เอกสารแจกนางเลิ้ง s

Page 1

ตลาดนางเลิ้งเกิดขึ้นจากการพัฒนา พื้ น ที่ ช านพระนครทางด้ า นตะวั น ออก ที่ต่อเนื่องมาจากการสร้างพระราชวังและ วั ง สวนดุ สิ ต ทางด้ า นทิ ศ เหนื อ นอก พระนครที่ อ ยู่ ระหว่ า งคลองเมื อ งผดุ ง กรุ ง เกษมและคลองสามเสน ใ นช่วง ทศวรรษที่ ๒๔๔๐ และเป็ น ตลาดบก แห่งใหม่ที่เป็นอาคารตึกของหลวงให้เช่า ริมถนนและตลาดสดอาคารโถง ที่มีการ สร้ า งโรงมหรสพต่ อ เนื่ อ งในระยะต่ อ มา ผู้ค้าขายส่วนใหญ่เป็นชาวจีนกลุ่มต่างๆ และเรียกตลาดบกแห่งใหม่ของพระนคร ทางฟากตะวันออกนี้ว่า “ซิงตั๊กลั๊ก” หรือ “ตลาดใหม่” ที่คู่กับตลาดเก่าเยาวราช ย่ า นการค้ า แต่ เ ดิ ม ของคนจี น ที่ สื บ เนื่ อ ง มาจากตลาดสำเพ็ ง ตั้ ง แต่ ค รั้ ง ต้ น กรุ ง ฯ ส่วนชื่อที่ชาวพระนครเรียกกันโดยทั่วไป ของตลาดแห่งนี้คือ “ตลาดนางเลิ้ง” การขยายพื้นที่เมือง ฝั่งตะวันออกในรัชกาล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว

ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว นอกจากโปรดเกล้าฯ ให้มี การขุดคลองเมืองรอบพระนครเป็นคลอง ชั้นนอก พระราชทานนามคลองขุดใหม่นี้ ว่ า “คลองผดุ ง กรุ ง เกษม” (พ.ศ. ๒๓๙๔-๒๓๙๕) ถือเป็นยุคสมัยที่ทำให้ พื้นที่ชานพระนครกลายเป็นพื้นที่ในเมือง ที่ขยายตัวออกไปอย่างกว้างขวางรวมแล้ว ไม่ต่ำกว่า ๑๓ ตารางกิโลเมตร นอกจาก พื้นที่อยู่อาศัยของขุนนางข้าราชการทาง ฝั่งธนบุรีแล้วก็ได้เริ่มตัดถนนเจริญกรุง,

ตลาดนางเลิ้ง

บำรุงเมือง, เฟื่องนคร และถนนขวางหรือ ถนนสีลม (พ.ศ. ๒๔๐๔-๒๔๐๗) และ ชั ก ชวนให้ ผู้ มี ท รั พ ย์ ส ร้ า งสะพานข้ า ม คลองที่ มี ชุ ม ชนชาวต่ า งชาติ แ ละมี ผู้ ค น ตั้ ง บ้ า นเรื อ นอยู่ ม ากกว่ า พื้ น ที่ อื่ น นั บ เป็นการขยายเมืองเพิ่มเติมเนื่องมาจาก การขุดคลองแต่เดิม ต่อมาคหบดีในสมัยรัชกาลที่ ๕ โดย ใช้ บ ริ ษ ั ท ขุ ด คลองและคู น าสยามที่ ขุ ด คลองรั ง สิ ต ประยู ร ศั ก ดิ ์ ขุ ด คลองและ ตัดถนนเพื่อพัฒนาที่ดินทางตอนใต้ของ พระนครให้สัมพันธ์กับถนนที่สร้างขึ้นใน รั ช กาลที่ ๔ แล้ ว ถวายให้ เ ป็ น ทาง สาธารณะในช่วง พ.ศ. ๒๔๓๘-๒๔๕๐ เช่ น คลองและถนนสาทรของหลวง สาทรราชายุกต์ (ยม พิศลยบุตร) ถนน สุริวงศ์กับถนนเดโชของเจ้าพระยาสุรวงศ์ วัฒนศักดิ์ (โต บุนนาค) ถนนสี่พระยา ของคณะบุ ค คลที่ นำโดยพระยาอิ น ทราธิบดีสีหราชรองเมือง (ม.ร.ว. ลพ สุทัศน์) ถนนรองเมื อ งของพระยาอิ น ทราธิ บ ดี ฯ ถนนคอนแวนต์ ถนนสุรศักดิ์กับถนน ประมวญของเจ้ า พระยาสุ ร ศั ก ดิ ์ ม นตรี (เจิม แสง-ชูโต) และถนนพิพัฒน์ของ พระยาพิพัฒโกษา (เซเลสติโน ซาเวีย) เป็นต้น ในช่วงรัชสมัยที่ ๕ พระนครเติบโตขึน้ มากเมื่อมีการสร้างพระราชวัง วัง ถนน ตลาดบกและตลาดน้ำ บ้านเรือนย่านต่างๆ ขุดลอกคลองเดิม ขุดคลองใหม่เพื่อเป็น เส้ น ทางคมนาคม สร้ า งสะพานข้ า มคู คลองต่างๆ สร้างสถานีรถไฟหัวลำโพงที่ ด้านนอกเมือง ตัดถนนเพื่อเป็นย่านการ ค้า ย่านอยู่อาศัยและอำนวยความสะดวก

ตลาดใหม่ (ซิงตั๊กลั๊ก)

ย่านชานพระนคร วลัยลักษณ์ ทรงศิริ, พัชรินธร เดชสมบูรณ์รัตน์, รัชนีบูล ตังคณะสิงห์ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.