า จะเห็นว่า การบรรณาธิกรก็คือกระบวนการเชื่อมต่อระหว่างการเขียนเรื่ องและการเผยแพร่ออกไป เป็ นกระบวนการที่ทํา ให้ เรื่ องซึง่ เป็ นวัตถุดิบนันกลายสภาพไปอยู ้ บ่ นสือ่ ที่จะส่งถึงผู้อา่ นได้ นนั่ เอง บรรณาธิการ หมายความว่า บุคคลซึง่ รับผิดชอบในการจัดทําตรวจแก้ คัดเลือก หรื อควบคุมบทประพันธ์ หรื อสิง่ อื่นใน หนังสือพิมพ์ ความสําคัญของบรรณาธิกรสื่อสิ่งพิมพ์ สิง่ พิมพ์ ในปั จจุบนั ถ้ าเทียบกับในอดีตแล้ วนับว่าพัฒนาไปมาก ตังแต่ ้ ขนตอนการผลิ ั้ ต การจัดจําหน่ายจนมาถึงมือของ ผู้อา่ น อีกทังเนื ้ ้อหาสาระก็มีมากมายหลากหลายประเภทในเราได้ เลือกอ่านกันนับไม่ถ้วน ไม่วา่ จะเป็ นหนังสือประเภท ตําราเรี ยน ในสาขาหรื อแขนงต่างๆ แล้ วยังมีหนังสือประเภทหนังสือพิมพ์ นิตยสาร นวนิยาย เรื่ องสัน้ สารคดี ชีวประวัติ ซุบซิบดารา ฯลฯ มีทงั ้ ที่เป็ นภาษาของเราเองและที่แปลมาจากภาษาต่างประเทศ ให้ เราได้ อา่ นกัน โดยคุณองอาจ จิระอร (บก.อํานวยการสํานักพิมพ์อมริ นทร์ ฯ) กล่าวไว้ ใน การอบรมเรื่ องการหาต้ นฉบับและนักเขียนในปี ที่ผา่ นมาว่าจํานวนหนังสือที่ออกใหม่เพิ่มขึ ้นทุกๆ วัน มากถึง 2,000 เล่มต่อเดือน


การเตรียมตนฉบับและกฎหมายสําหรับงานวารสารศาสตร |

2

เป็ นที่นา่ ดีใจแทนนักอ่านทุกท่านที่มีหนังสือให้ เลือกซื ้อเลือกอ่านกันมากมายขนาดนี ้ แต่จะมีสกั กี่คนที่จะเลือกอ่านและ ในสิง่ ที่เลือกอ่านนันไม่ ้ ร้ ูวา่ จะมีสาระมากน้ อยแค่ไหน เพราะหนังสือที่ผลิตออกมานันก็ ้ มาก มีทงที ั ้ ่ได้ มาตรฐาน และไม่ได้ มาตรฐาน ในเรื่ องรูปแบบและเนื ้อหา จะเป็ นประโยชน์หรื ออาจจะเป็ นการมอมเมาให้ ผ้ อู า่ นหลงผิด หากผู้อา่ นยังมีวฒ ุ ิภาวะยังน้ อย ไม่ สามารถพิจารณาได้ วา่ ดีหรื อไม่ดีอย่างไร อาจจะนําไปสูก่ ารเลียนแบบ เมื่อเราเข้ าไปในร้ านหนังสือในแต่ละที่จะเห็นว่า หนังสือส่วน ใหญ่จะเป็ นหนังสือที่ไม่คอ่ ยมีสาระ ผู้ผลิตเห็นว่าหนังสือประเภทไหนขายดี ก็พากันผลิตหนังสือประเภทนันออกมามาก ้ โดยไม่ คํานึงถึงประโยชน์ที่ผ้ อู า่ นจะได้ รับ ฉะนัน้ การผลิ ตหนังสือทีด่ ีมีคณ ุ ภาพได้ จํ าเป็ นต้องอาศัย บรรณาธิ การ เพราะบรรณาธิ การจะเป็ นบุคคลซึ่ งรับผิ ดชอบใน การจัดทําตรวจแก้ คัดเลือก หรื อควบคุมบทประพันธ์ หนังสือ วารสาร นิ ตยสาร หรื อสิ่ งอืน่ ในหนังสือพิ มพ์ ความสําคัญของการบรรณาธิ กร คือ การอ่านต้นฉบับอย่างละเอียดแบบ General reader เพือ่ การตรวจข้อเท็จจริ งและ ตรวจภาษา ขัดเกลาให้ถูกต้องตามแบบแผนการสือ่ สารหรื อตามไวยากรณ์เป็ นสําคัญ และมิ ได้ม่งุ ทีก่ ารแก้ไขเปลีย่ นแปลงสํานวน หรื อลีลาการเขี ยนของผูเ้ ขี ยน แต่จะคงความเป็ นแบบฉบับของผูเ้ ขี ยนไว้ นอกจากนี ้ การบรรณาธิ กรอาจจะช่วยขจัดข้อความทีห่ มิ่ น ประมาท และข้อความทีเ่ ข้าข่ายละเมิ ดลิ ขสิ ทธิ์ ก็ได้อีกด้วย ความรู้พนื ้ ฐานสําหรับงานบรรณาธิการ เรื่ องที่บรรณาธิการต้ องหาความรู้เพื่อเป็ นการเตียมตัว หรื อต้ องฝึ กฝนให้ ชํานาญได้ แก่ 1. วิชาการ เมื่อบรรณาธิการจะต้ องตรวจต้ นฉบับงานวิชาการในสาขาใด จะต้ องอ่านหนังสือวิชานันเพิ ้ ่มเติม การอ่านใน วิชาช่วยให้ ประเมินได้ วา่ ต้ นฉบับชิ ้นนันมี ้ ประเด็นสําคัญที่มีคา่ ควรจัดพิมพ์ในขณะนันหรื ้ อไม่ ส่วนการอ่านเรื่ องทัว่ ไปจะทําให้ ผ้ ู รอบรู้เหตุการณ์ ความเคลือ่ นไหวของวงการอื่นๆ และสภาวะสังคม ซึง่ จะมีสว่ นช่วยในการตัดสินใจจัดพิมพ์ รวมทังต้ ้ องใช้ ความ คิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชานันช่ ้ วยพิจารณา 2. ภาษา ควรเลือกอ่านภาษาในข้ อเขียนที่ใช้ ภาษาดี วรรณกร รมคลาสสิก หนังสือที่ได้ รับรางวัลในทางการใช้ ภาษา รวมทังหาโอกาสอยู ้ ใ่ นแวดวงของผู้ที่ใช้ ภาษาถูกต้ อง 3. รู้จกั ผู้อา่ น เนื ้อหาและท่วงทํานองการเขียนมีสว่ นอย่างมากในการกําหนดหรื อกําจัดกลุม่ ผู้อา่ น 4. เทคนิควิธีการผลิตสิง่ พิมพ์ ควรรู้จกั ขันตอนและวิ ้ ธีการเบื ้องต้ นพอที่จะพิจารณาให้ ความเห็นและประสานงานกับผู้ พิมพ์ได้ 5. กฎหมายและระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการสร้ างสรรค์งานเขียน การแปลหรื อดัดแปลง การไปเผยแพร่ เรื่ องสิทธิ การละเมิดสิทธิการคุ้มครองโดยกฎหมายรวมทังการเปลี ้ ย่ นแปลงของกฎหมายดังกล่าว 6. การตลาด บรรณาธิการควรรู้เรื่ องแวดวงการตลาดสิง่ พิมพ์อย่างครบวงจร เพราะเกี่ยวข้ องกับความอยูร่ อดของธุรกิจ การบริ การ เป็ นความรู้ที่จําเป็ นสําหรับบรรณาธิการ ทังระดั ้ บบริ หารและระดับปฏิบตั ิการ


การเตรียมตนฉบับและกฎหมายสําหรับงานวารสารศาสตร |

3

ขั้นตอนการบรรณาธิกร บรรณาธิการต้ อง ทําการบรรณาธิกรทังเนื ้ ้อหาและภาพสําหรับที่จะนํามาใช้ ผลิตสิง่ พิมพ์ตา่ ง ๆ ซึง่ ประกอบไปด้ วย ขันตอนดั ้ งต่อไปนี ้ 1. ติดต่อผู้เขียนเพื่อเขียนต้ นฉบับ 2. ทําตางรางแผนงานให้ ผ้ เู ขียน 3. ประชุมกับผู้เขียนการสร้ าง outline 4. จัดหาข้ อมูล รูปภาพ เพื่อการบรรณาธิกร 5. รับต้ นฉบับจากผู้เขียน เริ่ มงานบรรณาธิกร 6. เมื่อต้ นฉบับเข้ า เราเริ่ มอ่าน และวางแผนการออกแบบเนื ้อหาและรูปเล่ม สร้ าง icon และ สัญลักษณ์ตา่ งๆ 7. ประชุมกับฝ่ ายที่เกี่ยวข้ อง คือ บรรณาธิการ Art และ Marketing 8. ตรวจต้ นฉบับ เพื่อดูความถูกต้ องของภาษา และข้ อมูล ความน่าเชื่อถือของแหล่งข้ อมูล 9. ปรัปรุงแก้ ไข รวมทังพิ ้ สจู น์อกั ษรอีก 3-4 ครัง้ 10. ส่งงานต่อไปที่งาน Prepress และโรงพิมพ์ตอ่ ไป ระดับของการบรรณาธิกรต้ นฉบับ งานของบรรณาธิการโดยปกติต้องทํางานร่วมกับบุคคลหลายฝ่ าย ซึง่ มีรายละเอียดที่แตกต่างกันไป ในที่นี ้จะขอกล่าวถึง เฉพาะในส่วนงานที่เกี่ยวข้ อง หรื อเป็ นงานหลักของบรร ณธิการต้ นฉบับก่อน นัง่ คืองานตรวจต้ นฉบับหรื องานบรรณาธิกรต้ นฉบับ โดยสามารถแบ่งได้ ดังนี ้ 1. การพิสูจน์ อักษร (Proof Reading) นับว่าเป็ นงานส่วนหนึง่ ของบรรณาธิการ ที่ต้องตรวจต้ นฉบับให้ มีความถูกต้ องโดยเฉพาะการเขียน สะกดคํา และวรรค ตอน โดยปกติงานพิสจู น์อกั ษรอาจแยกหรื อรวมอยูใ่ นกองบรรณาธิการ หรื อแม้ แต่บางสํานักพิมพ์ บรรณาธิการอาจต้ อง ทําหน้ าที่พิสจู น์อกั ษรด้ วย โดยปกติหนังสือหรื อสิง่ พิมพ์ทกุ ประเภทต้ องดําเนินการอย่างน้ อยก่อนพิมพ์เผยแพร่คือการ พิสจู น์อกั ษร 2. การปรับปรุ งต้ นฉบับ(Copy Editing) นอกจากงานที่ต้องดําเนินการด้ านความถูกต้ องทางภาษาทังการใช้ ้ และโครงสร้ างทางภาษาแล้ ว รูปแบบที่ต้องใช้ แบบ เดียวกันทังเล่ ้ ม เช่น รูปแบบการแบ่งเนื ้อหาที่ใช้ เป็ นบท หรื อเป็ น เรื่ อง หรื อรูปแบบที่เป็ นสไตล์ของสํานักพิมพ์ หรื อของ ผู้เขียน 3. การพัฒนาต้ นฉบับ (Substantive editing) หรื อบางครัง้ เรี ยกว่า การบรรณาธิกรเนื ้อหา หรื อ การบรรณาธิกรโครงสร้ าง นอกจากต้ องบรรณาธิกรใน 2 ขันแรกด้ ้ วย แล้ ว การบรรณาธิกรในระดับนี ้ อาจดําเนินงานตังแต่ ้ การวางแผนการผลิตหนังสือ หรื อต้ นฉบับ จํานวนเล่มใน 1 ชุด หรื อ จํานวนชุดที่ต้องการ การวางโครงสร้ างเนื ้อหา รูปแบบการนําเสนอ


การเตรียมตนฉบับและกฎหมายสําหรับงานวารสารศาสตร |

4

นอกงานนี ้สิง่ ที่เป็ นเป้าหมายของหนังสือก็อาจทําให้ ระดับของงานบรรณาธิกรมีความต้ องการในระดับที่แตกต่างกัน เช่น

• นวนิยาย หรือ เรื่องสัน้

อาจต้องการเพียงในระดับ พิ สูจน์อกั ษร หรื อมากทีส่ ดุ คือระดับการปรับปรุงต้นฉบับ เนื่องจากลักษณะของงานเขียน นวนิยาย หรื อเรื่ องสัน้ มีความต้ องการสํานวน หรื อภาษาที่เป็ นภาษาของนักเขียน ที่จะมีลกั ษณะเฉพาะตัว ดังนัน้ งาน ต้ นฉบับประเภทนี ้ บรรณาธิ การอาจให้ความสนใจในเรื ่องของความถูกต้องของการใช้ภาษาเป็ นหลักเท่านัน้

• นิตยสาร วารสาร

สือ่ สิง่ พิมพ์ประเภทนี ้ ต้ องการ concept ที่เป็ น House Style ของนิตยสาร หรื อ วารสารเล่มนัน้ อาจเริ่ มต้ นในครัง้ แรก ด้ วย ระดับการพัฒนาต้ นฉบับ (Substantive editing) แต่หลังจากนันฉบั ้ บต่อๆ ไป บรรณาธิ การอาจดําเนิ นการในระดับ ปรับปรุงต้นฉบับ(Copy Editing) เพือ่ รักษาความเป็ นเอกลักษณ์ต่อไป

• หนังสือเรียน หนังสือสําหรับเด็ก

โดยปกติมกั เป็ นในระดับของการพัฒนาต้ นฉบับ เนื่องจากหนังสือประเภทนี ้อาจต้ องการความรู้ หรื อต้ องการสือ่ สารเพื่อ การเรี ยนรู้ และเป็ นหนังสือที่มีอายุในตลาดค่อนข้ างยาว จึงต้ องมีการวางแผนการผลิตที่ต้องคํานึงถึงหลายประการ เช่น หลักสูตร หลักการเรี ยนรู้ คติสอนใจ และสิง่ ที่สาํ คัญคือความถูกต้ อง ชัดเจนของเนื ้อหา และข้ อมูล หรื อความบันเทิงที่ ต้ องการสอดแทรกคติบางประการ ทําให้ ระดับของการบรรณาธิ การต้องมุ่งไปตามจุดหมายของหนังสือในเล่มนัน้ หรื อใน ชุดนัน้

การเตรียมขอมูลและตนฉบับสื่อสิ่งพิมพ การทําภาพประกอบ

ภาพประกอบหนังสือไม่วา่ จะเป็ นภาพถ่ายหรื อภาพที่วาดขึ ้นมาใหม่ควรมีลกั ษณะสอดคล้ องกับเนื ้อหาของหนังสือในเล่ม เป็ นสําคัญ ทังนี ้ ้รูปแบบลวดลายหรื อสไตล์นนจะขึ ั้ ้นอยูก่ บั กลุม่ เป้าหมายเป็ นสําคัญ นักออกแบบจึงจําเป็ นต้ องเข้ าใจถึง วัตถุประสงค์ของหนังสือเล่มนัน้ โดยใช้ หลักจิตวิทยามาช่วยจัดวางองค์ประกอบและสือ่ ความหมายของเนื ้อหาหรื อข้ อความในหน้ า นันๆ ้ ให้ ดงึ ดูดและน่าสนใจได้

การเลือกตัวอักษร

ตัวอักษรหรื อตัวพิมพ์เป็ นเครื่ องมือสําคัญที่ทําให้ การพิมพ์แพร่หลาย เป็ นอุปกรณ์ลาํ ดับแรกของกระบวนการผลิตสิง่ พิมพ์ ที่ช่วยนํา “สาร” ไปยังผู้อา่ น ซึง่ ปั จจุบนั นี ้ตัวพิมพ์ถกู ออกแบบและพัฒนาขึ ้นสําหรับคอมพิวเตอร์ อย่างมากมาย การเลือกใช้ ตวั พิมพ์ ควรพิจารณาลักษณะของตัวพิมพ์ อันได้ แก่ รูปลักษณ์ ขนาด ความกว้ างของตัวพิมพ์ และระยะบรรทัดของตัวพิมพ์ ดังนัน้ ตัวพิมพ์ จึงมีความสําคัญในฐานะเป็ นเครื่ องมือในการทําให้ ภาษาดํารงคงอยู่ ช่วยดึงดูดสายตาผู้อา่ น ช่วยสร้ างเอกลักษณ์และบุคลิก เฉพาะให้ กบั สิง่ พิมพ์ ช่วยในการจัดลําดับความสําคัญของเนื ้อหาที่นําเสนอ และช่วยในการจัดหน้ าหนังสือ การเลือกตัวพิมพ์คือการกําหนดตัวพิมพ์เนื ้อหาประเภทต่าง ๆ ที่นําเสนอในสือ่ สิง่ พิมพ์ เพื่อให้ สอื่ สารความหมายไปยัง ผู้อา่ นได้ อย่างชัดเจน แบ่งเป็ นการสัง่ ตัวพิมพ์สาํ หรับข่าว บทความ และคําบรรยายภาพ ซึง่ การสัง่ ตัวพิมพ์ในแต่ละประเภท ต้ อง พิจารณาจากโครงสร้ างการเขียน ความต้ องการเน้ นข้ อความสําคัญ และการตกแต่งหน้ าสิง่ พิมพ์ให้ สวยงามน่าอ่านเป็ นหลัก


การเตรียมตนฉบับและกฎหมายสําหรับงานวารสารศาสตร |

5

ในการเลือกตัวพิมพ์นนั ้ รูปลักษณ์อกั ษร ถือเป็ นสิง่ สําคัญเพราะ รูปลักษณ์อกั ษรนัน้ หมายถึง ลักษณะรูปร่างหน้ าตาของ ฟ้ อนท์หรื อตัวอักษรแต่ละชุด โดยมีความแตกต่างกันออกไปตามการออกแบบ มีชื่อเรี ยกเป็ นของตัวเอง ซึง่ ในฟอนท์ชดุ เดียวกันจะ มีการออกแบบหน้ าตัวพิมพ์เป็ นแบบย่อย ๆ ได้ แก่ ตัวปกติ (normal) ตัวเอน (italic) ตัวหน้ า (bold) ตัวหนาเอน (italic bold) ตัวบาง (light) ตัวบางพิเศษ (extra light) นอกจากนี ้ยังมีตวั พิมพ์ที่มีรูปแบบคล้ ายลายมือเขียน (script) ฯลฯ ทังนี ้ ้เพื่อให้ เลือกใช้ ให้ เหมาะกับงานพิมพ์ ไม่วา่ ตัวพิมพ์จะมีแบบให้ เลือกมากมายเพียงใด การเลือกใช้ มกั ใช้ ใน 2 ลักษณะ ได้ แก่ 1. ตัวพิมพ์ เนือ้ เรื่อง เป็ นตัวพิมพ์ที่ใช้ พิมพ์ตวั เนื ้อหา หรื อเนื ้อเรื่ อง (body text) ที่มีข้อความจํานนมาก มักเป็ น ตัวอักษรที่มีหวั กลมโปร่ง สวยงามและอ่านง่าย 2. ตัวพิมพ์ ตกแต่ ง เป็ นตัวพิมพ์ที่มีลกั ษณะพิเศษต่างจากตัวพิมพ์ปกติ เนื่องจากเป็ นการประดิษฐ์ ให้ สวยงามหรื อ สร้ างความแปลกตา เหมาะกับการทําพาดหัว ทําตัวโปรย หรื อใช้ เน้ นข้ อความสัน้ ๆ เพื่อตกแต่งจัดหน้ า หรื องาน พิมพ์พิเศษต่าง ๆ เช่น โปสเตอร์ การ์ ด เป็ นต้ น ลักษณะของตัวพิมพ์ แบบตัวพิมพ์มีรูปแบบให้ เลือกใช้ มากมาย เรี ยกแบบตัวพิมพ์นี ้ว่า “ฟ้ อนท์ (Font)” สํานักพิมพ์บางแห่งจะมีการกําหนด แบบตัวพิมพ์เฉพาะของตนขึ ้น หรื ออาจใช้ ฟ้อนท์ใดฟ้ อนท์หนึง่ ที่มีในคอมพิวเตอร์ ก็ได้ อย่างไรก็ตาม มีสงิ่ ที่ควรทําความเข้ าใจ เกี่ยวกับลักษณะพื ้นฐานของการใช้ ตวั พิมพ์ ดังนี ้ 1. รูปแบบตัวอักษร ในการเลือกตัวอักษรที่เหมาะสมจะช่วยให้ งานออกแบบกราฟิ กนัน้ สือ่ ความหมายได้ อย่างเต็มที่ ซึง่ ปั จจุบนั มีรูปแบบ ตัวอักษรตัวพิมพ์มากมาย อาจแบ่งได้ ดงั นี ้ ตัวอักษรแบบมีเชิง เป็ นอักษรที่มีเส้ นยื่นของฐานและปลายตัวอักษรในทางราบที่เรี ยกว่า Serif ลักษณะตัวอักษรจะมีเส้ น ตัวอักษรเป็ นแบบหนาบางไม่เท่ากัน ตัวอักษรแบบนี ้บราวเซอร์ หลายชนิดจะใช้ ตัวอักษรแบบนี ้เป็ นหลัก เช่น Times New Roman, Garamond, Georgia และ New Century Schoolbook ตัวอักษรประเภทนี ้เหมาะจะใช้ เป็ นรายละเอียดเนื ้อหา แต่ตวั อักษร ประเภทนี ้ไม่คอ่ ยเหมาะจะใช้ กบั ตัวหนา (bold)

แสดงรู ปแบบตัวอักษรแบบมี เชิ ง (Serif)


การเตรียมตนฉบับและกฎหมายสําหรับงานวารสารศาสตร |

6

ตัวอักษรแบบไม่มีเชิง (Sans Serif) เป็ นลักษณะของตัวอักษรอีกแบบหนึง่ ที่รูปแบบเรี ยบง่าย เป็ นทางการ ไม่มีเชิง หมายถึงไม่มีเส้ นยื่นออกมาจากฐาน และปลายของตัวอักษรในทางราบ ได้ แก่ Arial, Helvetica, Verdana, Geneva และ Univers ตัวอักษรประเภทนี ้เหมาะที่จะใช้ กบั หัวข้ อหรื อ ตัวอักษรขนาดใหญ่ แต่ไม่เหมาะสมกับลักษณะเอียง

แสดงรู ปแบบตัวอักษรแบบไม่มีเชิ ง (Sans Serif)

ตัวอักษรแบบตัวเขียน (Script) ตัวอักษรแบบนี ้เน้ นให้ ตวั อักษรมีลกั ษณะคล้ ายกับการเขียนด้ วยลายมือ ซึง่ มีหางโยง ต่อเนื่องระหว่างตัวอักษร มีขนาดเส้ นอักษรหนาบางแตกต่างกัน นิยมทําให้ เอียงเล็กน้ อย

แสดงรู ปแบบตัวอักษรแบบตัวเขี ยน (Script)

ตัวอักษรแบบตัวอาลักษณ์ (Text Letter) เป็ นตัวอักษรแบบโรมันแบบตัวเขียนอีกลักษณะหนึง่ มีลกั ษณะเป็ นแบบ ประดิษฐ์ มีเส้ นตังดํ ้ าหนา ภายในตัวอักษรมีเส้ นหนาบางคล้ ายกับการเขียนด้ วยพูก่ นั หรื อปากกาปลายตัด

แสดงรู ปแบบตัวอักษรแบบตัวอาลักษณ์ (Text Letter)

ตัวอักษรแบบประดิษฐ์ (Display Type) หรื อตัวอักษรตัวพิมพ์ขนาดใหญ่ มีลกั ษณะเด่น คือ การออกแบบตกแต่ง ตัวอักษรให้ สวยงามเพื่อดึงดูดสายตา มีขนาดความหนาของเส้ นอักษรหนากว่าแบบอื่นๆ จึงนิยมใช้ เป็ นหัวเรื่ อง

แสดงรู ปแบบตัวอักษรแบบประดิ ษฐ์ (Display Type)


การเตรียมตนฉบับและกฎหมายสําหรับงานวารสารศาสตร |

7

ตัวอักษรแบบสมัยใหม่ (Modern Type) เป็ นตัวอักษรที่ประดิษฐ์ ขึ ้น มีลกั ษณะเรี ยบง่าย

แสดงรู ปแบบตัวอักษรแบบสมัยใหม่ (Modern Type)

2. ลักษณะและขนาดตัวพิมพ์ ลักษณะของตัวพิมพ์ (Type Character) จากรูปแบบตัวอักษรที่หลากหลาย การสร้ างแบบอักษรก็ยงั มีความแตกต่างที่หลายรูปแบบ ทําให้ มีลกั ษณะเฉพาะของ ตัวอักษรเปลีย่ นแปลงไป เช่น ตัวเอน (Italic) ตัวหนา (Bold) ตัวธรรมดา (Normal) ตัวเส้ นขอบ (Outline) ตัวบางพิเศษ (Extra Light) ตัวหนาพิเศษ (Extra Bold) ตัวแคบ (Condensed) ตัวดํา (Black) ตัวบาง (Light))

แสดงลักษณะตัวอักษรแบบต่าง ๆ ขนาดของตัวพิมพ์ (Size Type) ขนาดของตัวอักษรเป็ นการกําหนดขนาดที่เป็ นสัดส่วนความกว้ างและสูงและรูปร่างของตัวอักษร โดยเอาความสูงเป็ น หลักในการจัดขนาดเรี ยกว่า พอยต์ (Point) ขนาดตัวอักษรหัวเรื่ องมักใช้ ขนาดตังแต่ ้ 16 พอยต์ขึ ้นไป ส่วนขนาดของเนื ้อหาจะใช้ ขนาดประมาณ 6 พอยต์ถึง 16 พอยต์ แล้ วแต่ลกั ษณะของงาน 12 พอยต์ = 1 ไพก้ า 6 ไพก้ า = 1 นิ ้ว (2.5 ซ.ม.) 75 พอยต์ = 1 นิ ้ว ขนาดทางราบหรื อทางกว้ างของตัวอักษร เมื่อเรี ยงกันไปเป็ นคําหรื อความยาวใน 1 บรรทัด หรื อเรี ยกว่าเป็ น "ความยาว คอลัมน์" จะกําหนดเป็ นไพก้ า (Pica) การเลือกขนาดพอยต์ ต้ องคํานึงถึงการอ่านง่ายเป็ นหลัก กล่าวคือ ต้ องพิจารณาถึงกลุม่ ผู้อา่ นด้ วยว่า เป็ นกลุม่ อายุระดับ ใด เช่น ผู้สงู อายุ หรื อเด็ก อาจต้ องเลือกใช้ ตวั พิมพ์ที่มีขนาดใหญ่กว่าปกติ นอกจากนี ้ หากต้ องเลือกใช้ ตวั พิมพ์ที่ตา่ งฟอนท์กนั ใน ขนาดพอยต์เท่ากัน อาจต้ องระวังด้ วยว่าเมือมองดูด้วยสายตาจะรู้สกึ เหมือนว่าขนาดของตัวพิมพ์ไม่เท่ากัน


การเตรียมตนฉบับและกฎหมายสําหรับงานวารสารศาสตร |

8

3. ระยะช่ องไฟและการจัดวางตัวอักษร ระยะช่ องไฟของตัวอักษร (Spacing) การจัดระยะช่องไฟตัวอักษรมีความสําคัญมาก เนื่องจากถ้ ามีการออกแบบที่เหมาะสม และสวยงามแล้ วจะทําให้ ผ้ ดู อู า่ น ง่าย สบายตา ชวนอ่าน การจัดช่องไฟมีหลักการใช้ อยู่ 3 ข้ อดังนี ้ 1. ระยะช่องไฟระหว่างอักษร (Letter Spacing) เป็ นการกําหนดช่องไฟระหว่างตัวอักษรแต่ละตัว ที่จะต้ องมีระยะห่างกันพอ งาม ไม่ติดหรื อห่างกันเกินไป เราควรจัดช่องไฟโดยคํานึงถึงปริ มาตรที่มีความสมดุลโดยประมาณในระหว่างตัวอักษร หรื อ เรี ยกว่า ปริ มาตรความสมดุลทางสายตา 2. ระยะช่องไฟระหว่างคํา ( Word Spacing) จะเว้ นระยะระหว่างคําประมาณ 1 ตัวอักษรปกติ ถ้ าห่างเกินไปจะทําให้ อา่ น ยาก และชิดเกินไปจะทําให้ ขาดความงาม 3. ระยะช่องไฟระหว่างบรรทัด ( Line Spacing) ปกติจะใช้ ระยะห่าง 0-3 พอยต์ หลักสําคัญในการกําหนดระยะระหว่าง บรรทัดให้ วดั ส่วนสูง และส่วนตํ่าสุดของตัวอักษร เมื่อจัดวางบนบรรทัดแล้ วต้ องไม่ซ้อนทับกัน

ภาพแสดงระยะช่องไฟของตัวอักษร (Spacing) แบบการจัดตัวอักษร (Type Composition) การจัดเนื ้อหาของตัวอักษรมีการจัดด้ วยกันหลายวิธี ดังนี ้ จัดชิดซ้ าย หรื อ เสมอหน้ า จะมีปลายด้ านขวาไม่สมํ่าเสมอ เนื่องจากตัวอักษรในแต่ละบรรทัด มีความยาวไม่ เท่ากัน แต่ผ้ อู า่ นก็ไม่สามารถหาจุดเริ่ มต้ นของแต่ละบรรทัดได้ ง่าย จัดชิดขวา หรื อเสมอหลัง ถึงแม้ รูปแบบการจัดตัวอักษรแบบนี ้จะน่าสนใจ แต่จดุ เริ่ มต้ นในแต่ละบรรทัดที่ไม่ สมํ่าเสมอ ทําให้ อา่ นยาก ผู้อา่ นต้ องหยุดชะงัก เพื่อหาจุดเริ่ มต้ นของแต่ละบรรทัด จัดกึ่งกลาง จะใช้ ได้ ดีกบั ข้ อมูลที่มีปริ มาณไม่มากนัก และเหมาะกับรูปแบบที่เป็ นทางการ เช่น คําประกาศ หรื อ คําเชื ้อเชิญ เป็ นต้ น จัดชิดขอบซ้ ายและขวา หรื อเสมอหน้ าและเสมอหลัง เมื่อจัดตัวอักษรแบบ justify จะมีพื ้นที่วา่ งเกิดขึ ้นระหว่างคํา ข้ อดีคือเกิดความสวยงามและเป็ นระเบียบในคอลัมน์ที่ได้ จดั วางเลย์เอ้ าท์ไว้ สิง่ ที่ควรระวังคือ เกิดช่องว่าง ซึง่ จะรบกวนความ สะดวกในการอ่าน แต่เป็ นสิง่ ยากที่จะหลีกเลีย่ ง ในคอลัมน์ที่มีขนาดแคบ อย่างไรก็ตาม การกําหนดระยะและรูปแบบตัวอักษร ไม่ควรดูเฉพาะหน้ าตาความสวยงาม แต่ให้ พิจารณาถึงการอ่านง่าย เป็ นหลัก


การเตรียมตนฉบับและกฎหมายสําหรับงานวารสารศาสตร |

9

ความสําคัญของตัวพิมพ์ กับสิ่งพิมพ์ 1. เป็ นเครื่ องมือทําให้ ภาษาดํารงอยู่ 2. เป็ นสิง่ ดึงดูดสายตาผู้อา่ น 3. ช่วยสร้ างเอกลักษณ์และบุคลิกเฉพาะในสิง่ พิมพ์ 4. ช่วยในการจัดหน้ าสิง่ พิมพ์ (หนังสือ / นิตยสาร / หนังสือพิมพ์) 5. ช่วยจัดลําดับความสําคัญของเนื ้อหา ข้ อพิจารณาในการเลือกตัวพิมพ์ ไม่วา่ ตัวพิมพ์ที่เลือกจะใช้ ในการผลิตสิง่ พิมพ์ประเภทใดก็ตาม ทัง้ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร หรื อหนังสือเล่ม มีข้อพิจารณาที่ ต้ องคํานึงถึง ดังนี ้ 1. นโยบายสิ่งพิมพ์ สิง่ พิมพ์แต่ละประเภทจะมีวตั ถุประสงค์ในการนําเสนอที่ชดั เจน ทังยั ้ งแบ่งประเภทย่อยของเนื ้อหาได้ อีกเป็ น กลุม่ ๆ เช่น ข่าวบันเทิง ข่าวกีฬา วัยรุ่น ฯลฯ ทังนี ้ ้ หนังสือพิมพ์และนิตยสารควรเลือกตัวพิมพ์ที่มีลกั ษณะอ่านง่าย มีหวั และเส้ นขอบตัวอักษรที่ชดั เจน ขณะที่หนังสือพิมพ์บนั เทิงหรื อนิตยสารวัยรุ่น อาจใช้ ตวั พิมพ์ที่มีลกั ษณะเล่นลวดลาย ปลายตวัด ไม่ต้องมีหวั ก็ได้ แต่เน้ นให้ ดทู นั สมัย หรื อเข้ ากับลักษณะเนื ้อหาเป็ นหลัก 2. ผู้อ่าน เป็ นสิง่ สําคัญอันดับแรกที่ผ้ ผู ลิตสิง่ พิมพ์ต้องคํานึงถึงในลักษณะกลุม่ ผู้อา่ นของตน เพื่อนํามาเป็ นแนวทางใน การกําหนดรูปแบบตัวอักษรหรื อตัวพิมพ์ที่จะใช้ ต้ องทราบช่วงอายุ ระดับการศึกษา หรื อกลุม่ อาชีพ รวมถึงรสนิยมของ กลุม่ เป้าหมายเป็ นสําคัญ 3. ขนาดสิ่งพิมพ์ ขนาดสิง่ พิมพ์จะต้ องเลือกให้ เหมาะสม ถ้ าเป็ นพ็อกเก็ตบุ๊คขนาดตัวพิมพ์อาจมีขนาดเล็ก ขณะที่หนังสือเรี ยน จําเป็ นต้ องใช้ ขนาดใหญ่กว่า ขนาดตัวพิมพ์ก็จะมีขนาดโตตามไปด้ วย อย่างไรก็ตาม หลักการนี ้เป็ นที่ยกเว้ นสําหรับ หนังสือพิมพ์ เนื่องจากสิง่ พิมพ์ประเภทนี ้มุง่ เน้ นในการนําเสนอข่าวสารเป็ นหลัก การเลือกใช้ ตวั พิมพ์ขนาดเล็กจะทําให้ สามารถเสนอข่าวสารได้ หลายข่าว ฉะนันจึ ้ งไม่มีการคํานึงถึงขนาดของสิง่ พิมพ์เหมือนเช่นนิตยสารหรื อหนังสือเล่ม 4. ประเภทเนือ้ หา การเลือกตัวพิมพ์จะคํานึงถึงส่วนประกอบของข้ อเขียน ซึง่ มีจดุ เด่น หรื อจุดเน้ นที่ต้องให้ ความสําคัญมากน้ อย ต่างๆ กันไป เช่น ข่าวในหนังสือพิมพ์ จะมีสว่ นของพาดหัวข่าว ความนํา และเนื ้อข่าว ขณะที่บทความ จะมีสว่ นประกอบ ของชื่อบทความและเนื ้อเรื่ อง เป็ นต้ น หลักการเลือกตัวพิมพ์ เนื ้อหาทุกเรื่ องในสิง่ พิมพ์ เช่น หนังสือพิมพ์ หรื อนิตยสาร จะมีตวั พิมพ์ 2 ลักษณะ คือ ตัวพิมพ์เนื ้อเรื่ อง (body text) และ ตัวพิมพ์หวั ข่าว/หัวเรื่ อง (non-body text) ซึง่ มีหลักในการเลือกใช้ ดังนี ้ ตัวพิมพ์ เนือ้ เรื่อง หรือเรียกทั่วไปว่ า ตัวพืน้ เป็ นตัวพิมพ์ที่ใช้ ในข้ อความจํานวนมาก มีเกณฑ์ดงั นี ้


การเตรียมตนฉบับและกฎหมายสําหรับงานวารสารศาสตร |

10

1. ได้ มาตรฐาน มีตําแหน่งสระ พยัญชนะ วรรณยุกต์ ถูกต้ องตามอักขระไทย มีขนาด ความกว้ าง และระยะ บรรทัดที่ได้ เกณฑ์มาตรฐานสากล 2. อ่ านง่ าย ขนาดความกว้ างเหมาะสม หรื อใช้ ลกั ษณะฟอนท์มีหวั กลมโปร่ง 3. ใช้ สะดวก ควรพิจารณาเลือกฟอนท์ที่มีรูปแบบชุดตัวพิมพ์ครบถ้ วน เช่นมีทงภาษาไทยและภาษาอั ั้ งกฤษ มี รูปแบบทังตั ้ วเอน ตัวเอียง หรื อตัวหนา เป็ นต้ น 4. มีความจุของพืน้ ที่ ตัวพิมพ์แต่ละชุดมีความจุพื ้นที่พิมพ์ไม่เท่ากัน ระยะบรรทัดหรื อความห่างจึงแตกต่างกัน ดังนันต้ ้ องดูประเภทสิง่ พิมพ์ด้วยว่าต้ องการบรรจุเนื ้อหามากน้ อยเพียงใด 5. มีความสวยงาม ให้ พิจารณาถึงความกลมกลืนของรูปลักษณ์อกั ษรทังชุ ้ ด รวมทังความสมํ ้ ่าเสมอ สร้ างความ สบายตากับการอ่านได้ นาน ๆ ตัวพิมพ์ หัวเรื่อง เป็ นตัวพิมพ์ที่มีลกั ษณะพิเศษ เหมาะกับการใช้ พิมพ์ข้อความจํานวนน้ อย เช่น ชื่อเรื่ อง ชื่อบทความ หรื อทําเป็ นตัวโปรย เพื่อเน้ นข้ อความสําคัญในเนื ้อเรื่ อง ตัวพิมพ์ประเภทนี ้อาจใช้ ตวั พิมพ์เดียวกันกับตัวพื ้นก็ได้ หรื อเน้ นการทําให้ สะดุดตาด้ วยตัวที่ใหญ่ขึ ้น หรื อทําเป็ นตัวหนา พบมากในหนังสือพิมพ์ เช่นเพิ่มขนาดในส่วนพาดหัว 24-72 พอยต์ ความนําข่าวจะใช้ 16-18 พอยต์ สําหรับนิตยสาร ต้ องพิถีพิถนั มากกว่าหนังสือพิมพ์ เพื่อให้ หวั เรื่ องสามารถเรี ยกความสนใจและมีความสวยงามกลมกลืนไปกับเนื ้อหาด้ วย อาจมีข้อพิจารณา ดังนี ้ 1. มีบคุ ลิกชัดเจน 2. สือ่ สารความรู้สกึ ได้ ตรงกับเนื ้อหา เช่น เนื ้อหาน่ากลัว อาจเลือกรูปแบบตัวพิมพ์ที่มีลกั ษณะสยองขวัญ หรื อ เนื ้อหาเกี่ยวกับประเทศจีน เลือกรูปแบบตัวพิมพ์เป็ นอักษรคล้ ายๆ ตัวอักษรจีน เป็ นต้ น


การเตรียมตนฉบับและกฎหมายสําหรับงานวารสารศาสตร |

ตัวอย่ างรูปแบบการจัดหน้ าและการเลือกใช้ ตัวพิมพ์ ในการจัดหน้ าหนังสือ

11


การเตรียมตนฉบับและกฎหมายสําหรับงานวารสารศาสตร |

12


การเตรียมตนฉบับและกฎหมายสําหรับงานวารสารศาสตร |

13


การเตรียมตนฉบับและกฎหมายสําหรับงานวารสารศาสตร |

14

การพิสูจนอักษร(Proof Reading) ในยุคของเทคโนโลยีดิจิทลั ที่การผลิตเกือบทุกขันตอนกระทํ ้ าผ่านคอมพิวเตอร์ กระบวนการผลิตสิง่ พิมพ์จึงมีการปรับลด ขันตอนลงมาเป็ ้ นกระบวนการเดียวกันในปั จจุบนั นี ้ กล่าวคือ เมื่อต้ นฉบับข่าวและบทความต่าง ๆ ถูกส่งผ่านทางเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ มายังฝ่ ายบรรณาธิการ ในฝ่ ายนี ้จะทําหน้ าที่ให้ คําพาดหัวข่าว สัง่ ตัวพิมพ์ พิสจู น์อกั ษร ตกแต่งภาพ และจัดหน้ า ดังนัน้ ขันตอนที ้ ่ลดไปจากเดิมคือ การเรี ยงพิมพ์ อีกทังการสั ้ ง่ ตัวพิมพ์และการจัดหน้ าจะกระทําไปพร้ อมๆ กัน เสร็ จสิ ้นลงในจุด เดียวกัน โดยใช้ บคุ ลากรคนเดียวกัน การพิสจู น์อกั ษร หรื อ การปรู๊ฟ เป็ นการอ่านต้ นฉบับเพื่อตรวจแก้ การพิมพ์ให้ ถกู ต้ องที่สดุ ก่อนส่งเนื ้อหาทังหมดไปสู ้ ่ กระบวนการผลิตเป็ นรูปเล่ม โดยเน้ นการตรวจแก้ ไวยากรณ์และตรวจแก้ ข้อผิดพลาดของเนื ้อหา เช่น การสะกดคํา การใช้ เครื่ องหมายวรรคตอน การใช้ ตวั เลข การใช้ ตวั ย่อ เป็ นต้ น เพื่อให้ ข้อเขียนต่าง ๆ มีความถูกต้ องสมบูรณ์ อันเป็ นผลทําให้ สงิ่ พิมพ์มี คุณภาพน่าเชื่อถือ และเป็ นการสืบทอดหลักการ “ความถูกต้ อง” ของการใช้ ภาษา ความสําคัญในการพิสูจน์ อักษร มีดงั นี ้ 1. ทําให้ เนื ้อหามีความถูกต้ องสมบูรณ์ 2. ทําให้ สงิ่ พิมพ์มีคณ ุ ภาพ น่าเชื่อถือ 3. สืบทอดหลักการความถูกต้ องของภาษา

กฎหมายสื่อสิ่งพิมพตามพระราชบัญญัติจดแจงการพิมพ พ.ศ.2550 กว่าจะมาเป็ นพระราชบัญญัติจดแจ้ งการพิมพ์ฉบับนี ้ ผู้ประกอบวิชาชีพสือ่ ได้ ใช้ ความพยายามอย่างยิ่งเพื่อปลดแอก หนังสือพิมพ์จากการควบคุมอันเข้ มข้ นของรัฐนับตังแต่ ้ มีหนังสือพิมพ์เกิดขึ ้นในประเทศไทย รัฐได้ ใช้ อํานาจในการออกกฎหมาย และระเบียบต่างๆ มาควบคุมสือ่ ในทุกยุคทุกสมัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งพระราชบัญญัติการพิมพ์ พ.ศ. 2484 มีผลบังคับใช้ มา ยาวนานถึง 60 กว่าปี อํานาจรัฐสามารถควบคุมหนังสือพิมพ์อย่างเข้ มงวด ถือว่าเป็ นกฎหมายกระทบต่อเสรี ภาพและการทําหน้ าที่ ของหนังสือพิมพ์ ขัดต่อหลักการประชาธิปไตยและปฏิญญาสากลว่าด้ วยสิทธิมนุษยชน ซึง่ นานาชาติลงนามยอมรับข้ อตกลง ร่วมกัน ท้ ายที่สดุ การต่อสู้อนั ยาวนานเพื่อเรี ยกร้ องสิทธิและเสรี ภาพของหนังสือพิมพ์ได้ รับการตอบสนอง ที่ประชุมสภานิติ บัญญัติแห่งชาติ (สนช.) มี นายมีชยั ฤชุพนั ธุ์ ประธาน สนช. เป็ นประธานการประชุม มีมติเป็ นเอกฉันท์ 80 : 0 เสียง เห็นชอบร่าง พระราชบัญญัติจดแจ้ งการพิมพ์ ในวาระ 3 เพื่อประกาศใช้ เป็ นกฎหมายต่อไป ทังนี ้ ้ พระราชบัญญัติดงั กล่าวถือเป็ นการพลิก ประวัติศาสตร์ วงการสือ่ มวลชน รัฐประกาศยกเลิกพระราชบัญญัติดงั กล่าวถือเป็ นการพลิกประวัติศาสตร์ วงการสือ่ มวลชน รัฐ ประกาศยกเลิกพระราชบัญญัติการพิมพ์ พ.ศ.2484, 2485, 2488 รวมทัง้ คําสัง่ ประกาศคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินฉบับที่ 5 ลงวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 ซึง่ ถือเป็ นยาขมของสือ่ มวลชน เพราะให้ อํานาจเจ้ าหน้ าที่สงั่ ปิ ดหนังสือพิมพ์ได้ โดยไม่ต้องใช้ อํานาจ ศาล แล้ วประกาศใช้ พระราชบัญญัติจดแจ้ งการพิมพ์ พ.ศ.2550 แทน ประเด็นเสรี ภาพ : อํานวยความสะดวกมากกว่าควบคุมบังคับ ตอบสนองหลักการเสรี ภาพในการแสดงความคิดเห็นและ ความรับผิดชอบของหนังสือพิมพ์ พระราชบัญญัติจดแจ้ งการพิมพ์ พ.ศ. 2550 มีจดุ เด่นที่แตกต่างจากพระราชบัญญัติการพิมพ์ พ.ศ. 2484 หรื อ


การเตรียมตนฉบับและกฎหมายสําหรับงานวารสารศาสตร |

15

พระราชบัญญัติการพิมพ์ฉบับอื่นๆ ในประเด็นการสนับสนุนเสรี ภาพหนังสือพิมพ์และสือ่ สิง่ พิมพ์ รวมถึงหนังสือพิมพ์ออนไลน์และ สือ่ สิง่ พิมพ์ออนไลน์ในอนาคต มากกว่าการควบคุมบังคับ ตามอํานาจรัฐบาล ซึง่ ขัดต่อการรับรองสิทธิและเสรี ภาพของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย ตามระบอบประชาธิปไตย พระราชบัญญัติจดแจ้ งการพิมพ์ พ.ศ. 2550 มีหลักการคือ เพียงแค่ แจ้ งต่ อทางการให้ ทราบในการทํา หนังสือพิมพ์ หรือสื่อสิ่งพิมพ์ ต่างจากกฎหมายในอดีตตามพระราชบัญญัติ การพิมพ์ พ.ศ. 2484 ต้ องขออนุญาตต่อทางการใน การพิมพ์ เจ้ าของบรรณาธิการ บรรณาธิการผู้พิมพ์โฆษณาต้ องถูกสันติบาลตรวจสอบประวัติย้อนหลัง ก่อนได้ รับการอนุญาตให้ ทํา หนังสือพิมพ์หรื อสือ่ สิง่ พิมพ์ อันเนื่องมาจากรัฐบาลทุกยุคทุกสมัยต้ องการควบคุมสือ่ มวลชนอย่างเบ็ดเสร็ จ หนังสือพิมพ์เป็ น สือ่ มวลชนที่มีอิทธิพลทางความคิดของคนในสังคมสูงมาก อีกทังยั ้ งเป็ นผู้กําหนดวาระข่าวสาร ( Agenda setter) ของสังคม ย่อม ทําให้ ทกุ รัฐบาลต้ องใส่ใจในการควบคุม เพื่อไม่ให้ หนังสือพิมพ์วิพากษ์ วิจารณ์รัฐบาลจนสัน่ คลอนเสถียรภาพทางการเมือง พระราชบัญญัติฉบับนีจ้ ึงเปลี่ยนแนวคิดจากการควบคุม มาเป็ นส่ งเสริมเสรีภาพและอํานวยความสะดวกแก่ หนังสือพิมพ์ หากต้ องการลงโทษหนังสือพิมพ์ ภาครัฐและภาคประชาชนสามารถใช้ กฎหมายจํากัดเสรี ภาพ อาทิ ประมวล กฎหมายอาญาว่าด้ วยความรับผิดฐานหมิ่นประมาท ดูหมิ่น และประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์วา่ ด้ วยความรับผิดชอบเรื่ อง ละเมิดฟ้ องร้ องเอาผิดหนังสือพิมพ์ ทังยั ้ งใช้ กระบวนการทางสภาการหนังสือพิมพ์ หรื อกระบวนการเครื อข่ายผู้บริ โภคในการ ร้ องเรี ยนความผิดของหนังสือพิมพ์ ซึง่ เพียงพอต่อการจํากัดสิทธิและเอาผิดได้ ประเด็นหลักการสําคัญที่พระราชบัญญัติจดแจ้ งการพิมพ์ พ.ศ. 2550 เด่ นอีกประการหนึ่งคือ ความรับผิดชอบ ของหนังสือพิมพ์ เมื่อยกเลิกการพิมพ์ หรื อเปลีย่ นแปลงเจ้ าของ บรรณาธิการ หรื อบรรณาธิการผู้พิมพ์โฆษณาของหนังสือพิมพ์ หรื อสือ่ สิง่ พิมพ์ ผู้พิมพ์โฆษณาจะต้ องแจ้ งต่อเจ้ าหน้ าที่ให้ ทราบภายใน 30 วัน นับจากวันยกเลิกกิจการ ทําให้ ฐานข้ อมูลของ หนังสือพิมพ์ปรับปรุงทันสมัยตลอดเวลา ติดตาม ตรวจสอบได้ แตกต่างจากอดีตที่เมื่อมีผ้ ปู ระสงค์ทําหนังสือพิมพ์หรื อสือ่ สิง่ พิมพ์ก็ จะต้ องขออนุญาตจด “ชื่อหนังสือพิมพ์” หรื อ “หัวหนังสือพิมพ์” จดทิ ้งไว้ เฉยๆ ก็ได้ บางครัง้ ชื่อหนังสือพิมพ์ซํ ้ากัน บางชื่อฉบับเปิ ด / ปิ ดเฉพาะวาระ จึงทําให้ เจ้ าหน้ าที่หรื อประชาชนไม่สามารถแยกแยะติดตามตรวจสอบสือ่ มวลชนกับผู้ที่แฝงตัวในนามสือ่ มวลชน ออกจากกันได้ ความรับผิดชอบของสือ่ มวลชนเช่นนี ้เป็ นความโปร่งใส เปิ ดโอกาสให้ สงั คมตรวจสอบการทํางานตามระบบ ประชาธิปไตย ย่อมทําให้ วิชาชีพได้ รับความเชื่อถือศรัทธาจากประชาชนระยะยาว สาระสําคัญ พระราชบัญญัติจดแจ้ งการพิมพ์ พ.ศ.2550 มีรายละเอียดใหม่ดงั นี ้ หมวดทัว่ ไป มาตรา 5 พระราชบัญญัตินี ้ไม่ใช้ บงั คับกับสิง่ พิมพ์ดงั ต่อไปนี ้ คือ (1) สิ่ งพิ มพ์ของส่วนราชการ หรื อหน่วยงานของรัฐ (2) บัตร บัตรอวยพร ตราสาร สิ่ งพิ มพ์ และรายงานซึ่ งใช้กนั ตามปกติ ในการส่วนตัว การสังคม การเมื อง และการค้า หรื อสิ่ งพิ มพ์ทีม่ ี อายุงานใช้งานสัน้ เช่น แผ่นพับ หรื อแผ่นโฆษณา (3) สมุดบันทึก สมุดแบบฝึ กหัด หรื อสมุดภาพระบายสี (4) วิ ทยานิ พนธ์ เอกสารคําบรรยาย หลักสูตรการเรี ยนการสอน หรื อสิ่ งพิ มพ์อืน่ ทํานองเดียวกันทีเ่ ผยแพร่ ในสถานศึกษา มาตรา 5 วงเล็บ (4) แตกต่างจากพระราชบัญญัติการพิมพ์ พ.ศ.2484 มาตรา 4 และมาตรา 6 ประเด็นดังกล่าวเกิดขึ ้นจาก กรณีศกึ ษา สภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติได้ รับเรื่ องร้ องเรี ยนจากนักศึกษาภาควิชานิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ซึง่ เป็ นผู้จดั ทําหนังสือพิมพ์ “ลานมะพร้ าว” หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบตั ิการของนักศึกษาว่าถูกตํารวจ ในพื ้นที่เตือนให้ หนังสือพิมพ์ลานมะพร้ าวจดทะเบียนให้ ถกู ต้ องตามาพระราชบัญญัติการพิมพ์ พ.ศ.2484 และตังข้ ้ อสังเกตว่า


การเตรียมตนฉบับและกฎหมายสําหรับงานวารสารศาสตร |

16

อาจจะเกิดจากการนําเสนอข่าวตํารวจในท้ องที่ตงด่ ั ้ านตรวจโดยรอบมหาวิทยาลัยบูรพา เป็ นเหตุให้ ตํารวจไม่พอใจ และการ นําเสนอข่าวนิสติ ล่ารายชื่อคัดค้ านการนํามหาวิทยาลัยออกนอกระบบ (เว็บไซต์คมชัดลึก, 30 เม.ย. 2550) รวมถึงกรณี หนังสือพิมพ์ “จันทรเกษมโพสต์” หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบตั ิการของนักศึกษาโปรแกรมนิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทร์ เกษม ถูกฟ้ องหมิ่นประมาทจากผู้บริ หาร ไม่ได้ จดหัวหนังสือพิมพ์ตามกฎหมายเช่นกัน (เว็บไซต์คมชัด ลึก, อ้ างแล้ ว) ภายหลังการตีความ หนังสือพิ มพ์ฝึกปฏิ บตั ิ จึงระบุว่าเป็ นส่วนหนึ่งของหลักสูตรการเรี ยนการสอน จึ งไม่จําเป็ นต้อง จดหัวหนังสือพิ มพ์ หมวด 1 สิ่งพิมพ์ มาตรา 7 ผู้พิมพ์หรื อผู้โฆษณาสิง่ พิมพ์ที่พิมพ์และเผยแพร่ในราชอาณาจักร ต้ องมีคณ ุ สมบัติและไม่มีลกั ษณะต้ องห้ าม ดังต่อไปนี ้ (1) มี อายุไม่ตํ่ากว่า 20 ปี บริ บูรณ์ (2) มี ถิ่นทีอ่ ยู่ประจํ าในราชอาณาจักร (3) ไม่เป็ นคนไร้ความสามารถหรื อคนเสมื อนไร้ความสามารถ (4) ไม่เคยต้องโทษตามคําพิ พากษาถึงทีส่ ดุ ให้จําคุก เว้นแต่พน้ โทษมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 3 ปี หรื อเป็ นความผิ ด โดยประมาณหรื อความผิ ดลหุโทษ ในกรณีนิติบคุ คลเป็ นผูพ้ ิ มพ์โฆษณา กรรมการ ผูจ้ ดั การ หรื อผูแ้ ทนอืน่ ของนิ ติบคุ คลสัน้ ต้องมี คณ ุ สมบีติ และไม่มีลี กษณะต้องห้ามตามวรรคหนึ่งด้วย มาตรา 7 (1) ระบุอายุชดั เจนของผู้พิมพ์หรื อผู้โฆษณา ในขณะที่พระราชบัญญัติการพิมพ์ พ.ศ.2484 ระบุวา่ บรรลุนิติภาวะ มาตรา 7(4) ให้ โอกาสผู้พิมพ์หรื อผู้โฆษณา ที่ได้ รับโทษและกลับมาทําหน้ าที่ เมื่อพ้ นโทษแล้ วเกิน 3 ปี ในขณะที่พระราชบัญญัติ การพิมพ์ พ.ศ.2484 ไม่มีระบุ มาตรา 7/1 ในสิ่ งพิ มพ์ทีเ่ ป็ นหนังสือทีไ่ ม่ใช่หนังสือพิ มพ์และพิ มพ์ขึ้นในราชอาณาจักร ให้แสดงข้อความดังต่อไปนี ้ (1) ชื ่อของผูพ้ ิ มพ์และทีต่ งั้ โรงพิ มพ์ (2) ชื ่อและทีต่ งั้ ของผูโ้ ฆษณา (3) เลขมาตรฐานสากลประจํ าหนังสือ ทีห่ อสมุดแห่งชาติ ได้ออกให้เป็ นข้อความตามวรรคหนึ่งให้พิมพ์ไว้ในลักษณะที ่ เห็นได้ชดั และบรรดาชื ่อตาม (1) และ (2) มิ ให้ใช้ชื่อย่อ หรื อนามแฝง สิ่ งพิ มพ์ตามวรรคหนึ่งให้หมายความรวมถึงสิ่ งพิ มพ์ทีบ่ นั ทึกด้วยวิ ธีการอิ เล็กทรอนิ กส์เพือ่ ขาย หรื อให้เปล่าด้วย มาตรา 7/1 (3) ใช้ ความทันสมัยของเทคโนโลยีบาร์ โค้ ด (Barcode) เข้ามาช่วยบันทึกฐานข้อมูลหนังสือใดๆ ที่ตีพิมพ์ต้องขอเลข มาตรฐานสากลประจําหนังสือ ซึง่ ในอดีตเพียงแต่สง่ สําเนาหนังสือไปที่หอสมุดแห่งชาติเท่านัน้ นอกจากนี ้ สิง่ พิมพ์ยงั ครอบคลุมไป ถึงสิง่ พิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ในอนาคต มาตรา 7/2 ให้ผพู้ ิ มพ์ส่งสิ่ งพิ มพ์ตามมาตรา 7/1 จํ านวน 2 ฉบับ ให้หอสมุดแห่งชาติ ภายในสามสิบวัน มาตรา 7/2 กําหนดระยะเวลาภายใน 30 วัน ที่ต้องส่งสิง่ พิมพ์ที่ตีพิมพ์ 2 ฉบับไปยังหอสมุดแห่งชาติ ขณะที่พระราชบัญญัติจดแจ้ ง การพิมพ์ พ.ศ.2484 กําหนดภายใน 7 วัน


การเตรียมตนฉบับและกฎหมายสําหรับงานวารสารศาสตร |

17

มาตรา 7/3 ให้ผบู้ ญ ั ชาการตํารวจแห่งชาติ มีอํานาจออกคําสัง่ โดยประกาศในราชกิ จจานุเบกษา ห้ามสัง่ เข้าหรื อนําเข้าเพือ่ เผยแพร่ ในราชอาณาจักร ซึ่ งสิ่ งพิ มพ์ใดๆ ทีเ่ ป็ นการหมิ่ นประมาท ดูหมิ่ น หรื อแสดงความอาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริ ย์ พระราชิ นี รัช ทายาท หรื อผูส้ ําเร็ จราชการแทนพระองค์ หรื อจะกระทบต่อความมัน่ คงแห่งราชอาณาจักร หรื อความสงบเรี ยบร้อย หรื อศีลธรรม อันดีของประชาชน โดยจะกํ าหนดเวลาห้ามไว้ในคําสัง่ ดังกล่าวด้วยก็ได้ การออกคําสัง่ ตามวรรคหนึ่ง ห้ามิ ให้นําข้อความทีม่ ี ลกั ษณะเป็ นการหมิ่ นประมาท ดูหมิ่ น หรื อแสดงความอาฆาตมาดร้าย พระมหากษัตริ ย์ พระราชิ นี รัชทายาท หรื อผูส้ ําเร็ จราชการแทนพระองค์ หรื อจะกระทบต่อความมัน่ คงแห่งราชอาณาจักร หรื อ ความสงบเรี ยบร้อย หรื อศีลธรรมอันดีของประชาชนแสดงไว้ดว้ ย สิ่ งพิ มพ์ทีเ่ ป็ นการฝ่ าฝื นวรรคหนึ่ง ให้ผบู้ ญ ั ชาการตํารวจแห่งชาติ มีอํานาจรับและทําลาย มาตรา 7/3 ให้ อํานาจหน้ าที่แก่ผ้ บู ญ ั ชาการตํารวจแห่งชาติ ในการสัง่ ห้ ามนําเข้ าสิง่ พิมพ์ที่ขดั ต่อกฎหมายในประเด็นหมิ่นพระบรม เดชานุภาพ กระทบความมัน่ คงของชาติ และศีลธรรมอันดีของประชาชน รวมถึงให้ ริบและทําลาย ขณะที่พระราชบัญญัติการพิมพ์ พ.ศ.2484 ให้ อํานาจแก่รัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทยแต่งตังเจ้ ้ าพนักงานการพิมพ์กบั เจ้ าหน้ าที่อื่นมาดูแล ได้ แก่ อธิบดีกรมตํารวจ หรื อผู้รักษาการแทน และไม่ได้ ระบุประเด็นสิง่ พิมพ์ที่สงั่ ห้ ามนําเข้ าอย่างชัดเจน หมวด 2 หนังสือพิมพ์ มาตรา 2 หนังสือพิ มพ์ซึ่งพิ มพ์ขึ้นภายในราชอาณาจักร ต้องจดแจ้งการพิ มพ์ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้ ผูย้ ืน่ จดแจ้งการพิ มพ์หนังสือพิ มพ์ตอ้ งยืน่ แบบการจดแจ้งการพิ มพ์และหลักฐานต้องมี รายการ ดังต่อไปนี ้ (1) ชื ่อ สัญชาติ ถิ่ นทีอ่ ยู่ของผูพ้ ิ มพ์ ผูโ้ ฆษณา บรรณาธิ การหรื อเจ้าของกิ จการหนังสือพิ มพ์แล้วแต่กรณี (2) ชื ่อของหนังสือพิ มพ์ (3) วัตถุประสงค์และระยะเวลาออกหนังสือพิ มพ์ (4) ภาษาทีห่ นังสือพิ มพ์จะออกใช้ (5) ชื ่อและทีต่ งั้ โรงพิ มพ์หรื อสถานทีพ่ ิ มพ์ (6) ชื ่อและทีต่ งั้ สํานักงานของหนังสือพิ มพ์ เมื่อพนักงานเจ้ าหน้ าที่ได้ รับแบบการจดแจ้ งการพิมพ์และหลักฐานตามวรรคสองแล้ ว ให้ รับจดแจ้ งและออกหนังสือ สําคัญแสดงการจดแจ้ งให้ แก่ ผ้ ยู ่ นื จดแจ้ งโดยไม่ ชักช้ า เว้ นแต่ผ้ ยู ื่นจดแจ้ งยังดําเนินการไม่ถกู ต้ องหรื อครบถ้ วนตามมาตรา 9/2 มาตรา 9/3 มาตรา 9/4 หรื อมาตร 9/5 ให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่แนะนําให้ ผ้ ยู ื่นจดแจ้ งดําเนินการให้ ถกู ต้ องและครบถ้ วนทุกเรื่ องใน คราวเดียวกันภายใน 15 วัน นับแต่วนั ที่ได้ รับแบบการจดแจ้ งดําเนินการให้ ถกู ต้ องและครบถ้ วนทุกเรื่ องในคราวเดียวกันภายใน 15 วัน นับแต่วนั ที่ได้ รับแบบการจดแจ้ งการพิมพ์และหลักฐานการจดแจ้ ง เมื่อได้ ดําเนินการถูกต้ องและครบถ้ วนให้ รับจดแจ้ งพร้ อม ออกหนังสือสําคัญแสดงการจดแจ้ งให้ แก่ผ้ แู จ้ งโดยพลัน

มาตรา 9 ต้ องยื่นแบบจดแจ้ งการพิมพ์โดยมีหลักฐานตามกฎหมายระบุ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ให้ รับจดแจ้ งและออกหนังสือแสดงการ


การเตรียมตนฉบับและกฎหมายสําหรับงานวารสารศาสตร |

18

จดแจ้ งภายใน 15 วัน ขณะที่พระราชบัญญัติการพิมพ์ พ.ศ.2484 ต้ องขออนุญาตในการพิมพ์ตอ่ เจ้ าพนักงานการพิมพ์และไม่ระบุ ระยะเวลาการอนุญาต และต้ องทําทะเบียนสิง่ พิมพ์แสดงเมื่อขอตรวจ ซึง่ เป็ นลักษณะการควบคุมมากว่าการส่งเสริ ม มาตรา 9/1 ในหนังสือพิ มพ์ให้แสดงข้อความ ดังต่อไปนี ้ (1) ชื ่อของผูพ้ ิ มพ์และทีต่ งั้ โรงพิ มพ์ (2) ชื ่อและทีต่ งั้ ของผูโ้ ฆษณา (3) ชื ่อของกองบรรณาธิ การหนังสือพิ มพ์ (4) ชื ่อและทีต่ งั้ ของเจ้าของกิ จการหนังสือพิ มพ์ ข้อความตามวรรคหนึ่งให้พิมพ์ไว้ในลักษณะทีเ่ ห็นได้ชดั และบรรดาชื ่อตามวรรคหนึ่ง มิ ให้ใช้ชื่อย่อหรื อนามแฝง มาตรา 9/2 ชื ่อของหนังสือพิ มพ์ตอ้ งไม่มีลกั ษณะดังต่อไปนี ้ (1) ไม่พอ้ งหรื อมุ่งหมายให้คล้ายกับพระปรมาภิ ไธย พระนามาภิ ไธย พระปรมาภิ ไธย พระนามาภิ ไธยย่อ หรื อ นามพระ ราชวงศ์ (2) ไม่พอ้ งหรื อมุ่งหมายให้คล้ายกับราชทิ นนาม เว้นแต่ราชทิ นนามของตน ของบุพการี หรื อของผูส้ ือ่ สันดาน (3) ไม่ ซํ้ากับชื่อหนังสือพิมพ์ ที่ได้ รับการจดแจ้ งไว้ แล้ ว (4) ไม่มีคําหรื อความหมายหยาบคาย มาตรา 9/2 ระบุการจดแจ้งการพิ มพ์ตอ้ งไม่จดชื ่อหนังสือพิ มพ์ซํ้าซ้อนกับรายชื ่อหนังสือพิ มพ์ทีไ่ ด้รบั จดแจ้งไว้แล้ว ซึ่ งใน อดีตไม่ได้ระบุ และไม่ติดตามตรวจสอบ จึ งมี หนังสือพิ มพ์จดชื ่อซํ้ ากันจํ านวนมาก มาตรา 9/3 บรรณาธิ การหนังสือพิ มพ์ตอ้ งมี คณ ุ สมบัติและไม่มีลกั ษณะต้องห้าม ดังนี ้ (1) มีอายุไม่ ตํ่ากว่ า 20 ปี บริบูรณ์ (2) มี สญ ั ชาติ ไทย หรื อสัญชาติ แห่งประเทศซึ่ งมี สนธิ สญ ั ญากับประเทศไทย (3) มี ถิ่นทีอ่ ยู่ประจํ าในราชอาณาจักร (4) ไม่เป็ นคนไร้ความสามารถหรื อเสมื อนคนไร้ความสามารถ (5) ไม่เคยต้องโทษตามคําพิ พากษาถึงทีส่ ดุ ให้จําคุก เว้ นแต่ พ้นโทษมาแล้ วไม่ น้อยกว่ า 3 ปี หรื อเป็ นความผิ ดโดน ประมาท หรื อความผิ ดลหุโทษ ผูซ้ ึ่ งไม่มีสญ ั ชาติ ไทยผูใ้ ดประสงค์จะเป็ นบรรณาธิ การหนังสือพิ มพ์ ต้องได้รยั อนุญาตตามหลักเกณฑ์ วิ ธีการ และเงือ่ นไข ทีก่ ํ าหนดไว้ในกฎกระทรวง มาตรา 9/4 เจ้าของกิ จการหนังสือพิ มพ์ทีเ่ ป็ นบุคคลธรรมดา ผูพ้ ิ มพ์ หรื อผูโ้ ฆษณา ต้องมี คณ ุ สมบัติและไม่มีลกั ษณะต้องห้าม ดังนี ้ (1) มีอายุไม่ ตํ่ากว่ า 20 ปี บริบูรณ์ (2) มี สญ ั ชาติ ไทย (3) มี ถิ่นทีอ่ ยู่ประจํ าในราชอาณาจักร (4) ไม่เป็ นคนไร้ความสามารถหรื อเสมื อนคนไร้ความสามารถ


การเตรียมตนฉบับและกฎหมายสําหรับงานวารสารศาสตร |

19

(5) ไม่เคยต้องโทษตามคําพิ พากษาถึงทีส่ ดุ ให้จําคุก เว้ นแต่ พ้นโทษมาแล้ วไม่ น้อยกว่ า 3 ปี หรื อเป็ นความผิ ดโดน ประมาท หรื อความผิ ดลหุโทษ มาตรา 9/3 และมาตรา 9/4 กํ าหนดอายุของบรรณาธิ การ เจ้าของกิ จการ ผูพ้ ิ มพ์ หรื อผูโ้ ฆษณาชัดเจน รวมถึงสัญชาติ ไทยหรื อสัญชาติ ทีม่ ี ความสัมพันธ์ กบั ไทย ทัง้ ยังให้โอกาสผูพ้ ิ มพ์หรื อผูโ้ ฆษณาทีไ่ ด้รบั โทษและกลับมาทําหน้าที ่ เมื ่อพ้นโทษแล้ว เกิ น 3 ปี ขณะทีพ่ ระราชบัญญัติการพิ มพ์ พ.ศ.2484 ไม่มีระบุ และต้องขออนุญาตเป็ นบรรณาธิ การผูพ้ ิ มพ์ ผูโ้ ฆษณา หรื อเจ้าของ ต่อเจ้าพนักงานการพิ มพ์ ซึ่ งอาจจะขออนุญาตหรื อไม่ก็ได้ มาตรา 9/5 เจ้ าของกิจการหนังสือพิมพ์ ที่เป็ นนิติบุคคล ต้ อมีบุคคลซึ่งมีสัญชาติไทยถือหุ้นไม่ น้อยกว่ า 70 ของหุ้นทั้งหมด และต้องมีกรรมการไม่น้อยกว่าสามในสี่ ของจํานวนกรรมการทั้งหมดเป็นผู้มีสัญชาติไทย

%

ห้ามมิ ให้บคุ คลใดถือหุน้ แทนบุคคลซึ่ งมิ ได้มีสญ ั ชาติ ไทยในนิ ติบคุ คลทีเ่ ป็ นเจ้าของกิ จการหนังสือพิ มพ์ตามวรรคหนึ่ง เจ้าของกิ จการหนังสือพิ มพ์ทีเ่ ป็ นนิ ติบคุ คลสัญชาติ ไทยถือหุน้ หรื อมี กรรมการเป็ นผูม้ ี สญ ั ชาติ ไทยน้อยกว่าจํ านวนทีก่ ํ าหนดไว้ใน วรรคหนึ่ง ให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่เพิกถอนการจดแจ้ ง ทัง้ นี ้ ตามหลักเกณฑ์และวิ ธีการทีก่ ํ าหนดในกฎกระทรวง มาตร 9/5 เจ้ าของต้ องมีบคุ คลสัญชาติไทยถือหุ้น 70 เปอร์ เซ็นต์ และกรรมการคนไทยสามในสีส่ ว่ น เพื่อสงวนอาชีพสือ่ สําหรับคน ไทย และไม่ให้ บคุ คลใดถือหุ้นแทนบุคคลที่ไม่ได้ มีสญ ั ชาติไทยที่เป็ นเจ้ าของกิจการหนังสือพิมพ์ หากไม่เป็ นไปตามเกณฑ์ พนักงาน เจ้ าหน้ าที่เพิกถอนการจดแจ้ ง ประเด็นนี ้ไม่ปรากฏในกฎหมายเดิม มาตรา 11 ผูพ้ ิ มพ์ ผูโ้ ฆษณา บรรณาธิ การ หรื อเจ้าของกิ จการหนังสือพิ มพ์ ผูใ้ ดเลิ กเป็ นผูพ้ ิ มพ์ ผูโ้ ฆษณา บทบรรณาธิ การ หรื เจ้าของกิ จการหนังสือพิ มพ์ ต้ องแจ้ งให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ทราบเพื่อยกเลิกหรือเปลี่ยนแปลง ภายใน 30 วันนับตั้งแต่ วันที่ เลิก มาตรา 11 ต้ องแจ้ งพนักงานเจ้ าหน้ าที่ทราบ หากมีการเปลีย่ นแปลงผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา บรรณาธิการ หรื อเจ้ าของกิจการ หนังสือพิมพ์ เพื่อยกเลิกหรื อเปลีย่ นแปลงภายใน 30 วัน ขณะที่พระราชบัญญัติการพิมพ์ พ.ศ.2484 ระบุภายใน 15 วัน หมวดที่ 3 บทกําหนดโทษ ส่ วนที่ 1 โทษทางปกครอง ซึง่ ผู้ฝ่าฝื นต้ องระวางโทษปรับไม่เกิน 1-3 หมื่นบาท และถ้ าการกระทําผิดซึง่ มีโทษปรับทางปกครองเป็ น ความผิดต่อเนื่องและพนักงานเจ้ าหน้ าที่สงั่ ลงโทษปรับ รายวันอีกวันละไม่เกิน 1-3 พันบาท ส่ วนที่ 2 โทษอาญา มีความผิดตังแต่ ้ จําคุกขันตํ ้ ่าคือไม่เกิน 6 เดือนหรื อปรับไม่เกิน 1 หมื่นบาท หรื อทังจํ ้ าทังปรั ้ บ ส่วนโทษสูงสุด กําหนดให้ จําคุกไม่เกิน 5 ปี หรื อปรับตังแต่ ้ 5 แสนถึง 5 ล้ านบาท และให้ ศาลสัง่ ให้ เลิกการให้ ความช่วยเหลือหรื อสนับสนุน หรื อสัง่ ให้ เลิกการร่วมประกอบธุรกิจ หรื อสัง่ ให้ เลิกการถือหุ้นหรื อการเป็ นหุ้นส่วนแล้ วแต่กรณี หากฝ่ าฝื นไม่ปฏิบตั ิตามคําสัง่ ต้ องระวาง โทษปรับวันละ 5 หมื่นบาท ถึง 2.5 แสนบาท ตลอดเวลาที่ยงั ฝ่ าฝื นอยู่


การเตรียมตนฉบับและกฎหมายสําหรับงานวารสารศาสตร |

20

บทเฉพาะกาล หนังสือพิมพ์หรื อผู้ใดเป็ นผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา บรรณาธิการ หรื อเจ้ าของกิจการหนังสือพิมพ์ ซึง่ ได้ แจ้ งความแก่เจ้ าพนักงานการพิมพ์ ตามพระราชบัญญัติการพิมพ์ พ.ศ.2484 อยูก่ ่อนวันที่พระราชบัญญัตินี ้ใช้ บงั คับ ให้ ถือว่าหนังสือพิมพ์ดงั กล่าวเป็ นหนังสือพิมพ์ที่ ได้ จดแจ้ งการพิมพ์ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี ้แล้ ว

____________________________________________________________ บรรณานุกรม • • • • • • • • • •

• •

• • •

Frank P. Hoy. 1986. Photo Journalism: the visual approach. London : Prentice-Hall, Englewood Cliffs, N.J. ชลูด นิ่มเสมอ. 2534. องค์ ประกอบของศิลปะ. กรุงเทพมหานคร:สํานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช. ทองเจือ เขียดทอง. 2548. การออกแบบสัญลักษณ์ . กรุงเทพมหานคร:สํานักพิมพ์สิปประภา. ธารทิพย์ เสริ นทวัฒน์. 2550. ทัศนศิลป์การออกแบบพาณิชยศิลป์. กรุงเทพฯ : หลักไท่ชา่ งพิมพ์. ปาพจน์ หนุนภักดี. 2553. หลักการและกระบวนการออกแบบงานกราฟิ กดีไซน์ . กรุงเทพมหานคร:บริ ษัท ไอดีซี พรี เมียร์ จํากัด. ปราโมทย์ แสงผลสิทธิ์. 2540. การออกแบบนิเทศศิลป์. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ วี.เจ. พริ น้ ติ ้ง. มัย ตะติยะ. 2547. สุนทรียภาพทางทัศนศิลป์. กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์มิตรสัมพันธ์ กราฟฟิ ค จํากัด. มาลี บุญศิริพนั ธ์. 2550. วารสารศาสตร์ เบือ้ งต้ นปรั ชญาและแนวคิด . กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วิรุณ ตั ้งเจริญ. 2545. ประวัติศาสตร์ ศิลป์และการออกแบบ. กรุงเทพมหานคร:สํานักพิมพ์อีแอนไอคิว. ศูนย์ศกึ ษากฎหมายและนโยบายสื่อมวลชน. 2556. คู่มือการสอนวิชากฎหมายสื่อมวลชนและวิชาจริ ยธรรมสื่อมวลชน. กรุงเทพมหานคร : บริษัท จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์ จํากัด. สนัน่ ปั ทมะทิน. 2530. การถ่ ายภาพสําหรั บหนังสือพิมพ์ . กรุงเทพมหานคร : สถาบันพัฒนาการหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย. สภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติ. 2555. ข้ อบังคับว่ าด้ วยจริ ยธรรมแห่ งวิชาชีพหนังสือพิมพ์ สภาการหนังสือพิมพ์ แห่ งชาติ พ.ศ.2541. (ระบบออนไลน์) แหล่งที่มา http://www.presscouncil.or.th/th2/content/view/4/8/. (19 พฤศจิกายน 2555) สุรสิทธิ์ วิทยารัฐ. 2549. การสื่อข่าว : หลักการและเทคนิค. กรุงเทพฯ : ศูนย์หนังสือสถาบันราชภัฏสวนสุนนั ทา. โสรชัย นันทวัชรวิบลู ย์. 2545. Be Graphic สู่เส้ นทางกราฟิ กดีไซเนอร์ . กรุงเทพมหานคร :บริ ษัท เอ.อาร์ .อินฟอร์ เมชัน แอนด์ พับลิเคชัน จํากัด. อารยะ ศรีกลั ยาณบุตร. 2550. การออกแบบสิ่งพิมพ์ . กรุงเทพมหานคร : วิสคอมเซ็นเตอร์ .

ภาพประกอบบางสวนจาก • www.asiancorrespondent.com • www.lib.vit.src.ku.ac.th • www.chrisdrogaris.com

• www.derby-web-design-agency.co.uk • www.oliviagreavesdesign.com • www.yanchaow.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.