Newsletter lekprapai 112 s

Page 1

รวบรวม บันทึก ศึกษาข้อมูลทางวัฒนธรรม สนับสนุนการอนุรักษ์เพื่อพัฒนา เผยแพร่เพื่อการศึกษาของ สาธารณชน

ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๕๙

Lek-Prapai Viriyapant Foundation

ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๑๑๒

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ จดหมายข่าวรายสามเดือน

เปิด ประเด็ น โดย ศรีศักร วัลลิโภดม

ในหลวงรัชกาลที่ ทรงใช้แผนที่อย่างหนอน

บารมีคืออ�ำนาจที่เกิดจากการกระท�ำดีที่แล้วเสร็จ เป็นผลให้ผู้รับเกิด ความเลื่อมใสและเคารพรัก เป็นอ�ำนาจที่มาจากเบื้องล่าง ขณะที่อ�ำนาจจาก เบื้องสูงคืออ�ำนาจตามกฎหมาย หรือกติกา เป็นอ�ำนาจของรัฐที่เป็นพระเดช แต่อำ� นาจบารมีเป็นอ�ำนาจทางพระคุณ

สารบัญ เปิดประเด็น ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรงใช้แผนที่อย่างหนอน ศรีศักร วัลลิโภดม หน้า ๑ พระผู้ทรงทัดดินต่างปิ่นเกล้า ศรีศักร วัลลิโภดม หน้า ๕ “เข้าถึง เข้าใจ และพัฒนา” หลักการท�ำงานจากพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และเมื่อน�ำมาใช้ใน การท�ำงานกับมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ วลัยลักษณ์ ทรงศิริ หน้า ๙ ใต้ร่มพระบรมโพธิสมภารของชาวซิกข์ พัชรินธร เดชสมบูรณ์รัตน์ หน้า ๑๓ ชาวมุสลิมกับส�ำนึกร่วมของการเป็นคนไทยใต้ร่มพระบารมี รัชนีบูล ตังคณะสิงห์ และจารุวรรณ ด้วงค�ำจันทร์ หน้า ๑๖ เล่าด้วยภาพ รับเสด็จครั้งสุดท้าย ๑๔ ตุลาคม ๒๕๕๙ สุรชาญ อุ่มล�ำยอง : เรื่อง จารุวรรณ ด้วงค�ำจันทร์ : ภาพ หน้า ๑๙


ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับแผนที่

จดหมายข่าว

2

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่อยู่ภายใต้ กฎหมายรัฐธรรมนูญ จึงไม่ทรงมีอ�ำนาจในการจัดการบ้านเมืองใดๆ เพราะเป็นอ�ำนาจของทางรัฐบาลที่ท�ำให้พระมหากษัตริย์ทรงด�ำรง อยู่ในฐานะผู้น�ำทางสัญลักษณ์ที่ไม่ต้องทรงท�ำอะไรก็ได้ แต่ในหลวง รัชกาลที่ ๙ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงอยู่เฉยๆ ไม่ได้ เพราะทรง เปีย่ มไปด้วยคุณธรรมของความรัก เมตตากรุณาต่อประชาชนทีม่ คี วาม ทุกข์ยาก หลังจากเสด็จขึน้ ครองราชย์ได้ทรงตระเวนไปทัว่ ทุกแห่งของ บ้านเมือง ได้ทรงพบเห็นสภาพความล้าหลังของประเทศ และความ ยากจนเหลื่อมล�้ำของผู้คนในสังคมที่บอกว่าเป็นประชาธิป ไตยที่ ได้ คืนอ�ำนาจในการปกครองและบริหารประเทศมาจากพระมหากษัตริย์ รัฐบาลประชาธิปไตยตั้งแต่สมัยเปลี่ยนแปลงการปกครอง เป็นประชาธิปไตยแบบทุนนิยมตามแบบฝรัง่ เศส อังกฤษ และอเมริกา ซึ่งเป็นรัฐบาลที่มองโลกจากคนชั้นกลางที่อยู่ดี กินดี มีเงินใช้ มีที่อยู่ อาศัยอย่างเป็นบ้านเมืองที่มีตึกรามบ้านช่อง ถนนหนทางและเครื่อง อ�ำนวยความสะดวกแบบตะวันตกที่ต้องใช้ทุนเงินในการสร้างสรรค์ ขึ้นมา หาได้ส�ำเหนียกถึงความสุขและความทุกข์ยากของคนชั้นล่างที่ เป็นชาวนาและกรรมกรแรงงานไม่ จึงเป็นรัฐบาลที่มองแต่เพียงการ ยกระดับบ้านเมืองใหม่ มีสภาพอยู่ดีกินดีตามมาตรฐานทางตะวันตก ทีห่ วั ใจในการพัฒนาประเทศอยูท่ กี่ ารมีเงินเป็นหัวใจ “งานคือเงิน เงิน คืองาน บันดาลสุข” ความทุ ก ข์ แ ละความสุขของประชาชนจึง เป็นเรื่อ งทาง เศรษฐกิจที่ ใช้เงินเป็นตัวก�ำหนดที่จะท�ำให้แลเห็นความจนและ ความรวย ตั้งแต่สมัยจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรี เป็นต้น มา มีแผนพัฒนาบ้านเมืองอย่างสืบเนื่องและมั่นคงที่มีมา จากความเชื่อแบบอเมริกันครอบง�ำว่า ความยากจนเหลื่อมล�้ำนั้น มาจากลัทธิคอมมิวนิสต์ทกี่ ำ� ลังคุกคามสวัสดิภาพของประชาชนทัว่ ไป ในประเทศ การท�ำสงครามกับคอมมิวนิสต์นั้นคือ การป้องกันความ มั่นคงของบ้านเมืองที่ต้องให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาอุตสาหกรรม [Industrialization] และการยกระดับความเป็นเมือง [Urbanization] ให้มากกว่าการเป็นชนบท โดยเฉพาะการพัฒนาทางเศรษฐกิจนัน้ ก็เพือ่ ให้มกี ารผลิตทีท่ ำ� ให้คนมีรายได้ตอ่ หัวเพิม่ ขึน้ [GDP] จึงท�ำให้ในทุกวัน นีก้ ารเพิม่ GDP จึงเป็นสิง่ ทีแ่ สดงถึงความสุขมวลรวมผูค้ นในสังคม อัน เป็นความสุขทางวัตถุโดยแท้ แต่ก็เป็นความสุขของคนชั้นกลางและนายทุนที่มีผลกระทบ ทางท�ำลายสภาพแวดล้อมธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้ง สังคมของคนชั้นล่างที่ยากจนและด้อยโอกาส เกิดการล่มสลายของ ครอบครัวและความเป็นมนุษย์ ซึ่งคนที่เป็นวิญญูชนอาจแลเห็นและ ส�ำเหนียกได้ในทุกวันนี้ ในขณะที่รัฐแทบทุกยุคทุกสมัยแม้ปัจจุบันก็ยังพัฒนาบ้าน เมืองด้วยอ�ำนาจและเงินที่มีสิทธิตามกฎหมายในด้านเศรษฐกิจที่ ไม่ เห็นทุกข์สขุ ทีแ่ ท้จริงของประชาชน ตามแบบตามต�ำราและทฤษฎีทมี่ า

จดหมายข่าว

3

จากตะวันตก ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรงพัฒนาบ้านเมืองในส่วนพระองค์ ด้วยเป้าหมายที่แตกต่างไป คือไม่ทรงมองที่เศรษฐกิจที่จะน�ำทางไปสู่ การมีเงินทองในทางเพิม่ พูน GDP แต่ทรงมองทีค่ นชัน้ ล่างทีด่ อ้ ยโอกาส และอยู่ในสภาพของความยากจน โดยย่อก็คอื มองทีค่ นเป็นตัวตัง้ และความยากจนด้อยโอกาส ก็ไม่ใช่ความยากจนที่เกิดจากการขาดแคลนในเรื่องเงินทอง แต่เป็น ความยากจนขาดแคลนในสภาวะที่ ไม่มีความสุขกายและใจในการ ด�ำรงชีวิต สภาพความยากจนดังกล่าวนี้ทรงพบเห็นจากการที่ได้เสด็จ ตระเวนไปยังท้องถิ่นต่างๆ ทั่วราชอาณาจักรที่เป็นผลให้มีประชาชน เพรียกร้องไม่ให้พระองค์ทอดทิ้งประชาชน สืบเนื่องจากประสบการณ์ดังกล่าว ได้ท�ำให้พระองค์ได้ บ�ำเพ็ญพระราชกรณียกิจในการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจ เพื่อ ช่วยให้ประชาชนผู้ด้อยโอกาสพ้นจากความยากจนและอยู่ดีกินดีทั้ง กายและใจในรูปแบบที่เรียกว่า ความสุขมวลรวมประชาชาติ GNH [Gross National Happiness] ที่ไม่ใช่ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ GDP [Gross domestic product] พระราชกรณียกิจในการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจทรงท�ำ ตลอดพระชนม์ชพี แทบจะไม่ทรงมีเวลาในส่วนพระองค์ตราบจนเสด็จ ดับขันธ์นี้ คือพระบารมีทมี่ าจากอ�ำนาจของความรักและความเมตตา ต่อประชาราษฎร์ของพระองค์ ทรงใช้ทุนทรัพย์และพระสติปัญญา และเวลาในส่วนพระองค์เป็นพืน้ ฐานโดยมีคนเป็นเป้าหมายไม่ใช่เงิน ที่ท�ำให้เกิด GDP ผลของพระราชกรณียกิจในการช่วยเหลือและดูแลทุกข์สุข ของคนคือประชาชนทัง้ ประเทศดังกล่าวนี้ คือพระบารมีทแี่ ผ่ไพศาลที่ เห็นกันอย่างแจ่มชัดในทุกวันนี้ จากภาพบันทึกพระราชประวัตแิ ละพระ ราชกรณียกิจทีส่ อื่ ทัง้ หลาย ทัง้ ของรัฐและเอกชนน�ำมาปะติดปะต่อให้ เห็นเป็นภาพรวมทัง้ หมดทีป่ รากฏทุกวันหลังวันสวรรคต ซึง่ ข้าพเจ้าได้ น�ำมาเขียนวิเคราะห์เชิงมานุษยวิทยาไว้ ณ ที่นี้ การพัฒนาเศรษฐกิจที่ไม่มมี ติ ทิ างสังคมทีผ่ า่ นมาโดยเน้นราย ได้ทางเศรษฐกิจด้วยปรัชญาแบบ “งานคือเงิน เงินคืองานบันดาลสุข” เพื่อให้เกิดรายได้ต่อหัวที่เรียกว่า GDP คือสิ่งที่ทำ� ลายชีวิตวัฒนธรรม ของผู้คนในชุมชนท้องถิ่นที่เคยอยู่ร่วมกันเป็นครอบครัว เครือญาติ เหล่าตระกูล และชุมชนที่สัมพันธ์กับการจัดการทรัพยากรทั้งดิน น�้ำ และพืชพันธุ์ สิ่งที่มีชีวิตในนิเวศวัฒนธรรมที่เคยมีอยู่ร่วมกันอย่างมี ดุลยภาพ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแบบล่มสลาย และผลที่ตามมาก็ คือความทุกข์ยากของประชาชนทัว่ ไปในระดับล่าง ท�ำให้สงั คมไทยทัว่ ประเทศอยู่ในสภาพความเหลือ่ มล�ำ้ ในชีวติ ความเป็นอยูร่ ะหว่างคนรวย และคนจนที่ส่วนใหญ่อยู่ในภาวะยากจน หิวโหย และเดือดร้อน แต่ ก ารพั ฒ นาตามแนวคิ ด และแนวทางของพระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว นั้ น ทรงพั ฒ นาจากข้ า งล่ า ง จากคนใน ท้ อ งถิ่ น ที่ ป ระสบความเดื อ ดร้ อ นให้ ม าเชื่ อ มโยงกั บ การพั ฒ นา จากข้ า งบนหรื อ จากข้ า งนอก เพื่ อให้ เ กิ ด ดุ ล ยภาพระหว่ า งกั น

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


ทรงมุ่งให้คนในที่อยู่รวมกันเป็นชุมชนมีชีวิตอยู่รวมกันในท้องถิ่น เป็ น การพั ฒ นาที่ มี มิ ติ ท างสั ง คม และเป็ น การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ซึ่งอยู่ ในบริบททางสังคมและสภาพแวดล้อมที่เป็นนิเวศวัฒนธรรม ในความคิดเชิงมานุษยวิทยาทีข่ า้ พเจ้าได้เล่าเรียนมา คือการ พัฒนาแบบองค์รวมทัง้ โลกธาตุทแี่ ลเห็นทุกธาตุสว่ นทีเ่ ป็นองค์ประกอบ ของโลก มี ๖ ธาตุ คือ ดิน น�ำ้ ลม ไฟ อากาศ และวิญญาณธาตุ ที่ หมายถึงสิ่งที่มีชีวิต อันได้แก่ คน สัตว์ ต้นไม้ เป็นต้น การมีชีวิตรอดอยู่ของสิ่งที่มีชีวิตโดยเฉพาะมนุษย์ที่เป็นสัตว์ สังคมจะด�ำรงอยู่ได้นั้น ทุกสิ่งที่เป็นธาตุต่างๆ ทั้ง ๖ ธาตุนี้จะต้อง สัมพันธ์กันอย่างได้ดุลยภาพ แต่การจะพัฒนาได้นั้นจะท�ำไม่ได้ผล ดี โดยการพัฒนาจากข้างบนหรือจากภายนอกที่ทำ� ตามต�ำรา แม่บท และแนวคิดทฤษฎี แต่ต้องเป็นเรื่องของการลงไปศึกษาเก็บข้อมูลกัน ในพืน้ ทีห่ รือท้องถิน่ ทีม่ ชี มุ ชนมนุษย์อยู่ ทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ต้องทรงทรมานพระวรกายตรากตร�ำลงไปศึกษาเก็บข้อมูลข้อเท็จจริง ด้วยพระองค์ตามท้องถิน่ ทีป่ ระชาชนประสบความเดือดร้อน แล้วน�ำมา วิเคราะห์ตคี วามเพือ่ ก�ำหนดเป็นแนวคิด แนวทางและวิธกี ารแก้ไขเพือ่ การขจัดทุกข์ยากและความเดือดร้อนของประชาชน ถ้าธาตุใดที่เป็น สาเหตุไม่ว่าจะเป็นดินน�้ำลมไฟ อากาศ มนุษย์ สัตว์และต้นไม้ หรือ สิ่งที่มีชีวิตอื่นๆ ก็จะทรงพยายามแก้ไขให้ เพราะฉะนัน้ เพือ่ ให้ได้มาซึง่ ความรูค้ วามเข้าใจในการพัฒนา เศรษฐกิจสังคมจากข้างล่าง หรือจากคนในชุมชน ในท้องถิ่นตามที่ กล่าวมานี้ พระองค์ต้องทรงริเริ่มและท�ำทุกอย่างด้วยพระองค์เอง ด้วยทุนทางสติปัญญาและทุนทรัพย์ในส่วนพระองค์ โดยไม่คาดหวัง จากความร่วมมือจากทางรัฐบาลที่ ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาจาก ข้างบนและจากข้างนอก ซึง่ เป็นสิง่ ทีท่ รงพระราชด�ำริวา่ “ต้องระเบิดจากข้างในก่อน” และการเข้าถึงด้วยแนวทาง “เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา” ในเรื่องนี้ทรงละไว้ให้เข้าใจกันเองว่าการเข้าถึงคือถึงอะไร ซึง่ ในแนวปฏิบตั ขิ องพระองค์กค็ อื “เข้าถึงคน” แต่ไม่ใช่เป็นคนในฐานะ ปัจเจก หากเป็นคนทีอ่ ยูร่ ว่ มกันในครอบครัวเป็นตระกูล หมูเ่ หล่าทีแ่ ม้ จะหลากหลายทางชาติพันธุ์ ภาษา และศาสนา แต่อยู่กันอย่างเป็น ชุมชนในพื้นที่หรือท้องถิ่นเดียวกัน แต่ที่สำ� คัญที่สุดก็คือ พระองค์เอง ได้แสดงการเข้าถึงอย่างไร เป็นตัวอย่างด้วยการเสด็จพระราชด�ำเนิน ด้วยพระบาทลงไปยังท้องถิน่ เป้าหมายด้วยแผนทีแ่ ผ่นทาง สมุดบันทึก และกล้องถ่ายรูปออกไปเก็บข้อมูล ที่เห็นได้จากการสังเกตการณ์ ได้ยินได้ฟังจากการสังสรรค์กับผู้คนในท้องถิ่นอย่างเป็นกันเองอย่าง คนธรรมดาที่ไม่แสดงอาการเหลื่อมล�้ำในลักษณะต�่ำสูง ที่ท�ำให้ผู้คน เกิดความไว้วางใจเคารพรัก และให้ขอ้ มูลทีเ่ ป็นข้อเท็จจริงน่าเชือ่ ถือได้ อันที่จริงในการใช้แผนที่แผ่นทางในการเป็นเครื่องมือเก็บ ข้อมูลดังกล่าวนี้ ก็มีนักวิชาการ นักพัฒนาท�ำกันอย่างกว้างขวาง แต่ มีความแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิงในการปฏิบัติ คนทั่วไปส่วนใหญ่ใช้แผนที่แผ่นทางในลักษณะแบบนก

จดหมายข่าว

[Bird eyes view] คือกางแผนทีแ่ ล้ววางแผน หรือถ้าหากจะต้องลงพืน้ ที่ก็ท�ำอย่างคร่าวๆ แบบขี่ม้าเลียบค่ายเลียบเมืองอะไรท�ำนองนั้น แต่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวนั้นทรงท�ำแบบหนอน [Worm eyes view] ที่ทรงด�ำเนินด้วยพระบาทเข้าไปในพื้นที่ไม่ว่าจะเป็น พืน้ ทีย่ ากล�ำบากและทุรกันดารอย่างไรเพือ่ เข้าไปให้เห็นคน เห็นสัตว์ กันได้ และสิง่ ทีม่ ชี วี ติ ทีส่ มั พันธ์กบั ดินน�ำ้ ลมและอากาศทีม่ รี ะดับสูงต�ำ่ และระดับอุณหภูมิที่เป็นจริง จึงท�ำให้ได้ทรงเข้าถึงเข้าใจในปัญหา ของความเดือดร้อนที่จะต้องน�ำไปวางแผนแก้ไขในการพัฒนา ซึ่ง ทั้งหมดนี้สะท้อนให้เห็นจากการด�ำเนินการแก้ไขในเรื่องการจัดการ น�้ำทั้งเพื่อการเกษตรกรรม การป้องกันน�้ำท่วม ฝนแล้งและการ ส่งเสริมพืชพันธุ์ต่างๆ รวมทั้งการสนับสนุนเลือกเฟ้น เน้นใช้และ ประดิษ ฐ์เทคโนโลยีที่เหมาะสมให้แก่คนในชุมชนที่จะต้องพัฒนา ความต่างกันในแนวทางพัฒนาเศรษฐกิจสังคมของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อันเป็นการพัฒนาจากข้างในกับการพัฒนาจาก ข้างนอก โดยทางรัฐและเอกชนทั่วไปก็คือ การพัฒนาที่ทำ� ให้คนช่วย ตัวเองและท�ำเองในลักษณะการเป็นพี่เลี้ยง แนะน�ำแนวคิดแนวทาง และวิธกี ารทีเ่ ป็นไปได้ รวมทัง้ การช่วยเหลือลงทุนค่าใช้จา่ ยบ้างในด้าน การลงทุนทางเทคนิคโดยพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ และทรงคิด ประดิษฐ์เทคโนโลยี ใหม่ๆ ที่เหมาะสม โดยเสด็จพระราชด�ำเนินไป ทรงแนะน�ำให้ความรู้ด้วยพระองค์เองตามท้องถิ่นต่างๆ พระราชทาน แนวคิดและแนวทางตลอดมา วิธีการดังกล่าวนี้เรียกว่า การสร้างพลังทางสติปัญญาและ ความรู้ให้แก่ผู้คนให้สามารถพัฒนาด้วยตนเอง ดังในภาษาอังกฤษ เรียกว่า Empowerment การเสด็จฯ ลงไปถึงผู้คนที่จะต้องพัฒนา ในท้องถิ่นด้วยพระองค์เองก็คือ การเข้าถึง เข้าใจ ในความต้องการ ของความรู้กับศักยภาพ ความรู้ และสติปัญญาได้อย่างเด่นชัด อีก ทั้งได้ทรงเข้าถึงในเรื่องโลกทัศน์และค่านิยมของผู้คนที่เป็นเหยื่อ ของวัตถุนิยมที่แพร่หลายจากชนชั้นปกครอง ชนชั้นกลางในโลกของ ทุนนิยมเสรีแบบทางตะวันตก ได้ท�ำให้ต้องทรงพระราชทานแนวคิด และปรัชญาเรือ่ งเศรษฐกิจพอเพียงขึน้ เพือ่ ให้เป็นรากฐานในการด�ำรง ชีวิตอย่างพอเพียงและมีคุณภาพ ไม่ท�ำให้ผู้อื่นเดือดร้อน โดยความเข้ าใจของข้ า พเจ้ า คื อ ปรั ช ญาของความพอ เพียงในชีวิตของปัจเจกบุคคลที่มีทั้งความพอเพียงในทางวัตถุที่ ได้ ดุลยภาพกับความพอเพียงทางจิตใจอันเป็นเรื่องของจิตวิญญาณ ซึ่งในภาษาอังกฤษเรียกว่า Self sufficiency เพราะความพอเพียง ของแต่ละบุคคลนัน้ ไม่เท่ากัน เป็นความพอเพียงตามอัตภาพของแต่ละ บุคคล อันนี้เป็นพื้นฐานที่จะน�ำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงใน ระดับส่วนรวมหรือในระดับชุมชน เพราะมนุษย์คือสัตว์สังคมต้องอยู่ รวมกันจึงจะมีชวี ติ รอด การพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงจึงเป็นการพัฒนา ชีวิตความเป็นอยู่ของคนในชุมชนร่วมกันที่ท�ำให้เกิดความพอเพียง และยั่งยืน หรือเรียกว่า Sustainable economy หรือ Sustainable development คือ พอเพียงและยั่งยืนของคนในชุมชนร่วมกัน 4

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


อีกสิ่งหนึ่งในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั อันมุง่ การพัฒนาจากข้างในทีแ่ ตกต่างไปจากการพัฒนา จากข้างบนหรือจากข้างนอกของคนในโลกวัตถุนิยมแบบตะวันตก ก็คือ “การพัฒนาจิตใจในมิติทางจิตวิญญาณ” เป็นเรื่องของความ เชื่อศาสนาและประเพณีพิธีกรรม ซึ่งแสดงออกให้เห็นจากการสร้าง วัด สร้างโรงเรียนที่พระองค์ได้พระราชทานทุนทรัพย์ และเสด็จฯ ไปพบปะประชาชนและร่วมในประเพณีพิธีกรรมควบคู่กันไปเสด็จฯ ไปนมัสการบรรดาพระอริยสงฆ์และแสดงพระองค์เองเป็นพุทธมามกะ ในเรื่องสมาธิและวิปัสสนา และทั้งหมดนี้ แลเห็นจากการให้ความส�ำคัญกับโครงสร้าง ความเป็นชุมชนในสมัยใหม่ คือ บ้าน วัดและโรงเรียนที่เรียกกันย่อๆ ว่า “บวร” ทีต่ อ้ งท�ำให้เกิดขึน้ ได้ดว้ ยการเชือ่ มโยงบูรณาการให้สมั พันธ์ กับการมีชวี ติ ร่วมกันของคนในชุมชนด้วยการบ�ำเพ็ญพระราชกรณียกิจ ในการพัฒนาสังคมเศรษฐกิจด้วยการตรากตร�ำพระวรกายออกไป พบปะประชาชนที่เดือดร้อนในทุกแห่งหนของประเทศ และทรงคิด โครงการช่วยเหลือต่างๆ เป็นจ�ำนวนมากเพื่อบ�ำบัดทุกข์บ�ำรุงสุขแก่ ประชาราษฎรด้วยพระสติปญ ั ญาและทุนทรัพย์สว่ นพระองค์นนั้ ได้เกิด บารมีทที่ ำ� ให้ทางรัฐและเอกชนขานรับโครงการพระราชด�ำริ เพือ่ การ พัฒนาให้เข้าถึงประชาชนรวมกว่า ๔,๕๐๐ โครงการตลอดเวลา ๗๐ ปี ทีค่ รองราชย์ เกิดหน่วยงานทีเ่ ป็นองค์การรองรับเป็นจ�ำนวนมาก โดย พระองค์ทรงเฝ้าดูแลติดตามอยู่ตลอดเวลา บรรดาโครงการใหญ่ๆ ทีพ่ ระองค์ทรงริเริม่ และได้ดำ� เนินการ ให้เป็นผลดีแก่ประชาราษฎร์ ที่สำ� คัญคือ การพัฒนาดิน น�ำ้ ลม และ อากาศ เช่น การเปลี่ยนแปลงพื้นที่แห้งแล้ง ดินเค็ม ดินเปรี้ยวขาด

น�้ำให้กลับฟื้นขึ้นมาเป็นป่าเขาที่หลากหลายด้วยชีวภาพเป็นไร่ เป็น นา เป็นเรือกสวน แหล่งประมงน�ำ้ จืดและน�้ำเค็มที่สามารถเพาะเลี้ยง พันธุ์ปลา สัตว์เลี้ยง เช่น วัว ควาย และพืชพันธุ์ที่มีทั้งเป็นของในท้อง ถิน่ ตามธรรมชาติและน�ำเข้ามาจากต่างประเทศ โดยเฉพาะพืชและไม้ ผลฤดูหนาวที่น�ำมาให้คนบนที่สูง เช่น ทางภาคเหนือที่เป็นเผ่าพันธุ์ อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐาน และปลูกฝิ่นเป็นอาจิณ ผลสัมฤทธิ์ก็คือ คน ต่างชาติพนั ธุเ์ หล่านัน้ กลายเป็นคนไทยทีม่ อี าชีพท�ำมาหากินอย่างสุจริต ณ ที่ ใดที่ประชาชนทุกข์ร้อนในประเทศจะทรงดั้นด้นไป ทรงดูแลช่วยเหลือและฟื้นฟูให้มีชีวิตที่ดี มีสุขภาพและสวัสดิภาพ สิ่ง ที่ท�ำให้พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ ไม่เหมือนใครในโลกก็คือ “พระราชวังที่ประทับหาได้มีความโอ่อ่าตระการตาไม่ หากกลายเป็น ทีอ่ ยูอ่ าศัยของผูบ้ ำ� เพ็ญกรณีธรรมดา” ทีเ่ ต็มไปด้วยพืน้ ทีท่ ดลองพันธุ์ พืช ต้นไม้ และปศุสัตว์ รวมทั้งโรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์สิ่งของจาก การเกษตรปลอดสารและปลอดภัยออกมาจ�ำหน่ายอย่างมีมาตรฐาน ในด้านความปลอดภัยและคุณภาพ ในสุดท้ายนี้ ข้าพเจ้าใคร่จบด้วยเรื่องของการใช้แผนที่ แบบหนอนเพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนาที่ “เข้าถึงคน เข้าใจ และพัฒนา” นั้น จะมีผลต่อไปในอนาคต จะเกิดสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ ที่เป็นอนุสรณ์แห่งการเสด็จไปของในหลวงรัชกาลที่ ๙ ในแทบทุก ท้องถิ่น และบางแห่งก็จะกลายเป็นศาลของเทพารักษ์ที่จะให้การ ดูแลปกป้องภัยและเป็นที่พึ่งของคนในชุมชนท้องถิ่น ดังเช่นศาล สมเด็จพระเจ้าตากสิน และสมเด็จพระนเรศวรมหาราช หรือ ของ ผู้น�ำวัฒนธรรม [Culture hero] อื่นๆ ที่จะเป็นที่ประกอบประเพณี พิธีกรรมในรอบปีของแต่ละท้องถิ่นต่อไป

พระผู้ทรงทัดดินต่างปิ่นเกล้า โดย ศรีศักร วัลลิโภดม จารุวรรณ ด้วงค�ำจันทร์, ถอดความ

นโมพุทธายะ ทศนัขคุณเทศ พกาแก้วเกต สพมรกษัตริย์ เมื่อวันอังคารที่ ๑๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ อาจารย์ศรีศักร ทัดดินต่างปิ่นเกล้า เป็นทองมกุฎ วัลลิโภดม ได้ร่วมสนทนาร�ำลึกพระกรุณาธิคุณในพระบาทสมเด็จ สุดใจดินใจฟ้า...... พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ใน “รายการแสงจากพ่อ” ช่วงใต้เบื้อง (จารึกวัดส่องคบ จังหวัดชัยนาท) พระยุคลบาท ทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส ในประเด็นหัวข้อ “พระ ผู้ทรงทัดดินต่างปิ่นเกล้า” ปรากฏการณ์ เ นื่ อ งในวั น สวรรคตของพระบาทสมเด็ จ กองบรรณาธิการจดหมายข่าวมูลนิธเิ ล็ก-ประไพ วิรยิ ะพันธุ์ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เมื่อวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๙ เห็นเป็นประเด็นในการสร้างความเข้าใจในพระราชภารกิจได้ลึกซึ้ง เป็นปรากฏการณ์ทางสังคมที่ยิ่งใหญ่มากซึ่งเกิดขึ้นเป็นครั้งที่สอง จึงถอดความการสนทนาของอาจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม มาน�ำเสนอ ของกรุงรัตนโกสินทร์ ครั้งแรกนั้นเมื่อวันสวรรคตของรัชกาลที่ ๕ ณ โอกาสนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั มีคนร�ำ่ ไห้ทงั้ แผ่นดิน ไม่ใช่

จดหมายข่าว

5

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


พระราชพิธีบรมราชาภิเษก

แค่คนไทย ยังรวมถึงชาวต่างประเทศที่อาศัยอยู่ในเมืองไทย ผู้ดีมีจน ต่างร�ำ่ ไห้หมด ปรากฏการณ์ครัง้ นีเ้ ป็นครัง้ ทีส่ องคือ “ในหลวงภูมพิ ล” เหตุการณ์แบบนี้ ไม่ปรากฏเฉพาะในพระมหากษัตริย์สองพระองค์นี้ เพราะทรงอุทิศพระองค์ให้กับการดูแลบ้านเมือง บ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุข ให้กบั ประชาชน เข้าถึงประชาชนทุกแห่งหน ถึงแม้ว่าพวกเราจะไม่ได้ เกิดทันในสมัยรัชกาลที่ ๕ แต่ก็ยังมีเรื่องราวที่เล่าขานกันมาปากต่อ ปาก มีสถานที่ส�ำคัญคือการเสด็จประพาสต้น ท�ำให้เห็นความทรงจ�ำ ของคนในท้องถิ่นต่างๆ หากเราไปตามหมู่บ้าน รูปที่เด่นที่สุดบนหิ้ง บูชาคือในหลวงรัชกาลที่ ๕ มาถึงในหลวงภูมิพลก็เช่นเดียวกัน พระองค์ท่านเข้าถึง ประชาชน การที่ทางรายการโทรทัศน์ได้น�ำพระราชกรณียกิจของ พระองค์ท่านออกมาเผยแพร่ ท�ำให้เราเห็นท่านตลอดระยะเวลา ๗๐ ปี และภาพที่เห็นนั้นไม่ได้เห็นในปราสาทราชวัง แต่เห็นในถิ่นที่ ทุรกันดาร บางพื้นที่คนธรรมดายังไม่อยากจะไปเสียด้วยซ�้ำ แต่ท่าน ก็ยังบุกไป เวลานี้คนจึงจ�ำสถานที่ที่ท่านเสด็จ เมื่อเกิดเหตุการณ์การ สวรรคตขึ้นประชาชนจึงรู้สึกว่าเป็นการสูญเสียที่ยิ่งใหญ่ ส�ำหรับในหลวงรัชกาลที่ ๕ ท่านทรงขึ้นครองราชย์ตั้งแต่ยัง ทรงพระเยาว์ ยังไม่ครบ ๒๐ พรรษา ส่วนในหลวงภูมพิ ลขึน้ ครองราชย์ เมือ่ ๑๙ พรรษา ซึง่ ยังไม่บรรลุนติ ภิ าวะเช่นกัน ต้องอยูภ่ ายใต้ผสู้ ำ� เร็จ ราชการ ตลอดชีวติ ของท่านอยูภ่ ายใต้ความขัดแย้งทีพ่ ระองค์ตอ้ งต่อสู้

จดหมายข่าว

ซึ่งทั้งสองพระองค์มีความคล้ายคลึงกัน สิ่งเหล่านี้คือประสบการณ์ที่ ไม่ได้อยู่ในวังเพียงอย่างเดียว ในหลวงรัชกาลที่ ๕ กว่าจะได้ขึ้นครองราชย์นั้นมีความขัด แย้งมากมาย ต่อมาในภายหลังก็ตอ้ งพัฒนาประเทศเพือ่ ทีจ่ ะจัดการกับ ภัยคุกคามของตะวันตก เป็นสาเหตุทำ� ให้เกิดความเครียด น�ำไปสูก่ าร ประชวรและเสด็จสวรรคต ท่านครองราชย์ ๔๐ ปี ยืนยาวกว่ากษัตริย์ องค์อนื่ ๆ ส่วนในหลวงภูมพิ ลนัน้ ครองราชย์ถงึ ๗๐ ปี ซึง่ ยาวนานทีส่ ดุ ใน โลก ท่านอุทศิ ชีวติ ของท่านแทบทุกวันให้แก่บา้ นเมือง งานของในหลวง ภูมิพลฝรั่งเรียก “Salvation” คือท่านตรากตร�ำมาเป็นเวลานาน บางคนไม่ได้ร้องไห้ออกมาแต่ก็ซึมหม่นหมอง ท�ำไมจึงเป็น อย่างนัน้ เพราะว่าพระองค์ทา่ นเข้าถึงหมด และประชาชนเห็นสิง่ ทีท่ ำ� นั้นช่วยทุกอย่าง เกิดเหตุการณ์วุ่นวายในบ้านเมืองร้ายแรงก็สามารถ สงบได้ สังคมไทยเป็นสังคมที่เชื่อผู้น�ำ คนข้างล่างให้ความส�ำคัญกับ ผู้น�ำ หากมีผู้นำ� ดีบ้านเมืองก็ไปได้ดี และผู้นำ� ที่ส�ำคัญนั้นคือพระมหา กษัตริย์ ที่จริงแล้วผู้คนรู้ ผู้คนเตรียมใจ แต่ยังหลอกตัวเองโดยการ สวดมนต์ และหลายคนบอกว่ามีปรากฏการณ์ต่างๆ เช่น ท้องฟ้ามืด ครึ้ม น่าประหลาดคือมีผู้คนพากันออกมาอย่างล้นหลามแบบมิได้นัด หมาย ทุกหมู่เหล่า ทุกอายุ ทุกเพศ ทุกวัย ทั้งคนไทยและคนต่างชาติ ที่อยู่ในเมืองไทย 6

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


อาจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม ในรายการแสงจากพ่อ : พระผู้ทรงทัดดินต่างปิ่นเกล้า ช่วงใต้เบื้องพระยุคลบาท ทางไทยพีบีเอส เมื่อวันอังคารที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๙

ประชาชนทั้งชาวไทย และชาวต่างชาติ เข้าถวายความอาลัยแด่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ณ ท้องสนามหลวง พระบรมมหาราชวัง

พระมหากษัตริย์ท่านเป็นองค์ศาสนูปถัมภก สร้างวัดวา อาราม แม้กระทั่งโบสถ์หรือมัสยิด ท่านก็ช่วยเป็นการกุศล ซึ่งวัดวา อารามนั้นเป็นหัวใจของชุมชน เมื่อสร้างแล้วผู้คนได้ใช้เป็นพิธีกรรม ทางความเชื่อของศาสนา ฉะนั้นคนจึงร�ำลึกถึงพระคุณตรงนี้ คนใน สมัยก่อนเชือ่ มัน่ ในพระมหากษัตริย์ เพราะพระมหากษัตริยเ์ ป็นเสมือน สมมติเทวราช ในทางพระพุทธศาสนานั้น พระเจ้าแผ่นดินไม่ใช่เทว ราชแต่เป็นสมมติเทพทีผ่ คู้ นยกย่อง ผูค้ นจะท�ำอะไรจึงนึกถึงท่าน พระ มหากษัตริย์พระองค์ใดที่เข้าถึงประชาชน มีเมตตาช่วยเหลือ จึงเกิด สิ่งเหล่านี้ขึ้นมา “ทัดดินต่างปิ่นเกล้า” คือการน�ำเอาความทุกข์ยากของ ประชาชนมาไว้ที่พระเศียร นับว่าเป็นสิ่งที่กินใจมาก คนสมัยโบราณ เขาคิดกันอย่างนี้ เขาเชื่อมั่นในพระมหากษัตริย์ กษัตริย์นั้นมีอยู่สองด้าน ด้านหนึ่งคือเป็น “ราชาธิราช” ใช้ พระเดชขับไล่ข้าศึกศัตรู เป็นผู้พิชิตโลก หรือ “World Conquerer” อีกมิติหนึ่งคือเป็นผู้ที่บ�ำเพ็ญพระราชกรณียกิจที่บำ� บัดทุกข์ บ�ำรุงสุข ให้แก่ประชาชน ให้ความยุติธรรม สิ่งเหล่านี้เป็น “ธรรมราชา” แต่วา่ ความเป็นธรรมราชานัน้ ต้องละทิง้ โลกเป็น “World Renounce” การจะเป็นพระมหากษัตริยไ์ ด้นนั้ ต้องผ่านพิธบี รมราชาภิเษก และเมื่อผ่านพิธีบรมราชาภิเษกแล้วจึงจะถูกยกระดับจากบุคคล ธรรมดามาเป็นสมมติเทพ ในหลวงภูมิพลเคยตรัสกับสมเด็จพระ ราชินีว่า “เราต้องท�ำให้สมที่เขายกเราเป็นสมมติเทพ” สิ่งนี้อาจจะ เป็นเงื่อนไขว่าพระองค์ต้องท�ำแบบนี้ให้สมกับที่ได้รับการยกย่อง สม กับที่ผ่านพิธีบรมราชาภิเษกมา ในมิ ติ ท างพระพุ ท ธศาสนาที่ เ ป็ น เถรวาท เหมื อ นกั บ ที่ พระพุทธเจ้าเป็นสามัญชนธรรมดาแต่ได้บ�ำเพ็ญกรณีที่ดี ก็จะถูก ยกย่องให้อยู่เหนือมนุษย์ การเป็นสมมติเทพ การเป็นกษัตริย์อยู่ดีๆ จะมาแต่งตัง้ กันเลยไม่ได้ ต้องผ่านพิธบี รมราชาภิเษก ทศพิธราชธรรม นัน้ มีมาแต่โบราณแล้ว เป็นเรือ่ งของศีลธรรม แทบจะทุกศาสนาต้องมี เพียงแต่จะเรียกต่างไป

จดหมายข่าว

7

“สมมติเทวราชคือสมมติเทพ” ทีถ่ กู สมมติให้เป็นเทพเจ้า สิง่ เหล่านี้มีอยู่ในต�ำนาน เป็นความเชื่อ มีเรื่องราว เช่น ในชาดกที่พูดถึง เรือ่ งการบ�ำเพ็ญตนทศบารมี นีค่ อื หนึง่ ในธรรมทีพ่ ระมหากษัตริยค์ วร จะมี เช่น ในพระมหาชนกคือความเพียร ฉะนั้นเวลาอบรมจึงน�ำชาดก มาอบรม ผู้ที่เป็นพระมหากษัตริย์จะต้องมีทศบารมี ในสมัยอยุธยามี การน�ำชาดกพระเจ้าสิบชาติที่เน้นเรื่องของพระมหากษัตริย์ และชาติ สุดท้ายที่ส�ำคัญคือ “มหาเวสสันดรชาดก” จะเห็นได้ว่าทานบารมีเป็น สิ่งที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ประชาชนจึงเห็นท่านเป็นพระโพธิสัตว์ การบ�ำเพ็ญ ชาติสุดท้ายทานบารมีจึงได้เป็นพระพุทธเจ้า ในหลวงภูมิพลพระองค์ท่านสอนอยู่ตลอดเวลาในเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง สิง่ ทีต่ อ้ งมีคอื “ความเพียร” เพราะเหตุใดพระองค์ ท่านจึงพระราชนิพนธ์เรือ่ งพระมหาชนกขึน้ มา เพราะว่า นัน่ คือสิง่ หนึง่ ที่จะแสดงทศพิธราชธรรม คือทศบารมี พระมหากษัตริย์ต้องมีความ เพียร มีวิริยะ มีขันติ ท่านไม่เคยไปทะเลาะกับใคร ท่านท�ำในสิ่งที่ดี งามเท่านั้น เป็นแบบอย่างที่ดี เมืองไทยถือเป็นการทดลองเศรษฐกิจแบบมหภาคแบบ ทุนนิยมกับเศรษฐกิจแบบพอเพียง ซึ่งเป็นศัตรูกัน แต่ในหลวงท่าน ไม่ได้ท�ำให้เป็นศัตรูกัน ท�ำให้อยู่ด้วยกันในระดับล่างที่คนยังจัดการ ไม่ได้ ข้างบนจะท�ำอย่างไรให้สมดุล แต่อย่างพวกนายทุนจะเน้น แต่เศรษฐกิจมหภาค เศรษฐกิจพอเพียงเป็น “Way of Life” ที่จะเห็นถึงชุมชน ไม่ใช่ปัจเจก เมื่อก่อนนี้เราอยู่กันเป็นชุมชน การอยู่ในชุมชนอาจจะ มีความหลากหลายในเรื่องของชาติพันธุ์ หลากหลายเรื่องศาสนา มาอยู่รวมกัน แต่มีส�ำนึกร่วมในพื้นที่และอยู่แบบเอื้ออาทรต่อกัน ในแบบเศรษฐกิจพอเพียง อันนี้คือแบบของเดิมที่มีมา ในหลวงท่าน ไม่ได้คิดอะไรใหม่ เพียงแต่ท่านค้นพบว่ามันมีอยู่แล้ว เศรษฐกิจพอเพียงเป็นทั้งปรัชญา ทั้งทฤษฎี ทั้งแนวทาง ซึง่ เกิดจากประสบการณ์ของพระองค์ที่ได้ทรงเสด็จตามสถานทีต่ า่ งๆ เห็นชีวิตประชาชน พื้นฐานของท่านเป็นนักวิทยาศาสตร์ สิ่งทั้งหลาย

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


ที่ท่านสร้างนั้นเป็นนวัตกรรม หมายความว่าชีวิตของเราต้องมีความ พอเพียงตามอัตภาพของแต่ละคน แต่การจะพูดถึงเศรษฐกิจต้อง พูดถึงความยั่งยืน ความยั่งยืนคือต้องแบ่งปันกันไป เช่น การท�ำการ เกษตร นัน่ คือการพัฒนาทีถ่ กู ต้อง เพราะเวลานีเ้ ราพัฒนาประเทศกัน แบบ “Top-Down” แต่ในหลวงท่านเข้าถึงประชาชนก่อน ถามว่าเขา ต้องการอะไร อย่างไร แล้วจึงแนะน�ำวิธีการ นี่จึงเป็นการพัฒนาจาก ข้างใน ท่านไม่ได้ไปพัฒนาให้ เพียงแต่ช่วยเหลือแนะน�ำให้ชาวบ้าน พัฒนาตนเอง เป็นการให้พลัง เมื่อเขาช่วยตัวเองได้ เขาก็มีความสุข สติปัญญาเกิดขึ้นมา ท่านท�ำให้เกิดความมั่นใจ ั นาเฉพาะเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียว แต่เน้น ในหลวงไม่ได้พฒ ในเรื่องของมิติศาสนา จริยธรรม ฉะนั้นจะเห็นว่าที่ใดที่ในหลวงเสด็จ ไป จะเห็นโดยรวมว่ามีวัดวาอาราม ผู้คนร้องร�ำท�ำเพลง ไม่ได้เน้นใน เรือ่ งของวัตถุ มีอาหารการกิน โดยเฉพาะเรือ่ งของอาหารการกิน เป็น GNH [Gross National Happiness] ไม่ใช่ GDP [Gross Domestic Product] แต่ในขณะที่เรามอง GDP ก็เกิดการทะเลาะกัน แต่ท่าน ก็ไม่ได้หมายความว่าท่านจะไปคัดค้าน GDP แต่ท่านเน้นว่าอยู่เบื้อง ล่าง และนี่คือเราเห็นชีวิตวัฒนธรรมร่วมกันของคน คนอยู่ได้เพราะ สิ่งเหล่านี้ การพัฒนาประเทศต้องมองจากข้างล่าง ต้องเข้าถึงคน ในหลวงท่านมีพระราชด�ำรัสว่า “เข้าถึง เข้าใจ และพัฒนา” พระองค์ เวลาไปพั ฒ นาชาวบ้ า น ท่ า นเข้ า ถึ ง คนโดยให้ ค นพั ฒ นากั น เอง เป็นที่ประจักษ์กันเอง ที่ไหนในหลวงเสด็จที่นั่นเจริญ สถานที่ที่ท่าน เสด็จ ท่านไม่ได้มองถึงความอันตราย แต่ท่านมองถึงความเป็นอยู่ เพียงแต่พื้นที่เหล่านั้นเป็นพื้นที่อันตราย และอีกอย่างคือในหลวงท่าน รักธรรมชาติ ท่านไม่ได้รักวัตถุ ท่านมีความเข้าใจในเรื่องธรรมชาติ มาก คนจึงอยู่กับธรรมชาติ ก่อนท่านขึ้นครองราชย์ท่านก็เสด็จไป หลายแห่ง การที่ประชาชนร้องบอกว่า “ท่านอย่าทิ้งประชาชน” นั่น คือสาเหตุที่ท�ำให้ท่านได้ท�ำสิ่งเหล่านี้ และสิ่งเหล่านี้ท่านท�ำได้จาก ประสบการณ์ ท่านเสด็จไปภาคกลางก่อน อาจจะเสด็จไปประพาส แต่ตอนหลังไม่ใช่ ท่านได้คดิ ทีจ่ ะพัฒนา เพราะเห็นถึงความเดือดร้อน เห็นความเหลื่อมล�้ำที่ไม่เท่ากัน จากภาคกลางไปภาคอีสาน จากภาค อีสานไปภาคเหนือขึ้นไปตามเขาแล้วไปเจอกับคนที่ตอนนั้นไม่ใช่คน ไทย พวกเขามาปลูกฝิ่น อาจจะเป็นอันตรายได้ แต่ท่านก็ได้ใช้วิธีที่ นุ่มนวลโดยการปรากฏตัวในฐานะเป็นคนธรรมดา ไปถาม ไปแนะน�ำ สิ่งต่างๆ จนเขาเปลี่ยนแปลงได้ หากเป็นที่อื่นจะต้องไล่เพราะเป็นคน ต่างชาติ แต่ท่านไม่ใช่ ท่านเอาคนเหล่านี้เข้ามาเป็นคนไทย ปัจจุบัน พวกเขามีชีวิตที่ดีขึ้น และยังนึกถึงท่าน การพัฒนาต้องให้เห็นเป็นรูป ธรรม จะเห็นได้ว่าบางแห่งที่ล้าหลังนั้นเป็นเพราะอะไร ท่านมีความรู้ ท่านเป็นนักวิทยาศาสตร์ ท่านเข้าใจสิ่งเหล่านี้ และท่านเข้าใจพื้นที่ว่า ท�ำไมจึงทุรกันดารและจะแก้ไขอย่างไร เมื่อก่อนคนไทยเรียนหนังสือ ไม่เคยเห็นแผนที่มาตราส่วน

จดหมายข่าว

๑ : ๕๐,๐๐๐ เพราะเป็นความลับส่วนราชการ คนอื่นอาจจะใช้เพื่อ วางแผน อย่างเช่นพวกนักผังเมืองใช้ขดี เส้น ไม่เห็นคน ไม่เห็นถึงสภาพ แวดล้อม แต่ในหลวงท่านใช้แผนที่แล้วเดินไปตามท้องถิ่น รู้ว่าสภาพ เป็นอย่างไร อุณหภูมิเป็นอย่างไร ท่านจึงสามารถแก้ปัญหาได้ นี่คือ การพัฒนาจากประสบการณ์ของท่าน หากเปรียบเทียบกันแล้วในการ ใช้แผนทีม่ แี บบทีม่ องจากข้างบนลงมาข้างล่าง แต่ในหลวงท่านใช้แบบ ที่มองจากด้านล่างขึ้นมา ท่านจึงสามารถจัดการกับสิ่งต่างๆ ได้ เช่น การจัดการน�้ำในกรณีน�้ำท่วมหาดใหญ่ เพราะถนนอยู่หน้าภูเขาน�้ำก็ ท่วมถนน ท่านจึงให้ไปเจาะถนนน�้ำจึงออกได้ แม้กระทั่งแม่น�้ำเจ้าพระยา ท่านรู้ว่าน�ำ้ ก�ำลังจะมา มีทั้งน�ำ้ หนุนจากทะเล มีทงั้ น�ำ้ เหนือ ท่านจึงได้ไปจัดการกับคลองลัดโพธิ์ คลอง ลัดโพธิ์นั้นเป็นการขุดลัดล�ำน�้ำคด สมัยก่อนนั้นมีการขุดคลองเชื่อม เช่น การขุดคลองบางกอก บางกรวย แต่ที่นี่มีนำ�้ เค็มเข้า พอน�้ำเค็ม เข้าก็ได้ทำ� ลายสภาพแวดล้อมไร่สวนประชาชน ท่านจึงคิดท�ำประตูนำ�้ ที่ระบายน�้ำเมื่อมีความจ�ำเป็น แต่หากน�ำ้ ลดก็กันไว้ เป็นอัจฉริยภาพ อย่างหนึ่งของพระองค์ท่าน จะเห็นได้ว่าพระองค์ท่านเข้าใจในดิน ฟ้า อากาศดี ในหลวงท่านไม่ได้หนุนท�ำให้เกิดโรงพลังงานไฟฟ้า แต่ท่าน หนุนเขือ่ นเพือ่ การชลประทาน และเขือ่ นทีว่ า่ คือเขือ่ นขนาดเล็กทีเ่ รียก ว่า “แก้มลิง” แก้มลิงนั้นคือหนองน�้ำธรรมชาติที่รักษาไว้ มีทั้งน�ำ้ เข้า และน�ำ้ ออก ขณะทีน่ ำ�้ เข้าก็เก็บไว้ แต่เมือ่ เวลาน�ำ้ ออกก็ระบายออกไป ควรจะสละทีว่ า่ งไว้สำ� หรับกักน�ำ้ ไว้ใช้ในการท�ำเกษตร แบบทีศ่ รีลงั กา ท�ำ แต่ในหลวงท่านเข้าใจท�ำและน�ำมาท�ำใช้ได้ผลจริงๆ สิ่งที่พระองค์ท่านท�ำจึงชนะใจประชาชน จึงได้เกิดการ ร�่ำไห้ของประชาชนมากมาย นี่คือการชนะที่ยิ่งใหญ่ ไม่ ใช่ชนะ แบบเป็นราชาธิราช คือการโน้มตัวลงมาเอาชัยชนะ มักจะใช้ค�ำนี้ กับพระพุทธเจ้า กษัตริย์หลายองค์ก็เป็นแบบนี้ เช่น พระเจ้าอโศก มหาราชที่มีศีลธรรมที่ดี ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ก็เป็นเช่นนี้ รัชกาลที่ ๕ ก็เป็นเช่นนี้ ท่านไม่ได้ชนะด้วยพระเดช แต่ท่านชนะด้วยพระคุณ พระคุณชนะโลก ปรากฏการณ์ นี้ ท� ำให้ เ ห็ น แล้ ว ว่ า มี ค นมาร�่ ำไห้ กั น อย่ า ง มากมาย สิ่งเหล่านี้กระตุ้นให้เกิดส�ำนึกทางศีลธรรม เหตุการณ์วัน สวรรคตครัง้ นีจ้ งึ เป็นเหตุการณ์ทยี่ งิ่ ใหญ่ เพราะเห็นถึงความปรองดอง เห็นความเสียสละต่างๆ ออกมาทางสือ่ เพราะพระมหากษัตริยเ์ ป็นส่วน หนึ่งในการสร้างสังคมที่ดี และในหลวงรัชกาลที่ ๙ ท่านไม่ใช่เพียง แต่พัฒนา ท่านยังจัดการในเรื่องของศาสนา โดยที่ท่านเป็นตัวอย่าง ท่านได้วิปัสสนา ท่านได้ศึกษา สนับสนุนในการสร้างวัด เมือ่ เร็วๆ นีม้ กี ารสร้างวัดพระราม ๙ เป็นวัดเล็กๆ เป็นโบสถ์ ท้องถิน่ ไม่ได้มอี ะไรทีอ่ ลังการเลย แต่มตี น้ ไม้ มีคนหนุม่ สาวไปปฏิบตั ิ ธรรม เป็นสถานที่สงบ ซึ่งจะแตกต่างจากที่อื่นที่มีความยิ่งใหญ่ที่สุด ในโลก แต่ท่านสร้างของเล็กๆ ที่กินถึงจิตใจ สถานที่ทรงงานของพระองค์เป็น ที่เล็กๆ ในปัจจุบันยุค 8

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


วัตถุนิยมนั้นคนจะหวนกลับมาได้แค่ไหน แม้แต่เรื่องการเคลื่อนไหว ทางศาสนาก็ตาม เราเคลือ่ นไหวทางศาสนาไปทางอภินหิ าร ความเชือ่ ไสยศาสตร์ แต่ในหลวงท่านเป็นตัวอย่างในการปฏิบัติธรรม ไปกราบ ไหว้พระอริยสงฆ์หลายองค์ และพัฒนาเรือ่ งวัด เสด็จออกไปพิธเี ปิดวัด ต่างๆ และไม่ใช่เฉพาะเรื่องของพระพุทธศาสนาเท่านั้น พระองค์ทรง เป็นองค์ศาสนูปถัมภ์ ท�ำให้หลายศาสนายอมรับ ฉะนัน้ เป็นเหตุทที่ ำ� ให้ คนส่วนใหญ่ไม่ได้มองพระมหากษัตริย์แยกจากศาสนา “บ้าน วัด โรงเรียน” คือโครงสร้างของการเป็นสังคมมนุษย์ เมื่อก่อนวัดคือศูนย์กลางของชุมชน ไม่ใช่เขตหมู่บ้าน อ�ำเภอ ต�ำบล ทุกคนมาท�ำบุญ พบปะกัน มีประเพณีตา่ งๆ ในวัด โรงเรียนอยู่ในวัด วัดอยู่ ในชุมชน วัดก็เป็นสถานที่ที่รักษาผู้ป่วย ผู้ยากไร้ มีความเป็นชุมชน แต่เวลานี้ที่เปลี่ยนแปลงการปกครองมา ไม่เห็นความเป็นชุมชน แต่ สิง่ ที่ในหลวงท�ำคือเน้นความเป็นชุมชน และท่านได้พฒ ั นาจากตรงนัน้ สิ่งต่างๆ ที่ทางสื่อได้แสดงพระราชกรณียกิจ เปรียบคล้าย ท่านได้ออกไปทรมานร่างกายเพื่อให้คนอื่นได้เรียนรู้ การที่เราเรียน เรื่องศาสนาเราเรียนถึงความทุกข์ยากของศาสดา เช่น เรื่องของ พระพุทธเจ้ามหาศาสดาโลก ท่านก็เป็นคนธรรมดาเช่นเดียวกับที่ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ที่ไม่ได้แสดงความยิ่งใหญ่ ท่านออกไปตามถิ่นที่ ทุรกันดารต่างๆ เป็นคนธรรมดา ไม่ใช่อภินิหาร แต่การรับรู้ของผู้คน นัน้ ท่านคือ “ผูเ้ หนือมนุษย์” และจะเป็นตัวอย่างทีจ่ ะกระตุน้ ให้คนคิดได้ ในโลกนี้ไม่ใช่ง่ายๆ ที่คนจะปฏิบัติเช่นนี้ได้ เพราะในโลกนี้ เราถูกครอบง�ำไปด้วยวัตถุนิยม ทุกอย่างจะต้องยิ่งใหญ่ แต่ในหลวง

องค์นี้ไม่ใช่ ท่านไม่สร้างความเหลื่อมล�้ำ การที่ประชาชนเรียกในหลวงว่า “พ่อ” เพราะพระองค์ท่าน ไม่ได้ใช้ราชาศัพท์ และนี่จะเป็นต�ำนาน เวลาคนมีความทุกข์จะคิดถึง ท่าน จะนึกถึงค�ำสอนของท่าน ในขณะทีบ่ า้ นเมืองของเราถูกครอบง�ำ ด้วยวัตถุนยิ ม แต่ยงั มีหลายแห่งทีส่ ามารถฟืน้ ขึน้ มา อย่างอีสานมีหลาย จุดทีท่ า่ นได้ไปพัฒนา ผูค้ นทีม่ องท่านไม่ได้มองเหมือนเทพเจ้า แต่มอง เหมือนอย่างพ่อ สุดท้ายภาพของในหลวงจะกลายเป็น “Culture Hero” หรือ ผูน้ ำ� ทางวัฒนธรรม และความหมายของผูน้ ำ� ทางวัฒนธรรมนัน้ คือ ผูท้ ี่ ประกอบคุณงามความดีไว้จนเป็นที่ยอมรับของผู้คนทั้งหลาย เมื่อสิ้น ชีวติ ไปแล้วจะถูกยกย่องให้เป็นเทพ ปรากฏการณ์แบบนีป้ รากฏอยู่ใน สมเด็จเจ้ากรุงธนบุรีเช่นกัน จึงขอน�ำโคลงที่เคยกล่าวถึงพระมหากษัตริย์ผู้เป็นที่รักของ ประชาชนในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาล ที่ ๕ โดยเปรียบเทียบกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช เฉกเช่นเดียวกันในหนังสือ “สามกรุง” พระนิพนธ์ของพระราชวรวงศ์ เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจ�ำรัส กรมหมืน่ พิทยาลงกรณ์ หรือ น.ม.ส. ว่า “สยามมินทร์ปิ่นธเรศเจ้า นึกพระนามความหอม อวลอบกระหลบออม เพราะพระองค์ทรงอุ้ม

จุลจอม จักรเอย ห่อหุ้ม ใจอิ่ม โอบเอื้อเหลือหลาย”

“เข้าถึง เข้าใจ และพัฒนา” หลักการท�ำงาน จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช

และเมื่อน�ำมาใช้ในการท�ำงานกับมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ โดย วลัยลักษณ์ ทรงศิริ พระบาทสมเด็จพระปรมิน ทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จ สวรรคตแล้วเมื่อวัน ที่ ๑๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ด้วยส�ำนึกใน พระมหากรุณาธิคุณอัน หาที่สุดมิได้ ข้าพระพุทธเจ้าขอบรรยาย ถึงการน้อมน�ำหลักการปฏิบัติ “เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา” ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่น�ำมาใช้กับการด�ำเนินงานกิจกรรม เพือ่ การศึกษาต่างๆ ของมูลนิธเิ ล็ก-ประไพ วิรยิ ะพันธุ์ ตลอดระยะเวลา ที่ผ่านมา และตระหนักในผลที่ได้จากการปฏิบัตินี้ว่ามีความส�ำคัญต่อ การศึกษาพืน้ ฐานของชุมชนต่างๆ ตามความปรารถนา ความประสงค์ ของชาวบ้าน และการพัฒนาที่เกิดขึ้นมาจากความต้องการภายใน

จดหมายข่าว

9

ของชุมชนในท้องถิ่นหรือชาวบ้านเอง ไม่เฉพาะเพียงเพื่องานพัฒนา ทางกายภาพเท่านั้น แต่สามารถน�ำมาใช้ได้กับการศึกษารากเหง้า และปัญหาทางสังคมวัฒนธรรมในสังคมไทยได้อย่างดีที่สุด เมื่อครั้งยังเป็น นักศึกษาในสถานการณ์เมื​ื่อราว ๓๐ ปี ทีผ่ า่ นมา การศึกษาเรือ่ งราวในอดีต เช่น การศึกษาประวัตศิ าสตร์และ โบราณคดีนั้นแทบจะไม่มีส่วนใดกล่าวถึงอดีตของชาวบ้านในท้องถิ่น อย่างจริงจังเลย การร�่ำเรียนในเนื้อหาราว ๔ ปีนั้นแทบจะกล่าวได้ว่า เป็นเนือ้ หาทางเทคนิคเสียมากกว่าเรือ่ งอืน่ ๆ เช่น รูปแบบรายละเอียด เจดีย์ พระพุทธรูปสมัยต่างๆ การกะเทาะขวานหิน การศึกษาดินและ

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


พระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช

หิน การท่องจ�ำเวลาต่างๆ ทีเ่ กิดเหตุการณ์สำ� คัญในอดีต เรือ่ งราวของ วีรบุรษุ และพงศาวดารของกษัตริยส์ มัยต่างๆ เท่าทีห่ ลักสูตรและคณะ ครูอาจารย์จะคิดว่าดีและน�ำข้อมูลมาเสนอได้ในช่วงเวลานั้น แต่นั่นเท่ากับการตัดตัวเองออกจากปัจจุบัน จนท�ำให้เกิด ความครุ่นคิดต่อตนเองและสังคมที่เห็นว่า การอยู่ในห้วงเวลาปัจจุบัน นั้นสามารถตัดอดีตออกไปได้อย่างเด็ดขาด และในทางกลับกัน การ ศึกษาจนจมอยูก่ บั อดีตจะสามารถขังตนเองอยู่ในห้องแห่งกาลเวลาได้ เช่นเดียวกันหรือ ทั้งที่สภาพแวดล้อมนั้นเต็มไปด้วยผู้คนที่ข้องเกี่ยว และยืนอยู่บนเงาร่างของอดีตมีให้เห็นอยู่ทุกซอกมุม อดีตและปัจจุบันไม่ควรแยกห่างออกจากกัน ไม่ว่าจะอยู่ใน ปรัชญาการเรียนสาขาใดก็ตาม ครั้งนั้นมีอาจารย์ท่านหนึ่งซึ่งเป็นที่ปรึกษาของมูลนิธิเล็กประไพ วิริยะพันธุ์และเมืองโบราณในทุกวันนี้คือ อาจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม ได้สอนและท�ำให้ข้าพเจ้าเห็นว่า การเรียนเรื่องอดีตนั้น ส�ำคัญกว่าการแสวงหาข้อเท็จจริง เพราะอดีตเป็นเครื่องมือที่ใช้เป็น

จดหมายข่าว

เงาสะท้อนสังคมในปัจจุบันได้อย่างแม่นย�ำที่สุด และการท�ำความ เข้าใจสังคมมนุษ ย์นั้นไม่ควรยึดติดแต่เพียงกรอบปัญหาในศาสตร์ เฉพาะตน แต่ควรเรียนรู้เรื่องราวในอดีตข้ามกาลเวลา [History through time] และสัมพันธ์ต่อกันแบบเป็นองคาพยพ [Organicism] เมื่อได้เรียนรู้ความสัมพันธ์ที่มีมิติหลากหลายเช่นนี้เพิ่มเติมขึ้น ในปรัชญาการศึกษา จึงท�ำให้เริม่ เข้าใจอดีตทีม่ ผี ลต่อปัจจุบนั และอาจ จะน�ำทางไปสู่อนาคตได้ เมื่อมีโอกาสเข้ามาท�ำงานกับมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ ซึ่งคุณเล็ก วิริยะพันธุ์ได้ประกาศเจตนารมย์ โดยมีภรรยาและคนใน ครอบครัวสนับสนุนให้เกิดการท�ำงานเพื่อสังคม โดยการจัดตั้งมูลนิธิ ทีจ่ ะสามารถช่วยให้ทำ� ในสิง่ ทีเ่ ป็นประโยชน์แก่สงั คมในด้านการศึกษา และเผยแพร่ความรู้สู่สาธารณะในอันที่จะเป็นประโยชน์ในวิถีทางใด ก็ได้ ซึ่งอาจารย์ศรีศักร วัลลิโภดมเห็นว่าควรจัดตั้งกลุ่มเข้าไปศึกษา และช่วยเหลือชาวบ้านในท้องถิ่นต่างๆ ในการที่จะสร้างพิพิธภัณฑ์ ท้องถิ่น บอกเล่าเรื่องราวของตนเองให้ปรากฏแก่สังคมไทยในยุค 10

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


ที่ยังไม่มีการสนใจท�ำในสิ่งเหล่านี้ ทั้งที่เป็น พื้นฐานของสังคมที่มี ความหลากหลายทางวัฒนธรรมและวิถีชีวิต ตลอดจนเป็นพื้นฐาน ส�ำคัญอย่างยิ่งต่อการกระจายอ�ำนาจสู่ท้องถิ่นทั้งทางการเมืองและ สังคมวัฒนธรรมที่ควรจะลดการรวมศูนย์อยู่ที่อ�ำนาจการจัดการของ ข้าราชการในส่วนกลางลงเสียบ้าง เพือ่ เป็นหลักและสร้างความเข้าใจ อันถูกต้องต่อสังคมประชาธิปไตยในเมืองไทย การจั ด พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ท ้ อ งถิ่ น น� ำไปสู ่ ก ารศึ ก ษาพื้ น ที่ ภ ายใน ปริมณฑลของท้องถิ่นนั้นอย่างละเอียดในทุกด้านหรือทุกองคาพยพ ที่ท�ำให้เกิดสังคมวัฒนธรรมที่หล่อรวมเป็นชุมชน นับว่าน่าแปลกใจที่ การศึกษาเหล่านีก้ ลับไม่ได้รบั ความสนใจในช่วงหลายสิบปีทผี่ า่ นมา จน กระทัง่ เกิดความเปลีย่ นแปลงทางสังคมที่ได้รบั ผลกระทบจากทัง้ สภาพ แวดล้อมจากการท�ำอุตสาหกรรมเกษตร สภาพน�ำ้ อากาศ การท�ำมา หากินเปลีย่ นไปเป็นยากล�ำบากและเห็นถึงความเสือ่ มทรุดมากขึน้ และ ส่วนใหญ่มกั ย้อนกลับมาดูตนเองว่าควรรับมืออย่างไรต่อปัญหาสังคม ภายในท้องถิ่น การเรียนรู้และรู้จักตนเองเป็นสิ่งส�ำคัญ นอกเหนือไปจาก สิ่งที่เห็นอยู่เสมอในชีวิตประจ�ำวันแล้ว การแก้ไขปัญหาที่ ได้มาจาก การพิจารณาถึงปัญหาในระดับรากเหง้าและที่มาย่อมดีกว่าไล่ตาม ปัญหาแบบตาบอดคล�ำช้าง สิ่งเหล่านี้คือการ “เข้าใจตนเอง” ที่นำ� ไป สู่การพัฒนาที่ยั่งยืนหรือการพัฒนาสังคมของท้องถิ่นอย่างมีส่วนร่วม ตามความต้องการของคนภายใน ที่สามารถสร้างความเข้าใจและ บูรณาการผู้คนและสังคม ตลอดจนสภาพแวดล้อมให้ปรับไปด้วยกัน ให้ได้รับผลดี และสร้างผลกระทบในทางลบให้น้อยที่สุด แต่สงิ่ เหล่านีด้ เู หมือนจะท�ำได้ยากมาก เพราะไม่มตี ำ� ราหรือ การเรียนการสอนใดๆ มีขอ้ มูลมากพอเป็นพืน้ ฐานให้การเรียนรูช้ มุ ชน หรือท้องถิ่นของตนเองด�ำเนินไปได้ในทุกที่ทุกชุมชนอย่างราบรื่น ปัญหาที่ส�ำคัญก็คือ การถูกสอนมาโดยตลอดว่าการศึกษา เหล่านี้เป็นความช�ำนาญของคนเฉพาะกลุ่ม และชาวบ้านธรรมดาไม่ สามารถท�ำงานเหล่านี้ได้ ความไม่มั่นใจในตนเองเป็นสิ่งส�ำคัญที่สุด ทีท่ ำ� ให้การศึกษาท้องถิน่ ของตนเองเป็นไปด้วยอคติตอ่ ตนเองและจาก สิง่ ทีค่ นภายนอกส่งผ่านมา ความไม่เชือ่ มัน่ ในระบบการศึกษาทีต่ นเอง สร้างขึ้นนั้นบ่อนท�ำลายความมั่นคงของชุมชน จึงมีโครงการสร้างให้คนในท้องถิ่นหรือคนในชุมชนมีความ กล้าหาญในการศึกษาเรื่องราวของตนเอง และน�ำมารวบรวมบันทึก ไว้เป็นหลักฐานตลอดจนน�ำมาใช้ส�ำหรับเป็นฐานข้อมูลในการพัฒนา ชุมชนของตนเอง แม้เกิดขึ้นหลายแห่งแล้วในปัจจุบัน แต่ก็ควรเน้น การส่งเสริมให้เกิดการศึกษาตนเองในทุกด้านอย่างเต็มก�ำลังให้มาก ขึ้น โดยการสนับสนุนจากสถาบันการศึกษาในท้องถิ่นและองค์กร บริหารท้องถิ่นต่างๆ เพื่อความรู้ความเข้าใจต่อตนเองที่ยังคงอยู่น้อย มากเมือ่ เทียบการเรียนรู้เรื่องกว้างๆ ทีแ่ ทบจะหาความสัมพันธ์ตอ่ พื้น ทีเ่ ล็กๆ ยากเต็มที ทัง้ ทีเ่ ป็นเรือ่ งราวพืน้ ฐานของการท�ำความเข้าใจเพือ่ การพัฒนาประเทศโดยรวม

จดหมายข่าว

11

ปัญหาประการต่อมาคือ ไม่มีการเรียนการสอนในสถาบัน การศึกษาที่มีอยู่จ�ำนวนมาก ให้เน้นในการศึกษาท้องถิ่นเพื่อท�ำความ เข้ าใจชุ ม ชนในทุ ก มิ ติ ตั้ ง แต่ ร ากเหง้ า จนถึ ง ผลกระทบจากการ เปลีย่ นแปลงสภาพแวดล้อมและสังคมในปัจจุบนั ในเมืองไทยยังมีการ ศึกษาเหล่านี้น้อยเกินไป เมื่ อ มี ค วามนิ ย มในการแก้ ป ั ญ หาของท้ อ งถิ่ น ก็ มั ก จะ ใช้ แ นวทางการเปลี่ ย นแปลงสภาพแวดล้ อ มหรื อ ปรั บ ปรุ ง ชุ ม ชน เพื่อการท่องเที่ยวแต่เพียงเท่านั้น โดยหันมาเน้นการค้าขายที่ถูกการ ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวแบบหวนหาอดีต ซึ่งมักจัดสร้างและ จัดการในรูปแบบเดียวกัน เช่น ตลาดน�้ำย้อนยุค การจัดถนนคนเดิน การสร้างตลาดเก่าริมน�้ำต่างๆ ฯลฯ ท�ำให้การแก้ปัญหาของชุมชน กลายเป็นการสร้างปัญหาซ�ำ้ ซ้อนจากการเปลี่ยนแปลงเช่นนี้ ดังนั้น ปัญหาทั้งเรื่องสภาพแวดล้อม การท�ำมาหากิน การ เปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรมจึงกลายเป็นเรื่องแยกส่วนเสียจน ไม่สามารถน�ำมาอภิปรายให้เป็นเรื่องเดียวกันได้ ทั้งที่มีต้นตอและ ความต้องการ การท�ำความเข้าใจถึงปัญหาในสัมพันธ์แบบเป็น องคาพยพ [Organicism] จึงจะท�ำให้เกิดความเข้าใจและพัฒนาสิ่งที่ มีอยู่ในพื้นฐานของตนเองได้อย่างชัดเจนและมีประสิทธิภาพ และโดยเฉพาะเมื่อข้าพเจ้าต้องไปท�ำงานในโครงการศึกษา ท้องถิ่นในสามจังหวัดชายแดนใต้ถึงสี่ห้าโครงการตลอดระยะเวลา กว่าสามถึงสี่ปี งานศึกษาชุมชนท้องถิ่นในประเด็นมิติทั้งทางสภาพ แวดล้อม ประวัติศาสตร์ สภาพสังคมในอดีตเปรียบเทียบกับปัจจุบัน ท�ำให้สามารถเห็นปัญหาในมิติทางชีวิตวัฒนธรรมที่แตกต่างไปจาก ปัญหาทางการเมืองและความรุนแรงในระยะนั้นได้อย่างแตกต่าง และท�ำให้สามารถเข้าใจคนในพื้นที่ ได้มากขึ้นกว่าแต่เดิม อย่างมาก จนข้าพเจ้าเองนั้นถึงแก่กาล “เข้าใจ” ในหลักการท�ำงาน ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่พระราชทานไว้ว่าต้อง “เข้าถึง” ให้ได้เสียก่อนแล้วจึงจะ “เข้าใจ” หลังจากนั้นจึงเป็นการพูดคุยเพื่อ สร้างพลังตลอดจนก�ำลังภายในของตนเองของชุมชน หรือของท้องถิน่ ที่จะน�ำมาหรือชี้แนะแก่บุคคลภายนอก เพื่อให้เข้าใจการแก้ปัญหา ในด้านต่างๆ ที่คนในชุมชนนั้นต้องการ แม้จะผ่านมาเกือบสิบปีแล้วก็ตาม วิธกี ารศึกษาให้เข้าใจเพือ่ ท�ำให้เกิดการเข้าถึงนัน้ ถือว่าส�ำคัญทีส่ ดุ แต่กด็ เู หมือนจะไม่เป็นทีน่ ยิ ม เพราะเน้นไปในการพูดคุยเน้นกระบวนการสร้างสันติภาพในวงสนทนา อยูเ่ สียแต่เพียงเท่านัน้ ปัญหาทางรูปธรรมทีช่ ดั เจนทีส่ ดุ คือ ผลกระทบที่ มีตอ่ ชาวบ้านในช่วงการเปลีย่ นแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมอย่างสูง ยิ่ง โดยเฉพาะในช่วงที่โลกเข้าสู่ยุคการท�ำให้เป็นอิสลามอย่างถูกต้อง [Islamization] ปัญหาความรุนแรงนั้นถูกเชื่อมโยงออกไปจนหลาก หลายมิติ จ�ำเป็นทีต่ อ้ งย้อนกลับมาทีร่ ากฐานของชุมชนซึง่ มีความเป็น อัตลักษณ์เฉพาะกลุ่ม ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้องท�ำความเข้าใจก่อนอื่น และน�ำ มาสู่ข้อเสนอในการเปลี่ยนแปลงทั้งแนวทางการอยู่ร่วมกันที่สามารถ เข้าใจและรับในความแตกต่างให้อยูร่ ว่ มกันได้ ซึง่ สังคมไทยเคยตัง้ รับ

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


กับสิ่งเหล่านี้ได้อย่างดีมาแล้วในอดีต เมื่อได้เดินทางออกไปนอกบ้าน นอกเขตแดนประเทศไทย โดยเฉพาะบ้านเมืองในพื้นที่โดยรอบภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้พูดคุยกับเพื่อนบ้านโดยเฉพาะในช่วงเวลากว่าสิบปีที่ผ่านมาและ อยู่ในช่วงเวลาที่มีความขัดแย้งทางสังคมและการเมืองสูงอย่างที่ ไม่ เคยปรากฏมาก่อนในเมืองไทย ก็พบว่าคนที่มองบ้านเมืองเราจากนอกบ้านนั้นมักจะแสดง ความห่วงใยและชื่นชมไปในคราวเดียวกัน โดยเฉพาะต่อพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช แม้เพื่อนๆ จากหลายประเทศ ทีพ่ บจะไม่แสดงท่าทีวา่ จะเข้าใจความผูกพันของกษัตริยก์ บั ประชาชน ในมิติที่ลึกซึ้งแบบชาวไทย แต่ก็แสดงความห่วงใยในฐานะที่ท่านเป็น ผู้ใหญ่ เป็นผู้สูงอายุในสถานการณ์บ้านเมืองที่ก�ำลังสั่นคลอนและ หลายคนท�ำนายว่าก�ำลังเกิดสงครามกลางเมือง อย่างเช่น แม่ของเพื่อนซึ่งผ่านช่วงชีวิตในสงครามเวียดนาม มาแล้วบ่นร�ำพึงให้ฟังว่า “คนไทยมีบ้านเมืองที่สงบสุขอยู่แล้ว จะหา เรื่องขัดแย้งกันเองท�ำไม รู้บ้างไหมว่าสงครามกลางเมืองนั้นเลวร้าย เพียงใด อยู่ๆ ก็สร้างความขัดแย้งกันเองแบบนี้ท�ำไม” ไกด์ชาวลาวมักเล่าถึงความเชื่อของคนลาวบางกลุ่มว่าบ้าน เมืองลาวจะเจริญขึน้ โดยมีการตีความว่าส่วนหนึง่ มาจากการทีก่ ษัตริย์ ไทยเหยียบแผ่นดินคนลาว ไม่มคี นใดในกลุม่ ชาวลาวทีร่ จู้ กั พูดจาในเชิง ไม่พอใจหรือหยิบน�ำเอาความขัดแย้งระหว่างชาติพันธุ์มาเป็นปัญหา เมื่อเปรียบเทียบกับสิ่งที่นักวิชาการทางประวัติศาสตร์ชาวไทยขยาย ประเด็นตอกย�ำ้ ความขัดแย้งเรือ่ งคนไทยดูถกู คนอืน่ หรือกลุม่ ชาติพนั ธุ์ อื่นอย่างเข้มข้นในระหว่างนั้น เพื่อนที่ฟิลิปปินส์กล่าวถึงภาพการแสดงวัฒนธรรมที่เขา เห็นในการแสดงก่อนการแข่งกีฬาซีเกมส์ และมองว่าพวกเขาช่างเป็น คนนอกเอเชียที่รับวัฒนธรรมตะวันตกจนไม่เข้าใจชีวิตแบบคนเอเชีย เสียเลย ชาวฟิลิปปินส์อยู่ในประเทศที่เป็นหมู่เกาะและมีชนเผ่าเป็น พืน้ ฐานของประชากรซึง่ เพิม่ รวบรวมเข้าเป็นรัฐแรกเริม่ [Early State] ในช่วงทีส่ เปนเข้ามาแสวงหาอาณานิคมกว่า ๓๐๐ ปี และต่อเนือ่ งด้วย สหรัฐอเมริกาอีกกว่า ๔๐๐ ปี จนไม่มีพัฒนาการของบ้านเมืองตาม ธรรมเนียมแบบรัฐโบราณในภาคพื้นแผ่นดินใหญ่เอเชียตะวันออก เฉียงใต้จนไม่เหลือความรูส้ กึ ร่วมในการเป็นชาติบา้ นเมืองแบบเอเชีย จนถึงไม่อาจเข้าใจความรู้สึก ความผูกพันระหว่างสถาบันกษัตริย์กับ ประชาชนในแบบรัฐก่อนสมัยใหม่ได้เลย สิ่งที่เขาบอกเล่าต่อมาคือ “อยากรู้สึกและเข้าใจความเป็นเอเชีย เพราะเขาผมด�ำและสีผิวไม่ได้ แตกต่าง แต่พวกเขาไม่สามารถเข้าถึงได้” จนถึงเพื่อนชาวมาเลเซีย ที่เป็นชาวบ้านธรรมดาๆ พบกันใน วันคืนที่บ้านเมืองทางกรุงเทพฯ ก�ำลังร้อนเป็นไฟ และข่าวภาคภาษา อังกฤษลงข่าวโจมตีสถาบันพระมหากษัตริย์ โดยเฉพาะพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชอย่างไม่น่าเชื่อว่าจะฝืนข้อเท็จ จริงและกระแสความรู้คนในบ้านเมืองที่ก�ำลังงุนงงและอึมครึมอย่าง

จดหมายข่าว

มาก เขาถามไถ่ถึงสถานการณ์ความรุนแรงที่กรุงเทพฯ เราคุยกัน อีกมากมาย และเขาเริ่มถามถึงอาการประชวรของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวในห้วงขณะนั้น “พระองค์ทำ� งานหนักมามาก คนสูงวัยทีท่ ำ� งานหนักมาขนาด นี้ไม่ควรได้รับการตอบแทนแบบนี้นะ” ข้าพเจ้าอึง้ ไปนานและพูดไม่ออก ในสถานการณ์บา้ นเมืองยุค นั้น เดินไปตามถนนก็จะพบสิ่งที่ไม่น่าเชื่อได้เสมอ เพื่อนชาวมาเลเซีย ที่เป็นชาวบ้านธรรมดาๆ แม้จะอยู่ในบ้านเมืองที่มีสถาบันกษัตริย์ แต่ ก็เป็นสถาบันในระบบสัญลักษณ์มากกว่าอย่างอืน่ ๆ กลับมีคำ� พูดเตือน สติคนไทยทั่วๆ ไปได้อย่างลึกซึ้ง และไม่ต้องมีค�ำอธิบายใดๆ ในสถานการณ์บ้านเมืองกว่าสิบปีที่ผ่านมา ถือเป็นบทเรียน ส�ำคัญต่อประเทศชาติที่เฉียดใกล้กับค�ำว่า “บ้านแตกสาแหรกขาด” อีกครั้ง เพียงแต่การเป็นบ้านเมืองที่มีสถาบันกษัตริย์และมีพระมหา กษัตริย์ที่ทรงเล็งเห็นความก้าวหน้าของสังคมเลยผ่านความขัดแย้งที่ หาสาระไม่ได้นี้ไป ยิ่งท�ำให้พวกเราตระหนักและรู้สึกแตกต่างไปจาก การสร้างวาทกรรมของนักวิชาการ นักหนังสือพิมพ์ในประเทศจ�ำนวน หนึ่งที่มักชี้น�ำว่าเมืองไทยนั้นชาตินิยมและหลงตนเองและดีแต่ดูถูก บ้านเมืองอื่น บ้างก็ว่าเป็นราชาชาตินิยมจนถึงปัจจุบัน หากแต่ได้เดินทางเข้าไปพูดจากับผู้คนนอกบ้านตนเอง ใน มิติของชีวิตวัฒนธรรมและความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ก็จะเข้าใจ ว่าคนไทยควรรู้สึกเช่นไร และควรถนอมความไม่ต้องตกเป็นรัฐใต้ อาณานิคม รักษาอิสรภาพในแบบของบ้านเมืองเท่าที่ทำ� ได้ รักษาค�ำ สัง่ สอนอันดีงามของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทีท่ รงแสดงออกและ ให้แนวทางไว้ตลอดการครองราชย์ ๗๐ กว่าปีที่ผ่านมา การน�ำหลักการท�ำงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช มาปฏิบัติงานที่มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ เพื่อ ท�ำความเข้าใจชุมชนต่างๆ ถือเป็นแนวทางที่เหมาะสมส�ำหรับการ ท�ำความเข้าใจผู้อื่นและสังคมท้องถิ่นต่างๆ และนับเป็นสิ่งมงคลใน ชีวิตอันหาที่เปรียบมิได้ ในนามของผู้ปฏิบัติงานในมูลนิธิฯ ขอน้อมถวายความอาลัย แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และน�ำการปฏิบัติ “เข้าถึง เข้าใจ และพัฒนา” มาเป็นหลักในการด�ำเนินงานอย่างไม่ ย่อท้อในกาลภายหน้า ขอน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมส่งเสด็จสู่สวรรคาลัย

12

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


ใต้ร่มพระบรมโพธิสมภารของชาวซิกข์ โดย พัชรินธร เดชสมบูรณ์รัตน์

ภาพจากเพจ : THAI SIKH NEWS CHANNEL

ในช่วงค�ำ่ ของวันที่ ๑๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ มีการแถลง ข่าวจากส�ำนักพระราชวังถึงการสูญเสียครั้งยิ่งใหญ่ของประเทศไทย ในรอบหลายทศวรรษ โดยมีเนือ้ ความส�ำคัญกล่าวถึงการเสด็จสวรรคต ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศร รามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร รัชกาล ที่ ๙ แห่งพระราชวงศ์จักรี ซึ่งสร้างความสูญเสียให้กับคนไทยทั่วทั้ง ประเทศทุกคนครั้งใหญ่หลวง ข่าวการสูญเสียของมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ของพวกเรานี้ ไม่ เพียงแต่ส่งผลต่อความโศกเศร้าเฉพาะคนเชื้อสายไทยที่อาศัยอยู่ ภายในประเทศเท่านั้น แต่ยังส่งผลถึงกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ที่เข้ามา อาศัยอยู่และท�ำงานในประเทศไทยด้วย อาทิ แรงงานชาวพม่าทาง ภาคตะวันตกทีร่ ว่ มสวมเสือ้ ผ้าชุดด�ำ เพือ่ แสดงความอาลัยแก่การจาก ไปของพระองค์ หรือชาวตะวันตกที่เข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทย หลายคนร่วมสวมเสื้อผ้าสีด�ำและงดการเลี้ยงสังสรรค์ไปพร้อมๆ กับ คนไทย ด้วยความเข้าใจในสถานการณ์ของเมืองไทยในเวลาเช่นนีแ้ ละ เพื่อไว้อาลัยให้กับพระองค์เช่นกัน

จดหมายข่าว

13

คนไทยหลายกลุ่มได้จัดกิจกรรมต่างๆ เช่น การแปรอักษร เพื่อแสดงความจงรักภักดี ร่วมกันท�ำความดีเพื่อพ่อหลวง รวมถึง กิจกรรมสาธารณะที่สนามหลวงด้วย หลายกลุ่มเข้าไปเป็นจิตอาสา แจกอาหารและเครื่องดื่มที่บริเวณสนามหลวง ไม่เว้นแม้แต่กลุ่ม ชาวมุสลิมที่ท�ำอาหารอิสลามและน�ำไปแจกให้กับผู้คนที่มาร่วมถวาย สักการะพระบรมศพทีบ่ ริเวณท้องสนามหลวง เช่นเดียวกันกับชาวไทย ซิกข์ หนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์ที่เข้ามาอยู่ใต้ร่มพระบรมโพธิสมภารของ รัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ชาวไทยซิกข์เข้ามาตั้งถิ่นฐานอาศัยอยู่ในประเทศไทยตั้งแต่ สมัยรัชกาลที่ ๕ อาศัยอยู่รวมกันเป็นชุมชนและค้าขายผ้าบริเวณย่าน ส�ำเพ็ง ถนนราชวงศ์ กลุ่มชาวไทยซิกข์จัดกิจกรรมเพื่อถวายแด่องค์รัชกาลที่ ๙ ตั้งแต่วันที่ท่านเสด็จสวรรคตจนถึงทุกวันนี้ คือ การสวดมนต์ถวายส่ง เสด็จให้ดวงพระวิญญาณของพระองค์ทา่ นเสด็จสูส่ วรรคาลัยชัน้ สูงสุด ณ คุรุดวาราศรีคุรุสิงห์สภา (วัดซิกข์) ทั่วประเทศ ซึ่งตามหลักค�ำสอน ของศาสนาซิกข์เอง สวรรค์ชั้นสูงสุด มีความหมายถึงการขอให้ดวง

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


คุณสุเทพ ซิงห์ เลขาธิการสมาคมศรีคุรุสิงห์สภา

ชาวซิกข์ร่วมแจกอาหารและเครื่องดื่ม ให้แก่ผู้คนที่มาร่วมถวายสักการะพระบรมศพที่บริเวณท้องสนามหลวง ภาพจากเพจ : THAI SIKH NEWS CHANNEL

พระวิญญาณของพระองค์เสด็จไปประทับอยู่ ณ เบื้องบาทของพระผู้ เป็นเจ้าและยุตกิ ารเวียนว่ายตายเกิดดังเช่นการนิพพานในศาสนาพุทธ นอกจากกิจกรรมทางด้านศาสนาของชาวซิกข์ทวั่ ประเทศแล้ว ยังมีกิจกรรมทางด้านสาธารณะด้วย อาทิเช่น การแจกอาหารที่สนาม หลวงและหัวล�ำโพง โดยเยาวชนชาวซิกข์ การสูญเสียครั้งใหญ่หลวงนี้ท�ำให้ประชาชนหลายคนย้อน กลับไปนึกถึงภาพของในหลวง เมื่อครั้งที่ทรงงานเพื่อราษฎรของ พระองค์ ทรงเสด็จฯ ลงพื้นที่ตามสถานที่ต่างๆ ในประเทศไทย ไม่ ว่าเส้นทางนั้นจะเดินทางไปด้วยความล�ำบากเท่าใดก็ตาม เพื่อจุด ประสงค์ในการเสด็จเยี่ยมเยือนพบปะและช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ให้ กับประชาชนของพระองค์ สิ่งเหล่านี้ยังคงเป็นภาพที่ติดตาและอยู่ใน ใจของประชาชนทุกคนเป็นอย่างดี ไม่เว้นแม้แต่ในใจของชาวซิกข์เอง คุณธารินทร์ จ�ำปี ผู้อาวุโสในคุรุดวาราศรีคุรุสิงห์สภา (วัด ซิกข์) กล่าวถึงความรู้สึกที่มีต่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช ไว้ว่า “ชาวซิกข์รักในหลวงพระองค์นี้มาก สิ่งที่จะนึกถึงถ้าพูดถึง ในหลวง คือ บารมีของพระองค์ที่มากล้นเกินบรรยาย ความเมตตา ของพระองค์ ที่ มี ต ่ อ พสกนิ ก ร และการปกครองบ้ า นเมื อ งอย่ า ง ทศพิธราชธรรม อันนี้คือสิ่งสูงสุดที่ท�ำให้ชาวซิกข์รักพระมหากษัตริย์

จดหมายข่าว

พระองค์นี้มากเป็นพิเศษ พวกเราไม่เคยมีความรู้สึกเลยว่า เราคือที่สอง เป็นพระมหากรุณาธิคุณที่ให้สิทธิเสรีภาพ เสมอภาค และ รับศาสนาซิกข์ไว้ในพระอุปถัมภ์ของพระองค์ด้วยและพระองค์เป็น เอกอัครราชูปถัมภกบ�ำรุงศาสนาซิกข์ ชาวซิกข์ซาบซึ้งมาก การที่ พระองค์เสด็จสู่สวรรคาลัยครั้งนี้ชาวซิกข์เสียใจ น�้ำตาไหลแทบทุกคน บางคนไม่ยอมรับ บอกว่าพระองค์ไม่ได้ไปไหนแต่อยู่ในใจเรา เราเก็บ พระองค์ไว้ในหัวใจตลอดชีวติ ของเรา จนอายุเท่านีเ้ ราอยูร่ ม่ เย็นเป็นสุข เพราะความเมตตาของพระองค์ท่านทั้งสิ้นและได้เป็นประชาชนของ พระองค์โดยแท้ ซึ่งความจริงเราเรียกพระองค์ว่าเป็นพ่อหลวงอยู่แล้ว แล้วพระองค์ก็เป็นพ่อหลวงจริงๆ พระองค์ไม่ได้เป็นแค่เพชรเม็ดงาม แค่ภายในประเทศไทยเท่านั้น แต่เป็นเพชรเม็ดงามของโลก ท่านเป็น เหมือนเทพเป็นผู้ให้ ไม่มีการแบ่งชนชั้นว่าจะต้องให้คนไทยก่อน ท่าน ให้เพื่อมนุษยชาติ พระองค์ทรงยิ่งใหญ่ ไม่มีพระเจ้าแผ่นดินที่ไหนที่ นั่งคลุกฝุ่น เข่ายันพื้น ทรายติดกางเกง ภาพพวกนี้ท�ำให้เกิดความ ประทับใจในใจพวกเรา พระองค์ท่านทรงเหนื่อยกับพวกเรามามาก แล้ว เพราะตลอดชีวิตท่านไม่เคยอยู่วัง ไม่มีพระเจ้าแผ่นดินองค์ไหน ท�ำได้แบบนี้ วังของท่านอยู่บนป่าเขา พระองค์เสด็จไปช่วยเหลือคนที่ ช่วยตนเองไม่ได้ให้กลายเป็นคนเก่งและช่วยเหลือผู้อื่นได้” 14

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


พระองค์ยงั ทรงเป็นพระมหากษัตริยท์ มี่ พี ระมหากรุณาธิคณ ุ ทรงบ�ำรุงศาสนาถึง ๕ ศาสนาในประเทศของพระองค์อย่างเท่าเทียม กัน โดยไม่มีการแบ่งแยกหรือให้สิทธิในศาสนาใดศาสนาหนึ่งมากไป กว่ากัน “นอกจากทรงเป็นขวัญเป็นก�ำลังใจให้ชาวซิกข์มีชีวิตอยู่ อย่างปกติสขุ สุขสบายแล้ว พระองค์ยงั ทรงช่วยเหลือศาสนาซิกข์ดว้ ย ชาวซิกข์เคยจัดงานเฉลิมฉลองพระศาสดา ศาสนาครบ ๕๐๐ ปี พระองค์ทรงพระกรุณาเสด็จไปเป็นประธานเปิดให้ ยังประทับใจ ชาวซิกข์จนทุกวันนี้ ไม่ ใช่แค่ชาวซิกข์ในไทยเท่านั้นแต่เป็นชาวซิกข์ทั่วโลกที่ ได้ยินได้ฟังว่าพระเจ้าแผ่นดินของเราเป็นแบบนี้ ไม่มีประเทศไหนที่ ท�ำได้แบบนี้ ชาวซิกข์ต่างแดนเขาเคยถามว่าประเทศไทยมีความเป็น อยู่อย่างไร เราก็บอกสุขสบายเหมือนอยู่บ้านตัวเอง พระเจ้าแผ่นดิน ทรงเป็นพระบิดาช่วยทุกสิง่ ทุกอย่างให้หมด ทัง้ สิทธิเสรีภาพ ความเท่า เทียมกัน ความอยู่เย็นเป็นสุข ประเทศนี้ไม่มีการกดขี่ข่มเหง มีแต่ให้ สิทธิเสรีภาพ และให้ความรัก” ความซาบซึ้งต่อการจากไปขององค์พระมหากษัตริย์ไทยอัน เป็นที่รัก ซึ่งทรงเป็นผู้สร้างคุณูปการทุกๆ ด้านให้แก่ประชาชนชาว ไทยมาตลอด ๗๐ ปีที่ครองราชย์ ทั้งโครงการต่างๆ ที่ทรงสร้างขึ้น เพือ่ ช่วยให้ประชาชนสามารถน�ำไปต่อยอดสร้างอาชีพและพัฒนาชีวติ ได้ด้วยตนเอง ทรงสร้างแบบแผนการใช้ชีวิตตามแบบ “พอเพียง” พร้อมกับการสร้างหลักค�ำสอนมากมายส�ำหรับใช้ในการด�ำรงชีวิต สิ่ ง เหล่ า นี้ เ ป็ น สิ่ ง ที่ ต ราตรึ ง อยู ่ ใ นความทรงจ� ำ ของคนไทยทุ ก คน แม้แต่ละคนจะมีรูปแบบความทรงจ�ำที่แตกต่างกัน แต่สิ่งที่คล้ายคลึง กันคือ พวกเราทุกคนต่างรู้ว่าพระองค์ท่านทรงงานหนักมากแค่ไหน และท�ำเพื่อใคร ถ้าไม่ใช่เพื่อประชาชนคนไทยของพระองค์เอง

ในหลวงในความทรงจ�ำ

สุเทพ ซิงห์ อายุ ๘๑ ปี “ตอนผม ๘ ขวบ ผมจ�ำได้ว่า รัชกาลที่ ๘ และรัชกาลที่ ๙ ทรงเหมื อ นเด็ ก นั ก เรี ย นธรรมดา ตอนนั้ น ในหลวงท่ า นน่ า จะมี พระชนมพรรษาประมาณ ๑๘-๑๙ พรรษา ทัง้ สองพระองค์ทรงเสด็จฯ มาที่ส�ำเพ็ง เพื่อมาเยี่ยมเยียนประชาชน เพราะสมัยนั้นถนนราชวงศ์ ส�ำเพ็งเป็นย่านการค้าที่ส�ำคัญ พระองค์เสด็จมาแบบธรรมดา ไม่ได้มีคนติดตามมาเยอะ รัชกาลที่ ๘ เพิ่งจะเสด็จกลับขึน้ ครองราชย์ รัชกาลที่ ๘ ทรงนิ่งมาก ส่วนรัชกาลที่ ๙ ทรงซนมาก นี่เป็น ความทรงจ�ำของผม” ธารินทร์ จ�ำปี อายุ ๗๗ ปี “เมื่อ ๖๐ กว่าปีที่แล้ว ตอนผมอายุประมาณ ๑๙-๒๐ ปี ผมไปท�ำมาหากินอยูท่ หี่ าดใหญ่ ตอนนัน้ ในหลวงและสมเด็จพระราชินี เสด็จประพาสภาคใต้ ช่วงนั้นมีชาวซิกข์อยู่ในพื้นที่ประมาณ ๑๐-๒๐

จดหมายข่าว

15

คุณธารินทร์ จ�ำปี ผู้อาวุโสในคุรุดวาราศรีคุรุสิงห์สภา (วัดซิกข์)

ครอบครัวเองเท่าที่ผมจ�ำได้ ผมได้มีโอกาสมารับเสด็จและเข้าเฝ้า ในหลวงที่พระที่นั่ง โดยทางราชการก�ำหนดให้มีการร้องเพลงถวาย ผมมีโอกาสเป็นตัวแทนชาวซิกข์ดีดออร์แกนมือ ซึ่งตอนนั้นผมไม่ค่อย ถนัดด้วย เพิ่งจะหัดเล่นตอนนั้นเลย กระท่อนกระแท่นพอสมควรและ กะทันหันด้วย ตัวผมกับพระองค์ทา่ นอยูห่ า่ งกันประมาณ ๑๐ กว่าเมตร ได้ ขณะที่ผมดีดแล้วมองพระพักตร์ของทั้งสองพระองค์ ทั้งสองพระ องค์ทรงแย้มพระสรวลแล้วก็มองผมด้วย เหมือนกับว่าการดีดแบบถูกๆ ผิดๆ และการร้องเพลงอินเดียกระท่อนกระแท่นของผม ท่านก็คงจะ เมตตา ผมก้มลงกราบทีพ่ นื้ แล้วนึกในใจว่าในหลวงผมขออภัย แต่ผมก็ ร้องเพลงถวายท่านด้วยหัวใจครับ ท�ำให้ดที สี่ ดุ รอยแย้มพระสรวลของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ยังเป็นภาพประทับใจของผมอยูจ่ นตอนนี้ เลย ตอนนี้ผ่านมา ๖๐ ปี ภาพนั้นยังไม่ลบไปจากใจผมเลย นึกทีไรผม ก็สบายใจว่าครั้งหนึ่งผมเคยร้องเพลงถวายพระองค์ท่าน ถึงจะผิดจะ ถูกยังไงท่านไม่เคยถือสาเลย ผมไม่มีหลักฐานเป็นภาพถ่าย ไม่อย่าง นัน้ ผมจะเอามาโชว์ให้ทางราชการดูเลยครับว่าครัง้ หนึง่ ได้มโี อกาสเข้า เฝ้าพระองค์ทา่ นใกล้ขนาดนีแ้ ละได้รอ้ งเพลงถวายหน้าพระทีน่ งั่ แบบนี”้

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


ชาวมุสลิมกับส�ำนึกร่วมของการเป็น คนไทยใต้ร่มพระบารมี โดย รัชนีบูล ตังคณะสิงห์ และจารุวรรณ ด้วงค�ำจันทร์

ชาวมุสลิมและสมาคมมิตรภาพไทย-ปากีสถาน จัดเลี้ยงข้าวหมกไก่ บริเวณท่ามหาราชชุมชนท่าวัง หลังมหาวิทยาลัยศิลปากร ส�ำหรับพี่น้องที่เดินทางมาสักการะพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (ภาพจากคุณท�ำนุ เหล็งขยัน)

“สิง่ ที่ในหลวงท่านให้กบั เราฝังอยู่ในใจ พระเจ้าส่งท่านมาเพือ่ ให้ทา่ นดูแลทุกข์สขุ ของประชาชน ท่านเป็นเหมือนพ่อหรือผูม้ พี ระคุณ ใหญ่หลวงต่อเรา ด้วยความผูกพันต่อพระองค์ท่านและส�ำนึกในพระ มหากรุณาธิคุณ เพราะเราเกิดที่นี่....บนแผ่นดินของพระราชา” เสียงหนึ่งจากชาวชุมชนมัสยิดตึกดินที่ก�ำลังรวมตัวสรรสร้างกิจกรรม ท�ำความดีเพื่อพ่อในวาระสุดท้าย เหตุการณ์ส�ำคัญเมื่อวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๙ จากการ สวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช รัชกาล ที่ ๙ ถือว่าเป็นการสูญเสียศูนย์รวมใจของคนไทยทัง้ ชาติครัง้ ทีย่ งิ่ ใหญ่ ทีส่ ดุ ผูค้ นจากทัว่ สารทิศต่างมุง่ หน้าสูท่ อ้ งสนามหลวงเพือ่ มาร่วมถวาย ความอาลัยต่อพระองค์ท่าน ภาพบรรยากาศที่แสนสลดในวันนั้นต่าง ปะปนไปกับความสามัคคีของคนไทยทัง้ ประเทศที่ไม่มกี ารแบ่งแยกเชือ้ ชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม ทุกคนต้องการท�ำความดีถวายพระองค์ ท่านในฐานะคนไทยที่อาศัยอยู่ใต้ร่มพระบรมโพธิสมภาร

จดหมายข่าว

ชุมชนมัสยิดตึกดิน “ชุมชนมุสลิมใจกลางพระนคร”

ในพื้นที่บริเวณย่านเมืองเก่าในเขตพระนคร มีชาวชุมชน มุสลิมในย่านเก่า อาทิ ชุมชนมัสยิดจักรพงษ์ และชุมชนมัสยิดตึกดิน ที่ได้รับพระราชทานที่ดินเพื่ออยู่อาศัยมาแต่อดีต ทุกคนล้วนแล้วแต่ ส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่านที่ท�ำให้ชาวมุสลิมได้มี ที่อยู่อาศัย มีสถานที่ปฏิบัติศาสนกิจและวิถีทางการด�ำเนินชีวิตอย่าง เสรีภาพ ชุมชนมุสลิมมัสยิดตึกดินเป็นชุมชนมัสยิดที่อยู่หลังตึกสูง บริเวณถนนราชด�ำเนิน ซึ่งมีผู้คนจ�ำนวนไม่มากที่จะรู้จัก แต่สิ่งส�ำคัญ ที่สาธารณชนควรทราบคือบทบาทของชุมชนกลุ่มนี้ที่มีความส�ำคัญ ในการร่วมสร้างพระนคร สร้างความเป็นชุมชนในอดีตของกรุงเทพฯ จุดเริ่มต้นของการน�ำอาหารไปร่วมสมทบ คือการที่มองเห็นภาพว่ามี ชาวมุสลิมเดินทางมาจากต่างจังหวัดและอาหารที่รับประทานได้นั้น หาได้ยาก จึงมีการรวมกลุ่มกันในชุมชนเพื่อให้การรองรับชาวมุสลิม 16

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


(ภาพซ้าย-ขวา) ชาวชุมชนมัสยิดตึกดินจัดเตรียมอาหารส�ำหรับรองรับประชาชนที่ เดินทางมาสักการะพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ที่เข้ามาถวายความจงรักภักดี และเป็นสิ่งที่ชาวชุมชนสามารถท�ำได้ ด้วยตัวเอง จากจุดเริ่มต้นของกลุ่มชุมชนมุสลิมมัสยิดตึกดิน ที่อยู่ ใน เขตพระนคร จึงกลายเป็นศูนย์กลางที่รวมพี่น้องชาวมุสลิมย่านต่างๆ อาทิ ชุมชนมัสยิดต้นสน ชุมชนมัสยิดบ้านครัว ชุมชนมัสยิดฮารูณ ชุมชนมัสยิดจักรพงษ์ สมาคมปากีสถานจากอยุธยา กลุ่มผู้นับถือ ศาสนาคริสต์ และสภาองค์กรชุมชนเขตพระนคร โครงการร่วมใจ ภักดีองค์ราชันย์ สน.ชนะสงครามและเครือข่ายมารวมตัวกันสมทบ จัดเลีย้ งอาหารให้พนี่ อ้ งประชาชนทีม่ าและทีก่ ลับจากพระบรมมหาราช วัง ท้องสนามหลวง และยังมีการร่วมบริจาคหมอน ผ้าห่ม ให้กับทาง ชุมชนมัสยิดตึกดินเพื่อดูแลพี่น้องชาวมุสลิมที่มาจากต่างจังหวัด และ ดูแลเหตุฉุกเฉินต่างๆ คุณท�ำนุ เหล็งขยัน ประธานชุมชนมัสยิดตึกดิน กล่าวถึงว่า “การท�ำกิจกรรมแบบนี้จะไปขอความร่วมมือต่างๆ นั้น ค่อน ข้างล�ำบาก ทั้งยังมีข้อจ�ำกัด เราจึงใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์เข้ามา ช่วย มีกลุ่มชาวมุสลิม พุทธ ชมรมโครงการต่างๆ บริษัท ห้างร้าน ท�ำให้ออกมาเป็นรูปแบบ ในส่วนของชุมชนมัสยิดตึกดิน เราคิดว่าท�ำได้ ในส่วนใดก็อยากจะรีบท�ำก่อน อยากจะสร้างเจตนารมณ์ความจริงใจ ของเรา เพราะทางชุมชนมัสยิดตึกดินถือว่าเป็นพืน้ ที่ใจกลางพระนคร ควรต้องรับแขกของพระราชา จึงขอเป็นตัวแทนมุสลิมทัว่ ประเทศ คน ที่คิดเหมือนกันก็ลงมือท�ำในแนวทางเดียวกัน จึงเป็นภาพที่ท�ำให้เห็น ถึงความร่วมมือร่วมใจ เพราะเราก็คือคนไทยเพียงแต่นับถือศาสนา อิสลามเท่านัน้ ความจงรักภักดีและการส�ำนึกต่อพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระองค์ท่านเราก็มีเท่ากับทุกคน ศาสนาอิสลามไม่ได้เพียงสอนให้ส�ำนึกบุญคุณต่อพ่อแม่ เท่านั้น แต่สอนให้เราส�ำนึกถึงบุญคุณของในหลวงด้วย นอกจาก การยึดแนวทางปฏิบัติของท่านจุฬาราชมนตรีในการถวายความอาลัย ต่อพระองค์ท่าน เราใช้ความสัมพันธ์ในเรื่องของสังคมที่อยู่ร่วมกันมา ท�ำกิจกรรมเหล่านี้

จดหมายข่าว

17

ไม่วา่ ศาสนาใดๆ ก็ควรมีการเคารพเจ้าของพืน้ ที่ เพราะศาสนา ก็คือสังคมการใช้พื้นที่ร่วมกันนั่นเอง ลักษณะแนวคิดและกิจกรรม ทางสังคมที่แสดงความจงรักภักดีเพื่อส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ ในนามของคนไทยแต่เชื้อสายมุสลิมในแนวทางที่เราสามารถท�ำได้ก็ คือแบบนี้ ส�ำหรับทางชุมชนมัสยิดตึกดินเราจะท�ำกิจกรรมวันเสาร์ และอาทิตย์ ในช่วงเวลากลางวัน ส่วนทางชุมชนมัสยิดฮารูณจะท�ำ ทุกวันในช่วงเย็น เราจะบอกพี่น้องให้ทราบว่ามีอะไรอยู่ตรงไหนบ้าง”

ชาวชุมชนมัสยิดฮารูณกับการเป็นคนไทยจิตอาสา

ชาวชุ ม ชนมั ส ยิ ด ฮารู ณ ในเขตบางรั ก เป็ น กลุ ่ ม ชาว มุ ส ลิ ม ที่ มี ค วามหลากหลายเชื้ อ ชาติ ทั้ ง สายปากี ส ถานและสาย อินเดีย ชาวชุมชนตั้งใจน�ำอาหารมาสมทบประชาชนที่มาเคารพ พระบรมศพ ณ บริเวณท้องสนามหลวงด้วยจิตใจที่บริสุทธิ์ ใน ฐานะชาวไทยที่ นั บ ถื อ ศาสนาอิ ส ลาม ชาวชุ ม ชนมั ส ยิ ด ฮารู ณ ได้ มีการรวมกลุ่มจิตอาสาเพื่อท�ำกิจกรรมต่างๆ เป็น ประจ�ำอยู่แล้ว เช่น ช่วยภัยน�้ำท่วม หรือกิจกรรมในชุมชนและบริเวณใกล้เคียง ซึ่ ง จะประกอบไปด้ ว ยกลุ ่ ม ของนั ก กิ จ กรรมในชุ ม ชน และกลุ ่ ม เด็กและเยาวชนอาสาสมัครที่อยากใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ การทีช่ มุ ชนมีความเข้มแข็งซึง่ เป็นทุนทางสังคมทีด่ นี นั้ ท�ำให้ การขับเคลื่อนงานต่างๆ เป็นไปอย่างราบรื่น ด้วยความที่ชาวชุมชน ส่วนหนึง่ ประกอบอาชีพค้าขาย การน�ำอาหารไปร่วมสมทบจึงเป็นสิง่ ที่ สามารถท�ำได้ง่ายและรวดเร็ว อีกทั้งยังมีรถส�ำหรับบริการล�ำเลียง ของ ผู้คนทุกสาขาอาชีพมีความร่วมมือร่วมใจกันและเป้าหมายที่เป็น อันหนึ่งอันเดียวคือการตอบแทนพระคุณผู้ที่ปกครองแผ่นดินอย่าง เป็นสุขร่มเย็นมาโดยตลอด คุณณัฐวุฒิ ชูลิน ตัวแทนเยาวชนของชุมชนมัสยิดฮารูณ กล่าวว่า กิจกรรมดังกล่าวนั้นเริ่มต้นจากเด็กและเยาวชนที่ร่วมสมทบ ทุนกันเองในการขับเคลื่อนกิจกรรม ระยะต่อมาจึงมีผู้ใหญ่ ให้การ สนับสนุน ทั้งเป็นผู้ใหญ่ในชุมชนและผู้ประกอบธุรกิจเอกชนบริเวณ

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


คุณท�ำนุ เหล็งขยัน ประธานชุมชนมัสยิดตึกดิน

คุณสราวุธ โลคันเด ชาวชุมชนมัสยิดฮารูณ

หากินได้อย่างเสรีนั้นก็เพราะพระองค์ท่านไม่ปิดกั้น ท่านปกครอง ประชาชนทุกคน ทุกศาสนา ทุกเชื้อชาติอย่างเท่าเทียมกัน ท่านคือ พ่อ การที่ผมแสดงออกในการช่วยเหลือสังคมช่วงนี้คือการแสดงออก ในฐานะคนไทยคนหนึ่งเท่านั้นเอง”

ชาวชุมชนมัสยิดฮารูณจัดเตรียมอาหารส�ำหรับรองรับประชาชนที่เดินทางมา สักการะพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

รอบๆ ชุมชน นอกจากการน�ำอาหารไปร่วมสมทบแล้วยังมีกลุม่ “ฮารูณ ไรเดอร์” ที่อาสารับส่งผู้คนที่ต้องการเดินทางไปสนามหลวงโดยไม่ คิดค่าบริการ ตั้งแต่วันที่ ๑๕ ตุลาคม เป็นต้นมา ทุนที่ได้รวมกันแล้ว ประมาณ ๕ แสนบาท ทางชุมชนมีการท�ำบัญชีขึ้นบนบอร์ด เพื่อให้มี การตรวจสอบได้ เพราะเป็นจ�ำนวนเงินค่อนข้างมาก นอกจากการรวมกลุ่มกันในชุมชนมัสยิดฮารูณแล้ว ยังมี กลุ่มของคนไทยเชื้อสายปากีสถานที่ ให้การสนับสนุนและยังรวมถึง พื้นที่ใกล้เคียงอย่างชุมชนวัดม่วงแคมาร่วมด้วย การรวมตัวของกลุ่ม คนหลายเชื้อชาติ ศาสนา แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของผู้คนที่ ไม่มีพรมแดนปิดกั้น ทุกคนล้วนแล้วแต่มีส�ำนึกว่าทุกคนคือคนไทย หากแยกจากการปฏิบัติศาสนกิจของแต่ละบุคคลออกแล้ว ต่างเป็น เพือ่ น พ้อง น้อง พี่ ทีส่ ามารถท�ำกิจกรรมอืน่ ร่วมกันได้ในฐานะพลเมือง คนไทยคนหนึ่งเช่นเดียวกัน

ความรู้สึกของชาวมุสลิมในฐานะคนไทยใต้ร่มพระบารมี

คุณสราวุธ โลคันเด ชาวชุมชนมัสยิดฮารูณ “ผมเป็นคนไทยที่มีเชื้อสายจากเมืองนอก การที่บรรพบุรุษ ของผมมีโอกาสอาศัยอยู่ในเมืองไทย สามารถประกอบอาชีพท�ำมา

จดหมายข่าว

คุณท�ำนุ เหล็งขยัน ประธานชุมชนมัสยิดตึกดิน “เราเห็นท่านตั้งแต่เป็นเด็ก สมัยก่อนถนนราชด�ำเนินถ้ามี คนมาแจกธงก็จะรู้แล้วว่าท่านจะเสด็จพระราชด�ำเนินผ่าน พอท่านมา ก็จะโบกรับเสด็จท่านกัน สมัยก่อนคนที่นี่ท�ำงานในวัง ส่วนมากก็เป็น ข้าราชบริพาร พ่อยังเล่าว่าแผ่นดินพืน้ ทีเ่ ราอยูก่ นั นี้ได้รบั พระราชทาน สืบต่อกันมาเป็นพระมหากรุณาธิคณ ุ ทีท่ า่ นให้กบั เรา เมือ่ โตขึน้ มาก็เห็น พระราชกรณียกิจท่าน เรื่องของศาสนาอิสลามท่านก็ดูแลและเข้าใจเราอย่างลึกซึ้ง ในหลวงท่านทรงปกครองผูค้ นทุกศาสนาไม่วา่ จะเป็นพุทธ คริสต์ ซิกข์ อิสลาม เท่าเทียมกันไม่มีการแบ่งแยกการนับถือศาสนาใดๆ ส�ำหรับชาวมุสลิมพระองค์ทา่ นให้โอกาสหลายอย่างมากและ ให้การช่วยเหลือมาตลอด เช่น โครงการชั่งหัวมัน ที่อ�ำเภอห้วยทราย จังหวัดเพชรบุรี พระองค์ท่านก็ช่วยสร้างมัสยิดนูรุ้ลเอี๊ยะห์ซานให้กับ ชาวมุสลิมทีน่ นั่ หรือทางภาคใต้ทา่ นก็พระราชทานทรัพย์สว่ นพระองค์ จัดสร้างมัสยิดกลาง และในด้านการส่งเสริมการศึกษาหลักค�ำสอนก็ ทรงให้ นายต่วน สุวรรณศาสน์ จุฬาราชมนตรี แปลและจัดพิมพ์ อัลกุรอานฉบับความหมายภาษาไทย และพระราชทานแก่มสั ยิดต่างๆ ทั่วราชอาณาจักร หลังจากที่พระองค์ท่านสวรรคตเราก็คิดว่าอยากขอเป็น ตัวแทนมุสลิมทัว่ ประเทศท�ำประโยชน์เพือ่ ส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระองค์ และแสดงการไว้อาลัยให้กบั ท่าน ทีเ่ รารูส้ กึ เหมือนกับเป็น ครั้งสุดท้ายแล้วที่เราจะสามารถท�ำความดีถวายกับพระองค์ท่าน เรา ชาวชุมชนมัสยิดตึกดินจึงรวมใจช่วยกันท�ำอาหาร และออกร้านน�ำไป แจกให้กบั คนทีม่ าถวายสักการะท่านทีท่ อ้ งสนามหลวง และมีการบอก กล่าวเผยแพร่ต่อกันไปตามสื่อออนไลน์ต่างๆ” 18

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


เล่า

ด้วยภาพ

๑๔ ตุลาคม ๒๕๕๙

โดย สุรชาญ อุ่มล�ำยอง เรื่อง จารุวรรณ ด้วงค�ำจันทร์ ภาพ

รับเสด็จครั้งสุดท้าย

วันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๕๙ ตั้งแต่ช่วงเช้าประชาชนทั่วทุก สารทิศต่างพร้อมใจกันสวมชุดสีด�ำ เดินทางมาที่โรงพยาบาลศิริราช โดยรอบบริเวณท้องสนามหลวง และตลอดเส้นทางการเคลื่อนขบวน อัญเชิญพระบรมศพ เพื่อจับจองพื้นที่รอเฝ้าส่งเสด็จ พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤ บดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร เป็นครั้งสุดท้าย บรรยากาศในช่ ว งเช้ า ด้ า นนอกพระบรมมหาราชวั ง มีประชาชนทยอยเดิน ทางมาเฝ้ารอรับขบวนอัญเชิญพระบรมศพ และมีประชาชนอีกจ�ำนวนมากตัง้ แถวรอเข้าสรงน�ำ้ พระบรมศพทีด่ า้ น ในพระบรมมหาราชวัง ในช่วงบ่ายถึงแม้บรรยากาศจะร้อนอบอ้าว แต่พ สกนิ กรก็ ยั ง ทยอยกัน เข้า มาในบริเวณพื้น ที่ท ้อ งสนามหลวง โรงพยาบาลศิริราช และตลอดเส้นทาง ขณะเดียวกันผู้ที่เดินทางมา ตั้งแต่ช่วงเช้าก็ยังตั้งใจรอให้ถึงช่วงเวลาที่ส�ำคัญอย่างไม่ลดละ ตลอดสองฝั่งถนน เส้น ทางที่ขบวนรถอัญเชิญพระบรม ศพจะเคลื่อนผ่านนอกจากจะเต็มไปด้วยประชาชนจ�ำนวนล้นหลาม

จดหมายข่าว

19

และยังมีแถวทหาร ต�ำรวจที่ยืนรอถวายพระเกียรติยศ ควบคุม สถานการณ์ให้เป็นไปด้วยความสงบเรียบร้อย และยังดูแลความ ปลอดภัยให้กับประชาชน เมื่อถึงเวลาพิธีการและขบวนรถพระที่นั่งอัญเชิญพระบรม ศพเคลื่อนผ่าน เหล่าพสกนิกรต่างเปล่งเสียงเพื่อถวายความอาลัยดัง กึกก้องตลอดทัง้ เส้นทาง พร้อมกับโบกธงชาติ ธงตราสัญลักษณ์ และ ถือพระบรมฉายาลักษณ์เอาไว้เหนือหัว เพื่อแสดงถึงความจงรักภักดี บางคนถึงกับกลั้นน�ำ้ ตาไว้ไม่อยู่ ด้วยความเศร้าโศกเสียใจและส�ำนึก ในพระมหากรุณาธิคุณ บรรยากาศที่เต็มไปด้วยคนจ�ำนวนมากต่างเบียดเสียดเพื่อ ให้ได้เห็นซึ่งพิธีการเคลื่อนขบวนรถอัญเชิญพระบรมศพ แต่ในใจของ เหล่าพสกนิกรทั้งหลายกลับรู้สึกถึงความโดดเดี่ยวอ้างว้างและเศร้า โศกเสียใจอย่างทีส่ ดุ ในเหตุการณ์การสูญเสียครัง้ ยิง่ ใหญ่ของแผ่นดิน ไทยที่ไม่มีใครอยากให้เกิดขึ้นครั้งนี้

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


จดหมายข่าว

20

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


จดหมายข่าว

21

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


จดหมายข่าว

22

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


จดหมายข่าว

23

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ ประธานกรรมการ ดร.ไพโรจน์ พงศ์พิพัฒน์ รองประธานกรรมการ อรพรรณ พงศ์พิพัฒน์ กรรมการและเหรัญญิก สุวพร ทองธิว กรรมการและเลขานุการ อมร ทองธิว กรรมการ พิจารณ์ วิริยะพันธุ์, ตุ๊ก วิริยะพันธุ์, รับพร วิริยะพันธุ์ ที่ปรึกษา ศรีศักร วัลลิโภดม, ดร.ธิดา สาระยา

เจ้าหน้าที่ สุดารา สุจฉายา, วลัยลักษณ์ ทรงศิริ, ลาวัลย์ ธรรมนิรันดร, สมนึก กิจเจริญผล, รัชนีบูล ตังคณะสิงห์, ศรีสมร ฉัตรแก้ว, อรรถพล ยังสว่าง, พรพิมล เจริญบุตร, ณัฐวิทย์ พิมพ์ทอง, อภิญญา นนท์นาท, มรกต สาตราคม, จตุพร ทองขันธ์, เกสรบัว อุบลสรรค์, พัชรินธร เดชสมบูรณ์รัตน์, เมธินีย์ ชอุ่มผล, ภูวนาท เช้าวรรณโณ, สุรชาญ อุ่มล�ำยอง, ศุภวัชน์ ค�ำนึง, จารุวรรณ ด้วงค�ำจันทร์

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ์ุ ๓๙๗ ถนนพระสุเมรุ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๒๘๑-๑๙๘๘, โทรสาร ๐-๒๒๘๐-๓๓๔๐ Email : Vlekprapaifoundation@gmail.com www.lek-prapai.org


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.