Ces journal vol 3 no 4

Page 46

CES Journal 45 วารสารวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 4

จากการปฏิบัติ การเป็นนักคิดวิเคราะห์ การรู้จักใช้ความรู้และทักษะเชิงสหวิทยาการ การมีความเป็นวิชาชีพ และความรับผิดชอบ การสอนแบบ PBL มีลักษณะสาคัญ คือ (1) ผู้เรียนเป็นผู้แสวงหาความรู้ (2) การเรียน เป็นกลุ่มย่อย (3) ผู้สอนเป็นผู้อานวยการเรียนรู้ (facilitator) (4) การใช้ปัญหาเป็นฐานการเรียนรู้ (5) การใช้ คาถามเป็ น ตัว กระตุ้น การเรี ย นรู้ และ (6) การประเมินผลการเรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้และผลงาน (learning process and products from project) (Kolmos, Du, Holgaard, and Jensen, 2008) 4. การเรียนรู้ระบบเทคโนโลยีและการจัดการในงานวิศวกรรม ช่วยพัฒนา “ทักษะคิดวิเคราะห์เชิง ระบบแบบวิศวกรรม” เทคโนโลยีและการจัดการที่เหมาะสมเป็นเทคโนโลยีที่ชุมชนต้องการและใช้แก้ปัญหาได้ คือมีผลต่อวัฒนธรรมในท้องถิ่น มีความคุ้มทุนคือมีผลต่อเศรษฐกิจ มีการใช้ทรัพยากรท้องถิ่นอย่างเหมาะสม และไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (ธารง เปรมปรีดิ์, 2542; วิชาญ ภู่พัฒน์, 2559) 5. วิศวศึกษาในโรงเรียนของสหรัฐอเมริกา จากการที่ “วิศวกรรมศาสตร์ ” เป็นสาขาความรู้และ วิชาชีพ มีธรรมชาติของการบูรณาการสะเต็ม ทาให้องค์กรและเครือข่ายร่วมมือกันจัดโปรแกรมวิศวกรรมเพิ่ม หลังเลิกเรียน และคณะกรรมการวิศวศึกษา ภายใต้องค์กรวิชาการทางวิศวกรรมและสภาวิจัยระดับประเทศ (National Academy of Engineering: NAE และ National Research Council: NRC) สหรั ฐ อเมริ ก าได้ จั ด ท ารายงานการศึ ก ษา เสนอแนะเชิ ง นโยบาย หลั ก การพื้ น ฐาน วิ ศ วศึ ก ษาในโรงเรี ย นที่ ส าคั ญ คื อ (1) เน้นกระบวนการออกแบบทางวิศวกรรมในการระบุโจทย์ปัญหาและแก้ปัญหา (2) ให้ความสาคัญการ ประยุกต์ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เหมาะสม หลักการและทักษะเทคโนโลยี (3) ส่งเสริมการพัฒนาการคิดแบบ วิศวกรรม และ (4) ส าหรั บ การสอนวิศวศึกษาในโรงเรียนสามารถจัดได้ 2 รูปแบบส าคัญคือ (1) แบบใช้ โครงงานวิศวกรรมเป็นฐานสาหรับบูรณการสะเต็มศึกษา และ (2) แบบจัดทาวิศวศึกษาเป็นหลักสูตรวิชาเลือก (NAE and NRC, 2009) 6. การเรียนรู้การบริการสังคม (Service Learning) เพื่อสร้างจิตสานึกความเป็นพลเมือง ชุมชนเป็น สถานที่ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ทั้งทฤษฎีและปฏิบัติให้ ตอบสนองต่อการใช้ชีวิต การอยู่ร่วมกันของคนในชุมชน ซึ่งก่อให้เกิดขนบธรรมเนียม/วัฒนธรรมประเพณีที่แตกต่างกันตามบริบทของชุมชน กระบวนการเรียนรู้ช่วย พั ฒ นาความมี จิ ต อาสา ซึ่ ง เป็ น ลั ก ษณะของความเป็ น พลเมื อ ง (Active Citizenship) ผู้ เ รี ย นที่ มี ค วามรู้ ความเข้าใจทักษะ เจตคติและค่านิยม มีพฤติกรรมหรือความประพฤติที่ดีงาม มีความรับผิดชอบ ส่วนการ พัฒนาการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง เป็นการศึกษาผ่านกระบวนการเรียนรู้ ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ ประชาธิป ไตย และฝึ กปฏิบั ติส อดคล้ องกับบริบทของแต่ล ะประเทศ (พิณสุ ดา สิ ริธ รังศรี, 2559; ศุภ รัตน์ รัตนมุขย์, 2556)


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.