บ่อทองและการทำเหมืองทองคำในสยามยุคใหม่

Page 75

จากเมืองหน้าด่านสู่ย่านอุตสาหกรรม

๑ กิโลเมตร และชาวบ้านร้ือถอนเพ่ือบูรณะและให้มาอยู่ใกล้กับ ยังพบร่องรอยความทรงจําของผู้คนในปัจจุบันที่มีต่อ ชุมชนเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๐ ปัจจุบันต้ังอยู่ติดกับ “หนองหนุมาน” เส้นทางเดินทัพไปรบกับญวนและเขมรในสมัยพระบาท บริเวณบ้านใต้ สมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวและการเกณฑ์แรงงาน ! สภาพแวดล้อมบริเวณนี้เป็นที่ราบลุ่มใกล้ลําน้ําซึ่งมีทั้งแคว ชาวลาวไปทําถนนและสู้รบแม้เวลาจะผ่านล่วงเลย หนุมานและห้วยโสมง โดยบริเวณบ้านเรือนจะต้ังอยู่บนโคกเนิน มาเกือบสองร้อยปีก็ตาม ท่ีเป็นแนวยาว บ้านเมืองเก่าประกอบไปด้วยบ้านเหนือ บ้าน กลาง บ้านใต้ ต่อด้วยบ้านเลียบ บ้านหนองรู บ้านโนนแดง บ้าน งิ้ว และบ้านม่วง มีหนองน้ําขนาดใหญ่คือ หนองรูและหนองปลา พระอุ โ บสถและพระพุ ท ธรู ป ที ่ เ ป็ น แบบลาวอยู ่ บ ้ า งเล็ ก น้ อ ย แขยงท่ีบางส่วนปรับมาเป็นอุทยานกบินทร์เฉลิมราช ชาวบ้านจึง อีกแห่งหนึ่งคือที่บ้านดงเย็น วัดที่บ้านนี้มีประวัติว่าเจ้าพระยา มีการปลูกผักกระเฉด ซึ่งมีวิธีการทําให้ยอดผักกระเฉดอ่อนและ บดิ น ทรเดชาเมื ่ อ กลั บ จากสงครามแล้ ว จึ ง ได้ ส ร้ า งวั ด หลวง กรอบอร่อย เรียกว่า “ผักกระเฉดชะลูดน้ํา” ก็มีแหล่งที่มาจาก บดินทรเดชา และนําพระพุทธรูปปางมารวิชัยมาจากเขมรมา ประดิษฐานไว้ในอุโบสถ บริเวณน้ี e บริเวณบ้านเมืองเก่าซึ่งเป็นบ้านด่านแต่เดิมคงมีผู้คนอยู่อาศัย ! ทั้งสองแห่งยังพบร่องรอยความทรงจําของผู้คนในปัจจุบัน ไม่มาก แต่เมื่อมีการกวาดต้อนอพยพคนลาวจากทางฝั่งขวาของ ที่มีต่อเส้นทางเดินทัพไปรบกับญวนและเขมร ในสมัยพระบาท แม่น้ําโขงจึงมีการให้ชาวลาวเวียงจํานวนหนึ่งตั้งถิ่นฐานอยู่ที่บ้าน สมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวและการเกณฑ์แรงงานชาวลาวไป ด่านหนุมาน ช่วงเวลานี้ไม่น่าจะเกินราว พ.ศ. ๒๓๖๙-๒๓๗๐ ทําถนนและสู้รบแม้เวลาจะผ่านล่วงเลยมาเกือบสองร้อยปีก็ตาม จากเมื่อครั้งศึกเจ้าอนุวงศ์ ชุมชนที่นี่จึงขยายใหญ่ขึ้นแต่ก็ยังไม่มี ! ปัจจุบันพบว่ามีการกระจายตัวของชุมชนเชื้อสายลาวเวียง การลงหลักฐานที่มั่นคงเพราะมีสงครามต่อเนื่องกับทางเขมรและ ออกไปในบริ เ วณใกล้ เ คี ย งในอํ า เภอกบิ น ทร์ บ ุ ร ี แ ละในตํ า บล อันนัมหรือญวนอีกกว่า ๑๐ ปี ชาวบ้านที่นี่ยังคงเล่าสืบต่อกันมา ท้องถิ่นอื่นๆ อีกมาก เนื่องจากขยับขยายหาพื้นที่ทํากินที่เหมาะ ว่า ชาวบ้านที่เป็นลาวเวียงที่บ้านเมืองเก่าต้องถูกเกณฑ์ไปรบใน สมในยุคสมัยหนึ่ง เช่นที่บ้านปากน้ําในตําบลบ่อทอง บริเวณริม ทัพของเจ้าพระยาบดินทรเดชาที่เมืองเขมร ได้รับความยาก แควพระปรงก็เป็นชาวลาวที่จดจําไม่ได้เสียแล้วว่าเคลื่อนย้ายแยก ลําบากอย่างยิ่ง ต้องทําถนนเพื่อเดินทัพทางบกจากด่านหนุมานไป กลุ่มออกมาจากชุมชนใด เพราะเล่าว่าบรรพบุรุษหาพื้นที่ราบทํา นาได้เหมาะสมและใกล้กับลําน้ํา สะดวกที่จะเดินทางไปยังตลาด ยังเมืองเขมรและเป็นกําลังสําคัญในการสู้รบด้วย ! มี ว ั ด สํ า คั ญ ที ่ เ กี ่ ย วเนื ่ อ งกั บ การตั ้ ง ทั พ และเดิ น ทั พ ของ กบินทร์และท้องถิ่นอื่นๆ ตั้งหลักปักฐานแบบคนลาวคือ มีศาลตา เจ้าพระยาบดินทรเดชาคือ “วัดหนองรู" บ้านหนองรูซึ่งเปล่ียน ปู่ซึ่งเป็นป่าท้ายหมู่บ้านที่คนทางภาคอีสานเรียกว่าดอนปู่ตา มีวัด เป็นชื่อ “วัดแก้วฟ้ารังษี” ในปี พ.ศ. ๒๔๓๐ บริเวณนี้อดีตเคยใช้ มีประเพณีปฏิบัติแบบคนลาวและที่สําคัญก็คือยังคงพูดภาษาลาว บริเวณวัดเป็นกองบัญชาการตั้งทัพเพื่อไปรบกับเขมรและเป็น เป็นภาษาหลักภายในกลุ่มกันโดยทั่วไป สถานที่สําหรับทําพิธีถือน้ําพิพัฒน์สัตยาของข้าราชการในหัว ! ชาวบ้านเชื้อสายลาวเหล่านี้มีอาชีพหลักในการทําเกษตรเมืองแถบนี้ซึ่งในปัจจุบันยังคงเหลือรูปแบบทางศิลปกรรม เช่น กรรมทั้งทํานาและประมงจับปลาในหนองน้ําต่างๆ รวมท้ังการ

ภาพซ้ายสุดและซ้าย พระพุทธรูป แบบ ศิลปะลาว เก็บรักษาไว้ที่ วัดแก้วฟ้ารังษีหรือ วัดหนองรู บริเวณนี้เคยเป็น ที่บัญชาการทัพ ไปรบเขมร

72


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.