รวมหัวข้อวิทยานิพนธ์ สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม พ.ศ. 2565

Page 1



รวมหัวข้อวิทยานิพนธ์ สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม พ.ศ. ๒๕๖๕

รวบรวมโดย ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้



รายชื่อหัวข้อวิทยานิพนธ์ ภาคการศึกษาที่ 2/2564 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม (นักศึกษารหัส 61 ลงทะเบียนปรกติ) ลำดับ รหัส

ชื่อ-สกุล

ประเภท

ชื่อโครงการ

รีสอร์ท

ปิงโค้งรีสอร์ทแอนด์สปา อ. เชียงดาว จ. เชียงใหม่ พิพิธภัณฑ์สตั ว์น้ำราชมงคลตรัง อ. สิเกา จ. ตรัง แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้เชิงเกษตรสวนนายเกา อ. แม่สาย จ. เชียงราย โป่งน้าร้อนท่าปาย อ. ปาย จ. แม่ฮ่องสอน

กลุ่มที่ 1 1.

6019102509

ชานนท์ ชะโลธร

2.

6119102504

ณัฐรินทร์ ทะสุยะ

3.

6119102509

4.

6119102512

แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้ชีวิต สัตว์และธรรมชาติ ปาริฉัตร ภูริจารุยางกุล แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้เชิง เกษตร พิชชาภา ธนาปิยวิศน์ แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้เชิง ธรรมชาติ

กลุ่มที่ 2 5.

6019102511

ณภัทร อภิสิทธยากร

ศาสนสถาน

6.

6019102531

ฐิติภา โกสลากร

แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้เชิง เกษตร

7.

6119102505

ณิชากร บัณธุรุ่งเรือง

แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้เชิง ธรรมชาติ

8.

6119102515

รัฐนันท์ สุวาโร

แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้เชิง ธรรมชาติ

โบสถ์คริสตจักรนอร์ทเทิร์นเกตและมูลนิธดิ ้าน การส่งเสริมคุณภาพชีวิต อ. สันทราย จ. เชียงใหม่ บ้านกองฟางผู้พัน เพื่อการศึกษาเรียนรู้ดา้ น การเกษตรและการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ อ. เมืองอุตรดิตถ์ จ. อุตรดิตถ์ พื้นที่ชุ่มน้ำหนองกุดทิง เพื่อศึกษาความ หลากหลายทางชีวภาพและบรรเทาปัญหาน้ำ ท่วม อ. เมืองบึงกาฬ จ. บึงกาฬ ศูนย์สปาวารีบำบัดน้าพุร้อนเค็มคลองท่อม อ. คลองท่อม จ.กระบี่

กลุ่มที่ 3 9.

6119102502

จิราภา ดวงดี

พื้นที่พาณิชยกรรม

10.

6119102511

พันธุ์ธัช คมกฤส

สนามกีฬา

11.

6119102517

ศุภกฤต คำหล้าทราย

พื้นที่พาณิชยกรรม ขนส่ง

ย่านตลาดโรงเกลือ อ. อรัญประเทศ จ.สระแก้ว ศูนย์กีฬาคอมเพล็กซ์บางปิ้ง อ. เมือง จ. สมุทรปราการ ศูนยเ์ปลีย่ นถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้า เชียง ของ เฟสที่ 3 และพื้นที่เกี่ยวเนื่อง อ. เชียงของ จ. เชียงราย


ลำดับ รหัส

ชื่อ-สกุล

ประเภท

ชนะศักดิ์ อภิชาติ

สนามกีฬา

แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้เชิง ธรรมชาติ สวนรุกขชาติ สวนพฤกษศาสตร์

ชื่อโครงการ

กลุ่มที่ 4 12.

6119102503

13.

6119102506

14.

6119102507

15.

6119102510

สนามกีฬาประจำจังหวัดสมุทรปราการ อ. เมือง จ. สมุทรปราการ นายตะวัน เพ็งสุวรรณ แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้เชิง แหล่งท่องเที่ยวสะพานข้ามแม่น้ำแควและ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม พื้นที่สีเขียวต่อเนื่อง อ. เมืองกาญจนบุรี จ. กาญจนบุรี ธันชนก ไชยวันดี แหล่งอุตสาหกรรม ศูนย์การจัดการขยะมูลฝอยรวมแบบครบวงจร บ้านป่าตึงน้อย อ. ดอยสะเก็ด จ. เชียงใหม่ ปาริชาติ นุชเทียน ชุมชนเมือง ชุมชนบ้านครัวน้อย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อม เขตพญาไท จ. กรุงเทพฯ

กลุ่มที่ 5 16.

6119102508

ปรัชญา กันทะ

17.

6119102516

วรวุฒิ อภิชาติ

18.

6119102519

สิริยากร แก้วสุรยิ ะ

19.

6119102521

อุทัย จาระนัย

แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้ชีวิต สัตว์และธรรมชาติ แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้เชิง เกษตร

แหล่งเรียนรู้และส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิง ธรรมชาติจันหว้าใต้ อ.แม่จัน จ. เชียงราย สวนรวมพรรณไม้ปา่ 60 พรรษา มหาราชินี ภาคเหนือ เพื่อการเรียนรู้การอนุรกั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและการนันทนาการ อ. หางดง จ. เชียงใหม่ สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าแม่ลาว อ. แม่ลาว จ. เชียงราย พื้นที่ศูนย์เกษตรกรรมและวัฒนธรรมยั่งยืน ชุมชนเกาะเกร็ด อ. ปากเกร็ด จ. นนทบุรี

กลุ่มที่ 6 20.

6119102514

ภัทรานิษฐ์ อินทร์สมใจ พื้นที่ริมน้ำ ชุมชนเมือง

ชุมชนท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ริมเขื่อน เจ้าพระยา อ. สรรพยา จ. ชัยนาท สถานพยาบาล ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุระยะยาว อ. เมืองเชียงใหม่ จ. เชียงใหม่ แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้เชิง อุทยานเมืองเก่าพิจิตร อ. เมืองพิจิตร ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม จ. พิจิตร

21.

6119102518

ศุภวิชญ์ ปรีชุม

22.

6119102520

สุพัฒนา มิ่งมณี


คำร้ องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย ชานนท์ ชะโลธร รหัส 6019102509 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 5 สาขาวิชาภูมิส ถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 5 ภาคการศึกษา จานวนหน่วย กิตสะสม 140 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.88 มี ค วามประสงค์ จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) : การออกแบบและวางผังภู มิส ถาปั ตยกรรมปิ งโค้งรี ส อร์ ท แอนด์ส ปา อาเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ 2. หั ว ข้ อ เรื่ อง (ภาษาอั ง กฤษ) : The Landscape Architectural Design and planning of Ping Kong Resort and Spa, Chiang Dao, Chiang Mai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ อาเภอเชียงดาวแหล่งกาเนิ ดน้ าปิ ง แม่น้ าสายสาคัญในภาคเหนื อ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็ นป่ าเขา มี สถานที่ ท่ อ งเที่ ย วหลากหลาย อุ ณ หภู มิ เฉลี่ ย ตลอดปี ประมาณ 25 องศา มี อ ากาศหนาวเย็น ในช่ ว งเดื อ น พฤศจิ ก ายนถึ งกุ ม ภาพัน ธ์ อุ ณ หภู มิ อ ยู่ร ะหว่า ง 10-19 องศา ส่ ว นอุ ณ หภู มิ สู งสุ ด อยู่ในช่ ว งเดื อ นเมษายน ประมาณ 39 องศา เมื่อถึงฤดูหนาวในทุกปี จะมี นกั ท่องเที่ยวนิ ยมไปเที่ยวที่ เทือกเขาดอยหลวงเชี ยงดาว ซึ่ งสู ง เป็ นอันดับ 3 ของประเทศไทย เพื่อดูพระอาทิตย์ข้ ึนในยามเช้า รับลมหนาวและอากาศบริ สุทธิ์ สดชื่ น ชมม่าน หมอกบนเทือกเขาหลวงเชียงดาวสร้างความประทับใจให้ นกั ท่องเที่ยวได้เสมอ ทาให้อาเภอเชียงดาวสามารถ ดึงดูดนักท่องเที่ยวจากหลากหลายที่ท้ งั คนในประเทศและต่างประเทศ โครงการปิ งโค้งรี สอร์ ท เป็ นโครงการจริ ง ที่เกิดจากการลงทุนโดยบริ ษทั เอกชน บนพื้นที่ ขนาดประมาณ 200 ไร่ ที่มีความสวยงามทางธรรมชาติ ของเทือกเขาในเขตอาเภอเชี ยงดาว มีธารน้ าไหลผ่าน นอกจากนี้ ยัง เป็ นแหล่ งน้ า ผุ ด ร้ อ น เหมาะแก่ ก ารพัฒ นาเพื่ อ ให้ บ ริ ก ารสปา จึ งเป็ นจุ ด ริ เริ่ ม ที่ ต้อ งการท า โครงการสปารี สอร์ท และจัดวางภูมิทศั น์เพื่อต้อนรับและรองรับนักท่องเที่ยวจากหลากหลายพื้นที่เข้ามาใช้งาน ในตัวโครงการนี้ตลอดทั้งปี


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นสถานที่ที่ตอ้ นรับและรองรับนักท่องเที่ยวจากหลากหลายที่ ในการ เข้ามาพักผ่อนและให้บริ การสปา 4.1.2 เพื่อการออกแบบและการจัดวางภูมิสถาปั ตยกรรมในพื้นที่ให้สวยงาม และมี พื้นที่ทากิจกรรมร่ วมกันได้ 4.1.3 เพื่ อการออกแบบให้ เกิ ด ประโยชน์ ในการใช้ส อยอย่างคุ ้มค่ าในตัวพื้ น ที่ โครงการ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโครงการประเภทสปารี สอร์ท 4.2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาวิ เคราะห์ ปั ญ หาและข้อ จ ากั ด ของพื้ น ที่ โ ครงการ และน ามา ประยุกต์ใช้ในการออกแบบ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) พื้นที่ โครงการตั้งอยู่ติดกับถนน เชี ยงใหม่ -ฝาง หมายเลข 107 ตัดผ่ านขนานตามแนวยาว เหนื อใต้ ตาบล เมืองงาย อาเภอ เชียงดาว จังหวัด เชี ยงใหม่ เหตุผลในการเลือกพื้นที่โครงการ เนื่ องจากเป็ น โครงการที่จะก่อสร้างและเกิดขึ้นจริ ง แต่ยงั ไม่มีการจัดการออกแบบวางผังของพื้นที่โครงการ จึงเหมาะแก่การ นามาจัดการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ให้สวยงามและโดดเด่นและเป็ นที่ที่นักท่องเที่ยวมาพักผ่อนหรื อ มาเที่ยวชมในตัวโครงการนี้ 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา ขนาดพื้นที่ประมาณ 200 ไร่ ทิศเหนือ ติดกับ สวนสุ ขสบาย ทิศตะวันออก ติดกับ สถานที่ท่องเที่ยว ปางแสนรัก ทิศใต้ ติดกับ วัดพระมหาธาตุปิงโค้ง ทิศตะวันตก ติดกับ แม่น้ าปิ ง


การออกแบบวางผังภูมิทศั น์และการออกแบบรี สอร์ท อาเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 1 แสดงขอบเขตที่พ้นื ที่และถนนบริ เวณโดยรอบพื้นที่โครงการ

ขอบเขตพื้นที่โครงการ ทางหลวงสายเชียงใหม่-ฝาง หมายเลข 107 ทางหลวงสายเชียงใหม่-พร้าว หมายเลข 1150

ที่มา:ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Map( 22มกราคม2565 )

NOT TO SCALE


7. บรรณานุกรม ทรัพย์สิน มะนัยวรรณ. ม.ป.พ. “ข้อมูลทัว่ ไปของอาเภอเชียงดาว” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา : https://chiangdaoinformation.wordpress.com/1-2/ (22 มกราคม2565) จรัสพิมพ์ บุญญานันต์. 2556. “ คู่มือการดาเนินงานวิทยานิพนธ์2556”[ระบบออนไลน์] แห ล่ งที่ ม า : https://issuu.com/tuboonyanant/docs/latheismanual56_foeweb (22 มกราคม2565) โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ ชานนท์ ชะโลธร ( นายชานนท์ ชะโลธร ) 22 / 01 / 2565


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนินงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..


คำร้ องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นายณภัทร อภิสิทธยากร รหัส 6019102511 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วย กิตสะสม 113 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.25 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีราย ละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) การออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโบสถ์คริ สตจักรนอร์ทเทิร์นเกตและ มูลนิ ธิส่งเสริ มคุณภาพชีวิต อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning of The Northern Gate Church and Life Quality Promotion Foundation ,Sansai , Chiangmai Thailand . 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จังหวัดเชี ยงใหม่ ถื อได้ว่าเป็ นเหมื อนเมื องหลวงอีกจังหวัดหนึ่ งในประเทศไทยซึ่ งมีพ้ืนที่ มากถึ ง 20,107,057 ตารางกิ โ ลเมตร และใหญ่ เป็ นอัน ดั บ สองของประเทศ บริ เวณอ าเภอเมื อ งมี ร ะบบ สาธารณู ปโภคและสารณู ปการครบคัน เป็ นจังหวัดที่ มีนักท่องเที่ ยวจากทั้งในและต่างประเทศตลอดทั้งปี มี ประชากรหนาแน่น หลากหลาย ทั้งชนเผ่าและชาวต่างชาติ รวมถึงมีพ้นื ที่เหลือสาหรับขยายและพัฒนาผังเมือง ต่อไปในอนาคต และนัน่ อาจส่ งผลให้เชียงใหม่ในอนาคตกลายเป็ นเมืองหลวงลาดับถัดไปต่อจากกรุ งเทพ และ ส่ งผลให้มีประชากรมากที่สุดในประเทศตามมา อาจมีท้ งั ข้อดีและปั ญหาความขัดแย้งจากผูค้ นที่หลากหลาย มากขึ้น ลองจาแนกประเภทปั ญหาอันเป็ นพื้นฐานที่ถูกมองข้ามที่เกิดขึ้นกับผูค้ นในปั จจุบนั มีท้ งั ปัญหาว่างงาน ตกงาน ไม่มีวุฒิการศึกษา ปั ญหาครอบครัว ไม่มีเงิน ฯลฯ ร้ายแรงที่สุดของปั ญหาชี วิตเหล่านี้ อาจเกิดขึ้นกับ เยาวชน ซึ่ งเป็ นอนาคตและกาลังหลักของชาติ กลุ่มคนเหล่านี้ ควรได้รับการดูแลและให้ความสนใจเช่ นกัน เพื่อให้เกิดบุคลากรที่มีคุณภาพอย่างทัว่ ถึงมากขึ้นแก่สังคมและโลกกว้าง จึงมีแนวความคิดว่า ควรมีมูลนิ ธิที่ คอยสนับสนุนกลุ่มคนเหล่านี้ เป็ นมูลนิ ธิจากกลุ่มคนบางกลุ่มหรื อสมาคม ที่มีหวั ใจแห่ งการให้และกาลังทรัพย์ มากพอ นั่นคือสมาคมคริ สเตียน ซึ่ งได้รับการสนับสนุ นจากต่างชาติ ที่สาคัญของศาสนาคริ สต์ยงั มีหลักการ สอนที่มุ่งเน้นถึงเรื่ องความรักที่มีต่อเพื่อนมนุ ษย์ เป็ นสมาคมที่รวมเอากลุ่มคนที่มีหัวใจแห่ งการให้มาส่ งเสริ ม


ซึ่งกันและกัน มีการให้ความสาคัญกับกลุ่มเยาวชนเป็ นหลัก อีกทั้งประชากรคริ สเตียนยังมีจานวนมากที่สุดใน โลกอีกด้วย ทาให้อาจมีการเข้ามาของชาวต่างชาติมากขึ้นและเกิดการเติบโตของชุมชนบริ เวณนั้นในความเชื่อ รู ปแบบใหม่ เพื่อให้เกิดผลตามแบบอย่างที่ดีต่อไปอย่างยัง่ ยืน โบสถ์คริ สตจักรประตูเมืองเชียงใหม่มีแผนที่จะก่อสร้างโบสถ์คริ สตจักรสาขาย่อย ในเขตอาเภอสัน ทราย บนเนื้อที่ประมาณ 285 ไร่ เพื่อสนับสนุนแนวคิดดังกล่าว ด้วยเหตุน้ ี จึงเสนอโครงการออกแบบวางผังภูมิ สถาปัตยกรรมโบสถ์คริ สตจักรนอร์ทเทิร์นเกตและมูลนิธิส่งเสริ มคุณภาพชีวิต เพื่อประโยชน์ต่อสังคมสื บไป 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพือ่ การชี้นาสิ่ งยึดเหนี่ยวทางจิตใจหรื อการเผยแพร่ ศาสนา 4.1.2 เพื่อแก้ปัญหาความบกพร่ องด้านคุณภาพชีวิตของประชากร 4.1.3 เพื่อเป็ นพื้นที่รองรับกิจกรรมเชิงการบาบัดและการส่ งเสริ มอาชีพ 4.1.4 เพื่อส่ งเสริ มการเป็ นแหล่งท่องเที่ยวและเชิงเศรษฐกิจของพื้นที่ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึ กษาแนวทางการออกแบบวางผังภู มิส ถาปั ตยกรรมของศาสนสถาน และมูลนิธิ 4.2.2 เพื่อศึกษาแนวทางแก้ไขปั ญหาด้านความขาดแคลนทรัพยากรในการดาเนิ น ชีวิตของผูค้ น 4.2.3 เพื่อการศึกษาตีความข้อมูลจากศาสนาคริ สต์สู่การดาเนินชีวิตแบบคริ สเตียน

5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) พื้นที่ต้ งั โครงการตั้งอยู่ติดกับถนนสาย121 ตัดผ่านถนนสาย 118 ตาบลสันพระเนตร อาเภอ สันทราย จังหวัดเชี ยงใหม่ มี พ้ืนที่ประมาณ 456,394 ตารางเมตรหรื อ 285.24 ไร่ มีลกั ษณะพื้นที่เป็ นที่ ราบสี เขียวและทุ่งนา มีโบสถ์คริ สเตียนตั้งติดกับพื้นที่และบริ เวณรอบๆของพื้นที่ถึง 4 คริ สตจักร ส่ วนทางทิศใต้มี มูลนิ ธิบ้านพรสรรค์ต้ งั ติดอยู่กบั พื้นที่ ที่แห่ งนี้ จะเป็ นสถานที่รองรับกิจกรรมขนาดใหญ่ของชาวคริ สเตียนที่ อาศัยอยูใ่ นย่านนี้ ซึ่งปัจจุบนั ยังไม่มี


การออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโบสถ์คริ สตจักรนอร์ทเทิร์นเกตและมูลนิธิส่งเสริ มคุณภาพชีวิต อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 1 แสดงขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Pro, 2565 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่โครงการประมาณ 285.24 ไร่ ทิศเหนือ ติดกับ คริ สตจักรลาหู่แบ๊บติสท์เชียงใหม่ ทิศตะวันออก ติดกับ ถนนสายหลัก 121 ทิศใต้ ติดกับ มูลนิธิบา้ นพรสวรรค์ ทิศตะวันตก ติดกับ วัดพระเจดีย ์ หมู่ 5 บ้านใหม่สามัคคี

NOT TO SCALE


การออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโบสถ์คริ สตจักรนอร์ทเทิร์นเกตและมูลนิธิส่งเสริ มคุณภาพชีวิต อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 2 แสดงขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Pro, 2565

NOT TO SCALE

7. บรรณานุกรม มูลนิ ธิเพื่อความเข้าใจเด็ก. ม.ป.พ. “โครงการและกิจกรรม”. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา https://www.focusthailand.org/th/project.php (20 ธันวาคม 2564) โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนิ นงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..


คำร้ องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว ฐิติภา โกสลากร รหัส 6019102531 นักศึกษาชั้นปี ที่ 5 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 9 ภาคการศึกษา จานวนหน่วย กิตสะสม 153 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.44 มี ค วามประสงค์ จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบั ณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) : การออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมบ้านกองฟางผูพ้ นั เพื่อการศึกษา เรี ยนรู ้ดา้ นการเกษตรและการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ อ. เมืองอุตรดิตถ์ จ. อุตรดิตถ์ 2. หั วข้อ เรื่ อ ง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning of the Colonel’s Ban Gong Fang For Learning and Agricultural Tourism, Mueaug Uttaradit, Uttaradit 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จากการศึกษาค้นคว้าพบว่า ตาบลงิ้วงาม จังหวัดอุตรดิตถ์ เป็ นพื้นที่ชนบทที่เงียบสงบ และ เป็ นตาบลที่มีเส้นทางคมนาคมหลักเชื่อมไปสู่ แขวงไชยบุรี ประเทศลาว โดยผ่านจุดผ่านพรมแดนถาวรภูดู่ โดย ตาบลงิ้วงามมี ระยะห่ างจากตัวเมื องอุตรดิตถ์เพียง 9 กิ โลเมตร ซึ่ งอาณาเขตของตาบลติ ดต่อกับตาบลต่าง ๆ ภายในจังหวัดอุตรดิตถ์ ที่มีเอกลักษณ์ ทางวัฒนธรรมอย่างชัดเจน พื้นที่ ส่วนใหญ่เป็ นพื้นที่เกษตรกรรมและ ชุมชนพักอาศัย แต่ยงั ไม่มีการพัฒนาในเรื่ องของการท่องเที่ยวด้านการเกษตรรู ปแบบใหม่และการท่องเที่ยวเชิง อนุ รักษ์ เนื่ องจากเจ้าของโครงการเล็งเห็ นถึงศักยภาพ จุดเด่ นและจุดที่ มีความน่ าสนใจของพื้นที่ ทาให้เกิ ด แนวคิดในการทาธุ รกิ จส่ วนตัวบนพื้ นที่ น้ ี โดยเป็ นธุ รกิ จที่ เกี่ ยวข้องกับการบริ หาร ควบคู่กับ การให้ความรู ้ ทางด้านการเกษตร จึงเกิดเป็ นโครงการ “บ้านกองฟางผูพ้ นั ” เพื่อการเรี ยนรู ้ดา้ นการเกษตรและการท่องเที่ยว เชิ งอนุ รักษ์ ซึ่ งแนวทางการออกแบบและบริ หารตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ใช้การเชื่ อมโยงระหว่าง การทาธุ รกิ จเข้ากับการเกษตร โดยสร้างผลกระทบ หรื อมลพิษต่ อธรรมชาติ น้อ ยที่ สุดและอีกทั้งยังต้องการ แก้ไขปั ญหาอื่น ๆของพื้นที่ เพื่อให้ธรรมชาติของพื้นที่คงความอุดมสมบูรณ์ และผูบ้ ริ โภคได้รักและสัมผัสกับ ธรรมชาติอย่างใกล้ชิด พร้อมสร้างความโดดเด่นให้แก่ชุมชน และเพื่อให้เป็ นข้อได้เปรี ยบทางการแข่งขันทาง ธุรกิจจากโรงงานทาฟางอื่น ๆ


เจ้าของโครงการนี้ คือ พันตารวจโทสุ ทศั เลิศรัตน์พฒั นา มีความประสงค์ที่จะสร้างโครงการ บ้านกองฟางผูพ้ นั เพื่อการพักผ่อน การเสริ มสร้ างเศรษฐกิจของคนในชุ มชน การเรี ยนรู ้และให้ความรู ้ด้าน การเกษตรเชิงอนุรักษ์ และการพัฒนาธุรกิจในอนาคต ทั้งนี้ ทางเจ้าของโครงการมีแนวความคิดที่จะดาเนิ นตาม หลักเศรษฐกิจพอเพียงและประยุกต์ให้เข้ากับแนวทางใหม่ๆเช่น “โคก หนอง นา โมเดล” เพื่อฟื้ นฟูเศรษฐกิจ พัฒนาสิ่ งแวดล้อมในชุมชน และการทาเกษตรอินทรี ยอ์ ย่างยัง่ ยืน ซึ่ งมีแนวคิดที่จะพัฒนาออกมาในรู ปแบบกึ่ง ฟาร์มสเตย์ โดยมีพ้นื ที่ประมาณ 60 ไร่ ตั้งอยู่ที่ บ้านปากฝาง ตาบลงิ้วงาม อาเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ บนพื้นที่การเกตรติดกับธรรมชาติและอยูใ่ กล้เคียงกับแหล่งท่องเที่ยวอื่น ๆ พื้นที่แห่ งนี้ จะเป็ นแหล่งท่องเที่ยวด้านการเกษตรเชิงอนุรักษ์เพื่อศึกษาเรี ยนรู ้การเกษตรและ นันทนาการ เพื่อรองรับนักท่องเที่ ยว กระตุ้นเศรษฐกิจในจังหวัดอุตรดิตถ์และเป็ นต้นแบบให้คนในชุ มชน โดยรอบ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อพัฒนาเป็ นแหล่งท่องเที่ยวและสร้างรายได้ให้กบั เจ้าของโครงการ 4.1.2 เพื่อเป็ นธุรกิจต้นแบบให้กบั ชุมชนในพื้นที่ในการจัดสรรทรัพยากรให้เกิด ประโยชน์สูงสุ ดและสนับสนุนให้ชุมชนเป็ นแหล่งท่องเที่ยวใหม่ 4.1.3 เพื่อเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ทางเกษตร โดยประยุกต์ทฤษฎีตามแนวพระราชดาริ และส่ งเสริ มการท่องเที่ยว 4.1.4 เพื่อรองรับการเจริ ญทางเศรษฐกิจในอนาคต 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการออกแบบและวางผังโครงการเพื่อการท่องเที่ยวในอนาคต 4.2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาการประยุ ก ต์แ ละจัด การพื้ น ที่ ท างการเกษตรทฤษฎี ต ามแนว พระราชดาริ ตามแนวพระราชดาริ และแบบ โคก หนอง นา โมเดล 4.2.3 เพื่อศึกษาความร่ วมมือระหว่างเจ้าของโครงการกับคนในพื้นที่ชุมชน และ นักท่องเที่ยวโดยมีแหล่งท่องเที่ยวแห่ งใหม่เป็ นตัวชี้วดั 4.2.4 เพื่อศึกษาการจัดสรรทรัพยากรและการบริ หารธุรกิจ 4.2.5 เพื่อศึกษาคุณสมบัติและประโยชน์ของฟางในการนาไปใช้ประโยชน์อย่างมี คุณค่าสูงสุ ด 4.2.6 เพื่อศึกษาการแก้ไขปัญหาการเผาไหม้พ้นื ที่นาหลังการเก็บเกี่ยว


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ ตั้งอยู่ที่บ้านปากฝาง ตาบลงิ้วงาม อาเภอเมื องอุตรดิ ตถ์ จังหวัดอุตรดิ ตถ์ มี เนื้ อ ที่ โดยประมาณ 60 ไร่ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 เป็ นพื้นที่ติดต่อกับอาเภอท่าปลาและอาเภอทองแสนขัน ซึ่ งเป็ นเส้นทางน้ า ไปสู่ประเทศลาว 5.2.2 ที่ต้ งั โครงการเป็ นพื้นที่จริ ง ซึ่งเจ้าของโครงการต้องการพัฒนาในอนาคต 5.2.3 เป็ นพื้นค่อนข้างมีความเป็ นชุมชนชนบท ส่ งผลให้มีทรัพยากรทางด้านการ เกษตรกรรมจานวนมาก 5.2.4 พื้ น ที่ มี ศ ัก ยภาพในการพัฒ นาทางด้า นการเกษตรและพัฒ นาพื้ น ที่ ท าง เศรษฐกิจรู ปแบบใหม่

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมบ้านกองฟางผูพ้ นั เพื่อการเรี ยนรู ้และ การท่องเที่ยวการเกษตรเชิงอนุรักษ์ ต.งิว้ งาม อ.เมืองอุตรดิตถ์ จ.อุตรดิตถ์ แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั โครงการและขอบเขตของโครงการ ที่มา : ดัดแปลงมาจาก Google Earth (9 ธันวาคม 2564 ) สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่ต้ งั โครงการ


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมบ้านกองฟางผูพ้ นั เพื่อการเรี ยนรู ้และการท่องเที่ยวการเกษตร เชิงอนุรักษ์ ต.งิว้ งาม อ.เมืองอุตรดิตถ์ จ.อุตรดิตถ์ แผนที่ 2 แสดงที่ ต้ ังโครงการ ขอบเขตของโครงการและ เส้นทางการสัญจรบริ เวณใกล้เคียงพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงมาจาก Google Earth ( 9 ธันวาคม 2564 ) สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่ต้ งั โครงการ ถนนหมายเลข 1045 ถนนเส้นทางรอง ถนนเส้นทางรอง (ทางดินลุกรัง)

6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่โครงการมีขนาด 60 ไร่ โครงการตั้งอยูท่ ี่ ตาบลงิ้วงาม อ. เมืองอุตรดิตถ์ จ. อุตรดิตถ์ ทิศเหนือ ติดต่อกับ พื้นที่ทางการเกษตร ทิศใต้ ติดต่อกับ ถนนสาธารณะหมายเลข 1045 ทิศตะวันออก ติดต่อกับ พื้นที่ทางการเกษตรและบ้านของประชาชน ทิศตะวันตก ติดต่อกับ พื้นที่ทางการเกษตรและบ้านของประชาชน


7. บรรณานุกรม จรัสพิ มพ์ บุญญานันต์. 2556. “คู่มือการดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ 2556”.[ระบบออนไลน์ ] แห ล่ งที่ ม า https://issuu.com/tuboonyanant/docs/latheismanual56_ foeweb (12 ธันวาคน 2564) จรั สพิ มพ์ บุญญานันต์. 2563. “รวมหัวข้อวิทยานิ พนธ์ ระดับปริ ญญาภูมิ สถาปั ตยกรรม ศาสตรบัณ ฑิ ต มหาวิท ยาลัย แม่ โ จ้ พ.ศ. 2563. ”.[ระบบออนไลน์ ] แหล่ งที่ ม า https://issuu.com/tuboonyanant/docs/thesis_topic_all_2563 (12.ธันวาคน 2564) จรั สพิ มพ์ บุญญานันต์. 2563. “รวมหัวข้อวิทยานิ พนธ์ ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรม ศาสตรบัณ ฑิ ต มหาวิท ยาลัย แม่ โ จ้ พ.ศ. 2564. ”.[ระบบออนไลน์ ] แหล่ งที่ ม า https://issuu.com/tuboonyanant/docs/all_topic_2564?fbclid=IwAR2S2snoo1_1Iz oZC_4i2gCot6A43Xie2pR1QNejHHMLlfyCJ6PQMFMjBgI (12.ธันวาคน 2564) วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี . 2564. “จังหวัดอุตรดิตถ์”. (2564). [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา https://th.wikipedia.org/wiki/จังหวัดอุตรดิตถ์ (16.ธันวาคม 2564) วิ กิ พี เดี ย ส าร านุ ก ร ม เส รี . “ ห มู่ บ้ าน งิ้ ว งาม ”. [ร ะ บ บ อ อ น ไ ล น์ ] แ ห ล่ งที่ ม า https://th.wikipedia.org/wiki/หมู่บา้ นงิว้ งาม (16.ธันวาคม 2564) โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………….. ( นางสาวฐิติภา โกสลากร ) 23 / 12 / 2564


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนินงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..


คำร้ องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว จิ ราภา ดวงดี รหัส 6119102502 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วย กิตสะสม 131 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.79 มี ค วามประสงค์ จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) การออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมย่านตลาดโรงเกลือ อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architecture Design and Improvement of Rong Kluea Market District, Aranyaprathet, Sa Kaeo 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ตลาดโรงเกลื อเป็ นย่านการค้าชายแดนไทย-กัม พู ช า ที่ ถือเป็ นตลาดการค้าชายแดนภาค ตะวันออกที่มีขนาดใหญ่ที่สุด เป็ นแหล่งซื้ อขายสิ นค้ามือสองทั้งปลีกและส่ ง ที่มีชื่อเสี ยงมานาน และจังหวัดมี แผนพัฒนาพื้นที่ เศรษฐกิจพิเศษกับอาเภอที่ อยู่รอบๆ จึงเล็งเห็นว่า ย่านตลาดโรงเกลือสามารถพัฒนาให้เป็ น ศูนย์กลางการค้าขนาดใหญ่ให้มีความน่าเชื่อถือน่าลงทุนได้ แต่ภาพลักษณ์ของพื้นที่โครงการกลับไม่ดึงดูดให้ นักท่องเที่ยวเข้ามาใช้บริ การทาให้มีภาพจาว่ าย่านตลาดโรงเกลือเป็ นสถานที่ที่ไม่สะอาด ไม่เป็ นระเบียบและ ร้อน ไม่สะดวกสบายต่อการจับจ่ายสิ นค้า ย่านตลาดโรงเกลือมีที่ให้ร้านค้าเช่าได้ถึง 3,000ร้าน อาคารแต่ละหลังถูกพัฒนาในช่วงเวลา ต่างกัน มีอาคารบางส่ วนที่มีสภาพทรุ ดโทรม ทางเดินไม่มีหลังคาปกคลุมให้เรี ยบร้อยทาให้การเดินเลือกซื้ อ สิ นค้าไม่สะดวกสบายและไม่สวยงาม มีจุดอับลับสายตาค่อนข้างมาก มีปัญหาเรื่ องความสะอาดและการจัดการ ขยะ ร้านอาหารมีไม่ทวั่ ถึงและสังเกตยาก ภาพลักษณ์เรื่ องการค้าขายสิ นค้าละเมิดลิขสิ ทธิ์ ผูม้ าใช้บริ การส่ วน ใหญ่เป็ นพ่อค้าแม่คา้ ที่มารับซื้ อสิ นค้ากระสอบ ไม่มีผใู ้ ช้บริ การที่หลากหลาย การวางผังพื้นที่ขาดโซนบริ การ สาหรับผูใ้ ช้ ทั้งพ่อค้าแม่คา้ และผูม้ าซื้อสิ นค้า พื้นที่ร้อน ไม่น่าเดิน โครงการนี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อปรับปรุ งให้ตลาดโรงเกลือเป็ นศูนย์กลางการค้าขนาดใหญ่ที่มี ความน่ าเชื่ อถือน่ าลงทุน ดึงดูดนักท่องเที่ยวและผูใ้ ช้บริ การให้มีความหลากหลายมากขึ้น สามารถรองรับการ เปลี่ยนแปลงทางเศษฐกิจซึ่งเชื่องโยงกับแผนพัฒนาพื้นที่เศษฐกิจพิเศษ


จากเหตุผลและความเป็ นมาที่กล่าวมา โครงการนี้จะยกระดับและสร้างมูลค่าให้กบั ย่านตลาด โรงเกลือได้ ซึ่งอาจเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวแห่งใหม่ให้กบั จังหวัดสระแก้ว ส่ งผลให้มีนกั ลงทุนเข้ามามากขึ้น เกิด การพัฒนาไปยังพื้นที่โดยรอบ แก้ภาพลักษณ์ให้มีความทันสมัย สะอาด น่าเดิน มีร้านอาหารหรื อพื้นที่บริ การ ชัดเจน สะดวกต่อการจับจ่ายสิ นค้า มีความปลอดภัย 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อยกระดับย่านตลาดโรงเกลือให้เป็ นศูนย์กลางการค้าขนาดใหญ่ให้มีความ น่าเชื่อถือน่าลงทุน 4.1.2 เพื่อปรับปรุ งย่านตลาดโรงเกลือให้มีการใช้ประโยชน์ที่ ดินอย่างสู งสุ ดและ รองรับการค้าขายหลากหลายรู ปแบบสาหรับพ่อค้า-แม่คา้ ชาวไทยและกัมพูชา 4.1.3 เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวและผูใ้ ช้บริ การให้มีความหลากหลายมากขึ้น 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมและการพัฒนาย่านตลาดโรงเกลือ ให้เป็ นศูนย์กลางการค้าขนาดใหญ่ให้มีความทันสมัย เหมาะสมกับการใช้ประโยชน์ และมีความน่าเชื่อถือ น่าลงทุน 4.2.2 เพื่อศึกษาพฤติกรรมและข้อมูลของคนในพื้นที่ที่มีบทบาทต่อการค้าและการ ผลิตในย่านตลาดโรงเกลือ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ โครงการตั้งอยู่ที่ ย่า นตลาดโรงเกลื อ อ.อรั ญ ประเทศ จ.สระแก้ว เหตุ ผ ลที่ เลื อ กสถานที่ ต้ ัง โครงการนี้ เนื่ องจาก พื้นที่โครงการเป็ นสถานที่ต้ งั ของย่านตลาดการค้าชายแดนภาคตะวันออกที่ สาคัญและมี ขนาดใหญ่ รองรับการใช้งานของพ่อค้า-แม่คา้ และผูม้ าซื้อสิ นค้าทั้งชาวไทยและกัมพูชาจานวนมาก แต่พบว่ามี ปัญหาความเสื่ อมโทรมในหลาย ๆ ด้าน 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมย่านตลาดโรงเกลือ อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว มีเนื้อที่ประมาณ 140 ไร่ ทิศเหนือ ติดตลาดรัตนธรรม ทิศตะวันออก ติดแม่น้ าเขตชายแดน ไทย-กัมพูชา ทิศตะวันตก ติดถนนหมายเลข 3446 และชุมชน ทิศใต้ ติดคลองพรมโหด


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมย่านตลาดโรงเกลือ อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว แผนที่ 1 แสดงขอบเขตและที่ต้ งั โครงการ ที่มา: ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศ กรมที่ดิน ระบบค้นหารู ปแปลงที่ดิน สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมย่านตลาดโรงเกลือ อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว แผนที่ 2 แสดงขอบเขตและที่ต้ งั โครงการ ที่มา: ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศ กรมที่ดิน ระบบค้นหารู ปแปลงที่ดิน สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ถนนหมายเลข 3446 ถนนทางหลวงชนบท 2089 ถนนหมายเลข 3366 ถนนสุ วรรณศร ทางรถไฟ


7. บรรณานุกรม จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ 2556. “คู่มือดาเนินงานวิทยานิพนธ์ 2556”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://issuu.com/tuboonyanant/docs/latheismanual56_foeweb (24 ธันวาคม 2564) กองยุทธศาสตร์และงบประมาณ. 2564. “แผนพัฒนาท้องถิ่นเทศบาลเมืองอรัญประเทศ (2566-2570)”. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://www.arancity.go.th/ select_news.php?news_id=859&fbclid=IwAR2uiVp1yEiy9NlI7xc8LwC2IEMp1 zHgEaimWk2z3ekXoWwZsY8UdJESzkk (23 ธันวาคม 2564) สานักงานจังหวัดสระแก้ว. 2559. “แผนพัฒนาจังหวัดสระแก้ว (พ.ศ.2561-2564)W. [ระบบ ออนไลน์] แหล่งที่มา http://sakaeo.go.th/oldwebsakaeo/news/news_file/ 103Oct20161475466688232599plan%204%20(2561-2564).pdf (23 ธันวาคม 2564) โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..


คำร้ องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย ชนะศักดิ์ อภิ ชาติ รหัส 6119102503 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภู มิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วย กิตสะสม 131 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.94 มี ค วามประสงค์ จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) : การออกแบบและปรั บปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมสนามกีฬาประจาจังหวัด สมุทรปราการ อ. บางพลี จ. สมุทรปราการ 2. หั ว ข้ อ เรื่ อง (ภาษาอั ง กฤษ) : The Landscape Architecture Design and Planning of The Samut Prakan Provincial Stadium, Bang Phli, Samut Prakan 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จังหวัดสมุทรปราการยังไม่มีสนามกี ฬ าประจาจังหวัดที่ ได้มาตรฐาน สามารถรองรั บการ แข่งขันกีฬาได้และผูเ้ ข้าชมได้เป็ นจานวนมาก ที่สาคัญต้องสามารถจัดการแข่งขันได้หลายประเภท ทั้งระดับ ท้องถิ่ น ระดับจังหวัด และระดับประเทศ ด้วยเหตุผลนี้ เองทาให้ องค์การบริ หารส่ วนจังหวัดสมุทรปราการ (อบจ.) มีโครงการที่จะปรับปรุ งที่ดินราชพัสดุ กรมธนารักษ์ จานวน 150 ไร่ ตาบลบางปลา อาเภอบางพลี ให้ เป็ นสนามกีฬาประจาจังหวัด ซึ่ งที่ผ่านมา อบจ.ได้มอบที่ดินส่ วนหนึ่ งให้สานักงานการกีฬาแห่ งประเทศไทย (กกท.) จังหวัดสมุทรปราการ ก่อสร้างสานักงาน สนามฟุตบอลและสระว่ายน้ า พร้อมกับอนุ มตั ิงบประมาณ เพื่อถมดินและปรับพื้นที่พร้อมคันกั้นน้ า เตรี ยมรองรับการก่อสร้างสนามและอาคารในอนาคตเอาไว้เรี ยบร้อย แล้ว ล่าสุ ดปี งบประมาณ 2562 อบจ.สมุทรปราการได้อนุมตั ิงบประมาณ จานวน 620 ล้านบาท เพื่อสร้างศูนย์ กีฬาประจาจังหวัดเฟสแรก ได้แก่ก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์สูง 2 ชั้น อาคารสโมสร อาคารเก็บของ ห้องน้ า ลานจอดรถ รั้ว ระบบบาบัดน้ าเสี ย สนามกีฬากลางแจ้ง ระบบไฟฟ้ า ปรับภูมิทศั น์ และอื่น ๆ หลังจากนั้นจะ ทยอยก่ อสร้างเฟสต่อ ๆ ไป จนกว่าจะเต็มโครงการในปี งบประมาณถัดไป โดยมี เป้ าหมายเพื่ อทาให้พ้ื นที่ บริ เวณดังกล่าวเป็ นศูนย์กีฬาประจาจัง หวัดที่ได้มาตรฐาน สามารถจุผเู ้ ข้าชมได้ถึง 35,000 คน เพื่อรองรับการ แข่งขันระดับชาติได้


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่ อออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมสนามกี ฬาจังหวัดสมุทรปราการให้ รองรับและใช้งานได้กบั ประชาชนทัว่ ไปและสามารถจัดแข่งขันกีฬาต่าง ๆ ระดับท้องถิ่น 4.1.2 เพื่อพัฒนาสนามกีฬาให้ได้มาตราฐานในจังหวัดสมุทรปราการให้กบั ชุมชน 4.1.3 เพื่อพัฒนาพื้นที้ให้รองรับหลายกิจกรรมและส่ งเสริ มทางด้านการกีฬาให้กบั ชุมชนและเป็ นที่พบปะพูดคุยกัน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการวางผังพื้นที่และออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมของของสนามกีฬา ประจาจังหวัดสมุทรปราการ 4.2.2 เพื่อศึกษาองค์ประกอบและปั จจัยที่มีผลกระทบต่อวิถีชุมชนและการพัฒนา ชุมชน 4.2.3 เพื่อศึกษาการออกแบบและปรับปรุ งพื้นที่ และศึกษาแนวทางการแก้ปัญหา 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ โครงการตั้งอยู่ติ ด กับ สถาบัน การแพทย์จัก รี น ฤบดิ น ทร์ ถนนเลี ย บคลองส่ งน้ า สุ วรรณภูมิ ตาบลบางปลา อาเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ มีพ้นื ที่ท้ งั หมดประมาณ 150 ไร่ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 พื้ น ที่ ดั ง กล่ า วเป็ นพื้ น ส าคัญ และเป็ นพื้ น ที่ มี แ ผนการพั ฒ นาตามแผน สานักงานการกีฬาแห่ งประเทศไทยก่อสร้างเฟสต่อ ๆ ไป จนกว่าจะเต็มโครงการในปี งบประมาณถัดไป โดยมี เป้ าหมายเพื่อทาให้พ้นื ที่บริ เวณดังกล่าวเป็ นศูนย์กีฬาประจาจังหวัดที่ได้มาตรฐาน 5.2.2 พื้นที่ดงั กล่าวเป็ นพื้นที่ตอบสนองการใช้ประโยชน์พ้ืนที่ได้สูงสุ ด ทั้งการทา กิจกรรม




6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่โครงการตั้งอยู่ในเขต ถนนเลียบคลองส่ งน้ าสุ วรรณภูมิ ตาบลบางปลา อาเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ มีพ้นื ที่ท้ งั หมดประมาณ 150 ไร่ โดยมีอาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ชุมชนและพื้นที่เกษตร ทิศใต้ ติดต่อกับ สถานีอุตุนิยมวิทยาสมุทรปราการ(บางปลา) ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ถนน สป.1011และสถาบันการแพทย์จกั กรี นฤบดินทร์ ทิศตะวันตก ติดต่อกับ โรงเรี ยนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีสมุทรปราการ 7. บรรณานุกรม สโมสรฟุตบอลจังหวัดสมุทรปราการ. “สนามกีฬาประจาจังหวัดสมุทรปราการ งบประมาณ 1,153 ล้ า นบาท” [ระบบออนไลน์ ] แหล่ ง ที่ http://www.samutprakanfc.com/ news/82 (23 มกราคม 2565) ส านัก ข่ าว THAITIME. “เปิ ดแผนปรั บ ปรุ งที่ ดิ น 150 ไร่ สร้ างสนามกี ฬ าประจาจังหวัด สมุทรปราการ”[ระบบออนไลน์ ] แหล่งที่ มา https://www.bang-luang.go.th/home (23 มกราคม 2565) จรัสพิ มพ์ บุญญานันต์. 2556. “คู่มือการดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ 2556”. [ระบบออนไลน์ ] แ ห ล่ งที่ ม า https://issuu.com/tuboonyanant/docs/latheismanual5 6 _foeweb (2 3 ธันวาคม 2564) โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนินงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..


คำร้ องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว ณัฐริ นทร์ ทะสุ ยะ รหัส 6119102504 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิต สะสม 128 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.67 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) : การออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ าราชมงคล ตรัง อ. สิ เกา จ. ตรัง 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) : The Landscape Architecture Design and Improvement of Rajamangala Aquarium Trang, Sikao, Trang 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ าราชมงคลตรัง ตั้งอยู่ใน เขตพื้นที่ 179 หมู่ 3 ตาบล ไม้ฝาด อาเภอ สิ เกา จังหวัด ตรัง ครอบคลุมเนื้ อที่ท้ งั หมด 187 ไร่ อยู่ในความดูแล ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั วิทยาเขตตรัง พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ าราชมงคลตรัง มีวตั ถุประสงค์ เพื่อเป็ นแหล่งจัดการเรี ยนการสอนให้กบั นักศึกษาด้านประมง และเป็ นแหล่งบริ การความรู ้เกี่ ยวกับสัตว์น้ า ให้กบั ประชาชนทัว่ ไป พิพิธภัณฑ์แบ่งส่ วนจัดแสดงเป็ น 3 ส่ วน หลัก ประกอบด้วย - นิ ทรรศการและตูแ้ สดงสัตว์น้ า จานวน 70 ตู้ มีขนาดตั้งแต่ 1-50 ลูกบาศก์เมตร มีพนั ธุ์สัตว์ น้ าจืด สัตว์น้ าเค็ม ทั้งสายพันธุ์ในและต่างประเทศกว่า 300 ชนิด - ส่ วนจัดแสดงความสามารถสัตว์ จัดแสดงและศึกษาชีววิทยาของแมวน้ าและนาก เพื่อศึกษา ศักยภาพในการฝึ กสอนและแสดง ซึ่งเป็ นแมวน้ าจากแอฟริ กาใต้ มีท้ งั หมด 5 ตัว - ส่ วนจัดแสดงพันธุ์สัตว์ป่า โดยมีสัตว์ป่าท้องถิ่นที่ใกล้สูญพันธุ์ จัดเลี้ยงไว้เพื่อการศึกษาทาง ชีววิทยาและการเพาะพันธุ์ รวมถึงเพื่อการอนุรักษ์สัตว์ทอ้ งถิ่นของภาคใต้ นอกจากนี้ ทางพิพิธภัณฑ์ยงั จัดทาค่ายกิจกรรมต่างๆสาหรับนักเรี ยนนักศึกษา เช่ น การเดิน ศึกษาทรัพยากรธรรมชาติป่าชายเลน ดาน้ า พายเรื อแคนู หรื อฝึ กอบรมเรื่ องต่าง ๆ


เมื่อวันที่ 16 พ.ย. ที่ผา่ นมาได้มีการประชุมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมกลุ่มจังหวัดภาคใต้ ฝั่งอันดามัน ซึ่ งว่าด้วยเรื่ องเห็ นชอบโครงการพัฒนาศูนย์เรี ยนรู ้ อนุ รัก ษ์ ฟื้ นฟู พะยูนและสัตว์ทะเลหายาก จ.ตรัง โดยจะเป็ นโครงการที่ปรับปรุ งสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ าตรัง (Trang Aquarium) ซึ่งเป็ นสถานที่ท่องเที่ยว และศูนย์เรี ยนรู ้เชิ งอนุ รักษ์ที่สาคัญของจังหวัด และยังเป็ นสถานที่ช่วยเหลือ รักษา พยาบาลสั ตว์ทะเลหายาก เช่น พะยูน และเต่าทะเล เป็ นต้น ให้มีความทันสมัย เพื่อเตรี ยมรองรับท่องเที่ยวหลังโควิด -19 เบาบางลง ซึ่งจะ เป็ นการช่วยฟื้ นฟูเศรษฐกิจท่องเที่ยวของ จ.ตรัง ซึ่ งจากการสารวจพื้นที่พบว่า อาคาร มีสภาพเสื่ อมโทรม เนื่ องจากก่อสร้างมานานกว่า 20 ปี สภาพแวดล้อมโดยรวมไม่ดึงดูดและเชิ ญชวนให้นักท่องเที่ยวเข้าไปใช้งานแต่พ้ืนที่น้ ี มีศกั ยภาพมากพอที่ จะ พัฒนาให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่เป็ นมาตรฐานระดับนานาชาติได้ ด้วยเหตุผลที่กล่าวมาข้างต้น จึงเป็ นเหตุผล และที่มาของโครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ าราชมงคลตรัง 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นแหล่งศึกษาและเรี ยนรู ้แหล่งนิเวศสัตว์น้ าทางทะเล 4.1.2 เพื่อส่ งเสริ มการดูแล รักษา สัตว์น้ าทางทะเลทั้งหายากและทัว่ ไป 4.1.3 เพื่อเป็ นศูนย์พฒั นาเรี ยนรู ้ อนุรักษ์ ฟื้ นฟู พะยูนและสัตว์ทะเลหายาก 4.1.4 เพื่อปรับปรุ งภูมิทศั น์ให้เข้ากับพื้นที่ในแต่ละโซน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึ กษาและออกแบบปรั บปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมพิ พิธภัณ ฑ์สั ตว์น้ าราช มงคล ให้มีความน่าสนใจ และดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เข้ามาใช้งาน 4.2.2 เพื่ อศึ กษาและออกแบบการวางผังทางภู มิสถาปั ตยกรรม ให้เหมาะสมกับ พื้นที่ติดริ มทะเล 4.2.3 เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ศกั ยภาพของพื้นที่ที่ส่งผลต่อโครงการ 4.2.4 เพื่อศึกษาขั้นตอนของการดาเนินงาน ของพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ าราชมงคล 4.2.5 เพื่อศึกษาแนวทางในการอนุ รักษ์ ฟื้ นฟู พะยูนและสัตว์ทะเลหายาก เพื่อนา ข้อมูลมาประยุกต์ใช้ในการออกแบบปรับปรุ งพื้นที่โครงการ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั วิทยาเขตตรัง เลขที่ 179 หมู่ 3 ตาบลไม้ ฝาด อาเภอสิ เกา จังหวัดตรัง 92150 ครอบคลุมเนื้อที่ท้ งั หมด 187 ไร่


5.2 เหตุผลที่เลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 การเข้าถึงมีความสะดวก ทางเข้าโครงการอยูต่ ิดถนนทางหลวง 5.2.2 โครงการตั้งอยู่ในมหาวิทยาลัยซึ่ งเป็ นแหล่งศึกษาที่สามารถให้นกั ศึกษาเข้า มาใช้งานได้ 5.2.3 พื้นที่ในโครงการมีศกั ยภาพมากพอที่จะเป็ นแหล่งศึกษาสัตว์น้ าทางทะเลและ แหล่งท่องเที่ยว

การออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ าราชมงคลตรัง อ. สิ เกา จ. ตรัง แผนที่ 1 ที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั วิทยาเขตตรัง ถนนทางเข้าโครงการ ทางหลวง 4162 ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ google map (24 ธันวาคม 2564)

Not to Scale


การออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ าราชมงคลตรัง อ. สิ เกา จ. ตรัง แผนที่ 2 ขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการ 187 ไร่ ทางเข้าโครงการ

Not to Scale ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ google map (24 ธันวาคม 2564)


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ าราชมงคลตรัง มีพ้นื ที่ท้ งั หมด 187 ไร่ โดยมีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดกับ ท่าเรื อคลองสน ทิศใต้ ติดกับ วิทยาลัยการโรงแรมและการท่องเที่ยว มทร.ศรี วิชยั ทิศตะวันออก ติดกับ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มทร.ศรี วิชยั ทิศตะวันตก ติดกับ หาดราชมงคล 7. บรรณานุกรม สถาบันทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั วิทยา เขตตรัง. 2562. “พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ าราชมงคลตรัง - Museum Thailand”. [ระบบออนไลน์ ] แหล่ ง ที่ ม า : https://www.museumthailand.com (23 ธั น วาคม 2564) กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. 2564. “พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ าราชมงคลตรัง” [ระบบออนไลน์ ] แหล่งที่ มา : https://thailandtourismdirectory.go.th (23 ธันวาคม 2564) ไทยรัฐ. 2564. “ทุม่ 82 ล้าน ฟื้ น “อควาเรี ยมตรัง” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา : https://www.thairath.co.th (23 ธันวาคม 2564) โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนิ นงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..


คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้า พเจ้า นางสาว ณิ ช ากร บัณ ธุ รุ่ ง เรื อ ง รหั ส 6119102505 นัก ศึ ก ษาชั้น ปี ที่ 4 สาขาวิ ช าภู มิ สถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 4 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 128 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.00 มี ค วามประสงค์ จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) : การออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่ชุ่มน้ าหนองกุดทิง เพื่อ ศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพและบรรเทาปัญหาน้ าท่วม อ. เมืองบึงกาฬ จ. บึงกาฬ 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) : The Landscape Architectural Design and Improvement of Nong Kut Thing Wetland to study biodiversity and alleviate flooding, Mueang Bueng Kan, Bueng Kan 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ หนองกุดทิง แหล่งพื้นที่ชุ่มน้ า 1 ใน 14 แห่ง ของประเทศไทยที่ได้รับการขึ้นทะเบียนรายนามเป็ น กลุ่มพื้นที่ชุ่มน้ าที่มีความมสาคัญระหว่างประเทศ หรื อเรี ยกว่า แรมซาร์ไซต์ เพื่ออนุรักษ์แหล่งที่อยูอ่ าศัยที่เป็น พื้นที่ชุ่มน้ า โดยหนองกุดทิงเป็ นหนองน้ าขนาดใหญ่ ซึ่ งเป็ นถิ่นที่อยูอ่ าศัยของสัตว์น้ ากว่า 250 สายพันธุ์ มีปลา ที่เป็ นเอกลักษณ์ ซ่ ึ งไม่สามารถพบได้ในพื้นที่อื่นบนโลกถึง 20 สายพันธุ์ รวมถึงมีสายนกพันธุ์ต่าง ๆ กว่า 40 ชนิ ด พืชน้ ากว่า 200 ชนิ ด อีกทั้งยังเป็ นพื้นที่ประกอบอาชีพของประชาชนในบริ เวณนั้นกว่า 2,000 ครัวเรื อน หนองกุดทิงเป็นพื้นที่อนุรักษ์ จึงทาให้มีความอุดมสมบูรณ์อย่างมาก มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างมาก โดยชาวบ้านในพื้นที่ได้จดั การรณรงค์เพื่อสื่ อสารให้ตระหนักถึงปั ญหาและมีการขอความร่ วมมือจากคนใน ชุมชนเพื่ออนุรักษ์ความเป็ นธรรมชาติ ซึ่ งมีการสนับสนุนโครงการจัดการพื้นที่ชุ่มน้ าของชุมชนลุ่มแม่น้ าโขง โดยองค์การกองทุนสัตว์ป่าโลกสากล สานักงานประเทศไทย (WWF Thailand) หนองกุดทิงอยูท่ างใต้ห่างจาก ตัวอาเภอประมาณ 5 กิโลเมตร ระดับน้ าลึกประมาณ 2-5 เมตร ในฤดูน้ าหลากอาจลึกมากถึง 10 เมตร ในบริ เวณ หนองกุดทิงมีการเกิดน้ าหนุ นเนื่ องจากมีระบบน้ าที่เชื่อมต่อกับแม่น้ าโขงเลยทาให้มีปริ มาณน้ าสู งขึ้นจึงไหล ทะลักท่วมเข้าสู่ เขตชุมชน


ดังนั้น การออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมแหล่งการเรี ยนรู ้พ้ืนที่ชุ่มน้ าหนองกุดทิง จึงเป็ น แนวทางที่ สาคัญที่ จะพัฒนาศักยภาพของพื้นที่ เดิ มซึ่ งมี ความโดดเด่ นในเรื่ องระบบนิ เวศของพื้นที่ ชุ่มน้ าที่ สมบูรณ์ส่งเสริ มพื้นที่สาหรับการศึกษาด้านชีวภาพของสิ่ งมีชีวิตในพื้นที่ชุ่มน้ า และใช้เป็ นแหล่งกักเก็บและ ระบายน้ าเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดแก่ชุมชนและนักท่องเที่ยว 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 ออกแบบปรับปรุ งพื้นที่ให้มีความพร้อมต่อการรองรับนักท่องเที่ยวที่จะเข้า มาศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ 4.1.2 ออกแบบปรับปรุ งพื้นที่บริ เวณพื้นที่ชุ่มน้ าหนองกุดทิงให้เหมาะสมต่อการ เป็ นพื้นที่เชิงการเรี ยนรู ้ความหลากหลายทางชีวภาพ 4.1.3 ปรับปรุ งพื้นที่บริ เวณหนองกุดทิงให้รองรับนน้ าท่วมและสามารถระบายน้ า ลงสู่ แม่น้ าโขงและกักเก็บน้ ามาใช้ในพื้นที่ชุมชนทางด้านการเกษตร 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 ศึกษาระบบนิเวศเขตอนุรักษ์หนองกุดทิง 4.2.2 ศึกษาการจัดการพื้นที่ชุ่มน้ าให้รองรับพื้นที่น้ าท่วมและสามารถระบายน้ า ออกลงแม่น้ าโขง 4.2.3 การศึกษาออกแบบภูมมิสถาปั ตยกรรมบริ เวณพื้นที่ชุ่มน้ าให้ส่งผลต่อระบบ นิเวศและกระทบต่อธรรมชาติให้นอ้ ยที่สุด 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั ของโครงการ พื้นที่ชุ่มน้ า หนองกุดทิงตั้งอยูใ่ น ตาบล บึงกาฬ อาเภอ เมืองบึงกาฬ จังหวัด บึงกาฬ มีขนาดพื้นที่ประมาณ 972 ไร่ 1 งาน 167.5 ตารางวา 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 พื้นที่ดงั กล่าวมีความหลากหลายทางชีวภาพที่น่าสนใจ จึงอยากนาศักยภาพ ที่มีอยูม่ าพัฒนาให้คนในชุมชนและบุคคลภายนอกได้เห็นถึงความสาคัญของพื้นที่ควรคานึ งและรักษาพื้นที่น้ ี ไว้ 5.2.2 พื้นที่น้ ี ประสบปั ญหาน้ าจากแม่น้ าโขงหนุ นในทุก ๆ ปี จึงทาให้เกิดเหตุน้ า ท่วมในพื้นที่และสร้างผลกระทบให้แก่คนในชุมชน 5.2.3 พื้นนี้มีสิ่งมีชีวิตที่น่าสนใจในการศึกษา


การออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่ชุ่มน้ าหนองกุดทิง เพื่อศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพและ บรรเทาปัญหาน้ าท่วม อ. เมืองบึงกาฬ จ. บึงกาฬ แผนที่ 1 ขอบเขตพื้นที่แสดง ต. โนนสมบูรณ์ อ. เมืองบึงกาฬ จ.บึงกาฬ สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ เส้นบ่งเขตแดน ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/จังหวัดบึงกาฬ ( https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/a/a3/Amphoe_3801.svg

NOT TO SCALE


การออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่ชุ่มน้ าหนองกุดทิง เพื่อศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพและ บรรเทาปัญหาน้ าท่วม อ. เมืองบึงกาฬ จ. บึงกาฬ แผนที่ 2 แสดงขอบเขตพื้นที่ เส้นทางโดยรอบพื้นที่ และแม่น้ าโขง สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ทางหลวงหมายเลข 212 สาย หนองคาย - อุบลราชธานี หรื อถนนชยางกูร ทางหลวงหมายเลข 222 สาย พังโคน – บึงกาฬ NOT TO SCALE แม่น้ าโขง ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Map (23 ธันวาคม 2564) 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่ โครงการตั้งอยู่ใน ตาบล บึ งกาฬ อาเภอ เมื องบึ งกาฬ จังหวัด บึ งกาฬ มี ขนาดพื้นที่ ประมาณ 972 ไร่ 1 งาน 167.5 ตารางวา โดยมีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ แม่น้ าโขง ทิศใต้ ติดต่อกับ ตาบล โนนสมบูรณ์ อาเภอ เมืองบึงกาฬ จังหวัด บึงกาฬ ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตาบล โคกก่อง อาเภอ เมืองบึงกาฬ จังหวัด บึงกาฬ ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตาบล นาสวรรค์ อาเภอ เมืองบึงกาฬ จังหวัด บึงกาฬ


7. บรรณานุกรม ส านัก งานส่ ง เสริ ม การปกครองท้อ งถิ่ น จัง หวัด บึ ง กาฬ. 2555. “หนองกุ ด ทิ ง .” [ระบบ ออนไลน์ ] แหล่ ง ที่ มาhttp://www.buengkandla.go.th/view_detail.php?boxID= 947&id=27505&fbclid=IwAR3BmoP978QGnCOADV-uhMKzmmT29k9wmOWWpCKlV2AhB1oc8rIST6Estw (23 ธันวาคม 2564) จรัสพิมพ์ บุญญานันต์. 2556. “คู่มือการดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ 2556” [ระบบออนไลน์], แ ห ล่ ง ที่ ม า https://issuu.com/tuboonyanant/docs/latheismanual56_foeweb (2 3 ธันวาคม 2564) โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนินงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..


คำร้ องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย ตะวัน เพ็งสุ วรรณ รหัส 6119102506 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วย กิตสะสม 128 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.86 มี ค วามประสงค์ จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) : โครงการปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวสะพานข้ามแม่น้ า แควและพื้นที่สีเขียวต่อเนื่อง อาเภอ เมืองกาญจนบุรี จังหวัด กาญจนบุรี 2. หั วข้ อ เรื่ อง (ภ าษ าอั ง กฤษ ) : The Landscape Architectural Design and Improvement of the Tourism Sites at The bridge of the river Kwai and Related Green Areas, Mueang Kanchanaburi, Kanchanaburi 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ปั จจุบนั ความสาคัญของทางรถไฟสายมรณะยังคงเป็ นที่สนใจของนักท่องเที่ยวจานวนมาก ทั้งชาวไทยและชาวต่ า งชาติ ทุ ก ปี มี นัก ท่ องเที่ ย วอย่า งน้ อ ย 4 ล้า นคน โดยครึ่ งหนึ่ งเป็ นนั ก ท่ อ งเที่ ย วจาก ต่างประเทศ ชมทางรถไฟสายมรณะ โดยเฉพาะสะพานข้ามแม่ น้ าแคว ซึ่ งเป็ นหนึ่ งในจุ ดที่ ส าคัญที่ สุ ดใน เส้นทางสายนี้ และในทุกปี จะมีการจัดงานสัปดาห์สะพานข้ามแม่น้ าแควเพื่อราลึกถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต งานดังกล่าวจัดขึ้นโดยภาครัฐที่ใช้ความสาคัญทางประวัติศาสตร์ ที่ควรจดจามากาหนดช่วงเวลาที่สาคัญของ ท้องถิ่นโดยจัดไว้ในปฏิทินเทศกาลท่องเที่ยวของประเทศไทยซึ่งถูกเผยแพร่ ไปทัว่ โลกมี จังหวัด กาญจนบุ รี เป็ น “เมื อ งประวัติ ศ าสตร์ ธรรมชาติ อัศ จรรย์ สวรรค์นัก ผจญภัย ” มี ศักยภาพ ในการท่องเที่ยวระดับสู ง เป็ นแหล่งท่องเที่ยวหลักของภูมิภาคตะวันตก อุดมด้วยทรัพยากร ทางการ ท่ อ งเที่ ยวที่ ส วยงามและหลากหลาย ทั้งสถานที่ ส าคัญ ทางประวัติ ศ าสตร์ แหล่ งโบราณสถาน และแหล่ ง ท่องเที่ ยวตามธรรมชาติ มี การส่ งเสริ มให้มีการท่ องเที่ ยวเชิ งอนุ รักษ์ มี สิ่งอานวยความสะดวก สาหรับ การ ท่ อ งเที่ ย วที่ ค รบครั น การเดิ นทางสะดวกและรวดเร็ ว ใช้ ร ะยะเวลาเพี ย ง 1-3 ชั่ ว โมง เท่ า นั้ น จาก กรุ งเทพมหานคร ทั้งทางรถยนต์ และรถไฟ


ในปั จจุบนั พื้นที่ โดยรอบแหล่งท่องเที่ยวสะพานแม่น้ าแคว ยังไม่มีการได้รับการ พัฒนาหรื อได้รับการดูแล จึงเห็ นถึ งโอกาส ในการพัฒนาของพื้นที่ โดยรอบให้เหมาะสมกับการเป็ นแหล่ง ท่องเที่ยวที่สาคัญในจังหวัดกาญจนบุรี โดยมีการเพิ่มกิจกรรมให้กบั แหล่งท่องเที่ยวและสิ่ งที่เราจะพัฒนา เน้น ไปในทางออกแบบพื้นที่ สาธารณะริ มทางรถไฟทางเดินสี เขียว มีการเพิ่มต้นไม้และพื้นที่ สีเขียวให้กับพื้นที่ โครงการเพื่อช่วยอนุรักษ์สภาพแวดล้อมเดิมภูมิทศั น์ให้สวยขึ้นสวยงามยิง่ ขึ้น เพิ่มพื้นที่พกั ผ่อนให้กบั คนที่เข้า มาใช้ ออกแบบสิ่ งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ให้กบั พื้นที่โล่ง และออกแบบวางผังในส่ วนพื้นที่ต่อเนื่ อง ตลาด ค่ า ยเชลยศึ ก World War ll Bridge Project Kanchanaburi Thailand ให้ ไ ด้ ม าตรฐานสากล และคุ ณ ภาพ สิ่ งแวดล้อมให้มีความพร้อมเพื่อความสมดุลและยัง่ ยืน 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 ฟื้ นฟูและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดกาญจนบุรีที่เสื่ อมโทรม 4.1.2 พัฒนาแหล่งท่องเที่ ยวให้ได้มาตรฐานสากล และคุณภาพสิ่ งแวดล้อมให้มี ความพร้อมเพื่อความสมดุลและยัง่ ยืน 4.1.3 พัฒนาการท่องเที่ยวในเชิ งสร้างสรรค์และเป็ นมิ ตรต่อสิ่ งแวดล้อมคานึ งถึ ง ความยัง่ ยืนและความสามารถในการรองรับของแหล่ท่องเที่ยว 4.1.4 พัฒ นาและยกระดับ มาตรฐานแหล่ งท่ อ งเที่ ย วและการบริ ก ารด้า นการ ท่องเที่ยว 4.1.5 บู ร ณาการการท่ อ งเที่ ย วให้ มี ค วามเชื่ อ มโยงกั บ วิ ถี ชี วิ ต วัฒ นธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั ของโครงการ โครงการปรับปรุ งแหล่งท่องเที่ยวสะพานแม่น้ าแควและพื้นที่สีเขียวต่อเนื่ อง ตั้งอยู่ ตาบลท่ามะขาม อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ครอบคลุมเนื้อที่ท้ งั หมด 78.75 ไร่ โดยประมาณ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 แหล่งท่องเที่ ยวสะพานแม่น้ าแควมี อุดมด้วยทรัพยากรทางการท่องเที่ ยวที่ สวยงาม 5.2.2 มีความหลากหลายของสถานที่ สาคัญทางประวัติศาสตร์ สมัยสงครามโลก ครั้งที่ 2 5.2.3 การเข้าถึงที่ง่าย เนื่องจากอยูใ่ น อาเภอเมืองกาญจนบุรี


โครงการปรับปรุ งแหล่งท่องเที่ยวสะพานแม่น้ าแควและพื้นที่สีเขียวต่อเนื่อง ตั้งอยู่ ตาบลท่ามะขาม อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ขอบเขตพื้นที่โครงการ เส้นทางเดินรถไฟ ถนนแม่น้ าแคว (ถนนสายรอง) ถนนแสงชูโต (ถนนสายหลัก) ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google earth (วันที่23 เดือนมีนาคม พ.ศ.2564)


โครงการปรับปรุ งแหล่งท่องเที่ยวสะพานแม่น้ าแควและพื้นที่สีเขียวต่อเนื่อง ตั้งอยู่ ตาบลท่ามะขาม อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี พื้นที่ต้ งั โครงการ เส้นทางเดินรถไฟ ถนนสายหลัก พื้นที่ใจกลางเมือง ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google earth (วัน ที่23 เดือนมีนาคม พ.ศ.2564)


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา โครงการปรับปรุ งแหล่งท่องเที่ยวสะพานแม่น้ าแควและพื้นที่สีเขียวต่อเนื่ อง ตั้งอยู่ ตาบลท่า มะขาม อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ครอบคลุมเนื้อที่ท้ งั หมด 78.75 ไร่ มีอาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ติดต่อกับพื้นที่ ถนนแสงชูโต ทิศใต้ ติดต่อกับพื้นที่ พื้นที่เกษตรกรรม ทิศตะวันออก ติดต่อกับพื้นที่ ซอยนิวซีแลนด์ ทิศตะวันตก ติดต่อกับพื้นที่ ถนนแควใหญ่ 7. บรรณานุกรม วิ กิ พี เดี ย สารานุ ก รมเสรี . 2564. “สะพานข้า มแม่ น้ าแคว”. [ออนไลน์ ] แหล่ ง ที่ ม า : https://th.wikipedia.org/wiki/สะพานข้ามแม่น้ าแคว (วันที่ 5 มกราคม 2565) สานักงานจังหวัดกาญจนบุรี. 2565. “แผนพัฒนาจังหวัดกาญจนบุรี 4 ปี ” [ออนไลน์] แหล่งที่มา https://ww2.kanchanaburi.go.th/files/com_news_devpro/201807_7d27ce7c1dd29ba.pdf (วันที่ 5 มกราคม 2565)

โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนินงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..


คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว ธันชนก ไชยวันดี รหัส 6119102507 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน4 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิต สะสม128หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.37 มี ค วามประสงค์ จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) การออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมโรงไฟฟ้ าพลังงานขยะ ศูนย์ กาจัดขยะมูลฝอยแบบผสมผสานบ้านตาล อาเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ 2. หั ว ข้อ เรื่ อ ง (ภาษาอัง กฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning of the Waste to Energy Power Plant, Ban Tan Integrated Solid Waste Disposal Center, Hod, Chiang Mai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ปั จจุ บัน สถานการณ์ การแพร่ ร ะบาดของไวรั ส โคโรนา (COVID-19) ท าให้ สั งคมมี การ ปรั บเปลี่ ยนวิถีชีวิตรู ปแบบใหม่ (New normal) เช่ น การสั่ งอาหารเดลิ เวอรี่ มากขึ้น การซื้ อสิ นค้าจากระบบ ออนไลน์ ประชนชนหลี กเลี่ ย งการเดิ น ทางอยู่บ้านมากขึ้ น ก่ อเกิ ด ปั ญ หาขยะมู ลฝอยและขยะติ ด เชื้ อเช่ น หน้ากากอนามัยสะสมเพิ่มขึ้นเป็ นจานวนมากและมีปัญหาขยะล้นเมืองที่มีแนวโน้มที่จะทวีคูณมากขึ้น ส่ งผล กระทบต่อมนุษย์และสิ่ งแวดล้อม หากไม่มีการจัดการอย่างถูกวิธีอาจจะเพิ่มโอกาสที่เชื้อจะแพร่ กระจายยิง่ ขึ้น จากที่กล่าวเบื้องต้นรัฐบาลจึงให้ความสาคัญและแก้ปัญหาเกี่ยวกับเรื่ องขยะ และมีแนวคิด การนาขยะแปรสภาพเป็ นพลังงานทดแทนในการผลิตไฟฟ้ า แก้ไขปั ญหาขยะล้นเมือง โดยจังหวัดเชียงใหม่ มี แผนสร้างโรงงานไฟฟ้ าพลังงานขยะในพื้นที่ศูนย์กาจัดขยะมูลฝอยแบบผสมผสานบ้านตาลและทาง อบจ. ได้ ขอมีส่วนร่ วมบริ หารจัดการศูนย์กาจัดขยะเนื่ องจากมีการทิ้งขยะติดเชื้อจากโควิด (COVID-19) อาทิ หน้ากาก อนามัย และวัสดุทางการแพทย์ ซึ่ งปะปนมากับขยะทัว่ ไป แต่อย่างไรก็ตาม การสร้างโรงงานไฟฟ้ าพลังงาน ขยะอาจก่อเกิดอันตรายด้านสุ ขภาพหากไม่มีการจัดการพื้นที่อย่างเป็ นระบบระเบียบ เช่น การเกิดการรั่วไหล ของสารพิษ การปล่อยมลพิษต่างๆที่ส่งผลกระทบมากมาย


จึงเกิดเป็ นโครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมโรงไฟฟ้ าพลังงานขยะ ศูนย์กาจัดขยะ มูลฝอยแบบผสมผสานบ้านตาล ตั้งอยู่ ณ บ้านแม่ยุย หมู่ที่ 7 ตาบลบ้านตาล อาเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ โดย ลักษณะพื้นที่โครงการเป็ นพื้นที่ราบใกล้เชิงเขา ในพื้นที่ท้ งั หมด 2,000 ไร่ โดยแบ่งเป็ นพื้นที่ หลุมฝังกลบขยะ มูลฝอยที่ปิดไปแล้วประมาณ 150 ไร่ หลุมฝังกลบขยะมูลฝอยที่ดาเนินการในปั จจุบนั ประมาณ 50 ไร่ และพื้นที่ อาคารส านั ก งาน โรงผลิ ต ไฟฟ้ า บ่ อ บ าบัด น้ า เสี ย อี ก ประมาณ 125 ไร่ และพื้ น ที่ เหลื อ เป็ นพื้ น ที่ ส าหรั บ ดาเนิ นการต่อไปในอนาคต พื้นที่โดยรอบเป็ นพื้นที่เกษตรกรรม และบ้านพักอาศัยของชาวบ้านตาบลบ้านตาล จึงต้องการที่จะเข้าไปออกแบบพัฒนาโรงไฟฟ้ าจากขยะควบคู่กบั กับการพัฒนาฟื้ นฟูที่และสร้างความเชื่ อมัน่ ความปลอดภัยให้กบั คนในพื้นที่รอบข้างโดยส่ งผลกระทบต่อชุมชนให้น้อยที่สุด เพื่อแก้ปัญหาขยะล้นเมือง และไม่ส่งผลเสี ยต่อสิ่ งแวดล้อม 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่ อ ออกแบบวางผัง ภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมโรงงานไฟฟ้ าพลัง งานขยะตาม หลักเกณฑ์ไม่ส่งกระทบต่อชุมชนและสิ่ งแวดล้อมและพัฒนาต่อยอดเป็ นแหล่งศึกษาพลังงานทดแทน 4.1.2 เพื่ อเป็ นไปตามแผนพัฒ นาพลังงานทดแทนปละพลังงานทางเลื อก พ.ศ. 2558-2579 และแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทย พ.ศ. 2558-2579 4.1.3 เพื่อเสนอระบบการจัดการขยะมูลฝอยและขยะติดเชื้อที่มีประสิ ทธิ ภาพมาก ขึ้นในสถาณการณ์การแพร่ ระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-19) 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาปั ญหาขยะล้นเมืองและขยะติดเชื้อยุคการแพร่ ระบาดของไวรัสโค โรนา (COVID-19) 4.2.2 เพื่ อศึ กษาแนวทางการออกแบบวางผังโรงงานไฟฟ้ าพลังงานขยะเพื่ อลด ผลกระทบต่อชุมชน พื้นที่เกษตรกรรม และสิ่ งแวดล้อมรอบข้าง 4.2.3 เพื่อศึกษาการพัฒนาพลังงานทดแทนเพื่อผลประโยชน์ร่วมในมิติ ดา้ นสังคม และสิ่ งแวดล้อมแก่ชุมชน 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ พื้ น ที่ ศู น ย์กาจัด ขยะมู ลฝอยแบบผสมผสานบ้านตาลตั้งอยู่ที่ บ้านแม่ ยุย หมู่ ที่ 7 ตาบลบ้านตาล อาเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ มีขนาดพื้นที่โครงการ


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมโรงไฟฟ้ าพลังงานขยะ ศูนย์กาจัด ขยะมูลฝอยแบบผสมผสานบ้านตาล ตาบลบ้านตาล อาเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 1 ที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์ แสดงที่ต้ งั โครงการ พื้นที่เกษตร ชุมชน คลอง ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth

Not to scale


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมโรงไฟฟ้ าพลังงานขยะ ศูนย์กาจัด ขยะมูลฝอยแบบผสมผสานบ้านตาล ตาบลบ้านตาล อาเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 2 แสดงขอบเขตโครงการ พื้นที่ A (ขนาดพื้นที่ 330 ไร่ ) สัญลักษณ์ แสดงขอบเขตโครงการ ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth

Not to scale


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมโรงไฟฟ้ าพลังงานขยะ ศูนย์กาจัด ขยะมูลฝอยแบบผสมผสานบ้านตาล ตาบลบ้านตาล อาเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 3 แสดงขอบเขตโครงการ พื้นที่ B (ขนาดพื้นที่ 500 ไร่ ) สัญลักษณ์ แสดงขอบเขตโครงการ ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth

Not to scale


5.2 เหตุผลที่เลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 โครงการเป็ นศูน ย์กาลังขยะมู ลฝอยใหญ่ ในจังหวัด เชี ย งใหม่ องค์กรปกครองส่ วน ท้องถิ่นนาขยะมากาจัดที่ศูนย์ฯ รวมจานวน 39 แห่ ง แยกเป็ น จากจังหวัดเชียงใหม่ 28 แห่ ง จากจังหวัดลาพูน 8 แห่ง จาหจังหวัดเชียงราย 2 แห่ง 5.2.2 พื้ น ที่ โ ดยรอบโครงการอยู่ใกล้กับ พื้ น ที่ เกษตรและชุ มชนที่ มีค วามเสี่ ย งการได้รั บ ผลกระทบจากการปล่อยมลพิษ 5.2.3 โครงการมีพ้นื ที่เหมาะสมในการรับการพัฒนาต่อในอนาคต 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่ โครงการตั้งอยู่บ้านแม่ยุย หมู่ที่ 7 ตาบลบ้านตาล อาเภอฮอด จังหวัดเชี ยงใหม่ โดยมี ขนาดพื้นที่ท้ งั หมดประมาณ 1,400 ไร่ โดยแบ่งพื้นที่ออกแบบออกเป็ น2โซน โซน A เนื้ อที่ประมาณ 330 ไร่ และโซนBเนื้อที่ประมาณ 500 ไร่ ทิศเหนือ ติดกับ พื้นที่เกษตรกรรม ทิศใต้ ติดกับ พื้นที่เกษตรกรรม ทิศตะวันออก ติดกับ ที่ราบเชิงเขา ทิศตะวันตก ติดกับ คลองแม่ยยุ และพื้นที่เกษตรกรรม 7. บรรณานุกรม กระทรวงพลังงาน (2558). “แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ.25582579”. [อ อ น ไ ล น์ ] แ ห ล่ ง ที่ ม า http://eppo.go.th/images/POLICY/PDF/ AEDP2015.pdf (23 ธันวาคม 2562) สุ พจิต สุ ขกันตะ และฤทธิ พร คมขุนทด. ม.ป.พ. “ศูนย์กาจัดขยะมูลฝอยแบบผสมผสานบ้าน ตาล”. [ออนไลน์] แหล่งที่มา https://www.pcd.go.th/ (23 ธันวาคม 2562) ศิริพร คาวานิล และณรงค์ศกั ดิ์ หนูสอน. ม.ป.พ. “ขยะมูลฝอย: ในช่วงสถานการณ์ COVID19 เป็ นอย่า งไร”. [ออนไลน์ ] แหล่ งที่ มา https://he01.tci-thaijo.org (23 ธัน วาคม 2562) โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนินงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..


คำร้ องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย ปรัชญา กันทะ รหัส 6119102508 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วย กิตสะสม 161 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.98 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) การออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมสวนรุ กขชาติหนองเขียวเพื่อเป็ น แหล่งเรี ยนรู ้และส่ งเสริ มการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ อาเภอจันจว้าใต้ จังหวัดเชียงราย 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The landscape Architectural design and Improvement of Nong Khiaw Arboretum to be a learning center and promote natural tourism, Jan Jawa Tai, Chiang Rai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ สวนรุ กขชาติ หนองเขียว ติ ดอยู่กบั แหล่งน้ าธรรมชาติอ่างเก็บน้ าหนองเขียว เป็ นแหล่งน้ า เก่ าแก่ของตาบลจันจว้าใต้มีเนื้ อที่ 700 ไร่ ในพื้นที่บริ เวณนี้ ในหน้าร้อนจะทาให้เกิดการแห้งแล้งของน้ าเป็ น จานวนมากพอหน้าฝนก็เกิดน้ าท่วมเริ่ มทีส่วนพระธาตุหนองเขียวเป็ นแหล่งให้ความรู ้ เกี่ยวกับพืชพันธุ์ให้กบั เด็กนักเรี ยนโรงเรี ยนจันจว้าใต้ ในขณะนี้ สวนรุ กขชาติหนองเขียวได้ขาดการปรับปรุ งและขาดการดูแลมาเป็ น เวลานานจนทาให้ในบริ เวณนี้การเป็ นพื้นที่รกร้าง จึงเห็นได้วา่ ควรได้รับการปรับปรุ ง ดังนั้น ถ้าสวนรุ กขชาติ หนองเขี ย วได้รั บ การปรั บ ปรุ ง จะพัฒ นาให้ เป็ นแหล่ งเรี ยนรู ้ และ ส่ งเสริ มการท่องเที่ยวอีกทั้งจะพัฒนาศักยภาพในการกักเก็บน้ า ส่ งเสริ มให้มีการท่องเที่ยวที่เหมาะสมต่อความ ต้องการของชุมชนท้องถิ่นความสมบูรณ์ของระบบนิ เวศพื้นที่ชุ่มน้ าและส่ งเสริ มอาชี พสร้างประโยชน์สูงสุ ด ให้แก่นกั ท่องเที่ยวและชุมชน


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 ปรับปรุ งภูมิทศั น์สวนรุ กขชาติหนองเขียวเพื่อเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้และส่ งเสริ ม การท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ 4.1.2 เพื่อเป็ นแหล่งศึกษา ฟื้ นฟู และอนุรักษ์ระบบนิเวศหนองเขียว 4.1.3 ส่ งเสริ มอาชีพ สร้างรายได้ให้กบั ชุมชนและองค์กรท้องถิ่น 4.1.4 เป็ นพื้นที่รองรับน้ าของชุมชนในหน้าแล้งและหน้าฝน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพือ่ ศึกษาออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมสวนรุ กขชาติ และ แหล่ง ท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ 4.2.2 เพื่อศึกษาวิเคราะห์ปัญหาและการจัดการน้ าท่วมและน้ าแล้ง 4.2.3 ศึกษาระบบนิเวศสวนรุ กขชาติหนองเขียวและบึงหนองเขียว 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ

5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ สวนรุ กขชาติหนองเขียว ตั้งอยู่ที่ตาบลจันจว้าใต้ อ.แม่จนั จ.เชียงราย ขนาดพื้นที่ ประมาณ 700ไร่ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 ในปั จจุบนั นี้สวนรุ กขชาติหนองเขียวมีสภาพทรุ ดโทรม และในบริ เวณอาเภอ เชียงแสนมีน้ าท่วมอยู่บ่อยครั้งและทั้งยังเป็ นพื้นที่เกษตรกรรม ที่เกิดปั ญหาการขาดแคลนน้ าในหน้าแล้ง ด้วย เหตุน้ ี จึ งเห็ นความจาเป็ นในการปรั บปรุ งภู มิส ถาปั ตยกรรมพื้ นที่ ชุ่มน้ าบริ เวณนี้ ให้เป็ นพื้ นที่ หน่ วงน้ า ซึ่ ง ในช่ วงหน้าฝนจะทาหน้าที่ เปรี ยบเสมื อนแก้มลิ ง ที่ กระจายน้ าไปยังพื้นที่ เกษตรกรรมและตัวชุ มชนและยัง สามารถกลายเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจเชิงนิ เวศ ที่สามารถสร้างรายได้ให้ชาวบ้านได้ นอกจากนี้ ยังเป็ นสถานที่เรี ยนรู ้เกี่ยวกับพืชพันธุ์และระบบนิเวศต่าง ๆ อีกด้วย 5.2.2 ปั จจุบนั สภาพพื้นที่รกร้างขาดการดูแล ทั้งที่มีระบบนิ เวศเอื้ออานวยต่อการ ทากิจกรรมต่าง ๆ หลายด้าน 5.2.3 เป็ นพื้นที่ที่น่าสนใจในเรื่ องระบบนิเวศพื้นที่ชุ่มน้ า


ถนนพหลโยธิน นนน https://www.g oogle.co.th/m aps/place/%E 0%B8%AA%E ชุมชนจันจว้าใต้ 0%B8%A7%E0 %B8%99%E0 %B8%A3%E0 %B8%B8%E0 %B8%81%E0 %B8%82%E0 %B8%8A%E0 การออกแบบปรั บปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมสวนรุ กขชาติหนองเขียวเพื่อเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้และส่ งเสริ มการท่องเที่ยวเชิง ธรรมชาติ อ%B8%B2%E0 าเภอจันจว้าใต้ จังหวัดเชียงราย %B8%95%E0 %B8%B4%E0 แผนที่ 1 แสดงพื ้นที่ศึกษาสวนรุ กขชาติหนองเขียว %B8%AB%E0 %B8%99%E0http://www.google.com/maps/place ที่มา : ดัดแปลงมาจาก %B8%AD%E0 (10 ธันวาคม 2564) สัญลักษณ์ %B8%87%E0 %B9%80%E0 สวนรุ กขชาติหนองเขียว %B8%82%E0 แสดงพื้นที่ต้ งั โครงการ %B8%B5%E0 มาตราส่ วน%B8%A2%E0 :%B8%A7/@20. Scale : Not to scale 2102866,99.94 22705,785m/d ata=!3m1!1e3! 4m6!3m5!1s0x 30d657090edb c729:0x1e2546


ชุมชนจันจว้าใต้

การออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมสวนรุ กขชาติหนองเขียวเพื่อเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้และส่ งเสริ มการท่องเที่ยวเชิง ธรรมชาติ อาเภอจันจว้าใต้ จังหวัดเชียงราย แผนที่ 2 แสดงพื้นที่ออกแบบสวนรุ กขชาติหนองเขียว ที่มา : ดัดแปลงมาจาก http://www.google.com/maps/place (10 ธันวาคม 2564) สัญลักษณ์ สวนรุ กขชาติหนองเขียว แสดงพื้นที่ต้ งั โครงการ มาตราส่ วน : -

Scale : Not to scale


5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 สวนรุ กขชาติหนองเขียว ในขณะนี้ สถานที่น้ ี ทรุ ดโทรม และในบริ เวณอาเภอ เชียงแสนมีน้ าท่วมอยู่บ่อยครั้งและทั้งยังเป็ นพื้นที่เกษตรกรรมในหน้าแล้งน้ าไม่ค่อยพอ เลยอยากทาเป็ นพื้นที่ ชุ่มน้ าพื้นที่ หน่ วงน้ า ในช่ วงหน้าฝนและเปรี ยบเสมื อนแก้มลิ ง ที่ กระจายน้ าไปยังพื้ นที่ เกษตรกรรมและตัว ชุมชนและยังสามารถกลายเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจเชิงนิ เวศ ที่สามารถสร้างรายได้ให้ชาวบ้าน ได้ และยังเป็ นสถานที่เรี ยนรู ้เกี่ยวกับพืชพันธุ์และระบบนิเวศต่าง ๆ อีกด้วย 5.2.2 ปั จจุบนั สภาพพื้นที่ รกร้างขาดการดู แล ทั้งที่ มีระบบนิ เวศเอื้ ออานวยต่อการทา กิจกรรมต่าง ๆ หลายด้าน 5.2.3 เป็ นพื้นที่ที่หน้าสนใจในเรื่ องระบบนิเวศพื้นที่ชุ่มน้ า 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่ต้ งั โครงการตั้งอยูส่ วนรุ กขชาติหนองเขียว ตาบลจันจว้าใต้ อาเภอแม่จนั จังหวัด เชียงราย โดยมีพ้นื ที่โครงการและพื้นที่ที่ศึกษาทั้งหมด 700 ไร่ ทิศเหนือ ติดต่อกับ บ้านป่ าสักน้อย ต.ป่ าสัก อ.เชียงแสน ทิศใต้ ติดต่อกับ บ้านสันโค้งงาม ต.จอมสวรรค์ อ.เชียงราย ทิศตะวันออก ติดต่อกับ บ้านแม่ลวั ต.ท่าข้าวเปลือก อ.เชียงแสน ทิศตะวันตก ติดต่อกับ บ้านจันจว้า อ.จันจว้าใต้ อ.เชียงราย 7. บรรณานุกรม เทศบาลตาบลจันหว้า. 2561. “ แผนพัฒนาตาบลจันจว้า ปี 2561” ”.[ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://www.janjawa.go.th/gallery/detail.php?id=113 (10 ธันวาคม 2564) จรัสพิมพ์ บุญญานันต์. 2556. “คู่มือการดาเนินงานวิทยานิพนธ์ 2556”.[ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา https://issuu.com/tuboonyanant/docs/latheismanual56_ foeweb (10 ธันวาคน 2564) โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนิ นงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..


คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวปาริ ฉัตร ภูริจารุ ยางกุล รหัส.6119102509 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 128 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.92 มี ค วามประสงค์จะขอทาวิทยานิ พ นธ์ ร ะดับปริ ญญาภู มิส ถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี ร ายละ เอี ย ด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) : การออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวเรี ยนรู ้เชิงเกษตรสวนนายเกา อาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning of the Agricultural learning tourist attraction, Nai Kao Garden, Mae Sai, Chiang Rai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จังหวัดเชี ยงรายมี นโยบายส่ งเสริ มการท่องเที่ ยวเชิ งเกษตร เป็ นการสร้ างการรั บรู ้ และกระตุ้นให้ นักท่องเที่ยวและผูส้ นใจ ได้ออกเดินทางมาสัมผัสกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยเกษตรกรในพื้นที่ของ จ.เชียงราย และ กลุ่มจังหวัดล้านนาตะวันออก นอกจากนี้ ยงั เป็ นการกระจายรายได้ของภาคท่องเที่ยวลงสู่ ชุมชนที่มีการดาเนิ นกิจกรรม ด้านการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ตลอดจนเกษตรกร กลุ่มวิสาหกิจชุมชนของกลุ่มจังหวัดภาคเหนื อตอนบน 2 อันจะนาไปสู่ การลดปัญหาความเหลื่อมล้ าของประเทศ อาเภอแม่สายตั้งอยู่ทางตอนบนสุ ดของจังหวัด เชี ยงราย มี ความสาคัญด้านการเป็ นเมื องแห่ งการ ท่องเที่ยว การค้า และการลงทุน ตลอดจนยังมีพรมแดนติดกับประเทศเมียนมา จังหวัดท่าขี้เหล็ก จึงทาให้ในแต่ละปี มี นักท่องเที่ยวมาเยือนอาเภอแม่สายเป็ นจานวนมาก ซึ่ งอาเภอแม่สาย อยู่ในเส้นทางการท่องเที่ยวที่จะมุ่งตรงสู่ เชียงตุง แหล่งท่องเที่ยวสาคัญของประเทศจีน ทาให้ความสาคัญของอาเภอแม่สาย ในฐานะเมืองเศรษฐกิจพิเศษชายแดนที่ มี ศักยภาพด้านการท่องเที่ยวมีเพิ่มมากยิง่ ขึ้น ทาให้มีสถานที่ท่องเที่ยวในรู ปแบบต่าง ๆ เกิดขึ้นจานวนมาก


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม แหล่งท่องเที่ยวเรี ยนรู ้เชิงเกษตร สวนนายเกา ตาบลห้วย ไคร้ อาเภอแม่สาย จังหวัดเชี ยงราย นี้ เป็ นของเอกชนในพื้นที่เดิม 26 ไร่ และส่ วนขยายพื้นที่ 37 ไร่ เพื่อส่ งเสริ มการ ท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยเน้นการมีส่วนร่ วมของนักท่องเที่ยวในการดาเนิ นกิจกรรมให้เกิ ดการเรี ยนรู ้ดา้ นการเกษตรและ ได้รับการเรี ยนรู ้จากกิจกรรมต่าง ๆ ภายในพื้นที่ มีการเรี ยนรู ้ทางด้านการเกษตร และมีกิจกรรมอื่นๆเสริ มอีกมากมาย มี การเปิ ดให้เด็กประถมเข้ามาทาค่าย มีฐานความรู ้ต่าง พื้นที่ปัจจุบนั ภายในโครงการมีการจัดกิจกรรม ปลูกผัก มีการทานา สวนปาล์ม บริ เวณรอบๆเป็ นพื้นที่ทานา อีกทั้งในโครงการยังมีกิจกรรมให้อาหารสัตว์ ตัวโครงการสามารถพัฒนาและ ต่อยอดในพื้นให้เป็ นโครงการต้นแบบของการท่องเที่ยวเชิ งเกษตร โดยมีการจัดสรรพื้นที่ให้มีการเรี ยนรู ้ที่กว้างขึ้น มี การจัด กิ จกรรมที่ เ รี ย นรู ้ เ กี่ ย วกับการเกษตร และวิ ถีใ นการด ารงชี วิต และนาทรั พ ยากรที่ มีอยู่ใ นพื้ นที่ มาใช้ให้เกิ ด ประโยชน์มากที่สุด ก่อให้เกิดรายได้ในพื้นที่และที่สาคัญต้องอนุ รักษ์ควบคู่ไปกับการท่องเที่ยวเพื่อไม่ให้กระทบกับ สภาพแวดล้อมและชุมชนบริ เวณโดยรอบ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ท้ งั การเกษตร และวิถีการดารงชีวิตของชุมชน 4.1.2 เพื่อการจัดสรรพื้นที่ให้คมุ ้ ค่า และเหมาะสมกับกิจกรรม 4.1.3 เพื่อสร้างเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ที่หลากหลายให้แกผูค้ นที่เข้ามาท่องเที่ยว 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อวิเคราะห์การใช้ที่ดินเดิมของพื้นที่ และนาข้อมูลมาใช้ในการวางผัง 4.2.2 เพื่อศึ กษาแนวคิด การทาเกษตรผสมผสาน ที่ มีผลต่อการออกแบบแนวทางความ เป็ นไปได้ และการพัฒนาในอนาคต 4.2.3 เพื่อศึ กษาการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม สาหรั บกิ จจกรรมการเรี ยนรู ้ กิจกรรมนันทนาการ และเพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) โครงการนี้ ต้ งั อยู่บนถนน พหลโยธิ น ตาบล ห้วยไคร้ อาเภอแม่สาย เชี ยงราย 57220 สาเหตุที่เลือก ที่ต้ งั โครงการนี้ เนื่ องจาก มีบรรยากาศที่ดีเป็ นที่ราบเชิงเขาและเหมาะแก่การทาเกษตร อยู่ใกล้สถานที่เที่ยวต่างๆ ใกล้ ชายแดนมีแหล่งชอปปิ้ งแต่สิ่งที่น่าสนใจกว่านั้นคือภูมิประเทศและภูมิอากาศของจังหวัดเชียงรายเอง เป็ นจุดดึงดูดให้ นักท่องเที่ยวในภาคอื่นๆ ให้เดินทางไกลมาท่องเที่ยว


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา 7. โครงการการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวเรี ยนรู ้เชิงเกษตร สวนนายเกา อาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย มีเนื้อที่ประมาณ 63 ไร่ โดยเป็ นพื้นที่เดิม 26 ไร่ และพื้นที่ส่วนขยาย 37 ไร่ ทิศเหนือ ติดกับ พื้นที่ทางการเกษตร ทิศใต้ ติดกับ พื้นที่ทาการเกษตร ทิศตะวันออก ติดกับ พื้นที่ทาการเกษตร สวนนายยกcoffee ทิศตะวันตก ติดกับ พื้นที่ทาการเกษตร ติดลาคลองแม่ไร่ 8. บรรณานุกรม จรั สพิมพ์ บุญญานันต์. 2556. “ คู่มือดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ 2556” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่ มา https://issuu.com/tuboonyanant/docs/latheismanual56_foeweb (30 ธันวาคม 2564) จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ . 2564 “ รวมหัวข้อวิทยานิ พนธ์ สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม พ.ศ. 2564” . [ระบบออนไลน์ ] แหล่ ง ที่ ม า https://issuu.com/tuboonyanant/docs/ all_topic_2564 (30 ธันวาคม 2564) จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ . 2563 “ รวมหัวข้อวิทยานิ พนธ์ สาขาวิชาภูมิสถาปั ต ยกรรม พ.ศ. 2563” . [ระบบออนไลน์ ] แหล่ งที่ มา https://issuu.com/tuboonyanant/docs/ thesis_topic_all_2563 (30 ธันวาคม 2564) จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ . 2558 “ รวมหัวข้อวิทยานิ พนธ์ สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม พ.ศ. 2558” . [ระบบออนไลน์ ] แหล่ ง ที่ ม าhttps://issuu.com/tuboonyanant/docs/ frontcover58-mergedcompressed-merg (30 ธันวาคม 2564)


โครงการการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวเรี ยนรู ้เชิงเกษตร สวนนายเกา อาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Map (29 มกราคม 2565)

NOT TO SCALE


โครงการการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวเรี ยนรู ้เชิงเกษตร สวนนายเกา อาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย แผนที่ 2 แสดงขอบเขตพื้นที่โครงการและถนนโดยรอบ สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ตาบล ห้วยไคร้ อาเภอแม่สาย เชียงราย 57220 ถนน พหลโยธิน ตาบล ห้วยไคร้ อาเภอแม่สาย เชียงราย 57220 NOT TO SCALE ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Map (29 มกราคม 2565)

โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนินงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (…………………………………………..) ……….../………./………..


คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว ปาริ ชาติ นุชเทียน รหัส6119102510นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วย กิตสะสม 128 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.72 มี ค วามประสงค์ จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) : การออกแบบวางผังภู มิส ถาปั ตยกรรมชุ มชนสลัมบ้านครั วน้อย เพื่ อ พัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่ งแวดล้อม เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) : The Landscape design and Planning of Krua Noi Slum Community to Improve the Quality of Life and Environment, Phaya Thai, Bangkok 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ “ชุมชนบ้านครัวน้อย” ตั้งอยู่บริ เวณตรอกพญานาคและถนนเพชรบุรี ริ มคลองแสนแสบ มี ลักษณะสภาพแวดล้อมทัว่ ไปเป็ น “สลัม” แหล่งเสื่ อมโทรมอันเป็ นที่อยู่ของแขกครัว เป็ นกลุ่มชนแขกที่ เป็ น เชื้อสายของกลุ่มจามปา ที่มาจากเขตประเทศเวียดนามตั้งแต่สมัยกรุ งศรี อยุธยา ด้วยศักยภาพในการตั้งถิ่นฐาน และนโยบายของทางการ จึ งมี การตั้งถิ่ น ฐานตลอดแนวคลองแสนแสบ เกิ ด เป็ นชุ มชนที่ มีค วามแตกต่ า ง ทางด้านภาษาและเชื้ อ ชาติ ไ ด้อ าศัย อยู่ร่ วมกัน และเติ บ โตไปพร้ อมกับ ประวัติศ าสตร์ ข องเมื อง เมื่ อมี การ เปลี่ ยนแปลงตามกาลเวลา ชุ มชนที่ มีค วามส าคัญทางประวัติศาสตร์ หลายแห่ งได้ยา้ ยถิ่ นฐาน หรื ออยู่อย่าง ยากลาบากเนื่องจากไม่สามารถรับมือกับการ เปลี่ยนแปลงได้ ชุ มชนบ้านครั วเป็ นชุ มชนมุ ส ลิ มเชื้ อสายจาม ที่ พ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรั ช กาลที่ 1 พระราชทานที่ ดินให้อยู่ ร่วมกันหลังจากที่ ช าวชุ มชนมี ส่ วนร่ วมในการพัฒ นาบ้านเมื อง และมี ส่วนร่ วมใน สงครามครั้งสาคัญของแผ่นดินหลายครั้ง รวมทั้ง “สงครามเก้าทัพ” แนว ต่อมาได้มีนโยบายการขุดคลองแสนแสบเพื่อใช้ในการคมนาคมและเชิงยุทธศาสตร์ และใน ภายหลังได้ปรับเปลี่ยนเป็ นเส้นทางการค้าในเชิงธุรกิจ ได้ก่อให้เกิดการตั้งถิ่นฐานของชุมชนตามแน คลองแสน


แสบ ที่ส่งผลต่อการขยายตัวของเมือง รวมถึงแผนพัฒนาของกรุ งเทพมหานครโดยเฉพาะในส่ วน ที่เกี่ยวข้อง กับวิถีชีวิต สังคม และวัฒนธรรม ในการพัฒนาพื้นที่ชุมชนบ้านครัวน้อยนั้น ควรวางแผนอนุรักษ์พ้ืนที่บริ เวณอาคารที่มีคุณค่า ทางประวัติศาสตร์ ควบคู่ไปกับการปรับปรุ งภูมิทศั น์ของทางเดินริ มคลอง และปรั บปรุ ง พื้นที่ โล่งสา หรั บ ประกอบกิจกรรมส่ วนกลางที่มีอยูใ่ นชุมชนให้มี ความสวยงามและมีการใช้งานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่ อส่ งเสริ มพัฒ นาพื้นที่ สาธารณะริ มคลองแสนแสบ ย่านชุ มชนบ้านครั ว น้อย ให้เป็ นพื้นที่ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ประเพณี และคุณค่าทางด้านสถาปัตยกรรม 4.1.2 เพื่อส่ งเสริ มพัฒนาพื้นที่สาธารณะริ มคลองแสนแสบย่านชุมชนบ้านครัวน้อย ให้เป็ นพื้นที่พ้นื ที่บริ เวณศูนย์กิจกรรมของชุมชนและบริ เวณที่ ชุมชนใช้ทากิจกรรมร่ วมกัน 4.1.3 เพื่อส่ งเสริ มพัฒนาพื้นที่สาธารณะริ มคลองแสนแสบ ย่านชุมชนบ้านครัวน้อย ให้เป็ นพื้นที่ที่รกร้างที่มีศกั ยภาพในการใช้ประโยชน์สา หรับ ชุมชน 4.1.4 เพื่ อส่ งเสริ มพัฒ นาพื้นที่ สาธารณะริ มคลองแสนแสบ ย่านชุ มชนบ้านครั ว น้อย ให้เป็ นพื้นที่เส้นทางสัญจรในชุมชนที่เปิ ดให้ภายนอกเข้ามามี ส่ วนร่ วมกับกิจกรรมชุมชน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อการศึกษาการออกแบบวางผังภูมิ สถาปั ตยกรรมพื้นที่ชุมชนที่มีลกั ษณะ ทางประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิต 4.2.2 เพื่ อการศึ กษาการออกแบบวางผังภูมสถาปั ตยกรรมเพื่อการฟื้ นฟู ภูมิทัศน์ เมืองกับพื้นที่ริมคลองเป็ นการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กบั คนในชุมชนและนักท่องเที่ยว 4.2.3 เพื่อการศึกษาการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมในการนามาประกอบการ วิเคราะห์หาศักยภาพในการพัฒนา 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) พื้นที่ โครงการตั้งอยู่บริ เวณตรอกพญานาคและถนนเพชรบุรี ริ มคลองแสนแสบ เขตพญาไท กรุ ง เทพมหานคร เหตุ ผ ลที่ เลื อ กที่ ต้ ัง โครงการนี้ เนื่ อ งจากเป็ นพื้ น ที่ ชุ ม ชนซึ่ งมี ค วามเป็ นมาทางด้ า น ประวัติศาสตร์ ที่ยาวนาน มีวฒ ั นธรรมที่ โดดเด่น ในขณะเดี ยวกันก็เป็ นพื้นที่ ที่กาลังประสบกับปั ญหาความ เสื่ อมโทรมของสภาพแวดล้อม และการขาดแคลนพื้นที่ที่เหมาะสมสาหรับกิจกรรมภายนอกอาคาร


การออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมชุมชนสลัมบ้านครัวน้อยเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่ งแวดล้อม เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร N แผนที่ 1 แสดงแผนที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์ : ที่ต้ งั โครงการ วัดบรมนิวาสราชวรวิหาร วังสระประทุม คลองแสนแสบ NOT TO SCALE ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ https://thaivaluer.com (26 ธันวาคม2564)


การออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมชุมชนสลัมบ้านครัวน้อยเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่ งแวดล้อม เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร N แผนที่ 2 แสดงขอบเขตโครงการ สัญลักษณ์ : ขอบเขตโครงการ ทางพิเศษศรี รัช ถนนเพชรบุรี-พญาไท ถนนพระราม1 NOT TO SCALE ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ https://thaivaluer.com (26 ธันวาคม2564)


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่โครงการอยู่บริ เวณพื้นที่เรี ยบคอลงแสนแสบเขตพญาไท กรุ งทพมหานครโดยมีพ้ืนที่ ศึกษาทั้งหมด 85 ไร่ มีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ซอย 13 โรงเรี ยนกิ่งเพชร กรุ งเทพมหานคร ทิศใต้ ติดต่อกับ ท่าเรื อสะพานเจริ ญผล-ท่าเรื อสะพานหัวช้าง ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ถนนซอยเพชรบุรี 12 ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ถนนบรรทัดทอง 7. บรรณานุกรม วิภาวี อนุพนั ธ์พิศิษฐ์, พนิชการ, มณี พนิชการ, อาดิศร์ อิดรี ส รักษมณี , เสนีย ์ เวชพัฒน์พงษ์, เสนีย ์ สุ วรรณดี.2555. “โครงการอนุรักษ์มรดกทางด้านสถาปัตยกรรมและปรับปรุ ง ภูมิทศั น์ของชุมชนในพื้นที่ริมฝั่งคลองแสนแสบ: กรณี ศึกษา ชุมชนบ้านครัว.” วำรสำรสถำบันวัฒนธรรมและศิลปะ, 14 (1), 48–48. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jica/article/ view/5757 ศรี ศกั ร วัลลิโภดม. 2559. “ชุมชนบ้านครัวคือบ้านบางระจัน” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา https://lek-prapai.org/home/view.php?id=940&fbclid=IwAR1e1h_ ABuyBUR1hVRXgV0Yb_m8kmY83KCoouaM2eDKdgC6LQlQVxLQgp48 โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนินงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..


คำร้ องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย พันธุ์ธชั คมกฤส รหัส 6119102511 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วย กิตสะสม 128 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.97 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) : การออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์กีฬาคอมเพล็กซ์บางปิ้ ง อ. เมือง จ. สมุทรปราการ 2. หั ว ข้ อ เรื่ อง (ภาษาอั ง กฤษ) : The Landscape Architectural Design and Planning of the Sport Complex Center, Bang ping, Samut Prakan. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ กรมพลศึ ก ษา กระทรวงการท่ อ งเที่ ย วและกี ฬ า รั บ มอบพื้ น ที่ จ ากกรมธนารั ก ษ์ กระทรวงการคลัง เพื่ อ น าไปใช้ ป ระโยชน์ เ ป็ นสถานที่ ต้ ัง กรมพลศึ ก ษา อาคารส านั ก งานส านั ก งาน ปลัดกระทรวง สนามกีฬาขนาดมาตรฐาน 80,000-100,000 ที่นงั่ เพื่อรองรับการเสนอต่อเป็ นเจ้าภาพมหกรรม การแข่ งขันกี ฬ าต่ างๆ ในอนาคต อาคารจัด การแข่งขันกี ฬ าในร่ ม ศู นย์กีฬ าทางน้ า เส้ นทางจักรยาน และ สวนสาธารณะ โดยพื้นที่ราชพัสดุที่รับมอบตั้งอยู่ที่บริ เวณ ต.แพรกษา อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ มีเนื้ อที่โดยประมาณ 454 ไร่ 1 งาน 33 ตารางวา เดิมบริ เวณนี้ เป็ นที่ต้ งั สถานี รับวิทยุการบินบางปิ้ ง และกรมท่า อากาศยานได้มีการส่ งคืนพื้นที่แล้ว เพื่อสร้างสานักงานกรมพลศึกษาแห่ งใหม่ รวมถึงสร้างสปอร์ตคอมเพล็กซ์ ไว้รองรับการแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติ และเป็ นพื้นที่สาหรับให้ประชาชนได้เล่นกีฬาหรื อออกกาลังกาย ศูนย์กีฬาคอมเพล็กซ์ เป็ นโครงการที่จะพัฒนาพื้นที่ให้เป็ นศูนย์กีฬาระดับนานาชาติ รองรับ การแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติ เป็ นพื้นที่สาหรับให้ประชาชนได้เล่นกีฬาหรื อออกกาลังกายและเป็ นพื้ นที่ ให้กบั นักกีฬาในการฝึ กซ้อมและเก็บตัว ประกอบกับการส่ งเสริ มการลงทุนและนโยบายเกี่ยวกับการส่ งเสริ ม การท่องเที่ยว ซึ่งศูนย์กีฬาคอมเพล็กซ์น้ ีจะเป็ นส่ วนในการกระตุน้ เศรษฐกิจระดับประเทศ และกระตุน้ การท่อง เที่ยวระดับประเทศและต่างประเทศ โดยให้พ้นื ที่แห่งนี้เป็ นสื่ อกลาง.


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อสร้างศูนย์กีฬาคอมเพล็กซ์ระดับนานาชาติ 4.1.2 เป็ นพื้ นที่ ส่ งเสริ มเศรษฐกิ จระดับประเทศ และสร้ า งแหล่ งรายได้ให้กับ ประชาชน 4.1.3 เพื่อสร้างสุ ขภาพชีวิตที่ดีให้แก่ประชาชน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษามาตรฐานของกีฬาในแต่ละชนิด 4.2.2 เพื่อศึกษาการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมเกี่ยวกับการสร้างสนาม กีฬาในแต่ละชนิด 4.2.3 ศึกษาพฤติกรรมของผูท้ ี่สนใจและนักท่องเที่ยวประเภทการท่องเที่ยวเพื่อการ กีฬาและการบันเทิง (Sport and Recreation) 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) โครงการตั้งอยูบ่ นพื้นที่แปลงหมายเลขทะเบียนที่ สป. 598 – สป. 611 และ สป. 1518 ตาบล แพรกษา อาเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ เนื้อที่ประมาณ 454 ไร่ 1 งาน 33 ตารางวา 5.1 เหตุผลในการเลือกพื้นที่โครการ 5.1.1 เป็ นพื้นที่ที่ใกล้กบั สนามฟุตบอลที่ได้มาตรฐานโลก พื้นที่สามารถเชื่อมต่อ กับสนามกีฬาระดับโลกได้ง่าย 5.1.2 เป็ นพื้นที่ที่ติดกับทางสัญจรหลัก ง่ายต่อการเข้าถึง 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา ทิศเหนือ ติดกับ หมู่บา้ นธนัยพร ทิศตะวันออก ติดกับ คลองหกส่ วน ทิศตะวันตก ติดกับ สถาบันไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิ กส์ ทิศใต้ ติดกับ วิหารหลวงวัดมหาธาตุสุโขทัย


7. บรรณานุกรม เมืองพัทยา. ม.ป.ป. “โครงการสารวจและจัดทาผังแม่บทศูนย์กีฬาแห่งชาติภาคตะวันออก” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา https://www.pattaya.go.th/wpcontent/uploads/2021/02/2 (24 ธันวาคม 2564) โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


จ.สมุทรปราการ

อ.เมือง การออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์กีฬาคอมเพล็กซ์บางปิ้ ง อ. เมือง จ. สมุทรปราการ แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั โครงการ

มาตราส่ วน

ที่มา : https://www.pattaya.go.th/wpcontent/uploads/2021/02/2 (23 ธันวาคม 2564)

Not to Scale

ทิศ


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์กีฬาคอมเพล็กซ์ บางปิ้ ง ต.แพรกษา จ.สมุทรปราการ แผนที่ 2 แสดงเส้นทางเข้าถึงโครงการ พื้นที่โครงการ

มาตราส่ วน

ทางเข้าหลัก Not to Scale

ถนนสุ ขมุ วิท

ทางเข้ารอง

ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth, 2564

ทิศ


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนิ นงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..


คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้า พเจ้า นางสาวพิ ช ชาภา ธนาปิ ยวิ ศ น์ รหั ส 6119102512 นั ก ศึ ก ษาชั้ น ปี ที่ 4 สาขาวิ ช าภู มิ สถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 128 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.55 มี ค วามประสงค์ จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) : การออกแบบปรับปรุ งภู มิสถาปั ตยกรรมโป่ งน้ าร้อนท่าปาย อ. ปาย จ. แม่ฮ่องสอน 2. หั ว ข้อ เรื่ อ ง (ภาษาอังกฤษ ) : The Landscape Architectural Design and Improvement of Tha Pai Hot Springs, Pai, Maehongson

3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ โป่ งน้ าร้อนท่ าปาย เป็ นแหล่งท่องเที่ ยวธรรมชาติ ที่สาคัญของอาเภอปายอี กแห่ งหนึ่ ง เป็ น โป่ งน้ าร้อนธรรมชาติ อยู่ท่ามกลางขุนเขาและป่ าไม้ เป็ นส่ วนหนึ่ งของอุทยานแห่ งชาติ ห้วยน้ าดัง อยู่ใกล้ตวั เมืองปาย มีน้ าร้อนไหลผ่านทัว่ บริ เวณกว้าง มีบ่อกลางแจ้งสามารถลงแช่ตวั ได้ นอกนั้นเป็ นน้ าผุดหลายจุด บ่อ สู งสุ ดมีอุณหภูมิผิวดิ นที่ จุดกาเนิ ดความร้อนประมาณ 80 – 100 องศาเซลเซี ยส สามารถต้มไข่ให้สุกได้ และ อุณหภูมิลดลงเรื่ อยๆ ตามระยะทาง การค้นพบโป่ งน้ าร้อนท่าปาย ถูกค้นพบโดยชาวบ้านที่เข้ามาทาปศุสัตว์ และขุดเหมือง เมื่อ สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 บริ เวณนี้ เป็ นที่ พกั ของทหารญี่ปุ่น และเมื่อสงครามสิ้ นสุ ดทหารญี่ปุ่นได้ถอนกาลัง ออกไป คณะครู และนักเรี ยนโรงเรี ยนท่ าปายวิทยาคาร ร่ วมกับชาวบ้าน ได้เข้ามาพัฒนาพื้ นที่ ให้เป็ นแหล่ง เรี ยนรู ้ตามธรรมชาติ และต่อมาในปี พ.ศ. 2538 โป่ งน้ าร้อนท่าปายได้ถูกรวมอยูใ่ นพื้นที่อุทยานแห่งชาติหว้ ยน้ า ดัง ปัจจุบนั อาเภอปายมีสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่หลากหลายและเป็ นที่นิยมของนักท่องเที่ยว ที่มาเที่ยวปาย ซึ่ งโป่ งน้ าร้อนท่าปายที่เปิ ดเป็ นแหล่งท่องเที่ยวมาเนิ่ นนานนั้นพบว่าการจัดการพื้นที่ยงั ไม่มีความ เหมาะสม บางส่ วนมีสภาพที่ทรุ ดโทรมลง ขาดการดูแล ในบางพื้นที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อผูใ้ ช้และอาจเกิด


ผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม ดังนั้นจึงควรมีการปรับปรุ งและพัฒนาให้เป็ นระบบมากขึ้น เพื่อส่ งเสริ มเป็ นพื้นที่ที่ เหมาะสมแก่นกั ท่องเที่ ยวที่ มาพักผ่อนหรื อศึกษาธรรมชาติ และมีการฟื้ นฟูอนุ รักษ์ทรัพยากรน้ าและป่ าไม้ใน บริ เวณโป่ งน้ าร้อน 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่ อพัฒนาและปรับปรุ งสภาพพื้นที่ สาหรับรองรับกิ จกรรมนันทนาการใน พื้นที่โป่ งน้ าร้อนท่าปาย 4.1.2 เพื่อพัฒนาพื้นที่ให้มีการใช้งานกิจกรรมที่หลากหลาย เป็ นพื้นที่ที่ง่ายต่อการ ดูแลรักษา นักท่องเที่ยวสามารถใช้งานได้ทุกเมื่อ 4.1.3 เพื่อเป็ นสถานที่ ท่องเที่ ยวทางธรรมชาติ ที่ตอบโจทย์สาหรับคนรักสุ ขภาพ หรื อสาหรับนักท่องเที่ยว คนในชุมชนมาพักผ่อน 4.1.4 เพื่อฟื้ นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรป่ าไม้และทรัพยากรน้ า 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อศึ กษาออกแบบวางผังภู มิ สถาปั ตยกรรมพื้ นที่ ใช้สอย สาหรับปรับปรุ ง ภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่โป่ งน้ าร้อนท่าปาย 4.2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาหลัก การและแนวทางการออกแบบภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมแหล่ ง ท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติที่ส่งผลกระทบต่อทรัพยากรทางธรรมชาติให้นอ้ ยที่สุด 4.2.3 เพื่อศึกษาระบบนิเวศโป่ งน้ าร้อนท่าปาย 4.2.4 เพื่ อศึ กษารู ปแบบกิ จกรรมนันทนาการและการท่ องเที่ ยวในรู ปแบบต่ างๆ ความต้องการของการท่องเที่ยวทางธรรมชาติ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ โครงการออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมโป่ งน้ าร้อนท่าปาย ตั้งอยูท่ ี่ บ้าน ท่าปาย หมู่ที่ 3 ตาบลแม่ฮ้ ี อาเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน พื้นที่โครงการ 80 ไร่ 5.1.1 ที่ต้ งั โครงการและขอบเขตพื้นที่โครงการ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 เป็ นพื้ นที่ ที่เป็ นแหล่ งท่ องเที่ ยวทางธรรมชาติ ที่ มีโป่ งน้ าร้ อน และระบบ นิเวศที่เหมาะสมแก่การท่องเที่ยวและพักผ่อน 5.2.2 เป็ นพื้นที่ โครงการเดิ มที่ ตอ้ งทาการพัฒนาและปรับปรุ งภู มิทศั น์ให้มี ความ สวยงาม เหมาะสมกับการใช้งาน มีการอนุรักษ์ฟ้ื นฟูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติ


การออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมโป่ งน้ าร้อนท่าปาย อ. ปาย จ. แม่ฮ่องสอน แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั และขอบเขตพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงจาก http://www.maehongson.go.th/th/provinceinfo/general-info/provincemap-th.html (21 ธันวาคม 2564) สัญลักษณ์

ที่ต้ งั โครงการ

มาตราส่ วน NOT TO SCALE

ตาแหน่งโครงการ


การออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมโป่ งน้ าร้อนท่าปาย อ. ปาย จ. แม่ฮ่องสอน แผนที่ 2 แสดงขอบเขตที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ทางหลวงชนบท แม่ฮ่องสอน 4024 แม่น้ าปาย ที่มา : ดัดแปลงมาจาก Google Earth (21 ธันวาคม 2564)

NOT TO SCALE


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา โครงการออกแบบปรั บ ปรุ งภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมโป่ งน้ าร้ อ นท่ า ปาย อ าเภอปาย จัง หวัด แม่ ฮ่อ งสอน มี พ้ื น ที่ ป ระมาณ 80 ไร่ ประกอบไปด้ว ย พื้ น ที่ แ ช่ น้ า ร้ อ น บ่ อ ก าเนิ ด น้ า ร้ อ น เส้ น ทางศึ ก ษา ธรรมชาติ สถานีเพาะชากล้าไม้เมืองปาย ทิศเหนือ ติดกับ ป่ าสงวนแห่งชาติ ป่ าแม่ปายฝั่งซ้ายตอนบน ทิศใต้ ติดกับ ป่ าสงวนแห่งชาติ ป่ าแม่ปายฝั่งซ้ายตอนบน ทิศตะวันออก ติดกับ ป่ าสงวนแห่งชาติ ป่ าแม่ปายฝั่งซ้ายตอนบน ทิศตะวันตก ติดกับ ถนนชนบท แม่ฮ่องสอน 4024 7. บรรณานุกรม องค์การบริ หารส่ วนตาบลแม่ฮ้ ี . ม.ป.ป. “โป่ งน้ าร้อนท่าปาย”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่ มา https://www.maeheepai.org/17629949/โป่ งน้ าร้อนท่าปาย (21 ธันวาคม 2564) EmagTravel. ม.ป.ป. “โป่ งน้ าร้ อ นท่ า ปาย บ่ อ น้ าร้ อ นบ้ า นท่ า ปาย .[ระบบออนไลน์ ]. แ ห ล่ ง ที่ ม า https://www.emagtravel.com/ archive/pongnamron-tapai.html (21 ธันวาคม 2564) โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนินงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..


คำร้องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวภัท รานิ ษ ฐ์ อิ น ทร์ ส มใจ รหั ส 6119102514 นั ก ศึ ก ษาชั้น ปี ที่ 4 สาขาวิ ช าภู มิ สถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 128 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.42 มี ค วามประสงค์จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) : การออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมชุมชนท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ริม เขื่อนเจ้าพระยา อ.สรรพยา จ.ชัยนาท 2. หั ว ข้อ เรื่ อ ง (ภาษาอัง กฤษ) : The Landscape Architecture Design and Planning of The Creative Tourism Communities at the Chao Phraya Dam , Sapphaya, Chainat 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ พื้น ที่ ชุมชนตาบลบางหลวงและตาบลตลุ ก อาเภอสรรพยา เป็ นพื้ น ที่ ที่อยู่ขนานริ ม 2 ฝั่ ง แม่น้ าเจ้าพระยา เป็ นที่ต้ งั ของเขื่อนเจ้าพระยาสถานที่ท่องเที่ยวสาคัญอีกหนึ่งแห่ งของจังหวัดชัยนาท มีสถานที่ ท่องเที่ยวใกล้เคียง ตลาดเจ้าพระยาแลนด์ พื้นที่สวนสาธารณะ และพื้นที่ชุมชนที่อยู่แนวริ มน้ าเจ้าพระยา ใน ปัจจุบนั พื้นที่ดงั กล่าวขาดการดูแล การบริ หารจัดการ และประสบปั ญหาน้ าท่วมพื้นที่ริมน้ าเกือบทุกปี จึงทาให้ แนวริ ม ตลิ่ ง มี ก ารใช้ค อนกรี ต เสริ ม เหล็ ก ป้ อ งกัน น้ าท่ ว มและการกัด เซาะแนวตลิ่ ง ท าให้ ภ าพรวมของ สภาพแวดล้อมไม่สวยงาม ไม่เป็ นระเบียบ และขาดการใช้งานที่สอดคล้องกับบริ บทให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด จากแผนยุทธศาสตร์ ด้านการท่ องเที่ ยวของจังหวัดชัยนาท และโครงการชุ มชนท่ องเที่ ยว OTOP นวัตวิถี ยุทธศาสตร์ ชาติ 20 ปี เป็ นแผนการพัฒนาและส่ งเสริ มการท่องเที่ ยวตามวิถีชุมชน ปรับปรุ ง สภาพแวดล้อม เพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กบั ชุมชน และหาแนวทางแก้ไขปั ญหารวมถึงการป้ องกันแนวตลิ่ง และน้ า ท่วมอีกด้วย จากเหตุผลความเป็ นมาดังกล่าว จึงได้เลือกพื้นที่บริ เวณการท่องเที่ยวทั้งในชุมชนรวมถึงริ ม เขื่อนเจ้าพระยา และพื้นที่สวนสาธารณะ มาเป็ นพื้นที่โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมเพื่อให้เกิ ด


ความเหมาะสม และพัฒนาสภาพของพื้นที่ให้สามารถสอดคล้องกับการใช้งาน พัฒนาได้ตามแผนยุทธศาสตร์ เกิดการใช้ประโยชน์ในพื้นที่สูงสุ ด 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่ชุมชนริ มฝั่งแม่น้ าบริ เวณริ มเขื่อน เจ้าพระยาให้เป็ นพื้นที่กิจกรรมและสนับสนุนการท่องเที่ยว 4.1.2 เพื่อพัฒนาพื้นที่ ท้ งั หมดของชุ มชนริ มน้ าเจ้าพระยา สถานที่ ท่องเที่ ยวและ ตลาดชุมชนให้รองรับการเป็ นชุมชนท่องเที่ยงเชิงสร้างสรรค์ 4.1.3 เพื่อปรับปรุ งพื้นที่สีเขียวเดิมที่มีอยู่และแก้ไขปั ญหาน้ าท่วมขัง และป้ องกัน การกัดเซาะแนวตลิ่ง 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการวางผังพื้นที่และออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมของชุมชนริ มฝังแม่น้ า บริ เวณริ มเขื่อนเจ้าพระยา ให้สอดคล้องกับการทากิจกรรมและการท่องเที่ยว 4.2.2 เพื่อศึกษาองค์ประกอบและปั จจัยที่ มีผลกระทบต่อการท่องเที่ยวตามวิถีชุมชน และการพัฒนาชุมชนท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ 4.2.3 เพื่อศึกษาการออกแบบและปรับปรุ งพื้นที่สีเขียว และศึกษาแนวทางการแก้ปัญหา น้ าท่วมขังรวมถึงแนวทางการป้องกันการกัดเซาะของแนวตลิ่ง 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ โครงการตั้งอยู่ติดกับแม่น้ าเจ้าพระยา บริ เวณที่ริมเขื่อนเจ้าพระยา อยู่ในเขตตาบล บางหลวง คาบเกี่ยวกับตาบลตลุก อาเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท มีพ้นื ที่ท้ งั หมดประมาณ 362 ไร่ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 พื้นที่ดงั กล่าวเป็ นพื้นที่ท่องเที่ยวที่สาคัญและเป็ นพื้นที่มีแผนการพัฒนาตาม แผนยุทธศาสตร์ของจังหวัดชัยนาท 5.2.2 พื้นที่ ดงั กล่ าวเป็ นพื้นที่ ที่มีปัญหาหลายด้านทั้งการจัดการ ไม่มีระเบี ยบ น้ า ท่วมขัง สภาพแวดล้อมไม่สวยงาม ศักยภาพของพื้นที่ไม่ถูกดึงออกมาใช้งานได้เต็มประสิ ทธิภาพ 5.2.3 พื้ น ที่ ชุ ม ชนริ มฝั ง น้ าเจ้ า พระยาเป็ นพื้ น ที่ ที่ ส ามารถตอบสนองการใช้ ประโยชน์พ้นื ที่ได้สูงสุ ด ทั้งการทากิจกรรม การท่องเที่ยว และการอยูอ่ าศัย






6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่โครงการตั้งอยู่ในเขตตาบลบางหลวง คาบเกี่ ยวกับตาบลตลุก อาเภอสรรพยา จังหวัด ชัยนาท พื้นที่ท้ งั หมดประมาณ 362 ไร่ โดยมีอาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตาบลตลุก อาเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท ทิศใต้ ติดต่อกับ ตาบลบางหลวง อาเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตาบลชัยนาท อาเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตาบลสรรพยา อาเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท 7. บรรณานุกรม สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2562. “แหล่งท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี จังหวัด ชัยนาท” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา https://www.opsmoac.go.th/news-preview411891791578 (20 ธันวาคม 2564) สานักงานการท่องเที่ ยวและกี ฬา จังหวัดชัยนาท 2563. “แผนพัฒนาการท่องเที่ ยวจังหวัด ชัยนาท ประจาปี 2560-2564.” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่ มา https://chainat.mots. go.th/more_news.php?page=2&cid=84 (20 ธันวาคม 2564) เทศบาลต าบลบางหลวง. ม.ป.ป. “ข้อ มู ล หน่ ว ยงาน” [ระบบออนไลน์ ] แหล่ ง ที่ ม า https://www.bang-luang.go.th/home (20 ธันวาคม 2564) จรั สพิมพ์ บุญญานันต์. 2556. “คู่มือการดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ 2556”. [ระบบออนไลน์ ] แ ห ล่ งที่ ม า https://issuu.com/tuboonyanant/docs/latheismanual5 6 _foeweb (2 3 ธันวาคม 2564) โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสูตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสูตร อนุมตั ิให้ดาเนินงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..


คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย รัฐนันท์ สุ วาโร รหัส 6119102515 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วยกิต สะสม 128 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.20 มี ค วามประสงค์ จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) : การออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมศูนย์สปาวารี บาบัด น้ าพุร้อนเค็ม คลองท่อม อ.คลองท่อม จ.กระบี่ 2. หั ว ข้ อ เรื่ อ ง (ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ) The Landscape Architectural Design and Planning of the Hydrotherapy Spa Center, Khlong Thom Hot Saltwater Spring, Khlong Thom, Krabi 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จังหวัด กระบี่ เป็ นจังหวัด ที่ มีชื่ อเสี ยงด้านอุตสาหกรรมการท่องเที่ ยวของประเทศไทย มี ทรัพยากรทางธรรมชาติ แหล่งท่องเที่ยวที่สวยงามดึงดูดนักท่องเที่ยวให้มาเยี่ยมเยือนปี ละไม่ต่ากว่า 5 แสนคน โดยมีแหล่งท่องเที่ยวที่เป็ นที่นิยมก็คืออุทยานแห่ งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมู่เกาะพีพี ทะเลแหวก เกาะปอดะ อ่าวไร่ เล เกาะไก่ อุทยานแห่ งชาติ หมู่เกาะลันตา เกาะลันตาน้อย เกาะลัน ตาใหญ่ เกาะตะละเบ็ง และเกาะ ใกล้เคียง อ่าวต่าง ๆ สระมรกต ที่เป็ นพื้นที่พกั ผ่อนและนันทนาการ ทารายได้ให้คนในพื้นที่ ปั จจุ บนั รัฐบาลมี การส่ งเสริ มนโยบายการท่ องเที่ ยวเชิ งสุ ขภาพ ซึ่ งสามารถเพิ่ มมูลค่าทาง การตลาดให้กบั ประเทศได้อย่างมาก กระทรวงสาธารณสุ ข โดยกรมสนับสนุ นบริ การสุ ขภาพ ได้ร่วมมือกับ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา บูรณาการทางานร่ วมกันเพื่อพัฒนาประเทศไทยให้เป็ นศูนย์กลางด้าน Medical & Wellness Tourism และได้จดั ทาแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาประเทศไทยให้เป็ นศูนย์กลางสุ ขภาพนานาชาติ พ.ศ. 2560-2569 ระยะ 10 ปี ซึ่ งเป็ นฉบับที่ 3 มีองค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) Medical service hub 2) Wellness hub 3) Academic hub และ 4) Product hub ทั้งนี้ มี โครงการสาคัญในระยะเร่ งด่ วนเป็ นวาระแห่ งชาติคือ การ พัฒนาแหล่งน้ าพุร้อนให้เป็ นเมืองสปา และเส้นทางท่องเที่ยวสายน้ าพุร้อนของไทย โดยนาร่ องในจังหวัดกระบี่ ซึ่งกิจกรรมนี้ได้รับการอนุมตั ิจากคณะรัฐมนตรี แล้ว และนามาจัดทาเป็ นแผนปฏิบตั ิการระยะ 1 ปี 3 ปี และ 5 ปี


ส าหรั บ เมื องสปาต้นแบบนี้ จะเน้นการพัฒนาอัตลักษณ์ จุ ด ขายการเข้าถึ งการท่องเที่ ยวเชิ งสุ ขภาพ พัฒ นา โครงสร้างพื้นฐาน พัฒนารู ปแบบกิจกรรมส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วม รวมทั้งบริ หารจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยว โดยเพิ่มมูลค่าการท่องเที่ ยวจากการพัฒ นาผลิ ตภัณ ฑ์ที่ส ามารถสร้ างมูลค่าเพิ่ มได้ เชื่ อมโยงกับวิถีการดูแ ล สุ ขภาพแบบไทย และทาการตลาดในกลุ่มเป้ าหมายเฉพาะได้ น้ าพุร้อนเค็มคลองท่อม ตาบลห้วยน้ าขาว อาเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ มี แหล่งของทั้ง น้ าพุร้อน น้ าตกร้อน และน้ าพุร้อนเค็ม บางพื้นที่มีค่า PH เป็ นกลางที่ สามารถอาบเพื่อความงามได้ มี อายุน้ า ฟอสซิ ล 50 ปี และเป็ นน้ าแร่ ท่ามกลางทิวทัศน์ธรรมชาติที่สวยงาม และมีการขับเคลื่อนสู่ เมืองน้ าพุร้อน หรื อ ออนเซ็ นมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 โดยสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ เสนอให้พฒ ั นาน้ าพุร้อนทั้ง ประเทศใน 27 จังหวัดเป็ นที่ อาบน้ าสาธารณะ และเชื่ อมโยงแหล่งท่องเที่ ยวในพื้นที่ ยกระดับเป็ น Wellness หรื อการดูแลสุ ขภาพ ซึ่ งหากทาได้ควรต่อยอดเป็ นเมืองน้ าพุร้อน หรื อหมู่บา้ นน้ าพุร้อน จะสร้างเศรษฐกิจดึงดูด การท่องเที่ยวเชิงสุ ขภาพ ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนสร้างเศรษฐกิจต่อเนื่อง จากเหตุผ ลความเป็ นมาที่ กล่าวข้างต้น จึงเสนอหัวข้อโครงการพัฒนาสปาวารี บาบัด น้ าพุ ร้อนคลองท่อม จังหวัดกระบี่ โดยตั้งอยู่ หมู่ที่ 8 ตาบล ห้วยน้ าขาว อาเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ มีเนื้ อที่ 129 ไร่ พื้ นที่ ต้ งั อยู่บริ เวณปากน้ าป่ าชายเลน และชุ มชนอาศัย ประมงและเกษตรกรรม พื้นที่ อยู่ห่างจากตัวเมื อ ง กระบี่ 42 กิ โลเมตร สามารถเข้าถึ งได้ส ะดวก สภาพพื้ นที่ ปัจจุ บันยังไม่ ส ามารถรองรั บการใช้งานได้อย่าง ครอบคลุม อย่างไรก็ดีท้ งั มีศกั ยภาพของพื้นที่ในพัฒนาเพื่อรองรับการทากิจกรรมได้อย่างหลากหลาย และยัง สามารถให้ชุมชนภายในพื้นที่และนักท่องเที่ยวเข้ามามีส่วนร่ วมได้ เพื่อที่จะตอบสนองโจทย์ในเรื่ องของการ เป็ นศูนย์กลางและเป็ นต้นแบบการท่องเที่ยวเชิงสุ ขภาพ ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่ อ ให้เป็ นศู นย์กลางและเป็ นต้นแบบการท่องเที่ ยวเชิ งสุ ข ภาพ ยกระดับ คุณภาพชีวิตของประชาชน และตอบสนองนโยบายของภาครัฐในการส่ งเสริ มการท่องเที่ยวเชิงสุ ขภาพ 4.1.2 เพื่ อให้เป็ นสถานที่ ท่องเที่ ยวเชิ งสุ ขภาพ พักผ่อนบาบัด ฟื้ นฟู ร่างกายและ จิตใจภายใต้ระบบนิเวศธรรมชาติแบบยัง่ ยืน 4.1.3 เพื่อเป็ นการกระตุน้ เศรษฐกิจและกระจายรายได้ สร้างงานให้กบั ประชาชน ในท้องถิ่น โดยพัฒนาพื้นที่ให้เกิดการจ้างงาน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อ ศึ ก ษากระบวนการออกแบบและวางผัง โครงการ การท่ องเที่ ย วเชิ ง สุ ขภาพ 4.2.2 เพื่อศึกษารู ปแบบวิธีการบาบัดร่ างกายและจิตใจด้วยธรรมชาติ 4.2.3 เพื่ อ ศึ ก ษาวัฒ นธรรมท้ อ งถิ่ น ระบบนิ เวศ ระบบน้ าร้ อ นเค็ ม ธรรมชาติ ตลอดจนงานสถาปัตยกรรมมาใช้ในการออกแบบเพื่อให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมโดยรอบ


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ โครงการตั้งอยูต่ าบลคลองท่อมเหนือ อาเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 พื้นที่ดงั กล่าวอยูใ่ นแผนนโยบายการพัฒนา 5.2.2 เป็ นพื้นที่ที่มีศกั ยภาพในการพัฒนาโครงการ เป็ นพื้นที่บ่อน้ าพุร้อนเดิม 5.2.3 เป็ นพื้นที่ที่ได้รับความนิ ยม เป็ นแหล่งท่องเที่ยวและนันทนาการอาเภอคลอง ท่อม จังหวัดกระบี่ 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา โครงการพัฒนาสปาวารี บาบัด น้ าพุร้อนคลองท่อม จังหวัดกระบี่ มีพ้ืนที่ท้ งั หมด 129ไร่ มี อาณาเขตการติดต่อ ทิศเหนือ ติดกับพื้นที่ น้ าพุร้อนเค็มรี สอร์ท และสวนปาล์มน้ ามัน ทิศใต้ ติดกับพื้นที่ หมีนฟาร์มน้ าพุร้อนเค็มรี สอร์ท ทิศตะวันออก ติดกับพื้นที่ พื้นที่การเกษตร ทิศตะวันตก ติดกับพื้นที่ ป่ าโกงกาง 7. บรรณานุกรม จรัสพิมพ์ บุญญานันต์, 2564-2562. “คู่มือการดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ระดับประริ ญญา ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต’’. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยแม่โจ้.(วันที่ 6 มกราคม 2565) แผนพัฒนาจังหวัดกระบี่(พ.ศ. 2561 – 2565ฉบับทบทวนปี พ.ศ. 2564). [ระบบออนไลน์]. แห ล่ ง ที่ ม า http://krabi.thailocallink.com/files/com_news_develop_plan/202008_5346d4ead238117.pdf (วันที่ 6 มกราคม 2565) Hfocus. 2564. “คลองท่อม จ.กระบี่ สู่ ออนเซ็ นเมื องไทย ฟื้ นเศรษฐกิ จการท่ องเที่ ยวเชิ ง สุ ขภาพ”. [ระบบอออนไลน์] แหล่งที่มา https://www.hfocus.org/content/2021/11/ 23763 (วันที่ 6 มกราคม 2565)


โครงการพัฒนาสปาวารี บาบัด น้ าพุร้อนคลองท่อม จังหวัดกระบี่ แผนที่ 1 ขอบเขตโครงการ ที่มา : ตัดแปลงจาก www.google.co.th ( 5 มกราคม 2565 ) สัญลักษณ์ : แสดงที่ต้ งั โครงการ ถนนทางหลวง ชบ.81120 คลองน้ าร้อน

มาตราส่ วน

Not to scale


โครงการพัฒนาสปาวารี บาบัด น้ าพุร้อนคลองท่อม จังหวัดกระบี่ แผนที่ 2 แสดงน้ าและเส้นทางเข้าสู่พ้ืนที่โครงการ ที่มา : ตัดแปลงจาก www.google.co.th ( 5 มกราคม 2565 ) สัญลักษณ์ : แสดงที่ต้ งั โครงการ ทางหลวง ชบ.81120 ทางหลวง ชบ.3027 ถนนเพชรเกษม 81120 ทะเลอันดามัน

มาตราส่ วน

Not to scale

โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนินงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..


คำร้ องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย วรวุฒิ อภิ ชาติ รหัส 6119102516 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 4 ภาคการศึกษา จานวนหน่วย กิตสะสม 119 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.52 มี ค วามประสงค์ จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) : การออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม สวนรวมพรรณไม้ป่า 60 พรรษา มหาราชินีภาคเหนือ เพื่อการเรี ยนรู ้การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการนันทนาการ อ. หางดง จ.เชียงใหม่ 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) : The Landscape architectural Design and Improvement of Her Majesty the Queen's 60th Birthday Anniversary Botanical Garden (North) for learning in natural resource conservation and recreation 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ประเทศไทยมี ค วามหลากหลายของทรั พ ยากรพรรณพื ช ทั้ง พื ช ชั้น สู ง และพื ช ชั้น ต่ า ประมาณได้กว่า 15,000 ชนิ ด หลายชนิ ดเป็ นพืชเศรษฐกิจ หลายชนิ ดเป็ นยาสมุนไพร ทรัพยากรด้านพืช ทวี ความสาคัญขึ้นทุกวันในอนาคต งานด้านอนุ รักษ์พรรณพืชโดยเฉพาะงานด้านสวนพฤกษศาสตร์ เกิดขึ้นใน ประเทศไทย ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2534 โดยมีการจัดตั้งองค์การสวนพฤกษศาสตร์ ข้ ึนในประเทศไทย เพื่อทาหน้าที่ รวบรวมพรรณไม้ชนิ ดต่าง ๆ นามาปลูก ขยายพันธุ์ โดยเฉพาะไม้ประจาถิ่น ไม้หายาก และไม้ที่กาลังจะสู ญ พันธุ์ ทั้งนี้ จะเป็ นการอนุ รักษ์ทรัพยากรทางพรรณพืชอันล้ าค่าของประเทศไว้ เพื่อการศึกษาหาประโยชน์จาก ทรัพยากรพืชอย่างยัง่ ยืน เพื่อรวบรวมพรรณไม้ของภาคเหนื อมาเก็บรวบรวมไว้ในแหล่งที่ปลอดภัย เป็ นแหล่ง ศึกษาพรรณไม้ ผลิตพรรณไม้และเมล็ดไม้ป่าของภาคเหนื อในอนาคต ตลอดจนเป็ นที่พกั ผ่อนหย่อนใจของ ประชาชนทัว่ ไป สวนรวมพรรณไม้ป่า 60 พรรษา มหาราชิ นี ภาคเหนื อ ตั้งอยู่ที่ ต.หนองควาย อ.หางดง จ. เชี ยงใหม่ เป็ นสถานที่ ท่องเที่ ยวอี กแห่ งหนึ่ งของ จังหวัดเชี ยงใหม่ ในปั จจุบนั เป็ นพื้นที่เรี ยนรู ้ทางธรรมชาติ และสถานที่เพาะเมล็ดของพันธุ์ไม้หายาก แต่มีสภาพทรุ ดโทรมไม่เอื้อต่อการใช้ประโยชน์ ในอนาคตสถานที่ แห่ งนี้ มีศกั ยภาพที่จะกลายเป็ นสวนพฤกษศาสตร์ ที่มีมาตรฐานจะมีองค์ประกอบที่สาคัญ เช่น แปลงรวบรวม


พรรณพืช ห้องสมุด หอพรรณไม้ ห้องปฏิบตั ิการ นอกจากงานด้านอนุรักษ์พืชแล้ว ยังเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ดา้ นพืช สาหรับการศึกษาของนักวิจยั นักเรี ยนนักศึกษา หรื อตอบสนองต่อการเป็ นแหล่งท่องเที่ยว และสถานพักผ่อน หย่อนใจ รวมไปถึงตอบสนองต่อความเป็ นอยูข่ องมนุษย์ เช่น การเป็ นแหล่งพันธุกรรมให้แก่ชุมชนในท้องถิ่น 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นสถานที่อนุรักษ์พืชพรรณและสัตว์ป่าของภาคเหนือ 4.1.2 เพือ่ เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ทางธรรมชาติ 4.1.3 เพื่อเป็ นสถานที่เพาะเมล็ดของพันธุ์ไม้หายาก 4.1.4 เพื่อเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ 4.1.5 เพื่อปลูกสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์พนั ธุกรรมพืชและทรัพยากร 4.1.6 เพื่อเป็ นแหล่งนันทนาการทางธรรมชาติ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อ ศึ ก ษาแนวทางการออกแบบปรั บ ปรุ งภู มิ ส ถาปั ตยกรรมสวน พฤกษศาสตร์เพื่อการเรี ยนรู ้และนันทนาการ 4.2.2 เพื่อศึกษาพรรณไม้ป่าของภาคเหนือ ในประเทศไทย 4.2.3 เพื่ อศึ กษาปั จจัยต่าง ๆ ที่ เกี่ ยวข้อง ทั้งในด้านปั จจัยทางธรรมชาติ ปั จจัยที่ มนุษย์สร้างขึ้น และปั จจัยทางสุ นทรี ยภาพ นามาวิเคราะห์ และสังเคราะห์ เพื่อหาข้อสรุ ปที่สามารถนาไปใช้ใน การออกแบบปรับปรุ งพื้นที่โครงการ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) สวนรวมพรรณไม้ป่า 60 พรรษา มหาราชิ นี ภาคเหนื อ ตั้งอยู่ที่ ต.หนองควาย อ.หางดง จ. เชียงใหม่ เป็ นสถานที่ท่องเที่ยวอีกแห่ งหนึ่ งของ จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่ งในปั จจุบนั ยังไม่มีการออกแบบให้รองรับ กิจกรรมที่ หลากหลายมากนัก ในขณะที่ พ้ืนที่ อยู่ติดเมืองเชี ยงใหม่ และมีศกั ยภาพในการพัฒนาให้เป็ นสวน พฤกษศาสตร์ที่ทนั สมัย 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่ของโครงการมีขนาด ประมาณ 148 ไร่ มีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดกับ ดอยสุ เทพ ทิศใต้ ติดกับ พืชสวนโลก ทิศตะวันออก ติดกับ เชียงใหม่ไนท์ซาฟารี ทิศตะวันตก ติดกับ ดอยสุ เทพ


7. บรรณานุกรม จรัสพิมพ์ บุญญานันต์. 2556. “คู่มือการดาเนินงานวิทยานิพนธ์. 2556” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา : https://issuu.com/tuboonyanant/docs/latheismanual56_foeweb (24 ธันวาคม 2562)

การออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม สวนรวมพรรณไม้ป่า 60 พรรษา มหาราชินีภาคเหนือ เพื่อการเรี ยนรู ้การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการนันทนาการ อ. หางดง จ.เชียงใหม่ แผนที่ 1 แสดงขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Map (26 ธันวาคม 2564)

NOT TO SCALE

โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนินงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..


คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย ศุภกฤต คาหล้าทราย รหัส 6119102517 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อมศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิต สะสม 128 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.95 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) : การวางผังและออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์เปลี่ยนถ่ายรู ปแบบการ ขนส่ งสิ นค้าเชียงของ เฟสที่ 3 และพื้นที่เกี่ยวเนื่อง อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) : The Landscape Architectural Planning and Design of Chiang Khong Intermodal Facility Phase 3 and Related Areas, Chiang Khong, Chiang Rai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ อาเภอเชี ยงของ เป็ นที่ ต้ งั ของสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่ งที่ 4 ถือเป็ นหนึ่ งในเส้นทางการ เชื่ อมโยงตามแนวระเบี ยงเศรษฐกิ จเหนื อใต้ เป็ นจุดผ่านแดนถาวรระหว่างไทยและลาว เป็ นเมื องโลจิ สติ กส์ (Logistics City) บริ การขนส่ ง และเมืองแวะผ่านสาหรับนักท่องเที่ ยว สิ นค้าส่ งออกที่ สาคัญคือ สิ นค้าอุปโภค บริ โภคเครื่ องใช้ไฟฟ้ า และวัสดุก่อสร้าง ซึ่ งมียุทธศาสตร์ สาหรับการพัฒนา คือเป็ นเมืองศูนย์กลางการเปลี่ยน ถ่ายและกระจายสิ นค้า จึงได้มี “ศูนย์เปลี่ยนถ่ายรู ปแบบการขนส่ งสิ นค้าเชียงของ” เกิดขึ้นเพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพ และอานวยความสะดวกในการขนส่ งสิ นค้าผ่านแดนให้ดีข้ ึนตลอดจนสร้างประโยชน์จากการขนส่ งสิ นค้าผ่าน แดนและการใช้เส้นทางการขนส่ งสิ นค้าเข้าสู่ ประเทศไทย โดยปั จจุบนั โครงการนี้ อยู่ระหว่างการเร่ งก่อสร้าง บนพื้นที่ โครงการ 336 ไร่ ติ ดกับด่านเชี ยงของและสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่ งที่ 4 ประมาณ 1 กิ โลเมตร แบ่งการดาเนิ นงานออกเป็ น 3 เฟส โดยเฟสที่ 1 และเฟสที่ 2 มีการออกแบบวางผังเสร็ จเรี ยบร้อยแล้ว ทั้งนี้เฟส ที่ 1 ประกอบด้วย 1) อาคารคลังสิ น ค้าศุ ลกากร 2) อาคารหอพัก 3) อาคารคลังสิ น ค้าทัณ ฑ์บ น 4) อาคาร บริ หารงานส่ วนกลาง 5) ลานจอดรถ/เปลี่ยนถ่ายหัวลาก หางพ่วง 6) ลานจอดรถ 7)โรงอาหารส่ วนบริ หารงาน กลาง 8) อาคารซ่ อมบารุ งส่ วนบริ หารงานกลาง 9) อาคาร CFS หลังที่ 1 10) อาคาร CCA เฟสที่ 2 ประกอบด้วย


11) อาคารคลังสิ นค้าออก 12) อาคาร CFS หลังที่ 2 13) อาคารสานักงานฝ่ ายปฏิบตั ิการ 14) อาคารคลังสิ นค้าขา เข้า 15) ลานกองตูค้ อนเทนเนอร์ 16) โรงอาหารส่ วนปฏิบตั ิงาน 17) อาคารซ่ อมบารุ งเครื่ องจักรกล 18) อาคาร X-Ray นอกจากนั้นยังมีพ้ืนที่เพื่อรองรับการพัฒนาในอนาคต (เฟส 3) เอาไว้อีกด้วย โดยในอนาคตจังหวัดเชี ยงรายจะมีรถไฟสายใหม่ สายเด่นชัย-เชี ยงราย-เชียงของ เกิดขึ้นเพื่อเชื่อมโยง กับประเทศเพื่อนบ้าน เพิ่มขีดความสามารถในการขนส่ งระหว่างประเทศในภูมิภาค การลดต้นทุนทางด้านโลจิ สติ กส์ ของประเทศ ลดค่ าใช้จ่ายด้านพลังงานในการขนส่ งสิ นค้า อี กทั้งยังอานวยความสะดวกในด้านการ คมนาคมของประชาชน ดังนั้นการวางผังและออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์เปลี่ยนถ่ายรู ปแบบการขนส่ งสิ นค้าเชียงของ เฟส ที่ 3 และพื้นที่เกี่ยวเนื่อง จะช่วยสนับสนุนโครงการให้ดียิ่งขึ้นเพื่อรองรับโครงการเจริ ญเติบโตของเศรษฐกิจใน อนาคต และภายในโครงการขาดอีกหลายส่ วนที่ ช่วยสนับสนุ นโครงการ ยังมีพ้ืนที่ ที่น่าสนใจควรได้รับการ พัฒนาต่อให้สมบูรณ์มากที่สุด มีแหล่งศูนย์การค้าขนาดเล็ก (Community Mall) จุดเปลี่ยนถ่ายสิ นค้าจากรถไฟ สวนสาธารณะภายในโครงการเพื่อช่วยเติ มเต็มผูค้ นที่ เข้ามาใช้งานโครงการให้ดียิ่งขึ้ น พื้นที่ รองรับผูท้ ี่สนใจ อยากเข้ามาเยี่ยมชม หรื อคนภายนอกที่อยากเข้ามาลงทุน เช่นการรับสิ นค้า ซื้ อ-ขาย จากรถบรรทุกสิ นค้า หรื อ สถานีรถไฟในอนาคต 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อพัฒนาโครงการให้เป็ นศูนย์เปลี่ยนถ่ายรู ปแบบการขนส่ งสิ นค้าต้นแบบ 4.1.2. เพื่อรองรับการขยายตัวและเชื่อมโยงการขนส่ งสิ นค้าในอนาคต 4.1.3 เพื่อเปิ ดโอกาสให้ชุมชนสามารถเข้ามาสร้างรายได้ ได้จากการแลกเปลี่ ยน สิ นค้ากับโครงการได้โดยตรง 4.1.4 เพื่อรองรับการเติบโตของเศรษฐกิจในอนาคตที่จะเกิดขึ้น 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการวางผังและออกแบบศูนย์เปลี่ยนถ่ายรู ปแบบการขนส่ งสิ นค้า 4.2.2 เพื่อศึกษาการจัดสรรพื้นที่และการบริ หารธุรกิจ 4.2.3 เพื่ อศึ กษาความร่ วมมื อของโครงการกับชุ มชนใกล้เคี ยง ผูท้ ี่ สนใจอยากจะ เยี่ยมชม หรื อเข้ามาลงทุน 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั ของโครงการ ศู น ย์เปลี่ ย นถ่ ายรู ป แบบการขนส่ งสิ น ค้า เชี ย งของ ต าบลเวี ย ง อ าเภอเชี ย งของ จังหวัดเชียงราย เฟสที่ 3 มีพ้ืนที่ประมาณ 336 ไร่


การวางผังและออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์เปลี่ยนถ่ายรู ปแบบการขนส่ งสิ นค้าเชียงของ เฟสที่ 3 และพื้นที่เกี่ยวเนื่อง อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั โครงการและการเข้าถึง สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการศูนย์เปลี่ยนถ่ายรู ปแบบการขนส่ งสิ นค้า สัญลักษณ์ ทางหลวงหมายเลข 1356 สัญลักษณ์ ถนนนาคราชนคร

ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายจาก Google Maps ( 24 ธันวาคม 2564 )

NOT TO SCALE


การวางผังและออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์เปลี่ยนถ่ายรู ปแบบการขนส่ งสิ นค้าเชียงของ เฟสที่ 3 และพื้นที่เกี่ยวเนื่อง อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย แผนที่ 2 แสดงขอบเขตโครงการ สัญลักษณ์ เขตพัฒนาโครงการในเฟสที่ 1 สัญลักษณ์ เขตพัฒนาโครงการในเฟสที่ 2 สัญลักษณ์ เขตพัฒนาโครงการในเฟสที่ 3

ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายจาก Google Maps ( 24 ธันวาคม 2564 )

NOT TO SCALE


การวางผังและออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์เปลี่ยนถ่ายรู ปแบบการขนส่ งสิ นค้าเชียงของ เฟสที่ 3 และพื้นที่เกี่ยวเนื่อง อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย แผนที่ 3 แสดงเส้นทางรถไฟจาก อาเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ - อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ในอนาคต สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ

NOT TO SCALE ที่มา : https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/1523524/ ( 24 ธันวาคม 2564 )


การวางผังและออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์เปลี่ยนถ่ายรู ปแบบการขนส่ งสิ นค้าเชียงของ เฟสที่ 3 และพื้นที่เกี่ยวเนื่อง อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย แผนที่ 4 แสดงเส้นทางรถไฟเชื่อมต่างประเทศ สาย R3A ในอนาคต สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ

ที่มา : https://facebook.com/laemchabang.port/photos/a.543692062360317/ 819926591403528/?type=3&locale2=th_TH ( 24 ธันวาคม 2564 )

NOT TO SCALE


5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั ของโครงการ 5.2.1 โครงการเป็ นจุ ด เปลี่ ย นถ่ ายสิ น ค้าอยู่แ ล้ว แต่ ภ ายในโครงการยังมี พ้ื นที่ ที่ สามารถพัฒนาต่ออีกได้ ปัจจุบนั สภาพโครงการขนาดยังขาดอีกหลายส่ วนที่ช่วยให้โครงการสมบรู ณ์มากขึ้น 5.2.2 เป็ นพื้นที่ที่มีความน่าสนใจในด้านจัดสรรพื้นที่และการบริ หารธุรกิจ 5.2.3 เป็ นพื้นที่ที่มีความน่าสนใจในเรื่ องการขนส่ งสิ นค้ากับประเทศโดยรอบ 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา ศูนย์เปลี่ยนถ่ายรู ปแบบการขนส่ งสิ นค้าเชี ยงของ เฟสที่ 3 และพื้ นที่ เกี่ ยวเนื่ อง อาเภอเชี ยง ของ จังหวัดเชี ยงราย มีพ้ืนที่ท้ งั หมด 335 ไร่ 1 งาน 10.6 ตารางวา ประชิ ดด่านพรมแดนเชี ยงของ และสะพาน มิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 4 (เชียงของ-ห้วยทราย) ทิศเหนือ ติดต่อกับพื้นที่เกษตรกรรม ทิศใต้ ติดต่อกับด่านพรมแดนเชียงของ ทิศตะวันออก ติดต่อกับพื้นที่เกษตรกรรม ทิศตะวันตก ติดต่อกับพื้นที่รกร้าง 7. บรรณานุกรม จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ “คู่มือการดาเนินงานวิทยานิพนธ์. 2556” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา : https://issuu.com/tuboonyanant/docs/latheismanual56_foeweb ( 24 ธันวาคม 2564 ) สานักงานจังหวัดเชียงราย. 2561. 1. “แผนพัฒนาจังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2561 – 2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ.2565)” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา : http://123.242.164.131/cpwp/?cat=15 ( 24 ธันวาคม 2564 ) โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนินงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..


คําร้ องเสนอหัวข้อวิทยานิพนธ์ ปริญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ข้าพเจ้า นาย ศุภวิชญ์ ปรี ชุม รหัส 6119102518 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจํานวน 8 ภาคการศึกษา จํานวนหน่ วยกิ ต สะสม 107 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.06 มี ค วามประสงค์จ ะขอทํา วิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) การออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์ดูแลผูส้ ูงอายุระยะยาว อ. เมืองเชียงใหม่ จ. เชียงใหม่ 2. หั ว ข้อ เรื่ อ ง (ภาษาอัง กฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning of a Long-term Care Center for the Elderly, Muang Chiang Mai, Chiang Mai. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ประเทศไทยก้าวเข้าสู่ สัง คมสู งอายุ (Aging Society) ตั้ง แต่ปี พ.ศ. 2548 ตามคํานิ ยามของ องค์ก ารสหประชาชาติที่ก ําหนดสัดส่ ว นของประชากรที่ มีอายุ 60 ปี ขึ้นไปมากกว่าร้อ ยละ 10 ของจํานวน ประชากรไทยทั้งประเทศ ซึ่งจะเข้าสู่ สังคมสู งอายุโดยสมบูรณ์ (Complete - Aging Society) เมื่อมีสัดส่ วนของ ประชากรที่มีอายุ 60 ปี ขึ้นไปเกินร้อยละ 20 และเข้าสู่สังคมสูงอายุระดับสุดยอด (Super - Aging Society) เมื่อมี สัดส่ วนของประชากรที่มีอายุ 60 ปี ขึ้นไปเกินร้อยละ 28 ตามลําดับ สําหรับสถานการณ์ผูส้ ูงอายุไทย ในปี พ.ศ. 2563 มีประชากรผูส้ ูงอายุสูงถึงร้อยละ 18.24 ของจํานวนประชากรไทยทั้งประเทศ และมีแนวโน้มการเพิ่มขึ้น ของประชากรผูส้ ู งอายุร้อ ยละ 3.6 ต่อปี (คิดเป็ น 400,000 คนต่อ ปี ) ซึ่ งตามการคาดประมาณการประชากร ประเทศไทยของสํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิ จและสัง คมแห่ งชาติ (สศช.) (ฉบับปรับปรุ ง พ.ศ. 2562) คาดการณ์ว่าในปี พ.ศ. 2566 จะมีประชากรผูส้ ู งอายุสูงถึงร้อยละ 20.66 ของจํานวนประชากรไทยทั้งประเทศ และคาดว่าในปี พ.ศ. 2578 จะมีประชากรผูส้ ู งอายุสูงถึงร้อยละ 28.55 ของจํานวนประชากรไทยทั้งประเทศ จากจํานวนและสัดส่วนผูส้ ูงอายุที่เพิ่มขึ้นส่งผลต่อภาระค่าใช้จ่ายสุขภาพสําหรับผูส้ ู งอายุจาก 60,000 ล้านบาท ในปี 2553 เป็ น 220,000 ล้านบาท ในปี พ.ศ. 2565 หรื อคิดเป็ นร้อยละ 2.8 ของ GDP ในปี พ.ศ. 2565


สิ่งเหล่านี้คือความจําเป็ นที่ตอ้ งสร้างระบบการดูแลผูส้ ู งอายุระยะยาวขึ้นมารองรับ ซึ่ งในปี พ.ศ. 2559 กระทรวงสาธารณสุ ขให้ความสําคัญและมุ่งเน้นในการดูแลผูส้ ู งอายุที่มีภาวะพึ่งพิง กลุ่มติดบ้านและติด เตีย ง ให้ได้รับการดูแลจากทีมสหสาขาวิชาชี พ จากหน่ ว ยบริ ก ารปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพ ระดับตําบล บริ การดูแลด้านสุ ขภาพถึงที่บา้ นอย่างต่อเนื่องและสมํ่าเสมอ ตามปั ญหาสุ ขภาพ โดยการมีส่ว น ร่ วมของครอบครัว ชุมชน ท้อ งถิ่น เพื่อ ส่ งผลให้ผูส้ ู งอายุมีคุณภาพชี วิตที่ดี อยู่ในสังคมอย่างมีศกั ดิ์ ศรี เข้าถึง บริ การอย่างถ้วนหน้าและเท่าเทียม ทางมูล นิ ธิโรงพยาบาลสวนดอก คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่ ได้เล็ง เห็ นถึง ความสําคัญของปั ญหาดังกล่าว จึง ได้ริเริ่ มโครงการจัดสร้างอาคารศูนย์ดูแลผูส้ ู งอายุระยะยาว (Long Term Care) ขึ้น บนพื้นที่ 66 ไร่ บริ เวณหมู่บา้ น ท่าใหม่อิ ต.ป่ าแดด อ.เมือง จ.เชีย งใหม่ ที่ติดอยู่ก ับถนนรอบเมือ ง เชียงใหม่ โดยมีระยะห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ประมาณ 12 กิโลเมตรที่ โดยเป็ นศูนย์ดูแลที่ดูแลสุขภาพผูส้ ูงอายุ แบบครบวงจร และอีกทั้งงานธุรกิจและการบริ การ ควบคู่กบั การให้ความรู ้ให้แก่ลูกหลานของผูส้ ูงอายุที่มาใช้ บริ การ จึงเกิ ดเป็ นโครงการ " ศูนย์ดูแลผูส้ ู งอายุระยะยาว (Long Term Care) " เพื่อดูแลสุ ขภาพผูส้ ู งอายุ เพิ่ม คุณภาพชี วิตของผูส้ ู ง อายุท้ งั ด้านร่ างกาย สังคมและจิตใจ โดยใช้การเชื่ อ มโยงเครื อ ข่ายการบริ ก ารระหว่าง โรงพยาบาลมหาราชนครเชี ย งใหม่ ศู น ย์เวชศาสตร์ ผู ้สู ง อายุ และศู น ย์ดู แ ลผู ส้ ู ง อายุร ะยะยาว โดยสร้า ง ผลกระทบ หรื อ มลพิษต่อ ธรรมชาติน้อ ยที่สุด เพื่อ ให้ธรรมชาติยงั คงมีความอุดมสมบูร ณ์ และผูท้ ี่เข้ามาใช้ บริ ก ารใกช้ชิดกับ ธรรมชาติ เพื่ อเป็ นการบําบัดฟื้ นฟูและสร้างความโดดเด่นหรื อ เป็ นข้อ ได้เปรี ย บทางการ แข่งขันทางธุรกิจจากศูนย์ดแู ลแห่งอื่นในจังหวัด วิทยานิพนธ์น้ ีทาํ การศึกษาแนวทางการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมศูนย์ดูแลผูส้ ู งอายุ ระยะยาวดังกล่าว ซึ่ งในปั จจุบนั มีอาคารขนาด 4 ชั้น จํานวน 3 อาคาร ประกอบด้วย อาคาร A, อาคาร B และ อาคาร C และจัดให้มี ห้องตรวจสุขภาพ ห้องกายภาพบําบัด ห้องรับประทานอาหาร ห้องสันทนาการ ห้องพัก จํานวน 64 ห้อง มีเตียงผูป้ ่ วยรวมทั้งหมด 128 เตียง โดยที่พ้นื ที่ส่วนใหญ่เป็ นพื้นที่ถมใหม่ โล่งกว้างยังไม่มีการ วางผังบริ เวณใด ๆ ทั้งนี้มีแนวความคิดที่จะวางผังให้มีพ้นื ที่ประโยชน์ใช้สอยเต็มรู ปแบบเพื่อรองรับการใช้งาน ของผูส้ ูงอายุและบุคลากรในพื้นที่ โครงการนี้จะก่อให้เกิดประโยชน์ท้งั การรักษาพยาบาล เพิ่มคุณภาพชีวิตของผูส้ ูงอายุท้งั ด้าน ร่ างกาย สังคมและจิตใจ และในขณะเดียวกัน ยังสามารถแบ่ง เบาภาระบุตรหลานของผูส้ ู ง อายุได้ส่วนหนึ่ ง ตลอดจนเป็ นแหล่งค้นคว้าวิจยั เพื่อพัฒนาการดูแลผูส้ ูงอายุระยะยาวให้มีคุณภาพมากขึ้นอีกด้วย

ผูส้ ูงอายุ

4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นศูนย์กลางของการบําบัดและการฟื้ นฟูท างร่ างกายและจิตใจ ของ

4.1.2 เพื่อ เป็ นสถานที่ สําหรับการบําบัดในรู ป แบบต่างๆ แบบครบวงจร หนุ น ยุทธศาสตร์ดา้ นการแพทย์การสาธารณสุข เศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย


สนใจ อนาคต

4.1.3 เพื่อเป็ นศูนย์วิจยั เพื่อพัฒนาการดูแลผูส้ ูงอายุระยะยาวให้กบั นักศึกษาหรื อผูท้ ี่ 4.1.4 เพื่อ รองรับการเจริ ญ เติบโตของเศรษฐกิ จและการเพิ่มขึ้นของผูส้ ู งอายุใน

4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมศูนย์วิจยั เพื่อพัฒนาการ ดูแลผูส้ ูงอายุในอนาคต 4.2.2 เพื่อศึกษาข้อมูลด้านสุ ขภาพ พฤติกรรมการใช้งานทางกายกาพของผูส้ ู งอายุ สําหรับการบําบัดรักษา และการฟื้ นฟูสุขภาพ 4.2.3 เพื่อศึกษาการจัดสรรทรัพยากรและการบริ หารธุรกิจ 4.2.4 เพื่อศึกษาความร่ วมมือระหว่างเจ้าของโครงการกับคนในพื้นที่ชุมชน 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคําร้อง) พื้นที่โครงการตั้งอยู่ติดกับถนนรอบเมืองเชี ยงใหม่บ ริ เวณหมู่บา้ น ท่าใหม่อิ ต.ป่ าแดด อ. เมือง จ.เชียงใหม่ เหตุผลในการเลือกพื้นที่โครงการเนื่องจาก เป็ นพื้นที่โครงการจริ งที่เริ่ มมีการก่อสร้างอาคาร ไปแล้ว 3 หลัง แต่ยงั ไม่มีการวางผังบริ เวณที่มีขนาดใหญ่ พื้นที่ติดถนนขนาดใหญ่ เข้าถึงได้สะดวก ประกอบ กับจังหวัดเชียงใหม่เป็ นจังหวัดที่มีประชากรผูส้ ู งอายุจาํ นวนมาก และมีความโดดเด่นด้านวัฒนธรรม วิถีชีวิต ความเป็ นอยูท่ ี่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา ขนาดพื้นที่ประมาณ 66 ไร่ ทิศเหนือ ติดกับ อู่ซ่อมรถศุภมิตรแอร์เซอร์วิส ทิศตะวันออก ติดกับ แม่น้ าํ ปิ ง ทิศใต้ ติดกับ วัดท่าใหม่อิและถนนรอบเมืองเชียงใหม่ ทิศตะวันตก ติดกับ โรงงานปรับปรุ งคุณภาพนํ้า เทศบาลนครเชียงใหม่


การออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์ดูแลผูส้ ูงอายุระยะยาว อ. เมืองเชียงใหม่ จ. เชียงใหม่ แผนที่ 1 แสดงขอบเขตพื้นที่ และถนนบริ เวณโดยรอบพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ถนนบริ เวณโดยรอบพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Map (23 ธันวาคม 2564)

NOT TO SCALE


7. บรรณานุกรม เชี ยงใหม่นิวส์. 2560. “ความคืบหน้าการก่อ สร้างศูนย์ดูแล ผูส้ ู งอายุระยะยาว (Long Term Care)” [ระบบออนไลน์ ] แหล่ ง ที่ ม า https://www.chiangmainews.co.th/page/ archives/ 574180/ จรั ส พิ ม พ์ บุ ญ ญานั น ต์. 2556. “ คู่ มื อ ดําเนิ น งานวิท ยานิ พ นธ์ 2556” [ระบบออนไลน์ ] แหล่งที่มา https://issuu.com/tuboonyanant/docs/latheismanual56_foeweb กรมอนามัย . 2564. “โครงการพัฒนาระบบการดูแลด้านสุ ขภาพผูส้ ู ง อายุระยะยาว (Long Term Care) ใ น ชุ ม ช น ปี 2 5 6 4 ”. [ร ะ บ บ อ อ น ไ ล น์ ] แ ห ล่ ง ที่ ม า http://doc.anamai.moph. go.th/ index.php?r=str-project/view&id=4229 โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาํ เนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ) (

ศุภวิชญ์ ปรี ชุม นายศุภวิชญ์ ปรี ชุม 22 / 12 / 2564

)


ความเห็นของคณะกรรมการประจําหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ความเห็นของประธานกรรมการประจําหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาํ เนินงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..


คำร้ องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้ า พเจ้ า นางสาว สิ ริ ยากร แก้ ว สุ ริ ยะ รหั ส 6119102519 นั ก ศึ ก ษาชั้ นปี ที่ 4 สาขาวิ ช าภู มิ สถาปั ตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 128 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.43 มี ค วามประสงค์ จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) : การออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมสถานี เพาะเลี้ยงสัตว์ ป่ าแม่ลาว อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Planning And Improvement of the Mae Lao Wildlife Breeding Station, Mae Lao, Chiang Rai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ สถานี เพาะเลี้ยงสัตว์ป่าแม่ลาวก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2540 เนื่ องจากสาเหตุที่สถานี เพาะเลี้ ยง สัตว์ป่าดอยตุง อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย ซึ่ งมีเนื้ อที่ดาเนิ นการประมาณ 150 ไร่ ไม่สามารถขยายพื้นที่รองรับ สัตว์ป่าที่เพาะพันธุ์ข้ ึนได้ กรมป่ าไม้จึงได้ทาการสารวจพื้นที่ที่เหมาะสมสาหรับการเพาะพันธุ์สัตว์ป่าแห่ งใหม่ ขึ้น บริ เวณเขตป่ าสงวนแห่ งชาติ ป่ าแม่ลาวฝั่งซ้ายและป่ าแม่กกฝั่งขวา ท้องที่ตาบลจอมหมอกแก้ว อ.แม่ลาว จ. เชี ยงราย เนื้ อที่ 1,093 ไร่ ซึ่ งได้ขอใช้พ้ืนที่ป่าสงวนแห่ งชาติจากกรมป่ าไม้และดาเนิ นการก่อสร้างและจัดตั้ง สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าดอยตุง (ส่ วนแยก) ปัจจุบนั ได้เปลี่ยนชื่อเป็ นสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าแม่ลาว เนื่ องจากจังหวัดเชียงรายส่ วนใหญ่ เป็ นพื้นที่ป่าอนุ รักษ์ และมีสัตว์ป่ามากมายถูกรุ กราน ถูก ล่าจากและถูกบุกรุ กมนุษย์ นอกจากนั้นยังมีปัญหาไฟป่ า สถานี เพาะเลี้ยงสัตวป่ าแม่ลาวแห่ งนี้ จึงมีความสาคัญ ในการช่วยดูแล รักษาสัตว์ป่าเหล่านี้ เพื่อใด้ดารงอยู่สืบไป และนอกจากนี้ ในสถานี เพาะแม่ลาวเลี้ยงสัตว์ป่ายัง เป็ นสถานที่พกั ผ่อนย่อนใจของนักท่องเที่ยวช่วยกระตุน้ เศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายได้อีกด้วย สถานี เพาะเลี้ยงสัตว์ป่าแม่ลาวในปั จจุบนั มีความเก่าทรุ ดโทรม กรงจัดแสดง และพื้นที่ของ ตัวส านักงานขาดการออกแบบให้ส วยงามและเหมาะกับระบบนิ เวศ และไม่ได้รับการปรั บปรุ งดู แลอย่าง เหมาะสม เพื่อเป็ นพื้นที่รองรับนักท่องเที่ยวให้เหมาะสมและสวยงาม


จากเหตุผลความเป็ นมาดังกล่าว จึง เสนอโครงการวิทยานิ พนธ์น้ ี เพื่อพัฒนาปรับปรุ งพื้นที่ สถานี เพาะเลี้ ย งสั ต ว์ป่ าแม่ ลาว ให้มีค วามพร้ อมสมบูร ณ์ ในการรองรั บภารกิ จหลักของหน่ ว ยงานคื อการ อนุรักษ์และขยายพันธุ์สัตว์ป่า ตลอดจนเพิ่มสิ่ งอานวยความสะดวกในการรองรับเจ้าหน้าที่และนักท่องเที่ยวผู ้ มาเยือน การจัดทาโครงการนี้ เป็ นการส่ งเสริ มการอนุรักษ์สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติเพื่อประโยชน์ของสัตว์ ป่ าและมนุ ษย์ อีกทั้งยังช่วยส่ งเสริ มความรู ้ในการอนุรักษ์ รักษา และธารงไว้ซ่ ึ งสภาวะแวดล้อมทางธรรมชาติ อีกด้วย 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยง ขยายพันธุ์สัตว์ป่าสงวนและสัตว์ป่าคุม้ ครอง อนุรักษ์สายพันธุ์และการปรับปรุ งพันธุ์สัตว์ตามหลักพันธุศาสตร์ ศึกษาด้านอาหาร โภชนาการและโรคในสัตว์ ป่ า ทาเครื่ องหมายประจาตัวในสัตว์ป่า การควบคุมและเคลื่อนย้ายสัตว์ป่า และการปล่อยสัตว์ป่าคืนสู่ ธรรมชาติ 4.1.2 เพื่อเป็ นสถานที่รองรับและดูแลสัตว์ป่าของกลาง สัตว์ป่ากรณี แก้ไขปั ญหา สัตว์ป่า สัตว์ป่าพลัดหลง สัตว์ป่าที่ประชาชนมอบให้กบั ทางราชการและสัตว์ป่าที่ได้รับบาดเจ็บ 4.1.3 เพื่อฟื้ นฟูสภาพป่ าที่เสื่ อมโทรมให้คงมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติ และ สิ่ งแวดล้อมอื่นๆ ที่เหมาะสมสาหรับเป็ นที่อยูอ่ าศัยของสัตว์ป่าคงความสวยงามตามธรรมชาติที่มี 4.1.4 เพื่ อ พัฒ นาให้ เป็ นพื้ น ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ มี ก ารใช้ท รั พ ยากรธรรมชาติ อ ย่ า ง เหมาะสม พร้อมทั้งยกระดับคุณภาพชีวิตตามแผนพัฒนาต่อเนื่องอย่างเป็ นระบบ 4.1.5 เพื่ อเป็ นแหล่ งท่ องเที่ ย วพัก ผ่อนหย่อนใจ อัน เป็ นผลเนื่ องมาจากการเพิ่ ม คุณค่าทางสุ นทรี ยภาพต่อธรรมชาติ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการออกแบบวางผังสถานี เพาะเลี้ยงสัตว์ป่าให้มีความเหมาะสมต่อ การดูแล อนุรักษ์ ขยายพันธุ์สัตว์ป่าสงวนและสัตว์ป่าคุม้ ครอง 4.2.2 เพื่ อศึ กษาการออกแบบวางผังสถานที่ ท่องเที่ ยวเชิ งอนุ รักษ์ ที่มุ่งประสงค์ อนุรักษ์พนั ธุ์สัตว์ป่าสงวน และสัตว์ป่าคุม้ ครองของประเทศไทย 4.2.3 เพื่อศึ กษาพฤติ กรรมของสั ตว์ป่ า และสิ่ งแวดล้อมที่ มีความหลาหลายและ เหมาะสมต่อการดารงชีวิตของสัตว์ป่าให้เป็ นไปตามระบบนิเวศ เพื่อส่ งกลับคืนสู่ ป่า 4.2.4 เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผูใ้ ช้โครงการที่เข้ามาใช้งานสถานี เพาะเลี้ยงสัตว์ป่า เพื่อออกแบบพื้นที่และกิจกรรมให้ตอบโจทย์พฤติกรรมของผูใ้ ช้ในปัจจุบนั และเป็ นสถานที่พกั ผ่อนและเรี ยนรู ้ ของประชาชน


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ สถานที่ต้ งั โครงการตั้งอยู่ที่ทางหลวงชนบทหมายเลข 4049 บ้านหนองผักเฮือด ตาบล จอมหมอกแก้ว อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย บริ เวณเขตป่ าสงวนแห่ งชาติ ป่ าแม่ลาวฝั่งซ้ายและป่ าแม่กกฝั่ง ขวา ท้องที่ตาบลจอมหมอกแก้ว อ.แม่ลาว จ.เชียงราย เนื้ อที่ 1,093 ไร่ ซึ่ งได้ขอใช้พ้ืนที่ป่าสงวนแห่ งชาติจาก กรมป่ าไม้และดาเนิ นการก่ อสร้ างและจัดตั้งสถานี เพาะเลี้ ยงสัตว์ป่ าดอยตุง (ส่ วนแยก) ขึ้นในปี พ.ศ. 2540 ปัจจุบนั ได้เปลี่ยนชื่อเป็ นสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าแม่ลาว 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา

โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม พื้นที่สถานี เพาะเลี้ยงสัตว์ป่าแม่ ลาว อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชี ยงราย มี พ้ืนที่ ศึกษาประมาณ 1,093 ไร่ พื้นที่ ออกแบบประมาณ 68 ไร่ มี อาณาเขตติดต่อ ดังนี้ ทิศเหนือ จดสันดอยแม่กรณ์ เขตอาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ทิศใต้ จดเขตตาบลดงมะดะ อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย ทิศตะวันออก จดเขตตาบลโป่ งแพร่ อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย ทิศตะวันตก จดสันดอยช้าง และสถานีเกษตรที่สูงวาวี 7. บรรณานุกรม คนเล่าเรื่ องผ่านกองไฟ. 2557. “สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าแม่ลาว ต.จอมหมอกแก้ว อ.แม่ลาว จ. เชี ย งราย” [ระบบออนไลน์ ] แหล่ ง ที่ ม า https://travelpangsida.blogspot.com/ 2014/05/blog-post_25.html (23 ธันวาคม 2564) Google. 2022. “สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าแม่ลาว”. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา https://www.google.com/maps/place/สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าเเม่ลาว (23 ธันวาคม 2564) โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. ( นางสาว สิ ริยากร แก้วสุ ริยะ ) 24/12/2564


โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าแม่ลาว อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย

The Landscape Architectural Planning And Improvement of the Mae Lao Wildlife Breeding Station. แผนที่ 1 แสดงพื้นที่สถานีสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าแม่ลาว และแสดงตาแหน่งที่ต้งั โครงการ ที่มา : https://www.google.com/maps/place/สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าเเม่ลาว/@20.278072,99.868308,15z/data=!3m1!4b1

(23 ธันวาคม 2564) สัญลักษณ์ แสดงขอบเขตพื้นที่ของสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าแม่ลาว แสดงขอบแขตพื้นที่ออกแบบ มาตราส่ วน : -


โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าแม่ลาว อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย

The Landscape Architectural Planning And Improvement of the Mae Lao Wildlife Breeding Station. แผนที่ 2 แสดงพื้นที่แสดงตาแหน่งที่ต้งั โครงการ ที่มา : https://www.google.com/maps/place/สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าเเม่ลาว (23 ธันวาคม 2564)

สัญลักษณ์ แสดงขอบแขตพื้นที่ออกแบบ มาตราส่ วน : -


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนินงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..


คำร้ องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว สุ พฒั นา มิ่งมณี รหัส. 611902520.นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 4 ภาคการศึกษา จานวนหน่วย กิตสะสม. 128. หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ. 2.58 มี ค วามประสงค์จะขอทาวิทยานิ พ นธ์ ร ะดับปริ ญญาภู มิส ถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี ร าย ละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) : การออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมอุทยานเมืองเก่าพิจิตร อ. เมือง พิจิตร จ. พิจิตร 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ).. The landscape Architectural Design and Improvement of the, Phichit Ancient City Historical Park, Mueang Phichit, Phichit 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ อุทยานเมืองเก่าโบราณพิจิตร เป็ นอีกหนึ่งสถานที่ที่สาคัญของเมืองพิจิตรเนื่ องจากเป็ นแหล่ง ที่มีงานสถาปั ตยกรรมโบราณแสดงความเป็ นวัฒนธรรมที่สาคัญที่แสดงถึงวิถีชีวิต แต่ประวัติศาสตร์ ตั้งแต่ยุค สมัยสุ โขทัย แต่ในปั จจุบนั สถานที่สาคัญอีกหนึ่ งสถานที่ที่น่าท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์กลับไม่ได้รับรั บการ ดูแล และไม่มีผูใ้ ดเข้ามาใช้งานทาให้สภาพอุทยานเมื องโบราณถูกปล่อยร้างไม่มีใครเข้ามาศึ กษาเรี ยนรู ้ จน อาจจะถูกลืมเลือนความสาคัญได้ไปในอนาคต และการถูกรุ กล้ าจากเขตชุมชมที่เข้าใกล้เขตอุทยานมากขึ้นเรื่ อย ๆ สถานที่โครงการตั้งอยู่ที่ ถนนโยธาธิ การตาบลเมืองเก่า อาเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตรซึ่ ง ห่ างจากตัวเมือง 7 กิโลเมตร ซึ่ งถูกสร้างในปี พุทธศักราช 1601 มีเนื้ อที่ 400 ไร่ และยังมีสวนรุ กขชาติกาญจน กุมารอยู่ในพื้นที่โดยกรมป่ าไม้ ทาให้ภายในสถานที่มีความร่ มรื่ น โดยอุทยานเมืองเก่ามีหน่วยงานที่ดูแลได้แก่ กรมศิ ลปากร องค์การบริ หารส่ วนตาบลเมื องเก่ า และกรมอุทยานแห่ งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช ต่อมาใน ภายหลังอุ ท ยานเมื องเก่ าก็ ไ ด้รับการดู แ ลน้อยลง คุ ณ ค่ า ทางประวัติ ศ าสตร์ ก็เริ่ มหายไป หากไม่ ไ ด้รั บการ ปรับปรุ งหรื อดูแล อุทยานเมืองเก่าของชาวเมืองพิจิตรนี้ คุณค่าทางประวัติศาสตร์ ก็อาจลดลง ดังนั้นจึงควร ปรับปรุ งดูแลให้มีความน่าเข้าไปใช้งานและเรี ยนรู ้ในเชิงประวัติศาสตร์


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 ทาให้อุทยานเมืองเก่ากลับมาเป็ นที่น่าสนใจและน่าเรี ยนรู ้มากขึ้นในด้าน ทางประวัติศาสตร์ และควรค่าแก่การอนุรักษ์ 4.1.2 ปรับปรุ งให้มีสามารถเข้าถึงพื้นที่โครงการได้สะดวก 4.1.3 เพื่อเป็ นสถานที่ศึกษาเรี ยนรู ้และพักผ่อนหย่อนใจกับภูมิทศั น์ที่ร่มรื่ นภายใน อุทยาน 4.1.4 เพื่อเป็ นการฟื้ นฟูศิลปะ วัฒนธรรมประเพณี เก่าๆของเมืองพิจิตร 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อ ศึ ก ษาแนวทางการออกแบบปรั บ ปรุ งภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมอุ ท ยาน ประวัติศาสตร์ 4.2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาข้อ มู ล ทางด้า นประวัติศ าสตร์ เกี่ ย วกับ สถาปั ต ยกรรม ศิ ล ปะ วัฒนธรรม และชีวิตความเป็ นอยูใ่ นอดีต เพื่อนามาเป็ นข้อมูลในการออกแบบเพื่อการอนุรักษ์และฟื้ นฟู 4.2.3 เพื่อศึกษาปั จจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่โครงการ ทั้งทางด้านปั จจัย ทาง ธรรมชาติ ปั จจัยที่มนุษย์สร้างขึ้น และปั จจัยทางด้านสุ นทรี ยภาพ จากการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ และสังเคราะห์ ข้อมูล และนาผลลัพธ์ที่ได้มาใช้ในการออกแบบ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) อุทยานเมืองเก่าพิจิตร ตั้งอยู่ที่ ถนนโยธาธิ การ พิจิตร 3063 ต.มืองเก่า อ.เมืองพิจิตร 6600 เนื่องจากเป็ นที่ต้ งั สถานที่อุทยานเมืองโบราณประวัติศาสตร์ที่สาคัญของเมืองพิจิตร เหตุผลในการเลื อ กสถานที่ ต้ งั โครงการแห่ งนี้ เนื่ องจากเป็ นสถานที่ ที่มีค วามสาคัญทาง ประวัติศาสตร์ ของเมืองพิจิตร ที่มีศกั ยภาพทั้งในด้านการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ การศึกษาเรี ยนรู ้ และการ พักผ่อนหย่อนใจที่ในปัจจุบนั พบปัญหาหลายประการที่ควรปรับปรุ ง 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา อุทยานเมืองเก่าพิจิตรมีเนื้อที่ประมาณ 400 ไร่ มีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดกับ โรงเหล็กสมศักดิ์ โลหะภัณฑ์ ทิศใต้ ติดกับ วัดนครชุม ทิศตะวันออก ติดกับ สนามปื นเจล ทิศตะวันตก ติดกับ ร้านยาแสงตะวันคูลลิ่งกรี น


การออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานเมืองเก่าพิจิตร อ. เมืองพิจิตร จ. พิจิตร แผนที่ 1 แสดงขอบเขตพื้นที่โครงการโครงการ สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Map (30 ธันวาคม 2564)

NOT TO SCALE

7. บรรณานุกรม ส านัก งานนโยบายแผนทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้อ มกระทรวง.ธรรมชาติ แ ละ สิ่ ง แวดล้อ ม. 2558. โครงกำรก ำหนดขอบเขตพื้ น ที่ เ มื อ งเก่ ำ เมื อ งเก่ ำ พิ จิ ต ร. กรุ งเทพฯ: สานักจัดการสิ่ งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม. โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนินงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..


คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นายอุทยั จาระนัย รหัส 6119102521 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วยกิต สะสม 128 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.67 มี ค วามประสงค์ จ ะขอท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตร์ บัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) : การออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโครงการพื้นที่ศูนย์เกษตรกรรม และวัฒนธรรมยัง่ ยืน ชุมชนเกาะเกร็ ด อ. ปากเกร็ ด จ. นนทบุรี 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The landscape Architectural design and Planning of the Center for Sustainable Agriculture and Culture, Koh Kret Community, Pak Kret district, Nonthaburi. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ปั จจุ บนั เกาะเกร็ ดเป็ นตาบลหนึ่ งของ อ.ปากเกร็ ด จ.นนทบุรี ที่ มีลกั ษณะภูมิประเทศใน ลักษณะเป็ นพื้นที่ราบต่าล้อมรอบด้วยแม่น้ าเจ้าพระยา บริ เวณพื้นที่ริมน้ าเป็ นที่ลุ่มมากกว่าตอนกลาง พื้นที่ส่วน ใหญ่มีลกั ษณะเป็ นที่ราบน้ าท่วมถึง ทาให้พ้ืนที่ทวั่ ทั้งเกาะเป็ นพื้นที่ที่เหมาะสมสาหรับการทาเกษตรกรรม ดัง จะเห็นได้ว่ามีการทาสวนไม้ผลไม้ยืนต้นอยู่ทวั่ ไป ผลไม้ที่นิยมปลูกได้แก่ กล้วย มะม่วง มะพร้าว และส้มโอ ส่ วนกลางของเกาะเกร็ ดแต่เดิมเป็ นพื้นที่ปลูกข้าวเจ้า แต่ไม่มีการทานามาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2525 เนื่ องจากบริ เวณ กลางเกาะเป็ นที่ดอนสู งกว่าบริ เวณริ มเกาะ การดึงน้ าเข้าสู่ พ้ืนที่นาต้องอาศัยเครื่ องสู บน้ าอีกทั้งสภาพคูคลอง ภายในเกาะเกร็ ดปั จจุบนั ตื้นเขินไม่มีการขุดลอกมาเป็ นระยะเวลานาน การทานาจึงไม่คุม้ กับการลงทุน ทาให้ พื้นที่นาในอดีตกลายมาเป็ นพื้นที่รกร้างเป็ นผืนใหญ่ติดต่อกัน จากลักษณะของพื้นที่เกาะเกร็ ดที่ค่อนข้างเป็ น พื้นที่ลุ่ม โดยเฉพาะบริ เวณริ มเกาะจึงทาให้เกิดน้ าท่วมได้ง่าย เกาะเกร็ ดจึงประสบปั ญหาเรื่ องน้ าท่วม ซึ่ งจะ เกิดขึ้นเป็ นประจาทุกปี ในช่วงฤดูน้ าหลาก คือ ในระหว่างเดือนกันยายน และเดือนพฤศจิกายน ประกอบกับ ลักษณะเนื้อดินในพื้นที่เป็ นดินเหนียวอุม้ น้ าได้ดี จากการศึกษาแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ ปีขององค์การบริ หารส่ วนตาบลเกาะเกร็ ด โดยมีแผนการ พัฒนาด้านคุณภาพชีวิตและสังคม การพัฒนาด้านเศรษฐกิจฐานราก การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและ


สิ่ งแวดล้อม โดยประชากรที่อาศัยอยูป่ ระกอบไปด้วยประชากรเชื้อชาติมอญ ร้อยละ 35% อิสลาม ร้อยละ 15% และเชื้อชาติไทย-จีน บางส่ วนร้อยละ 50% ของประชากรทั้งตาบล และตาบลเกาะเกร็ ดเองเป็ นพื้นที่ท่องเที่ยว เพราะลักษณะพื้นฐานเป็ นเกาะกลางน้ าเจ้าพระยา จึงเป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่ข้ ึนชื่ อในจังหวัดนนทบุรี และรู ้จกั กันดี ในฐานะแหล่ งชุ มชนคนมอญที่ มีชื่อเสี ยง ในเรื่ องของเครื่ องปั้ นดิ นเผา และประเพณี วฒ ั นธรรมแบบ พื้นบ้านดั้งเดิม ที่ยงั คงอนุรักษ์ไว้ได้เป็ นอย่างดี มีเครื่ องปั้นดินเผาชั้นดี เป็ นสิ นค้าประจาของเกาะเกร็ ดรวมถึงมี ภูมิปัญญาด้านอาหารและขนมหวานจนกลายเป็ นสิ นค้าโอทอปประจาเกาะเกร็ ด มีวดั วาอารามศิลปะอยุธยาที่มี กลิ่นอายของศิลปะพม่าผสมอยู่อายุกว่าร้อยปี โดยมีพระเจดียม์ ุเตาของวัดปรมัยยิกาวาส เป็ นสัญลักษณ์ประจา ฝั่งท่าน้ าของเกาะ นักท่องเที่ยวส่ วนใหญ่ที่มาเที่ยวบนเกาะเกร็ ด ก็จะมีท้ งั มาเดินเที่ยว ช้อปปิ้ ง ไหว้พระ ปั่ น จักรยาน และด้วยการอาศัยอยู่ของประชากรในพื้นที่ ทาให้เกาะเกร็ ดถือเป็ นสถานที่ ที่มีความหลากหลายด้าน วัฒนธรรม ด้วยเหตุน้ ีจึงเสนอโครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโครงการพื้นที่ศูนย์เกษตรกรรมและ วัฒนธรรมยัง่ ยืน ชุมชนเกาะเกร็ ด อ.ปากเกร็ ด จ.นนทบุรี เนื่ องด้วยชุมชนเกาะเกร็ ดมีจุดเด่นในเรื่ องประเพณี วัฒนธรรมที่ ด้ งั เดิ มและเป็ นแหล่งท่องเที่ ยวที่ นิยมอี กแห่ งของจังหวัดนนทบุรี และในส่ วนบริ เวณที่ ต้ งั ของ โครงการที่ จะทาการออกแบบนั้นตั้งอยู่กลางของเกาะล้อมรอบด้วยตัวชุมชน ซึ่ งเป็ นพื้นที่ รกร้ างและพื้นที่ การเกษตร โดยเป็ นโครงการของภาคเอกชน ที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาของเทศบาลตาบลเกาะเกร็ ด มีสถานที่ ทางประวัติ ศ าสตร์ วัฒนธรรม และประเพณี ข องชุ มชนเกาะเกร็ ด อี กทั้งยังติ ด กับ ทางเดิ นเท้า ยกระดับ ที่ เชื่อมโยงไปยังสถานที่ท่องเที่ยวจุดอื่นๆ ภายในชุมชนเกือบทัว่ ทั้งเกาะ และนอกจากเป็ นพื้นที่ท่องเที่ยวแล้วนั้น ในพื้นที่ พื้นที่ของโครงการมีความเหมาะต่อการออกแบบเพื่อจัดทาให้เป็ นศูนย์เกษตรกรรม ซึ่ งจะง่ายต่อการ สานต่ออาชีพด้านการเกษตรของชาวบ้านในพื้นที่ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่ อส่ งเสริ มการอนุ รั กษ์ว ัฒ นธรรมสู่ การสร้ า งสานสั มพัน ธ์ ใ นชุ ม ชนให้ สอดคล้องกับบริ บทสังคมสมัยใหม่ 4.1.2 เพื่อพัฒนาพื้นที่ทางการเกษตรสู่ การยกระดับคุณภาพชี วิตของคนในชุมชน ควบคู่กบั ศูนย์การเรี ยนรู ้อย่างยัง่ ยืน 4.1.3 เพื่อออกแบบพื้นที่แก้ไขปัญหาน้ าท่วมในช่วงฤดูกาล 4.1.4 เพื่อสร้างพื้นที่รองรับการทากิจกรรมนันทนาการสาหรับคนในชุมชน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมในพื้นที่รกร้างให้มีบทบาท ต่อการพัฒนาชุมชน 4.2.2 เพื่อศึกษาและวางผัง การจัดทาศูนย์การเรี ยนรู ้ทางการเกษตรอย่างยัง่ ยืน


4.2.3 เพื่อศึกษาเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมชุมชนดั้งเดิมในพื้นที่ สู่ การส่ งเสริ มให้ เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์วฒั นธรรม 4.2.4 เพื่อศึกษาลักษณะพื้นที่เกาะเกร็ ดที่ลอ้ มรอบไปด้วยแม่น้ า ให้สอดคล้องกับ การเลือกแนวทางการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมที่เหมาะสม 4.2.5 เพื่อศึกษาลักษณะพื้นที่ สู่การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมเพื่อการแก้ไขปั ญหา 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ พื้นที่โครงการตั้งอยู่ที่เลขที่พิกดั 13.909570, 100.487755 ตาบล เกาะเกร็ ด อาเภอ ปากเกร็ ด จังหวัดนนทบุรี รหัสไปรษณี ย ์ 11120 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ ปั จจัยแรกเนื่ องด้วยความสนใจของผูศ้ ึกษา ในเรื่ องของ วัฒนธรรมประเพณี และความเป็ นอยูข่ องคนในชุมชน เพราะความหลากหลายของวัฒนธรรมและมีสถานที่ทาง ประวัติศาสตร์ในพื้นที่ จึงทาให้เกิดความสนใจที่จะศึกษาในเรื่ องของวัฒนธรรมประเพณี และความเป็ นอยู่ของ ชุ มชน ต่ อมาศักยภาพของพื้ นที่ เ หมาะสมกับ หั วข้อโครงการและพื้ น ที่ ชุ มชนที่ ย งั คงให้ค วามส าคัญ และ ตระหนักถึงการอนุรักษ์เรื่ องวัฒนธรรมในพื้นที่ ซึ่ งถือว่าเป็ นเมืองส่ วนน้อยที่ยงั คงอนุรักษ์ไว้ เหตุผลประการ ต่อมาพื้นที่เกาะเกร็ ดเป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่นิยมอีกแห่งในจังหวัดนนทบุรี 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา ขนาดพื้นที่ประมาณ 348,800 ตารางเมตร 218ไร่ 2งาน 9ตารางวา ทิศเหนือ ติดกับ ตาบลคลองพระอุดมโดยมีแม่น้ าเจ้าพระยากั้นกลาง ทิศใต้ ติดกับ ตาบลท่าอิฐโดยมีแม่น้ าเจ้าพระยากั้นกลาง ทิศตะวันออก ติดกับ ตาบลปากเกร็ ดโดยมีแม่น้ าเจ้าพระยากั้นกลาง ทิศตะวันตก ติดกับ ตาบลอ้อมเกร็ ด, ตาบลบางพลับ โดยมีแม่น้ าเจ้าพระยากั้นกลาง


การออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโครงการพื้นที่ศูนย์เกษตรกรรมและวัฒนธรรมยัง่ ยืน ชุมชนเกาะเกร็ ด อ. ปากเกร็ ด จ. นนทบุรี แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์ ขอบเขตที่ต้ งั โครงการ แม่น้ าเจ้าพระยา ขนาดพื้นที่โครงการ 348,800 ตารางเมตร 218ไร่ 2 งาน 9 ตารางวา ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศดัดแปลงจาก Google Earth Pro Scale: Not to scale (24/ธันวาคม/2564)


การออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมโครงการพื้นที่ศูนย์เกษตรกรรมและวัฒนธรรมยัง่ ยืน ชุมชนเกาะเกร็ ด อ. ปากเกร็ ด จ. นนทบุรี แผนที่ 2 แสดงตาแหน่งสถานที่วดั สัญลักษณ์ ขอบเขตที่ต้ งั โครงการ ตาแหน่งวัด ขนาดพื้นที่โครงการ 348,800 ตารางเมตร 218ไร่ 2งาน 9ตารางวา ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศดัดแปลงจาก Google Earth Pro Scale: Not to scale (24/ธันวาคม/2564)


7. บรรณานุกรม องค์ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบลเกาะเกร็ ด . 2561. “แผนพัฒ นาท้อ งถิ่ น สี่ ปี พ.ศ. 2561-2564”. [อ อ น ไ ล น์ ] แ ห ล่ ง ที่ ม า https://www.kohkred-sao.go.th/public/list/data/ datacategory/catid/65/ menu/1196 (20 ธันวาคม 2564) องค์ก ารบริ ห ารส่ ว นตาบลเกาะเกร็ ด . 2562. “แผนการส่ ง เสริ ม การท่อ งเที่ ย วเกาะเกร็ ด ป ร ะ จ า ปี พ .ศ . 2562-2565”. [อ อ นไ ลน์ ] แ หล่ ง ที่ มา https://www.kohkredsao.go.th/public/list/data/datacategory/catid/67/menu/1196 (21 ธันวาคม 2564) จรั ส พิ มพ์ บุญญานันต์ . 2564. “คู่ มือการด าเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ พ.ศ.2564” [ออนไลน์] แหล่ ง ที่ ม า https://issuu.com/tuboonyanant/docs/all_topic_2564 (21 ธั น วาคม 2564) NationTV. 2562. “เกาะเกร็ ด ชุมชนต้นแบบอารยสถาปั ตย์ พัฒนาสู่ แหล่งท่องเที่ยวเพื่อคน ทั้ง มวล”. [ออนไลน์ ] แหล่ ง ที่ ม า https://www.nationtv.tv/news/378729379 (21 ธันวาคม 2564) โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนิ นงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.