Ces journal ปีที่ 1 ฉบับที่ 1(ก ค ธ ค 2558)

Page 1


____________________________CES Journal 1 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

เจ้ าของ วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 110/1-4 ถนนประชาชื่น เขตหลักสี่ กรุงเทพ 10210 คณะที่ปรึกษา อาจารย์ ดร.เลิศลักษณ์ บุรุษพัฒน์ อาจารย์เฉิ ดโฉม จันทราทิพย์ ศาสตราจารย์ ดร.บุญเสริ ม วีสกุล รองศาสตราจารย์ ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ รองศาสตราจารย์ ดร.สมบูรณ์วลั ย์ สัตยารักษ์วทิ ย์ ศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ สิ นลารัตน์ บรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สินธะวา คามดิษฐ์ ผู้ช่วยบรรณาธิการ อาจารย์ ดร.วาสนา วิสฤตาภา กองบรรณาธิการ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อัญชลี ทองเอม อาจารย์ ดร. ประภาศรี พรหมประกาย อาจารย์ ดร.โชติ แย้มแสง อาจารย์ ดร. สุธีรา นิมิตรนิวฒั น์ อาจารย์ ดร.เฉลิมชัย มนูเสวต อาจารย์ ดร.อสมา มาตยาบุญ อาจารย์ ดร.นักรบ หมี้แสน

กองจัดการ นางสาวเยาวลักษณ์ ขวัญชื่น นางสาวนิรดา บรรจงเปลีย่ น นางสาวศิริพร เฉียดกลาง ออกแบบรูปเล่ ม-จัดหน้ า นายธรรมรัตน์ สืบประยงค์ นางสาววิมลรัตน์ ทองปลาด กาหนดออก ราย 6 เดือน (ปี ละ 2 ฉบับ) พิมพ์ ท่ ี โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

ทัศนะข้ อคิดใดๆทีป่ รากฏใน CES journal วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เป็ นทัศนะวิจารณ์อิสระ ทางคณะผู้จดั ทา ไม่จาเป็ นต้ องเห็นด้ วยกับทัศนะข้ อคิดเห็นเหล่านั ้นแต่ประการใด ลิขสิทธิ์บทความ เป็ นของผู้เขียนและวารสารและได้ รับการสงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย


____________________________CES Journal 2 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒกิ ลั่นกรองบทความ (Peer Review) รองศาสตราจารย์ ดร.ทองอินทร์ วงศ์โสธร รองศาสตราจารย์ ดร.สนานจิตร สุคนธทรัพย์ รองศาสตราจารย์ ดร.อุทยั บุญประเสริ ฐ รองศาสตราจารย์ ดร.กล้า ทองขาว รองศาสตราจารย์ ดร.ทัศนีย ์ ชาติไทย ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.พิณสุดา สิ ริธรังศรี ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.พนารัตน์ ลิ้ม ศาสตราจารย์ ดร.ศิริชยั กาญจนวาสี รองศาสตราจารย์ ดร.ดิเรก ศรี สุโข ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ศกั ดิ์ พลสารัมย์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ปองสิ น วิเศษศิริ รองศาสตราจารย์ ดร.นฤนันท์ สุริยมณี ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นักรบ ระวังการณ์ รองศาสตราจารย์ ดร.พร้อมพิไล บัวสุวรรณ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. วิสุทธิ์ วิจิตรพัชราภรณ์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. องอาจ นัยพัฒน์ รองศาสตราจารย์ ดร. .เอื้อจิต พัฒนจักร รองศาสตราจารย์ ดร.ทวีศกั ดิ์ จินดานุรักษ์

นักวิชาการ นักวิชาการ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิ ดล มหาวิทยาลัยมหิ ดล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช


____________________________CES Journal 3 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

สารบัญ บทความวิชาการ ผู้นาทางการศึกษาไทย : ถึงเวลาของบทบาทเชิงรุก

5

ศาสตราจารย์ ดร.ไพทูรย์ สิ นลารั ตน์ การบริหารคุณภาพและระบบการประกันคุณภาพในระดับอุดมศึกษา

13

ศาสตราจารย์ .ดร. อุทัย บุญประเสริ ฐ ดร. วาสนา วิสฤตาภา การจัดการศึกษาแบบยึดพืน้ ทีเ่ ป็ นฐาน : แนวคิด แนวทาง และกรณีศึกษา AREA-BASED EDUCATIONAL MANAGEMENT : CONCEPT, GUIDELINES AND CASE STUDY

25

รองศาสตราจารย์ ดร.กล้ า ทองขาว จิตสังเคราะห์ : ความสามารถทีส่ าคัญในศตวรรษที่ 21

39

ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ไสว ฟักขาว การติดตาม สนับสนุน และประเมินผลโครงการ:กรณีศึกษาการติดตาม สนับสนุนและประเมินผลโครงการส่ งเสริม คุณภาพการเรียนรู้ เด็กด้ อยโอกาสโดยครู สอนดี

55

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิณสุดา สิ ริธรั งศรี การวิจยั ในชั้นเรียนระดับอุดมศึกษา

77

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สิ นธะวา คามดิษฐ์

บทความวิจัย สาระความรู้ และสมรรถนะตามมาตรฐานความรู้ ผู้ประกอบวิชาชีพครู ดร.โชติ แย้ มแสง

95


____________________________CES Journal 4 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

บทบรรณาธิการ การศึกษาระดับอุดมศึกษา เป็ นการศึกษาขั้นสู งที่มีเป้ าหมายในการผลิ ตบัณฑิตที่นอกจากมีความรู ้ ในศาสตร์ สาขาแล้ว ควรมีคุณลักษณสาคัญ คือ การทาหน้าที่เป็ นผูผ้ ลิ ตหรื อสร้ างความรู ้ มากกว่าเป็ นผูใ้ ช้ หรื อผูบ้ ริ โภคความรู้ที่คนอื่นสร้างไว้ จากแนวคิดนี้ วิทยาลัยครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุ รกิจบัณฑิ ตย์ โดย ศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ สิ นลา รัตน์ รักษาการคณบดี จึงริ เริ่ มให้จดั ทาวารสารทางวิชาการเพื่อเป็ นเวทีให้แก่นกั วิชาการทางการศึกษา หรื อ นักวิชาการสาขาอื่นๆที่เกี่ ยวข้อง รวมถึ งนิ สิตนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา เพื่อเผยแพร่ ผลงานทั้งบทความ ทางวิชาการ และบทความวิจยั โดยให้ชื่อวารสารนี้ วา่ CES journal (อักษรย่อ CES มาจากชื่อวิทยาลัยใน ภาษาอังกฤษ คือ College of Education Sciences ) มีผทู ้ รงคุณวุฒิกลัน่ กรองบทความ ( Peer Review) เพื่อให้บทความที่ตีพิมพ์มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน CES journal ฉบับนี้ เป็ นฉบับปฐมฤกษ์ (ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม – ธันวาคม 2558) กาหนด เผยแพร่ ปี ละ 2 ฉบับ เนื้ อหาในเล่มมีท้ งั บทความทางวิชาการและบทความวิจยั ของผูท้ รงคุณทั้งภายในและ ภายนอกมหาวิทยาลัย รู ปแบบการเผยแพร่ มีท้ งั เป็ นรู ป เล่ ม และ เป็ นแบบ online อยู่ใน website ของ วิทยาลัยฯ (http://www.dpu.ac.th/ces/) ความสาเร็ จของวารสารนี้ คงมิใช่ความสามารถของทีมงานกองบรรณธิ การ เท่านั้น แต่มาจากผูท้ ี่มี ส่ วนสาคัญคือผูส้ ร้างผลงานทางวิชาการ ได้แก่ คณาจารย์ นิสิตนักศึกษา นักวิชาการอิสระ และผูท้ รงคุณวุฒิ กลัน่ กรองบทความ ทางกองบรรณาธิ การขอขอบพระคุณไว้ ณ ที่น้ ี ดว้ ย อย่างไรก็ดี หากท่านมีขอ้ เสนอแนะ ที่เป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาวารสารให้ดียงิ่ ขึ้น กองบรรณธิ การขอน้อมรับด้วยความยินดี

บรรณาธิการ


____________________________CES Journal 5 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

ผู้นาทางการศึกษาไทย : ถึงเวลาของบทบาทเชิงรุก

ศาสตราจารย์ ดร.ไพทูรย์ สิ นลารัตน์ *

* รองอธิการบดีฝ่ายวิจยั และรักษาการคณบดีวทิ ยาลัยครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์


____________________________CES Journal 6 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

สภาพเชิ งอนุรักษ์ ของการศึกษาไทย แม้การปฏิรูปประเทศจะได้เริ่ มมาอย่างจริ งจังในสมัยรัชกาลที่ 5 เป็ นต้นมา แต่สังคมไทยก็ยงั ไม่ เปลี่ยนแปลงมากนัก คนไทยโดยรวมและส่ วนใหญ่ก็ยงั คงใช้ชีวติ บนพื้นฐานแนวคิดและกิจกรรมของสังคม แบบเกษตรหรื อบางส่ วนก็เป็ นอุตสาหกรรมบ้าง บางส่ วนได้เรี ยนรู ้ เทคนิ คของการใช้ชีวิตตามสภาพเดิ ม ของสังคมผสมผสานเทคนิ คสมัยใหม่ การศึ กษาจึ งยังคงสอนให้เด็กตามสังคมไปเรื่ อยๆ การเน้นให้ให้ ผูเ้ รี ยนนาสังคมยังมีน้อย ครู เองก็สอนแบบป้ อนอยู่ ผูบ้ ริ หารก็ยงั คงบริ หารโรงเรี ยนเน้นระเบียบกฎเกณฑ์ และอยูก่ บั ปั จจุบนั มากกว่าอนาคต บทบาทของนักการศึกษาหรื อผูบ้ ริ หารการศึกษาเท่าที่ผา่ นมาจึงมีลกั ษณะ ในเชิงอนุรักษ์และเน้นเทคนิคตามไปด้วย โดยมีลกั ษณะสาคัญคือ อนุรักษ์วฒั นธรรมของการเป็ นผูต้ ามไว้ ระดับหนึ่ งและเรี ยนรู ้ เทคนิ คของต่างประเทศบางประการ ซึ่ งก็ทาให้สังคมไทยและสังคมไทยดารงมาได้ อย่างดีพอสมควร แต่เมื่อมาถึงปั จจุบนั เห็นได้ชดั ว่าไม่เพียงพอที่จะรับกับการเปลี่ยนแปลงใหม่แล้ว เมื่อความเปลีย่ นแปลงใหม่ ถาโถมเข้ ามามาก ความเปลี่ยนแปลงของโลกอันเนื่ องมาจากระบบโลกาภิวตั น์และการเตรี ยมการก้าวสู่ ศตวรรษที่ 21 เป็ นผลทาให้โลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากทั้งในด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวิถีการใช้ชีวิต เริ่ มแต่ การขยายตัวของข้อมูลข่าวสารอย่างมากและอย่างเร็ ว การแข่งขันมีอยูท่ วั่ ไป ธุ รกิจและการค้าขยายตัวอย่าง รวดเร็ ว ติดตามมาด้วยการค้าและการเมืองระหว่างประเทศกว้างขวางขึ้น ทาให้ผเู ้ รี ยนและเด็กไทยรวมทั้ง คนไทยเองต้อ งเรี ย นรู ้ แ ละปรั บ ตัว อย่า งมาก แนวคิ ด ทิ ศ ทางและความเชื่ อเดิ ม ไม่ ส ามารถรั บ กับ การ เปลี่ยนแปลงได้ จาเป็ นที่การศึกษาไทยจะต้องมีการเปลี่ ยนแปลงเกิดขึ้น บทบาทของผูน้ าทางการศึกษาไทย ก็จะต้องเปลี่ยนแปลงไปในลักษณะที่จะทาให้คนส่ วนใหญ่อยูก่ บั การเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ ได้ อย่างรู ้ เท่าทัน และสามารถนาการเปลี่ยนแปลงด้วยพร้อมกันไป เมื่อวิธีการเดิมไม่ สามารถตามทันกับของใหม่ ได้ เมื่อการเปลี่ ยนแปลงใหม่ได้ถาโถมเข้ามาอย่างมากเช่ นนี้ แล้วแต่ระบบและบทบาทของการศึกษา ยังคงมีลกั ษณะเชิ งอนุ รักษ์อยู่จึงไม่สามารถพัฒนาผูเ้ รี ยนให้ทนั กับการเปลี่ ยนได้ เพราะการสอนและการ บริ หารเชิ งอนุ รักษ์จะทาให้เด็กเป็ นคนที่ เชื่ อฟั งทาตามอย่างเดี ยวกันไม่คิดใหม่ ไม่สร้ างสรรค์อะไรใหม่ ยึดตามระเบียบและกฎเกณฑ์ในขณะที่คุณลักษณะใหม่ในโลกยุคใหม่ของเด็ก เป็ นไปในทางตรงกันข้าม (ดูตารางข้างล่างนี้)


____________________________CES Journal 7 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

    

การสอนเชิงอนุรักษ์ สอนให้เด็กทาตามที่ครู บอก หาความรู้เบ็ดเสร็ จมาให้เด็ก ครู ตอ้ งมยึดกฎเกณฑ์ระเบียบ เดิมๆ เน้นระเบียบวินยั เป็ นหลัก ผูบ้ ริ หาร บริ หารตามระเบียบ กฎเกณฑ์

คุณลักษณะที่ได้จากการสอนเดิม  เชื่อฟัง / ทาตาม  คิดตาม / ทาตาม  ทาอย่างเดียวกัน  ให้มีความคิดใหม่  เด็กยึดตามระเบียบที่วางไว้

คุณลักษณะใหม่ของผูเ้ รี ยน  คิดเอง ทาเอง  คิดใหม่ คิดสร้างสรรค์  เรี ยนรู ้ตลอดชีวติ  เป็ นตัวของตัวเอง  แก้ปัญหา/มองไปในอนาคต/ มีบทบาทในสังคม

จากตารางดังกล่าวเราจะเห็นชัดเจนว่าบทบาทของบุคลากรในทางการศึกษาทั้งครู และผูบ้ ริ หาร รวมทั้งผูน้ าทางการศึกษาของไทยยังคงมีบทบาทการสอนในเชิงอนุ รักษ์ก็จะสร้างคุณลักษณะของเด็กได้ใน ลักษณะเชื่อฟัง ทาตามไม่คิดใหม่ แต่ความจาเป็ นใหม่เราต้องการเด็กที่คิดเอง ทาเอง ซึ่ งการสอนแบบเดิม ไม่อาจทาได้โดยเหตุน้ ีผนู ้ าของการศึกษาของไทยจะต้องคิดใหม่ มีบทบาทใหม่เป็ นบทบาทในเชิงรุ กมาก ขึ้น จึงจะสร้างและสอดคล้องกับคุณลักษณะใหม่ของผูเ้ รี ยน จาเป็ นทีจ่ ะต้ องมีบทบาทใหม่ เมื่อพิจารณาจากเทคนิคและแนวคิดแล้วเราสามารถแบ่งบทบาทของนักการศึกษาไทยและผูน้ า ทางการศึกษาได้เป็ น 4 ประการคือ (ดูแผนภาพประกอบ)

เทคนิค

แนวคิด

อนุรักษ์ กฎเกณฑ์ ระเบียบ มาตรฐาน แบบอย่าง ยึดมั่น รักษา ถ่ายทอด ความเชื่อเดิม

สร้างสรรค์ คิดใหม่ สื่อสารความคิด ปรับเปลี่ยนตามสมัย   พัฒนาความเข้าใจ   วิเคราะห์ประเมิน เป็นตัวของตัวเอง พัฒนาเสริมสร้าง มุ่งมั่นในสิ่งที่ดีกว่า ภาพประกอบ 1


____________________________CES Journal 8 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

บทบาทแรก บทบาทในเชิ งเทคนิ ค/อนุ รักษ์ บทบาทนักการศึกษาและผูน้ าทางการศึกษามักจะ ปฏิบตั ิและดาเนินมาโดยตลอดเป็ นบทบาทสภาพที่คงเดิมไว้ โดยผูบ้ ริ หารและหรื อผูน้ าวงการศึกษาไทยจะ บริ หารและดาเนิ นการทางการศึกษาไทยใช้เทคนิ คในเชิ งกฎหมายซึ่ งจะเกี่ ยวข้องกับการใช้อานาจ ใช้การ บังคับใช้ระเบียบกฎเกณฑ์เป็ นหลักและจะใช้ได้ดีตามกรอบและแนวทางที่ได้มีการวางไว้ ซึ่ งเป็ นระเบียบ และมาตรฐาน อันเชื่อว่าเป็ นแบบอย่างที่ดีอยูแ่ ล้ว และแบบอย่างเหล่านี้ มกั จะเป็ นแบบอย่างอันมีมาแต่อดีต ซึ่ งเชื่อว่าคนสมัยก่อนได้เริ่ มต้นมาด้วยดีแล้ว เราควรทาตามอย่างในแนวทางนี้ มกั ยึดกฎเกณฑ์ของการศึกษา และแบบอย่างของนักการศารุ่ นเก่าเป็ นเกณฑ์ตดั สิ นความเหมาะสมและมีคุณค่า บทบาททีส่ อง บทบาทในเชิ งแนวคิด/อนุรักษ์ ในบทบาทที่สองผูบ้ ริ หารมีภาระหน้าที่ในการรักษา ถ่ายทอด และส่ งเสริ มแนวคิดความเชื่ อ ค่านิ ยม ประเพณี ดา้ นต่างๆ ให้คงอยู่หรื อปรับเปลี่ ยนน้อยที่สุด ทั้งนี้ เพราะแนวคิ ดและค่านิ ยมดังกล่ าว เป็ นมรดกของสังคมที่ จะต้องรั กษาไว้ นักการศึ กษาจึ งต้องเน้น บทบาทให้ชัดเจนและแน่ นอน แต่ใ นบทบาทนี้ มีข ้อที่ แตกต่างจากบทบาทแรกที่ ไม่ ได้เน้นเทคนิ ค หรื อ วิธีการมากนักแต่เน้นในเชิ งแนวคิดการมองไปข้างหน้ามากกว่าเน้นเทคนิ ค เกณฑ์ตดั สิ นความดีเลวจึงอยูท่ ี่ วัฒนธรรมประเพณี มากกว่าความเหมาะสมของสภาพการณ์ สิ่ งแวดล้อมและเวลา บทบาทที่ส าม บทบาทในเชิ งเทคนิ ค /สร้ า งสรรค์ บทบาทที่ ส ามนี้ เป็ นบทบาทเชิ ง สร้ า งสรรค์ นักการศึกษาจะเน้นที่ การสร้ างสรรค์และมองหาคิ ดค้นเทคนิ คใหม่ๆ วิธีการสอน วิธีการบริ หาร เพื่อให้ ผูเ้ รี ยนแสดงออกซึ่งความคิด ทัศนะ และความรู้สึกของตนเองให้คนอื่นรู้ความเข้าใจตามที่คิด ในลักษณะนี้ เทคนิคและการสอนจึงมักจะสอดคล้องและตามอย่างสังคมปั จจุบนั ซึ่ งอาจจะแปรเปลี่ยนไปเรื่ อยๆได้ บทบาทที่สี่ บทบาทในเชิ งแนวคิ ด /สร้ า งสรรค์ บทบาทที่ สี่ น้ ี เน้น บทบาทในลัก ษณะที่ จะใช้ การศึ กษาเป็ นอุปกรณ์ ให้เกิ ดแนวคิด ทัศนะใหม่ๆ เพื่อสร้ างสรรค์และพัฒนาแนวคิ ด ค่านิ ยมไปสู่ สิ่งที่ ดีกว่า ให้ครู และผูเ้ รี ยนได้อ่าน คิด วิเคราะห์สภาพการณ์ ที่เป็ นอยูแ่ ล้ว ประเมินสภาพการณ์น้ นั เพื่อสร้าง ความเป็ นตัว ของตัว เองขึ้ น มา ในขณะเดี ย วกัน ก็ มุ่ ง เรี ย นที่ จ ะพัฒ นาตัว เองและสั ง คมไปสู่ สิ่ ง ที่ ดี ก ว่ า ยิง่ ๆขึ้นไป


____________________________CES Journal 9 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

ถึงเวลาบทบาทเชิ งรุ กของผู้นา แม้ท้ งั 4 บทบาทของผูน้ าการศึกษาไทยที่กล่าวมาจะมีความสาคัญทั้ง 4 บทบาท แต่ เมื่อคานึงถึง การเปลี่ยนแปลงของสั งคมไทยและสั งคมโลกแล้ วเห็นได้ ชัดว่ าผู้นาทางการศึ กษารุ่ นใหม่ ของไทยควรให้ ความสาคัญกับบทบาทที่ 4 คือ บทบาทในเชิ งแนวคิดและเป็ นแนวคิดในเชิ งสร้ างสรรค์ หรื อเป็ นแนวคิด ใหม่ ๆ ที่คนในวงการศึกษาเองจะต้ องช่ วยกันคิด และพัฒนาขึ้นมาเพื่อให้ การศึกษาไทยและหรื อการศึกษา ของอาเซียนได้ พฒ ั นาก้าวหน้ าตามทันต่ อการเปลีย่ นแปลงของโลกได้ และยังต้องคานึงบทบาทที่จะเข้าไปมี ส่ วนในการเป็ นผูน้ าร่ วมกับภูมิภาคและอาจจะถึงการเปลี่ยนแปลงของโลกด้วย ผู้นาเชิ งรุ ก : ผู้นาทีม่ ีสติปัญญาอย่ างไทย / ตามทันต่ างประเทศ ต่างประเทศ

ของไทย

เทคนิค เทคนิค / ต่างประทศ

เทคนิค / สังคมไทย

    สติปัญญา/ ความคิด

สติปัญญา / ต่างประเทศ

สติปัญญา / สังคมไทย

ภาพประกอบ 2 การที่เราจะก้าวหน้าไปสู่ ผนู ้ าเชิงรุ กได้น้ นั เราต้องเริ่ มต้นด้วยการติดตามความก้าวหน้าของ ต่างประเทศอย่างจริ งจังพร้อมๆ กับการเรี ยนรู ้เรื่ องของไทยอย่างลึกซึ้ งด้วยพร้อมกันไป ลึกซึ้ งจนสามารถ สร้างเป็ นรู ปแบบของเราขึ้นเองได้ ในฐานะผูน้ าเราต้องเข้าใจรายละเอียดของการศึกษาโดยภาพรวมพร้อมๆ กับรู ้ลึกซึ้ งในรายละเอียดและการมองเห็นอนนาคต (ไพฑูรย์ สิ นลารัตน์, 2538) ของแต่ละสาขาที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาได้ เมื่อเห็นภาพรวมและอนาคตแล้วบทบาทในเชิงของการชี้ทิศทางการนาก็จะติดตามมา การพัฒ นาผู้ นาทางการศึ ก ษาของไทยจึ งต้ อ งเริ่ ม ที่รูปแบบ 4 (ดู ภ าพประกอบ 2) คือ ผู้ นาที่มี สติปัญญาอย่ างไทย และคามทันกับต่ างประเทศ (รู ปแบบ 3) ควบคู่กนั ไป


____________________________CES Journal 10 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

บทสรุ ป : ก้ าวสู่ ต้มยากุ้งโมเดล

ต้ มยากุ้งโมเดลในระบบผู้นาการศึกษาไทย

ต้ มยากุ้ง 1. ของใช้ในท้องถิ่น 2. จัดสูตรแบบต่างๆ 3. ให้คุณค่าทางอาหารสูง 4. ปรุ งรสได้หลากหลาย 5. บริ การในและ นอกประเทศ

ส่วนประกอบ ท้องถิ่น

สร้างสรรค์ แบบต่างๆ

สนองทุกฝ่าย

คุณค่าครบ

หลากรายรส

ระบบผู้นาการศึกษาไทย 1. คิดและทาในท้องถิ่น 2. พัฒนารู ปแบบต่างๆ 3. มีคุณค่า/ประโยชน์สูง 4. ยืดหยุน่ ได้หลากหลาย 5. จัดได้ท้ งั ใน/นอกประเทศ

แสดงลักษณะของต้นยากุง้ โมเดลในการศึกษาไทย ภาพประกอบ 3 ภาพประกอบ 3 รู ปแบบของการพัฒาการศึกษาและการสร้างผูน้ าทางการศึกษาของไทยในปัจจุบนั เราใช้ระบบของ รู ปแบบแมคโดนัลด์ที่เรี ยกว่า McDonaldization (Ritzer, 1998 อ้างใน ดรุ ณศักดิ์ ตติยะลาภะ, 2549) ที่ให้ นักการศึกษาทัว่ โลกคิ ดแบบเดี ยวกัน อาหารแบบเดี ยวกัน ใช้ชีวิตแบบเดี ยวกัน การศึกษาแบบเดี ยวกัน ไม่มีความคิดใหม่ คิดสร้างสรรค์หรื อคิดแตกต่างแต่อย่างใด ซึ่ งตรงข้ามกับอาหารไทยเราคือต้มยากุง้ ที่เป็ น ระบบการปรุ ง อาหารที่ ใ ช้เครื่ องปรุ ง ที่ มี คุ ณค่ า ทางอาหารและเป็ นของท้อ งถิ่ น แต่ ข ณะเดี ย วกัน ก็ เป็ น นานาชาติได้โดยปรับปรุ งคุณค่า รสชาด และรู ปแบบให้แตกต่างไม่ได้แต่ยงั คงความเป็ นตัวของตัวเองของ ต้มยากุง้ ไว้ได้ ผู้นาทางการศึ กษาหรื อเป็ นผู้นาทางด้ านอื่นของไทยจึงต้ องเป็ นผู้นาในระบบของต้ มยากุ้ง โมเดลที่ใช้ กระบวนการ Tomyam Kung-ization คือคิดและทาในแนวทางของไทยเองที่เชื่ อมโยงกับ นานาชาติได้ และพัฒนาขึน้ มาเป็ นของสากลได้ ในทีส่ ุ ด


____________________________CES Journal 11 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

เอกสารอ้างอิง

ไพฑูรย์ สิ นลารัตน์ (2007) ภาวะผู้นาใหม่ กบั โลกาภิวฒ ั น์ ใหม่ ในระบบอุดมศึกษาไทย : เส้ นทางสู่ ความเป็ น ตัวของตัวเอง. Asahil Journal Vol. 10 No.2 Nov. 2007 ดรุ ณศักดิ์ ตติยะลาภะ (2549) แนวคิดเชิ งธุรกิจกับการเปลี่ยนแปลงมหาวิทยาลัยไทย : การวิเคราะห์ การจัด หลักสู ตรโครงการพิเศษ. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคาแหง ไพฑูรย์ สิ นลารัตน์ (2538) เพือ่ ความเป็ นผู้นาของการครุ ศึกษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุ งเทพฯ : วิทยาลัย ครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุ รกิจบัณฑิตย์


____________________________CES Journal 12 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1


____________________________CES Journal 13 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

การบริหารคุณภาพและระบบการประกันคุณภาพในระดับอุดมศึกษา

รองศาสตราจารย์ ดร. อุทยั บุญประเสริฐ* ดร. วาสนา วิสฤตาภา*

*ผูอ้ านวยการหลักสูตร์ดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาการจัดการการศึกษา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ *อาจารย์ประจาและเลขานุการวิทยาลัยครุ ศาสตร์


____________________________CES Journal 14 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

บทนา การจั ด การศึ ก ษาให้ มี คุ ณ ภาพนั้ น จ าเป็ นต้ อ งใช้ ห ลั ก การบริ หารจั ด การที่ ดี มี คุ ณ ภาพ ประสิ ทธิ ภาพสู ง เช่นเดียวกับการบริ หารหรื อดาเนิ นกิจการต่างๆที่ตอ้ งมีการดาเนิ นงานอย่างเป็ นระบบ ครบ วงจรการบริ หารระบบคุณภาพ ซึ่ งระบบการศึกษาไทยทุกส่ วนทุกระดับนั้น มีขอ้ กาหนดให้ตอ้ งปฏิบตั ิเพื่อ พัฒนาคุณภาพตามหมวด 6 ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติฯ และมีสานักงานรับรองมาตรฐานและ การประกันคุณภาพการศึกษา(สมศ.)มีบทบาทสาคัญเชื่อมโยง การจัดการศึกษาในประเทศไทยปั จจุบนั มี 3 รู ปแบบ คือ 1.) การศึกษาในระบบ 2.) การศึกษา นอกระบบ และ3.) การศึกษาตามอัธยาศัย สถานศึกษาจะจัดการศึกษาในรู ปแบบใดรู ปแบบหนึ่ง หรื อจะจัด ทั้งสามรู ปแบบก็ได้ การศึ กษาในระบบจะมี 2 ระดับ คื อ ขั้นพื้นฐาน และระดับอุ ดมศึ กษา การบริ หาร จัดการคุ ณภาพในระดับศึกษาการขั้นพื้นฐานนั้น ในขั้นเริ่ มต้น มีมาตรฐาน 3 ด้าน คือ 1.) มาตรฐานด้าน ผูเ้ รี ยน 2.) มาตรฐานด้านครู และ 3.) มาตรฐานด้านผูบ้ ริ หาร มีมาตรฐานโดยรวมทั้งสิ้ น 14 มาตรฐาน ส่ วนการจัดการบริ หารจัดการคุณภาพในระดับอาชี วศึกษาที่มีเป้ าหมายที่สาคัญอยูท่ ี่ การพัฒนา กาลังคนระดับกึ่งฝี มือ ระดับฝี มือ ระดับเทคนิ ค และระดับเทคโนโลยี เพื่อให้เกิดคุณภาพตามสมรรถนะ อาชี พ โดยคณะกรรมการอาชี วศึ ก ษาได้เสนอมาตรฐานการอาชี วศึ ก ษา เพื่ อใช้เป็ นกรอบแนวทางการ ดาเนินงานของสถานอาชีวศึกษา และให้ใช้เป็ นกลไกสาคัญในการประกันคุณภาพการจัดการอาชี วศึกษาให้ มีประสิ ทธิ ภาพ ไว้ 6 มาตรฐานได้แก่ 1) มาตรฐานผูเ้ รี ยนและผูส้ าเร็ จการศึกษาวิชาชี พ 2) มาตรฐาน หลักสู ตรและการจัดการเรี ยนการสอน 3) มาตรฐานกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน 4) มาตรฐานการบริ การวิชาชีพ สู่ สังคม 5)มาตรฐานนวัตกรรมและการวิจยั และ 6)มาตรฐานภาวะผูน้ าและการจัดการ


____________________________CES Journal 15 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

ระบบการบริ หารจัดการคุณภาพและประกันคุณภาพในการอุดมศึกษาไทย การบริ หารจัดการคุ ณภาพในระดับอุดมศึกษาตามที่ได้กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษา แห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวด 5 ที่วา่ ด้วยการบริ หารและการจัดการศึกษา มาตรา 34 นั้น ได้กาหนดให้คณะกรรมการการอุดมศึกษา มีหน้าที่พิจารณาเสนอมาตรฐานการอุดมศึกษา ที่ สอดคล้องกับความต้องการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติ มาตรฐานการศึกษาของชาติ และ แผนการศึกษาแห่งชาติ (สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา,2550:1-3) คณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ จัดทามาตรฐานการอุดมศึกษา ซึ่ งในช่วงแรกประกอบด้วยมาตรฐาน 3 ด้าน ได้แก่ 1.) มาตรฐานด้านคุณภาพ บัณฑิต 2.) มาตรฐานด้านการบริ หารจัดการการอุดมศึกษา และ3.) มาตรฐานด้านการสร้างและพัฒนาสังคม ฐานความรู ้ และสังคมแห่ งการเรี ย นรู ้ มาตรฐานทั้ง 3 ด้านนี้ มีความสอดคล้องและสัมพันธ์ กนั มาตรฐาน การศึกษาของชาติ ซึ่งจะนาไปสู่ การพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาตามกลุ่มสถาบันที่มีปรัชญา วัตถุประสงค์ และ พันธกิ จในการจัดตั้งที่แตกต่างกัน ประกอบด้วย มาตรฐานหลัก 2 ด้าน คือ 1.) มาตรฐานด้านศักยภาพและ ความพร้อมในการจัดการศึกษา และ 2.) มาตรฐานด้านการดาเนินการตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา โดย ได้กาหนดกลุ่ มสถาบันอุดมศึ กษาเป็ น 4 กลุ่ม ได้แก่ 1.) กลุ่มวิทยาลัยชุ มชน 2.) กลุ่มสถาบันที่ เน้นระดับ ปริ ญญาตรี 3.) กลุ่ มสถาบันเฉพาะทาง และ 4.) กลุ่ ม สถาบันที่ เน้นการวิจยั ขั้นสู งและผลิ ตบัณฑิ ตระดับ บัณฑิ ตศึกษาโดยเฉพาะระดับปริ ญญาเอก และกาหนดกรอบมาตรฐานคุ ณวุฒิระดับอุ ดมศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2552 เพื่อเป็ นการประกันคุณภาพบัณฑิ ตในแต่ละระดับคุ ณวุฒิและสาขาวิชา โดยกาหนดให้คุณภาพ ของบัณฑิตทุกระดับคุ ณวุฒิและสาขาวิชาต้องเป็ นไปตามมาตรฐานผลการเรี ยนรู ้ อย่างน้อย 5 ด้าน คือ 1.) ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม 2.) ด้านความรู้3.) ด้านทักษะทางปั ญญา 4.) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 5.) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่ อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ นอกจากนี้ ยังมี การพัฒนาคุ ณภาพและยกระดับมาตรฐานในการจัดการศึกษา หลักเกณฑ์การ ดาเนิ นการหลัก สู ตรระดับ ปริ ญญาในระบบการศึ ก ษาทางไกล หลั ก เกณฑ์และแนวปฏิ บ ตั ิ เกี่ ย วกับ การ พิจารณาประเมินคุณภาพการจัดการศึกษานอกสถานที่ต้ งั ของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อส่ งเสริ มให้สถาบันอุดม ศึกษาได้พฒั นาด้านวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพและยกระดับมาตรฐานในการจัดการศึกษา ระดับ อุ ด มศึ ก ษาให้ มี ค วามทัด เที ย มกัน และพัฒ นาสู่ ส ากล ฯลฯ เพื่ อ ให้ ส ถาบัน อุ ด มศึ ก ษาสามารถจัด การศึกษามีคุณภาพและมาตรฐานตามที่กาหนด (สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา,2553:7 ) การประกันคุณภาพทางการศึกษาในประเทศไทย แตกต่างจากที่อื่นตรงที่ การประกันคุ ณภาพ เป็ นผลจากการมีพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติฯและในหมวด 6 ซึ่ งว่าด้วย มาตรฐานและการประกัน คุณภาพการศึกษา อันประกอบด้วย 1.) การประกันคุณภาพภายใน โดยบุคลากรของสถานศึกษาหรื อโดย


____________________________CES Journal 16 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

หน่วยงานต้นสังกัด ที่มีหน้าที่กากับดูแลสถานศึกษานั้น ต้องจัดให้การประกันคุณภาพภายในเป็ นส่ วนหนึ่ ง ของการบริ หาร จัดทารายงานประจาปี เสนอต่อหน่ วยงานที่ เกี่ ยวข้อง และเปิ ดเผยต่อสาธารณชน และ 2.) การประกันคุณภาพภายนอก เป็ นการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินคุณภาพและมาตรฐาน และการให้การ รับรองโดยสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุ ณภาพการศึกษา(สมศ.) ซึ่ งต้องจัดให้มีการประเมิน คุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกแห่ งอย่างน้อยหนึ่ งครั้งทุกห้าปี นับตั้งแต่การประเมินครั้งสุ ดท้าย โดย สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาจัดให้มีการประเมินคุณภาพภายนอก แล้วเสนอผล ต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิ ดเผยต่อสาธารณชน หากผลการประเมินภายนอกไม่ได้ มาตรฐาน ให้สานักงานรับรองมาตรฐานฯจัดทาข้อเสนอแนะต่อหน่ วยงานต้นสังกัด ให้สถานศึกษานั้นๆ ปรับปรุ ง ภายในระยะเวลาที่กาหนด หากมิได้ดาเนิ นการตามที่เสนอแนะ ให้สานักงานรับรองมาตรฐานฯ รายงานต่อคณะกรรมการของหน่ วยงานต้นสังกัด เพื่อให้ดูแล กากับ หรื อกาหนดให้ดาเนิ นการปรับปรุ ง แก้ไขต่อไป ประเทศไทยได้แบ่งการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาเป็ น 2 ระดับ คือ ระดับต่ากว่ าปริญญาและ ระดับปริญญา การประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษานั้น ได้เริ่ มดาเนิ นการอย่างเป็ นระบบตั้งแต่พ.ศ. 2539 จากการก าหนดนโยบายการประกันคุ ณภาพระดับ อุ ดมศึ ก ษาของทบวงมหาวิท ยาลัย เพื่ อใช้เป็ น แนวทางในการกากับดูแลคุณภาพการศึกษา ต่อมาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ฉบับที่แก้ไข เพิ่ มเติ ม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ก็ ได้ก าหนดในหมวด 6ให้มี ระบบประกันคุ ณภาพการศึ ก ษา เพื่อพัฒนา คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับประกอบ ด้วย ‚ ระบบประกันคุณภาพภายในและระบบประกัน คุณภาพภายนอก‛ จากภารกิจหลักที่สถาบันอุดมศึกษา 4 ด้าน คือ 1.) การจัดการเรี ยนการสอน 2.) การวิจยั 3.) การ ให้ บ ริ ก ารวิ ช าการแก่ สั ง คม และ 4.) การท านุ บ ารุ ง ศิ ล ปวัฒ นธรรม หน่ ว ยงานต้น สั ง กัด ที่ ก ากับ ดู แ ล สถาบันอุดมศึกษาคือ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา(2553:8)โดยพระราช บัญญัติระเบียบบริ หาร ราชการกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร พ.ศ.2546 และกฎกระทรวง ได้ก าหนดให้ส านักงานคณะกรรมการการ อุ ดมศึ ก ษาท าหน้า ที่ เสนอมาตรฐานการอุ ด มศึ ก ษา ซึ่ ง ต่ อ มา ได้จ ัดท าเป็ นประกาศทบวงมหาวิ ท ยาลัย เรื่อง ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการ ศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2545 เพื่อใช้เป็ น แนวปฏิบตั ิการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษา รวมทั้งได้กาหนดให้ มีการประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ของสถาบันอุดมศึกษาจากภายใน หรื อโดยหน่ วยงานต้นสัง กัด ที่ มีหน้า ที่ กากับ ดู แลสถาบันการศึ กษา เพื่อเตรี ย มความพร้ อมส าหรั บการ ประเมินคุณภาพจากภายนอก (สานัก งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, 2553:9 ) นอกเหนือจากมาตรฐานการอุดมศึกษาที่เป็ นมาตรฐานแม่บทแล้ว การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา (สานักงานคณะกรรมการการอุดม ศึกษา, 2550:2 และ 2553:7) ยังมี มาตรฐานอื่ น ๆ ที่ ค ณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษาได้จ ัด ท าขึ้ นเพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด ความเป็ นเลิ ศ ขึ้ น ใน


____________________________CES Journal 17 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

สถาบันอุ ดมศึ ก ษา เช่ น มาตรฐานสถาบันอุ ด มศึ ก ษา กรอบมาตรฐานคุ ณ วุฒิร ะดับ อุ ดมศึ ก ษาแห่ ง ชาติ เกณฑ์มาตรฐานหลักสู ตรระดับอุดมศึกษา และ การประกันคุณภาพ การประกัน คุ ณ ภาพภายในดัง กล่ า วนี้ เป็ นส่ ว นของกระบวนการบริ หารการศึ ก ษาของ สถาบันอุดมศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฯ เป็ นเรื่ องของการบริ หารจัดการภายในของแต่ละ สถาบัน โดยแต่ละสถาบันต้องดาเนิ นงานในการประกันคุณภาพภายในอย่างเป็ นระบบ ต่อเนื่ อง เพื่อพัฒนา คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น และถือว่าเป็ นส่ วนหนึ่ งที่เชื่ อมโยงกับกระบวนการประเมินเพื่อ การรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกของสถาบันอุดมศึกษา (สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา, 2549:12 -13 ) ดังบทบาทเกี่ยวข้องสัมพันธ์กนั ดังแผนภาพ ต่อไปนี้ ประเมินคุณภาพภายนอก สมศ. คณะกรรมการการพัฒนาระบบฯ ระดับอุดมศึกษา (กพอ.) คณะกรรมการบริ หาร

-ให้การรับรองผูป้ ระเมินคุณภาพภายนอก -ส่งเสริ มสนับสนุนการประกันคุณภาพภายใน -ศึกษารายงานประจาปี ของสถาบัน -ศึกษาเอกสารหลักฐานข้อมูล -ประเมินภายนอก (ตรวจเยีย่ ม) -จัดทาข้อเสนอแนะในการปรับปรุ ง

ประกันคุณภาพภายใน หน่วยงานต้นสังกัด -สานักงาคณะกรรมการอุดมศึกษา -กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวงอื่นๆ

- พัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพ -เตรี ยมพร้อมรับการประเมินภายนอก -พัฒนาฐานข้อมูลในด้านต่างๆ ฯลฯ

สถาบันอุดมศึกษา - คณะ สถาบัน สานัก ศูนย์ /หน่วยงาน เทียบเท่า - ภาควิชา /หน่วยงานเทียบเท่า - ดาเนินการตามภารกิจให้มีคุณภาพ - จัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายใน - จัดทารายงานประจาปี -ให้ความร่ วมมือในการจัดเตรี ยมเอกสารหลักฐานและข้อมูล เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรที่มีบทบาทในการประกันคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ที่มา : คู่มือการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษาสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน),2549:20


____________________________CES Journal 18 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

การประกันคุณภาพภายนอก

การประกันคุณภาพภายใน การปฏิบตั ิงาน ของสถาบัน

การประเมินตนเอง ของสถาบัน

รายงาน ประจาปี

การตรวจ เยีย่ ม

รายงานผล การประเมิน

การติด ตามผล

ข้อมูลป้ อนกลับ ข้อมูลป้ อนกลับ

แผนภาพแสดง ความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายในกับการประเมินคุณภาพภายนอก ที่มา : คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา (2550: 12) การประกันคุณภาพภายใน มีกลไกการประกันเป็ น 3 ระบบย่อย คือ 1) ระบบการพัฒนาคุณภาพ / การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) 2) ระบบการตรวจติดตามคุณภาพ (Quality Audit) 3) ระบบการประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) การตรวจสอบคุณภาพภายในระดับสถาบัน (Internal Quality Audit) ที่เน้นการควบคุมคุณภาพ ของสถาบันเอง มีสาระสาคัญในแต่ละส่ วน ดังนี้ การพัฒนาคุณภาพ/การควบคุมคุณภาพ มีมาตรฐานการประกันคุณภาพภายในที่สาคัญ คือ 1.) มี 9 องค์ประกอบตามกรอบมาตรฐานของสกอ. 2.) มี 3 มาตรฐานการอุดมศึกษา และ 3.) มี 4 มุมมอง ตาม กรอบมาตรฐานการบริ หารจัดการ โดยมี นโยบายการประกันคุ ณภาพระดับมหาวิทยาลัย มีแผน มี งาน ประกันคุณภาพระดับมหาวิทยาลัย มีคู่มือประกันคุณภาพและคู่มืออื่นๆที่เกี่ยวข้อง มีคณะกรรมการประกัน คุณภาพ และคณะกรรมการตรวจติดตามและประเมินคุณภาพระดับมหาวิทยาลัย ระดับคณะ ระดับสานัก/ สถาบัน และมีตวั ชี้ วดั ร่ วมของมหาวิทยาลัย ตัวชี้ วดั ที่เป็ นอัตลักษณ์ระดับมหาวิทยาลัย ระดับคณะ ระดับ สานัก/สถาบัน มีการสร้างเครื อข่ายการประกันคุณภาพภายในและเครื อข่ายการประกันคุณภาพภายนอก มี ผูบ้ ริ หารทุกระดับรับผิดชอบกากับดูแลตัวชี้วดั และการจัดเก็บข้อมูล ด้ านการติดตามคุณภาพ ประกอบด้วย 1.) ตัวบ่งชี้ตามมาตรฐาน 9 องค์ประกอบของ สกอ. 2.) ตัวบ่งชี้ตามมาตรฐานการประกันคุณภายนอกของสมศ. 3.) ตัวชี้ วดั ตาม 4 มิติตามแนวของก.พ.ร โดยมีกลไกหลักๆ ได้แก่ การจัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับมหาวิทยาลัยคณะ สานัก / สถาบันมีคณะกรรมการตรวจติดตามและประเมินระดับ มหาวิทยาลัย คณะ สานัก / สถาบัน มี การตรวจ ติดตามและประเมินภายนอกจากต้นสังกัดและจาก สมศ.


____________________________CES Journal 19 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

ในด้ านการประเมินคุณภาพ ประกอบด้วย 1.) การรายงานประเมินตนเองระดับมหาวิทยาลัย คณะ สานัก/สถาบัน 2.) การประเมินจากบุคคลภายนอกจากต้นสังกัด 3.) การประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ. กลไกคือ มีการพัฒนาผูป้ ระเมินภายในตามหลักสู ตรของสกอ.โดยการจัดอบรมตามที่ สกอ.จัด มี ผูบ้ ริ หารรับ ผิดชอบการรายงานประเมิ นตนเองตามองค์ประกอบ ตามตัวบ่ง ชี้ ระดับมหาวิท ยาลัย คณะ สานัก/สถาบัน และหน่ วยงานทุกระดับ จัดทารายงานการประเมินตนเอง และเตรี ยมความพร้ อมรับการ ประเมินจากภายนอก เพื่อรับรองมาตรฐาน คุณภาพระดับ มหาวิทยาลัย และระดับกลุ่มสาขาวิชา การประกันคุณภาพภายนอก เป็ นบทบาทของสานักงานรั บรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพ การศึกษา(องค์กรมหาชน) หรื อสมศ. ซึ่ งต้องทาหน้าที่ประเมินมหาวิทยาลัย กลุ่มสาขาวิชา (คณะ) เพื่อ รับรองมาตรฐานคุณภาพ ซึ่ งจะมีท้ งั มาตรฐานการประกันคุณภาพภายนอกของสมศ. และของ ก.พ.ร. ซึ่ ง ในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่ 2 (2549-2553) เป็ นการประเมินระดับสถาบันและกลุ่ มวิชาสาขา ประเมินตามจุดเน้นของสถาบัน จะเน้นด้านการวิจยั พัฒนาสังคม หรื อพัฒนาศิลปวัฒนธรรม หรื อจะเลือก เน้นเฉพาะการผลิ ตบัณฑิ ต ก็จะมีการกาหนดตัวบ่งชี้ ที่จาเป็ น ซึ่ งใช้เป็ นเกณฑ์กากับเพื่อตัดสิ นคุ ณภาพว่า ผ่านการรั บรอง ตามระดับรั บรองมาตรฐานคุ ณภาพ หรื อผ่านการรั บรองแบบมี เงื่ อนไข หรื อไม่ผ่านการ รับรองมาตรฐาน และเตรี ยมการประเมินคุณภาพภายนอก รอบที่ 3 (พ.ศ. 2554-2558) ซึ่ งการประเมินรอบ ที่ 3 ของสมศ. เป็ นการประเมินทั้งระดับสถาบันและระดับคณะวิชา รู ปแบบและวิธีการประเมินคุณภาพภายนอก จะเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดโดยสานักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(สมศ.) ซึ่ งมีหลักการสาคัญ 5 ประการ คือ 1.) เป็ นการ ประเมินเพื่อมุ่งให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2.) ยึดหลักความเที่ยงตรง เป็ นธรรม โปร่ งใส มีหลักฐาน ข้อมูลตามสภาพความเป็ นจริ ง และมีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ 3.) มุ่งเน้นในเรื่ องการส่ งเสริ ม และ ประสานงานในลักษณะกัลยาณมิตร 4.) ส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วมในการประเมินคุณภาพและการพัฒนาการ จัดการศึกษาจากทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้อง 5.) มุ่งสร้างความสมดุล ระหว่างเสรี ภาพทางการศึกษากับจุดมุ่งหมาย และหลักการศึกษาของชาติตามที่ได้กาหนดไว้คือ ให้มีเอกภาพเชิ งนโยบาย แต่ให้คงมีความหลากหลาย ในทางปฏิ บตั ิได้ โดยสถาบันสามารถกาหนดเป้ าหมายเฉพาะและพัฒนาคุ ณภาพการศึ กษาให้เต็มตาม ศักยภาพของสถาบัน ในทางปฏิ บตั ิน้ นั สถาบันอุดมศึกษาแต่ละแห่ งอาจจัดระบบคุ ณภาพ กาหนดตัวบ่งชี้ เพิ่มเองได้ สามารถนามาตรฐานหรื อนาเกณฑ์รางวัลคุณภาพ มาใช้เทียบเคียง แต่ระบบคุณภาพเหล่านั้นต้องสอดคล้อง กับเกณฑ์ของสมศ. และเมื่อดาเนิ นการได้ระยะเวลาหนึ่ ง จะต้องประเมินตนเอง หรื อ‚ศึกษาตนเอง‛ (Selfstudy Report) จากนั้นจึงทาการตรวจสอบภายในหรื อตรวจสอบภายนอก ทบทวนการจัดการ และการ ได้รับการรับรองจากผูป้ ระเมินคุณภาพ นอกเหนื อ ไปจากนั้น ในการพัฒ นาการบริ ห ารจัด การคุ ณ ภาพ ส านัก งานคณะกรรมการ อุดมศึกษา ยังได้นาเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดาเนินงานที่เป็ นเลิศ 2545 มาเผยแพร่ และสนับสนุนให้ ใช้เป็ นเครื่ องมือในการบริ หารจัดการมหาวิทยาลัยได้ (สานักมาตรฐานอุดมศึกษา,2546: คานา)


____________________________CES Journal 20 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

อาจสรุ ปได้ว่า การบริ หารจัดการคุ ณภาพของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยภาพรวม นั้น มุ่ งจัดการระบบคุ ณภาพโดยใช้วิธีก ารสร้ างข้อกาหนดให้ป ฏิ บตั ิ ส่ วนการตรวจสอบภายในและ ภายนอก เป็ นการเปรี ย บเที ย บผลงานกับ มาตรฐานหรื อ เกณฑ์ คุ ณ ภาพการศึ ก ษา ด าเนิ น การโดยการ ตรวจสอบจากเอกสาร หลักฐานและการสังเกต ในระหว่างการตรวจสอบมีการติดตามในสถานที่จริ ง และ สรุ ปผล แล้วต้องแจ้งให้ทราบ เพื่อจะได้นาผลมาปรับปรุ ง โดยมีกรอบมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา กรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ เกณฑ์มาตรฐานหลักสู ตรระดับอุดมศึกษา เป็ นตัวกากับ และใช้ ระบบประกันคุณภาพภายในและระบบประกันคุณภาพภายนอก โดยการประกันคุณภาพภายใน จะมีกลไก การประกัน 3 ระบบย่อย คือ การพัฒนาคุณภาพ/การควบคุมคุณภาพ การตรวจติดตามคุณภาพ และการ ประเมิ นคุ ณภาพ โดยในด้านการพัฒนาคุ ณภาพ/การควบคุ มคุ ณภาพ จะยึดกรอบมาตรฐานของสกอ. 9 องค์ประกอบ และ 3 มาตรฐานการอุดมศึกษา กรอบมาตรฐานการบริ หารจัดการ 4 มุมมอง ส่ วนการ ตรวจติดตามคุณภาพ จะใช้ตวั บ่งชี้ตามมาตรฐานการประกันคุณภายนอกของสมศ. ตัวชี้ วดั 4 มิติ ตามแนว ของ ก.พ.ร และในด้านการประเมินคุณภาพ จะใช้การรายงานประเมินตนเองระดับมหาวิทยาลัย ระดับ คณะ ระดับสานัก/สถาบัน การประเมินจากบุคคลภายนอกจากต้นสังกัด และจากการประเมินคุ ณภาพ ภายนอกของสมศ. สาหรั บการประกันคุ ณภาพภายนอก จะใช้กรอบมาตรฐานการประกันคุ ณภาพภายนอกของ สมศ. และของ ก.พ.ร. ซึ่ งสถาบันอุดมศึกษาอาจจัดระบบคุณภาพ กาหนดตัวบ่งชี้ เพิ่มเองอีกก็ได้ โดยนา มาตรฐานหรื อนาเกณฑ์รางวัลคุณภาพมาใช้เทียบเคียง แต่ระบบต้องสอดคล้องกับเกณฑ์ของสมศ. การบริหารคุณภาพและการประกันคุณภาพการศึกษาในมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ การประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยธุ รกิจบัณฑิตย์น้ นั โดยสาระสาคัญแล้ว จะ มุ่งเน้น การดาเนิ นงานใน 2 ระบบ คือ ระบบการประกันคุ ณภาพภายในและการประเมินคุ ณภาพภายนอก โดยมี สานักงานประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย ทาหน้าที่รับผิดชอบดูแลดาเนิ นการ ระบบการประกัน คุณภาพภายในของมหาวิทยาลัยธุ รกิจบัณฑิตย์เริ่ มมีมาตั้งแต่ ปี 2542 เป็ นระบบที่มหาวิทยาลัยพัฒนาขึ้น โดย การนาระบบบริ หารคุณภาพมาตรฐานสากล ISO มาปรับใช้ และต่อมาได้รับการรับรองมาตรฐานสากล ISO 9002:1994 ในปี 2543 และได้พฒั นาตามข้อกาหนดใหม่ของระบบบริ หารคุ ณภาพ จนได้รับการรับรอง คุ ณภาพมาตรฐานสากล ISO 9001: 2000 ในปี 2544 ทุ กระบบและทุ กงาน การรับรองคุ ณภาพ มาตรฐานสากล ISO 9001:2000 ทุกระบบงานและทุกงาน ครั้งล่าสุ ดคือในปี 2558 ส่ วนการจัดทารายงานการประเมินตนเอง ก็ได้เกิดขึ้นในปี 2544 โดยมหาวิทยาลัยได้กาหนดให้ ทุ ก คณะวิช า สถาบัน และหน่ วยงาน จัดท ารายงานการประเมิ นตนเองขึ้ น เพื่ อตอบสนองนโยบายของ ทบวงมหาวิทยาลัยในขณะนั้น โดยได้ปรับรู ปแบบการรายงานการประเมินตนเองและตัวบ่งชี้ ให้สอดคล้อง กับสภาพการดาเนินงานของมหาวิทยาลัย และครอบคลุมข้อมูลต่างๆ ตามองค์ประกอบที่ทบวงมหาวิทยาลัย


____________________________CES Journal 21 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

กาหนด โดยได้พฒั นาและปรับรู ปแบบรายงานการประเมินตนเองอย่างต่อเนื่ อง ในปี 2546 มหาวิทยาลัย ขอรับการประเมินคุณภาพภายนอกจากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา และได้รับ การประเมินจากกรรมการของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาเมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2546 การประกันคุณภาพภายในของมหาวิทยาลัยธุ รกิจบัณฑิตย์ ประกอบด้วยการรายงานการประเมิน ตนเอง และการรายงานผลการปฏิ บ ัติง านตามระบบบริ หารคุ ณภาพมาตรฐานสากล ISO 9001:2000 มหาวิทยาลัยได้กาหนดให้มีการรายงานการประเมินตนเอง 1 ครั้ง เมื่อสิ้ นปี การศึกษา โดยทุกหน่ วยงาน จะต้องดาเนินการจัดทารายงานการประเมินตนเอง แล้วส่ งมายังสานักงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน เดือนแรกของปี การศึกษาถัดไป เพื่อจัดทาสรุ ปผลและนาเสนอเป็ นภาพรวมของมหาวิทยาลัยต่อไป รายงานการประเมินตนเองที่ใช้ในปี การศึกษา 2547 มีการปรับปรุ งรู ปแบบและปรับเพิ่ม-ลดตัว บ่งชี้ในแต่ละหัวข้อการประเมินจากปี ก่อน เพื่อให้มีความเหมาะสม และสะท้อนคุณภาพการศึกษาได้ดียิ่งขึ้น ครอบคลุมมาตรฐานและตัวบ่งชี้ ของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา รายงานการ ประเมิ นตนเองของระดับ คณะวิช า/สถาบันและระดับ หน่ วยงาน จะมี หัวข้อ การประเมิ น และตัวบ่ ง ชี้ ที่ แตกต่างกัน ขึ้นอยูก่ บั หน้าที่รับผิดชอบหลัก ในการดาเนิ นงาน หน่วยงานที่มีหน้าที่หลักในการจัดการเรี ยน การสอน ประกอบด้วย 10 หัวข้อการประเมิน 48 ตัวบ่งชี้ หน่วยงานที่มีหน้าที่หลักในการสนับสนุ นการ เรี ยนการสอน มีหวั ข้อประเมิน 6 หัวข้อ 15 ตัวบ่งชี้ นอกจากนี้ แล้ว ทุกหน่วยงานยังอาจจะต้องประเมิน ตนเองเพิ่มเติม ตามหัวข้อการประเมิน ตลอดจนระบุจุดอ่อนและจุดแข็ง แนวทางการแก้จุดอ่อนหรื อปั ญหา และแนวทางพัฒนาหน่วยงานตามที่กาหนด ในปี การศึกษา 2557 สกอ.ได้ปรับเปลี่ยนระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดยเน้นให้ มี ก ารประกันคุ ณภาพในระดับหลัก สู ตร และมี ก ารปรั บ ลดตัวบ่ง ชี้ ใ นระดับ คณะและระดับ สถาบัน ลด รายละเอียดในกระบวนการ เนื่องจากได้ผา่ นการประเมินการดาเนิ นงาน โดยใช้วงจรคุณภาพมาถึง 7 ปี แล้ว (ปี การศึกษา 2550 – 2556) นอกจากนั้น สกอ.ยังให้อิสระที่จะเลือกระบบการประกันคุณภาพระบบอื่น ที่ เป็ นสากล หรื อเป็ นระบบขององค์กรวิชาชีพในการประเมินคุณภาพ โดยผ่านความเห็นชอบของสภาสถาบัน เสนอคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษาของสกอ. เพื่ออนุมตั ิ มหาวิทยาลัยธุ รกิจบัณฑิตย์ ได้พิจารณาแล้วเห็นควรใช้ระบบของสกอ.ในระดับหลักสู ตร โดย ได้แ บ่ ง ความรั บ ผิ ดชอบในการเขี ย นรายงานการประเมิ น ตนเอง ในเรื่ องของระบบและกลไกระหว่า ง ส่ วนกลางและหลักสู ตร ส่ วนในระดับสถาบัน ก็จะมีสานักงานประกันคุณภาพการศึกษาเป็ นผูร้ ับผิดชอบใน เรื่ องตัวบ่งชี้ และเกณฑ์ ทาหน้าที่เป็ นหน่วยสนับสนุ น จัดอบรม-สัมมนา ให้ความรู ้ เรื่ องในเรื่ องที่เกี่ ยวข้อง การประกันคุณภาพเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดในการจัดทารายงาน


____________________________CES Journal 22 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

ปั จ จุ บ ัน มหาวิ ท ยาลัย ให้ ค วามส าคัญ กับ คุ ณ ภาพการศึ ก ษา ทั้ง ด้า นการเรี ย นการสอนและ ระบบงานต่างๆ โดยยังคงรับการตรวจติดตามอย่างต่อเนื่ องในระบบ ISO ดาเนิ นตามข้อกาหนดตัวบ่งชี้ ของ สกอ.และของสมศ. และจะพัฒนาสู่ มาตรฐานในระดับที่สูงขึ้น เพื่อขอรับการประเมินคุณภาพโดยใช้เกณฑ์ คุณภาพแห่ งชาติ (Thailand Quality Award, TQA) จึงเข้าร่ วมโครงการพัฒนาคุ ณภาพการศึกษาเพื่อการ ดาเนินงานที่เป็ นเลิศ (EdPEx) ปั จจุบนั อยูใ่ นขั้นตอนที่สกอ.จะส่ งผูป้ ระเมินมาเยี่ยมมหาวิทยาลัย(site visit) เพื่อพบปะสนทนา พูดคุ ยกับผูบ้ ริ หาร บุ คลากร และกาหนดเรื่ องการจัดทาเอกสารหลักฐานเพิ่มเติ มจาก มหาวิทยาลัยต่อไป ในการรายงานผลการปฏิบตั ิงาน ตามระบบบริ หารคุณภาพมาตรฐานสากล ISO 9001:2000 ซึ่ ง จัดเป็ นส่ วนหนึ่ งของการรายงานการประเมิ นตนเองนั้น ได้กาหนดงานออกเป็ น 43 งาน มีคณะวิชาและ หน่ วยงานที่ เกี่ ยวข้อง เป็ นผูร้ ั บผิดชอบดาเนิ นการ และเพื่อการตรวจสอบการดาเนิ นงานให้เป็ นไปตาม ข้อกาหนด มหาวิทยาลัยจึงได้คดั เลือกบุคลากรเข้ารับการอบรมความรู ้ เกี่ยวกับข้อกาหนดคุณภาพ ISO เพื่อ แต่งตั้งให้เป็ นผูต้ รวจติดตามคุณภาพภายในต่อไป การตรวจติดตามคุณภาพภายในโดยบุคลากรในหน่วยงาน จะทาการตรวจติดตามคุณภาพภายใน เป็ นประจา ทุก 3 เดื อน หรื อทุก 4 เดือนตามลัก ษณะงาน และทุกๆ 6 เดือน บริ ษทั BVQI ซึ่ งเป็ นผูต้ รวจ รับรองจากภายนอกและเป็ นผูม้ อบใบรับรอง การบริ หารงานตามระบบคุณภาพมาตรฐานสากล ISO ให้แก่ มหาวิทยาลัย จะตรวจการดาเนิ นงานของทุกงาน โดยร่ วมกับสานักงานประกันคุณภาพการศึกษาเป็ นผูด้ ูแล ภายในมหาวิทยาลัยเอง บทสรุ ป การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาไทย ตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการ ศึกษา แห่ งชาติ ฯ หมวด 6 ว่าด้วยมาตรฐานและการประกันคุ ณภาพการศึ กษานั้น มี วตั ถุ ประสงค์ที่สาคัญเพื่อ กระตุน้ ให้สถานศึกษามีการพัฒนาคุ ณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่ อง และมีประสิ ทธิ ภาพการบริ หารจัดการ ศึกษาที่ดี รวมทั้งมี การประเมินสภาพการดาเนิ นงานของสถานศึกษาเพื่อสะท้อน จุดเด่นจุดด้อย เงื่ อนไข ความสาเร็ จของสถานศึ กษานั้นๆ พร้ อมเสนอแนะแนวทางปรั บปรุ งและพัฒนาคุ ณภาพการศึ กษาให้กบั สถานศึกษาและรายงานผลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และสาธารณชนทราบต่อไปนั้น เป็ นหลักการและแนว ปฏิ บ ัติ โ ดยทั่ว ๆไปของการพัฒ นาคุ ณ ภาพและมาตรฐานการศึ ก ษาไทยทุ ก ประเภท ทุ ก ระดั บ ใน ระดั บ อุ ด มศึ ก ษา จะมี ก รอบแนวปฏิ บ ัติ ที่ เ ป็ นกรอบแนวหลั ก และมี ส่ ว นที่ เ ปิ ดโอกาสให้ แ ต่ ล ะ สถาบันอุดมศึกษาสามารถเลื อกใช้ระบบริ หารคุ ณภาพ หรอระบบประกันคุ ณภาพอื่ นที่ มีมาตรฐานเป็ นที่ ยอมรับได้ โดยต้องเสนอขออนุมตั ิจากคณะกรรมการประกันคุณภาพในระดับอุดมศึกษา


____________________________CES Journal 23 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

ส่ วนที่มหาวิทยาลัยธุ รกิจบัณฑิตย์น้ นั มีประวัติ ความเป็ นมาและพัฒนาการมายาวนาน เริ่ มตั้งแต่ปี 2542 โดย เริ่ มจากระบบบริ หารคุณภาพมาตรฐานสากล ISO 9002: 1994 ดัรับการรัรองมาตรฐานตั้งแต่ปี 2543 เป็ นต้น มา จนถึ งปั จจุบนั นอกจากใช้ระบบของสมศ. ระบบของกพร.แล้ว กาลังพัฒนาต่อสู่ มาตรฐานที่ สูงขึ้น สู่ เกณฑ์ก ารบริ หารคุ ณภาพแห่ ง ชาติ (TQA) และกัง ด าเนิ นการร่ วในโครงการพัฒนาการศึ ก ษาเพื่ อการ ดาเนินงานที่เป็ นเลิศ (EdPEx) ต่อไป


____________________________CES Journal 24 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

เอกสารอ้างอิง รัชนี นิธากร. (2551) กลยุทธ์ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของมหาวิทยาลัยราชภัฏ กลุ่มภาคเหนือตอนล่ าง. มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร. สมบูรณ์วลั ย์ สัตยารักษ์วทิ ย์. การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย. QA News สานักงานประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยธุ รกิจบัณฑิตย์, ปี ที่ 10 ฉบับที่ 2 : กรุ งเทพฯ, 3-7. สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2550) คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา. : กรุ งเทพ. สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน). (2549) คู่มือ การประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา. กรุ งเทพฯ : บริ ษทั จุดทอง จากัด. สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2553. กรุ งเทพฯ : สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, 2553. สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน). คู่มือการประเมิน คุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. 2554-2558) ระดับอุดมศึกษา ฉบับสถานศึกษา พ.ศ. 2554. – กรุ งเทพฯ : สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์ การมหาชน), 2553. สานักมาตรฐานอุดมศึกษา, สานักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย. (2546). คู่มือหลักสู ตรฝึ กอบรม ผูป้ ระเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย (ระดับคณะ วิชา/ หน่วยงานเทียบเท่า). สานักงานประกันคุณภาพ. 2557. DPU QA News. (ออนไลน์).แหล่งที่มา : http://www.dpu.ac.th/sar/page.php.html. 13 พฤศจิกายน 2557. สานักงานประกันคุณภาพ. 2557. QM คู่มือคุณภาพ. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.dpu.ac.th/ sar/page/file/QA%20News.html. 13 พฤศจิกายน 2557.


____________________________CES Journal 25 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

การจัดการศึกษาแบบยึดพืน้ ที่เป็ นฐาน : แนวคิด แนวทาง และกรณีศึกษา Area-based Educational Management: Concept, Guidelines and Case Study รองศาสตราจารย์ ดร.กล้า ทองขาว*

ผูอ้ านวยการหลักสูตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการการศึกษา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์


____________________________CES Journal 26 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

บทคัดย่อ การจัดการศึกษาแบบยึดพื้นที่เป็ นฐาน เป็ นนวัตกรรมการบริ หารการศึกษา เพื่อพัฒนาทรัพยากร มนุ ษย์เชิ งบูรณาการ ที่ ให้ความสาคัญกับแบบแผนการจัดหลักสู ตร และประสบการณ์ การเรี ยนรู ้ ที่สร้ าง โอกาสให้นกั เรี ยนในโรงเรี ยนมัธยมศึกษา สามารถพัฒนาตนเองเข้าสู่ เส้นทางการประกอบอาชี พ ตรงกับ ความต้องการของภาคธุ รกิ จ สนับสนุ นการสร้ างอาชี พและการสร้ างรายได้ ที่สอดคล้องกับศักยภาพของ พื้ น ที่ โดยสถานศึ ก ษาขั้น พื้ น ฐานระดับ มัธ ยมศึ ก ษา สถาบัน อุ ด มศึ ก ษาและส านัก งานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่ วมกันกาหนดโครงสร้างหลักสู ตรสถานศึกษา สถาบันอุดมศึกษาและโรงเรี ยนจัดทา โครงสร้างรายวิชา พัฒนาหลักสู ตรและโปรแกรมการเรี ยนให้สอดค้องกับความต้องการของโรงเรี ยน จัดทา คู่มือการสอน จัดเตรี ยมห้องปฏิบตั ิการ เตรี ยมสื่ อ จัดอบรมครู ผสู ้ อน ร่ วมกันจัดกิ จกรรมการเรี ยนการสอน และประสบการณ์ การเรี ยนรู ้ แก่ นักเรี ยนตั้งแต่ระดับมัธยมศึ กษาตอนต้นถึ งตอนปลายของโรงเรี ยน ตาม วัตถุ ประสงค์ของแต่ละหลักสู ตร กรณี โรงเรี ยนสู งเม่นชนู ปถัมภ์น้ นั เป็ นโรงเรี ยนต้นแบบของโรงเรี ย น มัธยมศึกษาอีกจานวน 30 โรงเรี ยน ในการจัดการศึกษาแบบยึดพื้นที่ เป็ นฐาน ในกลุ่มจัดหวัดแพร่ น่ าน พะเยาและเชียงราย ที่ขยายผลในช่วงปี การศึกษา 2555-2556 โดยโรงเรี ยนสู งเม่นขนูปถัมภ์ได้ดาเนิ นการเปิ ด สอนหลักสู ตรดังกล่าวจานวน ๖ หลักสู ตร ร่ วมกับสถาบันอุดมศึกษา 6 สถาบัน มาตั้งแต่ปีการศึกษา 2553 จนถึงปัจจุบนั คือ ภาคการศึกษาที่สอง ปี การศึกษา 2557 มีขอ้ ค้นพบจากการสนทนากับนักเรี ยนชั้น ม.6 ของ โรงเรี ยนพบว่า นักเรี ยนส่ วนใหญ่มีบุคลิคภาพดี มีความเป็ นผูใ้ หญ่ มีความสามารถในการสื่ อสาร กล้าแสดง ความคิดความเห็น มีความมัน่ ใจในตนเอง สามารถวิเคราะห์เหตุการณ์ทวั่ ๆไป วิเคราะห์ปัญหาการเรี ยน การ งาน เข้าใจจุดหมายปลายทางของชี วิต หลายคนเข้าศึกษาต่อกับมหาวิทยาลัยที่ร่วมโครงการแล้ว หลายคนมี สัญญากับบริ ษทั เอกชนในการศึกษาต่อเมื่อเรี ยนสาเร็ จชั้น ม.6 และมีหลักประกันการมีงานทาในอนาคต อย่างไรก็ตาม ความสาเร็ จหรื อความล้มเหลวของการดาเนิ นงานตามโครงการนี้ ในอนาคต น่ าจะขึ้นอยู่กบั ความคงอยูข่ องนโยบายและการได้รับการส่ งเสริ มสนับสนุ นจากรัฐบาล ความเข้มแข็งและความเอาจริ งเอา จังในความร่ วมมือของมหาวิทยาลัยกับโรงเรี ยนมัธยมศึกษา ความตั้งใจจริ งของผูร้ ับผิดชอบหลักสู ตรจาก คณะต่ า งๆของมหาวิท ยาลัย และการได้รับ การส่ ง เสริ ม และสนับ สนุ นจากผูน้ าฝ่ ายต่ า งๆในพื้ นที่ อย่า ง ต่อเนื่อง สาหรับนักเรี ยน คุณครู ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนและชุ มชนนั้นเห็นคุณค่าและได้รับประโยชน์โดยตรงจาก โครงการนี้


____________________________CES Journal 27 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

Abstract The area-based educational management is an innovation of educational management for the integrated human resource management. It emphasizes on the pattern of the curriculum management and learning experience that creates the opportunity for secondary school students and enabling self-development for the career paths that meet the requirements of the business and enterprising. It supports the creation of professions and incomes that consistent with the community and local potentials. The basic-education secondary schools, the higher education institutions and the Office of the Basic Education Commission are to cooperate in the structures of integrated curriculum. The higher education institutions and the secondary schools have created learning courses for lower and upper secondary students, developed school curriculum and learning programs that consistent with the school needs. They also created handbooks for teaching, prepared operational classrooms and educational medias, trained school teachers, set the program instructions and learning experiences for students from lower secondary school level until upper secondary school level in accordance with each curricular objectives. The case of Soongmen Chanupatham School is an Area-based School Management Model that be extended the model by the other 30 secondary schools in Phrae, Nan, Phayao and Chaing Rai provinces. Those 30 secondary schools initiated and launched their area-based projects during 2012-2013 academic year. The Soongmen Chanupathum School has conducted this program for six courses together with six higher education institutions since 2010 until now which it is the second semester of 2014 academic year. It is found from the interview with Mathayom 6 of Soongmen students that most of the students have good personality, be mature, be well communicate, be assertive, be confident, be able to analyze the general situations, learning and their job problems and understanding the goals of their lives. Many of them were admitted to the universities with joined the program and many of them have the works contacts with private company to pursue their higher education after graduating from Mathayom 6 and have the guarantee for future employment. However, the success and the failure of this project in the future is likely to depend on the persistence of the policy and the support of the government; the force and the seriousness in the cooperation between the universities and the schools; the determination of the persons from the university faculties who are responsible for the program; and the continual enhancement and support from the community leaders. For the students, the teachers, the school administrators and communities, they have already appreciated in the project valuable and have gained the advantages of this project.


____________________________CES Journal 28 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

ความนา เมื่อจะต้องพูดถึ งการจัดการศึกษาแบบยึดพื้นที่เป็ นฐาน หรื อที่ใช้เป็ นภาษาอังกฤษว่า Area-based Educational Management ดูเหมือนว่าน่าจะทาความเข้าใจได้ไม่ยาก ซึ่ งอาจจะเห็นว่า การยึดพื้นที่เป็ นฐาน ในการจัดการศึกษา ก็เพียงแต่รัฐ หรื อท้องถิ่น กาหนดเป็ นนโยบาย หรื อเปิ ดโอกาสให้สถานศึกษาในพื้นที่ หรื อสถานศึกษาในกลุ่มจังหวัดที่มีบริ บททางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิถีชีวิตคล้ายกัน สามารถกาหนด หรื อจัดทาหลักสู ตร จัดกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ จัดสาระการเรี ยนรู ้ และแนวทางการจัดการเรี ยนการสอน ให้ สอดคล้อง ตอบสนองความต้องการและความจาเป็ นของพื้นที่น้ นั ๆ โดยมีวตั ถุประสงค์วา่ เมื่อผูเ้ รี ยนสาเร็ จ การศึกษาแล้ว จะสามารถประกอบสัมมาอาชี พ และร่ วมกันสร้างสรรค์ความเจริ ญทางเศรษฐกิจ สังคมและ วัฒนธรรมและอื่นๆให้กบั พื้นที่ หรื อถ้องถิ่นของตนเองได้ดว้ ยความภาคภูมิ ในความเข้าใจดังกล่าวอาจมีความถู กต้องอยู่บา้ ง แต่อาจจะเป็ นความเข้าใจที่กว้างเกิ นไป ไม่อาจ นาไปสู การปฏิ บตั ิที่เป็ นจริ งได้ บทความนี้ ผูเ้ ขียนมุ่งที่ จะสะท้อนให้เห็ นแนวคิดและแนวทางของการจัด การศึ กษาแบบยึดพื้นที่ เป็ นฐานว่าคืออย่างไร มีกรณี ตวั อย่างที่นาแนวคิ ดดังกล่าวไปสู่ การปฏิ บตั ิ ประสบ ความสาเร็ จหรื อล้มเหลวหรื อไม่อย่างไร เพื่อเป็ นบทเรี ยนสาหรับผูส้ นใจที่จะนาไปคิดค้น และศึกษาต่อยอด แนวความคิดนี้ให้กว้างขวางออกไป การยึดพืน้ ทีเ่ ป็ นฐานในการจัดการศึกษาคืออย่างไร การจัดการศึกษาแบบยึดพื้นที่เป็ นฐาน (Area-based Educational Planning and Management System) มีหลักคิดและหลักปฎิบติที่สาคัญอยู่ 5 ประการคือ 1.เป็ นระบบการจัดการศึกษาที่มีแบบแผนของการจัดหลักสู ตร การจัดกระบวนการเรี ยนรู้ และการ จัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ ที่ยึดโยงเข้ากับสภาพทางภูมิศาสตร์ เศรษฐกิ จ ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่ งแวดล้อม วิถีชีวติ และวัฒนธรรม รวมทั้งทิศทางการพฒนาท้องถิ่น ชุมชนและสังคมของพื้นที่ 2.ผูเ้ รี ยนและผูป้ กครองจะเป็ นผูเ้ ลือกหลักสู ตรและโปรแกรมการเรี ยนตามความสนใจ ความถนัด และตามศักยภาพของตนเอง 3.โรงเรี ยนมีหน้าที่ทาการศึกษา วิเคราะห์ความต้องการหลักสู ตรและโปรแกรมการเรี ยน ตาม ศักยภาพของผูเ้ รี ยนและศักยภาพของพื้นที่ แสวงหาและประสานความร่ วมมือกับสถาบันอุดมศึกษาผูส้ ร้าง หลักสู ตร และโปรแกรมการเรี ยนที่สอคล้อง และตอบสนองความต้องการจาเป็ นของผูเ้ รี ยนและพื้นที่ 4.สถาบันอุดมศึก ษาที่โรงเรี ย นเลื อก จะรั บ ผิดชอบร่ วมกับโรงเรี ยน ในการสร้ างหลักสู ตร จัด โปรแกรมการเรี ยน จัดทาคู่มือการใช้หลักสู ตร จัดทาแผนการสอนแบบบูรณาการ จัดทาห้องปฏิ บตั ิ การ


____________________________CES Journal 29 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

พัฒนาสื่ อการเรี ยนการสอนรู ปแบบต่างๆ จัดอมรมเพื่อพัฒนาความพร้ อมในการใช้หลักสู ตรให้แก่ครู ใน การพัฒนาการเรี ยนรู ้แก่ผเู ้ รี ยน 5.การจัดการเรี ยนการสอนและการจัดประสบการณ์ การเรี ยนรู ้ แก่ผูเ้ รี ยน จะต้องดาเนิ นไปตลอด หลักสู ตร ตั้งแต่เริ่ มเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจนผูเ้ รี ยนสาเร็ จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็ นรู ปแบบการ เรี ยนการสอนที่สร้างโอกาสให้นกั เรี ยน สามารถพัฒนาตนเองเข้าสู่ เส้นทางในการประกอบอาชี พ ที่ตรงกับ ความต้องการของภาคธุ รกิ จ สนับสนุ นการสร้างอาชี พ การสร้ างรายได้ และมีความสอดคล้องกับศักยภาพ ของทัองถิ่น และสร้างความร่ วมมือทางวิชาการกับทุกภาคส่ วนที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ การจัดหลักสู ตรการศึกษาในแนวทางการยึดพื้นที่เป็ นฐาน(school-based educational management) นับเป็ นแนวทางการปฏิ รูปการศึกษา เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุ ษน์ให้เกิ ดประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด (มหาวิทยาลัย แม่ฟ้าหลวง 2557 : 2) ฐานของพื้นที่การจัดการศึกษา ไม่ได้หมายถึงเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหรื อมัธยมศึกษา ที่มี การแบ่งตามโครงสร้างการบริ หารการศึกษาขั้นพื้นฐานในปั จจุบนั แต่จะหมายถึงพื้นที่ที่รัฐเห็นความสาคัญ และความจาเป็ นตามแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาประเทศ เช่น พื้นที่สามเหลี่ยมเศรษฐกิจที่ภาคเหนื อตอนบน พื้นที่เขตอุตสาหกรรมภาคตะวันออก หรื อพื้นที่ตามการจัดกลุ่มจังหวัด 18 กลุ่ม ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อ วันที่ 15 มกราคม 2551 ที่สานักงาน ก.พ.ร.เสนอ โดยมีแนวทางการจัดกลุ่มจังหวัดคือ เป็ นกลุ่มจังหวัดที่อยู่ ในเขตพื้นที่ติดต่อกัน หรื อต่อเนื่ องกันเป็ นองค์ประกอบพื้นฐาน มียุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัดสอดคล้อง กันหรื อเกื้ อหนุ นกัน และมีความเกี่ยวเนื่ องทางเศรษฐกิ จ การผลิ ต การค้า และการลงทุนเพื่อเพิ่มมูลค่า เพิ่ม การได้เปรี ยบในการแข่งขันร่ วมกัน เช่ น กลุ่ มจังหวัดภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อตอนบน 2 ได้แก่ จังหวัด นครพนม มุกดาหาร และสกลนคร มีจงั หวัดสกลนครเป็ นศูนย์ปฏิบตั ิการกลุ่มจังหวัด กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่ง อันดามัน ได้แก่จงั หวัด ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ และตรัง มีภูเก็ตเป็ นศูนย์ปฏิบตั ิการกลุ่มจังหวัด (มติ ครม. 15 มกราคม 2551) เป็ นต้น นอกจากนี้ การจัดการศึ กษาอาจใช้พ้ืนที่ ตามเขตปกครองระดับจังหวัดแต่ล ะ จังหวัด หรื อพื้นที่พิเศษลักษณะอื่นเป็ นฐานของการจัดการศึกษาตามความเหมาะสม สถานศึกษาผูร้ ่ วมสร้างหลักสู ตรเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ ตามแนวทางการจัดการศึกษาแบบยึด พื้นที่เป็ นฐานคือ สถาบันอุดมศึกษาที่อาจตั้งอยูใ่ นหรื อนอกฐานพื้นที่ เช่น วิทยาลัยชุ มชน มหาวิทยาลัยราช ภัฏ มหาวิ ท ยาลัย ราชมงคล สถาบัน การอาชี ว ศึ ก ษา สถาบัน การพลศึ ก ษา สถาบัน บัณ ฑิ ต พัฒ นศิ ล ป์ มหาวิทยาลัยของรัฐ มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ และวิทยาลัยในกากับของสานักงานคณะกรรมการการ อาชี วศึกษา ทั้งหลาย อาจร่ วมมือกันจัดหลักสู ตรกับโรงเรี ยนมัธยมศึกษาโรงเรี ยนเดียว หรื อหลายโรงเรี ยน หรื อโรงเรี ยนมัธยมศึ กษาหนึ่ งโรงเรี ยน อาจร่ วมมือจัดหลักสู ตรกับสถาบันอุ ดมศึ กษาหลายสถาบัน โดย สถาบันอุ ดมศึ กษาจะมี การทาข้อตกลงความร่ วมมื อทางวิชาการตามโครงการปฏิ รูปหลักสู ตรการศึ กษา แห่ งชาติ กับสานักงานคณะกรรมการการอุ ดมศึ กษา เพื่อพัฒนาหลักสู ตรการเรี ยนการสอน ที่เหมาะสม สาหรับผูเ้ รี ยนระดับมัธยมศึกษาดังกล่าว ให้มีทกั ษะอาชี พและความรู ้ความสามารถตามกลุ่มอาชี พหลักของ


____________________________CES Journal 30 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

ประเทศ และสอดคล้องกับศักยภาพเชิ งพื้นที่ ตลอดจนเพื่อเป็ นการเสริ มสร้ างศักยภาพในการศึกษาต่อใน ระดับสู ง เป็ นการบูรณาการความร่ วมมื อระหว่างสถาบันอุ ดมศึ กษาในสั งกัดกระทรวงศึ กษาธิ ก าร และ สถานศึกษาในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ส่ งเสริ มการสร้างสังคมแห่ งการเรี ยนรู ้ อย่า งต่ อเนื่ อง และใช้พ้ื นที่ ส ถาบันการศึ ก ษาทุ ก ระดับ เป็ นแหล่ ง เรี ย นรู ้ ตลอดชี วิต สถาบันอุ ดมศึ ก ษาที่ รั บ ผิด ชอบหลัก สู ต ร จะจัด ท าโครงการบ่ ม เพาะและพัฒ นาอาชี พ เชิ ง บู รณาการเกี่ ย วกับ หลัก สู ต รและ โปรแกรมการเรี ยนการสอน เพื่อนาไปใช้กบั โรงเรี ยนมัธยมศึกษาคู่สัญญา ภายใต้โครงการปฏิรูปหลักสู ตร การศึกษาแห่งชาติ สาหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่จดั การศึกษาตามหลักสู ตรของกระทรวงศึกษาธิ การ โดยทัว่ ไปจะ มุ่งเน้นการให้ผเู ้ รี ยนได้รับความรู ้ คู่กบั การพัฒนาให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ความมุ่งหมายของการ จัดการศึกษาส่ วนใหญ่จะเน้นให้ผเู ้ รี ยนได้ศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาเป็ นหลัก แต่ในโลกแห่ งความเป็ นจริ ง พบว่า โรงเรี ย นมัธ ยมศึ กษาส่ วนใหญ่ ที่ มี ก ารจัดการศึ กษาตั้ง แต่ ระดับ มัธ ยมศึ ก ษาตอนต้นจนถึ ง ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย โดยเฉพาะโรงเรี ยนมัธยมศึกษาชั้น 2 (โรงเรี ยนมัธยมศึกษาประจาอาเภอ) มีผสู้ าเร็ จ การศึ ก ษาชั้น ม.6 ที่ ป ระสบความส าเร็ จในการเข้า ศึ ก ษาต่ อในมหาวิท ยาลัย เพี ย งร้ อยละ 10-20 เท่ า นั้น (โรงเรี ยนสู งเม่นชนู ปถัมภ์ 2556 :13) นักเรี ยนส่ วนใหญ่ไม่ประสบความสาเร็ จในการสอบเข้าศึกษาต่อใน มหาวิทยาลัย นักเรี ยนบางคนจาเป็ นต้องศึกษาต่อในสาขาวิชาที่ตนเองไม่ชอบและไม่ถนัด บางคนศึกษาต่อ เพียงเพื่อให้ได้ปริ ญญาบัตร แต่เมื่อศึกษาสาเร็ จแล้วก็ไม่สามารถนาความรู ้ และประสบการณ์ ไปใช้ในการ ประกอบอาชี พ ที่ มุ่ ง หวัง ได้ ท าให้ เกิ ดความสู ญเปล่ า และไม่ คุ ้ม ค่ า เนื่ องจากเป็ นการจัดการศึ ก ษาที่ ไ ม่ ตอบสนองและไม่คานึ งถึ งสภาพของท้องถิ่ น ไม่สอดคล้องกับความถนัด ความสนใจ ความต้องการและ ศักยภาพของผูเ้ รี ยน แนวทางการจัดการศึกษาทีย่ ดึ พืน้ ทีเ่ ป็ นฐานคืออย่างไร 1.โรงเรี ยนมัธยมศึกษาที่ต้ งั อยู่ในฐานพื้นที่ (Area Based) ที่ตอ้ งการจัดหลักสู ตรการบ่มเพาะและ พัฒนาอาชี พเชิ งบูรณาการ เพื่อตอบสนองความต้องการ ความสนใจ สอดคล้องกับศักยภาพผูเ้ รี ยน และ ศักยภาพของพื้นที่ จะต้ องทาการศึกษผลงานวิจยั เกี่ยวกับศักยภาพของพื้นที่ระดับจังหวัด หรื อกลุ่มจังหวัด หรื อพื้นที่พิเศษที่มีผศู ้ ึกษาไว้ เพื่อค้นหาประเด็นสาคัญเกี่ ยวกับศักยภาพของพื้นที่ ขณะเดี ยวกันก็จะต้อง ศึกษา และค้นหาสาเหตุของการจัดการศึกษาที่ไม่สอดคล้องกับสภาพท้องถิ่น และความต้องการของผูเ้ รี ยน เพื่อให้เข้าใจถ่องแท้ในปั ญหาและทิศทางของการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา เช่น กรณี ของโรงเรี ยนสู ง เม่นชนู ปถัมภ์ ได้นาผลงานการวิจยั ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่ งวิจยั เกี่ ยวกับศักยภาพพของจังหวัด แพร่ เมื่ อ ปี พ.ศ. 2550 มาศึ ก ษา วิ เ คราะห์ แ ละพบว่ า จั ง หวัด แพร่ มี ศ ั ก ยภาพที่ ส าคั ญ คื อ ด้ า น ทรั พยากรธรรมชาติ การเป็ นแหล่ งไม้สัก และแหล่ งแร่ ต่างๆ ด้านอาชี พ ประชาชนมี อาชี พเกษตรกรรม อาชี พการทาเฟอร์ นิเจอร์ ทางด้านการศึ กษาพบว่า ยังไม่มีหลักสู ตรใดที่จะช่ วยให้นักเรี ยนที่ จบหลักสู ตร สามารถใช้ศกั ยภาพของตนและศักยภาพของจังหวัด สร้ างอาชี พและเพิ่มพูนรายได้อย่างเป็ นระบบ ขณะที่


____________________________CES Journal 31 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

นัก เรี ย นที่ ส าเร็ จการศึ ก ษาระดับ มัธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 6 ประมาณร้ อยละ 80 ไม่ ส ามารถสอบเข้า เรี ย นต่ อใน ระดับอุดมศึกษาได้ ซึ่ งสอดคล้องกับข้อมูลการศึกษาของโรงเรี ยน นอกจากนี้ โรงเรี ยนยังต้องทาการวิเคราะห์สภาวการณ์ ปัจจุบนั ที่สังคมต้องเผชิ ญ ทั้งทางเศรษฐกิ จ สังคมและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว วิเคราะห์สภาวการณ์อนาคต เช่น การก้าวเข้าสู ประชาคม อาเซี ยน จะทาให้ทุกภาคส่ วนของสังคมไทยตื่ นตัวอย่างไร การส่ งเสริ มและการพัฒนาคุ ณภาพชี วิตด้วย การศึกษา เพื่อให้เด็กและเยาวชนไทยมีศกั ยภาพในการแข่งขันควรทาอย่างไร วัตถุ ประสงค์และเป้ าหมาย การพัฒนาผูเ้ รี ย นทุ กคนของโรงเรี ย นควรเป็ นอย่างไร เป็ นต้น ผลของการศึ ก ษา จะนาไปสู่ การก าหนด ทิศทางของหลักสู ตรการศึกษาของสถานศึกษา ที่เน้นการฝึ กปฏิบตั ิให้เกิดทักษะจนสามารถนาไปประกอบ อาชี พได้ และศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาได้ ในกระบวนการวิเคราะห์สภาวการณ์ปัจจุบนั และสภาวการณ์ อนาคต เพื่อกาหนดความต้องการหลักสู ตรสถานศึกษานี้ ทุกภาคส่ วนควรมีส่วนร่ วมอย่างกว้างขวางและ หลากหลายที่สุด กรณี โรงเรี ยนสู งเม่นชนูปถัมภ์ ในปี การศึกษา 2553 โรงเรี ยนได้จดั ทาโครงการพัฒนาการศึกษาเพื่อ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงบูรณาการ และภายหลัง ที่ทาการวิเคราะห์ศกั ยภาพด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้าน ภูมิประเทศ ด้านภูมิอากาศ ด้านวัฒนธรรมประเพณี และด้านบุคลากรของจังหวัด รวมทั้งการรั บฟั งความ คิดเห็นของทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้องแล้ว โรงเรี ยนได้ตดั สิ นใจร่ วมกับ 5 มหาวิทยาลัย พัฒนาหลักสู ตรสถานศึกษา เรี ยกว่า หลักสู ตรพัฒนาศักยภาพ (สู งเม่นโมเดล) ขึ้ นมา มี 5 หลักสู ตรได้แก่ (1) หลักสู ตรเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสาร (ประกอบด้วยโปรแกรมพัฒนาซอฟท์แวร์ โปรแกรมกราฟิ กและแอนิ เมชัน่ และ โปรแกรมผลิตสื่ อผสม) ร่ วมกับมหาวิทยาลัยพะเยา (2) หลักสู ตรเทคโนโลยีเกษตร(ประกอบด้วยโปรแกรม เทคโนเกษตร และโปรแกรมเกษตรเพื่ออาชี พ) ร่ วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (3) หลักสู ตรเทคโนโลยี แปรรู ปอาหารร่ วมกับมหาวิทยาลียศิลปากร (4) หลักสู ตรอุตสาหกรรมอาหารและบริ การร่ วมกับมหาวิทยา ลัราชภัฎสวนดุสิต และ (5) หลักสู ตรวิทยาศาสตร์ สุขภาพร่ วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (ในปี การศึกษา 2556 โรงเรี ยนได้เปลี่ยนมาร่ วมมือกับมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สร้างหลักสู ตรวิทยาศาสตร์ สุ ขภาพทางการแพทย์แผนไทยแทนหลักสู ตรนี้) ขณะเดียวกันในปี การศึกษา 2556โรงเรี ยนสู งเม่นชนูปถัมภ์ ได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยนเรศวร สร้ างหลักสู ตรสถานศึ กษาเพิ่มขึ้นมาอี กหนึ่ งหลักสู ตรคือ หลักสู ตรโลจิ สติ ก ส์ แ ละโซ่ อุ ป ทาน ท าให้ โ รงเรี ย นแห่ ง นี้ มี ห ลัก สู ต รบ่ ม เพาะ หรื อ หลัก สู ต รศัก ยภาพ รวมทั้ง สิ้ น 6 หลักสู ตร 2.โรงเรี ยนร่ วมกับมหาวิทยาลัยและสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กาหนดสัดส่ วน โครงสร้ า งของหลัก สู ต รสถานศึ ก ษาที่ โ รงเรี ย นและพื้ นที่ ต้อ งการ ดัง ตัว อย่า งสั ด ส่ ว นโครงสร้ า งของ หลกสู ตรสถานศึกษาโรงเรี ยนสู งเม่นชนูปถัมภ์ที่ตกลงร่ วมกันมีลกั ษณะดังนี้ ก. โครงสร้ างหลักสู ตรสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-ม.3) ให้เรี ยนไม่น้อยกว่า 81 หน่ วยกิ ต แบ่งเป็ น หลักสู ตรแกนกลาง สพฐ. ร้ อยละ 70 (66หน่ วยกิ ต) หลักสู ตรบ่มเพาะหรื อหลักสู ตร ศักยภาพ (สาระเพิ่มเติม) ไม่นอ้ ยกว่า 15 หน่วยกิต และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนอีกร้อยละ 10


____________________________CES Journal 32 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

ข.โครงสร้างหลักสู ตรสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-ม.6) ให้เรี ยนไม่น้อยกว่า 81 หน่ วยกิ ต แบ่งเป็ น หลักสู ตรแกนกลาง สพฐ. ร้ อยละ 54 (51 หน่ วยกิ ต) หลักสู ตรบ่มเพาะหรื อหลักสู ตร ศักยภาพ (สาระเพิ่มเติม) ไม่นอ้ ยกว่า 40 หน่วยกิต และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนอีก ร้อยละ 10 โรงเรี ยนนาผลการกาหนดสัดส่ วนตามโครงสร้างหลักสู ตรที่ตกลงร่ วมกัน ไปจัดทาเป็ นโครงสร้าง รายวิชาในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย กรณี โรงเรี ยนสู งเม่นชนูปถัมภ์ โครงสร้างรายวิชาในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (66 หน่วยกิต) มีการ กระจายจานวน 66 หน่วยกิตไปตาม 8 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ตั้งแต่ช้ นั ม.1-ม.3 ระดับชั้นละ 22 หน่วยกิตให้ เท่า ๆ กัน รวมกิ จกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ระดับชั้นละ 120 ชัว่ โมง รวมเป็ น 360 ชัว่ โมง และเรี ยนรายวิชาบ่ม เพาะ หรื อรายวิชาเพิ่มศักยภาพ (สาระเพิ่มเติม) ที่มหาวิทยาลัยร่ วมกับโรงเรี ยนสร้างขึ้นอีก 15 หน่วยกิต (เริ่ ม เรี ยนเมื่อเลื่อนขึ้นระดับชั้น ม.2) โครงสร้างรายวิชาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (41 หน่วยกิต) มีการกระจายหน่วยกิตไป ตาม 8 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ รวม 41 หน่ วยกิ ต (ม.4-ม.6)โดยไม่กาหนดจานวนหน่ วยกิ ตตามระดับชั้นเหมือนชั้น ม.ต้น นักเรี ยนต้องเข้าร่ วมกิ จกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน 360 ชั่วโมง และเรี ยนรายวิชาบ่มเพาะ หรื อรายวิชาเพิ่ม ศัก ยภาพ (รายวิช าเพิ่ม เติ ม) ที่ มหาวิท ยาลัย ร่ วมกับ โรงเรี ย นสร้ า งขึ้ น เพื่อเพิ่ มศักยภาพของผูเ้ รี ยนแต่ ล ะ หลักสู ตร ๆ ละไม่นอ้ ยกว่า 40 หน่วยกิต (รวม 81 หน่วยกิต) ในขั้นตอนของการจัดทาหลักสู ตร หากหลักสู ตรใดจัดอยู่ในกลุ่มหลักสู ตรศักยภาพ หรื อหลักสู ตร บ่ม เพาะด้า นวิท ยาศาสตร์ โรงเรี ย นจะต้องนาหลัก สู ตรดัง กล่ า วไปวิพ ากษ์ก ับ สถาบันส่ งเสริ ม การสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ด้วย ตัวอย่างโครงสร้างหลักสู ตร IT ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ กราฟิ กและแอน นิ เมชัน่ ของโรงเรี ยนสู ง เม่นชนู ป ถัมภ์ ที่ จดั ร่ วมกับมหาวิท ยาลัยพะเยา ประกอบด้วย 6 รายวิชา ๆ ละ 2 หน่ ว ยกิ ต ได้แ ก่ (1) การจัด การและการพัฒ นาระบบฐานข้อ มู ล (2) การออกแบบและพัฒ นาเว็บ (3) คอมพิวเตอร์ กราฟิ กประยุกต์ (4) การสร้างภาพเคลื่อนไหว (5) การเขียนโปรแกรมเกมส์ และ (6)โครงงาน เทคโนโลยีสารสนเทศ 3.ในส่ วนของมหาวิทยาลัยที่สมัครใจเข้าร่ วมโครงการ หลังจากการลงนามในบันทึกข้อตกลงความ ร่ วมมือโครงการพัฒนาการศึกษา เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์เชิ งบูรณาการ กับสานักงานคณะกรรมการการ การอุดมศึกษาแล้ว จะต้องทาการประเมินความพร้อมและศักยภาพของโรงเรี ยน ครู นักเรี ยนและผูป้ กครอง ประเมินความพร้อมของพื้นที่ และระดมความคิดเพื่อวางแผนรู ปแบบธุ รกิจ ขั้นตอนการบริ หารจัดการธุ รกิจ และศึกษาแนวทางในการพัฒนาผูเ้ รี ยนให้สอดคล้องกับความต้องการของโรงเรี ยน สร้ างความเข้าใจด้าน หลักสู ตรกับผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย พัฒนาหลักสู ตรและโปรแกรมการเรี ยนให้สอดคล้องกับความต้องการของ


____________________________CES Journal 33 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

โรงเรี ยน จัดทาคู่มือการสอน จัดเตรี ยมความพร้ อมของห้องปฎิ บตั ิการเพื่อรองรับการเรี ยนการสอน จัดหา และพัฒนาสื่ อการเรี ยนการสอน จัดอบรมครู ผูส้ อนและผูเ้ กี่ ย วข้องให้มีทกั ษะและความสามารถในการ ถ่ า ยทอดความรู ้ จัดกิ จกรรมฝึ กทัก ษะและประสบการณ์ แ ก่ ผูเ้ รี ย นร่ ว มกับ โรงเรี ย น ตรวจสอบติ ด ตาม ประเมินผล รายงานผลและปรับปรุ งผลการดาเนิ นงานโครงการร่ วมกับโรงเรี ยน เป็ นแผนระยะกลางและ ระยะยาว (5-10 ปี ) แล้วแต่กรณี 4.โรงเรี ยนประกาศรับสมัครนักเรี ยนเข้าเรี ยนหลักสู ตร ฝ่ ายวิชาการและงานแนะแนวจะต้องสร้าง ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสู ตรบ่มเพาะ หรื อหลักสู ตรศักยภาพแก่นกั เรี ยนและผูป้ กครอง โรงเรี ยนจะมีการจัด ประชุ มผูป้ กครองและนักเรี ยนเพื่อเลือกหลักสู ตร ในโอกาสนี้ ทุกมหาวิทยาลัยที่ร่วมโครงการจะได้รับเชิ ญ มาจัดนิ ท รรศการเพื่อให้ความรู ้ แก่ นักเรี ยนและผูป้ กครอง เปิ ดโอกาสให้นักเรี ยนและผูป้ กครองร่ วมกัน ตัดสิ นใจเลือกหลักสู ตรและกรอกใบสมัคร 5.ในส่ วนของนักเรี ยน เมื่อเข้าเรี ยนระดับชั้น ม.1 ในโรงเรี ยนที่มีการจัดการเรี ยนการสอนแบบยึด พื้นที่เป็ นฐาน จะต้องเรี ยนรายวิชาใน ๘ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ จานวน 22 หน่วยกิต และร่ วมกิจกรรมพัฒนา ผูเ้ รี ยน 120 ชัว่ โมงตามปกติ แต่เมื่อเลื่อนระดับขึ้นไปชั้น ม. 2 ทุกคนต้องพิจารณาเลือกเข้าเรี ยนหลักสู ตรบ่ม เพาะ หรื อหลัก สู ตรศัก ยภาพ (สาระเพิ่ ม เติ ม ) ตามการประกาศของโรงเรี ย น โรงเรี ย นนาใบสมัค รของ นักเรี ยนมาพิจารณา เพื่อจัดเข้าเรี ยนในหลักสู ตร โดยพิจารณาจากความรู้ ความสนใจ ความถนัด และความ ต้องการพื้นฐานของแต่ละหลักสู ตร จากนั้นนักเรี ยนจะได้รับการศึกษาอบรม พัฒนาทักษะและประสบการณ์ ตามโครงสร้างหลักสู ตรและโครงสร้างรายวิชาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และเมื่อเลื่อนขึ้นไปเรี ยนระดับชั้น ม. 4 นักเรี ยนจะเรี ยนตามโครงสร้างหลักสู ตรระดับมัธยมตอนปลาย ซึ่ งประกอบด้วยหลักสู ตรแกนกลาง 41 หน่วยกิต และหลักสู ตรบ่มเพาะหรื อหลักสู ตรศักยภาพ (สาระเพิ่มเติม) อีก 40 หน่วยกิตควบคู่กนั ไป พร้อม กับเข้าร่ วมกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนอีก 360 ชัว่ โมง นอกจากจะต้องเรี ยนรายวิช า และฝึ กปฏิ บตั ิ ท กั ษะให้ครบตามเกณฑ์ของหลักสู ตรดังกล่ าวแล้ว นักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายทุกคน จะต้องเข้าร่ วมกิจกรรมส่ งสริ มการศึกษาเพิ่มเติม ตามที่หลักสู ตร กาหนด เช่น นักเรี ยนกลุ่มหลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารทุกคน จะตัองเข้าร่ วมกิจกรรมการ อบรมระยะสั้น การศึกษาดูงาน การสัมมนาเพื่อแลกเปลี่ ยนประสบการณ์ การประกวดแข่งขันทักษะด้าน ICT การเข้าค่าย ICT และการจัดนิ ทรรศการแสดงโครงงาน ตามข้อกาหนดของหลักสู ตร และการเข้าร่ วม กิจกรรมดังกล่าวของนักเรี ยน จะอยู่ภายใต้การดูแลและให้คาปรึ กษาของนิ สิตพี่เลี้ ยง (มหาวิทยาลัยพะเยา 2555 : 20-23) 6.ในส่ วนของคุ ณครู คุ ณครู ของโรงเรี ย น จะได้รับการพัฒนาและฝึ กอบรมทางด้านการสอนใน หลักสู ตรบ่มเพาะ หรื อหลักสู ตรศักยภาพ และได้รับการฝึ กทักษะการจัดประสบการณ์ การสอนด้านต่างๆ ของหลัก สู ตร กรณี โรงเรี ย นสู ง เม่นชนู ป ถัมภ์ โรงเรี ย นมี การดาเนิ นงานการจัดหลัก สู ตรบ่ ม เพาะ หรื อ


____________________________CES Journal 34 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

หลักสู ตรศักยภาพ ตามหลักการจัดการศึกษาแบบยึดพื้นที่เป็ นฐานมาตั้งแต่ปีการศึกษา 2553 ถึงปัจจุบนั คือ ปี การศึกษา 2557 (รวม 5 ปี การศึกษาแล้ว มีนักเรี ยนรุ่ นแรกของหลักสู ตรกาลังเรี ยนระดับชั้น ม.6) คุณครู ประจากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ท้ งั 8 กลุ่มสาระทุกคนของโรงเรี ยน จะสมัครเข้าเป็ นครู ประจาหลักสู ตรบ่มเพาะ หรื อหลักสู ตรศักยภาพคนละ 1 หลักสู ตร จาก 6 กลุ่มหลักสู ตร โดยเมื่อคุณครู ผา่ นกระบวนการพัฒนาและ ฝึ กอบรมความรู้ และทักษะในการจัดการเรี ยนการสอน จากทีมคณาจารย์ผสู้ อนของมหาวิทยาลัย แล้ว คุณครู จะได้รับมอบหมายให้เป็ นผูส้ อนประจาหลักสู ตรศักยภาพหรื อหลักสู ตรบ่มเพาะ ร่ วมสอนกับคณาจารย์ ผูส้ อนจากมหาวิทยาลัยที่ร่วมโครงการ การจัดการศึกษาแบบยึดพืน้ ทีเ่ ป็ นฐานตามโมเดลนี้ มีความสาเร็จหรือล้มเหลวอย่างไร การได้มีโอกาสพบปะสนทนากับนักเรี ยนชั้น ม. 6 หลายคนที่เรี ยนในหลักสู ตรบ่มเพาะเพื่อพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์เชิ งบูรณาการตามศักยภาพของกลุ่มจังหวัด หรื อที่เรี ยกว่าหลักสู ตรศักยภาพปี ที่ 5 (ไม่นบั ปี ที่เรี ยนชั้น ม. 1) ซึ่ งเป็ นปี การศึกษาและภาคการศึกษาสุ ดท้ายของหลักสู ตรในโครงการ พบว่า นักเรี ยนทุก คนมีบุคลิกภาพดี มีความเป็ นผูใ้ หญ่ ส่ วนใหญ่มีความสามารถและมีศิลปะในการสื่ อสาร กล้าแสดงความคิด ความเห็ น มีความมัน่ ใจในตัวเอง แสดงความคิ ดเป็ นหลักการ เป็ นอุดมการณ์ ได้ดี มีความสามารถในการ อธิ บายและวิเคราะห์เหตุการณ์และสถานการณ์ของปั ญหาต่างๆ รวมทั้งปั ญหาการเรี ยนและการงานด้วยเหตุ ด้วยผล เข้าใจจุดหมายปลายทางของชีวติ ทั้งเรื่ องการเรี ยนและการงานในอนาคต นอกจากนี้ ยงั มีนกั เรี ยนที่เรี ยนในภาคการศึกษาที่ 2 ของปี การศึกษา 2557 จานวน 4 คนที่ประสบ ความส าเร็ จ ในการเลื อ กเข้า ศึ ก ษาต่ อ ในมหาวิ ท ยาลัย ที่ ร่ ว มโครงการกับ โรงเรี ย น ในสาขาวิ ท ยาการ คอมพิ วเตอร์ สาขาวิศ วะสารสนเทศและการสื่ อสาร และสาขาอุตสาหกรรมอาหารและบริ ก าร และมี นักเรี ยนอีก 8 ที่ร่วมกับผูป้ กครอง ทาสัญญากับบริ ษทั S&P เพื่อรับนักเรี ยนเมื่อจบ ม.6 แล้ว ให้เข้าเรี ยนต่อ ในหลักสู ตรของบริ ษทั และเพื่อประกันการมีงานทาหลังสาเร็ จการศึกษา (ข้อมูลเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2558) ในปลายปี การศึกษา 2554 ต่อเนื่ องกับปี การศึกษา 2555 ได้มีโรงเรี ยนมัธยมศึ กษาในจังหวัดแพร่ น่ า น พะเยา และเชี ย งราย ร่ ว มกัน จัด ประชุ ม สั ม มนา และร่ ว มลงนามความร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการกับ มหาวิ ท ยาลั ย พะเยา โดยมี คณะเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อสาร คณะแพทยศาสตร์ คณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ แ ละศิ ล ปกรรมศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ แ ละทรั พ ยากรธรรมชาติ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ตกลงร่ วมรั บผิดชอบโครงการกับโรงเรี ยนมัธยมศึกษาในพื้นที่ 4 จังหวัดดังกล่ าว จานวน 30 โรงเรี ยน ได้มีการเตรี ยมการจัดทาหลักสู ตร และจัดการเรี ยนการสอนเชิ งปฏิบตั ิการ เพื่อการมี งานทา ตามแนวทางการจัดหลักสู ตรศักยภาพตามตัวแบบสู งเม่น แสดงให้เห็ นว่า นวัตกรรมการบริ หาร โรงเรี ยนมัธ ยมศึกษา ตามตัวแบบสู งเม่นชนู ป ถัมภ์ ได้รับการยอมรั บในเรื่ องการเป็ นแบบอย่างของการ จัด การมัธ ยมศึ ก ษาแบบยึ ด พื้ น ที่ เ ป็ นฐาน ท าให้ โ รงเรี ย นอื่ น ๆเห็ น ประโยชน์ เห็ น คุ ณ ค่ า แล้ว ตัด สิ ใ จ ดาเนินการตามอย่าง โดยตัวแบบสู งเม่นน่าจะเหมาะสาหรับโรงเรี ยนมัธยมศึกษาชั้นสองดังกล่าวมาแล้ว


____________________________CES Journal 35 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

กล้ว ยไม้อ อกดอกช้ า ฉั น ใด การด่ ว นตัด สิ น ความส าเร็ จ หรื อความล้ ม เหลวของการจัด การ มัธยมศึ กษาแบบยึดพื้นที่เป็ นฐานตามแนวคิ ดและแนวปฏิ บตั ิดงั กล่าว ดู เหมือนจะเป็ นเรื่ องที่เสี่ ยงเกิ นไป เพราะปั จจุบนั ผูเ้ รี ยนในหลักสู ตรดังกล่าวยังไม่มีใครสาเร็ จการศึกษาจริ งๆ และผูท้ ี่จะสาเร็ จการศึกษาส่ วน ใหญ่ก็ยงั ไม่ถึงเวลาที่จะพิสูจน์ตวั เองเกี่ยวกับการทางานและการศึกษาต่อ สาหรับนักเรี ยน คุณครู ผูป้ กครอง ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน ชุมชนและท้องถิ่นนั้น เห็นชัดเจนว่าโครงการนี้ มีคุณค่า เพราะได้รับประโยชน์ท้ งั โดยตรง และโดยอ้ออมจากโครงการนี้ อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาปรากฏการณ์เชิ งประจักษ์จะพบว่า ความสาเร็ จหรื อความล้มเหลวของ การจัดการศึ กษาตามแนวทางนี้ น่ าจะขึ้ นอยู่กบั ปั จจัยต่าง ๆ อย่างน้อย 4 ประการคือ ประการแรก ได้แก่ ความคงอยูข่ องนโยบายและการได้รับการส่ งเสริ มและสนับสนุ นนจากรัฐบาล กล่าวคือ ต้องมัน่ ใจว่า เมื่อมี การเปลี่ ยนแปลงรัฐบาล หรื อมีการเปลี่ ยนแปลงรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิ การ โครงการปฏิ รูปหลักสู ตร การศึกษาแห่งชาติ เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ที่มีความเหมาะสมสอดคล้องกับศักยภาพของกลุ่มจังหวัด จะ ยังคงดาเนิ นต่อไป และจะต้องได้รับการสนับสนุ นงบประมาณ ทรัพยากรณ์ และการส่ งเสริ มนโยบายจาก รัฐบาลอย่างต่อเนื่ อง ประการที่สอง ได้แก่ ความเข้มแข็งและความเอาจริ งเอาจังในความร่ วมมื อในการ บริ หารจัดการหลักสู ตรสถานศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา โรงเรี ยนมัธยมศึกษาและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยใน พื้นที่กลุมจังหวัดที่เข้าร่ วมโครงการ ซึ่ งปั จจัยนี้ จะมีความสัมพันธ์กบั ปั จจัยแรก และมีความสาพันธ์โดยตรง กับประสิ ทธิ ผลของโครงการ ประการที่สาม ได้แก่ ความตั้งใจจริ งของผูร้ ับผิดชอบหลักสู ตร หมายถึ ง ทีม คณาจารย์จากคณะวิชาของสถาบันอุดมศึกษา ที่ร่วมกันสร้ างหลักสู ตรและบริ หารจัดการหลักสู ตรบ่มเพาะ เพื่ อ พัฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย์เ ชิ ง บู ร ณาการขึ้ น มาใช้เ ป็ นหลัก สู ต รสถานศึ ก ษา มี ค วามตั้ง ใจจริ ง ในการ ปฏิ บตั ิงานโครงการ เพราะเห็ นว่างานนี้ มีความสาคัญ ส่ วนคุ ณครู และผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนก็เห็ นความสาคัญ เห็ นคุ ณค่าและเห็ นประโยชน์ที่โรงเรี ยน นักเรี ยนและชุ มชนได้รับ จึ งตั้งใจปฏิ บตั ิ งานนี้ ด้วยความเต็มใจ จริ งใจ เพราะรู ้สึกได้วา่ เมื่อทางานโครงการนี้ทาให้มีความสุ ข และประการสุ ดท้ าย ได้แก่ การสนับสนุ นจาก ผูน้ าคนสาคัญและองค์กรต่าง ๆ ในพื้นที่ ผูน้ าในพื้นที่มีความสาคัญในการสนับสนุ นและส่ งเสริ มการจัด หลักสู ตร ทั้งด้านการจัดการและด้านทรัพยากร รวมทั้งการเป็ นปากเป็ นเสี ยงประชาสัมพันธ์ให้กบั โครงการ คล้ายกับองค์กรต่าง ๆ ในพื้นที่ ก็จะมีความสาคัญในการส่ งเสริ มและสนับสนุ นเชิ งการจัดการโครงการนี้ เช่นกัน ข้ อเสนอแนะการจัดการศึกษาแบบยึดพืน้ ทีเ่ ป็ นฐานคืออย่างไร 1.การนารู ปแบบการจัดการศึกษาโดยยึดพื้นที่เป็ นฐานไปใช้ในพื้นใด ควรมีการทบทวนและศึกษา ศักยภาพ ปั ญหาและความต้องการการพัฒนาในพื้นที่เป้ าหมายนั้นให้รอบด้านก่อน เช่น ควรมีการนาแผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนากลุ่มจังหวัดมาทบทวนและศึกษาวิจยั เพื่อค้นหาประเด็นสาคัญเกี่ ยวกับศักยภาพของ


____________________________CES Journal 36 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

พื้นที่ ขณะเดี ยวกันก็จะต้องศึกษา และค้นหาสาเหตุของการจัดการศึกษาที่ไม่สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ มี การศึกษาความต้องการของผูเ้ รี ยนและชุมชน เพื่อให้เข้าใจถ่องแท้ในปั ญหาและทิศทางของการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา ก่อนนาไปสู่ การกาหนดหลักสู ตร 2.สถานศึ ก ษาจะต้องเป็ นฝ่ ายริ เริ่ ม แสวงหาความร่ วมมื อกับ สถาบันอุ ดมศึ ก ษา เพื่ อให้มี ก ารจัด หลักสู ตรการพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ ที่สามารถตอบสนอง สอดคล้องกับศักยภาพและความต้องการของ พื้นที่ สอดคล้องกับความสามารถและความต้องการของผูเ้ รี ยน แสวงหาความร่ วมมื อกับผูน้ าและองค์กร ต่างๆในท้องถิ่ น เพื่อรวมพลังทางปั ญญา รวมพลังทางการจัดการและทรัพยากรณ์ ที่จาเป็ น เพื่อการบริ หาร จัดการหลักสู ตรการศึกษา 3.สถานศึกษาจะต้องประสานการทางานหลักสู ตรกับต้นสังกัด และองค์กรที่กากับดูแลมาตรฐาน การจัด หลัก สู ต ร ให้ เ กิ ด ความร่ ว มมื อ ในกระบวนการพัฒ นาหลัก สู ต รและการน าหลัก สู ต รไปใช้ ใ น สถานศึกษา 4.รัฐบาลโดยกระทรวงศึกษาธิ การ ควรกาหนดให้มีแผนยุทธศาสตร์ การจัดการศึกษาโดยยึดพื้นที่ เป็ นฐาน เป็ นยุทธศาสตร์ เชิ งรุ ก มี เป้ าหมายหลักที่มุ่งส่ งเสริ มโรงเรี ยนมัธยมศึกษาชั้นสอง ที่เป็ นโรงเรี ยน มัธยมศึกษาขนาดใหญ่ แต่มีขอ้ เสี ยเปรี ยบด้านปั จจัยตัวป้ อนเป็ นอันดับแรกก่อน หากมีการติตามประเมิน อย่างต่อเนื่องพบผลดีแล้วค่อย ๆ ขยายวงกว้างขวางออกไปให้เต็มพื้นที่ ซึ่ งเชื่ อว่าการจัดการศึกษาตามแนว การยึดพื้นที่เป็ นฐาน ตามโมเดลที่นาเสนอ จะเป็ นคาตอบสาคัญของการปฏิรูปการศึกษาไทย สรุ ปความ บทความนี้ ผูเ้ ขียนมีความมุ่งหมายที่จะสะท้อนบทเรี ยน เกี่ ยวกับการจัดการศึกษาโดยยึดพื้นที่เป็ น ฐาน เน้นให้เห็นหลักคิด หลักปฏิบตั ิและแนวทางการจัดการ โดยใช้กรณี การจัดการโรงเรี ยนมัธยมศึกษา ซึ่ ง มีตวั แบบสู งเม่นชนูปถัมภ์เป็ นกรณี ตวั อย่าง บทสรุ ปด้านความสาเร็ จหรื อความล้มเหลวอาจจะต้องอาศัยเวลา แต่ปรากฏการณ์ที่สะท้อนความสาเร็ จและความล้มเหลวนั้น น่าจะขึ้นอยูก่ บั เหตุปัจจัยหลายประการด้วยกัน ผูเ้ ขียนหวังว่าบทเรี ยนจากการศึกษาครั้งนี้ น่าจะมีประโยชน์ในเชิ งการนาไปต่อยอดทางวิชาการอยูบ่ า้ งตาม สมควร


____________________________CES Journal 37 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

เอกสารอ้างอิง กระทรวงวัฒ นธรรม ความเป็ นมาของการแบ่ ง กลุ่ ม จั ง หวั ด (ออนไลน์ ) เข้า ถึ งได้จาก www.mculture.go.th/.../files/.../osm1.pdf (ค้นคืนเมื่อ ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๘) มติคณะรัฐมนตรี เรื่ องการบูรณาการแผนงาน/โครงการในการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ ใน ระดับพื้นที่จงั หวัด (Area Based)(ออนไลนฺ ) เข้าถึงได้จาก www.cabinet.soc.go.th/.../Program2-3.jsp... (ค้น คืนเมื่อ ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๘) มหาวิทยาลัยนเรศวร รายงานผลการดาเนิ นงานโครงการพัฒนาหลักสู ตรด้ านโลจิ สติ กส์ และโซ่ อุปทาน ภายใต้ โครงการปฏิรูปหลักสู ตรการศึกษาแห่ งชาติ ครั้ งที่ ๑ มหาวิทยาลัยนเรศวร ๒๕๕๗ (เอกสาร อัดสาเนา) มหาวิ ท ยาลัย แม่ ฟ้ าหลวง สรุ ป ผลการด าเนิ น งานโครงการปฏิ รู ป หลั ก สู ต รการศึ ก ษาแห่ ง ชาติ โครงการจัดทาหลักสู ตรวิทยาศาสตร์ สุขภาพทางการแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ๒๕๕๗ (เอกสารอัดสาเนา) มหาวิทยาลัยพะเยา รายงานผลการดาเนิ นงานสู งเม่ นโมเดล (ฉบับบสมบู รณ์ ) คณะเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา ๒๕๕๕ (เอกสารอัดสาเนา) มหาวิทยาลัย ราชภัฎสวนดุ สิตศู นย์ลาปาง หลั ก สู ต รอุ ส าหกรรมอาหารและบริ ก าร โรงเรี ยนสู ง เม่ นชนู ปถัม ภ์ โครงการปฎิรูปหลั ก สู ต รการศึ ก ษาแห่ งชาติ มหาวิทยาลัย สวนดุ สิ ตศูนย์ล าปาง ๒๕๕๖ (เอกสารอัดสาเนา) มหาวิทยาลัยศิลปากร โครงการปฏิรูปหลักสู ตรการศึกษาแห่ งชาติในเขตจั งหวัดแพร่ และการบ่ ม เพาะผู้ประกอบการด้ านอาหาร มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๕๗ (เอกสารอัดสาเนา) โรงเรี ยนสู งเม่นชนู ปถัมภ์ หนึ่งโรงเรี ยนหนึ่งนวัตกรรม โรงเรี ยนสู งเม่นชนู ปถัมภ์ สานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๗ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิ การ (เอกสารอัดสาเนา) Area Based Planning/ Integrated Education Northern Ireland,(ออนล์) เข้าถึ งได้จาก www.nicie.org/.../area based planning/ (ค้นคืนเมื่อ ๔ มีนาคม ๒๕๕๘)


____________________________CES Journal 38 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1


____________________________CES Journal 39 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

จิตสังเคราะห์ : ความสามารถที่สาคัญในศตวรรษที่ 21 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไสว ฟักขาว*

* คณบดีบณ ั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


____________________________CES Journal 40 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

บทคัดย่อ

จิตสังเคราะห์ เป็ นความสามารถในการคัดสรรสารสนเทศที่สาคัญจากข้อมูลที่หลากหลายแล้วนามา ทาความเข้า ใจโดยการวิเคราะห์ แล้วเรี ยบเรี ยงเป็ นข้อสรุ ปที่ มีความหมายต่อตนเอง และผูอ้ ื่น การมีจิต สังเคราะห์จึงเป็ นสิ่ งที่มีประโยชน์สาหรับทุกคนทั้งในวัยเรี ยนและวัยทางาน สาหรับในวัยเรี ยนจิตสังเคราะห์ ช่ วยให้นกั เรี ยนสามารถจับประเด็นในเนื้ อหาวิชาได้โดยแยกส่ วนที่ เป็ นแก่น (Core) ออกจากรายละเอียด (Details) ได้ ทาให้ไม่ตอ้ งท่องจาเนื้อหาวิชาที่มากมาย และสามารถเข้าใจแนวคิด หรื อประเด็นสาคัญในเรื่ อง นั้นได้เป็ นอย่างดี และในวัยทางาน จิตสังเคราะห์ช่วยในการเรี ยนรู ้ความรู ้ และทักษะใหม่ที่สาคัญ โดยจะ นามาบูรณาการกับงานในอาชี พเดิมที่มีอยู่ ทาให้เกิ ดแนวคิดใหม่ และต่อยอดทางความรู ้ ได้ ดังนั้นผูท้ ี่มีจิต สัง เคราะห์ จึ ง สามารถกลัน่ กรองข้อมู ล ที่ มี อยู่ม หาศาล และไม่ ห ลงเชื่ อเรื่ องใดเรื่ อ งหนึ่ ง ง่ า ยๆ อันเป็ น ความสามารถพื้ นฐานในการพัฒ นาตนเองไปสู่ ก ารเป็ นผูม้ ี จิต 5 ลัก ษณะเพื่ ออนาคต และเป็ นผูม้ ี ความสามารถที่สาคัญสาหรับศตวรรษที่ 21

คาสาคัญ:

จิตสังเคราะห์ จิต 5 ลักษณะเพื่ออนาคต ศตวรรษที่ 21


____________________________CES Journal 41 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

Abstract The synthesizing mind is an ability to gather, selecting crucial information from disparate sources and kniting that information in a way that make sense to themselves and others. It is very useful for studying age and working age. For studying age, it can help the students to extract and summarize core knowledge from details and it can help working age people to learn new knowledge, skills and then integrate them in their own profession and also increase their knowledge and get new ideas. Therefore, the persons who are synthesizing mind can screen vast information from disparate sources and unbelievable information will develop themselves to five minds for the future and also have the important ability for the 21st century.

Keywords: Synthesizing mind, Five minds for the future, 21st Century


____________________________CES Journal 42 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

บทนา จากรายงานของ UNITED NATIONS DEVELOPMENT GROUP (2013) เรื่ อง The World We Want พบว่า ประชาชนเกือบ 600,000 คน ชี้วา่ สิ่ งที่ประชาชนต้องการมากที่สุดคือ การศึกษาที่ดี รองลงมาคือ การดูแลสุ ขภาพที่ดีข้ ึน จานวน 472,300 คน และอันดับ 3 คือ รัฐบาลที่ดี และซื่ อสัตย์ จานวน 415,446 คน และอันดับ 4 โอกาสในการทางานที่ดีข้ ึน จานวน 410,950 คน (สานักงานเลขาธิ การสภาการศึกษา, 2557 : 1) จากรายงานดัง กล่ า ว พบว่า ประชาชนมี ความต้องการการจัดการศึ ก ษาที่ ดีม ากที่ สุ ด แต่ ผลการทดสอบ ผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษานานาชาติโครงการ PISA 2012 จานวน 65 ประเทศในภาพรวม พบว่า ผลประเมิน PISA ของนักเรี ยนไทยกลุ่มอายุ 15 ปี มีผลการประเมินจะต่ากว่าค่าเฉลี่ยนานาชาติทุกครั้ง โดยประเทศจีนเซี่ยงไฮ้ได้อนั ดับ 1 รองลงมาคือ สิ งคโปร์ จีน-ฮ่องกง จีน-ไทเป เกาหลี จีน-มาเก๊า ญี่ปุ่น ส่ วนประเทศไทยได้ อันดับ 50 เป็ นรองเวียดนามที่ได้อนั ดับ 17 จาก 65 ประเทศ โดยผลการประเมิน PISA 2012 พบว่า ความสามารถในการอ่านของไทยมีคะแนนเฉลี่ย 441 ได้อนั ดับที่ 48 เป็ นรองเวียดนามที่อยูใ่ นอันดับที่ 19 ซึ่ งมีคะแนนเฉลี่ย (508) สู งกว่าค่าเฉลี่ยของ OECD (496) การรู้เรื่ องคณิ ตศาสตร์ ของไทย มีคะแนนเฉลี่ย 427 ได้อนั ดับที่ 50 ส่ วนการรู ้เรื่ องวิทยาศาสตร์ ของไทยมีคะแนนเฉลี่ย 444 คะแนน อยูท่ ี่อนั ดับ 48 ทั้งวิชา คณิ ตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ไทยมีอนั ดับเป็ นรองเวียดนาม (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2557 : จ) ส่ วนในระดับอุดมศึกษามีการจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษานานาชาติ ดังนี้ (สานักงานเลขาธิ การสภา การศึกษา, 2557 : ช) 1. Times Higher Education World University Rankings จัดอันดับมหาวิทยาลัยโดยเน้นด้านการ วิจยั และการสอน พบว่า มหาวิทยาลัยไทยที่ติด 1 ใน 400 อันดับแรกของโลกคือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรีได้อนั ดับ 322 ในปี 2013 อันดับดีข้ ึนจากปี 2012 ซึ่ งได้อนั ดับ 373 ส่ วนใน 100 อันดับ แรกของเอเชีย มหาวิทยาลัยไทยติด 3 อันดับ ได้แก่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (อันดับ 55) มหาวิทยาลัยมหิดล (อันดับ 61) และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (อันดับ 82) 2. QS (Quacquarelli Symonds) World University Rankings จัดอันดับมหาวิทยาลัยโดยเน้นชื่อเสี ยง ด้านวิชาการ มหาวิทยาลัยไทยที่ติด 100 อันดับแรกของเอเชียซึ่ งจัดโดย QS มีจานวนทั้งสิ้ น 3 แห่ งคือ มหาวิทยาลัยมหิดล (อันดับ 42) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (อันดับ 48) และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (อันดับ 98)


____________________________CES Journal 43 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

3. Webometrics Ranking of World Universities เป็ นการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโดยเน้นการเข้าถึง ข้อมูลผ่านทางระบบอิ นเทอร์ เน็ ตมหาวิทยาลัยไทยที่ ติด 100 อันดับแรกของเอเชี ย /แปซิ ฟิกซึ่ งจัดโดย Webometrics Rankingมีจานวนทั้งสิ้ น 7 แห่งคือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (อันดับ 27) มหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่ (อันดับ 39) มหาวิทยาลัยมหิ ดล(อันดับ40) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (อันดับ69) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุ ณทหารลาดกระบัง (อันดับ80) มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ (อันดับ 84) และ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (อันดับ 89) จากข้อมูลดังกล่าวชี้ ให้เห็ นว่าคุ ณภาพการศึ กษาของนักเรี ยน และนักศึกษาของประเทศไทยเมื่อ เที ยบกับนานาชาติ พบว่า มี ศกั ยภาพในการแข่งขันกับนานาชาติ ต่ า ถึ งเวลาที่ สถาบันการศึ กษาไทยต้อง ทบทวน และหาแนวทางการแก้ปัญหาการศึกษาทั้งระบบที่แท้จริ ง และเร่ งแก้ไขอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ความสามารถทีส่ าคัญในศตวรรษที่ 21 การศึกษาในศตวรรษที่ 21 จะมี ความซับซ้อนและเปลี่ ยนแปลงอย่างรวดเร็ วในทุ กๆ ด้าน ทั้ง การเมืองเศรษฐกิ จ สังคม การดาเนิ นชี วิต และความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ส่ งผลให้ประเทศไทยต้อง ทบทวน ปรับปรุ งและพัฒนาการจัดศึกษาอย่างเร่ งด่วนสถาบันการศึกษาทั้งในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับอุดมศึกษาต้องเร่ งปรับเปลี่ยนการจัดการเรี ยนการสอน เนื้ อหาสาระตามหลักสู ตรควบคู่ไปกับการ พัฒนาทักษะใหม่ที่จาเป็ นสาหรับศตวรรษที่ 21 ของผูเ้ รี ยนให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะให้ทดั เทียม และเป็ นที่ยอมรับของชาติอื่น และสามารถดารงชีวติ ได้อย่างมีความสุ ข สถาบันการศึกษาควรตระหนัก และ เห็ นความจาเป็ นที่ จะต้องพัฒนาเยาวชนให้มี ทกั ษะส าหรั บ การออกไปดารงชี วิตในโลกแห่ ง ศตวรรษที่ 21 โดยคานึงถึงวิสัยทัศน์ และกรอบความคิด เพื่อการเรี ยนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่ตอ้ งพัฒนาผูเ้ รี ยนทุกคนให้มี ทักษะการเรียนรู้ และนวัตกรรม ซึ่งมีองค์ประกอบ คือ 3 R ได้แก่ การอ่าน(Reading) การเขียน(Writing) และ คณิ ตศาสตร์ (Arithmetic) และ 4 C ได้แก่ ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity Thinking) การคิดอย่างมี วิจารณญาณ(Critical Thinking) การสื่ อสาร (Communication) และการร่ วมมือ (Collaboration) ซึ่ งทักษะ การเรี ยนรู้ และนวัตกรรมได้รับการยอมรั บ ว่าเป็ นทักษะที่ จาเป็ นสาหรั บผูเ้ รี ยนที่ ต้องเตรี ยมความพร้ อม สาหรับการดาเนินชีวติ และการทางานในศตวรรษที่ 21


____________________________CES Journal 44 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

สาหรับทักษะการเรี ยนรู้ และนวัตกรรมที่จาเป็ น มีองค์ประกอบ 3 ส่ วนใหญ่ๆ ดังนี้ ส่ วนที่ 1 ความคิดสร้างสรรค์ และการสร้างนวัตกรรม ประกอบด้วย (1) การคิดอย่างสร้างสรรค์ ประกอบด้วย การใช้เทคนิ คการคิดสร้ างสรรค์ได้หลายแบบ เช่ น การระดมสมองการสร้ างความคิดใหม่ที่ คุ ม้ ค่าก่ อให้เกิ ดสิ่ งใหม่การเพิ่มขึ้นและการเปลี่ ยนแปลงที่สาคัญการวิเคราะห์ ประเมิน ปรับปรุ งความคิ ด จนกระทัง่ ได้ผลงานที่มีความสร้างสรรค์มากที่สุด และ(2)ทางานกับผูอ้ ื่นอย่างสร้างสรรค์ประกอบด้วยการ พัฒนา การใช้ และการสื่ อสารความคิดใหม่ๆ กับผูอ้ ื่นอย่างมีประสิ ทธิ ภาพการเปิ ดใจ และตอบสนองต่อ ความความคิดและมุมมองใหม่ที่หลากหลายในการทางานกลุ่มและช่วยให้ขอ้ มูลย้อนกลับการแสดงความคิด ริ เริ่ มและความสามารถในการประดิษฐ์คิดค้นบนพื้นฐานของโลกแห่ งความจริ ง การมองความล้มเหลวเป็ น โอกาสในการเรี ยนรู ้ และเข้าใจว่าการคิดสร้ างสรรค์และการสร้ างนวัตกรรมต้องใช้เวลานานและมีโอกาส เกิดความผิดพลาดได้บ่อยกว่าจะสาเร็ จ และ(3) การสร้างนวัตกรรม เป็ นทักษะในการใช้ความคิดสร้างสรรค์ เพื่อสร้างนวัตกรรมที่เป็ นรู ปธรรมและมีประโยชน์ต่อวงการที่เกี่ยวข้อง ส่ ว นที่ 2 การคิ ด อย่า งมี วิ จ ารณญาณและการแก้ปั ญหา ประกอบด้ว ย (1) การให้ เหตุ ผลอย่างมี ประสิ ทธิ ผลเป็ นทักษะในการให้เหตุผลหลายๆแบบ เช่ น แบบอุ ปนัย แบบนิ รนัย ได้อย่างเหมาะสมกับ สถานการณ์ (2) การใช้การคิดอย่างเป็ นระบบ เป็ นทักษะในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบ ของสิ่ งที่มารวมกันเป็ นระบบที่ซับซ้อน (3) การพิจารณาและการตัดสิ นใจเป็ นการวิเคราะห์และประเมิน หลักฐาน ข้อโต้แย้งข้ออ้าง และความเชื่ อได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพวิเคราะห์ และประเมิ นทางเลื อกที่สาคัญ สังเคราะห์และเชื่ อมโยงระหว่างข้อมูลกับข้อโต้แย้งต่างๆตีความข้อมูลและลงข้อสรุ ปบนพื้นฐานของการ วิเคราะห์อย่างรอบคอบสะท้อนความคิดต่อประสบการณ์ และสิ่ งที่ได้เรี ยนรู ้ และ(4) การแก้ปัญหา เป็ นการ แก้ปัญหาที่แตกต่างกันที่ไม่คุน้ เคยด้วยวิธีการที่เคยใช้ และวิธีการใหม่ๆที่สร้างสรรค์ รวมทั้งระบุและถาม คาถามที่ชดั เจนในมุมมองที่หลากหลายเพื่อนาไปสู่ วธิ ี การแก้ปัญหาที่ดีกว่าเดิม ส่ วนที่ 3 การติดต่อสื่ อสารและการร่ วมมือ ประกอบด้วย (1) การสื่ อสารอย่างชัดเจน เป็ นทักษะ ในการคิดและสื่ อความหมายความคิดได้อย่างชัดเจนโดยการพูด การเขี ยน หรื อวิธีการอื่นในสถานการณ์ ต่างๆ เป็ นผูฟ้ ั งอย่างมีประสิ ทธิ ภาพเพื่อแปลความหมายสิ่ งที่เป็ นความรู ้ ค่านิ ยม เจตคติ และเจตนาใช้การ สื่ อสารสาหรับจุดมุ่งหมายต่างๆ ได้ เช่ น การให้ขอ้ มูล การสอน การสร้ างแรงบันดาลใจและการโน้มน้าว การเลื อกใช้สื่อและเทคโนโลยีอย่า งเหมาะสมโดยดู จากประสิ ท ธิ ภาพและผลที่ ไ ด้รับ สื่ อสารได้อย่า งมี ประสิ ท ธิ ภาพในสภาพแวดล้อ มที่ ห ลากหลายรวมถึ ง การใช้ภาษาในการสื่ อสารได้หลายภาษา และ (2) การร่ วมมือกับผูอ้ ื่น เป็ นทักษะในการทางานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และรู ้จกั เคารพผูอ้ ื่นในการทางานเป็ น


____________________________CES Journal 45 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

ที ม ที่ มี บุ ค คลซึ่ งมี ค วามหลากหลายปฏิ บ ัติ ง านด้ ว ยความยื ด หยุ่ น และ มี ค วามเต็ ม ใจที่ จ ะช่ ว ยเหลื อ ประนีประนอมเพื่อให้งานสาเร็ จตามเป้ าหมายที่กาหนดร่ วมกันร่ วมรับผิดชอบในการทางานร่ วมกันและเห็น คุณค่าของการช่วยเหลือกันของสมาชิกแต่ละคนในทีม (ไสว ฟักขาว, 2556 :1-6) จากข้อความดังกล่าวจะเห็นได้วา่ ทักษะการเรี ยนรู้ และนวัตกรรมในส่ วนของความคิดสร้างสรรค์ และการสร้างนวัตกรรม เป็ นความสามารถที่สาคัญในการพัฒนาผูเ้ รี ยนทุกคน อย่างไรก็ตามทักษะดังกล่าว ต้องอาศัยความสามารถที่สาคัญ คือ จิตสังเคราะห์ (Synthesizing Mind) เป็ นพื้นฐาน จิต 5 ลักษณะเพือ่ อนาคต การ์ดเนอร์ (Gardner, 2008: XV) ให้ความหมาย คาว่า จิต (Mind) ไว้โดยสรุ ปว่า จิตหมายถึง มุมมอง (perspectives) หรื อความสามารถ (capacities) ที่เกิดจากกระบวนการทางสมองที่สร้างผลผลิตออกมาเป็ น การปฏิบตั ิ การคิด ความรู้สึก และพฤติกรรมของบุคคล ซึ่ งการ์ ดเนอร์ ได้เสนอไว้ 5 ลักษณะที่สาคัญ ได้แก่ จิตเคารพ (Respectful Mind) จิตวิทยาการ (Disciplined Mind) จิตสังเคราะห์ (Synthesizing Mind) จิต สร้างสรรค์ (Creating Mind) และจิตจริ ยธรรม (Ethical mind) (Gardner, 2006 : 8) ซึ่ งเป็ นความสามารถ และ คุณลักษณะที่สาคัญและจาเป็ นที่ควรปลูกฝังให้กบั มนุ ษย์เพื่อให้สามารถดารงชี วิตในวันข้างหน้าได้อย่างมี ความสุ ข และการที่จะยืนหยัดอยูใ่ นโลกอนาคตได้อย่างมีความสุ ขทั้งในการดาเนิ นชี วิต และการทางานนั้น จะต้องสามารถปรั บ ตัวให้เท่ า ทันการเปลี่ ย นแปลงที่ จะเกิ ดอย่า งรวดเร็ วในศตวรรษที่ 21

ซึ่ งมี ส าระ

โดยสังเขปดังนี้ 1. จิตวิทยาการ เป็ นความสามารถในการใช้กระบวนการทางปั ญญาเพื่อให้เกิดความรอบรู ้ในเนื้ อหา สาระ และวิธีคิด หรื อกระบวนการในศาสตร์ ที่เกี่ ยวข้องกับวิชาชี พของตนเอง โดยแสดงให้เห็ นถึ งความ เข้าใจ และสามารถในการประยุกต์ความรู ้ ได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่ องจนเกิ ด วินยั ในตนเอง 2. จิตสังเคราะห์ เป็ นความสามารถในการคัดสรรสารสนเทศที่สาคัญจากข้อมูลที่หลากหลายแล้ว นามาทาความเข้าใจโดยการวิเคราะห์แล้วเรี ยบเรี ยงเป็ นข้อสรุ ปที่มีความหมายต่อตนเองและผูอ้ ื่น 3. จิตสร้างสรรค์ เป็ นความสามารถในการเสนอความคิดใหม่ที่แตกต่างจากความคิดเดิมซึ่ งได้จาก การตั้งคาถามที่ไม่คุน้ เคย การเสนอวิธีคิดใหม่ที่นาไปสู่ คาตอบที่คาดไม่ถึง และคาตอบนั้นเป็ นที่ยอมรั บ ของบุคลที่มีความรู ้เกี่ยวกับเรื่ องนั้น


____________________________CES Journal 46 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

4. จิตเคารพ เป็ นความสามารถในการแสดงออกที่บ่งบอกถึ งการเคารพความแตกต่างระหว่างบุคล หรื อกลุ่มบุคลเพื่อนาไปสู่ ความเข้าใจที่ดีต่อกัน และการทางานร่ วมกันได้อย่างมีความสุ ข 5. จิ ต จริ ย ธรรม เป็ นความสามารถในการปฏิ บ ัติตนได้อย่า งเหมาะสมตามหลัก คุ ณ ธรรมอย่า ง สม่าเสมอในการเป็ นสมาชิกที่ดีของสังคม และการเป็ นพลเมืองที่ดี จากความหมายดังกล่าว สามารถวิเคราะห์องค์ประกอบและผลที่เกิดขึ้นของผูท้ ี่มีจิต 5 ลักษณะ ได้ ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 องค์ประกอบและผลที่เกิดขึ้นของจิต 5 ลักษณะ

จิต 5 ลักษณะ จิต

การปฏิบัติ การคิด ความรู้ สึก พฤติกรรม

องค์ ประกอบ

  -

วิทยาการ จิต

ผลทีเ่ กิดขึน้

 - ความรอบรู้ - วิธีการแสวงหาความรู้

  -

สังเคราะห์

 - ความสามารถในการ สังเคราะห์ขอ้ มูล - กระบวนการคิด สังเคราะห์

จิต สร้างสรรค์

  -

 - ความสามารถในการ สร้างสรรค์ผลงาน - กระบวนการคิด สร้างสรรค์


____________________________CES Journal 47 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

จิต 5 ลักษณะ จิต

การปฏิบัติ การคิด ความรู้ สึก พฤติกรรม

องค์ ประกอบ

ผลทีเ่ กิดขึน้

    - สามารถอยู่ร่วมกับ ผูอ้ ื่ น

เคารพ จิตจริ ยธรรม   -

ได้อย่างมีความสุ ข  - การเป็ นเป็ นพลเมืองดี

จากตารางที่ 1 พบว่า ผูท้ ี่ มีจิตวิทยาการประกอบด้วยการปฏิ บตั ิ การคิ ดและพฤติกรรม จะมี ผลที่ เกิดขึ้น คือ ความรอบรู ้ และวิธีการแสวงหาความรู้ ผูท้ ี่มีจิตสังเคราะห์ประกอบด้วยการปฏิบตั ิ การคิดและ พฤติกรรม จะมีผลที่เกิดขึ้น คือ ความสามารถในการสังเคราะห์ขอ้ มูล และกระบวนการคิดสังเคราะห์ ผูท้ ี่มี จิตสร้างสรรค์ ประกอบด้วย การปฏิ บตั ิ การคิดและพฤติกรรม จะมีผลที่เกิ ดขึ้น คือ ความสามารถในการ สร้างสรรค์ผลงานและกระบวนการคิดสร้างสรรค์ ผูท้ ี่มีจิตเคารพประกอบด้วย การปฏิบตั ิ การคิดความรู้สึก และพฤติก รรม จะมี ผลที่ เกิ ดขึ้ น คื อ สามารถอยู่ร่วมกับผูอ้ ื่ นได้อย่างมี ความสุ ข และผูท้ ี่ มีจิตจริ ยธรรม ประกอบด้วยการปฏิบตั ิ การคิดและพฤติกรรม จะมีผลที่เกิดขึ้น คือ การเป็ นเป็ นพลเมืองที่ดี จิตสั งเคราะห์ จากคากล่าวของ Murray Gell man (Gardner, 2008: 46) นักฟิ สิ กส์ชาวสหรัฐอเมริ กาที่ได้รับรางวัล โนเบล กล่าวว่า ในศตวรรษที่ 21 จิตที่สาคัญที่สุด คือ จิตสังเคราะห์ (Synthesizing Mind) เนื่องจากข้อมูล ข่าวสารหลัง่ ไหลมาอย่างรวดเร็ วโดยปราศจากข้อจากัดของระยะทาง สถานที่ และเวลา การมีจิตสังเคราะห์ จะทาให้มนุ ษย์ไม่เสี ยเวลาในการกลัน่ กรองข้อมูลจานวนมาก และเลื อกรับข้อมูลที่จะนาไปใช้ประโยชน์ และหลีกเลี่ยงข้อมูลที่ก่อให้เกิดโทษได้ อย่างไรก็ตามผูเ้ ขียนเห็นว่าในปั จจุบนั ผูเ้ รี ยนในทุกระดับการศึกษา และประชาชนของไทยยังมีจิตสังเคราะห์ค่อนข้างน้อย ซึ่ งเป็ นเหตุให้คุณภาพการศึกษาของไทยตกต่าลง การ์เนอร์ (Gardner, 2008: 47-50) ได้แบ่งประเภทของการสังเคราะห์ที่สาคัญไว้ดงั นี้


____________________________CES Journal 48 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

1. การเล่าเรื่ องหรื อการบรรยาย (Narrative) เป็ นผลงานที่ผสู ้ ังเคราะห์นาข้อมูลมาเชื่ อมโยงกันเป็ น เรื่ องราวซึ่ งมีต้ งั แต่ คัมภีร์ไบเบิล ประวัติศาสตร์ ร่วมสมัย หรื อตาราทางสังคมศาสตร์ รวมถึงนวนิยายต่างๆ 2. การจัดแบ่งหมวดหมู่ (Taxonomies) เป็ นผลงานของผูส้ ังเคราะห์ที่คิดระบบการจัดหมวดหมู่ของ สิ่ งต่างๆ เช่น ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสื อด้วยระบบทศนิ ยมของดิวอี (Dewey) ระบบการจาแนกประเภท ของพื ช และสั ต ว์ข องลิ น เนี ย น (Linnaean) การจัด ประเภทของธาตุ เ ป็ นตารางธาตของเมนเดเลอี ฟ (Mendeleyev) 3. มโนทัศน์ที่ซบั ซ้อน (Complex concepts) เป็ นผลงานของผูส้ ังเคราะห์ที่กาหนดความคิดรวบยอด ใหม่ที่เชื่ อมโยงหรื อหลอมรวมปรากฏการณ์ ต่างๆ เช่น ชาร์ ลส์ ดาร์ วิน ได้เสนอความคิดรวบยอดเรื่ อง การ คัดเลื อกตามธรรมชาติ (Natural selection) ซิ กมันด์ ฟรอยด์ เสนอความคิ ดรวบยอดเรื่ องจิตใต้ส านึ ก (Unconscious) 4. หลักปฏิบตั ิและคาพังเพย (Rules and arphorism) เป็ นผลงานที่ผสู้ ังเคราะห์นาเสนอข้อความที่ เป็ นวลีส้ ันๆ ที่มีความหมายลึ กซึ้ งและจดจาได้ง่ายในรู ปของ คาพังเพย คติพจน์ สุ ภาษิต วิสัยทัศน์ พันธกิ จ เช่น คิดก่อน ทาทีหลัง (Think first,act second) ความก้าวหน้าเป็ นผลผลิตที่สาคัญที่สุดของเรา (Progress is our most important product ; พันธกิจของบริ ษทั GE) 5.คาอุปมา ภาพ และประเด็นที่มีพลัง (Powerful metaphors, images, and themes) เป็ นผลงานที่ผู้ สังเคราะห์นาเสนอในรู ปของคาอุปมา ภาพ และ ประเด็นที่มีอิทธิ พลต่อความเข้าใจต่อเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ งให้ เข้าใจง่ า ยขึ้ น เช่ น ดาร์ วิน อธิ บายการวิวฒั นาการเหมื อนการแตกกิ่ งของต้นไม้ และการเกิ ดสปี ชี ส์ใ หม่ เหมือนบัญชี ธนาคารที่ยงุ่ เหยิง (Evolution as a branching tree and speciation as a tangled bank) นอกจากนี้ ยี่ห้อของบริ ษทั ต่างๆ (brands) ที่เสนอในรู ปของข้อความ รู ปภาพ และเสี ยงต่างก็จดั เป็ นผลงานประเภทนี้ เช่นกัน 6. การแสดงออกเป็ นรู ปธรรมโดยไม่ตอ้ งใช้คาอธิ บาย (Embodiments without words) เป็ นผลงานที่ ผูส้ ังเคราะห์นาเสนอจากเรื่ องราวทางวิชาการหรื อชี วิตประจาวันในรู ปผลงานศิลปะ เช่ น ภาพวาดที่โด่งดัง ของปิ คัสโซชื่อ Guernica ซึ่งแสดงถึงความรุ นแรงของสงครามกลางเมืองของสเปน 7. ทฤษฎี (Theories) เป็ นผลงานที่ผสู ้ ังเคราะห์นาความคิดรวบยอดที่เกี่ยวข้องกันมาผสมผสานเป็ น ทฤษฎี เช่ น ทฤษฎี วิวฒั นาการ ของดาร์ วินได้รวมความคิ ดรวบยอดเกี่ ยวกับการแปรผัน (variation) การ แข่งขัน (competition) การคัดเลือกตามธรรมชาติ (natural selection) การอยูร่ อ (survival) และ การสื บพันธุ์ (reproduction) ทฤษฎี เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ การตลาดของอดัม สมิท เกิดจากการรวมกันของแนวคิดเกี่ ยวกับอุปสงค์และ อุปทานแรงงาน การผลิต กาไรและขาดทุน เป็ นต้น 8. อภิทฤษฎี (Meta-theory) เป็ นผลงานที่ผสู ้ ังเคราะห์รวบรวมกรอบความคิดทั้งหมดซึ่ งเป็ นความรู ้ ที่เกี่ยวข้องจากทฤษฎีต่างๆมาสร้างเป็ นทฤษฎีใหญ่และอธิ บายได้กว้างขวางขึ้น (Theory of Theories)


____________________________CES Journal 49 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

สาหรับองค์ประกอบของการสังเคราะห์ มีดงั นี้ (Gardner, 2008: 51-52) 1. เป้ าหมาย (Goal) เป็ นข้อความหรื อมโนทัศน์ของสิ่ งที่ผสู ้ ังเคราะห์จะต้องพยายามทาให้สาเร็ จ 2. จุดเริ่ มต้น (Starting point) เป็ นแนวคิด ภาพ หรื องานที่เคยทามาก่อนหน้านี้ ที่สามารถนามาใช้ใน การสังเคราะห์ได้ 3. การเลือกกลยุทธ์ วิธีการ และแนวทาง (Selection of strategy, method, and approach) เป็ น ขั้นตอนที่นกั สังเคราะห์ลงมือปฏิบตั ิโดยต้องเลือกรู ปแบบของผลงานที่จะสังเคราะห์ ซึ่ งอาจจะเลือกจาก 1 ใน 8 ประเภทของการสังเคราะห์ที่ได้กล่าวไว้ขา้ งต้น จากนั้นจึงนาไปสู่ การเลือกเครื่ องมือที่ชานาญ และ ดาเนินการต่อโดยมุ่งไปสู่ เป้ าหมายที่ต้ งั ไว้ 4. ร่ างผลการสังเคราะห์ และข้อมูลย้อนกลับ (Drafts and feedback) หลังจากกาหนดองค์ประกอบ ทั้ง 3 อย่างข้างต้นแล้วต่อมานักสัง เคราะห์ จะต้องทาบทสัง เคราะห์ ฉบับร่ าง ซึ่ งเป็ นการสังเคราะห์ เพียงชัว่ คราว ถึงแม้ฉบับร่ างนี้จะเป็ นการสังเคราะห์แบบหยาบๆ แต่ก็ยงั คงมีจุดที่สาคัญที่จะไปปรากฏอยูใ่ น ร่ างสุ ดท้ายของการสังเคราะห์ฉบับสมบูรณ์ ทั้งนี้ การจะได้การสังเคราะห์ที่สมบูรณ์จาเป็ นต้องได้รับข้อมูล ย้อนกลับเพื่อนาไปปรับปรุ งการสังเคราะห์ให้ดียงิ่ ขึ้น นอกจากนี้ การ์ ดเนอร์ (Gardner, 2008: 53-54) ยังได้กล่าวไว้ว่า การสังเคราะห์ประกอบด้วยการ ปฏิ บตั ิสองส่ วน ส่ วนแรกจะเป็ นการค้นคว้ารวบรวมข้อมูลที่ เกี่ ยวข้องกับเรื่ องที่จะคิด ซึ่ งมีอยู่จานวน มากมายและกระจัดกระจายอยูต่ ามที่ต่างๆ โดยผูส้ ังเคราะห์จะต้องคัดเลือก และตัดสิ นใจว่าข้อมูลไหนที่ เกี่ยวข้อง ข้อมูลไหนมีความสาคัญ และควรให้ความสนใจ เมื่อได้ขอ้ มูลเหล่านั้นแล้วก็จะเป็ นส่ วนที่สอง คือ การดึงแนวคิดจากส่ วนประกอบเหล่านั้น คัดเฉพาะส่ วนที่เกี่ยวโยงกับเรื่ องที่คิด และไม่เพียงการดึงแนวคิด จากแหล่งต่างๆ มากองรวมกันเท่านั้น แต่ยงั ต้องนาเอาแนวคิดเหล่านั้นมาหลอมรวมหรื อเรี ยบเรี ยงความคิด ให้อยูภ่ ายใต้ตวั แบบโครงร่ างเดียวกัน ซึ่ งได้กาหนดขึ้นเพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์ที่ตอ้ งการ ซึ่ งสามารถ สรุ ปขั้นการสังเคราะห์ ดังนี้ ขั้นที่ 1 กาหนดเป้ าหมายของการสังเคราะห์ ขั้นที่ 2 ค้นคว้า และรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง นามาคัดเลือก และจัดประเภทเพื่อนาไปใช้ในการ สังเคราะห์


____________________________CES Journal 50 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

ขั้นที่ 3 เลือกกลยุทธ์ วิธีการ หรื อแนวทางที่จะนามาใช้ในการสังเคราะห์ ซึ่ งอาจจะเลือกจาก 1 ใน 8 ประเภทของการสังเคราะห์ ขั้นที่ 4 ลงมื อสังเคราะห์ เพื่อให้ได้เป็ นฉบับร่ างของการสังเคราะห์ ซึ่ งเป็ นการสังเคราะห์ เพียงชัว่ คราว จากนั้น นาไปให้ผเู้ ชี่ ยวชาญหรื อผูร้ ู้ตรวจสอบเพื่อจะได้รับข้อมูล ย้อนกลับที่สามารถนาไป ปรับปรุ งการสังเคราะห์ให้ดีข้ ึน ดังนั้น การเสริ มสร้ างจิตสังเคราะห์ควรฝึ กให้ผเู้ รี ยนได้คดั สรรสารสนเทศที่สาคัญจากข้อมูลที่ หลากหลาย แล้วนามาทาความเข้าใจโดยการวิเคราะห์แล้วเรี ยบเรี ยงเป็ นข้อสรุ ปที่มีความหมายต่อตนเอง และผูอ้ ื่น

แนวทางส่ งเสริมจิตสั งเคราะห์ การสังเคราะห์เป็ นความสามารถทางปั ญญาในการกลัน่ กรองและการบูรณาข้อมูลทาให้เกิ ดความเข้าใจ มากขึ้ นจนสามารถอธิ บายต่อให้ผูอ้ ื่นเข้าใจได้ จึ งควรปลู กฝั งตั้งแต่วยั เด็กโดยแนวทางในการส่ งเสริ มจิ ต สังเคราะห์สรุ ปได้ดงั นี้ (สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน. 2551 : 38- 39) 1. เปิ ดประสบการณ์ โดยให้ผเู ้ รี ยนมีโอกาสรับข้อมูลแบบใหม่นอกเหนือที่ตนเองสนใจ อันเป็ นการ สั่งสมข้อมูลความรู ้อยู่เสมอเพื่อให้มีขอ้ มูลในการคิดมากเพียงพอที่ใช้สังเคราะห์สิ่งต่างๆ และอาจนาไปสู่ การตัดสิ นใจที่อยูบ่ นพื้นฐานการใช้เหตุผลมากกกว่าการใช้อารมณ์เป็ นที่ต้ งั 2. หาความสั ม พันธ์ ข องสิ่ ง ต่ า งโดยฝึ กมองทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่า งให้เชื่ อมโยงกันและพยายามหา ความสัมพันธ์ของสิ่ งต่างๆรอบตัวอย่างมีเหตุผล 3. ฝึ กวิเคราะห์ประเด็นให้ชัดเจนในเรื่ องที่ ศึกษาโดยฝึ กทาความเข้าใจในแนวคิดและแยกแยะ ประเด็นหลักออกจากประเด็นรอง ฝึ กจับประเด็นจากเรื่ องที่ ได้อ่านทั้งจากหนังสื อ หนังสื อพิมพ์หรื อสิ่ ง ต่างๆที่ได้ดูได้ฟังมา นอกจากนี้จะต้องฝึ กการวางแผนการคิดสังเคราะห์อย่างเป็ นระบบ เช่น การเตรี ยมการ จัดกระทาข้อมูล การใช้วิธีการและเครื่ องมือ การวัดและประเมินผล การตัดสิ นใจ การสรุ ป โดยอาจใช้ วิธีการทาแผนผังมโนทัศน์(Concept Map หรื อแผนที่ความคิด(Mind Map) 4. ฝึ กการแยกแยะข้อเท็จจริ งออกจากความคิดเห็น เพื่อให้ขอ้ มูลที่สังเคราะห์ได้น้ นั มีความเป็ น กลางมากที่สุด เพราะในบางครั้งข้อมูลที่เราได้รับมานั้นอาจถูกบิดเบือนด้วยความคิดเห็นส่ วนตัว ดังนั้นการ ที่เรารับข้อมูลมาและเชื่อในสิ่ งที่รับมาทั้งหมด อาจทาให้เกิดความเสี ยหายในภายหลังได้


____________________________CES Journal 51 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

ประโยชน์ ของจิตสั งเคราะห์ จิตสังเคราะห์ช่วยให้สามารถทาความเข้าใจกับข้อมูลจานวนมากได้อย่างรวดเร็ ว ถูกต้องไม่หลงทาง ซึ่ ง จะท าให้ไ ด้ข ้อมู ล ในการน ามาสร้ า งสรรค์แนวคิ ด หรื อ ผลิ ต ภัณฑ์ ใ หม่ ที่ เรี ย กว่า นวัต กรรม ส าหรั บ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นโดยไม่ตอ้ งเริ่ มจากศูนย์ หรื อลองผิดลองถูกตั้งแต่ช่วงเริ่ มต้น ซึ่ งเกิดจากการนาความรู ้ที่มี อยูม่ าพลิกแพลงให้เกิดประโยชน์ และสามารถพัฒนาจนเกิดประโยชน์ในเชิ งพาณิ ชย์ได้ สาหรับประโยชน์ ของจิตสังเคราะห์สาหรับคนในวัยเรี ยนและวัยทางาน มีดงั นี้ วัยเรี ยน : จิตสังเคราะห์ช่วยให้นกั เรี ยนสามารถจับประเด็นในเนื้ อหาวิชาได้โดยแยกส่ วนที่เป็ นแก่น (Core) ออกจากรายละเอี ย ด (Details) ได้ ท าให้ไ ม่ ต้องท่ องจาเนื้ อหาวิชาที่ ม ากมาย และสามารถเข้า ใจ แนวคิด หรื อประเด็นสาคัญๆในเรื่ องนั้นๆได้เป็ นอย่างดี ถือเป็ นความสามารถที่สาคัญในการพัฒนาจิตวิทยา การ และจิตสร้างสรรค์ ต่อไป วัยทางาน : จิตสังเคราะห์ช่วยในการเรี ยนรู ้ความรู ้และทักษะใหม่ๆ ที่สาคัญ โดยจะนามาหลอมรวม กับงานในอาชี พเดิ มที่มีอยูท่ าให้เกิดแนวคิดใหม่ ต่อยอดทางความรู ้ นอกจากนี้ ยงั ทาให้สามารถกลัน่ กรอง ข้อมูลที่มีอยูม่ หาศาล และไม่หลงเชื่อเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งง่ายๆ การประยุกต์ จิตสั งเคราะห์ ส่ ู การเรียนการสอน ผูเ้ ขี ย นได้พ ฒ ั นารู ป แบบการเรี ย นการสอนที่ เ สริ ม สร้ า งจิ ต 5 ลัก ษณะส าหรั บ อนาคต ส าหรั บ นักศึกษาปริ ญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม (2557) โดยออกแบบกิ จกรรมที่ เสริ มสร้างจิตสังเคราะห์ เน้นฝึ กการคัดสรรสารสนเทศที่สาคัญจากข้อมูล ที่หลากหลาย แล้วนามาทาความ เข้า ใจโดยการวิเคราะห์ แล้ว เรี ย บเรี ย งเป็ นข้อสรุ ป ที่ มี ค วามหมายต่ อตนเองและผูอ้ ื่ น ผลการวิ จยั พบว่า นักศึกษาที่เรี ยนด้วยรู ปแบบการเรี ยนการสอนนี้ มีจิตสังเคราะห์สูงกว่ากลุ่มที่เรี ยนแบบปกติอย่างมีนยั สาคัญ ที่ระดับ .05 สรุ ป จิตสังเคราะห์ (Synthesizing Mind) นับเป็ นความสามารถที่สาคัญมากในศตวรรษที่ 21 เนื่องจาก เป็ นยุคที่ขอ้ มูลข่าวสารหลัง่ ไหลมาอย่างรวดเร็ วโดยปราศจากข้อจากัดของระยะทาง สถานที่ และเวลา การมี จิตสังเคราะห์ จะทาให้มนุ ษย์สามารถกลัน่ กรองข้อมูลจานวนมาก และเลื อกนาข้อมูลที่เป็ นประโยชน์มา เชื่ อมโยงและสร้ างความหมายต่อตนเอง และผูอ้ ื่น อีกทั้งยังเป็ นความสามารถที่ส่งผลต่อการพัฒนาตนเอง


____________________________CES Journal 52 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

ไปสู่ การเป็ นผูม้ ีจิตวิทยาการ และจิตสร้างสรรค์ดงั นั้นผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน และระดับอุดมศึกษาของประเทศไทยควรให้ความสาคัญในการเสริ มสร้างจิตสังเคราะห์ ซึ่ งเป็ น ความสามารถที่สาคัญของคนเก่งที่สังคมต้องการในศตวรรษที่ 21


____________________________CES Journal 53 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

เอกสารอ้างอิง ไสว ฟั กขาว. (2556). แนวทางการพัฒนาการศึกษาของประเทศไทยในศตวรรษที่ 21. วารสารบัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.8(2) :1-6. . (2557). การพัฒนารู ปแบบการเรี ยนการสอนที่เสริ มสร้ างจิต 5 ลักษณะสาหรับอนาคต สาหรั บ นักศึกษาปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. กรุ งเทพฯ : มหาวิทยาลัย ราชภัฏจันทรเกษม. ส านัก งานคณะกรรมการข้า ราชการพลเรื อน (2551). จิ ต แห่ งการสั งเคราะห์ . กรุ งเทพฯ:โกลบอล อินเตอร์ คอมมิวนิ เคชัน จากัด. สานักงานเลขาธิ การสภาการศึกษา. (2557). บทวิเคราะห์การศึกษาไทยในโลกศตวรรษที่ 21. วารสารวิจัย การศึกษา สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. 2(4) : 1. . (2557). สภาวการณ์การศึกษาไทยในเวทีโลก ปี 2557. กรุ งเทพฯ : สกศ. Gardner, Howard. (2008). 5 Minds for the Future. Boston, Massachusetts: Havard Business Press.


____________________________CES Journal 54 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1


____________________________CES Journal 55 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

การติ ดตาม สนับสนุน และประเมิ นผลโครงการ : กรณี ศึกษาการติ ดตาม สนับสนุนและประเมิ นผลโครงการส่งเสริ มคุณภาพ การเรียนรู้เด็กด้อยโอกาสโดยครูสอนดี

ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. พิ ณสุดา สิ ริธรังศรี*

*ผูอ้ านวยการศูนย์วจิ ยั และฝึ กอบรมทางการศึกษา และอาจารย์ประจาหลักสูตรมหาบัณฑิตและดุษฏีบณ ั ฑิต สาขาการจัดการการศึกษา วิทยาลัยครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์


____________________________CES Journal 56 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

บทคัดย่อ การติดตาม สนับสนุนและประเมินผลโครงการติดตาม สนับสนุ นและประเมินผลโครงการส่ งเสริ ม คุณภาพการเรี ยนรู้เด็กด้อยโอกาสโดยทุนครู สอนดี เป็ นกรณี ศึกษาที่สานักงานส่ งเสริ มสังคมแห่ งการเรี ยนรู ้ และคุณภาพเด็กและเยาวชน (สสค) ให้ทุนครู ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็ นครู สอนดี จานวน 529 คน เพื่อพัฒนา ด้านการจัดการเรี ยนการสอน ด้านทักษะชี วิต และด้านทักษะอาชี พ โดยกาหนดให้มีการติดตาม สนับสนุ น และประเมินผลโครงการ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2555 – พฤษภาคม 2557 วิธีการติดตามฯ ทั้งที่เป็ นทางการและ ไม่เป็ นทางการ เครื่ องมือที่ใช้ในการติดตามฯ ได้แก่ แบบติดตามและประเมินผลแบบมาตรประมาณค่า การ สัมภาษณ์ การสังเกต การนิ เทศ สนทนากลุ่ม และการจัดสัมมนาแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู ้ ผลการติดตามฯ พบว่า ครู สอนดีทุกคนคิดเป็ นร้อยละ 100 มีการพัฒนาการจัดการเรี ยนการสอน ทักษะชีวิต และทักษะอาชีพของ ผูเ้ รี ยนเป็ นไปตามเป้ าหมายของโครงการที่กาหนดไว้

คาสาคัญ: การติดตาม การประเมินผล การสนับสนุน


____________________________CES Journal 57 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

Abstract

The Follow-up, Support and Evaluation of the Project of Learning Quality Promotion for Disadvantaged Children by the Good Teacher Fund of the Office of Quality Learning Foundation. In this project, the 529 selected good-teaching teachers from different areas of the country have been given fund for working on quality learning-teaching management, live and career skills development for disadvantaged children. Each teacher who work activities were follow-up along the way by the evaluation team during October 2012 and May 2014, with formal and non-formal activities. Evaluation form questionnaires, interviewing, observations, focus - group discussions, and knowledge management seminars were applied as instrument for the process. Evaluation results revealed that all 529 goodteaching teachers, 100 %, have developed their learning-teaching management, have successfully developed live and career skills for their children in accordance with the projects aim.

Keywords: Follow-up, Support, Evaluation


____________________________CES Journal 58 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

ความนา การติดตาม (follow - up) เป็ นภารกิจและขั้นตอนหนึ่ งของการบริ หารจัดการเพื่อให้ทราบว่าการ บริ หารจัดการ และหรื อการมอบหมายงานใดๆให้ผปู ้ ฏิบตั ิ บรรลุผลสาเร็ จหรื อไม่อย่างไร มีปัญหามากน้อย เพียงใด เพื่อหาทางแก้ปัญหาและพัฒนางานได้ทนั ท่วงที ส่ วนใหญ่จะเป็ นการติดตามระหว่างการดาเนิ นงาน ที่ ย งั ไม่ สิ้ น สุ ด ทั้ง ที่ เ ป็ นการด าเนิ น งานระยะสั้ นและระยะยาว เช่ น การติ ด ตามการใช้ จ่ า ยเงิ น และ งบประมาณโครงการ การติ ดตามการดาเนิ นโครงการตามนโยบายและหรื อภารกิ จของหน่ วยงาน การ ติดตามการทางานของครู และบุคลากรตามบทบาทหน้าที่ที่กาหนด การติดตามผลการใช้หลักสู ตร ฯลฯ การประเมิน (Evaluation) ถือเป็ นขั้นตอนหนึ่ งของการบริ หารจัดการเช่นเดียวกัน ซึ่ งบางครั้งก็ใช้ ควบคู่กนั กับการติดตาม หมายถึ ง กระบวนการตัดสิ นคุ ณค่าหรื อผลที่เกิ ดขึ้นจากการดาเนิ นงาน หรื อการ เปรี ยบเทียบการปฏิบตั ิจากเกณฑ์ ตัวชี้ วดั หรื อเป้ าหมายที่กาหนดไว้ ว่าบรรลุผลมากน้อย หรื อไม่อย่างไร ที่ ครอบคลุ มถึ งปั จจัย กระบวนการ ผลผลิ ต ผลลัพธ์ และผลกระทบ หรื อประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลที่ เกิ ดขึ้น ที่มีเทคนิ คและวิธีการประเมินที่แตกต่างกันตามแต่จุดมุ่งหมายของการประเมินในเรื่ องนั้นๆ ทั้งที่ เป็ นการประเมิ นก่ อนการดาเนิ นงาน ระหว่างการดาเนิ นงาน และหลังการดาเนิ นงาน หรื อการประเมิ น ความก้าวหน้า (formative evaluation) และการประเมินผลภาพรวม (summative evaluation) ที่ดาเนิ นการทั้ง โดยบุคคลภายในหรื อภายนอก ที่เรี ยกว่า การประเมินภายใน และการประเมินภายนอก ในอดีต วงการศึกษามักจะคุ น้ ชิ น กับคาว่า “การติดตามและประเมินผล” ตามประเด็นข้างต้น แต่ การติดตามและประเมินผลดังกล่าวนั้น ผูป้ ฏิ บตั ิมองว่า เป็ นเรื่ องของการใช้อานาจและการให้คุณให้โทษ จนกลายเป็ นพฤติก รรมกลัวการติ ดตามและประเมิ นหรื อผูท้ าหน้าที่ ติดตามและประเมิน จนเมื่อ มี ก าร ปรับเปลี่ยนโครงสร้างการบริ หารจัดการตามพระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการกระทรวงศึกษาธิ การ พ.ศ.๒๕๔๖ เมื่อมีการปฏิ รูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ ที่กาหนดให้มี การบูรณาการเรื่ องของการนิ เทศซึ่ งเป็ นเรื่ องของการสนับสนุ นส่ งเสริ ม ชี้ แนะและช่ วยเหลื อ ควบคู่กนั กับ การติดตามและประเมินผล โดยเฉพาะ การกาหนดให้มีคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และ นิเทศการศึกษา ในเขตพื้นที่การศึกษา เป็ นครั้งแรกชัดเจน สาหรับการติดตาม สนับสนุนและประเมินผลโครงการ เป็ นกระบวนการทางานให้ได้มาซึ่ งข้อมูล เพื่อการสนับสนุนและพัฒนาการทางานโครงการซึ่ งเป็ นกิจกรรมในรู ปแบบใหม่ของสานักงานกองทุนสร้าง เสริ มสุ ขภาพ (สสส.)และสานักงานส่ งเสริ มสังคมแห่ งการเรี ยนรู ้และคุณภาพเด็กและเยาวชน (สสค.) ที่ให้ ความสาคัญกับการติดตามและประเมินผลควบคู่กบั การช่วยเหลือแนะนาการดาเนิ นโครงการที่ได้สนับสนุ น องค์กร หน่วยงาน หรื อคณะบุคคล ให้ดาเนินกิจกรรมการพัฒนาสุ ขภาวะ หรื อการสร้างสังคมแห่ งการเรี ยนรู ้ ตามบทบาทภารกิ จ ของหน่ ว ยงาน ให้ ส ามารถด าเนิ น การบรรลุ ว ตั ถุ ป ระสงค์ข องโครงการได้อ ย่า งมี ประสิ ทธิ ภาพ ที่ นับ ว่า ก่ อให้เกิ ดคุ ณูปการทางการบริ หารจัดการในรู ปแบบใหม่ ที่ เกิ ดความใกล้ชิดกัน


____________________________CES Journal 59 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

ระหว่างผูต้ ิดตามและประเมิน กับผูป้ ฏิบตั ิ/ผูถ้ ูกติดตามและประเมินจนเกิดคาว่า การติดตามและประเมินเชิ ง กัลยาณมิตร ขึ้น โดยเฉพาะการให้ผทู ้ รงคุณวุฒิหรื อบุคคลภายนอกเป็ นผูด้ าเนิ นการติดตาม สนับสนุ นและ ประเมินโครงการ ซึ่ งเป็ นผูม้ ีความรู ้ ความสามารถและประสบการณ์ รวมทั้งไม่มีส่วนได้ส่วนเสี ยใดๆกับ โครงการที่ผถู้ ูกติดตามฯ ดาเนินการ กรณีศึกษา : การติดตาม สนับสนุนและประเมินผลโครงการส่ งเสริมคุณภาพการเรี ยนรู้ เด็กด้ อยโอกาส บทความนี้ เป็ นการนาเสนอกรณี ตวั อย่า งของการติ ดตาม สนับ สนุ นและประเมิ นผลโครงการ ส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพการเรี ย นรู ้ เ ด็ ก ด้อ ยโอกาสโดยครู ส อนดี (โครงการทุ น ครู ส อนดี ) ซึ่ งเป็ นโครงการที่ สานักงานส่ งเสริ มสังคมแห่งการเรี ยนรู ้และคุณภาพเยาวชน (สสค) สนับสนุ นทุนให้แก่ครู ที่ สสค.ยกย่องว่า เป็ นครู สอนดี จานวน 529 คน จากทุกจังหวัดทัว่ ประเทศ ดาเนิ นโครงการใน 3 ประเด็นหลักคือ 1) ด้านการ จัดการเรี ยนการสอน 2) ด้านทักษะชีวิต และ 3) ด้านทักษะอาชีพ เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2555 – พฤษภาคม 2557 โดยยึดหลักการติดตาม สนับสนุ นและประเมินผล เชิ งบูรณาการแบบกัลยาณมิตร ที่เน้นวัตถุประสงค์ และเป้ าหมายความสาเร็ จของโครงการทั้งด้านผลผลิตและผลลัพธ์ เป็ นสาคัญ ซึ่ งมี อาจารย์นคร ตังคะพิภพ และคณะ เป็ นผูต้ ิดตาม ผูเ้ ขีย น (พิ ณสุ ดา สิ ริธรั งศรี ) เป็ นรองหัวหน้าคณะติดตามฯและรั บผิดชอบการ ติดตามภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ด้วย โดยมีวตั ถุประสงค์ของการติดตามฯ ดังนี้คือ 1) เพื่ อสนับ สนุ นให้ค รู ผูร้ ั บ ทุ นครู ส อนดี สามารถดาเนิ นงานได้เป็ นไปตามวัตถุ ป ระสงค์ เกิ ด ผลผลิต ผลลัพธ์ เป็ นไปตามเป้ าหมายที่กาหนดไว้รายโครงการ และสอดคล้องกับเป้ าหมายชุ ดโครงการและ หลักคิดเรื่ อง “ครู สอนดี” (สอนเป็ น เห็นผล คนยกย่อง) 2) เพื่อบริ หารจัดการความเสี่ ยง ของการสนับสนุนทุนโครงการให้สามารถป้ องกันและแก้ไขปั ญหา ได้อย่างทันท่วงที โดยเฉพาะความเสี่ ยงที่ โครงการอาจไม่ป ระสบความสาเร็ จ ความล่ าช้าในการดาเนิ น โครงการ การใช้จ่ายที่ผดิ วัตถุประสงค์ ความสิ้ นเปลืองหรื อไม่คุม้ ค่า 3) เพื่อให้มีเวที พฒั นาสมรรถนะแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู ้ ร่วมกันของเครื อข่ายครู สอนดี บุ คลากรหรื อ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4) เพื่อค้นหาและรวบรวมโครงการตัวอย่างผลผลิ ตและผลลัพธ์ที่มีคุณค่า เพื่อสื่ อสารเผยแพร่ เพื่อ ประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพการเรี ยนรู ้ของเด็กด้อยโอกาสในวงกว้างได้ 5) เพื่อพัฒนารู ปแบบการติดตามโครงการที่เน้นผลลัพธ์ (คุณภาพการเรี ยนรู้ของเด็กด้อยโอกาส) การสร้างการมีส่วนร่ วม การสร้างความภาคภูมิใจและความพึงพอใจของครู สอนดีและผูเ้ กี่ยวข้อง รวมถึงการ ส่ งเสริ มให้การดาเนินโครงการทุนครู สอนดี เกิดประโยชน์และความยัง่ ยืน


____________________________CES Journal 60 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

กรอบแนวคิดการติดตาม สนับสนุนและประเมินผลโครงการ ในการติดตาม สนับสนุนและประเมินผลโครงการ มีแนวคิดของการบูรการการระหว่างการติดตาม ประเมิ นผลควบคู่กบั การสนับสนุ นส่ งเสริ มการดาเนิ นงานให้บรรลุ ผลสาเร็ จ โดยมีสาระของการติดตาม สนับสนุนและการประเมินผลตามวัตถุประสงค์ เป้ าหมายผลผลิตและผลลัพธ์ ความเสี่ ยง ปั จจัยความสาเร็ จ จุดเด่น กลยุทธ์ ปั ญหารและอุปสรรคของโครงการ ตลอดจนข้อเสนอแนะการดาเนิ นโครงการต่อไป ที่ ครอบคลุมทั้งระดับนโยบาย ระดับปฏิบตั ิ ดังแผนภาพ ต่อไปนี้

แผนภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการติดตาม สนับสนุนและประเมินผลโครงการ

ขอบเขตการติดตาม สนับสนุนและประเมินผล แบ่งพื้นที่การติดตามออกเป็ น 5 ภาค ได้แก่ ภาคกลาง ภาคใต้ ภาคเหนื อ ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ ตอนบน (อีสานบน) และภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อตอนล่าง (อีสานล่าง)และตะวันออก ภาคๆละ 4 พื้นที่ (Node) รวม 20 พื้นที่ 77 จังหวัด/กรุ งเทพมหานคร ผูท้ รงคุณวุฒิติดตามฯ จานวน 46 คน โดยมีสาระตาม กรอบแนวคิ ดของการติ ดตาม ตามวัตถุ ประสงค์ รวมทั้งเป้ าหมายผลผลิ ตและผลลัพ ธ์ ความเสี่ ยง ปั จจัย ความสาเร็ จ จุดเด่น กลยุทธ์ ตลอดจนปั ญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ


____________________________CES Journal 61 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

วิธีการติดตาม สนับสนุนและประเมินผล การติดตาม ใช้วิธีการติดตามภาคสนาม ทั้งที่เป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ ประชากร ได้แก่ ครู ผูร้ ับทุนโครงการทุนครู สอนดี จานวน 529 คน เครื่ องมือที่ใช้ในการติ ดตาม ได้แก่ ผูต้ ิ ดตาม (จานวน 46 คน) แบบติดตามที่สร้ างขึ้นตามกรอบแนวคิดการติดตาม แบบวิเคราะห์ขอ้ มูล และการใช้เทคโนโลยีและ การสื่ อสาร เช่น โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล์ เป็ นต้น การสนับสนุ น ใช้กระบวนการที่หลากหลาย ได้แก่ การจัดทาคู่มือการติดตามฯ การปฐมนิ เทศ การ นิเทศ แนะนา ให้คาปรึ กษา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ การฝึ กอบรมเชิงปฏิบตั ิการตามความต้องการของ ครู การจัดทาจดหมายข่าว การถอดบทเรี ยน และการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ผลการดาเนินงานของครู การประเมินผล ใช้การวิเคราะห์และสังเคราะห์ขอ้ มูลที่ได้จากการติดตามและการสนับสนุนแล้วจึง ตัดสิ นคุณค่าของข้อมูล จากนั้นจึงสรุ ปเป็ นรายงาน ผลการติดตาม สนับสนุนและประเมินผล ผลการติดตาม สนับสนุนและประเมินผล ตามวัตถุประสงค์ ดังนี้ วั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ 1 เพื่ อ สนั บ สนุ น ให้ ค รู ผ้ ู รั บ ทุ น ครู ส อนดี สามารถด าเนิ น งานได้ เ ป็ นไปตาม วั ต ถุ ป ระสงค์ เกิ ด ผลผลิ ต ผลลั พ ธ์ เป็ นไปตามเป้ าหมายที่ ก าหนดไว้ ร ายโครงการ และสอดคล้ อ งกั บ เป้ าหมายชุดโครงการและหลักคิดเรื่ อง “ครูสอนดี” (สอนเป็ น เห็นผล คนยกย่อง) 1. ผลการติดตามกลุ่มเป้ าหมาย พบว่า กลุ่ มเป้ าหมายที่ เป็ นผูด้ อ้ ยโอกาส รวมทั้งสิ้ น 118,452 คน จาแนกเป็ นกลุ่มเป้ าหมายหลัก จานวน 35,526 คน คิดเป็ นร้อยละ 30 และกลุ่มเป้ าหมายรอง จานวน 83,196 คน คิดเป็ นร้อยละ 70 1. ผลการสนับสนุ น พบว่า มีการสนับสนุ นครู สอนดี จานวน 529 คน/โครงการ มีการจัดทาคู่มือ การติ ด ตามส าหรั บ ผู้ท รงคุ ณ วุ ฒิ ติ ด ตามฯ การปฐมนิ เ ทศครู ส อนดี จ านวน 1 ครั้ ง/คน/โครงการ ณ สถานศึกษา/สถานที่ปฏิบตั ิงานของครู รวม 529 คน/โครงการ การนิ เทศภาคสนาม ณ สถานศึกษา/สถานที่ ปฏิบตั ิงาน เป็ นรายงวด จานวน 3 ครั้ง/คน/งวด รวม 1,587 ครั้ง การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ รายพื้นที่ ๆ ละ 1 ครั้ ง รวม 20 ครั้ ง การจัด เวที แ ลกเปลี่ ย นเรี ยนรู ้ ร ะดับ ภาค จ านวน 4 ภาคๆละ 1 ครั้ ง รวม 4 ครั้ ง การฝึ กอบรมเชิงปฏิบตั ิการตามความต้องการของครู 2 ครั้ง เกี่ยวกับ การวิจยั และการสอนด้วยทักษะการคิด การจัดถอดบทเรี ยน จานวน 5 ภาคๆละ 10 โครงการ/คน รวม 50 โครงการ การคัดเลือกโครงการเพื่อจัดทา วีดีทศั น์ จานวน 5 ภาคๆ ละ 9 โครงการ รวม 45 เรื่ อง/โครงการ การจัดทาจดหมายข่าวเผยแพร่ ทางออนไลน์ และเอกสารรายปั กษ์ จานวน 36 ฉบับ การเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ผา่ นสื่ อต่างๆ ได้แก่ สถานี วิทยุ โทรทัศน์ ออนไลน์ เป็ นต้น ส่ งผลให้ครู ได้รับการพัฒนาศักยภาพและประสิ ทธิ ภาพการปฏิบตั ิงานจนบรรลุผลสาเร็ จ ตามเป้ าหมาย ส่ งงานครบตามกาหนด และมีผลผลิตผลลัพธ์ ทั้งด้านหลักสู ตร สื่ อ นวัตกรรม ฯลฯ


____________________________CES Journal 62 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

3. ผลการติดตาม และประเมินผล ด้านผลผลิตและผลลัพธ์ พบว่า 3.1 ด้านผลผลิต 3.1.1 ด้านผลผลิตโครงการ พบว่า เป็ นโครงการด้านการจัดการเรี ยนการสอน จานวน 264 โครงการ คิดเป็ นร้อยละ 49.91 ด้านการพัฒนาทักษะชีวิต จานวน 107 โครงการ คิดเป็ นร้อยละ 20.22 และ การพัฒนาทักษะชี วิต จานวน 158 โครงการ คิดเป็ นร้ อยละ 29.87 กระจายอยู่ในภาคกลาง จานวน 109 โครงการ ภาคใต้ จานวน 87 โครงการ ภาคเหนื อ จานวน 115 โครงการ ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อตอนบน จานวน 109 โครงการ และ ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือตอนล่างและตะวันออก จานวน 109 โครงการ 3.1.2 ผลผลิ ตด้านการจัดการเรี ยนการสอน พบว่า มีผลผลิตด้านหลักสู ตร/แผนการเรี ยนรู้ และแนวทางการประเมินผลฯ จานวน 122 เรื่ อง สื่ อวัสดุ การเรี ยนการสอนตามบริ บทพื้นที่ จานวน 819 เรื่ อง/ชิ้ น แผน/กิ จกรรมเพื่อสร้ างแรงจู ง ใจฯ จานวน 30 เรื่ อง/ชิ้ น ระบบการดู แลและพัฒนาผูเ้ รี ยนเป็ น รายบุคคล จานวน 19 เรื่ อง/ระบบ นวัตกรรมการเรี ยนรู้ที่ตอบสนองความต้องการของผูเ้ รี ยนด้อยโอกาส จานวน 404 เรื่ อง/ชิ้น และนวัตกรรมการเรี ยนรู ้ที่ตอบสนองความต้องการเฉพาะตามบริ บท จานวน 20 เรื่ อง ผลผลิ ตด้านแหล่ งเรี ยนรู ้ ที่ เป็ นห้องเรี ยน จานวน 275 ห้องเรี ย น และศูนย์ฝึกปฏิ บตั ิงาน/ทัก ษะ 66 ศูนย์ ผลผลิ ตด้านบุคคล เป็ นครู ช่วยสอน จานวน 3,472 คน และวิทยากรชานาญเฉพาะทาง จานวน 715 คน เครื อข่ายการเรี ยนรู ้ จานวน 341 เครื อข่าย กลไกการพัฒนาการเรี ยนรู ้ จานวน 112 เรื่ องและผลการวิจยั เชิ ง ปฏิบตั ิการ จานวน 80 เรื่ อง 3.1.3 ผลผลิตด้านการพัฒนาทักษะชี วิต พบว่า มีผลผลิตด้านหลักสู ตร/แผนการเรี ยนรู ้และ แนวทางการประเมิ นผลฯ พบว่า มี ผลผลิ ต จานวน 67 เรื่ อง สื่ อวัสดุ การเรี ยนการสอนตามบริ บทพื้นที่ จานวน 104 เรื่ อง/ชิ้ น แผน/กิ จกรรมเพื่อสร้ างแรงจูงใจฯ จานวน 27 เรื่ อง/ชิ้ น ระบบการดู แลและพัฒนา ผูเ้ รี ยนเป็ นรายบุคคล จานวน 93 เรื่ อง/ระบบ นวัตกรรมการเรี ยนรู้ที่ตอบสนองความต้องการของผูเ้ รี ยนด้อย โอกาส จานวน 19 เรื่ อง/ชิ้น และนวัตกรรมการเรี ยนรู ้ที่ตอบสนองความต้องการเฉพาะตามบริ บท จานวน 20 เรื่ อง ผลผลิตด้านแหล่งเรี ยนรู ้ ที่เป็ นห้องเรี ยน จานวน 24 ห้องเรี ยน และศูนย์ฝึกปฏิบตั ิงาน/ทักษะ82 ศูนย์ ด้านบุคคล ครู ช่วยสอน จานวน 1,077 คน วิทยากรชานาญเฉพาะทาง จานวน ๓๗๒ คน เครื อข่ายการเรี ยนรู ้ จานวน ๑๘๘ เครื อข่าย กลไกการพัฒนาการเรี ยนรู ้ จานวน 81 เรื่ อง และผลการวิจยั เชิ งปฏิบตั ิการ จานวน 23 เรื่ อง 3.1.4 ผลผลิตด้านการพัฒนาทักษะอาชีพ พบว่า มีผลผลิตด้านหลักสู ตร/แผนการเรี ยนรู ้และ แนวทางการประเมินผลฯ จานวน 209 เรื่ อง สื่ อวัสดุการเรี ยนการสอนตามบริ บทพื้นที่ จานวน 366 เรื่ อง/ชิ้น แผน/กิ จกรรมเพื่ อสร้ า งแรงจู งใจฯ จานวน 28 เรื่ อง/ชิ้ น ระบบการดู แลและพัฒนาผูเ้ รี ยนเป็ นรายบุ คคล จานวน ๑๐ เรื่ อง/ระบบ นวัตกรรมการเรี ยนรู้ที่ตอบสนองความต้องการของผูเ้ รี ยนด้อยโอกาส จานวน 105 เรื่ อง/ชิ้น และนวัตกรรมการเรี ยนรู ้ที่ตอบสนองความต้องการเฉพาะตามบริ บทจานวน 10 เรื่ อง ผลผลิตด้าน แหล่ งเรี ยนรู ้ ที่เป็ นห้องเรี ยน จานวน 35 ห้องเรี ยน และศูนย์ฝึกปฏิ บ ัติงาน/ทักษะ 132 ศูนย์ ผลผลิ ตด้าน บุคคล เป็ นครู ช่วยสอน จานวน 1,488 คน และวิทยากรชานาญเฉพาะทาง จานวน 520 คน เครื อข่ายการ


____________________________CES Journal 63 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

เรี ยนรู้ จานวน 283 เครื อข่าย กลไกการพัฒนาการเรี ยนรู ้ จานวน 94 เรื่ อง และผลการวิจยั เชิ งปฏิบตั ิการ จานวน 35 เรื่ อง 3.2 ด้านผลลัพธ์ พบว่า ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีท้ งั ที่เกิดกับผูเ้ รี ยน ครู สถานศึกษา ชุ มชน สังคม และ ระบบการศึกษา กล่าวคือ ด้ านผู้เรี ยน ผูเ้ รี ยนได้รับการปกป้ องดูแลและส่ งเสริ มศักยภาพเกิ ดการพัฒนาและ เปลี่ ยนแปลงพฤติ กรรมที่ดีข้ ึนทั้งด้านการจัดการเรี ยนรู ้ การพัฒนาทักษะชี วิต และการพัฒนาทักษะอาชี พ จนกระทั่ง สามารถช่ ว ยเหลื อ ตนเองได้แ ละมี แ นวโน้ม ไปในทางที่ ดี ข้ ึ น ด้ า นครู ครู ไ ด้รั บ การพัฒ นา กระบวนการทางาน ครู ที่มีผลงานสามารถนาผลงานไปเป็ นผลงานทางวิชาการเพื่อพัฒนาวิชาชี พ และการ ได้รับการยอมรับจากเพื่อนครู ผูป้ กครอง ชุ มชนและสังคมเพิ่มขึ้น ด้ านสถานศึ กษา ได้รับการยอมรับจาก ชุมชนและสังคมมากขึ้น รวมทั้งนาผลงานของครู เป็ นส่ วนหนึ่ งเพื่อรับการประเมินและมีผลการประเมินไป ในทางที่ ดีข้ ึน ด้ านชุ มชน ชุ มชนมี ความเป็ นอยู่ที่ดีข้ ึ นและมีสุขภาวะที่ดีข้ ึ นตามบริ บทของโครงการ ด้าน สังคม ทาให้สังคมหันมาให้ความสาคัญกับเด็กและเยาวชนด้อยโอกาสมากขึ้นทั้งทางตรงและทางอ้อม และ ด้ านระบบการศึ กษา เกิ ดการสนับสนุ นส่ งเสริ มและความร่ วมมื อขององค์กรและหน่ วยงานการศึ กษาต้น สังกัดและภายนอก เกิดการมีส่วนร่ วมและเติมเต็มการจัดการศึกษา วัตถุประสงค์ ที่ 2 เพื่อบริ หารจัดการความเสี่ ยง ของการสนับสนุนทุนโครงการให้ สามารถป้ องกัน และแก้ไขปัญหาได้ อย่างทันท่วงที โดยเฉพาะความเสี่ ยงที่โครงการอาจไม่ ประสบความสาเร็ จ ความล่ าช้ าใน การดาเนินโครงการ การใช้ จ่ายทีผ่ ิดวัตถุประสงค์ ความสิ้ นเปลืองหรื อไม่ ค้ มุ ค่ า พบว่า มีการนิ เทศแนะนาและช่ วยเหลือ จนความเสี่ ยงในการดาเนินโครงการของครู ลดลงจากการ ติดตามงวดที่ 1 บางโครงการมีความเสี่ ยงในระดับมาก จนกระทัง่ ไม่มีความเสี่ ยงในทุกโครงการ ยกเว้น โครงการที่ขอยกเลิกจานวน 6 โครงการ เนื่ องจากการได้รับงบประมาณซ้ าซ้อน ปั ญหาสุ ขภาพและเสี ยชี วิต ของผูร้ ับผิดชอบโครงการที่เป็ นโครงการของครู นอกระบบ วัตถุประสงค์ ที่ 3 เพื่อให้ มีเวทีพัฒนาสมรรถนะแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ ร่วมกันของเครื อข่ ายครู สอนดี บุคลากรหรื อหน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้ อง พบว่า มีการจัดเวทีแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู ้ เป็ นไปตามเป้ าหมายที่กาหนดไว้ ในระดับพื้นที่จานวน 20 ครั้ ง/พื้นที่ และระดับภาค จานวน 4 ครั้ ง/ภาค ผลการแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู ้ ของทั้ง 2 กิ จกรรม ก่อให้เกิ ดการ แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ของครู การเกิดเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ท้ งั ระดับพื้นที่ ระดับภาค และเครื อข่ายตามสาระวิชา มี แนวโน้มการนาความรู ้ไปประยุกต์ใช้และต่อยอด ที่สะท้อนถึงความยัง่ ยืนในการจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ หาก ไม่ได้รับการสนับสนุนเงินเพื่อดาเนินโครงการต่อ


____________________________CES Journal 64 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

วัต ถุ ประสงค์ ที่ 4 เพื่อ ค้ นหาและรวบรวมโครงการตั ว อย่ างผลผลิต และผลลั พ ธ์ ที่มี คุ ณค่ า เพื่อ สื่อสารเผยแพร่ เพือ่ ประโยชน์ ต่อการพัฒนาคุณภาพการเรี ยนรู้ของเด็กด้ อยโอกาสในวงกว้ างได้ พบว่า มีการจัดถอดบทเรี ยนโครงการที่มีผลงานดีเด่น ทั้งด้านการจัดการเรี ยนการสอน การพัฒนา ทักษะชีวิต และการพัฒนาทักษะอาชีพ จานวน 50 โครงการ และจัดทาวีดีทศั น์ โดย สสค. จานวน 45 เรื่ อง เพื่อเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และขยายผล วัตถุประสงค์ ที่ 5 เพื่อพัฒนารู ปแบบการติดตามโครงการที่เน้ นผลลัพธ์ (คุณภาพการเรี ยนรู้ ของ เด็กด้ อยโอกาส) การสร้ างการมีส่วนร่ วม การสร้ างความภาคภู มิใจและความพึงพอใจของครู สอนดีและ ผู้เกีย่ วข้ อง รวมถึงการส่ งเสริ มให้ การดาเนินโครงการทุนครูสอนดี เกิดประโยชน์ และความยัง่ ยืน จากกระบวนการติ ด ตามฯ ได้มี ก ารพัฒ นาจนได้รู ป แบบการติ ด ตาม สนับ สนุ น และประเมิ น โครงการ ที่พฒั นาขึ้นสาระจากการติดตามฯ โครงการทุนครู สอนดี ที่มีองค์ประกอบของแนวคิด หลักการ วัตถุประสงค์ สาระของการติดตาม วิธีการติดตาม สนับสนุ นและประเมินผล ผูต้ ิดตาม และเงื่อนไขการนา รู ปแบบการติดตามฯไปใช้ โดยการศึกษาวิธีการติดตาม สนับสนุ นและประเมินโครงการโดยทุนครู สอนดี ปั ญหาและอุปสรรคของการติดตาม จากนั้นจึงร่ างรู ปแบบการติดตามฯ และนาไปสนทนากลุ่มโดยตัวแทน ครู และผูท้ รงคุณวุฒิติดตาม จานวน 46 คน จากนั้นจึงปรับปรุ งแก้ไขและตรวจสอบโดยผูท้ รงคุณวุฒิหวั หน้า ติดตามฯระดับภาค จานวน 4 คน แล้วจึง จัดทาเป็ นรู ปแบบที่สมบูรณ์ ดังนี้


____________________________CES Journal 65 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

แผนภาพที่ 2 รู ปแบบการติดตาม สนับสนุนและประเมินผลโครงการ รูปแบบการติดตาม สนับสนุนและประเมินผลโครงการ 1. แนวคิด การติ ด ตามและประเมิ น ผลโครงการบนพื ้น ฐานของการสนั บ สนุ น ส่ งเสริ มแบบ กัลยาณมิ ตร เข้ าใจ แนะนาและช่ วยเหลื อเกื ้อกูลผู้ถูกติ ดตามจะช่ วยให้ การดาเนิ นโครงการของผู้รับการ ติดตามประสบผลสาเร็ จอย่ างมีประสิ ทธิ ภาพ .

2. หลักการ ยึดหลักการการบูรณาการติ ดตาม สนับสนุน และประเมินผลโครงการเข้ าด้ วยกันเพื่ อ ผลสาเร็ จของงานบนพืน้ ฐาน ดังนี ้ 2.1 การคานึงถึงวัตถุประสงค์ และเป้ าหมายผลผลิตของโครงการเป็ นสาคัญ


____________________________CES Journal 66 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

2.2 การติ ดตามแบบมีส่วนร่ วมของผู้ติดตามและประเมินโครงการและผู้ถูกติ ดตาม ที่ บูรณาการเนือ้ หาสาระของการติดตาม 2.3 ความยื ดหยุ่นตามสถานการณ์ และบริ บทของโครงการ ที่ สามารถปรั บเปลี่ ย น เป้ าหมายและวิธีดาเนินการได้ เมื่อมีความจาเป็ นโดยไม่ เปลี่ยนแปลงแนวคิดและวัตถุประสงค์ ของโครงการ 2.4 ความพึงพอใจระหว่ างผู้ติดตาม ผู้ถกู ติดตาม และผู้มีส่วนได้ ส่วนเสี ยกับโครงการ 3. วัตถุประสงค์ 3.1 เพื่ อรั บทราบความก้ าวหน้ า ป้ องกันปั ญหา ลดความเสี่ ยง และปรั บปรุ งพัฒนาการ ดาเนินงานตามโครงการให้ ประสบผลสาเร็ จตามวัตถุประสงค์ ของโครงการ 3.2 เพื่ อ นิ เ ทศ และสนั บ สนุ น ส่ งเสริ มให้ การด าเนิ น โครงการเป็ นไปอย่ า งมี ประสิ ทธิ ภาพและบังเกิดประสิ ทธิ ผล 3.3 เพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพและพัฒนาศักยภาพการดาเนินงานโครงการของครู บุคลากร และผู้มีส่วนเกี่ยวข้ อง 4. สาระของการติดตาม 4.1 สาระตามโครงการเป็ นรายโครงการของครู สอนดี ที่เป็ นผู้ถูกติดตามที่ ประกอบด้ วย เป้ าประสงค์ วัตถุประสงค์ เป้ าหมาย วิธีดาเนิ นการ งบประมาณ การบริ หารจัดการโครงการ ผู้รับผิดชอบ ตลอดจนผลผลิตและผลลัพธ์ ที่ส่งผลต่ อผู้เรี ยน 4.2 บริ บทของโครงการที่ส่งผลต่ อการดาเนินโครงการ เช่ น นโยบายของหน่ วยงานต้ น สั ง กั ด สภาพเศรษฐกิ จ สั งคม ศาสนาและวัฒนธรรม สิ่ งแวดล้ อมและธรรมชาติ การเมื องการปกครอง เทคโนโลยีและการสื่ อสาร เป็ นต้ น 4.3 ความเสี่ ยง ปั ญหา อุปสรรค จุดเด่ นและข้ อจากัดของการดาเนิ นโครงการ รวมทั้ง ปั จจัย และกลยุทธ์ ของการดาเนินโครงการให้ ประสบผลสาเร็ จ 4.4 ข้ อเสนอแนะการดาเนิ นโครงการโดยรวมทั้ งระดับนโยบาย ระดับบริ หาร และ ระดับปฏิ บัติ ที่มีผลต่ อการดาเนินงานของครู สอนดี 5. วิธีการติดตาม สนับสนุน และประเมินผล 5.1 การติดตาม เป็ นการติดตามที่ ม่ งุ หวังและรั บทราบความก้ าวหน้ า ปั ญหาอุปสรรคของงาน เพื่ อการแก้ ไขและพัฒนาในโอกาสต่ อไป ด้ วยวิธีการแบบกัลยาณมิตรเพื่ อการช่ วยเหลื อมิใช่ การจับผิด ทั้ง ภาคสนามที่เป็ นทางการและไม่ เป็ นทางการและการใช้ เทคโนโลยี การติดตามในที่ นีจ้ ึ งควบคู่และบูรณาการ เข้ ากับการนิเทศ เพื่อให้ ได้ ข้อมูลที่ตรงประเด็นและมีคุณภาพ


____________________________CES Journal 67 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

5.1.1 การติดตามภาคสนาม เป็ นการติดตาม ณ แหล่ งที่ ดาเนินโครงการของครู สอนดี เช่ น สถานศึ กษา แหล่ งเรี ย นรู้ แหล่ งฝึ กปฏิ บัติ เป็ นต้ น ที่ ดาเนิ นการทั้งที่ เป็ นทางการและไม่ เป็ น ทางการ กล่ าวคือ 1) การติดตามที่ เป็ นทางการ เป็ นการติดตามที่ ผ่านกระบวนการวางแผน กาหนดสาระและตารางการติ ดตามชั ดเจนแน่ นอน ระหว่ างผู้ติดตามและผู้ถูกติ ดตาม อย่ างไรก็ตาม การ ติ ดตามก็อาจเปลี่ ยนแปลงได้ กรณี ที่มีสถานการณ์ แทรกซ้ อน เช่ น เกิ ดอุบัติภัย กิ จกรรมของสถานศึ กษา ภาระงานเฉพาะกิจของครู ผ้ ถู กู ติดตาม 2) การติ ด ตามที่ ไ ม่ เ ป็ นทางการ เป็ นการติ ด ตามที่ ไ ม่ ไ ด้ ก าหนดไว้ ใ น แผนงาน/โครงการ แต่ เป็ นการติ ดตามที่ เกิดขึน้ เฉพาะกิจ เฉพาะคราว เช่ น การจัดกิจกรรมของโครงการที่ ผ้ ู ถูกติ ดตามต้ องการให้ ผ้ ูติดตามรั บรู้ รั บทราบและเพื่ อขวัญกาลังใจ การเกิ ดปั ญหาอุปสรรคที่ ต้องได้ รับการ แก้ ไขและเสนอแนะ การเกิดอุบัติภัย เป็ นต้ น 5.1.2 การใช้ เทคโนโลยี และการสื่ อสาร เช่ น โทรศัพท์ โทรสาร อิ นเทอร์ เน็ต อีเมล์ และแอปพลิเคชั่นไลน์ เป็ นต้ น การใช้ เทคโนโลยีและการสื่ อสารเป็ นปั จจัยสาคัญของการติดตามฯ โดยเฉพาะยุคปั จจุบันที่ มีความเปลี่ยนแปลงอย่ างรวดเร็ วทั้งทางเศรษฐกิจ สั งคม วัฒนธรรม เทคโนโลยีและ การสื่ อสารช่ วยลดขัน้ ตอนการติดตามและการดาเนินงาน ของทั้งผู้ติดตามและผู้ถกู ติดตาม การช่ วยเหลือทาง วิชาการ ได้ อย่ างรวดเร็ วและมีประสิ ทธิ ภาพ รวมทั้งก่ อให้ เกิดความใกล้ ชิด สร้ างความเข้ าใจและไว้ วางใจกัน มากขึน้ 5.2 การสนับสนุนส่ งเสริ ม เป็ นการช่ วยผู้ถูกติดตามให้ ดาเนินงานโครงการประสบผลสาเร็ จตามวัตถุประสงค์ และเป้ าหมายนั้น ด้ วยวิธีการที่หลากหลาย ดังได้ แก่ 5.2.1 การจัดทาคู่มื อ เป็ นการกาหนดเนื ้อหาสาระเพื่ อการศึ ก ษาและเป็ นแนว ทางการติ ดตาม ที่ ช่วยให้ ผ้ ูติดตามโครงการและผู้ถูกติ ดตาม เกิ ดความกระจ่ างในข้ อกาหนด วัตถุประสงค์ เป้ าหมาย และกระบวนการติดตาม ฯลฯ ช่ วยให้ การวางแผนและการติดตามเป็ นไปอย่ างมีประสิ ทธิ ภาพ 5.2.2 การปฐมนิเทศ เป็ นการเสริ มสร้ างความรู้ ทาความเข้ าใจ และข้ อตกลงร่ วมกัน ระหว่ างผู้ติดตาม และครู ผ้ ดู าเนินโครงการ อันช่ วยให้ การดาเนินโครงการเป็ นไปอย่ างมีประสิ ทธิ ภาพ การ ปฐมนิ เทศ อาจปฐมนิ เทศทั้งครู ผู้บริ หาร และผู้มี ส่วนได้ ส่วนเสี ยกับโครงการ ซึ่ งเป็ นไปตามบริ บทและ สถานการณ์ ของสถานศึกษา 5.2.3 การนิ เ ทศ เป็ นการให้ ความช่ วยเหลื อ ทางวิ ช าการโดยผู้ติ ด ตามที่ เ ป็ น ผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งการแนะนา ทาให้ ดู และการจัดประสบการณ์ แก่ ครู สอนดี ในบางโอกาสที่ ต้องการ ตลอดจน ให้ กาลังใจเมื่อพบปั ญหาอุปสรรค และคาชื่ นชมเมื่อประสบผลสาเร็ จ การนิ เทศ มีทั้งที่ เป็ นทางการ และไม่ เป็ นทางการ ตามกระบวนการติดตามข้ างต้ น ที่จะบูรณการควบคู่กันระหว่ างการติดตามและการนิเทศ


____________________________CES Journal 68 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

5.2.4 การจัดเวที แลกเปลี่ ยนเรี ยนรู้ เป็ นการเพิ่ มสมรรถนะและจัดประสบการณ์ ทางวิ ชาการให้ แก่ ครู ที่มีประสบการณ์ ในการดาเนิ นงานของตนนามาแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู้ ซึ่ งกันและกัน ที่ สามารถดาเนิ นการได้ อย่ างหลากหลายกิจกรรม เช่ น การนาเสนอผลงาน การแบ่ งกลุ่มอภิปรายแลกเปลี่ยน เรี ยนรู้ การจัดนิทรรศการแสดงผลงาน การแสดงผลงานบนเวที เป็ นต้ น เวที แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ เป็ นเวที หนึ่งที่ ทาให้ ครู มีโอกาสแสดงออกซึ่ งความภาคภูมิใจในผลงานของตนที่ได้ เผยแพร่ ให้ ผ้ อู ื่นได้ ทราบ ขณะเดียวกันก็ เป็ นเวที เสริ มสร้ างความรู้ ที่ ครู มีโอกาสเรี ยนรู้ กระบวนการดาเนินโครงการของเพื่อนครู ได้ อย่ างหลากหลาย ประหยัดและเกิดประโยชน์ มากที่ สุดเวที หนึ่ง ที่ สามารถนาความรู้ ไปต่ อยอดและประยุกต์ กับโครงการที่ ตน ดาเนินงานได้ อย่ างมีประสิ ทธิ ภาพ 5.2.5 การฝึ กอบรมปฏิ บัติก าร เป็ นการจั ดกิ จกรรมเพิ่ มความรู้ และศักยภาพการ ทางานของครู ให้ มีประสิ ทธิ ภาพเพิ่มมากขึน้ ที่ คานึงถึงความต้ องการของครู ว่ามีความประสงค์ จะเข้ ารั บการ อบรมเรื่ องใดที่ สามารถนาไปใช้ ในการปฏิ บัติงานของตน การอบรมปฏิ บัติการดังกล่ าวจึ งต้ องมีการศึ กษา ความต้ องการจาเป็ นที่ แท้ จริ ง (Needs Assessment) ของผู้เข้ าอบรม มิใช่ จัดตามความต้ องการของฝ่ ายจัด อบรม เมื่อมีการศึกษาความต้ องการแท้ จริ งแล้ ว การเลือกวิทยากร และรู ปแบบการอบรมที่ เหมาะสมกับ เรื่ อง และตั ว บุ ค คลโดยเฉพาะการได้ ฝึ กปฏิ บั ติ ม ากกว่ า การรั บ ฟั ง บรรยายจะช่ วยให้ ผู้รั บ การอบรมมี ค วาม กระตื อรื อร้ น รวมทั้ง การอานวยความสะดวกในการจัดอบรมแก่ ผ้ ูเข้ าอบรม ทั้งเรื่ องของเอกสาร วัสดุ อุปกรณ์ สถานที่ ตลอดจนเวลา นับเป็ นปั จจัยสาคัญของการอบรมเชิ งปฏิ บัติการทั้ งสิ ้น ที่ พบว่ าครู ผ้ รู ั บการ อบรมมีความพึงพอใจและสามารถนาความรู้ ไปใช้ ได้ อย่ างดี 5.2.6 การจัดทาจดหมายข่ าว การจัดทาจดหมายข่ าวเป็ นการสื่ อสารที่ดีระหว่ างผู้ติดตาม กับผู้ถูกติ ดตามได้ ในวงกว้ างและทั่วถึง ที่ ผ้ ูติดตามให้ ความรู้ ความเข้ าใจ และเป็ นศูนย์ กลางการเชื่ อมโยง ผลงานของเพื่อนครู ผ่านข้ อเขียนในจดหมายข่ าว ทาให้ ทราบความเคลื่อนไหวการดาเนินโครงการของเพื่อน ครู และความก้ า วหน้ า ในการติ ด ตามการติ ดตาม ตลอดจนขจั ด ข้ อขัด ข้ อ งบางประการจากการดาเนิ น โครงการ เช่ น การไขข้ อข้ องใจด้ านการเงิน/การรายงาน เป็ นต้ น 5.2.7 การถอดบทเรี ยน เป็ นกิ จกรรมที่ คัดสรรประเด็นสาคัญของการดาเนิ นโครงการ ของครู สอนดี ทั้งรายประเด็นและรายโครงการที่ ครอบคลุมทั้งในแง่ ของผู้ดาเนิ นโครงการ สาระสาคัญที่ สามารถนาไปเป็ นบทเรี ยนแก่ โครงการ/บุคคลอื่ น เช่ น เจตนารมณ์ ของโครงการ เป้ าหมาย กระบวนการ ดาเนิ นงาน ปั ญหาอุปสรรคและการแก้ ปัญหา นวัตกรรมที่ เกิ ดขึ น้ ตัวอย่ างการดาเนิ นงาน กลยุทธ์ /กลไก สาคัญของโครงการที่ นาไปสู่ ค วามสาเร็ จ เป็ นต้ น ทั้ งที่ บุคคลภายนอกเป็ นผู้ถอดบทเรี ย น และผู้ดาเนิ น โครงการเป็ นผู้ถอดบทเรี ยน โดยเฉพาะกระบวนการถอดบทเรี ยนแบบมีส่วนร่ วมของผู้ดาเนินโครงการและ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสี ย ทาให้ ผ้ ดู าเนินโครงการเกิดการพัฒนาทักษะการดาเนินโครงการทั้งทางตรงและทางอ้ อม 5.2.8 การเผยแพร่ ประชาสั มพันธ์ ผลงาน เช่ น การจัดทาวี ดีทัศน์ เผยแพร่ ผลงาน สื่ อ สิ่ งพิ มพ์ สื่ อโทรทัศน์ สื่ อออนไลน์ เพื่ อการเสริ มสร้ างความรู้ ความเข้ าใจแก่ ครู ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสี ย และ ผู้เกี่ยวข้ องให้ ได้ รับทราบผลการดาเนินงานของครู สอนดีในวงกว้ าง


____________________________CES Journal 69 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

5.3 การประเมินผล การประเมินผล เป็ นการตีค่าหรื อให้ คุณค่ าผลการดาเนินงานโครงการของครู สอนดี หรื อผู้รับผิดชอบโครงการ ว่ าประสบผลสาเร็ จตามวัตถุประสงค์ และเป้ าหมายผลผลิต/ผลลัพธ์ มาก น้ อยเพียงใด โดยใช้ วิธีการวิเคราะห์ การสังเคราะห์ ดังนี ้ 5.3.1 การวิเคราะห์ การวิเคราะห์ เป็ นวิธีการหนึ่ งของการประเมินผลโครงการ ครู สอนดี ที่เกิดจากการรวบรวมข้ อมูลจากการติดตาม และการสนับสนุนส่ งเสริ ม จากข้ อมูลเชิ งปริ มาณ และ คุณภาพ แล้ วนามาวิเคราะห์ ข้ อมูลเชิ งปริ มาณ ใช้ วิธีการหาค่ าเฉลี่ ย และร้ อยละ ส่ วนข้ อมูลเชิ งคุณภาพใช้ วิธีการวิเคราะห์ เนือ้ หาสาระ (Content Analysis) แล้ วสรุ ปเป็ นความเรี ยง เพื่อการนาเสนอผล 5.3.2 การสั งเคราะห์ การสั งเคราะห์ เป็ นการกลั่นกรองข้ อมูลที่ ได้ จากการ ติดตาม/การวิเคราะห์ แล้ วนาสรุ ปประเด็นตามกรอบการประเมินที่ กาหนดไว้ เช่ น กรอบตามวัตถุประสงค์ ตัวชี ้วัด ฯลฯ หรื อตัวแปรอื่ นที่ ต้องการประเมิ น เช่ น ปั ญหา อุ ปสรรค จุ ดเด่ น ข้ อจากั ด กลยุทธ์ ปั จจั ย ความสาเร็ จ เป็ นต้ น ที่ ต้องใช้ ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ ขั้นสู งของผู้ประเมินเพื่ อให้ ได้ มาซึ่ ง ข้ อมูลที่ถกู ต้ อง เที่ยงตรงและมีคุณค่ า 5.4 การนาเสนอรายงาน เมื่ อ ได้ วิ เ คราะห์ สั ง เคราะห์ ข้ อมู ล ผลของการติ ด ตาม สนั บ สนุ น และ ประเมินผลโครงการแล้ ว เป็ นขั้นตอนของการนาเสนอรายงาน ทั้งความเรี ยง แผนภาพ ตาราง ในรู ปของ เอกสาร ซี ดี และหรื อทางออนไลน์ แล้ วแต่ กรณี เป็ นไปตามข้ อตกลงกับหน่ วยงานให้ ทุนหรื อ ต้ นสั งกัด แล้ วแต่ กรณี 6. ผู้ติดตาม ผู้ติดตามโครงการทางการศึกษาและการติดตามการดาเนินงานของครู เป็ นบุคคลสาคัญ ที่ จะช่ วยให้ การติดตามฯ บรรลุเป้ าหมายอย่ างมีประสิ ทธิ ภาพ ดังนั้น ควรต้ องมีคุณสมบัติ คุณลักษณะและ พฤติกรรม ดังนี ้ 6.1.1 คุณสมบัติของผู้ติดตาม 1) มีคุณวุฒิอย่ างน้ อยปริ ญญาโททางการศึกษา สั งคมศาสตร์ หรื อที่ เกี่ยวข้ อง และมี ตาแหน่ งงานเชี่ ยวชาญทางการสอนในระดับการศึ กษาขั้นพืน้ ฐาน และอาชี วศึกษา หรื อเป็ นอาจารย์ ผ้ ูสอน ในระดับอุดมศึกษา 2) มี ค วามรู้ ความสามารถและประสบการณ์ ทางการสอน การบริ หารจั ดการ โครงการ อย่ างน้ อย 20 ปี ขึน้ ไป 2) เคยเป็ นศึกษานิเทศก์ ผู้บริ หารทางการศึกษา หรื อผู้บริ หารที่เกี่ยวข้ อง 4) มีประสบการณ์ และผลงานทางการติดตาม และประเมินผลโครงการ


____________________________CES Journal 70 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

5) เป็ นที่ยอมรั บนับถือของครู และบุคลากรทางการศึกษา 6.1.2 คุณลักษณะของผู้ติดตาม 1) มีวิสัยทัศน์ ทางการศึกษา และการเปลี่ยนแปลงในสังคมยุคใหม่ 2) มีจิตวิญญาณของความเป็ นครู ของครู และผู้นิเทศติดตามที่ดี 3) สุภาพ อ่ อนโยน มีความอดทน รั บฟั ง และเข้ าใจผู้อื่น 4) มีความรั บผิดชอบ ซื่ อสัตย์ และเที่ยงตรงต่ อข้ อมูล 6.1.3 พฤติกรรมของผู้ติดตาม 1) ยึดหลักการบูรณาการติ ดตาม สนับสนุน และประเมินผลโครงการเข้ าด้ วยกัน เพื่อผลสาเร็ จของงาน เป็ นสาคัญตื่นตัว 2) กระตือรื อร้ น และมีการตัดสิ นใจที่ดีบนพืน้ ฐานของข้ อมูล 3) มีความสามารถในการโน้ มน้ าว การคิ ด วิเคราะห์ อย่ างมีวิจารณญาณ และการ สรุ ปประเด็น 4) ทันสมัย ทันเหตุการณ์ และแสวหาความรู้ อย่ างต่ อเนื่อง 5) มีความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีและการสื่ อสาร 6) เข้ าถึงแหล่ งข้ อมูล/แหล่ งการติดตาม อย่ างไม่ ย่อท้ อ

เงื่อนไขของการนารูปแบบไปใช้ รู ปแบบการติดตาม สนับสนุน และประเมินผลโครงการนี ้ ได้ พัฒนาขึน้ จากการติดตาม สนับสนุน และประเมินโครงการครู สอนดี ที่ สามารถนาไปใช้ ได้ กับการติดตามฯ โครงการทางการศึกษา ทุกประเภท/ สั งกัด ที่ มีแนวคิ ดการติดตาม สนับสนุนและประเมินโครงการควบคู่ไปด้ วยกัน เพื่อมุ่งผลสาเร็ จ ของงานใน ทิศทางใหม่ โดยลดขัน้ ตอนการติดตามแบบจับผิดเป็ นการติดตามเพื่อสนับสนุนส่ งเสริ มและพัฒนา ดังนั้น การนารู ปแบบการติ ดตาม สนับสนุนและประเมิ นผลนี ้ไ ปใช้ จะต้ องพิ จารณาถึ งแนวคิ ด หลักการและวัตถุประสงค์ ของการติ ดตามฯเป็ นสาคัญ คัดเลื อกผู้ทรงคุณวุฒิในการติ ดตามที่ มีคุณสมบัติ คุณลักษณะและพฤติกรรมอย่ างโปร่ งใส ปราศจากอคติ ความสาเร็จของโครงการ พบว่า เกิดผลผลิตของโครงการเป็ นไปตามวัตถุประสงค์และเป้ าหมาย ถึงร้อยละ ๙๙.๘๐ และเกิด ผลลัพ ธ์ ข องโครงการคิ ด เป็ นร้ อ ยละ ๘๔ เกิ ด รู ป แบบการท างานเชิ ง ความร่ ว มมื อ และมี ส่ วนร่ วม เกิ ด แนวโน้ม ความยัง่ ยืนของโครงการ เกิ ดความสามัค คี ใ นระบบการท างาน เกิ ดรู ปแบบเครื อข่า ยและการ ขยายผล


____________________________CES Journal 71 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

ปัจจัยความสาเร็จของโครงการ พบว่า ปั จจัย ความส าเร็ จเกิ ดจาก ครู ที่ มี ค วามรู ้ ค วามสามารถ มี ค วามรั บ ผิดชอบและได้รับ การ ยอมรับ กระบวนการพัฒนาโครงการที่ดี ผูท้ รงคุณวุฒิมีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ ติดตามฯ อย่า งใกล้ชิ ดและเป็ นกัล ยาณมิ ตร ผูบ้ ริ หาร เพื่ อนครู ผูเ้ รี ยน ผูป้ กครองและชุ ม ชนให้ค วามร่ วมมื อและ สนับสนุน และงบประมาณสนับสนุนจาก สสค.เพียงพอต่อการดาเนินงาน จุดเด่ นของโครงการ พบว่า มี ก ารบริ หารจัดการโครงการที่ ดีอย่า งเป็ นระบบนับ ตั้ง แต่ สสค. ผูต้ ิ ดตาม และผูด้ าเนิ น โครงการ การจัดการความรู ้และการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้อย่างเป็ นระบบ การมีเครื อข่ายการทางานของครู และ การมีผลผลิตและผลลัพธ์ที่ชดั เจนปรากฏเป็ นรู ปธรรมและสามารถนาไปประยุกต์ใช้และขยายผลได้ กลยุทธ์ ความสาเร็จ พบว่า มี การใช้กลยุทธ์ การมี ส่วนร่ วม กลยุทธ์ การสร้ างเครื อข่าย กลยุทธ์ การแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู ้ กลยุทธ์การใช้เทคโนโลยีและการสื่ อสาร กลยุทธ์การเกาะติดและเข้าถึง และกลยุทธ์การติดตามอย่างต่อเนื่ อง ของผูท้ รงคุณวุฒิติดตาม ปัญหาและอุปสรรค พบว่า มีปัญหาทั้งด้านการบริ หารจัดการโครงการเกี่ยวกับการรายงาน ปั ญหาด้านครู และบุคลากรที่ ขาดความรู้ความเข้าใจในการดาเนินงานและการรายงาน ปั ญหาด้านผูเ้ รี ยนที่มีความพิการซ้ าซ้อนทาให้ยาก ต่อการพัฒนาการเรี ยนการสอน ปั ญหาด้านการติดตามของผูท้ รงคุ ณวุฒิที่มีการเปลี่ ยนแผนตามเวลาการ กิจกรรมของครู อนั เนื่ องมาจากภาระงาน/โรงเรี ยน และอื่นๆทาให้เกิดการคลาดเคลื่ อนและต้องติดตามบาง โครงการหลายครั้ง ปั ญหาด้านสภาพแวดล้อม บางโครงการอยู่ในพื้นที่เสี่ ยงภัย ต้นสังกัดไม่อานวยความ สะดวกเท่าที่ควร ข้ อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะต่อ สสค. หากมีการดาเนินงานต่อไปในทานองเดียวกัน ควรมีการจัดระบบการบริ หาร จัดการ การลดขั้นตอนการรายงานและการเงิ น การประสานนโยบายกับต้นสังกัด การจัดคลังความรู้และ นวัตกรรมที่เป็ นผลงานครู เพื่อเป็ นแหล่งความรู ้และต่อยอดที่ครู สามารถค้นคว้าได้ง่ายและหลากหลาย การ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ผลงานวงกว้างให้เข้าถึงครู และบุคลากร สังคม ทุกกลุ่ม รวมทั้งควรสนับสนุ นครู ใน ทานองเดียวกันนี้ ต่อไป 2-3 ปี เพื่อเกิดความเข้มแข็งทางวิชาการ จากนั้นจึงบูรณาการเข้ากับหน่วยงานปกติ โดยหันมาสนับสนุนวิชาการอย่างเข้มข้น/หลากหลายมากขึ้น


____________________________CES Journal 72 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

2. ข้อเสนอต่อต้นสังกัดและองค์การบริ หารงานของครู ควรมีการกาหนดนโยบายสานต่อ/ต่อยอด ผลงานของครู ที่โดดเด่นหรื อที่ตอบสนองการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนที่ชดั เจน บูรณาการผลงานด้านหลักสู ตร สื่ อ และนวัตกรรมการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นไว้ในแผน/หลักสู ตรของสถานศึกษา และส่ งเสริ มให้มีการขยายผลไปยัง สถานศึกษาอื่นๆ เสริ มสร้างกาลังใจ และนาเป็ นส่ วนหนึ่งของการพิจารณาผลงาน 3. ข้อเสนอต่อการดาเนิ นงานโครงการของครู และบุคลากร ควรได้มีการเรี ยนรู ้ บทเรี ยนที่เกิดขึ้นจาก การดาเนิ นโครงการนาไปพัฒนาการดาเนิ นงานในอนาคต การจัดการความรู ้ ทั้งการเก็บบทเรี ยน รวบรวม ผลงาน การเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ การสร้างเครื อข่าย และการขยายผล 4. ข้อเสนอต่อการติ ดตามของผูท้ รงคุ ณวุฒิฯ ควรได้มีการสร้ างเครื อข่ายการติดตาม การฝึ กและนา เทคโนโลยีม าใช้ใ นการติ ดตามเพื่ อลดขั้น ตอนการติ ดตามภาคสนาม การก าหนดกลยุท ธ์ ก ารติ ดตามที่ หลากหลาย และการเชื่อมโยงความรู ้และการประสานงานทางวิชาการระหว่างครู และผูต้ ิดตาม 5. ข้อเสนอต่อการพัฒนาครู ควรพัฒนาครู บนหลักการพัฒนาที่ สถานศึ กษา สนับสนุ นให้เกิ ดการ เรี ยนรู ้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่ อง เปลี่ ยนจากการเป็ นผูบ้ อกความรู ้ แก่เด็กเป็ นนักจัดการเรี ยนรู ้ อย่าง หลากหลายวิธีที่เน้นความแตกต่างของผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ รวมทั้งส่ งเสริ มการรวมตัวกันทางวิชาการและการ แลกเปลี่ ยนเรี ยนรู้ของครู เมื่อจะมีการจัดโครงการสาหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ ควรให้ครู ได้รับการ พัฒนาตามลักษะและประเภทของโครงการอย่างเข้มข้นเพื่อให้เกิดทักษะการจัดการเรี ยนรู ้ สาหรับเด็กฯได้ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ สรุ ป กล่าวโดยสรุ ป การติดตาม สนับสนุ นและประเมิ นโครงการ เป็ นวิทยาการติดตามแนวใหม่ที่เน้น ความเป็ นกัลยาณมิตรระหว่างการติดตาม ประเมินผลและการสนับสนุ นช่ วยเหลือ ของผูต้ ิดตามฯและผูถ้ ูก ติดตามฯ ที่ช่วยให้การดาเนิ นโครงการมีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลเพิ่มขึ้น จากกรณี ศึกษาการติดตาม สนับ สนุ นและประเมิ นโครงการชุ ดโครงการส่ ง เสริ มคุ ณภาพการเรี ย นรู้ เ ด็ก ด้อยโอกาสโดยครู ส อนดี (โครงการทุนครู สอนดี) ที่สานักงานส่ งเสริ มสังคมแห่ งการเรี ยนรู ้และคุณภาพเด็กและเยาวชนได้มอบหมาย ให้อาจารย์นคร ตังคะพิภพและคณะ ทาหน้าที่ติดตาม สนับสนุนและประเมินผลชุดโครงการฯทุนครู สอนดี จานวน ๕๒๙ คน/โครงการ ที่ได้รับการสนับสนุ นทุนให้ดาเนิ นโครงการใน 3 ประเด็นหลักคือ ด้านการ จัดการเรี ยนการสอน ด้านทักษะชี วิตและด้านทักษะอาชี พ ระหว่างเดื อนตุ ลาคม 2555 – พฤษภาคม 2557 พบว่า ผลการดาเนิ นโครงการเป็ นไปตามวัตภุประสงค์และเป้ าหมายอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล เกิดนวัตกรรมการจัดการเรี ยนการสอนที่หลากหลาย ผูเ้ รี ยนมีทกั ษะชี วิตเพิ่มขึ้น และทักษะอาชี พที่สามารถ นาไปประยุกต์ในชี วิตการทางานได้ และมีแนวโน้มของการขยายผลการดาเนิ นโครงการของครู ก่อให้เกิ ด


____________________________CES Journal 73 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

ความยัง่ ยืนในการดาเนิ นงาน จากความเป็ นกัลยาณมิตรจากกระบวนการติดตาม สนับสนุ นและประเมินผล จนเกิดเป็ นรู ปแบบที่ชดั เจนที่สามารถนาเป็ นต้นแบบในการติดตามโครงการอื่นๆได้อย่างดี


____________________________CES Journal 74 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

เอกสารอ้างอิง

คณะติดตาม สนับ สนุ นและประเมิ นโครงการทุ นครู ส อนดี . (๒๕๕๖). รายงานความก้ าวหน้ า โครงการ ติดตามสนับสนุนชุดโครงการส่ งเสริ มคุณภาพการเรี ยนรู้ เด็กด้ อยโอกาสโดยครู สอนดี (โครงการทุน ครูสอนดี) งวดที่ ๑/๒๕๕๖. .............. (๒๕๕๖). รายงานความก้ าวหน้ าโครงการติ ดตามสนั บสนุนชุ ดโครงการส่ งเสริ มคุณภาพการ เรี ยนรู้เด็กด้ อยโอกาสโดยครูสอนดี (โครงการทุนครูสอนดี) งวดที่ ๒/๒๕๕๖. จิราภรณ์ ศิริทวีและคณะ. (๒๕๕๗). รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการติดตามสนับสนุนชุ ดโครงการส่ งเสริ ม คุณภาพการเรี ยนรู้เด็กด้ อยโอกาสโดยครูสอนดี (โครงการทุนครูสอนดี) ภาคใต้ . (เอกสารอัดสาเนา). พิณสุ ดา สิ ริธรังศรี . (๒๕๕๕). การประเมินโครงการ : ประสบการณ์ จากการปฏิบัติ วิทยาลัยครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุ รกิจบัณฑิตย์. .................. (๒๕๕๕). การประเมินโครงการ : เทคนิควิธีที่ไม่ ควรมองข้ าม. วิทยาลัยครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธุ รกิจบัณฑิตย์. ................. และคณะ. (๒๕๕๗). รายงานฉบับสมบู รณ์ โครงการติ ดตามสนับสนุนชุ ดโครงการส่ งเสริ ม คุณภาพการเรี ยนรู้ เด็กด้ อยโอกาสโดยครู สอนดี (โครงการทุนครู สอนดี) ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ ตอนบน. (เอกสารอัดสาเนา). นคร ตัง คะพิ ภพ และคณะ. (๒๕๕๗). รายงานฉบั บ สมบู รณ์ โครงการติ ดตามสนั บสนุ นชุ ด โครงการ ส่ งเสริ มคุณภาพการเรี ยนรู้เด็กด้ อยโอกาสโดยครูสอนดี (โครงการทุนครู สอนดี) ภาคกลาง. (เอกสาร อัดสาเนา). นพพร สุ วรรณรุ จิและคณะ.(๒๕๕๗). รายงานฉบับ สมบู รณ์ โครงการติ ด ตามสนั บสนุ นชุ ด โครงการ ส่ งเสริ มคุ ณ ภาพการเรี ย นรู้ เด็ ก ด้ อยโอกาสโดยครู ส อนดี (โครงการทุ น ครู ส อนดี ) ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่ างและภาคตะวันออก. (เอกสารอัดสาเนา). ปภัสวดี วีรกิตติ. (๒๕๕๗). รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการติดตามสนับสนุนชุ ดโครงการส่ งเสริ มคุณภาพ การเรี ยนรู้เด็กด้ อยโอกาสโดยครูสอนดี (โครงการทุนครูสอนดี) ภาคเหนือ. (เอกสารอัดสาเนา). สานักงานส่ งเสริ มสังคมแห่งการเรี ยนรู ้และคุณภาพเยาวชน. (๒๕๕๕). โครงการส่ งเสริ มคุณภาพการเรี ยนรู้ เด็กด้ อยโอกาสโดยครูสอนดี. (เอกสารอัดสาเนา).


____________________________CES Journal 75 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

อภิญญา ตันทวีวงศ์และคณะ. (๒๕๕๗). รายงานการถอดบทเรี ยน “โครงการทุนครู สอนดี”. (เอกสารอัด สาเนา) Franken, Jack R.& Wallen, Norman E. (2000). How to Design and Evaluate Research in Education. U.S.A: Mac Graw-Hill. Robbins, Stephen P.; and Coulter, Mary. (1996). Management. New Jercy: Prentice - Hall.


____________________________CES Journal 76 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1


____________________________CES Journal 77 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

การวิจัยในชั้นเรียนระดับอุดมศึกษา Action Research in Higher Education

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิ นธะวา คามดิษฐ์ *

*อาจารย์ประจาหลักสูตรสาขาการมหาบัณฑิตและดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาจัดการการศึกษา วิทยาลัยครุ ศาสตร์ และผูอ้ านวยการฝ่ ายบริ หารการศึกษาภาคค่า มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์


____________________________CES Journal 78 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

บทคัดย่อ การวิจยั ในชั้นเรี ยน (Classroom Action Research ) มีความสาคัญต่อคุณภาพการจัดการเรี ยนการ สอนทุกระดับการศึกษา ซึ่ งผูส้ อนจาเป็ นต้องดาเนิ นการเพื่อพัฒนาให้เกิ ดประสิ ทธิ ภาพในการจัดการเรี ยน การสอนโดยผ่านกระบวนการวิจยั ดังกล่าว บทความนี้ มุ่งนาเสนอวิธีการวิจยั ในชั้นเรี ยนระดับอุดมศึกษา (Classroom Action Research in Higher Education ) ตามแนวคิดของ Kemmis and McTagart (1990) ที่เสนอกระบวนการ PAOR ซึ่ ง ประกอบด้วย การวางแผน (plan : P) การปฏิบตั ิตามแผน (act : A) การสังเกตตรวจสอบผลจากการปฏิบตั ิ (observe : O) และ การสะท้อนผล (reflect : R) เพื่อเป็ นแนวทางสาหรับอาจารย์ที่สนใจจะทาการวิจยั ในชั้น เรี ยนและพัฒนาการเรี ยนการสอนของตนเอง สอดคล้องกับการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่ กาหนดให้มีการจัดการเรี ยนรู ้ที่พฒั นามาจากงานวิจยั ที่ผสู ้ อนพัฒนาขึ้นและนาไปใช้ในการพัฒนาวิธีสอน

คาสาคัญ : การวิจยั ในชั้นเรี ยน , การเรี ยนการสอน , อุดมศึกษา


____________________________CES Journal 79 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

Abstract Classroom Action Research: CAR is very important to the quality of teaching and learning for all levels of education that teachers need to develop the effectiveness of teaching and learning through the research process. This article aims to present the method of Classroom Action Research in Higher Education based on Kemmis and McTagart. (1990)’s concept by proposing the PAOR process that consists of planning (plan : P ) Action (act: A) observation the practice result (observe: O) and reflection (reflect: R) as a guideline for teachers who are interested in CAR and development teaching in their classes. In addition, this approach is considered not only the quality assurance of higher education but assigned to a learning management developed from research as well.

Keywords: Classroom Action Research, Teaching and learning, Higher Education.


____________________________CES Journal 80 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

การวิจัยในชั้ นเรียนระดับอุดมศึกษา 1. ความสาคัญของการวิจัยในชั้นเรียน การวิจยั ในชั้นเรี ย นมี ค วามส าคัญต่ อวงการวิช าชี พ ครู อาจารย์เป็ นอย่า งยิ่ง เนื่ องจากครู อาจารย์ จาเป็ นต้องพัฒนาวิธีการเรี ยนการสอน การจูงใจให้ผเู ้ รี ยนเกิ ดความอยากรู ้อยากเรี ยน การพัฒนาพฤติกรรม ผูเ้ รี ยน การเพิ่ม สัมฤทธิ ผ ลการเรี ยน และการสร้ า งบรรยากาศการเรี ยนรู ้ เพื่อให้เกิ ดการเรี ยนรู ้ ไ ด้อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ (วัลลภา เทพหัสดิ น ณ อยุธยา,2555) นอกจากนี้ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 มาตรา 4 ได้ให้ความหมายของ ‚ คณาจารย์ ‛ ว่าหมายถึง บุคลากรซึ่งทาหน้าที่หลักทางด้านการสอนและการวิจยั ในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริ ญญาของรัฐ และเอกชน และมาตรา 30 ได้กาหนดให้สถานศึ กษาพัฒนากระบวนการเรี ยนการสอนที่ มีประสิ ทธิ ภาพ รวมทั้งส่ งเสริ มให้ผสู ้ อนสามารถวิจยั เพื่อพัฒนากระบวนการเรี ยนรู ้ที่เหมาะสมกับผูเ้ รี ยนทุกระดับการศึกษา นอกจากนี้ ยัง พบว่ า การประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษาระดับ อุ ด มศึ ก ษา ได้ก ล่ า วถึ ง การวิ จ ัย เพื่ อ พัฒนาการเรี ยนการสอน ในองค์ประกอบที่ 2 เรื่ องการผลิ ตบัณฑิ ต ตัวบ่งชี้ ที่ 2.6 ข้อ 5 ซึ่ งระบุ ว่า มี การ จัดการเรี ยนรู้ที่พฒั นามาจากงานวิจยั หรื อจากกระบวนการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอน โดยมี คาอธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม ว่า งานวิจยั เพื่ อพัฒนาการเรี ย นการสอนตามเกณฑ์ หมายถึ ง งานวิจยั ของผูส้ อนของ สถาบันที่ได้พฒั นาขึ้นและนาไปใช้ในการพัฒนาวิธีสอน (สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. 2554) ดังนั้น การทาวิจยั ในชั้นเรี ยนจึ งมี ความสาคัญต่อคุ ณภาพผูเ้ รี ยน และเป็ นไปตามเจตนารมณ์ ของ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 ดังกล่าวข้างต้น โดยสามารถทาได้ทุกระดับการศึกษา ตั้งแต่ การศึ ก ษาขั้น พื้ น ฐานไปจนถึ ง ระดับ อุ ด มศึ ก ษา แต่ ใ นบทความนี้ มุ่ ง น าเสนอวิ ธี ก ารวิ จ ัย ในชั้น เรี ย น ระดับอุดมศึกษาเพื่อเป็ นแนวทางสาหรับอาจารย์ที่สนใจจะทาการวิจยั ในชั้นเรี ยนเพื่อพัฒนาการเรี ยนการ สอนของตนเอง 2. ความหมายของการวิจัยในชั้ นเรียน การวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอน หรื อ การวิจยั ในชั้นเรี ยน หรื อ Classroom Action Research ใช้อกั ษรย่อว่า CAR ซึ่ งเป็ นการศึ กษาค้นคว้าเพื่อแก้ปัญหาที่เกิ ดขึ้ นจากการปฏิ บตั ิ การสอนหรื อเพื่อ ปรับปรุ งและพัฒนาการปฏิ บตั ิการสอนให้บรรลุ ผลตามที่ตอ้ งการ โดยผูส้ อนเป็ นผูด้ าเนิ นการวิจยั ในชั้น เรี ยนที่ตนเองปฏิบตั ิการสอนอยู่ (วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา , 2555 สรชัย พิศาลบุตร , 2547 และสุ วิมล ว่องวานิช , 2549 )


____________________________CES Journal 81 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

3. ประโยชน์ ของการวิจัยในชั้นเรียน การวิจยั ในชั้นเรี ยน เป็ นการดาเนิ นการที่เป็ นประโยชน์ต่อการศึกษา ตั้งแต่กลุ่มผูเ้ รี ยน ผูส้ อน และ สถานศึกษา (ไพจิตร สะดวกการ และ ศิริกาญจน์ โกสุ มภ์ , 2545) ดังนี้ 3.1 ประโยชน์ ต่อผู้เรี ยน เนื่ องจากผูเ้ รี ยนในชั้นเรี ยนมีความรู ้ ความสามารถพื้นฐานแตกต่างกัน ถ้า ผูส้ อนใช้รูปแบบการสอนเพียงแบบเดี ยวกับผูเ้ รี ยนทุกคน อาจทาให้ผเู ้ รี ยนบางคนไม่ได้รับการพัฒนาหรื อ แก้ไขปั ญหา ซึ่ งอาจส่ งผลกระทบไปถึงปั ญหาอื่น 3.2 ประโยชน์ ต่อผู้สอน โดยผูส้ อนมีการวางแผนการทางานในหน้าที่ของตนอย่างเป็ นระบบ โดยมี เป้ าหมายชัดเจน ช่วยให้เกิดความคิดริ เริ่ ม สร้างสรรค์ ในการหาทางแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม สามารถ อธิ บายได้วา่ ตนเองสามารถจัดการเรี ยนรู ้ให้เกิดผลแก่ผเู ้ รี ยนเป็ นรายคนอย่างไรบ้าง 3.3 ประโยชน์ ต่ อ สถานศึ ก ษา ผูส้ อนในสถานศึ ก ษามี ป ฏิ สั ม พันธ์ ก ัน มากขึ้ น มี ก ารร่ วมกัน คิ ด แก้ปัญหา ตั้งแต่การวิเคราะห์หาสาเหตุจนถึงการเขียนรายงาน การได้ระดมสรรพกาลังจากความถนัดของ แต่ละคนจะทาให้งานวิจยั มีคุณภาพยิง่ ขึ้น

4. ความแตกต่ างระหว่างการวิจัยในชั้นเรียน กับ การวิจัยทางการ การวิจยั ในชั้นเรี ยนเป็ น งานวิจยั ที่ ดาเนิ นการโดยอาจารย์ เพื่อปรั บปรุ งและพัฒนาการสอนของ ตนเอง ซึ่ งต่างจาก การวิจยั ทางการ (Formal Research) ซึ่ งมีระเบียบวิธีวิจยั ที่มุ่งสร้างองค์ความรู ้ที่สามารถ สรุ ปอ้างอิงไปสู่ กลุ่มประชากรได้ และมีการกาหนดประเด็นปั ญหาการวิจยั ที่ผ่านการตรวจเอกสาร ทฤษฎี และงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนมีการควบคุมตัวแปรอย่างเข้มงวด ซึ่ งสามารถสรุ ปให้เห็นถึงความแตกต่าง ระหว่างการวิจยั ทั้งสองประเภท (สุ วมิ ล ว่องวานิช , 2549 และ ศักดิ์สิทธิ์ วัชรารัตน์, 2552) ดังตารางต่อไปนี


____________________________CES Journal 82 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

ตารางที่ 1 ตารางแสดงความแตกต่างระหว่างการวิจยั ในชั้นเรี ยนกับการวิจยั ทางการ(Formal Research)

ประเด็น

การวิจัยในชั้นเรียน CAR (Classroom Action Research)

การวิจัยทางการ FR (Formal Research)

ได้องค์ความรู ้ ที่จะนามาปรั บปรุ งแก้ไขหรื อพัฒนา ได้อ งค์ค วามรู ้ ที่ ส ามารถสรุ ป อ้า งอิ ง ไปสู่ ก ลุ่ ม งานที่กาลังปฏิบตั ิอยู่ ประชากรได้ 2. วิธีการกาหนดประเด็นปั ญหา ประเด็นปั ญหาที่พบในปั จจุบนั (ในชั้นเรี ยน ) ตรวจเอกสาร ทฤษฎี และงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง หรื อคาถามวิจยั 3. วิธีการตรวจเอกสาร การตรวจเอกสารไม่เข้มข้นมากนัก อนุ โลมให้ใช้ มีการรายงานการตรวจเอกสาร ทฤษฎี และ ข้อมูลจากแหล่งทุติยภูมิ (ข้อมูลจากแหล่งอื่นๆ ที่ งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ไม่ใช่ตน้ ตอ) 4. แผนแบบการวิจยั ตัดขั้นตอนที่ไม่จาเป็ นบางอย่างออกไป ใช้ระยะเวลา มี ก ารควบคุ ม ตั ว แปรอย่ า งเข้ ม งวดและใช้ สั้น ไม่เข้มงวดในการควบคุมตัวแปร ระยะเวลายาวนาน 5. การสุ่มตัวอย่าง ไม่เน้นการสุ่มตัวอย่าง กลุ่มที่ศึกษาคือนักเรี ยนหรื อผู ้ เน้ น การสุ่ ม ชนิ ด ที่ ค านึ ง ถึ ง ความน่ า จะเป็ น ที่เกี่ยวข้องที่ปฏิบตั ิงานด้วย เพื่ อ ให้ ไ ด้ ก ลุ่ ม ตั ว อย่ า งที่ เ ป็ นตั ว แทนของ ประชากร 6. กระบวนการวัดผล วัดตามแบบปกติหรื อใช้แบบทดสอบมาตรฐาน ประเมิ น ผล และมี ก ารวัด ก่ อ นการทดลอง ระหว่างการทดลอง และหลังการทดลอง 7. การวิเคราะห์ขอ้ มูล เนื่องจากกลุ่มที่ศึกษาคือประชากรเป้ าหมาย ไม่มีการ มี การใช้สถิ ติอนุ มาน เมื่ อ มี การรวบรวมข้อมู ล สุ่ มตัวอย่าง จึงใช้สถิติเชิงบรรยาย เช่น การแจกแจง จากกลุ่ ม ตั ว อย่ า งโดยมี ก ารทดสอบความมี ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็ น นัยสาคัญ เช่น มีการใช้ t-test, F-test เป็ นต้น ต้น 8. ผลการวิจยั เฉพาะที่ เฉพาะเรื่ อง ไม่สามารถอ้างอิงไปใช้กบั กลุ่ม มีความกว้างขวาง และครอบคลุม อ้างอิงไปใช้ อื่นได้ กับกลุ่มอื่นได้ 9. การนาผลไปใช้ เน้นความสาคัญที่เป็ นผลมาจากการปฏิบตั ิ เน้นความสาคัญในเชิงทฤษฎี 10. ระยะเวลาในการศึกษา ใช้ระยะเวลาสั้น ๆ ตามหัวข้อหรื อประเด็นที่ศึกษา ใช้ระยะเวลานานเป็ นภาคเรี ยนหรื อ ปี การศึกษา หรื อมากกว่านั้น 1. เป้ าหมายของการวิจยั

ทีม่ า : ปรับปรุ งจาก สุ วมิ ล ว่องวานิช (2549) และ ศักดิ์สิทธิ์ วัชรารัตน์ ( 2552 )


____________________________CES Journal 83 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

5. การกาหนดปัญหาการวิจัยในชั้นเรียน ปั ญหาในการวิจยั (Research Problem ) หมายถึง สิ่ งที่ผวู ้ ิจยั ใคร่ รู้คาตอบในเรื่ องหรื อประเด็นที่เป็ น ปั ญหานั้นๆ ซึ่ งหากเป็ นงานวิจยั ทางการ ส่ วนใหญ่มาจากการตรวจเอกสาร ทฤษฎี และงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ต่างจากการวิจยั ในชั้นเรี ยนที่ประเด็นปั ญหาในการวิจยั มาจากปั ญหาที่เกิดขึ้นจริ งในชั้นเรี ยน ซึ่ งการกาหนด ประเด็นปั ญหาในการวิจยั ถือว่าเป็ นขั้นตอนแรกของการวิจยั ผูเ้ ขียนเห็นว่าเป็ นเรื่ องสาคัญ จึงขอนามากล่าว เพื่อความเข้าใจที่ชดั เจนก่อนที่จะกล่าวถึงขั้นตอนการวิจยั ในหัวข้อต่อไป ประเด็นปัญหาการวิจยั ในชั้นเรี ยนในระดับอุดมศึกษา สามารถจาแนกออกเป็ น 4 ด้าน คือ 1) ด้านผูเ้ รี ยน 2) ด้านวิธีการสอน 3) ด้านผูส้ อน และ4) ด้านแหล่งเรี ยนรู ้ (วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา , 2555) ดังตัวอย่างประเด็นปั ญหาที่อาจารย์ในสถาบันอุ ดมศึ กษาสามารถใช้เป็ นแนวทางในการ กาหนดปัญหาการวิจยั โดยควรพิจารณาความสอดคล้องกับสภาพปั ญหาจริ งที่เกิดขึ้นในชั้นเรี ยนของตน ดังนี้ ตารางที่ 2 ตารางแสดงประเด็นปัญหาที่อาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาสามารถใช้เป็ นแนวทาง ในการกาหนดปั ญหาการวิจยั ด้ าน 1.ผู้เรียน

ประเด็นปัญหา 1.1 เกีย่ วกับผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน 1.1.1 ทาไมนักศึกษาคนนี้หรื อกลุ่มนี้จึงมีสัมฤทธิ ผลทางการเรี ยนสู ง 1.1.2 มีปัจจัยอะไรบ้างที่เสริ มความสามารถในการเรี ยนของผูเ้ รี ยน 1.1.3 ทาไมนักศึกษาคนนี้หรื อกลุ่มนี้จึงมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนต่า ต่าวิชาเดียวที่อาจารย์สอนหรื อ ต่าทุกวิชา มีปัจจัยใดที่ทาให้ผเู ้ รี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ในการเรี ยนต่า 1.1.4 ทาไมนักศึกษาจึงไม่ต้ งั ใจเรี ยน ไม่ยอมทาแบบฝึ กหัด ไม่ยอมส่ งงาน มีปัญหาอะไร ผูเ้ รี ยน ต้องการอะไร 1.1.5 ทาไมนักศึกษาคนนี้จึงไม่ยอมพูดในชั้นเรี ยน หรื อไม่ยอมทางานกลุ่มกับเพื่อน 1.2 เกีย่ วกับพฤติกรรมของผู้เรียน 1.2.1 มีวธิ ี การใดบ้างที่จะแก้ปัญหาพฤติกรรมผูเ้ รี ยนที่ชอบแกล้งเพื่อน เกเรชอบทะเลาะวิวาท ชก ต่อยกับเพื่อน 1.2.2 พฤติกรรมที่เป็ นปฏิปักษ์กบั อาจารย์ 1.2.3 การเข้าชั้นเรี ยนสาย 1.2.4 การหนีเรี ยน การติดเกมส์ และการไม่เข้าห้องเรี ยน 1.2.5การประพฤติผดิ ระเบียบของสถาบัน


____________________________CES Journal 84 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

ด้ าน

2.วิธีการสอน

3. ผู้สอน

4.แหล่ งเรียนรู้

ประเด็นปัญหา 1.2.6 การพูดจาก้าวร้าว 1.2.7 การไม่ร่วมกิจกรรมของสถาบัน เป็ นต้น 2.1 การสอนแบบใดที่ผเู้ รี ยนพึงพอใจในรายวิชา......... 2.2 การสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญทาให้ผเู้ รี ยนพัฒนาด้านใดบ้าง 2.3 การสอนแบบใดที่ผเู้ รี ยนอยากเรี ยนและเรี ยนได้ผลดีที่สุด 2.4 การสอนที่ให้แบบฝึ กปฏิบตั ิเป็ นรายบุคคลกับแบบฝึ กปฏิบตั ิเป็ นกลุ่ม จะทาให้ผเู้ รี ยน เรี ยนรู้ แตกต่างกันหรื อไม่ 2.5 การใช้สื่อแบบใดจะทาให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจบทเรี ยนได้ดียงิ่ ขึ้น 2.6 ทาอย่างไรผูเ้ รี ยนจะมีความสุ ขในการเรี ยน 2.7 การเปรี ยบเทียบการสอนแบบการให้อิสระในการเลือกหัวข้อการเรี ยนตามลาดับก่อนหลังตาม ความสนใจของผูเ้ รี ยนกับการสอนปกติ หรื อ ผลการสอนแบบต่างๆ ที่อาจารย์ทดลองใช้ในราย วิชา....... 3.1 ผูเ้ รี ยนต้องการการสอนที่มีคุณลักษณะอย่างไร 3.2 ผูเ้ รี ยนต้องการให้ผสู ้ อนปฏิบตั ิต่อผูเ้ รี ยนอย่างไร 3.3 พฤติกรรมแบบใดของอาจารย์ที่ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้ได้อย่างดีที่สุด 3.4 อาจารย์ผสู ้ อนดีเด่นต้องมีพฤติกรรมอย่างไร 3.5 ผูเ้ รี ยนต้องการให้ผสู ้ อนดูแลอย่างไรนอกชั้นเรี ยน 4.1 แหล่งเรี ยนรู ้ประเภทใด กระตุน้ ความสนใจของผูเ้ รี ยน 4.2 การใช้วสั ดุอุปกรณ์ประกอบการสอนแบบใดจึงทาให้ผเู ้ รี ยนสามารถพัฒนาการเรี ยนรู ้ได้อย่างดี 4.3 การจัดกิจกรรมหรื อโครงการมีผลต่อสัมฤทธิ์ ผลทางการเรี ยนของผูเ้ รี ยนหรื อไม่ 4.4 การจัดตารางเรี ยนช่วงเช้าและบ่ายมีผลต่อพฤติกรรมการเรี ยนวิชา.........หรื อไม่ 4.5 การศึกษายังแหล่งเรี ยนรู ้มีปัญหาอุปสรรค และได้ผลดีต่อการเรี ยนอย่างไร

จากประเด็ นปั ญหาการวิจยั ในชั้นเรี ยนทั้ง 4 ด้านดังกล่ า ว อาจเป็ นไปได้ว่า แต่ละปั ญหาเป็ นทั้ง ปั ญหาเชิงแก้ไข ปั ญหาเชิงป้ องกัน และปั ญหาเชิงพัฒนา (วิชิต สุ รัตน์เรื องชัย, 2546 ) กล่าวคือ 1) ปั ญหาเชิ งแก้ ไข หมายถึ ง ประเด็นปั ญหาที่เกิ ดขึ้นจริ งในชั้นเรี ยนแล้วผูส้ อนคิดหาวิธีแก้ปัญหา นั้นด้วยการทาวิจยั ในชั้นเรี ย น เช่ น เมื่ อพบว่า นัก ศึ ก ษาบางคนมาเรี ย นสายเป็ นประจาผูส้ อนก็ คิดหาวิธี แก้ปัญหากับนักศึกษาคนนั้นโดยเฉพาะ ด้วยกระบวนการวิจยั ในชั้นเรี ยน เป็ นต้นซึ่ งส่ วนใหญ่การทาวิจยั ใน ชั้นเรี ยนมักจะเป็ นประเด็นปั ญหาเชิงแก้ไขมากกว่าด้านอื่นๆ


____________________________CES Journal 85 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

2) ปัญหาเชิ งป้องกัน หมายถึง ประเด็นที่ผสู ้ อนคิดว่าเป็ นเรื่ องที่ควรหาวิธีที่มิให้เกิดผลกระทบทาง ลบต่อผูเ้ รี ยนคนนี้ หรื อกลุ่ มนี้ โดยอาศัยประสบการณ์ ส่วนตัว เช่ น ผูเ้ รี ยนชอบให้ผูส้ อนปฏิ บตั ิ ต่อผูเ้ รี ย น อย่างไรเพื่อให้สามารถเรี ยนได้ท้ งั ความรู ้และไม่เครี ยด เป็ นต้น ซึ่ งผูส้ อนจะใช้กระบวนการวิจยั ในชั้นเรี ยน ช่วยในการหาคาตอบนี้ 3) ปั ญหาเชิ งพัฒนา หมายถึง ประเด็นที่ผสู ้ อนเห็นว่าเรื่ องที่จะทาวิจยั ในชั้นเรี ยนนั้นมิใช่ปัญหาที่ เกิ ดขึ้นในขณะที่สอน แต่เห็นว่าเป็ นเรื่ องที่ควรส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมีพฒั นาการที่ดี เช่น ผูส้ อนอาจทาวิจยั ใน ชั้นเรี ยนเพื่อพัฒนาให้ผเู ้ รี ยนมีทกั ษะในการคิดวิเคราะห์ ซึ่ งนอกจากจะนามาใช้ในรายวิชาที่กาลังเรี ยนแล้ว ยังสามารถนาไปใช้กบั รายวิชาอื่นๆ และในชีวติ ประจาวันอีกด้วย ดังนั้น หากอาจารย์เข้าใจลักษณะและประเภทของปั ญหาการวิจยั ทั้ง 3 มิติ ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว จะ ทาให้ป ระเด็ นปั ญหาที่ ทาอยู่ในขอบเขตที่ ชัดเจนและสามารถอธิ บายได้ว่า เป็ นงานวิจยั ในชั้นเรี ย นอย่า ง แท้จริ ง ตัวอย่างปั ญหาการวิจยั ในชั้นเรี ยนในระดับอุดมศึกษา ตัว อย่ า งที่ 1 จากการวิจยั ในชั้น เรี ย น เรื่ อง การสอนแบบการเรี ย นรู้ เป็ นรายบุ คคล ด้วยเทคนิ ค กระบวนการกลุ่มสาหรับวิชา วก 350 ปฐพีวิทยาสาหรับวิศวกรรมเกษตร ของ ผูช้ ่ วยศาสตราจารย์ สุ พจน์ เอี้ ยงกุญชร สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมและอุ ตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ภาค การศึกษาที่ 2/2552 ประเด็นปัญหาการวิจัย คือ เนื่องจากวิชาปฐพีวิทยาสาหรับวิศวกรรมเกษตร เป็ นวิชาที่มีเนื้ อหาคาบ เกี่ ย วกัน ระหว่า งศาสตร์ ด้า นเกษตรกรรมและศาสตร์ ด้า นวิ ศ วกรรมซึ่ งต้อ งอาศัย ความรู ้ พ้ื น ฐานด้า น คณิ ตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (ทั้งฟิ สิ กส์ เคมี และชีววิทยา) เป็ นหลักในการเรี ยนรู ้ ดังนั้น การเรี ยนการสอน วิชานี้จึง ต้องใช้วธิ ี บูรณาการความรู ้ทุกด้านเข้าด้วยกันจึงจะเกิดสัมฤทธิ ผลแก่ผเู ้ รี ยนอย่างเต็มที่ แต่การเรี ยน การ สอนที่เคยปฏิบตั ิมาด้วยการบรรยาย (2 ชม./สัปดาห์) และปฏิบตั ิ (3 ชม./สัปดาห์) ยังได้ผลไม่เป็ นที่น่า พอใจ และเนื่องจากวิชานี้เป็ นวิชาเอกเลือก จึงมีนกั ศึกษาลงทะเบียนเรี ยนรายวิชานี้ จานวนน้อย ทาให้โอกาส ที่ผสู ้ อนจะได้นากระบวนการเรี ยนรู ้ แบบที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญมาใช้ได้อย่างเต็มรู ปแบบ และ ผูส้ อนได้ วางแผนที่จะใช้วิธีการสอนแบบการเรี ยนรู้เป็ นรายบุคคล (Individual study) โดยเน้นที่เทคนิ คกระบวนกลุ่ม (Group process) ตัวอย่างที่ 2 จากการวิจยั ในชั้นเรี ยน เรื่ อง ผลการเรี ยนรู ้โดยใช้วจิ ยั เป็ นฐานที่มีต่อวัฒนธรรมอาเซี ยน ของนัก ศึ ก ษาของ ดร.ธัญธัช วิภตั ิ ภูมิ ป ระเทศ อาจารย์ป ระจาหมวดวิช าศึ ก ษาทัว่ ไป คณะศิ ล ปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุ รกิจบัณฑิตย์ ในรายวิชา GE 140 ประชาคมอาเซียน ในภาคการศึกษาที่ 1/2556


____________________________CES Journal 86 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

ประเด็นปั ญหาการวิจัย คือ ผูว้ ิจยั เห็ นว่าการเรี ยนการสอนในรายวิชาประชาคมอาเซี ยน แบบเดิ ม เน้นการบรรยายมากเกินไป จึงต้องการปรับเปลี่ยนวิธีการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ และเลือกวิธีการสอน โดยใช้วิจยั เป็ นฐาน (Research – Based Learning) ซึ่ งรู ปแบบการจัดการเรี ยนการสอน คือ ให้นกั ศึกษาไป ค้นคว้างานวิจยั ที่มีเนื้อหาเฉพาะที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมของประเทศสมาชิ กอาเซี ยน และให้นกั ศึกษาได้เรี ยนรู ้ จากงานวิจยั ซึ่ งนอกจากจะได้ความรู้ดา้ นวัฒนธรรมแล้ว นักศึกษายังมีทกั ษะการคิดวิเคราะห์และมีความรู้ เรื่ องระเบียบวิธีวจิ ยั อีกด้วย จากตัวอย่างประเด็นปั ญหาการวิจยั ในชั้นเรี ยนระดับอุดมศึกษาทั้ง 2 เรื่ อง สรุ ปได้ว่า ตัวอย่างที่ 1 และ 2 เป็ นทั้งการวิจยั ประเภทการแก้ปัญหาและการพัฒนาผูเ้ รี ยน กล่าวคือ แก้ไขปั ญหาจากเดิมที่เน้นการ สอนแบบบรรยาย ท าให้นัก ศึ ก ษามี ผ ลสัม ฤทธิ์ ต่ า โดยตัวอย่า งที่ 1 ใช้วิ ธี ก ารสอนแบบการเรี ย นรู ้ เป็ น รายบุ คคล โดยเน้นที่เทคนิ คกระบวนกลุ่ม ส่ วนตัวอย่างที่ 2 ใช้วิธีการสอนโดยใช้วิจยั เป็ นฐานเพื่อพัฒนา ผูเ้ รี ยนให้รู้จกั การคิดวิเคราะห์โดยผ่านวิธีการสอนที่ใช้งานวิจยั ที่นกั ศึกษาไปค้นคว้ามา 6. ขั้นตอนการวิจัยในชั้นเรียน กระบวนการการทาวิจยั ในชั้นเรี ยนซึ่ งเป็ นกระบวนการวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอน มีข้ นั ตอน ที่แตกต่างจากการวิจยั แบบทางการ โดยในบทความนี้ เลือกใช้กระบวนวิจยั ปฏิบตั ิ หรื อ action research ตาม แนวคิดของ Kemmis and McTagart (1990) ซึ่ งเสนอว่า มีกระบวนการในการดาเนิ นการ 4 ขั้นตอน คือ กระบวนการ PAOR ประกอบด้วย การวางแผน (plan : P) การปฏิบตั ิตามแผน (act : A) การสังเกต ตรวจสอบผลจากการปฏิบตั ิ (observe : O) และการสะท้อนผล (reflect : R) ซึ่ งกระบวนการทั้ง 4 ขั้นตอน เป็ นกระบวนการที่ดาเนินการต่อเนื่ องในลักษณะบันไดเวียน สาหรับในบทความนี้ คาว่า การวิจยั ปฏิบตั ิการ และ การวิจยั ในชั้นเรี ยน ถือว่ามีความหมายเดียวกัน โดยอาจเรี ยกว่า การวิจยั ปฏิบตั ิการในชั้นเรี ยน หรื อ classroom action research : CAR ส่ วนขั้นตอนทั้ง 4 ขั้นตอนและตัวอย่าง ดังนี้ (สุ วมิ ล ว่องวานิช , 2549 และ วิชิต สุ รัตน์เรื องชัย , 2546 ) ขั้นตอนที่ 1 การวางแผน (plan) ประกอบด้วยกิจกรรมต่อไปนี้ 1.1 วิเคราะห์และสารวจปั ญหาหรื อสิ่ งที่ตอ้ งการพัฒนา โดยผูส้ อนเป็ นพิจารณาว่าปั ญหาที่เกิดขึ้นใน ชั้นเรี ยนมีอะไรบ้าง และสิ่ งนั้นเป็ นปั ญหาจริ งหรื อไม่ หากมีหลายปั ญหาควรจัดลาดับความสาคัญ เช่น หาก ผูส้ อนสังเกตเห็ นว่านักศึ กษาที่ กาลังเรี ยนในรายวิชาที่ สอน ขาดทักษะในการคิ ดวิเคราะห์ และคิ ดว่าเป็ น ปั ญหาที่สามารถพัฒนาได้ดว้ ยการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนเพื่อให้นกั ศึกษาฝึ กปฏิบตั ิโดยมีเป้ าหมายว่า เมื่อนักศึกษาผ่านกระบวนการนี้ แล้วจะปรับเปลี่ ยนพฤติกรรมและนาประสบการณ์ ที่ได้จากกิจกรรมไปใช้ ในการเรี ยนรู้ในรายวิชาอื่นๆได้อีกด้วย


____________________________CES Journal 87 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

1.2 เลื อกนวัตกรรมหรื อวิธีการที่นามาใช้ในการแก้ปัญหาหรื อพัฒนา โดยพิจารณาว่าปั ญหาที่พบ นั้น ควรใช้นวัตกรรมหรื อวิธีการใดจึงจะเหมาะสมเพื่อนามาใช้ในการแก้ปัญหา เช่น จากปั ญหาดังตัวอย่าง ข้อ 1.1 ผูส้ อนเลือกวิธีการสอนโดยใช้วิจยั เป็ นฐาน (Research – Based Learning) ซึ่ งเป็ นวิธีการสอนที่ใช้ ได้ผลดีในระดับอุดมศึกษา โดยผูส้ อนกาหนดกิจกรรมให้นกั ศึกษาค้นคว้างานวิจยั ที่เนื้ อหาเกี่ยวกับหัวข้อใน รายวิชาที่สอนจากห้องสมุดและสื่ อออนไลน์ และให้ นกั ศึกษาได้เรี ยนรู ้เนื้ อหาทางวิชาการจากผลงานวิจยั ของนักวิชาการที่มีชื่อเสี ยงทั้งในและต่างประเทศ และเรี ยนรู ้ ข้ นั ตอนการวิจยั โดยให้นกั ศึกษาฝึ กปฏิ บตั ิทา รายงานกลุ่ มในหัวข้อที่ สนใจโดยใช้ระเบี ยบวิธีวิจยั ซึ่ งผูส้ อนเป็ นผูใ้ ห้คาแนะนาในการท างานในแต่ล ะ ขั้นตอนของการวิจยั 1.3 เขียนโครงการวิจยั โดยระบุรายละเอียดการดาเนินการที่สามารถปฏิบตั ิได้ตามหัวข้อสาคัญ คือ 1) ชื่อเรื่ องวิจยั 2) ความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหา 3) วัตถุประสงค์ของการวิจยั 4) ประโยชน์ที่คาด ว่าจะได้รับ และ 5)วิธีดาเนิ นการวิจยั ซึ่ งประกอบด้วย ประชากรหรื อกลุ่มเป้ าหมาย เครื่ องมือที่ใช้ในการ วิจยั การเก็บรวบรวมข้อมูล และ การวิเคราะห์ขอ้ มูล แนวทางการเขียนโครงการวิจยั จากปั ญหาการวิจยั ตามข้อ 1.1 และ การเลื อกวิธีการแก้ปัญหาตาม ข้อ 1.2 ผูส้ อนนาแนวคิดดังกล่าวมาเขียนโครงการวิจยั โดยระบุรายละเอียดการดาเนิ นการที่สามารถปฏิบตั ิ ได้ตามหัวข้อสาคัญตามข้อ 1.3 กล่าวคือ อาจตั้งชื่อเรื่ องว่า การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยวิจยั เป็ นฐาน ในรายวิชา........สาหรับนักศึกษาชั้นปี ที่......สาขา........คณะวิชา.........ภาคเรี ยนที่.....ปี การศึกษา.......ระบุความ เป็ นมาและความสาคัญของปัญหาตามแนวทางในข้อ 1.1 ส่ วนวัตถุประสงค์ เช่น 1) เพื่อจัดกิจกรรมการเรี ยน การสอนโดยใช้วิจยั เป็ นฐานในรายวิชา...........สาหรับนักศึกษาชั้นปี ที่...........สาขา.............คณะวิชา......... ภาคเรี ยนที่.....ปี การศึกษา.......2) เพื่อทดสอบความรู ้ ในเนื้ อหาวิชาและประเมินทักษะการคิดวิเคราะห์ของ นักศึกษาหลังจากผ่านกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยใช้วิจยั เป็ นฐาน และ 3) เพื่อประเมินความพึงพอใจของ นักศึกษาต่อกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยใช้วจิ ยั เป็ นฐาน สาหรับวิธีดาเนิ นการวิจยั ระบุวา่ กลุ่มเป้ าหมาย คือ นักศึกษาชั้นปี ที่......สาขา........คณะวิชา......... ภาคเรี ยนที่.....จานวน....คน เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั คือ 1) แผนการสอนที่ระบุกิจกรรมการเรี ยนการสอน โดยใช้วิจยั เป็ นฐานโดยแสดงขั้นตอนของกิจกรรมอย่างละเอียด 2) แบบทดสอบความรู ้ ในเนื้ อหาวิชา....... และแบบประเมินทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา 3) แบบประเมินความพึงพอใจ และ 4) แบบสังเกต พฤติกรรมนักศึกษาระหว่างเรี ยน ส่ วนการเก็บรวบรวมข้อมูล ระบุวิธีการและช่ วงเวลาที่ใช้ในการสังเกต การทดสอบ และการประเมินที่ผสู ้ อนดาเนินการทั้งในระหว่างและหลังกิจกรรมการเรี ยนการสอน


____________________________CES Journal 88 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

ขั้นตอนที่ 2 การปฏิบัติตามแผน (action) โดยการลงมือปฏิบตั ิตามแผนที่กาหนดไว้ กล่าวคือ นาเทคนิ ควิธี หรื อ นวัตกรรมไปใช้แก้ปัญหาใน ชั้นเรี ยน หรื อดาเนิ นการตามแผนงานที่ระบุไว้ในโครงการวิจยั เช่ น จากโครงการวิจยั ในตัวอย่างข้อ 1.3 ผูส้ อนดาเนิ นการตามแผนการสอนที่ กาหนดไว้ในโครงการวิจยั ซึ่ งมีรายละเอี ยดของแต่ละขั้นตอนและ กรอบเวลาดาเนินการอย่างชัดเจนเพื่อให้ผสู ้ อนสามารถปฏิบตั ิได้ครบถ้วนสมบูรณ์ ขั้นตอนที่ 3 การสั งเกตตรวจสอบผลจากการปฏิบัติตามแผน (observe) เป็ นขั้นตอนของการเก็บรวบรวมข้อมูลผลของการนานวัตกรรม และวิธีการแก้ปัญหาไปใช้ หรื อ ผล การเรี ยนรู้ ที่เกิ ดขึ้นโดยใช้เครื่ องมือวัดผล และนาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ และนาเสนอผลที่ได้จากการใช้ วิธีการ หรื อ นวัตกรรมในการแก้ปัญหานั้น ๆ เช่ น เมื่อผูส้ อนดาเนิ นการตามแผนการจัดกิ จกรรมการเรี ยน การสอนโดยใช้วิจยั เป็ นฐานแล้ว มีการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ /ทักษะการคิดวิเ คราะห์ และสังเกต พฤติกรรมนักศึกษารวมทั้งสอบถามความคิดเห็นหรื อความพึงพอใจของนักศึกษาเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับ ซึ่ งผูส้ อนดาเนินการในระหว่างและหลังการเรี ยนการสอน ขั้นตอนที่ 4 การสะท้อนผล (reflection) เป็ นขั้นสุ ดท้ายและเป็ นลักษณะเด่นของวงจรการทางานวิจยั ในชั้นเรี ยน เป็ นการสะท้อนความคิดที่ ได้จากข้อค้นพบความคิ ดที่ ได้อาจเป็ นการนาเสนอหลักการใหม่ท างการศึ ก ษา (วัลลภา เทพหัสดิ น ณ อยุธยา , 2555 ) และเป็ นการสะท้อนความคิ ดเห็ นต่อผลการวิจยั ในชั้นเรี ยนที่ เกี่ ยวข้องกับ 1) คุ ณค่าต่อ ผลการวิจยั ที่นาไปใช้พฒั นาผูเ้ รี ยน 2) การพัฒนากระบวนการและคุณภาพงานวิจยั 3) การนาไปใช้และการ ขยายผล 4) การพัฒนากระบวนการเรี ยนการสอน และ 5) การพัฒนาและยกระดับมาตรฐานวิชาชี พครู (ปรมิ น ทร์ อริ เ ดช ,2555) ขั้น ตอนนี้ รวมถึ ง การสรุ ป ผล และ เขี ย นรายงานการวิ จ ัย ด้ว ย เช่ น การน า ผลการวิจยั ที่ได้จากขั้นตอนที่ 3 ไปแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้กบั อาจารย์ในภาควิชาหรื อคณะวิชา ซึ่ งจากผลการวิจยั ครั้งนี้ อาจารย์อื่นๆ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ และขยายผลต่อไป จากขั้นตอนการวิจยั ปฏิบตั ิการในชั้นเรี ยนดังกล่าวข้างต้น สามารถสรุ ปได้ดงั นี้


____________________________CES Journal 89 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

ตารางที่ 3 ตารางแสดงขั้นตอนการวิจยั ในชั้นเรี ยน ตามวงจร PAOR ขั้นตอนการวิจยั ในชั้นเรี ยน PAOR 1. การวางแผน (Plan) : P 2. การปฏิบตั ิตามแผนที่ กาหนด (Act) : A 3. การสังเกตผล (Observe) : O 4. การสะท้อน (Reflect) : R

การดาเนิ นงานตามขั้นตอนการวิจยั ในชั้นเรี ยน PAOR - วิเคราะห์และสารวจปั ญหาหรื อสิ่ งที่ตอ้ งการพัฒนา - เลือกนวัตกรรมหรื อวิธีการที่นามาใช้ในการแก้ปัญหาหรื อพัฒนา - เขียนโครงการวิจยั ลงมือปฏิบตั ิตามแผนที่กาหนดไว้ โดยนาเทคนิควิธี หรื อ นวัตกรรมไป ใช้แก้ปัญหาในชั้นเรี ยน เก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ขอ้ มูลจากผลการนานวัตกรรม และ วิธีการแก้ปัญหาไปใช้ หรื อ ผลการเรี ยนรู้ ที่เกิดขึ้น สรุ ปผล สะท้อนความคิดที่ได้จากข้อค้นพบ และ เขียนรายงานการวิจยั

7. การเขียนโครงการวิจัยในชั้นเรียน หลังจากที่ได้ปัญหาการวิจยั ในชั้นเรี ยนแล้ว ผูส้ อนควรดาเนิ นการวางแผนหรื อเขียนโครงการวิจยั ในชั้นเรี ยน ซึ่ งทั้ง 2 กิจกรรมนี้อยูใ่ นขั้นตอนเดียวกัน คือ ขั้นตอนแรก (การวางแผน Plan : P) ส่ วนหัวข้อที่ใช้ในการเขียนโครงการวิจยั ในชั้นเรี ยน ควรกาหนดเฉพาะหัวข้อที่จาเป็ นเท่านั้น และ ควรหลีกเลี่ยงการใช้ศพั ท์เทคนิคการวิจยั เพื่อให้เข้าใจง่าย ดังนี้ 1. ชื่อเรื่ องวิจยั 2. ที่มาของปัญหาการวิจยั 3. วัตถุประสงค์ของการวิจยั 4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 5. วิธีดาเนินการวิจยั 5.1 กลุ่มเป้ าหมาย 5.2 เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั 5.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล


____________________________CES Journal 90 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

5.4 การวิเคราะห์ขอ้ มูล 6. แผนการดาเนินงาน 8. การเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน การเขี ย นรายงานผลการวิจ ัย ควรยึ ดหลัก การรู ป แบบและวิ ธี ก ารวิจ ัย ในชั้นเรี ย นเป็ นแนวทาง มากกว่าการยึดรู ปแบบการเขียนรายงานการวิจยั แบบการวิจยั ทางการหรื อที่ เรี ยกว่ารายงานวิจยั 5 บท ซึ่ ง เคร่ งครัดในรู ปแบบการเขียน และหากนามาเขียนในรู ปแบบนี้ อาจมีเนื้ อหาไม่สมบูรณ์ โดยเฉพาะในบทที่ 2 เกี่ยวกับการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ซึ่ งการวิจยั ในชั้นเรี ยนไม่เข้มข้นมากนัก ดังนั้น รู ปแบบรายงานวิจยั ในชั้นเรี ยน จึงควรมี 2 แบบ คือ เขียนแบบไม่เป็ นทางการ และ เขียน แบบเป็ นทางการ (สุ วมิ ล ว่องวานิช , 2549 และ วิชิต สุ รัตน์เรื องชัย , 2546 ) ดังนี้ 1) การเขียนแบบไม่ เป็ นทางการ การเขียนรายงานการวิจยั ในชั้นเรี ยน แบบไม่เป็ นทางการ มีโครงสร้ างและองค์ประกอบที่สาคัญ ดังนี้ ชื่อรายงาน............................................................................................................. ปัญหา : ............................................................................................................. สาเหตุ 1. ........................................................................................................ 2. ........................................................................................................ 3. ........................................................................................................ วัตถุประสงค์ เพื่อ..................................................................................................... วิธีการวิจัย 1. กลุ่มเป้าหมาย นักศึกษาชั้น.......ชื่อรายวิชา...........ภาคเรี ยนที่.........ปี การศึกษา.....จานวน.......คน 2. วิธีการหรือนวัตกรรมทีใ่ ช้ 2.1 ชื่อนวัตกรรม............................จานวน...........ชุด/เรื่ อง/หน่วย ดังนี้ 2.1.1 ........................................................................................ 2.1.2 ........................................................................................ 2.1.3 ........................................................................................


____________________________CES Journal 91 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

2.2 แผนการสอน เรื่ อง....................................................................... 2.3 เครื่ องมือวัดผลและรวบรวมข้อมูล 2.3.1 ........................................................................................ 2.3.2 ........................................................................................ 2.3.3 ........................................................................................ 3. วิธีการรวบรวมข้ อมูล 3.1 .................................................................................................. 3.2 .................................................................................................. 3.3 .................................................................................................. 4. วิธีการวิเคราะห์ ข้อมูล 4.1 ................................................................................................. 4.2 ................................................................................................. 4.3 ................................................................................................. 5. ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล 5.1 .................................................................................................. 5.2 .................................................................................................. 5.3 .................................................................................................. สรุ ปและสะท้ อนผล ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ 2) เขียนแบบเป็ นทางการ การเขียนรายงานการวิจยั ในชั้นเรี ยน แบบเป็ นทางการ ควรมีโครงสร้างและองค์ประกอบที่สาคัญ โดยใช้รูปแบบการนาเสนอตามแนวทางการเขียนรายงานวิจยั 5 บท ดังนี้ บทที่ 1 บทนา ประกอบด้วยเนื้ อหาเกี่ ยวกับ ความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหา วัตถุ ป ระสงค์ของการวิจยั ขอบเขตการวิจยั นิ ยามศัพท์เฉพาะ ข้อตกลงเบื้ องต้นของการวิจยั ข้อจากัดของการวิจยั และประโยชน์ที่ ได้รับจากการวิจยั


____________________________CES Journal 92 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจยั บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจยั ประกอบด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจยั ประชากร กลุ่มตัวอย่าง เครื่ องมือวิจยั การเก็บรวบรวม ข้อมูล และการวิเคราะห์ขอ้ มูล บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล บทที่ 5 สรุ ปผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล อภิปรายและข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก 9. บทสรุ ป การทาวิจยั ในชั้นเรี ยนมี ความสาคัญต่อการพัฒนาผูเ้ รี ยน โดยอาจารย์เป็ นผูด้ าเนิ นการด้วยตนเอง เพื่อการพัฒนาพฤติกรรมผูเ้ รี ยน การเพิ่มสัมฤทธิ ผลการเรี ยน และการสร้ างบรรยากาศการเรี ยนรู ้ เพื่อให้ ผูเ้ รี ยนเกิ ดการเรี ยนรู ้ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ซึ่ งสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 มาตราที่ 30 ที่ได้กาหนดให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรี ยนการสอนที่มีประสิ ทธิ ภาพ รวมทั้งส่ งเสริ ม ให้ผสู ้ อนสามารถวิจยั เพื่อพัฒนากระบวนการเรี ยนรู ้ที่เหมาะสมกับผูเ้ รี ยนในแต่ละระดับการศึกษา องค์ความรู ้เกี่ ยวกับวิธีการวิจยั ในชั้นเรี ยนที่นาเสนอมีความแตกต่างจากการวิจยั ทางการ กล่าวคือ การวิจยั ในชั้นเรี ยนมุ่งแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจริ งในชั้นเรี ยน โดยใช้วิธีวิจยั ก็ไม่ซบั ซ้อนและอาจารย์สามารถลง มือทาได้ทนั ทีเมื่อพบปั ญหา ซึ่ งอาจใช้โมเดล PAOR เป็ นกรอบในการทาวิจยั ส่ วนการวิจยั ทางการนั้น อาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาส่ วนใหญ่มีประสบการณ์ท้ งั ทางตรงและทางอ้อม ในทางตรงนั้น อาจารย์เป็ นผู ้ ลงมือทาวิจยั ด้วยตนเองโดยอาจทาคนเดียวหรื อทาหลายคน ส่ วนทางอ้อมนั้น เช่น อาจารย์สอนนักศึกษาโดย ใช้กระบวนการวิจยั เป็ นฐาน (Research – Based Learning) และเป็ นอาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิพนธ์-สารนิพนธ์ เป็ นต้น กล่าวได้วา่ การทาวิจยั ในชั้นเรี ยน เป็ นเรื่ องสาคัญและมีวธิ ี การที่ไม่ยาก ซึ่ งอาจารย์ทุกคนสามารถทา ได้ เพียงแต่ควรทาความเข้าใจวิธีการวิจยั และลงมือทาตามขั้นตอนที่เสนอ เชื่ อว่าประโยชน์ที่ได้รับจะไปสู่ ผูเ้ รี ยนโดยตรงอย่างแน่ นอน และจะทาให้อาจารย์มีความภาคภูมิใจในผลงาน และเป็ นวิถีการทางานปกติ หรื อเป็ นวัฒนธรรมของอาจารย์นกั วิจยั ต่อไป


____________________________CES Journal 93 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542. กรุ งเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว. ธัญธัช วิภตั ิภูมิประเทศ (2556) รายงานการวิจัยในชั้ นเรี ยน เรื่ อง ผลการเรี ยนรู้ โดยใช้ วิจัยเป็ นฐาน ที่มีต่อ วัฒนธรรมอาเซียนของนักศึกษา หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุ รกิจบัณฑิตย์. พิชิต ฤทธิ์ จรู ญ. (2544). การวิจัยเพือ่ พัฒนาการเรียนรู้ : ปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียน. กรุ งเทพฯ: ศูนย์หนังสื อจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ไพจิตร สะดวกการ และ ศิริกาญจน์ โกสุ มภ์ (2545) การวิจัยในชั้ นเรี ยน (ชุ ดอบรมครู : ประมวลสาระ) สานักงานปฏิรูปการศึกษา, กรุ งเทพมหานคร. ไพฑูรย์ สิ นลารัตน์, บรรณาธิการ. ( 2546). การเรียนการสอนทีม่ ีการวิจัยเป็ นฐาน. กรุ งเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา. (2555) การวิจัยในชั้นเรียน. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธุ รกิจบัณฑิตย์. วิ ชิ ต

สุ รั ต น์ เ รื องชั ย

(2546) การวิ จั ย เพื่ อ พั ฒ นาการเรี ย นการสอน วารสารศึ ก ษาศาสตร์

ปี ที่ 14 ฉบับ ที่ 2 เดือน พฤศจิกายน 2545-มีนาคม 2546 หน้า 31. ศักดิ์สิทธิ์ วัชรารัตน์ ( 2552 ) การวิจัยทางการศึกษาและการวิจัยในชั้ นเรียน วิทยาลัยสารพัดช่างพิษณุ โลก สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. สรชัย พิศาลบุตร. ( 2547) การวิจัยในชั้นเรียน. กรุ งเทพฯ: วิทยพัฒน์. สิ น ธะวา คามดิ ษ ฐ์ (2546) การวิ จั ย ในชั้ นเรี ย นคื อ ภารกิ จ ส าคั ญ ของครู ใ นยุ ค ปฏิ รู ป ฐานเศรษฐกิ จ ฉบับวันที่ 28 – 30 สิ งหาคม 2546.


____________________________CES Journal 94 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

สุ พจน์ เอี้ยงกุญชร (2552) รายงานการวิจัยในชั้ นเรียน เรื่ อง การสอนแบบการเรี ยนรู้ เป็ นรายบุคคล ด้ วย เทคนิคกระบวนการกลุ่มสาหรั บวิชา วก 350 ปฐพีวิทยาสาหรับวิศวกรรมเกษตร สาขาวิชาวิศวกรรม เกษตร คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้. สุ วิมล ว่องวานิ ช (2549) การวิจัยปฏิบั ติการในชั้ นเรี ยน. พิ มพ์ค รั้ ง ที่ 9 . กรุ ง เทพฯ . สานัก พิม พ์แห่ ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Elliot, John. (1997). Action Research for Education Change. Philladelphia : Prentice Hall . Zuber-Skerrit, O. (1992). Action Research in Higher Education. London : Kogan Page, Grundy, Shirley ( 2551 ) Action Research . วารสารศึกษาทัว่ ไป มหาวิทยาลัย ขอนแก่น. 1, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2551) 33-46. Kemmis, S and , McTagart. (1990). The Action Research Planner. Geelong : Deakin UniversityPress.


____________________________CES Journal 95 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

สาระความรู้และสมรรถนะตามมาตรฐานความรู้ผ้ปู ระกอบวิชาชีพครู ดร.โชติ แย้มแสง*

*อาจารย์ประจาวิทยาลัยครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์


____________________________CES Journal 96 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

บทคัดย่อ การวิจยั ครั้งนี้ มีวตั ถุ ประสงค์เพื่อ 1)ศึกษาระดับสาระความรู ้ และสมรรถนะตามาตรฐานความรู ้ ผู ้ ประกอบวิชาชี พครู 2)หาลาดับความต้องการพัฒนามาตรฐานความรู ้ 3)หาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะผู ้ ประกอบวิ ช าชี พ ครู ก ับ สาระความรู ้ และสมรรถนะและ 4)หาปั จจัย ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ สาระความรู้ แ ละ สมรรถนะของนัก ศึ กษาหลักสู ตรประกาศนี ย บัตรบัณฑิ ตวิช าชี พครู ก่อนเข้ารั บ การศึ ก ษา ประชากรคื อ นักศึ กษาหลักสู ตรประกาศนี ยบัตรบัณฑิ ตวิชาชี พครู ของวิทยาลัยครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุ รกิ จบัณฑิ ตย์ ปี การศึกษา 2557 เครื่ องมือเป็ นแบบสอบถาม สถิ ติที่ใช้คือ ความถี่ ร้ อยละ ค่าเฉลี่ ยและส่ วนเบี่ ยงเบน มาตรฐาน ผลการวิจยั พบว่า มาตรฐานความรู ้ผปู ้ ระกอบวิชาชีพครู ท้ งั 11 ด้าน มีระดับสาระความรู ้โดยภาพ รวมอยูใ่ นระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็ นรายมาตรฐานพบว่า คุณธรรมจริ ยธรรมและจรรยาบรรณอยู่ใน ลาดับสู งสุ ด รองลงมาได้แก่การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ ส่ วนการประกันคุ ณภาพการศึกษาอยู่ใน ลาดับต่าสุ ด ระดับสมรรถนะโดยภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็ นรายมาตรฐานพบว่า คุณธรรม จริ ยธรรมและจรรยาบรรณอยูใ่ นลาดับสู งสุ ด รองลงมาได้แก่ความเป็ นครู ส่ วนหลักสู ตรอยูใ่ นลาดับต่าสุ ด ลาดับความต้องการพัฒนามาตรฐานความรู ้ปรากฏว่ามาตรฐานความเป็ นครู มีความสาคัญสู งสุ ด รองลงมา ได้แก่ จิตวิทยาสาหรั บครู ส่ วนการวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู ้ อยู่ในลาดับต่ าสุ ด ความสัมพันธ์ ระหว่าง ลักษณะผูป้ ระกอบวิชาชีพครู กบั สาระความรู ้และสมรรถนะ ปรากฏว่าไม่มีลกั ษณะผูป้ ระกอบวิชาชี พครู ที่มี ความสัมพันธ์กบั สาระความรู ้ และสมรรถนะตามมาตรฐานความรู ้ ผูป้ ระกอบวิชาชี พครู ส่ วนปั จจัยที่ มี ผลกระทบต่อสาระความรู ้มากที่สุดคือจิตวิทยาสาหรับครู รองลงมาคือการจัดการเรี ยนรู ้และการจัดการชั้น เรี ยน ส่ วนภาษาและวัฒนธรรมอยูใ่ นลาดับต่าสุ ด และปั จจัยที่มีผลกระทบต่อสมรรถนะมากที่สุดคือ การ วิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู ้ รองลงมาคือ จิตวิทยาสาหรับครู ส่ วนภาษาและวัฒนธรรม อยูใ่ นลาดับต่าสุ ด คาสาคัญ สาระความรู้และสมรรถนะตามมาตรฐานความรู้ผปู้ ระกอบวิชาชีพครู


____________________________CES Journal 97 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

ABSTRACT The objectives of this study were to 1) study knowledge and competencies as per the knowledge standards of teaching professionals; 2) priorities needs for knowledge standards development; 3) find a relationship between characteristics of teaching professionals and knowledge and competencies; and 4) identify factors affecting the knowledge and competencies of students in the Graduate Diploma Program in Teaching Profession prior to the admission. The population was the students in the Graduate Diploma Program in Teaching Profession. Data were collected by questionnaires and analyses by the descriptive statistics, namely frequency, percentage, mean and standard deviation. The findings revealed that overall, the 11 domains knowledge standards of the teaching professionals were at the fair level. In regard to each domain, the ‘Ethics, Morality and Professional Ethics’ was the highest rated domain, followed by ‘Learning Assessment and Evaluation’. ‘Education Quality Assurance’ was at the lowest level. The overall competencies were at the ‘much’ level. The finding of each standard showed that ‘Ethics, Morality and Professional Ethics’ was at the highest level, followed by ‘Being a Professional Teacher’, while ‘Curriculum Innovation’ was at the lowest level. Regarding the priority of the needs for knowledge standards development, the results revealed that ‘Standard of Being a Professional Teacher’ gained the highest significance, followed by ‘Psychology for Teachers’, while ‘Research for Learning Development’ was at the lowest level. It was found that there was no relationship between characteristics of teaching professionals and knowledge and competencies. The most influential factor on knowledge was ‘Psychology for Teachers’, followed by ‘Learning and Classroom Management’. ‘Language and Culture’ was at the lowest level. ‘Research for Learning Development’ was reported as the most affecting factor on competencies, followed by ‘Psychology for Teachers’, while ‘Language and Culture’ was found to be the least affecting factor.

Keywords: Knowledge and competencies as per the knowledge standards of teaching professionals


____________________________CES Journal 98 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

บทนา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม( ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 มาตรา 4 ( กระทรวงศึกษาธิการ,2546) ได้กาหนดไว้วา่ ครู หมายถึงบุคลากรวิชาชีพที่ทาหน้าที่หลักทางด้านการเรี ยน การสอนและการส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ ของผูเ้ รี ยนด้วยวิธีการต่างๆในสถานศึ กษาทั้งของรั ฐและเอกชน ใน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณาจารย์ หมายถึงบุคลากรซึ่ งทาหน้าที่หลักทางด้านการสอนและการวิจยั ในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริ ญญาของรัฐและเอกชน และ พระราชบัญญัติ สภาครู และบุคลากร ทางการศึกษา พ.ศ. 2546 มาตรา 4 ( สานักงานเลขาธิ การคุรุสภา,2553 ) ได้กาหนดว่า ครู หมายถึงบุคลากร ซึ่ งประกอบวิชาชีพหลักทางด้านการเรี ยนการสอนและการส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนด้วยวิธีการต่างๆใน สถานศึกษาปฐมวัย ขั้นพื้นฐาน และอุดมศึกษาที่ต่ากว่าปริ ญญาทั้งของรัฐและเอกชน ครู เป็ นวิชาชีพชั้นสู งมีความสาคัญและความจาเป็ นต่อสังคมไทยมาอย่างต่อเนื่ องยาวนานโดยเฉพาะ อย่างยิ่งเมื่อมีการเปลี่ ยนแปลงเกิ ดขึ้น อาทิการเป็ นสังคมแห่ งการเรี ยนรู ้ อนั เป็ นผลมาจากการพัฒนาในยุค สังคมโลกาภิวฒั น์ ที่ ทาให้ขอบข่ายของการสื บเสาะค้นคว้า แสวงหา และการถ่ายทอดความรู ้ การเรี ยนรู ้ เป็ นไปอย่างกว้างขวางรวดเร็ ว พร้ อมกับการขยายขอบข่าย และเชื่ อมโยงความรู ้ แห่ งศาสตร์ ต่างๆมากขึ้ น โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการสื่ อสาร ประเทศไทยกาลังก้าวหน้าสู่ ประชาคมอา เชี่ ยนในปี 2558 เพื่อการอยูร่ ่ วมกันอย่างสันติสุข มีการแก้ไขปั ญหาอย่างสันติวิธี มีความมัน่ คงมัง่ คัง่ ในทาง เศรษฐกิจ สามารถแข่งขันกับประเทศในภูมิภาคอื่นๆได้ รวมทั้งสามารถอยูร่ วมกันในสังคมที่เอื้ออาทร จึง ถือเป็ นจุดเปลี่ยนสาคัญอีกครั้งหนึ่ง ( สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา,2555 )นอกจากนั้น สุ มน อมร วิวฒั น์ ( 2552) ยังได้กล่าวว่า ในกระบวนการเรี ยนรู ้ ครู มีหลายประเภท แบ่งออกได้เป็ น 4 กลุ่มคือ ครู คน ครู เครื่ อง วัสดุ สื่ อเทคโนโลยี ครู เหตุการณ์ สิ่ งแวดล้อม สังคม และครู ธรรมชาติ และได้กล่าวถึงครู คน ซึ่ งมี จานวนมหาศาล อยูท่ วั่ ประเทศเราเชื่อกันว่า ครู เป็ นผูส้ อนหนังสื อ ถ่ายทอดความรู ้แก่ศิษย์ เป็ นผูส้ อนศิษย์ให้ รู ้จกั โลกและชีวติ เป็ นผูส้ อนธรรม คือกล่อมเกลาจิตใจของคนทุกรุ่ นทุกวัย และที่ชดั เจนมากที่สุดคือครู เป็ น ผูเ้ ตรี ยมศิษย์ให้มีความรู้ความสามารถ เพื่อพร้อมรับถึงการเปลี่ยนแปลง เมื่ อ ครู มี ค วามส าคัญ และเป็ นอาชี พ ชั้ น สู ง จึ ง ได้ มี ก ารก าหนดให้ มี ห น่ ว ยงานดู แ ลครู ต าม พระราชบัญญัติ สภาครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 มาตรา 7 ให้มีสภาครู และบุคลากรทางการ ศึกษา เรี ยกว่า ‚คุรุสภา‛ มีฐานะเป็ นนิ ติบุคคล ในกากับของกระทรวงศึกษาธิ การ โดยให้มีหน้าที่ต่างๆ และ หน้าที่อนั หนึ่ งซึ่ งมีความสาคัญต่ออาชี พครู คือกาหนดมาตรฐานวิชาชี พครู และคุ รุสภาได้ออกข้อบังคับคุ รุ สภา พ.ศ.2556ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ ครู ไว้ 11 มาตรฐาน ได้แก่1 ความเป็ นครู 2 ปรัชญาการศึกษา 3 ภาษา และวัฒนธรรม 4 จิตวิทยาสาหรับครู 5 หลักสู ตร 6 การจัดการเรี ยนรู ้และการจัดการชั้นเรี ยน 7 การวิจยั เพื่อ พัฒนาการเรี ยนรู้8 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา 9 การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ 10 การประกันคุ ณภาพการศึ กษาและ 11 คุ ณธรรมจริ ย ธรรมและจรรยาบรรณ .และในแต่ ล ะมาตรฐาน


____________________________CES Journal 99 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

คุรุสภายังได้ออกประกาศคณะกรรมการคุรุสภาเรื่ องสาระความรู้สมรรถนะและประสบการณ์วิชาชีพของผู้ ประกอบวิชาชี พครู ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา ผูบ้ ริ หารการศึกษาและศึกษานิ เทศก์ซ่ ึ งในข้อบังคับได้กาหนด สาระความรู้และสมรรถนะไว้ดว้ ย ดังนั้นสถาบันการศึกษาที่จดั การศึกษาหลักสู ตรประกาศนียบัตรบัณฑิตสาขาวิชาชี พครู เพื่อให้ผทู้ ี่ สาเร็ จการศึ ก ษาระดับปริ ญญาตรี สาขาต่างๆได้เข้าเรี ย นเพื่อประกอบอาชี พครู ให้มี มาตรฐานความรู ้ 11 มาตรฐาน จึงต้องจัดหลักสู ตรให้มีเนื้อหาตามสาระความรู ้และสมรรถนะตามที่คุรุสภากาหนด วิทยาลัยครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุ รกิจบัณฑิตย์ ได้เปิ ดสอนหลักสู ตรประกาศนี ยบัตรบัณฑิตวิชาชี พ ครู เพื่อให้ผทู ้ ี่สาเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี สาขาต่างๆได้เข้าเรี ยนเพื่อประกอบอาชี พครู ตามกฎหมาย และข้อบังคับดังกล่าว ผูว้ จิ ยั จึงสนใจที่จะทาการวิจยั เรื่ อง สาระความรู ้และสมรรถนะตามมาตรฐานความรู้ ผูป้ ระกอบวิชาชีพครู เพื่อทราบระดับสาระความรู้ สมรรถนะและลาดับความสาคัญของมาตรฐานความรู้ผู้ ประกอบวิ ช าชี พ ครู ของนัก ศึ ก ษาหลัก สู ต รประกาศนี ย บัต รบัณ ฑิ ต วิ ช าชี พ ครู วิ ท ยาลัย ครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุ รกิจบัณฑิตย์ วัตถุประสงค์ การวิจัย 1) เพื่อวัดระดับสาระความรู ้และสมรรถนะตามมาตรฐานความรู ้ผปู ้ ระกอบวิชาชีพครู ก่อนเข้าศึกษา 2) เพื่อจัดลาดับความสาคัญของมาตรฐานความรู้ผปู้ ระกอบวิชาชีพครู 3) เพื่อวัดความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะผูป้ ระกอบวิชาชีพครู กบั สาระความรู ้และสมรรถนะตาม มาตรฐานความรู้ผปู้ ระกอบวิชาชีพครู 4) เพื่อหาปั จจัยที่มีผลกระทบต่อสาระความรู ้และสมรรถนะตามมาตรฐานความรู ้ผปู ้ ระกอบวิชาชีพ ครู สมมติฐานการวิจัย ลักษณะของผูป้ ระกอบวิชาชี พครู ไม่ทาให้ สาระความรู ้และสมรรถนะตามมาตรฐาน ความรู ้ตามมาตรฐานความรู ้ผปู ้ ระกอบวิชาชีพครู แตกต่างกัน


____________________________CES Journal 100 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

กรอบแนวคิดในการวิจัยครั้งนี้ ลักษณะผู้ประกอบวิชาชีพครู

เพศ อายุ วุฒิการศึกษา เกรดเฉลี่ย ปี ที่สาเร็ จการศึกษา ระดับชั้นที่สอน โรงเรี ยนสังกัด จานวนปี ที่ทาการสอน

สาระความรู้ สมรรถนะ

นิยามศัพท์ วิชาชี พ หมายถึ ง วิชาชี พทางการศึกษาที่ทาหน้าที่หลักทางด้านการเรี ยนการสอนและการส่ งเสริ ม การเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยนการบริ หารสถานศึกษา การบริ หารการศึกษานอกสถานศึกษาและการนิเทศการศึกษา ในสถานศึกษาปฐมวัยขั้นพื้นฐานและอุดมศึกษาที่ต่ากว่าปริ ญญาทั้งของรัฐและเอกชน วิชาชี พครู หมายถึง วิชาชี พที่ทาหน้าที่หลักด้านการเรี ยนการสอน และการส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ ของ ผูเ้ รี ยนด้วยวิธีการต่างๆ ในสถานศึกษาปฐมวัย ขั้นพื้นฐาน และอุดมศึกษาที่ต่ ากว่าปริ ญญา ทั้งของรัฐและ เอกชน มาตรฐานวิชาชี พทางการศึกษา หมายถึงข้อกาหนดเกี่ยวกับคุ ณลักษณะและคุณภาพที่พึงประสงค์ ในการประกอบวิ ช าชี พ ทางการศึ ก ษาซึ่ งผู้ป ระกอบวิ ช าชี พ ทางการศึ ก ษาต้อ งประพฤติ ป ฏิ บ ัติ ต าม ประกอบด้วยมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ มาตรฐานการปฏิบตั ิงานและมาตรฐานการปฏิบตั ิ ตน มาตรฐานความรู้ และประสบการณ์ วิชาชี พ หมายถึงข้อกาหนดเกี่ยวกับความรู ้และประสบการณ์ใน การจัดการเรี ยนรู้หรื อการจัดการศึกษาซึ่ งผูต้ อ้ งการประกอบวิชาชี พทางการศึกษาต้องมีเพียงพอที่สามารถ นาไปใช้ในการประกอบวิชาชีพได้


____________________________CES Journal 101 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

สาระความรู้ หมายถึ ง รายละเอี ย ดของสิ่ ง ที่ สั่ ง สมมาจากการศึ ก ษาเล่ า เรี ย นการค้น คว้า หรื อ ประสบการณ์ รวมทั้ง ความสามารถเชิ ง ปฏิ บ ัติ แ ละทัก ษะความเข้า ใจหรื อ สารสนเทศที่ ไ ด้รั บ มาจาก ประสบการณ์ สิ่ งที่ได้รับมาจากการได้ยนิ ได้ฟังการคิดหรื อการปฏิบตั ิองค์วชิ าในแต่ละสาขา สมรรถนะ หมายถึ ง ความสามารถ ขี ดความสามารถหรื อสมรรถภาพ ใช้ก ับคนและเครื่ องจัก ร เครื่ องยนต์ เช่น ครู คนนี้มีความสามารถสู งในเรื่ องการสอน หรื อผูบ้ ริ หารยุคนี้ วดั กันที่ขีดความสามารถ หรื อ รถยนต์คนั นี้มีสมรรถนะเยีย่ มเรื่ องเกาะถนน วิธีดาเนินการวิจัย การวิจยั นี้เป็ นการวิจยั เชิงพรรณนา มีวธิ ี การดาเนินงานดังนี้ 1 ประชากรในงานวิจยั เป็ นนักศึกษาหลักสู ตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู วิทยาลัยครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุ รกิจบัณฑิตย์ รุ่ นที่ 1 ปี การศึกษา 2557 จานวน 120 คน 2 เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั เป็ นแบบสอบถาม เกี่ยวกับข้อมูลพื้นฐาน และความคิดเห็น มี 3 ตอน ตอนที่ 1 ถามข้อมูลเกี่ ยวกับสถานภาพของผูต้ อบแบบสอบถาม ตอนที่ 2ถามความคิดเห็ นเกี่ ยวกับระดับ สาระความรู ้และสมรรถนะ ตอนที่ 3 เป็ นความคิดเห็นเกี่ยวกับลาดับความสาคัญของมาตรฐานความรู ้ 3 การดาเนินการวิจยั ผูว้ จิ ยั ส่ งแบบสอบถามและเก็บแบบสอบถามด้วยตนเอง 4 การวิเคราะห์ขอ้ มูล วิเคราะห์ขอ้ มูลพื้นฐาน ของผูต้ อบแบบสอบถาม โดยใช้การคานวณค่าความถี่ และค่าร้อยละ วิเคราะห์ขอ้ มูลความคิดเห็นโดยหาค่าเฉลี่ย ( ̅ ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) ค่าความถี่และค่า ร้อยละ วัดความสั ม พันธ์ ระหว่า งลัก ษณะผูป้ ระกอบวิช าชี พ ครู ก ับ สาระความรู ้ และสมรรถนะโดยการ ทดสอบไคสแควร์ หาปั จจัยที่มีผลกระทบต่อสาระความรู้และสมรรถนะตามมาตรฐานความรู้ ผปู้ ระกอบวิชาชี พครู วิเคราะห์โดยใช้ Component Analysis สรุ ปผลการวิจัย 1 ระดับ สาระความรู้ แ ละสมรรถนะตามมาตรฐานความรู้ ผูป้ ระกอบวิช าชี พ ครู ของนัก ศึ ก ษา หลักสู ตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู วิทยาลัยครุ ศาสตร์ มหาวิยาลัยธุ รกิจบัณฑิตย์พบว่า


____________________________CES Journal 102 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

มาตรฐานที่ 1 ความเป็ นครู ผลการวิจยั ปรากฏว่า ระดับสาระความรู ้ ในภาพรวมอยูใ่ นระดับปานกลาง โดยที่การปลูกฝั งจิตวิญญาณความเป็ นครู อยู่ ในลาดับสู งสุ ดระดับมาก รองลงมาได้แก่การสร้างความก้าวหน้าและพัฒนาวิชาชี พครู อย่างต่อเนื่ องอยูใ่ น ระดับมาก สภาพงานครู คุ ณลักษณะ และมาตรฐานวิชาชี พครู อยูใ่ นระดับปานกลาง การจัดการความรู ้ เกี่ ยวกับวิชาชี พครู อยู่ในระดับปานกลาง และกฎหมายที่เกี่ ยวข้องกับครู และวิชาชี พครู อยู่ในลาดับสุ ดท้าย ระดับปานกลาง ระดับสมรรถนะในภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก และอยูใ่ นระดับมากทุกข้อ โดยการมีจิตวิญญาณความ เป็ นครู อยูใ่ นลาดับสู งสุ ด รองลงมาได้แก่การปฏิสัมพันธ์ระหว่างครู กบั ผูเ้ รี ยนที่ส่งเสริ มการพัฒนาศักยภาพ ผูเ้ รี ย น การแสวงหาและเลื อ กใช้ข ้อ มู ล ข่ า วสารความรู ้ เ พื่ อ ให้ ท ัน ต่ อ การเปลี่ ย นแปลง และรอบรู ้ ใ น เนื้ อหาวิชาที่ สอนและกลยุทธ์การสอนเพื่อให้ผูเ้ รี ยนคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์สร้ างสรรค์สิ่งใหม่ๆได้อยู่ใน ลาดับสุ ดท้าย มาตรฐานที่ 2 ปรัชญาการศึกษา ผลการวิจยั ปรากฏว่า ระดับสาระความรู ้ในภาพรวมอยูใ่ นระดับปานกลาง โดยที่แนวคิดและกลวิธีการจัดการศึกษาเพื่อ เสริ มสร้างการพัฒนาที่ยงั่ ยืนอยูใ่ นระดับมาก และปรัชญาแนวคิดและทฤษฎีทางการศึกษาศาสนาเศรษฐกิ จ สังคมวัฒนธรรมอยูใ่ นระดับปานกลาง ระดับสมรรถนะในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และอยู่ในระดับมากทุกข้อโดยที่การประยุกต์ใช้เพื่อ พัฒนาสถานศึกษาอยูใ่ นลาดับสู งกว่าการวิเคราะห์เกี่ยวกับการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยงั่ ยืน มาตรฐานที่ 3 ภาษาและวัฒนธรรม ผลการวิจยั ปรากฏว่า ระดับสาระความรู ้ในภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก โดยที่ภาษาและวัฒนธรรมไทยเพื่อการเป็ นครู อยูใ่ น ระดับมาก ส่ วนภาษาต่างประเทศเพื่อพัฒนาวิชาชีพครู อยูใ่ นระดับ ปานกลาง ระดับสมรรถนะในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และอยู่ในระดับมากทุกข้อ โดยที่การใช้ภาษาและ วัฒนธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติอยู่ในระดับที่สูงกว่าความสามารถใช้ทกั ษะการฟั งการพูดการอ่าน การเขียนภาษาไทยและภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่ อความหมายอย่างถูกต้อง มาตรฐานที่ 4 จิตวิทยาสาหรับครู ผลการวิจยั ปรากฏว่า ระดับสาระความรู ้ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และอยู่ในระดับมากทุกข้อ โดยที่จิตวิทยาการแนะ แนวและการให้คาปรึ กษาอยู่ในระดับสู งสุ ด รองลงมาได้แก่จิตวิทยาพื้นฐานและจิตวิทยาพัฒนาการของ มนุษย์ และจิตวิทยาการเรี ยนรู้และจิตวิทยาการศึกษาตามลาดับ ระดับ สมรรถนะในภาพรวมอยู่ใ นระดับ มาก และ อยู่ในระดับ มากทุ ก ข้อทั้ง ความสามารถให้ คาแนะนาช่ วยเหลื อผูเ้ รี ยนให้มีคุณภาพชี วิตที่ ดีข้ ึ นและการใช้จิตวิทยาเพื่อความเข้าใจและสนับสนุ นการ เรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนให้เต็มศักยภาพ และมีค่าเฉลี่ยเท่ากัน


____________________________CES Journal 103 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

มาตรฐานที่ 5 หลักสู ตร ผลการวิจยั ปรากฏว่า ระดับสาระความรู ้ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยที่การนาหลักสู ตรไปใช้อยู่ในระดับมาก ส่ วนการพัฒนาหลักสู ตรและหลักการแนวคิดในการจัดทาหลักสู ตรอยูใ่ นระดับปานกลาง ระดับ สมรรถนะในภาพรวมอยู่ใ นระดับ ปานกลาง และอยู่ในระดับ ปานกลางทุ ก ข้อโดยที่ ก าร ปฏิบตั ิการประเมินหลักสู ตรและการนาผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาหลักสู ตร อยูใ่ นระดับสู งกว่าการ วิเคราะห์หลักสู ตรและสามารถจัดทาหลักสู ตรได้ มาตรฐานที่ 6 การจัดการเรี ยนรู ้และการจัดการชั้นเรี ยน ผลการวิจยั ปรากฏว่า ระดับ สาระความรู ้ ใ นภาพรวมอยู่ใ นระดับ มาก โดยที่ ก ารจัด การชั้น เรี ย นอยู่ใ นระดับ สู ง สุ ด รองลงมาได้แ ก่ ห ลัก การแนวคิ ด แนวปฏิ บ ัติ เ กี่ ย วกับ การจัด ท าแผนการเรี ย นรู ้ ก ารจัด การเรี ย นรู ้ แ ละ สิ่ งแวดล้อมเพื่อการเรี ยนรู ้ และ การบูรณาการการเรี ยนรู ้ แบบเรี ยนรวม อยู่ในระดับมากตามลาดับ แต่ ทฤษฎีและรู ปแบบการจัดการเรี ยนรู ้เพื่อให้ผเู ้ รี ยนรู ้จกั คิดวิเคราะห์คิดสร้ างสรรค์และแก้ปัญหาได้ และการ พัฒนาศูนย์การเรี ยนในสถานศึกษา อยูใ่ นระดับปานกลาง ระดับสมรรถนะในภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก และ ทุกข้ออยูใ่ นระดับมาก โดยที่ความสามารถสร้าง บรรยากาศการจัดการชั้นเรี ยนให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ อยูใ่ นระดับสู งกว่าความสามารถจัดทาแผนการเรี ยนรู ้ และนาไปสู่ การปฏิบตั ิให้เกิดผลจริ ง มาตรฐานที่ 7 การวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู ้ ผลการวิจยั ปรากฏว่า ระดับสาระความรู ้ ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยที่หลักการแนวคิดแนวปฏิ บตั ิในการวิจยั อยูใ่ นระดับมาก แต่การใช้และผลิตงานวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู ้ อยูใ่ นระดับปานกลาง ระดับสมรรถนะในภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก โดยที่ความสามารถนาผลการวิจยั ไปใช้ในการจัดการ เรี ยนการสอนอยูใ่ นระดับมาก แต่ความสามารถทาวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอนและพัฒนาผูเ้ รี ยน อยูใ่ น ระดับปานกลาง มาตรฐานที่ 8 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ผลการวิจยั ปรากฏว่า ระดับสาระความรู ้ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยที่เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่ อสารอยู่ใน ระดับมาก แต่ หลัก การแนวคิ ดการออกแบบการประยุกต์ใ ช้และการประเมิ นสื่ อนวัตกรรมเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการเรี ยนรู ้ อยูใ่ นระดับปานกลาง ระดับสมรรถนะในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และทุ กข้ออยู่ในระดับมาก โดยที่ ความสามารถใช้ เทคโนโลยี ส ารสนเทศเพื่ อ การสื่ อ สาร อยู่ใ นระดับ สู ง กว่า การประยุ ก ต์ใ ช้แ ละประเมิ น สื่ อ นวัต กรรม เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรี ยนรู้ มาตรฐานที่ 9 การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ ผลการวิจยั ปรากฏว่า ระดับสาระความรู้ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และ ทุกข้ออยูใ่ นระดับมากโดยที่หลักการแนวคิด และแนวปฏิ บตั ิ ในการวัดและประเมิ นผลการเรี ยนรู ้ ของผูเ้ รี ยน อยู่ในระดับสู งกว่าปฏิ บตั ิการวัดและการ ประเมินผล


____________________________CES Journal 104 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

ระดับ สมรรถนะในภาพรวมอยู่ใ นระดับ มาก และทุ ก ข้ออยู่ใ นระดับ มากโดยที่ ส ามารถวัดและ ประเมินผลได้ อยูใ่ นระดับสู งกว่าสามารถนาผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาผูเ้ รี ยน มาตรฐานที่ 10 การประกันคุณภาพการศึกษา ผลการวิจยั ปรากฏว่า ระดับสาระความรู ้ ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และทุ กข้ออยู่ในระดับปานกลาง โดยที่การ ประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษา อยู่ใ นระดับ สู ง กว่า หลัก การแนวคิ ดแนวปฏิ บ ัติ เ กี่ ย วกับ การจัด การคุ ณ ภาพ การศึกษา ระดับสมรรถนะในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยที่ ความสามารถดาเนิ นการจัดกิ จกรรมประเมิ น คุณภาพการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ได้อยู่ในระดับมาก แต่ความสามารถจัดการคุณภาพการจัดกิจกรรมการ เรี ยนรู ้และพัฒนาคุณภาพการเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่ อง อยูใ่ นระดับปานกลาง มาตรฐานที่ 11 คุณธรรมจริ ยธรรมและจรรยาบรรณ ผลการวิจยั ปรากฏว่า ระดับ สาระความรู ้ ใ นภาพรวมอยู่ใ นระดับ มาก และ ทุ ก ข้อ อยู่ใ นระดับ มากตามล าดับ ได้แ ก่ คุณธรรมและจริ ยธรรมของวิชาชีพครู หลักธรรมาภิบาลและความซื่อสัตย์สุจริ ตจรรยาบรรณของวิชาชีพที่คุรุ สภากาหนด ระดับสมรรถนะในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และทุกข้ออยู่ในระดับมาก โดยที่การปฏิ บตั ิตนเป็ น แบบอย่างที่ดีมีจิตสานึ กสาธารณะและเสี ยสละให้สังคม อยูใ่ นระดับสู งกว่าการปฏิ บตั ิตนตามจรรยาบรรณ ของวิชาชีพ 2 ความต้องการพัฒนามาตรฐานความรู้ผปู้ ระกอบวิชาชีพครู พบว่า มาตรฐานความรู้ผูป้ ระกอบวิชาชี พครู ที่นกั ศึกษาต้องการตามลาดับได้แก่ มาตรฐานความเป็ นครู มี ความสาคัญสู งสุ ด รองลงมาได้แก่ จิตวิทยาสาหรั บครู คุ ณธรรมจริ ย ธรรมและจรรยาบรรณการประกัน คุณภาพการศึกษา หลักสู ตร การจัดการเรี ยนรู ้และการจัดการชั้นเรี ยน การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ ภาษาและวัฒนธรรม ปรัชญาการศึกษา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา และการวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู้ตามลาดับ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะผูป้ ระกอบวิชาชี พครู กบั สาระความรู ้ และสมรรถนะตามมาตรฐาน ความรู้ผปู้ ระกอบวิชาชีพครู จากการทดสอบ พบว่าไม่มีลกั ษณะผูป้ ระกอบวิชาชี พครู ที่มีความสัมพันธ์กบั สาระความรู ้ ตาม มาตรฐานความรู้ผปู้ ระกอบวิชาชีพครู 4 ปั จจัยที่มีความสาคัญต่อสาระความรู ้และสมรรถนะตามมาตรฐานความรู ้ผปู ้ ระกอบวิชาชีพครู จากการวิเคราะห์โดยใช้ Component Analysis พบว่า ปั จจัยที่มีความสาคัญต่อสาระความรู ้ ตาม มาตรฐานความรู้ผปู้ ระกอบวิชาชี พครู มากที่สุดคือ จิตวิทยาสาหรับครู รองลงมาคือ การจัดการเรี ยนรู้และ การจัดการชั้นเรี ยน การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ หลักสู ตร ความเป็ นครู การประกันคุณภาพการศึกษา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา การวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู้ คุณธรรมจริ ยธรรมและ จรรยาบรรณ ปรัชญา และภาษาและวัฒนธรรม ตามลาดับ


____________________________CES Journal 105 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

ส่ วนปั จจัยที่มีความสาคัญต่อสมรรถนะตามมาตรฐานความรู ้ผปู ้ ระกอบวิชาชี พครู มากที่สุดคือ การ วิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู้ รองลงมาคือ จิตวิทยาสาหรับครู การประกันคุณภาพการศึกษา หลักสู ตร ความ เป็ นครู การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ ปรัชญา คุณธรรมจริ ยธรรมและจรรยาบรรณ การจัดการเรี ยนรู้ และการจัดการชั้นเรี ย น นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึ กษาและภาษาและวัฒนธรรม ตามลาดับ อภิปรายผลการศึกษา จากผลการวิจยั เพื่ อทราบระดับสาระความรู้ และระดับสมรรถนะตามมาตรฐานความรู้ผปู้ ระกอบ วิชาชีพครู และลาดับความสาคัญของมาตรฐานความรู ้ผปู ้ ระกอบวิชาชีพครู ทั้ง 11 มาตรฐาน อภิปรายผลได้ ดังนี้ 1 ระดับสาระความรู้และระดับสมรรถนะตามมาตรฐานความรู้ผปู้ ระกอบวิชาชีพครู มาตรฐานที่ 1 ความเป็ นครู ระดับสาระความรู ้ ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ทั้งนี้ เนื่ องจาก นักศึกษาทุกคนไม่เคยเรี ยนเกี่ ยวกับความเป็ นครู มาก่อน แต่ท้ งั สองเรื่ องมีความจาเป็ นเพราะอาชี พครู เป็ น วิชาชีพชั้นสู ง มีกฎหมายควบคุม ตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.2542ที่แก้ไขเพิ่มเติม ( ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 มาตรา53ให้มีองค์กรวิชาชี พครู มีอานาจหน้าที่กาหนดมาตรฐานวิชาชี พ ออกและเพิกถอน ใบอนุ ญาตประกอบวิชาชี พ กากับดู แลการปฏิ บตั ิ ตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชี พรวมทั้งการ พัฒนาวิชาชี พครู ท้ งั ของรัฐและเอกชนต้องมีใบอนุ ญาตประกอบวิชาชี พตามที่กฎหมายกาหนด ดังนั้นใน การจัดการเรี ยนการสอนต้องให้ความสาคัญในเรื่ องการจัดการความรู ้ เกี่ ยวกับวิชาชี พครู และกฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับครู และวิชาชีพครู เป็ นพิเศษ ระดับสมรรถนะในภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก และอยูใ่ นระดับมากทุกข้อ โดยการมีจิตวิญญาณความเป็ นครู อยูใ่ นระดับสู งสุ ด แสดงว่าผูท้ ี่เรี ยนมีความพร้อมที่จะเป็ นครู เนื่องจากมีจิตวิญญาณความเป็ นครู สูงอยูแ่ ล้ว มาตรฐานที่ 2 ปรัชญาการศึกษา ระดับสาระความรู ้ในภาพรวมอยูใ่ นระดับปานกลาง โดยที่แนวคิด และกลวิธีการจัดการศึกษาเพื่อเสริ มสร้างการพัฒนาที่ยงั่ ยืนอยูใ่ นระดับมาก แต่ปรัชญาแนวคิดและทฤษฎี ทางการศึกษา ศาสนา เศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรมอยูใ่ นระดับปานกลาง จึงต้องให้มีความรู ้เรื่ องการศึกษา ศาสนา เศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรมให้สูงขึ้น เพราะเรื่ องดังกล่าวมีความจาเป็ นสาหรับการดารงชี วิต และ ต้องมีในหลักสู ตรตามผลการวิจยั ของ ฤตินนั ท์ สมุทร์ทยั ( 2556 ) ที่ได้ทาการวิจยั นาร่ องการพัฒนาหลักสู ตร การผลิตครู สาหรับศตวรรษที่ 21 พบว่าองค์ประกอบของหลักสู ตรการผลิตครู สาหรับศตวรรษที่ 21 ควรมี 5 องค์ประกอบคือ 1) ความสามารถพื้นฐานทางจริ ยธรรม (Ethical Underpinning) 2) ความรู้ที่จาเป็ นสาหรับ การดารงชี วิต (Knowledge) 3) ความสามารถในการคิด (Thinking) 4) ความสามารถในการนาตนเอง (Leadership)และ 5) สมรรถนะที่จาเป็ นในการประกอบวิชาชีพครู (Competency) มาตรฐานที่ 3 ภาษาและวัฒนธรรม ระดับสาระความรู ้ ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยที่ ภาษาและวัฒนธรรมไทยเพื่อการเป็ นครู อยู่ในระดับมาก แต่ภาษาต่างประเทศเพื่อพัฒนาวิชาชี พครู อยูใ่ น ระดับ ปานกลางผูว้ จิ ยั เห็นว่าเรื่ องมาตรฐานด้านภาษาและวัฒนธรรม ในปั จจุบนั มีความจาเป็ นที่จะต้องสร้าง


____________________________CES Journal 106 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

ครู ให้มีความรู ้เรื่ องภาษาต่างประเทศ เนื่ องประเทศไทยจะต้องเข้าสู่ ประชาคมอาเชี่ยนในปี พ.ศ.2558 เป็ น หน้าที่ของครู โดยตรงในการเตรี ยมคนสู่ ประชาคมอาเชี่ ยน และให้สอดคล้องกับสมรรถนะเรื่ องภาษาและ วัฒนธรรมในภาพรวมที่อยู่ในระดับมาก และอยู่ในระดับมากทุกข้อ และการใช้ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อ การอยู่ร่ วมกันอย่า งสั น ติ อ ยู่ใ นระดับ ที่ สู ง กว่า ความสามารถใช้ท กั ษะการฟั ง การพูด การอ่ า นการเขี ย น ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่ อความหมายอย่างถูกต้อง มาตรฐานที่ 4 จิ ตวิท ยาสาหรั บ ครู ระดับสาระความรู ้ ใ นภาพรวมอยู่ใ นระดับ ปานกลาง โดยที่ จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คาปรึ กษาอยูใ่ นระดับสู งสุ ด ประกอบกับมีระดับสมรรถนะในภาพรวมอยู่ ในระดับมาก และ อยูใ่ นระดับมากทุกข้อ เช่นกัน ทั้งความสามารถให้คาแนะนาช่วยเหลือผูเ้ รี ยนให้มีคุณภาพ ชี วิตที่ดีข้ ึนและการใช้จิตวิทยาเพื่อความเข้าใจและสนับสนุ นการเรี ยนรู ้ ของผูเ้ รี ยนให้เต็มศักยภาพนักศึกษา จึ ง มี ค วามพร้ อ มที่ จ ะเป็ นครู สอดคล้อ งตามข้อ บัง คั บ คุ รุ ส ภาว่า ด้ว ยมาตรฐานวิ ช าชี พ พ.ศ. 2556ที่ ใ ห้ ความหมายของครู ไว้วา่ ‚ครู ‛ หมายความว่าบุคคลซึ่ งประกอบวิชาชี พหลักทางด้านการเรี ยนการสอนและ การส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนด้วยวิธีการต่างๆซึ่ งผูท้ ี่จะส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนได้ดีจะต้องมีความรู ้ เรื่ องจิตวิทยาเป็ นอย่างดี มาตรฐานที่ 5 หลักสู ตร ระดับสาระความรู ้ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง แต่การนาหลักสู ตร ไปใช้อยูใ่ นระดับมาก ถือได้วา่ อยูใ่ นเกณฑ์ที่ดี เพราะครู มีหน้าที่จริ งๆคือการนาหลักสู ตรไปใช้มากกว่าการ ทาหลัก สู ตร และสมรรถนะที่ ภาพรวมอยู่ใ นระดับ ปานกลาง ก็ เช่ นเดี ยวกัน ที่ ก ารปฏิ บ ตั ิ ก ารประเมิ น หลักสู ตรและการนาผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาหลักสู ตร อยูใ่ นระดับสู งกว่าการวิเคราะห์หลักสู ตร และสามารถจัดทาหลักสู ตรได้เพราะหน้าที่ของครู อยูท่ ี่การประเมินและนาผลการประเมินไปใช้มากกว่าการ จัดทาหลักสู ตร มาตรฐานที่ 6 การจัดการเรี ยนรู ้และการจัดการชั้นเรี ยน ระดับสาระความรู ้ ในภาพรวมอยูใ่ นระดับ ปานกลาง โดยที่การจัดการชั้นเรี ยนอยูใ่ นระดับสู งสุ ดและระดับสมรรถนะในภาพรวมอยูใ่ นระดับมากและ ทุกข้ออยูใ่ นระดับมากโดยที่ความสามารถสร้างบรรยากาศการจัดการชั้นเรี ยนให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้อยูใ่ น ระดับสู งกว่าความสามารถจัดทาแผนการเรี ยนรู ้และนาไปสู่ การปฏิบตั ิให้เกิดผลจริ ง แสดงได้วา่ นักศึกษามี ความรู ้ และมีสมรรถนะในเรื่ องการจัดการเรี ยนรู ้และการจัดการชั้นเรี ยนได้ดี พร้ อมที่จะเป็ นครู ที่ดีเป็ นไป ตามข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชี พพ.ศ. 2556 ที่วา่ ครู หมายความว่าบุคคลซึ่ งประกอบวิชาชี พหลัก ทางด้านการเรี ยนการสอนและการส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนด้วยวิธีการต่างๆ มาตรฐานที่ 7 การวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู้ ระดับสาระความรู ้ ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยที่หลักการแนวคิดแนวปฏิบตั ิในการวิจยั อยูใ่ นระดับมากแต่การใช้และผลิตงานวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยน รู ้อยูใ่ นระดับปานกลาง และระดับสมรรถนะในภาพรวมอยูใ่ นระดับมากโดยที่ความสามารถนาผลการวิจยั ไปใช้ในการจัดการเรี ยนการสอนอยูใ่ นระดับมาก จะเห็ นได้วา่ ในเรื่ อง.การวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู ้ ถึงแม้ ระดับสาระความรู ้ จะอยูใ่ นระดับปานกลาง แต่หลักการแนวคิดแนวปฏิบตั ิในการวิจยั อยู่ในระดับมากและ ระดับสมรรถนะในภาพรวมอยูใ่ นระดับมากโดยที่ความสามารถนาผลการวิจยั ไปใช้ในการจัดการเรี ยนการ


____________________________CES Journal 107 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

สอนอยู่ในระดับมากแสดงได้ว่านักศึกษามีความพร้ อมในการเรี ยนรู ้ เรื่ องวิจยั ได้ดี สามารถทาการวิจยั เพื่อ พัฒนาผูเ้ รี ยนได้เป็ นไปตามประกาศคณะกรรมการคุ รุสภาเรื่ องสาระความรู้สมรรถนะและประสบการณ์ วิชาชีพของผูป้ ระกอบวิชาชีพครู ตามข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชี พพ.ศ. 2556 หมวด 1 ผูป้ ระกอบ วิช าชี พ ครู มี ส าระความรู้ และสมรรถนะของผูป้ ระกอบวิชาชี พ ครู ตามมาตรฐานความรู้ ข้อ 13. การ ปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะประกอบด้วย(3) การวิจยั เพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยน มาตรฐานที่ 8 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ระดับสาระความรู้ในภาพรวม อยูใ่ นระดับปานกลาง โดยที่เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่ อสารอยูใ่ นระดับมากและระดับสมรรถนะใน ภาพรวมอยูใ่ นระดับมากและทุกข้ออยูใ่ นระดับมาก นับได้วา่ นักศึกษามีความพร้อมในการศึกษาในปั จจุบนั และพร้อมที่จะทางานในโลกปัจจุบนั ที่จะตัองใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา มาตรฐานที่ 9 การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ ระดับสาระความรู ้ในภาพรวมอยูใ่ นระดับมากและ ทุกข้ออยู่ในระดับมาก และระดับสมรรถนะในภาพรวมอยูใ่ นระดับมากและทุกข้ออยู่ในระดับมากเช่นกัน นับได้วา่ นักศึกษามีความพร้อมที่จะเรี ยนและนาความรู ้ไปใช้เรื่ องการวัดและประเมินผลเพื่อสามารถรายงาน ผลการพัฒนาคุณภาพได้ เป็ นไปตามมาตรฐานผูป้ ระกอบวิชาชี พครู ตามข้อบังคับคุ รุสภาว่าด้วยมาตรฐาน วิชาชีพพ.ศ. 2556ข้อ 11 ผูป้ ระกอบวิชาชีพครู ตอ้ งมีมาตรฐานการปฏิบตั ิงาน7) รายงานผลการพัฒนาคุณภาพ ของผูเ้ รี ยนได้อย่างมีระบบ มาตรฐานที่ 10 การประกันคุณภาพการศึกษา ระดับสาระความรู ้ ในภาพรวมอยูใ่ นระดับปานกลาง และทุ กข้ออยู่ใ นระดับ ปานกลาง จึ ง มี ค วามจาเป็ นจะต้องให้ความส าคัญในการเรี ยนการสอนเรื่ องการ ประกันคุณภาพการศึกษาให้มากขึ้น เพราะมีการกาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.2542 ที่แก้ไขเพิ่มเติม( ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 การจัดการศึกษาทุกระดับจะต้องมีการประกันคุณภาพ มาตรฐานที่11 คุณธรรมจริ ยธรรมและจรรยาบรรณ ปรากฎว่าทั้งระดับสาระความรู ้ในภาพรวมอยู่ ในระดับมาก และ ทุกข้ออยูใ่ นระดับมากและระดับสมรรถนะในภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก และทุกข้ออยูใ่ น ระดับมากเช่นกัน จึงเป็ นโอกาศที่ดีที่ผเู ้ รี ยนวิชาชี พครู มีพ้ืนฐานทาง คุณธรรมจริ ยธรรมและจรรยาบรรณ ทั้ง สาระความรู ้และสมรรถที่สูงอยูแ่ ล้ว 2 ลาดับความสาคัญของมาตรฐานความรู้ผปู้ ระกอบวิชาชีพครู จากผลการวิจยั พบว่ามาตรฐานความรู ้ผปู ้ ระกอบวิชาชีพครู นักศึกษาเห็นว่ามาตรฐานความเป็ นครู มี ลาดับความสาคัญสู งสุ ด รองลงมาได้แก่จิตวิทยาสาหรับครู คุณธรรมจริ ยธรรมและจรรยาบรรณการประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษา และหลัก สู ต ร ตามล าดับ ส่ ว นการวิ จ ัย เพื่ อ พัฒ นาการเรี ย นรู ้ แ ละนวัต กรรมและ เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษามีความสาคัญอยู่ในลาดับต่ า ถื อได้ว่านักศึกษามีความต้องการและมี ความพร้อมในการเป็ นครู โดยดูจากพื้นความรู ้และสมรรถนะที่สูงพอในเรื่ องที่จาเป็ นในการเป็ นครู อนั ได้แก่ เรื่ องมาตรฐานความเป็ นครู จิตวิทยาสาหรับครู คุณธรรมจริ ยธรรมและจรรยาบรรณ การประกันคุณภาพ การศึกษา และหลักสู ตร


____________________________CES Journal 108 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

3 ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะผูป้ ระกอบวิชาชี พครู กบั สาระความรู ้ และสมรรถนะตามมาตรฐาน ความรู้ผปู้ ระกอบวิชาชีพครู จากการทดสอบพบว่า ไม่ มี ล ัก ษณะผูป้ ระกอบวิช าชี พ ครู ที่ มี ค วามสั ม พันธ์ กบั สาระความรู ้ และ สมรรถนะตามมาตรฐานความรู ้ ผูป้ ระกอบวิชาชี พ ครู แสดงว่า ผูป้ ระกอบวิชาชี พครู มี ส าระความรู ้ และ สมรรถนะมากน้อยระดับใด ไม่เกี่ ยวเนื่ องกับ เพศ อายุ วุฒิการศึกษา เกรดเฉลี่ย ระดับชั้นที่สอน สังกัด ของโรงเรี ยน และประสบการณ์ในการสอน แต่จากการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะผูป้ ระกอบวิชาชี พครู กบั สาระความรู ้ ปรากฏว่า อายุ มีค่าไคสแคว์ 0.057 ใกล้เคียงระดับนัยสาคัญ 0.05 แสดงว่าเรื่ องอายุน่าจะมีความสัมพันธ์กบั สาระความรู ้ บ้าง และประสบการณ์ในการสอนมีค่าไคสแควว์ 0.123 และวุฒิการศึกษามีค่าไคสแควว์ 0.146 ซึ่ งลักษณะ ทั้งเรื่ องอายุ ประสบการณ์ และวุฒิการศึกษาทาให้คนมีสาระความรู ้แตกต่างกันอยูแ่ ล้ว ส่ วนการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะผูป้ ระกอบวิชาชี พครู กบั สมรรถนะปรากฎว่าไม่มี ลักษณะผูป้ ระกอบวิชาชีพครู ที่มีความสัมพันธ์กบั สมรรถนะ มีแต่โรงเรี ยนที่สังกัดที่มีค่า ไคสแควว์ต่าสุ ดคือ 0.286 แต่ก็ยงั ห่างระดับนัยสาคัญที่ 0.05 4 ปั จจัยที่มีความสาคัญต่อสาระความรู ้และสมรรถนะตามมาตรฐานความรู ้ผปู ้ ระกอบวิชาชีพครู จากการวิเคราะห์โดยใช้ Component Analysis พบว่า ปั จจัยที่มีความสาคัญและมีผลกระทบต่อสาระ ความรู้ตามมาตรฐานความรู้ผปู้ ระกอบวิชาชีพครู มากที่สุดคือ จิตวิทยาสาหรับครู รองลงมาคือ การจัดการ เรี ยนรู ้และการจัดการชั้นเรี ยน การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ หลักสู ตรความเป็ นครู การประกันคุณภาพ การศึกษา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา การวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู้ คุ ณธรรม จริ ยธรรมและจรรยาบรรณ ปรัชญา และภาษาและวัฒนธรรม ตามลาดับ แสดงว่ามาตรฐานความรู ้ในด้านจิตวิทยาสาหรับครู และ การจัดการเรี ยนรู ้ และการจัดการชั้นเรี ยน มีความสาคัญและมีผลต่อสาระความรู ้มาก ซึ่ งสอดคล้องกับอาชีพครู ตามมาตรฐานวิชาชี พที่กาหนดว่า ‚ครู ‛ หมายความว่าบุคคลซึ่ งประกอบวิชาชีพหลักทางด้านการเรี ยนการสอนและการส่ งเสริ มการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยน ด้วยวิธีการต่างๆในสถานศึกษาปฐมวัยขั้นพื้นฐานและอุดมศึกษาที่ต่ากว่าปริ ญญาทั้งของรัฐและเอกชน ซึ่ ง ครู จะต้องมีสาระความรู ้เรื่ องการจัดการเรี ยนรู ้และการจัดการชั้นเรี ยนจึงจะจัดการเรี ยนการสอนได้ดี และใน การส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ ของผูเ้ รี ยนด้วยวิธีการต่างๆจาเป็ นจะต้องรู ้ จิตวิทยาโดยเฉพาะจิตวิทยาเด็กวัยต่างๆ ตั้งแต่ปฐมวัย ประถม มัธยม และอาชี วะ ส่ วนปรัชญา และภาษาและวัฒนธรรมมีความสาคัญและมีผลต่อ สาระความรู ้นอ้ ยกว่าด้านอื่นๆแต่ปรัชญา ภาษาและวัฒนธรรมก็ยงั มีความสาคัญเช่นเดียวกัน ส่ วนปั จจัยที่มีความสาคัญและมีผลกระทบต่อสมรรถนะตามมาตรฐานความรู ้ผปู ้ ระกอบวิชาชี พครู มากที่สุดคือ การวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู ้ รองลงมาคือ จิตวิทยาสาหรับครู การประกันคุณภาพการศึกษา หลักสู ตร ความเป็ นครู การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ ปรัชญา คุณธรรมจริ ยธรรมและจรรยาบรรณ การจัดการเรี ยนรู ้และการจัดการชั้นเรี ยน นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา และ ภาษา และวัฒนธรรม ตามลาดับ


____________________________CES Journal 109 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

แสดงว่ า มาตรฐานความรู ้ ใ นด้ า น การวิ จ ัย เพื่ อ พัฒ นาการเรี ย นรู ้ แ ละจิ ต วิ ท ยาส าหรั บ ครู มี ความสาคัญและมีผลต่อสมรรถนะมาก ด้านจิตวิทยามีความสาคัญเช่นเดี่ยวกับสาระความรู ้ แต่ การวิจยั เพื่อ พัฒนาการเรี ยนรู ้ มีความสาคัญต่อสมรรถนะตามมาตรฐานความรู ้ผปู ้ ระกอบวิชาชี พครู เพราะในปั จจุบนั การ เรี ยนการสอนจาเป็ นจะต้องมีการวิจยั ส่ วนนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา และ ภาษา และวัฒนธรรมมีความสาคัญและมีผลต่อสมรรถนะน้อยกว่าด้านอื่นๆแต่ก็มีความสาคัญเช่นเดี ยวกันเพราะ โลกปั จจุ บ ันจะต้องใช้นวัต กรรมและเทคโนโลยีส ารสนเทศเพื่ อการเรี ย นรู ้ และภาษาและวัฒนธรรมก็ เช่นเดียวกันโดยเฉพาะการเตรี ยมคนสู่ อาเซี ยน ข้ อเสนอแนะ จากผลการวิจยั เรื่ องสาระความรู้และสมรรถนะตามมาตรฐานความรู้ผูป้ ระกอบวิชาชี พครู ของ นักศึกษาหลักสู ตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู วิทยาลัยครุ ศาสตร์ มหาวิยาลัยธุ รกิจบัณฑิตย์ ผูว้ ิจยั มี ข้อเสนอแนะดังนี้ 1 ข้อเสนอแนะสาหรับการนาผลจากการวิจยั เรื่ องสาระความรู้และสมรรถนะตามมาตรฐานความรู้ผู้ ประกอบวิชาชีพครู ของนักศึกษาไปใช้เพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบตั ิ 1) มาตรฐานที่นกั ศึกษามีระดับสาระความรู ้และสมรรถนะไม่มาก ซึ่ งได้แก่มาตรฐานที่ 2ปรัชญา มาตรฐานที่ 5 หลักสู ตร มาตรฐานที่ 7 การวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู้และมาตรฐานที่ 10 การประกันคุณภาพ การศึกษา ทางวิทยาลัยควรพิจารณาอาจารย์ผสู้ อนและกระบวนการเรี ยนการสอนเป็ นพิเศษ เพื่อให้นกั ศึกษา มีความรู ้และมีสมรรถนะให้มากขึ้นเพื่อประกอบอาชีพครู ซ่ ึ งเป็ นวิชาชีพต่อไป 2) ในบางมาตรฐานถึงแม้ผลในภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก แต่มีบางสาระความรู ้และสมรรถนะยังไม่ มาก ทางวิทยาลัยควรพิจารณาอาจารย์ผูส้ อนและกระบวนการเรี ยนการสอนเป็ นพิเศษ เพื่ อให้นักศึกษามี ความรู ้และมีสมรรถนะให้มากขึ้นเพื่อประกอบอาชีพครู ซ่ ึ งเป็ นวิชาชีพต่อไปก็เช่นเดียวกัน 3) สาหรับมาตรฐานที่ผลการวิจยั พบว่าอยูใ่ นระดับมากทั้งสาระความรู ้และสมรรถนะก็ตาม ควรมี การพัฒนาให้สูงขึ้นให้ถึงระดับมากที่สุดต่อไปให้ได้ 4) จากผลการวิจยั นักศึกษามีความต้องการและเห็ นความสาคัญของมาตรฐานต่างๆตามลาดับ ดังกล่าวนั้น ทางวิทยาลัยควรให้ความสาคัญของมาตรฐานเหล่านั้น อาจจะจัดให้มีการเรี ยนการสอน การจัด กิจกรรม และอื่นๆเพื่อสนองตอบต่อนักศึกษาให้มากขึ้นตามลาดับความต้องการในแต่ละมาตรฐาน 5) จากผลการวิจยั คุณลักษณะต่างๆของผูป้ ระกอบวิชาชี พครู ไม่มีความสัมพันธ์กบั สาระความรู ้ และสมรรถนะตามมาตรฐานความรู ้ ผูป้ ระกอบวิช าชี พ ครู ดัง นั้นในการคัดเลื อกผูเ้ ข้า เรี ยนในหลัก สู ตร วิชาชี พครู จึงไม่มีความจาเป็ นที่จะต้องพิจารณาคุณสมบัติต่างๆ แต่ควรให้ความสาคัญในเรื่ องสาระความรู ้ และสมรรถนะ 6) จากผลการวิจยั ปั จจัยที่มีความสาคัญและมีผลกระทบต่อสาระความรู ้ ตามมาตรฐานความรู ้ ผู ้ ประกอบวิชาชี พครู มากที่สุดคือ จิตวิทยาสาหรับครู รองลงมาคือ การจัดการเรี ยนรู ้ และการจัดการชั้นเรี ยน


____________________________CES Journal 110 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

และ ปั จจัยที่มีความสาคัญและมีผลกระทบต่อสมรรถนะตามมาตรฐานความรู ้ผปู ้ ระกอบวิชาชีพครู มากที่สุด คือ การวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู้ รองลงมาคือ จิตวิทยาสาหรับครู ดังนั้นในการจัดการเรี ยนการสอนต้องให้ความสาคัญด้านวิชาจิตวิทยาสาหรับครู วิชาการจัดการ เรี ยนรู ้ และการจัดการชั้นเรี ยน และวิชาการวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู ้ เป็ นพิเศษ ทั้งด้านผูส้ อน เนื้ อหาวิชา การเรี ยนการสอน การวัดผล และอื่นๆในรายวิชาดังกล่าว 2 ข้อเสนอแนะในการวิจยั ต่อไป 1) การทาวิจยั นี้ เป็ นการวิจยั สาระความรู ้และสมรรถนะตามมาตรฐานความรู ้ผปู ้ ระกอบวิชาชี พครู ของนักศึกษาหลักสู ตรประกาศนี ยบัตรบัณฑิตวิชาชี พครู ในวิทยาลัยครุ ศาสตร์ มหาวิยาลัยธุ รกิ จบัณฑิ ตย์ เท่านั้น จึงควรทาการวิจยั เรื่ องนี้ ในสถาบันการศึกษาอื่นๆที่จดั สอนหลักสู ตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพ ครู 2) ในการวิ จ ัย ครั้ งต่ อ ไป ควรจะศึ ก ษาผลสั ม ฤทธิ์ ของนั ก ศึ ก ษาจากการเรี ยนหลัก สู ต ร ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู จากวิทยาลัยครุ ศาสตร์ มหาวิยาลัยธุ รกิจบัณฑิตย์


____________________________CES Journal 111 วารสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1

เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ.( 2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.2542 ที่แก้ ไขเพิ่มเติม( ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 พร้ อ มกฎกระทรวงที่เกี่ย วข้ อ งและพระราชบั ญ ญัติ ก ารศึ กษาภาค บั งคั บ พ.ศ.2545. กรุ งเทพฯ:โรงพิมพ์ 7 องค์การรับส่ งสิ นค้าและพัสดุภณั ฑ์ ( ร.ส.พ.) ราชกิจจานุ เบกษา .(2556).ข้ อบังคับคุรุสภาว่ าด้ วยมาตรฐานวิชาชี พ พ.ศ. 2556. ราชกิจจานุ เบกษาเล่ม 130 ตอนพิเศษ 130 ง 4 ตุลาคม 2556 ……………….. (2556).ประกาศคณะกรรมการคุรุสภาเรื่องสาระความรู้ สมรรถนะและประสบการณ์ วิชาชี พ ของผู้ประกอบวิชาชี พครู ผ้ ูบริ หารสถานศึกษาผู้บริ หารการศึกษา และศึกษานิเทศก์ ตามข้ อบังคับ คุ รุส ภาว่ า ด้ ว ยมาตรฐานวิช าชี พ พ.ศ. 2556. ราชกิ จจานุ เบกษา เล่ ม 130 ตอนพิ เศษ 156ง 12 พฤศจิกายน2556 มหาวิทยาลัยธุ รกิจบัณฑิตย์. (2557).หลักสู ตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชี พครู ปี พ.ศ.2557 ส านั ก งานเลขาธิ ก ารคุ รุ สภา.(2553). รวมกฎหมาย กฎกระทรวง ระเบี ย บ ข้ อบั ง คั บ ประกาศ สาหรับผู้ประกอบวิชาชี พทางการศึกษา.กรุ งเทพฯ:ห้างหุ น้ ส่ วนจากัด ยงพลเทรดดิ้ง สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.(2552).ข้ อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษทีส่ อง ( พ.ศ.2551-2561). กรุ งเทพฯ:ผูแ้ ต่ง. ฤตินันท์ สมุทร์ ทัย.( 2556). การวิจัยนาร่ องการพัฒนาหลักสู ตรการผลิตครู สาหรั บศตวรรษที่ 21.เอกสาร ประกอบการประชุ ม ทางวิช าการการวิจ ัย ทางการศึ ก ษาของชาติ ส านัก งาน เลขาธิ ก ารสภา การศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ,2556. Best.W.Jone. Research in education. New Jersey :Prentice-Hall Inc.,1970


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.