บ่อทองและการทำเหมืองทองคำในสยามยุคใหม่

Page 7

ที่ ๑ ในปี ค.ศ. ๑๙๑๙ ! ทุกวันนี้ “การกําหนดคุณภาพของทองคํา” ยังคงใช้ความ บริสุทธิ์ของทองคําในการบ่งบอกคุณภาพโดยการคิดเนื้อทองเป็น “กะรัต” ทองคําบริสุทธิ์หมายถึงทองคําที่มีเนื้อทอง ๙๙.๙๙ เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่านั้น หรือเรียกกันว่า “ทองร้อยเปอร์เซ็นต์” เรียกกันในระบบสากลว่าทอง ๒๔ กะรัต หรือ ๒๔ K ทองคํา บริสุทธิ์ไม่มีโลหะหรือสารอื่นเจือปนอยู่เป็นทอง ๒๔ กะรัต หากมี ความบริสุทธิ์ของทองคําลดต่ําลงมาก็แสดงว่ามีโลหะอื่นเจือปนมาก ขึ้นตามสัดส่วน เช่น ทอง ๑๔ กะรัต หมายถึงทองที่มีเนื้อทอง บริสุทธิ์ ๑๔ ส่วน และมีโลหะอ่ืนเจือปน ๑๐ ส่วน ฯลฯ ทองประเภท นี้บางทีเรียกว่า “ทองนอก” นิยมนํามาทําเป็นเครื่องประดับกับเพชร พลอยต่างๆ ในอุตสาหกรรมอัญมณี ! สําหรับประเทศไทยนั้นใช้มาตรฐานความบริสุทธิ์ของทองคํา ที่ ๙๖.๕ เปอร์เซ็นต์ หากเทียบเป็นกะรัตแล้วจะได้ประมาณ ๒๓.๑๖ กะรัต [K] ซึ่งจะได้สีทองที่เหลืองเข้มกําลังดีและมีความ แข็งของเนื้อทองพอเหมาะสําหรับการนํามาทําเครื่องประดับ เนื่อง จากทองคําบริสุทธิ์ ๙๙.๙๙ เปอร์เซ็นต์จะมีความอ่อนตัวมาก ไม่ สามารถนํ า มาใช้ ง านได้ ต ้ อ งผสมโลหะอื ่ น ๆ ลงไปเพื ่ อ ปรั บ คุ ณ สมบั ต ิ ท างกายภาพของทองคํ า ให้ แ ข็ ง ขึ ้ น และคงทนต่ อ การ สึกหรอ จึงไม่นิยมนำทองคําบริสุทธิ์มาใช้ทําเครื่องประดับ ! ส่วนโลหะที่นิยมนํามาผสมกับทองคําได้แก่ เงิน ทองแดง นิกเกิล และสังกะสี ซึ่งอัตราส่วนจะสัมพันธ์ตามความต้องการของผู้ ใช้งาน ผู้ผลิตทองรูปพรรณแต่ละรายจะมีสูตรของตนเอง ในการ ผสมโลหะอื่นเข้ากับทอง บางรายอาจผสมทองแดงเป็นสัดส่วนที่ มากหน่อยเพราะต้องการให้สีของทองออกมามีสีอมแดงหรือบาง รายอาจชอบให้ทองของตนสีออกเหลืองขาวก็ผสมเงินในอัตราส่วน พอเหมาะ ทั้งหมดนั้นจะได้ความบริสุทธิ์ของทอง ๙๖.๕ เปอร์เซ็นต์ เช่นเดียวกัน

ภาพซ้ า ย การขุดทองที่ ออสเตรเลีย ภาพเขียนสีบน แคนวาส เมื่อปี ค.ศ. ๑๘๕๕ ภาพขวา คนจีน เป็น กรรม กรทํา เหมืองที่ แคลิ ฟ อร์ เ นี ย ในยุคตื่น ทอง

4

สํ า หรั บ ประเทศไทยนั ้ น ใช้ ม าตรฐาน ความบริ ส ุ ท ธิ ์ ข องทองคํ า ที ่ ๙๖.๕ เปอร์ เ ซ็ น ต์ หากเที ย บเป็ น กะรั ต แล้ ว จะได้ ป ระมาณ ๒๓.๑๖ กะรั ต [K]

เมื่อเกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจครั้งใหญ่ในสหรัฐอเมริกาและทั่วโลกใน ช่วงทศวรรษที่ ๑๙๓๐ [The Great Depression] ประธานาธิบดี สหรัฐฯ ในขณะนั้นคือ แฟรงคลิน ดี.รูสเวลท์ [Franklin D. Roosevelt] พยายามแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจโดยปรับเปลี่ยนราคา แลกเปลี่ยนทองคําให้เพิ่มขึ้นจากราวๆ ๒๕ ดอลลาร์สหรัฐต่อ ออนซ์จนถึง ๓๕ ดอลลาร์​์สหรัฐต่อออนซ์ และห้ามไม่ให้มีการส่ง ออกทองคําและห้ามประชาชนทั่วไปถือครองทองคําด้วย ความ ต้ อ งการทองคํ า จึ ง ลดลงไปมากโดยเฉพาะในช่ ว งระหว่ า งที ่ เ กิ ด สงครามโลกครั้งที่ ๒ และราคาทองคําไม่เปลี่ยนแปลงอีกเลยจนถึง ทศวรรษที่ ๑๙๗๐ ! หลังจากสงครามโลกคร้ังที่ ๒ ส้ินสุดลง ดุลยภาพของความ เป็ น ประเทศมหาอํ า นาจปรั บ เปล่ ี ย นไป ทํ า ให้ ส หรั ฐ อเมริ ก า อังกฤษและฝรั่งเศส ในฐานะประเทศผู้ชนะสงครามร่วมมือกันสร้าง ระบบการเงิ น ของโลกมาใช้ ร ่ ว มกั น แทนระบบมาตรฐานทองคํ า เรียกว่า “Bretton Woods System” หรือมีชื่อเรียกอีกชื่อว่า “ระบบปริวรรตทองคํา [Gold Exchange Standard]” และต้ัง “กองทุนการเงินระหว่างประเทศ [International Monetary Fund]” หรือเรียกย่อว่า IMF มาดูแล โดยมีข้อกําหนดว่า ! - ประเทศสมาชิกต้องกําหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินสกุลของ ประเทศกับดอลลาร์สหรัฐให้คงที่หรือเรียกว่า “ค่าเสมอภาค” (Par Value) โดยธนาคารชาติของประเทศสมาชิกต้องจัดตั้ง “กองทุน รักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน [Stabilization Fund]” เพื่อคอย แทรกแซงไม่ ใ ห้ อ ั ต ราแลกเปลี ่ ย นผั น ผวนออกจากค่ า เสมอภาค ที่กําหนด


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.