Ca222 week02 concept of visual communication

Page 1

นศ 222

การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ 2

[CA 222 Printed Media Design 2]

รวมรวม/เรียบเรียง โดย อาจารยณัฏฐพงษ สายพิณ ส า ข า วิ ช า นิ เ ท ศ ศ า ส ต ร บู ร ณ า ก า ร ค ณ ะ ศิ ล ป ศ า ส ต ร ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม โ จ

แ น ว คิ ด เ กี่ ย ว กั บ ก า ร สื่ อ ส า ร ด ว ย ภ า พ สําหรับงานวารสารศาสตร • ภาพถายในฐานะการสื่อสารเชิงสัญลักษณ

• ความหมาย คุ ณ ลั ก ษณะ และความสํ า คั ญ ของประเภทภาพ เชิงวารสารศาสตร • หลักจริยธรรมและจรรยาบรรณสําหรับภาพเชิงวารสารศาสตร • หลักการ EDFAT ของภาพถายเชิงวารสารศาสตร • แบบจําลองการสื่อสารของ Jakobson • การวิเคราะหภาพถายเชิงวารสารศาสตร


แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร |

1

การสื่อสารดวยภาพเปนกระบวนการที่มีการขับเคลื่อนอยางไมหยุดนิ่ง นับตั้งแตภาพเขี ย นบนผนั ง ถ้ํ า ของมนุ ษ ย ในยุ ค ดึกดําบรรพ จนกระทั่งในยุคปจจุบันที่มีการสรางสรรครูปแบบและกระบวนการสื่อสารดวยภาพ พร อ มๆ กั บ การพั ฒ นาเทคโนโลยี ทางการมองเห็นมาอยางตอเนื่อง แสดงใหเห็นวามนุษยในทุกยุคสมัยตางก็มีความจําเปนที่จะตองทําการสื่ อ สารเพื่ อ ตอบสนองต อ ความตองการในการอยูรวมกันในสังคมโดยการสื่อสารดวยภาพ ถือเปนวิธีการสื่อสารที่สํา คั ญ ทางหนึ่ ง ที่ มี ค วามเป น รู ป ธรรมและ เปนสื่อกลางที่นํามาใชเปนตัวแทนในการสื่อความหมายถึ ง เรื่ อ งราวและเหตุ ก ารณ ต า งๆ อี ก ทั้ ง การมองเห็ น ก็ เ ป น ธรรมชาติ ใน การรับรูอยางแรกของมนุษยที่มีประสิทธิภาพสูง และในวงการสื่อนั้น การสื่อสารดวยภาพก็เปนสิ่งที่เปนป จ จั ย สํ า คั ญ ต อ การสื่ อ สาร ความหมายและเรื่องราวผานทั้งสิ่งพิมพ และสื่อในรูปแบบตางๆ โดยเฉพาะงานวารสารศาสตรที่เปนงานที่ตองสื่ อ สารกั บ ผู รั บ สารที่ เปนมวลชน

ภาพถายในฐานะการสื่อสารเชิงสัญลัก ษณ สังคมทุกสังคมจะตองมีการกําหนดระบบสัญลักษณทางการสื่อสารที่ใชเปนตัวแทนความหมายของสิ่ง หนึ่ ง ๆ ซึ่ ง ทุ ก สั ง คม ตองการระบบแบบแผนของสัญลักษณที่เปนที่เขาใจรวมกัน หากสังคมใดไมมีสิ่งที่ใชแทนสั ญ ลั ก ษณ ถึ ง บางสิ่ ง บางอย า ง แสดงว า สมาชิกในสังคมไมรูจักสิ่งนั้น ทั้งนี้การเรียนรูระบบสัญลักษณเปนผลมาจากความสามารถของมนุ ษ ย ในการเก็ บ ความทรงจํ า และ การระลึกถึงความทรงจําที่สามารถนํามาเชื่อมโรงไดกับปจจุบัน ปจจัยดังกลาวหากเป น เงื่ อ นไขเบื้ อ งต น ในการเรี ย นรู สัญ ลั ก ษณ ทางภาษาและสัญลักษณอื่นใดรวมทั้งการสื่อสารดวยภาพ ซึ่งเปนระบบการสื่อสารที่เรียนรูได โดยมีลักษณะสําคัญ 3 ประการ คือ 1. เขาใจไดจากการเรียนรูของบุคคล 2. มีความหลากหลายในแตละสังคม 3. สามารถเปลี่ยนแปลงไดภายในบุคคลหรือสังคมเดียวกัน ขึ้นอยูกับบริบทแวดลอมทางการสื่อสาร Semiology เปนคําที่ตั้งขึ้นโดยนักภาษาศาสตร Ferdinand de Saussure (ค.ศ. 1857-1913) ในการศึ กษาหาความรู เกี่ยวกับ สัญศาสตรและสัญวิทยานั้นมีเนื้อหาและวัตถุ ประสงคของการศึก ษาที่สอดคลอ ง และคลา ยคลึงกัน นั่นคือ การศึกษา วิธีการสื่ อความหมาย ขั้นตอนและหลัก การในการสื่ อความหมายตลอดจนเรื่องการทําความเขาใจในความหมายของสัญลั กษณที่ ปรากฏอยูในวั ฒนธรรมหนึ่งๆ

รูปสัญญะและความหมายสัญญะ การศึกษาเกี่ยวกับสัญศาสตร จะเปนการหาความสัมพันธระหวางรูปสัญญะและความหมายสัญญะ เพื่อดูว า ความหมาย ถูกสรางและถูกถายทอดอยางไร ซึ่ง Saussure อธิบายวาในทุกๆ สัญญะตองมีสวนประกอบทั้ง 2 อยางไดแก 1. รูปสัญญะ (Signifier) คือสิ่งที่เราสามารถรับรูผานประสาทสั ม ผั ส เช น การมองเห็ น ตั ว อั ก ษร รู ป ภาพ หรื อ การได ยิ น คํ า พู ด ที่ เ ปล ง ออกมาเปนเสียง (acoustic-image) 2. ความหมายสัญญะ (Signified) หมายถึงความหมาย คํานิยามหรือความคิดรวบยอด (concept) ที่เกิดขึ้นในใจหรือในความคิดของผูรับสาร


แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร |

2

ความสัมพันธระหวางสัญญะแตละตัวนั้ น เกิ ด ขึ้ น โดยตรรกะว า ด ว ยความแตกต า ง (the logic of difference) หมายถึ ง ความหมายของสัญญะแตละตัวมาจากการเปรียบเทียบวาตัวมันแตกตางจากสัญญะตัวอื่นๆ ในระบบเดี ย วกั น ซึ่ ง หากไม มี ค วาม แตกตางแลว ความหมายก็เกิดขึ้นไมได ทั้งนี้ความตางที่ทํ า ให ค า ความหมายเด น ชั ด ที่ สุด คื อ ความต า งแบบคู ต รงข า ม (binary opposition) เชน ขาว-ดํา ดี-เลว รอน-เย็น หรืออธิบายอี ก อย า งคื อ ความหมายของสั ญ ญะหนึ่ ง เกิ ด จากความไม มี หรื อ ไม เ ป น ของสัญญะอื่น (สรณี วงศเบี้ยสัจจ, 2544)

ประเภทของสัญญะ การสื่อสารดวยภาพเปนระบบการสื่อสารดวยระบบสัญญะ ขณะที่ความสัมพันธระหว า งสั ญ ญะแต ละตั ว นั้ น เกิ ด ขึ้ น โดย การพิจารณาที่ตรรกะของความแตกตางนั้นก็ไดมีการเสนอการจัดประเภทของสัญญะ โดย C.S Peirce ได แ บ ง ตามความสั ม พั น ธ ระหวางรูปสัญญะและความหมายสัญญะ โดยจําแนกสัญญะเอาไวเปน 3 ประเภท ดังนี้ 1. สัญรูป (icon) คือการสื่อสารตามสิ่งที่เห็น ในภาพในระดั บ ที่ เ ป น ความหมายแบตรงไปตรงมา เป น ความสั ม พั น ธ ร ะหว า ง รูปสัญญะกับความหมายสัญญะเปนเรื่องของความเหมือนหรือคลายคลึงกับสิ่งที่มันบงถึง เช น ภาพถ า ย ภาพเหมื อ น ที่ เชื่อมโยงเขากับตัวบุคคล เปนตน 2. ดรรชนี (index) คื อ การสื่ อ สารที่ ต อ งอาศั ย การเ ชื่ อ มโยงสิ่ ง ที่ เ ป น เ หตุ แ ละเป น ผลต อ กั น หรื อ การคิ ด ของผู รั บ สาร เป น ความสัมพันธระหวางรูปสัญญะกับความหมายสัญญะเปนผลลัพธ หรือเปนการบ ง ชี้ ถึ ง บางสิ่ ง บางอย า ง เช น เห็ น ภาพ ควันไฟยอมรูไดวามีไฟไหมเกิดขึ้น รูปกราฟที่แสดงผลลัพธของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง รอยเทาของสั ต ว ที่ ป ระทั บ ลงบนพื้ น ดิ น หรื อ ดรรชนีที่อยูทายเลมของหนังสือที่บอกใหเราทราบถึงขอความที่เราตองการจะคนหา คุณสมบัติอีกประการที่นาสังเกตของสัญญะประเภทดรรชนีก็คือ เมื่อเราเห็ น รู ป สั ญ ญะประเภทดรรชนี ความ หมายสัญญะที่เรานึกถึงไมใชสิ่งที่เรามองเห็นในขณะนั้น เชนตัวอยางที่ไดกลา วมาแล ว นั่ น คื อ รอยเท า สั ต ว ที่ เ มื่ อ เราพบ เราไมไดนึกถึงรอยเทาในขณะนั้น แตเรานึกไปถึงตัวสัตวที่เปนเจาของรอยเทานั้น 3. สัญลักษณ (symbol) คือการสื่อสารที่เกิดจากการเรียนรูรวมกันของคนในสังคมที่ตกลงความหมายรวมกัน เปนความสั ม พั น ธ ร ะหว า ง รูปสัญญะกับความหมายสัญญะที่แสดงถึงบางสิ่งบางอยาง แตมันไมไดมีความคล า ยคลึ ง กั บ สิ่ ง ที่ มั น บ ง ชี้ เ ลย ซึ่ ง การใช งานเปนไปในลักษณะของการถูกกําหนดขึ้นเองซึ่งไดรับการยอมรับจนเปน แบบแผน (Convention) และต อ งมี ก ารเรี ย นรู เครื่องหมายเพื่อทําความเขาใจ หรือเปนการแสดงถึงการเปนตัวแทน (representation) ซึ่ ง สั ง คมยอมรั บ ความสั ม พั น ธ นี้ ตัวอยางเชน ภาพไมกางเขนเปนสัญลักษณแทนศาสนาคริสต หรือการสวมแหวนนิ้ ว นางข า งซ า ยแสดงถึ ง การแต ง งาน เปนตน แตอยางไรก็ดี การจําแนกประเภทของสัญญะทั้งสามแบบก็ไมสามารถทําไดอยางชัดเจน เชนในกรณีรู ป สั ญ ญะของคํ า ว า “Xerox” ในภาษาอังกฤษซึ่ ง ความหมายสั ญ ญะของมั น ก็ คื อ ยี่ ห อ ของเครื่ อ งถ า ยเอกสาร แต รู ป สั ญ ญะดั ง กล า วได ก ลายเป น ความหมายสัญญะของ “การถายเอกสาร” ในสังคมไทยเปนตน (ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร, 2545)


แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร |

3

แสดงภาพตัวอยางของสัญญะประเภทตางๆ

ความหมายตรงและความหมายแฝง ในการทํางานของขั้นตอนการแสดงความหมายของสั ญ ญะนั้ น จะมี ค วามสั ม พั น ธ ร ะหว า งรู ป สั ญ ญะและความหมาย สัญญะตลอดเวลา ซึ่ง Barthes ไดใหแนวคิดในการวิเคราะหความหมาย 2 ชนิดในสวนการรับรูความหมายของผูรับสาร คือ 1. ความหมายตรง (Denotation) เปนระดับของความหมายที่เกี่ยวของกับความจริงระดับธรรมชาติ เปนความหมายที่ผูใช สามารถเข า ใจได ต รง ตามตัวอักษรจัดอยูในลักษณะของการอธิบายหรื อ พรรณนา (Descriptive level) และเป น ความหมายที่ เ ป น ที่ รั บ รู แ ละ เขาใจไดสําหรับผูรับสารสวนใหญ ยกตัวอยางเชนเมื่อเรากลาวถึ ง ช า ง ก็ จ ะนึ ก ถึ ง ลั ก ษณะของสั ต ว ที่ มี รู ป ร า งใหญ มี ง า และงวง เปนตน การอธิบายความหมายของคําศัพทในพจนานุกรมก็เปนความหมายโดยตรงเชนกัน (ภัคพงศ อั ค รเศรณี , 2548) 2. ความหมายแฝง (Connotation) เปนการตีความหมายของสัญญะโดยเปนระดับที่พวงเอาปจจัยทางวัฒนธรรมเขามาเกี่ยวข อ งด ว ย ซึ่ ง เป น การ อธิบายถึงปฏิสัมพันธที่เกิดขึ้นกับอารมณ ค วามรู สึก ของผู ใช แ ละคุ ณ ค า ทางวั ฒ นธรรมของเขา ความหมายแฝงหรื อ ความหมายในระดับที่สองนี้สรางขึ้นบนพื้นฐานของความหมายตรงของสัญ ญะตั ว เดี ย วกั น ซึ่ ง กระบวนการเกิ ด ขึ้ น ของ ความหมายแฝงนี้เกิดขึ้นเมื่อสัญญะในความหมายระดั บ แรกถู ก นํ า ไปใช เ ป น รู ป สั ญ ญะโดยมี ก ารผู ก โยงรวมเข า กั บ ความหมายใหม จึงเกิดเปนความหมายแฝง ซึ่ ง กระบวนการนี้ เ องที่ Barthes ใช อ ธิ บ ายการเกิ ด Myth (มายาคติ ) ซึ่ ง Barthes ไดอธิบายเกี่ยวกับกระบวนการดังกลาวไวดังนี้ “มายาคติเปนระบบสื่อความหมายซึ่ ง มี ลัก ษณะพิ เ ศษตรงที่ มั น กอตัวขึ้นบนกระแสการสื่อความหมายที่มีอยูกอนแลว จึ ง ถื อ ได ว า มายาคติ เ ป น ระบบสั ญ ญะในระดั บ ที่ สอง สิ่ ง ที่ เ ป น หนวยสัญญะ (ผลลัพธจากการประกบของรูปสัญญะกับความหมาย) ในระบบแรก กลายมาเป น เพี ย งรู ป สั ญ ญะในระบบ ที่สอง ขอย้ําในที่นี้วา วัสดุสําหรับสรางวาทะแหงมายาคติ (เชน ภาษา ภาพถาย ภาพวาด โปสเตอร พิ ธี ก รรม วั ต ถุ ฯลฯ) ไมวาในเบื้องตนนั้นจะมีความแตกตางหลากหลายเพียงใดก็ตาม แตครั้นเมื่อถูกจับยึดโดยมายาคติ แ ล ว ก็ จ ะถู ก ทอนให เหลือเปนเพียงรูปสัญญะเพื่อสื่อถึงสิ่งอื่นเสมอ” (วรรณพิมล อังคศิริสรรพ, 2544) อยางไรก็ดี การสื่อความหมายในระดับของความหมายแฝงนี้มีแนวโนมในการสื่ อ ความหมายที่ แ ตกต า งกั น ซึ่ ง ขึ้ น อยู กั บ ระดับของการสื่อความหมาย โดยแบงออกเปน 2 ระดับไดแก ระดับของปจเจก (individual connotations) ในการทําความเข า ใจในสิ่ ง ใดสิ่ ง หนึ่ ง ของบุ ค คลนั้ น เป น การเรี ย นรู วิ ธี ก าร มองโลกและการที่บุคคลมีปฏิสัมพันธกับโลก ซึ่งการเรียนรูเหลานี้เองที่จะทําใหบุคคลมีความเขาใจและใหนิยามตอสิ่ง ต า งๆ ซึ่ ง อาจ เหมื อ นหรื อ แตกต า งกั น ก็ ไ ด ซึ่ ง เ รี ย กว า ประสบการณ ยกตั ว อย า งเด็ ก หญิ ง ที่ ไ ด ก ลิ่ น ด อกกุ ห ลาบเ ป น ครั้ ง แรกพร อ มกั บ มี


แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร |

4

ประสบการณที่นากลัว ในเวลาตอมาหากเธอไดมองเห็นหรือไดก ลิ่ น ดอกกุ ห ลาบ ก็ อ าจเป น การเตื อ นความจํ า ให เ กิ ด ความรู สึก หวาดกลัวขึ้นมาอีก ซึ่งการมองเห็นหรือไดกลิ่นดอกกุหลาบนี้เปนการนําพาการสื่อความหมายสวนตัวสําหรับเด็กผู ห ญิ ง คนดั ง กล า ว ดังนั้นการมอบดอกกุหลาบจึงอาจเปนการสรางความกลัวมากกวาที่จะเกิดความรูสึกซาบซึ้งในความรัก สิ่ ง ที่ ค วรระมั ด ระวั ง ในการ วิเคราะหในเชิงสัญศาสตร (semiotic analysis) สําหรับการสื่อความหมายระดับนี้คือ เนื่องจากเปนการสื่อความหมายแบบส ว นตั ว จึงอาจไมไดสื่อความหมายแตกตางไปตามความหมายปกติดังที่คนอื่นๆ มีสวนรวมในความหมายนั้น ระดับของวัฒนธรรม (cultural connotations) การสื่อความหมายในระดั บ นี้ แ สดงถึ ง การที่ วั ต ถุ ในวั ฒ นธรรมได พ ว งเอา ความสัมพันธและการสื่อความหมายเขามาในตัวมันและมีสวนรวมในการใหความหมายกับผูคนในวัฒนธรรม ยกตั ว อย า งเช น การ มอบดอกกุหลาบ ที่คนใหการยอมรับในเชิงวัฒนธรรมเขาใจรวมกันวาเปนการแสดงถึงความรัก (สมเกียรติ ตั้งนโม. 2550.)

ความหมายที่เกิดจากระบบสัญญะ ระบบของภาษาภาพมีความหมายที่เกิดจากระบบสัญญะ สามารถจําแนกที่มาของความหมายได 3 ลักษณะ ดังนี้ 1. ความหมายเชิงสัญลักษณของรูปทรงวัตถุในภาพ รูปทรงที่ประกอบขึ้นเปนพืช สัตว สิ่งของ หรือบุคคล นอกจากจะมีความสามารถในการสื่อสารเกี่ ย วกั บ สารสนเทศของสิ่ ง นั้นๆ ที่เปนความหมายโดยตรงแลว อาจมีความหมายในระดับสัญลักษณรว มอยูดวย ซึ่งการตีความหมายนั้นเปน กระบวนการที่ อิ ง กับประสบการณหรือการเรียนรูระบบสัญลักษณที่มี ม าก อ น เช น ภาพดอกเข็ ม ในพิ ธี ไ หว ค รู มี ค วามหมายในเชิ ง สั ญ ลั ก ษณ ถึ ง ปญญาที่แหลมคม ภาพดอกบัวสื่อความหมายเชิงสัญลักษณถึงศาสนาพุทธเปนตน ทั้งนี้ขึ้นกับบริบทและสื่ อ ของการนํ า เสนอภาพ นั้นๆ ดวย เชน ชื่อภาพ การบรรยายภาพ การจัดหนา การออกแบบกราฟก จะเปนตัวกําหนดการตีความหมายในระดับหนึ่งดวย

2. ความหมายแฝงของภาษาทางเทคนิคการถายภาพ เปนผลจากหลักจิตวิทยาการเห็นของมนุษยซึ่งเกิดจากการเลือกใชมุมกลอง ชวงความชัด ความยาวโฟกั สของเลนส การ จัดแสง เปนตน ไมวาจะเปนภาพขาว ภาพถายเชิงสารคดี แมจะหลักในการนําเสนอภาพที่เนนคุณคาเกี่ยวกับความถู ก ต อ งเป น จริ ง ของเหตุการณ แตงานภาพถายเหลานี้ก็ไมสามารถสื่อความหมายไดอยางเปนวัตถุวิสัย เพราะภาพถ า ยทุ ก ภาพล ว นมี ค วามหมาย แฝงจากภาษาทางเทคนิคการถายภาพเสมอ ในบางกรณีระดับมุมกลองจากมุมสูงก็ไมไดหมายความวา สิ่งที่ถูกถายตองดู ต่ํ า ต อ ย เช น ภาพภู มิ ทั ศ น ท างอากาศของ โบราณสถาน ยอมสื่อความหมายไดถึงความยิ่งใหญในครั้งอดีต หรือตัวอยางภาพขาวจากมุมต่ําที่เสนอภาพคนที่ กํ า ลั ง จะกระโดด จากที่สูง ก็ไมไดหมายความวาคนๆ นั้นเปนผูยิ่งใหญ หากแตความหมายแฝงดังกลาว เปนหลักการโดยทั่วๆ ไปเทานั้น ในกรณี ภ าพ ขาวอาจไมสามารถตีความภาพบางประเภท เพราะชางภาพอาจต อ งเผชิ ญ กั บ ข อ จํ า กั ด ของสถานการณ ท างการถ า ยภาพ หรื อ ตําแหนงที่ชางภาพอยูในขณะที่ทําการบันทึกภาพ ทําใหหลักการดังกลาวไมสามารถอิบายไดในบางกรณี


แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร |

5

ตัวอยางนี้เปนความหมายแฝงที่แนบเนื่องมาจากสิ่งที่อยูถูกบันทึกภาพ (Nick Lacey, 1998) เทคนิคการถายภาพ ความหมายแฝง มุมสูง ความพายแพ ต่ําตอย ตกอยูภายใตอํานาจ ระดับมุมกลอง มุมระดับสายตา ความเสมอภาค ความเปนกลาง มุมต่ํา ความชนะ ความสูง สง ความมีอํานาจ ภาพแสดงความชัดลึก การสื่อเรื่องราวโดยรวม ชวงความชัด ภาพแสดงความชัดตื้น การเนนความสําคัญ (Depth of field) ภาพ soft focus ภาพถวิลหาอดีต (nostalgia) ภาพในความคิดฝนจินตนาการ เลนสถายไกล (Telephoto lens) การแอบมอง (voyeuristic) ความยาวโฟกัสของเลนส เลนสมาตรฐาน (Normal lens) การมองปกติ เลนสมุมกวา ง (Wide-angle lens) การเห็นที่บิดเบือน การแสดง(drama) High key ความเปดเผย การมองโลกในแงดี ลักษณะการจัดแสง Low key ความเรนลับ ความเศรา ความอึมครึม 3. ความหมายแฝงทางจิตวิทยาขององคประกอบดานทัศนธาตุ ทัศนธาตุ (visual elements) เปนองค ป ระกอบพื้ น ฐานของงานสื่ อ สารด ว ยภาพ อย า งไรก็ ต ามสิ่ ง สํ า คั ญ ในงาน สื่อสารภาพถาย ไดแก องคประกอบเรื่อง สีและเสน ลวนมีผลตอจิตวิทยาการรับรูของผูรับสาร ดังนี้ 3.1. จิตวิทยาของสี สีนั้นมีความสําคัญอยางยิ่งในการออกแบบในการทํางานสิ่งพิมพตางๆ การเลือกสีให เ ข า กั บ เนื้ อ หาของงาน จะ ทําใหงานที่ทําออกมามีความนาเชื่อถือยิ่งขึ้น และยังสงผลอยางมากกับความ สวยงามของงานที่ออกมาดวย สี สีแดง สีเหลือง สีน้ําเงิน สีชมพู สีเขียว สีมวง สีฟา สีสม สีขาว สีเทา สีดํา สีน้ําตาล

ความหมายทางจิตวิทยา ความรุนแรง ความรอนแรง ความมีอํานาจ ความสดใส ร าเริง เปนสีแหงความเบิกบาน กระฉับ กระเฉง ความเวิ้งวาง ความรูสึกเปนเจาของ อิ สรเสรี ความสงบนิ่ ง ความสุขุม เยือกเย็น ความประณีต งดงาม สดใส มีชีวิตชีวา ความอุดมสมบูรณ ความผอนคลาย ธรรมชาติ ใหความรูสึกมีเ สนห เรนลับ นาติดตาม ซอนเรน มีอํานาจ มีพ ลังแฝงอยู ใหความรูสึก สงบ สุขุม สุภาพ หนักแนน เครงขรึม เอาการเอางาน ละเอียด รอบคอบ สงางาม มีศักดิ์ศรี สูงศักดิ์ เปนระเบียบถ อมตน ฉลาด กลาหาญ ใหความรูสึก ราเริง สดใส มีชีวิตชีวา วันรุน ความคึกคะนอง ใหความรูสึก บริสุท ธิ์ สะอาด สดใส เบาบาง ออนโยน ความศรัท ธา ความดีงาม ความออนโยน ความเงียบขรึม ความชราภาพ ความสลดใจ ความนากลัว อันตราย ความหนักแนน ความลึก ลับ ใหความรูสึกหนั กแนน มั่นคง ความแหงแล ง ไม สดชื่น


แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร |

6

3.2. จิตวิทยาของเสน ในการใชเสนจัดองคประกอบภาพนั้น ลายเสนตางๆ ยังใหความหมายแฝงร ว มอยู ด ว ย ชะลู ด นิ่ ม เสมอ(2542: 35) ไดกลาวถึงความรูสึกทางจิตวิทยาที่เกิดจากลักษณะเสนตางๆ ดังนี้ o เสนตรง ใหรูสึกแข็งแรง แนนอน ตรง เขม ไมประนี ประนอม หยาบ และเอาชนะ o เสนคลื่นหรือเสนโคง ใหความรูสึกสบาย เลื่อนไหล ตอเนื่อง สุภาพ แตถาใชมากจะใหความรูสึก กังวล ขาด จุดมุงหมาย o เสนโคงแคบ ใหความรูสึกมีพ ลังเคลื่อนไหว เปลี่ยนแปลงเร็ว o เสนโคงวงกลม ใหความรูสึกเปนระเบี ยบ เปนวงจร o เสนโคงกนหอย ใหความรูส ึกเขาสูศูนย กลาง คลี่คลาย เคลื่อนไหวไมสิ้นสุด o เสนฟนปลา ใหความรูสึกขัดแยง เปลี่ยนแปลงเร็ว พลังไฟฟา o เสนนอน ใหความรูสึก เงียบ สงบ o เสนตั้ง ใหความรูสึกสมดุ ล มั่นคง แข็งแรง รุงเรือง o เสนเฉียง ใหความรูสึกเคลื่อนไหว ไมมั่นคง อยางไรก็ตาม ความหมายของสิ่งตางๆ ที่ปรากฏในภาพหรือภาพถายที่ ใช ในงานสิ่ ง พิ ม พ นั้ น เกิ ด จากความสั ม พั น ธ กั บ รูปสัญญะอื่นๆ ทั้งนี้ นักสื่อสารดวยภาพตองตระหนักวาความหมายของภาพล ว นมี ค วามหลากหลาย กล า วคื อ ภาพสามารถมี ความหมายอยางไรก็ไดตามที่ผูรับสารปรารถนาที่จะใหเปน ความหมายของภาพถูกกําหนดโดยองคประกอบแวดล อ มจํ า นวนมาก ดังนั้น การถอดรหัส เขาใจถึงบริบท ภาษาภาพ ความหมายของภาพ และต อ งมี สายตาแห ง จิ น ตนาการที่ ต อ งหมั่ น ฝ ก ฝน ต อ ง ความรูเ กี่ยวกับบริบทของการบันทึกภาพ เหตุการณแวดลอมอื่นๆ ช ว งเวลาของเรื่ อ งราว และการเลื อ กใช ภ าพประกอบสํ า หรั บ สิ่งพิมพนั้น จะทําใหผูรับสารสามารถตีความหมายไดชัดเจนมากขึ้น

ความหมาย คุณลักษณะ และความสําคัญของประเภทภาพเชิงวารสารศาสตร ภาพเชิงวารสารศาสตร ทั้งภาพประกอบและภาพถ า ย เป น งานทางการสื่ อ สารที่ เ กิ ด จากการผสมผสานระหว า งหลั ก วิชาการถายภาพ การวาดภาพ(ทั้งภาพวาดประกอบดวยมือลและภาพดิจิทัล) กับการเขี ย นเชิ ง วารสารศาสตร นั บ ตั้ ง แต มี ก ารใช ภาพประกอบและภาพถายในสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ ภาพเชิ ง วารสารศาสตร ไ ด เ ป น แหล ง เอกสารทางประวั ติ ศ าสตร ที่ บั น ทึ ก เรื่ อ งราวที่ กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงตอสังคมมาหลายยุคสมัย

ความหมายของภาพและภาพถายเชิงวารสารศาสตร (Photojournalism) ศัพทบัญญัติวิชาถายภาพฉบับราชบัณฑิตยสถาน ไดใหคําแปลของคําวา Photojournalism วาหมายถึ ง “วารสารศาสตร การถายภาพ” (ราชบัณฑิตยสถาน. 2530: 69) สนั่น ปทมะนิน (2516: 1) กลาวถึงวิชาการถายภาพเชิงวารสารศาสตรวา เปนวิชาที่ใหความรูในเรื่อ งการผลิ ต หรื อ ถ า ยทํ า ภาพนิ่งเพื่อใชเปนภาพตนฉบับสําหรับถายทอด (reproduce) เปนบล็อกหรือแมพิมพสําหรัยตีพิ ม พ สิ่ง พิ ม พ ต า งๆ โดยเฉพาะ เช น หนังสือพิมพและนิตยสาร และอาจรวมไปถึงสิ่งพิมพอื่นๆ ดวย ในฐานะเปนภาพประกอบตัวหนังสือของสิ่งพิมพนั้น


แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร |

7

มาลี บุญศิริพันธ (2531 อางในสุรสิทธิ์ วิทยารัฐ, 2545: 51) สรุปวา เนื่องจากหนังสือพิมพมีหนาที่ห ลักในการรายงานขาว ดังนั้นภาพขาวจึงเปนสวนหนึ่งของหนังสื อพิมพที่มีความจําเปนและมีความสําคัญมาก เนื่องจากภาพสามารถบอกรายละเอี ยดของ เรื่องราวไดมากกวา บรรยายดว ยคําพูด แมแตคนอานหนังสือไมออกก็สามารถเขาใจเรื่องราวตางๆ ไดมากขึ้น Frank P. Hoy (1993: 5) กลาวถึงความหมายของภาพถายเชิงวารสารศาสตรวา เปน งานที่ เ กิ ด จากการทํ า หน า ที่ ร ว มกั น ระหวางภาพถายกับงานเขียนเพื่อประกอบการรายงานขาวสารตางๆ โดยรวมแลว ภาพและภาพถายเชิงวารสารศาสตรจึงเปนการถายภาพด ว ยกล อ งถ า ยภาพหรื อ ภาพประกอบที่ จั ด ทํ า ขึ้ น เพื่อนําเสนอในสื่อสิ่งพิมพหรือสื่ออื่นใดที่มีการบูรณาการรวมกันกับระบบของการรายงานดวยลายลักษณ อั ก ษรต อ สาธารณชน ซึ่ ง อาจเปนการตั้งชื่อภาพ คําอธิบายภาพ หรือเนื้อเรื่องประกอบภาพ

คุณลักษณะของภาพและภาพถายเชิงวารสารศาสตร Frank P. Hoy (1986: 5-9) กลาวถึงคุณลักษณะของภาพถายเชิงวารสารศาสตรไว 8 ประการ ดังนี้ 1. ภาพเชิงวารสารศาสตร ตองมีความชัดเจน เพื่อสื่อใหผูชมเขาใจสถานการณไดทันที 2. ภาพถายเชิงวารสารศาสตร เปนภาพที่นําเสนอผานสื่อสิ่งพิมพ และสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวของ 3. ภาพถายเชิงวารสารศาสตร เปนงานที่คัดเลือกภาพเพื่อรายงานขาวสารบางแงมุมของภาพผานมุมมองของผูสงสาร 4. ภาพถายเชิงวารสารศาสตร เปนการสื่อสารที่บูรณาการระหวางภาพและขอความ 5. ภาพถายเชิงวารสารศาสตร เกี่ยวของกับผูคน ผูคนเปนทั้งสารและผูรับสาร เพราะคนคือองคประกอบหลักของสาร 6. ภาพถายเชิงวารสารศาสตร ตองสื่อสารกับมวลชน ภาพตองมีลักษณะของเนื้อหาสาธารณะ 7. ภาพถายเชิง วารสารศาสตร นํ า เสนอโดยผ า นกองบรรณาธิ ก ารภาพ โดยมี ห น า ที่ ทํ า ให ภ าพสื่ อ สารได อ ย า งมี ประสิทธิภาพ 8. การรายงานขาวดวยภาพ ทําใหผูคนรับรูวาอะไรเกิดขึ้น ซึ่งเปนความเชื่อพื้นฐานของภาพถายเชิงวารสารศาสตร

ความสําคัญของภาพและภาพถายเชิงวารสารศาสตร ภาพถายและภาพขาว สามารถสื่อความหมายได เ ช น เดี ย วกั บ ตั ว หนั ง สื อ ดั ง นั้ น ภาพข า วจึ ง มี ค วามสํ า คั ญ ยิ่ ง ในงาน สิ่งพิมพ เปนที่ยอมรับโดยทั่วไปวาขาวทีม่ ีคุณคา นาสนใจ หากมีภาพเหตุการณหรือเรื่องราวขาวประกอบจะทําใหได รั บ ความสนใจ และเชื่อถือมากยิ่งขึ้น ความสําคัญของภาพที่ทําหนาที่รวมกับงานเขียนนั้น มีดังตอไปนี้ 1. ภาพเปนหลักฐานที่ยืน ยันความจริงและสรางความน าเชื่อถือให กับเรื่องราว 2. ภาพชวยสรางความเขาใจตอเรื่องราวไดตรงตามเหตุการณ 3. ภาพสามารถเรา สายตาของผู อานไดดี 4. ภาพสามารถถายทอดอารมณความรูสึกของบุคคลหรือเหตุการณไดดี 5. ภาพสามารถที่จ ะยกระดับความสําคัญของคุณคาของขาวสาร 6. ภาพถายชวยเพิ่มความสวยงามแก สิ่งพิมพ


แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร |

8

ประเภทของภาพและภาพถายเชิงวารสารศาสตร การจัดประเภทขึ้นอยูกั บหลั กเกณฑและวัตถุ ประสงค เชน ดานเนื้อหาภาพ อาจเปน ภาพขาว ภาพเชิงสารคดี ภาพบุคคล ภาพงานโฆษณา ภาพแฟชั่น เปนตน ในที่นี้จะใชเกณฑดานหนาที่ทางการสื่อสารรว มกับเนื้อหา โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. ภาพขาว คือการรายงานขอเท็จจริงในรู ปแบบของภาพที่ตองมีความถู กตองเปนจริงตามเหตุการณเรื่องราว มีความ นาเชื่อถือและรวดเร็วในการนําเสนอ แบ งเปน 3 ประเภท 1.1. ภาพขาว ณ ที่เกิดเหตุ เปนภาพที่ถา ยจากสถานที่และเหตุการณจริ ง เชน ขาวอุบัติเหตุ ขาวกีฬา เปนตน 1.2. ภาพขาวทั่วไป เปนภาพขาวที่เกิดขึ้นประจํา เชน การจัดแถลงขาว ภาพปญหาสิ่งแวดล อมที่เกิดขึ้นทุกวัน 1.3. ภาพประกอบขาว เปนภาพที่เสริมความเขาใจเนื้อหาขาว อาจใชภาพในอดีตมาประกอบเพื่อสรางความเขาใจ เหตุการณขาวในปจจุบัน 2. ภาพสารคดี คือภาพที่ถา ยทอดเรื่องราวตามขอเท็จจริงในเชิง สาระ ความรู และความสวยงาม แบงเปน 3 ประเภท 2.1. ภาพประกอบขอเขียนเพื่อเสริมความเขาใจในเรื่อ งราว เชน สารคดีทองเที่ย ว สารคดีสัตวเลี้ ยง 2.2. ภาพชุดเลาเรื่องเปนภาพแสดงลําดับขั้นตอนเรื่องราวเหตุการณ เชน ภาพชุดแสดงขั้นตอนการตอนกิ่งตนไม 2.3. สารคดีภาพ เปนการนําเสนอเนื้อหาดว ยภาพเพียงอยา งเดียว ไมจําเปนตองมีคําบรรยาย อาจใชเพียงหั วขอของ เรื่องนั้นๆ เพื่อเปนการแนะนําเนื้อหาเรื่องเพียงสั้นๆ 3. ภาพใหแ นวคิด เปนภาพที่ สะทอนมุมมองที่คนทั่วไปอาจจะมองขาม มักมีอ งคประกอบและรายละเอียดที่นาสนใจ อาจมีความกํากวมในการสื่อความหมาย จึงอาจตองมีคําอธิบายประกอบแตเปนการอธิบายแนวคิดของกลุม ภาพที่ นําเสนอ เชน บทกวีที่ ถายทอดแนวคิดจากภาพถา ย พบไดในนิตยสารบางฉบับ ในรูปแบบการนําเสนอแบบเรียงถอย รอยภาพ เพื่อนําเสนอภาษาเชิงวรรณศิลปร วมกับ ภาพ 4. ภาพเพื่อความบันเทิง เปนภาพที่ กอใหเกิดความสุข ความสบายตา เนนความสวยงามของการสื่อ สารดวยภาพ เชน ภาพถายแฟชั่น


แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร |

9

หลักการ EDFAT ของภาพถายเชิงวารสารศาสตร หลักการ EDFAT ของการสื่อสารดวยการถายภาพ มีลักษณะคลายกับปรัชญาหรือหลั ก การในการถ า ยภาพเชิ ง ข า ว,สาร คดี (Photojournalism) ภาพรวม(Entire), รายละเอี ย ด(Details), กรอบ(Frame), มุ ม (Angles) และ เวลา(Time) ดั ง ตั ว อย า ง ตอไปนี้ Entire-ภาพรวม การกดชัตเตอรจากสภาพแวดลอมที่สมบูรณแบบในรู ป โดย พิจารณาความหมายจากฉากทั้งหมดที่สามารถบรรยายและ อธิบายเหตุการณไดจากภาพรวม Photo by Chris Yambing

Details-รายละเอียด ภาพนีแ้ สดงใหเห็นถึงรายละเอี ย ดของสิ่ ง ที่ อ ยู ในภาพ จาก วัตถุที่มีลักษณะคล า ยกั น แต ต า งกั น ตรงรายละเอี ย ดของ ตราสัญลักษณที่ไมเหมือนกัน Photo by Chris Yambing


แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร |

10

Frame-กรอบ สนใจองคประกอบโดยรอบของเรื่องของคุ ณ และให ป รั บ ปรุ ง องค ป ระกอบที่ จํ า เป น ผ า นช อ งมองภาพ ของคุ ณ ถ า คุ ณ สามารถกรอบหัวข อ ของคุ ณ โดยใช ใด ๆขององค ป ระกอบ เหลานั้น การถายภาพของคุณจะคมมากขึ้น Photo by Chris Yambing

Angles-มุม ไม มี เ นื้ อ หาถ า ยภาพ ในมุ ม ที่ ง า ยที่ สุด มั น จะดี ก ว า ที่ จ ะ ถายภาพด า นล า ง , ด า นบน , จากซ า ย , ขวา ? คุ ณ จะไม ทราบจนกวาคุณจะลอง Photo by Chris Yambing


แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร |

11

Time-เวลา เวลาในความรูสึกนี้เปนสองเท า ซึ่ ง หมายถึ ง ว า สถานการณ นั้นเปนไปอยางรวดเร็ว และเวลาในการรอโอกาสที่เหมาะสม สําหรับการกดชัตเตอรของคุณจะเร็วจะชา จะส ง ผลต อ ภาพ ผมจะเปรียบเทียบใหเห็นไฟสีเหลื อ ง ในขณะที่ บ นท อ งถนน มันขึ้นอยูกับคุณที่จะตัดสินใจวาคุณตอ งการที่ จ ะช า ลงหรื อ เร็วขึ้น Photo by Chris Yambing

หลักจริยธรรมและจรรยาบรรณสําหรับภาพเชิงวารสารศาสตร จริยธรรมเปนหลักแหงความดีงามที่เกี่ยวของกับมนุษยที่พึงปฏิบัติตอเพื่อ นมนุ ษ ย อี ก ทั้ ง ยั ง เป น หลั ก ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การ ประเมินคาการกระทําของมนุษย วิทย วิศทเวทย(2537) ไดกลาวถึงหลักแนวคิดทางจริยธรรมแมบทที่สําคัญ 3 หลักการดังนี้ 1. หลักประโยชนสุขนิยม (Utilitarianism) นักคิดคนสําคัญคือ จอหน สจวต มิลล (John Stuart Mill) มีหลักการสํา คั ญ เรี ย กว า “หลั ก มหสุ ข ” ว า สิ่ ง ที่ ค วร ทําคือสิ่งที่กอประโยชนสุขมากที่สุดแกคนจํานวนมากที่สุด ซึ่งสอดคลองกับรายงานภาพหรื อ แนวทางกฎหมายไทย ในเรื่อง “ประโยชนตอสาธารณะ” กลาวคือ ภาพเชิงวารสารศาสตรจะมุงเนนการรายงานภาพเหตุ ก ารณ ที่ น า จะมี ผล ตอการเปลี่ยนแปลงสังคมไปในทางที่ดีขึ้น ผูอานหรือประชาชนจะมีความสุขมากยิ่งขึ้นจากผลการรายงานภาพข า ว นั้นๆ ซึ่งอาจนําไปสูการวิพากษวิจารณของสังคม ผลักดันนโยบายทางเศรษฐกิจตางๆ เปนตน 2. หลักจริยธรรมเชิงหนาที่ (Duty Ethics) อิมมานูเอล คานท (Emmanuel Kant) มีหลักการสําคัญที่เรียกวา “จริยธรรมเชิงหนาที่” ซึ่งเกี่ ย วกั บ การนํ า เสนอ ภาพทางวารสารศาสตรดวยหลัก 2 ประการ คือ o มนุษยตองทําตามหนาที่ ทั้งนี้ตองพิจารณาจากเจตนาแหงการกระทํ า การมี เ จตนาดี คื อ การหลุ ด พ น จากความรูสึกไมวาจะเปนทางบวกหรือลบ แตกระทําตั้ง อยู ในหลั ก การแห ง เหตุ ผล โดยไม คํ า นึ ง ถึ ง ผล ใดๆ ที่จะเกิดขึ้น o จงอยาใชเพื่อนมนุษยเปนเครื่องมือเพื่อการใด


แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร |

12

จากหลักการดังกลาว พิจารณาไดวา การนําเสนอภาพเชิง วารสารศาสตร โ ดยมี ก ารบิ ด เบื อ นข อ เท็ จ จริ ง การ นําเสนอภาพขาวโดยละเมิดสิทธิสวนบุคคลของผูที่ต กเป น ข า ว การตี พิ ม พ ภ าพที่ เ จ า ตั ว ปราศจากความยิ น ยอม การ ติดตามถายภาพของชางภาพอิสระ ถือเปนสิ่งที่ขัดตอจริยธรรมทั้งสิ้น 3. หลักจริยธรรมสายกลาง (Golden means) อริสโตเติลเสนอวา บุคคลพึงหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่สุดโตง หลักจริยธรรมดังกลาวไมได พิ จ ารณาคุ ณ ค า ของการ กระทําจากเหตุหรือผลจากการกระทํา หากแตเห็นวา คุณคาของความดี ง ามอยู ร ะหว า งความคิ ด ที่ สุด โต ง ทั้ ง สอง ดานโดยไมมีกฎเกณฑตายตัว คุณธรรมควรเกิดจากความรูสึกที่เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล แนวทางดังกลาวอยูที่ดุลยพินิจของบรรณาธิการสื่อสิ่งพิ มพในการคั ด เลื อ กภาพเพื่ อ นํ า เสนอให เ หมาะสมกั บ บริบท ไดแก เวลา สถานที่ และบุคคลที่เกี่ยวของกับขาวนั้นๆ จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพที่เกี่ยวกับการนําเสนองานภาพเชิงวารสารศาสตร มีดังนี้ 1. หลักแหงประโยชนสาธารณะ 2. หลักแหงความถูกตองเปนจริง 3. หลักแหงศักดิ์ศรีความเปนมนุษย 4. หลักแหงรสนิยมที่ดี 5. หลักแหงวิธีการที่สุภาพและซื่อสัตย 6. หลักแหงการไมลวงละเมิดสิทธิสวนบุคคล

แบบจําลองการสื่อสารของ Jakobson จาคอบสัน (Jakobson : 1960) เปนนักภาษาศาสตร ดวยเหตุนี้เขาจึงสนใจในความหมายและโครงสร า งภายในของสาร โดยกลาวถึงองคประกอบในการสื่ อ สารของเหตุ ก ารณ ท างวาทะใดๆ ซึ่ ง มี อ งค ป ระกอบได แ ก ผู สง สาร (addresser) ส ง สาร (message) ไปยังผูรับสาร (addresse) ซึ่งสารจะกล า วถึ ง บางสิ่ ง บางอย า งมากกว า เป น แค ตั ว สารเอง เขาเรี ย กสิ่ ง นี้ ว า บริ บ ท (context) ซึ่งเปนองคประกอบที่เชื่อมโยงระหวางผูสงสารและผูรับสาร สามารถเป น ที่ เ ข า ใจได ข องผู รั บ สาร การติ ด ต อ (contact) ซึ่งหมายถึงชองทางทางกายภาพ และการเชี่อมโยงทางจิตใจ ระหวางผูสงสารและผู รั บ สารและป จ จั ย สุ ด ท า ย คื อ รหั ส (code) ซึ่ ง เปนระบบของการเขาใจความรวมกันที่สารถูกสร า งขึ้ น ซึ่ ง แต ละส ว นแสดงให เ ห็ น ถึ ง หน า ที่ ที่ แ ตกต า งของภาษา และในแต ละ พฤติกรรมในการสื่อสารจะพบลําดับขั้นของหนาที่ (hierarchy of function) เขาจึงไดสร า งแบบจํ า ลองขึ้ น อี ก เพื่ อ ใช อ ธิ บ ายหน า ที่ ทั้ง 6 ของกระบวนการสื่อสาร ดังแผนภาพ

Addresser

Context Message Contact Code Jakobson’s Communication Model

Addresse


แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร |

13

สามารถวิเคราะหอ งคประกอบการสื่อ สารในทัศนะของ Jakobson 6 องคประกอบไดดังนี้ 1. หน า ที่ ท างอารมณ (emotive function) คื อ ความสั ม พั น ข องสารที่ ผู สง สารต อ งการเสนอ (ซึ่ ง เรามั ก ใช คํ า ว า “แสดงออก” แทน) หนาที่ทางอารมณของสารคือการสื่อสารทางอารมณ ทัศนคติ สถานะ ลํ า ดั บ ขั้ น ซึ่ ง ทุ ก ส ว นประกอบนี้ จ ะสร า ง สารที่มีลักษณะเฉพาะบุคคล ในบางสาร เชน บทกวี เ กี่ ย วกั บ ความรั ก การแสดงออกทางอารมณ จึ ง เป น สิ่ ง สํ า คั ญ หรื อ ในการ รายงานขาวการแสดงออกทางอารมณจะถูกควบคุม 2. หนาที่ของความพยายาม (conative function) ซึ่งหมายถึงผลของสารที่ เ กิ ด กั บ ผู รั บ สาสน เช น ในการออกคํ า สั่ ง หรื อ โฆษณาชวนเชื่อ หนาที่นี้จะมีความสําคัญอยางมาก ในการสื่อสารรูปแบบอื่นๆ จะถูกกําหนดใหสนใจนอยลง 3. หนาที่ของการอางอิง (referential function) “การปรับ เปลี่ ย นความจริ ง ” ของสารจะถู ก ให ค วามสํ า คั ญ อย า งมากใน วัตถุประสงคของการสื่อสารที่ขึ้นอยูกับความจริง ซึ่งเนนที่ “ความจริง” หรือ ความถูกตองที่แทจ ริ ง ซึ่ ง ทั้ ง 3 ส ว นนี้ สามารถเห็ น ได อยางชัดเจน หนาที่ของสามัญสํานึกสามารถแสดง ออกในระดับที่หลากหลายในพฤติกรรมทางการสื่อสาร 4. สวนหนาที่ของ (Phatic) เปนการรักษาชองทางการสื่อสารใหคงอยูตอไป ซึ่งจะเป น การรั ก ษาความสั ม พั น ธ ร ะหว า งผู สงสารกับผูรับสารไวใหการสื่อสารเกิดขึ้น หากกลับไปดูปจจัยดานการติดตอ ซึ่งก็คือการทําให เ กิ ด การเชื่ อ มโยงทางกายภาพและ ทางจิตใจ ซึ่งมีคําอื่นๆ ที่เรียก คือ การตอกย้ําซ้ําทวน (redundant) ซึ่งเปนองคประกอบของสาร ซึ่ ง หน า ที่ ที่ 2 ของการตอกย้ํ า ซ้ํ า ทวน ก็คือ Phatic นั่นเอง 5. หนาที่ของอัตภาษา (Metalingual) ของการแสดงรหัสที่ถูกใช เมื่อเราใชคําวา “การตอกย้ํ า ซ้ํ า ทวน” เราต อ งการสร า ง ขอเท็จจริงที่ชัดเจน โดยการใชรหัสของทฤษฎีการสื่อสารเชน กลองบุหรี่ที่วางเปลาถูกโยนทิ้งไวบนหนังสือพิมพเกา ซึ่ง เป น ขยะทั่ ว ๆ ไป แตถาเรานํากลองบุหรี่เปลาไปติดไวกับกระดาษ ใสกรอบ แลวแขวนไวบนกําแพงในแกลลอรี่ มันจะกลายเปนศิลปะ

การวิเคราะหภาพถายเชิงวารสารศาสตร

ชื่อภาพ “The Napalm Girl of Trangbang”


แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร |

14

กรณี ศกึ ษาภาพ “The Napalm Girl of Trangbang” โดย Nick Ut สํานักขาว Assocoated Press ที่มา Hal Buell and Seymour Topping (1999)

Nick Ut บันทึกภาพการทิ้งระเบิดนาปาลมลงหมูบาน Trangbang เมื่ อ วั น ที่ 8 มิ ถุ น ายน 1972 เนื่ อ งจากสงสั ย ว า มี ก อง กําลังเวียดกงซุมซอนอยูในหมูบาน Kim Phuc อายุ 9 ป วิ่งหนีออกจากหมูบานมาตามถนน ในสภาพไม มี ทั้ ง เสื้ อ ผ า พร อ มกั บ พี่ ช าย อายุ 12 ป ทางซายสุดของภาพและนองชายอายุ 5 ปที่วิ่งไปพรอมกับเหลียวหลังไปมองที่หมูบาน ภาพนี้ ไ ด รั บ รางวั ลพู ลลิ ต เซอร ใน ป 1973 ภาพนี้เปนประเด็นโตแยงในเชิงจริยธรรม ทั้งนี้ในชวงเวลานั้ น สํ า นั ก ข า ว AP มี น โยบายไม ตี พิ ม พ ภ าพเปลื อ ยโดยไม มี ขอยกเวน แตหลังจากการโตแยงในกองบรรณาธิการในที่สุดเห็นวา มาตรฐานทางจริยธรรมเกี่ยวกับภาพเปลือยไม ส ามารถใช ไ ด กั บ กรณีนี้ ซึ่งแนวทางนี้สอดคลองกับหลักจริยธรรมทางสายกลางของ Aristotle ที่ พิ จ ารณาจากเงื่ อ นไขด า นกาละ เทศะ และบุ ค คล ตลอดจนถึงบริบทที่เกี่ยวของ ภาพนี้เปนสัญลักษณของความนากลัวของสงคราม Kim Phuc ไดกลายเปน สั ญ ลั ก ษณ ข องผู ต อ ต า นสงครามและได รั บ ตําแหนงทูตสันติภาพในป 1997 นั่นแสดงใหเห็นวาภาพนี้เปนประโยชนตอสาธารณชน สอดคล อ งกั บ หลั ก ประโยชน สุข นิ ย มของ John Stuart Mill อยางไรก็ตามแนวทางการนําเสนอภาพดังกลาว นาจะขัดตอ หลั ก จริ ย ธรรมเชิ ง หน า ที่ ข อง Kant ในแง ข องการใช เ พื่ อ น มนุษยเปนเครื่องมือ แมวาภาพนี้จะถูกใชเปนเครื่องมือเพื่อการสรางสันติภาพใหกับโลก และยัง เป น การรายงานความถู ก ต อ งเป น จริงตามหลักวารสารศาสตร

Kim Phuc (born 1963) สัญชาติเวียดนาม-แคนาดา ทูตสันติภาพในป 1997 และหากวิเคราะหตามหลักการ EDFAT ของการสื่อสารดว ยภาพถ า ยเชิ ง วารสารศาสตร แ ล ว จะพบว า ภาพดั ง กล า วมี ลักษณะตรงตามหลั ก การ EDFAT อั น ได แ ก ภาพรวม(Entire), รายละเอี ย ด(Details), กรอบ(Frame), มุ ม (Angles) และ เวลา (Time) อยางครบถวน


แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร |

15

บรรณานุกรม • •

• • • • • • • • • •

Frank P. Hoy. 1986. Photo Journalism: the visual approach. London : Prentice-Hall, Englewood Cliffs, N.J. EDFAT and the Art of Seeing. 2557. (ระบบออนไลน) แหลงที่มา http://www.lomography.co.th/magazine/lifestyle/2013/08/23/edfat-and-the-art-of-seeing

ชลูด นิ่มเสมอ. 2534. องคประกอบของศิลปะ. กรุงเทพมหานคร:สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช. ทองเจือ เขียดทอง. 2548. การออกแบบสัญลักษณ. กรุงเทพมหานคร:สํานักพิมพสิปประภา. ธารทิพย เสรินทวัฒน. 2550. ทัศนศิลปการออกแบบพาณิชยศิลป. กรุงเทพฯ : หลักไทชางพิมพ. ปาพจน หนุนภักดี. 2553. หลักการและกระบวนการออกแบบงานกราฟกดีไซน. กรุงเทพมหานคร:บริษัท ไอดีซี พรีเมียร จํากัด. ปราโมทย แสงผลสิทธิ.์ 2540. การออกแบบนิเทศศิลป. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ วี.เจ. พริ้นติ้ง. มัย ตะติยะ. 2547. สุนทรียภาพทางทัศนศิลป. กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพมิตรสัมพันธกราฟฟค จํากัด. มาลี บุญศิริพันธ . 2550. วารสารศาสตรเบื้องตนปรัชญาและแนวคิด. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. วิรุณ ตั้งเจริญ. 2545. ประวัติศาสตรศิลปและการออกแบบ. กรุงเทพมหานคร:สํานักพิมพอีแอนไอคิว. สนั่น ปทมะทิน. 2530. การถายภาพสําหรับหนังสือพิมพ. กรุงเทพมหานคร : สถาบันพัฒนาการหนังสือพิมพแหงประเทศไทย. สภาการหนังสือพิมพแหงชาติ. 2555. ขอบังคับวาดวยจริยธรรมแหงวิชาชีพหนังสือพิมพสภาการหนังสือพิมพแหงชาติ พ.ศ.2541. (ระบบออนไลน) แหลงทีม่ า http://www.presscouncil.or.th/th2/content/view/4/8/. (19 พฤศจิกายน 2555) • สุรสิทธิ์ วิทยารัฐ. 2549. การสื่อขาว : หลักการและเทคนิค. กรุงเทพฯ : ศูนยหนังสือสถาบันราชภัฏสวนสุนนั ทา. • โสรชัย นันทวัชรวิบูลย. 2545. Be Graphic สูเสนทางกราฟกดีไซเนอร. กรุงเทพมหานคร:บริษัท เอ.อาร.อินฟอรเมชัน แอนด พั บ ลิ เ คชั น จํากัด. • อารยะ ศรีกัลยาณบุตร. 2550. การออกแบบสิ่งพิมพ. กรุงเทพมหานคร : วิสคอมเซ็นเตอร.

ภาพประกอบบางสวนจาก • www.asiancorrespondent.com

• www.derby-web-design-agency.co.uk

• www.lib.vit.src.ku.ac.th

• www.oliviagreavesdesign.com

• www.chrisdrogaris.com

• www.yanchaow.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.