Ca221 week01 introduction to printed media design

Page 1

นศ 221

การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ 1

[CA 221 Printed Media Design 1] รวมรวม/เรียบเรียง โดย อาจารยณัฏฐพงษ สายพิณ สาขาวิชานิเทศศาสตร์ บูรณาการ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ โจ้

• ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ • กระบวนการคิดเบื้องตนในการออกแบบ

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 1


“ความรู้เบือ้ งต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ ” ความหมายของสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่อสิ่งพิมพ์ ออนไลน์ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ ให้ ความหมายคําที่เกี่ยวกับ“สื่อสิ่งพิมพ์”ไว้ วา่ “สิ่งพิมพ์ หมายถึง สมุด แผ่นกระดาษ หรื อวัตถุใด ๆ ที่พิมพ์ขึ ้น รวมตลอดทังบทเพลง ้ แผนที่ แผนผัง แผนภาพ ภาพวาด ภาพระบายสี ใบประกาศ แผ่นเสียง หรื อสิ่งอื่นใดอันมีลกั ษณะเช่นเดียวกัน ” “สื่อ หมายถึง ก. ทําการติดต่อให้ ถึงกัน ชักนําให้ ร้ ูจกั กัน น. ผู้หรื อสิ่งที่ทําการติดต่อให้ ถึงกัน หรื อชักนําให้ ร้ ูจกั กัน” “พิมพ์ หมายถึง ก. ถ่ายแบบ , ใช้ เครื่ องจักรกดตัวหนังสือหรื อภาพ เป็ นต้ นให้ ตดิ บนวัตถุ เช่น แผ่นกระดาษ ผ้ า ทําให้ เป็ นตัวหนังสือหรื อรูปรอยอย่างใด ๆ โดยการกดหรื อการใช้ พิมพ์หิน เครื่ องกล วิธี เคมี หรื อวิธีอื่นใด อันอาจให้ เกิดเป็ นสิ่งพิมพ์ขึ ้นหลายสําเนา น. รูป , รูปร่าง, ร่างกาย, แบบ” ดังนัน้ “สื่อสิ่งพิมพ์” จึงมีความหมายว่า “สิ่งที่พิมพ์ขึ ้น ไม่วา่ จะเป็ นแผ่นกระดาษหรื อวัตถุใด ๆ ด้ วย วิธีการต่าง ๆ อันเกิดเป็ นชิ ้นงานที่มีลกั ษณะเหมือน ต้ นฉบับขึ ้นหลายสําเนาในปริมาณมากเพื่อเป็ นสิ่งที่ทํา การติดต่อ หรื อชักนําให้ บคุ คลอื่นได้ เห็นหรื อทราบ ข้ อความต่าง ๆ” การพิจารณาถึงความหมายของคําว่า “สื่อสิ่งพิมพ์” นัน้ จะมุง่ เน้ นพิจารณาว่าสื่อสิ่งพิมพ์ชิ ้นนัน้ ๆ ประกอบด้ วยอะไรบ้ างเป็ นเกณฑ์ ซึง่ โดยหลักการแล้ วเหมือนกัน นอกจากการแบ่งแยกประเด็นปลีกย่อย อาจมีความแตกต่างกันบ้ าง เช่น แบบหนึง่ อาจพิจารณาว่าสื่อสิ่งพิมพ์ประกอบด้ วยหนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร หนังสือเล่ม และสิ่งพิมพ์เฉพาะกิจ ซึง่ ประกอบด้ วย โปสเตอร์ แผ่นพับ ใบปลิว จดหมายข่าว หนังสือเล่มเล็ก และคูม่ ือ เป็ นต้ น จากการที่แบ่งประเภทของสื่อสิ่งพิมพ์เช่นนี ้ แสดงให้ เห็นว่า สื่อสิ่งพิมพ์นนจะต้ ั ้ องใช้ กระดาษเป็ น วัสดุในการตีพิมพ์นนั่ เอง แต่อย่างไรก็ตาม สื่อสิ่งพิมพ์ที่ใช้ หรื อไม่ใช้ กระดาษเพียงอย่างเดียว ล้ วนมี ความสําคัญยิ่งต่อการดํารงชีวิตประจําวันและสังคมมนุษย์ทงสิ ั ้ ้น สิ่งพิมพ์ ที่มีอยูโ่ ดยทัว่ ไป จะมีลกั ษณะเป็ นเอกสารที่จดั พิมพ์ด้วยกระดาษ แต่ด้วยความ เปลี่ยนแปลงของยุคสมัย และความเปลี่ยนแปลงด้ านอิเล็กทรอนิกส์ ที่มีการพัฒนาไปต่อเนื่องอย่างไม่มีที่ สิ ้นสุด ทําให้ มีการคิดค้ นวิธีการใหม่โดยใช้ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เข้ ามาช่วย จึงได้ นํา สิ่งพิมพ์ ดังกล่าว เหล่านันมาทํ ้ าการคัดลอก ( scan) โดยที่หนังสือก็ยงั คงสภาพเดิมแต่จะได้ ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็ นแฟ้ม ภาพขึ ้นมาใหม่ วิธีการต่อจากนันก็ ้ คือจะนําแฟ้มภาพตัวหนังสือมาผ่านกระบวนการแปลงภาพเป็ น ตัวหนังสือ (text) ด้ วยการทํา OCR (Optical Character Recognition) คือการใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อแปลงภาพตัวหนังสือให้ เป็ นตัวหนังสือที่สามารถแก้ ไขเพิ่มเติมได้ การถ่ายทอดข้ อมูลในระยะต่อมา จะ นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 2


ถ่ายทอดผ่านทางแป้นพิมพ์ และประมวลผลออกมาเป็ นตัวหนังสือและข้ อความด้ วยคอมพิวเตอร์ ดังนัน้ หน้ ากระดาษก็เปลี่ยนรูปแบบไปเป็ นแฟ้มข้ อมูล ( files) แทน ทังยั ้ งมีความสะดวกต่อการเผยแพร่และ จัดพิมพ์เป็ นเอกสาร ( documents printing) รูปแบบของ สิ่งพิมพ์ อิเล็กทรอนิกส์ยคุ แรกๆ มีลกั ษณะเป็ น เอกสารประเภท . doc, .txt, .rtf, และ .pdf ไฟล์ ต่อมาเมื่อมีการพัฒนาภาษา HTML (Hypertext Markup Language) ข้ อมูลต่างๆ ก็จะถูกออกแบบและตกแต่งในรูปของเว็บไซต์ โดยในแต่ละหน้ าของเว็บไซต์เรา เรี ยกว่า “web page” โดยสามารถเปิ ดดูเอกสารเหล่านันได้ ้ ด้วยเว็บบราวเซอร์ ( web browser) ซึง่ เป็ น โปรแกรมประยุกต์ที่สามารถแสดงผลข้ อความ ภาพ และการปฏิสมั พันธ์ผา่ นระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต สําหรับสิ่งพิมพ์ออนไลน์ อย่างเช่น หนังสือพิมพ์ออนไลน์ หรื อ E-newspaper คล้ าย หนังสือพิมพ์ กระดาษ วิธีอา่ นจะเปิ ดอ่านทีละหน้ า ไม่ใช่คลิกอ่านทีละข่าว หนังสือพิมพ์ จะถูกแปลงข้ อมูลในรูปแบบ ไฟล์ .pdf ซึง่ อ่านได้ จากหน้ าจอคอมพิวเตอร์ และสามารถสัง่ พิมพ์เป็ นกระดาษได้ เมื่ออินเทอร์ เน็ตได้ รับความนิยมมากขึ ้น บริษัทไมโครซอฟต์ ( Microsoft) ได้ ผลิตเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ขึ ้นมาเพื่อคอยแนะนําในรูปแบบ HTML Help ขึ ้นมา มีรูปแบบของไฟล์เป็ น . CHM โดยมีตวั อ่านคือ Microsoft Reader (.LIT) หลังจากนันต่ ้ อมามีบริ ษัทผู้ผลิตโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จํานวนมาก ได้ พฒ ั นาโปรแกรมจนกระทัง่ สามารถผลิตเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ออกมาเป็ นลักษณะเหมือนกับหนังสือทัว่ ไปได้ เช่น สามารถแทรก ข้ อความ แทรกภาพ จัดหน้ าหนังสือได้ ตามความต้ องการของผู้ผลิต และที่พิเศษกว่านันคื ้ อ หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์เหล่านี ้ สามารถสร้ างจุดเชื่อมโยงเอกสาร ( Hypertext) ไปยังเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้ องอื่นๆ ทัง้ ภายในและภายนอกได้ อีกทังยั ้ งสามารถแทรกเสียง ภาพเคลื่อนไหวต่างๆ ลงไปในหนังสือได้ โดย คุณสมบัตเิ หล่านี ้ไม่สามารถทําได้ ในหนังสือทัว่ ไป ความสําคัญของสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่อสิ่งพิมพ์ ออนไลน์ สื่อสิ่งพิมพ์ ( Printed Media) เป็ นสื่อที่นิยมใช้ กนั มากในการประชาสัมพันธ์ไม่วา่ จะเป็ นการ ประชาสัมพันธ์ของหน่วยงานของรัฐหรื อหน่วยงานของเอกชน เพราะสื่อสิ่งพิมพ์เป็ นสื่อที่สามารถให้ รายละเอียดเกี่ยวกับเรื่ องที่ต้องการประชาสัมพันธ์ได้ อย่างเท็จจริง ย้ อนหลังก็สามารถค้ นคว้ าได้ อย่าง สะดวกสบาย สามารถอ่านซํ ้าไปซํ ้ามาได้ ตามที่ต้องการ เมื่อโลกออนไลน์เข้ ามาเป็ นส่วนหนึง่ ของวิถีชีวิตประจําวันของผู้คน ธุรกิจ สิ่งพิมพ์ ทวั่ โลก ต่างต้ อง ลุกขึ ้นมาปรับตัวครัง้ ใหญ่ เช่นวงการหนังสือพิมพ์ จากเดิมที่เป็ น "หนังสือพิมพ์ฉบับกระดาษ" ก้ าวสูก่ าร เป็ น "หนังสือพิมพ์ออนไลน์" เช่นเดียวกับนิตยสารที่มีการปรับตัว เพื่อเป็ นช่องทางในการ "ทําเงิน" ให้ กบั ธุรกิจบนเว็บไซต์ นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 3


การสื่อสิ่งพิมพ์มีลกั ษณะพิเศษหลายประการทําให้ สื่อสิ่งพิมพ์ยงั คงเป็ นสื่อที่มีความสําคัญอย่าง มากในปั จจุบนั แม้ มีผ้ ตู งข้ ั ้ อสังเกตว่าการใช้ สื่อสิ่งพิมพ์จะลดน้ อยลง และจะหายไปจากบรรณพิภพเนื่องจาก เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะ สื่ออินเทอร์ เน็ตจะเข้ ามาแทนที่ อย่างไรก็ตาม ข้ อสังเกตข้ างต้ นยังไม่เป็ น ความจริงในเวลานี ้เพราะ ข้ อจํากัดในการเข้ าถึงเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ของสังคมไทย ในที่นี ้จะขอกล่าวถึง ลักษณะพิเศษของสื่อสิ่งพิมพ์ที่ทําให้ สื่อสิ่งพิมพ์ยงั มีความสําคัญอยูเ่ วลานี ้ สิ่งพิมพ์ เป็ นสิ่งที่มีราคาถูก เมื่อ เปรี ยบเทียบกับสื่อมวลชนประเภทอื่น ๆ สื่อสิ่งพิมพ์ เป็ นสื่อมวลชนที่มีราคาถูกที่สุด สื่อสิ่งพิมพ์เสนอเรื่ องราวที่สามารถเก็บรักษาไว้ เป็ นหลักฐานได้ คงสภาพนานเมื่อ ต้ องการอ่านหรื อ อ้ างอิงก็สามารถทําได้ สื่อสิ่งพิมพ์เมื่อซื ้อมาแล้ วจะเปิ ดอ่านเมื่อใดก็ได้ เรื่ องที่ลงในหนังสือพิมพ์ หรื อ นิตยสารมีหลายประเภท สื่อสิ่งพิมพ์เป็ นสื่อมวลชนที่แตกต่างไปจากสิ่งพิมพ์ประเภทอื่น ข้ อมูล ข่าวสาร ต่าง ๆ เป็ นเรื่ องใหม่นา่ สนใจชักจูงให้ อยากอ่าน อ่านแล้ วเกิดความรู้และเข้ าใจ เหตุการณ์ตา่ งๆ มีข้อมูลใน การตัดสินใจบางกรณี ทําให้ มองเหตุการณ์ตา่ งๆด้ วยทัศนะอันกว้ างและพัฒนาความรู้สกึ นึกคิดเป็ นอย่างดี เมื่อเปรี ยบเทียบหนังสือพิมพ์กบั สื่อมวลชนประเภทอิเล็กทรอนิกส์ในด้ านการเสนอข่าวหรื อ เรื่ องราวต่าง ๆ แล้ วพบว่าหนังสือพิมพ์มีข้อได้ เปรี ยบดังนี ้ คือ ด้ านความเชื่อถือได้ (Reliability) คนเรามักจะมัน่ ใจในสิ่งที่ได้ อา่ นมากกว่าสิ่งที่ได้ ยิน และแม้ วา่ โทรทัศน์จะทําให้ เราเห็นภาพก็จริง แต่ เป็ นการเห็นภาพเพียงแวบเดียว สื่อสิ่งพิมพ์จงึ ให้ ความมัน่ ใจต่อผู้รับข่าวสารในประการนี ้มากกว่า สื่อมวลชนประเภทอื่น ด้ านความสมบูรณ์ (Completeness) สื่อสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือพิมพ์ยอ่ มให้ รายละเอียดของข่าวสารได้ มากกว่าวิทยุหรื อโทรทัศน์ ด้ านการอ้ างอิง (Deferability) ผู้อา่ นสื่อสิ่งพิมพ์สามารถกลับมาอ่านเรื่ องราวที่ได้ อา่ นแล้ วอีกครัง้ หรื อหลายครัง้ ก็ได้ และอ่าน เวลาใดก็ได้ สว่ นวิทยุและโทรทัศน์นนผู ั ้ ้ ฟังและผู้ชมจะต้ องไม่พลาดเวลาออกอากาศ

ใน

ด้ านการยํา้ (Repetition) สื่อสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือพิมพ์อาจลงข่าวเดียวกันติดต่อกันหลายวันและ ทุกครัง้ มีรายละเอียด เพิ่มเติม ซึง่ อาจจะน่าเบื่อสําหรับผู้ร้ ูแต่เป็ นการกระตุ้นมวลชนให้ เกิดความตื่นเต้ นเกิดอารมณ์ร่วมมีการ นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 4


เรี ยนรู้ ได้ เป็ นอย่างดี และช่วยเผยแพร่ตอ่ ๆ กันไป วิทยุอาจรายงานข่าวซํ ้ากันได้ ก็จริงแต่มีโอกาสน้ อยที่จะ เติมรายละเอียด ส่วนโทรทัศน์มีโอกาส เสนอข่าว ซึง่ น้ อยกว่าวิทยุ และมีโอกาสขยายความได้ น้อยกว่า หนังสือพิมพ์ ประเภทของสื่อสิ่งพิมพ์ และสิ่งพิมพ์ ออนไลน์ สื่อสิ่งพิมพ์แบ่งเป็ นประเภทต่าง ๆ ดังนี ้ สื่อสิ่งพิมพ์ ประเภทหนังสือ • หนังสือสารคดี ตํารา แบบเรี ยน o เป็ นสื่อสิ่งพิมพ์ที่แสดงเนื ้อหาวิชาการในศาสตร์ ความรู้ตา่ ง ๆ เพื่อสื่อให้ ผ้ อู า่ น เข้ าใจ ความหมาย ด้ วยความรู้ที่เป็ นจริง จึงเป็ นสื่อสิ่งพิมพ์ที่เน้ นความรู้อย่างถูกต้ อง • หนังสือบันเทิงคดี o เป็ นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ผลิตขึ ้นโดยใช้ เรื่ องราวสมมติ เพื่อให้ ผ้ อู า่ นได้ รับความ เพลิดเพลิน สนุกสนาน มักมีขนาดเล็ก เรี ยกว่า หนังสือฉบับกระเป๋ า หรื อ Pocket Book ได้ • หนังสือเล่ ม คือ สิ่งพิมพ์ที่เย็บรวมกันเป็ นเล่มที่มีความหนาและมีขนาดต่าง ๆ กัน ไม่มีกําหนด ออกแน่นอน และไม่ตอ่ เนื่องกัน มีเนื ้อหาที่เป็ นเรื่ องเดียวกัน ไม่หลายหลายและมีความสมบูรณ์ใน ตัวเอง หนังสือเล่มแบ่งออกเป็ นหลายประเภทตามแต่ลกั ษณะของเนื ้อหา เช่น หนังสือนิยาย หนังสือเรี ยน หนังสือวิชาการ สารคดี หนังสือเพลง หนังสือการ์ ตนู บทกวีนิพนธ์ หนังสือเล่ม เป็ น สิ่งพิมพ์ที่มีผ้ สู นใจเฉพาะกลุม่ เช่นเดียวกับหนังสือวารสาร เช่น กลุม่ นักเรี ยน นักศึกษาหรื อกลุม่ อาชีพที่มีความสนใจเฉพาะด้ าน ยกเว้ นแต่หนังสือที่เน้ นหนักไปทางด้ านบันเทิง ส่วนใหญ่หนังสือ เล่มจะมีจํานวนพิมพ์ไม่มากนัก สื่อสิ่งพิมพ์ เพื่อเผยแพร่ ข่าวสาร • หนังสือพิมพ์ (Newspapers) เป็ นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ผลิตขึ ้นโดยนําเสนอเรื่ องราว ข่าวสารภาพและ ความคิดเห็น ในลักษณะของแผ่นพิมพ์ แผ่นใหญ่ ที่ใช้ วิธีการพับรวมกัน ซึง่ สื่อสิ่งพิมพ์ชนิดนี ้ ได้ พิมพ์ออกเผยแพร่ทงลั ั ้ กษณะ หนังสือพิมพ์รายวัน, รายสัปดาห์ และรายเดือน หนังสือเป็ นสื่อสิ่งพิมพ์ที่เป็ นสื่อมวลชนประเภทหนึง่ ซึง่ มีลกั ษณะเฉพาะตัว คือ มีเนื ้อหา เน้ นหนักในเรื่ องของการรายงานข่าว และเหตุการณ์สําหรับคนทัว่ ไป มีความหลากหลายในเนื ้อหา ไม่เน้ นเฉพาะเรื่ องใดเรื่ องหนึง่ นอกจากนี ้หนังสือพิมพ์จะต้ องพิมพ์เป็ นรายประจําแน่นนอน สมํ่าเสมอ อาจเป็ นรายวันหรื อรายสัปดาห์ก็ได้ และพิมพ์เผยแพร่สสู่ าธารณชนจํานวนมาก ๆ เปิ ด โอกาสให้ คนซื ้ออ่านได้ ปั จจุบนั นี ้มีหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทยอยูห่ ลายฉบับ เช่น ไทยรัฐ นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 5


เดลินิวส์ คนชัดลึก มติชน ข่าวสด สยามกีฬารายวัน ฯลฯ ส่วนหนังสือพิมพ์ภาษาอังกฤษได้ แก่ บางกอกโพสต์ เดอะเนชัน่ ฯลฯ นอกจากนี ้ยังมีหนังสือพิมพ์ประเภทธุรกิจอีกหลายฉบับ เช่น ฐานเศรษฐกิจ ประชาชาติธุรกิจ ผู้จดั การ ฯลฯ และยังมีหนังสือพิมพ์ในส่วนภูมิภาคที่พิมพ์เผยแพร่ เฉพาะในบางจังหวัดอีกเป็ นจํานวนมาก หนังสือพิมพ์ ออนไลน์ (E-newspaper) หนังสือพิมพ์ ออนไลน์ จะนําเสนอในรูปแบบ เว็บไซต์ โดยหน้ าแรกของโฮมเพจจะพบกับหัวข้ อข่าวที่เป็ นตัวเน้ นซึง่ สามารถคลิกเมาส์ที่ตวั หนังสือ ให้ โปรแกรมบราวเซอร์ ดงึ ข้ อมูลมาอ่านได้ โดยเนื ้อหาอาจเหมือน หรื อแตกต่างจากหนังสือพิมพ์ฉบับ กระดาษ • นิตยสารและวารสาร (Magazines and Journals) เป็ นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ผลิตขึ ้นโดยนําเสนอสาระ ข่าว ความบันเทิง ที่มีรูปแบบการนําเสนอ ที่โดดเด่น สะดุดตา และสร้ างความสนใจให้ กบั ผู้อา่ น ทังนี ้ ้การผลิตนัน้ มีการ กําหนดระยะเวลาการออกเผยแพร่ที่แน่นอน ทังลั ้ กษณะวารสาร, นิตยสาร รายสัปดาห์ รายปั กษ์ (ครึ่งเดือน) รายเดือน ราย 3 เดือน เป็ นต้ น นิตยสาร ( Magazines) มีลกั ษณะต่างจากสิ่งพิมพ์อื่น ๆ คือ เน้ นหนักทางด้ านเสนอ บทความ สารคดี และข้ อเขียนต่าง ๆ ที่ให้ ความรู้ ความบันเทิงกับผู้อา่ นโดยทัว่ ไป มีการจัดหน้ า และรูปเล่มที่สวยงาม ในประเทศไทยมีนิตยสารอยูม่ ากมายหลายฉบับ ทังนิ ้ ตยสารที่ให้ ความรู้ ความบันเทิงเฉพาะด้ านแตกต่างกันไป เช่น เศรษฐกิจ การเมือง ศิลปะ วัฒนธรรม ธุรกิจ การ ท่องเที่ยว บันเทิง สุขภาพ กีฬา ตลอดจนนิตยสารที่ออกมาเพื่อผู้อา่ นเฉพาะวัย ได้ แก่ นิตยสาร สําหรับเด็ก ผู้ใหญ่ ผู้ชาย ผู้หญิง ฯลฯ นิตยสารและวารสารที่จดั ว่ามีประโยชน์มากต่องานส่งเสริม และเผยแพร่ คือ นิตยสารประเภทธุรกิจ การค้ า อุตสาหกรรม นิตยสารวิชาชีพ เช่น ธุรกิจเกษตร อุตสาหกรรมไทย ใกล้ หมอ ชีวิตและสุขภาพ เป็ นต้ น วารสาร ( Journals) ต่างจากนิตยสารตรงที่วารสารมักจะ เป็ นสิ่งพิมพ์ทางวิชาการของ หน่วยงานต่าง ๆ ซึง่ จัดพิมพ์โดยสถาบัน สมาคม หน่วยงายของรัฐ และเอกชน เนื่องจากวารสาร เป็ นสิ่งพิมพ์ที่ให้ ความรู้เฉพาะด้ านจึงมักมีผ้ สู นใจ เฉพาะกลุม่ เท่านัน้ และบางฉบับไม่มีการ จําหน่ายแพร่หลายโดยทัว่ ไปต้ องสัง่ ซื ้อจากหน่วยงานนัน้ ๆ หรื อบางหน่วยงานก็พิมพ์เพื่อเผยแพร่ ในรูปแบบของการให้ เปล่า นิตยสารออนไลน์ หรื อ อีแม็กกาซีน (E-magazine) เป็ นสื่อที่เกิดขึ ้นเมื่อคอมพิวเตอร์ และอินเทอร์ เน็ตเข้ ามามีบทบาทมากขึ ้นในการใช้ ชีวิตประจําวัน เนื่องจากพฤติกรรมของผู้ที่ตดิ ตาม สื่อได้ เปลี่ยนแปลงไป และตัวเจ้ าของสื่อเองต้ องการความรวดเร็ว รวมไปถึงการประหยัดการใช้ หน้ ากระดาษ ลดต้ นทุนการผลิตในอีกทางได้ รายได้ ของนิตยสารจะมาจากการขายหน้ าโฆษณา นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 6


ออนไลน์ให้ กบั สินค้ าต่างๆ เมื่อเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ พฒ ั นาจนสามารถสร้ างนิตยสารออนไลน์ ได้ ง่ายขึ ้น บวกกับโลกได้ ก้าวเข้ าสูย่ คุ อินเทอร์ เน็ตความเร็วสูง รูปแบบของนิตยสารออนไลน์จงึ มี หลากหลายกว่าเดิม ทังในรู ้ ปแบบที่เป็ นการเปิ ดหน้ ากระดาษคล้ ายหนังสือจริง ( Flip page) สร้ าง ขึ ้นโดยโปรแกรม อะโดบี แฟลช หรื อในรูปแบบไฟล์ PDF (ใช้ โปรแกรม Adobe Acrobat ในการเปิ ด) โดยผู้อา่ นจะต้ องดาวน์โหลดไฟล์ของนิตยสารออนไลน์ลงมาไว้ ที่เครื่ องคอมพิวเตอร์ และเปิ ดอ่าน ซึง่ ขนาดไฟล์มีตงแต่ ั ้ ไฟล์เล็กๆไปจนถึงขนาดหลายร้ อยเม็กกะไบต์ • จุลสาร (Booklets หรื อ Pamphlets) เป็ นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ผลิตขึ ้นแบบไม่มงุ่ หวังผลกําไร เป็ นแบบให้ เปล่าโดยให้ ผ้ อู า่ นได้ ศกึ ษาหาความรู้ มีกําหนดการออกเผยแพร่เป็ นครัง้ ๆ หรื อลําดับต่าง ๆ ใน วาระพิเศษ • สิ่งพิมพ์ โฆษณาและประชาสัมพันธ์ o โบรชัวร์ (Brochure) เป็ นสื่อสิ่งพิมพ์ที่มีลกั ษณะเป็ นสมุดเล่มเล็ก ๆ เย็บติดกันเป็ นเล่ม บาง ๆ จํานวน 8 หน้ าเป็ น อย่างน้ อย มีปกหน้ าและปกหลัง มีเนื ้อหาและสีสนั น่าอ่าน ใช้ เผยแพร่ แนะนํา หรื อโฆษณาสินค้ า o ใบปลิว (Leaflet, Handbill) เป็ นสื่อสิ่งพิมพ์ใบเดียว ที่เน้ นการประกาศหรื อโฆษณา ซึง่ จะ พิมพ์เนื ้อเรื่ องสัน้ ๆ เพียงเรื่ องเดียว มักมีขนาด A4 เพื่อง่ายในการแจกจ่าย ลักษณะการ แสดงเนื ้อหาเป็ นข้ อความที่ผ้ อู า่ น อ่านแล้ วเข้ าใจง่าย o แผ่ นพับ (Folder) เป็ นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ผลิตโดยเน้ นการนําเสนอเนื ้อหา ซึง่ เนื ้อหาที่นําเสนอ นันเป็ ้ นเนื ้อหาที่สรุปใจความสําคัญ เพื่อข่าว แนะนํา หรื อเตือนความจํา ลักษณะมีการพับ เป็ นรูปเล่มต่าง ๆ เป็ นแผ่นกระดาษที่พิมพ์แผ่นเดียวแต่พบั เป็ นหลายหน้ า o ใบปิ ด (Poster) เป็ นสื่อสิ่งพิมพ์โฆษณา โดยใช้ ปิดตามสถานที่ตา่ ง ๆ มีขนาดใหญ่เป็ น พิเศษ ซึง่ เน้ นการนําเสนออย่างโดดเด่น ดึงดูดความสนใจ เป็ นกระดาษเพียงแผ่นเดียว มี ข้ อความหรื อรูปภาพประกอบช่วยสื่อความหมายในการบอกข่าว ชักจูงใจ หรื อเรี ยกความ สนใจเพื่อรณรงค์ในเรื่ องต่าง ๆ สิ่งพิมพ์ เพื่อการบรรจุภัณฑ์ เป็ นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ใช้ ในการห่อหุ้มผลิตภัณฑ์การค้ าต่าง ๆ แยกเป็ นสิ่งพิมพ์หลัก ได้ แก่ สิ่งพิมพ์ที่ใช้ ปิ ดรอบขวด หรื อ กระป๋ องผลิตภัณฑ์การค้ า สิ่งพิมพ์รอง ได้ แก่ สิ่งพิมพ์ที่เป็ นกล่องบรรจุ หรื อลัง

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 7


สิ่งพิมพ์ มีค่า เป็ นสื่อสิ่งพิมพ์ที่เน้ นการนําไปใช้ เป็ นหลักฐานสําคัญต่าง ๆ ซึง่ เป็ นกําหนดตามกฎหมาย เช่น ธนาณัต,ิ บัตรเครดิต, เช็คธนาคาร, ตัว๋ แลกเงิน, หนังสือเดินทาง, โฉนด เป็ นต้ น สิ่งพิมพ์ ลักษณะพิเศษ เป็ นสื่อสิ่งพิมพ์มีการผลิตขึ ้นตามลักษณะพิเศษแล้ วแต่การใช้ งาน ได้ แก่ นามบัตร , บัตรอวยพร, ปฏิทิน, บัตรเชิญ, ใบส่งของ, ใบเสร็ จรับเงิน, สิ่งพิมพ์บนแก้ ว, สิ่งพิมพ์บนผ้ า เป็ นต้ น สิ่งพิมพ์ อิเล็กทรอนิกส์ เป็ นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ผลิตขึ ้นเพื่อใช้ งานในคอมพิวเตอร์ Document Formats, E-book for tablet/iPad เป็ นต้ น

หรื อระบบเครื อข่าย อินเทอร์ เน็ต ได้ แก่

บทบาทของสื่อสิ่งพิมพ์ และสิ่งพิมพ์ ออนไลน์ สื่อสิ่งพิมพ์และสิ่งพิมพ์ออนไลน์ตา่ ง ๆ มีบทบาทดังต่อไปนี ้ 1. บทบาทและหน้ าที่ในกระบวนการสื่อสาร 1.1 ฐานะผู้สง่ สาร (Sender, Source) - บอกวัตถุประสงค์ information, teaching, education, attention, entertain - บอกเนื ้อหา facts, truth - รับผิดชอบเนื ้อหา และวิธีการนําเสนอ การเขียน การเลือกช่องทางเผยแพร่ - วิเคราะห์ผ้ รู ับสารให้ ถกู ตัว ถูกกลุม่ ถูกกาละ ตรงตามต้ องการ/สนใจ 1.2 ฐานะสาร (Message) สารประกอบด้ วย 3 ส่วนสําคัญ คือ - รหัสสาร (Code message) - เนื ้อหา (Content message) - การจัดสาร (Message treatment) -“ตอกไข่ ปรุง ใส่ข้าว” 1.3 ฐานะสื่อ (Channel) - ส่งไปยังผู้รับอย่างรวดเร็ว และจํานวนมาก (สื่อสารมวลชน) - มองเห็น อ่านได้ - คงทนถาวรกว่าสื่ออื่น - ส่งไปยังกลุม่ เป้าหมายได้ ดีกว่าสื่ออื่น

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 8


- ทบทวนข่าวสารได้ หลายครัง้ โดยไม่จํากัดเวลา สถานที่ จํานวนครัง้ - ราคาถูก 1.4 ฐานะผู้รับสาร (Reciever) - ความเป็ นปั จเจกบุคคล (เป็ นตัวของตัวเอง) - ความเป็ นกลุม่ ก้ อน (เป็ นสมาชิกกลุม่ ) - ความเป็ นสื่อกลาง - เป็ นผู้ใช้ หรื อบริโภคข่าวสาร 2. บทบาทในงานสื่อมวลชน สื่อสิ่งพิมพ์มีความสําคัญในด้ านการนําเสนอข้ อมูล ข่าวสาร สาระ และความบันเทิง ซึง่ เมื่องานสื่อมวลชนต้ องเผยแพร่ จึงต้ องผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น หนังสือพิมพ์ , วารสาร, นิตยสาร ทังในรู ้ ปแบบปกติและออนไลน์ เป็ นต้ น 3. บทบาทในสถานศึกษา สื่อสิ่งพิมพ์ถกู นําไปใช้ ในสถานศึกษาโดยทัว่ ไป ซึง่ ทําให้ ผ้ เู รี ยน ผู้สอน เข้ าใจในเนื ้อหามากขึ ้น เช่น หนังสือ ตํารา แบบเรี ยน แบบฝึ กหัด สามารถพัฒนาเป็ นเนื ้อหาในระบบ ออนไลน์ได้ 4. บทบาทในงานด้ านธุรกิจ สื่อสิ่งพิมพ์ที่ถกู นําไปใช้ ในงานธุรกิจประเภทต่าง ๆ เช่น งาน โฆษณา ได้ แก่ การผลิต หัวจดหมาย/ซองจดหมาย , ใบเสร็ จรับเงิน/ใบส่งของ , โฆษณาหน้ าเดียว, นามบัตร เป็ นต้ น 5. บทบาทในงานธนาคาร งานด้ านการธนาคาร ซึง่ รวมถึง งานการเงิน และงานที่เกี่ยวกับ หลักฐานทางกฎหมาย ได้ นําสื่อสิ่งพิมพ์หลาย ๆ ประเภทมาใช้ ในการดําเนินงาน เช่น ใบนําฝาก , ใบถอน, ธนบัตร, เช็คธนาคาร, ตัว๋ แลกเงิน และหนังสือเดินทาง 6. บทบาทในห้ างสรรพสินค้ าและร้ านค้ าปลีก สื่อสิ่งพิมพ์ที่ทางห้ างสรรพสินค้ า หรื อร้ านค้ า ปลีกใช้ ในการดําเนินธุรกิจ ได้ แก่ ใบปิ ดโฆษณาต่าง ๆ ใบปลิว , แผ่นพับ , จุลสาร และปั จจุบนั ที่มีการ โฆษณาประชาสัมพันธ์ผา่ นระบบออนไลน์ เช่น เฟสบุ๊ค เป็ นต้ น

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 9


ลักษณะของสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่อสิ่งพิมพ์ ออนไลน์ ลักษณะของสื่อสิ่งพิมพ์ 1. มีความประณีตสวยงาม สื่อสิ่งพิมพ์สว่ นใหญ่จะมีการจัดทําอย่างประณีตสวยงามเพื่อดึงดูด ความสนใจของผู้อา่ นโดย ในการจัดทําจะต้ องใช้ ศลิ ปะเข้ าช่วยในการออกแบบอย่างดีเพื่อให้ ผ้ อู า่ นอยาก อ่านอยากติดตามตังแต่ ้ หน้ าแรกจนถึงหน้ าสุดท้ าย มีเอกลักษณ์ในการจัดทําเพื่อสร้ างความแตกต่างไปจาก สิ่งพิมพ์ประเภทเดียวกัน เช่น หนังสือพิมพ์ไทยรัฐมีเอกลักษณ์คือสีเขียว หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ใช้ สีชมพู เป็ น ต้ น 2. มีวัตถุประสงค์ ในการจัดทําที่ชัดเจน เนื่องจากสื่อสิ่งพิมพ์เป็ นสื่อที่มีความเป็ นลายลักษณ์ อักษร สามารถใช้ เป็ นเอกสาร หลักฐานอ้ างอิงได้ จึงมักมีการกําหนดวัตถุประสงค์ในการจัดทําอย่างชัดเจน เอาไว้ เช่น การพิมพ์หนังสือมักจะบ่งบอกวัตถุประสงค์ของการจัดพิมพ์เอาไว้ ทําให้ ผ้ อู า่ นรู้จดุ มุง่ หมายใน การจัดทํา 3. มีระยะเวลาการพิมพ์ เผยแพร่ ท่ แี น่ นอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสื่อสิ่งพิมพ์จําเป็ นต้ องมี กําหนดการเผยแพร่ที่แน่นอน เช่น รายเดือน รายสัปดาห์ รายไตรมาศ รายปั กษ์ เป็ นต้ น 4. มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ การจัดทําสิ่งพิมพ์โดยคํานึงแต่เพียงการประหยัดและราคาถูก หรื อสักแต่วา่ ทําไปเพราะเป็ นหน้ าที่ต้องทํา หรื อทําอย่างเสียไม่ได้ ทําให้ สิ่งพิมพ์นนไร้ ั ้ คณ ุ ค่าเท่ากับเป็ นการ สูญเปล่าทางด้ านการประชาสัมพันธ์แทน ที่จะประหยัดกลับเป็ นการสิ ้นเปลือง กลายเป็ นของที่มีราคาแพง เมื่อเปรี ยบเทียบกับประโยชน์ที่ควรได้ รับ สิ่งพิมพ์ที่มีคณ ุ ภาพและมีประสิทธิภาพในการประชาสัมพันธ์แม้ จะแพงขึ ้นบ้ าง แต่จะได้ ผลดีและคุ้มค่ากับการลงทุน 5. มีความต่ อเนื่องและสมํ่าเสมอในการเผยแพร่ เป็ นประจํา อย่าให้ ขาด ๆ หาย ๆ การขาด หายไปนาน ๆ จะทําให้ ความรู้สกึ นึกคิดของผู้อา่ นไม่ตอ่ เนื่องเท่ากับเป็ นการเริ่มต้ นใหม่ จึงเป็ นการยากที่จะ ดึงดูดความสนใจของผู้อา่ นให้ กลับมาสนใจอีกครัง้ หนึง่ 6. มีวัตถุประสงค์ ในการเขียน อาจเขียนเริ่มจากสิ่งที่กว้ าง ๆ ห่างไกล สิ่งที่ต้องการขององค์กร แต่ใกล้ ตวั ผู้อา่ น หรื อสอดคล้ องกับตัวผู้อา่ น ซึง่ ความต้ องการพื ้นฐานของบุคคลเพื่อเร้ าอารมณ์ให้ ตดิ ตาม การอ่านต่อไป แล้ วจึงเขียนดึงเรื่ องให้ แคบเข้ าจนเข้ าจุดเฉพาะเจาะจงตามวัตถุประสงค์ที่ผ้ จู ดั ทําต้ องการ 7. สร้ างสัมพันธภาพ สิ่งพิมพ์ที่ดีต้องจัดทําขึ ้นเพื่อสร้ างสัมพันธภาพให้ แก่องค์กรกับประชาชน ไม่ใช่กลับเป็ นทําลายมิตรภาพสัมพันธภาพกับประชาชน เป็ นการสร้ างความแข็งแกร่งในการประชาสัมพันธ์ เพื่อความราบรื่ น

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 10


ลักษณะของสื่อสิ่งพิมพ์ ออนไลน์ นับตังแต่ ้ วิทยาการต่าง ๆ เข้ ามามีบทบาทกับชีวิตของมนุษย์มากขึ ้น ในทศวรรษ 1990 ยุคแห่ง การสื่อสารระบบดิจิทลั เกิดการหลอมรวมของเทคโนโลยีภาพ เสียง การพิมพ์ และคอมพิวเตอร์ ทําให้ เกิด สื่อใหม่ขึ ้น สิ่งพิมพ์จงึ ได้ มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบเพื่อให้ ทนั ต่อเทคโนโลยี เมื่อมีการใช้ อินเทอร์ เน็ตและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มากขึ ้น หนังสือพิมพ์เป็ นอีกสื่อที่ปรับตัวและ พัฒนาเป็ น หนังสือพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ + หนังสือพิมพ์ออนไลน์ และนิตยสารก็ปรับเปลี่ยนรูปแบบในการ อ่าน ทําให้ มีนิตยสารในอินเทอร์ เน็ต ซึง่ มิใช่สิ่งพิมพ์ แต่ก็ยงั เรี ยกกันว่า "นิตยสาร” รูปแบบจากเดิมที่เป็ น กระดาษจะถูกแปลงข้ อมูลในรูปแบบไฟล์ . pdf และไฟล์มลั ติมีเดียอื่น ๆ ที่รองรับรูปการเปิ ดอ่านไฟล์ใน ลักษณะของดิจิทลั ไฟล์

หนังสือพิมพ์ ออนไลน์ ในประเทศไทย สําหรับหนังสือพิมพ์ออนไลน์ในประเทศไทย เกิดขึ ้นจาก กระแสความนิยมด้ านเทคโนโลยี สารสนเทศจากต่างประเทศ ด้ วยเพราะความสามารถในการเชื่อมโยงข้ อมูลต่างๆ ได้ ทงข้ ั ้ อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวพร้ อมเสียง ช่วยลดข้ อด้ อยของสื่อหนังสือพิมพ์ได้ เป็ นอย่างดี ผนวกกับปั ญหาเดียวกันกับ ที่องค์กรหนังสือพิมพ์ ทวั่ โลกประสบ นัน่ คือ ผลกระทบจากภาวะ เศรษฐกิจตกตํ่าทัว่ โลก ใน เดือนมีนาคม 2539 หนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ เป็ นองค์กรแรกที่ให้ บริการ Online Edition

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 11


หน้าตาของเว็บไซต์ของหนังสือพิมพ์ Bangkok Post ในยุคแรก (ภาพจาก อิ งทัส ฉันทตุลย์และธนวรรณ ท้วมยิ้ ม, 2540)

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 12


หน้าตาของเว็บไซต์ของหนังสือพิมพ์ Bangkok Post ในยุคแรก

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 13


แนวโน้ มของสื่อสิ่งพิมพ์ และสิ่งพิมพ์ ออนไลน์

แนวโน้ มในอนาคตหากมองในภาพรวมของประเทศไทยนัน้ ตลาด ดิจิทลั แมกกาซีนนันยั ้ งไปได้ อีกไกล กระแสของดิจิทลั มีเดียกําลังมาแรง เนื่องจากดิจิทลั แมกกาซีนนันมี ้ รูปแบบการนําเสนอที่นา่ สนใจ รวดเร็ว สะดวก มีความทันสมัย และง่ายต่อการอ่านในขนาดที่กะทัดรัด สามารถเข้ าถึงข้ อมูลได้ ตลอดเวลา รวมถึง ยังสร้ างประสบการณ์ที่แปลกใหม่ให้ กบั ผู้อา่ น ซึง่ หากพิจารณาจากโลกที่กําลังก้ าวเข้ าสูย่ คุ ดิจิทลั นัน้ ดิจิทลั แมกกาซีนถือเป็ นอีกหนึง่ ทางเลือกที่นา่ สนใจ ตัวชี ้วัดที่จะเป็ นปั จจัยในการขับเคลื่อน ดิจิทลั แมกกาซีนให้ แพร่หลายนัน้ ขึ ้นอยูก่ บั ปั จจัยหลายอย่างไม่วา่ จะเป็ น การพัฒนาเนื ้อหา ( Content) ให้ โดนใจผู้อา่ นซึง่ สามารถพัฒนาได้ อย่างหลากหลายรูปแบบ , การเข้ าถึงเรื่ องของเทคโนโลยีตา่ งๆที่เป็ นอุปกรณ์ในการอ่าน , ระบบอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูง ( Hi Speed Internet) เป็ นช่องทางในการนําข้ อมูลข่าวสารไปสูผ่ ้ อู า่ น ซึง่ ปั จจัยดังกล่าวเกิดขึ ้นจากสิ่งแวดล้ อมภายในคือ ผู้ผลิตเองที่ต้องพัฒนาในด้ านต่างๆ และสิ่งแวดล้ อม ภายนอกคือการสนับสนุนของรัฐบาล เช่น นโยบายแจก Tablet หรื อ การพัฒนาระบบ 3G ให้ เกิดขึ ้นใน ประเทศไทย ดังนันในอนาคตอั ้ นใกล้ นี ้ เราอาจจะได้ เห็นการพัฒนาวงการสื่อนิตยสารรูปแบบใหม่ คอน เทนต์ที่ก้าวหน้ ามากขึ ้นทังในด้ ้ านคุณภาพและความสะดวกสบายต่อผู้บริโภค รวมทังจะมี ้ ระบบการเข้ าถึง ในเรื่ องของเทคโนโลยีและระบบอินเทอร์ เน็ตความเร็วสูง ซึง่ จะมีสว่ นช่วยผลักดันให้ มลู ค่าตลาดรวมของ อุตสาหกรรมดิจิทลั แมกกาซีนเติบโตขึ ้นอย่างมาก และดิจิทลั แมกกาซีน อาจจะเข้ ามาเป็ นสื่อทางเลือกใหม่ ให้ ผ้ อู า่ นได้ ตดั สินใจ หรื ออาจเข้ ามาทดแทนและเปลี่ยนแปลงรูปแบบการอ่านแมกกาซีนแบบเดิมๆในที่สดุ

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 14


ข้ อดีของสื่อสิ่งพิมพ์ 1. กระบวนการในการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์สามารภทําได้ หลายแบบ เปิ ดโอกาสให้ เลือกในรูปแบบที่ เหมาะสมกับสถานการณ์นนั ้ ๆ เช่น พิมพ์เป็ นเอกสารโรเนียวเป็ นวิธีที่ง่ายที่สดุ หากต้ องการให้ มี คุณภาพยิ่งขึ ้น ก็ใช้ การพิมพ์ด้วยเครื่ องพิมพ์ ซึง่ สามารถเลือกพิมพ์เป็ นขาวดําหรื อสีก็ได้ 2. สามารถจัดพิมพ์ได้ หลายรูปแบบ ตามวัตถุประสงค์ที่จะนําไปใช้ เช่น แผ่นปลิว จดหมายเวียน หรื อ เอกสารเผยแพร่ 3. สามารถใช้ สื่อสิ่งพิมพ์ได้ หลาย ๆ ทาง อาจใช้ เป็ นสื่อให้ การศึกษาโดยตรงหรื อใช้ สนับสนุนสื่ออื่น ๆ ก็ได้ นอกจากนี ้ยังสามารถเลือกจัดพิมพ์ให้ มีระยะเวลาการใช้ งานต่าง ๆ กัน เช่น พิมพ์เพื่อใช้ งาน ระยะสัน้ อ่านแล้ สก็ทิ ้งไป หรื อพิมพ์เพื่อเก็บไว้ ใช้ อย่างถาวร สามารถออกแบบให้ ใช้ เฉพาะบุคคล ใช้ เป็ นกลุม่ หรื อเป็ นมวลชนก็ได้ 4. สิ่งพิมพ์สามารถผลิตเพื่อใช้ ให้ เหมาะกับกลุม่ เป้าหมายเฉพาะด้ านได้ 5. การผลิตสิ่งพิมพ์สามารถปรับใช้ ให้ เหมาะสมกับกับกระบวนการใช้ และผลลัพธ์ที่ต้องการตาม สภาพของ เครื่ องอํานวยความสะดวกทีมีอยู่ 6. การใช้ สื่อสิ่งพิมพ์เป็ นไปอย่างอิสระ ในการศึกษาสิ่งพิมพ์ ไม่จําเป็ นต้ องใช้ วิธีพิเศษหรื อเครื่ อง อํานวยความสะดวกอย่างอื่นเข้ ามาช่วยแต่อย่างใด 7. ผู้อา่ นสามารถใช้ สื่อสิ่งพิมพ์ในการเรี ยนรู้และอ่านซํ ้า ๆ กันได้ หลาย ๆ ครัง้ นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 15


ข้ อจํากัดของสื่อสิ่งพิมพ์ 1. วัสดุที่ใช้ มีความบอบบางและฉีกขาดง่าย 2. เก็บรักษายากเนื่องจากมีลกั ษณะ รูปทรง และขนาดแตกต่างกันมาก 3. การเก็บรักษาในระยะยาว สําหรับสิ่งพิมพ์จํานวนมาก ๆ ยากที่จะป้องกันความเปี ยกชื ้น ความร้ อน และฝุ่ น ละออง 4. การพิมพ์ในระบบที่มีคณ ุ ภาพต้ องใช้ การลงทุนสูงมาก โดยเฉพาะการพิมพ์ในระบบสี่สี 5. อาจมีปัญหาและอุปสรรคในการแจกจ่าย เนื่องจากวัสดุสิ่งพิมพ์มีความสัมพันธ์กบั การขนส่ง (Transportation) ถ้ าหากการขนส่งหนังสือพิมพ์ไปไม่ถึงกลุม่ เป้าหมาย การรับรู้ขา่ วสารด้ วย สิ่งพิมพ์ก็จะขาดตอนลง 6. การใช้ วสั ดุสิ่งพิมพ์กบั กลุม่ เป้าหมายที่ไม่ร้ ูหนังสือต้ องอาศัยการออกแบบสิ่งพิมพ์มีความหมาย และน่าสนใจ เนื่องจากผู้ที่จะใช้ วสั ดุสิ่งพิมพ์ต้องใช้ ความสนใจ และอาศัยเวลามากกว่าการสื่อสาร ด้ วยสื่ออื่น ๆ ข้ อดีของสิ่งพิมพ์ ออนไลน์ 1. รับรู้ขา่ วสารที่เกิดขึ ้นได้ ทนั ทีก่อนฉบับกระดาษจะตีพิมพ์ รับรู้ขา่ วได้ 24 ชัว่ โมง 2. กองบรรณาธิการทราบความเห็น/ข้ อมูลที่เป็ นประโยชน์จากปฏิสมั พันธ์กบั ผู้อา่ นผ่านเว็บบอร์ ด โพลล์ อีเมล ฯลฯ 3. ช่วยเสริ มภาพลักษณ์องค์กรให้ ทนั สมัย ขยายช่องทางการสื่อสาร+ตลาดผู้อา่ น 4. สร้ างรายได้ ให้ กบั องค์กรเช่น ขายพื ้นที่ โฆษณาบนเว็บ ไซต์ ขายข้ อมูลย้ อนหลัง การสมัครสมาชิก ฯลฯ 5. ผสมผสานสื่อมากกว่า 1 ชนิดทัง้ ข้ อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง ทําให้ นา่ สนใจและ น่าเชื่อถือ 6. พื ้นที่นําเสนอเนื ้อหามีมากกว่าแบบกระดาษ 7. เกิดชุมชนออนไลน์แลกเปลี่ยนข่าวสารหรื อเกิดกลุม่ นักข่าวพลเมือง

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 16


เทคโนโลยีส่ ือสิ่งพิมพ์ และสิ่งพิมพ์ ออนไลน์ การเติบโตของสื่อใหม่ที่เรี ยกว่านิวมีเดีย ( New Media) ซึง่ ปั จจุบนั ไม่ใช่มีเพียงแค่สื่อออนไลน์ แต่ ครอบคลุมหลากหลายผนวกรวมกัน ไม่วา่ จะเป็ นสื่อโฆษณารูปแบบต่างๆที่พลิกแพลงมากขึ ้น , SMS รายงานข่าวผ่านโทรศัพท์มือถือ , Social network อย่าง facebook - twitter - youtube หรื อเทคโนโลยี 3G ฯลฯ ทังหมดล้ ้ วนเป็ นเทคโนโลยีใหม่ที่เติบโตขึ ้นมาท้ าทายสื่อดังเดิ ้ มอย่างหนังสือพิมพ์ และนิตยสาร เกิด เป็ นคําถามขึ ้นบ่อยครัง้ ในยุคนี ้ ว่าทิศทางของวารสารศาสตร์ แห่งอนาคตจะเป็ นอย่างไรต่อไป จากการสัมมนาหัวข้ อ "วารสารศาสตร์ แห่ งอนาคต" 1 ซึง่ จัดขึ ้นโดยคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย โดยมีการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ ้นกับ วารสารศาสตร์ ปัจจุบนั ผ่านมุมมองวิทยากรผู้อยูใ่ นวงการสื่อ ได้ แก่ นิรันดร์ เยาวภาว์ Web master ผู้จัดการออนไลน์ , ภัทระ คําพิทักษ์ บรรณาธิการข่ าวการเมือง นสพ.โพสต์ ทูเดย์ และ ทรงกลด บางยี่ขัน บรรณาธิการนิตยสาร a day เริ่ มต้ นที่ความคิดเห็นของ รศ.มาลี บุญศิริพันธ์ คณบดีคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ า ไทย ที่กล่าวว่า นักศึกษามักเกิดคําถาม และความกังวลว่า ในยุคที่เทคโนโลยีอินเทอร์ เน็ตเข้ ามามีบทบาท มากขึ ้น หนังสือพิมพ์จะคงอยูไ่ ด้ ในอนาคตหรื อเปล่า "มัน่ ใจว่าอยูไ่ ด้ ไม่มีวนั หายไปจากโลก แม้ รูปแบบของ การบริโภคข่าวอาจมีเปลี่ยนแปลงไป อย่างไรก็ตาม ความรู้สกึ ของการอ่านหนังสือพิมพ์ก็ยงั ให้ อารมณ์ที่ แตกต่าง ดังนันแนวโน้ ้ มของสื่ออาจเปลี่ยนรูปแบบให้ เหมาะสมกับยุค อาจไม่ได้ เป็ นกระดาษเหมือนเดิม แต่ หนังสือพิมพ์ก็ยงั คงอยูต่ อ่ ไป" เมื่อเปรี ยบจุดเด่น และจุดด้ อยระหว่างสื่อสิ่งพิมพ์กบั สื่อออนไลน์ ในแง่มมุ ของการตลาดและการ โฆษณา นิรันดร์ เยาวภาว์ อธิบายว่า "สื่อออนไลน์ได้ เปรี ยบในแง่มีสถิตผิ ้ ชู มที่เห็นได้ ชดั เจน และวัดได้ จาก truehits ซึง่ รับรองจากหน่วยงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์ เมื่อวัดสถิตผิ ้ เู ข้ าชมได้ วา่ มีคนคลิกเข้ ามา อ่านมากน้ อยแค่ไหน ยอดดังกล่าวก็นําไปใช้ กําหนดโฆษณาได้ ง่ายขึ ้น แตกต่างจากสื่อสิ่งพิมพ์ที่ยงั ต้ องใช้ เอเจนซี่ในการสํารวจ และประมาณจํานวนผู้อา่ น นอกจากนี ้สื่อออนไลน์ได้ เปรี ยบในแง่รายละเอียดของ สินค้ านันๆ ้ เพราะสามารถเชื่อมต่อไปยังเว็บไซต์ผลิตภัณฑ์ หรื อแม้ กระทัง่ การจอง การซื ้อขาย ผ่านทาง อินเทอร์ เน็ตได้ อย่างสะดวกรวดเร็ ว" เว็บมาสเตอร์ เว็บข่าวชื่อดัง ยังกล่าวต่อไปว่า "ความรวดเร็วของการนําเสนอข่าว ถือเป็ นจุดแข็งที่ สําคัญของสื่อออนไลน์ เพราะมีการอัพเดตได้ ตลอดเวลา ขณะที่ นสพ. ตีพิมพ์ออกมาได้ วนั ละฉบับ หรื อ อย่างมากก็กรอบเช้ า กรอบบ่าย นอกจากนี ้สื่อยุคใหม่ยงั เพิ่มเติมเรื่ อง SMS ข่าว ความหลากหลายใน 0

1

ผู้จดั การออนไลน์. 2553. "วารสารศาสตร์ แห่ งอนาคต" จุดเปลี่ยน - ความท้ าทายในสื่อยุคใหม่ ที่นศ.ไทยควรรู้ . Life on Campus. นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 17


คอนเทนท์อย่างวิดีโอคลิป รูปภาพจํานวนมาก หรื อ interactive ที่เกิดขึ ้นระหว่างนักข่าว กับผู้อา่ น ที่ สามารถโพสต์ข้อความ ความคิดเห็น รวมถึงให้ ข้อมูลเพิ่มเติมได้ ทนั ที" ทางด้ านคนในแวดวงสิ่งพิมพ์อย่าง ภัทระ คําพิทักษ์ มองในเรื่ องนี ้ว่า "ปั จจุบนั สื่อมีการ เปลี่ยนแปลง เพราะคนที่อยูใ่ นที่เกิดเหตุ ชาวบ้ านทัว่ ไป ก็สามารถรายงานข่าว ส่งรูป บอกเล่าได้ ละเอียด มากกว่านักข่าว คําว่า สื่อมวลชนจึงเปลี่ยนไปด้ วย คนทําข่าวเปลี่ยน สื่อก็จําต้ องเปลี่ยน ไม่เช่นนันก็ ้ คงจะ ตายไปตามการเปลี่ยนแปลง อย่างไรก็ตาม หนังสือพิมพ์ก็ยงั อยูไ่ ด้ แม้ กระทัง่ สื่อใหญ่อย่างโทรทัศน์ - วิทยุ ก็ยงั ต้ องเอาหนังสือพิมพ์ไปอ่าน เพียงแต่คนในแวดวงสื่อสิ่งพิมพ์ ต้ องปรับตัว จะมีพฤติกรรมเดิมๆ เป็ น นักข่าวแบบเดิมๆไม่ได้ เพราะภูมิศาสตร์ ของการสื่อสารเปลี่ยนแล้ ว และองค์กรต่างๆก็คงไม่สามารถจ้ าง งานได้ คราวละมากๆ ดังนัน้ คนทําสื่อต้ องมีความรู้ทงด้ ั ้ านการเขียน การถ่ายภาพ เทคโนโลยี เว็บไซต์ เรี ยกว่า อายุงานไม่เกี่ยวกัน เพราะเมื่อลงสนามข่าว ทุกคนเท่าเทียมเสมอกัน "ถ้ าเราก้ าวพ้ นคํานิยามของคําว่าสื่อ ออกมาเป็ นสื่อแบบใหม่ มันจึงต้ องไม่ใช่แค่การสื่อสาร ช่องทางเดียว แต่ต้องเพิ่มความหลากหลาย อย่างไรก็ตาม สื่อจะอยูไ่ ด้ หรื อไม่นนั ้ อยูท่ ี่คณ ุ ภาพเป็ นสําคัญ ถ้ าคุณภาพไม่เหมาะ เช่น SMS ช้ ากว่าคนอื่น ข่าวไม่แตกต่างจากเล่มอื่น วิถีการนําเสนอไม่นา่ สนใจ ผู้อา่ น ก็ยอ่ มไม่เลือกรับสื่อนัน"้ ภัทระ กล่าว สําหรับความกังวล และคําถามซํ ้าๆที่มกั กล่าวถึงกันบ่อยว่า สื่อสิ่งพิมพ์กําลังจะตายจริงหรื อเปล่า ? ประเด็นนี ้ ทรงกลด บางยี่ขัน ตอบว่า "ข้ อเท็จจริ ง สื่อสิ่งพิมพ์ก็ตายลงไปหลายฉบับ แต่ขณะเดียวกันก็มี หลายฉบับเกิดขึ ้นใหม่ๆ เหตุก็เนื่องมาจากการโฆษณา เพราะสื่อสิ่งพิมพ์อยูไ่ ด้ ด้วยโฆษณาเป็ นหลัก สื่อ บางเล่มมียอดขายน่าพอใจ มีกลุม่ แฟนคนอ่าน มีสงั คมผู้อา่ น แต่ก็อยูไ่ ม่ได้ ดังนันการที ้ ่สื่อสิ่งพิมพ์จะตาย หรื อไม่ ผมมองว่าไม่ได้ ขึ ้นอยูก่ บั เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงเป็ นหลัก" ด้ าน นิรันดร์ เสริ มถึงประเด็นนี ้ว่า "คําว่ าสื่อสิ่งพิมพ์ กาํ ลังจะตาย เป็ นคําที่ใช้ กันมานานมาก แล้ ว ตัง้ แต่ ยุคที่ ดร.สมเกียรติ อ่ อนวิมล เข้ ามาเปลี่ยนแปลงงานข่ าวที่ช่อง 9 เมื่อผู้ชมเห็นความ เปลี่ยนแปลงที่ตอบสนองได้ จากโทรทัศน์ ในยุคนัน้ ก็เป็ นคําถามว่ าสื่อสิ่งพิมพ์ จะอยู่ต่อไปได้ หรือ เปล่ า ซึ่งก็ผ่านมากว่ า 20 ปี ก็ยังอยู่ได้ เพราะจุดแข็งของสื่อสิ่งพิมพ์ คือ ความน่ าเชื่อถือ ความ เป็ นมืออาชีพในการทําข่ าว รายการข่ าวทางโทรทัศน์ ยังต้ องเอาไปนําเสนอ จุดแข็งของสื่อสิ่งพิมพ์ จึงเป็ นการจัดการของกองบรรณาธิการ อย่างไรก็ตาม เมื่อถึงยุคแห่งการเติบโตของสื่อใหม่ๆ กอง บรรณาธิการก็ต้องปรับตัว บูรณาการระหว่างกระดาษ และสื่อออนไลน์เข้ าด้ วยกัน คนเดียวสามารถทําได้ ทังสองอย่ ้ าง รวมทังบริ ้ หารจัดการว่าจะทําอย่างไรไม่ให้ สื่อออนไลน์ไปกระทบสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น ข่าว exclusive ก็ลงหนังสือพิมพ์ก่อน เป็ นต้ น ส่วนข่าวสถานการณ์ที่ต้องขายความรวดเร็วก็ลงสื่อออนไลน์" เว็บมาสเตอร์ ดงั กล่าวยํ ้าถึงจุดแข็งในสื่อยุคใหม่อีกว่า "ความน่าสนใจของสื่อออนไลน์ หรื อสื่อ ใหม่ๆ คือ ความรวดเร็ วในข้ อมูล ทันกับสถานการณ์ มีการปฏิสมั พันธ์กนั ระหว่างผู้อา่ น สร้ างเป็ น Social Media มากขึ ้น ทังยั ้ งสามารถเพิ่มเติมลูกเล่นต่างๆเข้ าไปได้ มากมาย ซึง่ กรณีที่เกิดขึ ้นเมื่อไม่นานมานี ้ อย่าง นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 18


การประท้ วงที่อิหร่าน พบว่า นักข่าวพลเมืองทําได้ ดี รายงานทังภาพ ้ และข่าวผ่านทาง twitter ได้ ละเอียด กว่า CNN ด้ วยซํ ้า แต่อย่างไรก็ตาม ผู้รับข่าวก็ยงั ต้ องตรวจสอบความถูกต้ อง จากนักข่าวมืออาชีพ หรื อสื่อ หลักอีกครัง้ โอกาสของคนที่จะเข้ ามาทํางานด้ านสื่อจึงยังเปิ ดกว้ างเสมอ" "ในอนาคต แม้ ว่าจํานวนหนังสือรูปแบบสิ่งพิมพ์ อาจจะลดลง หรื อปรั บเปลี่ยนขนาด แต่ เชื่อว่ าสื่อสิ่งพิมพ์ ยังไม่ หายไป แต่ จะเป็ นการนําเสนอควบคู่ไปกับสื่อออนไลน์ แม้ ยุคสมัยจะ เปลี่ยนแปลงไป แต่ สื่อก็ยังคงอยู่ เพราะปั จจัยสําคัญที่กําหนดความเป็ นไปของสื่อ คือ ผู้บริโภค ที่ ยังต้ องการรับรู้ข้อมูลนั่นเอง"

“กระบวนการคิดเบือ้ งต้ นในงานออกแบบ” นิยามของการออกแบบ • การออกแบบภาษาชนิดหนึ่งที่มีพนื ้ ฐานจากองค์ ประกอบทางศิลปะ สามารถบอกเล่ า แนวความคิดของเราต่ อสิ่งต่ าง ๆ โดยต้ องน่ าสนใจทัง้ ตัวภาษาและเนือ้ หาที่พูดถึง

• การออกแบบ • “ศาสตร์ แห่ งความคิด แก้ ไขปั ญหาเพื่อสนองต่ อจุดหมาย” • ตอบสนองความจําเป็ นของมนุษย์ • ต้ องมีเกณฑ์ ท่ พ ี สิ ูจน์ ได้ เพื่อการตัดสินใจในคุณค่ าของงานออกแบบ • มีประโยชน์ ใช้ สอยที่ดี • มีแนวความคิดที่ดี • ความสวยงาม • ประหยัดเวลาในการนําเสนอข้ อมูล • กระตุ้นการสื่อสาร • ช่ วยให้ คนจํานวนมากเข้ าใจสื่อที่นําเสนอ นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 19


• Graphic Design • คํา • แผนผัง • ตัวเลข • ภาพถ่ าย • ภาพประกอบ • การออกแบบภาษา • การวางแผน • การจัดการข้ อมูลอย่ างเป็ นระบบ • ประโยค/ข้ อความ/ภาพประกอบ • เน้ นไปในความสวยงาม หน้ าที่ของกราฟิ กดีไซน์ • To Inform • บอกเล่ าเรื่องราวหรือให้ รายละเอียดต่ าง ๆ • เช่ น สัญลักษณ์ บอกทาง • To Identity • แสดงถึงลักษณะของบุคคลหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง • เช่ น โปสเตอร์ หาเสียงของพรรคการเมืองต่ าง ๆ • To Persuade • เพื่อโน้ มน้ าวหรื อชักจูง ขับเน้ นข้ อดี สื่อความหมาย • เช่ น โลโก้ ของธนาคาร

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 20


เทคนิควิธีคิดเบือ้ งต้ นเพื่อการออกแบบ • กําหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ • ตีความโจทย์ • เนือ้ หาจากการวิจัย • แนวความคิด • ตัวแสดงออก • บริบท • กระบวนการออกแบบ Witty Thinking กับการออกแบบ Witty Thinking • เป็ นเชาวน์ปัญญา และไหวพริ บปฏิภาณที่ใช้ ในการออกแบบงานกราฟิ กต่างๆ • “กราฟิ ก Wit ไม่ใช่ความแตกต่าง แต่เป็ นสื่อกลางที่เกิดจากพื ้นฐานทางเทคนิคเหมือนๆ กัน ” วิธีแบบ Witty thinking แบ่ งได้ ดังนี ้ 1. แบบผู้ดมู ีสว่ นร่วม

12. การเชื่อมโยง

2. การแทนค่า

13. การเลียนแบบอย่างสมจริง

3. การปฏิเสธ

14. คําพ้ องเสียงและวลีท้ายคํา

4. การยืมความหมายของสิ่งเก่ามาใช้

15. การเป็ นไปตามตัวอักษร

5. สภาวะและคุณลักษณะ 6. การเล่าเรื่ องตามเวลา

16. วางอุบายให้ คาดหวังในสิ่งหนึง่ แต่พบกับ อีกสิ่งหนึง่

7. การจับคู่

17. ความไม่เกี่ยวข้ องกันเลย

8. ภาษา

18. การเป็ นไปตามเทศกาลหรื อตาม เศรษฐกิจ

9. ความกํากวมของภาษาภาพ 10. การแทนที่ 11. การเพิ่ม

19. เล่นกับหน้ าตาและร่างกาย 20. ที่วา่ งบวกและที่วา่ งลบ นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 21


1. แบบผู้ดูมีส่วนร่ วม(Interactive Graphic) • หมายถึง การสร้ างการมีสว่ นร่วมของผู้ดขู ณะรับสารจากสื่อ

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 22


2. การแทนค่ า (Substitute) • หมายถึง เราแทนค่าบางสิ่งลงไปในอีกสิ่งหนึง่ เพื่อสร้ างความน่าสนใจ

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 23


3. การปฏิเสธ(Rejection) • หมายถึง เราใช้ การปฏิเสธเป็ นลูกเล่นสําหรับสื่อความหมาย

4. การยืมความหมายของสิ่งเก่ ามาใช้ (Homage) • เป็ นการดึงเอาไอคอนเก่ามาใช้ โดยอาจไม่ได้ นําสิ่งเก่ามาใช้ ทงหมด ั้ แต่อาจนํามาเพียง ส่วนใดส่วนหนึง่

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 24


นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 25


5. สภาวะและคุณลักษณะ (Quality) • สภาวะในที่นี ้ ถูกนํามาจากคุณสมบัตขิ องสิ่งต่าง ๆ หรื ออุปนิสยั ของสิ่งนัน้ ๆ เช่น นําเอา นิสยั ของเด็กที่ไม่มีระเบียบมาใช้ หรื อ คุณสมบัตคิ วามแข็งแรงของเพชร

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 26


6. การเล่ าเรื่ องตามเวลา(Narrative from the time) • เป็ นการลําดับความต่อเนื่องจาก 1 ไป 2 แล้ วไป 3 หรื อ เน้ นช่วงเวลาใดเวลาหนึง่ ที่ผ้ ดู จู ะ คาดการณ์ได้ วา่ มีอะไรเกิดขึ ้นก่อนหน้ านัน้ และจะเกิดอะไรขึ ้นต่อไป

7. การจับคู่ (Paris) • การจับคูจ่ ะต้ องทําให้ สิ่งที่นํามาใช้ งานอยูร่ วมกัน เน้ นให้ เกิดความหมายที่ตา่ งไปจากเดิม เพื่อสร้ างความหมายใหม่และความประหลาดใจ

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 27


8. ภาษา (Language) • ภาษาในที่นี ้หมายถึงภาษาพิเศษ เช่น อักษรเบลล์ ตัวโน้ ต หรื อมากกว่าภาษาเขียนที่ใช้ กนั ในชีวิตประจําวัน

9. ความกํากวมของภาษาภาพ (Ambiquity) • คือการออกแบบของสองอย่างรวมกันในหนึง่ เดียว ทําให้ สามารถมองเป็ นสองแง่ได้ เหมือนกับภาพหลอนทางสายตา

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 28


10. การแทนที่ (Substitution) • เป็ นเทคนิคคลาสสิค แทนที่ภาพย่อยหนึง่ ลงในอีกภาพย่อยหนึง่ ในภาพรวมทังหมด ้ เป็ น การรวมของสองสิ่งที่ไม่สามารถอยูร่ ่วมกันได้ ให้ อยูด่ ้ วยกันได้

11. การเพิ่ม (Addition) • เป็ นวิธีที่ปรากฏมากโดยเฉพาะการออกแบบโปสเตอร์ คือการเปลี่ยนรูปทรงโดยเพิ่มสิ่งใด สิ่งหนึง่ ลงไปเล็กน้ อย

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 29


12. การเชื่อมโยง(Missing Link) •

เชื่อมโยงสิ่งต่าง ๆ เข้ าด้ วยกันเหมือนกับเห็นภาพหนึง่ แล้ วไปนึกถึงอีกภาพหนึง่ โดยดึง เอาส่วนที่โดดเด่นของสิ่งที่ต้องการออกมาวางตําแหน่งใหม่ให้ เข้ ากันได้

13. การเลียนแบบอย่ างสมจริง(Trompe l’ oeil) • คือการวางตําแหน่งของงานออกแบบให้ อยูต่ รงกลางระหว่างความจริงกับการหลอกลวง เช่น การทําแพ็คเกจให้ ดเู หมือนถังขยะจริง ๆ

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 30


14. คําพ้ องเสียงและวลีท้ายคํา (Puns and Rebuse) • เป็ นการใช้ ประโยชน์จากการพ้ องเสียง โดยนํามาใช้ กบั ภาพและตัวอักษร

15. การเป็ นไปตามตัวอักษร(Talking it Literally) • สร้ างสภาวะหรื อลักษณะให้ เป็ นไปตามตัวอักษรที่กํากับไว้ ทังในเชิ ้ งกายภาพ และ ความหมาย

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 31


16. การวางอุบายให้ คาดหวังในสิ่งหนึ่งแต่ พบกับอีกสิ่งหนึ่ง (Expectation Confounded) • เป็ นการวางอุบายหรื อกับดัก ใช้ การคาดการณ์ของคนทัว่ ไปให้ ผิดไป เพื่อให้ เกิดความ ประหลาดใจหรื อประทับใจ

17. ความไม่ เกี่ยวข้ องกันเลย(Incongruity) • การใส่สว่ นผสมของภาพที่ไม่นา่ จะอยูด่ ้ วยกันได้ ให้ กลมกลืน โดยแฝงนัยยะของการ ออกแบบเป็ นตัวเชื่อมโยง

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 32


18. การเป็ นไปตามเทศกาลหรื อตามเศรษฐกิจ (Economy) • การยืมสัญลักษณ์ตามเทศกาลต่าง ๆ มาจัดสรรให้ ลงตัวกับเนื ้อหา

19. เล่ นกับหน้ าตาและร่ างกาย (The Face and The Body) • หน้ าตาและร่างกายเป็ นสิ่งที่บง่ บอกเอกลักษณ์ นิสยั และอารมณ์ของสิ่งนัน้ ๆ ได้ เป็ น อย่างดี อยูท่ ี่วา่ เราจะสื่อสารออกมาทางใด

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 33


20. ที่ว่างบวกและที่ว่างลบ(Positive Space and Neagative Space) • เป็ นการเล่นกับ Space ในงาน โดยสร้ างที่วา่ งทังสองส่ ้ วนให้ เกิดความหมายได้ ทงหมด ั้

จากวิธีการใช้ Witty Think ในการออกแบบ จะทําให้เห็นว่างานออกแบบมีลูกเล่นและความหมายที่ดี มากขึ้น ส่งผลให้งานออกแบบดูมีเรื่องราวและมีคุณค่า ซึง่ สามารถพัฒนางานออกแบบนันๆ ้ ไปใช้ ประยุกต์ กับงานสิ่งพิมพ์อื่นๆ ได้ ตอ่ ไป บรรณานุกรม กาญจนา กาญจนทวี. 2546. หนังสือพิมพ์ ออนไลน์ . เอกสารประกอบการสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ าร “นักข่าวพิราบดิจิทลั ” รุ่นที่ 1 ชมรมนักข่าวสายเทคโนโลยีสารสนเทศ สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย 26 กรกฎาคม 2546. กิตติมา ยงดีมิตรภาพและคณะ . 2544 . บทบาทของหนังสือพิมพ์ ออนไลน์ ในปั จจุบัน . 4มกราคม 2545 รายงานวิชา 64 0309 สัมมนาวารสารศาสตร์ สาขาวิชาวารสารศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย. ณรงค์ จุนเจือศุภฤกษ์ และคณะ. 2543. ผลกระทบของหนังสือพิมพ์ ทางอินเทอร์ เน็ตต่ อ พฤติกรรมการบริโภคข้ อมูลข่ าวสารจากหนังสือพิมพ์ รายวัน (ศึกษาเฉพาะกรณี บริษัทมติชน จํากัด [มหาชน] . วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ . นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 34


ผู้จดั การออนไลน์. 2553. "วารสารศาสตร์ แห่ งอนาคต" จุดเปลี่ยน - ความท้ าทายในสื่อยุคใหม่ ที่ นศ.ไทยควรรู้ . Life on Campus. วิรุณ ตังเจริ ้ ญ. 2545. การออกแบบกราฟิ ค. กรุงเทพมหานคร. สันติการพิมพ์. ศุภนิตย์ วงศ์ทางสวัสดิ์. 2549. หนังสือพิมพ์ ออนไลน์ : มองอดีต สู่ปัจจุบัน และเส้ นทางอนาคต. วารสารวิชาการนิเทศศาสตรปริ ทศั น์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ปี ที่ 10 ฉบับที่ 1 กรกฏาคม - ธันวาคม 2549. ศุภนิตย์ วงศ์ทางสวัสดิ.์ 2549. แนวนโยบาย การจัดวาระข่ าวสาร และการกําหนดรู ปแบบเนือ้ หา ในการเสนอข่ าวของหนังสือพิมพ์ ออนไลน์ กับการใช้ ความต้ องการและความพึงพอใจ ของผู้อ่าน. รายงานการวิจยั โดยทุนของมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย. ศุภศิลป์ กุลจิตต์เจือวงศ์ . 2555. ดิจิทัล แมกกาซีน : ย้ อนอดีต มองปั จจุบัน และเส้ นทางสู่โลก อนาคต. บทความวิชาการ มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ ด . สันทัด ทองริ นทร์ . 2543. หนังสือพิมพ์ ออนไลน์ ฉบับภาษาไทย : แนวคิด การจัดทํา และ แนวโน้ ม . วิทยานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต คณะวารสารศาสตร์ และสื่อสารมวลชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . สุนทร สุจีรกุลไกร . 2539 . หนังสือพิมพ์ อิเล็กทรอนิกส์ : สื่อดิจิทัลบนทางด่ วนข้ อมูลยุค 2020 . สารนิพนธ์ปริ ญญาวารสารศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์ คณะวารสารศาสตร์ และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . โสรชัย นันทวัชรวิบลู ย์. 2545. BE GRAPHIC สู่เส้ นทางกราฟิ กดีไซเนอร์ . กรุงเทพมหานคร. เอ.อาร์ . อินฟอร์ เมชัน่ แอนด์ พับลิเคชัน่ จํากัด. อิงทัส ฉันทตุลย์และธนวรรณ ท้ วมยิ ้ม. 2540 . หนังสือพิมพ์ บนอินเทอร์ เน็ต . ปริ ญญานิพนธ์ปริ ญญา วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยรังสิต.

นศ221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 1 : ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ | 35


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.