Ca221 week02 grid system

Page 1

นศ 221

การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ 1

[CA 221 Printed Media Design 1] รวมรวม/เรียบเรียง โดย อาจารยณัฏฐพงษ สายพิณ

สาขาวิชานิเทศศาสตร์ บูรณาการ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ โจ้

หลักการออกแบบและระบบกริด

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : หลักการออกแบบและระบบกริ ด (Grid System)| 1


“หลักการออกแบบและระบบกริ ด (Grid System)” มีหลักการมากมายสําหรับการออกแบบและที่สาํ คัญการจะสือ่ สารความคิดของนักออกแบบได้ ดีก็ต้องมี ระบบ ระเบียบในการจัดวางองค์ประกอบหรื อเรี ยกอีกอย่างว่า การจัดวางเลย์ เอ้ าท์ ” ทังให้ ้ ดงู ่าย เน้ นบางจุดที่จะสือ่ สาร มีสว่ น ช่วยในการวางองค์ประกอบในด้ านตําแหน่ง และขนาด 2 ประการ คือ 1. สร้ างความกลมกลืนให้ กบั องค์ประกอบในพื ้นที่ หน้ ากระดาษ ใน 1 หน่วยใหญ่ 2. ช่วยกําหนดขนาดบนพื ้นที่หน่วยใหญ่ โดยกําหนดการวางตําแหน่งลงสูห่ น่วยย่อย ความหมายของระบบกริด • ระบบกริ ด เรี ยกได้ อีกอย่างหนึง่ ว่า “ระบบตาราง” • เป็ นเครื่ องมือที่เป็ นแนวทางการจัดองค์ประกอบใช้ ในการออกแบบกราฟิ ก • ใช้ แบ่งหน้ ากระดาษออกเป็ นพื ้นที่ยอ่ ยๆให้ มีขนาดเล็กลงแทนที่จะเป็ นพื ้นที่ขนาดใหญ่เพียงอย่างเดียว โดยการ ใช้ เส้ นตรงในแนวตังและเส้ ้ นตรงในแนวนอนหลายๆเส้ น ลากตัดกันเป็ นมุมฉากบนพื ้นที่หน้ ากระดาษ • สามารถพลิกแพลงแบบได้ ตลอดเวลา ไม่มีกฎบังคับให้ องค์ประกอบต่าง ๆ อยูแ่ ต่เพียงภายในกรอบที่จดั ไว้ แต่ ให้ ดูผลงานสุดท้ ายเป็ นหลัก • การใช้ กริ ดไม่ใช่สงิ่ ใหม่ นักออกแบบและศิลปิ นได้ ใช้ โครงสร้ างกริ ดกันมานานนับศตวรรษแล้ ว ส่ วนประกอบต่ าง ๆ ของกริดในหน้ าออกแบบ 1. มาร์ จิ ้น (margins) 2. โมดูล (Module/Grid Units) 3. อาล์ลยี ์ (Alleys) 4. กัตเตอร์ (Gutters) 5. คอลัมน์ (Columns) 6. โรว์ (Rows) 7. สเปเชียลโซน (Spatial Zones) 8. โฟลว์ไลน์/แฮงไลน์/ (Flowlines/Hanglines) 9. มาร์ คเกอร์ (Markers)

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : หลักการออกแบบและระบบกริ ด (Grid System)| 2


มาร์ จนิ ้ /ช่ องว่ างรอบขอบกระดาษ (margins) • มาร์ จิ ้นคือช่องว่างที่อยูร่ ะหว่างขอบของพื ้นที่ทํางานซึง่ มีตวั อักษรหรื อภาพปรากฏอยูก่ บั ขอบของกระดาษทังสี ้ ่ ด้ าน • ความกว้ างจากขอบกระดาษของช่องว่างนี ้ไม่จําเป็ นต้ องเท่ากันทังสี ้ ด่ ้ านแต่ควรเป็ นแบบแผนเดียวกันทุก ๆ หน้ า ในเล่มเพื่อความต่อเนื่อง • มาร์ จิ ้นเป็ นจุดพักสายตา แต่สามารถใช้ เป็ นที่ใส่เลขหน้ า หัวเรื่ อง คําอธิบายต่าง ๆ หรื อบทความขยายสัน้ ๆ และ อาจใช้ เป็ นที่ดงึ ดูดความสนใจ โมดูล/หน่ วยกริด (Module/Grid Units) • โมดูลคือช่องที่เกิดจากการแบ่งหน้ าออกแบบด้ วยเส้ นกริ ดตามแนวตังและแนวนอนออกเป็ ้ นส่วน ๆ • ใช้ เป็ นพื ้นที่ใส่ตวั อักษรหรื อภาพ • การแบ่งส่วนระหว่างโมดูลจะมีการเว้ นช่องว่างไว้ ไม่ให้ โมดูลติดชิดกัน • การใช้ พื ้นที่ในการวางตัวอักษรหรื อภาพไม่จําเป็ นต้ องถูกจํากัดอยูภ่ ายในแต่ละโมดูล แต่สามารถกินพื ้นที่หลาย โมดูล

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : หลักการออกแบบและระบบกริ ด (Grid System)| 3


อาล์ ลีย์/ช่ องว่ างระหว่ างโมดูล (Alleys) • อาล์ลยี ์คือช่องว่างระหว่างโมดูลที่ติดกัน ช่องว่างดังกล่าวอาจทอดยาวเป็ นแนวตัง้ หรื อแนวนอน หรื ออาจเป็ นทัง้ แนวตังและแนวนอนก็ ้ ได้ • อาล์ลยี ์แต่ละแนวอาจมีความกว้ างที่ตา่ งกันในหน้ าหนึง่ ๆ ก็ได้ แล้ วแต่ผ้ อู อกแบบ

กัตเตอร์ /ช่ องว่ างระหว่ างหน้ าตามแนวพับ (Gutters) • กัตเตอร์ คือช่องว่างระหว่างโมดูลของหน้ าสองหน้ าที่ตอ่ กันโดยมีแนวพับอยูต่ รงกลาง • ในการออกแบบหน้ าหนังสือ ให้ ระวังอย่าให้ ความกว้ างของกัตเตอร์ แคบเกินไปจนทําให้ ข้อความตามแนวสัน หนังสือขาดหายหรื ออ่านลําบาก คอลัมน์ /แถวในแนวตัง้ (Columns) • คอลัมน์คือโมดูลที่ตอ่ ๆ กันในแนวตัง้ ซึง่ ช่องว่างระหว่างคอลัมน์ก็คืออาล์ลยี ์/กัตเตอร์ นนั่ เอง • ในหน้ าออกแบบหนึง่ หน้ าสามารถแบ่งคอลัมน์ได้ กี่แถวก็ได้ และความกว้ างของแต่ละคอลัมน์ก็ไม่จําเป็ นต้ อง เท่ากันแล้ วแต่ผ้ อู อกแบบ โรว์ /แถวในแนวนอน (Rows) • โรว์คือโมดูลที่ตอ่ ๆ กันในแนวนอนซึง่ ต่างจากคอลัมน์ที่ตอ่ กันในแนวตัง้ และถูกแบ่งแยกจากกันด้ วยอาล์ลยี ์/กัต เตอร์ เช่นกัน สเปเชียลโซน/พืน้ ที่ครอบคลุม (Spatial Zones) • คือกลุม่ ของโมดูลที่ตอ่ ติดกันทังแนวตั ้ งและแนวนอนทํ ้ าให้ เกิดพื ้นที่ที่ใหญ่ขึ ้น • ถูกนําไปใช้ ในการแสดงข้ อมูลโดยใส่เป็ นข้ อความตัวอักษร หรื อภาพก็ได้ โฟลว์ ไลน์ /แฮงไลน์ /เส้ นขวาง (Flowlines/Hanglines) • คือเส้ นแบ่งในแนวนอน ใช้ เหนี่ยวนําสายตาจากส่วนหนึง่ ไปอีกส่วนหนึง่ หรื อเป็ นตัวคัน่ เมื่อจบเรื่ องราว/ภาพหนึง่ และกําลังขึ ้นต้ นเรื่ องราว/ภาพอีกชุดหนึง่ มาร์ คเกอร์ /ตัวชีต้ าํ แหน่ ง (Markers) • มาร์ คเกอร์ คือเครื่ องหมายที่กําหนดตําแหน่งบริ เวณไว้ สาํ หรับใส่ข้อความสันๆ ้ ที่ระบุหมวดหมู่ เปลีย่ นไปเรื่ อยๆ • มักมีตําแหน่งเดียวในแต่ละหน้ า

หัวเรื่ องที่

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : หลักการออกแบบและระบบกริ ด (Grid System)| 4


ส่ วนประกอบหลักๆ ในระบบกริด รูปแบบต่ าง ๆ ของกริด (Grid types) รูปแบบพื ้นฐานของกริ ดมีอยู่ 4 ประเภท – เมนูสคริ ปต์กริ ด (Manuscript Grid) – คอลัมน์กริ ด (Column Grid) – โมดูลาร์ กริ ด (Modular Grid) – ไฮราซิคลั กริ ด (Hierarchical Grid) รูปแบบพื ้นฐานทังสี ้ แ่ บบนี ้สามารถนําไปพัฒนาสร้ างแบบทังที ้ ่เรี ยบง่ายจนถึงแบบที่พลิกแพลงซับซ้ อนขึ ้น เมนูสคริปต์ กริด (Manuscript Grid)

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : หลักการออกแบบและระบบกริ ด (Grid System)| 5


• • • •

เป็ นกริ ดที่มีโครงสร้ างเรี ยบง่ายเป็ นบล็อกใหญ่บล็อกเดียวหรื อคอลัมน์เดียว มีชื่อเรี ยกอีกชื่อว่า บล็อกกริ ด (Block Grid) ใช้ กบั สิง่ พิมพ์ที่มีแต่เนื ้อหาเป็ นหลัก เช่น หนังสือ นวนิยาย ตํารา จดหมายข่าว ฯลฯ แต่ก็สามารถ นําภาพมาวางประกอบ เรี ยบง่ายแต่ก็สามารถปรับแต่งเลย์เอ้ าท์ให้ ดนู า่ สนใจได้ และไม่จําเจเมื่อเปิ ดหน้ าต่อหน้ า

คอลัมน์ กริด (Column Grid)

• • • • •

เป็ นรูปแบบกริ ดที่มีคอลัมน์มากกว่าหนึง่ คอลัมน์ในหนึง่ หน้ าของแบบ มักมีความสูงเกือบสุดขอบของชิ ้นงาน ความกว้ างของแต่ละคอลัมน์ไม่จําเป็ นต้ องเท่ากัน กริ ดในรูปแบบนี ้มักถูกนําไปใช้ ใน นิตยสาร แคตตาล็อก โบรชัวร์ การวางภาพในรูปแบบกริ ดประเภทนี ้อาจจะจัดวางให้ มีความกว้ างเท่ากับหนึง่ คอลัมน์หรื อมากกว่าก็ได้

โมดูลาร์ กริด (Modular Grid)

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : หลักการออกแบบและระบบกริ ด (Grid System)| 6


• • •

เป็ นรูปแบบกริ ดที่ประกอบด้ วยโมดูลหลาย ๆ โมดูล เกิดจากการตีเส้ นตามแนวตังและแนวนอน ้ คือรูปแบบที่เกิดจากการแบ่งคอลัมน์ในคอลัมน์กริ ดตามแนวนอนทํา ให้ เกิดเป็ นโมดูลย่อย โมดูลาร์ กริ ดเป็ นรูปแบบที่สามารถนําไปจัดเลย์เอ้ าท์ได้ หลากหลาย สามารถประสมประสานภาพกับข้ อความเป็ น ชุด ๆ จัดแบ่งเรื่ องราวหลาย เรื่ องมาอยูใ่ นหน้ าเดียวกัน จัดภาพประกอบพร้ อมคําบรรยายหลาย ๆ ชุดในหนี่ง หน้ า จึเป็ นรูปแบบที่ประกอบด้ วยโมดูลย่อย ๆ มีความอิสระในการปรับแต่งเลย์เอ้ าท์ได้ สงู มีการนํามาใช้ ในการ ออกแบบหน้ า โบรชัวร์ แคตตาล็อก นิตยสารและหนังสือประเภทต่าง ๆ ด้ วยเช่นกัน

ไฮราซิคัลกริด (Hierarchical Grid)

• • • •

เป็ นรูปแบบกริ ดที่มีโครงสร้ างซับซ้ อน ประกอบด้ วยโมดูลได้ ทงที ั ้ ่มีขนาดเท่ากันหรื อแตกต่างกันมาจัดวางในหน้ าเดียวกัน และอาจมีการเกยกันของ โมดูลบางชิ ้น เป็ นรูปแบบที่ยากต่อการใช้ งานในการที่จะทําให้ เลย์เอ้ าท์ที่ออกมาดูดีและลงตัว มักใช้ ตอ่ เมื่อไม่สามารถใช้ กริ ดรูปแบบอื่น ส่วนหนึง่ ที่เลือกใช้ เนื่องจากขององค์ประกอบต่าง ๆ ของเลย์เอ้ าท์มี ความแตกต่างค่อนข้ างมาก เช่น อัตราส่วนของด้ านกว้ างกับด้ านยาวของภาพประกอบแต่ละภาพมีความ แตกต่างกันมาก ข้ อแนะนําในการจัดทํารูปแบบ ไฮราซิคลั กริ ด วิธีหนึง่ คือ นําองค์ประกอบต่าง ๆ ของแบบทังหมด ้ เช่น ภาพประกอบ เนื ้อหา หัวเรื่ อง ฯลฯ มากองไว้ พิจารณาภาพรวม ค่อย ๆ ทดลองจัดวางโดยขยับปรับขนาดแต่ละ องค์ประกอบจนดูแล้ วลงตัว พอมีแนวเป็ นหลักในการสร้ างกริ ดใช้ ร่วมกันทังชุ ้ ด/เล่มของงานพิมพ์ แล้ วจึงลงมือ ทํางาน รูปแบบกริ ดประเภทนี ้มีใช้ ในการออกแบบหน้ าหนังสือ โปสเตอร์ และฉลากผลิตภัณฑ์ เป็ นต้ น

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : หลักการออกแบบและระบบกริ ด (Grid System)| 7


ตัวอย่างระบบกริ ดอืน่ ๆ

ตัวอย่างระบบกริ ดอืน่ ๆ

ตัวอย่างระบบกริ ดอืน่ ๆ

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : หลักการออกแบบและระบบกริ ด (Grid System)| 8


ตัวอย่างระบบกริ ดอืน่ ๆ

การทําภาพประกอบ

ภาพประกอบหนังสือไม่วา่ จะเป็ นภาพถ่ายหรื อภาพที่วาดขึ ้นมาใหม่ควรมีลกั ษณะสอดคล้ องกับเนื ้อหาของ หนังสือในเล่มเป็ นสําคัญ ทังนี ้ ้รูปแบบลวดลายหรื อสไตล์นนจะขึ ั้ ้นอยูก่ บั กลุม่ เป้าหมายเป็ นสําคัญ นักออกแบบจึง จําเป็ นต้ องเข้ าใจถึงวัตถุประสงค์ของหนังสือเล่มนัน้ โดยใช้ หลักจิตวิทยามาช่วยจัดวางองค์ประกอบและสือ่ ความหมาย ของเนื ้อหาหรื อข้ อความในหน้ านันๆ ้ ให้ ดงึ ดูดและน่าสนใจได้

_______________________________________________________ บรรณานุกรม • จันทนา ทองประยูร. 2537. การออกแบบและจัดหน้ าสิ่งพิมพ์ . นนทบุรี : โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. • ปาพจน์ หนุนภักดี. 2553. หลักการและกระบวนการออกแบบงานกราฟิ กดีไซน์ . กรุงเทพมหานคร:บริ ษัท ไอ ดีซี พรี เมียร์ จํากัด. • ปราโมทย์ แสงผลสิทธิ์. 2540. การออกแบบนิเทศศิลป์. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ วี.เจ. พริ น้ ติ ้ง. • ปริ ญญา โรจน์อารยานนท์. 2544. ฟอนต์ ไทยที่ดีควรมีลักษณะอย่ างไร. แบบตัวพิมพ์ไทย ศูนย์เทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ. • โสรชัย นันทวัชรวิบลู ย์. 2545. Be Graphic สู่เส้ นทางกราฟิ กดีไซเนอร์ . กรุงเทพมหานคร :บริ ษัท เอ.อาร์ .อิน ฟอร์ เมชัน แอนด์ พับลิเคชัน จํากัด. • มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2552. การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ . สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช หน่วยที่ 1-7. • อารยะ ศรี กลั ยาณบุตร. 2550. การออกแบบสิ่งพิมพ์ . กรุงเทพมหานคร : วิสคอมเซ็นเตอร์ . นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : หลักการออกแบบและระบบกริ ด (Grid System)| 9


ภาพประกอบบางส่ วนจาก • http://www.google.co.th

• •

http://www.lungthong.com https://sites.google.com

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : หลักการออกแบบและระบบกริ ด (Grid System)| 10


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.