รวมหัวข้อวิทยานิพนธ์ สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม พ.ศ. 2564

Page 1



รวมหัวข้อวิทยานิพนธ์ สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม พ.ศ. ๒๕๖๔ เห็นชอบโดย คณะกรรมการประจำหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรม

รวบรวมโดย ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้



รายชื่อหัวข้อและประธานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ภาคการศึกษาที่ 2/2563 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม (นักศึกษารหัส 60 ลงทะเบียนปรกติ) ลำดับ รหัส

ชื่อ-สกุล

ประเภทของโครงการ

ชื่อโครงการ

กลุ่มที่ 1 1.

5919102508

ชัยวรุฒ อภิสิทธิ์โยธิน พื้นที่พาณิชยกรรม

2.

6019102515

บัญชา แซ่อัง

พื้นที่ริมน้ำ ชุมชนเมือง

3.

6019102530

อภิชญา อีสา

สวนสนุก

"ชยา" พรีเมี่ยมเอาท์เล็ทและจุดแวะพักนัก เดินทาง อ. เมืองนครสวรรค์ จ. นครสวรรค์ พื้นที่สาธารณะริมน้ำน่านย่านวัดจันทร์ ตะวันออก อ. เมืองพิษณุโลก จ. พิษณุโลก สวนสนุกเมืองเนเวอร์แลนด์ อ .เมืองอุบลราชธานี จ. อุบลราชธานี

กลุ่มที่ 2 4.

5919102536

วรพศ คมขำ

ชุมชนจัดสรร

5.

6019102510

ฌาน ศุภารัตน์

พื้นที่ริมทะเล ชุมชนเมือง

6.

6019102513

ธนาภรณ์ ทองน้อย

พื้นที่ริมน้ำ ชุมชนเมือง

7.

6019102514

นลธวัช คำผัด

สวนสนุก

โครงการอยู่อาศัยแบบผสมผสานเพื่อกลุ่มความ หลากหลายทางเพศ อ. บางพลี จ. สมุทรปราการ พื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันตกปากน้ำปราณเพื่อ การอนุรักษ์และส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรมประมง อ. ปราณบุรี จ. ประจวบคีรีขันธ์ พื้นที่ริมน้ำโขงย่านชุมชนเมืองบึงกาฬ จ. บึงกาฬ สนุกอเวนเจอร์ปาร์ค อ. เมืองเชียงใหม่ จ. เชียงใหม่

กลุ่มที่ 3 8.

6019102502

กิดากาญจน์ เถินบุรินทร์ พื้นที่ริมน้ำ ชุมชนเมือง

9.

6019102503

กุลชา ปาลวัฒน์

ชุมชนเมือง

10.

6019102527

สมโภชน์ สุขแปดริ้ว

ชุมชนจัดสรร

พื้นที่สาธารณะริมแม่น้ำวังย่านกาดกองต้า อ. เมืองลำปาง จ. ลำปาง พื้นที่ชุมชนเมืองเพื่อการอยู่อาศัยร่วมกันของ มนุษย์และลิง อ. เมืองลพบุรี จ. ลพบุรี โครงการที่อยู่อาศัยเพื่อความความปลอดภัย ความมั่นคงและความยั่งยืน อ. เมืองเชียงใหม่ จ. เชียงใหม่


ลำดับ รหัส

ชื่อ-สกุล

ประเภทของโครงการ

ชื่อโครงการ

กลุ่มที่ 4 11.

6019102505

จตุพงษ์ ธาตุอินทร์จันทร์ รีสอร์ทเชิงเกษตร

12.

6019102506

จิตตินันทน์ ดอกไม้

13.

6019102524

14.

6019102529

แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้ เชิงเกษตร วัชรากร มหาดำรงค์สริ ิ อนุสรณ์สถาน กุล แสงธรรม สระจันทร์

แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้ เชิงธรรมชาติ

บ้านไร่นายณรงค์รีสอร์ท เพื่อการเรียนรู้ดา้ น การเกษตรและการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ อ. ดอยสะเก็ด จ. เชียงใหม่ แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร “ฟาร์มข้างเขื่อน” อ. ชัยบาดาล จ. ลพบุรี อนุสรณ์สถานและฌาปนสถาน สำหรับศพไร้ ญาติและศพนิรนาม เมืองพัทยา อ. บางละมุง จ. ชลบุรี ฟื้นฟูเหมืองแร่เก่าโดโลไมท์ เพื่อเป็นพื้นที่ ท่องเที่ยวและนันทนาการเชิงนิเวศ อ. เมืองกาญจนบุรี จ. กาญจนบุรี

กลุ่มที่ 5 15.

6019102507

เจนจิรา ดวงจันทร์

16.

6019102518

พรพิสุทธิ์ แห้วเพ็ชร

17.

6019102519

พิมพ์นภัส แวงอุบล

18.

6019102522

วงนภา โพธิ์ภู

ชุมชนชนบท แหล่งท่องเที่ยว ชุมชนบ้านหนองมะจับเพื่อพัฒนาเป็นแหล่ง เรียนรู้เชิงเกษตร ท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรมอย่าง สร้างสรรค์ อ. สันทราย จ. เชียงใหม่ ชุมชนชนบท แหล่งท่องเที่ยว ชุมชนชาวเขาบ้านแก่นมะกรูด (กะเหรีย่ ง) เรียนรู้เชิงวัฒนธรรม เพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อ. บ้านไร่ จ. อุทัยธานี แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้ แหล่งท่องเที่ยวอ่างเก็บน้ำคลองโพธิ์ เชิงธรรมชาติ อ. แม่เปิน จ. นครสวรรค์ อนุสรณ์สถาน อุทยานุสรณ์เสรีไทย อ. นาคู จ. กาฬสินธุ์

กลุ่มที่ 6 19.

6019102512

ธนัชพร ชิงชม

ชุมชนจัดสรร

20.

6019102516

ปณิธาน รังษี

พื้นที่ริมน้ำ ชุมชนชนบท

21.

6019102526

ศศิรัตน์ จโนภาษ

ชุมชนเมือง

ชุมชนวังจันทร์วัลเลย์ ในพื้นที่เขตนวัตกรรม ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) อ. วังจันทร์ จ. ระยอง ชุมชนบ้านท่าตอนและพื้นที่สาธารณะริมน้ำกก เพื่อการท่องเที่ยวและนันทนาการ อ. แม่อาย จ. เชียงใหม่ ชุมชนทำร่มบ้านบ่อสร้าง อ. สันกำแพง จ. เชียงใหม่


ลำดับ รหัส

ชื่อ-สกุล

ประเภทของโครงการ

ชื่อโครงการ ปางควายเพื่อเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้และ ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ อ. แม่จัน จ. เชียงราย ฟาร์มเกษตรอัจฉริยะเพื่อผลิตอาหารสัตว์อย่าง ยั่งยืนสำหรับสวนสัตว์เขาดินแห่งใหม่ อ. ธัญบุรี จ. ปทุมธานี ศูนย์ไก่ชนครบวงจร อ. ป่าซาง จ. ลำพูน

กลุ่มที่ 7 22.

6019102520

ภัทรวดี ผาลาด

แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้ เชิงธรรมชาติ

23.

6019102523

วชิรญาณ์ ดีงาม

ฟาร์ม แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้ เชิงเกษตร

24.

6019102528

สุปิญญา วันแก้ว

ฟาร์ม แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้ เชิงวัฒนธรรมและเกษตรกรรม


คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย ชัยวรุ ฒ อภิสิทธิ์โยธิน รหัส 5919102508 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 10 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิต สะสม 142 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.76 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) การออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม "ชยา" พรี เมี่ยมเอาท์เล็ทและจุดแวะ พักนักเดินทาง อ.เมืองนครสวรรค์ จ.นครสวรรค์ 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architecture Design and Planning of “Cha Ya” Premium Outlet and a rest area for travelers, Mueang Nakhon Sawan, Nakhon Sawan 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ โครงการวิทยานิ พนธ์น้ ีเกิดจากความคิดริ เริ่ มของ คุณ คติพจน์ อภิสิทธิ์โยธิน ซึ่งเป็ นเจ้าของธุรกิจ ปั๊ มน้ ามันอยู่เดิม ตั้งอยู่บนถนนทางหลวงเอเชี ยสาย 13 (ถนน นครสวรรค์ -พิ ษณุ โลก) เป็ นพื้นที่ ซ่ ึ งทุกคนที่ เดิ น ทางตามเส้ น ทางดังกล่ า วเพื่ อ เชื่ อ มต่ อไปยัง กรุ งเทพมหานคร สามารถมองเห็ น ได้อ ย่า งชัด เจน จึ งมี แนวความคิดที่จะขยายธุรกิจ เป็ นทั้ง พรี เมี่ยมเอาท์เล็ทและจุดแวะพักนักเดินทางที่มีองค์ประกอบด้านการค้า และการพักผ่อนครบวงจร ทั้ง ร้านจาหน่ายสิ นค้า กิจกรรม ความบันเทิง ปั๊ มน้ ามัน ร้านอาหาร ร้านกาแฟและ สวนร่ มรื่ น ในปั จจุบนั นี้ พื้นที่โครงการเดิมเน้นที่ธุรกิจปั๊ มน้ ามันเพียงอย่างเดียว ซึ่ งเป็ นธุ รกิจเก่าแก่ด้ งั เดิม ของครอบครัว ไม่ได้ผ่านการออกแบบวางผังที่เหมาะสม ทาให้มีความเก่าล้าสมัย ขาดการให้บริ การในด้านอื่น ๆ ประกอบการจาหน่ายน้ ามัน แต่จากความต้องการของผูเ้ ดินทางไกลซึ่งเกิดความเมื่อยล้า มีความต้องการที่พกั ที่เหมาะสมระหว่างการเดินทาง โดยส่ วนใหญ่แล้วเวลาเดินทางไกลจุดพักที่นกั เดินทางใช้ บริ การบ่อยที่สุดคือ สถานี บริ การน้ ามันโดยจะแวะพัก เพื่อทาธุ ระส่ วนตัว เพื่อผ่อนคลายจากการนั่งรถเป็ นเวลานาน เพื่อเข้าร้าน สะดวกซื้อ และอื่น ๆ จึงเห็นว่าควรออกแบบวางผังใหม่ให้มีตอบสนองต่อความต้องการดังกล่าว นอกจากนี้ ทางเจ้าของโครงการ ยังเล็งเห็นโอกาสในการเปิ ดธุรกิจค้าปลีกประเภทเอาท์เล็ทเพื่อให้ แบรนด์สิ น ค้ามาเช่ าพื้ น ที่ เปิ ดร้ าน ใช้ส าหรั บ เป็ นช่ องทางระบายสิ น ค้า จาหน่ ายแก่ ช าวเมื อ งนครสวรรค์ ตลอดจนประชาชนทัว่ ไปผูเ้ ดินทางตามเส้นทางสายเหนืออีกด้วย ซึ่งในปั จจุบนั จานวนเอ้าท์เล็ทในภาคเหนื อมี


เพียงที่จงั หวัดเชียงใหม่เท่านั้น โดยที่ประชากรในพื้นที่ภาคกลางตอนบนซึ่ งมีกลุ่มคนที่มีกาลังซื้ อและต้องการ สิ นค้าคุณภาพ ในราคาคุม้ ค่า นี่ จึงทาให้เอาท์เล็ทสามารถตอบโจทย์สินค้าคุณภาพ แบรนด์มีชื่อเสี ยง และราคา คุม้ ค่าให้แก่กลุ่มคนเหล่านี้ได้ ด้วยเหตุผลความเป็ นมาดังกล่าว จึงขอเสนอหัวข้อวิทยานิ พนธ์น้ ี เพื่อที่จะพัฒนาและขยายกิจการ ให้ดียงิ่ ขึ้นต่อไป 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อขยาย เปลี่ยนรู ปแบบ และพัฒนาระบบกิจการในครอบครัวให้ดียงิ่ ขึ้น 4.1.2 เพื่อใช้เป็ นสถานที่จาหน่ายสิ นค้าระดับพรี เมี่ยมในพื้นที่ภาคกลางตอนบน 4.1.2 เพื่อเป็ นสถานที่ให้บริ การแก่ประชาชนทั้งในจังหวัดนครสวรรค์และผูส้ ัญจร ระหว่างจังหวัดตามเส้นทางสายเหนือ ในการเป็ นจุดแวะพัก เติมน้ ามันรถ ทานอาหาร ซื้อของ 4.1.3 เพื่อเป็ นสถานที่พกั ผ่อนหย่อนใจสาหรับชุมชนและผูเ้ ดินทาง 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพรี เมี่ยมเอาท์เล็ท และจุดแวะพักนักเดินทาง 4.2.2 เพื่อศึกษาพฤติกรรมของนักเดินทางในการใช้พ้นื ที่จุดแวะพักรถระหว่างการ เดินทาง และพฤติกรรมของผูใ้ ช้พ้นื ที่เอาท์เล็ทมอลล์ เพื่อนามาใช้ในการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม 4.2.3 เพื่อศึกษากรณี ตวั อย่างโครงการประเภทสถาปัตยกรรมพรี เมี่ยมเอาท์เล็ทและ จุดแวะพักนักเดินทาง 4.2.4 เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่โครงการ เช่น ปัจจัย ทางด้านธรรมชาติ ปัจจัยทางด้านวัฒนธรรมและสิ่ งที่มนุษย์สร้าง และปัจจัยทางด้านสุ นทรี ยภาพ เพื่อนามาใช้ ในการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) สถานที่ต้ งั เลขที่ 198 ม. ถนน นครสวรรค์-พิษณุโลก ต.บางม่วง อ.เมืองนครสวรรค์ จ. นครสวรรค์ อยู่ ชานเมืองนครสวรรค์ เหตุผลในการเลือกที่ ต้ งั โครงการเนื่ องการเป็ นสถานที่ ต้ งั ของกิ จการปั๊ มน้ ามันเดิ ม ซึ่ งเจ้าของ โครงการต้องการออกแบบวางผังใหม่เพื่อขยายกิจการ ให้มีความทันสมัยและตอบสนองความต้องการของผูใ้ ช้ คือนักเดินทางที่ ต้องการมาแวะพักรถ และประชาชนในจังหวัดนครสวรรค์และจังหวัดใกล้เคียงในเขตภาค กลางตอนบน ที่ตอ้ งการมาใช้บริ การในการจับจ่ายซื้ อสิ นค้า เติมน้ ามัน รับประทานอาหาร และพักผ่อนหย่อน ใจ


ถ. นครสวรรค์-พิษณุโลก

การออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม "ชยา" พรี เมี่ยมเอาท์เล็ทและจุดแวะพักนักเดินทาง อ.เมืองนครสวรรค์ จ.นครสวรรค์ แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์

ขอบเขตพื้นที่โครงการ

ที่ ม ำ : ภาพ ถ่ า ยทางอากาศดั ด แปลงจาก https://www.google.com/ maps/place/ (14 มกราคม 2564) Not to scale


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา ขนาดพื้นที่ประมาณ 80 ไร่ ทิศเหนือ ติดกับ พื้นที่รกร้างว่างเปล่า และพื้นที่เกษตรกรรม ทิศตะวันออก ติดกับ ถนนทางหลวงเอเชียสาย 13 (ถนน นครสวรรค์-พิษณุ โลก) ชุมชน บางม่วง และย่านพาณิ ชยกรรมชุมชน ทิศใต้ ติดกับ พื้นที่รกร้างว่างเปล่า ทิศตะวันตก ติดกับ พื้นที่เกษตรกรรม โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..



คำร้ องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่โจ้ ข้าพเจ้า นายวรพศ คมขา รหัส 5919102536 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ แ ละการออกแบบสิ่ ง แวดล้อ ม ศึก ษามาแล้ว จ านวน 9 ภาคการศึก ษา จานวนหน่วยกิตสะสม 134 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.27 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) การออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโครงการอยูอ่ าศัยแบบผสมผสาน เพื่อกลุ่มความหลากหลายทางเพศ อาเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural design and Planning of Mixed Use Housing Project for the LGBTQ+ community, Bangplee, Samutprakarn. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ เนื่องด้วยในยุคปั จจุบนั พื้นที่ชุมชนเมืองถูกแปรสภาพจากพื้นที่ป่าธรรมชาติไปเป็ นพื้นที่ตึก สู งและที่พกั อาศัยจวบจนธรรมชาติและปอดของเมืองลดลงอย่างเห็นได้ชัดอย่างเป็ นรู ปธรรม การลดลงของ ต้นไม้ในเมืองส่ งผลให้ปัจจุบนั กลุ่มคนในชุมชนเมืองเกิดสภาวะความเครี ยดจากสภาพอากาศที่ไม่มีพืชพันธุ์ ฟอกอากาศหรื อดักจับฝุ่นละอองภายในอากาศ เกิดสภาวะทางด้านจิตเวช ความเครี ยดที่ เกิดจากสภาพแวดล้อม ที่มีผลต่อการพักผ่อนและความเหนื่อยล้าจากการทางานที่กดดันของคนในชุมชนเมือง ทางด้านคุณภาพชีวิต ของการอยูอ่ าศัยและการทากิจกรรมบนพื้นที่สาธารณะมีความเหลื่อมล้าและเหยียดความเป็ นเพศที่สาม รวมถึง ยังไม่ได้รับการยอมรับจากสังคมที่อยูอ่ าศัยเท่าที่ควร ทั้งกิจกรรมที่ทาร่ วมกันและการอยูอ่ าศัยในชุมชนเดียวกัน ที่กล่าวมาข้างต้นที่เกิดจากสภาพแวดล้อมรอบข้างทั้งตัวบุคคลต่อบุคคลและสภาพความเป็ นอยูแ่ ละการทางาน จึงทาให้ส่งผลทางด้านความรู ้สึกต่ออารมณ์และจิตใจ เกิดเป็ นสภาวะทางจิตเวชได้ในอนาคตทั้งนี้ก็เกิดจากไม่ มีสภาพแวดล้อ มที่ดีในการรองรับความรู ้สึกให้เกิดผ่อนคลายทางด้านจิตใจ และสิ่ งที่สาคัญที่สุดอีกประการ หนึ่ งคือ การรุ ก พื้นที่ธรรมชาติของชุ มชนเมือ งที่ท าลายธรรมชาติให้เกิ ดเป็ นที่พกั อาศัย ขึ้นมาโดยไม่มีก าร ค านึ ง ถึ ง สภาพแวดล้อ มความเป็ นอยู่ข องคนในที่ พ ัก อาศัย และอนาคตของชุ ม ชนเมื อ ง หรื อ แม้ก ระทั่ง ความเครี ยดของผูอ้ ยูอ่ าศัยที่จะตามมาในอนาคตโดยไม่รู้ตวั ของสาเหตุที่ เกิดขึ้น ส่งผลให้เกิดผลกระทบต่อ


ตนเองและคนรอบข้างรวมไปถึงการเหยียดผูอ้ ื่นหรื อคิดร้ายต่อสิ่ งที่ตนไม่ชอบโดยรู ้ตน ทาให้ก ารอาศัยบน พื้นที่เดียวกันของกลุ่มคนที่มีความหลากหลายทางเพศ ที่ถูกกระทาทั้งทางด้านสายตา คาพูด และการกระทาที่ มองและเป็ นได้ท้ งั ในรู ปแบบนามธรรมและรู ปธรรมเองก็ตาม สิ่ งเหล่านี้เองก็ก่อให้คนที่มีความหลากหลาย ทางเพศเกิดผลกระทบทางจิตใจโดยไม่มีที่ผ่อนคลายหรื อเป็ นที่ยอมรับของสังคมจากทัศนคติของคนรอบข้าง โดยพื้นที่ที่ได้นามาออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมนั้น แต่เดิมเป็ นพื้นที่ภายใต้แนวคิดโครงการพัก อาศัยที่เกิดจากแนวความคิดของกลุ่มผูบ้ ริ หารทางด้านอสังหาริ มทรัพย์ที่จะสร้างพื้นที่พกั อาศัยให้อยูท่ ่ามกลาง ธรรมชาติแบบสมบูรณ์แบบ บนพื้นที่ใจกลางชุมชนเมืองซึ่ งประสบสภาวะการลดจานวนลงของต้นไม้และ ธรรมชาติ ให้กลับมาเป็ นพื้นที่สีเขียว เป็ นจุดฟอกอากาศให้กบั ชุมชนบริ เวณนั้น และยังมีพ้ืนที่รอบข้างที่เป็ น พื้นที่อ านวยความสะดวกให้ แก่ผูพ้ กั อาศัยในโครงการอีก ด้วย นอกจากนี้ ย งั เป็ นแนวคิดพื้ นที่โ ครงการใน อนาคตให้กบั โครงการที่พกั อาศัยอื่นๆ ต่อไป ดังที่กล่าวมาข้างต้นจึงทาให้เกิดแนวคิดที่จะริ เริ่ มและออกแบบโครงการพื้นที่อยู่อาศัยแบบผสมผสาน และสร้างสรรค์พ้ืนที่กิจกรรมที่กลุ่มคนบนพื้นที่อยู่อาศัยนั้นสามารถเข้ามาใช้แล้วเกิดความสบายใจ ผ่อนคลาย จากสภาวะที่เกิดขึ้นรอบด้าน บนพื้นที่ธรรมชาติที่จะสามารถช่วยเป็ นสื่อกลางที่ให้ผคู ้ นสามารถอยูร่ ่ วมกันใน พื้ น ที่ พ ัก อาศัย และพื้ น ที่ กิ จ กรรมต่ า งๆที่ เ กิ ด ขึ้ น ในพื้ น ที่ อ ยู่อ าศัย กลางธรรมชาติ ใ หม่ ส่ ง ผลในการลด ความเครี ยด อาการทางจิตเวช และสภาวะซึ มเศร้า รวมไปถึง ลดความเหลื่อ มล้ าทางเพศ การลดลงของการ เหยียดเพศที่สาม เกิดความเข้าใจกันของคนในพื้นที่ดว้ ยธรรมชาติที่เป็ นสื่อกลางได้ในพื้นที่อยู่อาศัยที่สามารถ อยูร่ ่ วมกันของกลุ่มคนชาย-หญิง และกลุ่มคนที่มีความหลากหลายทางเพศ ที่พ้นื ที่เชื่อมตรงกลางด้วยธรรมชาติ ที่สามารถสร้างสรรค์กิจกรรมบนพื้นที่พกั อาศัยเป็ นจุดผสานของผูอ้ ยู่อาศัยได้ อีกทั้งยังเป็ นโครงการแนวคิด ต้นแบบของโครงการที่พกั อาศัยและกิจกรรมสร้างสรรค์บนพื้นที่ธรรมชาติกลางชุมชนเมืองที่จะสื่ อให้ผูค้ น ตระหนักถึงการอยูร่ ่ วมกันของคนกับธรรมชาติในเมืองได้อีกด้วย 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นพื้นที่อยูอ่ าศัยของคนยุคใหม่ที่สามารถอยูร่ ่ วมกันได้อย่างลงตัว 4.1.2 เพื่อเป็ นพื้นที่กิจ กรรมและสร้างรายได้แก่ชุมชนรอบข้างบนพื้นที่อยู่อาศัย กลางธรรมชาติสร้างใหม่ 4.1.3 เพื่อสร้างแนวคิดบนพื้นที่ธรรมชาติที่สามารถอยูค่ ู่กบั พื้นที่อยูอ่ าศัยและพื้นที่ กิจกรรมที่ลดและบรรเทาความตึงเครี ยดของกลุ่มความหลากหลายทางเพศ


4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบและวางผังทางภูมิสถาปั ตยกรรมของพื้นที่ โครงการที่พกั อาศัยคู่ธรรมชาติบาบัด 4.2.2 เพื่ อ ศึก ษากลุ่ม คนที่ มี ความหลากหลายทางเพศในด้านการใช้ชีวิ ตความ เป็ นอยูแ่ ละพฤติกรรม 4.2.3 เพื่อศึกษาลักษณะที่อยูอ่ าศัยแบบผสมผสานลักษณะการพักอาศัยของคนที่มี ความหลากหลายทางเพศ และศึกษาประเด็นปั ญหาด้านพื้นที่กิจกรรมที่ทาร่ วมกันของคนที่มีความหลากหลาย ทางเพศ 5. สถานที่ต้งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) สถานที่ ต้ ัง โครงการมี พ้ื น ที่ ร าว 395 ไร่ ตั้ง อยู่ริ ม ถนน บางนา-ตราด ในเขตพื้ น ที่ ร อยต่ อ กรุ งเทพมหานคร-สมุทรปราการ ติดห้างสรรพสิ นค้าขนาดใหญ่เมกะบางนา และติดพื้นที่การคมนาคมทางบก และทางอากาศ สนามบินสุ วรรณภูมิ ตัวพื้นที่รายล้อมด้วยชุมชนดั้งเดิมที่ทาพื้นที่เกษตรกรรมเก่าที่กาลังจะถูก แปรสภาพไปเป็ นอาคารพาณิชย์และอาคารสูงระฟ้าขนาดใหญ่ เนื่องด้วยพื้นที่ต้ งั โครงการที่เราเลือกดังกล่าวรายล้อมด้วยสิ่งอานวยความสะดวกทั้งการเดินทาง ทางบกและทางอากาศ สิ่ งอานวยความสะดวกทางสันทนาการและชุมชนที่หนุนความเป็ นพื้นที่โครงการอยู่ อาศัย และพื้นที่ดงั กล่าวอยู่ในเขตพื้นที่ที่ไม่มีความแออัดเนื่องจากเป็ นพื้นที่ใจกลางเมืองและเป็ นเขตรอยต่อ เมืองผูค้ นไม่พลุกพล่านจึงทาให้พ้นื ที่ดงั กล่าวเป็ นพื้นที่ที่ถูกเลือกในการเป็ นพื้นที่โครงการดังกล่าวนี้


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่บา้ นพักอาศัยและคอนโดมิเนียมแบบผสมผสาน ของกลุ่มความหลากหลายทางเพศ อาเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ แผนที่ 1 ที่ต้งั โครงการและขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์

ที่ต้งั โครงการ ถนนบางนา-ตราด ถนนทางพิเศษบูรพาวิถี ถนนกาญจนาภิเษก ถนนบัวนคริ นทร์ ซอยวัดคลองปลัดเปรี ยง คลองปลัดเปรี ยง คอลงวัดหนามแดง Not to scale ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth (23 ธันวาคม 2563)


6.

2 กม. 5 กม.

โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่บา้ นพักอาศัยและคอนโดมิเนียมแบบผสมผสาน ของกลุ่มความหลากหลายทางเพศ อาเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ แผนที่ 2 สถานที่สาคัญที่เชื่อมโยงกับโครงการ สัญลักษณ์ ตาแหน่งที่ต้งั โครงการ สถานศึกษา โรงพยาบาล ห้างสรรพสินค้า สวนสาธารณะ ศาสนสถาน สนามกอล์ฟ พิพิธภัณฑ์ สนามบิน ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth (23 ธันวาคม 2563)

Not to scale


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้ น ที่ โ ครงการมี ข นาดพื้ น ที่ 395 ไร่ ตั้ง อยู่ ริ ม ถนน บางนา-ตราด ในเขตพื้ น ที่ ร อยต่ อ กรุ งเทพมหานคร-สมุทรปราการ ติดห้างสรรพสิ นค้าขนาดใหญ่เมกะบางนา และติดพื้นที่การคมนาคมทางบก และทางอากาศ สนามบินสุวรรณภูมิ ทิศเหนือ ติดกับ ถนนบางนา-ตราด และสวนหลวง ร.9 ทิศใต้ ติดกับ ที่ดินเอกชน ทิศตะวันออก ติดกับ สถานีตารวจภูธรบางแก้ว และเมกาะบางนา ทิศตะวันตก ติดกับ โครงการหมู่บา้ นหรู 755 Lakeside Villa1 7. บรรณานุกรม จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ 2556. คู่มือดาเนินงานวิทยานิพนธ์ 2556. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://issuu.com/tuboonyanant/docs/lathesismanual156_foeweb (25 ธันวาคม 2563) ประชาชาติธุรกิจ 2563. “ข้อมูลธุรกิจ The forestias “ [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา https://www.prachachat.net/csr-hr/news-472704 ระบบค้นหารู ปแปลงที่ดิน 2563. “ แผนที่แปลงที่ดินประเทศไทย ” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://dolwms.dol.go.th/tvwebp/ MQDC Online 2563. “ The forestias The Land of Everlasting Happiness” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://mqdc.com/th/our-business/themeproject/theforestias (18 พฤศจิกายน 2563)

โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


c

� -·

lljtl

o1

r

\-M4ul)r I v1611 \ W'-1 (Yl:::; ol J · ...... · ..... 1. (fl111J1l1'U).............................................................................. d

IO·

(?l�.;n). (..�.{� ......... · 1·s--t.A'!�.ef..................)

.t}................................... . INJ

I Ci?06\CX 2. (fl111Jll1'U).......................................................................... d

.,\

(fl�'lfn)........ .....,,. .......................... (. 3. (fl111Jl11'U)..................

.................................................)

I !f.�.7-f. ............................... ·�· .............../!Ji;/; .. ·o1� ......... . (fl�'lln).........

.?!l.t. T,,?(�·..............

(..�..�V.� ....... J)Jt(,qt!C.: \mJ

...)

��:'_p�· .............

\V\U 4. (fl111J1l1'U)......................................................................... d

(fl��6).... ��.�......................

:5G'\. b\��'-J

Vo� c:.(\�

(.................................................. ) fl 111J111-u'IJ n�1h:: 111-u m 11J m nJ,:: � 111 trfl \)'91 'J n1'mili.f�h1u-u�1-u1Y1m�-r.-u11,11Ji1.,Yn�1n--uvmi�

¼È


คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้า พเจ้า นางสาว กิ ด ากาญจน์ เถิ น บุ ริ น ทร์ รหั ส 6019102502 นั ก ศึ ก ษาชั้น ปี ที่ 4 สาขาวิ ช าภู มิ สถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 131 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.33 มี ค วามประสงค์ จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดั บ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตร์ บัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่สาธารณะริ มแม่น้ า วังย่านกาดกองต้า อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง 2. หั วข้อ เรื่ อ ง (ภาษาอัง กฤษ) The landscape Architectural Design and Planning of the Riverfront Public Areas of Kadkongta District, Muang, Lampang. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่สาธารณะริ มแม่น้ าวังย่านกาดกองต้า อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง ขนาดพื้นที่โครงการ350ไร่ ย่านกาดกองต้า เป็ นส่ วนหนึ่ งของเมืองเก่านครลาปาง ตั้งอยู่ขนานกับแม่น้ าวัง มีลกั ษณะที่เรี ยบง่ายและประหยัดทรัพยากร ตามสภาพเศรษฐกิจและสังคมในช่วงนั้น จากการพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ ที่มีอายุยาวนานกว่าร้อยปี ตามบริ บทแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปตามยุค สมัยส่ งผลให้ภูมิทศั น์ย่านกาดกองต้ามีความเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาตั้งแต่ยุคการค้าไม้ และการขนส่ งทางน้ า มาจนถึงยุครถไฟซึ่ งเป็ นยุคที่เกิดการย้ายศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ เป็ นสาเหตุให้กาดกองต้าลดบทบาทลง เป็ น ย่านพักอาศัยเก่าแก่ ซึ่ งยังคงรั กษาภูมิทศั น์ ย่านประวัติศาสตร์ ชุมชนการค้ากาดกองต้าไว้ และเป็ นที่ ต้ งั ของ สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นที่มีลกั ษณะทางสถาปัตยกรรมที่โดดเด่น และเป็ นเอกลักษณ์ ปั จจุบนั ย่านกาดกองต้ามีภูมิทศั น์วฒั นธรรมชุมชนเมืองที่ยงั มีความเคลื่อนไหว มีคุณค่าใน ความเป็ นย่า นประวัติ ศ าสตร์ ที่ ส าคัญ ของภาคเหนื อ ซึ่ งเป็ นเสน่ ห์ ที่ ส าคัญ ในการส่ งเสริ ม การท่ อ งเที่ ย ว วัฒนธรรมในฐานะของเศรษกิจสร้างสรรค์ และการสร้างมู ลค่าเพิ่มจากทุนทางสังคมและวัฒนธรรม ทาให้มี โครงการปรั บ ปรุ งพื้ น ที่ บ ริ เวณถนนเส้ นกาดกองต้าโดยมี โครงการพัฒ นาโครงสร้ างพื้ นฐานเพื่ อส่ งเสริ ม ประสิ ทธิ ภาพด้านการท่องเที่ยว ทั้งการปรับปรุ งผิวจราจรถนนเส้นกาดกองต้า ปรับปรุ งระบบไฟฟ้าส่ องสว่าง ปรับปรุ งระบบท่อ แต่พ้ืนที่ ริมน้ าไม่มีประสิ ทธิ ภาพ ขาดเอกลักษณ์ ของย่านเมืองเก่า พื้นที่ว่างใช้งานไม่เต็ม ศักยภาพ และปั ญหาน้ าเน่าเสี ย ซึ่งตามแผนยุทธศาสตร์ การอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่านครลาปาง จะพัฒนาภูมิ ทัศน์ริมแม่น้ าวัง ทาการปรับให้เป็ นพื้นที่สีเขียวมีทางเดิน มีร้ ัวกันตก ริ มถนนมีโคมไฟ บริ เวณพื้นสะพานรัษฎา


ทาเป็ นภาพนู นต่ า เล่าเรื่ องราวต่างๆ ในอดี ตของเมื องลาปาง ทาให้เกิ ด โครงการออกแบบและปรั บปรุ ง ภู มิ สถาปั ตยกรรมพื้นที่สาธารณะริ มแม่น้ าวังย่านกาดกองต้า อาเภอเมื อง จังหวัดลาปาง เน้นการออกแบบพื้นที่ สาธารณะริ มน้ า ทางเดิ นสี เขียวมี การปลูกต้นไม้เพิ่มขึ้นและเป็ นเส้นทางที่ ช่วยอนุ รักษ์สภาพภูมิทศั น์เดิมที่ สวยงามอยู่แล้วให้ดีข้ ึน พื้นที่พกั ผ่อนเป็ นพื้นที่จดั ให้มีมุมนั่งพักผ่อนและสิ่ งอานวยความสะดวกตามเส้น ทาง พื้นที่เปิ ดโล่งที่มีและสามารถพัฒนาให้เป็ นพื้นที่สีเขียวสาหรับพักผ่อนของคนในชุมชนหรื อทากิจกรรมอื่นๆ และเชื่อมต่อย่านอาคารเก่าและย่านชุมชนเข้าด้วยกัน โดยการออกแบบเส้นทางผ่านในพื้นที่สีเขียวเข้ากับย่าน อาคารเก่าและชุมชนที่อยูอ่ าศัย โครงการนี้ จะมีส่วนในการทาให้ชุมชนมีความเชื่อมโยงกันของพื้นที่ มีสภาพภูมิทศั น์ริมน้ า ที่สวยงามขึ้น มีพ้นื ที่สาธารณะริ มน้ าเพื่อเป็ นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจและพื้นที่ทากิจกรรมของคนในชุมชนและ นักท่องเที่ยว และเป็ นพื้นที่ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมควบคู่ไปกับแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ ส่ งเสริ มเศรษฐกิจ ด้านการท่องเที่ยวในชุมชน พัฒนาชุมชนสู่ ความยังยืน ตามแผนยุทธศาสตร์การอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่านคร ลาปาง 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1. เพื่อพัฒนาพื้นที่ริมน้ า ย่านกาดกองต้า เป็ นสถานที่ที่เชื่อมโยงกิจกรรมของ ชุมชนให้มีความสัมพันธ์กนั 4.1.2. เพื่อพัฒนาพื้นที่ริมน้ า ย่านกาดกองต้า เป็ นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจและพื้นที่ ทากิจกรรมของคนในชุมชนนักท่องเที่ยว 4.1.3. เพื่ อพัฒ นาพื้ นที่ ริมน้ า ย่านกาดกองต้า ให้ เป็ นพื้ นที่ สาธารณะริ มน้ า และ แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1. เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่ริมน้ าเพื่อ พัฒนาฟื้ นฟูชุมชนเมืองเก่า 4.2.2. เพื่อศึ กษาโครงสร้างและองค์ป ระกอบของพื้นที่ย่านกาดกองต้า เพื่อนามา ประกอบการวิเคราะห์หาศักยภาพในการพัฒนา 4.2.3. เพื่อศึ กษาปั จจัยต่างๆที่ เกี่ยวข้องกับพื้นที่ชุมชนเมื องเก่ าที่ มีเอกลักษณ์ ทาง ศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิต เพื่อฟื้ นฟูภูมิทศั น์ชุมชนเมืองเก่ากับพื้นที่สาธารณะริ มน้ า 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1 สถานที่ต้ งั ของโครงการ พื้นที่ต้ งั โครงการตั้งอยู่ในตาบลหัวเวียงและตาบลสวนดอก อาเภอเมืองลาปาง จังหวัด ลาปาง มีขนาดพื้นที่ประมาณ 350ไร่


โครงการออกแบบและปรั บปรุ ง ภู มิส ถาปั ตยกรรมพื้ นที่ ส าธารณะริ มแม่ น้ าวังย่านกาดกองต้า อาเภอเมื อง จังหวัดลาปาง แผนที่ 1 แสดงพื้นที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ที่มา: ดัดแปลงจาก GoogleEarth (24 ธันวาคม 2563) มาตราส่ วน Not to scale


โครงการออกแบบและปรั บปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่ ริมน้ าย่านกาดกองต้า อาเภอเมื องลาปาง จังหวัด ลาปาง แผนที่ 2 แสดงแผนผังพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ที่มา: ดัดแปลงจาก GoogleEarth (24 ธันวาคม 2563)

มาตราส่ วน Not to scale

5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 พื้นที่ โครงการเป็ นย่านตลาดเก่ า ที่ มีความเป็ นมาที่ เก่ าแก่ และมี คุณ ค่าทาง ประวัติศาสตร์ 5.2.2 พื้นที่โครงการมีศกั ยภาพเป็ นจุดดึงดูดนักท่องเที่ยว และพื้นที่เศรษกิจที่สาคัญ ของเมือง 5.2.3 พื้นที่โครงการสามรถเข้าถึงได้ง่าย


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา

พื้นที่โครงการมีขนาดพื้นที่ประมาณ 350 ไร่ โดยมีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ แม่น้ าวัง ทิศใต้ ติดต่อกับ ถนนศรี เกิด ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ถนนรอบเวียง ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ถนนบ้านเชียงราย 7. บรรณานุกรม

กิ ติ ศ ัก ดิ์ เฮงษฎี กุ ล .หนั ง สื อ กาดกองต้า ย่ า นเก่ า เล่ า เรื่ อ งเมื อ งล าปาง.[ระบบออนไลน์ ]. แ ห ล่ ง ที่ ม า https://www.m-culture.go.th/lampang/ewt_news.php?nid=1 4 6 1 & filename=index (25 ธันวาคม 2563). ฐาปนา บุ ณ ยประวิต ร 2555. แนวทางการวางผังและออกแบบพื้ น ที่ นัน ทนาการริ ม น้ า . [ร ะ บ บ อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ที่ ม า https://asiamuseum.co.th/upload/forum/ WaterfrontPlanningandDesignGuideline.pdf?fbclid=IwAR3VpWbz_3 Xag8 Zv6 t w3xvSSpnu8ADKiXPiJfa6AqrN0usLh2U7USnLRiNw (25 ธันวาคม 2563) สิ ทธิพร ภิรมย์รื่น2551.โครงสร้างและองค์ประกอบการวางผังออกแบบพื้นที่ริมน้ าเพื่อฟื้ นฟู ศูนย์กลางเมื องเก่ า กรณี เมื องอุบ ล[ระบบออนไลน์ ]. แหล่ งที่ มา https://so04.tcithaijo.org/index.php/NAJUAArch/article/view/45092/37319?fbclid=IwAR12hAh 1 4 2 bkqi7 oOoOio4 BAqSoCarAju7 GS9 PNXeNtjUSPBhAG8 7 tidUFU (25 ธันวาคม 2563) สานักงานนโยบายและแผนสิ่ งแวดล้อม (สผ.) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม 2558.โครงการอนุ รักษ์และพัฒนาเมืองเก่านครลาปาง เทศบาลนครลาปาง.[ระบบ อ อ น ไลน์ ].แ ห ล่ งที่ ม า http://thaigreenurban.onep.go.th/greencity/eventDetail. aspx?id=178&city_id=520101 (25ธันวาคม 2563). โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวกุลชา ปาลวัฒน์ รหัส 6019102503 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วย กิตสะสม 137 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.40 มี ค วามประสงค์ จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่ชุมชนเมืองเพื่อการ

อยูอ่ าศัยร่ วมกันของมนุษย์และลิง อาเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี 2. หั ว ข้ อ เรื่ อง (ภาษาอั ง กฤษ) The Landscape Architectural Design and Improvement of Urban

Areas for Co-living Between Monkey and Human, Meung Lopburi, Lopburi 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ

ลพบุรีความสัมพันธ์กบั ลิงมาอย่างช้านาน นับแต่พ้นื ที่ยงั เป็ นพื้นที่ธรรมชาติสู่ พ้นื ที่ชุมชนเมืองใน ปั จจุบนั ลิงมีการอาศัยอยู่ในโบราณสถานพระปรางค์สามยอด ศาลพระกาฬ และบริ เวณชุมชนเมืองโดยรอบ กลายเป็ นภาพจาของจังหวัดและสามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวได้อย่างดี แม้จะมีประโยชน์ในด้านเศรษกิจ การ ท่องเที่ ยว แต่ก็ ก่อให้เกิ ด ปั ญ หาจากการใช้พ้ื นที่ ร่วมกันระหว่างลิ งกับประชาชนเช่ นกัน จึ งเกิ ด แผนแม่ บท ‘แผนกำรบริหำรจัดกำรปัญหำลิงในจังหวัดลพบุรีอย่ ำงยั่งยืน’ โดย คณะกรรมการติดตามกลไกและพิจารณา การปกป้ องคุ ้มครองสั ตว์ สภานิ ติบัญ ญัติแห่ งชาติ เป็ นไปตามข้อสั่ งการ ของพลเอกประยุทธ์ จันทร์ โอชา นายกรัฐมนตรี ซึ่ งดาเนินการในปี พ.ศ. 2560 – 2565 ภายใต้วิสัยทัศน์ “ประชาชนสุ ขใจ ลิงปลอดภัย อยูร่ ่ วมกัน อย่างยัง่ ยืน” พื้ นที่ เมื องเก่ าลพบุรีมีลักษณะเป็ นโบราณสถานอยู่กลางเมื อง โดยรอบเป็ นถนนและตึ กแถว พาณิ ชยกรรมซึ่งเป็ นสถาปั ตยกรรมสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม โรงเรี ยน พื้นที่พาณิ ชย์และพื้นที่อยูอ่ าศัยเป็ น ตึกแถว โดยชุมชนมีโบราณสถานแทรกในบางจุด ลิงในเมืองลพบุรีเป็ นลิงแสมที่ขยายพื้นที่อยู่อาศัยจากศาล พระกาฬออกไปยังชุมชนใกล้เคียง ในปี พ.ศ. 2557 พบว่าลิงแสมที่ อาศัยอยู่ในเขตเมืองเก่าลพบุรี แบ่งเป็ น 7 กลุ่ม ได้แก่ บริ เวณพระปรางค์สามยอด บริ เวณโรงหนังมาลัยรามา บริ เวณท่ารถหน้าศาลพระกาฬ บริ เวณร้าน


ชโยวานิ ช บริ เวณโรงแรมเมื องทอง บริ เวณตลาดมโนราห์ บริ เวณร้านเซ่ งเฮง ปั จจุบนั คาดว่าในเขตเมื องเก่ า ลพบุรีมีลิงจานวนประมาณ 3,000 ตัว จากการสารวจพบว่าประชาชนส่ วนมากมีความเห็นให้นาลิงออกไปจาก พื้นที่เพียงบางส่ วนเท่านั้น เนื่ องจากลิงยังคงเป็ นสัญลักษณ์ของจังหวัดและมีคุณค่าทางเศรษฐกิจ ในเขตเมือง เก่าลพบุรีน้ นั มีระดับความขัดแย้งระหว่างคนกับลิงในระดับรุ นแรง ปั ญหาเกิดจากพื้นที่อาศัยของลิงอยูซ่ ้อนทับ กับพื้นที่มนุ ษย์ จากการบุกรุ กของมนุ ษย์เป็ นที่อยู่อาศัย จนเป็ นพื้นที่เดียวกัน เนื่ องจากลิ งต้องการอาหาร จึงทา ให้จาเป็ นต้องออกหาอาหารซึ่ งในบริ เวณชุมชนเมืองซึ่ งมีอาหารตามธรรมชาติน้อยเนื่ องจากเมืองขาดพื้นที่สี เขียวและพื้นที่สาธารณะไม่เพียงพอ ก่อให้เกิดสภาพขาดอาหารของลิง เกิดการแย่งชิงอาหารระหว่างลิงกับคน และลิงแต่ละกลุ่ม สร้างความเสี ยหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของชาวบ้านและนักท่องเที่ยว การให้อาหารลิงอย่าง ไม่เป็ นที่ก่อให้เกิดความไม่สะอาดในชุมชนและแหล่งท่องเที่ยว นอกจากนี้ สิ่ งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมในการ ใช้ชีวิตของลิงยังก่อให้เกิดอันตรายต่อลิง โดยลิงสามารถบาดเจ็บและเสี ยชี วิตจากสิ่ งแวดล้อม เช่น ถูกรถชน สายไฟช็อต และการทาร้ายจากคน จากปั ญหาดังกล่าวจึงสมควรมีการจัดการฟื้ นฟูและออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมย่านที่อยู่อาศัยของ ลิงในปั จจุบนั ในเขตพื้นที่เมืองเก่าลพบุรี ให้เหมาะสมต่อการอยูอ่ าศัยร่ วมกันของลิงกับมนุษย์ ปรับปรุ งพื้นที่ให้ อาหาร แหล่งน้ าให้เพียงพอต่อความต้องการของลิง ปรับปรุ งภูมิทศั น์เพื่อก่อให้เกิดความงามและเหมาะสม เป็ นไปตามยุทธศาสตร์ การบริ หารจัดการถิ่นที่อยูอ่ าศัยของลิง ในกลยุทธ์การฟื้ นฟูระบบนิเวศของถิ่นอาศัยเดิม ในแผนแม่บท ‘แผนกำรบริ หำรจัดกำรปัญหำลิงในจังหวัดลพบุรีอย่ ำงยั่งยืน’ เพื่อลดความขัดแย้งของลิงและ ประชาชน เกิดความปลอดภัย ต่อลิงและมนุ ษย์ ปลอดภัยต่อทรัพย์สิน ส่ งเสริ มการท่องเที่ ยว เศรษฐกิจ และ ภาพลักษณ์ที่ดีของจังหวัดลพบุรี 4. วัตถุประสงค์

4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่ อ ลดปั ญ หาความขั ด แย้ง ความเสี ยหายต่ อ ชี วิ ต และทรั พ ย์สิ น ของ ประชาชน 4.1.2 เพื่อจัดการถิ่นที่อยูอ่ าศัยของลิงให้เหมาะสม และปลอดภัย 4.1.3 เพือ่ ส่ งเสริ มการเป็ นแหล่งท่องเที่ยว และเศรษกิจของพื้นที่ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา ต้องการบรรลุวตั ถุประสงค์ใด 4.2.1 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมชุมชนเมืองเพื่อการ อาศัยร่ วมกันระหว่างสัตว์และมนุษย์ 4.2.2 เพื่อศึกษาประเด็น ข้อมูลของลิงที่มีผลต่อพื้นที่ การจัดการลิง และนามาใช้ ในการออกแบบ 4.2.3 เพื่อศึกษาการดาเนิ นชี วิตของประชาชน วัฒนธรรมที่โดดเด่นในพื้นที่และ นามาใช้ในการออกแบบ


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ

5.1 สถานที่ต้ งั ของโครงการ พื้นที่ ต้ งั โครงการตั้งอยู่ในตาบลท่าหิ น อาเภอเมื องลพบุรี จังหวัดลพบุรี มี ขนาด พื้นที่ประมาณ 402 ไร่

โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่ชุมชนเมืองเพื่อการอยูอ่ าศัยร่ วมกันของมนุษย์และลิง แผนที่ 1 แสดงพื้นที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ

ที่มา: ดัดแปลงจาก openstreetmap (24 ธันวาคม 2563) มาตราส่ วน 1:20,000


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่ชุมชนเมืองเพื่อการอยูอ่ าศัยร่ วมกันของมนุษย์และลิง แผนที่ 2 แสดงขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ที่มา: ดัดแปลงจาก openstreetmap (24 ธันวาคม 2563) มาตราส่ วน 1:10,000


5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 พื้นที่โครงการมีอาศัยอยู่ของลิงในชุมชนเมือง และเกิดความขัดแย้งขึ้นอย่าง ยาวนาน 5.2.2 พื้นที่โครงการมีศกั ยภาพในการเป็ นสถานที่ ท่องเที่ ยว และพื้นที่ เศรษกิ จที่ สาคัญ 5.2.3 พื้ นที่ โ ครงการมี การเข้าถึ งจากขนส่ งสาธารณะได้ง่าย มี ค วามง่ายในการ เข้าถึงพื้นที่ 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา

พื้นที่โครงการมีขนาดพื้นที่ประมาณ 402 ไร่ โดยมีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ถนนราชมนู ทิศใต้ ติดต่อกับ ถนนหน้าปราการ สถานีรถไฟลพบุรี ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ถนนสรศักดิ์ ทิศตะวันตก ติดต่อกับ คลองหนองรี 7. บรรณานุกรม

คณะกรรมการติดตามกลไกและพิจารณาการปกป้ องคุม้ ครองสัตว์. 2561. “รายงานผลการ พิ จารณาศึ ก ษา เรื่ อ ง แนวทางการบริ ห ารจัด การปั ญ หาลิ งในพื้ น ที่ วิ กฤติ (ตาม ยุทธศาสตร์ แผนแม่บทการบริ หารจัดการปั ญหาลิงในจังหวัดลพบุรีอย่างยัง่ ยืน)”. [ระบบออนไลน์ ]. แหล่ งที่ ม า https://www.dnp.go.th/wildlife_it/n_web/lacegant /public/หนังสื อ/รายงานผลการพิจารณาศึ กษา%20เรื่ อง%20แนวทางการบริ หาร จัดการปัญหาลิงในพื้นที่วิกฤติฯ.pdf (24 ธันวาคม 2563). สานักอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่า และพันธุ์พืช. 2561. “แนวทางปฏิบตั ิงาน เพื่ อ แก้ ไ ข ปั ญ ห าลิ งใน พื้ น ที่ ชุ ม ช น ”. [ระ บ บ อ อ น ไลน์ ]. แ ห ล่ งที่ ม า https://www.dnp.go.th/Wildlife/technique_document/แน วท างป ฏิ บั ติ งาน เพื่ อ แก้ไขปั ญ หาลิ งในพื้ น ที่ ชุ มชน/แนวทางปฏิ บัติ งานเพื่ อแก้ไ ขปั ญ หาลิ งในพื้ น ที่ ชุมชน.pdf (24 ธันวาคม 2563). โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมสิ ถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้า พเจ้า นาย จตุ พ งษ์ ธาตุ อิ น ทร์ จัน ทร์ รหั ส 6019102505 นั ก ศึ ก ษาชั้น ปี ที่ 4 สาขาวิ ช าภู มิ สถาปั ต ยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาค การศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 131 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.96 มี ค วามประสงค์ จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) การออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมบ้านไร่ นายณรงค์รีสอร์ ท เพื่อการ เรี ยนรู ้ดา้ นการเกษตรและการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ 2. หั ว ข้ อ เรื่ อง (ภาษ าอั ง กฤษ ) The Landscape Architectural Design Project of Baan Rai Nai Narong Resort For Learning and Agricultural Tourism, Doi Saket, Chiang Mai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จากการศึ ก ษาค้น คว้า พบว่า อาเภอดอยสะเก็ด จังหวัด เชี ยงใหม่ เป็ นอาเภอสุ ด ท้ายที่ อ ยู่ ระหว่างเส้นทางคมนาคมหลักของจังหวัดเชี ยงใหม่ไปสู่ จงั หวัดเชี ยงราย โดยมีระยะทางห่ างจากอาเภอเมือง เชียงใหม่ ประมาณ 30 กิโลเมตร ซึ่ งมีอาณาเขตติดต่อกับอาเภอแม่ออนและอาเภอสันกาแพง ที่มีความโดดเด่น ด้านการท่องเที่ยวและวัฒนธรรม เนื่ องจากเจ้าของโครงการเล็งเห็นถึงจุดเด่นของพื้นที่ ทาให้เกิดความคิดที่จะ ทาธุ รกิ จส่ วนตัวบนพื้นที่ น้ ี โดยเป็ นธุ รกิ จที่เกี่ยวข้องกับการบริ การ ควบคู่กบั การให้ความรู ้ดา้ นการเกษตร จึ ง เกิดเป็ นโครงการ “บ้านไร่ นายณรงค์รีสอร์ ท เพื่อการเรี ยนรู ้ดา้ นการเกษตรและการท่องเที่ยวเชิ งอนุรักษ์” ซึ่ งมี แนวทางการออกแบบและบริ หารตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ใช้การเชื่ อมโยงระหว่างการทาธุ รกิ จเข้า กับการทาการเกษตร โดยสร้างผลกระทบ หรื อมลพิษต่อธรรมชาติให้นอ้ ยที่สุด เพื่อให้ธรรมชาติยงั คงมีความ อุดมสมบูรณ์ และผูบ้ ริ โภคได้สมั ผัสใกล้ชิดกับธรรมชาติ เพื่อเป็ นการสร้างความโดดเด่น และเป็ นข้อได้เปรี ยบ ทางการแข่งขันทางธุรกิจจากรี สอร์ทอื่นๆ โดยเจ้าของโครงการ คุ ณ ณรงค์ ธาตุ อินทร์ จนั ทร์ มี ความประสงค์ที่จะสร้ างโครงการรี สอร์ ท เพื่ อ การพัก ผ่ อ น การเรี ย นรู ้ เชิ ง เกษตร และการท าธุ ร กิ จ ในอนาคต ทั้ง นี้ ทางเจ้า ของโครงการ มี แนวความคิ ด ที่ จะดาเนิ นตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและประยุกต์แนวทางนี้ สู่การใช้ที่ดินตามศาสตร์ “โคก หนอง นา โมเดล” เพื่อฟื้ นฟูเศรษฐกิจ สิ่ งแวดล้อมในชุมชน และการทาเกษตรอินทรี ยอ์ ย่างยัง่ ยืน


โดยพื้นที่แห่ งนี้ จะเป็ นแหล่งท่องเที่ ยวในรู ปแบบโฮมสเตย์และฟาร์ มสเตย์ ซึ่ งจัดเป็ นแหล่ง ท่องเที่ยวเชิ งอนุรักษ์เพื่อศึกษาเรี ยนรู ้การเกษตรและนันทนาการ เพื่อรองรับนักท่องเที่ยว กระตุน้ เศรษฐกิจใน จังหวัดเชี ยงใหม่นอกจากนี้ ยงั เป็ นต้นแบบให้คนในชุมชน โดยมีพ้ืนที่ 70 ไร่ ตั้งอยู่ที่ บ้านป่ าไผ่ ตาบลแม่โป่ ง อาเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชี ยงใหม่ บนพื้นที่ การเกษตรติดกับธรรมชาติและอยู่ใกล้เคี ยงกับแหล่งท่องเที่ ยวที่ โดดเด่นของจังหวัดเชียงใหม่ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อพัฒนาเป็ นแหล่งท่องเที่ยวและสร้างรายได้ให้กบั เจ้าของโครงการ 4.2 เพื่อเป็ นธุ รกิ จต้นแบบให้กบั ชุ มชนในพื้ นที่ ในการจัดสรรทรัพยากรให้เกิ ดประโยชน์ สู งสุ ดและสนับสนุนให้ชุมชนเป็ นแหล่งท่องเที่ยว 4.3 เพื่ อ เป็ นแหล่ งเรี ย นรู ้ ทางการเกษตร โดยประยุกต์ท ฤษฎี ตามแนวพระราชด าริ โคก หนอง นา โมเดล และส่ งเสริ มการท่องเที่ยว 4.4 เพื่อรองรับการเจริ ญเติบโตของเศรษฐกิจในอนาคต. 5. วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 5.1 เพื่อศึกษาการออกแบบและวางผังรี สอร์ทในอนาคต 5.2 เพื่อศึกษาการประยุกต์การจัดการพื้นที่ทางการเกษตรแบบ โคก หนอง นา โมเดล 5.3 เพื่อศึกษาการจัดสรรทรัพยากรและการบริ หารธุรกิจ 5.4 เพื่อศึกษาความร่ วมมือระหว่างเจ้าของโครงการกับคนในพื้นที่ชุมชน และนักท่องเที่ยว โดยมีแหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่เป็ นตัวชี้วดั 6. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 6.1 สถานที่ต้ งั โครงการ ตั้งอยู่ ที่ บ้า นป่ าไผ่ ต าบลแม่ โ ป่ ง อ าเภอดอยสะเก็ ด จังหวัด เชี ย งใหม่ มี เนื้ อ ที่ โดยประมาณ 70 ไร่ 6.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 6.2.1 เป็ นพื้นที่ติดต่อกับอาเภอแม่ออนและอาเภอสันกาแพง 6.2.2 ที่ต้ งั โครงการเป็ นพื้นที่จริ งซึ่ งเจ้าของมีโครงการจะพัฒนาในอนาคต 6.2.3 เป็ นพื้นที่ที่มีชุมชุนหนาแน่นและมีทรัพยากรทางด้านเกษตรกรรมมาก 6.2.4 เพื่อศึกษาการใช้ประโยชน์และศักยภาพของพื้นที่ให้กบั โครงการที่จะเกิดขึ้น ในอนาคต


7. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา

การออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมบ้านไร่ นายณรงค์รีสอร์ท เพื่อการเรี ยนรู ้และการท่องเที่ยวเชิงเกษตร อ.ดอยสะเก็ด จ. เชียงใหม่ แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั และขอบเขตโครงการ ที่มา ดัดแปลงมาจาก Google.Earth (8 ม.ค. 64) สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ถนนรอง Not to scale ถนนหมายเลย 118


Site surrounding

การออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมบ้านไร่ นายณรงค์รีสอร์ท เพื่อการเรี ยนรู ้และการท่องเที่ยวเชิงเกษตร อ.ดอยสะเก็ด จ. เชียงใหม่ แผนที่ 2 แสดงที่ต้ งั โครงการและความเชื่อมโยงของสถานที่ ท่องเที่ยว ที่มา ดัดแปลงมาจาก Google.Earth (8 ม.ค. 64) สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ รัศมี Not to scale สถานที่ท่องเที่ยว


ตารางการเปรี ยบเทียบลักษณะของแต่ละพื้นที่ ทัศนียภาพ

พื้นที่โครงการ

ที่มา: ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google earth

ลักษณะพื้นที่ Site 1 เป็ นพื้นที่ที่มีภูเขาและ มีการทาการเกษตร ล้อมรอบ มีทิวทัศน์ สวยงาม มีความเป็ น ส่ วนตัวสู ง ที่มา: ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google earth ขนาดพื้นที่ 70 ไร่

ที่มา: ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google earth ที่มา: ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google earth

ที่มา: ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google earth

เกณฑ์

คะแนน

การเข้าถึงโครงการ การเชื่อมต่อระหว่างโครงการ พื้นที่รอบข้าง ทัศนียภาพ ลักษณะประชากร รวมคะแนน

4 4 3 6 3 23

ที่มา: ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google earth

Site 2 เป็ นพื้นที่ที่ใกล้แหล่ง น้ า อยูต่ ิดกับชุมชน และมีร้านอาหารอยู่ ใกล้เคียง ขนาดพื้นที่ 68 ไร่ Site 3 เป็ นพื้นที่ที่อยูภ่ ายใน ชุมชน ติดกับทา สัญจรของคนใน หมู่บา้ น และมีแม่น้ า ด้านข้าง ขนาดพื้นที่ 65 ไร่

ตารางสรุ ปการให้คะแนนแต่ละพื้นที่ Site 1 Site 2 Site 3 ระดับ คะแนน ระดับ คะแนน ระดับ คะแนน B 12 B 12 A 16 C 8 B 12 B 12 A 12 C 6 C 6 A 24 B 18 C 12 B 9 B 9 B 9 65 57 55 หมายเหตุ A(Excellent) = 4, B(Good)= 3,C(Fair)= 2,D(Poor) = 1




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว จิตตินนั ทน์ ดอกไม้ รหัส 6019102506 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วย กิตสะสม 134 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.34 มี ค วามประสงค์ จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมแหล่งท่องเที่ ยวเชิ งเกษตร “ฟาร์มข้างเขื่อน” อาเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The landscape architecture design and planning of The agro tourism Attraction “Farm Kang Koen” Chai Badan district, Lop Buri 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ปัจจุบนั แนวโน้มพฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวมีการเปลี่ยนแปลงไป และมีความ สนใจการท่องเที่ยวเชิงเกษตรมากขึ้นอันเป็ นผลจากการที่คนส่ วนใหญ่ใช้ชีวิตอยู่ในเมืองที่มีความเร่ งรี บ ความ แออัดและความเครี ยดสะสมจากการทางาน สถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตรจึงเป็ นสิ่ งที่ตอบโจทย์นกั ท่องเที่ยวทั้ง ชาวไทยและชาวต่า งชาติ ไ ด้โ ดยนักท่ องเที่ ย วสามารถเดิ นทางไปหาประสบการณ์ เ กี่ ย วกับกิ จ กรรมด้า น การเกษตร หรื อต้องการใช้เวลาอยู่กับธรรมชาติ ที่เงี ยบสงบทาให้สามารถพักผ่อนหย่อนใจ รวมไปถึ งการ ท่องเที่ยวเชิงเกษตรมีค่าใช้จ่ายในระดับที่นกั ท่องเที่ยวโดยทัว่ ไปยอมรับกับต้นทุนในการท่องเที่ยวในรู ปแบบนี้ ได้ จึงทาให้การท่องเที่ยวเชิงเกษตรกลายมาเป็ นที่นิยมของนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ จังหวัดลพบุรีเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมโดยความนิ ยม ในการท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรี ของชาวไทยมีอตั ราเพิ่มขึ้น 3% และชาวต่างชาติมีอตั ราเพิ่มขึ้น 1.5% จากปี พ.ศ. 2560 อาเภอชัยบาดาลมีพ้ืนที่ท้ งั หมด 709,258 ไร่ และมีพ้ืนที่ทาการเกษตรจานวน 387,310 ไร่ มี ประชากรทั้งหมด 35,622 ครัวเรื อน และมีครัวเรื อนเกษตกรจานวน 13,257 ครัวเรื อน ซึ่ งบ่งบอกว่าในอาเภอ ยังคงความเป็ นสังคมเกษตกรอยู่ ทั้งเมื่อตรวจสอบแล้วพบว่าพื้นที่ต้ งั โครงการมีศกั ยภาพในการเพาะปลูก ทั้งยัง มี ส ถานที่ ท่องเที่ ย วใกล้เ คี ย งที่ ไ ด้รั บความนิ ย ม เช่ น เขื่ อนป่ าสั กชลสิ ทธิ์ อ่ า งเก็ บน้ า ซับตะเคี ย น น้ า ตกวัง ก้านเหลือง ตลาดปลาชัยบาดาล วัดถ้ าพระธาตุเขาปรางค์ วัดเขาสมโภชน์ เป็ นต้น


รวมทั้งจากการตรวจสอบพบว่าในปั จจุบนั มีสารเคมีกาจัดศัตรู พืช ตกค้างอยู่ในผลผลิตทาง การเกษตรเกินมาตราฐานปริ มาณสารพิษตกค้างในอาหารตามประกาศของสานักงานอาหารและยา (อย.) ถึง 41% จากสุ่ มตรวจจากห้างค้าปลีกสมัยใหม่และตลาดสดทัว่ ไป ซึ่ งหากได้รับสารเคมีในปริ มาณที่มากพอจะ ส่ งผลกระทบต่อสุ ขภาพของผูบ้ ริ โภคได้ ทั้งผลกระทบที่เกิดขึ้นเฉี ยบพลัน เช่น อาเจียน เวียนหัว ปวดกล้ามเนื้ อ ปวดหัว เป็ นต้น และผลกระทบที่สะสมเป็ นพิษเรื้ อรัง เช่น มะเร็ ง เบาหวาน โรคผิวหนัง โรคเกี่ยวกับความเสื่ อม สมรรถภาพทางเพศ พิษเรื้ อรังทาให้ทารกในครรภ์พิการ เป็ นต้น ดัง นั้น จึ ง มี แ นวคิ ด ในการออกแบบภู มิ ส ถาปั ตยกรรมในพื้ น ที่ โ ครงการให้ เ ป็ นสถานที่ ท่องเที่ ยวเชิ งเกษตรเพื่ อ ให้บ ริ การนักท่ องเที่ ย วในด้า นของการท่ องเที่ ย วทั้งในพื้ นที่ โครงการและบริ เ วณ โดยรอบ ด้านการบริ โภคผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดภัยไร้สารพิษเพื่อเพิ่มมูลค่าของผลผลิตทางการเกษตร และเป็ นต้นแบบไร่ เกษตรผปลอดภัยให้กบั เกษตรกร 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยว 4.1.2 เพิม่ มูลค่าให้กบั ผลผลิตทางการเกษตร 4.1.3 เป็ นต้นแบบเกษตรปลอดภัยของชุมชนโดยรอบ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 ศึ กษาการวางผัง ภู มิ ส ถาปั ตยกรรมแหล่ ง ท่ องเที่ ย วเชิ งเกษตรให้มี ค วาม น่าสนใจและดึงดูดนักท่องเที่ยว 4.2.2 ศึกษาแนวคิดและปรัชญาในการทาการเกษตรเพื่อปรับใช้กบั การวางผังภูมิ สถาปัตยกรรม 4.2.3 ศึกษาสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสาหรับการทาเกษตร


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง)

โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมแหล่งท่องเที่ ยวเชิ งเกษตร “ฟาร์ มข้างเขื่อน” ตาบลม่วงค่อม อาเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี แผนที่ 1 แผนที่แสดงแผงผังบริ เวณที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ ถนนหลวงแผ่นดินหมายเลข 205 ถนนสระบุรี-หล่มสัก เส้นทางรถไฟ มาตราส่ วน ที่มา

Not scale ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา

โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมแหล่งท่องเที่ ยวเชิ งเกษตร “ฟาร์ มข้างเขื่อน” ตาบลม่วงค่อม อาเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี แผนที่ 2 แผนที่แสดงขอบเขตที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์ พื้นที่ต้ งั โครงการ ถนนหลวงแผ่นดินหมายเลข 205 มาตราส่ วน ที่มา

Not scale ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth

โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวเชิ งเกษตร “ฟาร์ มข้างเขื่อน” ตาบลม่วง ค่อม อาเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี มีเนื้อที่ประมาณ 407 ไร่ (331 ไร่ ) ทิศเหนือ ติดกับพื้นที่เกษตร และพื้นที่รับน้ าจากเขื่อนป่ าสักชลสิ ทธิ์ ทิศใต้ ติดกับพื้นที่เกษตร ทิศตะวันออก ติดกับพื้นที่รับน้ าจากเขื่อนป่ าสักชลสิ ทธิ์ ทิศตะวันตก ติดกับพื้นที่เกษตร


7. บรรณานุกรม กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2563. “ที่ทาการปกครองอาเภอชัยบาดาล จังหวัด ลพบุรี”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.amphoe.com/dods/front/base/html/amphoe.php?catm=16040000&fb clid=IwAR3iz30R8bP32Q7JvlpqFWRhUN5fRFDkgYyW2kbrTbP9ojt22HhFScg s8mA (ธันวาคม 2563) จรั สพิมพ์ บุญญานันต์. 2556. “คู่มือดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ 2556”. [ระบบออนไลน์ ] . แ ห ล่ ง ที่ ม า https: / / issuu. com/ tuboonyanant/ docs/ latheismanual5 6 _foeweb (ธันวาคม 2563). จรั สพิมพ์ บุญญานันต์. 2562. “คู่มือดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ 2562”. [ระบบออนไลน์ ] . แ ห ล่ ง ที่ ม า https: / / issuu. com/ tuboonyanant/ docs/ frontcover58- mergedcompressed-merg (ธันวาคม 2563). นวพร เจริ ญวิ ริ ยะ. 2561. แผนธุ ร กิ จ ฟาร์ ม ผัก ออร์ แ กนิ ค . แผนธุ ร กิ จ ปริ ญญาตรี . มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สานักงานสถิติเศรษฐกิจและสังคม. 2560. “การสารวจพฤติกรรมการเดินทางท่องเที่ยวของ ช า ว ไ ท ย พ . ศ . 2560”. [ร ะ บ บ อ อ น์ ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ที่ ม า https://docs.google.com/file/d/0 Bxr1 UD-WZ2 0 tMU5 5 bnJld1 9 aWDg/edit (มกราคม 2564). สานักงานสถิติจงั หวัดลพบุรี. 2563. “รายงานสถิติจงั หวัดลพบุรี พ.ศ. 2563”. [ระบบออน์ ไลน์]. แหล่งที่มา http://lopburi.nso.go.th/ (มกราคม 2564). สานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. 2560. “โครงการรายงานภาวะเศรษกิจการ ท่ อ งเที่ ย วรายไตรมาส ประจ าปี พ.ศ. 2560”. [ระบบออน์ ไ ลน์ ]. แหล่ ง ที่ ม า https://secretary.mots.go.th/index.php (มกราคม 2564).

โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ



คำร้ องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้ า พเจ้ า นางสาวเจนจิ ร า ดวงจั น ทร์ รหั ส 6019102507 นั ก ศึ ก ษาชั้ นปี ที่ 4 สาขาวิ ช าภู มิ สถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 131 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.30 มี ค วามประสงค์ จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) การออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมชุมชนบ้านหนองมะจับ เพื่อเป็ น แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรมอย่างสร้างสรรค์ อ. สันทราย จ. เชียงใหม่ 2. หั ว ข้ อ เรื่ อง (ภาษาอั ง กฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning of Nongmajub Community as the Creative, Agricultural, and Cultural Tourist Attractions. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ บ้านหนองมะจับเป็ นหมู่บา้ นหนึ่ งของตาบลแม่แฝก อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยู่ บนถนนทางหลวงหมายเลข 1414 ซึ่ งเป็ นถนนที่เชื่ อมระหว่างอาเภอสันทรายและอาเภอแม่แตง ถือได้ว่าเป็ น ถนนสายสาคัญในการคมนาคมทั้งในด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว ทาให้บา้ นหนองมะจับเป็ น เสมือนพื้นที่ ทางผ่านไปยังพื้นที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ บ้านหนองมะจับมีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่ค่อนข้างสมบูรณ์ ชุมชน วิถี ชีวิตแบบคนเมือง (ไทยยวน) โดยมีศาลเสื้ อบ้านเป็ นศูนย์รวมของพื้นที่ มีการทากิจกรรมทางความเชื่ อและมี วัฒนธรรมโบราณแบบวิถีชาวบ้าน ที่ น่าสนใจ เอื้อต่อการเป็ นแหล่งท่องเที่ ยวให้นักท่องเที่ ยวและผูท้ ี่ สนใจ ได้มาสัมผัส ภายในชุมชนมีพ้นื ที่เรี ยนรู ้มากมายทั้งเชิงเกษตร วิถีชีวิต และวัฒนธรรม จากการศึกษาแผนพัฒนา 4 ปี ของตาบลแม่แฝก (พ.ศ.2561-2564) พบว่ามีเป้ าหมายในการ พัฒ นาชุ ม ชนในเขตการปกครองแม่ แ ฝกเป็ นชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย ว เกษตรกรรม เศรษฐกิ จ และการอนุ รั ก ษ์ ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ งแวดล้อ ม รุ่ งเรื องด้วยวัฒ นธรรมล้านนา วิถี ชี วิต ชุ ม ชน โดยมี ป ระเด็ น พัฒ นา ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 6 ยุทธศาสตร์ โดยมีการนายุทธศาสตร์ที่ 1 2 3 และ 5 มาปรับใช้ โดยมีเนื้อหาที่สาคัญคือ ยุ ท ธศาสตร์ ที่ 1 การพัฒ นาขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขัน ด้ า นการค้า การท่ อ งเที่ ย ว และการบริ ก าร ยุทธศาสตร์ที่ 2 การส่ งเสริ มการผลิตสิ นค้าการเกษตรสู่คุณภาพมาตรฐานสากล และเป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อม


ยุ ท ธศาสตร์ ที่ 3 การด ารงฐานวัฒ นธรรมล้ า นนาเพื่ อ เพิ่ ม มู ล ค่ า การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒ นธรรม เชิ ง นิ เวศ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมให้ดารงความสมบูรณ์และยัง่ ยืน จากการศึ กษาลักษณะที่ ต้ งั ของโครงการพบว่าพื้นที่ ต้ งั โครงการตั้งอยู่ในพื้ นที่ ส่งเสริ มให้เป็ น แหล่งท่องเที่ ยวชุมชนที่ ดีในอนาคต เนื่ องจากพื้นที่โครงการตั้งอยู่ในกลุ่มพื้นที่การเกษตรด้านทิ ศเหนื อของ อาเภอสั นทรายซึ่ งมี บทบาทสาคัญ ในด้านเศรษฐกิ จและการท่ องเที่ ยวของพื้ นที่ ภ ายในโครงการและพื้ นที่ ใกล้เคียง เดิมภายในพื้นที่โครงการได้มีการจัดให้ชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่ วมในการทากิจกรรมท่องเที่ยวชุมชน ในบางส่ วนแต่ยงั คงไม่ได้มีการแก้ไขปั ญหาอย่างครอบคลุม โครงการจึงได้มีการชะลอตัวลงไป ด้วยบทบาท ของพื้นที่ โครงการเป็ นพื้นที่ ปลูกพื ชไร่ พืชสวนเพื่อการพาณิ ชย์ พื้นที่ บางจุดมี ความเสื่ อมโทรมและรอการ พัฒ นา เนื่ องมาจากขาดการดูแลและไม่ได้ใช้ประโยชน์ทาให้คุณค่าทางทัศนี ยภาพของพื้นที่ ลดลง ในพื้นที่ โครงการเป็ นชุมชนและพื้นที่ เกษตรกรรมของชาวบ้าน เกษตรกรส่ วนใหญ่ขาดความรู ้ความเข้าใจในการทา เกษตรในแนวคิ ด เกษตรทฤษฎี ใหม่ เลี้ ยงชี พ อี กทั้งพื้ นที่ โครงการยังติ ด กับแม่ น้ าสายส าคัญ คื อแม่ น้ าปิ งที่ สามารถสร้างประโยชน์และมีคุณค่าให้กบั พื้นที่โครงการ โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมชุมชนบ้านหนองมะจับเพื่อเป็ นแหล่งท่องเที่ยว เชิ งเกษตรกรรม วิถีชีวิต และวัฒนธรรม ได้เล็งเห็นถึงศักยภาพที่น่าสนใจของพื้นที่ วิถีชีวิตและวัฒนธรรมที่ น่าสนใจของชุมชน จึงมีแนวความคิดที่จะพัฒนา ปรับปรุ งและผลักดันโครงการนี้ ให้ได้เป็ นที่รู้จกั แก่กลุ่มคน ภายนอกและกลุ่มที่มีความสนใจสนใจเพื่อยกระดับการท่องเที่ยวของชุมชนสู่ ระดับสากล เพื่อให้คนในชุมชน เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีข้ นึ และเพื่อให้เกิดรายได้แก่คนในชุมชนและพื้นที่ใกล้เคียง 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อพัฒนาพื้นที่ทางด้านเกษตรกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชน 4.1.2 เพื่อพัฒนาพื้นที่เกษตรกรรมสู่ แหล่งท่องเที่ยวของชุมชนอย่างสร้างสรรค์ 4.1.3 เพื่อส่ งเสริ มวัฒนธรรม เพื่อการพัฒนาพื้นที่ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของคน ในชุมชน ทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อม 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึ กษาลักษณะเฉพาะของพื้นที่ โครงการ ศักยภาพของพื้นที่ โครงการ ศึกษาทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่เดิ ม ที่ แสดงถึ งเอกลักษณ์ ทั้งวิถีทางด้านวัฒนธรรม การเกษตร และการทา การเกษตรชุมชนที่มีอยูใ่ นพื้นที่โครงการเพื่อนามาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดแก่พ้นื ที่ 4.2.2 เพื่อศึกษาการออกแบบและปรับปรุ งพื้นที่เกษตรกรรมสู่ การท่องเที่ยวของ ชุมชนและเสนอแผนที่ท่องเที่ยวชุมชนเชิงเกษตร 4.2.3 เพื่อศึกษาพื้นที่โครงการและออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมให้สอดคล้อง วิถีชีวิต ขนบธรรมเนี ยม ประเพณี ความเชื่ อและวัฒนธรรมของชุมชนที่ศึกษาเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดของ พื้นที่


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ โครงการตั้งอยู่บ นพื้ นที่ หมู่ ที่ 2 บ้านหนองมะจับ ตาบลแม่ แฝก อาเภอสั นทราย จังหวัด เชียงใหม่ มีขนาดพื้นที่ประมาณ 737 ไร่ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 พื้ น ที่ บ้า นหนองมะจับ มี ค วามโดดเด่ น ด้านที่ ต้ งั ศัก ยภาพของพื้ น ที่ ด้า น การเกษตร ด้านวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรม 5.2.2 พื้นที่บา้ นหนองมะจับมีศกั ยภาพในการพัฒนาเป็ นพื้นที่รองรับการท่องเที่ยว ทางด้านเกษตรกรรม วิถีชีวิต และวัฒนธรรมในอนาคต 5.2.3 พื้นที่ บา้ นหนองมะจับมี การเชื่ อมต่อระหว่างอาเภอสันทรายและอาเภอแม่ แตง สะดวกต่อการเข้าถึงและสามารถเชื่อมต่อกับพื้นที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมชุมชนบ้านหนองมะจับเพื่อเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรกรรม วิถีชีวิต และวัฒนธรรม แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั โครงการ ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศ กรมที่ดิน|ระบบค้นหารู ปแปลงที่ดิน (25ธค.2563) สัญลักษณ์ : ขอบเขตพื้นที่โครงการ

มาตราส่ วน NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมชุมชนบ้านหนองมะจับเพื่อเป็ นแหล่งท่องเที่ย วเชิงเกษตรกรรม วิถีชีวิต และวัฒนธรรม แผนที่ 2 แสดงรายชื่อทางสัญจรบริ เวณที่ต้ งั โครงการ ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศ กรมที่ดิน|ระบบค้นหารู ปแปลงที่ดิน (25ธค.2563) สัญลักษณ์ : ขอบเขตพื้นที่โครงการ มาตราส่ วน ถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1414 NOT TO SCALE ถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 107 ถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1001 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา 6.1 ขอบเขตพื้นที่ศึกษา พื้นที่โครงการมีพ้นื ที่ท้ งั หมดประมาณ 737 ไร่ โดยมีอาณาเขตติดต่อดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดกับ ถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1414 ทิศใต้ ติดกับ หมู่ที่ 2 บ้านโป่ ง หมู่ที่ 3 บ้านห้วยแก้ว ทิศตะวันออก ติดกับ พื้นที่ป่า อาเภอดอยสะเก็ด ทิศตะวันตก ติดกับ อาเภอแม่แตง โดยมีแม่น้ าปิ งเป็ นแนวเขต


7. บรรณานุกรม วิไล จอมรัตน์ , แผนพัฒนาเทศบาลตาบลแม่แฝก [ ระบบออนไลน์ ] ที่มา : http://www.maefeak.go.th/index.php?_mod=ZmlsZXM&type=MjA สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอสันทราย [ ระบบออนไลน์ ] ที่มา : https://district.cdd.go.th/sansai/?s=%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%AD %E0%B8%87%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0% B8%9A&submit=Search อาจารย์จรัสพิมพ์ บุญญานันต์“คู่มือดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ 2556”[ ระบบออนไลน์ ] ที่มา : https://issuu.com/tuboonyanant/docs/latheismanual56_foeweb?fbclid=IwAR3bo P7-PLEt8BM8tk0Sg9Bc0phqSk4Js9AsqiJkr9fFzbs8-UunyKsptA4 โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


軸恥晶刊明細細別n「正論「論壇肺

1.何丁閃晶)‥……

調あっ、G謝 同園

(淵∴㌍†」 …….)

2. (値鞘轟). 予“ ̄一一

陸自因 3.佃刑告諭)

中耳ハ〕∫

悶 4. (銅「諭の

↑/

諒J訪◆●,

l伽∪

日つ「3J諸肌㊦記号流1調∩育毛洲n「記鴇計門前I翻言

明謝崩「!釦…字間「乱読細論論詰朋…腸

(品評や∴城塞の (繭や

棚 姻璃鵬航) ヽ

/


คำร้องเสนอหัวข้อวิทยานิพนธ์ปริญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ข้าพเจ้า นาย ฌาน ศุภารัตน์ รหัส 6019102510 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วยกิต สะสม 131 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.22 มี ค วามประสงค์ จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันตก ปากน้ าปราณ เพื่อการอนุ รักษ์ และส่ งเสริ มการท่ องเที่ ยวเชิ งวัฒ นธรรมประมง อ.ปราณบุ รี จ. ประจวบคีรีขนั ธ์ 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning of Pak Nam Pran West Coast Areas, for Conservation and promotion of fishing cultural tourism, Pranburi, , Prachuap Khiri Khan 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ กระทรวงมหาดไทย โดยกรมโยธาธิการและผังเมือง ตระหนักถึงความสาคัญในการวางแผน พัฒนาพื้นที่ แหล่งท่องเที่ยวภายในชุมชน อันมีความสาคัญต่อภาพลักษณ์ประเทศ เนื่องจากเป็ นแนวทางที่ช้ ีนา และสร้างอนาคตและกาหนดแนวทางการพัฒนาพื้นที่เพื่อส่ งเสริ มการท่องเที่ยว บริ เวณโดยรอบเมือง ชุมชน ให้เป็ นเมืองน่ าอยู่สาหรับคนทุกกลุ่ม โดยเฉพาะพื้นที่ท่องเที่ยวที่มีศกั ยภาพในฝั่งด้านทะเลอ่าวไทย และเพื่อ รองรับการเป็ นศูนย์กลางการเชื่อมโยงการเดิ นทางการขนส่ งทั้งทางอากาศ ทางน้ าโดยท่าเรื อเฟอร์รี่ในเส้นทาง ระหว่างท่าเทียบเรื อจุกเสม็ดและชุมชนปากน้ าปราณ และทางบกโดยระบบรางไปสู่ ประเทศข้างเคียง ซึ่งจะต้อง มีการกาหนดยุทธศาสตร์ แนวทางการพัฒนาพื้นที่เพื่อส่ งเสริ มการพัฒนาโครงข่ายการเชื่อมโยง และเชื่อมต่อ แหล่งท่องเที่ยวได้อย่างมีระบบ พื้นที่ชุมชนปากน้ าปราณบุรีเป็ นพื้นที่ซ่ ึ งมีการตั้งถิ่นฐานของชุมชนมาแต่ด้ งั เดิม มีปูมเมือง และวิถีชีวิต ที่ผูกพันกับวิถีชีวิตประมง บริ เวณ"ปากน้ าปราณ"คือ บริ เวณช่วงที่แม่น้ าปราณบุรีไหลลงสู่ ทะเล ชาวบ้านส่ วนใหญ่ประกอบอาชี พประมง หมู่บา้ นแห่ งนี้ จึงกลายเป็ นศูนย์รวมอาหารทะเลจาหน่ ายในราคา ย่อมเยาว์ อาหารทะเลที่ข้ ึนชื่อของที่นี่ คือ ปลาหมึกสด ปลาหมึกแดดเดียว ปลาหมึกแห้ง กะปิ เคย กุง้ แห้ง ฯลฯ


เพื่อให้การเติบโตของเมืองบริ เวณชุมชนปากน้ าปราณเป็ นไปอย่างมีระบบ สามารถรองรับ การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและเศรษฐกิจ เชื่อมโยงการท่องเที่ยวเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ได้ อย่างเหมาะสม กรมโยธาธิ การและผังเมือง จึงมีแผนการพัฒนาโครงการศูนย์ท่องเที่ยวชายฝั่งทะเล ศูนย์การ เรี ยนรู ้อนุรักษ์ประมงชายฝั่ง และ สวนสาธารณะและลานคนเมืองหาดปากน้ าปราณ ดังนั้นจากเหตุผลความเป็ นมาที่กล่าวข้างต้น จึงขอเสนอหัวข้อโครงการออกแบบวางผังภูมิ สถาปั ตยกรรมพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันตกปากน้ าปราณ เพื่อกาหนดแนวทางการควบคุมการใช้ประโยชน์ ของ ที่ดิน และกาหนดแนวทางการพัฒนาพื้นที่ชุมชนท่องเที่ยวให้เหมาะสม และสอดคล้องกับการพัฒนาเขตพัฒนา พิเศษ ภาคตะวันออก โดยคงไว้ซ่ ึงวัฒนธรรมและ อัตลักษณ์ประจาถิ่น สื บต่อไป 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อส่ งเสริ มการเชื่ อมโยงการคมนาคมและการท่องเที่ ยว เขตพัฒนา พิเศษ ภาคตะวันออก (EEC) รองรับการให้บริ การด้านการท่องเที่ยวและประโยชน์ดา้ นอื่น ๆ แก่ชุมชนปากน้ าปราณ 4.1.2 เพื่อเป็ นพื้นที่นนั ทนาการใหม่ที่ส่งเสริ มการท่องเที่ยวในพื้นที่ระเบียงระเบียง เศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ 4.1.3 เพื่อส่ งเสริ มการอนุรักษ์วิถีชีวิต วัฒนธรรม และ สิ่ งแวดล้อมของพื้นที่ชุมชน ปากน้ าปราณให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี และยัง่ ยืน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์ท่องเที่ยวชายฝั่ง ทะเลตะวันตกปากน้ าปราณ 4.2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาแนวทางการออกแบบวางผังภู มิ ส ถาปั ตยกรรมศูน ย์ก ารเรี ยนรู ้ อนุรักษ์ประมงชายฝั่งปากน้ าปราณ 4.2.3 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมสวนสาธารณะและ ลานคนเมืองหาดปากน้ าปราณ 4.2.4 เพื่อศึกษาแผนและนโยบายที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ท่าเรื อ และบริ เวณโดยรอบ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ โครงการตั้งอยูท่ ี่ตาบลปากน้ าปราณ อาเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันตกปากน้ าปราณ เพื่อการอนุรักษณ์ และส่ งเสริ มการท่องเที่ยววัฒนธรรมประมง แผนที่ 1 ผังแม่บทการพัฒนาพื้นที่ชุมชนปากน้ าปราณบุรี ที่มา : โครงการ ศึกษา ออกแบบวางผังพื้นที่เฉพาะชะอา-หัวหิ น-ปราณบุรี เพื่อ เชื่อมโยงการท่องเที่ยวระเบียงเศรษฐกิจ (EEC) สัญลักษณ์ :1.โครงการศูนย์ท่องเที่ยวชายฝั่งทะเลตะวันตกปากน้ าปราณ 2.โครงการศูนย์การเรี ยนรู ้อนุรักษ์ประมงชายฝั่งปากน้ าปราณ Scale: Not to scale 3.โครงการปรับปรุ งถนนสายหลักพื้นที่พาณิ ชยกรรม เพื่อเชื่อมโยงการ ท่องเที่ยว 4.โครงการสวนสาธารณะและลานคนเมืองหาดปากน้ าปราณ พื้นที่ชุมชนปากน้ าปราณเดิม พื้นที่ชุมชนประมงพื้นบ้าน ย่านการค้าอาหารทะเลแปรรู ป พื้นที่อยูอ่ าศัยและท่องเที่ยว พื้นที่เกษตรและท่องเที่ยวเชิงนิเวศ


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันตกปากน้ าปราณ เพื่อการอนุรักษณ์ และส่ งเสริ มการท่องเที่ยววัฒนธรรมประมง แผนที่ 2 พื้นที่ศึกษา จานวน457ไร่ ที่มา : โครงการ ศึกษา ออกแบบวางผังพื้นที่เฉพาะชะอา-หัวหิ น-ปราณบุรี เพื่อ เชื่อมโยงการท่องเที่ยวระเบียงเศรษฐกิจ (EEC) สัญลักษณ์ : ขอบเขตพื้นที่ศึกษา Scale: Not to scale


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันตกปากน้ าปราณ เพื่อการอนุรักษณ์ และส่ งเสริ ม การท่องเที่ยววัฒนธรรมประมง แผนที่ 3 แสดงขอบเขตที่ต้ งั โครงการ ที่มา : Google Earth, 2563 สัญลักษณ์ : ขอบเขตโครงการ Scale: Not to scale


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันตกปากน้ าปราณ เพื่อการอนุรักษณ์ และ ส่ งเสริ มการท่องเที่ยววัฒนธรรมประมง แผนที่ 4 แสดงขอบเขตที่ต้ งั โครงการ ที่มา : Google Earth, 2563 สัญลักษณ์ : ขอบเขตโครงการออกแบบศูนย์ท่องเที่ยวชายฝั่งทะเลตะวันตก ปากน้ าปราณ Scale: Not to scale


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันตกปากน้ าปราณ เพื่อการอนุรักษณ์ และ ส่ งเสริ มการท่องเที่ยววัฒนธรรมประมง แผนที่ 5 แสดงขอบเขตที่ต้ งั โครงการ ที่มา : Google Earth, 2563 สัญลักษณ์ : ขอบเขตโครงการศูนย์การเรี ยนรู ้ อนุ รักษ์ประมงชายฝั่ งปากน้ า ปราณ Scale: Not to scale


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันตกปากน้ าปราณ เพื่อการอนุรักษณ์ และ ส่ งเสริ มการท่องเที่ยววัฒนธรรมประมง แผนที่ 6 แสดงขอบเขตที่ต้ งั โครงการ ที่มา : Google Earth, 2563 สัญลักษณ์ : ขอบเขตโครงการสวนสาธารณะและลานคนเมืองหาดปากน้ าปราณ Scale: Not to scale

5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 พื้นที่ดงั กล่าวเป็ นพื้นที่ที่อยู่ในแผนนโยบายโครงการออกแบบวางผังพื้นที่ เฉพาะชะอา-หัวหิ น-ปราณบุรี เพื่อเชื่อมโยงการท่องเที่ยวระเบียงเศรษฐกิจ (EEC) ของกรมโยธาธิ การและผัง เมือง กระทรวงมหาดไทย 5.2.2 เป็ นพื้นที่ที่มีศกั ยภาพในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนปากน้ าปราณ 5.2.3 เป็ นพื้นที่ที่มีศกั ยภาพในการท่องเที่ยวชุมชนปากน้ าปราณ




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้า พเจ้า นางสาวธนั ช พร ชิ ง ชม รหั ส 6019102512 นั ก ศึ ก ษาชั้ น ปี ที่ 4 สาขาวิ ช าภู มิ สถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาค การศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 131 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.98 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตร์ บณ ั ฑิต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง(ภาษาไทย) การออกแบบวางผัง ภูมิสถาปั ตยกรรมชุมชนวังจันทร์วลั เลย์ ในพื้นที่ เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) อ.วังจันทร์ จ.ระยอง 2. หัวข้อเรื่ อง(ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning of the Wang Chan Valley Community in the Eastern Economic Corridor of Innovation (EECi), Wangchan, Rayong 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ตามรั ฐบาลได้มีนโยบายที่ จะผลักดันพื้นที่ชายฝั่ งทะเลด้านตะวันออกให้กลายเป็ น ศูนย์กลาง เศรษฐกิจ การค้า และการลงทุนในภูมิภาคเอเชียโดยยกระดับพื้นที่ 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัด ฉะเชิ งเทรา ชลบุรี และ ระยอง ให้เป็ นพื้นที่ เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ตามยุทธศาสตร์ ขับเคลื่ อนเศรษฐกิ จ “ไทยแลนด์ 4.0” หนึ่ งในโครงการหลักที่ ตอ้ งการขับเคลื่ อนคื อ โครงการเขต นวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi) เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi) มีเป้ าหมายหลักในการ พัฒ นาให้ ไ ปสู่ ก ารเป็ นพื้ น ที่ ที่ มี ร ะบบนิ เ วศนวัต กรรมชั้น น าของภู มิ ภ าคตะวัน ออกเฉี ย งใต้ ที่ ซ่ ึ ง ผลงานวิจยั และนวัตกรรมนาไปสู่ การพัฒนาเศรษฐกิจและความอยู่ดีกินดีของประชาคมอย่างยัง่ ยืน มี หลักเบื้องต้น คือ การพัฒนาพื้นที่เขตนวัตกรรมที่มีลกั ษณะผสมผสานเทคโนโลยีหลายสาขาเพื่อหลอม รวมให้เกิดนวัตกรรมพลิกโฉมฉับพลันเพื่อให้พ้ืนที่เขตนวัตกรรมเป็ นแหล่งรวมนวัตกร ผูเ้ ชี่ ยวชาญ รวมทั้งมีระบบนิเวศนวัตกรรมที่สมบูรณ์เอื้อสาหรับการสร้างสรรค์นวัตกรรม และนาผลงานนวัตกรรม


ออกไปสู่ เชิ งพานิ ชย์ เพื่อนาประเทศไปสู่ ความมัน่ คง มัง่ คัง่ และยัง่ ยืน EECi มีวิสัยทัศน์ไปสู่ การเป็ น ระบบนิเวศนวัตกรรมชั้นนาของภูมิภาคเอเชียตะวันออกฉียงใต้ จากขอบเขตความร่ วมมือดังกล่าว ปตท. และ สวทช.ได้เริ่ มวางแผนการพัฒนาที่ดินและการ ใช้ประโยชน์ที่ดินของวังจันทร์ วลั เลย์โดยแบ่งการพัฒนาพื้นที่ออกเป็ น 3 โซน ได้แก่ 1. Education Zone จานวน 1,340 ไร่ เป็ นพื้นที่ปัจจุบนั ที่ได้มีการพัฒนาแล้วโดยกลุ่ม ปตท. โดยเป็ นที่ต้ งั สถาบันการศึกษาด้านวิจยั และวิทยาศาสตร์ ได้แก่ โรงเรี ยนกาเนิดวิทย์ และสถาบัน วิทยสิ ริเมธี ซึ่งเป็ นแหล่งกาเนิดบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ซึ่งเอื้อต่อการสร้าง ระบบนิเวศนวัตกรรมที่สาคัญ 2. Innovation Zone จานวน 1,936 ไร่ มีแผนการพัฒนาเป็ น 2 ระยะในช่ วงปี 25592565 และหลังจากปี พ.ศ. 2565 เป็ นต้นไป ปั จจุ บนั อยู่ระหว่างพัฒนาพื้นที่เพื่อดาเนิ นกิ จกรรมวิจยั พัฒนา และนวัตกรรมหรื อกิ จกรรมที่ เกี่ ยวเนื่ อง โดยเป็ นที่ ต้ งั ของกลุ่มอาคาร EECi ของสานักงาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา 4 เมืองนวัตกรรม จากการสนับสนุนของภาครัฐที่ มีแผนจะชักชวนเข้ามารวมอยูด่ ว้ ยกันเพื่อสร้างให้เป็ นศูนย์รวมการศึกษา วิจยั นวัตกรรมอย่างครบวงจร รวมถึงการพัฒนากับพันธมิตรอื่นๆที่สนใจ เพื่อเป็ นศูนย์บริ หารจัดการพื้นที่ในรู ปแบบ Smart City 3. Community Zone จานวน 178 ไร่ มีแผนพัฒนาในช่วงปี 2561-2565 อยูร่ ะหว่างการ ออกแบบรายละเอี ย ดตามผัง แม่ บท และผัง การใช้ป ระโยชน์ ที่ดิ น ให้เ ป็ นที่ พ กั อาศัย สถานศึ ก ษา/ โรงเรี ยนนานาชาติ/โรงเรี ยนสองภาษา โรงแรม และจัดให้มีสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ รองรับการ ดาเนินชีวิตและเพิ่มพูนผลิตภาพของนวัตกร บุคลากร และครอบครัวรวมถึงผูท้ ี่เกี่ยวข้องในการมาเยีย่ ม เยือ นโครงการซึ่ งเป็ นส่ ว นที่ ส าคัญ ของระบบนิ เ วศนวัต กรรม ให้ส ามารถด าเนิ น การวิ จ ัย พัฒ นา นวัตกรรมได้อย่างต่อเนื่องและยัง่ ยืน ดังนั้นในส่ วนที่ เลื อกการพัฒนาการพื้นที่ ชุมชนในเขตส่ งเสริ มเศรษฐกิ จพิเ ศษนวัตกรรม ระเบี ย งเศรษฐกิ จ พิเ ศษภาคตะวัน ออกหรื อส่ ว น Community Zone ให้เ กิ ด เป็ นเขตชุ มชนนวัตกรรม ดังกล่าวจะส่ งผลในการสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมเพื่อการพักอาศัยของนักวิจยั เพื่อทาให้เกิดเป็ น ชุ มชนวิจ ัยที่ สามารถจะแลกเปลี่ ยนองค์ความรู ้ กันได้ตลอดเวลาทั้งในเวลาปฏิ บตั ิ งานและผ่านการ ปฏิสัมพันธ์กนั ในหลายมิติ อันจะเป็ นการส่ งเสริ มการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้มีความ เข้มข้นสู งและเต็มไปด้วยประสิ ทธิ ภาพ เนื่ องจาก มีความพร้อมในทุกด้าน เช่น กาลังคน โครงสร้ าง พื้นฐานต่างๆ เป็ นต้น


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อรองรับการพัฒนาให้เกิดพื้นที่ชุมชนนวัตกรรมดังกล่าวให้มีความ พร้อมรองรับการทางานและเป็ นที่อยูอ่ าศัยและสันทนาการให้กบั บุคลากร ผูส้ ัญจร ผูม้ าติดต่อและเยี่ยม ชมโครงการ ตลอดจนชุมชนรอบข้าง หรื อที่เรี ยกว่า Community Zone 4.1.2 เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมเพื่อการพักอาศัยของนักวิจยั เพื่อทา ให้เกิดชุมชนวิจยั ที่สามารถจะแลกเปลี่ยนความรู ้กนั ได้ตลอดเวลา 4.1.3 เพื่อให้เกิดระบบนิ เวศที่เหมาะสม มีสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ และ เป็ นพื้ น ที่ ที่ ส่ ง เสริ ม ให้ EECi สามารถท าหน้า ที่ เ ป็ นศู น ย์ก ลางจ าหน่ า ยสิ น ค้า และผลผลิ ต จากการ เทคโนโลยีไปใช้ในการผลิตและการเกษตร 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมประเภท โครงการ ที่พกั อาศัย (Community Zone) และพื้นที่เพื่อการเรี ยนรู ้(โรงเรี ยน) 4.2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาแนวทางการพัฒ นาพื้ น ที่ ใ ห้เ ป็ นเมื อ งวิ จ ัย นวัต กรรม ใน รู ปแบบ Smart Natural Innovation Platform 4.2.3 เพือ่ ศึกษาความต้องการและพฤติกรรมการอยูอ่ าศัยของนักวิจยั และนัก ธุรกิจ ทั้งคนในโครงการรวมถึงคนในชุมชน ที่มีความต้องการเข้ามาพักอาศัยในโครงการ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการ โดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของ คาร้อง) 5.1 สถานที่ต้งั โครงการ ย่านชุมชนที่อยูอ่ าศัย วังจันทร์วลั เลย์ ของกลุ่ม ปตท. ต.ป่ ายุบใน อ.วังจันทร์ จ. ระยอง ตั้งอยูบ่ นพื้นที่กว่า 178 ไร่


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมชุมชนวังจันทร์วลั เลย์ ในพื้นที่เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจ ภาคตะวันออก (EECi) อ.วังจันทร์ จ.ระยอง แผนที่ 1 แสดงแผนที่โครงการชุมชนวังจันทร์วลั เลย์ สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่ออกแบบ Community Zone ถนนเส้น 344 บ้านบึง-แกลง ระยอง ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth ( 27 ธันวาคม 2563 )

Scale: Not to scale


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมชุมชนวังจันทร์วลั เลย์ ในพื้นที่เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจ ภาคตะวันออก (EECi) อ.วังจันทร์ จ.ระยอง แผนที่ 2 แสดงแผนที่โครงการวังจันทร์วลั เลย์ สัญลักษณ์

ขอบเขตโครงการวังจันทร์วลั เลย์ ถนนเส้น 344 บ้านบึง-แกลง ระยอง ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth ( 27 ธันวาคม 2563 )

Scale: Not to scale

5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ 5.2.1 เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi) มีเป้าหมาย หลักในการพัฒนาให้ไปสู่ การเป็ นพื้นที่ที่มีระบบนิ เวศนวัตกรรมชั้นนาของภูมิภาค ซึ่ งผลงานวิจยั และ นวัตกรรมนาไปสู่ การพัฒนาเศรษฐกิจและความอยูด่ ีกินดีของประชาคมอย่างยัง่ ยืน


5.2.2 กาหนดให้พ้นื ที่ “ชุมชนวังจันทร์วลั เลย์” จังหวัดระยองของบริ ษทั ปตท . จากัด (มหาชน) พื้นที่ประมาณ 178 ไร่ เป็ นพื้นที่ชุมชนที่อยูอ่ าศัย เพื่อรองรับการพัฒนาโครงการ EECi เนื่องจากมีความเหมาะสมทั้งทางด้านกายภาพและขนาดของพื้นที่ การเข้าถึงด้านคมนาคม ศักยภาพใน การพัฒนา การเชื่อมโยงกับภาคอุตสาหกรรมในพื้นโครงสร้างเดิมทางนวัตกรรมที่มีอยูแ่ ล้ว 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา ชุ ม ชนวัง จัน ทร์ ว ัล เลย์ ของกลุ่ ม ปตท. ต าบลป่ ายุ บ ใน อ าเภอวัง จัน ทร์ จัง หวัด ระยอง ตั้งอยูบ่ นพื้นที่กว่า 178 ไร่ ทิศเหนือ ติดต่อกับ บ้านชากนา ต.เขาซก อ.หนองใหญ่ ทิศใต้ ติดต่อกับ หมู่ 1 ต.ป่ ายุบใน อ.วังจันทร์ ทิศตะวันออก ติดต่อกับ บ้านคลองเขต ต.ป่ ายุบใน อ.วังจันทร์ ทิศตะวันตก ติดต่อกับ วัดป่ ายุบ ต.0.ป่ ายุบใน อ.วังจันทร์ 7. บรรณานุกรม ส านัก งานพัฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยีแ ห่ ง ชาติ . 2560. [ระบบออนไลน์ ] “รายงานการศึกษาความเหมาะสม ( Feasibility Study ) การจัดตั้งเขตส่ งเสริ ม เศรษฐกิ จ พิ เ ศษเขตนวัต กรรมระเบี ย งเศรษฐกิ จ พิ เ ศษภาคตะวัน ออก” แหล่งที่มา https://th.eeco.or.th/sites/default/files/Feasiblity%20study% 20Com.%20Zone2%20EECi.pdf?fbclid=IwAR0SoUCSJ0rRPkkbxSsn9EqC VzaRQCLJUDNkVE6Xgi8sjk8NYKGcpiqgxPo (8 มกราคม 2564) จรัสพิมพ์ บุญญานันต์. 2556. คู่มือการดาเนินงานวิทยานิพนธ์ 2556 [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา. https://issuu.com/tuboonyanant/docs/latheismanual56_foeweb (8 มกราคม 2564) โดยข้า พเจ้า ยิ น ดี ที่ จ ะปฏิ บัติ ต ามหลัก และวิ ธี ด าเนิ น งานวิ ท ยานิ พ นธ์ ขอ งคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนินงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..







คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย นลธวัช คาผัด รหัส 6019102514 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 98 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.76 มี ค วามประสงค์ จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) การออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมสวนสนุ กอเวนเจอร์ ปาร์ ค อ.เมือง เชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 2. หั ว ข้อ เรื่ อ ง (ภาษาอัง กฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning of the Avenger theme park, Muang Chiangmai, Chiangmai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จากอดีตจนถึงปั จจุบนั การ์ ตูนและภาพยนตร์ ซุปเปอร์ ฮีโร่ มกั จะเป็ นที่สนใจของผูค้ นทั้งเด็ก และผูใ้ หญ่ เสมอ และปั จจุบ ันนี้ ซุปเปอร์ ฮีโร่ ที่ได้รับความนิ ยมมากที่ สุ ด คือซุ ปเปอร์ ฮีโร่ จากสตูดิ โอมาเวล (Mavel Studio) จะเห็นได้ชดั จากยอดขายและสถิติต่างๆ เช่น ทาลายสถิติหนังที่ทารายได้สู งสุ ดของโลกในปี 2019 (Avengers End Game 2019) และยังมี หนังที่ ได้รับรางวัลออสการ์ อีก เช่ น หนังเรื่ อง แบล็ค แพนเธอร์ (Black Panther) และยังคงมีกระแสความนิ ยมตลอดมา สิ่ งเหล่านี้ ลว้ นเป็ นสิ่ งที่พิสูจน์ได้ว่าซุปเปอร์ฮีโร่ ของมา เวล เป็ นที่นิยมอย่างมากในยุคปั จจุบนั จากข้อมูลเหล่านี้ จึงได้เรงเห็นช่องทาง ทางการค่าธุรกิจสวนสนุก อเวน เจอร์ ปาร์ ค เพื่อส่ งเสริ มรายได้ทางเศษฐกิจให้ยกระดับไปเป็ นระดับโลก ด้วยเหตุผลความสาคัญจึงได้ริเริ่ ม โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมสวนสนุกอเวนเจอร์ ปาร์ ค อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ ขึ้นมา ทั้งนี้ พื้ น ที่ โครงการตั้งอยู่ริ มถนนรอบเมื องเชี ยงใหม่ มี ข นาด 280 ไร่ โครงการระดับโลก โดยประมาณ สภาพ โครงการเดิมเป็ นพื้นที่เปิ ดโล่ง ยังไม่ได้รับการพัฒนา เป็ นพื้นที่เกษตรกร โดยในปัจจุบนั นี้ มีสวนสนุกหลายแห่ ง หลายรู ปแบบทัว่ โลกโดยรู ปแบบที่เป็ นแบบเดียวกับสวน สนุ กเวนเจอร์ ปาร์ ค ก็จะเห็นได้หลักๆ ที่โด่งดัง อาทิเช่น ดิ สนี ยแ์ ลนท์หลากหลายประเทศ ทั้ง ฮ่องกง ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริ กา ฝรั่งเศส โดยมีการการันตี ของผูค้ นที่เข้ามาหลัก10ล้าน โดยประเทศไทยมีอยู่หนึ่ งแห่ งคือ สวน น้ าการ์ ตูนเน็ ตเวิร์ค (Cartoon Network Amazone) จ.ชลบุรี อย่างไรก็ ดี เมื่ อ หันกลับมามองที่ ภาคเหนื อ โดย


เฉพาะที่จงั หวัดเชียงใหม่ ซึ่งเป็ นเมืองที่มีเศษฐกิจดี ผูค้ นอาศัยหนาแน่น และจานวนนักท้องเที่ยว ที่เข้ามายัง จ. เชียงใหม่ เฉลี่ยปี ละ3-4ล้านคน รายได้ต่อปี 30-40ล้านบาท จึงคิดว่าถ้ามีการสร้างสวนสนุกแห่ งนี้ ข้ ึนมา จะเป็ น เป็ นสวนสนุ กแห่ งที่ ใหม่ระดับโลก ที่ มีแนวความคิด มาจากภาพยนตร์ ที่ ยงั ไม่มีที่ไหนทาขึ้นมา จะเป็ นส่ วน หนึ่งที่จะช่วยผลักดันรายได้ของเศษฐกิจให้สูงมากขึ้น ผูค้ นจากทั้งโลกจะหันมาเที่ยวในไทยมากยิง่ ขึ้น ส่ งเสริ ม การท่องเที่ยวไทยในส่ วนภูมิภาคต่างๆมากขึ้น ทั้งนี้ เหตุผลหลักในการเลือกโครงการนี้ คือการที่อยากให้ผูค้ นทัว่ โลก ได้ใกล้ชิดกับฮีโร่ ที่ เป็ นขวัญใจของใครหลายๆคน ที่พร้อมจะมอบความสุ ขสนุกสนานให้กบั ผูท้ ี่มาเข้าใช้โครงการ และเป็ นตัวแปร ส าคัญ ของการท่องเที่ ยวไทยและยกระดับ ทางเศษฐกิ จ ไทยให้ไ ประดับ โลก จากความเป็ นมาและเหตุผ ล ดังกล่าวมาแล้วข้างต้น จึงขอเสนอหัวข้อวิทยานิพนธ์ในเรื่ องนี้ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อส่ งเสริ มรายได้ทางเศษฐกิจไทยให้มากขึ้น 4.1.2 เพื่อยกระดับการท่องเที่ยวไทย แต่ละภูมิภาคให้กบั ชาวต่างชาติได้รู้จกั มากยิง่ ขึ้น 4.1.3 เพื่อเปิ ดโลกกว้างของสวนสนุกแห่งใหม่ 4.1.4 เพื่อเป็ นสถานที่พกั ผ่อนในวันหยุดและวันว่างๆของผูค้ น 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมโครงการสวนสนุ ก ที่มีแนวความคิดมาจากภาพยนตร์ 4.2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาข้ อ มู ล ปั จ จั ย พื้ น ฐานต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การออกแบบภู มิ สถาปัตยกรรม และการวิเคราะห์ สังเคราะห์ขอ้ มูล เพื่อนามาใช้ในการออกแบบ 4.2.3 เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผูใ้ ช้และกิจกรรมภายในสวนสนุก และนามาใช้เป็ น ข้อมูลพื้นฐานในการออกแบบให้เหมาะสมกับพฤติกรรมและกิจกรรมเหล่านั้น

5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) ที่ ต้ งั โครงการอยู่ติ ด กับ ถนนรอบเมื องเชี ยงใหม่ ต.ป่ าแดด อ.เมื องเชี ย งใหม่ จ.เชี ย งใหม่ ขนาดของพื้นที่ 288 ไร่ 5 งาน เหตุผลในการเลือก พื้นที่ของโครงการติดกับถนนที่มีการสัญจรหนาแน่น สามารถมองเห็น ตัวสวนสนุ กได้ชัดเจน ไม่ มีตึกสู งบริ เวณพื้นที่ โครงการ ใกล้กับตัวเมื องเชี ยงใหม่ พื้นที่ ติดกับเส้นทางของ รถไฟฟ้ ารางเบาสี เขียวได้สะดวก บริ เวณโครงการรอบ ๆ โดยตามข้อกาหนดผังเมืองจังหวัดเชี ยงใหม่ พื้นที่


โครงการตั้งอยู่ในโซนสี เขียว เป็ นพื้นที่สีเหลืองกับสี แดง หนาแน่นน้อยถึงปารกลาง ส่ วนนี้ ก็เป็ นปั จจัยหลักที่ ต้องการสร้างตรงส่ วนนี้ เป็ นสวนสนุก

โครงการสวนสนุก อเวนเจอร์ ปาร์ค เชียงใหม่ ต.ป่ าแดด อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ แผนที่ 1 แสดงแผนผังบริ เวณที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์ ขอบเขตของโครงการ ถนน รอบเมืองเชียงใหม่

มาตราส่ วน ที่มา :

ภาพถ่ายทางอากาศ Google maps

6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่โครงการมีขนาด 288ไร่ 5 งาน ทิศเหนือ ติดถนนมหิ ดล ทิศตะวันออก ติดหมู่บา้ นดิเอธิน่ากุลพันธ์วิลล์โครงการ 14 ทิศตะวันตก

ติดหมู่บา้ นนันทนา

ทิศใต้

ติดโรงพิมพ์ พลอยการพิมพ์


7. บรรณานุกรม มาคาเลียส. ม.ป.ป. “6 Disneyland (ดิสนียแ์ ลนด์) ดินแดนในฝัน” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา https://www.makalius.co.th/%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A7% E0% B8%B4%E0%B8%A7/6-disneyland/ (12 มกราคม 2564) ลิขสิ ทธิ์ เมืองคุม้ . 2563. Harry Potter Theme Park Tokyo : สวนสนุกแฮรี่ พอตเตอร์เตรี ยมเปิ ด ที่โตเกียว ปี 2023 [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา: https://kiji.life/harry-potter-themepark-tokyo/ (12 มกราคม 2564) วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี . 2563. “สวนน้ าการ์ตูนเน็ทเวิร์ค อเมโซน”. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา: https://th.wikipedia.org/wiki/สวนน้ าการ์ตูนเน็ทเวิร์ค_อเมโซน (12 มกราคม 2564) Wikipedia. 2021. “Marvel Studios” [Online] Available https://en.wikipedia.org/wiki/ Marvel_Studios (12/1/2021) โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ) ......................................... (.....................................................) ……….../………./………..



Site selection

โครงการสวนสนุก อเวนเจอร์ ปาร์ค เชียงใหม่ ต.ป่ าแดด อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ มาตราส่ วน แผนที่ 2 แสดงที่ต้ งั โครงการและขอบเขตโครงการ

ที่มา : ดัดแปลงจาก https://earth.google.com/web/search/ %e0%b9%84%e0%b8%97%e0%b8%a2/@18.84142106,9 9.00406189,313.61447219a,13417.286056d,35y,Not to scale 0h,0t,0r/data=CigiJgokCQw40Cu8qTVAEQg40Cu8qTXA Gbk8zShB9ElAIbY8zShB9EnA (12 January 2021)


โครงการสวนสนุก อเวนเจอร์ ปาร์ค เชียงใหม่ ต.ต้นเปา อ.สันกาแพง จ.เชียงใหม่ มาตราส่ วน แผนที่ 3 แสดงที่ต้ งั โครงการและขอบเขตโครงการ

ที่ ม า : ดั ด แปลงจากhttps://earth.google.com/web/search/ %e0%b9%84%e0%b8%97%e0%b8%a2/@18.84142106,9 9.00406189,313.61447219a,13417.286056d,35y,- Not to scale 0h,0t,0r/data=CigiJgokCQw40Cu8qTVAEQg40Cu8qTXA Gbk8zShB9ElAIbY8zShB9EnA (12 January 2021)


1. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการทางเลือกที่ 2 ที่ต้ งั โครงการอยู่ใกล้กบั ถนนรอบเมืองเชียงใหม่ ปี ต.ต้นเปา อ.สันกาแพง จ.เชียงใหม่ ขนาด ของพื้นที่ 274 ไร่ 1 งาน เหตุผลในการเลือก พื้นที่ของโครงการติดกับถนนที่มีการสัญจรหนาแน่น สามารถมองเห็น ตัวสวนสนุ กได้ชัดเจน ไม่ มีตึกสู งบริ เวณพื้นที่ โครงการ ใกล้กับตัวเมื องเชี ยงใหม่ พื้นที่ ติดกับเส้นทางของ รถไฟฟ้ ารางเบาสี ฟ้าเข้าถึ ง ได้สะดวก บริ เวณโครงการรอบ ๆ โดยตามข้อกาหนดผังเมื องจังหวัดเชี ยงใหม่ พื้นที่

โครงการสวนสนุก อเวนเจอร์ ปาร์ค เชียงใหม่ ต.ต้นเปา อ.สันกาแพง จ.เชียงใหม่ แผนที่ 4 แสดงแผนผังบริ เวณที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์ ขอบเขตของโครงการ ถนนเส้นสี่ แยกสันกลาง

มาตราส่ วน ที่มา :

ภาพถ่ายทางอากาศ Google maps ดกเด


2. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา ทางเลือกที่ 2 พื้นที่โครงการมีขนาด 274ไร่ 1 งาน ทิศเหนือ ติดSupalai Garden Ville ทิศตะวันออก ติดโครงการ ดิ เอสตีม เชียงใหม่ (The Esteem Chiangmai) ทิศตะวันตก ทิศใต้

ติดสี่ แยกสันกลาง ติดAm PORK

ตำรำงที่ 1 แสดงการประเมินศักยภาพของพื้นที่โครงการ เกณฑ์ / ภาค

คะแนน

Accessibility Shape Approach View Surrounding Linkage Public Facilities Public Utilities รวมคะแนน

6 3 3 6 4 5 8

SITE 1 ระดับ A B B B A A A

35

หมายเหตุ น้ าหนักคะแนนหรื อลาดับความสาคัญของหลักเกณฑ์โดยแบ่งดังนี้ A (excellent) เท่ากับคะแนน 4 point B (very good) เท่ากับคะแนน 3 point C (good) เท่ากับคะแนน 2 point D (poor) เท่ากับคะแนน 1 point

คะแนน 24 9 9 18 16 20

SITE 2 ระดับ B B B A C B

คะแนน 18 9 9 24 8 15

32

C

16

128

99


3. ลักษณะทัว่ ไปของพื้นที่โครงการทางเลือก Site 1 : ต.ป่ าแดด อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ ขนาดของพื้นที่ 288 ไร่ 5 งาน ติดกับถนนที่มีการสัญจรหนาแน่น สามารถมองเห็นตัวสวนสนุกได้ชดั เจน ไม่มีตึกสู งบริ เวณพื้นที่โครงการ ใกล้กบั ตัวเมืองเชียงใหม่ พื้นที่ติดกับเส้นทางของรถไฟฟ้ารางเบาสี เขียวได้สะดวก บริ เวณโครงการรอบ ๆ โดย ตามข้อกาหนดผังเมืองจังหวัดเชียงใหม่ พื้นที่โครงการตั้งอยูใ่ นโซนสี เขียว เป็ นพื้นที่สีเหลืองกับสี แดง หนาแน่นน้อยถึงปารกลาง ส่ วนนี้ ก็เป็ นปัจจัยหลักที่ตอ้ งการสร้างตรงส่ วนนี้ เป็ นสวนสนุก

Site 2 : ต.ต้นเปา อ.สันกาแพง จ.เชียงใหม่ ขนาดของพื้นที่ 274 ไร่ 1 งาน พื้นที่ ของโครงการติ ด กับ ถนนที่ มี การสั ญจรหนาแน่ น สามารถมองเห็ น ตัวสวนสนุ กได้ ชัดเจน ไม่มีตึกสู งบริ เวณพื้นที่โครงการ ใกล้กบั ตัวเมืองเชียงใหม่ พื้นที่ติดกับเส้นทางของรถไฟฟ้ารางเบาสี ฟ้า เข้าถึง ได้สะดวก บริ เวณโครงการรอบ ๆ โดยตามข้อกาหนดผังเมืองจังหวัดเชียงใหม่ พื้นที่


คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย บัญชา แซ่องั รหัส 6019102515 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วย กิตสะสม 131 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.17 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) การออกแบบพื้นที่สาธารณะริ มน้ าน่านย่านวัดจันทร์ตะวันออก อาเภอ พิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก 2. หั ว ข้ อ เรื่ อง (ภาษาอั ง กฤษ) “The Landscape Architecture Design and Planning for the Nan Riverfront Public Areas at Wat Chan Tawan Ok District, Phitsanulok Province 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ปัจจุบนั การขยายตัวของเมืองพิษณุโลกได้เติบโตและขยายออกมาอย่างต่อเนื่องส่ งผลให้เกิด การเปลี่ยนแปลง ทางระบบสังคมเศรษฐกิจการเมืองการปกครอง และสิ่ งแวดล้อมของชุมชนเมืองพิษณุโลก โดยเฉพาะด้านสิ่ งแวดล้อม ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามการขยายตัวของเมืองอย่างรวดเร็ ว หากไม่มีการจัดการ พื้นที่สาธารณะที่ดี จะทาให้เมืองได้รับผลกระทบต่อสภาพความเป็ นอยู่ของคนในชุมชนและคนในจังหวัด พิษณุโลก เทศบาลนครพิษณุโลก มีแม่น้ าไหลผ่านกลางเมือง แบ่งพิษณุ โลกเป็ นสองฝั่ง จนถูกเรี ยกว่า เมือง “อกแตก” พื้นที่ท้ งั ฝั่งตะวัน ออกและฝั่งตะวันตกของแม่น้ าน่ านในเขตเทศบาลเมืองพิษณุ โลก จะต้อง ประสบกับน้ ากัดเซาะตลิ่งพังทลาย ในฤดูฝน อยู่เป็ นประจาทุกปี หากมีฝนตกชุกในพื้นที่จังหวัดต้นน้ า จะทา ให้น้ าล้นตลิ่งและความเร็ วของกระแสน้ าจะทาให้เกิดความเสี ยหายแก่พื้นที่ริมน้ าและชุมชน ย่านวัดจันทร์ตะวันออก เป็ นอีกย่านหนึ่งที่มีความเก่าแก่และยังมีประชากรอาศัยอยู่จานวน มากตามการขยายตัวของเมือง การสร้างพื้นที่สาธารณะจึงจาเป็ นแก่เมืองเพื่อรองรับประชากรและส่ งเสริ ม คุณภาพชีวิตของผูค้ นที่อาศัยอยู่ในย่านวัดจันทร์ตะวันออกและวัดจันทร์ตะวันตก ดังนั้น การจัดการภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่ริมน้ าเป็ นอีกหนึ่งวิธีแก้ไขและบรรเทาปั ญหาแก่ ชุมชนริ มน้ าเทศบาลพิษณุ โลก และ ยังช่วยแก้ปัญหาพื้นที่ว่างสาธารณะเมืองที่ส่งเสริ มคุณภาพชีวิตเมืองเพื่อ รองรับการขยายตัวของชุมชนเมืองพิษณุโลกในอนาคต


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อพัฒนาพื้ นที่ส าธารณะริ มน้ าน่ าน ชุ มชนเทศบาลเมืองพิ ษณุ โลกให้เกิ ด ประโยชน์แก่คนในชุมชนเมือง 4.1.2 เพื่อพัฒนาพื้นที่สีเขียวในเมืองเพื่อการนันทนาการและส่ งเสริ มกิจกรรมใน พื้นที่ 4.1.3 เพื่อนาแนวคิดทางภูมิสถาปัตยกรรมมาแก้ปัญหาและบรรเทาการเกิดอุทกภัย และการพังทลายของตลิ่งริ มน้ าน่าน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อศึกษาแนวทางการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมพื้น ที่ริมน้ าในการแก้ไข ปัญหาพื้นที่สาธารณะให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดแก่ชุมชนเมือง 4.2.2 เพื่อ ศึก ษาการออกแบบภูมิส ถาปั ตยกรรมเพื่ อ ฟื้ นฟู ภู มิทัศ น์ เมื องกับพื้ น ที่ สาธารณะริ มน้ า เป็ นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน 4.2.3 เพื่อ ศึก ษาแนวทางการแก้ไ ขปั ญหาและบรรเทาการเกิ ดอุ ทกภัยในบริ เวณ พื้นที่ริมน้ าจังหวัดพิษณุโลก 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานทีต่ ้ งั โครงการ โครงการตั้งอยู่ที่ ตาบลวัดจันทร์ อาเภอเมืองพิษณุ โลก จังหวัดพิษณุ โลก มีขนาด พื้นที่ 274ไร่ 5.2 เหตุผลที่เลือกโครงการ 5.2.1 เป็ นพืน้ ที่ที่มีความเก่าแก่และมีประวัตศิ าสตร์มายาวนาน 5.2.2 พืน้ ที่ติดริ มน้ าน่าน มีแนวโน้มที่จะได้รับผลกระทบในอนาคต 5.2.3 เป็ นพื้นที่ริมน้ าที่มศี กั ยภาพเป็ นพื้นที่สีเขียวให้กบั เมือง 5.2.4 เป็ นพื้นที่ที่มศี กั ยภาพสามารถป้องกันการเกิดอุทกภัยหรื อน้ ากัดเซาะได้


โครงการออกแบบพื้นทีส่ าธารณะริ มน้ าน่านย่านวัดจันทร์ตะวันออก อาเภอพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก

แผนที่ 1 แสดงการเข้าถึงโครงการ สัญลักษณ์ พื้นที่ศึกษา พื้นที่ออกแบบ ถนน สี หราชเดโชชัย ถนน บรมไตรโลกนารถ ถนน พุทธบูชา ถนน วัดจันทร์

N –ที่มา : Google Earth Pro, 2564

มาตราส่ วน : No scale


โครงการออกแบบพื้นทีส่ าธารณะริ มน้ าน่านย่านวัดจันทร์ตะวันออก อาเภอพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก

แผนที่ 2 แสดงการเข้าถึงโครงการ สัญลักษณ์ พื้นที่ศึกษา พื้นที่ศึกษาออกแบบ

ที่มา : Google Earth Pro, 2564

N มาตราส่ วน : No scale




คำร้ องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่โจ้ ข้าพเจ้า นาย ปณิธาน รังษี รหัส 6019102516 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่ว ย กิตสะสม 131 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.61 มีค วามประสงค์ จ ะขอท าวิท ยานิ พนธ์ ระ ดับ ปริ ญญาภูมิ ส ถาปั ตยกรรมศาสตรบั ณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบวางผังภูมิส ถาปัตยกรรมชุมชนบ้านท่าตอนและพื้น ที่ สาธารณะริ มน้ ากก เพื่อการท่องเที่ยวและนันทนาการ อ.แม่อาย จ.เชียงใหม่ 2. หั วข้ อเรื่ อง (ภ าษาอั ง ก ฤ ษ) The Landscape Architectural Design and Planning of the Kok Riverfront Public Areas of Thaton Community for tourism and recreation, Mae Ai, Chiang Mai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ หมู่บ้านท่าตอนเป็ นหมู่บ้านทีม่ ีความหลากหลายของชนชาติและเป็นแหล่งท่องเที่ ย วส าคั ญ ของภาคเหนือ มีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติจานวนมากด้ วยลักษณะภูมิประเทศที่เป็ นภูเขาและพื้นที่ร าบเชิงเขา อีกทั้งมีแ ม่น้ าที่ส าคัญผ่านระหว่า งกลางชุ มชน คือ น้ ากก เป็ นแม่น้ าที่มาจากรัฐฉาน ประเทศพม่าโดยชุมชน บ้านท่าตอนเป็ นชุมชนแรกทีน่ ้ ากกไหลผ่านและไหลผ่านจังหวัดเชียงรายลงสู่แม่น้ าโขง พื้นที่ริมน้ ากกชุมชนบ้านท่าตอน เป็ นศูนย์กลางการท่องเที่ยวของอาเภอและแหล่ ง กิจ กรรม หลัก ของเมือง โดยมี การจั ดกิจ กรรมสาคั ญของศาสนา ประเพณี และวั ฒนธรรมอย่างต่ อเนื่ อง เช่ นกิจ กรรม สงกรานต์จะมีนักท่องเที่ยวต่างชาติ นักท่องเที่ยวภายในประเทศ และประชาชน 3 อาเภอของเชียงใหม่ ได้แ ก่ อ.แม่อาย อ.ฝาง อ.ไชยปราการ มาจัดกิจกรรมในพื้นที่ริมน้ ากกเป็ นประจาทุกปี ซึ่งจานวนนักท่องเที่ยวจานวน มากที่เข้ามาในพื้นที่ตามมาด้วยปัญหาด้านความปลอดภัยของพื้นที่ ซึ่งยังไม่มีการวางแผนการจัดการหรื อจัดทา ผังแม่บทที่ชัดเจน ทุกปี จะมีนกั ท่องเที่ยวจานวนหลายรายเสียชีวติ เพราะจมน้า เนื่องจากไม่มีการระบุเขตน้ า ลึ ก เขตน้ าตื้น หรื อเขตปลอดภัยสาหรับนักท่องเที่ยว และปัญหาแหล่งมั่วสุมบนสะพานท่าตอนทีม่ ีวัยรุ่น เข้ า มาใช้ พื้นที่บนสะพานทากิจกรรมผิดกฎหมายอย่างต่อเนื่อง เป็ นต้น จากปั ญหาเบื้องต้น ดังกล่าวทาให้ จานวนนักท่ องเที่ ยวลดลงและสภาพพื้น ไร้ก ารพั ฒนา สภาพเศรษฐกิจโดยรอบเดิมที่มีธุรกิจชุมชนที่รองรับด้านการท่องเที่ยวเป็ นจานวนมาก ได้หายไปอย่างรวดเร็ ว


รวมถึงความไม่ปลอดภัยในการใช้งานพืน้ ที่ การทากิจกรรมผิดกฎหมายบนสะพานทาให้ชุมชนไม่สามารถใช้ งานในตอนกลางคืน ด้วยเหตุน้ จี งึ สมควรมีการปรับปรุงพื้นที่สาธารณะริ มน้ ากกชุมชนบ้านท่าตอนที่เป็นแหล่ง กิจกรรมหลักของเมือง พื้นที่ท่องเที่ยวที่สาคัญ ให้ป ลอดภัยสาหรับผู้ใช้งานและส่งเสริ มเศรษฐกิจในพื้นที่ใ ห้ ดี ยิ่งขึ้น 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนันทนาการ ให้นัก ท่องเทีย่ วและคนในพื้นที่ 4.1.2 เพื่อเป็ นการสร้างรายได้และกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพื้นทีร่ ิ มน้ าบ้านท่าตอน 4.2.2 เพื่อศึ กษาการใช้ประโยชน์พื้ นที่แ ละกิ จกรรมนั นทนาการที่เหมาะสมกั บ พื้นที่ริมน้ าบ้านท่าตอน 4.2.3 เพื่อศึกษาพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวในพื้นที่ริมน้ าบ้านท่าตอน 5. สถานที่ตั้งของโครงการและเหตุผลในการเลือกทีต่ ั้งโครงการ (แสดงแผนผังที่ตั้งโครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชัดเจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 ตั้งโครงการ อยู่ในต าบลท่ าตอน อาเภอแม่อาย จังหวั ดเชียงใหม่ ห่ างจากอาเภอเมืองเชี ยงใหม่ 160 กิโลเมตร มีขนาดพื้นที่ประมาณ 175 ไร่ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ตั้งโครงการ 5.2.1 สถานที่โครงการเป็ นพื้น ที่ที่แม่น้ าจากประเทศเพื่ อนบ้านไหลเข้าภาคเหนื อ เป็ นแม่น้ าสายแรกและมีชุมชนบ้านท่าตอนอาศัยอยู่รอบทัง้ 2 ฝั่งแม่น้ ากก แม่น้ าจึงเป็ นบทบาททีส่ าคัญต่อเมือง อย่างมาก 5.2.2 พื้นที่โครงการมีการเข้าถึงได้ง่ายและสะดวก โดยมีถนนสายหลัก หมายเลข 107 ผ่านตรงกลางพื้นที่ มีคนนอกพื้นที่ผ่านบริ เวณโครงการตลอดเวลา และเป็ นเป้าหมายในการท่องเที่ยวใน 3 อาเภอตอนบนของจังหวัดเชียงใหม่ 5.2.3 พื้ นที่โครงการมีศักยภาพสู งในการพัฒ นาให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยว เนื่องจาก ลักษณะพื้นที่ที่เข้าถึง ง่าย มองเห็นได้ง่าย มี ทัศยภาพที่เอื้อต่อการพักผ่อน มีพื้นที่กิจกรรมเดิมที่ตอบสนองต่ อ ชุมชนเดิม และอยู่ติดกับพื้นทีช่ ุ่มน้ าพรุหญ้าท่าตอนทีม่ ีความสาคัญระดับชาติทคี่ วรค่าแกการอนุรักษ์และเรี ยนรู้ ศึกษา


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่ริมน้ากกชุมชนบ้านท่าตอน เพื่อการท่องเที่ยวและนันทนาการ อ.แม่อาย จ.เชียงใหม่ แผนที่ 1 ที่ตั้งโครงการ เขตประเทศพม่า เขตจังหวัดเชียงราย แม่น้ ากก พื้นที่ชุ่มน้ าพรุหญ้าท่าตอน พื้นที่ออกแบบ 175 ไร่ ที่มา : ดัดแปลงมาจาก Google Earth (10 มกราคม 2564)


โครงการออกแบบวางผัง ภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่ริมน้ ากกชุมชนบ้านท่าตอน เพื่อการท่ องเที่ย วและนันทนาการ อ.แม่ อาย จ. เชียงใหม่ แผนที่ 2 ขอบเขตพื้นที่โครงการ พื้นที่ออกแบบ 175 ไร่ พื้นที่ศึกษา ที่มา : ดัดแปลงมาจาก Google Earth (10 มกราคม 2564)





คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้า พเจ้ า นาย พรพิ สุ ทธิ์ แห้ ว เพ็ ช ร รหั ส 6019102518 นั ก ศึ ก ษาชั้ นปี ที่ 4 สาขาวิ ช าภู มิ สถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 131 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.95 มี ค วามประสงค์ จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) การออกแบบวางผังภู มิ ส ถาปั ตยกรรมชุ มชนชาวเขาบ้านแก่ นมะกรู ด (กะเหรี่ ยง) เพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อาเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทยั ธานี 2. หั ว ข้อ เรื่ อ ง (ภาษาอัง กฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning of Kanmakood Hill Tribe Village (Karen) for Cultural Tourism, Ban Rai, Uthai Thani 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ พื้นที่ชุมชนชาวเขาบ้านแก่นมะกรู ด (กะเหรี่ ยง) แห่ งนี้ เริ่ มได้รับการพัฒนาจากภาครัฐ ตาม นโยบายการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในระดับชุมชน 1 ตาบล 1 แหล่งท่องเที่ยว จึงทาให้เกิดโครงการท่องเที่ยว พืชเมืองหนาวเกิดขึ้น (โครงการหนาวสุ ดกลางสยาม) และเริ่ มสร้างรายได้ให้กบั ชุมชนมากขึ้น แต่พอคนส่ วน ใหญ่ ไปแล้วค่ อนข้างผิดหวัง ในการไปเที่ ยว เพราะขาดการวางผังและไม่มีการพัฒนา ทางรัฐไม่เคยพัฒนา ต่อเนื่ อง มีการเปลี่ ยนรู ปแบบทางกายภาพทุกปี และนักท่องเที่ ยวไปเที่ ยวก็ได้แค่ดูดอกไม้แล้วก็กลับ ทั้งๆที่ ศักยภาพในพื้นที่สามารถแสดงออกได้มากกว่าแค่พืชไม้เมืองหนาว เช่น ชุมชนวิถีชีวิต เป็ นต้น ซึ่ งนอกจากเรา จะได้เข้าไปเที่ยวชมพืชไม้เมืองหนาว เรายังได้สัมผัสและได้เห็นวิถีชีวิตของคนบนดอยอีกด้วย จึงเกิดแนวคิดในการพัฒนาโครงการแหล่งท่องเที่ ยวเชิ งวิถีชีวิตชาวเขา (กะเหรี่ ยง) ขนาด โครงการ 87 ไร่ ปัจจุบนั สภาพพื้นที่เป็ นการทาเกษตร 50ไร่ อีก 36 ไร่ เป็ นโครงการหนาวสุ ดกลางสยาม โดย พื้นที่ทวั่ ไปเริ่ มมีการพัฒนาบางส่ วนแล้ว ปัญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่คือ ณ.ปัจจุบนั นี้ มีการพัฒนาก็จริ ง แต่ก็จะมีนกั ท่องเที่ยวมาแค่ช่วงฤดู หนาวเดือนตุลาคม-มกราคม เท่านั้น ส่ วนเดือนกุมภาพันธ์-เดือนกันยายนพื้นที่ถูกทิ้งร้างไม่ได้รับพัฒนาต่อ จึง ทาให้รายได้ของคนในชุมชนจากการท่องเที่ยว จะได้แค่ช่วงเดือนตุลาคม-เดือนมกราคม ส่ วนเดือนที่เหลือคน ในชุมชนก็ทาอาชีพเกษตรกรรม ได้รับรายได้เท่าเดิม จึงเกิดคาถามว่าเหตุใดจึงไม่ดาเนิ นการออกแบบปรับปรุ ง


ให้สามารถรองรับการท่องเที่ยวได้ตลอดปี ทั้งๆที่พ้ืนที่กม็ ีศกั ยภาพสามารถทาได้อยูแ่ ล้ว ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึง ได้ริเริ่ มโครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิตชุมชนชาวเขา (กะเหรี่ ยง) นี้ข้ นึ มา พื้นที่น้ ี หากได้รับการพัฒนาแล้วจะทาให้เกิดเป็ นแหล่งท่องเที่ยวแบบใหม่ที่สามารถดึงศักยภาพ ของพื้นที่ออกมาได้มาก เนื่ องจากพื้นที่น้ ี อยู่สูงกว่าระดับน้ าทะเลประมาณ 600 เมตรมีความหนาวเย็นเทียบเท่า กับภาคเหนื อ และมี ทิวทัศน์ ที่สวยงาม จึ งมี ศกั ยภาพด้านการท่อ งเที่ ยวสู ง คนภายนอกจะได้เห็ นถึ งวิถีชีวิต ชุมชนกะเหรี่ ยงที่ มีมานาน อีกทั้งคนในชุมชนจะได้รายได้เพิ่มขึ้นแล้วไม่หันไปทาลายป่ าเพื่อทาการเกษตร เพราะรายได้ส่วนใหญ่มาจากการทาเกษตร ก่ อให้เกิดการบุกรุ กป่ า โครงการที่ เกิดขึ้นจะช่วยป้ องกันป่ าและ รักษาธรรมชาติไว้อีกด้วย 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อให้ชุมชนแก่นมะกรู ดได้แสดงเรื่ องราวของชนเผ่ากะเหรี่ ยง(โปว์) 4.1.2 เพือ่ เป็ นแหล่งท่องเที่ยวตลอดทั้งปี 4.1.3 เพื่อสร้างงาน เพิม่ รายได้ ตอบสนองนโยบายรัฐ 1 ตาบล 1 แหล่งท่องเที่ยว 4.1.4 เพือ่ ป้องกันการบุกรุ กทาร้ายป่ า 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาแนวทางและกระบวนการออกแบบวางผังแหล่งท่องเที่ยววิถีชีวิต 4.2.2 เพื่อศึกษาแก้ปัญหาพื้นที่ให้สอดคล้องกับบริ บทในพื้นที่ 4.2.3 เพือ่ ศึกษากระบวนการจัดสรรพื้นที่ดินให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดและลดการบุก รุ กป่ าไม้ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ ตั้ง อยู่ ที่ ต าบลแก่ น มะกรู ด อ าเภอบ้า นไร่ จัง หวัด อุ ทัย ธานี เดิ ม เป็ นพื้ น ที่ ข อง โครงการหนาวสุ ดกลางสยาม ปั จจุบนั ขาดการวางผังและขาดการจัดการจัดสรรพื้นที่ ขายหรื อพื้นที่ จอดรถ ต่างๆและเป็ นที่โล่งกว้าง พื้นที่อยู่บนดอยที่มีความสู งกว่าระดับน้ าทะเล 600 เมตร มีความหนาวเย็นเทียบเท่า กับภาคเหนือ และมีทิวทัศน์ที่สวยงาม


การออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมชุมชนชาวเขาบ้านแก่นมะกรู ด (กะเหรี่ ยง) เพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อาเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทยั ธานี แผนที่ 1 แสดงตาบลแก่นมะกรู ด จังหวัดอุทยั ธานี ที่มา : https://www.google.com/maps/place สัญลักษณ์:

มาตราส่ วน : -

แสดงขอบเขตตาบลแก่นมะกรู ด แสดงพื้นที่ต้ งั โครงการ


การออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมชุมชนชาวเขาบ้านแก่นมะกรู ด (กะเหรี่ ยง) เพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อาเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทยั ธานี แผนที่ 2 แสดงเส้นทางสัญจร ที่มา ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ สัญลักษณ์: ถนนหมายเลข 3011 ถนนหมายเลข 4031ทางหลวงชนบท แสดงพื้นที่ต้ งั โครงการ มาตราส่ วน : -


การออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมชุมชนชาวเขาบ้านแก่นมะกรู ด (กะเหรี่ ยง) เพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อาเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทยั ธานี แผนที่ 3 แสดงขอบเขตทื้นที่ต้ งั โครงการ ที่มา ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ สัญลักษณ์

มาตราส่ วน : -

ขอบเขตพื้นที่โครงการ 87 ไร่


การออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมชุมชนชาวเขาบ้านแก่นมะกรู ด (กะเหรี่ ยง) เพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อาเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทยั ธานี แผนที่ 4 แสดงขอบเขตพื้นที่ศึกษา ที่มา ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ สัญลักษณ์

มาตราส่ วน : -

ขอบเขตพื้นที่ศึกษา


5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ พื้นที่อยู่บนดอยที่มีความสู งกว่าระดับน้ าทะเล 600 เมตร มีความหนาวเย็นเทียบเท่า กับภาคเหนื อ และมีทิวทัศน์ที่ส วยงาม อีกอย่างก็ไม่ไกลจาก กทม. ขับรถเพียง 3-4 ชัว่ โมงก็ถึง ได้บรรยากาศ เหมือนกับภาคเหนื ออีกทั้งยังเพิ่มแหล่งท่องเที่ยวเพื่อกระตุน้ เศรษฐกิจให้กบั จังหวัดอุทยั ธานี และสร้างรายได้ ให้กบั ชุมชน 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา โครงการการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม แหล่งท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิตชุมชนชาวเขาบ้าน (กะเหรี่ ยง) ตาบลแก่นมะกรู ด อาเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทยั ธานี ที่มีพ้นื ที่ท้ งั หมด 101ไร่ มีอาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ติดกับ อาเภออุม้ ผาง จ.ตาก ทิศใต้ ติดกับ จ.สุ พรรณบุรี และ จ.กาญจนบุรี ทิศตะวันออก ติดกับ ตาบลบ้านไร่ อ.บ้านไร่ จ.อุทยั ธานี ทิศตะวันตก ติดกับ จ.กาญจนบุรี และ จ.ตาก 7. บรรณานุกรม คู่มือดาเนินงานวิทยานิพนธ์ 2561[ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา : https://issuu.com/tuboonyanant/docs/thesistopic61_all (25 ธันวาคม 2563) แผนพัฒนาจังหวัดอุทยั ธานี พ.ศ.๒๕๖๑-๒๕๖๔ [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา : http://www.uthaithani.go.th/basedata/statigyplan61-64. (25 ธันวาคม 2563) แผนพัฒนาสถิติระดับพื้นที่จงั หวัดอุทยั ธานี [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา: http://osthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles (25 ธันวาคม 2563) โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร


คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้า พเจ้า นางสาวพิ ม พ์ น ภัส แวงอุ บ ล รหั ส 6019102519 นั ก ศึ ก ษาชั้ น ปี ที่ 4 สาขาวิ ช าภู มิ สถาปั ต ยกรรม คณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ แ ละการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาค การศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 131 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.22 มี ค วามประสงค์ จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตร์ บัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) : การออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวอ่าง เก็บน้ าคลองโพธิ์ อาเภอ แม่เปิ น จังหวัด นครสวรรค์ 2. หั ว ข้ อ เรื่ อ ง (ภาษาอัง กฤษ) : The Landscape Architectural Planning And Improvement of the Khlong Pho Reservoir tourist Attraction, Mae Pern , Nakhonsawan. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ อ่างเก็บน้ าคลองโพธิ์ ตั้งอยู่ในพื้นที่อาเภอแม่เปิ น และ อาเภอชุมตาบง จังหวัดนครสวรรค์ มี ขนาดพื้นที่ประมาณ 11,750 ไร่ เก็บกักน้ าได้สูงสุ ด 70 ล้านลูกบาศก์เมตร มีพ้ืนที่ รับน้ าประมาณ 367 ตาราง กิโลเมตร อ่างเก็บน้ าคลองโพธิ์เป็ นสถานที่ท่องเที่ยวที่สาคัญของอาเภอ แม่เปิ น จังหวัดนครสวรรค์ ซึ่ ง อ่างเก็บน้ าคลองโพธิ์เป็ นสถานที่เก็บน้ าของชุมชน และเป็ นสถานที่จดั กิจกรรมทางวัฒนธรรมของคนในชุมชน เช่น ประเพณี บุญบั้งไฟแม่เปิ น เพื่อทาพิธีขอฝนตามประเพณี ของชาวอีสาน หลัง จากที่ได้อพยพเข้ามาตั้งถิ่น ฐานในอาเภอ แม่เปิ น จังหวัดนครสวรรค์ ซึ่ งชาวบ้านในพื้นที่ ตาบลแม่เปิ น อาเภอแม่เปิ น จังหวัดนครสวรรค์ เป็ นชาวอี สานมากกว่า 90 เปอร์ เซ็ นต์ ทาให้วฒั นธรรมและผลิ ตภัณฑ์ในพื้นที่ ส่วนใหญ่ มาจากชาวอี สานที่ อพยพเข้ามา ปั จจุบนั อ่างเก็บน้ าคลองโพธิ์ ได้ถูกพัฒนาเป็ นแหล่งท่องเที่ยว มีกิจกรรมล่องแพอ่างเก็บน้ า คลองโพธิ์ ชมวิวภูเขาโอบล้อมและชมวิถีชาวประมงในอ่างเก็บน้ า ซึ่ งสร้างรายได้ให้กบั คนในชุมชนที่อยู่ติด กับอ่างเก็บน้ าและยังเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวแห่ งใหม่ของอาเภอ แม่เปิ น จังหวัด นครสวรรค์ แต่อย่างไรก็ตามยัง พบว่ามีปัญหาภายในพื้นที่ คือการจัดการพื้นที่ยงั ไม่เหมาะสมมากนัก บางส่ วนถูกปล่อยรกร้าง ขาดการดูแล ยัง จัดวางระบบไม่ค่อยเรี ยบร้อย ซึ่ งองค์การบริ หารส่ วนตาบลแม่เปิ น มีความเห็นว่าพื้นที่ควรมีการปรับปรุ งและ


พัฒนาให้เป็ นระบบมากขึ้น เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวที่จะมาท่องเที่ยวในอาเภอ แม่เปิ น จังหวัด นครสวรรค์ ทา ให้เกิดแนวความคิดการออกแบบโครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวอ่าง เก็บน้ าคลองโพธิ์ อาเภอ แม่เปิ น จังหวัด นครสวรรค์ เพื่อตอบสนองนโยบายพัฒนาอ่างเก็บน้ าขององค์การ บริ หารส่ วนตาบลแม่เปิ น 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อปรับปรุ งสภาพพื้นที่สาหรับรองรับกิจกรรมนันทนาการของอ่างเก็บ น้ าคลองโพธิ์ให้เกิดการใช้ประโยชน์สูงสุ ด 4.1.2 เพื่อเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติและวัฒนธรรม ของคนในพื้นที่เพื่อ สร้างรายได้ ส่ งเสริ ม และยกระดับเศรษฐกิจของอาเภอแม่เปิ นให้ดีข้ นึ 4.1.3 เพื่อเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้กิจกรรมและวัฒนธรรมของคนในอาเภอแม่เปิ น 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบและวางผังพื้นที่ใช้สอย สาหรับปรับปรุ ง ภูมิทศั น์ริมอ่างเก็บน้ าคลองโพธิ์ ให้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่เดิม 4.2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาหลัก การออกแบบทางภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมแหล่ งท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ธรรมชาติและวัฒนธรรมที่ส่งผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมให้นอ้ ยที่สุด 4.2.3 เพื่ อศึ กษารู ป แบบกิ จกรรมนันทนาการส าหรั บคนทั่วไปและแหล่งเรี ยนรู ้ วัฒนธรรมในพื้นที่สาหรับบุคคลทุกประเภท 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ โครงการอ่างเก็บน้ าคลองโพธิ์ ตั้งอยู่ในพื้นที่ ตาบลแม่เปิ น อาเภอแม่เปิ น จังหวัด นครสวรรค์ มีขนาดพื้นที่ท้ งั หมดประมาณ 11,750 ไร่ แต่พ้นื ที่โครงการและพื้นที่ศึกษามีท้ งั หมด 615 ไร่


โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมแหล่งท่องเที่ยว อ่างเก็บน้ าคลองโพธิ์ อาเภอ แม่เปิ น จังหวัด นครสวรรค์ แผนที่ 1 ที่ต้ งั โครงการและการเข้าถึงโครงการ สัญลักษณ์ ทางหลวงหมายเลข 3473 สัญลักษณ์ ถนนรองเข้าโครงการ สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการอ่างเก็บน้ าคลองโพธิ์

ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth ( 17 เมษายน 2563 ) *** พื้นที่โครงการและพื้นที่ศึกษาทั้งหมด 615 ไร่

Not to Scale


โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมแหล่งท่องเที่ยว อ่างเก็บน้ าคลองโพธิ์ อาเภอ แม่เปิ น จังหวัด นครสวรรค์ แผนที่ 2 แสดงขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ เส้นแสดงขอบเขตพื้นที่โครงการ Not to Scale ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth ( 17 เมษายน 2563 ) 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 พื้นที่โครงการเป็ นพื้นที่ท่องเที่ยวที่สาคัญของอาเภอแม่เปิ น และเป็ นสถานที่ ที่จดั กิจกรรมทางวัฒนธรรมที่สาคัญของคนในพื้นที่และกิจกรรมล่องแพวิถีชาวประมง ซึ่งสามารถสร้างรายได้ ให้แก่จงั หวัดและคนในพื้นที่ แต่ปัจจุบนั โครงการยังขาดการพัฒนาพื้นที่ในจุดต่างๆเพื่อรองรับนักทักท่องเที่ยว และกิจกรรมใหม่ๆ ที่ จะเกิ ดขึ้นในอนาคตดังนั้นควรมี แนวทางในการส่ งเสริ มและปรับปรุ ง เพื่อรองรับการ ขยายตัวของโครงการในอนาคต 5.2.2 พื้นที่โครงการเป็ นพื้นที่อ่างเก็บน้ าที่มีภูเขาโอบล้อมและมีวิถีชีวิตชาวประมง อ่างเก็บน้ าซึ่ งสามารถใช้ศกั ยภาพของพื้นที่มาเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเรี ยนรู ้เชิ งธรรมชาติและวัฒนธรรม ของคน ในชุมชนเพื่อสร้างรายได้และยังเป็ นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจของนักท่องเที่ยวและคนในพื้นที่อาเภอแม่เปิ น




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวภัทรวดี ผาลาด รหัส 6019102520 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วย กิตสะสม 131 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.27 มี ค วามประสงค์จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) การออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมปางควาย เพื่อเป็ นแหล่งศึกษาเรี ยนรู ้ และส่ งเสริ มการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ อาเภอแม่จนั จังหวัดเชียงราย 2. หัว ข้อ เรื่ อ ง (ภาษาอัง กฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning of Pang Kwai as the Water Buffalo Learning and Conservation Center, Mae Chan, Chiang Rai. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ เวียงหนองหล่มหรื อเวียงหนองล่ม พื้นที่ชุ่มน้ าขนาดใหญ่ที่เกิดจาการยุบตัวของแผ่นเปลือก โลกรอยเลื่อนแม่จนั ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนรายนามให้เป็ นพื้นที่ชุ่มน้ าที่มีความสาคัญในระดับนานาชาติ (แรม ซ่ าไซด์) คนทัว่ ไปรู ้ จกั ในนามแอ่งเชี ยงแสน มี พ้ืนที่ ประมาณ 25,000 ไร่ ปั จจุ บนั เหลื อเพียง 14,000 ไร่ ผืน เดี ย วกัน กับ ทะเลสาบเชี ย งแสนและหนองบงกาย คาบเกี่ ย วพื้ น ที่ 3 ต าบล ได้แ ก่ ต าบลจัน จว้า ต าบลท่ า ข้าวเปลือก อาเภอแม่จนั และตาบลโยนกอาเภอเชียงแสน ปางควายในเวียงหนองหล่มปัจจุบนั เหลือเพียง 3 ปาง ได้แก่ ปางควายบ้านห้วยน้ าราก ปางควายป่ าสักหลวง และปางควายบ้านดงต้นยาง เหลือควายประมาณเพียง 1,400 กว่าตัว โดยสถานภาพของพื้นที่ เป็ นพื้นที่ ชุ่มน้ าขนาดใหญ่และเป็ นแหล่งเลี้ ยงควายที่ ใหญ่ที่สุดของ ประเทศไทย มีความอุดมสมบูรณ์ความหลากหลายทางชีวภาพสู งเป็ นที่อยูอ่ าศัยของสัตว์นานาชนิ ดทั้งนกน้ า และปลานานาพันธุ์ ต่อมากรมโยธาธิ การและผังเมืองกระทรวงมหาดไทยได้มี โครงการศึกษาความเหมาะสม และออกแบบรายละเอียดโครงการพัฒนาพื้นที่ชุมชนเวียงหนองหล่ม อาเภอแม่จนั จังหวัดเชียงรายขึ้น ในส่ วน พื้นที่พฒั นาจุดแรกตั้งอยูบ่ ริ เวณปางควายบ้านห้วยน้ าราก ตาบลจันจว้า อาเภอแม่จนั จังหวัดเชียงราย เดิมเป็ น พื้นที่ที่มีเอกสารสิ ทธิ หนังสื อสาคัญสาหรับที่หลวง (นสล.) ให้ชาวบ้านเข้าไปใช้ประโยชน์ได้หรื อเป็ นพื้นที่ สาธารณะของหมู่บา้ นที่เทศบาลตาบลจันจว้าเป็ นคนดูแล โดยพื้นที่โครงการมีท้ งั หมด 1,145 ไร่ เนื่ องด้วยสภาพเป็ นพื้นที่ที่เป็ นแหล่งน้ าอุดมสมบูรณ์ ชาวบ้านในพื้นที่รอบ ๆ เวียงหนอง หล่มจึงอาศัยเป็นพื้นที่ในการเลี้ยงควาย ทาการเกษตร หาปลาจับสัตว์น้ า อดีตการเลี้ยงควายและการทาเกษตร


ในหนองหล่มแห่ งนี้ ใช้วิธีโดยการพึ่งพาธรรมชาติ เป็ นหลัก ใช้ควายในการไถนา ไม่มีการใช้สารเคมี ปั จจุบนั วิถีชีวิตการเกษตรแบบยังชี พเปลี่ยนไปเป็ นเกษตรเชิ งพาณิ ชย์และเกิดการขยายพื้นที่เพาะปลูกอย่างรวดเร็ ว รวมถึงการบุกรุ กพื้นที่สาธารณะ การใช้สารเคมีอย่างเข้มข้น เครื่ องจักร เทคโนโลยีสมัยใหม่เพิ่มขึ้น ใช้รถไถ แทนควาย กระทัง่ ที่สุดเริ่ มมีการขยายพื้นที่ทานาเข้าไปในบริ เวณหนองหล่ม เบิกที่หนองเป็ นแปลงนา ส่ งผลต่อ ระบบนิ เวศของพื้นที่ชุ่มน้ าแล้วยังส่ งผลกระทบกับวิถีชีวิตการเลี้ยงควายแบบดั้งเดิมของชาวบ้านที่อาศัยพื้นที่ ชุ่มน้ าเวียงหนองหล่มในการเลี้ยงชีพ เป็ นสาเหตุสาคัญที่ทาให้พ้นื ที่การเลี้ยงควายหายไป ในส่ วนภาครัฐไม่ได้ให้ความสาคัญกับเรื่ องของอาชีพเลี้ยงควายของชาวบ้าน ไม่เล็งเห็นถึง ความสาคัญของระบบนิเวศหนองหล่มที่มีความสมบูรณ์และมีความหลากหลายทางชีวภาพ แต่กลับปล่อยให้มี การบุกรุ กพื้นที่ อย่างกว้างขวาง และมี การสนับสนุ นให้มี การซื้ อขายที่ ดินให้เอกชนมาทาสวยยางพารา ไร่ สับปะรด ทาให้คนในพื้นที่เกิดข้อกังวลเรื่ องของปัญหาแหล่งที่ดินทากิน อาชีพการเลี้ยงควายของชาวบ้านที่สืบ ต่อและอนุรักษ์กนั มารุ่ นต่อรุ่ นจะหายไป จึงเกิดความคิดอยากพัฒนาปรับปรุ งพื้นที่ปางควายบ้านห้วยน้ ารากให้ เหมาะสมกับ การเลี้ ย งควาย ส่ ง เสริ ม อาชี พ การเลี้ ย งควาย และฟื้ นฟู ร ะบบนิ เ วศหนองหล่ ม ให้เ ป็ นแหล่ ง ท่องเที่ยวทางธรรมชาติแบบยัง่ ยืน ดังนั้นการออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวพื้นที่ชุ่มน้ าเวียงหนองหล่ม จะ พัฒนาศักยภาพพื้นที่ที่โดดเด่นทั้งด้านวิถีชีวิตอาชีพการเลี้ยงควายดัง่ เดิม ส่ งเสริ มกิจกรรมให้เหมาะสมต่อความ ต้อ งการของชุ ม ชนท้อ งถิ่ น ความสมบู ร ณ์ ของระบบนิ เ วศของพื้ นที่ ชุ่ ม น้ า รองรั บการขยายตัว ของแหล่ง ท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติภายในจังหวัด ส่ งเสริ มอาชีพสร้างประโยชน์สูงสุ ดให้แก่นกั ท่องเที่ยวและชุมชน 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 ออกแบบวางผังปรับปรุ งพื้นที่ชุ่มน้ าเวียงหนองหล่มให้เหมาะสมต่อพื้นที่การ เลี้ยงควาย 4.1.2 เพื่อเป็ นแหล่งศึกษา ฟื้ นฟู และอนุรักษ์ระบบนิเวศเวียงหนองหล่ม 4.1.3 ส่ งเสริ มอาชี พการเลี้ ยงควาย วิถีชีวิตดัง่ เดิ มสร้ างรายได้ให้กบั ชุ มชนและ องค์กรท้องถิ่น 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ 4.2.2 เพื่อศึกษาวิเคราะห์ปัญหาและออกแบบวางผังให้เหมาะสมกับพื้นที่การเลี้ยง ควายและสอดคล้องกับกิจกรรมวิถีชีวิตท้องถิ่นเดิม เพื่อให้เกิดประโยชน์ในพื้นที่สูงสุ ด 4.2.3 เพื่อศึกษาระบบนิเวศเวียงหนองหล่ม 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง)


5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ ปางควายบ้านห้วยน้ าราก ตาบลจันจว้า อาเภอแม่จนั จังหวัดเชียงราย มีขนาดพื้นที่ ประมาณ 1,145 ไร่

โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมปางควาย เพื่อเป็ นแหล่งศึกษาเรี ยนรู ้และส่ งเสริ มการท่องเที่ยว เชิงธรรมชาติ อาเภอแม่จนั จังหวัดเชียงราย แผนที่ 1 แสดงพื้นที่เวียงหนองหล่ม ที่มา : ดัดแปลงจาก https://www.google.com/maps/place (5 มกราคม 2564) สัญลักษณ์: แสดงขอบเขตพื้นที่เวียงหนองหล่ม แสดงขอบเขตที่ต้ งั โครงการ Scale: Not to scale มาตราส่ วน : -


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมปางควาย เพื่อเป็ นแหล่งศึกษาเรี ยนรู ้และส่ งเสริ มการท่องเที่ยว เชิงธรรมชาติ อาเภอแม่จนั จังหวัดเชียงราย แผนที่ 1 แสดงขอบเขตที่ต้ งั โครงการ ที่มา : ดัดแปลงจาก https://www.google.com/maps/place (5 มกราคม 2564) สัญลักษณ์: แสดงขอบเขตพื้นที่ศึกษาและพื้นที่โครงการ หมู่บา้ นปางควาย โฮมสเตย์ ร้านกาแฟเดิม Scale: Not to scale มาตราส่ วน : 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 เดิ มเป็ นพื้นที่ ของโครงการพัฒนาพื้นที่ ชุมชนเวียงหนองหล่ม อาเภอแม่จนั จังหวัดเชียงราย ที่ต้ งั โครงการเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติและวัฒนธรรมที่มีนกั ท่องเที่ยวเข้ามาเที่ยวชม อยูต่ ลอดเวลา เป็ นเส้นทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศสามารถสร้างรายได้ให้กบั จังหวัดและคนในชุมชน ควรมี แนวทางในการปรั บปรุ งพัฒนาฟื้ นฟูพ้ืนที่ รอบรั บการขยายตัวของโครงการและการท่องเที่ ยวเชิ งนิ เวศใน อนาคต




คาร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว วงนภา โพธิ์ ภู รหัส 6019102522 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วย กิตสะสม 131 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.36 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม อุทยานนุ สรณ์ เสรี ไทย

อาเภอนาคู จังหวัดกาฬสิ นธุ์ 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The landscape Architectural Design and Planning of Serithai

Memorial Park, Nakhu, Kalasin 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ

สนามบินเสรี ไทย ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ อาเภอนาคู จังหวัดกาฬสิ นธุ์ โดยพื้นที่สนามบินเสรี ไทย เคยใช้เป็ นท่าอากาศยานของเสรี ไทยในอดีต เป็ นสนามบินลับเพื่อใช้เป็ นฐานปฏิบตั ิการของขบวนการเสรี ไทย ในสมัย สงครามโลกครั้ ง ที่ 2 เพื่อ ต่ อต้า นกาลัง พลของญี่ ปุ่นและรั ก ษาอธิ ปไตยของชาติ โดยมี ก ารสร้ า ง สนามบินเสรี ไทยเพื่อเป็ นที่ข้ นึ – ลงของเครื่ องบินฝ่ ายสัมพันธมิตร ในการขนส่ งอาวุธยุทธภัณฑ์และครู ฝึกเข้า มาฝึ กยุทธวิธีให้แก่พลพรรคเสรี ไทย เพื่อปกปิ ดสนามบินเสรี ไทยจากการบุกของกาลังพลญี่ปนุ่ จึงเปลี่ยนพื้นที่ สนามบินเสรี ไทยเป็ นไร่ นา เพื่อไม่ให้เกิดสงครามในพื้นที่ ปั จจุบนั สนามบิ นเสรี ไ ทยกลายเป็ นพื้ นที่ว่าง ไม่มีก ารใช้ประโยชน์ทางทหารแล้ว แต่ถู ก อนุ รั กษ์ไ ว้ในเชิ งประวัติศ าสตร์ และได้ใช้ประโยชน์ จากพื้ นที่ ส นามบิ นเสรี ไทย เป็ นที่ต้ งั ในการจัดงาน ประเพณี ประจาปี ใช้เป็ นลานอเนกประสงค์ในการจัดกิจกรรมต่างๆ ของคนในชุมชนและ สนามบินเสรี ไทยยัง เป็ นอีก พื้นทีห่ นึ่งที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ใช้เป็ นเส้นทางเสด็จพระราช ดาเนินในพระราชกรณียกิจใน การแก้ไขปั ญหาภัยแล้งในพื้นที่ สนามบินเสรี ไทยยังมีร่องรอยจารึ กในการเสด็จ พร้ อ มราษฎรหลายคนเคยร่ วมรั บเสด็จ ดังนั้นในพื้น ที่ส นามบิน เสรี ไทยจึ งเป็ นพื้ นที่ แห่ ง ความทรงจาทาง ประวัติศาสตร์ ท้งั การทาสงครามในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 และการเสด็จพระราชดาเนินของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ด้วย


ตามยุ ทธศาสตร์ ข องจังหวัดกาฬสิ น ธุ์ ในการพัฒนาศัก ยภาพพื้น ที่ให้เ ป็ นเมือ งน่ าอยู่ น่ า ท่องเที่ย วและน่ า ลงทุน ดังนั้นเทศบาลตาบลนาคู จึง มีแผนพัฒนาเศรษฐกิ จและ แหล่ งท่ องเที่ยว ในพื้น ที่ สนามบินเสรี ไทย เพื่อเป็ นอุทยานนุสรณ์เสรี ไทยและเป็ นแหล่งท่องเที่ยวของอาเภอนาคู เพื่อให้เป็ นสถานที่ ศึกษาด้านประวัติศาสตร์ ให้มีความรู ้ ความเข้าใจในประวัติความเป็ นมาของขบวนการเสรี ไทยและเป็ นพื้นที่ ศึกษาแนวทางพัฒนาทางการเกษตรตามแนวพระราชดาริ รวมทั้งเป็ นพื้นที่นนั ทนาการ เพื่อถวายเป็ นพระราช กุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จากเหตุผลความเป็ นมาของโครงการดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น จึงขอเสนอโครงการออกแบบ และวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม อุทยานนุสรณ์เสรี ไทยนี้ เพื่อเป็ นหัวข้อวิทยานิพนธ์ 4. วัตถุประสงค์

4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่สนามบินเสรี ไทยที่ไม่ได้ใช้งานให้เป็ น พื้นที่ใช้สอยประโยชน์สาธารณะและกิจกรรมนันทนาการ 4.1.2 เพื่อเป็ นพื้นที่อุทยานนุสรณ์เพือ่ ให้ประชาชนมีความรู ้ ความเข้าใจใน ประวัตศิ าสตร์ ของขบวนการเสรี ไทย 4.1.3 เพื่อเป็ นแหล่งท่องเทีย่ วและส่ งเสริ มเศรษฐกิจชุมชน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปั ญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อ ศึ ก ษาแนวทางการออกแบบวางผัง ภูมิส ถาปั ตยกรรมพื้ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ใ ช้ ประโยชน์ให้กลับมามีคุณค่า 4.2.2 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่สาธารณะประเภท อุทยานนุสรณ์ 4.2.3 เพื่ อศึ กษาลักษณะการใช้ประโยชน์ ของที่ดินให้เ หมาะสมกับการใช้ง าน กิจกรรมที่หลากหลายซึ่ งเป็ นพื้นที่ประวัติศาสตร์ 5. สถานที่ต้งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้งั โครงการโดย

สังเขปข้างล่างนี้ พร้ อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้งั โครงการ ตั้งอยู่ทสี่ นามบินเสรี ไทย ตาบลนาคู อาเภอนาคู จังหวัดกาฬสิ นธุ์ พื้นที่ประมาณ 300ไร่ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ 5.2.1 พื้นที่เป็ นสนามบินเก่าที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์และมีศกั ยภาพสามารถนามา พัฒนาให้เกิดประโยชน์สาธารณะได้


5.2.2 พื้ น ที่ ต้ ัง อยู่ ใ กล้ ก ั บ แหล่ ง ชุ ม ชน โรงพยาบาล สถาบัน ราชการ และ สถานศึกษาจึงมีคนมาใช้พ้ืนที่เพื่อกิจกรรมพักผ่อนและนันทนาการเป็ นประจาและอยู่ติดถนน 4001 สามารถ เข้าถึงได้สะดวก

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม อุทยานนุสรณ์เสรี ไทย อาเภอนาคู จังหวัดกาฬสิ นธุ์ แผนที่ 1 แสดงแผนผังพื้นทีเ่ ชื่อมโยง ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Maps (25 ธันวาคม 2563) สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการ ขอบเขตพื้นที่โครงการ โรงพยาบาลนาคู ชุมชนบ้านนาคู โรงเรี ยนบ้านนาคูพฒั นา “กรป.กลางอุปถัมภ์” ที่วา่ การอาเภอนาคู

มารตราส่ วน : NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม อุทยานนุสรณ์เสรี ไทย อาเภอนาคู จังหวัดกาฬสิ นธุ์ แผนที่ 2 แสดงแผนผังเส้นทางเข้าพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Maps (25 ธันวาคม 2563) พื้นที่โครงการ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ถนนสาย 4001 ถนนสาย 2101 ถนนสาย 2291

มารตราส่ วน : NOT TO SCALE




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาววชิ รญาณ์ ดี งาม รหัส 6019102523 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วย กิตสะสม 131หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ ได้เท่ากับ 3.63 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ ระดับปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียด โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) : การออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม ฟาร์ มเกษตรอัจฉริ ยะเพื่อ ผลิต อาหารสัตว์อย่างยัง่ ยืน สาหรับสวนสัตว์เขาดินแห่งใหม่ อาเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) : The Landscape Architectural Design and Planning of a Smart agricultural Farm to Sustainably produce Animal Feed for the New Khao Din Zoo, Thanyaburi, Pathum Thani. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จากโครงการออกแบบพื้ นที่ ส วนสัต ว์เขาดิ นแห่ งใหม่ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิ ร าลง กรณบดินทรเทพยวรางกูร พระราชทานโฉนดที่ดิน บริ เวณคลองหก ตาบลรังสิ ต อาเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี จานวน 300 ไร่ ซึ่งมีความเพียบพร้อมเหมาะสม และเนื่องจากพื้นที่ภายในสวนสัตว์มีสัตว์จานวนมาก เช่น ช้าง เอเชี ย อัลปาก้า ม้าลาย เสื อดาว แรดแอฟริ กา จิงโจ้ เป็ นต้น โดยรวม ๆ สัตว์ในสวนสัตว์มีท้ งั หมด 407 ชนิ ด แบ่งเป็ นสัตว์กินพืช 56 ชนิ ด สัตว์กินเนื้ อ 127 ชนิ ด และสัตว์ที่กินทั้งพืชและสัตว์ 224 ชนิ ด ที่ตอ้ งใช้ปริ มาณ อาหารจานวนมากในการดูแลสัตว์เหล่านี้ ทาให้มองเห็ นความจาเป็ นที่ ต้องมี พ้ืนที่ ผลิ ตอาหารสัตว์สาหรับ รองรับความต้องการดังกล่าว เพื่อลดค่าใช้จ่ายเรื่ องอาหารสัตว์ ค่าใช้จ่ายในการขนส่ ง และลดระยะทางในการ ขนส่ งอาหารสัตว์จากภายนอก โดยการจัดทาเป็ นฟาร์ มเกษตรอัจฉริ ยะเพื่อยกระดับเพิ่มคุณภาพของผลผลิต อาหารสัตว์ พื้นที่โครงการมีขนาด 341,685.37 ม² ( 213 ไร่ ) ตั้งอยูร่ ิ มถนนถนน รังสิ ต-นครนายก ติดกับ สวนสัตว์เขาดินแห่ งใหม่ โดยสภาพเดิมของพื้นที่น้ นั เป็ นพื้นที่ทาการเกษตรของชุมชน ที่มีศกั ยภาพในการทา การเกษตรและเลี้ยงสัตว์ นั้นทาให้มองเห็นความเป็ นไปได้ที่จะจัดทาพื้นที่ผลิตอาหารสัตว์ในรู ปแบบฟาร์ ม เกษตรอัจฉริ ยะให้กบั สวนสัตว์เขาดิน เพื่อเป็ นทั้งแหล่งอาหารของสวนสัตว์และแหล่งเรี ยนรู ้แก่บุคคลที่สนใจ จะศึกษา


จากข้อ มู ล ที่ ก ล่ า วข้า งต้ น จึ ง เห็ น ความเป็ นไปของโครงการที่ จ ะออกแบบวางผัง ภู มิ สถาปัตยกรรมให้เป็ นพื้นที่ฟาร์มเกษตรอัจฉริ ยะที่สนับสนุนให้กบั โครงการสวนสัตว์เขาดินแห่งใหม่ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อจัดหาพื้นที่ พ้ืนที่ ฟาร์ มเกษตรอัจฉริ ยะให้เหมาะสมเพียงพอต่อจานวน สัตว์ที่อยูใ่ นสวนสัตว์เขาดินแห่งใหม่ 4.1.2 เพื่อเป็ นพื้นที่ เรี ยนรู ้ เกี่ ยวกับการทาฟาร์ มเกษตรอัจฉริ ยะให้ความรู ้ แ ก่ ผูท้ ี่ สนใจจะศึกษา 4.1.3 เพื่อเป็ นพื้นที่สร้างรายได้ให้กบั ชุมชน ยกระดับคุณภาพชีวิต 4.1.4 เพื่อเป็ นแนวทางในการจัดการพื้นที่การเกษตรในพื้นที่ที่น้ าท่วมถึง 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการจัดการอาหารสัตว์ ให้เพียงพอต่อปริ มาณสัตว์ ทั้งในเรื่ องการ จัดการและการจัดเก็บ ในรู ปแบบฟาร์มเกษตรอัจฉริ ยะ 4.2.2 เพื่อศึกษาการวางผังการจัดการฟาร์มเกษตรอัจฉริ ยะ 4.2.3 เพื่อศึ กษาการจัดการพื้ นที่ ใ ห้สามารถรั บมื อกับสถานการณ์ น้ า ท่วม ที่ จะ กระทบต่อแปลงเกษตร พื้นที่เลี้ยงสัตว์ พื้นที่วิจยั และพื้นที่จดั เก็บอาหารสัตว์ได้ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ สถานตั้งโครงการตั้งอยูท่ ี่ ถนน รังสิ ต-นครนายก ตาบล รังสิ ต อาเภอ ธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี ข้างสวนสัตว์ดุสิตแห่ งใหม่ จานวน 213 ไร่ อีกมีท้ งั ความเป็ นไปได้ของโครงการ รวมถึงศักยภาพของพื้นที่ มี ความเหมาะสม ทาให้พ้นื ที่น้ ีเหมาะยิง่ ในการทาโครงการ


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ฟาร์มอัจฉริ ยะเพื่อผลิตอาหารอย่างยัง่ ยืน สวนสัตว์เขาดินแห่งใหม่ : Landscape Architectural Design Project A smart farm to produce sustainable food New Khao Din Zoo

แผนที่ 1 แสดงพืน้ ที่จงั หวัดปทุมธานี และแสดงตาแหน่งที่ต้ งั โครงการ ที่มา : www.google.co.th/maps/place/ปทุมธานี (1 มากราคม 2563 ) ตาบล รังสิ ต อาเภอ ธัญบุรี ปทุมธานี พื้นที่ท้ งั หมด: 341,685.37 ม² ( 213 ไร่ ) ตาแหน่งและขอบเขตพื้นที่โครงการ ถนน รังสิ ต-นครนายก ตาบล รังสิ ต

มาตราส่ วน : NOT TO SCALE


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ฟาร์มอัจฉริ ยะเพื่อผลิตอาหารอย่างยัง่ ยืน สวนสัตว์เขาดินแห่งใหม่ : Landscape Architectural Design Project A smart farm to produce sustainable food New Khao Din Zoo

แผนที่ 2 แสดงพื้นที่แสดงตาแหน่งที่ต้ งั โครงการ ที่มา : www.google.co.th/maps/place/ปทุมธานี (1 มากราคม 2563 ) ตาบล รังสิ ต อาเภอ ธัญบุรี ปทุมธานี พืน้ ที่ท้ งั หมด: 341,685.37 ม² ( 213 ไร่ ) ตาแหน่งและขอบเขตพื้นที่โครงการ ถนน รังสิ ต-นครนายก ตาบล รังสิ ต

มาตราส่ วน : NOT TO SCALE


6. ขอบเขตของพืน้ ที่ศึกษา โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม ฟาร์มอัจฉริ ยะเพื่อผลิตอาหารอย่างยัง่ ยืน สวน สัตว์เขาดินแห่งใหม่ อาเภอคลองหก จังหวัดปทุมธานีโดยมีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศ เหนื อ ติ ดกับ โรงพยาบาลธั ญ บุรี มหาวิทยาลัย ธัญ บุ รี โรงเรี ย นสาธิ ต สนามกีฬา ทิศใต้ ติดกับ พื้นที่ทางการเกษตรและหมู่บา้ นจัดสรร ทิศตะวันออก ติดกับ สวนสัตว์ดุสิตแห่งใหม่ ทิศตะวันตก ติดกับ ศูนย์วิจยั ข้าวปทุมธานี และ คลองหก 7. บรรณานุกรม ข่ าวย้ ายสวนสัตว์ ดุสิต. (1 มกราคม 2563). เข้าถึงได้จาก https://news.thaipbs.or.th/content/273914 ที่ตั้งสวนสัตว์ ดสุ ิ ตแห่ งใหม่ . (1 มกราคม 2563). เข้าถึงได้จาก www.google.co.th/maps/place/ปทุมธานี สวนสัตว์ ดุสิตแห่ งใหม่ . (1 มกราคม 2563). เข้าถึงได้จาก https://th.wikipedia.org/wikiดุสิต

โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (สวนสัตว์ดุสิตแห่งใหม่, 2563)

(ลงชื่อ)……………………………………. ( นางสาววชิรญาณ์ ดีงาม ) 18 ธันวาคม 2563



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้า พเจ้า นายวัช รากร มหาด ารงสิ ริ กุ ล รหั ส 6019102524 นั ก ศึ ก ษาชั้ นปี ที่ 4 สาขาวิ ช าภู มิ สถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 125 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.72 มี ค วามประสงค์ จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) การออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอนุสรณ์สถานและฌาปนสถาน สาหรับศพไร้ญาติและศพนิรนาม เมืองพัทยา อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 2. หั วข้อ เรื่ อ ง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning of the Memorial Site and Crematorium for Unclaimed and Unidentified Corpses, Pattaya city , Bang Lamung , Chon buri 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จากสถานการณ์ปัจจุบนั จานวน “ศพไร้ญาติ” และ “ศพนิ รนาม” ที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นกาลัง เป็ นประเด็นปั ญหาที่หลายประเทศรวมถึงประเทศไทย ต่างให้ความตระหนักถึงและเร่ งดาเนินการ หามาตรการ ในการรับมือ สถิติของสถาบันนิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยุติธรรมในช่วง 17 ปี ที่ผ่านมา (ตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ถึง พ.ศ. 2562) พบว่าสถาบันนิ ติวิทยาศาสตร์ มีศพนิ รนามมากกว่า 4,000 คดี และศพไร้ ญาติ กว่า 2,000 คดี สอดคล้องกับข้อมูลของ “ศพไร้ญาติ ” และ “ศพนิ รนาม” ในต่างประเทศที่ พบเหตุการณ์ เหล่านี้ จานวนมาก เช่นกัน โดยพบว่าประเทศสหรัฐอเมริ กามีศพนิรนามมากกว่า 4,000 ศพต่อปี และประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป พบศพนิ รนามรวมกว่า 1,500 ศพ ขณะที่ประเทศอินเดียมีอตั ราของศพไร้ญาติและศพนิ รนามสู งถึง 25 เปอร์ เซ็นของศพทั้งหมด จากศพที่ มีจานวนมากจึงส่ งผลให้เกิ ดปั ญหาตามมา แต่ ปัญหาที่ มีผลกระทบ คือ การไม่มี พื้นที่ในการจัดการศพเนื่ องจากกองพัฒนาระบบติดตามคนหายและการพิสูจน์ศพนิ รนาม มีศพนิ รนามที่ยงั ไม่ สามารถพิสูจน์บุคคลได้กว่า 2,000 คดี อีกทั้งจาเป็ นต้องเก็บวัตถุพยานเหล่านี้ ไว้เป็ นเวลาอย่างน้อย 20ปี ตาม อายุความการฟ้ องคดี อาญา ต้องใช้พ้ื นที่ ในการจัดเก็บ และงบประมาณในการดูแลรั กษาอย่างต่อเนื่ องเป็ น


เวลานาน สาหรั บปั ญหาเรื่ องจานวนหลุมฝั งศพและพื้ นที่ ในการจัดเก็บกระดูก และ การพิ สูจน์ ศพนิ รนาม จาเป็ นต้องมีพ้นื ที่ ทว่าพื้นที่ที่ได้กล่าวมายังมีไม่เพียงพอและถือเป็ นปัญหาที่สาคัญอย่างมาก เนื่องจากหากศพมี แนวโน้มเพิ่มขึ้นมากยิง่ ขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งในต่างประเทศ “พิธีฌาปนกิจ” มีการเสนอการในหลากหลายลักษณะ เช่น มีการเสนอวิธี ทาเป็ นปุ๋ ย โดยใช้กระบวนการทางเคมี เพื่ อย่อยสลายร่ างกายให้กลายเป็ นแร่ ธาตุจานวนไม่ มาก ไม่เปลื อง ทรั พ ยากรและ บางส่ วนจึ งเห็ น ว่ า การบริ จาคร่ างกายก็ เป็ นวิท ยาทานเป็ นทางออกที่ ดี หรื อ หลักการทาง วิทยาศาสตร์ที่มีทางออกที่ดีกว่าการฝัง หรื อ เผา ซึ่งวิธีการและหลักการดังกล่าวจาเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องใช้พ้นื ที่ องค์ความรู ้ที่ถูกต้องของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ที่ถูกต้องตามหลักการ และสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ในการเกิดกระบวนการเหล่านี้อย่าง รวมถึงองค์ประกอบอื่นๆที่เอื้ออานวยต่อกระบวนการดังกล่าว จากข้อมู ลที่ กล่าวมาเบื้ องต้น ท าให้ เห็ นได้ว่าประเทศไทย ยังไม่ มีพ้ื น ที่ มากพอที่ ใช้เพื่ อ รองรับ “ศพไร้ญาติ” และ “ศพนิ รนาม” และการให้ความสาคัญต่อบุคคลสูญหาย หรื อบุคคลที่อุทิศร่ างกายเพื่อ ใช้ก ารศึ ก ษา สถานที่ จัด ฌาปนกิ จ และพิ สู จน์ ศ พ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการจัด การด้า นกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ ให้ถูกต้องตามหลักการ ดังนั้นจึงได้เสนอโครงการ “การออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม อนุสรณ์สถานและฌาปนสถานสาหรับศพไร้ญาติ และ ศพนิ รนาม” โดยเลือกพื้นที่สุสานเก่า ตั้งอยูใ่ นเขตเมือง พัทยา ซึ่งในปัจจุบนั ไม่มีการใช้ประโชน์อีกต่อไป เพื่อดาเนินการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมเป็ นที่ไว้ฌา ปนสถาน และเพื่อระลึ กถึงของผูล้ ่วงลับ สาหรับศพไร้ ญาติ และ ศพนิ รนาม หรื อเป็ นสถานที่ ไว้ทาพิธีทาง ศาสนา และจะยังเป็ นพื้นที่ที่จะเกิดประโยชน์สาหรับผูร้ ่ วมสมัยต่อไป 4 วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นสถานที่ในการศึกษาและเรี ยนรู ้ในการฌาปนกิจ 4.1.2 เพื่อเน้นย้าให้ตระหนักถึงคุณค่าของชีวิต 4.1.3 เพื่อเสนอแนะการจัดการพื้นที่สุสานให้มีความทันสมัย 4.1.4 เพื่อเป็ นพื้นที่ไว้ระลึกถึงผูล้ ่วงลับ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อเป็ นแนวทางในการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมในการจัดการพื้นที่สุสาน 4.2.2 เพื่ อ ศึ กษาการจัด การศพไร้ ญ าติ และศพนิ ร นาม และเพิ่ ม มู ลค่ าของพื้ น ที่ สุ สาน 4.2.3 ศึ กษาแนวทางการฌาปนกิ จในกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่ อการลด มลพิษที่ส่งผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมในระยะยาว 4.2.4 เพื่อศึกษาศาสตร์ กายวิภาคร่ างกายมนุษย์เกี่ยวกับอวัยวะแต่ละส่ วนสามารถ ใช้ประโยชน์อะไรได้บา้ ง เพือ่ เป็ นข้อมูลพื้นฐานของผูท้ ี่เข้ามาใช้โครงการได้ศึกษา


5 สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1.1 ตั้ง อยู่ ที่ ถนนทางหลวงหมายเลข 1008 เมื อ งพัท ยา อ าเภอ หนองปรื อ จังหวัด ชลบุรี 20150 รวมพื้นที่ศึกษาโครงการทั้งหมด 93 ไร่ 5.1.2 การเลือกที่ต้ งั พัทยาเป็ นเมืองที่เติบโตอย่างรวดเร็ ว และพื้นที่ในพัทยาต่างมี มูลค่าที่สูงขึ้นเรื่ อยๆ เหตุผลประการแรกเป็ นเรื่ องของภูมิลกั ษณ์เดิมที่เป็ นสุ สานและสภาพปั จจุบนั ไม่ได้มีการ เข้าไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่ นอกจากจะมีพิธีลา้ งป่ าช้าเท่านั้น สาหรับประการที่ สอง เนื่ องจากบริ เวณอาเภอ หนองปรื อนั้นมีนกั ลงทุนเข้ามาทาธุรกิจและกิจการต่างๆ เพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองพัทยาจึงมีโอกาสสู ง ที่พ้นื ที่สุสานจะเป็ นพื้นที่ที่ไม่สร้างมูลค่า 6 ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา การออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอนุสรณ์สถานและฌาปนสถาน สาหรับศพไร้ญาติ และ ศพนิ รนาม ตั้งอยู่ที่ ถนนทางหลวงหมายเลข 1008 เมืองพัทยา อาเภอ หนองปรื อ จังหวัด ชลบุรี 20150 มี อาณาเขตติดต่อรอบข้างดังนี้ ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก

ติดต่อกับ ติดต่อกับ ติดต่อกับ ติดต่อกับ

ที่รกร้าง ฟาร์มเห็ดภูฐานพัทยา บ้านพักอาศัย ร้านอาหานร้อยก้าน



7 บรรณานุกรม กันติพิชญ์ ใจบุญ. 2554. “ศพนิ รนาม เส้นทางความตายปริ ศนา”[ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา https://www.posttoday.com/social/general/107079 (4 มกราคม 2564) คณะวิ ท ยาศาสตร์ ก ารแพทย์ ม.ป.ป. “กายวิภ าคศาสตร์ ” .[ระบบออนไลน์ ] แหล่ งที่ ม า http://www.medsci.up.ac.th/v2/index.php/home/left-innerleft-center/2015-04-2208-04-17.html (4 มกราคม 2564) เคที นิ วแมน . 2562. “อาจารย์ ใ ห ญ่ ผู ้ เ ป็ นอมตะ ” [ระบ บ ออน ไลน์ ] แห ล่ ง ที่ มา https://ngthai.com/science/16985/visible-humans/?fbclid=IwAR3 l0wFaG3TyJr3 nqrYxvUazGln8PYVf52J3-LOUgcOpali-a89NH4QyhfQ (4 มกราคม 2564) สานักงานกิจการยุติธรรม. 2563. "วิธีการจัดการศพไร้ญาติ และศพนิ รนามของประเทศไทย และต่ า งประเทศ" [ระบบออนไลน์ ] แหล่ ง ที่ ม า https://www.facebook.com/ weareoja/posts/ 3424037997681948/ (4 มกราคม 2564) โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมสิ ถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวศศิรัตน์ จโนภาษ รหัส 6019102526 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่วย กิตสะสม 131 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.31 มี ค วามประสงค์ จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) การออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมชุมชนทาร่ มบ้านบ่อสร้าง อาเภอ สันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ 2. หั ว ข้อ เรื่ อ ง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Improvement of Bo Sang umbrella Village, San Kamphaeng, Chiangmai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ บ่อสร้างเป็ นหมู่บา้ นในอาเภอสันกาแพงในเขตชานเมืองของจังหวัดเชี ยงใหม่ในภาคเหนื อ ของประเทศไทย เป็ นที่รู้จกั กันดีวา่ มีร่มบ่อสร้าง ที่ทาด้วยมือสี สนั สดใสซึ่ งมักได้รับการตกแต่งด้วยลายดอกไม้ สมัยก่อนชาวบ้านจะ ทาร่ มกันใต้ถุนบ้าน แล้วนาออกมาวางเรี ยงรายเต็มกลางลานบ้านเพื่อ ผึ่งแดดให้แห้ง สี สันและลวดลายบนร่ มนั้น สะดุดตาผูพ้ บเห็ น สองข้างทางเต็มไปด้วยร้านค้าขายสิ นค้าหัต กรรม จากงานทามือของชาวบ้านได้กลายเป็ นโรงงาน อุตสาหกรรมที่ ครอบคลุมพื้นที่ หลายร้อยครัวเรื อนใน หลายๆ หมู่บา้ น การผลิตชิ้นส่ วนร่ มเป็ นหน้าที่ของชาวบ้านในแต่หมู่บา้ น ชาวบ่อสร้างทั้งตาบลรวมไปถึงอีก 8 หมู่บา้ นในตาบลใกล้เคียงของพื้นที่อาเภอสันกาแพง ชาวบ้านส่ วนใหญ่จึงมีความถนัดในการทาร่ มแตกต่างกัน ไปตามชิ้ นส่ วนที่ ได้รับมอบหมายในการผลิ ตดังนั้นบ่ อสร้ างจึ งเป็ นเพี ยงหมู่บา้ นประกอบร่ มโดยมีชิ้นส่ วน ต่ างๆเดิ นทางมาจากหมู่ บา้ นต่ างๆ แล้วนามาประกอบกันที่ หมู่บ้านบ่ อสร้ าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการระบาย ลวดลาย และสี สันบนผืนร่ มที่ถือว่าเป็ นสัญลักษณ์อนั เลื่องชื่อของร่ มบ่อสร้าง จากแต่ละบ้านร่ มบ่อสร้างจึงเป็ น สิ นค้าที่ สร้างชื่ อเสี ยงให้แก่จงั หวัดเชี ยงใหม่มาช้านาน อีกทั้งยังถือเป็ นสิ นค้า OTOP ที่สร้างมูลค่ารายได้ให้แก่ ชาวบ้านบ่ อ สร้ างอี กด้วย ด้วยเหตุ น้ ี นักท่ องเที่ ยวจึ งเดิ น ทางไปแวะเวีย นมาเที่ ย วเพื่ อชม และเลื อกซื้ อร่ มที่ หมูบ่ า้ นบ่อสร้างเพื่อเป็ นที่ระลึกและซื้ อเป็ นของฝาก ในอาทิ ตย์ที่ 3 ของเดื อนมกราคมของทุกปี หมู่บา้ นบ่ อสร้างจะมีการจัด งานเทศกาลร่ มบ่ อ สร้ างขึ้ น ร้ านค้าและหน้าบ้านประดับ ตกแต่ งไปด้วยร่ ม และงานหัต กรรมต่ างๆสวยงามทั้งสองข้า งถนน


มีขบวนแห่ วฒั นธรรมรถประดับร่ ม มีการแข่งวาดพัด การประกวดงานหัตกรรม วาดร่ มของนักท่องเที่ยว การ ประกวดธิ ดาบ่อสร้าง ขี่ รถถีบกางจ้อง ถนนคนเดิ น Street art และอีกมากมาย เป็ นการแสดงศิ ลปะวัฒนธรรม พื้ นบ้านที่ หาดู ได้ยาก หมู่บ ้านบ่ อสร้ างมี ศกั ยภาพของพื้ นที่ ในด้านการรองรั บนักท่ องเที่ ยวปริ มาณมากทั้ง ปริ มาณที่จอดรถบัส ร้านอาหารและร้านสะดวกซื้ อต่างๆอย่างครบครัน ในปั จจุบนั ระบบบริ การสาธารณะของชุ มชนมีความล้าหลังค่อนข้างมาก ไม่เอื้อประโยชน์ ต่อการดารงชี วิตของคนในชุมชนและนักท่องเที ยวอย่างที่ ควร การรับรู ้พ้ืนที่ของนักท่องเที่ยวและคนรุ่ นหลัง ไม่ ค่ อ ยรู ้ จักหมู่ บ ้านบ่ อสร้ างหมื อนแต่ ก่อน ส่ งผลให้เศรษฐกิ จของหมู่ บ้านซบเซาลงเนื่ องจากเป็ นชุ มชน ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ดังนั้นการออกแบบปรับปรุ งภู มิสถาปั ตยกรรมจึ งเป็ นตัวแปรสาคัญในการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของคนในชุมชน โดยพัฒนาระบบสาธารณู ปโภค เส้นทางการท่องเที่ยว และพื้นที่สร้างสรรค์ เพื่อเป็ นการ พัฒนาสิ นค้าหัตถรรมให้มีความทันสมัยโดยการออกแบบเชิง 'หัตถนวัตกรรม' เป็ นการหลอมรวมระหว่าง งาน หัตถกรรม กับ นวัตกรรม โดยยกระดับงานออกแบบให้กา้ วไกลกว่าการเสนอเฉพาะคุณค่าด้านความงามและ ความประณี ตแบบดั้งเดิม รวมทั้งปรับสมดุลและผลักดันการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีให้เกิดคุณค่าเชิ งบวก ต่ อ สังคม เพื่ อเสริ มสร้ างการรั บ รู ้ พ้ื น ที่ ข องนักท่ องเที่ ยวและคนรุ่ นหลัง ทาให้เล็งเห็ น ถึ งความส าคัญ ของ ศิลปะวัฒนธรรมในชุมชนเกิดแรงบรรดาลใจในการต่อยอดงาน'หัตถนวัตกรรม'ส่ งเสริ มการดึงดูดนักท่องเที่ยว ให้เข้ามากระตุน้ เศรษฐกิ จภายในชุ มชนอย่างยัง่ ยืนตามกระแสโลกาภิ วตั น์ทาให้เอกลักษณ์ ของชุ มชนไม่จาง หายไปตามกาลเวลา 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อพัฒนาระบบบริ การสาธารณะและพื้นที่ท่องเที่ยวที่ส่งผลต่อคุณภาพชี วิต ที่ดีของคนในชุมชน 4.1.2 เพื่ อ พัฒ นาเส้น ทางท่ องเที่ ย วและพื้ น ที่ ท่องเที่ ย วที่ มีผ ลต่ อการรั บ รู ้ ส ภาพ แวดล้อมและวิถีชีวิตชุมชนต่อนักท่องเที่ยวและคนรุ่ นหลัง 4.1.3 เพื่อส่ งเสริ มเศรษฐกิจของชุมชน 4.1.4 เพื่ อรักษาเอกลักษณ์ และวัฒนธรรมที่ ดีของชุ มชนให้เข้ากับกระแสโลกาภิ วัตน์ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาเอกลักษณ์ของชุมชนที่สามารถนาไปต่อยอดสู่ การออกแบบงานภูมิ สถาปัตยกรรมในรู ปแบบของชุมชนท่องเที่ยว 4.2.2 เพื่อศึกษาพื้นที่ ท่องเที่ ยวชุ มชนบ่อสร้าง ในการวิเคราะห์หาศักยกายภาพใน การพัฒนา 4.2.3 เพื่อศึกษาระบบบริ การสาธารณะของชุมชนต่อการดารงชีวิต 4.2.4 เพื่อศึกษาแนวโน้มทางเศรษฐกิจของชุมชนและแนวทางการพัฒนา


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1 สถานที่ที่ต้ งั โครงการ โครงการอยู่บนพื้นที่ ตาบลต้นเปา อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชี ยงใหม่ มีขนาดพื้นที่ ประมาณ 587 ไร่ 5.2 เหตผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 เป็ นพื้นที่ที่มีศกั ยภาพในการรองรับนักท่องเที่ยวในอดีต 5.2.2 เป็ นพื้นที่ ที่ต้ งั ของชุ มชนที่ เป็ นแหล่งวัฒนธรรมและวิถีชีวิตที่ ควรค่าแก่การ อนุรักษ์และพัฒนาตามกระแสโลกาภิวตั น์เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของคนในชุมชนไว้ 5.2.3 เป็ นพื้ น ที่ ข องชุ ม ชนที่ เป็ นแหล่ งผลิ ต งานคราฟและงาน Hand madeที่ มี ชื่อเสี ยงแห่งหนึ่งของประเทศไทย

2 1

การออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมชุมชนทาร่ มบ้านบ่อสร้าง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ แผ่ นที่ 1 แสดงที่ต้ งั โครงการ ที่มา: ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศ Google map, 2563 สัญลักษณ์ : พื้นที่โครงการ 1 ชุมชนทาร่ มบ่อสร้าง No scale 2 ชุมชนกระดาษาต้นเปา


การออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมชุมชนทาร่ มบ้านบ่อสร้าง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ แผ่ นที่ 2 แสดงถนนบริ เวณที่ต้ งั โครงการ ที่มา: ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศ Longdo Map, 2563 สัญลักษณ์ : ถนนหลักสาย106 ถนนหลักสาย1014 No scale ถนนรอง ถนนบ้านต้นเปา 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา โครงการอยู่บนพื้นที่ ตาบลต้นเปา อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชี ยงใหม่ มีขนาดพื้นที่ประมาณ 587 ไร่ โดยมีอาณาเขตดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ บ้านบวกเป็ ด หมู่ที่ 4 ทิศตะวันออก ติดต่อกับ บ้านต้นผึ้ง หมู่ที่ 6 ทิศใต้ ติดต่อกับ บ้านหนองโค้ง หมู่ที่ 2 ทิศตะวันตก ติดต่อกับ บ้านต้นเปา หมู่ที่ 1


7. บรรณานุกรม Emagtravel. ม.ป.ป. “ศู น ย์อุ ต สาหกรรมท าร่ ม บ่ อ สร้ า ง เชี ย งใหม่ ” [ระบบออนไลน์ ] แหล่งที่มา https://www.emagtravel.com/archive/borsang.html (5 มกราคม 2564) เทศบาลเมืองต้นเปา. 2561. “รายละเอียดโครงการพัฒนาแผนพัฒนาสี่ ปี (พ.ศ.2561-2564) เทศบาลเมื อ งต้น เปา อ าเภอสั น ก าแพง จัง หวัด เชี ย งใหม่ ” [ระบบออนไลน์ ] แหล่งที่มา http://www.tonpao.go.th/fileupload/files/tb_files_60_1.pdf (5 มกราคม 2564) เทศบาลเมืองต้นเปา.2564. “บัญชีสรุ ปโครงการพัฒนาเทศบาลเมืองต้นเปา อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่แผนพัฒนาสี่ ปี(พ.ศ. 2561 - 2564) เพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลง ครั้งที่ 2” [ร ะ บ บ อ อ น ไ ล น์ ] แ ห ล่ ง ที่ ม า http://www.tonpao.go.th/fileupload/files/ tb_files_127_1.pdf (5 มกราคม 2564) Humanized store. 2 5 6 3 .” ก าห น ด นิ ย าม ใ ห ม่ ข อ ง ม นุ ษ ย์ ด ้ ว ย อิ น โ น -ค ร าฟ ท์ ” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา https://www.humanized.store/ (5 มกราคม 2564) จรัสพิ มพ์ บุ ญญานันต์. 2556. “คู่มือการดาเนิ นงานวิทยานิ พ นธ์ 2556”. [ระบบออนไลน์ ] แหล่งที่มา https://issuu.com/tuboonyanant/docs/latheismanual56_foeweb (5 มกราคม 2564) โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย สมโภชน์ สุ ขแปดริ้ ว รหัส 6019102527 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 5 ภาคการศึกษา จานวนหน่วย กิตสะสม 131 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.55 มี ค วามประสงค์ จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) การออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโครงการที่อยู่อาศัยเพื่อความ ความปลอดภัย ความมัน่ คง และความยัง่ ยืน อ. เมืองเชียงใหม่ จ. เชียงใหม่

2. หัวข้อ เรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning of a Residential Project for Safety, Security, and Sustainability, Mueang Chiang Mai, Chiang Mai.

3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ปั จจุ บนั สถานการณ์ โรคระบาดของโรคติดเชื้ อไวรัสโคโรนา 2019 ก่อให้เกิ ดวิถีชีวิตใหม่ ผูค้ นเริ่ มระวังมัดระวังการในใช้ชีวิตอย่างปลอดภัยมากขึ้น อาทิ การใส่ หน้ากากอนามัย การตรวจวัดอุณ หภูมิ ของหน่ วยงานองค์กรต่างๆ ทั้งยังทาให้อตั ราการลงทุนชะลอตัวลง และอัตราการจ้างงานน้อยลงมี อตั ราลด น้อยลงอย่างต่อเนื่ อง อย่างไรก็ตาม วิธีคิดของคนในยุค นี้ ก็มีความเปลี่ยนแปลงมีการคานึ งถึงความมัน่ คงและ ความปลอดภัยในชี วิตและทรัพย์มากขึ้น ในอดีตที่ผ่านมามี โรคระบาดและภัยธรรมชาติมากมายที่ ก่อให้เกิ ด ความเสี ยหายกับการดารงชีวิตมนุษย์ นอกจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 แล้ว อาทิ ในปี ค.ศ. 1346 มีการ ระบาดของกามโรคต่อมน้ าเหลืองมีผูเ้ สี ยชีวิตทั้งโลกกว่า 200 ล้านราย ปั ญหาที่เกิดจากภัยธรรมชาติในปี ค.ศ. 536 ของยุโรปเกิดหมอกปริ ศนาหนาทึ บปกคลุมท้องฟ้ ายาวนานกว่า 18 เดือน ทาให้ชาวยุโรปและเอเชี ยบาง พื้นที่ไม่สามารถเพาะปลูกได้ เนื่ องจากขาดแคลนอาหารเพราะสภาพอากาศเกิดความหนาวเหน็บอย่างรุ นแรง และไร้ซ่ ึ งแสงอาทิตย์ ยังมีปัจจัยที่ มนุ ษย์สร้างขึ้นที่คุมคามความมัน่ คงและความปลอดภัย ของชี วิตมนุ ษย์อีก ด้วย เช่ น เหตุระเบิ ด ใหญ่ที่กรุ งเบรุ ต ทาให้ 190 คนเสี ยชี วิต บาดเจ็บกว่า 6000 ราย และเหตุการณ์ ก๊าซพิ ษ รั่วไหลในเมืองโภปาลของอินเดีย มีคนเสี ยชีวิตถึง 15,000 ราย และยังมีปัญหาไฟป่ าที่ เกิดจากการบุกรุ กพื้นที่ ทากินของมนุษย์ที่เป็ นปัญหายาวนานมาจนถึงปัจจุบนั


ปั จ จุ บั น ธุ ร กิ จ อาคารที่ อ ยู่อ าศัย นิ ย มท าโครงการประเภทนวัต กรรมบ้ า นเป็ นมิ ต รกั บ สิ่ งแวดล้อ มมากยิ่งขึ้ น โดยค านึ งถึ ง การออกแบบเพื่ อ อยู่อ าศัย อย่างยัง่ ยืน อาทิ เช่ น “บริ ษัท แสนสิ ริ จากัด (มหาชน)” ซึ่ งคานึ งถึงประเด็นสาคัญด้านความยัง่ ยืน 3 ด้าน ประกอบด้วย ด้านเศรษฐกิจ ด้านสิ่ งแวดล้อม และ ด้านสังคม อย่างไรก็ดียงั มีปัจจัยของความยัง่ ยืนในชีวิตที่สาคัญอีกประการหนึ่ งที่ไม่อาจมองข้ามไปได้ นัน่ คือ คือ ความแข็งแรงสมบูรณ์ของสุ ขภาพที่มาจากอาหารการกิน นวัตกรรมทางด้านการเกษตรในปัจจุบนั ทาให้คน สามารถดู แล รดน้ า และใส่ ปุ๋ยพืช ผักผ่ านแอพพลิ เคชั่นบนมื อถื อ ในยุค IOT (internet of things) เข้ามาช่ วย เพื่อให้ลูกบ้านมีอาหารปลอดภัยหรื อแบ่งปันให้กบั เพื่อนบ้าน ซึ่งเป็ นกลุ่มคนที่ใส่ ใจให้สุขภาพ การสารวจประชากรผูส้ ู งอายุในปี พ.ศ. 2560 พบว่าสัดส่ วนผูส้ ู งอายุอยู่คนเดียวเพิ่มขึ้นร้อย ละ 10 ของประชากรผูส้ ู งอายุ เติ บโตกว่า 4.5% (CAGR) ในช่วง 10 ปี ที่ผ่านมา และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่ องในขณะเดี ยว ธนาคารกสิ กรเพื่ อ ผูส้ ู งอายุมีกาลังเงิ นออมเพี ย งพอ หรื อการวางแผนการเงิ นหลังวัย เกษียณปั จจุบนั มีบา้ นพักอาศัยเน้นเจาะกลุ่ม Upper Class และ Luxury Segment โดยอยู่ที่อายุระหว่าง 50-55 ปี และกลุ่มคนรักษาสุ ขภาพแนวโน้มของคนไทยหันมาใส่ ใจสุ ขภาพมากขึ้น ต้องการมีที่อยู่อาศัยเป็ นของตนเอง แต่ยงั กังวลกับภาระปั ญหาสุ ขภาพและการเจ็บป่ วยที่ตามมา ตลอดจนผลกระทบทางการเงินจากภาวะเศรษฐกิจ เพราะสุ ขภาพคือ ความมัง่ คัง่ ที่แท้จริ งของชีวิต (Health is Wealth) ซึ่งปัญหาสุ ขภาพส่ วนใหญ่มาจากอาหารการ กินที่ปนเปื้ อนสารเคมีจากเกษตรกรรม จากข้อมูลที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่ามนุษย์ผ่านวิกฤตต่างๆ มาได้ดว้ ยการปรับตัวให้เข้า กับ สถานการณ์ ในช่ ว งนั้น แต่ ก็ ย งั เกิ ด ความสู ญ เสี ย ที่ ไ ม่ ส ามารถหลี กเลี่ ย งได้ เพื่ อความมั่น คงและความ ปลอดภัยในชีวิตแล้วมนุษย์ยงั คงจาเป็ นต้องพึ่งพาปัจจัยพื้นฐานต่างๆเป็ นสาคัญ ก่อให้เกิดแนวคิดที่พกั อาศัยที่มี การสร้างอาหารได้และดารงชีพได้อย่างยัง่ ยืน ประกอบกับปัจจุบนั เทคโนโลยีทางการเกษตรพัฒนาให้สามารถ เพาะปลูกได้ง่ายขึ้น สะดวกสบายมากขึ้น จึ งเป็ นที่ มาของ “โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม โครงการที่ อยู่อาศัยเพื่ อความปลอดภัย ความมั่นคง และความยัง่ ยืน” โดยสมมติ จากการขยายโครงการใน อนาคตของ “บริ ษทั แสนสิ ริ จากัด (มหาชน)” ที่มีการทาเกษตรกรรมสมัยใหม่ ใส่ ใจการดูแลสุ ขภาพและสร้าง ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินอีกด้วย

4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่ อออกแบบวางผัง โครงการที่ อยู่อาศัยที่ มีความมั่นคงทางปั จจัยพื้ นฐาน ต่างๆ อย่างยัง่ ยืน 4.1.2 4.1.3 4.1.4 4.1.5

เพื่อออกแบบวางผังพื้นที่พกั อาศัยที่มีความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สิน เพื่อออกแบบพื้นที่พกั อาศัยระดับ Upper class และ Luxury class เพื่อเป็ นโครงการต้นแบบและการใช้นวัตกรรมทางการเกษตรสมัยใหม่ เพื่อผลิตอาหารปลอดภัยเพื่อผูใ้ ช้โครงการและส่ งเสริ มการประกอบกิจวัตร


4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมโครงการที่อยู่อาศัย ที่มีความมัง่ คงทางปัจจัยพื้นฐานต่าง ๆ อย่างยัง่ ยืน 4.2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาแนวทางการออกแบบเพื่ อ แก้ไ ขสภาพปั ญ หาที่ คุ ก คามความ ปลอดภัยทางชีวิตและทรัพย์สิน 4.2.3 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบพื้นที่แหล่งเรี ยนรู ้นวัตกรรมทางการเกษตร สมัยใหม่ 4.2.4 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบพื้นที่พกั อาศัยระดับ Upper class และ Luxury class ื ่ผลิตอาหารปลอดภัยเพื่อผูใ้ ช้โครงการ 4.2.5 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบพ้นที และส่ งเสริ มการประกอบกิจวัตร

5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง)




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว สุ ปิณญา วันแก้ว รหัส 6019102528 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วย กิตสะสม 131 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.05 มี ค วามประสงค์ จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์ไก่ชนครบวงจร อ. ป่ าซาง จ.ลาพูน 2. หั ว ข้ อ เรื่ อ ง (ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ) The landscape Architectural Design and Planning of the Comprehensive Game Fowl Center, Pasang, Lamphon. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ การชนไก่ เป็ นวิถีวฒั นธรรมที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของชุมชนไทย นิ ยมกันมานานในสังคม เกษตรกรรม เป็ นกิ จกรรมสันทนาการหนึ่ งตามวัฒนธรรม จารี ต ความเชื่ อที่ สร้ างความสั มพันธ์ ของคนใน ชุมชน ไก่ชนที่นิยมเลี้ยงกันแพร่ หลายในภาคเหนื อ คือไก่สายพันธุ์เหล่าป่ าก๋ อยและไก่สายพันธุ์พม่า ปั จจุบนั การเลี้ยงไก่ชนไม่ได้มีไว้แค่ความบันเทิงเท่านั้นแต่ยงั ถือเป็ นธุรกิจประเภทหนึ่งที่สามารถสร้างรายได้เป็ นอย่าง ดี สาหรับผูท้ ี่ชื่นชอบกีฬาไก่ชน การแข่งขันกีฬาไก่ชนได้แพร่ หลายในทุกพื้นที่ทุกภาค ทั้งภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคอีสาน ภาคใต้ กีฬาไก่ชนจึงได้รับการยอมรับว่าเป็ นกีฬาชนิ ดหนึ่ งที่มีผคู ้ นให้ความสนใจทั้งชาวไทยและ ชาวต่างชาติ จังหวัดลาพูน ถือเป็ นจังหวัดที่มีการเลี้ยงและเพาะพันธุ์ไก่ชนสายพันธุ์ที่มีชื่อเสี ยง สามารถ ส่ งออกจาหน่ ายทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ เช่ นไก่ ช นพันธุ์เหล่าป่ าก๋ อย ทาให้จังหวัด ลาพูนมี การ แข่งขันกีฬาไก่ชนจานวนมากในหลายพื้นที่ จึงมีท้ งั สนามแข่งขันที่ถูกกฎหมายและผิดกฎหมาย เนื่ องจากไม่มี พื้ น ส าหรั บการแข่ งขัน ไก่ ช นที่ มีค รบทุ กอย่าง อี กทั้งการที่ มีการแข่ งขันกี ฬ าไก่ ช นที่ ผิ ด กฎหมายยังทาให้ ประชาชนทัว่ ไปมองว่ากีฬาชนิดนี้ในแง่ลบอยูต่ ลอด เนื่ องจากขาดการเผยแพร่ ความน่าสนใจของไก่ชนที่ไม่ได้ มีแค่การชนไก่ เยาวชนรุ่ นใหม่จึงไม่ค่อยรู ้จกั วัฒนธรรมไก่ชนที่มีค่ามากกว่าแค่การนาไก่มาชนกัน เพราะเหตุน้ ี อาจทาให้ไก่ ชนมีแค่คนยุคก่อนๆที่ รู้จกั พอนานวันไปไก่ชนอาจค่อยๆถูกลืมไป พื้นที่ โครงการเดิม เคยเป็ น พื้นที่ที่เคยมีการแข่งขันกีฬาชนไก่มาก่อน ปั จจุบนั พื้นที่มีความเสื่ อมโทรม ขาดการจัดสรรพื้นที่ที่ดี มีพ้ืนที่จดั กิจกรรมน้อยไม่ดึงดูดให้คนเข้ามาใช้งาน


ดังนั้น จึงได้มีการจัดทาโครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมศูนย์ไก่ชนครบวงจร ขึ้ น มา เพื่ อ ออกแบบศู น ย์ไ ก่ ช นที่ ไ ด้ม าตรฐานระดับ ประเทศ รวมทั้งเพื่ อ อนุ รั ก ษ์ เผยแพร่ และสื บ ทอด วัฒนธรรม ประเพณี ทอ้ งถิ่นในเรื่ องการเลี้ยงไก่ชนและการขยายพันธุ์ไก่ชน อีกทั้งยังความสามัคคีสมานฉันท์ ในหมู่คณะผูเ้ ลี้ยงไก่ชน นอกจากนี้ ยงั เป็ นการส่ งเสริ มให้เยาวชนและประชาชนทัว่ ไปรู ้จกั ใช้เวลาว่างให้เป็ น ประโยชน์ รวมถึ งเผยแพร่ กิจกรรมแข่ งขัน ไก่ ช นไปสู่ ส าธารณะชนผูส้ นใจทั่วไป ตลอดจนสนับ สนุ น ผู ้ ประกอบอาชี พ เกี่ ยวกับการผลิ ต อุ ปกรณ์ การเลี้ ยงไก่ ช น ได้มีลู่ทางจาหน่ ายสิ นค้ามากขึ้น และเพื่ อเป็ นการ สนับสนุนให้มีการท่องเที่ยวในจังหวัดลาพูน ช่วยกระตุน้ เศรษฐกิจให้ดียงิ่ ขึ้น 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อพัฒนาศูนย์ไก่ชนที่ได้มาตรฐาน สามารถรองรับกิจกรรมเกี่ยวกับไก่ชน ได้หลายประเภท 4.1.2 เพื่อสร้างพื้นที่การเรี ยนรู ้ในวิถีชีวิตของไก่ชน 4.1.3 เพื่ อ ส่ งเสริ ม การท่ อ งเที่ ย ว การอนุ รั กษ์ เผยแพร่ และสื บ ทอดวัฒ นธรรม ประเพณี ทอ้ งถิ่นเกี่ยวกับการเลี้ยงไก่ชนและเป็ นกิจกรรมที่สร้างรายได้ให้แก่ธุรกิจเกี่ยวกับไก่ชน ก่อให้เกิดการ สร้างงานสร้างรายได้ให้กบั ประชาชนและกระตุน้ เศรษฐกิจใน จ.ลาพูน 4.1.4 เพื่อส่ งเสริ มให้เยาวชนและประชาชนใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์ไก่ชนที่ได้ มาตรฐานในระดับประเทศ 4.2.2 เพื่ อศึ กษาถึ งกระบวนการออกแบบสภาพแวดล้อม การสั ญจร การใช้ส อย พื้นที่กิจกรรม ระบบสาธารณู ปโภค ระบบโครงสร้างต่างๆ ของพื้นที่ศูนย์ไก่ชน ให้สอดคล้องกับพฤติกรรม ของผูใ้ ช้ 4.2.3 เพื่อศึกษาพฤติกรรมและความต้องการของกลุ่มผูใ้ ช้โครงการศูนย์ไก่ชนครบ วงจร 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1 สถานที่ต้ งั ของโครงการ พื้ น ที่ ต้ ังโครงการตั้งอยู่ใ นต าบลท่ า ตุ้ม อ าเภอป่ าซาง จังหวัด ล าพู น มี ข นาดพื้ น ที่ ประมาณ 52 ไร่


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์ไก่ชนครบวงจร อ.ป่ าซาง จ.ลาพูน แผนที่ 2 แสดงแผนผังพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ถนนบ้านใหม่บวกคะยอม ที่มา: ดัดแปลงจาก GoogleEarth (29 ธันวาคม 2563)

มาตราส่ วน Not to scale

5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 พื้ น ที่ โ ครงการมี ศ ักยภาพส าหรั บ การเพาะพัน ธุ์ ไ ก่ แ ละเหมาะกับ หลายๆ กิจกรรมที่เกี่ยวกับไก่ชน 5.2.2 พื้นที่โครงการเป็ นพื้นที่ที่เจ้าของโครงการต้องการทาป็ นศูนย์ไก่ชนครบวงจร


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้ า พเจ้ า นาย แสงธรรม สระจั น ทร์ รหั ส 6019102529 นั ก ศึ ก ษาชั้ นปี ที่ 4 สาขาวิ ช าภู มิ สถาปั ต ยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ แ ละการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาค การศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 131 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.28 มี ค วามประสงค์จะขอท าวิท ยานิ พ นธ์ร ะดับปริ ญ ญาภู มิส ถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี ร าย ละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) : การออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรม ฟื้ นฟูเหมื องแร่ เก่าโดโลไมท์ เพื่อเป็ น พื้นที่ท่องเที่ยวการพักผ่อนเชิงนิเวศ อ. เมืองกาญจนบุรี จ. กาญจนบุรี 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) : Landscape Architectural Design and Restoration of an Old Dolomite Mine for Ecological Tourism and recreation, Mueang Kanchanaburi, Kanchanaburi. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จังหวัดกาญจนบุรี เป็ นจังหวัดที่มีความน่าสนใจในด้านนิเวศธรรมชาติ ภูมิลกั ษณ์ ที่สมบูรณ์ และในบางพื้นที่ ยงั มี เรื่ องราวประวัติศาสตร์ ในหลายๆช่ วงเวลา ค่อนข้างเป็ นเรื่ องที่ น่าสนใจค่อนข้างมาก นอกจากนี้ ยังมี ค วามสมบู ร ณ์ ข องนิ เวศธรรมชาติ จึ งท าให้ มี การท าเหมื องแร่ ค่ อนข้างมาก ในตัว จังหวัด กาญจนบุรีมีท้ งั แร่ อุตสาหกรรมและแร่ รัตนชาติ ด้วยเหตุน้ ี ทวั่ จังหวัดกาญจนบุรีจึงเต็มไปด้วยเหมืองแร่ หลาย รู ปแบบ และมีเหมืองเก่าค่อนข้างมาก ซึ่ งมีความน่าสนใจในด้านกายภาพของเหมืองแร่ ที่เก่า การทาเหมืองแร่ นั้น กระบวนการในการทาเหมือง ในอดีตยังไม่มีเทคโนโลยีในการทาเหมืองที่ดีพอ รวมถึงมีการจัดการพื้นที่ ไม่เหมาะสม ทาให้มีความเสี ยหายต่อระบบนิ เวศ หรื อธรรมชาติ ในบริ เวณรอบ ๆ และกระบวนการในการทา เหมืองมีหลายรู ปแบบ รู ปแบบของเหมืองขึ้นอยู่กบั แร่ ที่ถูกสารวจในบริ เวณนั้น บางครั้งอาจจะเป็ นการขุดเข้า ไปในภูเขา ระเบิดภูเขา และจาเป็ นต้องขุดเป็ นวงกลมลึกลงไป ในรู ปแบบก้นหอย แต่ท้ งั หมดที่กล่าวมานี้ เป็ น การทาลายระบบนิ เวศ และ ทาลายภูมิลกั ษณ์เดิมทั้งสิ้ น ประเด็นดังกล่าวมีความขัดแย้งกับหลายๆ องค์กร เช่น ชุมชน หรื อ กลุ่มอนุรักษ์ธรมชาติ เรื่ องเหล่านี้ เป็ นสิ่ งที่คนบริ เวณรอบๆ ให้ความสนใจ ทั้งในด้านที่ดีและไม่ดี แต่แน่ นอนว่าหากประทานบัตรได้ถูกอนุ ญาตเรี ยบร้อยแล้ว ก็มีความจาเป็ นที่ต้องทาการขุดเจาะเหมืองตาม สัญญาเพื่อให้ได้ประโยชน์อย่างที่สุด สุ ดท้ายแล้วพื้นที่เหล่านั้นก็จะต้องถูกทาลายลงไป ขั้นตอนสุ ดท้ายคือการ ฟื้ นฟูพ้นื ที่ บางพื้นที่มีการคิดแผนพัฒนา แต่บางพื้นที่ถูกทาให้ทิง้ ร้าง ทาให้เกิดความขัดแย้งบางอย่างกับชุมชน


หรื อบริ เวณรอบๆ และด้วยปั ญหาดังกล่าวทาให้พ้ืนที่เหมืองเก่าบางแห่ ง กลายเป็ นพื้นที่ไม่มีประโยชน์ ไม่มี การพัฒ นา ทาให้ ภาพของการทาเหมื อ งแร่ น้ ัน ดู แย่ในสายตาของสาธารณะชน ซึ่ งประเด็ นนี้ ทาให้มีความ น่าสนใจที่จะเข้าไปพัฒนาพื้นที่เหมืองเก่า เพื่อให้มีการใช้ประโยชน์ในรู ปแบบพื้นที่สาธารณะ และมีโอกาส ที่ จะช่วยปรับเปลี่ยนแนวคิดเรื่ องของการทาเหมืองไปในตัวด้วย ว่าเป็ นการทาลายธรรมชาติ แต่ เรื่ องดังกล่าวก็ เป็ นเรื่ องจริ ง แต่หากมีการพัฒนา ก็ทาให้ภาพเหล่านั้นอาจจะเปลี่ยนไปบ้าง ด้วยกายภาพหลังจากการปิ ดเหมือง ที่ได้ถูกพัฒนา ซึ่ ง อาจจะเป็ นสถานที่ พกั ผ่อน พื้นที่ ธรรมชาติ หลังการฟื้ นฟู หรื อ การใช้ประโยชน์ ที่ดินใน รู ปแบบใหม่ กายภาพใหม่ และการเรี ยนรู ้แบบใหม่ๆให้กบั ผูท้ ี่เข้ามาใช้งานภายในโครงการ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อส่ งเสริ มการฟื้ นฟูเหมืองแร่ เก่าที่ปิดทาการแล้ว และพื้นที่ไม่ถูกฟื้ นฟู ให้ กลายเป็ นพื้นที่ที่สามารถใช้ประโยชน์ที่ดินได้ในหลายๆ รู ปแบบ ซึ่ งอาจจะเป็ นโอกาสของผูป้ ระกอบการที่ สนใจการลงทุนในรู ปแบบที่แตกต่างจากเดิม 4.1.2 เพื่อส่ งเสริ มให้พ้ืนที่เหมืองเก่าที่ฟ้ื นฟูแล้วเป็ นสถานที่ นาร่ องแนวคิด หรื อ มุมมองที่ไม่ดี กับการขุดเจาะเหมือง ให้กบั คนในชุมชนบริ เวณรอบๆ หรื อคนที่สนใจ ให้มีมุมมองเกี่ยวกับการ ขุดเจาะเหมืองที่ดีข้ นึ ไม่มากก็นอ้ ย 4.1.3 เพื่อให้เป็ นพื้นที่เหมืองเก่า ที่ถูกฟื้ นฟูแล้วให้เป็ นเหมืองแร่ ตน้ แบบ ของการ ฟื้ นฟูเหมืองแร่ ในจังหวัด ในประเทศและต่างประเทศ ในรู ปแบบการฟื้ นฟูเหมืองแร่ เก่าให้กลายเป็ นพื้นที่ฟ้ื นฟู ด้านนิเวศธรรมชาติ แล เป็ นสาธารณะประโยชน เรี ยบร้อยแล้ว 4.1.4 เพื่ อ ให้ พ้ื น ที่ เหมื อ งที่ ฟ้ื นฟู แ ล้ว เป็ นพื้ น ที่ ส าธารณะประโยชน์ ที่ ทุ ก คน สามารถเข้ามาทากิจกรรมภายในพื้นที่ได้ ท่องเที่ยวพักผ่อนท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ และสามารถเรี ยนรู ้เพิ่มเติม ในเรื่ องของนิ เวศธรรมชาติและกระบวนการจัดการเหมืองแร่ ในรู ปแบบใหม่ของกาญจบุรีดว้ ยในรู ปแบบการ ฟื้ นฟูเหมืองเป็ นแห่งแรกของกาญจนบุรี 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่ท่องเที่ยวเชิ ง ธรรมชาติ และศึกษาแนวทางการใช้ภูมิสถาปัตยกรรมในการฟื้ นฟูพ้นื ที่เหมืองแร่ เก่า 4.2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาศาสตร์ ท างธรณี วิ ท ยา เชิ ง พื้ น ที่ แ ร่ ธ าตุ ก ารเปลี่ ย นแปลงทาง ธรณี วิทยา ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมในลักษณะไหน และมีการจัดการพื้นที่อย่างไร 4.2.3 ศึกษาศาสตร์ ทางนิ เวศธรรมชาติ ที่ถูกรบกวนโดยการทาเหมืองแร่ ที่ส่งผล กระทบต่อระบบนิเวศป่ าไม้ สัตว์ป่า แหล่งน้ า รวมถึงเทคนิคและกระบวนการฟื้ นฟูนิเวศธรรมชาติอย่างถูกวิธี 4.2.4 ศึกษาศาสตร์ ของการขุดเจาะเหมืองเพื่อเรี ยนรู ้กระบวนการขุดเจาะเบื้องต้น ที่ถูกต้องและวิธีการจัดการเหมืองในรู ปแบบที่ถูกต้อง


4.2.5 เพื่ อศึ ก ษาความเป็ นไปได้ข องการท่ องเที่ ย วในรู ป แบบต่าง ๆ ทั้งวิ ธีการ สถานที่ เศษฐกิจ กลุ่มคน ความหมายในการท่องเที่ยวต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับจังหวัดกาญจนบุรีท้ งั หมด 4.2.6 ศึกษาสถานการณ์ปัจจุบนั เกี่ยวข้องกับเรื่ องโรค COVID – 19 (โควิด - 19) ที่ อาจจะส่ งผลกระทบต่อการท่องเที่ ยวอย่างไรบ้ างและมี แนวโน้ม หรื อวิธีป้องกัน อย่างไร สามารถนามา ประยุกต์ใช้ในงานออกแบบได้อย่างไรบ้าง 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ พื้นที่โครงการตั้งอยูเ่ ลขที่พิกดั 13.984427, 99.544863 ตาบล บ้านเหนื อ อาเภอ เมือง กาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี รหัส ไปรษณี ย ์ 71000 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ อันดับแรกเป็ นเรื่ องของภูมิลกั ษณ์เดิมที่เป็ นการทาเหมือง และสภาพปั จจุ บัน เป็ นเป็ นเหมื องที่ ปิดทาการแล้ว ถัด มาเป็ นเรื่ องของความน่ าสนใจในพื้ นที่ ร อบ ๆ คื อ ด้านหลังเป็ นเขามีความเป็ นนิ เวศสู ง ด้านหน้าเป็ นแม่น้ าแม่กลอง ซึ่ งเป็ นแม่น้ าขนาดใหญ่ ทาให้การศึกษาใน ด้านต่าง ๆ มีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น เหตุผลประการต่อมาคือ เป็ นพื้นที่ซ่ ึ งอยู่ห่างจากตัวเมืองกาญจนบุรี ไม่มากนัก มีโอกาสในการท่องเที่ยวค่อนข้างสู ง 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา ขนาดพื้นที่ประมาณ 971,624 ตารางเมตร 607 ไร่ 1 งาน 6 ตารางวา ทิศเหนือ ติดกับ แม่น้ าแม่กลอง และถัดไปเป็ นส่ วนราชการ เช่น ศาลากลางจังหวัด กาญจนบุรี และสานักงานหน่วยราชการอื่น ๆ ทิศตะวันออก ติดกับ สุ สานเอกชนวังหี บ ตาบลม่วงชุม มีชุมชนม่วงชุมอยู่ ณ บริ เวณนั้น ทิศใต้ ติดกับ ภูเขา ด้านหลังภูเขาเป็ นชุมชนเล็ก ๆ มีการทาการเกษตร ทิศตะวันตก ติดกับ ถนนเส้นหลัก 3209 ตาบลเกาะสาโรง และมี ชุมชน


การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม ฟื้ นฟูเหมืองแร่ เก่า ให้เป็ นพื้นที่ท่องเที่ยวการพักผ่อนเชิงนิเวศ เหมืองแร่ เก่าโดโล ไมท์ อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั โครงการ 1 สัญลักษณ์

ขอบเขตพื้นที่โครงการ ถนนหลักหมายเลข 3209 แม่น้ าแม่กลอง ขนาดพื้นที่โครงการ 971,624 ตารางเมตร 607 ไร่ 1 งาน 6 ตารางวา ที่ มำ : ภาพถ่ ายทางอากาศดัด แปลงจาก Google Earth Pro / ศาลากลาง จังหวัดกาญจบุรี. 2564

Not to scale


7. บรรณานุกรม กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานการเหมืองแร่ . ม.ป.ป. “ ระบบฐานข้อมูลใบอนุญาตประทานบัตร”. [ระบบออนไลน์]. https://www.dpim.go.th/webservices (5 มกราคม 2564) กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ . 2548. คู่มือกำรจัดกำรด้ ำนภูมิสถำปัตย์ เพื่อกำร ฟื้ นฟูพื้นที่เหมืองแร่ . สานักบริ หารและฟื้ นฟูสิ่งแวดล้อม กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร่ . กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานการเหมืองแร่ . ม.ป.ป. “ Download – กระทรวงอุตสาหกรรม ”. [ระบบออนไลน์]. www.industry.go.th (5 มกราคม 2564) กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานการเหมืองแร่ . 11 พฤษจิกายนต์ 2559. “ กพร. เผยมาตรการกากับ ดูแลเหมืองแร่ เก่า กว่า 1,800 แห่งทัว่ ไทย เพื่อการฟื้ นฟูพ้นื ที่ภายหลังการปิ ดเหมือง”. [ระบบออนไลน์]. http://www.dpim.go.th/purchase/article?catid=102&articleid =7346 (7 มกราคม 2564) กรมพัฒนาที่ดิน. 2550. “ การปรับปรุ งดินเหมืองแร่ ร้าง ”. เอกสำรเพื่อถ่ ำยทอดเทคโนโลยี, สนท.040013-2550 กองประเมินผลกระทบสุ ขภาพ กรมอนามัย. กันยายน 2553. แนวทำงกำรประเมินผลกระทบ ต่ อสุ ขภำพ โครงกำรเหมืองแร่ . บริ ษทั โอ-วิทย์ (ประเทศไทย) จากัด

โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ

(ลงชื่อ)

แสงธรรม สระจันทร์ ( นายแสงธรรม สระจันทร์ ) 15/มกราคม/2564



คำร้องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวอภิชญา อีสา รหัส 6019102530 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ ก ษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ ก ษา จานวน หน่วยกิตสะสม 131 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.12 มี ค วามประสงค์ จะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) การออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมและวางผังสวนสนุกเมืองเนเวอร์ แลนด์ อาเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning of Neverland Park ,Ubon Ratchathani, Ubon Ratchathani 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ในปั จจุบนั ประเทศจะพบเห็นได้ว่าคนในประเทศจะมีความเครี ยดในเรื่ องต่างๆ อาทิเช่ น เรื่ องครอบครั ว การงาน ความรั ก และสังคม เป็ นต้น เรื่ องเหล่านี้ จะทาให้กลุ่ มบุคคลที่มีผลกระทบอาจเกิ ด อาการซึ มเศร้าและมีความรู ้สึกโดดเดี่ยวในสังคมได้และนาไปสู่ การเกิดโรคซึ มเศร้ าได้ในอนาคต สิ่ งที่สามารถ เป็ นส่ วนช่ วยเยียวยาเรื่ องต่างๆได้คือการที่ตอ้ งออกมาสู่ โลกภายนอก ใช้เวลาผ่อนคลายในสถานที่ที่ไม่พบเจอ กับ สถานการณ์ ความตึ งเครี ย ด ซึ่ ง ก็ ไ ม่ พ้น จากสถานบัน เทิ ง การเดิ น ห้ างสรรพสิ น ค้า การท่ อ งเที่ ย วในที่ ธรรมชาติ และการเที่ยวสวนสนุก เป็ นต้น อุบลราชธานีอยู่ในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ จังหวัดอุบลราชธานีเป็ นจังหวัดที่มีความเจริ ญ ค่อนข้างมาก ลักษณะเมืองมีขนาดใหญ่มีแหล่งเศรษฐกิจที่หลากหลาย มีสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆที่เป็ นจุดดึงดูด และสนใจของจังหวัด ประชากรส่ วนใหญ่มกั จะเป็ นกลุ่มเด็กและวัยรุ่ นที่มีก ารมาศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยและ มาเที่ยวในช่วงวันหยุดสัปดาห์เพื่อพักผ่อนหย่อนใจ แต่พ้นื ที่พกั ผ่อนนั้นส่ วนใหญ่จะเป็ นเชิงเกษตร ธรรมชาติ โบราณสถานและประเพณี จะเห็น ได้ว่าในอุบลราชธานี ยงั ไม่ค่อยมีการท่ องเที่ยวในเชิ ง การท่ องเที่ยวเพื่ อ นันทนาการ การท่องเที่ยวแบบนี้น้ นั สามารถช่วยกระตุน้ ในด้านเศรษฐกิจการท่องเที่ยวของพื้นที่ โดยที่ เมืองเน เวอร์ แลนด์ จะเป็ นแหล่งเศรษฐกิจ สถานที่ท่องเที่ยวแห่งใหม่ของอุบลราชธานี


ทั้งนี้พ้นื ที่โครงการเป็ นพื้นที่ของเอกชนอยู่ใกล้กบั ห้างสรรพสิ นค้าเซ็นทรัลพลาซ่ าอุบลราช ธานี บริ เวณพื้น ที่โครงมีข นาด 128 ไร่ ตั้งอยู่ตาบลแจระแม อาเภอเมื องอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี เนื่ อ งจากพื้ น ที่ บริ เวณนั้น เป็ นแหล่ งพาณิ ช ยกรรมจึ งทาให้ ก ลุ่ มผู ้ใช้ที่มี ค วามหลาหลายในช่ วงอายุเข้า ถึ ง โครงการได้สะดวกสบายใกล้เมืองและแหล่งคมนาคม โดยเมืองเนเวอร์ แลนด์ จะมีการใช้ความจินตนาการและ ความแฟนตาซี ที่จะช่วยให้ความรู ้ สึกถึงความสนุกสนานจินตนาการของความสุ ขในช่ วงของการพักผ่อนและ ท่องเที่ยว ให้ประสบการณ์ที่น่าตื่นเต้นประทับใจใหม่ๆ แนวคิดที่จะจัดทาโครงการออกแบบภูมิทศั น์และวาง ผังสวนสนุ กเมืองเนเวอร์ แลนด์ เกิ ดขึ้นจากบริ ษทั เอกชนและนักลงทุนที่จะมาลงเพื่อกระตุน้ ระบบเศรษฐกิ จ ให้กบั อุบลราชธานีให้เป็ นเมืองเศรษฐกิ จในอนาคต ดึงดูดนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศมาใน พื้นที่เพิ่มมากขึ้น 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เป็ นสถานที่ท่องเที่ยว พักผ่อนและให้ความบันเทิงแก่นกั ท่องเที่ยวทั้งในและ ต่างประเทศ 4.1.2 สร้ างรายได้และกระตุน้ เศรษฐกิจให้กบั พื้นที่ 4.1.3 เป็ นสถานที่สามารถช่วยลดความเครี ยดในด้านต่างๆ 4.1.4 สร้ างแหล่งท่องเที่ยวรู ปแบบใหม่ของจังหวัดอุบลราชธานีเพื่อเป็ นที่น่าสนใจให้กบั จังหวัดอุบลราชธานี 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปั ญหาของการศึกษา 4.2.1 ศึกษาการออกแบบและวางผังสวนสนุกที่เหมาะสมกับการใช้งานให้เกิด ประโยชน์ในด้านเศรษฐกิจ สังคม และอืน่ ๆ 4.2.2 ศึกษาการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมและรายละเอียดของเครื่ องเล่น สวนสนุก 4.2.3 ศึกษาการออกแบบภูมิทศั น์ทสี่ อดคล้องต่อความต้องการของสวนสนุกและ เครื่ องเล่นต่างๆ


5. สถานที่ต้งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ ( แผนที่ 1-2 )

โครงการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมและวางผังสวนสนุกเมือง เนเวอร์ แลนด์ อาเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี มาตราส่ วน แผนที่ 1 แสดงที่ต้งั โครงการ สัญลักษณ์

คลองมูลน้อย พื้นที่โครงการ ถนนเลีย่ งเมืองอุบลราชธานี ทางหลวงชนบท อบ.3058 ถนนโครงการบ้านจัดสรร

ที่มา : ดัดแปลงจาก http://dolwms.dol.go.th/tvwebp/ ( 18/12/2019 )

Not to scale


โครงการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมและวางผังสวนสนุกเมือง เนเวอร์ แลนด์ อาเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี มาตราส่ วน แผนที่ 2 แสดงที่ต้งั โครงการและความเชื่อมโยงของ สถานที่ท่องเทีย่ ว สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงจากhttps://www.google.co.th/maps/ place/Ubon+Ratchathani/ ( 18/12/2019 )

Not to scale



Site selection

โครงการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมและวางผังสวนสนุกเมือง เนเวอร์ แลนด์ อาเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี มาตราส่ วน แผนที่ 3 แสดงที่ต้งั โครงการและขอบเขตโครงการ

ที่มา : ดัดแปลงจากhttps://www.google.co.th/maps/ place/Ubon+Ratchathani/ (18/12/2019 )

Not to scale


โครงการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมและวางผังสวนสนุกเมือง เนเวอร์ แลนด์ อาเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี มาตราส่ วน แผนที่ 4 แสดงที่ต้งั โครงการและขอบเขตโครงการ

ที่มา : ดัดแปลงจากhttps://www.google.co.th/maps/ place/Ubon+Ratchathani/ (18/12/2019 )

Not to scale


เกณฑ์ / ภาค Accessibility Shape Approach View Surrounding Linkage Public Facilities Public Utilities รวมคะแนน

คะแนน 8 3 3 6 5 4 6

SITE 1 ระดับ คะแนน A 32 B 9 B 9 A 24 B 15 A 16 A

35

หมายเหตุ น้ าหนักคะแนนหรื อลาดับความสาคัญของหลักเกณฑ์โดยแบ่งดังนี้ A (excellent) เท่ากับคะแนน 4 point B (very good) เท่ากับคะแนน 3 point C (good) เท่ากับคะแนน 2 point D (poor) เท่ากับคะแนน 1 point

24 129

SITE 2 ระดับ คะแนน B 24 B 9 B 9 B 18 B 15 C 8 B

18 101


Site selection Site 1 : ตาบลแจระแม อาเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี พื้นที่ทางทิศเหนือ ติดกับหมู่บา้ นจัดสรร ทางทิศตะวันออก ติดกับพื้นที่เอกชนเป็ นป่ ารกและคลองมูลน้อย ทาง ทิศใต้ ติดกับถนนทางหลวงชนบท อบ.3058 ทางทิศตะวันตก ติดกับพื้นที่ดินเอกชนและคอนโดเซ็นทรัล ลักษณะของพื้นที่เป็ นพื้นที่ราบรกร้ าง ขนาดโดยประมาณ 128 ไร่

Site 2 : ตาบลหนองขอน อาเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี พื้นที่ทางทิศเหนือ ติดกับชุมชน ทางทิศตะวันออก ติดกับพื้นทีก่ ารทาเกษตร ทางทิศใต้ ติดกับพื้นที่การทา เกษตรและลาคลอง ทางทิศตะวันตก ติดกับพื้นที่การทาเกษตรและชุมชน ลักษณะของพื้นทีเ่ ป็ นพื้นทีร่ าบทาการเกษตร ขนาดโดยประมาณ 140 ไร่





Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.