รวมหัวข้อวิทยานิพนธ์ พ.ศ. 2560

Page 1



รวมหัวข้อวิทยานิพนธ์ สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม พ.ศ. ๒๕๖๐ เห็นชอบโดย คณะกรรมการประจาหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรม

รวบรวมโดย ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้



รายชื่อหัวข้อวิทยานิพนธ์และคณะกรรมการวิทยานิพนธ์ สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม พ.ศ. 2560 รหัส ลำดั บที่ กลุ่มที่ 1

ชื่อ-สกุล

ประเภทของโครงการ

1

5619102501 กนกกาญจน์ ภาผิวดี รีสอร์ท

2

5619102509 ธนัช พรพลวัฒน์

3

5619102517 เพชรรัตน์ เพ็ชร์ประยูร 5619102518 วชิรญาณ์ ทอง อุราฬ

4

ชื่อโครงการ

จังเกิล ริเวอร์แคว รีสอร์ท แอนด์ อ. ไทรโยค จ.กาญจนบุรี สนามกีฬา สนามกอล์ฟเดอะริเวอร์ฟร้อนท์ ฮิลล์ กอล์ฟ แอนด์ คันทรีคลับ อ. เวียงเชียงรุ้ง จ. เชียงราย สถานทีท่ ่องเที่ยว ศูนย์วิทยาศาสตร์กาแพงเพชร และพื้นที่ เรียนรู้เชิงวิทยาศาสตร์ เกี่ยวเนื่อง อ. โกสัมพีนคร จ. กาแพงเพชร ชุมชนเมือง ย่านเมืองเก่า อ. เมือง จ. ภูเก็ต

กลุ่ม 2 1

5619102502 กนกพร ใจก้อน

2

5619102504 จุฬาลักษณ์ ศรีแก้ว

3

5619102520 วรวัฒน์ ไพศาล นันท์

4

5619102522 วิภาค ทองนาค

เกษตรกรรมและการ ท่องเที่ยวเรียนรู้ ศาสนสถาน

ศูนย์ฝึกอบรมเกษตรกรรมและอาชีพ (มูลนิธิ ทานิกุจิ) อ. จุน จ. พะเยา สานักสงฆ์ปา่ นะฤๅชา อ. แก่งคอย จ. สระบุรี

สถานทีท่ ่องเที่ยว ย่านตลาดน้าดาเนินสะดวก อ. ดาเนินสะดวก เรียนรู้เชิงวิถีชีวิต และ จ. ราชบุรี วัฒนธรรม รีสอร์ท สถานพักตากอากาศ เดอะ ฟลอร่า เฟรเกรินท์ รีสอร์ทแอนด์สปา เขาเขียว อ. ศรีราชา จ. ชลบุรี

กลุ่ม 3 1

2 3

5619102503 กรณิการ์ วงศ์ก่า

สถานทีท่ ่องเที่ยว เรียนรูเ้ ชิงวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ 5619102507 ชุลีพร ขาดี สถานทีท่ ่องเที่ยวทาง ธรรมชาติ 5619102511 เนตรชนก เรืองจ้อย ชุมชนริมน้า

อุทยานการเรียนรู้พรรณไม้เหมืองแม่เมาะ อ. แม่เมาะ จ. ลาปาง อุทยานหินเขางู อ. เมือง จ. ราชบุรี ชุมชนริมน้าย่านบ้านท่านา อ. นครชัยศรี จ. นครปฐม


กลุ่ม 4 1

5619102505 ชญานิศ จันทพรม

2 3

5619102519 วทัญญู สุวรรณ เลขา 5619102521 วรวิชญ์ ชัยศรีวงค์

4

5619102530 โสรยา สืบแสน

สถานทีท่ ่องเที่ยว แหล่งท่องเที่ยวอุทยานไดโนเสาร์ อ. สหัสขัน เรียนรู้เชิงวิทยาศาสตร์ จ. กาฬสินธุ์ ธรรมชาติ สนามกีฬา สนามแข่งขันยานยนต์ทางเรียบ อ. สันกาแพง จ. เชียงใหม่ ชุมชนพื้นถิ่นและพืน้ ที่ ชุมชนสร้างสรรค์งานออกแบบ พื้นถิ่น ธรรมชาติ ชุมชนบ้านแม่ตอนหลวง อ. ดอยสะเก็ด จ. เชียงใหม่ สถานทีท่ ่องเที่ยว อุทยานการเรียนรู้เศรษฐกิจ พอเพียงและ เรียนรูเ้ ชิงเกษตร สถานพักตากอากาศ อ. ปากช่อง จ. นครราชสีมา

กลุ่ม 5 1

5619102506 ชลธิชา วรศรี

2

5619102508 ณรงฤทธิ์ ดีสวัสดิ์

3

5619102516 พิมผกา ขัดทุ่งฝาย

4

5619102525 เศรษฐกรณ์ ไกรอนันท์สกุล

สถานทีท่ ่องเที่ยว พิพิธภัณฑ์สัตวน้าจืด อ. เมือง จ. ลาปาง เรียนรู้เชิงวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ สนามกีฬา สนามกอล์ฟริเวอร์ฟรอนเทีย อ. ทองผาภูมิ จ. กาญจนบุรี สถานทีท่ ่องเที่ยว เส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมนครลาปาง เรียนรู้เชิงวัฒนธรรม อ. เมือง จ. ลาปาง รีสอร์ท สถานพักตากอากาศ มนต์ขลัง รีสอร์ท และ สถานทีท่ ่องเที่ยวเชิงเกษตร อ. ฝาง จ. เชียงใหม่

กลุ่ม 6 1

5619102510 ธันย์ชนก ตัณฑชน

2

5619102515 พิชญ์ เชียวสาริกิจ

3

5619102523 ศรัณย์พร ชุมมาศ

สถานทีท่ ่องเที่ยวทาง ธรรมชาติ และ วัฒนธรรม ชุมชนและพืน้ ที่ ธรรมชาติ เกษตรกรรมและการ ท่องเที่ยวเรียนรู้

แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศป่าชายเลนและวิถี ชุมชน บ้านบางพัฒน์ อ. เมือง จ. พังงา ชุมชนสะแกกรัง เพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิง นิเวศ อ. เมืองอุทัยธานี จ. อุทัยธานี ทัศนีย์ฟาร์ม อ. มวกเหล็ก จ. สระบุรี


กลุ่ม 7 1

5419102528

2

5619102512

ณัฐวุฒิ ปิน่ แก้ว นาวา ปริศนา ติวาติน

3

5619102531

อรยา ปรัง

1

5619102513

2

5619102514

ปิยะ ปรัชญาทิพากร พิชชาพร รัตนา นนท์

3

5619102528

สุทีวัน ชุ่มวงศ์

4

5619102529

เสฏฐวุฒิ ยวงทอง

รีสอร์ท สถานทีท่ ่องเที่ยว เรียนรูเ้ ชิงเกษตร ชุมชนริมน้า

สถานพักตากอากาศระยะยาว สาหรับผู้สงู อายุ อ. แม่ริม จ. เชียงใหม ศูนย์การเรียนรู้เชิงเกษตร ไร่เชิงตะวัน อ. เวียงป่าเป้า จ. เชียงราย ชุมชนย่านริมแม่น้ากกน้อย อ. เมือง จ. เชียงราย

กลุ่ม 8 สวนสนุก สถานทีท่ ่องเที่ยว เรียนรู้เชิง วิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ สถานทีท่ ่องเที่ยวทาง ธรรมชาติ ชุมชนเมือง ย่านพาณิชยกรรม

สวนสนุก อิมเมจิเนชั่น พาร์ค อ. สันกาแพง จ. เชียงใหม่ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา เขตทวีวัฒนา จ. กรุงเทพมหานคร

แหล่งท่องเที่ยว อ่างเก็บน้าบ้านพระบาท อ. เมืองลาปาง จ. ลาปาง พื้นที่เฉพาะ เมืองไชน่า ทาวน์รงั สิต อ. ธัญบุรี จ. ปทุมธานี



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย ณัฐวุฒิ ปิ่ นแก้วนาวา รหัส 5419102528 นักศึกษาชั้นปี ที่ 6 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อมศึกษามาแล้วจานวน 11 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 172 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.93 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมสถานพักตากอากาศระยะยาว สาหรับผูส้ ู งอายุ อ. แม่ริม จ. เชียงใหม่ 2. ข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning Project of Long Stay Resort for Elderly, Maerim, Chiang Mai. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ เมื่ อสังคมโลกกาลังเปลี่ ยนแปลงเข้าสู่ ศ ตวรรษแห่ งผูส้ ู งอายุ (พ.ศ. 2544-2643) อัตราการเกิ ด น้อ ย วัยเเรงงานลดลงเเละผูค้ นมี อายุยืนยาวมากขึ้ น จากสถิติผูส้ ู งอายุวยั เกษี ยณในแถบประเทศเอเชี ยตะวันออก และ ประเทศแถบตะวันตกมีแนวโน้มเข้ามาท่องเที่ ยวในประเทศไทยเพิ่มมากขึ้ น ซึ่ งผูส้ ู งอายุจากประเทศที่ พฒั นาแล้ว พวกนี้ถือได้ว่าเป็ นกลุ่มตลาดที่มีคุณภาพ เพราะเป็ นนักท่องเที่ยวที่นิยมเข้ามาพักระยะยาว ที่สาคัญคือเป็ นกลุ่มที่ใช้ เงิ น ในการจับ จ่ ายสู ง ลองสเตย์ (Long Stay) หรื อการท่ องเที่ ย วเเบบพ านักระยะยาว จึ งเป็ นธุ ร กิ จใหม่ ที่ เข้า มา ตอบสนองต่อช่วงระหว่างการก้าวเข้าสู่ สังคมผูส้ ู งอายุน้ ี และเป็ นเป็ นช่องทางในการนาเม็ดเงินเข้าสู่ ประเทศไทยได้ มากในปัจจุบนั จังหวัดเชียงใหม่ถือเป็ นหนึ่ งในจังหวัดที่มีนกั ท่องเที่ยวเข้ามาเพื่อปั กหลัก "พักอยู่อาศัยระยะยาว" มาก ที่สุดในประเทศไทย โดยมีนกั ท่องเที่ยวเข้าพานักระยะยาวกว่า 2-3 หมื่นคนต่อปี และสร้างมูลค่าเงินหมุนเวียนกว่า หนึ่งหมื่นล้านบาท โดยทางภาครัฐและเอกชนได้ร่วมโครงการผลักดันไปสู่ ตน้ เเบบเมืองสุ ขภาพ ยกระดับมาตรฐาน เพื่อพัฒนาการเติ บโตของสังคมผู ้สูงอายุ พร้อมกระตุ น้ ตลาดการท่ องเที่ ยวไปพร้อมๆกันนโยบายของหอการค้า จังหวัดเชี ยงใหม่มีความมุ่งมัน่ ที่จะผลักดันให้ จังหวัดเชี ยงใหม่ เป็ น “นครแห่ งลองสเตย์” รองรับผูส้ ู งอายุนานาชาติ วัยเกษี ยณทุ กประเทศที่ ให้ความสนใจเข้ามาพ านักระยะยาวในพื้ นที่ เพิ่ มมากขึ้ น และปั จจุ บันก็ได้มีแผนแม่บท พัฒ นาธุ รกิ จ Long Stay ในกลุ่ มจังหวัด ภาคเหนื อตอนบน 1 ที่ ค รอบคลุ มจังหวัด เชี ย งใหม่ ลาพู น ลาปาง และ แม่ฮ่องสอน ในระยะ 5 ปี พ.ศ. 2560-2564 พร้อมแผนปฏิบตั ิการได้ประกาศออกมาแล้ว จึงคิดว่าในระยะต่อไปทาง จังหวัดเชียงใหม่ และภาคเหนื อก็จะผลักดันให้เกิดการท่องเที่ยวพานักระยะยาวที่สร้างรายได้และกระตุน้ เศรษฐกิจ


ในพื้นที่ต่อไปณ ขณะนี้ ธุรกิจลองสเตย์เพื่อผูส้ ู งอายุแบบครบวงจรและได้รับมาตรฐานจริ งๆในจังหวัดเชี ยงใหม่น้ นั มีไม่ถึง 5 แห่ง แม่ริมซึ่ งเป็ นอาเภอหนึ่ งในเขตปริ มณฑลของนครเชี ยงใหม่ที่มีการเจริ ญเติ บโตอย่างรวดเร็ ว มีความ พร้อมทุกๆด้าน ไม่ว่าจะเป็ นเส้นทางในการคมนาคมที่ สะดวก มีสถานที่ ให้บริ การในการออกกาลังกายทั้งของรัฐ และเอกชน อีกทั้งยังมีโรงพยาลบาลของรัฐขนาดใหญ่ที่ได้มาตรฐานหลายแห่งที่รองรับการรักษาและปัจจุบนั แม่ริม มีการขยายตัวของการท่องเที่ยวที่ถือว่ามากที่สุดของจังหวัดจึงเหมาะแก่การลงทุน โครงการออกแบบและวางผังภูมิ สถาปั ตยกรรมสถานพักตากอากาศระยะยาวสาหรับผูส้ ู งอายุอ .แม่ริม จ.เชี ยงใหม่ซ่ ึ งเป็ นโครงการที่ ตอบสนองต่อ นโยบายการท่องเที่ยวของจังหวัดเชียงใหม่ อีกทั้งยังช่วยให้เกิดการกระตุน้ เศรษฐกิจนาไปสู่ การจ้างงาน สร้างอาชี พ กระจายรายได้ และการลงทุนในธุรกิจเกี่ยวเนื่องมากมาย และนาไปสู่ การสร้างคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีข้ ึน 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นสถานพักตากอากาศระยะยาวสาหรับผูส้ ุ งอายุหลังวัยเกษียณ 4.1.2 เป็ นแหล่งสร้างงานและรายได้ให้กบั จังหวัด และธุรกิจเกี่ยวเนื่ องมากมาย 4.1.3 เพื่อตอบสนองต่อนโยบายของภาครัฐในการส่ งเสริ มและเพิ่มศักยภาพของการ ท่องเที่ยวประเภทสถานพักตากอากาศระยะยาวสาหรับผูส้ ู งอายุในจังหวัดชียงใหม่ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาถึงกระบวนการออกแบบพื้นที่โครงการสถานที่พกั ตากอากาศระยะ ยาวสาหรับผูส้ ู งอายุ 4.2.2 ศึกษาพฤติกรรมในการใช้พ้ืนที่ของผูส้ ู งอายุเพื่อใช้ในการออกแบบวางผัง สถานพักตากอากาศระยะยาวสาหรับผูส้ ู งอายุ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ อยูบ่ า้ นหัวฝาย ตาบลห้วยทราย อ. แม่ริม จ. เชียงใหม่(ทางหลวงชนบทหมายเลข 3009)


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมสถานพักตากอากาศระยะยาวสาหรับผูส้ ู งอายุอ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ แผนที่ 1 : แสดงแผนผังบริ เวณที่ต้ งั ของโครงการ สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการ ตัวอาเภอแม่ริม ถนนโชตนา

มาตราส่ วน

ทางหลวงชนบท หมายเลข 3009 ไม่มีมาตราส่ วน

ที่มา

ดัดแปลงมากจาก Google Map


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมสถานพักตากอากาศระยะยาวสาหรับผูส้ ู งอายุอ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ แผนที่ 2 : แสดงแผนผังบริ เวณที่ต้ งั ของโครงการ สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ เส้นทางสัญจร มาตราส่ วน

ไม่มีมาตราส่ วน

ที่มา

ดัดแปลงมาจาก Google Earth


5.2 เหตุผลที่เลือกโครงการ 5.2.1พื้นที่ โครงการตั้งอยู่ไม่ไกลจากตัวอาเภอแม่ริม และตัวเมืองเชี ยงใหม่ สามารถใช้ ระยะเวลาในการสัญจรไม่นานมากนัก 5.2.2 พื้นที่โครงการอยู่ติดกับทรัพยากรทางธรรมชาติที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็ นแม่น้ า หรื อพื้นที่ป่าสงวน 5.2.3 พื้นที่โครงการตั้งอยูใ่ นบริ เวณพื้นที่ที่มีแหล่งท่องเที่ยวรองรับที่หลากหลาย 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา 6.1 ขอบเขตพื้นที่การศึกษา โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมสถานพักตากอากาศระยะยาวสาหรับ ผูส้ ู งอายุอ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ มีพ้ืนที่โครงการประมาณ76ไร่ ทิศเหนือ ติดกับวัดชลประทาน และคุม้ เจ้าน้อย ทิศใต้ ติดกับพื้นที่ทางการเกษตร และป่ าสงวน ทิศตะวันออก ติดกับพื้นที่ทางการเกษตร และชุมชน ทิศตะวันตก ติดกับพื้นที่ทางการเกษตร และป่ าสงวน 7. บรรณานุกรม จรัสพิมพ์ บุญญานันต์. 2556. “คู่มือกำรดำเนินงำนวิทยำนิพนธ์ หลักสู ตรภูมิสถำปั ตยกรรมศำ สตรบัณฑิต”. ปรับปรุ งครั้งที่ 4. เชียงใหม่: มหาวิยาลัยแม่โจ้ (7 กุมพาพันธ์ 2560). กรวรรณ สังขกร. 2559. “แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาค เหนือตอนบน)” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มาhttp://www.slideshare.net/amicsangkakorn /long-stay-25602564-1 (16 กุมพาพันธ์ 2560). ประกาศขายที่ ดิ น เชี ย งเชี ย งใหม่ 76 ไร่ . 2559.“ขอบเขตที่ ดิ น ”[ระบบออนไลน์ ] แหล่ งที่ ม า http://www.ddproperty.com/ (14 กุมภาพันธ์ 2560). โดยข้าพเจ้ายินดี ที่จะปฏิบตั ิ ตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และ การออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการจึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..



SITE SELECTION

แผนที่ 3 แสดงที่ต้ งั และขอบเขตโครงการ

มาตราส่วน

ที่มา : ดัดแปลงจากGoogle Map

Not to scale


SITE: 1 พื้นที่ปลูกต้นสักไว้เต็มพื้นที่ มีการกันแนวเขตรั้วรวดหนาม ไว้

ขนาดพื้นที่ 58 ไร่ SITE: 2 พื้นที่เพาะปลูกทางการเกษตรที่หลากหลาย มี เสาไฟฟ้าแรงสู งพาดผ่านกลางพื้นที่ ขนาดพื้นที่ 94 ไร่ SITE:3 พื้ นที่ ทางการเกษตรนาข้าว มี แ ม่ น้ าแม่ ริมไหลผ่านกลาง พื้นที่ ติดคลองชลประทาน มีพ้ืนที่ติดกับเขตป่ าสงวน

ขนาดพื้นที่ 78 ไร่ ตารางสรุ ปการให้คะแนนแต่ละพื้นที่ เกณฑ์

คะแนน

SITE1 ระดับ คะแนน B 16 C 15

Linkage Surrounding

4 5

Accessibility Road network Approach

3 4 3

B B B

9 12 9

B B A

9 12 12

B B A

9 12 12

View

6

C

12

B

18

A

24

รวมคะแนน

25

73

SITE2 ระดับ คะแนน A 16 B 15

82

SITE3 ระดับ คะแนน A 16 A 20

93

หมายเหตุA (excellent) = 4 B (very good) = 3 C (fairy good) = 2

D (poor) = 1


คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว กนกกาญจน์ ภาผิวดี รหัส 5619102501 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่วยกิ ต สะสม 127 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.86 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภู มิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและการวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม จังเกิล ริ เวอร์ แคว รี สอร์ ท แอนด์ สปา อาเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architecture Design And Planning Of Jungle River Kwai Resort And Spa,Saiyok, Kanchanaburi 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ อาเภอไทรโยค เป็ นเขตพื้นที่ ติดกับบริ เวณอุทยานแห่ งชาติ เอราวัณที่ มีทรัพยากรป่ าเต็งรั งและ แม่น้ าแควที่สาคัญในจังหวัดกาญจนบุรี จึงทาให้มีสถานที่ท่องเที่ยวเชิ งธรรมชาติ เช่น น้ าตกไทรโยคเล็กและใหญ่ น้ าตกเอราวัณ น้ าตกห้วยแม่ขมิ้น เขื่อนศรี นคริ นทร์ เขื่ อนเขาแหลม และอุทยานช่องเขาขาด เป็ นต้น ดังนั้นอาเภอ ไทรโยค จึ งเป็ นที่ น่าสนใจต่อนักลงทุนเพื่อทาโครงการต่างๆที่ เกี่ ยวกับการท่องเที่ ยว โดยเฉพาะสถานที่ พกั ตาก อากาศ เนื่องจากมีจานวนประชากรนักท่องเที่ยวในจังหวัดกาญจนบุรีที่เพิ่มมากขึ้นในแต่ละปี ร้อยละ 5 ของจานวน นักท่องเที่ยวในปี ก่อนหน้า เนื่ อ งจากแนวโน้ม การท่ อ งเที่ ย วในปั จ จุ บัน ให้ ค วามส าคัญ ในการอนุ รั ก ษ์ฟ้ื นฟู ธ รรมชาติ โครงการ จังเกิล ริ เวอร์ แคว รี สอร์ ท แอนด์ สปา มีแนวคิดจะสร้างสถานที่พกั ตากอากาศเชิ งอนุรักษ์ ที่มีบริ การสปา เพื่อความผ่อนคลายควบคู่กนั ไปด้วย โดยเป็ นโครงการสถานที่พกั ตากอากาศรองรับและส่ งเสริ มการท่องเที่ยวของ อาเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี โดยพื้นที่โครงการอยู่สูงจากระดับน้ าทะเลปานกลาง 75 เมตร พื้นที่โอบล้อมด้วย ภูเขาป่ าเต็งรังและมีแม่น้ าแควน้อยไหลผ่านบริ เวณตะวันตกของพื้นที่ ทาให้พ้ืนที่มีศกั ยภาพที่สวยงามและมีความ น่าสนใจ เพื่อเป็ นสถานที่พกั ผ่อนและท่องเที่ยวเชิ งอนุรักษ์ธรรมชาติเป็ นหลัก เพื่อต้อนรับนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศ


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นสถานที่พกั ผ่อนและท่องเที่ยวแก่นกั ท่องเที่ยวไทยหรื อต่างประเทศ 4.1.2 เพื่อเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวอนุรักษ์ธรรมชาติ 4.1.3 เพื่อเป็ นการเพิ่มที่พกั ในการรองรับของการท่องเที่ยวพร้อมกับส่ งเสริ มเศรษฐกิจ การท่องเที่ยวอาเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อศึ กษาการออกแบบและการวางผังภู มิส ถาปั ตยกรรมในโครงการรี ส อร์ ท แอนด์ สปา เชิงอนุรักษ์ธรรมชาติ 4.2.2 เพื่อศึกษาการใช้ประโยชน์และศักยภาพเดิมของพื้นที่โครงการ เพื่อนามาประยุกต์ กับการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมในพื้นที่โครงการ 4.2.3 เพื่อศึกษาแนวคิดและวิธีการของการอนุรักษ์ระบบนิ เวศพื้นที่ริมน้ าแควน้อยและ ป่ าเต็งรัง พร้อมกับการนามาใช้ในการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ พื้นที่ โครงการมีขนาด 120 ไร่ 2 งาน โครงการตั้งอยู่ที่ตาบลไทรโยค อาเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี มีถนนทางเข้าบ้านถ้ าดาวดึงส์ถนนหลวง 3089 ลาดยางตัดผ่านจากทางหลวงหมายเลข 323 ถนน เลี่ยงเมืองบ้านโป่ งผ่านโครงการ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 อยูแ่ หล่งท่องเที่ยวที่มีความสาคัญในการดึงดูดนักท่องเที่ยวของจังหวัดกาญจนบุรี 5.2.2 ที่ ต้ งั พื้ นที่ โ ครงการมี ความน่ า สนใจ การเข้าถึ งที่ ส ะดวกมี ถนนทางเข้า บ้า นถ้ า ดาวดึงส์ถนนหลวง 3089 ลาดยางตัดผ่านจากทางหลวงหมายเลข 323 ถนนเลี่ยงเมืองบ้านโป่ งผ่านโครงการ 5.2.3 พื้นที่โครงการยังอยูต่ ิดกับแม่น้ าแควน้อยที่ถูกโอบล้อมด้วยธรรมชาติ ป่ าไม้และมี ทัศนียภาพที่สวยงาม


โครงการออกแบบและการวางผังภูมิสถาปัตยกรรม จังเกิล ริ เวอร์แคว รี สอร์ท แอนด์ สปา อาเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี แผนที่ 1 : แสดงที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ

ที่มา www.google.co.th/map

มาตราส่ วน : Not no scale


โครงการออกแบบและการวางผังภูมิสถาปัตยกรรม จังเกิล ริ เวอร์แคว รี สอร์ท แอนด์ สปา อาเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี แผนที่ 2 : แสดงการเชื่อมโยงของพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ สถานที่ท่องเที่ยว พื้นที่โครงการ มาตราส่ วน : Not no scale ระยะรัศมี ที่มา www.google.co.th/map


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา 6.1 ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่โครงการมีขนาดพื้นที่ท้ งั หมด 120 ไร่ 2 งาน โดยมีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ แม่น้ าแควน้อย ทิศตะวันออก ติดต่อกับ เขตอุทยานแห่งชาติไทรโยค ทิศตะวันตก ติดต่อกับ พื้นที่เกษตรกรรม (เอกชน) ทิศใต้ ติดต่อกับ พื้นที่เกษตรกรรม (เอกชน) 7. บรรณานุกรม สานักงานอุทยานแห่งชาติ. 2558. “ ไทรโยค ” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://park.dnp.go.th/visitor/nationparkshow.php?PTA_CODE=1018 ( 30 มกราคม 2560 ) ระบบฐานรากข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว. 2558. “ สถิตินกั ท่องเที่ยว ” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://61.19.236.136:8090/dotr/index.php ( 30 มกราคม 2560 ) โดยข้าพเจ้ายินดี ที่จะปฏิ บตั ิ ตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนินงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..


โครงการออกแบบและการวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม จังเกิ ล ริ เวอร์ แคว รี สอร์ ท แอนด์ สปา อาเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี

แผนที่ 3 : แสดงการที่ ต้ ัง ของ มาตราส่ วน : Not to scale พื้นที่โครงการทางเลือก ที่มา www.google.co.th/map

สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการ


Site 1 มีเนื้อที่ 102 ไร่ ศักยภาพพื้นที่ : เป็ นไซด์ติดถนนลาดยาง ที่ราบ มีตน้ ไม้ปกคลุมร่ มรื่ น ข้อจากัด : มุมมองด้านแม่น้ า เห็นรี สอร์ ทโครง การอื่นๆ

Site 2 มีเนื้อที่ 120 ไร่ 2 งาน ศักยภาพพื้นที่ : เป็ นไซด์ติดถนนลาดยาง ที่ราบ มีตน้ ไม้ปกคลุมร่ มรื่ น มุมมองด้านแม่น้ า เห็ น วิวภูเขา ข้อจากัด : อยูบ่ ริ เวณโค้งน้ า

Site 3 เนื้อที่ 167 ไร่ ศักยภาพพื้นที่ : เป็ นไซด์ติดถนนลาดยาง และ ถนนทางหลวงหมายเลข 323 ที่ราบ มีตน้ ไม้ปก คลุมร่ มรื่ น ข้อจากัด : มุมมองด้านแม่น้ า เห็นวิวภูเขา

Site 4 เนื้อที่ 66 ไร่ ศักยภาพพื้นที่ : เป็ นไซด์ติดถนนลาดยาง และ ที่ราบ มีตน้ ไม้ปกคลุมร่ มรื่ น ข้อจากัด : อยู่ห่างจากถนนทางหลวง สามารถ เข้ า ถึ ง ได้ ย าก และมี ข นาดเล็ ก ในการท า โครงการ


ตารางสรุ ปการให้คะแนนในแต่ละพื้นที่ Site 1 เกณฑ์/ภาค Accessibility Shape Appoach View Surrounding Lingkage Public Facilities /Public Utilities รวมคะแนน

Site 2

Site 3

Site 4

คะแนน 6 3 4 3 3 4

ระดับ B A B C B B

คะแนน 18 12 12 6 9 12

ระดับ A B B A B B

คะแนน 24 9 12 12 9 12

ระดับ B B B C B B

คะแนน 18 9 12 6 9 12

ระดับ C C B A A B

คะแนน 6 6 12 12 12 12

2

C

4

B

6

B

6

B

6

25

73

84

หมายเหตุ น้ าหนักคะแนนคือระดับความสาคัญ ของหลักเกณฑ์โดยมีแบ่งดังนี้ A (excellent) 4 point B (very good) 3 point C (fairy good) 2 point D (poor) 1 point

72

66


คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้ า พเจ้ า นางสาวกนกพร ใจก้ อ น รหั ส นั ก ศึ ก ษา 5619102502 นั ก ศึ ก ษาชั้ นปี ที่ 4 สาขาวิ ช าภู มิ สถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่วยกิตสะสม 130 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.24 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ ง ศูนย์ฝึกอบรมเกษตรกรรมและอาชี พ (มูลนิธิทานิกจุ ิ) อาเภอจุน จังหวัดพะเยา 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) Landscape Architectural Design and Improvement Project of Vocational and Agricultural Training Center Foundation, Chun, Phayao. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ศูนย์ฝึกอบรมเกษตรกรรมและอาชีพ หรื อ ในพื้นที่อาเภอจุนมักจะเรี ยกว่า “ศูนย์ญี่ปุ่น” เป็ นศูนย์ ที่ ก่อ ตั้งโดย ดร.มิ ซ าบุ โ ร ทานิ กุจิ ชาวญี่ ปุ่ น ตั้งแต่ พ.ศ. 2536 ปั จจุ บัน มี ส ถานภาพเป็ น “มู ลนิ ธิศู น ย์ฝึ กอบรม เกษตรกรรมและอาชี พ ” เป็ นองค์ก รเอกชนขนาดเล็ก ที่ มี ฐ านะเป็ นนิ ติ บุ ค คล เมื่ อ วัน ที่ 24 กรกฎาคม 2538 สานักงานตั้งอยู่เลขที่ 172 หมู่ 8 บ้านสักลอ ต.หงส์หิน อ.จุน จ.พะเยา มูลนิ ธิศูนย์ฝึกอบรมเกษตรกรรมและอาชี พ จ.พะเยา เป็ นศูนย์ทดลองและศึ กษาการเกษตรพืชไร่ พื ชสวน สวนผสมระบบอินทรี ย ์ เพื่ อสั่งสมองค์ความรู ้และ ประสบการณ์ ถ่ายทอดให้กบั เกษตรกร หน่ วยงานภาครัฐและเอกชน รวมถึงเป้ าหมายสาคัญคื อเยาวชนที่ มีใจรัก อาชีพการเกษตรกร ทั้งยังอาชีพเสริ มอื่นๆ เพื่อความยัง่ ยืนในการประกอบอาชีพเพิ่มช่องทางในการสร้างรายได้ เพื่อ ความเป็ นอยูท่ ี่ดีข้ ึน เนื่ องจากปั จจุบนั ศูนย์ฝึกอบรมเกษตรกรรมและอาชี พ (มูลนิ ธิทานิ กุจิ) อาเภอจุน จังหวัดพะเยานี้ ยังไม่มีศกั ยภาพทางกายภาพพอที่ จะให้ความรู ้แก่ผทู ้ ี่ สนใจ ทั้งเรื่ องอาคารเดิ มที่ ควรปรัปปรุ ง เพื่ อเพิ่มจานวนผูเ้ ข้า อบรม ภูมิทศั น์เดิมที่มีความเสื่ อมโทรม จึงมีโครงการปรับปรุ งภูมิทศั น์ เพิ่มมูลค่าแก่พ้ืนที่ เพื่อดึ งดูดกลุ่มเป้ าหมาย ให้มีความหลากหลายมากขึ้น เป็ นพื้นที่ทากิจกรรมนันทนาการ และเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรกรรมได้ตลอดทั้ง ปี สร้างรายได้ให้แก่โครงการ รวมถึงชุมชน


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพิ่ มศักยภาพทางกายภาพ ทั้งด้านอาคารสถานที่ ภู มิทัศน์ เพื่ อ รองรั บเยาวชน เกษตรกร ชุมชน และนักท่องเที่ยว 4.1.2 เพิ่มพื้นที่นนั ทนาการให้แก่เยาวชน ชุมชน และนักท่องเที่ยว 4.1.3 เพื่อพัฒนาพื้นที่ เป็ นแหล่งท่องเที่ ยวเชิ งเกษตร และสร้างรายได้ให้แก่โครงการ รวมถึงชุมชน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมโครงการ ออกแบบวางผังและปรับปรุ ง ศูนย์ฝึกอบรมเกษตรกรรมและอาชีพ (มูลนิธิทานิกจุ ิ) อาเภอจุน จังหวัดพะเยา 4.2.2 เพื่อศึกษาและวิเคราะห์สภาพพื้นที่ โครงการและชุมชนโดยรอบเพื่อ นาข้อมูลมา ประยุกต์ใช้ในการออกแบบวางผังโครงการ 4.2.3 เพื่อศึกษาการจัดการระบบเกษตรกรรมพืชไร่ พืชสวน สัตว์ และสวนผสมระบบ อินทรี ย ์ 4.2.4 เพื่อศึกษารู ปแบบวิธีการออกแบบวางผังแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรกรรม 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดยสังเขป ข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั ของโครงการ ศูนย์ฝึกอบรมเกษตรกรรมและการอาชี พ (มูลนิ ธิทานิ กุจิ) บ.สักลอใหม่ ม.8 ต.หงส์หิน อ.จุน จ.พะเยา ตั้งอยูพ่ ิกดั GPS ที่ N 19.50395 E 100. มีเนื้อที่ 90ไร่ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ เนื่ องจากปั จจุบนั ศูนย์ฝึกอบรมเกษตรกรรมและอาชี พ (มูลนิ ธิทานิ กุจิ) เป็ นพื้นที่ จริ งที่ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ อาเภอจุน จังหวัดพะเยา ซึ่ งขณะนี้ มีโครงการออกแบบปรับปรุ งพื้นที่ ท้ งั สถาปั ตยกรรมและภูมิ สถาปั ต ยกรรม เพื่ อส่ งเสริ มให้โครงการศู นย์ฝึ กอบรมเกษตรและอาชี พ (มู ลนิ ธิทานิ กุจิ) มี ค วามสวยงาม และ น่าสนใจที่เข้ามาใช้งาน และเดประโยชน์สูงสุ ดต่อผูเ้ ข้าอบรม ผูท้ ี่มาเรี ยนรู ้ 5.2.1 บริ เวณนี้เป็ นพื้นที่มีศกั ยภาพสามารถพัฒนาเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ที่มีคุณภาพ และเป็ น แหล่งท่องเที่ยงเชิงเกษตรได้ 5.2.2 ด้านความสะดวกในการเข้าถึง สามารถเข้าถึงโครงการได้ง่าย โดยถนนทางหลวง หมายเลข 1292 ซึ่ งเดิ นทางมาจากตัวเมืองพะเยา มี ความหนาแน่ นของการจราจรปานกลางจึ งไม่ก่อปั ญหาในการ เข้าถึง


โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ ง ศูนย์ฝึกอบรมเกษตรกรรมและอาชี พ (มูลนิธิทานิกจุ ิ) อาเภอจุน จังหวัดพะเยา แผนที่ 1 : ตาแหน่งพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Map สัญลักษณ์ : ตาแหน่งพื้นที่โครงการ


โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ ง ศูนย์ฝึกอบรมเกษตรกรรมและอาชี พ (มูลนิธิทานิกจุ ิ) อาเภอจุน จังหวัดพะเยา แผนที่ 2 : ขอบเขตพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Map สัญลักษณ์ : ขอบเขตพื้นที่โครงการ ถนนหลักภายในพื้นที่โครงการ ถนนรองภายในพื้นที่โครงการ ถนนหลวงหมายเลข 1292 จุน-แม่ลอยไร่










คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว จุฬาลักษณ์ ศรี แก้ว รหัส 5619102504 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภู มิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 130 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.02 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม สานักสงฆ์ป่านะฤๅชา อาเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) Landscape Architectural Design and Improvement Project of Phanaruecha Monk Sanctuary, Kaeng Khoi, Saraburi. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ส านัก สงฆ์ ป่ านะฤๅชา เป็ นสถานปฏิ บัติ วิ ปั ส สนากรรมฐานที่ ก่ อ ตั้ง ขึ้ นเพื่ อ ให้ ญ าติ ธ รรม ทั้งในจังหวัดสระบุรีและพื้นที่ใกล้เคียงได้ใช้เป็ นสถานที่ปฏิบตั ิธรรม ทั้งสวดมนต์ ทาวัตรเย็น นัง่ สมาธิ หรื อปฏิบตั ิ วิปั ส สนากรรมฐาน โดยยึด หลักการปฏิ บัติ แนวสติ ปัฏ ฐาน 4 โดยใช้ส ติ พิ จารณารู ้ เท่ าทันเรื่ องกาย เวทนา จิ ต และสภาวะธรรม ซึ่ งมุ่ งเน้นการสร้ างสติ เพราะเมื่ อมี สติ ก็จะเกิ ดปั ญญาและจะสามารถนาไปใช้แก้ปัญ หาชี วิต และพัฒ นาชี วิตของตนเองและครอบครั วให้ดียิ่งๆขึ้ นไปได้ สภาพแวดล้อมโดยรวมของสานักสงฆ์ป่านะฤๅชา เป็ นสานักปฏิ บตั ิ ธรรม ที่ มีธรรมชาติ โดยรอบ ร่ มรื่ น เงี ยบสงบ เหมาะแก่ ผูป้ ระสงค์จะปฏิ บตั ิ ธรรมเจริ ญภาวนา ซึ่ งทางสานักสงฆ์ป่านะฤๅชา มี วตั ถุประสงค์ต่อนักปฏิ บัติธรรมทั้งหลาย ได้มีค วามรู ้ ค วามเข้าใจในหลักธรรม และแนวทางสติปัฏฐาน 4 เพื่อเจริ ญรอยตามองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในหลักของพระพุทธศาสนา สานักสงฆ์ป่านะฤๅชาก่ อตั้งโดยพระวรบดิ นทร์ มูลลิน ได้ธุดงค์ผ่านมาปั กกลดที่ ตาบลชะอม อ าเภอแก่ งคอย จัง หวัด สระบุ รี ต่ อ มามี ผู ค้ นเลื่ อ มใส ศรั ท ธาเป็ นจ านวนมาก จึ งถวายที่ ดิ น สร้ า งส านัก สงฆ์ และมี การสร้ างที่ พ ักส าหรั บผูท้ ี่ มาปฏิ บัติธรรม เมื่ อมี ผูม้ าปฏิ บ ัติ ธรรมเพิ่ มมากขึ้ น ทาให้มีการใช้พ้ื นที่ ร ะหว่าง เขตพุทธวาสและสังฆวาส อย่างไม่เป็ นระบบ ทาให้เกิดความต้องการในการขยายพื้นที่ และแก้ปัญหาการใช้พ้ืนที่ ที่ ไม่ได้รับการออกแบบอย่างเหมาะสม จึ งทาให้เกิ ดโครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรม เพื่ อเพิ่ ม ศักยภาพของพื้นที่ในการรองรับผูท้ ี่มาปฏิบตั ิ ธรรมที่เพิ่มมากขึ้น โดยจัดทาพื้นที่สาหรับฝึ กวิปัสสนากรรมฐานและ ฝึ กสมถกรรมฐาน พื้นที่ สาหรับเป็ นสถานที่ ฝึกกาย ฝึ กจิต ฝึ กใจ ฝึ กสติ และสถานที่ สาหรับพุทธวาสและสังฆวาส อย่างเป็ นระบบ


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่ อขยายพื้ นที่ ของโครงการและแก้ปัญ หาการใช้พ้ื นที่ ที่ไม่ได้รับการออกแบบ ที่เหมาะสมของสานักสงฆ์ป่านะฤๅชา 4.1.2 เพื่อเป็ นศูนย์กลางการเผยแพร่ พุทธศาสนา การปฏิบตั ิธรรม และการเจริ ญภาวนา การออกแบบปรับปรุ งภูมิทศั น์เพื่อส่ งเสริ มสุ นทรี ยภาพและบรรยากาศให้เข้ากับโครงการพุทธศาสนา 4.1.3 เพื่ อเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ และสถานปฏิ บัติธรรมแด่ ชาวพุ ทธ ญาติ ธรรม และคนรุ่ น ใหม่ที่สนใจในพุทธศาสนาและการเจริ ญภาวนา 4.1.4 เพื่อเป็ นแหล่งพักผ่อนทางด้านร่ างกายและจิตใจให้แก่ผทู ้ ี่มาปฏิบตั ิธรรม 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรม สานักสงฆ์ป่านะ ฤาชา ให้สอดคล้องกับการเป็ นพุทธสถาน และสถานปฏิบตั ิธรรม 4.2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาการวางผังการใช้ง านพื้ น ที่ ให้ มี ค วามสั ม พัน ธ์ แ ละสอดคล้อ งกับ กิจกรรมที่เกิดขึ้นของโครงการ โดยคานึงถึงศักยภาพและสภาพแวดล้อมของพื้นที่ 4.2.3 ศึกษาหลักธรรมและแนวทางสติปัฏฐาน 4 ที่เน้นการใช้สติพิจารณารู ้เท่าทันเรื่ อง กาย เวทนา จิต และสภาวธรรม เพื่อเป็ นแนวทางในการออกแบบปรับปรุ งโครงการ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 พื้ น ที่ โ ครงการ ส านัก สงฆ์ป่ านะฤๅชา อาเภอแก่ งคอย จังหวัด สระบุ รี ตั้งอยู่บ ริ เวณทิ ศ ตะวันออกเฉี ยงใต้ของอาเภอแก่งคอย บ้านเลขที่ 45 หมู่ 6 ตาบลชะอม อาเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี ติดกับถนน บ้านนา-แก่ งคอย (ทางหลวงหมายเลข 3222 ) ตัดกับถนนซอยหนองแหน ห่ างจากตัวเมื องสระบุ รีประมาณ 34 กิโลเมตร ขนาดพื้นที่โครงการประมาณ 108 ไร่


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม สานักสงฆ์ป่านะฤๅชา อาเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี แผนที่ระดับดาบล แผนที่ 1 ขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ ถนนสายบ้านนา-แก่งคอย Not To Scale ที่มา : Google Earth


พื้นที่ทาการเกษตร

พื้นที่ทาการเกษตร

พื้นที่ทาการเกษตร

พื้นที่ทาการเกษตร

โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม สานักสงฆ์ป่านะฤๅชา อาเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี แผนที่ระดับโครงการ แผนที่ 2 สัญลักษณ์ ที่มา : Google Earth

ขอบเขตพื้นที่โครงการ Not To Scale

5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 โครงการเป็ นพื้ นที่ เดิ มที่ มีอยู่แล้ว และมี ศ ักยภาพของพื้ นที่ ที่เหมาะสมในการ นามาออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม ประเภทสถานปฏิบตั ิธรรม 5.2.2 สานักสงฆ์ป่านะฤาชา และผูอ้ ุปถัมภ์ มีการซื้ อที่ ดินบริ เวณโดยรอบ เพื่ อรองรับ การขยายตัวของโครงการ 5.2.3 พื้นที่เกษตรกรรมโดยรอบโครงการมีศกั ยภาพที่จะรองรับการขยายตัวในอนาคต




คาร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริญญาภูมสิ ถาปัตยกรรมศาสตร์ บัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว ชญานิ ศ จันทพรม รหัส 5619102505 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 130 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.91 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์ บณ ั ฑิต โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผัง ภู มิสถาปั ตยกรรมแหล่งท่ องเที่ ยวอุทยานไดโนเสาร์ อาเภอสหัสขัน จังหวัดกาฬสิ นธุ์. 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) Landscape Architectural Design and Planning of the Dinosaur Park Tourist Attraction, Sahaskan, Karasin. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ กาฬสิ นธุ์เป็ นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์จงั หวัดหนึ่ งในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อของประเทศไทย จาก หลักฐานทางโบราณคดีบ่งบอกว่าเคยเป็ นที่อยูอ่ าศัยของเผ่าละว้า มีหลักฐานแสดงอารยธรรมเก่าแก่กว่า 1,600 ปี อดีตชื่ อเมือง ฟ้าแดดสู งยาง มีเมืองใหญ่ที่สร้างในสมัยเดียวกันปรากฏเป็ นซากปรักหักพังให้เห็นอยู่อีก 3 เมือง คือ เชี ยงโสม เชี ยงสา และ เชียงน้อย รวมถึงมีแหล่งซากไดโนเสาร์หลายแห่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอาเภอสหัสขันธ์ ภูกมุ้ ข้าว อาเภอสหัสขันเป็ นแหล่งที่ขดุ ค้นพบซากฟอสซิ ลกระดูกไดโนเสาร์ เป็ นจานวนมาก ซึ่ งขุดค้นพบ ซากกระดูกไดโนเสาร์ จานวน 7 ตัว อายุ 130 ล้านปี ชนิ ดที่ขุดค้นพบเป็ นไดโนเสาร์ ประเภทที่กินพืชและกิ นสัตว์บางส่ วน ซากฟอสซิ ลกระดูกไดโนเสาร์ ฟันของไดโนเสาร์ กินเนื้ ออย่างน้อย 2 สายพันธุ์ ที่ขุดพบมีประมาณ 750 ชิ้น ซึ่ งมีจานวนมาก ที่สุดในประเทศไทยและในเขตอาเซี ยน โดยสถานที่ขุดค้นพบนั้น ได้สร้างเป็ นพิพิธภัณฑ์สิรินธรหรื อศูนย์วิจยั โครงกระดูก ไดโนเสาร์ ตั้งอยูใ่ นพื้นที่ภูกมุ้ ข้าว อาเภอสหัสขัน ซึ่ งเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้เชิงวิชาการ กระทรวงการท่ องเที่ ยวและกี ฬา ได้ส่งเสริ มนโยบายของจังหวัดกาฬสิ นธุ์ ในข้อที่ 9 คื อ ส่ งเสริ มการ ท่องเที่ยวโดยพัฒนาภูมิทศั น์ แหล่งท่องเที่ยวให้สวยงามจัดให้มีสถานพักผ่อนหย่อนใจ เนื่ องจากศักยภาพของพื้นที่มีความ โดดเด่นในเรื่ อง การขุดค้นพบฟอสซิ ลกระดูกไดโนเสาร์ ทางจังหวัดมีแนวคิดที่จะจัดทาโครงการอุทยานไดโนเสาร์ ให้เป็ น แหล่งท่องเที่ยวแห่ งใหม่ ที่ สามารถพักผ่อนหย่อนใจ ผสมผสานกับการเรี ยนรู ้ไดโนเสาร์ ผ่านจินตนาการและความบันเทิ ง เพื่อเปิ ดโอกาสให้เด็กเยาวชนในภาคอีสานได้เรี ยนรู ้และเปิ ดโลกทัศน์ให้กบั คนรุ่ นใหม่และชาวต่างชาติที่สนใจ แหล่งเรี ยนรู ้ ดังกล่าวจะเป็ นจุดเชื่อมโยงสาคัญในการสร้างรายได้ให้กบั ประเทศและช่วยยกระดับคุณภาพการศึกษาของเด็กนักเรี ยนหรื อ เยาวชนไทยในภาคอีสานให้ดีข้ ึนได้


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนันทนาการแห่งใหม่ในภาคอีสานและสามารถกาเนิ ดโลกตั้งแต่ ยุคดึกดาบรรพ์ จนถึงยุคไดโนเสาร์สูญพันธุ์ 4.1.2 เพื่อเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ในด้านธรณี วิทยา ซากฟอสซิ ลกระดูกไดโนเสาร์ ที่เป็ นศักยภาพโดด เด่นของจังหวัดกาฬสิ นธุ์และภาคอีสาน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม สถานที่ท่องเที่ยวและแหล่งเรี ยนรู ้เชิ งนันทนาการ ประเภทสวนสนุก 4.2.2 เพื่อศึกษาและวิเคราะห์กลุ่มผูใ้ ช้งาน เพื่อที่จะนามาออกแบบให้ตอบสนองกับผูใ้ ช้งาน 4.2.3 เพื่อศึ กษาสายพันธุ์ของไดโนเสาร์ สกุลภูเวียงซอรัส ที่ คน้ พบในภาคอีสานและสายพันธุ์ อื่นๆ เพื่อนามาใช้ในการออกแบบโครงการอุทยานไดโนเสาร์ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดยสังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ ต้ งั โครงการ : ถนนหลักเมือง ตาบลภูสิงห์ อาเภอสหัสขัน จังหวัดกาฬสิ นธุ์ โดยมีเนื้ อที่ ทั้งหมด 293 ไร่ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 พื้นที่อยูไ่ ม่ห่างจากพิพิธภัณฑ์สิรินธร ที่เป็ นศูนย์วิจยั กระดูกไดโนเสาร์และแหล่งท่องเที่ยว เพื่อที่จะสามารถเป็ นจุดเชื่อมโยงนักท่องเที่ยวและเด็กนักเรี ยนให้มาเยี่ยมชมพื้นที่โครงการได้สะดวกและต่อเนื่อง 5.2.2 ที่ต้ งั โครงการอยู่ใกล้บริ เวณภูเขา แหล่งน้ า และชุมชน ทาให้พ้ืนที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่ สมบูรณ์ในการสร้างอุทยานแหล่งท่องเที่ยวไดโนเสาร์


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวอุทยานไดโนเสาร์จงั หวัดกาฬสิ นธุ์ มาตราส่ วน แผ่ นที่ 1 แสดงที่ต้ งั และขอบเขตโครงการ ที่มา : ดัดแปลงจาก ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth NOT TO SCALE

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวอุทยานไดโนเสาร์จงั หวัดกาฬสิ นธุ์ แผ่ นที่ 2 แสดงที่ต้ งั และขอบเขตโครงการ

มาตราส่ วน

ที่มา : ดัดแปลงจาก ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth

NOT TO SCALE


SITE SELECTION

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวอุทยานไดโนเสาร์จงั หวัดกาฬสิ นธุ์ มาตราส่ วน แผ่ นที่ 3 แสดงที่ต้ งั และขอบเขตโครงการ ที่มา : ดัดแปลงจาก ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth

NOT TO SCALE

ตารางที่ 1 สรุ ปผลการให้คะแนนในแต่ละพื้นที่ เกณฑ์ Assessibility Road network Approach View Surrounding Lingkage รวมคะแนน

คะแนน 3 3 4 6 5 4 25

SITE 01 SITE 02 SITE 03 ระดับ คะแนน ระดับ คะแนน ระดับ คะแนน B 9 A 12 B 9 A 12 A 12 B 9 A 16 A 16 C 8 C 12 A 24 B 18 A 20 B 15 B 15 A 16 B 12 B 12

หมายเหตุ น้ าหนักคะแนนคือระดับความสาคัญของหลักเกณฑ์โดยมีการแบ่งดังนี้ A (excellent) 4 point B (very good) 3 point C (fairy good) 2 point D (poor) 1 point





คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวชลธิ ช า วรศรี รหัส 5619102506 นักศึ ก ษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิช าภู มิส ถาปั ตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิต สะสม 130 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.76 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ าจืด จังหวัด ลาปาง 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning of Lampang Freshwater Aquarium, Muang, Lampang. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จังหวัดลาปางตั้งอยู่บริ เวณภาคเหนื อตอนบนของประเทศไทย ลักษณะภู มิประเทศโดยทัว่ ไป เป็ นที่ ราบสู งมี ภู เขาสู งทอดตัวยาวตามแนวทิ ศ เหนื อไปยังทิ ศ ใต้ข องจังหวัด ในบริ เวณตอนกลางของจังหวัด มีลกั ษณะเป็ นที่ราบและที่ราบลุ่มแม่น้ า ซึ่ งมีแม่น้ าวังเป็ นแม่น้ าสายหลักที่สาคัญ มีความยาว 460 กิโลเมตร แม่น้ าวัง ถือเป็ นแหล่งน้ าที่ มีคุณค่าและเป็ นประโยชน์สาหรับการเกษตร การชลประทาน การอุปโภคบริ โภค การท่องเที่ ยว การผลิตกระแสไฟฟ้ า อุตสาหกรรม วัฒนธรรม และยังเป็ นแหล่งทาการประมงที่ มีความอุดมสมบูรณ์ มีพนั ธุ์ปลา มากกว่า 75 ชนิ ดอาศัยอยู่ และจังหวัดลาปางยังมีแหล่งท่องเที่ยวมากมาย ให้นกั ท่องเที่ยวได้มาศึกษาหาความรู ้และ มาพักผ่อนหย่อนใจ ทั้งแหล่งท่ องเที่ ยวทางธรรมชาติ แหล่งท่ องเที่ ยวทางด้านโบราณสถาน โบราณวัตถุ และ แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม นอกจากนี้ จงั หวัดลาปางยังมีศกั ยภาพที่ โดดเด่นทางด้านการเป็ นศูนย์กลางการเชื่ อมต่อระหว่าง ภาคเหนื อตอนบนกับภาคเหนื อตอนล่าง ที่ มีความสะดวกในการเดิ นทาง ไม่ว่าจะเป็ นทางเครื่ องบิ น รถไฟ และ รถยนต์ จึ งมีความเหมาะสมที่ จะเป็ นศูนย์กลางทางด้านการศึกษาของเยาวชนในภาคเหนื อ และประเทศเพื่อนบ้าน โดยจังหวัดลาปางมีสถานศึกษาอยู่เป็ นจานวนมาก ทั้งในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษาของภาครัฐ และเอกชน นอกจากสถานศึ กษาแล้ว ภายในจังหวัด ยังมี ส ถานที่ ให้ค วามรู ้ นอกห้องเรี ยนแก่ เด็ก เยาวชน และ ประชาชนอี กเป็ นจานวนมาก ได้แ ก่ หอศิ ลป์ ห้องสมุ ด ประชาชน สวนพฤกษศาสตร์ พิ พิ ธภัณ ฑ์ (พิ พิ ธภัณ ฑ์ วัฒนธรรม พิพิธภัณฑ์มนุ ษยวิทยา พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติ พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ) แต่ทาง จังหวัดยังขาดพิพิธภัณฑ์สตั ว์น้ าจืด ที่รวบรวมความรู ้และจัดแสดงเรื่ องราวทางวิชาการเกี่ยวกับสัตว์น้ าจืดชนิ ดต่างๆ และพรรณไม้น้ า ในท้อ งถิ่ น มี เพี ย งศู น ย์วิ จัย และพัฒ นาประมงน้ า จื ด ล าปาง ที่ ศึ ก ษา วิ จัย พัฒ นาเทคโนโลยี


การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าจืดและทรัพยากรประมงน้ าจืด ที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ พันธุ์สัตว์น้ าหายากใกล้สูญพันธุ์ ในท้องถิ่น เพื่ออนุรักษ์ แต่ไม่มีการรวบรวมความรู ้เพื่อจัดแสดงแก่สาธารณะ จากที่ กล่าวมาข้างต้นแสดงให้เห็ นว่าจังหวัดลาปางมี ทรัพ ยากรทางธรรมชาติ หน่ วยงาน และ พื้ น ที่ ที่ ส ามารถพัฒ นาเป็ นแหล่ งเรี ย นรู ้ แ ละสถานที่ ให้ ค วามรู ้ น อกห้ อ งเรี ย นแก่ เด็ ก เยาวชน และประชาชน ในท้องถิ่ น อี กทั้งยังเป็ นจังหวัด ให้ค วามสาคัญกับการเรี ยนรู ้ ของประชาชน ตามแผนพัฒ นาจังหวัด ลาปาง 4 ปี (พ.ศ. 2558-2561) ยุธศาสตร์ ที่ 4 คื อ เสริ มสร้างและพัฒนาคุณภาพชี วิตของประชาชนและสังคมลาปางให้เป็ นสังคม แห่ งการเรี ยนรู ้ โดยส่ งเสริ มและสนับสนุ นการศึ กษาของเด็ก เยาวชน และประชาชนให้มีคุณภาพ สามารถเข้าถึ งแหล่ง ความรู ้และแหล่งอาชีพที่เหมาะสม และการขับเคลื่อนนโยบายลดเวลาเรี ยน เพิ่มเวลารู ้ของกระทรวงศึกษาธิการ จึงเป็ นที่มา

ของโครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพิพิธภัณฑ์สตั ว์น้ าจืด จังหวัดลาปาง 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่ อเป็ นศู นย์รวบรวมและจัด แสดงความรู ้ ทางวิช าการเกี่ ยวกับสัต ว์น้ าจื ดและ พันธุ์ไม้น้ าชนิดต่างๆในท้องถิ่น 4.1.2 เพื่ อ เป็ นศู น ย์ก ลางการศึ ก ษาและเป็ นแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง อนุ รั ก ษ์ แ ห่ ง ใหม่ ที่ปลูกฝังจิตสานึกที่ดีในการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ าและพันธุ์ไม้น้ าชนิดต่างๆในท้องถิ่น 4.1.3 เพื่ อ ส่ งเสริ ม และสนับ สนุ น ให้เด็ ก เยาวชน ประชาชนในจังหวัด ล าปางและ จังหวัดใกล้เคียงในพื้นที่ภาคเหนื อ สามารถเข้าถึงแหล่งความรู ้ทางวิชาการเกี่ยวกับพันธุ์สตั ว์น้ าและพันธุ์ไม้น้ าชนิ ด ต่างๆในท้องถิ่น 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม พิพิธภัณฑ์สตั ว์น้ าจืด 4.2.2 เพื่อศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสัตว์น้ าจืด ระบบนิเวศน้ าจืด และระบบนิ เวศริ มน้ า ที่ช่วยส่ งเสริ มศักยภาพในการออกแบบพื้นที่ 4.2.3 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมแหล่งรวบรวมและ จัดแสดงความรู ้ทางวิชาการ ที่เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์พนั ธุ์สัตว์น้ าและธรรมชาติ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ ต้ ัง ของโครงการ : พื้ น ที่ โ ครงการตั้ง อยู่ ถ นนเฉลิ ม พระเกี ย รติ ซึ่ งอยู่ ร ะหว่ า ง ถนนพหลโยธิ น (ถนนไฮเวย์ลาปาง-งาว) กับ ถนนลาปาง-แม่ทะ ตาบลพระบาท อาเภอ เมืองจังหวัดลาปาง โดยมีเนื้อประมาณ 110 ไร่


5.2 เหตุผลที่เลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 พื้ น ที่ มีการเชื่ อมโยงกับ สถานศึ กษา สถานที่ ท่ องเที่ ยว และอยู่ใกล้กับ ตัวเมื อ ง จังหวัดลาปาง 5.2.2 การเข้าถึ งพื้ น ที่ มีค วามสะดวก เนื่ องจากทางเข้าพื้ น ที่ ร ะหว่างถนนพหลโยธิ น (ถนนไฮเวย์ลาปาง-งาว) 500 เมตร และถนนลาปาง-แม่ทะ 700 เมตร

โครงการออกแบบและวางผังพิพิธภัณฑ์สตั ว์น้ า จังหวัดลาปาง แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั และขอบเขตพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงจาก https://th.wikipedia.org/wiki สั ญ ลัก ษณ์ : ที่ ต้ ัง โครงการ ตาแหน่งโครงการ

มาตราส่ วน NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและวางผังพิพิธภัณฑ์สตั ว์น้ า จังหวัดลาปาง แผนที่ 2 แสดงที่ต้ งั และขอบเขตพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth

มาตราส่ วน NOT TO SCALE

โครงการออกแบบและวางผังพิพิธภัณฑ์สตั ว์น้ า จังหวัดลาปาง แผนที่ 3 แสดงที่ต้ งั และขอบเขตพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth

มาตราส่ วน NOT TO SCALE


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา ขอบเขตพื้นที่โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพิพิธภัณฑ์สตั ว์น้ า จังหวัดลาปาง (แผนที่ประกอบคาอธิ บาย) ทิศเหนือ ติดต่อกับ ศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดลาปาง และ โรงเรี ยนเทศบาล 7 (ศิรินาวินวิทยา) ทิศตะวันออก ติดต่อกับ พื้นที่ทาการเกษตร ทิศใต้ ติดต่อกับ ทางรถไฟและพื้นที่ทาการเกษตร ทิศตะวันตก ติดต่อกับ โครงการบ้านจัดสรร 7. บรรณานุกรม กลุ่ ม งานยุ ท ธศาสตร์ แ ละข้ อ มู ล เพื่ อ การพั ฒ นาจั ง หวัด ส านั ก งานจัง หวัด ล าปาง. 2557. “แผนพั ฒ นาจัง หวัด ล าปาง 4 ปี (พ.ศ. 2557 – 2560)” [ระบบออนไลน์ ] แหล่ ง ที่ ม า http://www.lampang.doae.go.th/wpcontent/uploads/2015/02/plan1.pdf1.pdf (10 มกราคม 2560) สานักงานรั ฐมนตรี กระทรวงศึ กษาธิ การ. 2559. “โครงการขับเคลื่ อน นโยบายลดเวลาเรี ย น เพิ่ มเวลารู ้” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่ มา http://www.moe.go.th/websm/2015/sep/319.html (10 มกราคม 2560) โดยข้ า พเจ้า ยิ น ดี ที่ จ ะปฏิ บั ติ ต ามหลัก และวิ ธี ด าเนิ นงานวิ ท ยานิ พ นธ์ ขอ งคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (นางสาวชลธิ ชา วรศรี ) ……….../………./………..


SITE SELECTION

โครงการออกแบบและวางผังพิพิธภัณฑ์สตั ว์น้ า จังหวัดลาปาง แผนที่ 4 แสดงที่ต้ งั และขอบเขตโครงการ ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth ตารางสรุ ปการให้คะแนนในแต่ละพื้นที่ น้ าหนัก เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน การเข้าถึงพื้นที่ (Assessibility) 3 โครงข่ายถนน (Road network) 3 ทางเข้าโครงการ(Appoach) 4 มุมมอง (View) 6 พื้นที่โดยรอบ (Surrounding) 5 การเชื่อโยงของพื้นที่ (Lingkage) 4 รวมคะแนน 25

พื้นที่ 1 คะแนน รวม 4 12 3 9 4 16 3 18 3 15 3 12 82

มาตราส่ วน NOT TO SCALE

พื้นที่ 2 คะแนน รวม 3 9 4 12 3 16 4 24 4 20 3 12 93

*หมายเหตุ เกณฑ์การให้คะแนนแบ่งเป็ น ดีมาก = 4 ดี = 3 พอใช้ = 2 ปรับปรุ ง = 1

พื้นที่ 3 คะแนน รวม 2 6 3 9 2 8 4 24 3 15 2 8 70


พื้นที่ 1 : พื้นที่โดยรอบเป็ นหมู่บา้ นและสถานศึกษาเป็ นที่ต้ งั ของสวนสาธารณะ หนองกระทิ ง จังหวัดลาปาง ซึ่ งบริ เวณตรงกลางสวนสาธารณะเป็ นหนองน้ า ธรรมชาติขนาดใหญ่

พื้นที่ 2 : พื้นที่โดยรอบติดสถานศึกษา พื้นที่ทาการเกษตร และทางรถไฟ ตั้งอยูบ่ น ถนนเฉลี ม พระเกี ย รติ ซึ่ งอยู่ระหว่างถนนพหลโยธิ น และถนนล าปาง-แม่ ท ะที่ สามารถเชื่อมต่อไปยังพื้นที่อื่นได้สะดวก และมีบ่อน้ าขนาดใหญ่กลางพื้นที่

พื้นที่ 3 : เป็ นอ่างเก็บ น้ าเพื่ อการเกษตรจานวนสองอ่างติ ดกัน พื้นที่ ติดกับ ส่ วนพื้น ที่ การบิน บริ เวณโดยรอบเป็ นพื้นที่ทาการเกษตร มีมุมมองทัศนี ยภาพที่สวยงามเป็ นพื้นที่ ธรรมชาติ


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร








คาร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์ บัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย ณรงฤทธิ์ ดีสวัสดิ์ รหัส 5619102508 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 130 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.05 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภู มิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมสนามกอล์ฟ ริ เวอร์ ฟรอนเที ย อาเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) Landscape Architectural design and planning River frontier golf club, Thong Pha Phum, Kanchanaburi. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ปั จจุบนั กี ฬากอล์ฟเป็ นกี ฬาชนิ ดหนึ่ งที่ อยู่ในความนิ ยมระดับโลก ทาให้เป็ นกี ฬาที่ รู้จกั มากขึ้ น และเริ่ มมีความนิ ยมเล่นกันอย่างแพร่ หลาย ธุ รกิ จสนามกอล์ฟจึงเป็ นธุ รกิจที่ได้รับความนิ ยมกันมากในปั จจุบนั ทา ให้มีการเติ บโตของธุ รกิจสนามกอล์ฟตามไปด้วย ซึ่ งธุ รกิจสนามกอล์ฟเป็ นธุ รกิจหนึ่ งที่ สามารถเพิ่มรายได้ให้กบั ผูป้ ระกอบการ อีกทั้งธุรกิจสนามกอล์ฟยังคงมีแนวโน้มเติบโตตามกระแสนิยมกีฬากอล์ฟ จังหวัดกาญจนบุรี เป็ นจังหวัดที่ มีศกั ยภาพในการจัดทาโครงการสนามกอล์ฟ เนื่ องจากจังหวัด กาญจนบุรีมีภูมิประเทศที่ หลากหลายน่ าสนใจ ทั้งพื้นที่ ราบลุ่ม ที่ ราบลูกฝูก และภูเขา สามารถปรับปรุ งก่อสร้าง ภูมิทศั น์หรื อภูมิประเทศจาลองสาหรับกีฬากอล์ฟได้หลากหลายตามภูมิประเทศ นอกจากนี้ พ้ืนที่ ยงั มีศกั ยภาพใน การเข้าถึง อยูใ่ กล้กบั ประเทศเพื่อนบ้านอย่างประเทศพม่า อยู่ห่างจากกรุ งเทพฯเพียง 2 ชัว่ โมง ทาให้มีสนามกอล์ฟ มากถึง 11 แห่ ง ในจังหวัดกาญจนบุรีซ่ ึ งหมายความว่าโอกาสในการทาธุ รกิจมีสูง อาเภอทองผาภูมิเป็ นอาเภอหนึ่ ง ในจังหวัดกาญจนบุ รีที่มีแหล่งท่ องเที่ ยวทางธรรมชาติ ที่สาคัญหลายแห่ งเช่ น อุทยานแห่ งชาติ ทองผาภูมิ เหมือง ปิ ล๊อก น้ าตกจ๊อกกระดิ่น อุทยานแห่งชาติลาคลองงู เขื่อนวชิราลงกรณ์หรื อเขื่อนเขาแหลม เป็ นต้น จากเหตุ ผลดังกล่าว จึ งทาให้เกิ ดโครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมสนามกอล์ฟริ เวอร์ ฟรอนเที ย ในอาเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี เพื่อรองรับนักกอล์ฟทุกประเภททั้งนักกอล์ฟต่างชาติ และ นักกอล์ฟ ในประเทศ โดยพื้ นที่ โ ครงการมี ส ภาพเป็ นเนิ นสู งต่ า ผสมกัน อยู่ติ ด ริ มแม่ น้ า แควน้อย มี ท ัศนี ย ภาพ สวยงาม ทาให้พ้ืนที่น้ ีมีศกั ยภาพสามารถพัฒนาเป็ นสนามกอล์ฟที่มีมาตรฐานรองรับการแข่งขันระดับโลก โดยมีที่ พักเป็ นบรรยากาศแบบรี สอร์ ทที่ ร่มรื่ นมีส่วนนันทนาการและการผักผ่อนแบบอื่นๆเพื่อรองรับนักท่ องเที่ ยวและ นักกอล์ฟ รวมทั้งเป็ นการส่ งเสริ มทางด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวให้กบั จังหวัดกาญจนบุรี


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อสร้างสนามกอล์ฟที่มีขนาดมาตรฐาน สามารถจัดการแข่งขันได้ในระดับโลก 4.1.2

เพื่อเป็ นสถานพักตากอากาศทางเลือกให้กบั นักท่องเที่ยวได้พกั ผ่อนหย่อนใจ

4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาวิธีการออกแบบวางผังสนามกอล์ฟและแนวความคิดให้สอดคล้อง กับศักยภาพของพื้นที่โครงการ โดยไม่ส่งผลต่อสิ่ งแวดล้อม 4.2.2 เพื่อศึกษาวิธีการออกแบบวางผังสถานพักตากอากาศ


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง)

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมสนามกอล์ฟ อาเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั และขอบเขตพื้นที่โครงการ

มาตราส่วน

ที่มา : ดัดแปลงจาก https://www.google.co.th/maps

Not to scale

5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ : ตั้งอยูต่ ิดกับแม่น้ าแควน้อย ใกล้สถานีรถไฟวังโพ ตาบลลุ่มสุ่ ม อาเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 พื้นที่มีความสะดวกในการเข้าถึง และห่างจากจังหวัดกรุ งเทพฯเพียง 2 ชัว่ โมง 5.2.2 พื้นที่ ต้ งั อยู่ในอาเภอทองผาภูมิ ซึ่ งมีแหล่งท่องเที่ ยวมากมายช่ วยส่ งเสริ มการ ท่องเที่ยวของจังหวัดกาญจนบุรี 5.2.3 เนื่ องจากภู มิประเทศของพื้นที่ มีความเหมาะสม อยู่ติดกับแม่น้ าแควน้อยซึ่ ง เป็ นแหล่งน้ าที่มีความสมบูรณ์ 5.2.4 สภาพพื้นที่รอบโครงการไม่พลุกพล่าน มีความสงบซึ่ งเหมาะกับกี ฬากอล์ฟที่ ต้องใช้สมาธิ ในการฝึ กซ้อมและเล่น ค่อนข้างสู ง


SITE SELECTION

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมสนามกอล์ฟ อาเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี แผนที่ 2 แสดงที่ต้ งั และขอบเขตโครงการ

มาตราส่วน

ที่มา : ดัดแปลงจาก https://www.google.co.th/maps ตารางสรุ ปการให้คะแนนแต่ละพื้นที่

Not to scale

เกณฑ์

คะแนน

SITE1 ระดับ คะแนน B 12

SITE2 ระดับ คะแนน C 8

SITE3 ระดับ คะแนน C 8

Accessibility View

4 3

A

12

A

12

B

9

Privacy Linkage Land form

5 3

A B

20 9

B B

15 9

A A

20 12

6

A

24

A

24

B

18

Price

5

A

20

B

15

C

10

รวมคะแนน

หมายเหตุ A (excellent) B (very good) C (fairy good) D (poor)

97

=4 =3 =2 =1

83

77


SITE 1 ที่ดินติดแม่น้ าแควน้อย เป็ นที่เนินสลับกับที่ราบ ตั้งอยูใ่ น อาเภอ ทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี ขนาดพื้นที่ 845ไร่ ขายไร่ ละ 250,000 บาท

SITE 2 ที่ดินอยูต่ ิดเนิ นเขาใกล้สวนยาง ตั้งอยูใ่ น อาเภอไทรโยค จังหวัด กาญจนบุรี จานวนที่ดินทั้งหมดประมาณ 600 ไร่ ขายไร่ ละ 270,000 บาท

SITE 3 ที่ดินติดถนนลูกรังประมาณ300 เมตร ด้านหลังติดภูเขา จานวน ที่ดิน ตั้งอยูใ่ น อาเภอเมืองกาญจนบุรี 570 ไร่ ขายไร่ ละ 360,000 บาท




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย ธนัช พรพลวัฒน์ รหัส 5619102509 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 124 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.90 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมสนามกอล์ฟเดอะริ เวอร์ฟร้อนท์ ฮิลล์ กอล์ฟ แอนด์ คันทรี คลับ อ.เวียงเชียงรุ ้ง จ.เชียงราย 2. หั ว ข้อ เรื่ อง (ภาษาอัง กฤษ) Landscape Architecture Design And Planning Project of The Riverfront Hill Golf and Country Club Chiangrai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ 3.1 ความเป็ นมาของโครงการ กี ฬากอล์ฟเป็ นกี ฬาที่ คนให้ความนิ ยมตั้งแต่ อดี ต สมัยรั ชกาลที่ 5 จนถึ งปั จจุ บนั กี ฬา กอล์ฟจึ งมี นักกอล์ฟ อาชี พมากมาย ทาให้เกิ ดโครงการสนามกอล์ฟที่ มีความท้าทายและหลากหลายมากขึ้ นใน ประเทศไทย ทาให้ประเทศไทยเป็ นประเทศที่ได้รับ การยอมรับจากหลายประเทศ และเคยจัดการแข่งขัน Thailand LPGA Tour ซึ่ งเป็ นการแข่งขันระดับประเทศ จัดขึ้ นที่ สนามกอล์ฟสันติ บุรี สมุย ทาให้นกั กอล์ฟชาวต่างชาติ ให้ ความสนใจกี ฬากอล์ฟในประเทศไทยมากขึ้ น ส่ งผลให้ในแต่ละจังหวัดที่ เป็ นแหล่งท่องเที่ ยวและที่ มีศกั ยภาพใน ด้านภูมิประเทศ ที่ เหมาะสมแก่ การสร้างสนามกอล์ฟ ต่างสร้างสนามกอล์ฟเพื่อดึ งดู ดนักกอล์ฟทั้งชาวไทยและ ต่างชาติ จังหวัดเชี ยงรายเป็ นจังหวัด หนึ่ งที่ มีความโดดเด่นทางด้านที่ต้ งั เพราะมีพ้ืนที่ ติดกับ ประเทศพม่า ประเทศ ลาว และประเทศจี นตอนใต้ สภาพภู มิประเทศที่ น่าสนใจและเหมาะสมแก่ การสร้ า งสนามกอล์ฟ ในด้านการ ท่ องเที่ ยว เชี ยงรายได้ข้ ึ นชื่ อวางเป็ นแหล่ งท่ องเที่ ย วยอดนิ ย มรองจากเชี ย งใหม่ ที่นักท่ องเที่ ย วทั้งชาวไทยและ ต่างชาติเข้ามาท่องเที่ยวในรู ปแบบต่างๆ จึงทาให้จงั หวัดเชี ยงรายมีศกั ยภาพในการสร้างสนามกอล์ฟมาตรฐานใน ระดับนานาชาติได้ จังหวัดเชียงรายมีสนามกอล์ฟมาตรฐาน 18หลุม 72พาร์ อยู่ 3 แห่งในจังหวัด ที่นกั กอล์ฟ ทั้งในประเทศและต่างประเทศให้ความยอมรับ แต่ในปั จจุบนั ความนิ ยมกีฬากอล์ฟมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่ อยๆ ส่ งผล ให้นกั กี ฬาและผูท้ ี่ สนใจมี แนวโน้มเพิ่ มมากขึ้ นด้วยเช่ นกัน สนามกอล์ฟที่ มีอยู่ในปั จจุ บนั เริ่ มไม่เพียงพอต่ อการ รองรับนักท่องเที่ยว จึงเกิดเป็ นโครงการ เดอะ ริ เวอร์ฟร้อนท์ ฮิลล์ กอล์ฟ แอนด์ คันทรี คลับ อ.เวียงเชียงรุ ้ง


จ.เชี ยงราย เป็ นโครงการของเอกชน มีเป้ าหมายเพื่อสร้างสนามกอล์ฟ 18หลุม ในระดับ นานาชาติ มีพ้ืนที่ ติดกับ แม่น้ ากก มีวิวภูเขา เป็ นสนามกอล์ฟที่สามารถให้ความรู ้ดา้ นทฤษฏีและปฏิบตั ิ พร้อมที่พกั ที่จะให้บรรยากาศแบบ รี สอร์ทรวมถึงสิ่ งอานวยความสะดวก สนามไดฟ์ และส่ วนนันทนาการอื่นๆ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่ อ พัฒนาให้จังหวัด เชี ย งราย ได้มี ส นามกอล์ฟ มาตรฐาน 18หลุ ม ในระดับ นานาชาติ สามารถรองรับความต้องการของนักกีฬากอล์ฟที่มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น 4.1.2 เพื่อเป็ นที่พกั ของนักกีฬากีฬากอล์ฟ ในรู ปแบบรี สอร์ท ติดริ มแม่น้ า ให้ความรู ้สึก อยูท่ ่ามกลางธรรมชาติ 4.1.3 เพื่อให้ประชาชนมีความสนใจในกี ฬากอล์ฟซึ่ งเป็ นกี ฬาที่ น่าสนใจ และใช้เวลา ว่างให้เกิดประโยชน์ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาแนวความคิด รู ปแบบ และมาตรฐาน ในการสร้างสนามกอล์ฟมาตรฐาน 18หลุม ในระดับนานาชาติ 4.2.2 เพื่อศึ กษาแนวความคิ ด ในการออกแบบและวางผังรี สอร์ ทเพื่อรองรับนักกอล์ฟ และนักท่องเที่ยว 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ ต้ งั โครงการ: บ้านสันโค้งงาน ตาบลดงมหาวัน อาเภอเวียงเชี ยงรุ ้ง จังหวัดเชี ยงราย โดยมีเนื้อที่ท้ งั หมด 889 ไร่ 5.2 เหตุผลในการเลือกพื้นที่โครงการ 5.2.1 มีเส้นทางคมนาคมที่ ง่ายต่อการเข้าถึง ซึ่ งห่ างจาก อากาศยานนานาชาติ จังหวัด เชียงราย 24 กิโลเมตร 5.2.2 มีความสมบูรณ์ของพื้นที่ท้ งั ด้านคมนาคม สาธารณู ปโภค สาธารณู ปการ และทาง ทัศนียภาพ 5.2.3 ไม่เกิดผลกระทบต่อชุ มชนโดยรอบ และสามารถเป็ นสถานที่ข องเยาวชนให้กบั ชุมชนโดยรอบได้



6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา 6.1 โครงการออกแบบและวางผังภู มิส ถาปั ตยกรรม สนามกอล์ฟ บ้า นสันโค้งงาม จังหวัด เชียงราย พื้นที่ท้ งั หมด 889 ไร่ โดยมีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ที่ดินของราษฎรมีการครอบครองแต่ไม่มีโฉนด ทิศใต้ ติดต่อกับ หนองน้ าสาธารณะและแม่น้ าเผือ ทิศตะวันตก ติดต่อกับ แม่น้ ากกความยาวประมาณ 4.2 กิโลเมตร ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ถนนลาดยางไปถึงอาเภอ เวียงเชี ยงรุ ้ง และหมู่บา้ นสันโค้ง งาม 7. บรรณานุกรม จรั สพิ มพ์ บุ ญญานันต์. 2556. คู่ มือการดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ หลักสู ตรภู มิสถาปั ตยกรรมศาสตร บัณฑิต. ปรับปรุ งครั้งที่ 4. เชียงใหม่: มหาวิยาลัยแม่โจ้ (7 กุมพาพันธ์ 2560) พล ภูเก็ต. 2554. “ประวัติกีฬากอล์ฟไทย” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่ มา http://www.golfprojack.com (16 กุมพาพันธ์ 2560) ประกาศขายที่ดินขนาดใหญ่ติดน้ ากกจังหวัดเชียงราย 889 ไร่ . 2558.“ขอบเขตที่ดิน” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://www.realtorchiangmai.com (27 มกราคม 2560). โดยข้าพเจ้ายินดี ที่จะปฏิ บตั ิ ตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. ( นาย ธนัช พรพลวัฒน์ ) 21 / ก.พ. / 2560


SITE SELECTION

ตำรำงสรุ ปกำรให้ คะแนนในแต่ ละพื้นที่

หมายเหตุ น้ าหนักคะแนนคือระดับความสาคัญของหลักเกณฑ์ ดังนี้ A (4), B (3), C (2), D (1)




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมสิ ถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวธันย์ชนก ตัณฑชน รหัส 5619102510 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภู มิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 130 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.23 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภู มิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบปรับปรุ งแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศป่ าชายเลนและวิถีชุมชน บ้านบางพัฒน์ ตาบลบางเตย อาเภอเมือง จังหวัด พังงา 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) Landscape Design and Improvement of Mangrove Ecotourism Site and Bang Pat Community, Bang Toei, Muang, Phang-nga 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จังหวัดพังงาเป็ นหนึ่ งในจังหวัดท่ องเที่ ยวของประเทศไทย มีทรั พยากรธรรมชาติ ที่สวยงามที่ ดึงดูดนักท่องเที่ยวให้มาเยี่ยมชม ไม่ว่าจะเป็ น ทะเล เกาะ ถ้ า นอกจากทรัพยากรเหล่านี้ ยังมีทรัพยากรที่สาคัญและ สวยงามนัน่ คือ ป่ าชายเลน มีเนื้ อที่คิดเป็ นร้อยละ 57 ของพื้นที่ท้ งั หมด เนื่ องจากจังหวัดพังงามีสภาพภูมิอากาศและ ภู มิประเทศที่ เหมาะกับการเกิ ด ป่ าชายเลน จึ งทาให้ผืนป่ าชายเลนบริ เวณนี้ กลายเป็ นป่ าชายเลนที่ ใหญ่ที่สุดใน ประเทศไทย พืชพรรณส่ วนใหญ่เป็ นโกงกาง แสม ตะบูน จาก อีกทั้งยังเป็ นแหล่งทรั พยากรที่ สาคัญต่อวิถีชีวิต ชาวประมงพื้นบ้าน เป็ นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น้ า เช่น ปู ปลา กุง้ หอยและเป็ นแนวกันคลื่นลมให้กบั หมู่บา้ นบริ เวณ ชายฝั่ง ป่ าชายเลนของตาบลบางเตย อาเภอเมือง จังหวัดพังงา ในอดี ตมีความสมบูรณ์มาก ประมาณปี พ.ศ. 2530 รั ฐได้เ ปิ ดสัมปทานเหมื องแร่ แ ละเตาถ่ า น ส่ งผลให้ป่าชายเลนบริ เ วณนี้ ไ ด้รั บความเสี ย หาย จึ งเกิ ด แนวความคิดที่จะปลูกป่ าเพื่อฟื้ นฟูและทดแทนของเดิมที่เสี ยไป เมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ.2544 สมเด็จพระนางเจ้า สิ ริกิต์ ิ พระบรมราชิ นีนาถ ได้เสด็จพระราชดาเนิ นไปเยี่ยมราษฎรในท้องที่ บ้านกลาง-บางพัฒน์ ตาบลบางเตย อาเภอเมือง จังหวัดพังงา เพื่ อทราบถึงสภาพความเป็ นอยู่ การประกอบอาชี พและการดู แลรักษาป่ าชายเลนของ ชุมชนจนได้พระราชทานธงพิทกั ษ์ป่าเพื่อรักษาชี วิต และทรงได้รับทราบว่าชุมชน มีความต้องการจะสร้างทางเดิน เท้าเข้าไปในพื้ นที่ ป่าชายเลน เพื่อเป็ นแหล่งให้ผูส้ นใจได้เยี่ยมชม ศึ กษา ค้นคว้า วิจยั ช่ วยส่ งเสริ มเศรษฐกิ จการ ท่องเที่ ยวเชิ งนิ เวศและช่ วยอนุ รักษ์ ฟื้ นฟูป่าชายเลนให้อุดมสมบูรณ์ดงั เดิ ม จึ งได้จดั ตั้งศูนย์ศึกษาธรรมชาติ บา้ น


กลาง-บ้านบางพัฒน์ ตาบลบางเตย อาเภอเมือง จังหวัดพังงา ขึ้นโดยมีหน่วยงานสถานีพฒั นาทรัพยากรป่ าชายเลนที่ 21 ส่ วนบริ หารจัดการทรัพยากรป่ าชายเลนที่ 6 กรมทรั พยากรทางทะเลและชายฝั่ ง เป็ นผูด้ ูแลรับผิดชอบ แต่ใน ปัจจุบนั โครงการขาดการพัฒนา ปรับปรุ งและถูกทิ้งให้เสื่ อมโทรม ทาให้ไม่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยว จากเหตุผลข้างต้นดังกล่าวจึงได้เลือกพื้นที่โครงการศูนย์ศึกษาธรรมชาติบา้ นกลาง-บ้านบางพัฒน์ ตาบลบางเตย อาเภอเมือง จังหวัดพังงา เสนอให้เป็ นแหล่งท่องเที่ ยวเชิ งนิ เวศและอนุ รักษ์ป่าชายเลน สาหรับเป็ น แหล่งเรี ยนรู ้ ศึกษา ค้นคว้า วิจยั ช่วยส่ งเสริ มเศรษฐกิจการท่องเที่ยวเชิ งนิเวศให้กบั ชุมชน ช่วยอนุรักษ์ ฟื้ นฟูป่าชาย เลนให้สวมงามและอุดมสมบูรณ์ เพื่อรองรับแผนยุทธศาสตร์ พ ัฒนาจังหวัดพังงาปี พ.ศ. 2557 -2560 ที่มีวิสัยทัศน์ จังหวัดให้เป็ น “ ศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เกษตรกรรมยัง่ ยืน สังคมแห่งการเรี ยนรู ้ สู่ คุณภาพชีวิตที่ดี ” 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นการอนุรักษ์ ฟื้ นฟู พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติป่าชายเลนที่มีคุณค่า และ เป็ นแหล่งเพาะพันธุ์ อนุบาลสัตว์น้ าซึ่ งเป็ นทรัพยากรที่สาคัญของชุมชนบ้านบางพัฒน์ 4.1.2 เพื่ อ เป็ นแหล่ ง การเรี ยนรู ้ ศึ ก ษาค้น คว้า ระบบนิ เ วศป่ าชายเลน ที่ มี ค วาม หลากหลายทางชีวภาพ แก่ผทู ้ ี่สนใจ ยกระดับเศรษฐกิจชุมชนให้มีความยัง่ ยืนและส่ งเสริ มรายได้แก่ชุมชน 4.1.3 เพื่อส่ งเสริ มการท่องเที่ยวเชิงนิเวศและอนุรักษ์ธรรมชาติของจังหวัดพังงา 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 ศึกษาการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมเพื่อแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและ อนุรักษ์ป่าชายเลน 4.2.2 เพื่อศึกษาการอนุรักษ์และแนวทางการฟื้ นฟูทรัพยากรธรรมชาติป่าชายเลน 4.2.3 เพื่อศึกษาข้อมูล ด้านประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชนมุสลิมบ้านบางพัฒน์ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั ของโครงการ บ้า นกลาง-บ้า นบางพัฒน์ ตาบล บางเตย อาเภอ เมื อ ง จัง หวัด พังงา ขนาดพื้ น ที่ ประมาณ 560 ไร่ ห่างจากถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4311 (สายพังงา-ทับปุด) เข้าไปในพื้นที่ 10 กิโลเมตร


โครงการออกแบบปรับปรุ งแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศป่ าชายเลนและวิถีชุมชนบ้านบางพัฒน์ ตาบลบางเตย อาเภอเมือง จังหวัดพังงา แผนที่ 1 แสดงแผนที่อาเภอเมืองพังงา ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/จังหวัดพังงา สัญลักษณ์ : ที่ต้ งั โครงการ ขอบเขตอาเภอเมืองพังงา ขอบเขตจังหวัดพังงา มาตราส่ วน: NOT TO SCALE


ไปทับปุด -กระบี่

เข้าเมือง-ภูเก็ต

โครงการออกแบบปรับปรุ งแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศป่ าชายเลนและวิถีชุมชนบ้านบางพัฒน์ ตาบลบางเตย อาเภอเมือง จังหวัดพังงา แผนที่ 2 แสดงที่ต้ งั โครงการระดับตาบล ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth สัญลักษณ์ :

ที่ต้ งั โครงการ ถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4311 (สายพังงา-ทับปุด) ถนนทางหลวงชนบทหมายเลข พง3008 (บ้านเขาเฒ่า-บ้านบางพัฒน์)

มาตราส่ วน: NOT TO SCALE


130 ไร่ 430 ไร่

โครงการออกแบบปรับปรุ งแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศป่ าชายเลนและวิถีชุมชนบ้านบางพัฒน์ ตาบลบางเตย อาเภอเมือง จังหวัดพังงา แผนที่ 3 ขอบเขตพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth สัญลักษณ์ : ขอบเขตพื้นที่โครงการ ถนนทางหลวงชนบทหมายเลข พง3008 มาตราส่ วน: NOT TO SCALE


5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 โครงการเป็ นพื้นที่เดิมที่มีอยูแ่ ล้ว 5.2.2 เป็ นที่ต้ งั ของชุมชนที่ มีวิถีชีวิตสัมพันธ์กบั ป่ าชายเลนและได้รับรางวัล ธงพิทกั ษ์ ป่ าเพื่อรักษาชีวิต 5.2.3 โครงการตั้งอยู่ใ นเส้นทางการท่ องเที่ ย วที่ เ ชื่ อมต่ อไปยังจังหวัด พังงาเองและ จังหวัดใกล้เคียง 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่โครงการออกแบบปรับปรุ งแหล่งท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศป่ าชายเลนและวิถีชุมชนบ้านบางพัฒน์ ตาบลบางเตย อาเภอเมือง จังหวัดพังงา ทิศเหนือ ติดต่อกับ คลองลัดบ้านเกาะเคี่ยม หมู่ที่ 5 ทิศใต้ ติดต่อกับ อ่าวพังงาบ้านใต้ หมู่ที่ 9 ทิศตะวันออก ติดต่อกับ คลองบ่อแสนบ้านใต้ หมู่ที่ 9 ทิศตะวันตก ติดต่อกับ คลองบางลิงบ้านบางพัฒน์ 7. บรรณานุกรม Phuket bulletin. "ป่ าชายเลนบ้านหลังใหญ่ของชาวพังงา" [ระบบออนไลน์ ]. แหล่ งที่ มา http://www.phuketbulletin.co.th/Travel/view.php?id=1082 (29 มกราคม 2560) โดยข้ า พเจ้ า ยิ น ดี ที่ จ ะปฏิ บั ติ ต ามหลัก และวิ ธี ด าเนิ น งานวิ ท ยานิ พ นธ์ ของคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ) (นางสาวธันย์ชนก ตัณฑชน) 20 / กุมภาพันธ์ / 2560


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร


คาร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวเนตรชนก เรืองจ้อย รหัส 5619102511 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิต สะสม 130 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.14 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่อง (ภาษาไทย)โครงการออกแบบและปรับปรุงชุมชนริ มน้าย่านบ้านท่านา อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม 2. หัวข้อเรื่อง (ภาษาอังกฤษ) Landscape architectural design and improvement Project of the waterfront communities, Ban Thana Districts, Nakhon Chai Si, Nakhon Pathom 3. ความเป็นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ชุ ม ชนบ้ า นท่ า นา อยู่ ใ นต าบลนครชั ย ศรี อ าเภอนครชั ย ศรี จั ง หวั ด นครปฐม เป็ น พื้ น ที่ ประวัติศาสตร์มีการอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานของผู้คนหลากหลายเชื้อชาติ เช่น ไทย จีน เขมร สาเหตุเกิดจากความ แห้งแล้งขึ้นในเมืองนครปฐม เพราะกระแสน้าเปลี่ยนเส้นทาง ประชาชนจึงอพยพมาตั้งหลักแหล่งอยู่ริมน้าและ สร้างเมืองใหม่ขึ้น ชื่อนครชัยศรี จนกระทั่งในสมัยรัชกาลที่ 5 จึงกลายเป็นย่านค้าขายที่สาคัญ เนื่องจากด้วยทาเลที่ อยู่ติดริมแม่น้าท่าจีนจึงสะดวกต่อการคมนาคมค้าขายทางเรือ เส้นทางการเดินเรือสาหรับการค้าขายคือ เรือเข้ามา ทางอ่าวไทย เข้ามาทางสมุทรสาครผ่านแม่น้านครชัยศรี แลกเปลี่ยนสินค้ากันที่บ้านท่านาบริเวณตลาดต้นสน และ ล่องเรือผ่านคลองเจดีย์บูชาเพื่อไปค้าขายที่จังหวัดอื่นๆ ชุมชนท่านาในอดีตนั้นมีชื่อเสียงด้านการค้าขายสินค้าด้าน การเกษตรและอาหาร เพื่อจาหน่ายไปยังจังหวัดอื่นๆ ปัจจุบันชุมชนบ้านท่านาเป็นย่านพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยเพียงไม่กี่ชุมชนที่ยังคงหลงเหลือวิถี ชีวิตและวัฒนธรรมริมน้า ประกอบไปด้วยตลาดที่ สาคัญในชุมชนบ้านท่า นา คือตลาดท่านา และตลาดต้นสน มี สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นริมน้า ที่มีคุณค่าทางด้านประวัติศาสตร์ เป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพในการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และเป็นแหล่งเศรษฐกิจที่สาคัญ แต่ยังไม่สามารถดึงศักยภาพที่มีเพื่อทาให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้ และยังไม่มีการ จัด การพื้ น ที่ร องรั บกิ จกรรมและเส้ นทางส าหรั บ นั กท่ องเที่ ย ว การอนุ รั ก ษ์ ฟื้ นฟู ส ถาปั ตยกรรมพื้ นถิ่น ริ มน้ า สภาพแวดล้อมโดยรอบส่งผลให้ชุมชนเสื่อมโทรมทาให้เกิดปัญหานักท่องเที่ยวเที่ยวในระยะเวลาสั้นๆ จากความสาคั ญดังกล่า วทาให้โ ครงการออกแบบและปรับปรุงชุ มชนริมน้ าเป็นแนวทางกา ร พั ฒ นาชุ มชนริ มน้ า ให้ เ ป็นแหล่งท่องเที่ ย งและเป็นแหล่งเรี ย นรู้ เ ชิ งวัฒ นธรรมที่ส ามารถเก็ บรั กษามรดกทาง


วัฒนธรรม วิถีชีวิตอันเป็นเอกลักษณ์ของชุมชนไว้ พร้อมทั้งส่งเสริมศักยภาพของพื้นที่เพื่อดึงดูดกลุ่มนักท่องเที่ยว ให้เข้ามาศึกษาและมาสัมผัสวิถีชีวิตชุมชนริมน้า ซึ่งสอดคล้องกับแผนนโยบายการท่องเที่ยวของจังหวัดนครปฐมที่ ส่งเสริมด้านการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์วัฒนธรรม 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 อนุรักษ์ ฟื้นฟูชุมชนริมน้า เพื่อพัฒนาชุมชนเป็นแหล่งท่องเที่ยว แหล่งเรียนรู้ เชิงวัฒนธรรมที่สาคัญ 4.1.2 เพื่ อปรั บปรุ งภู มิทัศ น์ และสภาพแวดล้อมชุ ม ชนบ้า นท่า นา ส าหรั บรองรั บ กิจกรรมที่เกิดขึ้นในย่านท่านา 4.1.3 เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมชุมชนริมน้าบ้านท่านา ซึ่งสอดคล้อง กับแผนนโยบายการท่องเที่ยวของจังหวัดนครปฐม ที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 4.2 วัตถุประสงค์หรือประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบวางผั งชุมชนริมน้าที่ยังคงเอกลักษณ์และวิถี ชีวิตของชุมชนริมน้าท่าจีน 4.2.2 ศึกษากระบวนการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ออกแบบวางผังภูมิทัศน์ชุมชนริมน้าดั้งเดิม เพื่อรองรับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 4.2.3 ศึกษาการออกแบบชุมชนเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน


5. สถานที่ตั้งของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ตั้งโครงการ (แสดงแผนผังที่ตั้งโครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชัดเจนและ/หรือภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1.1 ที่ตั้งโครงการ ตั้งอยู่ในตาบลนครชัยศรี อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ติดกับแม่น้าท่าจีน อยู่ห่างจากตัวเมืองจังหวัด นครปฐม ประมาณ 12 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร (ปิ่นเกล้า - นครชัยศรี) ประมาณ 41 กิโลเมตร

โครงการออกแบบและปรับปรุงชุมชนริมน้าย่านตลาดท่านาและตลาดต้นสน อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม แผนที่ 1 ที่ตั้งโครงการ สัญลักษณ์ ที่ตั้งโครงการ สถานีรถไฟนครชัยศรี ถนนเพชรเกษม ถนนทางหลวงหมายเลข 3094 ถนนธรรมสพน์ ถนนหมายเลข 4006 Not to scale แม่น้าท่าจีน คลองเจดีย์บูชา ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth


5.1.2 ขอบเขตพื้นที่โครงการ

โครงการออกแบบและปรับปรุงชุมชนริมน้าย่านตลาดท่านาและตลาดต้นสน อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม แผนที่ 2 ขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ถนนทางหลวงหมายเลข 3094 ถนนธรรมสพน์ ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth

Not to scale

5.2 เหตุผลในการเลือกที่ตั้งโครงการ ชุมชนบ้านท่านาเป็นพื้นที่ที่มีความสาคัญและมีเอกลักษณ์ของชุมชน นับเป็นพื้นที่ประวัติศาสตร์ และเป็นย่านเศรษฐกิจที่สาคัญของจังหวัด ชุมชนบ้านท่านาเป็นเพียงไม่กี่ชุมชนที่ยังหลงเหลือสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น ริมน้าที่ยังคงเก็บรักษาเอกลักษณ์ของวิถีชีวิตชุมชนริมน้าเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่ควรอนุรักษ์ไว้ ซึ่งสอดคล้องกับ นโยบายของภาครัฐที่สนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จึงเป็นที่มาของการฟื้นฟูชุมชนย่านบ้านท่านาซึ่งเป็น แหล่งท่องเที่ยวและแหล่งเรียนรู้เชิงวัฒนธรรมที่สาคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดนครปฐม










คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย ปิ ยะ ปรัชญาทิ พากร รหัส 5619102513 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภู มิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 127 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.12 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พ นธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิ ต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบวางผัง ภู มิส ถาปั ตยกรรมสวนสนุ ก อิ มเมจิ เนชั่น พาร์ ค อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ 2. หั วข้ อ เรื่ อ ง (ภ าษ าอั ง กฤษ ) Landscape Architectural Design and Planning of Imagination Park, Sankampang, Chiang Mai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ปั จจุบนั อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวนั้นเป็ นอุตสาหกรรมที่มีความหลากหลาย และมีความสาคัญ ต่อเศรษฐกิ จไทยเป็ นอย่างมาก โดยการสร้างแรงจูงใจให้กบั นักท่องเที่ ยวที่ สนใจในรู ปแบบใหม่ เพื่ อคนท้องถิ่ น และนักท่องเที่ยว จากภายนอก ทั้งในและต่างประเทศ การสร้างสรรค์ในการสร้างพื้นที่ท่องเที่ยว แต่จากการอ่อนค่า ของเงิ นบาทไทย ทาให้อุต สาหกรรมการท่ องเที่ ยวภายในประเทศดึ งดู ดให้ชาวต่ างชาติ เข้ามาท่ องเที่ ยวเพิ่ มขึ้ น โดยเฉพาะในต่ า งจังหวัด ใหญ่ ๆ ในภู มิ ภ าคต่ า งๆ เช่ น จังหวัด เชี ย งใหม่ ในภาคเหนื อ ได้รั บ ความนิ ย มจาก นักท่ องเที่ ยวทั้งในและต่ างประเทศที่ ตอ้ งการพักผ่อนในวันหยุด เวลาว่างจากการทางาน ซึ่ งนับวันยิ่งทวีความ ต้องการมากขึ้ น โดยสถานที่ พกั ผ่อนสามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ประเภทคื อ สถานที่ ท่องเที่ ยวทางธรรมชาติ เช่ น อุทยาน ทะเล และสถานที่ท่องเที่ยวที่ มนุ ษย์สร้างขึ้นตามลักษณะความต้องการพิเศษ เช่น สวนสนุก สวนน้ า สวน สัตว์ เป็ นต้น ทาให้เศรษฐกิจไทยสามารถขยายตัวได้ดีข้ ึน ภาคอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวจะพื้นตัวไปในทางที่ดีข้ ึน เช่นกัน เชี ยงใหม่เป็ นเมืองสาคัญ 1 ใน 3 ของประเทศ รองลงมาจากกรุ งเทพมหานคร ที่ คนทัว่ โลกรู ้จกั เป็ นเมืองอาดับที่ 2 ที่เติบโตคู่กบั จังหวัดนครราชสี มา มีผคู ้ นอาศัยนับล้านคน ด้วยสภาพความเจริ ญคล้ายเมืองหลวง ภูมิประเทศ เป็ นภู เขาป่ าไม้ อากาศดี มีสนามบิ นซึ่ งสะดวกแก่การคมนาคมและเป็ นเมื องแห่ งศิ ลปะของประเทศ อาเภอสันกาแพง เป็ นอาเภอหนึ่งในเขตปริ มณฑลของนครเชียงใหม่ อีกทั้งเป็ นเมืองที่มีการคมนาคมที่สะดวกสบาย สาธารณู ปโภคพร้อม มีแหล่งท่องเที่ ยวที่ ผูค้ นสามารถไปท่ องเที่ ยวยังสถานที่ ต่างๆได้ง่าย โดยปั จจุบนั ที่ มีความ เจริ ญเติบโตอย่างรวดเร็ ว มีการพัฒนาทุก ๆ ด้าน เป็ นอาเภอที่มีสถานที่ท่องเที่ยว ที่พกั มากมาย และเนื่องจากทางให้


ความสาคัญมากในการส่ งเสริ มการพัฒนาด้าน เศรษฐกิจให้เจริ ญรุ่ งเรื อง โดยกระตุน้ ให้เกิ ดการค้า การลงทุน การ ท่องเที่ยว ทั้งในระดับชาติและนานาชาติ โดยเฉพาะประเทศในกลุ่มอาเซี ยน ประกอบกับแผนโครงการขนาดใหญ่ ในอนาคตของ คสช. สนามบินลาพูน ที่สะดวกแก่การคมนาคมและรองรับการเติบโตภาคเศรษฐกิจในอนาคต อุตสาหกรรมบัน เทิ ง เพื่ อ การท่ องเที่ ย วนั้น อาทิ เช่ น Games Animation และ Digital หรื อ สื่ อ ภาพยนตร์ กาลังเป็ นที่นิยมอย่างมาก และยังช่วยกระตุน้ เศรษฐกิจได้เป็ นอย่างดี โดยที่ อิมเมจิเนชัน่ พาร์ ค เป็ นแหล่ง รวมของ จิตนาการฉากของภาพยนตร์ โดยได้มีการผสมผสานระหว่างสวนสนุก สตูดิโอภาพยนตร์ ช็อปปิ ง แสดง โชว์รวมถึงเป็ นที่พกั สาหรับนักท่องเที่ยว ที่ให้ความรู ้สึก ประสบการณ์ ที่แปลกใหม่ ทางผูจ้ ดั จึงมีแนวคิดที่จะจัดทา โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมสวนสนุ ก อิมเมจิ เนชัน่ พาร์ ค ขึ้นจากการลงทุนของบริ ษทั เอกชนและ นักลงทุน ซึ่ งโครงการนี้ จะเป็ นการช่วยกระตุน้ เศรษฐกิจของเมืองเชี ยงใหม่ อีกทั้งยังช่วยดึงดูดนักท่องเที่ยวทั้งชาว ไทยและต่ างประเทศเข้ามายังพื้ นที่ มากขึ้ น ซึ่ งส่ งผลดี ในด้านเศรษฐกิ จด้านสังคมและด้านอื่นๆให้กบั อาเภอสัน กาแพงและภาคเหนือมากขึ้น 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เป็ นสถานที่ ท่องเที่ ยว ที่ พกั ที่ ให้ความรู ้ และความบันเทิ ง แก่นักท่องเที่ ยวทั้งใน และต่างประเทศ 4.1.2 เพื่อเป็ นสถานที่เช่า ถ่ายทาภาพยนตร์ 4.1.3 เป็ นการสร้ า งสถานที่ ท่ อ งเที่ ย วรู ป แบบใหม่ ข องจังหวัด เชี ย งใหม่ และสร้ า ง ชื่อเสี ยงให้แก่จงั หวัดเชียงใหม่ ภูมิภาคและประเทศ 4.1.4 เป็ นแหล่งสร้างงานและรายได้ให้กบั ระดับจังหวัดและภูมิภาค 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 ศึ กษาการวางผังบริ เวณและการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมและรายละเอี ยดของ โครงการประเภทสวนสนุก 4.2.2 ศึ กษาการออกแบบพื้ นที่ ความเป็ นไปได้ของโครงการ ให้เหมาะแก่ การใช้งาน เพื่อให้ได้ประโยชน์ในพื้นที่ ทั้งด้านกิจกรรม เศรษฐกิจ สังคม และอื่นๆ ที่จะเกิดขึ้นในสวนสนุก 4.2.3 ศึกษาการออกแบบ การวางผังสถานที่ถ่ายทาภาพยนตร์และที่พกั


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง)

อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 1 แสดงแผนผังบริ เวณที่ต้ งั โครงการ

ที่มา: ดัดแปลงจาก https://maps.google.com/ สัญลักษณ์

พื้นที่โครงการ

มาตราส่ วน Not to scale


โครงการออกแบบวางผังและภูมิสภาปัตยกรรมสวนสนุก อิมเมจิเนชัน่ พาร์ค อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ แผ่ นที่ 2 แสดงที่ต้ งั โครงการ ที่มา: ดัดแปลงจาก https://maps.google.com/ สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการ ถนนสาย 1317 ถนนสาย1147 ถนนสาย 1006

มาตราส่ วน

Not to scale


โครงการออกแบบวางผังและภูมิสภาปัตยกรรมสวนสนุก อิมเมจิเนชัน่ พาร์ค อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ แผ่ นที่ 3 แสดงการเชื่อมโยงของพื้นที่โครงการ ที่มา: ดัดแปลงจาก https://maps.google.com/ สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการ แหล่งท่องเที่ยว

มาตราส่ วน Not to scale


5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ พื้นที่ โครงการตั้งอยู่ทางทิ ศเหนื อของถนนทางหลวงหมายเลข 1317 ตาบลสันกาแพง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 การคมนาคมและสภาพการจราจร สามารถเดินทางเข้าถึงพื้นที่ได้สะดวก โดยติด กับถนนเส้นหลัก (4ช่องการจราจร มีเกาะกลาง) ทางสัญจรเข้าถึงได้ง่าย ใกล้สถานที่ท่องเที่ยว พักผ่อน 5.2.2 สภาพโครงการเป็ นพื้นที่โล่ง กว้างขนาดใหญ่ เป็ นพื้นที่ที่ปลอดภัย ไม่เสี่ ยงต่อภัย พิบตั ิหรื อรอยเลื่อนตามธรรมชาติ 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่ท้ งั หมด ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก

400 ไร่ ติดกับ ติดกับ ติดกับ ติดกับ

ชุมชนสันกาแพงปาร์ควิว และ ที่ดินเอกชน ที่ดินเอกชน และ ถนนทางหลวงหมายเลข 1317 บ้านพักอาศัย และ ที่ดินเอกชน ที่ดินเอกชน

7. บรรณานุกรม ประกาศขายที่ดินขนาดใหญ่จงั หวัดเชียงใหม่ 400 ไร่ . 2558.“ขอบเขตที่ดิน” [ระบบออนไลน์] http://www.ddproperty.com/property/ (27 มกราคม 2560). โดยข้าพเจ้ายินดี ที่จะปฏิ บัติตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พ นธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


SITE SELECTION

โครงการออกแบบวางผังและภูมิสภาปัตยกรรมสวนสนุก อิมเมจิเนชัน่ พาร์ค อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ แผ่ นที่ 4 แสดงที่ต้ งั และขอบเขตโครงการ มาตราส่ วน ที่มา: ดัดแปลงจาก https://www.google.com/earth/

Not to scale


ตำรำงสรุ ปกำรให้ คะแนนในแต่ ละพื้นที่ เกณฑ์/ภาค

คะแนน

Accessibility Shape Appoach View Surrounding Lingkage Public Facilities / Public Utilities รวมคะแนน

6 3 4 3 3 4 2 25

SITE 1 ระดับ คะแนน B 18 B 9 B 12 A 12 B 9 B 12 B 6 78

หมายเหตุ น้ าหนักคะแนนคือระดับความสาคัญ ของหลักเกณฑ์โดยมีแบ่งดังนี้ A (excellent) 4 point B (very good) 3 point C (fairy good) 2 point D (poor) 1 point

SITE 2 ระดับ คะแนน A 24 A 12 A 16 A 12 B 9 B 12 B 6 91

SITE 3 ระดับ คะแนน C 12 B 9 C 8 A 12 B 9 C 8 B 6 64


SITE 1 : อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ พื้นที่โดยรอบติดกับพื้นที่ทาการเกษตร ที่ดินเอกชน และ โรงแรมที่พกั ลักษณะของพื้นที่เป็ นพื้นที่ราบ มีบ่อน้ าภายในพื้นที่

SITE 2 : อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ พื้นที่โดยรอบเป็ นที่ดินเอกชน บ้านพักอาศัย และ ติดถนนทางหลวงหมายเลข 1317 ลักษณะของพื้นที่เป็ นพื้นที่ราบ ทาการเกษตร

SITE 3 : อาเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ ลักษณะของพื้นที่เป็ นทาการเกษตร และ มีบ่อน้ าภายในพื้นที่



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว พิชชาพร รัตนานนท์ รหัส 5619102514 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 130 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.47 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมพิ พิธภัณ ฑ์ธรรมชาติ วิทยา เขตทวีวฒั นา จังหวัดกรุ งเทพมหานคร 2. หั ว ข้ อ เรื่ อง (ภาษาอั ง กฤษ) Landscape Architectural Design and Planning Project of the Natural History Museum, Thawiwatthana, Bangkok. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ กรุ งเทพมหานครเป็ นเมื อ งหลวงของประเทศไทย ซึ่ งเป็ นศู น ย์ก ลางความเจริ ญทุ ก ด้ า น ที่มีนโยบายการพัฒนาระดับประเทศของภาครัฐ ด้านการศึกษาเป็ นสิ่ งสาคัญอันดับต้นๆที่จะทาให้ประเทศสามารถ พัฒ นาในด้า นต่ า งๆต่ อ ไปได้ กรุ งเทพมหานครได้ชื่ อ ว่ า เป็ นศู น ย์ก ลางทางด้า นการศึ ก ษาของประเทศ จึ ง มี สถานศึกษาทั้งของภาครัฐและเอกชนอยูเ่ ป็ นจานวนมากที่สุดในประเทศ ปัจจุบนั การศึกษาไม่ได้มีเพียงการศึกษาภายในสถานศึกษาเท่านั้น การศึกษานั้นสามารถเรี ยนรู ้ได้ จากการที่ สัมผัส เห็น ทดลอง ลงมือปฏิบตั ิ จากแผนพัฒนาพื้นที่เขตทวีวฒั นาในการเพิ่มพื้นที่สาหรับการศึกษาตาม อัธยาศัย ให้ แ ก่ เด็ ก เยาวชน และประชาชนในพื้ น ที่ จึ งได้มี ก ารด าเนิ น การตามแผนพัฒ นากรุ งเทพมหานคร ระยะ 12 ปี (พ.ศ.2552-2563) และระยะ 20 ปี (พ.ศ.2556-2575) คือให้กรุ งเทพมหานครเป็ นมหานครแห่ งการเรี ยนรู ้ ภายใต้ก ารเป็ นมหานครน่ าอยู่อย่า งยัง่ ยื น โดยมี โ ครงการพัฒ นาหรื อ จัด ตั้งแหล่ งเรี ย นรู ้ ต ามอัธ ยาศัย ในพื้ น ที่ กรุ งเทพมหานคร และปลูกฝัง สร้างทัศนคติที่ดีให้กบั เยาวชนในการดูแลและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ซึ่ งพิ พิ ธ ภัณ ฑ์ธ รรมชาติ วิท ยา เขตทวี วฒ ั นาแห่ งนี้ จะเป็ นศู น ย์ร วมความรู ้ แ ละจิ น ตนาการที่ สามารถจะกระจายความรู ้ให้เด็กและเยาวชนในกรุ งเทพมหานคร ปริ มณฑลได้เข้ามาศึกษาเรี ยนรู ้ภายในพิพิธภัณฑ์ ธรรมชาติ วิท ยา หรื อ Natural History Museum ซึ่ งสถานที่ ที่ จะรวบรวมความรู ้ ข ้อ มู ล ทางด้า นวิท ยาศาสตร์ ที่ เกี่ ยวข้องกับการกาเนิ ดสิ่ งมี ชีวิต วิวฒั นาการของสิ่ งมี ชีวิต และระบบนิ เวศ พิ พิ ธภัณ ฑ์แห่ งนี้ จะกลายเป็ นแหล่ง ท่องเที่ยวที่สาคัญอีกแห่งหนึ่งของกรุ งเทพมหานคร และปริ มณฑล


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่ อ เป็ นแหล่ งเรี ย นรู ้ แ ละเสริ ม สร้ า งศัก ยภาพทางด้า นธรรมชาติ วิ ท ยา และ ความคิดสร้างสรรค์ ให้แก่เด็ก เยาวชน ตลอดจนประชาชนที่สนใจ 4.1.2 เพื่อเป็ นศูนย์รวบรวมวัสดุจดั แสดงทางด้านธรรมชาติวิทยาของประเทศไทยและ ประเทศใกล้เคียง 4.1.3 เพื่ อ พัฒ นาพื้ น ที่ ให้เป็ นพื้ น ที่ นัน ทนาการ พักผ่อน และเป็ นแหล่ งท่ องเที่ ย วที่ สาคัญที่สามารถเสริ มสร้างพัฒนาความรู ้และความคิดสร้างสรรค์ให้แก่เด็กและเยาวชน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อ ศึ ก ษากระบวนการออกแบบและวางผัง ภู มิ ส ถาปั ต ยกรรม พิ พิ ธ ภัณ ฑ์ ธรรมชาติวิทยา 4.2.2 เพื่ อศึ กษาและทาความเข้าใจความสัมพันธ์ ระหว่างรู ป แบบกิ จกรรมและกลุ่ ม ผูใ้ ช้งาน ในงานวางผังภูมิสถาปัตยกรรม 4.2.3 ศึกษาข้อมูลทางด้านธรรมชาติวิทยา เพื่อนามาใช้ในการออกแบบและวางผังงาน ภูมิสถาปัตยกรรม 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดยสังเขป ข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ ตั้งอยูต่ ิดถนนบรมราชชนนี เขตทวีวฒั นา กรุ งเทพมหานคร 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 เขตทวีวฒั นาได้มีแผนนโยบายที่ จะเพิ่ มแหล่งเรี ยนรู ้ด ้านระบบนิ เวศให้แก่ ค น ในพื้นที่ 5.2.2 พื้นที่ต้ งั ของโครงการเข้าถึงได้ง่าย เนื่องจากอยูต่ ิดถนนสายหลัก คือ ถนนบรมราชชนนี 5.2.3 ที่ต้ งั โครงการล้อมรอบไปด้วยสถาบันการศึกษาหลายแห่งทั้งในเขตกรุ งเทพ และ ปริ มณฑล


โครงการออกแบบและวางผังพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา เขตทวีวฒั นา กรุ งเทพมหานคร มาตราส่ วน แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั และขอบเขตพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงมาจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth NOT TO SCALE

โครงการออกแบบและวางผังพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา เขตทวีวฒั นา กรุ งเทพมหานคร มาตราส่ วน แผนที่ 2 แสดงที่ต้ งั และขอบเขตพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงมาจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและวางผังพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา เขตทวีวฒั นา กรุ งเทพมหานคร มาตราส่ วน แผนที่ 3 แผนที่แสดง Site Lingkage สถำนศึกษำ ที่มา : ดัดแปลงมาจากภาพถ่ายทางอากาศ Longdo Map NOT TO SCALE



โครงการออกแบบและวางผังพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา เขตทวีวฒั นา กรุ งเทพมหานคร มาตราส่ วน แผนที่ 4 แสดงที่ต้ งั และขอบเขตโครงการ ที่มา : ดัดแปลงมาจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth NOT TO SCALE ตารางสรุ ปการให้คะแนนในแต่ละพื้นที่ น้ าหนัก พื้นที่ 1 เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน คะแนน รวม การเข้าถึงพื้นที่ (Assessibility) 3 3 9 โครงข่ายถนน (Road network) 3 3 9 ทางเข้าโครงการ(Appoach) 4 4 16 มุมมอง (View) 6 5 30 พื้นที่โดยรอบ (Surrounding) 5 4 20 การเชื่อมโยงของพื้นที่ (Lingkage) 4 3 12 รวมคะแนน 25 96

พื้นที่ 2 คะแนน รวม 3 9 3 9 3 12 4 24 3 15 3 12 81

*หมายเหตุ เกณฑ์การให้คะแนนแบ่งเป็ น ดีมาก = 4 ดี = 3 พอใช้ = 2 ปรับปรุ ง = 1

พื้นที่ 3 คะแนน รวม 3 9 3 9 4 16 4 24 4 20 3 12 90


SITE 1: พื้นที่ ติดถนนบรมราชชนนี ลักษณะที่ เดิ มเป็ นที่ ว่างเปล่าติดกับบริ ษทั นิ่ มซี เส็ ง โลจิสติ กส์ จากัด และบางกอกโมเดอร์น แกรนิต บจก.

SITE 2: พื้ น ที่ ติ ด ถนนบรมราชชนนี ลักษณะเป็ นพื้ น ที่ ถูกทิ้ งร้ างมี ร้ ั วล้อม ติ ด กับ ชุ ม ชนและบางกอก โมเดอร์น แกรนิต บจก.

SITE 3: พื้นที่ติดถนนอักษะ ลักษณะเป็ นพื้นที่ ว่างเปล่ามีพ้ืนที่ร้านขายกล้วยไม้ผ่ากลางพื้นที่ ติดกับทุ่งนา และชุมชน



คาร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นายพิ ชญ์ เชี่ ยวสาริ กิจ รหัส5619102515 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภู มิส ถาปั ตยกรรมคณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อมศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่ วยกิ ตสะสม 133 หน่วยกิตคะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.93 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภู มิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ตโดยมี รายละเอี ยด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) : โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรม ชุมชนสะแกกรัง เพื่อเป็ น แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ อ.เมืองอุทยั ธานี จ.อุทยั ธานี 2.หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ): The Landscape Architectural Design and Planning Project of Sakaekrung, Ecology for Tourist Attraction MuangUthaithani, , Uthaithani. 3.ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จังหวัดอุทยั ธานีเป็ นหนึ่งในจังหวัดที่มีประวัติศาสตร์ มายาวนานเริ่ มตั้งแต่สมัยสุ โขทัยและกรุ งศรี อยุธยา มีความสาคัญเพราะถูกแต่งตั้งเป็ นหัวเมืองในสมัยพระเอกาทศรถและเป็ นเมืองท่าในการรับส่ งสิ นค้าก่อนถึง อยุธยา จึงเกิดเป็ น “ หมู่บา้ นสะแกกรัง” ขึ้ น ต่อมาสมัยรัชกาลที่3 มีชาวจีนอพยพมาตั้งรกรากจึ งเกิดเป็ นศูนย์กลาง ความเจริ ญแห่งใหม่ ทาให้ชุมชนขยายตัวจากชนบท สู่ ริมน้ าและผสานเข้ากับวิถีชีวิตเรื อนแพ ชุมชนเรื อนแพสะแกกรัง นั้นเป็ นอีกหนึ่ งวิถีชีวิตที่เป็ นเอกลักษณ์และเหลือที่สุดท้ายของประเทศ ไทยจึงมีความสาคัญในเชิงภูมิทศั น์วฒั นธรรม แต่ดว้ ยสภาพทางภูมิศาสตร์ ของพื้นที่ ตั้งแต่อดีตจนถึงปั จจุบนั ทาให้ ชุมชนเรื อนพสะแกกรังประสบภาวะน้ าท่วมและน้ าแล้ง แต่ละปี อย่างต่อเนื่ องกัน ทาให้ชุมชนสะแกกรังได้รับความ เสี ยหายทั้งด้านกายภาพื้นที่และเศรษฐกิจ หลังเหตุการณ์น้ าท่วมปี พ.ศ. 2554 ภาครัฐได้ทาการสร้างเขื่อนป้ องกันน้ า ท่วมยาว ตลอดแม่น้ าสะแกกรัง ผลที่ เกิดขึ้นคือเขื่อนได้ทาลายระบบนิ เวศเดิ ม ในลุ่มน้ าสะแกกรังไปจนเกือบหมด ทาให้วิถีชีวิตของชุมชนเรื อนแพสะแกกรังหายกาลังไป คนในพื้นที่บางส่ วนจึงเริ่ มอพยพออกไป เพื่อหาที่ต้ งั รกราก ที่ดีกว่า จากยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัดอุทยั ธานี (พ.ศ.2557-2560) ชุ มชนสะกกรังเป็ นหนึ่ งพื้นที่ ใน แผนพัฒนาหัวข้อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ แต่ไม่ได้ส่งผลลัพธ์ดา้ นเศรษฐกิจได้ดีเท่าที่ควร สาเหตุมาจาก โครงข่ายการ ท่ องเที่ ยวที่ อื่นๆที่ เชื่ อมกับชุ มชนน้อย รวมถึ งปั จจัยสภาพแวดล้อมทางน้ า และ ไม่ได้มีการพัฒนาวิถีชีวิตความ เป็ นอยูข่ องชุมชน การพัฒนาเศรษฐกิจของจังหวัดจึงลดน้อยลงไป


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม ชุมชนสะแกกรัง เพื่อเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศจึง เน้นถึงการฟื้ นฟูระบบนิ เวศเดิ มเพื่ อคงเอกลักษณ์ของพื้นที่ ที่ มีมาแต่ อดี ตของเมืองไว้ ควบคู่ไปกับการพัฒนาตัว ชุมชน เพื่อสร้างเศรษฐกิจที่มนั่ คง ทั้งระยะสั้นไปจนถึงระยะยาว และเป็ นโครงการที่น่าสนใจในการศึกษาเพื่อแก้ไข ปั ญหาเชิ งบริ บทพื้นที่ เพื่อชุ มชน รวมถึงมุง้ เน้นการฟื้ นฟูและส่ งเสริ มศักยภาพพื้นที่ เดิ ม เพื่อให้เกิ ดประโยชน์ต่อ ชุมชนในทุกๆด้านในปัจจุบนั จนถึงอนาคต 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อฟื้ นฟูระบบนิเวศเดิมของชุมชนและเป็ นการคงเอกลักษณ์ ชุมชนเรื อน แพไว้ 4.1.2 เพื่อแก้ไขและบรรเทาปัญหาภาวะน้ าท่วมน้ าแล้ง ของพื้นที่ 4.1.3 เพื่อพัฒนาคุณภาพชี วิตความเป็ นอยู่ของชุ มชนเดิ มและการเห็นคุณค่ า ของพื้นที่จากคนรุ่ นหลัง เพื่อกลับมาพัฒนาพื้นที่ให้มีเศรษฐกิจที่ดีข้ ึน 4.1.4 เพื่อพัฒนาเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 ศึกษาแนวทางการฟื้ นฟูระบบนิเวศริ มน้ า ที่เสี ยไปของพื้นที่ เพื่อนามาใช้ ในการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม 4.2.2 เพื่อศึกษาภาวะน้ าท่วมน้ าแล้งและวิธีการแก้ไขปัญหา 4.2.3 ศึกษาข้อมูลพื้นที่ดา้ น ประวัติศาสตร์ วิถีชีวิต และ วัฒนธรรม เพื่อการ ออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม 4.2.4 เพื่อศึกษาการออกแบบวางผังแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1 สถานที่ต้ งั ของโครงการ โครงการพื้นที่ ต้ งั อยู่ในบริ เวณเมื องจังหวัดอุทยั ธานี ส่ วนใหญ่เป็ นเขตพื้ นที่ ชุ มชนและเขตป่ า มี แม่น้ าสะแกกรังตัดผ่าน พื้นที่ ท้ งั หมด 517 ไร่ ตั้งอยู่ที่ ตาบล อุทยั ใหม่ และ ตาบลสะแกกรั ง อาเภอเมืองอุทยั ธานี จังหวัด อุทยั ธานี

โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรม ชุมชนสะแกกรั ง เพื่อเป็ นแหล่งท่องเที่ยว เชิงนิเวศ อ.เมืองอุทยั ธานี จ.อุทยั ธานี แผนที1่ แสดงที่ต้ งั โครงการ ที่มา : ดัดแปลงมาจาก https://www.google.co.th/maps สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ทางน้ าหลัก

มาตราส่วน ไม่มีมาตราส่วน

N


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม ชุมชนสะแกกรัง เพื่อเป็ นแหล่ง ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ อ.เมืองอุทยั ธานี จ.อุทยั ธานี แผนที่ 2 แสดงชื่อเส้นทางสัญจรบริ เวณโครงการ ที่มา : ดัดแปลงจาก https://www.arcgis.com/features/index.html สัญลักษณ์ถนน ถนน ศรี อุทยั ถนน ท่าช้าง ถนน มหาราช ซอย สะแกกรัง

มาตราส่ วน

ไม่มีมาตราส่ วน

N




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวพิมผกา ขัดทุ่งฝาย รหัส 5619102516 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิ ต สะสม 130 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.32 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภู มิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรับปรุ งเส้นทางท่องเที่ ยวเชิ งวัฒนธรรมนครลาปาง อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง 2 หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Improvement Project of Cultural Tourism Route of Nakhon Lampang, Mueang, Lampang 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ นครลาปาง เป็ นเมืองยุคที่3 ของเมืองเขลางค์นคร หรื อเมืองลาปางในยุครัตนโกสิ นทร์ โดยที่ได้ ขยายเมืองมายังฝั่งตะวันออกของแม่น้ าวัง สร้างขึ้นประมาณปี พ.ศ. 2330 - 2337 ในสมัยเจ้าคาโสม เจ้าผูค้ รองนคร องค์ที่ 2 สื บเนื่ องมาจากในสมัยของเจ้ากาวิละ เจ้าผูค้ รององค์ที่ 1 ได้ทาศึกสงครามใหญ่ป้องกันเมืองจากการที่พม่า ยกกาลังมารุ กรานถึง 2 ครั้ง ต่อเนื่องกันทาให้กาแพงเมือง ป้อมประการ ประตูเมือง ของเมืองรุ่ น 1 และรุ่ น 2 เสี ยหาย เป็ นอย่างมาก ประกอบกับเจ้ากาวิละได้มีการรวบรวมไพร่ พลจากเมืองอื่นๆ มาไว้ที่เมืองเขลางค์เป็ นจานวนมากเพื่อ เป็ นกาลังหลัก ในการทาสงครามกับพม่าจึงมีความจาเป็ นที่จะต้องขยายเมืองออกไปทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ าวัง ขึ้นอีกแห่ งหนึ่ งเป็ นเมืองเขลางค์นครรุ่ นที่ 3 หรื อนครลาปางมีพ้ืนที่ประมาณ 330 ไร่ มีกาแพงก่อด้วยอิฐยาว 1,900 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2351 ในสมัยเจ้าหอคาดวงทิพย์ (ปัจจุบนั อยูใ่ นแนวถนนรอบเวียง) นครลาปางได้ถูกประกาศให้เป็ นขอบเขตพื้นที่ เมืองเก่าจากสานักจัดการสิ่ งแวดล้อมธรรมชาติ และ ศิ ลปกรรม โดยปั จจุบนั เป็ นที่ ต้ งั ของ ศาลหลักเมือง พิพิธภัณฑ์จงั หวัดลาปาง ตลาดเมืองลาปาง โบราณสถานที่ สาคัญเช่ น วัดกลางเวียงหรื อวัดบุญวาทย์วิหาร วัดน้ าล้อม วัดป่ าดัว๊ ะ คูเมืองของนครลาปาง หรื อเมืองรุ่ นที่ 3 นั้น เหลือให้เห็นร่ องรอยบางช่ วง เฉพาะบริ เวณใกล้ ๆ หออะม๊อก (หอปื นใหญ่โบราณ) นอกจากนี้ ยงั มี “ถนนคนเดิ น กาดกองต้า”ที่จะมีข้ ึนทุกวันเสาร์-อาทิตย์ ตั้งอยูบ่ ริ เวณริ มแม่น้ าวัง ซึ่ งเป็ นย่านตลาดที่เก่าแก่ของจังหวัดลาปาง โดยมี อาคารเก่ าที่ น่าสนใจอยู่จานวนมาก ส่ งผลให้เกิ ด การท่ องเที่ ยวเชิ งวัฒนธรรมขึ้ น แต่ ในปั จจุ บนั เส้นทางในการ ท่องเที่ ยวเชิ งวัฒนธรรมยังไม่ปรากฏชัดเจนทาให้พ้ืนที่ ทางวัฒนธรรมบางส่ วนในนครลาปางไม่เป็ นที่ รู้จกั และมี สภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมสาหรับการท่องเที่ยว จากข้อมูล ของสานักงานการท่ องเที่ ยวและกี ฬาจังหวัด ลาปางในปี 2558 มี จานวนรายได้จากการ ท่องเที่ยวประมาณ 2,805.14ล้านบาท เมื่อเปรี ยบเทียบข้อมูลรายได้นกั ท่องเที่ยว ในปี 2557 มีจานวน 2,504.90 ล้าน


บาท จากข้อมูลจานวนรายได้จากการท่องเที่ยวมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้ น เนื่ องจากจังหวัดลาปาง เป็ นหนึ่ งใน “12เมือง ต้อง(ห้าม)พลาด” ตามแนวคิด “เมืองที่ไม่หมุนไปตามกาลเวลา” ของการท่องเที่ยวแห่ งประเทศไทย ซึ่ งใน “แผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาเทศบาลนครลาปาง (พ.ศ.2558-2562)” มีแผนในการส่ งเสริ ม ศิ ลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และส่ งเสริ มด้านการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ดังนั้นการออกแบบและปรับปรุ งเส้นทางท่องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรมนครลาปาง จะส่ งเสริ มการท่องเที่ยว และฟื้ นฟูเส้นทางภายในพื้นที่ให้มีความน่าสนใจทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม พื้นที่ที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของคน ลาปาง ให้มีสภาพแวดล้อมรองรับการท่องเที่ยวและกิจกรรมภายในพื้นที่ท้ งั ปั จจุบนั และอนาคต 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อออกแบบและปรับปรุ งภูมิทศั น์เส้นทางท่องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรมในนครลาปาง ให้มีความพร้อมในการรองรับกิจกรรมการท่องเที่ยวที่จะเกิดขึ้นในอนาคต 4.1.2 เพื่ออนุรักษ์ พัฒนา ฟื้ นฟู และส่ งเสริ ม พื้นที่ที่มีคุณค่าทางด้านประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมให้เข้ากับวิถีชีวิตของคนในชุมชน และการท่องเที่ยวทั้งในปัจจุบนั และอนาคต 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อศึ กษากระบวนการออกแบบและปรั บปรุ งภู มิทัศ น์ เ ส้นทางท่ องเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรมนครลาปางให้สอดคล้องกับกิจกรรมและความต้องการของผูใ้ ช้ 4.2.2 เพื่อศึกษา วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการออกแบบ และการปรับปรุ งพื้นที่ ที่มีความสาคัญด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และวิถีชีวิตในนครลาปาง 4.2.3 เพื่อศึกษาการอนุรักษ์ พัฒนา และการฟื้ นฟูพ้ืนที่ที่มีคุณค่าทางด้านประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขป ข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 พื้นที่ โครงการตั้งอยู่กลางตัวเมือง อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง โดยมีพ้ืนที่ ออกแบบประมาณ 488 ไร่ และพื้นที่ศึกษาต่อเนื่องที่ประมาณ 1060 ไร่ 5.1.1 ที่ต้ งั โครงการ


เรื่ อง โครงการออกแบบและปรับปรุ งเส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมนครลาปาง อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง แผนที่ 1 ตาแหน่งที่ต้ งั ของระบบขนส่ งประเภทต่างๆ สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่ออกแบบ สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่ศึกษา สัญลักษณ์ ถนนพหลโยธิ น สัญลักษณ์ สถานีรถไฟลาปาง Not to scale สัญลักษณ์ สถานีขนส่ งลาปาง สัญลักษณ์ ท่าอากาศยานลาปาง ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศดัดแปลงจาก Google Maps


เรื่ อง โครงการออกแบบและปรับปรุ งเส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมนครลาปาง อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง แผนที่ 2 ตาแหน่งที่ต้ งั พื้นที่ออกแบบและพื้นที่ศึกษา สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่ออกแบบ สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่ศึกษา สัญลักษณ์ ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ลาปาง-งาว สัญลักษณ์ ถนนพหลโยธิ น ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศดัดแปลงจาก Google Earth Pro

Not to scale


5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 เป็ นพื้นที่ที่มีความสาคัญด้านประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมที่สะท้อนวิถีชีวิตของ คนลาปางได้ 5.2.2 มีความหลากหลายของบริ บทในพื้นที่โครงการทั้งอาคารที่พกั อาศัย วัด ย่านตลาด เก่า ย่านพาณิ ชย์ อาคารสานักงาน พื้นที่ริมน้ า 5.2.3 พื้นที่ มีศกั ยภาพในการพัฒนาพื้นที่ตามโครงการ “เมืองต้อง (ห้าม) พลาด” ของ การท่ อ งเที่ ย วแห่ งประเทศไทย และแผนพัฒ นาของเทศบาลนครลาปางที่ ตอ้ งการส่ งเสริ มการท่ องเที่ ย ว และ วัฒนธรรม 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา 6.1 พื้นที่ โครงการตั้งอยู่กลางตัวเมือง อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง โดยมีพ้ืนที่ ออกแบบประมาณ 488 ไร่ และพื้นที่ศึกษาต่อเนื่องที่ประมาณ 1060 ไร่ 6.2 อาณาเขตติดต่อ ด้านทิศเหนือ ติดต่อกับ แม่น้ าวัง ด้านทิศใต้ ติดต่อกับ ชุมชนเทศบาล4, ชุมชนศรี ชุม-ป่ าไผ่, ชุมชนป่ าขาม1 ด้านทิศตะวันออก ติดต่อกับ ชุมชนศรี เกิด ด้านทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตาบลสบตุ๋ย 7. บรรณานุกรม ผศ.จรัสพิมพ์ บุญญานันต์. 2556. คู่มือกำรดำเนินงำนวิทยำนิพนธ์ ระดับปริญญำภูมสิ ถำปัตยกรรม ศำสตรบัณฑิต. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้. แผนยุทธศำสตร์ กำรพัฒนำเทศบำลนครลำปำง 5 ปี (พ.ศ. 2558-2562). [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา. www.lampangcity.go.th/userfiles/files/plan56_58.pdf ( 21 มกราคม 2560 ) แผนยุทธศำสตร์ พฒ ั นำกำรท่ องเที่ยวจังหวัดลำปำง พ.ศ. 2559). [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา. http://www.mots.go.th/province_new/ewt/lampang ( 21 มกราคม 2560 ) ประวัตศิ ำสตร์ นครลำปำง. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา. http://www.lampang.go.th/lamp.html ( 25 มกราคม 2560 ) สำนักงำนสรรพำกรพื้นที่ลำปำง. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา. http://www.rd.go.th/lampang/36.0.html ( 28 มกราคม 2560 ) สำนักงำนวัฒนธรรมจังหวัดลำปำง. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา. http://www.m-culture.go.th/lampang/ ( 28 มกราคม 2560 ) ลักษณะไทย ภูมหิ ลัง. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา. http://www.laksanathai.com/book2/index.aspx ( 28 มกราคม 2560 )


12 เมืองต้ องห้ ำมพลำด. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา. http://www.citieshiddengemsthailand.com/ ( 8 กุมภาพันธ์ 2560) สำนักจัดกำรสิ่ งแวดล้ อมธรรมชำติและศิลปกรรม. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา. http://www.onep.go.th/nced/?p=747 ( 9 กุมภาพันธ์ 2560 ) โดยข้ า พเจ้ า ยิ น ดี ที่ จ ะปฏิ บั ติ ต ามหลัก และวิ ธี ด าเนิ น งานวิ ท ยานิ พ นธ์ ของคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (นางสาวพิมผกา ขัดทุ่งฝาย) ……….../………./………..


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนินงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..


คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวเพชรรัตน์ เพ็ชร์ ประยูร รหัส 5619102517 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 130 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.10 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิ ต โดยมีรายละเอี ยด ดังต่อไปนี้ 1. หั ว ข้อ เรื่ อ ง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรั บ ปรุ ง ภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศู น ย์วิ ท ยาศาสตร์ กาแพงเพชร และพื้นที่เกี่ยวเนื่อง อาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร 2. หั ว ข้ อ เรื่ อง (ภาษาอั ง กฤษ) The Landscape Architecture Design and Improvement Project of the Kamphaeng Phet Science Center and a related area, Kosamphinakhon, Kamphaeng Phet 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ องค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกาแพงเพชร ได้จดั ทาโครงการพัฒนาการท่องเที่ยวเกาะเสื อขึ้นตั้งแต่ ปี 2553 ณ บริ เวณ บ้านเกาะตาแย หมู่ที่ 5 บ้านโกสัมพี ตาบลโกสัมพี อาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร โดย ในการพัฒนาการท่องเที่ยวเกาะเสื อ มีการจัดสร้างศูนย์วิทยาศาสตร์ กาแพงเพชร เป็ นศูนย์การเรี ยนรู ้ ที่ส่งเสริ มด้าน วิทยาศาสตร์ คณิ ตศาสตร์ และสื่ อการเรี ยนรู ้ เกี่ยวกับเทคโนโลยีสาหรับเยาวชน บนเนื้อที่ 78 ไร่ 2 งาน 56 ตารางวา ทางด้านภูมิทศั น์ภายนอกอาคารศูนย์วิทยาศาสตร์ มีพ้ืนที่ติดริ มฝั่ งด้านทิศตะวันตกของแม่น้ าปิ ง องค์การบริ หาร ส่ ว นจังหวัด ก าแพงเพชร จึ งได้ด าเนิ น การปรั บ ภู มิ ท ัศ น์ โ ดยรอบขึ้ น ทั้งจัด ให้ มี ล านจอดรถแคมป์ (camping car) พร้อมสิ่ งอานวยความสะดวก ลานกางเต็นท์ กระเช้าข้ามแม่น้ าปิ ง บ้านพักรับรอง อาคารจัดประชุม และลาน จอดรถ เพื่ออานวยความสะดวกและสามารถสร้างประโยชน์ในทางการนันทนาการต่างๆ แต่ปัจจุบนั พื้นที่ภายนอก และสิ่ งอานวยความสะดวกภายในโครงการมี ส ภาพเสื่ อมโทรม ไม่ พ ร้ อมอานวยความสะดวกในการใช้งานที่ หลากหลาย การจัดพื้นที่ใช้สอยยังไม่มีความเป็ นสัดส่ วนที่เหมาะสม รวมทั้งอาคารหรื อลานกิจกรรม และห้องน้ า มี อย่างจากัดไม่เพียงพอต่อการรองรับนักท่องเที่ยว และคณะครู นักเรี ยน นักศึกษาที่ตอ้ งการใช้พ้นื ที่ในการเข้าค่ายพัก แรมและทากิ จกรรม รวมทั้งโครงการไม่เป็ นไปตามแผนดาเนิ นการและไม่เป็ นที่รู้จกั ของประชาชนทัว่ ไปทั้งใน จังหวัดและต่างจังหวัดมากนัก ด้ว ยนโยบายการบริ ห ารงานขององค์ก ารบริ ห ารส่ ว นจังหวัด ก าแพงเพชร ที่ ต้อ งการพัฒ นา ปรั บปรุ งสิ่ งอานวยความสะดวก และตกแต่งภู มิทศั น์โดยรอบเพื่อให้เป็ นสถานที่ท่องเที่ ยวหรื อสถานที่ พกั ผ่อน หย่อนใจ รวมถึงบริ การด้านอื่นๆ อย่างครบวงจรให้แก่นกั ท่องเที่ยว ตลอดจนเป็ นการเพิ่มรายได้ให้แก่ประชาชนใน ท้องถิ่น จึงได้มีแนวคิดที่จะจัดทาโครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์วิทยาศาสตร์ เพื่อจัดการ


พื้นที่ปรับปรุ งสภาพภูมิทศั น์ต่างๆ ให้อยูใ่ นสภาพที่สวยงาม มีความเหมาะสมต่อการดาเนิ นกิจกรรมและพร้อมใช้ ประโยชน์ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ และพัฒนาสิ่ งอานวยความสะดวกที่ได้มาตรฐาน ปลอดภัย รองรับนักท่องเที่ยว ทุกกลุ่ม เป็นแหล่งเรี ยนรู ้รวมทั้งพัฒนาการท่องเที่ยวของศูนย์วิทยาศาสตร์ กาแพงเพชร อาเภอโกสัมพีนคร จังหวัด กาแพงเพชร ให้มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน เกิดกิจกรรมและรู ปแบบการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อออกแบบและปรับปรุ งพัฒนาพื้นที่เพื่อรองรับและส่ งเสริ มการท่องเที่ยว รู ปแบบใหม่ของจังหวัดในด้านการเรี ยนรู ้ 4.1.2 เพื่อสนับสนุ น และเสริ มสร้ างการเรี ยนรู ้ ทางวิทยาศาสตร์ และสิ่ งแวดล้อมทาง ธรรมชาติ ให้เกิดการพัฒนาทักษะทั้งทางสมองและด้านประสบการณ์ของเยาวชนที่ได้เข้ามาเรี ยนรู ้ในพื้นที่ 4.1.3 เพื่อพัฒนาพื้นที่ให้เป็ นแหล่งนันทนาการหลากหลายด้านอีกแห่ งหนึ่งของจังหวัด ตอบสนองการใช้ประโยชน์ต่อคนในชุมชนและนักท่องเที่ยว 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบและวางผังพื้นที่บริ เวณศูนย์การเรี ยนรู ้ วิทยาศาสตร์กาแพงเพชร อาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร 4.2.2 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบและปรับปรุ งพื้นที่สาหรับการท่องเที่ยวพร้อม การเรี ยนรู ้วิทยาศาสตร์ ให้เกิดสุ นทรี ยภาพที่ดีไม่ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและพื้นที่โดยรอบ 4.2.3 เพื่อศึกษาวิถีชีวิตของชุมชน รู ปแบบ อัตลักษณ์ของพื้นที่ พฤติกรรมนักท่องเที่ยว รวมทั้งกิจกรรมนันทนาการของผูม้ าพักแรม เพื่อการออกแบบที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของพื้นที่ 4.2.4 เพื่อศึกษาวิเคราะห์ทิศทางและแนวโน้มการพัฒนาของพื้นที่และการพัฒนาด้าน การท่องเที่ยวของจังหวัดกาแพงเพชร 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดยสังเขป) 5.1 สถานที่ต้ งั ของโครงการ ตั้งอยู่ บ้านเกาะตาแย หมู่ที่ 5 บ้านโกสัมพี ตาบลโกสัมพี อาเภอโกสัมพีนคร จังหวัด กาแพงเพชร พื้น ที่ ติดริ มฝั่ งด้านทิ ศตะวันตกของแม่ น้ าปิ ง ช่ วงเขตทางเข้าเมื องกาแพงเพชร โดยตั้งอยู่ระหว่าง ทางผ่านถนนสายเอเชีย (กรุ งเทพฯ-เชียงใหม่) 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 พื้นที่โครงการมีนโยบายในการเตรี ยมแผนพัฒนาและปรับปรุ งพื้นที่ 5.2.2 พื้นที่โครงการตั้งอยู่ระหว่างทางผ่านเข้าเมืองกาแพงเพชร ติดกับถนนทางหลวง หมายเลข 1 (สายเอเชีย กรุ งเทพฯ-เชียงใหม่) ทาให้สะดวกต่อการเดินทางเข้าถึง 5.2.3 พื้นที่โครงการเป็ นพื้นที่ติดแม่น้ าปิ ง ทาให้มีทิวทัศน์ที่สวยงามและเป็ นที่น่าสนใจ


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์วิทยาศาสตร์กาแพงเพชร อาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร แผนที่ 1 : แผนทีร่ ะดับตำบล สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ถนนทางหลวงหมายเลข 1 (สายเอเชีย) ถนนทางเข้าเมืองตากหมายเลข 104 ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์วิทยาศาสตร์กาแพงเพชร อาเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกาแพงเพชร แผนที่ 2 : แผนทีร่ ะดับโครงกำร สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ขอบเขตพื้นที่เกี่ยวเนื่อง ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่มีขนาดขอบเขตการศึกษาทั้งหมดโดยแบ่งเป็ น พื้นที่โครงการศูนย์วิทยาศาสตร์ 78 ไร่ 2 งาน 56 ตารางวา และพื้นที่เกี่ยวเนื่อง 2 ไร่ มีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ แม่น้ าปิ ง (ช่วงทางเข้าเมือง) ทิศใต้ ติดต่อกับ พื้นที่เกษตรกรรมและถนนทางหลวงหมายเลข 1 (สายเอเชีย) ทิศตะวันออก ติดต่อกับ แม่น้ าปิ ง (ช่วงทางเข้าเมือง) และชุมชน ทิศตะวันตก ติดต่อกับ พื้นที่เกษตรกรรมและถนนหมายเลข 104 7. บรรณานุกรม จรัสพิมพ์ บุญญานันต์. 2556. “คู่มือการดาเนินงานวิทยานิพนธ์ หลักสู ตรภูมิสถาปัตยกรรม ศาสตร์บณั ฑิต ปรับปรุ งครั้งที่ 4”.เชียงใหม่ : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยข้าพเจ้ายินดี ที่จะปฏิ บตั ิ ตามหลักและวิธีดาเนิ น งานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร 1. (ความเห็น)

2. (ความเห็น)

3. (ความเห็น)

4. (ความเห็น)

ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนินงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้







คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นายวทัญญู สุ วรรณเลขา รหัส5619102519 นักศึกษาชั้นปี ที่4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.00 มี ความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภู มิส ถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอี ยด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อ เรื่ อง (ภาษาไทย)โครงการออกแบบวางผัง สนามแข่ งขัน ยานยนต์ท างเรี ย บอ.สั น กาแพง จ. เชียงใหม่ 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ)The Landscape Architectural Design and Planning of a Automotive Racing Curcuit, Sankamphang, Chiangmai. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ การแข่งขันยานยนต์เป็ นกีฬาเฉพาะทาง จึ งจาเป็ นต้องการสนามสาหรับแข่งขันโดยเฉพาะ และ เนื่ องจาก เป็ นกีฬาที่ใช้ความเร็ วในการแข่งขันทาให้ตอ้ งคานึงถึงปั จจัยหลายด้านโดยเฉพาะมาตรฐานเรื่ องความปลอดภัยของ สนามเเข่งขัน ประเทศไทยมีสนามแข่งขันที่ได้มาตรฐาน Federetion Internationale de l’ Automobile ( FIA) เพียงแค่ 1 สนามคือ Chang International Circuit ที่จงั หวัดบุรีรัมย์ ซึ่ งได้รับการรับรองจากสมาพันธ์ยานยนต์นานาชาติว่าเป็ น สนามมาตรฐานระดับ เอฟไอเอ เกรด 1 (FIA Grade 1) ซึ่ งเป็ นมาตรฐานสนามที่ ให้ใช้จดั การแข่งขันรถสู ตรหนึ่ ง (Formula 1) และในประเทศไทยยัง มี ส นามแข่ งขัน อี ก 3 สนามที่ ย งั ไม่ ไ ด้รั บ รองมาตรฐานจาก Federetion Internationale de l’ Automobile ( FIA) คือ พีระเซอร์กิต พัทยา จังหวัดชลบุรี ไทยแลนด์เซอร์ กิต นครชัยศรี จังหวัด นครปฐม และสนามกีฬาสมโภช 700 ปี จังหวัดเชียงใหม่ โดยจังหวัดเชี ยงใหม่ยงั ไม่มีสนามแข่งขันอย่างเป็ นทางการ ยังใช้การปิ ดถนนหลวงเพื่อใช้ในการแข่งขัน ซึ่ งทาให้มีปัญหากับผูท้ ี่ใช้ทางสัญจร จังหวัดเชี ยงใหม่เป็ นจังหวัดที่ อยู่ในอนุ ภูมิภาคลุ่มน้ าโขง ทะเลจี นใต้ และเป็ นจังหวัดที่ มีความนิ ยมของ นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ทาให้เป็ นศูนย์กลางทางเศษรฐกิจและการท่องเที่ยว มีศกั ยภาพที่จะพัฒนา แหล่งท่องเที่ยวทางด้านกีฬาแข่งขันยานยนต์ และเป็ นที่นิยมของกลุ่มคนที่ชื่นชอบกีฬาแข่งขันยานยนต์ท้ งั ชาวไทย และชาวต่างชาติที่จานวนเพิ่มมากขึ้น โดยจะมาในฤดูการท่องเที่ ยวและการจัดกิจกรรมพิเศษ (Event) กิจกรรมการ แข่งขัน ก็จึงเป็ นโอกาสทางด้านเศรษฐกิจเพราะคนกลุ่มนี้มีรายได้สูง แต่จากข้อมูลข้างต้นที่ จงั หวัดเชี ยงใหม่ยงั ไม่มีสนามแข่งขันอย่างเป็ นทางการจึ งเกิ ดเป็ นโครงการขึ้ นมา เป็ นศูนย์กลางของสนามแข่งขันที่ ได้รับมาตรฐานทางภาคเหนื อของประเทศไทยและในระดับอาเซี ยนทางเจ้าของ


โครงการเป็ นภาคเอกชนที่มีความสนใจในกีฬาแข่งขันยานยนต์ เเละได้มีพ้ืนที่ที่เหมาะสมสาหรับออกแบบจัดสร้าง สนามแข่งขัน โดยมีพ้ืนที่โล่งกว้างผืนใหญ่ สามารถเดินทางได้สะดวกสบาย มีพ้ืนที่เหมาะแก่การตั้งโครงการ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อสร้างสนามแข่งขันยานยนต์ในประเทศไทยให้ได้ระดับมาตรฐาน Federetion Internationale de l’ Automobile ( FIA) และไปสู่ ระดับสากล 4.1.2 เพื่ อเป็ นศู น ย์อ บรมทักษะการขับ ขี่ ย านยนต์ ใ ห้แ ก่ ผู ท้ ี่ ส นใจและเพิ่ มโอกาสให้ เยาวชนได้มีพ้ืนที่ทากิจกรรมนันทนาการ 4.1.3 เพื่อเป็ นศูนย์กลางการจัดกิจกรรมพิเศษ (Event) 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการวางผังบริ เวณสนามแข่งยานยนต์ทางเรี ยบให้ได้มาตรฐาน Federetion International de l’Automobile (FIA) 4.2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาศักยภาพของพื้ น ที่ แ ละผลกระทบกับ บริ เวณโดยรอบเพื่ อ ใช้ในการ ออกแบบวางผังโครงการ 4.2.3 เพื่ อศึ กษาพฤติ กรรมและความต้องการของกลุ่มผูใ้ ช้โครงการสนามแข่งขันยาน ยนต์ทางเรี ยบและศูนย์ฝึกอบรมทักษะการขับขี่ 5. สถานที่ ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ ต้ งั โครงการ(แสดงแผนผังที่ ต้ งั โครงการโดยสังเขป ข้างล่างนี้พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ โ ครงการ ตั้งอยู่ ณ บ้านน้อย-บ้านร้ อยพร้ อม ต าบล สัน กาแพง อาเภอสัน กาแพง จังหวัดเชียงใหม่ กิโลเมตรที่ 8 1317 ถนน เชียงใหม่-สันกาแพงสายใหม่ 1317มีเนื้อที่ประมาณ 373 ไร่ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1เนื่องจากเป็ นพื้นที่โล่งกว้าง 5.2.2เข้าถึงได้สะดวก จากถนนหลัก 5.2.3 เนื่องจากเชียงใหม่ที่เป็ นศูนย์กลางของภาคยังขาดสนามแข่งขันยานยนต์ทางเรี ยบ จึงนามาเป็ นหัวข้อในการออกแบบภูมิทศั น์


โครงการออกแบบสนามแข่งขันยานยนต์ทางเรี ยบบ้านน้อย-บ้านร้อยพร้อม ตาบล สันกาแพง อาเภอสันกาแพง จังหวัด เชียงใหม่ กิโลเมตรที่ 8 1317 ถนน เชียงใหม่-สันกาแพงสายใหม่ 1317 แผนที่ 1 แสดงแผนผังบริ เวณที่ต้ งั ของโครงการ สัญลักษณ์ ขอบเขตของพื้นที่โครงการ ________ ถนนสายหลัก 1317 เชียงใหม่-สันกาแพง ________ สายใหม่ ________ ถนนสายรอง ถนนสาธารณะประโยชน์ มาตราส่วน Not to scale ที่มา Google Earth


โครงการออกแบบสนามแข่ งขันยานยนต์ทางเรี ยบบ้านน้อย-บ้านร้อยพร้ อม ตาบล สันกาแพง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ กิโลเมตรที่ 8 1317 ถนน เชียงใหม่-สันกาแพงสายใหม่ 1317 แผนที่ 2 แสดงแผนผังบริ เวณที่ต้ งั ของโครงการ สัญลักษณ์ ________ มาตราส่วน ที่มา

ขอบเขตของพื้นที่โครงการ

Not to scale Google Earth

6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่ โครงการตั้งอยู่ที่ริมถนน สาย 1317 ถนน เชี ยงใหม่-สันกาแพงสายใหม่บา้ นน้อย-บ้านร้อย พร้อม ตาบล สันกาแพง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ กิโลเมตรที่ 8 ทิศเหนือ ติดต่อกับ ถนนทางหลวงชนบทหมายเลข 1317 ทิศใต้ ติดต่อกับ บ้านย่าปาย ทิศตะวันออก ติดต่อกับ โรงเรี ยนวัดย่าปาย ทิศตะวันตก ติดต่อกับ หมู่บา้ นสมหวัง 2 7.บรรณานุกรม ผศ.จรัสพิมพ์ บุญญานันต์.2556.คู่มือการดาเนินงานวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญษภูมิสถาปัตยกรรม ศาสตรบัณฑิต. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้. กติ กากี ฬ าแข่ งรถยนต์แห่ งชาติ .(พ.ศ.2554). ราชยานยนต์ส มาคมแห่ งประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ์.เข้าถึงได้จาก :http://raat.or.th/index.php/content/content_page/5



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้า พเจ้า นาย วรวัฒ น์ ไพศาลนันท์ รหัส 5619102520 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิช าภู มิส ถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 8 ภาคการศึ กษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 130 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.14 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1.หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย): โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมย่านตลาดน้ าดาเนิ นสะดวก อ.ดาเนินสะดวก จ. ราชบุรี 2.หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ): Landscape Architectural Design and Improvement Project of

Damnoen Saduak Floating Market, Damnoen Saduak, Ratchaburi. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ตลาดน้ าดาเนิ นสะดวก เป็ นตลาดน้ าแห่ งแรกของประเทศไทย เกิ ดขึ้ นควบคู่กบั การเกิ ดคลอง ดาเนิ นสะดวก ซึ่ งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 4 ทรงโปรดเกล้าให้มีการขุดคลองดาเนินสะดวก ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2409 เพื่อเชื่อมแม่น้ าท่าจีนกับแม่น้ าแม่กลอง โดยตลาดน้ าดาเนินสะดวก ถือเป็ นการค้าชุมชนริ มน้ า ที่มีความสาคัญมาอย่างยาวนาน ปัจจุบนั พบว่า ตลาดน้ าดาเนินสะดวกมีปัญหา ที่ส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยว หลายประการ ประกอบด้วย ปัญหาสิ่ งแวดล้อมเสื่ อมโทรม ปัญหาการจราจรทางน้ า ปัญหาการให้บริ การของผูป้ ระกอบการ ปัญหา การบุกรุ กลาน้ า ปั ญหาการขาดสิ่ งอานวยความสะดวกอื่น ๆ เพิ่มเติมที่ รวมถึงทั้งปัญหาการจัดระเบียบทางการค้าที่ ไม่เป็ นธรรม ส่ งผลให้ตลาดน้ าดาเนินสะดวกถูกจักอันดับจากสื่ อต่างประเทศให้เป็ น 1 ใน 10 ตลาดน้ ายอดแย่ใน สายตาชาวโลก ดังนั้นเทศบาลเมืองราชบุรี จึงได้ประชุมแผนพัฒนาตลาดน้ าดาเนินสะดวก เพื่อพัฒนาตลาดน้ า ดาเนินสะดวกให้กลับมาเป็ นแหล่งท่องเที่ยว ที่มีเสน่ห์และมีชื่อเสี ยงดึงดูดใจเช่นเดิม จึงเกิดโครงการออกแบบและ ปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมตลาดน้ าดาเนินสะดวก เพื่อเป็ นแหล่งการเรี ยนรู ้วฒั นธรรมท้องถิ่น นาไปสู่การเป็ นแหล่ง ท่องเที่ยวแบบยัง่ ยืน


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อพัฒนาและฟื้ นฟูสิ่งแวดล้อมตลาดน้ าดาเนินสะดวก 4.1.2 เพื่อแก้ไขปัญหาการจราจรทางน้ าและบุกรุ กลาน้ า 4.1.3 เพื่อการแก้ไขปัญหาการให้บริ การของผูป้ ระกอบการ 4.1.4 เพื่อการส่ งเสริ มศักยภาพการพัฒนาเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม พื้นที่ตลาดน้ าดาเนินสะดวก 4.2.2 เพื่อศึกษาวิเคราะห์ปัญหา หาแนวทางการพัฒนา ตลาดน้ าดาเนินสะดวก 4.2.3 เพื่อศึกษาคุณค่าทางประวัติศาสตร์ของพื้นที่ วิถีชีวิตชุมชน


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ

สัญลักษณ์

พื้นที่โครงการ เส้นทางน้ า

โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมตลาดน้ าดาเนินสะดวก อาเภอดาเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี แผนที่ 1 : แสดงที่ต้ งั โครงการและเส้นทางสัญจรทางน้ า

มาตราส่ วน

ที่มา : ดัดแปลงจาก https://www.google.co.th/maps/place

ไม่มีมาตราส่ วน




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย วรวิชญ์ ชัยศรี วงค์ รหัส 5619102521 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิต สะสม 127 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.46 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมชุ มชนสร้างสรรค์งานออกแบบ พื้นถิ่น ชุมชนบ้านแม่ตอนหลวง อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ 2. หั ว ข้ อ เรื่ อง (ภาษาอัง กฤษ) The Landscape Architectural Design and Improvement Project of The Local Creative Design Community, A Case Study of Bann Mae Ton Luang , Doi Saket , Chiang Mai. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ตาบลเทพเสด็จมีการตั้งเป็ นชุ มชนมาไม่นอ้ ยกว่า 100 ปี แต่เดิมเป็ นถิ่นอาศัยของชุ มชนเผ่าขมุ ที่ อพยพเข้ามาในพื้นที่เพื่อปลูกข้าวไร่ และทาสวนเมี่ยง ต่อมาเมื่อถึงยุคสมัยที่การค้าขายเมี่ยงเจริ ญรุ่ งเรื อง มีพ่อค้าวัว ต่างเข้ามาติดต่อค้าขายเพิ่มจานวนมากขึ้น ส่ งผลให้คนพื้นเมืองที่อาศัยอยูท่ ี่ราบอพยพขึ้นมาอาศัยในพื้นที่เพื่อรับจ้าง เก็บเมี่ ยง ทาสวนเมี่ ยง และค้าขายเพิ่ มจานวนมากขึ้ น ตาบลเทพเสด็จ อยู่สูงจากระดับ น้ าทะเลปานกลาง เฉลี่ ยที่ 1,050 เมตร และจุ ดสู งสุ ด ของยอดดอยคื อ 1,950 เมตร บนยอดดอยลังกาหลวง มี เนื้ อที่ ตาบลเทพเสด็จ มี เนื้ อที่ ประมาณ 71,875 ไร่ หรื อประมาณ 115 ตารางกิโลเมตร โดยพื้นที่ท้ งั หมดมีลกั ษณะเป็ นที่ราบสลับลอนเนินเขา และ ภูเขาสู ง ชุมชนบ้านแม่ตอนหลวงเป็ นส่ วนหนึ่ งของตาบลเทพเสด็จ ที่ยงั คงเอกลักษณ์ประเพณี และวัฒนธรรม เดิมในพื้นที่เอาไว้ ประกอบกับปั จจัยทางธรรมชาติที่ยงั คงมีความอุดมสมบูรณ์ และมีสภาพอากาศที่ดีตลอดทั้งปี ซึ่ ง ถือเป็ นมรดกทางธรรมชาติของชุมชน ทาให้มีจานวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มมากขึ้น และส่ งผลให้เกิดการสร้างสถานพัก ตากอากาศขึ้ นภายในชุ มชนโดยรอบของพื้นที่ ชุมชนบ้านแม่ตอนหลวง ซึ่ งการขยายตัวของกลุ่มนักลงทุนที่ เข้ามา เช่นเดียวกับชุมชนในหลายแห่งของจังหวัดเชี ยงใหม่ ทาให้เกิดผลกระทบต่อสภาพของวัฒนธรรม วิถีชีวิตในชุมชน รวมถึงสภาพแวดล้อมของชุมชน จากเหตุผลที่กล่าวมาข้างต้น ทาให้เห็นถึงโอกาสที่จะเข้าไปออกแบบและปรับปรุ งพื้นที่ชุมชนบ้านแม่ ตอนหลวง เพื่อเป็ นแนวทางในการพัฒนาชุ มชนให้เข้มแข็ง สามารถพึ่งพาตัวเองได้ แล้วยังเป็ นแหล่งสร้างสรรค์ งานออกแบบพื้นถิ่น เพื่อเป็ นการส่ งเสริ มการท่องเที่ ยวเชิ งวัฒนธรรม และเพื่อเป็ นการช่ วยป้ องกันการบุกลุกของ


กลุ่มนักลงทุน ซึ่ งการออกแบบจะสามารถเป็ นแม่แบบในการนาไปปรับใช้กบั ชุ มชนอื่นๆ ที่ ยงั คงมีเอกลักษณ์ พ้ืน ถิ่ น ของชุ ม ชน เพื่ อ เป็ นการอนุ รั ก ษ์ ชุ ม ชน และเป็ นพื้ น ที่ ที่ ชุ ม ชนสามารถสร้ า งสรรค์ ผ ลงานในการดึ ง ดู ด นักท่องเที่ยวให้แก่ชุมชน 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อทาให้เกิดชุมชนสร้างสรรค์งานออกแบบ ที่คนในท้องถิ่นสามารถต่อยอดจาก ทรัพยากรเดิมที่มีในพื้นที่ ให้มีความหลากหลาย และเป็ นการเพิ่มมูลค่าให้กบั ชุมชน 4.1.2 เพื่ อ เป็ นแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒ นธรรม และเป็ นพื้ นที่ ส ร้ า งสรรค์ เรี ยนรู ้ ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา รวมถึงวิถีชีวิตของคนในชุมชน 4.1.3 เพื่ อ เกิ ด เป็ นพื้ นที่ แ ลกเปลี่ ย นทั ก ษะประสบการณ์ ที่ ค นในท้ อ งถิ่ น และ นักท่องเที่ยว ได้มีกิจกรรมร่ วมกันในชุมชน 4.1.4 เพื่ อให้คนในชุ มชนเห็ นคุ ณ ค่ า และเกิ ดจิ ตสานึ กในการหวงแหนทรัพ ยากรใน ท้องถิ่นของตน เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่ วมในการพัฒนา และการจัดการชุมชนอย่างยัง่ ยืน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อการศึกษาวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการออกแบบวางผังชุมชนสร้างสรรค์พ้ืน ถิ่นจากวัฒนธรรมและภูมิปัญญาของคนในชุมชน 4.2.2 เพื่ อศึ กษาวิถีชีวิต เอกลักษณ์ และมรดกทางวัฒนธรรมที่ เป็ นจุ ดเด่นของคนใน ชุมชนบ้านแม่ตอนหลวง 4.2.3 เพื่ อ ศึ ก ษาแนวทางในการออกแบบพื้ น ที่ เพื่ อ พัฒ นาเป็ นแหล่ งท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สร้างสรรค์ของชุมชน 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1 สถานที่ ต้ งั โครงการ อยู่บริ เวณชุ มชนบ้านแม่ตอนหลวง ซึ่ งเป็ นชุ มชนที่ อยู่กลางหุ บเขา ติ ด กับ ถนนทางหลวงชนบทหมายเลข 1252 ต.เทพเสด็ จ อ.ดอยสะเก็ ด จ.เชี ย งใหม่ ขนาดของพื้ น ที่ โ ครงการ โดยประมาณ 304 ไร่ พื้นที่เกี่ยวเนื่ องที่เป็ นพื้นที่เกษตรประมาณ 1,510 ไร่ และพื้นที่เกี่ยวเนื่ องที่เป็ นพื้นที่ป่าชุมชน ประมาณ 1,623 ไร่ 5.1.1 ที่ต้ งั โครงการและขอบเขตพื้นที่โครงการ


โครงการออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมชุ มชนสร้างสรรค์งานออกแบบพื้นถิ่น ชุ มชนบ้านแม่ตอนหลวง อ. ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ แผนที่ 1 แสดงแผนผังบริ เวณที่ต้ งั ของโครงการ สัญลักษณ์ ขอบเขตของพื้นที่โครงการ มาตราส่วน Not to scale ที่มา Google Earth

N


โครงการออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมชุ มชนสร้างสรรค์งานออกแบบพื้นถิ่น ชุ มชนบ้านแม่ตอนหลวง อ. ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ แผนที่ 2 แสดงแผนผังบริ เวณที่ต้ งั ของโครงการ สัญลักษณ์

มาตราส่วน ที่มา

ขอบเขตของพื้นป่ าชุมชน ขอบเขตของพื้นที่เกษตร ขอบเขตของพื้นที่ชุมชน ถนนสายหลัก ถนนสายรอง

N

Not to scale Google Earth

5.2 เหตุผลที่เลือกพื้นที่โครงการ 5.2.1 พื้นที่โครงการยังคงเป็ นชุมชนที่คงรักษาวิถีชีวิตเดิมของคนในพื้นที่เอาไว้ แต่ดว้ ย ความพัฒนาทาให้คนรุ่ นหลังพยายามจะย้ายออกจากชุ มชนเข้าไปในเมืองมากขึ้ น ส่ งผลให้ไม่เกิ ดการสื บทอดภูมิ ปัญญาจากคนรุ่ นก่อน 5.2.2 พื้นที่ โครงการถูกพัฒนาในเชิ งการท่องเที่ ยวเหมือนชุ มชนอื่น แต่ไม่ประสบใน การเป็ นแหล่งดึงดูดนักท่องเที่ยว 5.2.3 พื้นที่โครงการอยูใ่ กล้กบั สถานที่ท่องเที่ยวอื่นๆที่มีนกั ท่องเที่ยวเดินทางผ่าน และ มีศกั ยภาพที่เหมาะแก่การพัฒนา




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นายวิภาค ทองนาครหัส 5619102522 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภู มิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วยกิตสะสม 130 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.34 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภู มิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม สถานพักตากอากาศ เดอะ ฟลอร่ า เฟรเกริ นท์ รี สอร์ทแอนด์สปา เขาเขียว อ.ศรี ราชา จ.ชลบุรี 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) Landscape Architectural and Design and Planning of The Flora Fragrant Resort and Spa Chonburi, Khao Kheow, Sriracha, Chonburi. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จังหวัดชลบุรีถือได้ว่าเป็ นที่ท่องเที่ยวทางทะเลของภาคตะวันออกอีกแห่ งที่มีชื่อเสี ยง อีกทั้งเป็ น ที่ต้ งั ท่าเรื อน้ าลึกแหลมฉบังและแหล่งอุตสาหกรรมโรงงานที่ สาคัญ ต่างๆ จึงดึ งดูดนักท่องเที่ยวและนักลงทุนทั้ง ชาวไทย ชาวต่างชาติ ให้มาลงทุนทาธุ รกิ จมากขึ้น ยังเป็ นแหล่งปลูกพืชเศรษฐกิ จ ได้แก่ อ้อย มันสาปะหลัง และ ยางพารา ศรี ราชาเป็ นอีกหนึ่ งอาเภอในจังหวัดชลบุรี ที่มีการเจริ ญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจและมีนโยบายด้านการ ส่ งเสริ มการท่องเที่ ยวให้ได้มาตรฐานสากล เป็ นที่ ประทับใจของนักท่องเที่ ยวระดับนานาชาติ เนื่ องจากมี แหล่ง ท่องเที่ยวที่หลากหลายเช่น แหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ เชิ งเกษตร เชิ งพาณิ ชย์ เชิ งศึกษาและนันทนาการ ทาให้ เกิดสถานพักตากอากาศ สาหรับรองรับนักท่องเที่ยวที่เดินทางและท่องเที่ยวในอาเภอศรี ราชา จึ งเกิ ดแนวความคิ ดในการออกแบบและวางผังภู มิสถาปั ตยกรรม สถานพักตากอากาศ เดอะ ฟลอร่ า เฟรเกริ นท์ รี สอร์ ทแอนด์สปา เขาเขียว อ.ศรี ราชา จ.ชลบุรี เพื่อรองรับนักท่องเที่ ยวและใกล้กบั แหล่ง ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสี ยงของจังหวัดชลบุรี เช่น อ่างเก็บน้ าบางพระ สวนสัตว์เปิ ดเขาเขียว น้ าตกชันตาเถร เป็ นต้น โดย มี แ นวคิ ด เบื้ อ งต้น ในการออกแบบสถานพัก ตากอากาศที่ เ น้น ความงามของธรรมชาติ แ ละมี เ อกลัก ษณ์ ท าง สถาปั ตยกรรมโดดเด่นเฉพาะตัว มีบริ การนวดที่ หลากหลายเน้นการผ่อนคลายและความงามของสวนพรรณไม้ นานาชนิด ได้ถูกจัดสรรไว้เพื่อเพิ่มความสดชื่นให้กบั สถานที่ดว้ ยการใช้สีสันที่สดใส สาหรับดึงดูดนักท่องเที่ยวที่ จะมาพักผ่อน และนักท่องเที่ยวทัศนาจรที่สามารถเข้ามาแวะเยี่ยมชมบรรยากาศภายใน โดยโครงการจะกระตุน้ การ ขยายตัวทางเศรษฐกิ จการท่ องเที่ ยว เพื่ อสร้ างอาชี พและคุ ณภาพชี วิต คนในชุ มชนให้ดีข้ ึ น สอดคล้องกับแผน เป้าหมายยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองท่องเที่ยวของจังหวัดชลบุรี


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นสถานพักตากอากาศ แอนด์สปา สาหรับพักผ่อน และรองรับกิจกรรม นันทนาการต่างๆ 4.1.2 เพื่อเป็ นแหล่งท่ องเที่ ยวทางเลือก อีกหนึ่ งแห่ งสาหรับนักท่องเที่ ยว พร้ อมกับ ส่ งเสริ มเศรษฐกิจการท่องเที่ยวแก่พ้ืนที่ 4.1.3 เพื่อเป็ นแหล่งศึกษาเรี ยนรู ้ทางธรรมชาติ ความหลากหลาย ของพรรณไม้ดอก 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อศึ กษาแนวทางการออกแบบและวางผังสถานพักตากอากาศที่ มีเอกลักษณ์ เฉพาะตัวและเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของพื้นที่โครงการ 4.2.2 ศึ ก ษาชนิ ด และความหลากหลายของพรรณไม้ด อก เพื่ อท าให้เ ป็ นจุ ด ดึ ง ดู ด นักท่องเที่ยว เข้ามาในโครงการ 4.2.3 เพื่อปรับปรุ งลักษณะรู ปแบบและนาจุดเด่นของพื้นมาใช้ประโยชน์ให้เหมาะสม กับบริ บทโดยรอบของพื้นที่โครงการ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดยสังเขป ข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ พื้นที่ ต้ งั โครงการมี ขนาด 180 ไร่ เป็ นพื้ นที่ เอกชน ตั้งอยู่ ตาบางพระ อาเภอศรี ราชา จังหวัดชลบุรี มีถนนทางหลวงหมายเลข 4036 และถนน เทิด พระเกียรติ ตัดผ่านหน้าโครงการ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 เนื่ องจากพื้นที่ โครงการมีความน่ าสนใจอยู่ติดกับที่ ราบเชิ งเขา มีบ่อน้ าส่ วนตัว ขนาดใหญ่ในพื้นที่โครงการ ทาให้มีทศั นียภาพโดยรอบสวยงาม 5.2.2 พื้ น ที่ โ ครงการเชื่ อ มโยงกับ แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว เชิ ง ธรรมชาติ เชิ ง เกษตร และ นันทนาการ ต่างๆ 5.2.3 ที่ต้ งั ของพื้นที่โครงการติดกับทางหลวงหมาย 4036 และถนน เทิด พระเกียรติ


โครงการออกแบบและวางผังภู มิสถาปั ตยกรรม สถานพักตาก อากาศ เดอะ ฟลอร่ า เฟรเกริ นท์ รี สอร์ทแอนด์สปา แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั โครงการและขอบเขตโครงการ มาตราส่ วน ที่มา : Longdo map Not To Scale

SITE LINKAGE

โครงการออกแบบและวางผังภู มิสถาปั ตยกรรม สถานพักตาก อากาศ เดอะ ฟลอร่ า เฟรเกริ นท์ รี สอร์ทแอนด์สปา แผนที่ 2 แสดงที่ ต้ ังโครงการและความเชื่ อ มโยงของ มาตราส่ วน สถานที่ท่องเที่ยว ที่มา : Longdo map Not To Scale


SITE SELECTION

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม สถานพักตากอากาศ เดอะ ฟลอร่ า เฟรเกริ นท์ รี สอร์ทแอนด์สปา แผนที่ 3 แสดงที่ต้ งั โครงการและขอบเขตโครงการของแต่ละ มาตราส่ วน พื้นที่ ที่มา : Longdo map Not To Scale ตารางสรุ ปการให้คะแนนในแต่ละพื้นที่ เกณฑ์

Lingkage Surrounding Assessibility Road network Appoach View รวมคะแนน

คะแนน

SITE 1

4 5 3 4

ระดับ B B C A

3 6 25

B C

SITE 2 คะแนน 12 15 6 16 9 12 70

ระดับ A B C A A A

SITE คะแนน 16 15 6 16 12 24 89

ระดับ C A A B A B

คะแนน 8 20 12 12 12 18 82

หมายเหตุ A (excellent) = 4 B (very good) = 3 C (fairy good) = 2 D (poor) = 1


SITE 1 :

พื้นที่โดยรอบติดธรรมชาติ และพื้นที่เกษตร เข้าถึงได้ง่าย ใกล้กบั แหล่งท่องเที่ยว

SITE 2 : พื้นที่ติดกับธรรมชาติ มีจุดเด่นเป็ น บ่อน้ าขนาดใหญ่ในโครงการ บรรยากาศโดย รอบ มองเห็น วิว ทิวทัศน์ของภูเขา สวยงาม

SITE 3 : พื้นที่ติดกับภูเขาและพื้นที่เกษตร เข้าถึงได้ง่าย วิว ทิวทัศน์สวยงาม




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้า พเจ้า นางสาวศรั ณ ย์พ ร ชุ ม มาศ รหัส 5619102523 นัก ศึ ก ษาชั้น ปี ที่ 4 สาขาวิ ช าภู มิ สถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ ง แวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 8 ภาค การศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 130 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.73 มี ค วามประสงค์จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม “ ทัศนียฟ์ าร์ม ” อาเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Planing of “ Tasanee Farm ”,Muak Lek, Saraburi. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ สระบุรี เป็ นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย นับเป็ นเสมือนด่านผ่านระหว่างภาคกลาง กับภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ มีประวัติศาสตร์ เก่าแก่ มีความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ และพรั่ง พร้อมด้วยแหล่งท่องเที่ยวมากมายที่มีทรัพยากรการท่องเที่ยวที่สาคัญในด้านโบราณสถานทางพุทธศาสนา ประวัติศาสตร์ ประเพณี ซึ่ งยังคงคุณค่าไว้ได้อย่างครบถ้วน และแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สมบูรณ์ อยู่ เป็ นจ านวนมาก ย้อ นไปเมื่ อ ปี พ.ศ.2503 พระบาทสมเด็ จ พระเจ้า อยู่ หั ว และสมเด็ จ พระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถเสด็จ ทรงประพาสเดินทางไปประเทศเดนมาร์ ก ทรงให้ความสนใจในด้านกิจการโคนม เป็ นอย่างมาก ในปี ต่อมาทางรัฐบาลเดนมาร์ กและสมาคมเกษตรกร และได้ตกลงสัญญาระหว่างรัฐบาลไทย กับรัฐบาลเดนมาร์ ก ในการจัดตั้งฟาร์ มโคนม ที่ อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี ในปั จจุบนั เกษตรกรผูเ้ ลี้ยงโคนม ได้ รวมกลุ่มกันดาเนิ นการในรู ปแบบของสหกรณ์ ทาให้ผลิ ตน้ านมดิ บได้มากกว่าร้ อยละ 85 ของผลผลิ ตทั้ง ประเทศ ยังส่ งผลในวงกว้างในการผลักดันให้รัฐบาล และภาคเอกชนดาเนินการส่ งเสริ มการทาฟาร์ มโคนม โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม “ ทัศนียฟ์ าร์ ม ” อาเภอมวกเหล็ก จังหวัด สระบุ รี เป็ นพื้ นที่ โครงการของคุ ณทัศ นี ย ์ ขัติทะจัก ร์ เดิ ม โครงการเป็ นศู นย์เรี ย นรู ้ ข องชุ ม ชน ซึ่ ง ไม่ มี มาตรฐานฟาร์ มปศุสัตว์ โครงการมีความสนใจที่จะปรับปรุ งพื้นที่ให้มีคุณภาพและประสิ ทธิ ภาพมากขึ้ น รวมถึงจัดสรรพื้นที่โล่งให้เกิดประโยชน์ในด้านของเกษตรกรรมและปศุสัตว์ให้เป็ นระเบียบ ทาให้เกิดการ


แนวคิ ดในการนาหลัก มาตรฐานของฟาร์ มปศุ สั ตว์และเกษตรกรรมมาพัฒนาให้มี คุ ณภาพที่ ดีข้ ึ น และ นามาใช้ในการออกแบบวางผังเพื่อเพิ่มรายทางธุ รกิจครอบครัว 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อดาเนิ นกิจการฟาร์ มให้มีมาตรฐานโดยการจัดพื้นที่อย่างเหมาะสม เป็ น สัดส่ วนและมีประโยชน์สูงสุ ด 4.1.2 เพื่ อส่ ง เสริ ม อาชี พ ด้า นเกษตรกรรมและปศุ สั ต ว์ และพัฒนาธุ รกิ จ ด้า น อุตสาหกรรมโคนมให้ครบวงจรและมีมูลค่าเพิ่ม 4.1.3 เพื่ อ เปลี่ ย นจากรู ป แบบเกษตรแบบดั้ง เดิ ม ในปั จ จุ บ ัน ไปสู่ ก ารเกษตร สมัยใหม่ที่เน้นการบริ หารจัดการและเทคโนโลยี 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึ กษาปั ญหาในพื้นที่ และนาเสนอแนวทางในการปรับปรุ งแก้ไขให้มี ศักยภาพที่ดีข้ ึน 4.2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาแนวทางการออกแบบและวางผัง บริ เวณฟาร์ ม โคนมและ เกษตรกรรม 4.2.3 ศึ กษารู ปแบบการทาเกษตรสมัยใหม่ เพื่อนามาใช้กบั การออกแบบวางผัง โครงการ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ พื้นที่โครงการตั้งอยูต่ าบลลาพญากลาง อาเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ซึ่ งเป็ นพื้นที่ ฟาร์ มของเอกชน มีเนื้ อที่ประมาณ 122 ไร่ มีทรัพยากรทางธรรมชาติที่สมบูรณ์ และมีลาน้ าธรรมชาติไหล ผ่าน เป็ นอาชีพหลักของคนในครอบครัว


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม “ ทัศนียฟ์ าร์ม ” ตาบลลาพญากลาง อาเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี แผ่นที่ 1 : แสดงที่ต้ งั โครงการ ที่มา ดัดแปลงจาก https://maps.google.com/ maps/place/LamphayaKlang, สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ พื้นที่โครงการ ทางหลวงชนบท 2247 ทางหลวงชนบทสระบุรี 4005 ถนนเนินกระถิ่น ถนนส่วนบุคคล คลองลาพญากลาง

มาตราส่วน : ไม่มีมาตราส่วน


พื้นที่เกษตร

พื้นที่เกษตร

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม “ ทัศนียฟ์ าร์ม ” ตาบลลาพญากลาง อาเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี

แผ่นที่ 2 : แสดงที่ต้ งั โครงการและขอบเขตที่ดิน ที่มา : ดัดแปลงจาก https://www.google.co.th/maps สัญลักษณ์

ขอบเขตพื้นที่โครงการ

มาตราส่วน : ไม่มีมาตราส่วน

พื้นที่โครงการ

5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 สถานที่เป็ นโครงการจริ ง ที่ประกอบกิจการฟาร์ มโคนม ซึ่ งเจ้าของมีความต้องการที่ จะปรับปรุ งและพัฒนาส่ วนที่มีปัญหา 5.2.2 สถานที่โครงการเป็ นสถานที่โล่งกว้างเหมาะสาหรับเลี้ยงสัตว์หรื อทาเกษตร มีลาน้ า ธรรมชาติไหลผ่าน พื้นที่โดยรอบเป็ นการทาการเกษตรมีภูมิทศั น์ที่สวยงาม 5.2.3 เข้าถึงได้สะดวกติดกับถนนหลัก และยังเป็ นเส้นทางผ่านไปแหล่งท่องเที่ยว


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่โครงการเป็ นที่ดินของเอกชน พื้นที่ท้ งั หมดประมาณ 122 ไร่ โดยมีอาณาเขตติ ดต่อ ดังนี้ ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก

ติดกับ ติดกับ ติดกับ ติดกับ

ตาบลลาสมพุง อาเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ตาบลจันทึก อาเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสี มา ตาบลหนองน้ าใส อาเภอสี คิ้ว จังหวัดนครราชสี มา ตาบลหนองย่างเสื อและตาบลซับสนุ่น อาเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี

7. บรรณานุกรม องค์การบริ หารส่ วนตาบลลาพญากลาง.2558. “ ประวัติความเป็ นมา ” [ระบบออนไลน์] http://www.lamphayaklang.go.th/index1.php. ( 28 มกราคม 2560 ) โดยข้ า พเจ้ า ยิ น ดี ที่ จ ะปฏิ บ ัติ ต ามหลั ก และวิ ธี ด าเนิ น งานวิ ท ยานิ พ นธ์ ของคณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ



คำร้องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ปริญญำ ภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์และกำรออกแบบสิ่ง แวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่โจ้ ข้ า พเจ้ า นาย เศรษฐกรณ์ ไกรอนั น ท์ สกุ ล รหั ส 5619102525 นั ก ศึ ก ษาชั้ น ปี ที่ 4 สาขาวิ ช าภู มิ สถาปั ตยกรรม คณะสถาปัต ยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึก ษามาแล้ว จานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 130 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เ ท่ากับ 2.77 มีความประสงค์ จะขอท าวิท ยานิ พนธ์ระดับปริญญาภู มิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมีร ายละเอีย ด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมสถานพักตากอากาศ มนต์ขลัง รีสอร์ท และสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตร อาเภอ ฝาง จังหวัด เชียงใหม่ 2. หัวข้อเรื่อง (ภาษาอังกฤษ) Landscape Architectural Design and Planning Project of Magical Resort Hotel and Agro Tourist Attraction, Fang, Chiangmai. 3. ความเป็นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ปัจจุบันอาเภอฝางเป็นอาเภอทีน่ ักท่ องเที่ยวนิยมท่องเที่ยวทางธรรมชาติและมีสถานที่ท่อ งเที่ยวเชิงเกษตร เช่ น ดอยอ่ างขาง สวนส้ มธนาธร น้าพุร้ องฝาง ให้ เ ยี่ ยมชมและพั กผ่ อน และเป็ นเส้น ทางในการสัญจรระหว่ า ง จังหวัดเชียงรายถึงจังหวัดเชี ยงใหม่ โดยอาเภอฝางตั้งอยู่ ใกล้กับชายแดนประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า และ มี พื้นที่ตั้ งอยู่ ในอนุภูมิภ าคลุ่ มน้าโขง ซึ่งมี ถนนสาย R3A เป็ นการรวมมือระว่า งประเทศ เพื่ อการช่วยทางเศรษฐกิ จ ถนนจะเชื่อ มต่ อเข้ามาในประเทศไทย ท าให้มีก ลุ่มนัก ท่องเที่ ยวจีนที่ มีร ายได้สูงเข้ามาท่ องเที่ย ว โดยการใช้ร ถ ส่วนตัวเพื่อเดินทางจากอาเภอเชียงแสนไปสู่จังหวัดเชียงใหม่ ทาให้มีแนวโน้มนักท่องเที่ยวทั้งไทยและต่างชาติเพิ่ ม สูงขึ้น จึงเห็นว่ามีความเป็นไปได้ที่จะสร้างที่พักตากอากาศ เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวตามเหตุผลดังกล่าว สถานที่ตั้งโครงการเป็นพื้ นที่ของคุณ พิ ษิฐ ไกรอนัน ท์สกุล พื้นที่ส่วนใหญ่เ ป็นภู เ ขาสูง ประชากรมีทั้งชาว ไทยพื้นราบและชาวไทยภูเ ขา อ าเภอฝางเป็นอ าเภอศู นย์ก ลางความเจริญในเขตเชียงใหม่ ตอนบน คนในพื้ นที่ มี อาชีพหลัก ทาเกษตรกร และมีประเพณี ที่สืบต่อกั นมายาวนานเช่น ปอยหลวง เจ้าของพื้นที่โครงการมีแ นวคิดที่จ ะ สร้างที่พัก ตากอากาศและสถานที่ท่อ งเที่ยวเชิงเกษตร ที่มีบรรยากาศเหมือนในอดีต แสดงออกถึงเอกลั กษณ์ แบบ ดั้ง เดิ มของวิถี ชีวิ ต และมนต์ สเน่ห์ ของวั ฒนธรรมในการทาเกษตร เป็ นสิ่ งดึ งดู ด แก่ผู้ มาเยื อน สถานที่ แห่ งนี้ จ ะ ให้บ ริการนั กท่อ งเที่ยวด้ว ยสิ่ง อานวยความสะดวกที่ หลากหลาย เช่น ที่พั กแบบส่ วนตัว สปา ร้า นอาหาร และมี แม่น้าสายใหญ่ คือแม่น้าฝาง ไหลผ่านในพื้นที่ทาให้บรรยากาศโดยรอบส่งเสริมให้สามารถสร้างโครงการนี้ได้ เพื่ อ เป็นที่ รองรั บนัก ท่องเที่ยวที่ ต้องการสถานที่ พักตากอากาศ และสถานที่ ท่องเที่ยวทางเลือกใหม่ข องอาเภอฝางใน อนาคต


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็นสถานที่พักตากอากาศและสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตร 4.1.2 เพื่อพัฒนาพื้นที่ให้เ หมาะสมและตอบสนองต่อความต้องการของนักท่องเที่ยว 4.1.3 เพื่อเป็นตั วอย่างในการทาการเกษตรกรรมแบบออแกนิคและเกษตรทฤษฎีใหม่ และเสริมรายได้ให้กับเกษตรกรในพื้นที่ 4.1.4 4.2 วัตถุประสงค์หรือประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการออกแบบและวางผังสถานที่พักให้มีเ อกลักษณ์เ ฉพาะตัว เหมาะสม กับสภาพแวดล้อม 4.2.2 เพื่อศึ กษาระบบการปลูก ผักแบบออแกนิค และรู ปแบบเกษตรทฤษฎี ใหม่ เพื่ อ นามาใช้ในการออกแบบพื้นที่โครงการ 4.2.3 เพื่ อ ศึ ก ษาประวัติ วิ ถี ชีวิ ต และวั ฒนธรรมของพื้ น ที่ เพื่ อ น ามาพั ฒนาให้ เ ป็ น สถานที่พักตากอากาศเชิงเกษตรทางเลือกใหม่

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมสถานพักตากอากาศและสถานที่ท้องเที่ ย ว อาเภอ ฝาง จังหวัด เชียงใหม่

แผนที่ 1 แสดงที่ตั้งโครงการ ที่มา ตัดแปลงจาก Google Earth มาตราส่วน Not to scale


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมสถานพักตากอากาศและสถานที่ท้องเที่ ย ว อาเภอ ฝาง จังหวัด เชียงใหม่

แผนที่ 2 แสดง site linkage ,สถานที่ท่องเที่ยว สัญลักษณ์

ที่มา ตัดแปลงจาก Google Earth

ทางหลวง 107 เขตตัวเมือง เขตชุมชนหนาแน่น ที่ตั้งโครงการ มาตราส่วน Not to scale


5 สถานที่ตั้งของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ตั้ง โครงการ (แสดงแผนผัง ที่ตั้งโครงการโดย สังเขป ข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชัดเจนและ/หรือภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ตั้งโครงการ สถานที่ตั้งโครงการตั้งอยู่ที่ หมู่ บ้านสันทราย ตาบลท่ากว้าง อาเภอฝาง จัง หวัดเชียงใหม่ พื้นที่โครงการประมาณ 62 ไร่ 54 งาน 24 ตารางวา 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ตั้งโครงการ 2.2.1 เนื่องจากโครงการออกแบบวางผังภู มิสถาปัตยกรรมและสถานที่พัก ตากอากาศ และสถานที่ท้องเที่ยว จังหวัด เชียงใหม่ มีความหน้าสนใจดังนี้ 2.2.2 พื้นที่โ ครงการอยู่ในอากาศที่ดี ในตอนเช้าและเย็ น มีแ ม่น้าสายใหญ่ไ หลผ่ าน มี คุณภาพทางดินที่อุดมสมบูรณ์ และที่ไหลเข้าพื้นที่ได้สะดวก 2.2.3 สามารถเข้าถึงได้ง่าย มีถนนโดยรอบตัดผ่านพื้นที่โครงการ 2.2.4 พื้นที่ อาเภอฝาง เป็ นสถานที่ท่ องเที่ ยวเชิง เกษตรและช่ วยเพิ่ มศั กยภาพในการ รองรับนักท่องเที่ยว 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา 6.1 หมู่บ้านสันทราย ตาบลท่ากว้าง อ าเภอฝาง จั งหวัด เชียงใหม่ พื้น ที่โครงการประมาณ 62 ไร่ 54 งาน 24 ตารางวา 6.2 อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ติดกับ ทางหลวง 109 ทิศใต้ ติดกับ แม่น้าฝาง ทิศตะวันออก ติดกับ บ่อน้าธรรมชาติขนาดใหญ่ ทิศตะวันตก ติดกับ ถนนส่วนบุคคล 2 เลน และเขตป่าไม้ 7. บรรณานุกรม บัณฑิตวิทยาลัย . 2556. “คู่มือการพิมพ์วิทยานิพนธ์”. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จรั สพิ มพ์ บุ ญญานัน ต์ . 2556. “คู่มือ การดาเนิน งานวิท ยานิ พ นธ์ หลั กสู ต รภู มิสถาปัต ยกรรม ศาสตรบัณฑิต ปรับปรุงครั้งที่ 4”.เชียงใหม่ : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยแม่โจ้ www.wiangfang.org/mains/ โดยข้ าพเจ้ า ยิน ดีที่ จะปฏิ บั ติต ามหลั กและวิ ธีด าเนิน งานวิท ยานิพ นธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ (ลงชื่อ) ( นายเศรษฐกรณ์ ไกรอนันท์สกุล ) 29 / 01 / 2560



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว สุ ทีวนั ชุ่มวงศ์ รหัส 5619102528 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อมศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.23 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภู มิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมแหล่งท่องเที่ยว อ่างเก็บน้ าบ้านพระบาท อาเภอเมืองลาปาง จังหวัดลาปาง 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) Landscape Architectural Planning And Improvement of The BanPrabat Reservoir tourist Attraction, Muang Lampang , Lampang. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จังหวัดลาปางเป็ นจังหวัดที่มีสภาพภูมิประเทศเป็ นขุนเขาทอดยาวจากเหนื อจรดใต้ จากสภาพภูมิ ประเทศของจังหวัด ประกอบกับเป็ นเมืองเก่าแก่มาร่ วม 1,300 ปี จึงทาให้เป็ นจังหวัดที่มีแหล่งท่องเที่ยวมากมาย อีก ทั้งมีสถานที่ ให้นกั ท่องเที่ ยวได้มาศึ กษาหาความรู ้และมาพักผ่อนหย่อนใจ ทั้งแหล่งท่องเที่ ยวทางธรรมชาติ และ แหล่งท่องเที่ยวทางด้านโบราณสถาน โบราณวัตถุ ป่ าไม้ ขอบเขตอุทยานแห่ งชาติต่างๆที่ยงั คงมีความอุดมสมบูรณ์ เป็ นแหล่งต้นน้ าลาธารที่สาคัญที่รักษาระบบนิเวศ และหล่อเลี้ยงชี วิตความเป็ นอยู่ของชาวจังหวัดลาปาง นอกจากนี้ จังหวัดลาปางยังคงความเป็ นเอกลักษณ์ที่โดดเด่น โดยมีรถม้าเป็ นพาหนะในการรับส่ งผูโ้ ดยสารมากว่า 80 ปี แล้ว ปั จ จุ บันยัง คงใช้เ ป็ นพาหนะให้บริ ก ารนัก ท่ องเที่ ย วนั่งเยี่ ย มชมสถานที่ ส าคัญ ของจัง หวัด ลาปาง ในการเป็ น เอกลักษณ์สาหรับดึงดูดนักท่องเที่ยว อ่างเก็บน้ าบ้านพระบาท เป็ นแหล่งน้ าสาธารณะขนาดเล็กของตาบลพระบาท มีผดู ้ ูแลคือเทศบาล เมื องเขลางค์นครลาปาง แต่ เดิ มอ่างเก็บน้ าแหล่งนี้ มีความสาคัญต่ อความเป็ นอยู่ของชุ มชน กักเก็บน้ าไว้ใช้เพื่ อ การเกษตร เป็ นแหล่งอาหารให้ชุมชน ยังสามารถรองรับกิจกรรมประเภทพักผ่อนหย่อนใจ นันทนาการของคนใน จังหวัดลาปาง ที่มีความสมบูรณ์ทางธรรมชาติและบรรยากาศที่สวยงาม ปั จจุ บนั พื้ นที่ ไม่ได้รับการพัฒนาอย่างต่ อเนื่ อง บางส่ วนถูกปล่อยให้รกร้ าง ขาดการดู แลและ ส่ งเสริ มจากภาครัฐให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิ งธรรมชาติ ทั้งยังไม่เพียงพอต่อการขยายตัวของประชากรในเขตพื้นที่ จากแผนยุทธศาสตร์ ที่ 7 ว่าด้วยการพัฒนา ส่ งเสริ ม ด้านการท่ องเที่ ยวเชิ งอนุ รักษ์ และด้านเศรษฐกิ จ ตามแผน ยุทธศาสตร์การพัฒนาเทศบาล ทาให้เกิดแนวคิดจัดทาสถานที่ท่องเที่ยวรับรองกิจกรรมนันทนาการในรู ปแบบใหม่ เป็ นแหล่ งเรี ย นรู ้ ส าหรั บ เด็กและเยาวชนเชิ งธรรมชาติ ในรู ปแบบของอ่ า งเก็บ น้ า ที่ ส ร้ า งขึ้ นมาเพื่ อเลี ย นแบบ


ธรรมชาติ ทาให้เกิ ดแนวความคิ ดในการออกแบบโครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมแหล่ง ท่องเที่ยวอ่างเก็บน้ าบ้านพระบาท อาเภอเมืองลาปาง จังหวัดลาปางขึ้น เพื่อตอบสนองนโยบายของเทศบาล 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อปรับปรุ งสภาพพื้นที่สาหรับรองรับกิจกรรมนันทนาการของจังหวัดลาปางให้ เกิดการใช้ประโยชน์สูงสุ ด 4.1.2 เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิ งธรรมชาติสาหรับพักผ่อน เพื่อสร้างรายได้ ส่ งเสริ ม และ ยกระดับเศรษฐกิจของจังหวัดให้ดีข้ ึน 4.1.3 เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้สาหรับเด็กและเยาวชนในจังหวัดลาปาง 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึ กษาแนวทางการออกแบบและการวางผังพื้นที่ ใช้สอย สาหรับปรับปรุ ง ภูมิทศั น์รอบอ่างเก็บน้ าบ้านพระบาท ให้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่เดิม 4.2.2 เพื่อศึ กษาหลักการออกแบบทางภูมิสถาปั ตยกรรมแหล่งท่องเที่ ยวเชิ งธรรมชาติ ส่ งผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมให้นอ้ ยที่สุด 4.2.3 เพื่ อศึ กษารู ปแบบกิ จกรรมนันทนาการส าหรั บคนทัว่ ไปและแหล่ งเรี ย นรู ้ เชิ ง ธรรมชาติ สาหรับเด็กและเยาวชน 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1.1 พื้นที่โครงการมีการคมนาคมที่มีความสะดวกและเป็ นเส้นทางผ่านของสถานที่ ท่องเที่ยวต่างๆในจังหวัดลาปาง เช่น เหมืองถ่านหิ นลิกไนต์ ทุ่งดอกบัวตอง พิพิธภัณฑ์เซรามิค เป็ นต้น 5.1.2 เนื่ อ งจากพื้ น ที่ มี อ่ า งเก็ บ น้ า และร้ า นอาหารริ ม น้ า ในตัว ท าให้เ กิ ด กิ จ กรรม หลากหลาย ทางเทศบาลต้องการสร้างที่ท่องเที่ยวรู ปแบบใหม่ในการดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เพิ่มขึ้น จึงเสนอให้มีการ เช่าพื้นที่สาธารณะเพื่อสร้างรายได้ ส่ งเสริ มและยกระดับเศรษฐกิจภายในโครงการให้ดีข้ ึน


โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมแหล่งท่องเที่ยว อ่างเก็บน้ าบ้านพระบาท อาเภอเมืองลาปาง จังหวัดลาปาง แผนที่ 1 แสดงขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์

พื้นที่โครงการเดิม พื้นที่ส่วนขาย เส้นทางถนน

ที่มา: จาก ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth ,4/11/2016

Not to scale


โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมแหล่งท่องเที่ยว อ่างเก็บน้ าบ้านพระบาท อาเภอเมืองลาปาง จังหวัดลาปาง แผนที่ 2 แสดงการเข้าถึงโครงการ สัญลักษณ์

พื้นที่โครงการ เส้นทางการเข้าถึง

Not to scale

ที่มา: จาก ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth ,4/11/2016 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา โครงการตั้งอยูท่ ี่ เลขที่ 11 หมู่ 2 ถนนอ้อมเมือง ตาบลพระบาท อาเภอเมืองลาปาง จังหวัดลาปาง 52000 มีเนื้อที่ 166 ไร่ ทิศเหนือ ติดต่อกับ พื้นที่การเกษตร(ถนนวชิราวุธดาเนิน) ทิศตะวันออก ติดต่อกับ พื้นที่ป่า ทิศใต้ ติดต่อกับ พื้นที่การเกษตร ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ถนนอ้อมเมือง (หมายเลข11)




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมสิ ถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย เสฏฐวุฒิ ยวงทอง รหัส 5619102529 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภู มิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิต สะสม 127 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.72 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรั บปรุ งภู มิส ถาปั ตยกรรมพื้ นที่ เฉพาะ เมื องไชน่ า ทาวน์รังสิ ต อ. ธัญบุรี จ. ปทุมธานี 2. หั ว ข้ อ เรื่ อง (ภาษาอัง กฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning Project of Rangsit Chinatown Special Area, Thanyaburi, Prathum Thani. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ พื้นที่การค้าและชุมชนย่านตลาดรังสิ ต ตั้งอยูใ่ นเขตพื้นที่การปกครองของสานักงานเทศบาลนคร รังสิ ต นับว่าเป็ นศูนย์กลางการค้าที่ มีความสาคัญต่อรังสิ ตและพื้นที่ขา้ งเคียง ที่มีการพัฒนามายาวนาน ตั้งแต่สมัยที่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 มีพระราชปณิ ธานอันแน่ วแน่ ที่จะพัฒนาที่ ดินในทุ่งหลวง (รังสิ ต)ให้เกิ ดประโยชน์แก่ ประชาราษฎรในการทามาหากิ นจึ งได้ทรงโปรดเกล้าฯให้มีการขุดคลองขึ้ น ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2433 และทรงพระราชดาริ ที่จะพัฒนาทุ่งหลวงให้เกิดประโยชน์แก่ราษฎร ส่ งผลให้มีการอพยพหรื อลี้ภยั ของ ชาวต่างชาติ และชาวจี นมาตั้งถิ่ นฐานใกล้แหล่งแม่น้ าลาคลองเกิ ดการค้าขายขึ้ นในย่านนี้ ปั จจุบนั บริ เวณนี้ มีผูต้ ้ งั บ้านเรื อนที่อยู่อาศัยมากขึ้นเรื่ อยๆ เปลี่ยนแปลงจากพื้นที่คา้ ขายริ มคลอง มาเป็ นย่านตึกแถวพาณิ ชยกรรม และเป็ น ศูนย์กลางการค้า แบบ One-stop-shopping ทาให้ย่านตลาดรั งสิ ตเป็ นย่านธุ รกิ จการค้าที่ มีความหลากหลาย เช่ น สถาบันการเงิน แหล่งอาหาร รวมไปถึงจุดเด่นในย่านนี้ คือ ร้านค้าทอง ที่มีมากมาย อีกแหล่งหนึ่ ง รองจากร้านทอง ย่านเยาวราชก็วา่ ได้ อีกทั้งยังมีกิจกรรมที่หลากหลายของแต่ละ เชื้อชาติ และศาสนา ในปั จจุบนั ย่านตลาดรังสิ ตเป็ นพื้นที่ ที่มีประชากรเพิ่ มมากขึ้ นอย่างรวดเร็ ว มีการกระจุกตัวของ ตึ กแถว และมี ปัญหาเกี่ ยวกับจราจรติ ด ขัด ไม่มีพ้ื นที่ ว่างในการรองรั บเหตุ ฉุกเฉิ น พื้ นที่ เลี ยบคลองรังสิ ตไม่ถูก พัฒนาให้เกิดประโยชน์ ประกอบกับพื้นที่สาธารณะ และสภาพแวดล้อมไม่มีคุณภาพ ส่ งผลทาให้คุณภาพชี วิตผูอ้ ยู่ อาศัยในพื้นที่เสื่ อมโทรม โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่ เฉพาะ เมืองไชน่ าทาวน์ รังสิ ต เป็ นการ อนุ รั ก ษ์ ฟื้ นฟู และพัฒ นาสภาพแวดล้อ มบริ เวณย่า นตลาดรั งสิ ต ที่ มี ป ระวัติศ าสตร์ แ ละเอกลัก ษณ์ ที่ ย าวนาน นอกจากนี้ เทศบาลนครรังสิ ตได้มีแนวคิดในการจัดทาโครงการในปี พ.ศ.2553 ซึ่ งเป็ นโครงการที่ น่าสนใจในการ


นามาศึ กษาเพื่ อเป็ นแหล่งสถานที่ ท่องเที่ ยว เป็ นประตู ตอ้ นรั บสู่ กรุ งเทพมหานครฯทางตอนเหนื อ และเป็ นย่าน การค้าแห่ งใหม่ของเทศบาลนครรั งสิ ต ที่ มีความสาคัญต่ อการพัฒ นาพื้ นที่ สาธารณะร่ วมกับพื้ นที่ เอกชนอย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ เป็ นย่านท่องเที่ยวเชิ งสร้างสรรค์ที่มีความเกี่ยวเนื่ องกับวิถีการประกอบอาชี พของคนในท้องถิ่นและ การจับจ่ายซื้ อขายสิ้ นค้า 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อปรับปรุ งพื้ นที่ ย่านตลาดรังสิ ต ที่ มีสภาพทรุ ดโทรมให้มีการใช้งานระหว่าง กิจกรรมและการใช้ประโยชน์ให้แก่คุณภาพชีวิตคนในชุมชน 4.1.2 เพื่ อส่ งเสริ มให้ย่านตลาดรั งสิ ตเป็ นประตู ต ้อนรั บสู่ กรุ งเทพมหานครทางตอน เหนือและเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ดึงดูดนักท่องเที่ยวจากกรุ งเทพมหานครฯและจังหวัดใกล้เคียง 4.1.3 เพื่อเป็ นการอนุรักษ์ ฟื้ นฟู และพัฒนา สภาพแวดล้อมในเขตเทศบาลนครรังสิ ตที่ มีประวัติศาสตร์และเอกลักษณ์มายาวนาน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 ศึกษาข้อมูลย่านตลาดรังสิ ตจากอดีตจนถึงปั จจุบนั ทั้งด้านประเพณี วัฒนาธรรม และ การเปลี่ยนแปลงของย่านตลาดรังสิ ตเพื่อนาไปสู่ การออกแบบและปรังปรุ งเป็ นเมืองไชน่าทาวน์ 4.2.2 เพื่อศึกษาความเชื่อมโยงระหว่างคลองรังสิ ตกับย่านตลาดรังสิ ตจากอดีตจนถึงปัจจุบนั 4.2.3 ศึกษาแนวทางการออกแบบและปรับปรุ งภูมิทศั น์พ้ืนที่ย่านการค้าและชุมชนเพื่อเป็ น แหล่งท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และคุณภาพชีวิตคนในชุมชน 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ โครงการตั้งอยู่บ นพื้ น ที่ ดิ น ของเทศบาลรั งสิ ต และเอกชนส่ วนใหญ่ พื้ น ที่ ท้ ังหมด ประมาณ 557 ไร่ ตั้งอยูท่ ี่ ตาบล ประชาธิ ปัตย์ อาเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 พื้นที่ย่านตลาดรังสิ ตมีศกั ยภาพที่มีความโดดเด่นในด้านการขายค้าและเป็ นพื้นที่ ในเชิงประวัติศาสตร์ ตั้งแต่อดีต – ปัจจุบนั 5.2.2 พื้นที่ในย่านตลาดรังสิ ตมีแหล่งจับจ่ายมากมายให้ซ้ื อขายได้ตลอดทั้งวัน 5.2.3 พื้นที่ยา่ นตลาดรังสิ ตมีความหลากหลายของพื้นที่ทบั ซ้อนทางด้านประวัติศาสตร


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่เฉพาะ เมืองไชน่าทาวน์รังสิ ต แผนที่ 1 แสดงพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ ที่มา: https://www.google.co.th/maps/place/ตลาดรังสิ ต


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่เฉพาะ เมืองไชน่าทาวน์รังสิ ต แผนที่ 2 แสดงรายชื่อทางสัญจรและลาคลองที่ต้งั โครงการ สัญลักษณ์ ถนนกาแพงเพชร 6 ถนน รังสิ ต – ปทุมธานี – นครนายก คลองรังสิ ต ถนนพหลโยธิน ที่มา https://www.google.co.th/maps/place/ตลาดรังสิ ต





คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวโสรยา สื บแสน รหัส 5619102530 นักศึ กษาในชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อมศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 130 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.33 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง(ภาษาไทย)โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมอุทยานการเรี ยนรู ้เศรษฐกิ จ พอเพียงและสถานพักตากอากาศ อาเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสี มา 2. หัวข้อเรื่ อง(ภาษาอังกฤษ)The Landscape Architectural Design and Planning project of

Sufficientcy Economy Knowledge Park and Resort, Pakchong, Nakhonratchasima. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จังหวัดนครราชสี มาเป็ นจังหวัดที่มีอาณาเขตมากที่สุดในภาคอีสาน มีเอกลักษณ์ท้ งั ทางด้านภาษา และด้านวัฒนธรรม รวมถึงความอุดมสมบูรณ์ทางด้านทรัพยากรจึงทาให้จงั หวัดนครราชสี มาเป็ นสถานที่ท่องเที่ยว ที่มีความหลากหลาย ทั้งทางประวัติศาสตร์ ทางธรรมชาติ อาทิ ปราสาทหิ นพิมาย อนุสาวรี ยท์ า้ วสุ รนารี อุทยาน แห่ งชาติเขาใหญ่ เป็ นต้น อาเภอปากช่องเป็ นอาเภอหนึ่ งที่ ได้รับความนิ ยมจากนักท่องเที่ ยว เนื่ องจากอยู่ไม่ไกล จากกรุ งเทพมหานคร จึงเป็ นอีกหนึ่ งทางเลือกสาหรับนักท่องเที่ยวที่มีความสนใจแต่มีเวลาในการท่องเที่ยวที่จากัด สามารถไปเช้าเย็นกลับได้ อาเภอปากช่องโดดเด่นในเรื่ องของสถานที่ ท่องเที่ ยวเชิ งธรรมชาติ และมีผูม้ าท่องเที่ ยว เป็ นจานวนมากจึ งทาให้มีความต้องการในด้านของที่ พกั อีกทั้งวิถีชีวิตความเป็ นอยู่ของผูค้ นในท้องถิ่นยังคงเป็ น การดาเนินชีวิตในภาคการเกษตรรวมไปถึงภาคการปศุสตั ว์ โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมอุทยานการเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงและสถานพัก ตากอากาศ อาเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสี มา เป็ นโครงการที่เกิดขึ้นเพื่อให้เกษตรกรที่ประสบปั ญหาในเรื่ องการ ผลิต คุณภาพผลผลิต และผลผลิตต่ าทาให้รายได้ต่ า โดยมีสาเหตุมาจากขาดความรู ้ในเรื่ องการทาการเกษตรที่ เหมาะสม การปรับปรุ งดิน ขาดเทคโนโลยีการผลิตที่เหมาะสม ขาดแผนการผลิ ต ขาดการรวมกลุ่มการซื้ อการขาย และขาดการอนุ รักษ์ธรรมชาติ จึ งเกิ ดเป็ นแผนงานโครงการแนวทางพัฒ นาต าบลหนองน้ าแดง สอดคล้องกับ นโยบายของทางราชการ การท่ อ งเที่ ย วเชิ งเกษตรกรรมนั้น เป็ นอี ก ทางเลื อ กหนึ่ งที่ ส ามารถตอบโจทย์ข อง


นักท่ องเที่ ยวและผูค้ นในท้องถิ่นจึ งกลายเป็ นสถานที่ ท่องเที่ ยวและสถานที่ พกั ผ่อนรวมไปถึงเป็ นแหล่งรวบรวม ข้อมู ลและการสาธิ ต เผยแพร่ แ นวคิ ด ทฤษฎี เศรษฐกิ จพอเพี ยงตามแนวพระราชด าริ ข องพระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ที่จะสามารถเอื้อประโยชน์แก่ผทู ้ ี่ตอ้ งการศึกษาและนักท่องเที่ยวได้เป็ น อย่างดี 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อพัฒนาพื้นที่ให้เป็ นที่พกั และสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตร 4.1.2 เพื่ อ เป็ นศู น ย์ก ลางการเผยแพร่ แ นวความคิ ด และแนวทางปฏิ บัติ ข องทฤษฎี เศรษฐกิ จพอเพี ยงตามแนวพระราชดาริ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชรัชกาลที่ 9 แก่ผูท้ ี่ สนใจในเรื่ องแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงเรื่ องการทาการเกษตรแบบผสมผสาน 4.1.3 เพื่อยกระดับเศรษฐกิจของพื้นที่และส่ งเสริ มรายได้ให้แก่ประชาชนภายในพื้นที่ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมเพื่อเป็ นสถานที่พกั ตากอากาศและแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร 4.2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาหลัก แนวคิ ด ของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เพื่ อ น ามาประยุ ก ต์ใ ช้ใ นการ ออกแบบวางผังโครงการได้อย่างเหมาะสม 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ พื้นที่ต้ งั โครงการมีขนาดพื้นที่ 189 ไร่ โครงการตั้งอยูต่ าบลหนองน้ าแดง อาเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสี มา


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานการเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงและสถานพักตากอากาศ อาเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสี มา มาตราส่ วน แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั และขอบเขตโครงการ ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth(30 มกราคม 2560) NOT TO SCALE สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ถนนธนะรัชต์ (ทางหลวงหมายเลข2090) ถนนสาธารณะประโยชน์


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานการเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงและสถานพักตากอากาศ อาเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสี มา แผนที่ 2 แสดงที่ต้ งั โครงการและความเชื่อมโยงของโครงการและสถานที่ ท่องเที่ยว

มาตราส่ วน

ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth (30 มกราคม 2560) สัญลักษณ์

พื้นที่โครงการ ถนนมิตรภาพ (ทางหลวงหมายเลข 2) ถนนธนะรัชต์ (ทางหลวงหมายเลข 2090)

NOT TO SCALE



SITE SELECTION

โครงการออกแบบและวางผัง ภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมอุ ท ยานการเรี ยนรู ้ เศรษฐกิ จ พอเพี ย งและสถานพั ก ตากอากาศ อาเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสี มา มาตราส่ วน แผนที่ 3 แสดงที่ต้ งั และขอบเขตโครงการ ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth (30 มกราคม 2560) NOT TO SCALE สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการ ถนนมิตรภาพ (ทางหลวงหมายเลข 2) ถนนธนะรัชต์ (ทางหลวงหมายเลข 2090)


ตารางสรุ ปการให้คะแนนในแต่ละพื้นที่ เกณฑ์ คะแนน SITE 1 ระดับ Accessibility 4 B Road network 3 A Approach 3 B View 6 A Surrounding 5 A Linkage 4 A รวม 25

SITE 2 คะแนน ระดับ 12 A 9 A 9 B 24 A 20 A 16 A 90

SITE 3 คะแนน ระดับ 16 B 12 C 9 C 24 A 20 B 16 B 97

หมายเหตุ: น้ าหนักคะแนนคือระดับความสาคัญของหลักเกณฑ์โดยมีการแบ่งดังนี้ A (Excellent) = 4 B (Very good) = 3 C (Good) = 2 D (Poor) = 1

คะแนน 8 6 6 24 15 16 75


SITE 1 พื้นที่ประมาณ 296 ไร่ อยูต่ ิดถนนธนะรัชต์ ใกล้แหล่งชุมชนที่มีประชากร อาศัยอยูค่ ่อนข้างหนาแน่น ทิศใต้ติดกับโครงการบ้านจัดสรรและคอนโดมิเนียม การ เข้าถึงค่อนข้างสะดวก ใกล้กบั ห้างสรรพสิ นค้า พื้นที่เดิมเป็ นพื้นที่ทางการเกษตร มองเห็นวิวเมืองและภูเขา

SITE 2 พื้นที่ 189 ไร่ อยูต่ ิดถนนธนะรัชต์ ทิศตะวันออกตรงข้ามกับแหล่งชุมชน ใกล้ ห้างสรรพสิ นค้า การเข้าถึงพื้นที่เป็ นไปโดยสะดวกรวมถึงบริ การสาธารณะ ใกล้กบั ห้างสรรพสิ นค้า ใกล้แหล่งท่องเที่ยวสาคัญ เช่น ฟาร์มโชคชัย อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ร้านอาหาร สถานที่ท่องเที่ยวแอดเวนเจอร์ต่างๆ พื้นที่เดิมเป็ นพื้นที่ทางการเกษตร มองเห็น วิวภูเขา 360 องศา

SITE 3 พื้นที่ 90 ไร่ ห่างจากถนนเส้นหลักประมาณ 15 กิโลเมตร มองเห็นวิว ภูเขา รายล้อมด้วยสถานพักตากอากาศ อยูใ่ กล้แหล่งท่องเที่ยว เช่น อุทยาน แห่งชาติเขาใหญ่ น้ าผุดธรรมชาติ พื้นที่เดิมเป็ นพื้นที่ทางการเกษตร มองเห็น วิวภูเขา



คาร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริญญาภูมสิ ถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว อรยา ปรั ง รหัส 5619102531 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิส ถาปั ตยกรรม คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 130 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.96 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมชุมชนย่านริ มแม่น้ ากกน้อย อาเภอเมือง จังหวัด เชียงราย 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) Landscape Architectural Design and Improvement Project of Koknoi Riverside Community District, Muang, Chiangrai. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จัง หวัด เชี ย งรายเป็ นจัง หวัด ที่ ต้ ัง อยู่ใ นภาคเหนื อ ของประเทศไทยเป็ นที่ ต้ ัง ของเมื อ งที่ มี ค วามส าคัญ ทาง ประวัติศาสตร์ต้ งั แต่ยคุ ก่อตั้งอาณาจักรล้านนา มีแม่น้ าสาคัญคือแม่น้ ากก ลาน้ ากกตอนใน มีชื่อเรี ยกว่า “แม่น้ ากกน้อย” เป็ นทางน้ า เดิมของแม่น้ ากกสายใหญ่ ที่ทอดตัวอยู่ในพื้นที่เมืองของเขตเทศบาลนครเชี ยงราย มีความยาวประมาณ 2 กิโลเมตร ในอดีต แม่น้ า กกน้อยเคยเป็ นทางน้ าที่มีน้ าไหลเชื่ อมต่อกับแม่น้ ากกสายใหญ่ ประชาชนในพื้นที่เคยได้ตกั น้ ามาใช้ ซักเสื้ อผ้าริ มฝั่งน้ า หาปลา เล่นน้ า พายเรื อไปมาหาสู่ กนั หลังจากนั้น เมื่อประมาณ 20-30 ปี ที่ผ่านมา ได้มีการพัฒนาพื้นที่ทางตอนเหนื อของลาน้ าเพื่อสร้างรี สอร์ ท มีการขุดลอกทางน้ าลัดจากแม่น้ ากกน้อยตอนบนลงแม่น้ ากกสายใหญ่ ทาให้แม่น้ ากกน้อยตอนในซึ่ งเป็ นลาน้ าส่ วนใหญ่ที่ เหลืออยู่ไม่มีน้ าจากแม่น้ ากกสายใหญ่ไหลผ่านอี กต่อไปซึ่ งแม่น้ ากกน้อยนั้นได้ไหลผ่านของตัวชุ มชนเกาะลอย ชุ มชนรั้งเหล็ก เหนื อและชุมชนรั้วเหล็กใต้ ซึ่ งในอดี ตชุมชนเหล่านี้ เคยหันหน้าบ้านสู่ ลาน้ ากกที่ เคยเป็ นในอดีต กลับกลายเป็ นผนัง -กาแพงทึ บ และรั้วที่ ถูกสร้างขึ้นกั้นตลอดความยาวของลาน้ า การคมนาคมทางบก ถนน ทาให้บา้ นหันหน้าสู่ ถนนที่ มีความสาคัญกว่า และมี บันไดที่ทอดลงสู่ลาน้ าซึ่ งเคยเป็ นทางเข้า-ออกของบ้านเรื อนถูกทิ้งร้าง ในปั จจุ บนั แม่ น้ า กกน้อยใช้ประโยชน์เพี ยงเป็ นทางระบายน้ าฝนที่ ไหลหลากจากพื้ นที่ ต อนเหนื อของเมื อง เชียงราย และเป็ นแหล่งรองรับน้ าเสี ยจากบ้านเรื อน อาคารชุด ร้านค้า ฯลฯ ที่อยู่สองฝั่งลาน้ า พื้นที่ท้ งั หมดถูกปล่อยทิ้งให้รกร้าง มี สภาพเสื่ อมโทรม ขาดสุ ขลักษณะ สภาพทางนิเวศเสื่ อมสภาพลงด้วยการทิ้งขยะและเศษกิ่งไม้-ใบไม้โดยขาดการควบคุม เทศบาลนครเชี ยงรายได้ตระหนักในปั ญหานี้ เป็ นอย่างมากและมี แผนพัฒนาในการปรั บปรุ งพื้ นที่ จึงได้เกิ ด แนวคิดในการนาโครงการนี้มาสานต่อและออกแบบปรับปรุ งในพื้นที่ดงั กล่าว โดยมีย่านชุมชนเกาะลอยที่เป็ นชุมชนหลักที่สาคัญ ในโครงการ เป็ นย่านชุ มชนที่ มีผคู ้ นอาศัยอยู่หนาแน่ น เป็ นย่านเศรษฐกิ จการค้าขายของคนในเมื อง อี กทั้งยังอยู่ใกล้กบั แหล่ง ท่องเที่ ยวและศูนย์ให้บริ การต่างๆ เพื่อนามากาหนดแนวทางการออกแบบที่สอดคล้องกับธรรมชาติ ภูมิปัญญา และวิถีชีวิตของ ชุมชน ซึ่ งตั้งอยูท่ ี่ตาบลเวียง อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย บริ เวณระหว่างริ มน้ ากกสายใหญ่ สายกลาง สายใน(แม่น้ ากกน้อย) บริ เวณ


ย่านชุ มชนเกาะลอย โดยการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมเพื่อแก้ไขปั ญหา เป็ นการช่ วยส่ งเสริ มกิ จกรรมเพื่ อพัฒนาคุณภาพชี วิต ให้แก่ชุมชน และเสริ มสร้างความสัมพันธ์ที่ดีแก่คนชุมชนและคนที่อาศัยอยูบ่ ริ เวณรอบๆอีกด้วย

4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อฟื้ นฟูระบบนิเวศแม่น้ ากกน้อยและชุมชนให้มีความสมบูรณ์อย่างยัง่ ยืน สะท้อนสภาพการณ์ ที่เคยเป็ นในอดีต ให้เอื้อประโยชน์ท้ งั ทางนิเวศและทางวัฒนธรรม 4.1.2 เพื่อให้มีพ้ืนที่สาธารณะสาหรับชุมชนอานวยประโยชน์ดา้ นอื่นๆแก่พ้ืนที่เมือง เช่น การระบาย น้ า การปรับปรุ งคุณภาพน้ า การส่ งเสริ มคุณภาพสิ่ งแวดล้อมให้แก่ที่อยูอ่ าศัยและชุมชน 4.1.3 เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้แก่ชุมชน และเสริ มสร้างความสัมพันธ์ที่ดีแก่คนชุมชนและคนที่อาศัย อยูบ่ ริ เวณรอบๆ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อการศึกษา สารวจ วางแผน และออกแบบเพื่อการฟื้ นฟูระบบนิ เวศพื้นที่ริมแม่น้ ากกน้อย สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน การปรับปรุ งคุณภาพน้ าการใช้น้ า การประมง การป้ องกันน้ าท่วม การสัญจรทางน้ าการ ควบคุมพาหะนาโรคและสิ่ งอันตรายต่างๆ และการฟื้ นฟูและอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ 4.2.2 เพื่อศึ กษาแนวทางการออกแบบพื้นที่ สาธารณะสาหรับชุ มชนเมืองและปั จจัยที่ มีผลกระทบต่อ การออกแบบพื้นที่ยา่ นริ มน้ ากกและยานชุมชนเกาะลอย 4.2.3 ศึกษาวิถีชีวิตและความเป็ นอยูข่ องคนในชุมชน เพื่อนาข้อมูลมาใช้เป็ นแนวทางในการออกแบบ ปรับปรุ งภูมิทศั น์ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ พื้นที่โครงการตั้งอยูใ่ นเขตเทศบาลนครเชี ยงราย อาเภอเมือง จังหวัดเชี ยงรายติดกับลา น้ ากกสายใหญ่ สายกลาง และสายใน โดยมีพ้ืนที่ประมาณ 285 ไร่ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 เนื่ องจากพื้นที่โครงการตั้งอยู่ติดกับแม่น้ ากก ภายในตัวเมืองจังหวัดเชี ยงรายมีลกั ษณะเด่นใน ด้านการเป็ นที่พกั ผ่อนหย่อนใจของคนในชุมชน 5.2.2 เนื่ องจากพื้นที่โครงการเป็ นย่านชุมชนที่มีผคู ้ นอาศัยอยู่หนาแน่น แต่ประสบปั ญหาความเสื่ อม โทรม ขาดสุ ขลักษณะของพื้นที่ ควรมีการดาเนินการปรับปรุ งแก้ไข

5.2.3 ต่างๆ

เนื่องจากพื้นที่โครงการเป็ นย่านเศรษฐกิจการค้าขายของคนในเมืองอีกทั้งยังอยู่ใกล้กบั แหล่งท่องเที่ยวและศูนย์ให้บริ การ 5.2.4 เนื่องจากพื้นที่โครงการมีเส้นทางผ่านและการเข้าถึงที่สะดวกสบายหลายเส้นทาง


โครงการออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมย่านชุมชนริ มน้ าริ มแม่น้ าริ มแม่น้ ากกน้อย จังหวัดเชียงราย แผ่ นที่ 1 : แสดงขอบเขตที่ต้ งั และเส้นทางน้ า ที่มา : google Earth สัญลักษณ์ :

มาตราส่ วน ขอบเขตพื้นที่ ขอบเขต เส้นทางน้ า ถนน กลางเวียง

Not to scale

N


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา 6.1 ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา มีขนาดการศึกษาประมาณ 285 ไร่ ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลนครเชี ยงราย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ติดกับลาน้ ากกสายใหญ่ สายกลาง และสายใน อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ลาน้ ากก ทิศใต้ ติดต่อกับ ย่านชุมชนวัดศรี บุญเรื อง ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ย่านชุมชนสันติธรรม ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ถนนไกรสรสิ ทธิ์

โดยข้าพเจ้ายินดี ที่จะปฏิ บตั ิ ตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการ ออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


ความเห็นของคณะกรรมการประจาหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ความเห็นของประธานกรรมการประจาหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนินงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.