หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุง 2566 (ร่าง)

Page 1

หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566) หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่
ก คำนำ หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิตบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2566 นี้ เป็นหลักสูตรที่ปรับปรุงมาจากหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิตบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 เพื่อใช้ในการจัดการศึกษาในสาขาวิชาภูมิ สถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยคาด ว่าจะเริ่มใช้ได้ตั้งแต่ปีการศึกษา พ.ศ. 2566 เป็นต้นไป การจัดทำหลักสูตรนี้ เป็นการปรับปรุงตามวาระในการครบรอบ 5 ปี ของหลักสูตร ซึ่งในช่วง เวลาที่ผ่านมาสถานการณ์แวดล้อมมีเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงที่สำคัญหลายอย่างเกิดขึ้น เช่น การ เปลี่ยนแปลงไปสู่การดำเนินชีวิตแบบวิถีใหม่ (New Normal) จากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโร นา 2019 การพัฒนาของเทคโนโลยีความพิวเตอร์ การสื่อสารที่ไร้พรมแดน การก้าวเข้าสู่ “สังคม สูงอายุอย่างสมบูรณ์” ของประเทศไทย ความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมทั่วโลก และความรุนแรงที่ เพิ่มขึ้นและถี่ขึ้นของพิบัติภัยทางธรรมชาติ อันมีสาเหตุมาจากภาวะโลกร้อน ปัญหาเหล่านี้ได้ส่งผล กระทบต่อสังคมมนุษย์ทั่วโลก และเกี่ยวข้องกับวิชาชีพภูมิสถาปนิกทั้งทางตรงและทางอ้อม ในการ ปรับปรุงหลักสูตรครั้งนี้ เป็นการทบทวนและปรับปรุงผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร ตลอดจนเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอน ที่มีความสอดคล้องกับสถานการณ์ทางสังคมและ เทคโนโลยี ตลอดจนการแก้ไขปัญหาสภาพแวดล้อมทางกายภาพดังกล่าว โดยดำเนินการตาม กฎกระทรวง เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2565 รวมทั้งให้สอดคล้องกับ ปรัชญาการศึกษาและพันธกิจของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ที่ผลิตบัณฑิตที่มี คุณภาพ คุณธรรม มีความ เชี่ยวชาญในวิชาชีพ โดยเน้นให้นักศึกษาได้ปฏิบัติงานจริง นอกจากนี้ยังเป็นการพัฒนาให้หลักสูตรมี คุณภาพและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น มีความทันสมัย สอดคล้องกับบริบทแวดล้อม ซึ่งคาดว่า หลักสูตรในลักษณะนี้จะสามารถผลิตบัณฑิตได้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานทั้ง ภาครัฐและเอกชน อันจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวมและประเทศชาติต่อไป คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ข หลักการและเหตุผล หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต ของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นหลักสูตรมาตรฐานที่ผ่านความเห็นชอบจากสำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ได้เปิดการเรียนการสอน มาตั้งแต่ปีการศึกษา 2538 จนถึง ปัจจุบัน เป็นเวลา 22 ปีแล้ว ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ทางคณะได้ดำเนินการปรับปรุงหลักสูตรรวม ทั้งสิ้น 5 ครั้งดังนี้ ปีการศึกษา 2543 ดำเนินการปรับปรุงหลักสูตรครั้งที่ 1 เพื่อพัฒนาหลักสูตรตามรอบ ระยะเวลาที่ได้เปิดการเรียนการสอนมาครบ 5 ปี เนื้อหาสาระสำคัญที่ดำเนินการปรับปรุงส่วนใหญ่ เป็นการปรับปรุงรายละเอียดวิชา โครงสร้างหน่วยกิต และการจัดการเรียนการสอนให้มีการบูรณาการ ระหว่างรายวิชามากขึ้น โดยผ่านการใช้โครงการออกแบบร่วมกัน ปีการศึกษา 2547 ดำเนินการปรับปรุงหลักสูตรครั้งที่ 2 เพื่อพัฒนาหลักสูตรตามรอบ ระยะเวลาที่ได้เปิดการเรียนการสอนมาครบ 5 ปี เนื้อหาสาระสำคัญที่ดำเนินการปรับปรุงคือการเพิ่ม รายวิชาสหกิจศึกษาจำนวน 9 หน่วยกิต ลงในหลักสูตร ตามมติของสภามหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยจัดให้ นักศึกษาลงทะเบียนเรียนในเทอมสุดท้ายก่อนจบการศึกษา นอกจากนั้นยังมีการปรับโครงสร้างหน่วย กิตให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น และตัดรายวิชาที่มีเนื้อหาซ้ำซ้อนและไม่จำเป็นออก นอกจากนี้ยังปรับ ลดรายวิชาเอกเลือกลงให้เหลือเท่าที่มีการเปิดการเรียนการสอนจริงๆ เท่านั้น ปีการศึกษา 2548 ดำเนินการปรับปรุงหลักสูตรครั้งที่ 3 ตามมติของสภามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งปรับเปลี่ยนโครงสร้างและรายวิชาในหมวดศึกษาทั่วไปทั้งหมดของทุกหลักสูตรทั่วทั้งมหาวิทยาลัย ให้มีเนื้อหาที่มุ่งพัฒนากระบวนการแบบบูรณาการเพื่อให้นักศึกษาเห็นความสัมพันธ์ของศาสตร์ต่าง สาขา ปีการศึกษา 2552 ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญๆ หลายประการทั้งในวงการการศึกษา และ วงการวิชาชีพ ประการแรกทาง สกอ. ได้กำหนดให้ทุกหลักสูตรจะต้องผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่เรียกว่า " กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ " (Thai Qualifications Framework for Higher Education ; TQF : HEd)” เพื่อพัฒนาวงการอุดมศึกษาของไทยให้ก้าวทัดเทียมกับนานาประเทศ และเป็นการประกันคุณภาพของบัณฑิตที่จะจบออกไปให้มีมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามที่มุ่งหวัง สามารถไปประกอบอาชีพได้อย่างดีและประสบความสำเร็จ การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญอีกประการหนึ่ง เกิดขึ้นในวงการวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาในสาขาสถาปัตยกรรมควบคุม กล่าวคือทาง สภาสถาปนิกได้ออกระเบียบสภาสถาปนิกว่าด้วยการกำหนดวัตถุประสงค์และขอบเขตหมวดวิชาของ มาตรฐานวิชาการในสาขาสถาปัตยกรรมควบคุม ฉบับแรกในปี พ.ศ. 2548 และฉบับต่อมาในปี 2552 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้สภาสถาปนิกสามารถใช้เป็นหลักเกณฑ์ในการพิจารณาให้การรับรองคุณวุฒิ
ค ในสาขาสถาปัตยกรรมควบคุม ได้ตามข้อบังคับสภาสถาปนิกว่าด้วยการรับรองปริญญาตรี อนุปริญญา และประกาศนียบัตร ในสาขาวิชาสถาปัตยกรรมควบคุม พ.ศ. 2545 คณะกรรมการประจำหลักสูตร ภูมิสถาปัตยกรรมจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการปรับปรุงหลักสูตรให้มีความทันสมัยและ เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานทางวิชาการที่ถูกกำหนด ปีการศึกษา 2560 ได้ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรให้มีความทันสมัยตอบโจทย์ของ สถานการณ์ในช่วงเวลาดังกล่าว โดยมีเป้าหมายและวิสัยทัศน์การพัฒนาหลักสูตรในครั้งนั้น คือการ การส่งเสริมจุดเด่น ปรับปรุงแก้ไขจุดด้อย ให้สอดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนแปลง เพื่อให้ได้หลักสูตรที่มี คุณภาพและประสิทธิภาพ มีความทันสมัยสอดคล้องกับบริบทแวดล้อม และส่งเสริมการจัดการเรียน การสอนที่ทันสมัยตามแนวทางการศึกษาในศตวรรษที่ 21 จนกระทั่งมาจนถึงปัจจุบัน ในปีการศึกษา 2566 ที่กำลังจะมาถึงนี้ ถึงวาระครบรอบระยะเวลา ที่ได้เปิดการเรียนการสอนมาครบ 5 ปีอีกครั้งหนึ่ง จึงได้มีการดำเนินการปรับปรุงหลักสูตรตามลำดับ ขั้นตอนของระบบและกลไกการปรับปรุงหลักสูตร การปรับปรุงครั้งนี้นี้ถือว่าเป็นการปรับปรุงน้อย โดยยังคงโครงสร้างหลักๆ ของหลักสูตรเดิมไว้ทั้งหมด หลักการสำคัญของการปรับปรุงคือการแก้ไข หลักสูตรให้มีความทันสมัยตอบโจทย์ของสถานการณ์ปัจจุบันมากยิ่งขึ้น เนื่องจากเกิดการ เปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อวงการวิชาชีพในหลายๆ ด้าน เช่น เช่น การเปลี่ยนแปลงไปสู่การดำเนิน ชีวิตแบบวิถีใหม่ (New Normal) การสื่อสารที่ไร้พรมแดน ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและ นวัตกรรม การก้าวเข้าสู่ “สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์” ของประเทศไทย ความเสื่อมโทรมของ สิ่งแวดล้อมทั่วโลก และความรุนแรงที่เพิ่มขึ้นและถี่ขึ้นของพิบัติภัยทางธรรมชาติ อันมีสาเหตุมาจาก ภาวะโลกร้อน ส่วนเป้าหมายและวิสัยทัศน์การพัฒนาหลักสูตรในครั้งนี้คือการทบทวนปรับปรุงผลลัพธ์ การเรียนรู้ที่คาดหวังระดับหลักสูตร รวมทั้งเนื้อหาในรายวิชา ให้สอดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนแปลง เพื่อให้ได้หลักสูตรที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ มีความทันสมัยสอดคล้องกับบริบทแวดล้อม และ ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่ทันสมัยตามแนวทางการศึกษาในศตวรรษที่ 21 การปรับปรุงในครั้งนี้ จะเป็นการวางรากฐานทางด้านวิชาการภูมิสถาปัตยกรรมให้มั่นคง และ วางทิศทางของการดำเนินงานของหลักสูตร ให้เป็นไปในทิศทางที่ถูกต้อง เพื่อความก้าวหน้าทางด้าน วิชาการและของวงการวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรม อันจะส่งผลต่อความความเจริญยั่งยืนของ ประเทศชาติสืบไป
ง สารบัญ หน้า คำนำ หลักการและเหตุผล ก ข สารบัญ ง ใบสรุปขั้นตอนการเสนอหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม ฉ หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร 3 ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินการ และโครงสร้างหลักสูตร 4 ผลการเรียนรู้ และกลยุทธ์การสอนและการประเมิน 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา 6 การพัฒนาคณาจารย์ 7 การประกันคุณภาพของหลักสูตร 8 การประเมินและการปรับปรุงการดำเนินงานของหลักสูตร เอกสารแนบ (หลักสูตรปรับปรุง) 1 ตารางเปรียบเทียบโครงสร้างหลักสูตร กับ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร โครงสร้างหลักสูตรเดิม โครงสร้างหลักสูตรใหม่ 2 ตารางเปรียบเทียบรายละเอียด ตามโครงสร้างหลักสูตรเก่า หลักสูตรใหม่ 3 สาระสำคัญของการปรับปรุงหลักสูตร 4 ประวัติและผลงานของอาจารย์ผู้รับผิดหลักสูตร/อาจารย์ประจำหลักสูตร 5 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม 6 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม 7 8 รายงานสรุปผลการประชุมคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรม รายงานสรุปผลการประชุมคณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรม
จ สารบัญ (ต่อ) หน้า 9 10 11 12 ข้อบังคับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ว่าด้วยการศึกษาขั้นปริญญาตรี พ ศ 2556 ข้อบังคับสภาสถาปนิกว่าด้วยการรับรองปริญญา อนุปริญญา และ ประกาศนียบัตรในการประกอบวิชาชีพควบคุม พ.ศ. 2545 ระเบียบคณะกรรมการสภาสถาปนิกว่าด้วยการกำหนดวัตถุประสงค์และ ขอบเขตหมวดวิชาของมาตรฐานวิชาการในสาขาสถาปัตยกรรมควบคุม พ.ศ. 2552 สรุปโครงสร้างหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เรียงตามข้อบังคับสภาสถาปนิก ว่าด้วยการรับรองปริญญา อนุปริญญา และ ประกาศนียบัตร ในการประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม พ.ศ. 2545 (หลักสูตร 5 ปี)
ฉ ใบสรุปขั้นตอนการเสนอขอปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรรม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ………………………………………… การปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) ได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุม ดังนี้ 1. คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรม ในการประชุม ครั้งที่ ………… เมื่อวันที่ ………………. พ.ศ. 2565 . 2. คณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรม ในการประชุม ครั้งที่ เมื่อวันที่ พ.ศ. 2565 3. คณะกรรมการประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม ในการประชุมวิสามัญ ครั้งที่ เมื่อวันที่ พ.ศ. 2565 4. คณะกรรมการวิชาการ เห็นชอบให้นำเสนอหลักสูตรต่อคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย ในการประชุม ครั้งที่ เมื่อวันที่ พ.ศ. 2565 5. คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย เห็นชอบให้นำเสนอหลักสูตรต่อสภามหาวิทยาลัย ในการประชุม ครั้งที่ ………… เมื่อวันที่ ………………. พ.ศ. 2565 6. สภามหาวิทยาลัย ให้ความเห็นชอบ/อนุมัติหลักสูตร ในการประชุม ครั้งที่ ………… เมื่อวันที่ ………………. พ.ศ. 2565
มคอ. 2 1 หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม หลักสูตร ปรับปรุง พ.ศ. 2566 ชื่อสถาบันอุดมศึกษา : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วิทยาเขต / คณะ/ ภาควิชา : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. รหัสหลักสูตรและชื่อหลักสูตร รหัสหลักสูตร : 25520131106223 ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย) : ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Landscape Architecture Program in Landscape Architecture 2. กลุ่มหลักสูตร : วิชาชีพ 3 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (ภูมิสถาปัตยกรรม) ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ภ.สถ บ (ภูมิสถาปัตยกรรม) ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Landscape Architecture (Landscape Architecture) ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.L.A (Landscape Architecture) 4 วิชาเอก : ไม่มี 5. จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 166 หน่วยกิต 6. รูปแบบของหลักสูตร
มคอ. 2 2 6.1 รูปแบบ หลักสูตรระดับปริญญาตรี 5 ปี ทางวิชาชีพ 6.2 ภาษาที่ใช้ หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย 6.3 การรับเข้าศึกษา รับเฉพาะนักศึกษาไทย 6.4 ความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยอื่น เป็นหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัย ที่จัดการเรียนการสอนโดยตรง 6.5 การให้ปริญญากับผู้สำเร็จการศึกษา ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว 7. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร 7.1 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566 ปรับปรุงจากหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) 7.2 กำหนดเปิดสอนในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2566 7 3 คณะกรรมการวิชาการเห็นชอบให้นำเสนอหลักสูตรต่อคณะกรรมการบริหารฯ ในการประชุมครั้งที่ ………….. เมื่อวันที่ ……. เดือน ………….. พ.ศ. ………. 7 4 คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยเห็นชอบให้นำเสนอต่อสภามหาวิทยาลัยฯ ในการประชุมครั้งที่ เมื่อวันที่ เดือน พ ศ 7.5 สภามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ให้ความเห็นชอบหลักสูตร ในการประชุมครั้งที่ เมื่อวันที่ เดือน พ ศ 7.6 สภาวิชาชีพสถาปนิก ให้การรับรอง ตามประกาศสภาสถาปนิก เมื่อวันที่ เดือน พ.ศ 8. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพร้อมเผยในการแพร่คุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ ในปีการศึกษา 2566
มคอ. 2 3 9. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา 1) ภูมิสถาปนิก 2) ผู้ช่วยนักวิจัย 3) ประกอบอาชีพอิสระ 4) งานด้านอุตสาหกรรมภูมิทัศน์ 5) ศึกษาต่อในระดับปริญญาโท 10. ชื่อ ตำแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ที่ ตำแหน่งทาง วิชาการ ชื่อ สกุล คุณวุฒิ สาขาวิชาเอก สถาบัน ปีที่จบ 1. ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ นางสาว จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ M.L.A. สถ.บ. Landscape Architecture สถาปัตยกรรม ศาสตรบัณฑิต Virginia Polytechnic Institute and State University, U.S.A. จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย 2540 2534 2 ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ นายยุทธภูมิ เผ่าจินดา สถ ม ภ สถ บ การออกแบบ ชุมชนเมือง ภูมิสถาปัตยกรรม จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2550 2546 3. อาจารย์ นายศุภณัฐ กาญจนวงค์ ภ สถ ม ภ.สถ.บ. ภูมิสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2556 2553 4. อาจารย์ นางสาว ศุภัชญา ปรัชญคุปต์ ภ.สถ.ม. ภ สถ บ ภูมิสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2552 2550 5 อาจารย์ นายณัฐพล เรืองวิทยา นุสรณ์ สถ ม สถ.บ. สถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2557 2551
มคอ. 2 4 11 สถานที่จัดการเรียนการสอน 11.1 อาคารเรียนรวมต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ 11.2 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ 12. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จำเป็นต้องนำมาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร ในช่วงระยะเวลา 5 ปีที่ผ่านมานี้ ประเทศไทยเผชิญกับแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของ โลก ทั้งที่เป็นการเปลี่ยนแปลงระยะสั้นและระยะยาว ซึ่งจะส่งผล ทั้งในเชิงบวกและเชิงลบต่อการ พัฒนาวงการวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรมในอนาคต จึงเป็นเรื่องสำคัญที่หลักสูตรจะต้องปรับตัวด้วยการ ใช้ประโยชน์จากจุดแข็งและปรับแก้ไขข้อจำกัดที่มีอยู่เพื่อนำมาสร้างสรรค์โอกาสในการเติบโตต่อไป ในการปรับปรุงหลักสูตรในครั้งนี้ จึงจำเป็นต้องคำนึงถึงประเด็นปัญหาในสถานการณ์ต่อไป 12.1 สถานการณ์ทางเศรษฐกิจและสังคม สืบเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 ทำให้เศรษฐกิจได้รับผลกระทบ เป็นวงกว้าง การทำงานต้องปรับตัวโดยใช้ระบบการทำงานที่บ้าน (Working from home) ดังนั้น การเรียนรู้ด้านการสื่อสารโดยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศจึงเป็นเรื่องสำคัญ นอกจากนี้ การเข้าสู่ สังคมสูงวัยโดยที่จำนวนประชากรของผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นในขณะที่สัดส่วนของประชากรในวัยเรียนนั้น ลดลง จึงจำเป็นต้องแสวงหาโอกาสในการเพิ่มรูปแบบการเรียนการสอนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอด ชีวิต การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรยังส่งผลให้ภาคการผลิตและบริการที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ นั้นมีโอกาสเติบโตเพิ่มขึ้น เช่นศูนย์พักพิงผู้สูงอายุ ศูนย์บริการด้านสุขภาพ จึงเป็นช่องทางในการ พัฒนาการจัดการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู้ด้านออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมเพื่อตอบสนองต่อความ ต้องการของผู้บริโภคกลุ่มสูงวัย 12.2 การพัฒนาทางด้านคอมพิวเตอร์เทคโนโลยี ปัจจุบันนี้มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน อุตสาหกรรมและการบริการดิจิทอล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์ จึงจำเป็นต้องส่งเสริมการผลิต บัณฑิตที่มีทักษะความสามารถในด้านดังกล่าว และมีขีดความสามารถในการแข่งขันในสาขาวิชาชีพ สถาปัตยกรรม ทั้งในระดับประเทศและในระดับนานาชาติ
มคอ. 2 5 12.3 สถานการณ์ทางด้านด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประเด็นปัญหาในเรื่องนี้นับว่าเป็นประเด็นปัญหาที่สำคัญและมีหลายประการ อาทิเช่น ความเสี่ยงในด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทรัพยากรน้ำ เนื่องจาก เกิดความเสื่อมโทรมของแหล่งน้ำตามธรรมชาติทางจากการกระทำของมนุษย์และปัจจัยตามธรรมชาติ รวมไปถึงความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ ส่งผลต่อระดับความเสี่ยงในการเกิดภัยแล้งและ อุทกภัยในพื้นที่ต่างๆทั่วประเทศ นอกจากนี้ยังมีประเด็นปัญหาปัญหาในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม เช่นปัญหาขยะ ปัญหามลพิษทางอากาศ เป็นต้น ในการปรับปรุงหลักสูตร จึงมีความจำเป็นที่จะต้อง คำนึงถึงการศึกษาแนวทางในการแก้ไขปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมดังกล่าว โดย สอดแทรกในเนื้อหารายวิชาต่างๆ 13. ผลกระทบจาก ข้อ 12.1 และ 12.2 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้องกับพันธกิจ ของสถาบัน 13.1 การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตรในครั้งนี้มีเป้าหมายที่จะพัฒนาให้หลักสูตรมีคุณภาพและมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น มีความทันสมัย สอดคล้องกับบริบทแวดล้อม รวมถึงสอดคล้องกับ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2565 ทั้งนี้โดยการทบทวนและปรับปรุง ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังระดับหลักสูตร (PLOs) ระดับชั้นปี (YLOs) และระดับรายวิชา (CLOs) ตลอดจนเพิ่มเติมบางรายวิชาตามบริบทที่เปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม ยุบรวมบางรายวิชาให้มีเนื้อหาที่กระชับมากยิ่งขึ้น ปรับเปลี่ยนรหัสรายวิชาตามข้อกำหนดของ มหาวิทยาลัย นอกจากนี้ยังมีการปรับเปลี่ยนรายวิชาศึกษาทั่วไป ตามการปรับปรุงของ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ที่ตอบสนองต่อบริบทแวดล้อมในศตวรรษที่ 21 ทั้งนี้จุดเด่นของหลักสูตร ได้แก่หลักสูตรเป็นที่ยอมรับของตลาดแรงงาน บัณฑิตมีความอดทนสู้งานและมีความรู้ทางด้าน พืชพรรณและสภาพแวดล้อม อาจารย์เป็นคนรุ่นใหม่ที่มีแนวทางในการทำงานร่วมกัน นอกจากนี้ยังมีความพร้อมทางด้านโครงสร้างพื้นฐาน ส่วนจุดที่ควรพัฒนาของหลักสูตรได้แก่ การเตรียมความพร้อมเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี การส่งเสริมการใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ รวมไปถึงการพัฒนาระบบฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ที่ทันยุคทันสมัย การ ส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาทั้งในระดับชาติและนานาชาติ การวางยุทธศาสตร์การรับนักศึกษา และการพัฒนาคุณวุฒิและตำแหน่งทางด้านวิชาการของอาจารย์ ในด้านเนื้อหาที่จะต้อง เพิ่มเติมตามบริบทที่เปลี่ยนแปลงไปของสังคมและสภาพแวดล้อมนั้น ทางหลักสูตรคำนึงถึง ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ทั้งในด้านสาระสำคัญของเนื้อหา การเปลี่ยนแปลงในการ
มคอ. 2 6 จัดการความรู้ การจัดการเรียนการสอน และหลักการจัดการเรียนรู้ ทั้งนี้ได้ปรับโครงสร้าง หลักสูตรให้มีความกระชับมากขึ้น แต่ยงัคงสอดคล้องกับมาตรฐานของสภาสถาปนิก และ เกณฑ์ มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2565 รวมทั้งเพิ่มรายวิชาที่มีความทันสมัย 13.2 ความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน การปรับปรุงหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตย กรรม คำนึงถึงความสอดคล้องกับพันธกิจของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ทั้ง 7 ด้าน ดังนี้ 1) ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในวิชาการและวิชาชีพโดยเฉพาะการเป็น ผู้ประกอบการ (Entrepreneurs) ที่ทันต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงโดยเน้นทางด้านการเกษตร วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ภาษาต่างประเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขาวิชาที่สอดคล้องกับทิศ ทางการพัฒนาเศรษฐกิจ ชุมชนท้องถิ่น และสังคมของประเทศ 2) ขยายโอกาสให้ผู้ด้อยโอกาสเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาและส่งเสริมการ เรียนรู้ตลอดชีวิตของคนทุกระดับ 3) สร้างและพัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งทางการเกษตร และวิทยาศาสตร์ประยุกต์เพื่อการเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่สังคม 4) ขยายบริการวิชาการและความร่วมมือในระดับประเทศและนานาชาติ 5) พัฒนามหาวิทยาลัยให้มีความเป็นเลิศทางวิชาการด้านการเกษตร เพื่อเป็นที่ พึ่งของตนเองและสังคม 6) ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมของชาติและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 7) สร้างและพัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมี ความโปร่งใสในการบริหารงานประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยนำมาเป็นองค์ประกอบในการตั้งปรัชญา วัตถุประสงค์ของหลักสูตร ลักษณะ ของบัณฑิตที่พึงประสงค์ของหลักสูตร
มคอ. 2 7 14 ความสัมพันธ์ (ถ้ามี) กับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอนในคณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอื่น 14.1 กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสูตรที่เปิดสอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอื่น หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ได้แก่ กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ กลุ่มวิชา วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ กลุ่มวิชาภาษา หมวดวิชาพื้นฐานวิชาชีพ ได้แก่ สถ 270 กลศาสตร์โครงสร้างสำหรับงานสถาปัตยกรรมและงานภูมิทัศน์ สถ 376 ระบบโครงสร้างงานสถาปัตยกรรมและภูมิสถาปัตยกรรม หมวดวิชาชีพ ได้แก่ สถ 497 สหกิจศึกษา สถ 498 การเรียนรู้อิสระ สถ 499 การศึกษาหรือฝึกงาน หรือฝึกอบรมต่างประเทศ หมวดวิชาชีพ เลือก ได้แก่ ภท 441 การบริหารจัดการธุรกิจภูมิทัศน์ ภท 461 การประเมินผลกระทบทางสายตา 14.2 รายวิชาในหลักสูตรที่เปิดสอนให้วิทยาลัย/คณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอื่น ลำดับ ชื่อรายวิชา หลักสูตรที่เปิดสอนให้ 1 ภส 121 ภูมิสถาปัตยกรรมเบื้องต้น หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชา เทคโนโลยีภูมิทัศน์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม 2. ภส 261 นิเวศวิทยาและหลักอนุรักษ์วิทยา หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชา เทคโนโลยีภูมิทัศน์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่งแวดล้อม 3. ภส 394 การสื่อสารในการปฏิบัติวิชาชีพ หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชา เทคโนโลยีภูมิทัศน์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
มคอ. 2 8 14.3 การบริหารจัดการ 14.3.1 ประชุมหารือระหว่างอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร/อาจารย์ประจำหลักสูตร และผู้สอนในกลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสูตรที่เปิดสอนในคณะอื่น ๆ เพื่อให้ได้เนื้อหาความรู้และทักษะ ที่ตรงตามความต้องการและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 14.3.2 ให้มีผู้ประสานงานรายวิชาทุกรายวิชา เพื่อทำหน้าที่ประสานงานกับอาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตร/อาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ผู้สอน นักศึกษา ในเรื่องที่เกี่ยวกับรายละเอียด ของรายวิชา การจัดการเรียนการสอน และการวัดผลและประเมินผล 14.3.3 การจัดการเรียนการสอนในหลักสูตร ในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป จะดำเนินการ โดยคณะที่เกี่ยวข้อง เช่น คณะศิลปศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรม เกษตร คณะวิทยาศาสตร์ คณะผลิตกรรมการเกษตร วิทยาลัยบริหารศาสตร์ และวิทยาลัยพลังงาน ทดแทน โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรของแต่ละหลักสูตรจะดำเนินการประสานงาน และแจ้งไป ยังคณะที่จัดการเรียนการสอนให้ทราบล่วงหน้าถึงจำนวนนักศึกษาที่จะลงทะเบียนเรียนในแต่ละปี การศึกษา ในส่วนของวิชาเฉพาะจะจัดการเรียนการสอนโดยสาขาวิชา ทั้งนี้การจัดการเรียนการสอน ทุกรายวิชา ดำเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 โดยมีคณะกรรมการกำกับ ติดตามการจัดการเรียนการสอน และมีการประเมินผลการจัดการ เรียนการสอนของรายวิชาตามแบบ มคอ.5 และมคอ. 6 ในทุกภาคการศึกษา และรายงานผลการ ดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ทุกปีการศึกษา นอกจากนี้ทางมหาวิทยาลัยยังได้จัดให้มีการ สอบวัดความรู้พื้นฐานด้านภาษาอังกฤษ เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษาและส่งเสริมนักศึกษาที่มี ศักยภาพสูงให้สามารถพัฒนาตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
มคอ. 2 9 หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร 1. ปรัชญา ความสำคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 1.1 ปรัชญา ความสำคัญ การผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติวิชาชีพที่มีความชำนาญทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติที่มุ่งเน้น ด้านการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมอย่างยั่งยืน เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม สามารถชี้นำสังคมได้ โดยการจัดการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีความยืดหยุ่น ทันสมัย เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่ เป็นพลวัตของศตวรรษที่ 21 1.2 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร 1.2.1 วัตถุประสงค์ด้านคุณลักษณะที่คาดหวังของบัณฑิต เพื่อผลิตบัณฑิตทาง ภูมิ สถาปัตยกรรมที่มีความรู้ความสามารถและความชำนาญ ในการวางผังและออกแบบ ภูมิ สถาปัตยกรรมอย่างยั่งยืน โดยเน้นทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ ให้เกิดทักษะ สามารถประกอบ อาชีพทางด้านภูมิสถาปัตยกรรมได้ ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ มีความรอบรู้ทันสมัย โดย ตั้งอยู่บนพื้นฐานจรรยาบรรณวิชาชีพ เพื่อสนองความต้องการของสังคมและสอดคล้องกับ แนวนโยบายแห่งรัฐ 1.2.2 วัตถุประสงค์ด้านบทบาทการเป็นผู้นำทางวิชาการ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ ทางด้านภูมิสถาปัตยกรรม โดยเน้นที่การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมอย่างยั่งยืน ตอบต่อบริบทของ การเปลี่ยนแปลงที่เป็นพลวัตของศตวรรษที่ 21 สามารถนำความรู้ไปต่อยอดเพื่อให้เกิดผลในทาง ปฏิบัติวิชาชีพได้จริง 1.3.3 วัตถุประสงค์ด้านบทบาทการพัฒนาสังคม เพื่อเป็นส่วนสำคัญในการ พัฒนาสังคม ในการแก้ไขปัญหาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระดับ ท้องถิ่น โดยการผสานงานด้านการผลิตบัณฑิตและงานด้านการพัฒนาวิชาการเข้ากับการให้บริการ วิชาการสู่ชุมชน 2. แผนพัฒนาปรับปรุง หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม มีแผนพัฒนาปรับปรุง หลักสูตรที่ประกอบด้วยแผนการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตร กลยุทธ์ และตัวบ่งชี้การพัฒนาปรับปรุง โดยคาดว่าจะดำเนินการแล้วเสร็จภายในรอบการศึกษา 5 ปี
มคอ. 2 10 2.1 แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง 2.2 กลยุทธ์ 2.3 หลักฐาน/ตัวบ่งชี้ ด้านหลักสูตรและผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. ทบทวนกระบวนการได้มาซึ่ง PLOs โดยใช้แนวคิดของ OBE 1. จัดประชุมกรรมการพัฒนา หลักสูตรซึ่งรวมผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ของหลักสูตร เพื่อทบทวน PLOs และระดมความคิดเห็น 1. รายงานการประชุมคณะกรรม การพัฒนาหลักสูตร 2. ทบทวนการนำ Learning taxonomy มาใช้ในการกำหนด ผลลัพธ์การเรียนรู้ และทบทวน การกำหนดระดับการเรียนรู้ด้าน knowledge ของ Bloom ทั้ง PLOs YLOs และ CLOs 2. ปรับปรุง PLOs โดย ทบทวน การนำ Learning taxonomy มา ใช้ในการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ และทบทวนการกำหนดระดับการ เรียนรู้ด้าน knowledge ของ Bloom ตามข้อเสนอแนะของ คณะกรรมการ 2. มคอ.2 หลักสูตรภูมิสถาปัตย กรรมศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุง 2566 3. ทบทวนช่องทางและเอกสาร การเผยแพร่ ปรัชญาการศึกษา ของหลักสูตร Programme profile และ course specifica tions ตลอดจนการประเมิน ประสิทธิภาพ 3. ปรับปรุงข้อมูลทั้ง Programe profile และ course specifica tions ทางเว็บไซท์ ให้สมบูรณ์มาก ยิ่งขึ้น 3. เว็บไซท์หลักสูตรภูมิสถาปัตย กรรมศาสตรบัณฑิต ด้านการเรียนการสอนและการประเมินผล 1. ทบทวนแผนการศึกษา 1 ปรับปรุงแผนการศึกษา ตามผล การเรียนรู้ที่คาดหวังระดับชั้นปี 1. มคอ.2 หลักสูตรภูมิสถาปัตย กรรมศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุง 2566 2. ทบทวนความสอดคล้องระหว่าง CLOs และ PLOs 2. ประเมินผลสัมฤทธิ์ของการเข้า ร่วมกิจกรรมจากโครงการพัฒนา ศักยภาพนักศึกษาที่สอดคล้องกับ PLOs (CLOs to PLOs) ระดับ รายวิชาหรือชั้นปี 2. มคอ. 5 รายวิชา และผลการ ประชุมทวนสอบประจำปีการศึก ษา 2565 3. กำหนด life long learning ของหลักสูตรลงในรายวิชา และ ประเมินกระบวนการเรียนการ 3. กำหนดวาระการประชุม หลักสูตร ในหัวข้อ แนวปฏิบัติใน การส่งเสริม life long learning 3. รายงานการประชุมคณะกรรม การประจำหลักสูตร และ มคอ. 5 รายวิชา
มคอ. 2 11 2.1 แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง 2.2 กลยุทธ์ 2.3 หลักฐาน/ตัวบ่งชี้ สอนที่ช่วยพัฒนาหรือส่งเสริม life long learning ของผู้เรียน ในรายวิชา และติดตามผลในการ ทวนสอบรายวิชา 4. พัฒนากระบวนการเตรียมความ พร้อมในนักศึกษาที่ยังขาดหรือ พร่องในทักษะที่หลักสูตรคาดหวัง 4. ส่งเสริมให้มีการ Pre test และ Post test ในการเรียนการสอน ของแต่ละรายวิชา และจัดการ สอนเสริมให้เหมาะสมกับทักษะ การเรียนรู้ที่เหมาะสมกับนักศึกษา 4. มคอ. 5 รายวิชา และผลการ ประชุมทวนสอบประจำปีการศึก ษา 2565 5. ทบทวนรายละเอียดของการ กำหนดเกณฑ์การประเมินใน มคอ.3 บางรายวิชา ให้มีความ ชัดเจนของการสื่อสารแก่ผู้เรียน สามารถตอบ PLOs ได้ 5. ปรับปรุงเกณฑ์การประเมินใน มคอ.3 ในรายวิชา และนำเสนอใน กิจกรรมทวนสอบ 5. มคอ. 5 รายวิชา และผลการ ประชุมทวนสอบประจำปีการศึก ษา 2565 ด้านพัฒนาบุคลากร 1 วางแผนและกำกับติดตาม ประเภทและจำนวนงานวิจัย และ ผลงานการตีพิมพ์ของอาจารย์ อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อ ไม่ให้กระทบกับคุณสมบัติของ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและ อาจารย์ประจำหลักสูตร 1. เพิ่มข้อมูลประเภทและจำนวน งานวิจัย และผลงานการตีพิมพ์ ของอาจารย์ เผยแพร่ลงในเว็บไซท์ ของหลักสูตร 2. กำหนดหัวข้อความก้าวหน้าใน การค้นคว้าวิจัยในที่ประชุม คณะกรรมการประจำหลักสูตร 1) เว็บไซท์ของหลักสูตร 2) รายงานการประชุมคณะกรรม การประจำหลักสูตร 2. วางแผนและกำหนดการทำงาน วิจัยและบริการวิชาการของ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและ อาจารย์ประจำหลักสูตรอย่าง ต่อเนื่อง 2. จัดทำรายงานข้อมูลภาระงาน ด้านงานวิจัยและบริการวิชาการ ของอาจารย์ในหลักสูตร ในทุกภาค การศึกษา 2. รายงานการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในระดับหลักสูตร ในทุกปีการศึกษา 3. การพัฒนาการเขียนบทความ ทางวิชาการ เนื่องจากอาจารย์ ประจำหลักสูตร และอาจารย์ ผู้สอนมีงานวิจัยอยู่แล้วแต่ยังไม่มี การเขียนบทความทางวิชาการ 3 การอบรมอาจารย์ เพื่อพัฒนา การเขียนบทความทางวิชาการ เนื่องจากอาจารย์ประจำหลักสูตร และอาจารย์ผู้สอนมีงานวิจัยอยู่ แล้วแต่ยังไม่มีการเขียนบทความ 3. จำนวนบทความทางวิชาการที่ ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ของ อาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ ผู้สอน
มคอ. 2 12 2.1 แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง 2.2 กลยุทธ์ 2.3 หลักฐาน/ตัวบ่งชี้ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาตำแหน่ง ทางวิชาการของหลักสูตร ทางวิชาการ เพื่อนำไปสู่การพัฒนา ตำแหน่งทางวิชาการ ด้านนักศึกษา 1 พัฒนาระบบกลไกในการ ติดตามความก้าวหน้าผล การศึกษา และภาระการเรียนของ นักศึกษา 1. จัดให้เป็นวาระการประชุม คณะกรรมการประจำหลักสูตร ใน หัวข้อ การติดตามความก้าวหน้า ผลการศึกษา และภาระการเรียน ของนักศึกษา 1 รายงานการประชุมคณะกรรม การประจำหลักสูตร 2 การพัฒนานักศึกษาให้มีคุณ สมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์ 2. จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่ ส่งเสริมและพัฒนาผลลัพธ์การ เรียนรู้ของนักศึกษาที่ตรงกับ PLOs ของหลักสูตร รวมถึง Life long learning และการมีงานทำ 2. รายงานผลการดำเนินโครงการ รายงานผลการดำเนินโครง การสห กิจศึกษา (Cooperative educa tion) และการฝึกงาน ในหน่วย งานภาครัฐและเอกชน 3. กำหนดเป้าหมายของการ ดำเนินงานทั้งอัตราการสำเร็จ การศึกษา (การเลื่อนชั้นเรียน: pass rates) และอัตราการลาออก ( dropout) เพื่อนำไปสู่การ วางแผน การประเมิน การ ปรับปรุง และการเทียบเคียง ความสำเร็จ 3. เก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล สาเหตุของการลาออก เพื่อนำ ข้อมูลจากวิเคราะห์เพื่อนำไปสู่การ วางแผน การประเมิน การปรับปรุง 3. รายงานการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในระดับหลักสูตร ในทุกปีการศึกษา
มคอ. 2 13 หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร 1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบ การศึกษาในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่ง ออกเป็น 2 ภาคการศึกษา 1 ภาคการศึกษาปกติ มีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ 1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน ไม่มีการเรียนการสอนในภาคการศึกษาฤดูร้อน 1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค ไม่มีการจัดการศึกษาระบบอื่น นอกเหนือจากระบบทวิภาค 2. การดำเนินการหลักสูตร 2.1 วัน เวลาในการดำเนินการเรียนการสอน ภาคเรียนที่ 1 เดือนมิถุนายน เดือนกันยายน ภาคเรียนที่ 2 เดือนพฤศจิกายน เดือนกุมภาพันธ์ 2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา 2.2.1 เป็นผู้สำเร็จการศึกษาหรือกำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) แผนการเรียน วิทย์ คณิตศาสตร์, ศิลป์ คำนวณ และผ่านการคัดเลือกให้เข้าศึกษาตามระบบการ คัดเลือกที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้กำหนด 2.2.2 เป็นผู้มีคุณสมบัติตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ว่าด้วยการศึกษาขั้นปริญญา ตรีตามระเบียบและประกาศอื่นๆ ของมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวข้องโดยอนุโลม 2.3 ปัญหาของนักศึกษาแรกเข้า 2.3.1 ความแตกต่างของระดับความรู้พื้นฐานทางเลขะนิเทศ 2.3.2 ความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ไม่เพียงพอ 2.3.3 นักศึกษามีความรู้ด้านภาษาต่างประเทศ และทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ไม่ถึง เกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยฯ กำหนด
มคอ. 2 14 2.3.4 ปัญหาการปรับตัวจากการเรียนในระดับมัธยมศึกษามาเป็นการเรียนรู้ที่มีรูปแบบ ต่างไปจากเดิม คือ ระดับอุดมศึกษาที่ต้องดูแลตนเอง จัดสรรเวลาในการเรียนและกิจกรรมด้วยตนเอง อีกทั้งยังมีสังคมที่แตกต่างไปจากเดิม 2.3.5 นักศึกษาบางคนขาดแคลนทุนทรัพย์ 2.4 กลยุทธ์ในการดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา/ข้อจำกัดของนักศึกษาในข้อ 2.3 2.4.1 กำหนดให้ผู้รับผิดชอบรายวิชาพื้นฐานทางด้านเลขะนิเทศของหลักสูตร ทำการ ทดสอบก่อนเรียน เพื่อจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละกลุ่ม 2.4.2 แต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาประจำตัวนักศึกษา เพื่อทำหน้าที่ดูแล ตักเตือน ให้ คำแนะนำแก่นักศึกษา และให้เน้นย้ำในกรณีที่นักศึกษามีปัญหาตามข้างต้นเป็นกรณีพิเศษ ตลอดจน ให้คำปรึกษาทั้งวิชาการและวิชาชีพ การครองชีวิตในสังคม เป้าหมายชีวิต การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ ตลาดแรงงาน (Employment) รวมทั้งส่งเสริมการจัดกิจกรรมในการพบปะเพื่อสร้างความ สัมพันธ์ ระหว่างศิษย์และอาจารย์ 2.4.3 จัดให้มีช่องทางในการเผยแพร่ข่าวสารด้านทุนการศึกษาแก่นักศึกษา 2.4.4 จัดการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ แนะนำการวางเป้าหมายชีวิต เทคนิคการเรียนใน มหาวิทยาลัย และการแบ่งเวลา แผนการเรียน และแผนการทำงานในอนาคต 2.4.5 มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือแก่อาจารย์ที่ปรึกษา จัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการดูแลนักศึกษา เช่น วันแรกพบนักศึกษากับอาจารย์ วันพบผู้ปกครอง การติดตามการเรียนของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 จากอาจารย์ผู้สอน และกิจกรรมสอนเสริมถ้าจำเป็น เป็น ต้น 2.4.6 มีนักวิชาการด้านการศึกษาทำหน้าที่แนะแนวการเรียน เช่น การจับประเด็นจาก การอ่านหนังสือ การจดโน้ต การจัดระบบความคิด การดำรงชีวิตในมหาวิทยาลัย ให้แก่นักศึกษาที่มี ปัญหา และขอความช่วยเหลือ 2.4.7 กำหนดตารางเวลาการใช้ห้องปฏิบัติการ เพื่อให้นักศึกษาสามารถฝึกฝนทักษะ ทางภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.4.8 จัดสอนเสริมเตรียมความรู้พื้นฐานก่อนการเรียน
มคอ. 2 15 2.5 แผนการรับนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปี อัตราการคงอยู่และการสําเร็จการศึกษาของนักศึกษา นับถึงสิ้นปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา ข้อมูล 2560 2561 2562 2563 2564 2560 จํานวนนักศึกษาที่รับเข้า 31 29 29 29 29 จํานวนผู้สําเร็จการศึกษา 0 0 0 0 0 จํานวนนักศึกษาที่คงอยู่ 29 27 27 27 26 จํานวนนักศึกษาที่หายไป 2 2 0 0 1 2561 จํานวนนักศึกษาที่รับเข้า 19 19 19 19 จํานวนผู้สําเร็จการศึกษา 0 0 0 0 จํานวนนักศึกษาที่คงอยู่ 19 19 19 19 จํานวนนักศึกษาที่หายไป 0 0 0 0 2562 จํานวนนักศึกษาที่รับเข้า 34 30 28 จํานวนผู้สําเร็จการศึกษา 0 0 0 จํานวนนักศึกษาที่คงอยู่ 30 28 27 จํานวนนักศึกษาที่หายไป 4 2 1 2563 จํานวนนักศึกษาที่รับเข้า 43 42 จํานวนผู้สําเร็จการศึกษา 0 0 จํานวนนักศึกษาที่คงอยู่ 42 41 จํานวนนักศึกษาที่หายไป 1 1 2564 จํานวนนักศึกษาที่รับเข้า 41 จํานวนผู้สําเร็จการศึกษา 0 จํานวนนักศึกษาที่คงอยู่ 39 จํานวนนักศึกษาที่หายไป 2
มคอ. 2 16 2.6 งบประมาณตามแผน งบประมาณสำหรับค่าใช้จ่ายเป็นเงินงบประมาณแผ่นดิน และเงินรายได้ของ มหาวิทยาลัย แหล่งทุนสนับสนุน งบประมาณที่คาดว่าจะได้รับในปีงบประมาณ 2560 2561 2562 2563 2564 2565 งบประมาณแผ่นดิน 11,824,770 3,988,130 3,117,244 3,210,761 3,307,084 3,406,296 งบประมาณเงิน รายได้ 1,182,100 1,182,100 1,182,100 1,182,100 1,182,100 1,182,100 2.6.1 งบประมาณแผ่นดิน หมวดรายจ่าย ประมาณการค่าใช้จ่ายในปีงบประมาณ (บาท) 2560 2561 2562 2563 2564 2565 1. งบบุคลากร อัตราเดิม 619,320 637,900 676,037 676,748 697,050 717,962 2. งบดำเนิน งาน ตอบแทน ใช้ สอย วัสดุ 189,150 194,824.50 200,669 206,689.31 212,890 219,277 3. งบลงทุน ครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้าง* 5,175,800 3,856,300 150,000 961,680 154,500 159,135 163,909 168,826 4. งบอุดหนุน อุดหนุน พนักงาน มหาวิทยาลัย 1,984,200 2,043,726 2,105,038 2,168,189 2,233,235 2,300,232 5. งบวิจัย 300,000 300,000 300,000 300,000 300,000 300,000 รวม 12,124,770 4,288,130 3,417,244 3,510,761 3,607,084 3,706,296 *หมายเหตุ: งบสิ่งก่อสร้างใช้ร่วมกันทุกหลักสูตรในคณะ
มคอ. 2 17 2.6.2 งบประมาณเงินรายได้ หมวดรายรับ ประมาณการค่าใช้จ่ายในปีงบประมาณ (บาท) 2560 2561 2562 2563 2564 2565 รายได้ ค่าธรรมเนียม นักศึกษา 1,182,100 1,182,100 1,182,100 1,182,100 1,182,100 1,182,100 รวม 1,182,100 1,182,100 1,182,100 1,182,100 1,182,100 1,182,100 2.6.3 งบประมาณเงินรายจ่าย หมวด รายจ่าย ประมาณการค่าใช้จ่ายในปีงบประมาณ 2560 2561 2562 2563 2564 2565 1. งบ บุคลากร 619,320 637,900 657,037 676,748 697,050 717,962 2.งบ ดำเนินงาน ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ 1,371,250 1,376,925 1,382,769 1,388,789 1,394,990 1,401,377 3. งบลงทุน ครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้าง* 5,175,800 3,856,300 150,000 43,178,400 154,500 30,841,600 159,135 163,909 168,826 4. งบอุดหนุน 1,984,200 2,043,726 2,105,038 2,168,189 2,233,235 2,300,232 5. งบ รายจ่ายอื่น รวม 13,006,870 47,386,950 35,140,944 4,392,861 4,489,184 4,588,396 *หมายเหตุ: งบสิ่งก่อสร้างใช้ร่วมกันทุกหลักสูตรในคณะ
มคอ. 2 18 2.7 ระบบการศึกษา แบบชั้นเรียน 2.8 การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลัย (ถ้ามี) การเทียบโอนหน่วยกิต และการลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลัย ให้เป็นไปตาม ข้อบังคับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ว่าด้วยการศึกษาขั้นปริญญาตรี พ.ศ. 2556 รวมทั้งระเบียบ คณะกรรมการสภาสถาปนิก ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการตรวจสอบและรับรองปริญญา ระดับปริญญาตรี ของสถาบันการศึกษาที่เปิดสอนวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ ในสาขาสถาปัตยกรรมควบคุมที่ประกาศใช้ ในขณะนั้น 3. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน การปรับปรุงหลักสูตรในครั้งนี้ได้คำนึงถึงระเบียบกฎเกณฑ์ ทั้ง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2565 และ ระเบียบคณะกรรมการสภาสถาปนิกว่าด้วยการกำหนด วัตถุประสงค์และขอบเขตหมวดวิชาของมาตรฐานวิชาการในสาขาสถาปัตยกรรม พ.ศ. 2552 เพื่อให้ สามารถใช้เป็นหลักเกณฑ์ในการพิจารณาให้การรับรองคุณวุฒิในสาขาสถาปัตยกรรมควบคุมได้ ตาม ข้อบังคับสภาสถาปนิกว่าด้วยการรับรองปริญญาตรี อนุปริญญา และประกาศนียบัตร ในสาขา สถาปัตยกรรมควบคุม พ.ศ. 2545
มคอ. 2 19 3.1 หลักสูตรปริญญาตรี 5 ปี 3.1.1 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 166 หน่วยกิต 3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร 1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต กลุ่มความรู้สังคมและวัฒนธรรม 6 หน่วยกิต กลุ่มความรู้ด้านคุณค่าความเป็นมนุษย์และการใช้ชีวิต 3 หน่วยกิต กลุ่มความรู้ด้านภาษาและการสื่อสาร 12 หน่วยกิต รายวิชาภาษาไทย 3 หน่วยกิต รายวิชาภาษาอังกฤษ 9 หน่วยกิต กลุ่มความรู้ด้านการคิดคำนวณ การใช้เหตุผล และ 6 หน่วยกิต เทคโนโลยี กลุ่มความรู้ด้านการเป็นผู้ประกอบการ 3 หน่วยกิต 2) หมวดวิชาเฉพาะ 130 หน่วยกิต กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ 50 หน่วยกิต กลุ่มวิชาชีพ กลุ่มวิชาชีพ บังคับ 74 หน่วยกิต กลุ่มวิชาชีพ เลือก 6 หน่วยกิต 3) หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต 3.1.3 รายวิชาในหลักสูตร หน่วยกิต (บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษาด้วยตัวเอง) 1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต - กลุ่มสังคมและวัฒนธรรม เรียนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต โดยเลือกจากรายวิชาดังต่อไปนี้ 10700 101 สังคมโลกสมัยใหม่ในชีวิตประจำวัน 3 (3 0 6) Modern World in Daily Life 10700 102 อารยธรรมและโลกสมัยใหม่ 3 (3 0 6) Civilization and Modern World 10700 103 ประวัติศาสตร์และพัฒนาการของล้านนา 3 (3 0 6) History and Development of Lanna 10700 104 ผู้สูงอายุและสังคมผู้สูงวัย 3 (3 0 6) Elderly and Ageing Society
มคอ. 2 20 หน่วยกิต (บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษาด้วยตนเอง) 10700 105 มนุษย์ สังคม เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม 3 (3 0 6) Man,society, technology and Environment 10700 106 สังคมและวัฒนธรรมไทย 3 (3 0 6) Thai Society and Culture 10700 107 วรรณกรรมไทยร่วมสมัยกับการเกษตรและสิ่งแวดล้อม 3 (2 2 5) Agricultural and the Environmental in Contemporary Thai Literature 10700 108 อาหารกับสังคม 3 (2 2 5) Food and Society 10700 109 จิตอาสาเพื่อพัฒนาสังคม 3 (2 2 5) Volunteer Spirit for Social Development 11400 110 เศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาที่ยั่งยืน 3 (2 2 5) Sufficiency Economy and Sustainable Development 11400 111 อาเซียนศึกษา 3 (2 2 5) ASEAN Studies 11400 112 การต่อต้านการทุจริต 3 (2 2 5) Anti corruption 10800 113 พลเมืองดิจิทัล 3 (3 0 6) Digital Citizenship 10800 114 ความฉลาดทางดิจิทัล 3 (3 0 6) Digital Intelligence Quotient กลุ่มคุณค่าความเป็นมนุษย์และการใช้ชีวิต เรียนไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต โดยเลือกจากรายวิชาดังต่อไปนี้ 10700 201 จิตวิทยากับพฤติกรรมมนุษย์ 3 (3 0 6) Psychology and Human Behavior 10700 202 สุขภาพสำหรับคนรุ่นใหม่ 3 (2 2 5) Health Care for New Generation

10700

3 (3 0 6)

3 (3 0 6)

10700 (3 0 6)

Psychology (3 0 6) (2 2 5) (2 2 5) (3 0 6) (3 0 6)

มคอ. 2 21 หน่วยกิต (บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษาด้วยตนเอง) 10700 203 ศาสตร์และศิลป์แห่งปัญญาชน 3 (2 2 5) Liberal Arts of Intellectuals 10700 204 มนุษย์กับความงามทางศิลปะ 3 (3 0 6) Humans and Artistic Beauty 10700 205 ศิลปะกับความคิดสร้างสรรค์ 3 (1 4 4) Art and creativity 10700 206 คติชนวิทยา 3 (3 0 6) Folkore 10700 207 ศิลปะและโบราณคดีในประเทศไทยเพื่อสุนทรียะ
Appreciation in Art and Archaeology in Thailand
208 จิตวิทยาการปรับตัวสำหรับชีวิตสมัยใหม่
Adjustment Psychology for Modern Life
209 จิตวิทยาเพื่อการดำเนินชีวิตในสังคมสมัยใหม่ 3
for Living in Modern Society 10700 210 ความสุขและความสำเร็จในการทำงาน 3
Happiness and success at work 10700 211 การพัฒนาบุคลิกภาพความเป็นผู้ประกอบการที่ยั่งยืน 3
Lasting Entrepreneurial Personality Development 10700 212 วรรณคดีกับชีวิต 3
Literature and Life 10700 213 วัฒนธรรมข้าวและประเพณีชาวนาไทย 3
Rice Culture and Thai Farmers Traditions 10100 214 เกษตรเพื่อชีวิต 3
Agriculture for Life

3 (2 2 5)

Thai for Communication for Foreigners

10700 304 (2 2 5)

Technical Writing

10700 (2 2 5)

Thai Language for

10700 306 (2 2 5)

Thai

มคอ. 2 22 หน่วยกิต (บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษาด้วยตนเอง) กลุ่มภาษาและการสื่อสาร เรียนไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต ก. รายวิชาภาษาไทย 3 หน่วยกิต โดยเลือกจากรายวิชาดังต่อไปนี้ 10700 301 ภาษาไทยเพื่อการนาเสนอ 3 (2 2 5) Thai Language for Presentation 10700 302 การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3 (2 2 5) Thai Language for Communication 10700 303 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับชาวต่างประเทศ
ภาษาไทยเพื่องานเขียนเชิงวิชาการ 3
in Thai
305 ภาษาไทยสาหรับหน่วยงานราชการ 3
Governmental Organization
ภาษาไทยเพื่อกิจธุระยุคดิจิทัล 3
Language for official purposes in the digital Society ข. รายวิชาภาษาต่างประเทศ 9 หน่วยกิต โดยเลือกจากรายวิชาดังต่อไปนี้ 10700 307 ทักษะภาษาอังกฤษสำหรับศตวรรษที่ 21 3 (2 2 5) English Skill for 21st Century 10700 308 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน 3 (2 2 5) English for everyday life 10700 309 สนทนาภาษาอังกฤษ 3 (2 2 5) English Conversation 10700 310 ภาษาอังกฤษเบื้องต้นสำหรับธุรกิจและสตาร์ทอัพ 3 (2 2 5) Basic English for Business and Startups

English for

10700 (2 2 5)

English for (2 2 5)

English for (2 2 5)

English for Agricultural Profession

10700 (2 2 5)

English for Global Society (2 2 5)

English for Green Science and Technology in Daily Life

10700 317 (2 2 5)

English for Creative Agripreneurs 2 5)

English for Tourism 2 5)

English

มคอ. 2 23 หน่วยกิต (บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษาด้วยตนเอง) 10700 311 ภาษาอังกฤษเพื่อการสมัครงาน 3 (2 2 5)
Job Seekers
312 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 3
Academic Purposes 10700 313 ภาษาอังกฤษเชิงวิทยาศาสตร์และนวัตกรรม 3
Science and Innovation 10700 314 ภาษาอังกฤษสำหรับวิชาชีพเกษตร 3
315 ภาษาอังกฤษเพื่อสังคมโลก 3
10700 316 ภาษาอังกฤษเชิงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสีเขียวใน 3
ชีวิตประจำวัน
ภาษาอังกฤษเพื่อผู้ประกอบการทางการเกษตรสร้างสรรค์ 3
10700 318 ภาษาอังกฤษสำหรับการท่องเที่ยวสมัยใหม่ 3 (2
Business 10700 319 ภาษาอังกฤษสำหรับผู้ประกอบการและการค้าระหว่าง 3 (2
ประเทศ
for Entrepreneur and International Business 10700 320 ภาษาอังกฤษเพื่อการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ 3 (2 2 5) English for Further Studies and Future Careers 10700 321 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านการเกษตร 3 (2 2 5) Communicative English for Agriculture 10700 322 ภาษาอังกฤษสาหรับวิชาชีพบัญชี 3 (2 2 5) English for Accounting Professional
มคอ. 2 24 หน่วยกิต (บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษาด้วยตนเอง) กลุ่มการคิดคำนวณ การใช้เหตุผลและเทคโนโลยี เรียนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต โดยเลือกจากรายวิชาดังต่อไปนี้ 10700 401 การรู้สารสนเทศ 3 (2 2 5) Information Literacy 10300 402 การใช้ชีวิตในสังคมดิจิทัล 3 (2 2 5) Living in Digital Society 10300 403 โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการศึกษา 3 (2 2 5) Educational Software 10300 404 การตัดสินใจในชีวิตประจำวัน 3 (3 0 6) Decision in Daily Life 10300 405 การคำนวณทางธุรกิจและการลงทุนสำหรับผู้ประกอบการยุคใหม่ 3 (2 2 5) Business and Investment Calculations for Modern Entrepreneurs 10400 406 นานาสาระเกี่ยวกับอาหารและยา 3 (3 0 6) General Aspects of Food and Drug 10400 407 ทักษะดิจิทัลในศตวรรษที่ 21 3 (3 0 6) Digital Skills in 21st Century 10400 408 อาหารและเทคโนโลยี 3 (3 0 6) Food and Technology 10300 409 คณิตศาสตร์เพื่อชีวิตสมัยใหม่ 3 (3 0 6) Mathematics for Modern Life 10300 410 ความฉลาดรู้ด้านวิทยาศาสตร์สาหรับโลกสมัยใหม่ 3 (3 0 6) Scientific Literacy for the Modern World 10300 411 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต 3 (2 2 5) Science for life 10300 412 การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 (2 2 5) Development of Science and Technology
มคอ. 2 25 หน่วยกิต (บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษาด้วยตนเอง) 10300 413 วิทยาศาสตร์รอบตัวในศตวรรษที่ 21 3 (2 2 5) Science in daily life for 21st century skill กลุ่มการเป็นผู้ประกอบการ เรียนไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต โดยเลือกจากรายวิชาดังต่อไปนี้ 10500 501 เศรษฐศาสตร์เพื่อชีวิตประจำวันและการประกอบการ 3 (3 0 6) Economics in Daily Life and Operations 10400 502 ผู้ประกอบการนวัตกรรมทางการเกษตร 3 (2 2 5) Agripreneur 10200 503 การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางธุรกิจ 3 (2 2 5) Application of business software packages 10200 504 การเป็นผู้ประกอบการ 3 (2 2 5) Entrepreneurship 10200 505 การตลาดบนสมาร์ทโฟน 3 (3 0 6) Marketing on smartphone 10200 506 การวางแผนการเงินในชีวิตประจำวัน 3 (3 0 6) Financial Planning for Daily Life 10200 507 ภาษีอากรสำหรับผู้ประกอบการ 3 (3 0 6) Taxation for Entrepreneurship 2) หมวดวิชาเฉพาะ 130 หน่วยกิต กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ 50 หน่วยกิต 11001 113 ประวัติศาสตร์ศิลปะและสถาปัตยกรรม 3 (3 0 6) History of Arts and Architecture 11001 114 เลขะนิเทศ 1 2 (0 6 3) Graphic Communication 1 11001 115 เลขะนิเทศ 2 3 (1 6 5) Graphic Communication 2

Introduction

History (2 3 5)

Basic Computer Applications Landscape (2 3 5)

Plant Materials Plant Selection 3 5)

Plant

มคอ. 2 26 หน่วยกิต (บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษาด้วยตัวเอง) 11001 121 ภูมิสถาปัตยกรรมเบื้องต้น 3 (3 0 6)
to Landscape Architecture 11001 122 ประวัติภูมิสถาปัตยกรรม 2 (2 0 4)
of Landscape Architecture 11001 182 การออกแบบสถาปัตยกรรม 5 (2 6 7) Architectural Design 11001 224 คอมพิวเตอร์สำหรับงานภูมิสถาปัตยกรรม 3
in
Architecture 11001 251 วัสดุพืชพรรณและการเลือกใช้ 1 3
and
1 11001 252 วัสดุพืชพรรณและการเลือกใช้ 2 3 (2
Materials and Plant Selection 2 11002 270 กลศาสตร์โครงสร้างสำหรับงานสถาปัตยกรรมและงานภูมิทัศน์ 3 (2 3 5) Structural Mechanics for Architecture and Landscaping 11001 323 นวัตกรรมในงานภูมิสถาปัตยกรรม 3 (3 0 6) Innovations in Landscape Architecture 11001 325 ภูมิสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นล้านนา 2 (2 0 4) Lanna Vernacular Landscape Architecture 11001 330 แนวคิดและปรัชญาในงานภูมิสถาปัตยกรรม 3 (3 0 6) Concepts and Philosophy in Landscape Architecture 11001 364 การวิเคราะห์เชิงนิเวศและสิ่งแวดล้อม 3 (2 3 5) Ecological and Environmental Analysis 11002 376 ระบบโครงสร้างงานสถาปัตยกรรมและภูมิสถาปัตยกรรม 3 (2 3 5) Structural System in Architecture and Landscape 11001 474 ความเป็นเมืองและภูมิทัศน์เมือง 3 (2 3 5) Urbanization and Urban landscape 11001 490 กฎหมายที่ดิน ผังเมือง และสิ่งแวดล้อม 3 (3 0 6) Land, City Planning and Environmental Laws

Landscape Architectural (2 6 7)

Landscape Architectural Design 2

11001 333 (2 6 7)

Landscape Architectural Design 3 434 4 (2 9 8)

Landscape Architectural Design 4 435 5 (2 9 8)

Landscape Architectural Design 5 237 (0 3 1)

Landscape Architectural Sketch Design (0 3 Architectural 3

Planting 3

Landscape

มคอ. 2 27 หน่วยกิต (บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษาด้วยตัวเอง) กลุ่มวิชาชีพ 80 หน่วยกิต ก. กลุ่มวิชาชีพ บังคับ 74 หน่วยกิต 11001 112 การออกแบบเบื้องต้น 3 (1 6 5) Fundamental Design 11001 226 การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลในงานภูมิสถาปัตยกรรม 3 (2 3 5) Landscape Architectural Inventories and Analyses 11001 231 การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 1 4 (2 6 7)
Design 1 11001 332 การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 2 4
การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 3 4
11001
การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม
5
11001
การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม
5
11001
การออกแบบร่างภูมิสถาปัตยกรรม 1 1
1 11001 338 การออกแบบร่างภูมิสถาปัตยกรรม 2 1
1) Landscape
Sketch Design 2 11001 353 การออกแบบวางผังพืชพรรณ 1 3 (2
5)
Design 1 11001 354 การออกแบบวางผังพืชพรรณ 2 3 (2
5) Planting Design 2 11001 341 การก่อสร้างทางภูมิสถาปัตยกรรม 1 3 (2 3 5) Landscape Architectural Construction 1 11001 342 การก่อสร้างทางภูมิสถาปัตยกรรม 2 3 (2 3 5) Landscape Architectural Construction 2 11001 443 การก่อสร้างทางภูมิสถาปัตยกรรม 3 3 (2 3 5)
Architectural Construction 3
มคอ. 2 28 หน่วยกิต (บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษาด้วยตัวเอง) 11001 444 การก่อสร้างทางภูมิสถาปัตยกรรม 4 3 (2 3 5) Landscape Architectural Construction 4 11001 446 การบริหารงานก่อสร้างและการดูแลรักษางานภูมิสถาปัตยกรรม 3 (2 3 5) Landscape Architectural Construction Management and Maintenance 11001 496 การเตรียมวิทยานิพนธ์ 3 (2 2 5) Preparation for Thesis 11001 593 การปฏิบัติวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรม 2 (2 0 4) Professional Practice 11001 598 วิทยานิพนธ์ 9 (0 27 0) Thesis และเลือก 1 รายวิชา จากรายวิชาต่อไปนี้ 11001 497 สหกิจศึกษา หรือ 9 (ปฏิบัติไม่น้อยกว่า Co operative Education 16 สัปดาห์) 11001 498 การเรียนรู้อิสระ หรือ 9 (ปฏิบัติไม่น้อยกว่า Independent Study 16 สัปดาห์) 11001 499 การศึกษา หรือ ฝึกงาน หรือ ฝึกอบรมต่างประเทศ 9 (ปฏิบัติไม่น้อยกว่า Overseas Study, Training or Internship 16 สัปดาห์) ข. กลุ่มวิชาชีพ เลือก 6 หน่วยกิต ให้นักศึกษาเลือกเรียนรายวิชาในกลุ่มวิชาชีพ เลือก จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต จาก รายวิชา ดังต่อไปนี้ 11001 110 ศิลปนิยม 3 (3 0 6) Art Appreciation 11001 166 ภูมิศาสตร์กายภาพ 3 (3 0 6) Physical Geography 11001 225 คอมพิวเตอร์ขั้นสูงในงานภูมิสถาปัตยกรรม 3 (2 3 3) Advanced Computer Applications in Landscape Architecture

3 (3 0 6)

Cultural

Environmental Design

3 (3 0 6)

3 (2 3 5)

Geographic Information System Landscape (2 3 5)

Remote Sensing (2 3 5)

Landscape

มคอ. 2 29 หน่วยกิต (บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษาด้วยตัวเอง) 11001 261 นิเวศวิทยาและหลักอนุรักษ์วิทยา 3 (3 0 6) Ecology and Principles of Conservation 11001 340 วัสดุและเทคนิควิธีการก่อสร้างภูมิทัศน์ 3 (3 0 6) Building Materials and Methods in Landscape 11001 448 การจัดการพื้นที่นันทนาการ 3 (3 0 6) Management of Recreation Areas 11001 449 ภูมิทัศน์วัฒนธรรม
Landscape 11001 462 การออกแบบสิ่งแวดล้อมในงานสถาปัตยกรรม
in Architecture 11001 463 ภูมิสารสนเทศเพื่องานภูมิสถาปัตยกรรม
for
Architecture 11001 465 โทรสัมผัสเพื่อการวางแผนที่ดิน 3
for Land Planning 11001 367 นิเวศวิทยาภูมิทัศน์ 3
Ecology 11001 471 การวางผังเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน 3 (2 3 5) Sustainable Community and Urban Planning 11001 472 การอนุรักษ์และการฟื้นฟูชุมชนเมือง 3 (3 0 6) Conservation and restoration of urban communities 11001 473 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเมือง 3 (3 0 6) Urban Environmental Impact Assessment 11001 394 การสื่อสารในการปฏิบัติวิชาชีพ 3 (2 2 5) Communication in Professional Practice 11001 395 ปฏิบัติงานภูมิสถาปัตยกรรมภาคสนาม 3 (1 4 4) Landscape Architecture Field Practices 11001 494 ภูมิสถาปัตยกรรมเชิงปฏิบัติการ 3 (1 4 4) Landscape Architectural Workshop
มคอ. 2 30 หน่วยกิต (บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษาด้วยตัวเอง) 11001 498 ภูมิทัศนศึกษาภายในประเทศ 3(0900) Domestic Landscape FieldStudy 11001 499 ภูมิทัศนศึกษาต่างประเทศ 3(0900) InternationalLandscapeFieldStudy 11001 599 สัมมนาภูมิสถาปัตยกรรม 3 (2 2 5) Seminar in Landscape Architecture 11003 441 การบริหารจัดการธุรกิจภูมิทัศน์ 3 (2 2 5) Landscape Business Administration 11003 461 การประเมินผลกระทบทางสายตา 3 (3 0 6) Visual Impact Assessment และ/หรือ รายวิชาอื่น ๆ ที่คณะฯ จะเปิดสอนในอนาคต และ/หรือรายวิชาอื่น ๆ ซึ่งเป็น วิชาเอกของหลักสูตรสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่งที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัย โดยได้รับความเห็นชอบ จากอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 3) หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต ให้เลือกเรียนรายวิชาอื่น ๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
มคอ. 2 31 เกณฑ์การกำหนดรหัสวิชาหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม รหัสรายวิชา ประกอบด้วยตัวเลข 8 หลัก XXXXXXXX มีส่วนประกอบดังต่อไปนี้ 11001XXX หมายถึง รหัสของหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิ สถาปัตยกรรม หลักที่ 1 “1” หมายถึง หลักสูตรปริญญาบัณฑิต หลักที่ 2 และ 3 “10” หมายถึง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ สิ่งแวดล้อม หลักที่ 4 และ 5 “01” หมายถึง สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม “02” หมายถึง สาขาวิชาสถาปัตยกรรม “03” หมายถึง สาขาวิชาเทคโนโลยีภูมิทัศน์ หลักที่ 6 7 และ 8 หมายถึง ลำดับรายวิชา ความหมายของเลขรหัสรายวิชา 1. เลขตัวแรก (หลักร้อย) แสดงถึง ระดับของรายวิชาของชั้นปีที่ควรศึกษา “1” แสดงถึง รายวิชาในระดับปีที่ 1 “2” แสดงถึง รายวิชาในระดับปีที่ 2 “3” แสดงถึง รายวิชาในระดับปีที่ 3 “4” แสดงถึง รายวิชาในระดับปีที่ 4 “5” แสดงถึง รายวิชาในระดับปีที่ 5 2. เลขตัวกลาง (หลักสิบ) แสดงถึง หมวดหมู่ในสาขาวิชา/กลุ่มวิชาในสาขาวิชา “1” แสดงถึง รายวิชาในกลุ่มวิชาพื้นฐานด้านการออกแบบและศิลปะ “2” แสดงถึง รายวิชาในกลุ่มวิชาพื้นฐานด้านภูมิสถาปัตยกรรม “3” แสดงถึง รายวิชาในกลุ่มวิชาการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม “4” แสดงถึง รายวิชาในกลุ่มวิชาการก่อสร้างและการบริหารจัดการ ทางภูมิสถาปัตยกรรม “5” แสดงถึง รายวิชาในกลุ่มวิชาพืชพรรณ “6” แสดงถึง รายวิชาในกลุ่มวิชาการวางแผนสิ่งแวดล้อม “7” แสดงถึง รายวิชาในกลุ่มวิชาผังเมือง และผังชุมชน “8” แสดงถึง รายวิชาในกลุ่มวิชาสถาปัตยกรรม “9” แสดงถึง รายวิชาในกลุ่มวิชาประสบการณ์วิชาชีพ และวิทยานิพนธ์ 3. เลขตัวท้าย (หลักหน่วย) แสดงถึง อนุกรมในหมวดหมู่ของสาขาวิชา
มคอ. 2 32 3.1.4 แผนการศึกษา ปีที่ 1 / ภาคการศึกษาที่ 1 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษาด้วย ตนเอง หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุ่มวิชากลุ่ม สังคมและวัฒนธรรม รายวิชาที่ 1 3 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุ่มวิชาคุณค่า ความเป็นมนุษย์และการใช้ชีวิต 3 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุ่มวิชาภาษา และการสื่อสาร รายวิชาภาษาไทย 3 11001 112 การออกแบบเบื้องต้น 3 1 6 5 11001 113 ประวัติศาสตร์ศิลปะและสถาปัตย กรรม 3 3 0 6 11001 114 เลขะนิเทศ 1 2 0 6 3 11001 121 ภูมิสถาปัตยกรรมเบื้องต้น 3 3 0 6 รวม 20 ปีที่ 1 / ภาคการศึกษาที่ 2 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษาด้วย ตนเอง หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุ่มสังคมและ วัฒนธรรม รายวิชาที่ 2 3 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุ่มวิชา ภาษาและการสื่อสาร รายวิชา ภาษาอังกฤษ รายวิชาที่ 1 3 11001 115 เลขะนิเทศ 2 3 1 6 5 11001 122 ประวัติภูมิสถาปัตยกรรม 2 2 0 4 11001 182 การออกแบบสถาปัตยกรรม 5 2 6 7 11001 364 การวิเคราะห์เชิงนิเวศและ สิ่งแวดล้อม 3 2 3 5 รวม 19
มคอ. 2 33 ปีที่ 2 / ภาคการศึกษาที่ 1 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษาด้วย ตนเอง หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุ่มวิชาการ คิดคำนวณ การใช้เหตุผลและเทค โนโลยี รายวิชาที่ 1 3 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุ่มวิชา ภาษาและการสื่อสาร รายวิชา ภาษาอังกฤษ รายวิชาที่ 2 3 11001 226 การเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล ในงานภูมิสถาปัตยกรรม 3 2 3 5 11002 270 กลศาสตร์โครงสร้างสำหรับงาน สถาปัตยกรรมและงานภูมิทัศน์ 3 2 3 5 11001 224 คอมพิวเตอร์สำหรับงานภูมิ สถาปัตยกรรม 3 2 3 3 11001 251 วัสดุพืชพรรณและการเลือกใช้ 1 3 2 3 5 รวม 18 ปีที่ 2 / ภาคการศึกษาที่ 2 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษาด้วย ตนเอง หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุ่มการคิด คำนวณ การใช้เหตุผลและเทคโนโลยี รายวิชาที่ 2 3 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุ่มวิชา ภาษาและการสื่อสาร รายวิชา ภาษาอังกฤษ รายวิชาที่ 3 3 2 2 5 11001 231 การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 1 4 2 6 7 11001 237 การออกแบบร่างภูมิสถาปัตยกรรม 1 1 0 3 1 11001 252 วัสดุพืชพรรณและการเลือกใช้ 2 3 2 3 5 11002 376 ระบบโครงสร้างงานสถาปัตยกรรม และภูมิสถาปัตยกรรม 3 2 3 5 รวม 17
มคอ. 2 34 ปีที่ 3 / ภาคการศึกษาที่ 1 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษาด้วย ตนเอง หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุ่มการเป็น ผู้ประกอบการ 3 11001 325 ภูมิสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นล้านนา 2 2 0 4 11001 330 แนวคิดและปรัชญาในงาน ภูมิสถาปัตยกรรม 3 3 0 6 11001 332 การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 2 4 2 6 7 11001 338 การออกแบบร่างภูมิสถาปัตยกรรม 2 1 0 3 1 11001 341 การก่อสร้างทางภูมิสถาปัตยกรรม 1 3 2 3 5 11001 353 การออกแบบวางผังพืชพรรณ 1 3 2 3 5 รวม 19 ปีที่ 3 / ภาคการศึกษาที่ 2 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษาด้วย ตนเอง วิชาชีพ เลือก รายวิชาที่ 1 3 วิชาเลือกเสรี รายวิชาที่ 1 3 11001 323 นวัตกรรมในงานภูมิสถาปัตยกรรม 3 3 0 6 11001 333 การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 3 4 2 6 7 11001 342 การก่อสร้างทางภูมิสถาปัตยกรรม 2 3 2 3 5 11001 354 การออกแบบวางผังพืชพรรณ 2 3 2 3 5 รวม 19
มคอ. 2 35 ปีที่ 4 / ภาคการศึกษาที่ 1 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษาด้วย ตนเอง วิชาชีพ เลือก รายวิชาที่ 2 3 วิชาเลือกเสรี รายวิชาที่ 2 3 11001 434 การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 4 5 2 9 8 11001 443 การก่อสร้างทางภูมิสถาปัตยกรรม 3 3 2 3 5 11001 474 ความเป็นเมืองและภูมิทัศน์เมือง 3 2 3 5 รวม 17 ปีที่ 4 / ภาคการศึกษาที่ 2 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษาด้วย ตนเอง 11001 435 การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 5 5 2 9 8 11001 444 การก่อสร้างทางภูมิสถาปัตยกรรม 4 3 2 3 5 11001 446 การบริหารงานก่อสร้างและการ ดูแลรักษางานภูมิสถาปัตยกรรม 3 2 3 5 11001 490 กฎหมายที่ดิน ผังเมือง และสิ่งแวด ล้อม 3 3 0 6 11001 496 การเตรียมวิทยานิพนธ์ 3 2 2 5 รวม 17
มคอ. 2 36 ปีที่ 5 / ภาคการศึกษาที่ 1 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษาด้วย ตนเอง 11001 593 การปฏิบัติวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรม 2 2 0 4 11001 598 วิทยานิพนธ์ 9 0 27 0 รวม 11 2 27 4 ปีที่ 5 / ภาคการศึกษาที่ 2 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษาด้วย ตนเอง 11001 497 สหกิจศึกษา หรือ 9 0 ไม่น้อย กว่า 16 สัปดาห์ 0 11001 498 การเรียนรู้อิสระ หรือ 9 0 0 11001 499 การศึกษา หรือ ฝึกงาน หรือ ฝึกอบรมต่างประเทศ 9 0 0 รวม 9 ปฏิบัติไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์ หมายเหตุ: ปีที่ 5 ภาคการศึกษาที่ 1 และภาคการศึกษาที่ 2 สามารถสลับกันได้ตามความเหมาะสม หรือตามความเห็นชอบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
มคอ. 2 37 3.1.5 คำอธิบายรายวิชา 1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป รายละเอียดอยู่ในเอกสารแนบ 4 2) หมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ 11001 113 ประวัติศาสตร์ศิลปะและสถาปัตยกรรม 3 (3 0 6) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี มูลเหตุ อิทธิพลต่างๆ และแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะและสถาปัตยกรรม การวิเคราะห์และวิจารณ์ถึงคุณค่าด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นสุนทรียภาพและประโยชน์ใช้สอย อธิบาย ความเชื่อมโยงที่ส่งถึงกันได้ บรรยายถึงประวัติศาสตร์ของศิลปะและสถาปัตยกรรมโดยสังเขปในเชิง เปรียบเทียบทั้งตะวันตกและตะวันออกในแต่ละช่วงเวลา ครอบคลุมตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ จนถึงปัจจุบัน (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์) 11001 113 History of Arts and Architecture 3 (3 0 6) Prerequisite : None Motivations, influences, and concepts in artistic and architecture creation; linkable analysis and criticism in both aesthetic and functional value; a brief survey comparable of the western and eastern art& architecture history upon the world’s timeline from the prehistory until today (Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week) 11001 114 เลขะนิเทศ 1 2 (0 6 3) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี การเรียนรู้และฝึกทักษะเกี่ยวกับเลขะศิลป์และการเขียนแบบเพื่อสื่อสารงานออกแบบ ขั้นต้น การเขียนแบบด้วยมือเปล่าและใช้เครื่องมือ การสเก็ตช์ภาพ การเขียนภาพทิวทัศน์ ทัศนียภาพ (Perspective Drawing) การเขียนสัญลักษณ์ การเขียนภาพสองมิติ สามมิติ การแรเงาด้วยเทคนิคและ เครื่องมือต่าง ๆ (บรรยาย 0 ชั่วโมง ปฏิบัติ 6 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 3 ชั่วโมง/สัปดาห์)

Prerequisite

Learning and practices basic graphic arts and drawing for Design Communication; drawing by hand and tools; sketch, landscape, and perspective drawing; symbolic drawing; two and three dimensional drawings; shading with various techniques and tools. Lecture 0 hour, Practice 6 hours, Self Study 3 hours/

มคอ. 2 38 11001 114 Graphic Communication 1 2 (0 6 3)
: None
of
(
week) 11001 115 เลขะนิเทศ 2 3 (1 6 5) วิชาบังคับก่อน : 11001 114 เลขะนิเทศ 1 การศึกษาและฝึกทักษะในวิธีการและเทคนิคเชิงเลขะนิเทศของการแสดง แบบภูมิสถาปัตยกรรม หลักการและวิธีการเขียนภาพร่าง แบบแปลน แผนผัง รูปตัด รูปตั้ง ทัศนียภาพ และวิธีการทำแบบจำลองในงานภูมิสถาปัตยกรรม (บรรยาย 1 ชั่วโมง ปฏิบัติ 6 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 11001 115 Graphic Communication 2 3 (1 6 5) Prerequisite : 11001 114 Graphic Communication 1 Study and practice of graphic communication methods and techniques for landscape architectural presentation; principles and methods of sketch and drawing of plans, sections, elevations, and perspectives; methods of landscape architectural model building. (Lecture 1 hour, Practice 6 hours, Self Study 5 hours/week) 11001 121 ภูมิสถาปัตยกรรมเบื้องต้น 3 (3 0 6) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี แนะนำให้รู้จักกับวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรม ที่เกี่ยวกับการวางแผนและออกแบบพื้นที่ โครงการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และความสัมพันธ์กับวิชาอื่น เช่น เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม สถาปัตยกรรม ผังเมือง วิศวกรรม หลักพืชกรรม ตลอดจนจิตวิทยาสังคม มุ่งเน้นการปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่ดี เพื่อ ความปลอดภัยและผาสุกของสังคม (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์)

11001 121 Introduction to Landscape Architecture 3 (3 0 6)

Prerequisite : None

Introduction to landscape architectural profession concerning planning and design of related projects; relationships with other subjects, for example, Environmental Technology, Architecture, Urban Planning, Engineering, Fundamentals of Crop Production, as well as Social Psychology; The focus is on environmental improvement for security and happiness of societies.

(Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week)

11001 122 (2 0 4)

มคอ. 2 39
ประวัติภูมิสถาปัตยกรรม 2
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี วิวัฒนาการของภูมิสถาปัตยกรรม ตั้งแต่ยุคโบราณจนถึงปัจจุบัน ลักษณะเฉพาะ ของงานภูมิสถาปัตยกรรมแต่ละรูปแบบของยุคต่าง ๆ โดยวิเคราะห์อิทธิพลด้านต่าง ๆ ที่มีต่องานภูมิสถาปัตยกรรมนั้น ๆ (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 4 ชั่วโมง/สัปดาห์) 11001 122 History of Landscape Architecture 2 (2 0 4) Prerequisite : None The evolution of landscape architecture Since ancient ages until now; specific characteristics of landscape architecture in each ages; analysis of various influences on landscape architecture. (Lecture 2 hours, Practice 0 hour, Self Study 4 hours/week) 11001 182 การออกแบบสถาปัตยกรรม 5 (2 6 7) วิชาบังคับก่อน : 11001 112 การออกแบบเบื้องต้น ศึกษาขั้นตอนและปฏิบัติการออกแบบสถาปัตยกรรม โดยใช้สัดส่วนและพฤติกรรมของ มนุษย์ ในการออกแบบที่ว่างและรูปทรง รวมทั้งวิเคราะห์ที่ตั้ง การจัดความสัมพันธ์ของพื้นที่ใช้สอยใน การออกแบบงานสถาปัตยกรรมขั้นมูลฐาน โดยเน้นแนวความคิดและการออกแบบสถาปัตยกรรมสี เขียวให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมในเขตร้อนชื้น (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 6 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 7 ชั่วโมง/สัปดาห์)

11001 Architectural Design (2 6

Prerequisite: 11001 112 Fundamental Design

Studies of architectural design processes and workshops; applications of human proportions and behavior for space and form design; site analysis; functional relationship diagram in fundamental architectural design; The focuses are on green architectural concepts and design corresponding to tropical environments. Lecture 2 hours, Practice 6 hours, Self Study 7 hours/week)

มคอ. 2 40
182
5
7)
(
11001 224 คอมพิวเตอร์สำหรับงานภูมิสถาปัตยกรรม 3 (2 3 5) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ความรู้พื้นฐานด้านโปรแกรมที่ใช้ในงานออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม การใช้โปรแกรม อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง การเขียนแบบสองมิติ เบื้องต้น การแสดงแบบสามมิติ การรวบรวมความรู้พื้นฐานใน การใช้โปรแกรมต่างๆ เพื่อนำมาจัดทำสมุดภาพผลงานทางภูมิสถาปัตยกรรม (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 3 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 11001 224 Basic Computer Applications in Landscape Architecture 2 (1 3 3) Prerequisite : None Basic Knowledge of computer Program needed for Landscape architectural design; uses of other related program; two dimension construction drawing; three dimension presentations; basic knowledge of various programs used to create architectural portfolios. (Lecture 2 hour, Practice 3 hours, Self Study 5 hours/week) 11001 251 วัสดุพืชพรรณและการเลือกใช้ 1 3 (2 3 5) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ศึกษากลุ่มของพืชที่นำมาเป็นวัสดุในงานภูมิทัศน์และภูมิสถาปัตยกรรม โดยศึกษา ลักษณะพฤกษศาสตร์ การจำแนก การเรียกชื่อ ระบบนิเวศ การปลูกเลี้ยงและการเลือกใช้ตามหน้าที่ ใช้สอยในงานภูมิทัศน์ ในกลุ่มไม้คลุมดิน ไม้พุ่ม และไม้ต้น ทั้งพรรณไม้พื้นเมืองและไม้ต่างถิ่น (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 3 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์)

(Lecture 2 hours, Practice 3 hours, Self Study 5 hours/week) (2 3 5)

มคอ. 2 41 11001 251 Plant Materials and Plant Selection 1 3 (2 3 5) Prerequisite : None Studies on plant materials for Landscape and Landscape Architecture in botanical characteristics; identification; nomenclature; ecology; cultivation and functional uses in landscape, including ground covers, shrubs and trees, covering both native and exotic species. (Lecture 2 hours, Practice 3 hours, Self Study 5 hours/week) 11001 252 วัสดุพืชพรรณและการเลือกใช้ 2 3 (2 3 5) วิชาบังคับก่อน : 11001 251 วัสดุพืชพรรณและการเลือกใช้ 1 ศึกษากลุ่มของพืชที่นำมาเป็นวัสดุในงานภูมิทัศน์และภูมิสถาปัตยกรรม โดยศึกษา ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ การจำแนก การเรียกชื่อ ระบบนิเวศ การปลูกเลี้ยง บทบาทต้นไม้และการ เลือกใช้ตามหน้าที่ใช้สอยในงานภูมิทัศน์ ในกลุ่มไม้ดอกล้มลุก ไม้ใบประดับ ไม้น้ำ ไม้เลื้อย ทั้งพรรณ ไม้พื้นเมืองและไม้ต่างถิ่น (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 3 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 11001 252 Plant Materials and Plant Selection 2 3 (2 3 5) Prerequisite : 11001 351 Plant Materials and Plant Selection 1 Studies on plant materials for Landscape and Landscape Architecture in botanical characteristics; identification; nomenclature; ecology; cultivation, plant roles and functional uses in landscape, including flowering annuals, foliage plants, aquatic.
11002 270 กลศาสตร์โครงสร้างสำหรับงานสถาปัตยกรรมและงานภูมิทัศน์ 3
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี เรียนรู้หลักการพื้นฐานของกลศาสตร์ภาคสถิตยศาสตร์และการประยุกต์ใช้ในงาน โครงสร้างด้านสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรมและงานภูมิทัศน์ กฎของนิวตัน หลักการสมดุล ระบบ แรง หน่วยของการวัด การเขียนผังวัตถุอิสระ การวิเคราะห์เสถียรภาพและความเป็นอิสระของ โครงสร้าง เรียนรู้โครงสร้างในงานสถาปัตยกรรม การวิเคราะห์แรงภาระ การวิเคราะห์แรงปฏิกิริยาที่ กระทำต่อโครงสร้าง การวิเคราะห์กำลังของวัสดุ หน่วยแรงที่เกิดขึ้นในโครงสร้างเนื่องมาจากแรง กระทำ การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของโครงสร้างเนื่องมาจากแรงกระทำ ตลอดจนเรียนรู้เกี่ยวกับ คุณลักษณะโครงสร้างต่างๆ และพื้นฐานการออกแบบโครงสร้าง (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์)

11002 270 Structural Mechanics for Architecture and Landscaping 3 (2 3 5)

Prerequisite : None

Introduction to static mechanics and application on architecture, landscape architecture, and landscaping structures based on Newton's law, equilibrium, force system, measure unit, free body diagram, stability and determinant analysis; basic analysis of structures including load and reaction analysis, and calculate forces react to the structures; Analysis of strength of materials, unit forces in the structures, and structural deformation and deflection; studying in structural type classification and a basis for structural design.

(Lecture 2 hours, Practice 2 hours, Self Study 5 hours/week)

11001 323 3 (3 0 6)

มคอ. 2 42
นวัตกรรมในงานภูมิสถาปัตยกรรม
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี นวัตกรรมล่าสุดในงานภูมิสถาปัตยกรรม เทคโนโลยี แนวความคิด ทฤษฎี กระบวนการ ออกแบบและผลงานออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมในรูปแบบใหม่ที่เป็นนวัตกรรม กรณีศึกษา (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์) 11001 323 Innovations in Landscape Architecture 3 (3 0 6) Prerequisite : None Recent innovations in landscape architecture; Emerging innovative technologies, concept, theories, processes and practices in landscape architecture; Case studies. (Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week) 11001 325 ภูมิสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นล้านนา 2 (2 0 4) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี กรณีศึกษางานภูมิสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นล้านนา ประเภท เมือง ชุมชน บ้านเรือน และวัด พื้นถิ่น ด้านรูปแบบ คติความเชื่อ การวางผัง วัสดุ โครงสร้าง และพืชพรรณ (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 4 ชั่วโมง/สัปดาห์)

(Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week) (2

มคอ. 2 43 11001 325 Lanna Vernacular Landscape Architecture 2 (2 0 4) Prerequisite : None Case studies of Lanna vernacular landscape architecture of urban, villages , housing, and temples in terms of style, belief, planning, materials, and plants. (Lecture 2 hours, Practice 0 hour, Self Study 4 hours/week) 11001 330 แนวคิดและปรัชญาในงานภูมิสถาปัตยกรรม 3 (3 0 6) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ความรู้เกี่ยวกับศิลปะในงานออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม อธิบายแนวคิด ทฤษฎี หลักการ ออกแบบงานภูมิสถาปัตยกรรม ทั้งกระบวนการวิเคราะห์ การวางแผน การจัดระบบความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ในการออกแบบทางภูมิสถาปัตยกรรม คุณค่าของงานออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมทั้งทาง สุนทรียภาพ สังคม และสิ่งแวดล้อม ภูมิทัศน์วัฒนธรรม (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์) 11001 330 Concepts and Philosophy in Landscape Architecture 3 (3 0 6) Prerequisite : None Knowledge of arts in landscape architectural designs; Descriptions of concepts, theories, and principles in landscape architectural designs including analysis processes, planning, and organizing of creative thinking in landscape architectural designs; values of landscape architectural designs in terms of aesthetics, societies, and environments; cultural landscape.
11001 364 การวิเคราะห์เชิงนิเวศและสิ่งแวดล้อม 3
3 5) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ความเปลี่ยนแปลงและความไม่แน่นอน ของสภาพแวดล้อมและระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน และ/หรือตัวแปรเชิงนิเวศ การรวบรวมและการ วิเคราะห์ข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาทางชีวภาพ และสิ่งแวดล้อม (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 3 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์)

11002 376 Structural System in Architecture and Landscape 3 (2 3 5)

Prerequisite : AR 270 Structural Mechanics for Architecture and Landscaping

Introduction to structural system of the building in the past and present; study in concept of building and structure design in architecture and landscape architecture, structural system design of the large buildings, tall buildings, long span buildings, complex buildings, foundations, pavement and transportation structures, earth structures, and special structures; learning in principle for structural design of lateral force and earthquake resistant buildings

(Lecture 2 hours, Practice 3 hours, Self Study 5 hours/week)

มคอ. 2 44 11001 364 Ecological and Environmental Analysis 3 (2 3 5) Variability and uncertainty in environmental and ecological systems; Relationships between different environmental and/or ecological variables; Collection and analysis of data relevant to biological, ecological and environmental problems 11002 376 ระบบโครงสร้างงานสถาปัตยกรรมและภูมิสถาปัตยกรรม 3 (2 3 5) วิชาบังคับก่อน : 11002 270 กลศาสตร์โครงสร้างสำหรับงานสถาปัตยกรรมและงาน ภูมิทัศน์ แนะนำระบบโครงสร้างของสิ่งปลูกสร้างทั้งในอดีตและปัจจุบัน ศึกษาแนวความคิดใน การออกแบบอาคารและการเลือกใช้โครงสร้างในงานสถาปัตยกรรมและงานภูมิสถาปัตยกรรม การ ออกแบบระบบโครงสร้างของอาคารขนาดใหญ่ อาคารสูง อาคารช่วงยาว อาคารที่มีความซับซ้อน ระบบฐานรากอาคาร โครงสร้างเส้นทางการขนส่ง โครงสร้างงานดิน และโครงสร้างที่มีลักษณะพิเศษ อื่นๆ เรียนรู้ถึงหลักการการออกแบบโครงสร้างอาคารที่รับแรงด้านข้างและแรงแผ่นดินไหว (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 3 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์)

The laws related to planning and landscape architecture including Building Control Act, land code, Land Appropriation Act, Town Planning Act. and Enhancement and Conservation of National Environmental Quality Act, that students must learn to use for professional works. Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week) 112 3 (1 6 5)

มคอ. 2 45 11001 490 กฎหมายที่ดิน ผังเมือง และสิ่งแวดล้อม 3 (3 0 6) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการวางผังบริเวณ และงานภูมิสถาปัตยกรรม ได้แก่ ข้อบัญญัติ อาคาร สิ่งปลูกสร้าง กฎหมายที่ดิน การจัดสรรที่ดิน กฎหมายผังเมือง กฎหมายส่งเสริมและรักษา คุณภาพสิ่งแวดล้อม ที่นักศึกษาจะต้องเรียนรู้ เพื่อใช้ในงานวิชาชีพ (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์) 11001 490 Land, City Planning and Environmental Laws 3 (3 0 6) Prerequisite : None
(
กลุ่มวิชาชีพ บังคับ 11001
การออกแบบเบื้องต้น
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี การวิเคราะห์และประยุกต์องค์ประกอบและหลักการทางศิลปะและการออกแบบสู่การ แสดงออกสองมิติ, สามมิติ, และอื่นๆ เพื่อนำไปใช้ในงานศิลปะและงานออกแบบทั้งที่มีประโยชน์ใช้ สอยและไม่ใช้สอย โดยเน้นการประยุกต์ใช้ในองค์ประกอบทางภูมิทัศน์ และพื้นที่ภายนอกอาคารเพื่อ ความเหมาะสมทางสภาวะแวดล้อม (บรรยาย 1 ชั่วโมง ปฏิบัติ 6 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 11001 112 Fundamental Design 3 (1 6 5) Prerequisite : None Analysis and application of composition and principles in art and design into two dimensional, three dimensional, and others presentations. The studio projects are functional and non functional arts and designs, focusing on their applications in landscape elements and outdoor spaces that suit environments. (Lecture 1 hour, Practice 6 hours, Self Study 5 hours/week)

Prerequisite : None

Theories and workshops of field survey, data inventories and analyses of natural landscapes such as slopes, soil characteristics, climate, vegetations etc., as well as those of man made landscapes such as buildings, structures, land uses, transportation and logistics, utilities, and facilities, social and economic states, aesthetics etc.; collections of needed data for understanding of sites ‘characteristics; uses of survey tools for mapping and planning.

(Lecture 2 hours, Practice 3 hours, Self Study 5 hours/week)

11001 4 (2 6 7)

มคอ. 2 46 11001 226 การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลในงานภูมิสถาปัตยกรรม 3 (2 3 5) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ทฤษฎีและปฏิบัติการสำรวจภาคสนาม การเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลที่ เกี่ยวข้องกับภูมิทัศน์ที่เป็นธรรมชาติ อาทิ ความลาดชัน ลักษณะดิน ภูมิอากาศ พืชพรรณ เป็นต้น และภูมิทัศน์ที่มนุษย์สร้างขึ้น อาทิ อาคาร สิ่งปลูกสร้าง การใช้ที่ดิน ลักษณะเส้นทางคมนาคมและ ระบบขนส่ง สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ สภาพทางสังคม และเศรษฐกิจ และลักษณะทางด้าน สุนทรียภาพ เป็นต้น เพื่อหาข้อมูลที่จำเป็นในการทำความเข้าใจ ถึงลักษณะที่ตั้งของโครงการที่จะทำ การออกแบบวางผัง ให้นักศึกษารู้จักการใช้เครื่องมือสำรวจต่าง ๆ สามารถสำรวจและทำแผนที่ได้ พร้อมที่จะนำไปออกแบบวางผัง (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 3 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 11001 226 Landscape Architectural Inventories and Analyses 3 (2 3 5)
231 การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 1
วิชาบังคับก่อน : 11001 112 การออกแบบเบื้องต้น การออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมประเภทไม่ซับซ้อน เช่น พื้นที่ค่ายพักแรม สวนเกษตร รวมไปถึงงานภูมิสถาปัตยกรรมโครงการขนาดเล็ก เช่น บ้านพักอาศัย อาคารชุด โรงเรียน อนุบาล โดยคำนึงถึงกระบวนการออกแบบ การเลือกที่ตั้ง การวางผังบริเวณ การประยุกต์ทฤษฎี และหลักการออกแบบมาใช้ในงานสร้างสรรค์ในการออกแบบภูมิทัศน์ การจัดองค์ประกอบภูมิ สถาปัตยกรรมในแง่สุนทรียภาพและประโยชน์การใช้สอยเป็นการเสนอ วิธีแก้ปัญหาที่ เกี่ยวเนื่องกันระหว่างการออกแบบที่ว่างทางสถาปัตยกรรมและภูมิสถาปัตยกรรม (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 6 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 7 ชั่วโมง/สัปดาห์)

11001 231 Landscape Architectural Design 1

Prerequisite : 11001 112 Fundamental Design

4 (2 6 7)

The landscape architectural design and planning of simple landscape projects such as camp grounds, agricultural gardens; as well as small projects such as home landscape, condominium, kindergarten; and with regard to design processes, site selections, and site planning; Application of design theories and principles to create landscape designs; Landscape architectural compositions in terms of aesthetics and functions; Design solutions showing relationships between architectural and landscape architectural design spaces.

(Lecture 2 hours, Practice 6 hours, Self Study 7 hours/week)

11001 332 4 (2 6 7) 11001 landscape architectural design and planning of housing developments public open spaces as community parks, recreation areas, religion spaces, and schools with regard to design processes, site selections, site planning, building planning, and circulation systems within projects’ areas. Lecture 2 hours, Practice 6 hours, Self Study 7 hours/week)

มคอ. 2 47
การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 2
วิชาบังคับก่อน :
231 การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 1 การออกแบบ และวางผังภูมิสถาปัตยกรรมชุมชนพักอาศัย และพื้นที่สาธารณะ ประโยชน์ในชุมชน เช่น สวนสาธารณะ พื้นที่นันทนาการในชุมชน ศาสนสถาน โรงเรียน โดยคำนึงถึง กระบวนการออกแบบ การเลือกที่ตั้ง การวางผังบริเวณ การวางผังอาคาร และระบบสัญจรภายใน โครงการ (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 6 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 7 ชั่วโมง/สัปดาห์) 11001 332 Landscape Architectural Design 2 4 (2 6 7) Prerequisite : 11001 231 Landscape Architectural Design 1 The
and
such
(

11001 333 Landscape Architectural Design 3 4 (2 6 7)

Prerequisite : 11001 332 Landscape Architectural Design 2

The sustainable landscape architectural design and planning of projects with more complexity of activities on areas that have diverse natural resources and different terrain slopes; Land use planning, land grading, and drainage design that effectively balance with the natural resources; The study of planning that involve arts or cultural criteria, with regard to design processes, site selections, site planning; For example, resort hotels, water or amusement parks, clubhouse, natural attractions, museums and cultural centers.

(Lecture 2 hours, Practice 6 hours, Self Study 7 hours/week)

11001 434 5 (2 9 8)

มคอ. 2 48 11001 333 การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 3 4 (2 6 7) วิชาบังคับก่อน : 11001 332 การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 2 การออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอย่างยั่งยืนในโครงการที่มีความซับซ้อนของ กิจกรรมเพิ่มมากขึ้น บนพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางทรัพยากรธรรมชาติ มีระดับความลาดชันที่ แตกต่างกัน ออกแบบวางผังการใช้ที่ดิน การปรับระดับ และการระบายน้ำ ให้สมดุลกับ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงเป็นการศึกษาการวางผังที่มีเงื่อนไขทางศิลปะ หรือ วัฒนธรรมเข้ามาเกี่ยวข้อง โดยคำนึงถึงกระบวนการออกแบบ การเลือกที่ตั้ง และการวางผัง บริเวณ เช่น โครงการสถานพักตากอากาศ สวนน้ำและสวนสนุก สโมสร แหล่งท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติ พิพิธภัณฑ์ และศูนย์ศิลปวัฒนธรรม เป็นต้น (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 6 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 7 ชั่วโมง/สัปดาห์)
การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 4
วิชาบังคับก่อน : 11001 333 การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 3 การออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอย่างยั่งยืน ในโครงการที่มีความซับซ้อนมากขึ้น มี ผู้ใช้สอยจำนวนมาก มีกิจกรรมที่หลากหลาย มีระบบการสัญจรที่ซับซ้อน มีความสวยงามตาม ธรรมชาติ และมีความเด่นทางธรณีวิทยาที่ควรอนุรักษ์ เช่น โครงการ สถาบันการศึกษา สวนพฤกษศาสตร์ สวนสัตว์ สนามกอล์ฟ โรงพยาบาล ศูนย์กีฬาและสันทนาการ เป็นต้น (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 9 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 8 ชั่วโมง/สัปดาห์)

11001 434 Landscape Architectural Design 4 5 (2 9 8)

Prerequisite : 11001 333 Landscape Architectural Design 3

The sustainable landscape architectural design and planning of complex projects with a large number of users, a variety of activities, complex circulation systems, natural beauty, and distinctive geological characteristic that should be conserved; Example projects are universities, botanical gardens, zoo, golf courses, hospitals, sports and recreation centers.

(Lecture 2 hours, Practice 9 hours, Self Study 8 hours/week)

11001 435 5 (2 9 8) : 11001 434

11001 435 Landscape Architectural Design 5 5 (2 9 8)

Prerequisite : 11001 434 Landscape Architectural Design 4

Landscape design, planning and improvement of urban landscape, at important areas worth conserving and developing to suit existing physical characteristics and program requirements of projects’ users; restoration of degraded areas; design to prevent natural disasters; The principles of urban and community design and planning, as well as cities’ laws and policies are applied and taken into consideration.

(Lecture 2 hours, Practice 9 hours, Self Study 8 hours/week)

มคอ. 2 49
การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 5
วิชาบังคับก่อน
การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 4 การออกแบบวางผังและปรับปรุงภูมิทัศน์เมือง พื้นที่ที่มีความสำคัญควรค่าแก่การ อนุรักษ์ การพัฒนาให้เหมาะสมกับลักษณะทางกายภาพในปัจจุบัน และความต้องการพื้นที่ใช้สอยของ กลุ่มผู้ใช้พื้นที่โครงการ การฟื้นฟูพื้นที่เสื่อมโทรม การออกแบบเพื่อป้องกันภัยพิบัติ โดยนำเอา หลักการออกแบบและวางผังเมืองและชุมชน นโยบายและกฎหมายผังเมืองมาเป็นข้อพิจารณา (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 9 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 8 ชั่วโมง/สัปดาห์)

11001 237 Landscape Architectural Sketch Design 1 1 (0 3 1)

Prerequisite : None

Landscape architectural sketch designs that focus on small scale landscape elements from arched entrance, signs, paving patterns, outdoor lamps, bridges, pavilions, fountains, to various types of small gardens both in private and public areas; plant selections that suit to functions and environments; graphic art presentations of concepts and designs within the limited time; the contents of this subject can be applied and correspond to the course 11001 231 landscape architectural design 1.

(Lecture 0 hour, Practice 3 hours, Self Study 1 hour/week)

11001 338 2 1 (0 3 1)

มคอ. 2 50 11001 237 การออกแบบร่างภูมิสถาปัตยกรรม 1 1 (0 3 1) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี การออกแบบร่างภูมิสถาปัตยกรรม โดยเน้นงานออกแบบองค์ประกอบทางภูมิทัศน์ ขนาดเล็กตั้งแต่ ซุ้มประตู ป้ายต่าง ๆ ลวดลายปูพื้น โคมไฟสนาม สะพาน ศาลา น้ำพุ ไปจนถึง สวนหย่อมขนาดเล็กประเภทต่างๆ ทั้งที่เป็นพื้นที่ส่วนบุคคลและพื้นที่สาธารณะ เรียนรู้ถึงการเลือกใช้ พืชพรรณให้เหมาะสมกับประโยชน์ใช้สอยและกับสภาพแวดล้อม นำเสนอแนวความคิดและงาน ออกแบบออกมาในรูปแบบของงานเลขะศิลป์ ภายในเวลาที่กำหนด มุ่งเน้นให้เนื้อหาวิชาสามารถ นำไปประยุกต์ใช้ และสอดคล้องกับรายวิชา 11001 231 การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 1 (บรรยาย 0 ชั่วโมง ปฏิบัติ 3 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 1 ชั่วโมง/สัปดาห์)
การออกแบบร่างภูมิสถาปัตยกรรม
วิชาบังคับก่อน : 11001 237 การออกแบบร่างภูมิสถาปัตยกรรม 1 การออกแบบร่างภูมิสถาปัตยกรรมขนาดเล็กที่มีความซับซ้อนมากขึ้น มีการคำนึงถึง ระบบการสัญจร กิจกรรม และผู้ใช้เข้ามาเกี่ยวข้องในการออกแบบมากขึ้น เช่น ซุ้มร้านขายอาหาร กลางแจ้ง สวนพักผ่อนหย่อนใจของอาคารต่าง ๆ สวนดาดฟ้า ที่จอดรถ สวนแสดงงาน ซุ้มแสดง นิทรรศการต่าง ๆ ซึ่งส่วนใหญ่เน้นการรองรับกิจกรรมสาธารณะ เรียนรู้ถึงการเลือกใช้พืชพรรณให้ เหมาะสมกับประโยชน์ใช้สอยและกับสภาพแวดล้อม นำเสนอแนวความคิดและงานออกแบบออกมา ในรูปแบบของงานเลขะศิลป์ภายในเวลาที่กำหนด มุ่งเน้นให้เนื้อหาวิชาสามารถนำไปประยุกต์ใช้ และ สอดคล้องกับรายวิชา 11001 332 การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 2 (บรรยาย 0 ชั่วโมง ปฏิบัติ 3 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

11001 338 Landscape Architectural Sketch Design 2 1 (0 3 1)

Prerequisite : 11001 237 Landscape Architectural Sketch Design 1

Small scale landscape architectural sketch designs with more complexity and concern circulation system, activities, and users such as outdoor food pavilion, recreational gardens of various buildings, roof gardens, parking spaces, exhibition gardens and pavilion, mostly for public activities; plant selections that suit to functions and environments; graphic art presentations of concepts and designs within the limited time; the contents of this subject can be applied and correspond to the course 11001 232 landscape architectural design 2.

(Lecture 0 hour, Practice 3 hours, Self Study 1 hour/week)

11001 353 1 3 (2 3 5) Design (2 3 5)

มคอ. 2 51
การออกแบบวางผังพืชพรรณ
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี การศึกษาหลักการเลือกใช้วัสดุพืชพรรณ การทำรายงาน ตลอดจนหลักการออกแบบ วางผังพืชพรรณในการออกแบบภูมิทัศน์อย่างยั่งยืน การเขียนแบบแปลน การเขียนรายละเอียด และ บัญชีพืชพันธุ์ที่ใช้ในการออกแบบ การใช้พืชพรรณเพื่อสร้างสุนทรียภาพและประโยชน์ใช้สอย ในโครงการภูมิทัศน์ขนาดเล็ก เช่น ภูมิทัศน์ในเคหสถาน ฯลฯ (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 3 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 11001 353 Planting
1 3
Prerequisite : None Studies of plant material selections, report writing, as well as planting design principles in sustainable landscape design; plan drawings; detail drawings and listing of plant used in designs; plant selections for aesthetic and functional uses in small scale landscape project such as residential landscapes. (Lecture 2 hours, Practice 3 hours, Self Study 5 hours/week) 11001 354 การออกแบบวางผังพืชพรรณ 2 3 (2 3 5) วิชาบังคับก่อน : 11001 353 การออกแบบวางผังพืชพรรณ 1 เน้นโครงการออกแบบวางผังพืชพรรณที่มีขนาดใหญ่ขึ้น มีการใช้และการจัดการพืชพรรณ อย่างเหมาะสมเพื่อการสร้างสรรค์สถานที่พักอาศัยหรือพื้นที่สาธารณะ ตั้งแต่ในระดับชุมชนไปจนถึง ระดับเมือง โดยพิจารณาสภาพแวดล้อม ระบบนิเวศ ลักษณะรูปทรงของพืช การปลูก และฤดูกาล ทั้งนี้

11001 354 Planting Design 2 3 (2 3 5)

Prerequisite : 11001 353 Planting Design 1

Larger scale planting design projects with appropriately plant selections and management to create residential or public areas from community to town level, in consideration of environments, ecosystems, plant forms and characteristics, planting, and seasons; in order to crate sustainable landscapes that correspond to ecological landscape principles and urban environment; resulting in developments of concepts and methods to physically solve environmental problems.

(Lecture 2 hours, Practice 3 hours, Self Study 5 hours/week)

11001 341 1 3 (2 3 5) :

Studies of basic landscape architectural construction that focuses on construction documents; lay out plan drawings; detail drawings; standard of landscape architectural construction design; architectural structures related to landscape architecture; landscape architectural structures; materials and material selections in designs, landscape architectural construction in terms of usability, aesthetics, security, and maintenance.

(Lecture 2 hours, Practice 3 hours, Self Study 5 hours/week

มคอ. 2 52 มุ่งเน้นให้เกิดภูมิทัศน์ที่ยั่งยืน สอดคล้องกับหลักนิเวศวิทยาภูมิทัศน์ และสิ่งแวดล้อมของเมือง เป็นการ พัฒนาแนวความคิดและวิธีการแก้ไขสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมอย่างเป็นรูปธรรม (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 3 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์)
การก่อสร้างทางภูมิสถาปัตยกรรม
วิชาบังคับก่อน
ไม่มี การศึกษางานก่อสร้างทางภูมิสถาปัตยกรรมเบื้องต้น โดยเน้นงานเอกสารแบบก่อสร้าง งานเขียนแบบผังบริเวณ แบบขยายผังบริเวณ มาตรฐานในการออกแบบก่อสร้างทางภูมิ สถาปัตยกรรม งานโครงสร้างทางสถาปัตยกรรมที่เกี่ยวข้องกับงานภูมิสถาปัตยกรรม งาน โครงสร้างทางภูมิสถาปัตยกรรมวัสดุและการเลือกใช้วัสดุในงานออกแบบ ก่อสร้างทางภูมิ สถาปัตยกรรม ในด้านการใช้งาน สุนทรียภาพ ความปลอดภัย และการดูแลรักษา (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 3 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 11001 341 Landscape Architectural Construction 1 3 (2 3 5) Prerequisite : None
)

11001 342 Landscape Architectural Construction 2 3 (2 3 5)

Prerequisite : 11001 341 Landscape Architectural Construction 1

Studies of basic landscape architectural construction about earthwork, landforms, topography and analyses; noteworthy issues, calculations, and processes of land Leveling; water drainage; basic soil erosion prevention in landscape architectural constructions; Standards and procedures for the design of circulation paths; using computer programs to assist in the analysis and design of landscape construction.

(Lecture 2 hours, Practice 3 hours, Self Study 5 hours/week)

11001 443 3 (2 3

มคอ. 2 53 11001 342 การก่อสร้างทางภูมิสถาปัตยกรรม 2 3 (2 3 5) วิชาบังคับก่อน : 11001 341 การก่อสร้างทางภูมิสถาปัตยกรรม 1 การศึกษางานก่อสร้างภูมิสถาปัตยกรรมเบื้องต้นในเรื่องงานดิน ธรณีสัณฐาน ภูมิ ประเทศ และการวิเคราะห์ ข้อควรพิจารณา การคำนวณ และขั้นตอนการปรับระดับงานดิน การ ระบายน้ำ การป้องกันการกัดเซาะและการพังทลายของดินเบื้องต้น มาตรฐานและขั้นตอนในการ ออกแบบทางสัญจร และการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการวิเคราะห์และออกแบบก่อสร้าง งานภูมิสถาปัตยกรรม (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 3 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์)
การก่อสร้างทางภูมิสถาปัตยกรรม 3
5) วิชาบังคับก่อน : 11001 342 การก่อสร้างทางภูมิสถาปัตยกรรม 2 การศึกษางานก่อสร้างภูมิสถาปัตยกรรมเบื้องต้นในเรื่องการจัดการน้ำฝน ความรู้ด้าน อุทกวิทยาและธรณีสัณฐานที่เกี่ยวข้องเพื่อช่วยในการออกแบบก่อสร้างงานภูมิสถาปัตยกรรมและ แก้ไขปัญหาภัยพิบัติ การออกแบบก่อสร้างระบบน้ำพุ น้ำตกและบ่อน้ำ การชลประทานในงานภูมิ สถาปัตยกรรม รวมถึงงานออกแบบก่อสร้างโครงสร้างในเงื่อนไขพิเศษเพื่อประยุกต์ใช้กับแนวคิด สถาปัตยกรรมสีเขียว เช่น สวนหลังคา สวนภายในอาคาร สวนแนวตั้ง เป็นต้น (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 3 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์)

11001 443 Landscape Architectural Construction 3 3 (2 3 5)

Prerequisite : 11001 342 Landscape Architectural Construction 2

Studies of basic landscape architectural construction about stormwater management; related knowledge of hydrology and landforms to assist in landscape architectural design and constructions; construction design of fountain, waterfall and pond system; Irrigation in the landscape architecture; construction of structures with special conditions such as roof gardens. Indoor gardens, and vertical gardens.

(Lecture 2 hours, Practice 3 hours, Self Study 5 hours/week)

11001 444 4 3 (2 3 5) : 11001 443

มคอ. 2 54
การก่อสร้างทางภูมิสถาปัตยกรรม
วิชาบังคับก่อน
การก่อสร้างทางภูมิสถาปัตยกรรม 3 การศึกษางานก่อสร้างภูมิสถาปัตยกรรมเบื้องต้นในงานระบบสาธารณูปโภค เช่น งาน ระบบไฟฟ้าและแสงสว่าง การจัดการของเสียในโครงการ เป็นต้น เทคนิคการก่อสร้างขั้นสูง เช่น สนามกีฬา เป็นต้น (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 3 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 11001 444 Landscape Architectural Construction 4 3 (2 3 5) Prerequisite : 11001 443 Landscape Architectural Construction 3 Studies on basic landscape infrastructure construction such as electrical system, lighting system, and waste management in projects, etc.; advanced construction techniques such as sports fields, etc. (Lecture 2 hours, Practice 3 hours, Self Study 5 hours/week) 11001 446 การบริหารงานก่อสร้างและการดูแลรักษางานภูมิสถาปัตยกรรม 3 (2 3 5) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี การจัดการและหลักการบริหารงานก่อสร้างงานภูมิสถาปัตยกรรม สัญญา การประกวด ราคา การวางแผนการทำงานก่อสร้าง การควบคุมดูแล การตรวจงาน ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง และการจัดการดูแลรักษางานภูมิสถาปัตยกรรม (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 3 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์)

Prerequisite

Management bidding; construction planning; control; in construction and in landscape architecture. 11001 496 Preparation for Thesis 3 (2 2 5)

Prerequisite : 11001 434 Landscape Architectural Design 4

Design project Preparations and researches following the specified Landscape Architectural Design process for preparation of thesis works. They include defining research issues and topics, scoping projects areas of studies and designs, and selections, comparative studies of similar projects, collections and analyses of basic information, and project proposal writing.

(Lecture 2 hours, Practice 2 hours, Self Study 5 hours/week)

มคอ. 2 55 La 446 Landscape Architectural Construction Management and 3 (2 3 5) Maintenance
: None
and construction administration principles in Landscape Architecture; contracts;
safety
;
maintenance
(Lecture 2 hours, Practice 3 hours, Self Study 5 hours/week) 11001 496 การเตรียมวิทยานิพนธ์ 3 (2 2 5) วิชาบังคับก่อน : 11001 434 การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 4 การศึกษาค้นคว้าและจัดเตรียมโครงการออกแบบตามขั้นตอนการดำเนินงานออกแบบ ภูมิสถาปัตยกรรม เพื่อเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติงานวิทยานิพนธ์ ประกอบด้วย การกำหนด ประเด็นปัญหาและหัวข้อของโครงการ การกำหนดขอบเขตโครงการที่จะศึกษาและออกแบบ การ เลือกที่ตั้ง การศึกษาเปรียบเทียบโครงการประเภทเดียวกัน การเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานที่ เกี่ยวข้องกับโครงการ และการจัดทำข้อเสนอโครงการ (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตัวเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์)

Prerequisite

Strengthen the basic knowledge necessary to gain successes in professional practices consists of professional background; Controlling of professional practice; portfolio and resume preparation for job application; scope of professional services; professional obligations and responsibilities; human relationship skills; business and marketing skills; office operation; legals and legal responsibilities; document forms that is related to professional practice; case studies of design firms for clearer understanding. Lecture 2 hours, Practice 0 hour, Self Study 4 hours/week) (0 27 0)

มคอ. 2 56 11001 593 การปฏิบัติวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรม 2 (2 0 4) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี เสริมสร้างความรู้พื้นฐานที่จำเป็นต่อการประสพความสำเร็จในการประกอบวิชาชีพ ประกอบด้วย ความเป็นมาของวิชาชีพ การควบคุมการปฏิบัติวิชาชีพ การเตรียมเอกสารแสดงผลงาน การออกแบบและประวัติส่วนตัวเพื่อยื่นสมัครงาน ขอบเขตของการบริการวิชาชีพ ภาระหน้าที่และ ความรับผิดชอบ จรรยาบรรณวิชาชีพ ทักษะเกี่ยวกับมนุษยสัมพันธ์ ทักษะด้านธุรกิจและการตลาด การดำเนินงานในสำนักงาน ข้อกฎหมายและความรับผิดชอบทางกฎหมาย เอกสารแบบฟอร์มที่ เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติวิชาชีพ โดยจะมีการยกกรณีศึกษาตัวอย่างจากบริษัทออกแบบ เพื่อให้เกิด ความเข้าใจที่ชัดเจน (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 4 ชั่วโมง/สัปดาห์) 11001 593 Professional Practice 2 (2 0 4)
: None
(
11001 598 วิทยานิพนธ์ 9
วิชาบังคับก่อน : 11001 496 เตรียมวิทยานิพนธ์ และ 11001 435 การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 5 โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมที่นักศึกษาสนใจศึกษาเรียนรู้และปฏิบัติด้วย ตนเอง ครอบคลุมความรู้ทักษะและกระบวนการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอย่างยั่งยืน ประกอบด้วย การเก็บรวบรวม การวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับ ศักยภาพและข้อจำกัดของโครงการ การพัฒนาแนวความคิดและปรัชญาในการออกแบบและวางผังที่ สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมของพื้นที่ และการนำความรู้ด้านเทคโนโลยีต่างๆ มาปรับใช้อย่าง เหมาะสม นักศึกษาจะต้องดำเนินการจัดทำโครงการตามขั้นตอนที่กำหนด ภายใต้คำแนะนำจาก คณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ (ปฏิบัตินอกเวลา 27 ชั่วโมง/สัปดาห์)

11001 598 Thesis

Prerequisite : 11001 597 Preparation for Thesis and 11001 435 Landscape Architectural Design 5

9 (0 27 0)

Self studies and practices of Landscape architectural design and planning projects which cover knowledge, skills, and processes of sustainable landscape architectural design and planning. They include; collections, analyses and syntheses of concerned data to summarize projects’ potentials and constraints; developments of theories and concepts in designs and planning that correspond to sites’ environments. Appropriate application of various technologies. Students must follow the specified thesis process under advices of thesis advisory committee.

(Outside Class Practice 27 hours/week)

11001 497

AR 497 Co operative Education 9 Credits

Prerequisite : Approval by the Curriculum Committee that the proposed word study relates to the major field of study and; students are required to pass a minimum 30 hour preparation session.

The minimum practical work experience will consist of 16 weeks in a workplace in which the work is related to the major field of study of the student; students are required to pass a minimum 30 hour preparation session prior to their placement in a selected workplace; students are required to submit a report of their work study placement education and give a presentation in a seminar in the presence of their classmates and academic advisors at the end of the course. (Minimum practice of 16 weeks)

มคอ. 2 57
สหกิจศึกษา 9 หน่วยกิต วิชาบังคับก่อน : ตามเงื่อนไขของสาขาวิชา และผ่านการอบรมเตรียมความพร้อม ก่อนไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษาไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมง การปฏิบัติงานจริงเสมือนหนึ่งเป็นพนักงานในสถานประกอบการที่มีการดำเนินงาน เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษาอยู่เป็นระยะเวลา ไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์ต่อเนื่อง นักศึกษาจะต้อง ผ่านการอบรม เตรียมความพร้อมก่อนไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ต้องจัดทำรายงาน ผลการ ปฏิบัติงานสหกิจศึกษา และนำเสนอผลงานในการสัมมนาระหว่างนักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา หรือ อาจารย์นิเทศ หลังจากเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานแล้ว (ปฏิบัติไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์)

A research study or a professional development project in the student’s major field of study under supervision of an academic advisor; training in research methodology or project consultation is required to meet academic requirements; students are required to develop a research or project proposal prior to undertaking the project, to submit a fully detailed paper describing their research or project and give a presentation by the end of the semester in which the training is undertaken. practice of 16 weeks)

มคอ. 2 58 11001 498 การเรียนรู้อิสระ 9 หน่วยกิต วิชาบังคับก่อน : ตามเงื่อนไขของสาขาวิชา การวิจัยหรือศึกษาหรือทำโครงงานวิชาชีพ ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง อาจมีการ ฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างความรู้ในการทำวิจัยหรือศึกษาหรือทำโครงงานวิชาชีพได้ตามความ เหมาะสม ภายใต้การกำกับดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษาการเรียนรู้อิสระ นักศึกษาต้องเขียนโครงการ หรือโครงร่างการเรียนรู้อิสระ ส่งรายงาน ฉบับสมบูรณ์ และนำเสนอผลงานภายใน 1 ภาค การศึกษา (ปฏิบัติไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์) 11001 498 Independent Study 9 Credits Prerequisite : Approval by the Curriculum
(Minimum
11001 499 การศึกษา หรือ ฝึกงาน หรือ ฝึกอบรม ต่างประเทศ 9 หน่วยกิต วิชาบังคับก่อน : ตามเงื่อนไขของมหาวิทยาลัย การศึกษา หรือ ฝึกงาน หรือ ฝึกอบรมต่างประเทศ ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง นักศึกษา ต้องเขียน โครงการศึกษา ส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ และนำเสนอผลงาน โดยทุกขั้นตอนอยู่ใน ความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษาวิชาการศึกษาหรือฝึกงานหรือฝึกอบรมต่างประเทศ (ปฏิบัติไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์)

11001 499 Overseas

Prerequisite : Approval by the University

Overseas study, training or internship in an area related to the student's major field of study; students are required to develop a study project proposal prior to undertaking the training, remain under the supervision of an academic advisor, and submit a full report on completion of the training and give a presentation by the end of the semester in which the training is undertaken.

(Minimum practice of 16 weeks) (3 0 6)

Prerequisite : None

Meanings of various disciplines of arts; art media and design both fine and applied arts; the focuses are on the visual arts, elements and composition of arts in two, three, and other dimensions; critical art image descriptions; in order that students could be appreciated in arts and learn about their ages, characteristics of artists, the types of importance art works including paintings, sculptures, and architectures.

(Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week)

มคอ. 2 59
Study, Training or Internship 9 Credits
กลุ่มวิชาชีพ เลือก 11001 110 ศิลปนิยม 3 (3 0 6) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ศึกษาความหมายของศิลปะแขนงต่าง ๆ ของศิลปะ สื่อและการแสดงออกของศิลปะ วิจิตรศิลป์และศิลปะประยุกต์ เน้นทางด้านทัศนศิลป์ (Visual Arts) องค์ประกอบและการจัดองค์ประกอบ ของศิลปะ ทั้งสองมิติ สามมิติ และมิติอื่น ๆ บรรยายเชิงศิลปวิจารณ์ประกอบภาพ เพื่อให้นักศึกษาได้ ซาบซึ้งในศิลปะ และเรียนรู้ถึงยุคสมัย บุคลิกภาพของศิลปิน รูปแบบของงานศิลปะสำคัญ ๆ อันได้แก่ จิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรม (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์) 11001 110 Art Appreciation 3

Prerequisite

Concepts in physical geography disciplines; Learning the elements of physical geography; meanings and factors that causes landscape characteristic, climates, and hydrology; Area divisions of regional and rural geography; the spreading of vegetations and cultures according to the geographic environments; concepts about the human and natural resources, geography and country developments, and landscape architectural works.

(Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week)

มคอ. 2 60 11001 166 ภูมิศาสตร์กายภาพ 3 (3 0 6) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี แนวคิดสาขาวิชาภูมิศาสตร์กายภาพ ศึกษาถึงองค์ประกอบของภูมิศาสตร์กายภาพ ความหมาย ตัวการ และปัจจัยการเกิดสภาพภูมิสัณฐาน สภาพภูมิอากาศ อุทกวิทยา การแบ่งเขต ภูมิศาสตร์โลกและท้องถิ่น การแพร่กระจายพืชพรรณ และวัฒนธรรม ตามสภาพภูมิศาสตร์ แนวความคิดเกี่ยวกับมนุษย์และทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิศาสตร์กับการพัฒนาประเทศ และงานทาง ภูมิสถาปัตยกรรม (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์) 11001 166 Physical Geography 3 (3 0 6)
: None
11001 225 คอมพิวเตอร์ขั้นสูงในงานภูมิสถาปัตยกรรม 2 (1 3 3) วิชาบังคับก่อน : 11001 224 คอมพิวเตอร์พื้นฐานสำหรับงานภูมิสถาปัตยกรรม การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบและวางผังทางภูมิสถาปัตยกรรม ซึ่ง ครอบคลุมการวิเคราะห์พื้นที่ การสร้างแบบจําลองภูมิประเทศ การสร้างรูป 3 มิติ ในงานออกแบบ และงานก่อสร้างทางภูมิสถาปัตยกรรม (บรรยาย 1 ชั่วโมง ปฏิบัติ 3 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 3 ชั่วโมง/สัปดาห์)

11001 261 Ecology and Principles of Conservation 3 (3 0 6)

Prerequisite : None

The meaning of ecology; Ecological structures and relations; Circulation and changes in ecosystem; Principles of natural resource conservation, including soils, water, forests, meadows, wildlife, Minerals, human, etc. Studies of relationships between human societies and natural resources; conservation and planning Methods; Uses for natural resource conservation.

(Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self study 6 hours/week)

11001 340 (3 0 6)

มคอ. 2 61 11001 225 Advanced Computer Applications in Landscape Architecture 2 (1 3 3) Prerequisite: 11001 224 Basic Computer Applications in Landscape Architecture Uses of software computer for landscape architectural design and planning including site analyses, geographic modeling, and creation of three dimensional figures in landscape architectural design and construction. (Lecture 1 hour, Practice 3 hours, Self Study 3 hours/week) 11001 261 นิเวศวิทยาและหลักอนุรักษ์วิทยา 3 (3 0 6) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ความหมายของนิเวศวิทยา โครงสร้างและความสัมพันธ์ทางนิเวศวิทยา การหมุนเวียน และการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศ หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติได้แก่ ดิน น้ำ ป่าไม้ ทุ่ง หญ้า สัตว์ป่า แร่ มนุษย์ และอื่น ๆ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทรัพยากรธรรมชาติและสังคมมนุษย์ วิธีอนุรักษ์และวางแผน การใช้ประโยชน์เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ (บรรยาย 3 ชั่วโมง/ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง /ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์)
วัสดุและเทคนิควิธีการก่อสร้างภูมิทัศน์ 3
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี วัสดุก่อสร้างและอุปกรณ์ที่ใช้ในงานภูมิสถาปัตยกรรม เช่น วัสดุโครงสร้าง วัสดุพื้นผิว ภายในและภายนอกอาคาร ฯลฯ วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการตกแต่งภูมิทัศน์ เช่น น้ำพุ น้ำตก วัสดุ ทดแทน ไม้และหิน มีแนวคิดสร้างสรรค์ในการเลือกใช้วัสดุต่างๆ ให้กลมกลืนกับสภาพธรรมชาติ (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์)

11001 340 Building Materials and Methods in Landscape (3 0 6)

Prerequisite : None

Construction materials and equipments used in landscape architecture such as structural materials, paving materials used inside and outside of buildings, etc.; materials and devices used in landscape decoration such as fountains, waterfalls, alternative materials instead of woods and stones; creative thinking of material selections that are in harmony with environments.

(Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week)

11001 395 3 (1 4 4)

มคอ. 2 62
3
ปฏิบัติงานภูมิสถาปัตยกรรมภาคสนาม
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี การปฏิบัติงานด้านภูมิทัศน์ในพื้นที่ เพื่อเรียนรู้ทางด้านการใช้เครื่องมือ เทคนิคและ วิธีการปฏิบัติงาน หรืองานก่อสร้างที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ (บรรยาย 1 ชั่วโมง ปฏิบัติ 4 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 4 ชั่วโมง/สัปดาห์) 11001 395 Landscape Architecture Field Practices 3 (1 4 4) Prerequisite : None Field landscaping in order to learn how to use tools; techniques and methods of operation or construction related to the profession. (Lecture 1 hour, Practice 4 hours, Self Study 4 hours/week) 11001 448 การจัดการพื้นที่นันทนาการ 3 (3 0 6) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี การจัดการแหล่งพักผ่อนหย่อนใจชนิดต่าง ๆ และปัญหาของงานบริการ ตั้งแต่ สวนสาธารณะขนาดเล็ก ไปจนถึงอุทยานแห่งชาติ โครงสร้างและรายละเอียดของการบริหารและ กฎเกณฑ์ต่าง ๆ ในการควบคุมพื้นที่นันทนาการของรัฐบาลและเอกชน (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์)

11001 448 Management of Recreation Areas

Prerequisite : None

3 (3 0 6)

Management of various types of recreational sources and service problems, ranging from the small parks to the National Parks; structures and details of the management; regulations to control of the government and private recreational areas.

(Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week)

11001 (3 0 6) and theories concerned cultural landscape; relationships between humans, culture, and physical environments affecting the cultural landscapes; for management of cultural landscape, cultural heritage, and world heritage urban landscapes.

มคอ. 2 63
449 ภูมิทัศน์วัฒนธรรม 3
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับภูมิทัศน์วัฒนธรรม ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีผลต่อภูมิทัศน์วัฒนธรรม และแนวทางในการจัดการ ภูมิทัศน์วัฒนธรรม มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิทัศน์เมืองมรดกโลก (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์) 11001 449 Cultural Landscape 3 (3 0 6) Prerequisite : None Concepts
guidelines
(Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week) 11001 462 การออกแบบสิ่งแวดล้อมในงานสถาปัตยกรรม 3 (3 0 6) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี วิชานี้มุ่งเน้นให้นักศึกษาได้เรียนรู้ถึงหลักการ และทฤษฎีของการออกแบบวางแผน สิ่งแวดล้อมในงานวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุมอย่างยั่งยืน รวมไปถึงสร้างความเข้าใจปัญหา สิ่งแวดล้อมและหลักการในการแก้ไขปัญหาเบื้องต้น เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาเกิดความตระหนักและมี จิตสำนึกในการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดขึ้นจากงานสถาปัตยกรรมในทุกแขนง โดยผ่าน กระบวนการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม และการศึกษาดูงานนอกสถานที่ (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์) 11001 462 Environmental Design in Architecture 3 (3 0 6)

Prerequisite : None

This course focuses on the principles and theories of sustainable environmental design and planning in controlled architectural profession; Including building up understanding about environmental problems and the basic principles in troubleshooting; to encourage students’ awareness to reduce the environmental impacts that may arise from all branches of architectural practices; through participatory learning processes and field trips.

(Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week) Geographic Information System Landscape Architecture (2

Prerequisite : None

The concept and the method of geographic Information system; databases and data used in landscape architecture; principle of databases; data import procedures; analyzes of spaces and spatial information presentations; evaluation of analysis results and application in landscape architecture; geographic information systems applications, and future trends in the landscape architecture Lecture 2 hours, Practice 3 hours, Self Study 5 hours/week)

มคอ. 2 64
11001 463 ภูมิสารสนเทศเพื่องานภูมิสถาปัตยกรรม 3 (2 3 5) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี แนวคิด วิธีการของระบบภูมิสารสนเทศ ระบบฐานข้อมูลและข้อมูลเพื่อการใช้ประโยชน์ ในงานภูมิสถาปัตยกรรม หลักการของฐานข้อมูล วิธีการนำเข้าข้อมูล การวิเคราะห์พื้นที่ และการ แสดงผลข้อมูลเชิงพื้นที่ การประเมินผลการวิเคราะห์และการใช้ประโยชน์ในงานภูมิสถาปัตยกรรม การใช้งานระบบภูมิสารสนเทศและแนวโน้มในอนาคตในงานภูมิสถาปัตยกรรม (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 3 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 11001 463
for
3
3 5)
(

Prerequisite Studies of aerial photos and satellite images application methods for efficient designs, planning, and uses of natural resources including land use planning, building location determination, circulation, natural drainage, as well as the types of vegetations covering the areas, etc.; general techniques and briefly processes of making and interpretation of aerial photos and satellite images.

(Lecture 2 hours, Practice 3 hours, Self Study 5 hours/week) (2 3 5)

มคอ. 2 65 11001 465 โทรสัมผัสเพื่อการวางแผนที่ดิน 3 (2 3 5) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี การศึกษาวิธีการใช้รูปถ่ายทางอากาศ และภาพถ่ายดาวเทียม เพื่อการออกแบบและการ วางแผน การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ การใช้ที่ดิน การกำหนดที่ตั้งของ อาคาร การจราจร ภูมิลักษณ์ การระบายน้ำธรรมชาติ ตลอดจนชนิดของพืชพรรณที่ปกคลุมพื้นที่ ฯลฯ รวมทั้งเทคนิคทั่วไป กระบวนการจัดทำและแปลภาพถ่ายทางอากาศและภาพถ่ายดาวเทียม โดยสังเขป (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 3 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 11001 465 Remote Sensing for Land Planning 3 (2 3 5)
: None
11001 367 นิเวศวิทยาภูมิทัศน์ 3
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี แนวคิดและทฤษฎีของนิเวศวิทยาภูมิทัศน์ในอดีต และปัจจุบัน การศึกษาความซับซ้อน ขององค์ประกอบทางภูมิทัศน์ธรรมชาติ และที่มนุษย์สร้างสรรค์ กระบวนการและการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิทัศน์โดยธรรมชาติ และการกระทำของมนุษย์ การศึกษาและวิเคราะห์ความเด่น ความสง่า งามตามธรรมชาติ รวมทั้งการฟื้นฟูพื้นที่เสื่อมโทรม การออกแบบที่ช่วยแก้ไขปัญหาภัยพิบัติ การศึกษากรณีตัวอย่างภัยพิบัติ (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 3 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์)

11001 367 Landscape Ecology

Prerequisite : None

3 (2 3 5)

Concepts and theories of landscape ecology from the past until present; study of the complexity of the natural and man made landscape elements; processes and changes of landscapes caused by nature and human actions; study and analysis of natural distinction and gracefulness; including revitalization of declined areas, design to solve natural disaster problems.

(Lecture 2 hours, Practice 3 hours, Self Study 5 hours/week)

11001 471

3 (2 3 5) 471 Sustainable Community and Urban Planning (2 3 5)

Prerequisite : None

Human settlements; urban evolutions; factors influencing urban growth; theories, concepts and process in community and urban planning; land uses; mass transit and transportation; infrastructure and facilities; policies, regulations and city control, Environmental Impact Assessment; applications in part of city and community design and planning in response to urban contexts, physical, economic and social factors for sustainable developments; Case studies.

(Lecture 2 hours, Practice 3 hours, Self Study 5 hours/week)

มคอ. 2 66
การวางผังเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ลักษณะการตั้งถิ่นฐาน วิวัฒนาการของเมือง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเติบโตของเมือง ทฤษฎี แนวคิด และกระบวนการในการวางผังเมืองและชุมชน การใช้ที่ดิน การคมนาคมและขนส่ง สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ นโยบาย กฎหมายผังเมืองและมาตรการควบคุม การประเมินผล กระทบทางสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น ตลอดจนการประยุกต์ใช้ในการวางผังและออกแบบส่วนของเมืองและ ชุมชน ที่คำนึงถึงบริบทของเมือง ปัจจัยทางกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน รวมทั้งกรณีศึกษา (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 3 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 11001
3

Prerequisite : None

Concepts of conservation and restoration of old towns, historic towns and historical and cultural landscape architecture. The process and international charters for conservation of historic towns, urban areas and historic gardens to determine concepts and guideline for conservation and restoration of urban communities

(Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week) 473 (3 0

มคอ. 2 67 11001 472 การอนุรักษ์และการฟื้นฟูชุมชนเมือง 3 (3 0 6) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี แนวความคิดเกี่ยวกับการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองเก่า เมืองประวัติศาสตร์ และงานภูมิ สถาปัตยกรรมทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม กระบวนทัศน์ และกฎบัตรนานาชาติว่าด้วยการ อนุรักษ์เมืองประวัติศาสตร์ (Historic Towns) ส่วนของเมือง (Urban Areas) และอุทยาน ประวัติศาสตร์ (Historic Gardens) เพื่อกำหนดกรอบความคิดและแนวทางในการอนุรักษ์หรือการ ฟื้นฟูชุมชนเมือง (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์) 11001 472 Conservation and restoration of urban communities 3 (3 0 6)
11001
การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเมือง 3
6) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี หลักการ เทคนิคการวิเคราะห์และการคาดการณ์ และขั้นตอนในการประเมินผล กระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการพัฒนาประเภทต่างๆ ในเมือง อาทิ โครงการพัฒนาด้านสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ โครงการอาคารขนาดใหญ่และอาคารสูง เป็นต้น ที่สอดคล้องกับบริบททาง กายภาพ เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมของพื้นที่ รวมถึงแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนใน กระบวนการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์)

11001 473 Urban Environmental Impact Assessment 3 (3 0 6)

Prerequisite : None.

Principles, analysis and forecast techniques, and processes of environmental Impact assessment for project developments in urban areas such as infrastructure development projects, large and high rise building projects, etc., conforming to the physical, economic, social and cultural contexts of places, Including public participation guidelines in environmental impact assessment processes.

(Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week)

11001 39 3 (2 2 (1 3

Prerequisite None

Increasing the abilities and skills of English communication in a professional practice; oral presentations of design works; listening and understanding opinions of others; Reading and understanding English texts and technical terms necessary for professional practice; Writing English documents used in professional practice and a further study. Lecture 2 hour, Practice 2 hours, Self Study 5 hours/week

มคอ. 2 68
4 การสื่อสารในการปฏิบัติวิชาชีพ
5) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี การเพิ่มความสามารถและทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารในการปฏิบัติวิชาชีพ ทั้งในด้านการพูดเพื่อนำเสนอผลงานออกแบบ การฟังและทำความเข้าใจในความคิดเห็นของผู้อื่น การ อ่านและทำความเข้าใจในข้อความและศัพท์เทคนิคภาษาอังกฤษ ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติวิชาชีพ การ เขียนเอกสารภาษาอังกฤษที่ใช้ในการปฏิบัติวิชาชีพและการศึกษาต่อ (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตัวเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 11001 394 Communication in Professional Practice 2
3)
:
(
)

Collaboration of students with different background foundations such as those from different institutes, or different fields, or different countries to analyze and find solutions for the problems of projects or specific sites according to landscape architectural planning and design principles. Lecture 1 hour, Practice 4 hours, Self Study 4 hours/week (

มคอ. 2 69 11001 494 ภูมิสถาปัตยกรรมเชิงปฏิบัติการ 3 (1 4 4) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี การทำงานร่วมกันของนักศึกษาที่มีพื้นฐานความเป็นมาที่มีความหลากหลาย เช่น นักศึกษาจากต่างสถาบันการศึกษา หรือต่างสาขาวิชา หรือต่างประเทศ เพื่อวิเคราะห์และหาแนวทาง แก้ปัญหาของโครงการหรือพื้นที่เฉพาะตามหลักการวางผังและออกแบบทางด้านภูมิสถาปัตยกรรม (บรรยาย 1 ชั่วโมง ปฏิบัติ 4 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 4 ชั่วโมง/สัปดาห์) 11001 494 Landscape Architectural Workshop 3 (1 4 4) Prerequisite : None
(
) 11001 498 ภูมิทัศนศึกษาภายในประเทศ 3
0 90 0) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี การศึกษานอกสถานที่สำหรับนักศึกษาในสาขาวิชาชีพต่าง ๆ เช่น สถาปัตยกรรม ภูมิ สถาปัตยกรรม ผังเมือง ฯลฯ เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ และสร้างวิสัยทัศน์ โดยการศึกษา เรียนรู้จากลักษณะภูมิทัศน์ทางธรรมชาติและวัฒนธรรมรวมถึงโครงการออกแบบที่เกิดขึ้นจริงในภาค ต่าง ๆ ของประเทศไทย ศึกษาความสัมพันธ์ ความแตกต่าง ความเปลี่ยนแปลง ทางด้านกายภาพ วัฒนธรรม และประชากร ตลอดจนพัฒนาที่เกี่ยวกับภูมิทัศน์ ซึ่งนักศึกษาสามารถนำประสบการณ์ไป ประยุกต์ใช้สำหรับวิชาชีพของตนเองได้ (ปฏิบัติไม่น้อยกว่า 90 ชั่วโมง)

11001 498 Domestic Landscape Field Study

Prerequisite : None

3 (0 90 0)

Educational field trips for students in various professional disciplines such as architecture, landscape architecture, urban planning, etc; to reinforce learning experiences and visions by learning from natural and cultural landscapes, as well as projects in various regions of Thailand; studies of relationships, differences, and changes of physical characteristics, cultures, populations, as well as developments concerning landscapes; the experiences gained from the field trips could be applied for students’ professions.

(Practice at least 90 hours)

11001 499 3 (0 90 0)

มคอ. 2 70
ภูมิทัศนศึกษาต่างประเทศ
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี การศึกษานอกสถานที่สำหรับนักศึกษาในสาขาวิชาชีพต่างๆ เช่น สถาปัตยกรรม ภูมิ สถาปัตยกรรม ผังเมือง ฯลฯ เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ การเรียนรู้ และสร้างวิสัยทัศน์ โดยศึกษา และเรียนรู้จากลักษณะภูมิทัศน์ทางธรรมชาติ และวัฒนธรรมรวมถึงโครงการออกแบบที่เกิดขึ้นจริงใน ภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศเพื่อนบ้านและประเทศอื่น ๆ ที่เหมาะสม ศึกษาความสัมพันธ์ ความ แตกต่าง ความเปลี่ยนแปลง ทางด้านกายภาพ วัฒนธรรม และประชากร ตลอดจนการพัฒนาที่ เกี่ยวกับพื้นแผ่นดินและภูมิทัศน์ ซึ่งนักศึกษาสามารถนำประสบการณ์ไปประยุกต์ใช้สำหรับวิชาชีพ ของตนเองได้ (ปฏิบัติไม่น้อยกว่า 90 ชั่วโมง)

11001 499 International Landscape Field Study

Prerequisite : None

3 (0 90 0)

Educational field trips for students in various professional disciplines such as architecture, landscape architecture, urban planning, etc; to reinforce learning experiences and visions by learning from natural and cultural landscapes, as well as projects in various regions of neighborhood countries and other appropriate and noteworthy ones; studies of relationships, differences, and changes of physical characteristics, cultures, populations, as well as developments concerning landscapes; the experiences gained from the field trips could be applied for students’ professions. (Practice at least 90 hours)

11001 599 3 (2 2 5)

มคอ. 2 71
สัมมนาภูมิสถาปัตยกรรม
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี การอภิปรายเกี่ยวกับแนวความคิด เทคโนโลยี หรือประเด็นทางด้านภูมิสถาปัตยกรรมที่ นักศึกษาสนใจ เพื่อเป็นประโยชน์ในการปฏิบัติวิชาชีพในอนาคต (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 11001 599 Seminar in Landscape Architecture 3 (2 2 5) Prerequisite : None Discussions about the concepts, technologies or issues in landscape architecture that are interested by students for benefits of professional practices in the future. (Lecture 2 hours, Practice 2 hours, Self Study 5 hours/week) 11003 441 การบริหารจัดการธุรกิจภูมิทัศน์ 3 (2 2 5) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ศึกษาหลักการบริหาร และการจัดการทางธุรกิจ มาประยุกต์ใช้ในงานภูมิทัศน์ ในด้าน การบริหารจัดการ การตลาด การผลิต การเงินและบัญชี การเขียนเอกสาร และรายงาน เพื่อ ประโยชน์ในการวางแผน ควบคุม ตัดสินใจขององค์กร (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์)

Prerequisite : None

The principles, Theories, and processes of the studies of environmental impacts from development different types of construction projects such as industrial factories, dams, large buildings, and roads; as well as techniques to analyze and evaluate landscape visual qualities; The application processes that suit to physical, social and cultural contexts.

(Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week)

มคอ. 2 72 11003 441 Landscape Business Administration 3 (2 2 5) Prerequisite : None Applications of business administration and management to landscaping in terms of management, marketing, production, finance and accounting; document and report writing for the benefits of organizations' planning, controlling, and decision making. (Lecture 2 hours, Practice 2 hours, Self Study 5 hours/week) 11003 461 การประเมินผลกระทบทางสายตา 3 (3 0 6) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี หลักการ ทฤษฎี และขั้นตอนในการศึกษาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของการพัฒนา โครงการก่อสร้างประเภทต่างๆ เช่น โครงการโรงงานอุตสาหกรรม เขื่อน อาคารขนาดใหญ่ และถนน รวมถึงเทคนิคในการวิเคราะห์และประเมินคุณภาพภูมิทัศน์ทางสายตา กระบวนการในการการ ประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบททางกายภาพ สังคม และ วัฒนธรรม (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์) 11003 461 Visual Impact Assessment 3 (3 0 6)
มคอ. 2 73 3.2 ชื่อ สกุล ตำแหน่ง คุณวุฒิของอาจารย์ สาขาวิชา และสำเร็จการศึกษา 3.2.1 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ที่ ตำแหน่งทาง วิชาการ ชื่อ สกุล คุณวุฒิ สาขาวิชาเอก สถาบัน ปี พ.ศ. 1 ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ นางสาว จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ Master of Landscape Architecture สถาปัตยกรรม ศาสตรบัณฑิต Landscape Architecture สถาปัตยกรรม Virginia Polytechnic Institute and State University, U.S.A. จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย 2540 2534 2 อาจารย์ นายยุทธภูมิ เผ่าจินดา สถาปัตยกรรม ศาสตรมหา บัณฑิต ภูมิสถาปัตยกรรม ศาสตรบัณฑิต การออกแบบ ชุมชนเมือง ภูมิสถาปัตย กรรม จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2550 2546 3 อาจารย์ นายศุภณัฐ กาญจนวงค์ ภูมิสถาปัตยกรรม ศาสตรมหา บัณฑิต ภูมิสถาปัตยกรรม ศาสตรบัณฑิต ภูมิสถาปัตย กรรม ภูมิสถาปัตย กรรม จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2556 2553 4. อาจารย์ นางสาว ศุภัชญา ปรัชญคุปต์ ภูมิสถาปัตยกรรม ศาสตรมหา บัณฑิต ภูมิสถาปัตยกรรม ศาสตรบัณฑิต ภูมิสถาปัตย กรรม ภูมิสถาปัตย กรรม จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2552 2550 5. อาจารย์ นายณัฐพล เรืองวิทยา นุสรณ์ สถาปัตยกรรม ศาสตรมหา บัณฑิต สถาปัตยกรรม ศาสตรบัณฑิต สถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2552 2546
มคอ. 2 74 3.2.2 อาจารย์ประจำหลักสูตร ที่ ตำแหน่ง ทางวิชาการ ชื่อ สกุล คุณวุฒิ สาขาวิชาเอก สถาบัน ปี พ.ศ. 1 รองศาสตรา จารย์ ศิริชัย หงษ์ วิทยากร Master of Landscape Architecture สถาปัตยกรรม ศาสตรบัณฑิต Landscape Architecture สถาปัตยกรรม The University of Michigan, U.S.A. จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย 2524 2515 2 ผู้ช่วย ศาสตราจาร ย์ นางสาว จรัสพิมพ์ บุญญานัน ต์ Master of Landscape Architecture สถาปัตยกรรม ศาสตรบัณฑิต Landscape Architecture สถาปัตยกรรม Virginia Polytechnic Institute and State University, U.S.A. จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย 2540 2534 3 อาจารย์ นายยุทธภูมิ เผ่าจินดา สถาปัตยกรรม ศาสตรมหา บัณฑิต ภูมิ สถาปัตยกรรม ศาสตรบัณฑิต การออกแบบ ชุมชนเมือง ภูมิสถาปัตยกรรม จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2550 2546 4 อาจารย์ ทำเนียบ อุฬารกุล ปริญญาดุษฎี บัณฑิต บริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต สถาปัตยกรรม ศาสตรมหาบัณฑิต ภูมิ สถาปัตยกรรม ศาสตรบัณฑิต สิ่งแวดล้อมสรรค์ สร้าง การจัดการ การออกแบบ ชุมชนเมือง ภูมิสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2552 2547 2545
มคอ. 2 75 ที่ ตำแหน่ง ทางวิชาการ ชื่อ สกุล คุณวุฒิ สาขาวิชาเอก สถาบัน ปี พ.ศ. 5 . อาจารย์ วรินทร์ กุลินทร ประเสริฐ วิทยาศาสตร์ มหาบัณฑิต ภูมิ สถาปัตยกรรม ศาสตรบัณฑิต นวัตกรรมการ พัฒนา อสังหาริมทรัพย์ ภูมิสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 6 . อาจารย์ นายณัฐพล เรืองวิทยา นุสรณ์ สถาปัตยกรรม ศาสตรมหา บัณฑิต สถาปัตยกรรม ศาสตรบัณฑิต สถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2552 2546 7 อาจารย์ นางสาว ศุภัชญา ปรัชญคุปต์ ภูมิสถาปัตยกรรม ศาสตรมหา บัณฑิต ภูมิ สถาปัตยกรรม ศาสตรบัณฑิต. ภูมิสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2552 2550 8 . อาจารย์ นายศุภณัฐ กาญจน วงค์ ภูมิสถาปัตยกรรม ศาสตรมหา บัณฑิต ภูมิ สถาปัตยกรรม ศาสตรบัณฑิต ภูมิสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2556 2553 9 . อาจารย์ ธีรภัทร จิโน ภูมิสถาปัตยกรรม ศาสตรมหา บัณฑิต สถาปัตยกรรม ศาสตรบัณฑิต ภูมิสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรม จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณ ทหารลาดกระบัง.
มคอ. 2 76 3.2.3 อาจารย์ผู้สอน ที่ ตำแหน่ง ทาง วิชาการ ชื่อ สกุล คุณ วุฒิ สาขาวิชา สถาบันที่สำเร็จ การศึกษา ปี พ.ศ. 1 รอง ศาสตรา จารย์ ดร. นางอรทัย มิ่งธิพล วิทยาศาสตร ดุษฎีบัณฑิต วิทยาศาสตร มหาบัณฑิต วิทยาศาสตร บัณฑิต วนศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อม ภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตร ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตร ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตร ศาสตร์ 2541 2536 2533 2. รอง ศาสตรา จารย์ นางสาว รมย์ชลีรดา ด่านวันดี วิทยาศาสตร มหาบัณฑิต เทคโนโลยีบัณฑิต อุทยานและ นันทนาการ เทคโนโลยีภูมิ ทัศน์ มหาวิทยาลัยเกษตร ศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2 ผู้ช่วย ศาสตรา จารย์ ดร. นาง ลักษณา สัมมานิธิ ผังเมืองดุษฎี บัณฑิต ผังเมือง มหาบัณฑิต วิทยาศาสตร บัณฑิต การวางแผนภาค และเมือง การวางผังเมือง ภูมิศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา 2555 2538 2533 3 ผู้ช่วย ศาสตรา จารย์ ดร. นาง เยาวนิตย์ ธาราฉาย วิทยาศาสตร ดุษฎีบัณฑิต วิทยาศาสตร มหาบัณฑิต วิทยาศาสตร บัณฑิต ความ หลากหลายทาง ชีวภาพและ ชีววิทยาชาติ พันธุ์ ชีววิทยา เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2552 2539 2534 4. ผู้ช่วย ศาสตรา จารย์ ดร. นาย แทนวุธธา ไทยสันทัด ศิลปศาสตรดุษฎี บัณฑิต ศิลปศาสตร การจัดการมรดก ทาง สถาปัตยกรรมกับ การท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยศิลปากร 2551 2547
มคอ. 2 77 ที่ ตำแหน่ง ทาง วิชาการ ชื่อ สกุล คุณ วุฒิ สาขาวิชา สถาบันที่สำเร็จ การศึกษา ปี พ.ศ. มหาบัณฑิต ศิลปศาสตร บัณฑิต ภาพพิมพ์ ภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศรีนคริน ทรวิโรฒ ประสานมิตร 2541 5 ผู้ช่วย ศาสตรา จารย์ ดร. นายนิกร มหาวัน Doctor of Philosophy ผังเมือง มหาบัณฑิต วิทยาศาสตร บัณฑิต Civil Engineering and Geosciences การวางแผน ชุมชนเมืองและ สภาพแวดล้อม ภูมิศาสตร์ 6 ผู้ช่วย ศาสตรา จารย์ ดร. นาย พันธุ์ระวี กองบุญ เทียม วิศวกรรมศาสตร ดุษฎีบัณฑิต วิศวกรรมศาสตร มหาบัณฑิต วิศวกรรมศาสตร บัณฑิต วิศวกรรมพลังงาน วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2554 2546 2543 7 ผู้ช่วย ศาสตรา จารย์ ดร. นายวิทยา ดวงธิมา Doctor of Engineering ผังเมือง มหาบัณฑิต ครุศาสตร อุตสาหกรรม บัณฑิต Architecture and Urban System Design การวางผังชุมชน สถาปัตยกรรม Saga University, Japan จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระ จอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง 2557 2549 2546
มคอ. 2 78 ที่ ตำแหน่ง ทาง วิชาการ ชื่อ สกุล คุณ วุฒิ สาขาวิชา สถาบันที่สำเร็จ การศึกษา ปี พ.ศ. 8. ผู้ช่วย ศาสตรา จารย์ นาย พันธุ์ศักดิ์ ภักดี สถาปัตยกรรม ศาสตรมหา บัณฑิต สถาปัตยกรรม ศาสตรบัณฑิต สถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2555 2545 9. อาจารย์ นาย กิตติพงศ์ รื่นวงศ์ สถาปัตยกรรม ศาสตรมหา บัณฑิต สถาปัตยกรรม ศาสตรบัณฑิต สถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2555 2545 10 อาจารย์ นางสาว พรทิพย์ จันทร์ราช วิทยาศาสตร มหาบัณฑิต วิทยาศาสตร บัณฑิต เทคโนโลยีการ ผลิตพืช เทคโนโลยีการ ผลิดพืช มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช 11 อาจารย์ นาย พิทักษ์พงศ์ แบ่งทิศ วิทยาศาสตร มหาบัณฑิต ภูมิสถาปัตยกรรม ศาสตรบัณฑิต การออกแบบ วาง แผนสิ่งแวดล้อม ภูมิสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2556 2550 13. อาจารย์ ดิศสกุล อึ้งตระกูล สถาปัตยกรรม ศาสตรมหา บัณฑิต สถาปัตยกรรม ศาสตรบัณฑิต สถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2557 12 อาจารย์ นางสาว สุปิยา ปัญญาทอง ภูมิสถาปัตยกรรม ศาสตรมหา บัณฑิต สถาปัตยกรรม ศาสตรบัณฑิต ภูมิ สถาปัตยกรรม เทคโนโลยี สถาปัตยกรรม จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล ล้านนา วิทยาเขตภาค พายัพ 2555 2552
มคอ. 2 79 3.2.4 อาจารย์พิเศษ ลำ ดับ ตำแหน่ง ชื่อ สกุล คุณวุฒิ สาขาวิชา สำเร็จการศึกษา ปี พ.ศ.
มคอ. 2 80 4. องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม (การฝึกงาน หรือสหกิจศึกษา หรือการฝึกงาน ต่างประเทศ) การฝึกประสบการณ์ภาคสนาม ในสาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่ม ความรู้ประสบการณ์ให้แก่นักศึกษา โดนเป็นการฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ หรือการฝึก ปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ได้แก่ ฝึกปฏิบัติงานด้านภูมิสถาปัตยกรรม ณ สถานประกอบการในประเทศ และ/หรือต่างประเทศ และฝึกในหน่วยงานราชการ เช่น กรมทางหลวง กรมโยธาธิการและผังเมือง เป็นต้น ภายใต้การดูแลของอาจารย์นิเทศ เป็นเวลา 16 สัปดาห์ 4.1 มาตรฐานผลการเรียนรู้ของประสบการณ์ภาคสนาม มาตรฐานผลการเรียนรู้ประสบการณ์ภาคสนามของนักศึกษาให้เป็นไปตามที่อาจารย์ / คณะกรรมการสหกิจศึกษาของคณะกำหนด ทั้งนี้ให้นำคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของหลักสูตร ข้อกำหนด มาตรฐาน ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพซึ่งออกโดยสภา สถาปนิก และที่ออกโดยสมาคมภูมิสถาปนิกแห่งประเทศไทย รวมทั้งความเห็นของผู้ใช้บัณฑิตมาเป็น แนวทางในการกำหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้ดังกล่าว 4.2 ช่วงเวลา สหกิจศึกษา หรือการฝึกงานต่างประเทศ ดำเนินกิจกรรมในภาคการศึกษาที่ 1 หรือ 2 ของชั้นปีที่ 5 จำนวนไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร การฝึกงาน ดำเนินกิจกรรมในช่วงภาคการศึกษาฤดูร้อนของชั้นปีที่ 3 หรือชั้นปีที่ 4 หรือตาม ความเห็นชอบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 4.3 การจัดเวลาและตารางสอน การฝึกปฏิบัติงานสหกิจศึกษา/การเรียนรู้อิสระ/การศึกษา หรือ ฝึกงาน หรือฝึกอบรม ต่างประเทศจัดในเดือนมิถุนายนถึงเดือนกันยายน รวม 16 สัปดาห์ จัดเต็มเวลาใน 1 ภาค การศึกษา การฝึกปฏิบัติงานสหกิจศึกษา/การเรียนรู้อิสระ/การศึกษา หรือ ฝึกงาน หรือฝึกอบรม ต่างประเทศจัดในเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ รวม 16 สัปดาห์ จัดเต็มเวลาใน 1 ภาค การศึกษา การฝึกปฏิบัติทางด้านวิชาชีพที่เกี่ยวข้องจัดในเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม รวม ปฏิบัติไม่น้อยกว่า 270 ชั่วโมง จัดเต็มเวลาใน 1 ภาคการศึกษา
มคอ. 2 81 5. ข้อกำหนดเกี่ยวกับการทำโครงงานหรืองานวิจัย 5.1 คำอธิบายโดยย่อ 1) 11001 496 การเตรียมวิทยานิพนธ์ การศึกษาค้นคว้าและจัดเตรียมโครงการออกแบบตามขั้นตอนการดำเนินงาน ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมประกอบด้วย การกำหนดประเด็นปัญหาและหัวข้อของโครงการ การ กำหนดขอบเขตโครงการที่จะศึกษาและออกแบบ การเลือกที่ตั้ง การศึกษาเปรียบเทียบโครงการ ประเภทเดียวกัน การเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับโครงการ และการจัดทำข้อเสนอ โครงการ 2) 11001 598 วิทยานิพนธ์ โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมที่นักศึกษาสนใจศึกษาเรียนรู้และปฏิบัติ ด้วยตนเอง ครอบคลุมความรู้ทักษะและกระบวนการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอย่างยั่งยืน ประกอบด้วย การเก็บรวบรวม การวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับ ศักยภาพและข้อจำกัดของโครงการ การพัฒนาแนวความคิดและปรัชญาในการออกแบบและวางผังที่ สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมของพื้นที่ และการนำความรู้ด้านเทคโนโลยีต่างๆ มาปรับใช้อย่าง เหมาะสม นักศึกษาจะต้องดำเนินการจัดทำโครงการตามขั้นตอนที่กำหนด ภายใต้คำแนะนำจาก คณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ 5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้ 1) 11001 496 การเตรียมวิทยานิพนธ์ นักศึกษาสามารถนำกระบวนการวิเคราะห์ วิจัยข้อมูลทางภูมิสถาปัตยกรรม เพื่อ นำไปประยุกต์ใช้ในการจัดทำรายละเอียดโครงการออกแบบวิทยานิพนธ์ของตนเอง และสามารถ นำเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบด้วยรูปแบบและเทคนิควิธีการนำเสนอที่สอดคล้องกับรูปแบบของ คณะฯ 2) 11001 598 วิทยานิพนธ์ นักศึกษาสามารถดำเนินการจัดทำโครงการออกแบบวิทยานิพนธ์ทางด้านภูมิ สถาปัตยกรรมอย่างเป็นระบบ ตามรายละเอียดโครงการที่ได้ศึกษามาแล้วในวิชาการเตรียมข้อเสนอ โครงการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม และสามารถนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบด้วยรูปแบบและ เทคนิควิธีการนำเสนอตามรูปแบบของคณะฯ 5.3 ช่วงเวลา 1) 11001 496 การเตรียมวิทยานิพนธ์
มคอ. 2 82 ในภาคการศึกษาที่ 2 ของชั้นปีที่ 4 2) 11001 598 วิทยานิพนธ์ ภาคการศึกษาที่ 1 หรือ 2 ของการศึกษาในชั้นปีที่ 5 ทั้งนี้เพื่อให้สอดคล้องกับ การจัดสหกิจศึกษาในปีการศึกษานั้นๆ 5.4 จำนวนหน่วยกิต 1) 11001 496 การเตรียมวิทยานิพนธ์ 3 หน่วยกิต 2) 11001 598 วิทยานิพนธ์ 9 หน่วยกิต 5.5 การเตรียมการ 1) 11001 496 การเตรียมวิทยานิพนธ์ 1.1) การแนะนำการศึกษา กรอบเวลา และแผนการทำงาน 1.2) การเตรียมตัวอย่างรูปแบบการนำเสนอข้อมูลตามรูปแบบของคณะฯ 1.3) การแนะนำข้อมูลคุณสมบัติ ความเชี่ยวชาญของอาจารย์ที่ปรึกษาให้ นักศึกษาทราบเพื่อพิจารณาเลือกเป็นที่ปรึกษาโครงการ 1.4) การนำเสนอหัวโครงการให้คณะกรรมการพิจารณาความเป็นไปได้เบื้องต้น ของโครงการก่อนการจัดทำรายละเอียดโครงการ 2) 11001 598 วิทยานิพนธ์ 2.1) การแนะนำการศึกษา กรอบเวลา และแผนการทำงาน 2.2) การเตรียมตัวอย่างรูปแบบการนำเสนอข้อมูลตามรูปแบบของคณะฯ 2.3) การกำหนดความสม่ำเสมอในการส่งงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษา 2.4) การทวนสรุปรายละเอียดโครงการออกแบบโครงการให้คณะกรรมการ วิทยานิพนธ์พิจารณา 5.6 กระบวนการประเมินผล 1) 11001 496 การเตรียมวิทยานิพนธ์ 1.1) การทวนสอบความเข้าใจ วัตถุประสงค์ เป้าหมายของโครงการโดย คณะกรรมการวิทยานิพนธ์ 1.2) การพิจารณาความสม่ำเสมอในการนำส่งงานประจำสัปดาห์ต่ออาจารย์ ผู้สอนและ/หรืออาจารย์ที่ปรึกษา 1.3) การประเมินความก้าวหน้าของผลงานตามรูปแบบของคณะฯ โดย คณะกรรมการวิทยานิพนธ์
มคอ. 2 83 1.4) การประเมินความสมบูรณ์ผลงานขั้นสุดท้ายตามรูปแบบของคณะฯ โดย คณะกรรมการวิทยานิพนธ์ เพื่อสรุปผลการศึกษา 2) 11001 598 วิทยานิพนธ์ 2.1) การทวนสอบความเข้าใจโครงการโดยคณะกรรมการวิทยานิพนธ์ 2.2) การพิจารณาความสม่ำเสมอในการส่งงานต่ออาจารย์ผู้สอนและ/หรือ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ 2.3) การประเมินความก้าวหน้าของผลงานออกแบบวิทยานิพนธ์ตามรูปแบบ ของคณะฯ โดยคณะกรรมการวิทยานิพนธ์ 2.4) การประเมินความสมบูรณ์ผลงานวิทยานิพนธ์ขั้นสุดท้ายตามรูปแบบของ คณะฯ โดยคณะกรรมการวิทยานิพนธ์เพื่อสรุปผลการศึกษา
มคอ. 2 84 หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล 1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธ์หรือกิจกรรมของนักศึกษา 1. บัณฑิตมีภาวะผู้นำ มีทัศนคติที่ดี เมื่อ ต้องปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่น รับผิดชอบใน งานที่ปฏิบัติ ตรงต่อเวลา และยอมรับความ คิดเห็นของผู้อื่น กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมให้นักศึกษารู้หลักในการบริหารจัดการ เช่น 5 ส เพื่อให้เกิดกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ 2. สร้างชมรมให้เป็นเวทีในการส่งเสริมทักษะด้านการ สื่อสาร การแสดงออก และการเขียน 3. สร้างกิจกรรมกึ่งวิชาการ เพื่อเสริมสร้างภาวะความเป็น ผู้นำ 2. บัณฑิตเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม มี ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ตระหนักถึงจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพภูมิ สถาปัตยกรรม กลยุทธ์ 1. พัฒนาช่องทางการสื่อสารในด้านคุณธรรมที่เหมาะสม และทันสมัย 2. ส่งเสริมให้มีการนำคุณธรรมสู่การปฏิบัติ 3. การสอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรม ในกิจกรรม วิชาการ และวิชาชีพ 3. บัณฑิตมีทักษะด้านการออกแบบภูมิ สถาปัตยกรรมโดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อม สามารถคิดอย่างสร้างสรรค์ ประกอบ ด้วย จินตนาการ แก้ไขปัญหาในการออกแบบที่ ซับซ้อนหรือเสนอแนวทางในการแก้ไข ที่ ผสานประโยชน์ใช้สอย ความงาม และ เทคโนโลยี บริบททางสังคมและวัฒนธรรม เข้าด้วยกัน โดยเน้นที่การออกแบบภูมิ สถาปัตยกรรมอย่างยั่งยืน การออกแบบ เพื่อแก้ปัญหาสภาพแวดล้อมในระดับ ท้องถิ่นภาคเหนือ กลยุทธ์ 1. .ส่งเสริมให้นักศึกษาได้มีโอกาสปฏิบัติงานออกแบบภูมิ สถาปัตยกรรม โดยใช้โครงการจริง ในสถานที่จริง โดย คำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 2. ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมเชิงปฏิบัติการณ์ ด้านการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม ร่วมกับนักศึกษาจากสถาบันการศึกษาอื่นๆ
มคอ. 2 85 คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธ์หรือกิจกรรมของนักศึกษา 4 บัณฑิตมีทักษะความเชี่ยวชาญทางด้าน พืชพรรณ สิ่งแวดล้อม ทั้งพันธุ์ไม้ที่ใช้ในงาน ภูมิสถาปัตยกรรมทั่วไป และพันธุ์ไม้ใน ท้องถิ่นภาคเหนือ สามารถระบุ ยกตัว อย่าง จำแนก วัสดุพืชพันธุ์และการเลือกใช้ สามารถนำองค์ความรู้เหล่านั้นไป ประยุกต์ใช้ในการออกแบบวางผังพืชพรรณ ได้ มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม และตระหนักในความสำคัญของ สิ่งแวดล้อม กลยุทธ์ 1. จัดให้มีรายวิชาทางด้านพืชพรรณ และสิ่งแวดล้อม 5 รายวิชา (มากกว่ามาตรฐานทั่วไป) 2. ส่งเสริมการจัดกิจกรรมที่นักศึกษามีโอกาสได้เรียนรู้ด้าน พืชพรรณและสิ่งแวดล้อมจากสถานที่จริง เช่น สวน พฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ อุทยานหลวงราช พฤกษ์ เป็นต้น 5 บัณฑิตมีทักษะความเชี่ยวชาญด้าน เทคโนโลยีการก่อสร้างทางภูมิ สถาปัตยกรรม ทั้งในด้านทฤษฎีและการ ปฏิบัติงานจริงสามารถระบุ ยกตัวอย่าง จำแนก วัสดุและการก่อสร้าง เทคโนโลยี และโครงสร้างในการก่อสร้างได้ สามารถ นำองค์ความรู้เหล่านั้นไปประยุกต์ใช้ในการ ออกแบบก่อสร้างและตรวจสอบแบบ ก่อสร้างทางภูมิสถาปัตย กรรมได้ กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากตัวอย่างจริง ที่มีการใช้ เทคโนโลยีการก่อสร้างทางภูมิสถาปัตยกรรมที่ความ ทันสมัย 2. จัดให้มีการบูรณาการรายวิชาระหว่างรายวิชาการ ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมและรายวิชาการก่อสร้างทางภูมิ สถาปัตยกรรม เพื่อใหนักศึกษาสามารถเชื่อมโยงความรู้ทั้ง สองรายวิชาและนำไปปฏิบัติได้จริง 6. ความสามารถด้านการสื่อสารประกอบ ด้วย การใช้ภาษาต่างประเทศ มีความ สามารถในการจดจำ นำเสนอ สรุปความ และนำไปประยุกต์ใช้ภาษาอังกฤษในการ ปฏิบัติวิชาชีพได้ และทักษะทางเรขนิเทศ สามารถนำเสนอผลงานการเขียนแบบ การ แสดงแบบ ทั้งในรูป แบบ สองมิติ และสาม มิติได้ โดยใช้สื่อกราฟิกที่หลากหลาย กลยุทธ์ 1. จัดให้มีรายวิชาการสื่อสารในการปฏิบัติวิชาชีพ เพื่อ ส่งเสริมทักษะด้านภาษาเพื่อเตรียมการรองรับการเปิดเสรี ทางการศึกษา และการเปิดเสรีทางการค้าและบริการ 2. พัฒนากิจกรรมนอกห้องเรียนด้านภาษาและเรขนิเทศให้ มากขึ้นและสอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย 3. บูรณาการการฝึกความสามารถในการสื่อสารเข้ากับ รายวิชาอื่นๆ เช่น การสอดแทรกการใช้ภาษาอังกฤษในการ เรียนการสอน
มคอ. 2 86 คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธ์หรือกิจกรรมของนักศึกษา 7. บัณฑิตมีทักษะทางด้านเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ มี ความสามารถในการใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์เพื่อการเขียนแบบ ออกแบบ ค้นคว้าข้อมูล และสามารถประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสมและมี ประสิทธิภาพในการประกอบวิชาชีพ กลยุทธ์ 1. พัฒนาฐานข้อมูลและการสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ 2. การสร้างแรงจูงใจให้กับศิษย์เก่าเข้ามามีส่วนร่วมในการ ให้ข้อมูลในระบบฐานข้อมูล 3. ส่งเสริมกระบวนการทำงาน การค้นคว้าข้อมูล การ วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล รวมทั้งเทคนิคการนำเสนอ ผลงาน ด้วยการใช้คอมพิวเตอร์อย่างสร้างสรรค์ตาม มาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม 8. บัณฑิตมีทักษะทางด้านการปฏิบัติ วิชาชีพ และการเป็นนักออกแบบที่ดี สามารถระบุพื้นฐานความรู้ความ สามารถที่ จำเป็นในการปฏิบัติวิชาชีพ และนำไปใช้ได้ เช่น ด้านการศึกษา ด้านกฎหมาย ด้านการ บริหารสำนักงานออกแบบ ด้านบุคลิกภาพ และด้านจริยธรรม ความมีจิตสำนึกต่อ สังคมในการปฏิบัติวิชาชีพ กลยุทธ์ 1. พัฒนาทักษะในการปฏิบัติวิชาชีพของนักศึกษา โดย ร่วมกับสภาสถาปนิก เช่น การเข้าร่วมกิจกรรมฝึกอบรม การฟังบรรยายพิเศษ 2. เชิญวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติ วิชาชีพมาบรรยายพิเศษ 3. การสอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรม ในกิจกรรม วิชาการ และวิชาชีพ
มคอ. 2 87 2. การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน 2.1 คุณธรรม จริยธรรม 2.1.1 ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม นักศึกษาหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรม ต้องมีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ ทางวิชาชีพ (ซึ่งถือเป็นกฎเกณฑ์ทางสังคมอย่างหนึ่ง) เพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคม อย่างราบรื่น และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม ดังนั้นอาจารย์จึงต้องพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และ จรรยาบรรณทางวิชาชีพของนักศึกษาไปพร้อมกับวิทยาการต่างๆ เพื่อให้นักศึกษาผลการเรียนรู้ที่ คาดหวังด้านคุณธรรม และจริยธรรมอย่างน้อย 3 ข้อตามที่ระบุไว้ 1) มีความยึดมั่นความดีงามในทางวิชาการ ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละและมีน้ำใจ ช่วยเหลือผู้อื่น 2) มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและวัฒนธรรม และ สิ่งแวดล้อม 3) เคารพสิทธิของผู้อื่น คำนึงถึงความเสมอภาค รวมถึงระเบียบกฎเกณฑ์ใน สังคม 2.1.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม อาจารย์ผู้สอนสามารถเลือกกลยุทธ์การสอนที่เสนอแนะต่อไปนี้ และกลยุทธ์อื่นๆ ที่เหมาะสมกับลักษณะของรายวิชาเพื่อให้นักศึกษามีผลการเรียนรู้คาดหวังตามที่กำหนด 1) สอดแทรกในเนื้อหารายวิชา 2) การเรียนรู้จากสถานการณ์จริง 3) การเป็นแบบอย่างที่ดีของอาจารย์ 4) การมอบหมายงาน / กิจกรรม / โครงการ ทั้งงานส่วนบุคคลและงานกลุ่ม 5) การสอนแบบอภิปราย 2.1.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม อาจารย์ผู้สอนสามารถเลือกกลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ที่เสนอแนะต่อไปนี้ และกลยุทธ์อื่นๆ ที่เหมาะสมกับลักษณะของรายวิชา 1) ประเมินจากพฤติกรรม เช่น การเข้าชั้นเรียน พฤติกรรมในห้องสอบ การมี ส่วนร่วมในชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการร่วมกิจกรรม 2) ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
มคอ. 2 88 3) ประเมินจากผลงาน เช่น ผลงานการออกแบบในการคำนึงถึงกฎหมาย เทศ บัญญัติต่างๆ และผลกระทบต่อสังคมและคุณภาพชีวิต รวมไปถึงสิ่งแวดล้อม และการมีจริยธรรมไม่ แอบอ้างผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพ รวมทั้งงานลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยมิชอบ 2.2 ความรู้ 2.2.1 ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ นักศึกษาต้องมีความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาที่ศึกษา ทั้งในด้านวิชาการ และวิชาชีพ เพื่อใช้ในการประกอบอาชีพและดำรงชีวิตในสังคม ดังนั้นอาจารย์จึงต้องจัดการเรียนการสอน เพื่อให้ นักศึกษามีผลการเรียนรู้ที่คาดหวังด้านความรู้ อย่างน้อย 3 ข้อตามที่ระบุไว้ 1) มีความสามารถอธิบายหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาวิชา 2) มีความสามารถในการบูรณาการเนื้อหาในสาขาวิชาชีพและสาขาวิชาที่ เกี่ยวข้อง 3) มีความสามารถประเมินค่า โดยอาศัยข้อเท็จจริงในการตัดสินใจ 2.2.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้ อาจารย์ผู้สอนสามารถเลือกกลยุทธ์การสอนที่เสนอแนะต่อไปนี้ และกลยุทธ์อื่นๆ ที่เหมาะสมกับลักษณะของรายวิชาเพื่อให้นักศึกษามีผลการเรียนรู้คาดหวังตามที่กำหนด 1) จัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (Student centered) เลือกใช้เทคนิคการสอนที่หลากหลาย โดยให้สัมพันธ์กับเนื้อหาของรายวิชา มีการบรรยายถึงหลักการ และบริบทของทฤษฎีนั้นๆ 2) การจัดการเรียนการสอนที่สร้างประสบการณ์ในการทำงานจริงให้แก่ นักศึกษา เช่น การจัดสหกิจศึกษา การเรียนการสอนโดยใช้โครงการจริง การศึกษาดูงาน การ วิเคราะห์กรณีศึกษา การเชิญผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอก หรืออาจารย์จากต่างประเทศ มาให้ความรู้ เป็นวิทยากร และการทำกิจกรรมร่วมกับสถาบันต่างๆ เป็นต้น 3) การศึกษาดูงานด้านภูมิทัศน์ในสถานที่จริง 4) ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะความสามารถในการค้นคว้าด้วยตนเอง ทั้งในและ นอกห้องเรียน 2.2.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้ ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษา ในด้านต่าง ๆ คือ 1) ประเมินจากผลงานต่างๆ ที่มอบหมาย 2) ประเมินจากผลการสอบ
มคอ. 2 89 3) ประเมินจากการนำเสนอผลงาน และการสอบปากเปล่า ทั้งนี้อาจกำหนดให้มีการประเมินผลโดยผู้มีส่วนร่วมต่างๆ เช่น นักศึกษาในชั้น เรียน เจ้าของโครงการ ชุมชน ศิษย์เก่า ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ใช้บัณฑิตเป็นต้น เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำ ผลการประเมินไปพัฒนาตนเองได้อย่างเหมาะสมต่อไป 2.3 ทักษะทางปัญญา 2.3.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา นักศึกษาต้องสามารถพัฒนาตนเองและประกอบวิชาชีพการงานโดยพึ่งตนเองได้ ดังนั้นอาจารย์ต้องจัดการเรียนการสอนให้นักศึกษาพัฒนาทักษะทางปัญญา เพื่อให้นักศึกษาต้องมีผล การเรียนรู้ที่คาดหวังด้านทักษะทางปัญญา ดังนี้ 1) มีความสามารถเชิงคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์อย่างเป็นระบบ 2) มีความสามารถในการประยุกต์ความรู้ไปบูรณาการกับศาสตร์อื่นๆ ที่ เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ปัญหาได้ 3) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม/องค์ความรู้ใหม่ได้ 2.3.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา อาจารย์ผู้สอนสามารถเลือกกลยุทธ์การสอนที่เสนอแนะต่อไปนี้ และกลยุทธ์อื่นๆ ที่เหมาะสมกับลักษณะของรายวิชาเพื่อให้นักศึกษามีผลการเรียนรู้คาดหวังตามที่กำหนด 1) จัดการเรียนการสอนที่เน้นกระบวนการคิดอย่างสร้างสรรค์ ผ่านการแก้ปัญหา ในงานออกแบบ และการทำผลงานในรายวิชาต่างๆ 2) จัดการเรียนการสอนที่เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ และการแก้ไขปัญหาโดย ใช้ปัญญาและหลักฐานเชิงประจักษ์ 3) จัดการเรียนการสอนโดยชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีกับสิ่งต่างๆใน ธรรมชาติ เพื่อง่ายในการเข้าใจหรืออาจนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน และตระหนักถึง ความสำคัญของการสร้างสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ดี 4) จัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้เกิดการนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติจริง เช่น การเรียนรู้จากโครงการจริง ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง ทั้งในงานออกแบบและด้านอื่นๆ เพื่อให้ได้ฝึกฝนในการแก้ปัญหา 5) มอบหมายงานให้ผู้เรียนได้มีการฝึกฝนทักษะด้านต่างๆ รู้จักคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหา และสามารถชี้นำตนเองในการเรียนรู้ (Self directed Learning) มีการพัฒนาค้นหาความรู้ มานำเสนอ เพื่อสร้างทักษะในการอภิปราย นำเสนอ และแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกัน 6) เปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียน
มคอ. 2 90 7) ส่งเสริมการเข้าร่วมการประกวดแบบต่างๆ รวมทั้งกิจกรรมอื่นที่ช่วยพัฒนา ทักษะทางปัญญาแก่นักศึกษา 2.3.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษา ในด้านต่างๆ คือ 1) ประเมินจากผลงานต่างๆ ที่มอบหมาย ทั้งงานส่วนบุคคลและงานกลุ่ม 2) ประเมินจากผลการสอบ 3) ประเมินจากการนำเสนอผลงาน และการสอบปากเปล่า 4) ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม เช่น การปฏิบัติงานของนักศึกษา 5) ประเมินจากผลงานการเข้าร่วมประกวดแบบ 2.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 2.4.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ความสามารถที่จะพัฒนาความสัมพันธ์กับกลุ่มคนต่าง ๆ เป็นเรื่องสำคัญ ทั้ง ในทางการดำเนินชีวิตและทางวิชาชีพ ดังนั้นอาจารย์ต้องจัดการเรียนการสอนเพื่อให้นักศึกษามี คุณสมบัติต่าง ๆ ดังนี้ 1) มีจิตสำนึกต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 2) มีความสามารถในการปรับตัวในการทำงานร่วมกับผู้อื่น 3) มีภาวะการเป็นผู้นำ ช่วยเหลือผู้อื่น และแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้ อย่างเหมาะสม 2.4.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและความรับผิดชอบ อาจารย์ผู้สอนสามารถเลือกกลยุทธ์การสอนที่เสนอแนะต่อไปนี้ และกลยุทธ์อื่นๆ ที่เหมาะสมกับลักษณะของรายวิชาเพื่อให้นักศึกษามีผลการเรียนรู้คาดหวังตามที่กำหนด 1) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ช่วยส่งเสริมศักยภาพของผู้เรียน มุ่งเน้น สมรรถนะ (Competency based) และวิธีการปฏิบัติพร้อมๆ กับการบูรณาการองค์ความรู้ เพื่อให้ ผู้เรียนสามารถแสดงศักยภาพจากการเรียนรู้ มีทักษะการปฏิบัติงานได้จริง และสำนึกในคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ 2) การมอบหมายงานกลุ่มแก่นักศึกษา 3) การมอบหมายกิจกรรม โครงการจริงแก่นักศึกษา เพื่อฝึกฝนความรับผิดชอบ และการทำงานร่วมกับผู้อื่นที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับกิจกรรม โครงการนั้น
มคอ. 2 91 4) การเปิดโอกาสให้นักศึกษาเสนอความคิดเห็น และร่วมวางแผนการดำเนิน กิจกรรมโครงการต่างๆ ทั้งที่เกี่ยวข้องกับการเรียน และไม่เกี่ยวข้องกับการเรียน 2.4.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษา โดยผู้สอนอาจ พิจารณาเลือกจากกลยุทธ์ที่เสนอแนะต่อไปนี้ หรือกลยุทธ์อื่นที่เหมาะสมกับลักษณะของรายวิชา 1) ทั้งนี้ อาจกำหนดให้มีการประเมินผลโดยผู้มีส่วนร่วมต่างๆ เช่น ประเมินจาก ผลงานต่างๆ ที่มอบหมาย 2) ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม นักศึกษาในชั้นเรียน เจ้าของโครงการ ชุมชน ศิษย์เก่า ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ใช้บัณฑิต เป็นต้น เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำผลการประเมินไปพัฒนาตนเองได้อย่างเหมาะสมต่อไป 2.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 2.5.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทค โนโลยีสารสนเทศ นักศึกษาต้องมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการเทคโนโลยี สารสนเทศขั้นต่ำ ดังนี้ 1) มีความสามารถเลือกใช้ทักษะทางภาษาและรูปแบบการสื่อสารที่เหมาะสม 2) มีความสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการรวบรวมข้อมูล ติดต่อสื่อสาร จัดการและนำเสนอข้อมูลได้ 3) มีความสามารถนำเทคนิคทางสถิติ และทางคณิตศาสตร์พื้นฐานมาใช้ใน การศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ และนำเสนอประเด็นต่างๆ ได้ 2.5.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัว เลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ผู้สอนสามารถเลือกกลยุทธ์การสอนที่เสนอแนะต่อไปนี้ และกลยุทธ์อื่นๆ ที่เหมาะสมกับลักษณะของรายวิชาเพื่อให้นักศึกษามีผลการเรียนรู้คาดหวังตามที่กำหนด 1) การมอบหมายงาน กิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้ และ ฝึกฝนทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 2) การมอบหมายให้นักศึกษาถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ทั้งในเชิงวิชาการ และวิชาชีพแก่ผู้อื่น ผ่านช่องทางการสื่อสารต่างๆ อย่างเหมาะสม
มคอ. 2 92 3) การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เป็นสื่อการสอน เพื่อให้เป็นแบบอย่าง รวมทั้งเสนอแนะเทคนิคแนวทางต่างๆ ที่เกี่ยวข้องแก่นักศึกษา 2.5.3 กลยุทธ์การประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษา โดยผู้สอนอาจ พิจารณาเลือกจากกลยุทธ์ที่เสนอแนะต่อไปนี้ หรือกลยุทธ์อื่นที่เหมาะสมกับลักษณะของรายวิชา 1) ประเมินจากการสอบ 2) ประเมินจากผลงานต่าง ๆ ที่มอบหมาย 3) ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม ทั้งนี้อาจกำหนดให้มีการประเมินผลโดยผู้มีส่วนร่วมต่าง ๆ เช่น นักศึกษาในชั้น เรียน เจ้าของโครงการ ชุมชน ศิษย์เก่า ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ใช้บัณฑิตเป็นต้น เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำ ผลการประเมินไปพัฒนาตนเองได้อย่างเหมาะสมต่อไป
มคอ. 2 93 3. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้สู่รายวิชา (Curriculum Mapping) รายวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ 5.ทักษะการ วิเคราะห์ การ สื่อสาร และ เทคโนโลยี สารสนเทศ 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุ่มความรู้ดา้นสังคมและวัฒนธรรม 10700 101 สังคมโลกสมัยใหม่ใน ชีวิตประจำวัน ● ● ● ● ● ○ ● ● ● ● ○ ● ● 10700 102 อารยธรรมและโลก สมัยใหม่ ● ● ○ ● ● ● ● ○ ● ● ○ ● ● 10700 103 ประวัติศาสตร์และ พัฒนาการของล้านนา ● ● ○ ● ● ● ● ○ ● ● ○ ● ● 10700 104 ผู้สูงอายุและสังคมผู้สูง วัย ● ● ● ● ● ○ ● ● ○ ● ● ○ ● ○ ○ 10700 105 มนุษย์ สังคม เทคโนโลยีและ สิ่งแวดล้อม ● ● ● ● ● ● ● ● ● ● ● ● ● ● ● 10700 106 สังคมและวัฒนธรรม ไทย ● ● ○ ● ● ● ● ● ○ ● ● 10700 107 วรรณกรรมไทยร่วม สมัยกับการเกษตรและ สิ่งแวดล้อม ● ○ ● ○ ● ○ ● ○ ● 10700 108 อาหารกับสังคม ● ● ○ ● ● ● ● ● ● ○ ● ● 10700 109 จิตอาสาเพื่อพัฒนา สังคม ● ● ● ● ● ○ ● ● ○ ● ● ● ● ● 11400 110 เศรษฐกิจพอเพียงและ การพัฒนาทียั่งยืน ● ● ● ● ● ○ ○ ● ● ● ● ● ● ● ○ 11400 111 อาเซียนศึกษา ● ● ○ ● ○ ○ ● ● ○ ● ● ○ ○ ○ ○ 11400 112 การต่อต้านการทุจริต ● ● ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● 10800 113 พลเมืองดิจิทัล ● ● ● ● ● ○ ● ● ○ ● ● ○ ● ● ○ 10800 114 ความฉลาดทางดิจิทัล ● ● ● ● ● ○ ● ● ● ● ● ● ● ● ○
มคอ. 2 94 รายวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทาง ปัญญา 4.ทักษะ ความสัม พันธ์ ระหว่าง บุคคล และ ความ รับผิดชอ บ 5.ทักษะการ วิเคราะห์ การ สื่อสาร และ เทคโนโลยี สารสนเทศ 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุ่มความรู้ดานคุณค่าความเป็นมนุษย์และการใช้ชีวิต 10700 201 จิตวิทยากับพฤติกรรม มนุษย์ ● ● ● ● ● ● ● ● ● ● ● 10700 202 สุขภาพสำหรับคนรุ่น ใหม่ ● ● ○ ● ○ ● ○ ● ○ ● ○ 10700 203 ศาสตร์และศิลป์แห่ง ปัญญาชน ● ● ● ● ● ○ ● ● ○ ● ● ○ ● ○ ○ 10700 204 มนุษย์กับความงามทาง ศิลปะ ● ● ○ ● ● ● ● ○ ● ● ○ ● ● 10700 205 ศิลปะกับความคิด สร้างสรรค์ ● ● ○ ● ● ● ● ○ ● ● ○ ● ● 10700 206 คติชนวิทยา ● ● ○ ● ● ● ● ○ ● ● ○ ● ● 10700 207 ศิลปะและโบราณคดีใน ประเทศไทยเพื่อ สุนทรียะ ● ● ● ● ● ● ● ● ● ● ● 10700 208 จิตวิทยาการปรับตว ส˚าหรับชีวิตสมัยใหม่ ● ● ● ● ● ● ● ● ● ● ● ● ● 10700 209 จิตวิทยาเพื่อการดำเนิน ชีวิตในสังคมสมัยใหม่ ● ● ○ ● ● ● ● ● ● ● ● ● 10700 210 ความสุขและ ความสำเร็จในการ ทำงาน ● ● ○ ● ○ ● ○ ● ○ ○ ● 10700 211 การพัฒนาบุคลิกภาพ ความเป็น ผู้ประกอบการที่ยั่งยืน ● ● ● ○ ● ○ ● ○ ● 10700 212 วรรณคดีกับชีวิต ● ● ○ ● ○ ● ● ○ ● ○ ○ ● ● 10700 213 วัฒนธรรมข้าวและ ประเพณีชาวนาไทย ● ● ● ● ● ○ ● ○ ● ● ○ ○ 10100 214 เกษตรเพื่อชีวิต ● ● ● ● ● ○ ○ ● ○ ● ○ ○ ● ○ ○
มคอ. 2 95 รายวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะ ทาง ปัญญา 4.ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล และความ รับผิดชอบ 5.ทักษะการ วิเคราะห์ การ สื่อสาร และ เทคโนโลยี สารสนเทศ 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุ่มความรู้ดา้นภาษาและการสื่อสาร รายวิชาภาษาไทย 10700 301 ภาษาไทยเพื่อการนำเสนอ ○ ● ○ ● ● ○ ● ● ● ● ○ ● ● 10700 302 การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ○ ● ○ ● ○ ● ● ○ ● ● ○ ● ● 10700 303 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร สำหรับชาวต่างประเทศ ○ ● ○ ● ○ ● ● ○ ● ● ○ ● ● 10700 304 ภาษาไทยเพื่องานเขียน เชิงวิชาการ ● ● ○ ● ○ ● ○ ● ○ ● ○ 10700 305 ภาษาไทยสำหรับหน่วยงาน ราชการ ● ● ○ ● ● ● ● ● ○ ○ ● ○ 10700 306 ภาษาไทยเพื่อกจธุระ ยุคดิจิทัล ● ● ○ ● ○ ● ○ ● ○ ● ○ รายวิชาภาษาต่างประเทศ 10700 307 ทักษะภาษาอังกฤษสำหรับ ศตวรรษที่ 21 ● ● ○ ● ○ ● ○ ● ○ ● ○ 10700 308 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ● ● ○ ● ○ ● ○ ● ● ● ● ● 10700 309 สนทนาภาษาอังกฤษ ● ● ○ ● ○ ● ○ ● ○ ● ○ 10700 310 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับธุรกิจและสตาร์ทอัพ ○ ● ○ ● ● ○ ● ○ ○ ○ ● ○ 10700 311 ภาษาอังกฤษเพื่อการ สมัครงาน ○ ● ○ ● ● ○ ○ ○ ● ● 10700 312 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ ● ● ○ ● ● ● ● ● ● ● ● ● 10700 313 ภาษาอังกฤษเชิงวิทยาศาสตร และนวัตกรรม ○ ● ○ ● ○ ● ○ ● ● ○ ● ● ○ 10700 314 ภาษาอังกฤษสำหรับวิชาชีพ เกษตร ● ● ○ ● ○ ● ○ ● ○ ● ○ 10700 315 ภาษาอังกฤษเพื่อสังคมโลก ● ● ○ ● ○ ● ○ ● ○ ● ○ 10700 316 ภาษาอังกฤษเชิงวิทยา ศาสตร์และเทคโนโลยี สีเขียวในชีวิตประจำวน ○ ● ● ○ ● ○ ● ● ○ ○
มคอ. 2 96 รายวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะ ทาง ปัญญา 4.ทักษะ ความสั มพันธ์ ระหว่าง บุคคล และ ความ รับผิดช อบ 5.ทักษะการ วิเคราะห์ การ สื่อสาร และ เทคโนโลยี สารสนเทศ 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุ่มความรู้ดา้นภาษาและการสื่อสาร รายวิชาภาษาต่างประเทศ (ต่อ) 10700 317 ภาษาอังกฤษเพื่อผู้ประกอบ การทางการเกษตรสร้างสรรค์ ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ● 10700 318 ภาษาอังกฤษสำหรับ การท่องเที่ยวสมยใหม่ ● ● ○ ● ○ ● ○ ● ○ ● ○ 10700 319 ภาษาอังกฤษสำหรับ ผู้ประกอบการและ การค้าระหว่างประเทศ ● ● ○ ● ○ ● ○ ● ○ ● ○ 10700 320 ภาษาอังกฤษเพื่อ การศึกษาต่อและการ ประกอบอาชีพ ● ● ○ ● ● ● ○ ● ○ ○ ● ● 10700 321 ภาษาอังกฤษเพื่อการ สื่อสารด้านการเกษตร ● ● ○ ● ○ ● ○ ● ○ ● ○ 10700 322 ภาษาอังกฤษสำหรับ วิชาชีพบัญชี ● ● ● ● ● ● ● ● ● ● ● ● กลุ่มความรู้ดา้นการคิดคำนวณ การใชเหตุผลและเทคโนโลยี 10700 401 การรู้สารสนเทศ ● ○ ○ ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ● 10700 402 การใช้ชีวิตในสังคมดิจิทัล ตาม มคอ.1 คอมพิวเตอร์ แนบท้าย 10300 403 โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อ การศึกษา ตาม มคอ.1 คอมพิวเตอร์ แนบท้าย 10300 404 การตัดสินใจในชีวิตประจำวัน ○ ○ ○ ● ● ● ● ● ● ○ ● ○ 10300 405 การคำนวณทางธุรกิจ และการลงทุนสำหรับ ผู้ประกอบการยุคใหม่ ● ● ● ● ● ● 10400 406 นานาสาระเกียวกับ อาหารและยา ○ ● ○ ● ○ ○ ● ● ○ ○ ○ ● ○ 10400 407 ทักษะดิจิทัลในศตวรรษที่ 21 ● ● ○ ● ● ● ○ ● ● ● ● 10400 480 อาหารและเทคโนโลยี ○ ● ○ ● ○ ○ ● ● ○ ○ ○ ● ○ 10300 409 คณิตศาสตร์เพื่อชีวิตสมัยใหม่ ● ● ● ● ● ● 10300 410 ความฉลาดรู้ด้านวิทยาศาสตร สำหรับโลกสมัยใหม่ ● ● ● ● ● ● 10300411 วิทยาศาสตร์เพื่อชวิต ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ○ ● ○ ● ● ●
มคอ. 2 97 รายวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทาง ปัญญา 4.ทักษะ ความสัม พันธ์ ระหว่าง บุคคล และ ความ รับผิดชอ บ 5.ทักษะการ วิเคราะห์ การ สื่อสาร และ เทคโนโลยี สารสนเทศ 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุ่มความรู้ด้านการคิดคำนวณ การใชเหตุผลและเทคโนโลยี (ต่อ) 10300412 การพัฒนาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ○ ● ○ ● ● ● 10300 413 วิทยาศาสตร์รอบตัวใน ศตวรรษที่ 21 ● ● ● ● ● ● ● ● กลุ่มความรู้ดานการเป็นผู้ประกอบการ (ELO 5) 10500 501 เศรษฐศาสตร์เพื่อชีวิตประจำ วันและการประกอบการ ○ ● ● ● ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ○ 10400 502 ผู้ประกอบการนวัตกรรมทาง การเกษตร ● ● ○ ● ● ○ ● ● ○ ● ● ○ ● ○ ○ 10200 503 การประยุกต์ใช้โปรแกรม สำเร็จรูปทางธุรกิจ ● ● ● ○ ● ○ ● 10200 504 การเป็นผู้ประกอบการ ● ● ○ ● ○ ● ○ ● ○ ● 10200 505 การตลาดบนสมาร์ทโฟน ● ○ ● ● ● 10200 506 การวางแผนการเงินในชีวิต ประจำวัน ● ● ○ ○ ● ● ● ● 10200 507 ภาษีอากรสำหรับ ผู้ประกอบการ ○ ● ○ ○ ○
มคอ. 2 98 รายวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทาง ปัญญา 4.ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล และความ รับผิดชอบ 5.ทักษะการ วิเคราะห์ การ สื่อสาร และ เทคโนโลยี สารสนเทศ 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 2. หมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ 11001 113 ประวัติศาสตร์ศิลปะและ สถาปัตยกรรม            11001 114 เลขะนิเทศ 1           11001 115 เลขะนิเทศ 2           11001 121 ภูมิสถาปัตยกรรมเบื้องต้น             11001 122 ประวัติภูมิสถาปัตยกรรม              11001 182 การออกแบบสถาปัตยกรรม                11001 224 คอมพิวเตอร์สำหรับงานภูมิ สถาปัตยกรรม                11001 251 วัสดุพืชพรรณและการเลือกใช้ 1           11001 252 วัสดุพืชพรรณและการเลือกใช้ 2           11002 270 กลศาสตร์โครงสร้างสำหรับงาน สถาปัตยกรรมและงานภูมิทัศน์           11001 323 นวัตกรรมในงานภูมิ สถาปัตยกรรม             11001 325 ภูมิสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นล้านนา             11001 330 แนวคิดและปรัชญาในงานภูมิ สถาปัตยกรรม             11001 364 การวิเคราะห์เชิงนิเวศและ สิ่งแวดล้อม            11002 376 ระบบโครงสร้างงาน สถาปัตยกรรมและภูมิสถาปัตยกรรม            11001 490 กฎหมายที่ดิน ผังเมือง และ สิ่งแวดล้อม           กลุ่มวิชาชีพ กลุ่มวิชาชีพ บังคับ 11001 112 การออกแบบเบื้องต้น              11001 226 การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ ข้อมูลในงานภูมิสถาปัตยกรรม               11001 231 การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 1               11001 332 การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 2               11001 333 การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 3               11001 434 การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 4               
มคอ. 2 99 รายวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทาง ปัญญา 4.ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล และความ รับผิดชอบ 5.ทักษะการ วิเคราะห์ การ สื่อสาร และ เทคโนโลยี สารสนเทศ 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 11001 435 การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 5                11001 237 การออกแบบร่างภูมิสถาปัตยกรรม 1           11001 338 การออกแบบร่างภูมิสถาปัตยกรรม 2           11001 339 การออกแบบร่างภูมิสถาปัตยกรรม 3           11001 353 การออกแบบวางผังพืชพรรณ 1               11001 354 การออกแบบวางผังพืชพรรณ 2               11001 341 การก่อสร้างทางภูมิสถาปัตยกรรม 1            11001 342 การก่อสร้างทางภูมิสถาปัตยกรรม 2            11001 443 การก่อสร้างทางภูมิสถาปัตยกรรม 3            11001 444 การก่อสร้างทางภูมิสถาปัตยกรรม 4            11001 446 การบริหารงานก่อสร้างและการ ดูแลรักษางานภูมิสถาปัตยกรรม              11001 496 การเตรียมวิทยานิพนธ์                11001 593 การปฏิบัติวิชาชีพภูมิ สถาปัตยกรรม          11001 598 วิทยานิพนธ์                สถ 497 สหกิจศึกษา                สถ 498 การเรียนรู้อิสระ                สถ 499 การศึกษา หรือ ฝึกงาน หรือ ฝึกอบรมต่างประเทศ                กลุ่มวิชาชีพ เลือก 11001 110 ศิลปนิยม        11001 225 คอมพิวเตอร์ขั้นสูงในงานภูมิสถา ปัตยกรรม               11001 166 ภูมิศาสตร์กายภาพ             11001 261 นิเวศวิทยาและหลักอนุรักษ์ วิทยา             11001 340 วัสดุและเทคนิควิธีการก่อสร้าง ภูมิทัศน์          11001 367 นิเวศวิทยาภูมิทัศน์            11001 394 การสื่อสารในการปฏิบัติวิชาชีพ         
มคอ. 2 100 รายวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทาง ปัญญา 4.ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล และความ รับผิดชอบ 5.ทักษะการ วิเคราะห์ การ สื่อสาร และ เทคโนโลยี สารสนเทศ 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 11001 395 ปฏิบัติงานภูมิสถาปัตยกรรมภาค สนาม               11001 448 การจัดการพื้นที่นันทนาการ             11001 449 ภูมิทัศน์วัฒนธรรม          11001 462 การออกแบบสิ่งแวดล้อมในงาน สถาปัตยกรรม           11001 463 ภูมิสารสนเทศเพื่องานภูมิ สถาปัตยกรรม            11001 465 โทรสัมผัสเพื่อการวางแผนที่ดิน            11001 471 การวางผังเมืองและชุมชนอย่าง ยั่งยืน               11001 472 การอนุรักษ์และการฟื้นฟูชุมชน เมือง          11001 473 การประเมินผลกระทบ สิ่งแวดล้อมเมือง               11001 494 ภูมิสถาปัตยกรรมเชิงปฏิบัติการ                11001 498 ภูมิทัศนศึกษาภายในประเทศ           11001 499 ภูมิทัศนศึกษาต่างประเทศ           11001 599 สัมมนาภูมิสถาปัตยกรรม             ภท 441 การบริหารจัดการธุรกิจภูมิทัศน์               ภท 461 การประเมินผลกระทบทางสายตา               หมวดวิชาเลือกเสรี หมายเหตุ :  หมายถึงความรับผิดชอบหลัก  หมายถึงความรับผิดชอบรอง
มคอ. 2 101 4. ผลการเรียนรู้ระดับหลักสูตร และสอดคล้องกับ Bloom Taxonomy ระดับใด PLO Outcome Statement Specific LO Generic LO Level 1 ทักษะและความรู้พื้นฐานในศตวรรษที่ 21: สามารถจดจำ นำเสนอ สรุปความ และนำไป ประยุกต์ใช้ ความรู้พื้นฐานในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ความรู้ด้านภาษาอังกฤษ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทำงานเป็นทีม และด้านจรรยาบรรณ ✓ U, A 2 ทักษะและความรู้พื้นฐานสำหรับวิชาชีพ : สามารถจดจำ อธิบายเกี่ยวกับทฤษฎีการออกแบบภูมิ สถาปัตยกรรม ประวัติศาสตร์ภูมิสถาปัตยกรรมได้ และสามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างองค์ความรู้ นั้นๆ กับการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมในปัจจุบันได้ ✓ U, A 3 ทักษะและความรู้พื้นฐานทางด้านศิลปะและการ สื่อสารด้วยกราฟิก : สามารถจดจำ อธิบายเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ศิลปะและสถาปัตยกรรมได้ สามารถ นำเสนอผลงานการเขียนแบบ การแสดงแบบ ทั้งในรูป แบบสองมิติ และสามมิติได้ โดยใช้สื่อกราฟิกที่ หลากหลาย ✓ U, Ap 4 ทักษะและความรู้ในสาขาวิชาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง : สามารถอธิบาย ยกตัวอย่าง จำแนก ปฏิบัติการ ออกแบบขั้นต้น งานทางด้านสถาปัตยกรรม และการ วางผังเมืองได้ และสามารถเชื่อมโยงบูรณาการองค์ ความรู้นั้นๆ กับการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม ✓ U, A, E 5 ทักษะและความรู้ด้านการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม : สามารถคิดอย่างสร้างสรรค์ประกอบด้วยจินตนาการ แก้ไขปัญหาในการออกแบบที่ซับซ้อนในระดับต่าง ๆ หรือเสนอแนวทางในการแก้ไข ที่ผสานประโยชน์ใช้ สอย ความงาม และเทคโนโลยี บริบททางสังคมและ วัฒนธรรมเข้าด้วยกัน ✓ U, A, E
มคอ. 2 102 PLO Outcome Statement Specific LO Generic LO Level 6 ทักษะและความรู้ด้านเทคโนโลยีการก่อสร้างทางภูมิ สถาปัตยกรรม : สามารถระบุ ยกตัวอย่าง จำแนก วัสดุและการก่อสร้าง เทคโนโลยีและโครงสร้างใน การก่อสร้างได้ สามารถนำองค์ความรู้เหล่านั้นไป ประยุกต์ใช้ในการออกแบบก่อสร้างและตรวจสอบ แบบก่อสร้างทางภูมิสถาปัตยกรรมได้ ✓ U, A, E 7 ทักษะและความรู้ทางด้านพืชพรรณและสิ่งแวดล้อม : สามารถระบุ ยกตัวอย่าง จำแนก วัสดุพืชพันธุ์และ การเลือกใช้ สามารถนำองค์ความรู้เหล่านั้นไป ประยุกต์ใช้ในการออกแบบวางผังพืชพรรณและ ตรวจสอบการวางผังพืชพรรณได้ มีความรู้พื้นฐาน เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม และตระหนักในความสำคัญ ของสิ่งแวดล้อม ✓ U, A 8 ทักษะและความรู้ทางด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และสารสนเทศ : มีความสามารถในการใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์เพื่อการเขียนแบบ ออกแบบ ค้นคว้า ข้อมูล และสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีได้อย่าง เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการประกอบวิชาชีพ ✓ U, A 9 ทักษะและความรู้ทางด้านการปฏิบัติวิชาชีพ และ การเป็นนักออกแบบที่ดี : สามารถระบุพื้น ฐานความรู้ความ สามารถที่จำเป็นในการปฏิบัติ วิชาชีพ และนำไปใช้ได้ เช่น ด้านการศึกษา ด้าน กฎหมาย ด้านการบริหารสำนักงานออกแบบ ด้าน บุคลิกภาพ และด้านจริยธรรม ความมีจิตสำนึกต่อ สังคมในการปฏิบัติวิชาชีพ ✓ U, A 10 บูรณาการทักษะ ความรู้ และสหกิจศึกษา : สามารถ นำเอาองค์ความรู้ทั้งหมดมาบูรณาการร่วมกัน และ นำไปใช้ในการปฏิบัติวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรมได้ ✓ U, A, E Bloom’s Taxonomy: U = Remembering/Understanding, A = Applying/Analyzing,

E = Evaluating/Creating

มคอ. 2 103
มคอ. 2 104 5. ความสัมพันธ์ระหว่างผลการเรียนรู้ของหลักสูตรกับความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย PLO รายละเอียด สกอ. ผู้ใช้ งาน บัณฑิต วิชา ชีพ ภาค สังคม อื่นๆ 1 ทักษะและความรู้พื้นฐานในศตวรรษที่ 21: สามารถจดจำ นำเสนอ สรุปความ และนำไป ประยุกต์ใช้ ความรู้พื้นฐานในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ความรู้ด้านภาษาอังกฤษ ด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ ด้านทำงานเป็นทีม และด้าน จรรยาบรรณ F M F 2 ทักษะและความรู้พื้นฐานสำหรับวิชาชีพ : สามารถจดจำ อธิบายเกี่ยวกับทฤษฎีการ ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม ประวัติศาสตร์ภูมิ สถาปัตยกรรมได้ และสามารถเชื่อมโยง ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ความรู้นั้นๆ กับการ ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมในปัจจุบันได้ F F F M 3 ทักษะและความรู้พื้นฐานทางด้านศิลปะและการ สื่อสารด้วยกราฟิก : สามารถจดจำ อธิบาย เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ศิลปะและสถาปัตยกรรม ได้ สามารถนำเสนอผลงานการเขียนแบบ การ แสดงแบบ ทั้งในรูป แบบสองมิติ และสามมิติได้ โดยใช้สื่อกราฟิกที่หลากหลาย M M M P 4 ทักษะและความรู้ในสาขาวิชาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง : สามารถอธิบาย ยกตัวอย่าง จำแนก ปฏิบัติการ ออกแบบขั้นต้น งานทางด้านสถาปัตยกรรม และ การวางผังเมืองได้ และสามารถเชื่อมโยงบูรณา การองค์ความรู้นั้นๆ กับการออกแบบภูมิ สถาปัตยกรรม F F F F 5 ทักษะและความรู้ด้านการออกแบบภูมิ สถาปัตยกรรม : สามารถคิดอย่างสร้างสรรค์ ประกอบด้วยจินตนาการ แก้ไขปัญหาในการ ออกแบบที่ซับซ้อนในระดับต่าง ๆ หรือเสนอ F F F F
มคอ. 2 105 PLO รายละเอียด สกอ. ผู้ใช้ งาน บัณฑิต วิชา ชีพ ภาค สังคม อื่นๆ แนวทางในการแก้ไข ที่ผสานประโยชน์ใช้สอย ความงาม และเทคโนโลยี บริบททางสังคมและ วัฒนธรรมเข้าด้วยกัน PLO รายละเอียด สกอ. ผู้ใช้ งาน บัณฑิต วิชา ชีพ ภาค สังคม อื่นๆ 6 ทักษะและความรู้ด้านเทคโนโลยีการก่อสร้างทาง ภูมิสถาปัตยกรรม : สามารถระบุ ยกตัวอย่าง จำแนก วัสดุและการก่อสร้าง เทคโนโลยีและ โครงสร้างในการก่อสร้างได้ สามารถนำองค์ ความรู้เหล่านั้นไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบ ก่อสร้างและตรวจสอบแบบก่อสร้างทางภูมิ สถาปัตยกรรมได้ F F F F 7 ทักษะและความรู้ทางด้านพืชพรรณและ สิ่งแวดล้อม : สามารถระบุ ยกตัวอย่าง จำแนก วัสดุพืชพันธุ์และการเลือกใช้ สามารถนำองค์ ความรู้เหล่านั้นไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบวาง ผังพืชพรรณและตรวจสอบการวางผังพืชพรรณได้ มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม และ ตระหนักในความสำคัญของสิ่งแวดล้อม M F M 8 ทักษะและความรู้ทางด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และสารสนเทศ : มีความสามารถในการใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์เพื่อการเขียนแบบ ออกแบบ ค้นคว้า ข้อมูล และสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีได้อย่าง เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการประกอบวิชาชีพ F F F F 9 ทักษะและความรู้ทางด้านการปฏิบัติวิชาชีพ และ การเป็นนักออกแบบที่ดี : สามารถระบุพื้น ฐานความรู้ความ สามารถที่จำเป็นในการปฏิบัติ วิชาชีพ และนำไปใช้ได้ เช่น ด้านการศึกษา ด้าน P M F
มคอ. 2 106 กฎหมาย ด้านการบริหารสำนักงานออกแบบ ด้าน บุคลิกภาพ และด้านจริยธรรม ความมีจิตสำนึกต่อ สังคมในการปฏิบัติวิชาชีพ 10 บูรณาการทักษะ ความรู้ และสหกิจศึกษา : สามารถนำเอาองค์ความรู้ทั้งหมดมาบูรณาการ ร่วมกัน และนำไปใช้ในการปฏิบัติวิชาชีพภูมิ สถาปัตยกรรมได้ F F F F 6. ความสัมพันธ์ระหว่าง PLOs กับรายวิชา และผลการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานคุณวุฒิ ของหลักสูตร
มคอ. 2 107 7. ความสัมพันธ์ระหว่าง PLOs กับมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้าน (ตามมาตรฐานคุณวุฒิของแต่ ละสาขาวิชา) PLO/รายวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทาง ปัญญา 4.ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล และความ รับผิดชอบ 5.ทักษะการ วิเคราะห์ การ สื่อสาร และ เทคโนโลยี สารสนเทศ 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 PLO 1 ทักษะและความรู้พื้นฐานใน ศตวรรษที่ 21: สามารถจดจำ นำเสนอ สรุป ความ และนำไปประยุกต์ใช้ ความรู้พื้นฐาน ในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ความรู้ด้าน ภาษาอังกฤษ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทำงานเป็นทีม และด้านจรรยาบรรณ              PLO 2 ทักษะและความรู้พื้นฐานสำหรับ วิชาชีพ : สามารถจดจำ อธิบายเกี่ยวกับ ทฤษฎีการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม ประวัติศาสตร์ภูมิสถาปัตยกรรมได้ และ สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างองค์ ความรู้นั้นๆ กับการออกแบบภูมิ สถาปัตยกรรมในปัจจุบันได้              PLO 3 ทักษะและความรู้พื้นฐานทางด้าน ศิลปะและการสื่อสารด้วยกราฟิก : สามารถ จดจำ อธิบายเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ศิลปะ และสถาปัตยกรรมได้ สามารถนำเสนอ ผลงานการเขียนแบบ การแสดงแบบ ทั้งใน รูป แบบสองมิติ และสามมิติได้ โดยใช้สื่อ กราฟิกที่หลากหลาย            PLO 4 ทักษะและความรู้ในสาขาวิชาชีพ อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง : สามารถอธิบาย ยกตัวอย่าง จำแนก ปฏิบัติการออกแบบ ขั้นต้น งานทางด้านสถาปัตยกรรม และการ วางผังเมืองได้ และสามารถเชื่อมโยงบูรณา การองค์ความรู้นั้นๆ กับการออกแบบภูมิ สถาปัตยกรรม                PLO 5 ทักษะและความรู้ด้านการออกแบบ ภูมิสถาปัตยกรรม : สามารถคิดอย่าง สร้างสรรค์ประกอบด้วยจินตนาการ แก้ไข ปัญหาในการออกแบบที่ซับซ้อนในระดับต่าง ๆ หรือเสนอแนวทางในการแก้ไข ที่ผสาน ประโยชน์ใช้สอย ความงาม และเทคโนโลยี บริบททางสังคมและวัฒนธรรมเข้าด้วยกัน              
มคอ. 2 108 PLO/รายวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทาง ปัญญา 4.ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล และความ รับผิดชอบ 5.ทักษะการ วิเคราะห์ การ สื่อสาร และ เทคโนโลยี สารสนเทศ 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 PLO 6 ทักษะและความรู้ด้านเทคโนโลยี การก่อสร้างทางภูมิสถาปัตยกรรม : สามารถ ระบุ ยกตัวอย่าง จำแนก วัสดุและการ ก่อสร้าง เทคโนโลยีและโครงสร้างในการ ก่อสร้างได้ สามารถนำองค์ความรู้เหล่านั้นไป ประยุกต์ใช้ในการออกแบบก่อสร้างและ ตรวจสอบแบบก่อสร้างทางภูมิ สถาปัตยกรรมได้            PLO 7 ทักษะและความรู้ทางด้านพืชพรรณ และสิ่งแวดล้อม : สามารถระบุ ยกตัวอย่าง จำแนก วัสดุพืชพันธุ์และการเลือกใช้ สามารถนำองค์ความรู้เหล่านั้นไปประยุกต์ใช้ ในการออกแบบวางผังพืชพรรณและ ตรวจสอบการวางผังพืชพรรณได้ มีความรู้ พื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม และตระหนักใน ความสำคัญของสิ่งแวดล้อม            PLO 8 ทักษะและความรู้ทางด้าน เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ : มี ความสามารถในการใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์เพื่อการเขียนแบบ ออกแบบ ค้นคว้าข้อมูล และสามารถประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสมและมี ประสิทธิภาพในการประกอบวิชาชีพ               PLO 9 ทักษะและความรู้ทางด้านการ ปฏิบัติวิชาชีพ และการเป็นนักออกแบบที่ดี : สามารถระบุพื้นฐานความรู้ความ สามารถที่ จำเป็นในการปฏิบัติวิชาชีพ และนำไปใช้ได้ เช่น ด้านการศึกษา ด้านกฎหมาย ด้านการ บริหารสำนักงานออกแบบ ด้านบุคลิกภาพ และด้านจริยธรรม ความมีจิตสำนึกต่อสังคม ในการปฏิบัติวิชาชีพ           PLO 10 บูรณาการทักษะ ความรู้ และสห กิจศึกษา : สามารถนำเอาองค์ความรู้ทั้งหมด มาบูรณาการร่วมกัน และนำไปใช้ในการ ปฏิบัติวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรมได้               
มคอ. 2 109 หมายเหตุ :  หมายถึงความรับผิดชอบหลัก  หมายถึงความรับผิดชอบรอง
มคอ. 2 110 8. ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้ในแต่ละปีการศึกษา ชั้นปีที่ รายละเอียด 1 ผู้เรียนสามารถจดจำ อธิบายเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ภูมิสถาปัตยกรรมได้ ประวัติศาสตร์ศิลปะและสถาปัตยกรรมและสามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างองค์ ความรู้นั้นๆ กับการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมในปัจจุบันได้ ผู้เรียนสามารถนำ เสนอผลงานการเขียนแบบ การแสดงแบบ และการออกแบบ เบื้องต้น ทั้งในรูป แบบสองมิติ และสามมิติได้ โดยใช้สื่อกราฟิกที่หลากหลาย 2 ผู้เรียนสามารถอธิบาย ยกตัวอย่าง จำแนก ปฏิบัติการออกแบบขั้นต้น งาน ทางด้านสถาปัตยกรรมขนาดเล็กได้ และสามารถเชื่อมโยงบูรณาการองค์ความรู้นั้นๆ กับ การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม ผู้เรียนสามารถคิดอย่างสร้างสรรค์ประกอบ ด้วยจินตนาการ แก้ไขปัญหาในการ ออกแบบงานภูมิสถาปัตยกรรมที่ไม่ซับซ้อน และเสนอแนวทางในการแก้ไขที่ผสาน ประโยชน์ใช้สอย กับความงาม ผู้เรียนสามารถระบุ ยกตัวอย่าง จำแนก เทคโน โลยีและโครงสร้างในการก่อสร้าง ได้ ผู้เรียนสามารถระบุ ยกตัวอย่าง จำแนก วัสดุพืชพันธุ์และการเลือกใช้ ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการเขียนแบบ ออกแบบ ค้นคว้าข้อมูล และสามารถประ ยุกต์ใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสมและมี ประสิทธิภาพในการประกอบวิชาชีพ 3 ผู้เรียนสามารถจดจำ อธิบายเกี่ยวกับทฤษฎีการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมได้ และสามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างองค์ความรู้นั้นๆ กับการออกแบบภูมิ สถาปัตยกรรมในปัจจุบันได้ ผู้เรียนสามารถคิดอย่างสร้างสรรค์ประกอบ ด้วยจินตนาการ แก้ไขปัญหาในการ ออกแบบงานภูมิสถาปัตยกรรมที่มีความซับซ้อนปานกลาง และเสนอแนวทางในการ แก้ไขที่ผสานประโยชน์ใช้สอย กับความงาม ผู้เรียนสามารถระบุ ยกตัว อย่าง จำแนก วัสดุและการก่อสร้างทางภูมิ สถาปัตยกรรม สามารถเขียนแบบและอ่านแบบก่อสร้างทางภูมิสถาปัตยกรรมได้ ผู้เรียนสามารถคำนวณ และออกแบบก่อสร้างการปรับระดับงานดิน การระบายน้ำ ผู้เรียนสามารถนำองค์ความรู้ด้านวัสดุพืชพันธุ์และการเลือกใช้ ไปประยุกต์ใช้ใน การออก แบบวางผังพืชพรรณ และตรวจสอบการวางผังพืชพรรณได้
มคอ. 2 111 ชั้นปีที่ รายละเอียด ผู้เรียนสามารถจดจำ นำเสนอ สรุปความ และนำภาษาอังกฤษไปประยุกต์ใช้ใน การปฏิบัติวิชาชีพได้ 4 ผู้เรียนสามารถอธิบาย ยกตัวอย่าง จำแนก ปฏิบัติการออกแบบขั้นต้น งาน ทางด้านการวางผังเมืองได้ และสามารถเชื่อมโยงบูรณาการองค์ความรู้นั้นๆ กับการ ออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม ผู้เรียนสามารถจดจำ อธิบายพื้นฐานความรู้ด้านกฏหมายที่จำเป็นในการปฏิบัติ วิชาชีพ ผู้เรียนสามารถคิดอย่างสร้างสรรค์ประกอบ ด้วยจินตนาการ แก้ไขปัญหาในการ ออกแบบงานภูมิสถาปัตยกรรมที่มีความซับซ้อนมาก และเสนอแนวทางในการแก้ไขที่ ผสานประโยชน์ใช้สอย กับความงาม ผู้เรียนสามารถคำนวณ และออกแบบก่อสร้างงานระบบต่างๆในงานภูมิ สถาปัตยกรรม เช่น ระบบระบายน้ำ ระบบไฟฟ้าส่องสว่าง ระบบรดน้ำ และโครงสร้าง น้ำพุ น้ำตก 5 ผู้เรียนสามารถระบุพื้นฐานความรู้ความ สามารถที่จำเป็นในการปฏิบัติวิชาชีพ และนำไปใช้ได้ เช่น ด้านการศึกษา ด้านกฎหมาย ด้านการบริหารสำนักงานออกแบบ ด้านบุคลิกภาพ และด้านจริยธรรม ความมีจิตสำนึกต่อสังคมในการปฏิบัติวิชาชีพ ผู้เรียนสามารถสะท้อนให้เห็นผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร รวมทั้งความคิดเชิงวิพากษ์ ความคิดสร้างสรรค์ ความเข้าใจ การประยุกต์ การสื่อสาร วิชาเรียนต่างๆในหลักสูตร โดยสามารถแสดงความชัดเจนของโครงการ การระบุปัญหา การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การแสดงแนวคิด และการนำไปสู่การ ปฏิบัติตามวัคถุประสงค์ ผู้เรียนสามารถบูรณาการทักษะ และสหกิจศึกษา สามารถนำเอาองค์ความรู้ ทั้งหมดมาบูรณาการร่วมกัน และนำไปใช้ในการปฏิบัติวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรมได้
มคอ. 2 112 หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา 1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน (เกรด) ใช้หลักเกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ว่าด้วยการศึกษา ขั้นปริญญาตรี พ.ศ. 2556 ข้อ 12 การวัดและประเมินผลการศึกษา โดยกำหนดความหมาย ดังนี้ อักษรระดับคะแนน ระดับผลการเรียน แต้มระดับคะแนน A ดีเยี่ยม 4.0 B+ ดีมาก 3.5 B ดี 3.0 C+ ค่อนข้างดี 2.5 C ปานกลาง 2.0 D+ ค่อนข้างอ่อน 1.5 D อ่อน 1.0 F ตก 0.0 นอกจากอักษรระดับคะแนนข้างต้นแล้ว ผู้สอนอาจใช้อักษรอื่นเพื่อสัญลักษณ์แสดงผลการศึกษา โดย มีความหมาย ดังนี้ อักษร ความหมาย S ผลการศึกษาเป็นที่พอใจ หรือแสดงว่านักศึกษาสอบผ่าน U ผลการศึกษาไม่เป็นที่พอใจ หรือแสดงว่านักศึกษาสอบผ่าน I ไม่สมบูรณ์ V ลงทะเบียนในฐานะผู้เข้าร่วมฟัง โดยไม่มีการประเมินผลและมีเวลาเรียน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 W ถอนรายวิชาภายในกำหนดเวลา Op การเรียนการสอนยังไม่สิ้นสุดให้ใช้เฉพาะบางรายวิชาที่หลักสูตรกำหนด
มคอ. 2 113 2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา 2.1. การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ขณะที่นักศึกษายังไม่สำเร็จการศึกษา 1) แต่งตั้งคณะกรรมการทวนสอบ เพื่อสุ่มตรวจสอบรายวิชา รายงาน โครงงาน หรือ งานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย 2) จัดทำข้อสอบมาตรฐานสำหรับรายวิชาที่มีผู้สอนร่วมกันหลายคน 3) การประเมินผลแต่ละรายวิชาต้องผ่านที่ประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและ คณะกรรมการประจำคณะก่อนการประกาศผล การทวนสอบระดับคณะ 1) เมื่อรายวิชาตัดเกรดเรียบร้อยแล้วให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรหรือกรรมการ ระดับอื่นตามความเหมาะสม พิจารณากระบวนการประเมิน และให้เกรดในรายวิชานั้น ถ้าผิดสังเกต เช่น มี A หรือ F หรือ I มากเกินไป ให้บันทึกและรายงานผลต่อคณะกรรมการประจำคณะ 2) คณะกรรมการประจำคณะจัดประชุมพิจารณาเกรด โดยบรรจุเรื่องการทวนสอบให้ เป็นวาระพิจารณาการรายงานผลจาก ข้อ 1 3) คณะกรรมการประจำคณะ อาจพิจารณาให้อาจารย์ประจำรายวิชาทบทวนการให้ เกรด การทวนสอบระดับหลักสูตร 1) ติดตามผลการประเมินจากภาวะการได้งานทำของบัณฑิต ซึ่งตรงกับสาขาวิชาและ ความพึงพอใจของบัณทิตต่อการนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการทำงาน 2) สำรวจความคิดเห็นของผู้ใช้บัณฑิตในด้านความรู้ความสามารถและการทำงานของ บัณฑิตในสถานประกอบการ 3) สำรวจความคิดเห็นจากสถาบันอื่นๆ ในด้านความรู้ ความพร้อมหรือคุณสมบัติอื่นที่ จำเป็นของบัณฑิตที่จบการศึกษาแล้วไปศึกษาต่อในระดับปริญญาที่สูงขึ้น การทวนสอบในระดับรายวิชา 1) อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาทำการประเมินความสอดคล้องของข้อสอบกับผลการ เรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานหลักสูตร 2) แต่งตั้งคณะกรรมการประกอบด้วยอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ในสาขา อื่นที่เกี่ยวข้องตรวจสอบผลการให้คะแนนกับข้อสอบ รายงาน โครงงานและอื่นๆ ที่ผู้เรียนได้รับ มอบหมาย
มคอ. 2 114 2.1 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้หลังจากนักศึกษาสำเร็จการศึกษา การกำหนดกลวิธีการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ของนักศึกษา เน้นการทำวิจัย สัมฤทธิผลของการประกอบอาชีพของบัณฑิต ที่ทำอย่างต่อเนื่องและนำผลวิจัยที่ได้ย้อนกลับมา ปรับปรุงกระบวนการการเรียนการสอน และหลักสูตรแบบครบวงจร รวมทั้งการประเมินคุณภาพของ หลักสูตรและหน่วยงานโดยองค์กรระดับสากล โดยการวิจัยอาจจะดำเนินการดังตัวอย่างต่อไปนี้ 1) ภาวะการได้งานทำของบัณฑิต ประเมินจากบัณฑิตแต่ละรุ่นที่จบการศึกษา ในด้าน ของระยะเวลาในการหางานทำ ความเห็นต่อความรู้ ความสามารถ ความมั่นใจของบัณฑิตในการ ประกอบการงานอาชีพ เพื่อนำมาใช้ในการปรับหลักสูตรให้ดียิ่งขึ้น 2) การตรวจสอบจากผู้ประกอบการ ซึ่งเป็นผู้ใช้บัณฑิต โดยการขอเข้าสัมภาษณ์ หรือ การส่งแบบสอบถาม เพื่อประเมินความพึงพอใจในบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาและเข้าทำงานในสถาน ประกอบการนั้น ๆ ในคาบระยะเวลาต่างๆ เช่น ปีที่ 1 ปีที่ 5 เป็นต้น 3) การประเมินตำแหน่ง และหรือความก้าวหน้าในสายงานของบัณฑิต 4) การประเมินจากสถานศึกษาอื่น โดยการส่งแบบสอบถาม หรือ สอบถามเมื่อมีโอกาส ในระดับความพึงพอใจในด้านความรู้ ความพร้อม และสมบัติด้านอื่น ๆ ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา และเข้าศึกษาเพื่อปริญญาที่สูงขึ้นในสถานศึกษานั้น ๆ 5) การประเมินจากนักศึกษาเก่า ที่ไปประกอบอาชีพ ในแง่ของความพร้อมและความรู้ จากสาขาวิชาที่เรียน รวมทั้งสาขาอื่น ๆ ที่กำหนดในหลักสูตร ที่เกี่ยวเนื่องกับการประกอบอาชีพของ บัณฑิต รวมทั้งเปิดโอกาสให้มีการเสนอข้อคิดเห็นในการปรับหลักสูตรให้ดียิ่งขึ้นด้วย 6) ความเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ที่มาประเมินหลักสูตร หรือ เป็นอาจารย์พิเศษ ต่อความพร้อมของนักศึกษาในการเรียน และคุณสมบัติอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการเรียนรู้ และ การพัฒนาองค์ความรู้ของนักศึกษา 7) ผลงานของนักศึกษาที่วัดเป็นรูปธรรมได้ซึ่ง อาทิ (ก) จำนวนโปรแกรมสำเร็จรูปที่ พัฒนาเองและวางขาย, (ข) จำนวนสิทธิบัตร, (ค)จำนวนรางวัลทางสังคมและวิชาชีพ, (ง) จำนวน กิจกรรมการกุศลเพื่อสังคมและประเทศชาติ, (จ) จำนวนกิจกรรมอาสาสมัครในองค์กรที่ทำประโยชน์ ต่อสังคม 8) ติดตามผลการประเมินจากภาวะการได้งานทำของบัณฑิตที่ตรงกับสาขาวิชาและ ความพึงพอใจของบัณฑิตต่อการนำความรู้ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการทำงาน 9) สำรวจความคิดเห็นของผู้ใช้บัณฑิตในด้านความรู้ความสามารถและการทำงานใน สถานประกอบการ
มคอ. 2 115 10) สำรวจความคิดเห็นจากสถาบันอื่น ๆ ในด้านความรู้ ความพร้อมหรือคุณสมบัติอื่น ที่จำเป็นของบัณฑิตที่จบการศึกษาแล้วไปศึกษาต่อในระดับปริญญาที่สูงขึ้น 11) สำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับความรู้ของบัณฑิตจากคณาจารย์และผู้ใช้บัณฑิต 12) จัดสัมมนาผู้ประกอบการ/ผู้ใช้บัณฑิตของมหาวิทยาลัย ทั้งในภาพรวม และของ สาขาวิชา 13) สำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับความรู้ของบัณฑิตจากผู้ใช้บัณฑิต และผู้มีส่วนได้ส่วน เสีย 14) สำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับความรู้ ความพร้อมในการปฏิบัติงาน หรือคุณสมบัติ อื่นๆ ของบัณฑิตโดยใช้ช่องทางนิเทศงานสหกิจศึกษา 15) การประเมินจากศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบัน ในเรื่องของความพร้อมและความรู้จาก สาขาวิชาที่เรียน รวมทั้งสาขาอื่น ๆ ที่กำหนดในหลักสูตร ที่เกี่ยวเนื่องกับการประกอบอาชีพของ บัณฑิต รวมทั้งเปิดโอกาสให้เสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงหลักสูตรให้ดียิ่งขึ้นด้วย 16) การประเมินจากผู้ปกครอง 3. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร นักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาในสาขาวิชาต่าง ๆ และได้รับการเสนอชื่อให้รับปริญญา จะต้องมี คุณสมบัติดังนี้ 1) ต้องเรียนรายวิชาต่าง ๆ ให้ครบตามหลักสูตรและเงื่อนไขของสาขาวิชานั้น และต้อง ไม่มีรายวิชาใดที่ได้รับอักษร I และหรือ Op 2) ต้องใช้เวลาเรียนไม่น้อยกว่าที่กำหนดไว้ในหลักสูตร 3) ต้องได้รับแต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมทั้งหมดทุกรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียนไม่น้อย กว่า 2.00 4) ต้องผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อพัฒนานักศึกษาตามระเบียบที่ มหาวิทยาลัยกำหนด ในกรณีที่ไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อพัฒนานักศึกษาตาม ระเบียบที่มหาวิทยาลัยกำหนดได้ให้อยู่ในดุลยพินิจของอธิการบดี 5) ไม่มีหนี้สินใด ๆ ต่อมหาวิทยาลัย และหรือหนี้สินอื่น ๆ ที่มหาวิทยาลัยรับรู้
มคอ. 2 116 หมวดที่ 6 การพัฒนาคณาจารย์ 1. การเตรียมการสำหรับอาจารย์ใหม่ 1.1 ปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่ เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจนโยบายของสถาบัน คณะ ตลอดจนหลักสูตรที่สอน รวมทั้ง หน้าที่ความรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้ของนักศึกษาในรายวิชาที่รับผิดชอบ ทั้งนี้ อาจจะกำหนดให้ อาจารย์ใหม่เข้าร่วมการฝึกอบรมอาจารย์ใหม่ที่จัดโดยมหาวิทยาลัยแม่โจ้ หรือหน่วยงานอื่นที่อาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเห็นสมควรทดแทนก็ได้ 1.2 อาจารย์พี่เลี้ยง มอบหมายอาจารย์ประจำหลักสูตรท่านหนึ่ง หรือหลายท่านซึ่งมีอายุงานในมหาวิทยาลัย แม่โจ้ไม่น้อยกว่า 1 ปี ให้เป็นอาจารย์พี่เลี้ยงแก่อาจารย์ใหม่ เพื่อให้คำแนะนำทั้งด้านการจัดการเรียน การสอน และการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ รวมทั้งเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องแก่อาจารย์ใหม่ ทั้งนี้ ตามที่อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเห็นสมควร 2. การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่คณาจารย์ 2.1 การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล 2.1.1 ส่งเสริมอาจารย์ให้มีการเพิ่มพูนความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ เพื่อ ส่งเสริมการสอนและการวิจัยอย่างต่อเนื่องโดยผ่านการทำวิจัยในชั้นเรียน การสนับสนุนด้าน การศึกษาต่อ ฝึกอบรม การศึกษาดูงานทางวิชาการและวิชาชีพในองค์กรต่าง ๆ การประชุมทาง วิชาการทั้งในประเทศและ/หรือต่างประเทศ หรือการลาเพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์ ทั้งนี้ รวมแล้วไม่ น้อยกว่า 15 ชั่วโมงต่อปี 2.1.2 ส่งเสริมให้มีการเพิ่มพูนทักษะในการจัดการเรียนการสอน การวัดและ ประเมินผลของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เช่น การเข้าอบรมสัมมนา การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ผ่านการสอนร่วมกันระหว่างอาจารย์ ทั้งในและนอกหลักสูตร การประชุม เป็นต้น 2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพด้านอื่นๆ 2.2.1 ส่งเสริมให้คณาจารย์มีส่วนร่วมในการบริการวิชาการแก่ชุมชน ที่เกี่ยวข้องกับการ พัฒนาความรู้ และ/หรือเผยแพร่องค์ความรู้แก่สังคม
มคอ. 2 117 2.2.2 ส่งเสริมการทำวิจัย และ/หรืองานสร้างสรรค์ทางสถาปัตยกรรม (ทั้ง 4 สาขาวิชา) รวมทั้งสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง 2.2.3 ส่งเสริมให้มีความเชี่ยวชาญในทางวิชาชีพ เช่น การสอบเพื่อขอรับใบอนุญาตเป็น ผู้ประกอบวิชาชีพสถาปนิกควบคุม การเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาวิชาชีพต่อเนื่อง (พวต.) หรือกิจกรรม อื่นๆ ที่ส่งเสริมความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพของอาจารย์ท่านนั้นๆ
มคอ. 2 118 หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร 1. การกำกับมาตรฐาน หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม ได้มีการบริหารจัดการ หลักสูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558 และกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ตลอดระยะเวลาที่การจัดการเรียนการสอนในหลักสูตร ดังกล่าว โดยหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม เป็นหลักสูตรระดับ ปริญญาตรีทางวิชาชีพหรือปฎิบัติการ ซึ่งได้พิจารณาตามเกณฑ์ดังกล่าว 4 ข้อ 1.1 จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หลักสูตรมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรจำนวน 5 คน ดังนี้ ที่ ตำแหน่งทาง วิชาการ ชื่อ สกุล คุณวุฒิ สาขาวิชาเอก เลขใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพฯ ตรง/ สัมพันธ์ 1. ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ นางสาว จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ M.L.A. สถ.บ. Landscape Architecture สถาปัตยกรรม ศาสตรบัณฑิต ภ สถ 3151 ตรง 2 ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ นายยุทธภูมิ เผ่าจินดา สถ ม ภ สถ บ การออกแบบ ชุมชนเมือง ภูมิสถาปัตยกรรม ภ ภส 22 ตรง 3. อาจารย์ นายศุภณัฐ กาญจนวงค์ ภ สถ ม ภ สถ บ ภูมิสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม ภ ภส 227 ตรง 4. อาจารย์ นางสาว ศุภัชญา ปรัชญคุปต์ ภ สถ ม ภ สถ บ ภูมิสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม ตรง 5 อาจารย์ นาย ณัฐพล เรือง วิทยานุสรณ์ สถ ม สถ บ สถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรม สัมพันธ์
มคอ. 2 119 1.2 คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 1) คุณวุฒิและตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ประจำหลักสูตรมีตำแหน่งทางวิชาการ ระดับผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1 คน 2) สาขาวิชาที่จบการศึกษา อาจารย์ประจำหลักสูตร มี 2 ท่าน ที่มีคุณวุฒิการศึกษาทั้ง ในระดับปริญญาบัณฑิต และระดับปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม และมี 1 ท่านที่มี วุฒิการศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม โดยที่มีคุณวุฒิการศึกษาระดับ ปริญญาบัณฑิตในสาขาสถาปัตยกรรม ส่วนอีก 2 ท่านมีวุฒิการศึกษาในระดับปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมือง (ซึ่งเป็นสาขาวิชาที่สอดคล้องกับสาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม) โดยที่ มีคุณวุฒิการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตในสาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม จึงนับได้ว่าอาจารย์ทั้ง 5 คน มี คุณวุฒิตามเกณฑ์ที่กำหนด 1.3 การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม เริ่มเปิดครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2538 และมีการปรับปรุงมาโดยตลอดล่าสุดมีการปรับปรุงเพื่อให้เป็นไปตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษา ในปี พ.ศ. 2554 ซึ่งหลักสูตรในปัจจุบันยังอยู่ใน ระยะเวลาที่กำหนด ทั้งนี้หลักสูตรกำหนดรอบระยะเวลาการปรับปรุงหลักสูตรในปี 2559 เพื่อให้ใช้ กับนักศึกษาใหม่ปีในการศึกษา 2560 1.4 การดำเนินงานให้เป็นไปตามตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานเพื่อการประกันคุณภาพหลักสูตร และ การเรียนการสอนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ เป็นหลักสูตรใหม่และยังไม่ได้ดำเนินการตรงตามตัวบ่งชี้ TQF ข้อ 1 5 1.4.1 หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม จะ ดำเนินการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร/ อาจารย์ประจำหลักสูตร อย่างน้อย 2 ครั้งต่อภาคการศึกษา และอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร/ อาจารย์ประจำหลักสูตร ร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุม 1.4.2 หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม เป็น หลักสูตรปรับปรุง ที่มีการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติระดับอุดมศึกษา โดยมีการ จัดทำเล่ม มคอ.2 ให้สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558 ของ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและดำเนินการจัดส่งพิจารณารับทราบการให้ความเห็นชอบ หลักสูตร
มคอ. 2 120 1.4.3 หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม จะ ดำเนินการจัดทำรายละเอียดของรายวิชาและรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม ตามแบบ มคอ.3 และมคอ.4 ทุกภาคการศึกษา โดยทำการจัดส่งก่อนเปิดสอนแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุก รายวิชา 1.4.4 หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม จะ ดำเนินการจัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชาและรายงานผลการดำเนินการของ ประสบการณ์ภาคสนาม ตามแบบ มคอ.5 และมคอ.6 ภายใน 30 วัน ทุกภาคการศึกษา โดยทำการ จัดส่งหลังส่งเกรดแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา 1.4.5 หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม จะ ดำเนินการจัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปี การศึกษา 2. บัณฑิต 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 2.1.1 จัดสำรวจความต้องการของตลาดแรงงาน และความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต/ผู้ มีส่วนได้ส่วนเสียในสาขาวิชาฟิสิกส์ประยุกต์ ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ 2.1.2 ประมาณการความต้องการแรงงานประจำปี 2.1.3 มีแผนการจัดการสำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเมื่อ ครบรอบหลักสูตร เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงหลักสูตรต่อไป 2.2 การได้งานทำของผู้สำเร็จการศึกษา หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม ร่วมใช้ข้อมูลการ สำรวจภาวะการมีงานทำของบัณฑิต ตามการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ http://www.e manage.mju.ac.th/survey_AllRPT.aspx 3. นักศึกษา 3.1 การรับนักศึกษา หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม มีระบบและกลไก การรับนักศึกษาที่ประกอบด้วยกลไกระดับมหาวิทยาลัย และระดับหลักสูตร
มคอ. 2 121 3.1.1 ระดับมหาวิทยาลัยมีคณะกรรมการอำนวยการคัดเลือกเข้าเป็นระดับปริญญาตรี เป็นผู้วางแผนและกำกับนโยบายการรับนักศึกษา กองแผนงานทำหน้าที่รวบรวมจำนวนนักศึกษาและ รายงานผลการดำเนินงานในแต่ละช่วงให้คณะกรรมการ/ผู้บริหารทราบ 3.1.2 ระดับหลักสูตร มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ทำหน้าที่ในการวางแผน กำหนด จำนวนนักศึกษา และคุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา และรายงานข้อมูลให้แก่คณะรับทราบ ซึ่งการรับ นักศึกษาของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ประกอบด้วย 3 ประเภท คือ ประเภทที่ 1 ผ่านระบบรับตรงของมหาวิทยาลัย ประเภทที่ 2 ผ่านระบบรับตรงโครงการพิเศษของมหาวิทยาลัย ประเภทที่ 3 ผ่านระบบกลางของสมาคมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (สอท.) คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิ สถาปัตยกรรม ได้กำหนดตาม มคอ.2 และข้อกำหนดของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ การเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม ได้มีระบบและกลไกการเตรียมความพร้อม โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตร ซึ่งทำการพิจารณาโครงการ/กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ วัตถุประสงค์ งบประมาณ และ ระยะเวลาในการจัดโครงการ/กิจกรรม 3.2 การส่งเสริมและการพัฒนานักศึกษา การควบคุมดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการแนะแนวกับนักศึกษาในระดับปริญญาตรี หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม มีแนวทางปฏิบัติตาม มหาวิทยาลัย ดังนี้ 3.2.1 คณะฯ แต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาให้แก่นักศึกษาทุกคน เพื่อทำหน้าที่ตามที่ มหาวิทยาลัยกำหนด 3.2.2 อาจารย์ทุกคนจัดทำตารางการทำงานพร้อมกำหนดเวลาว่างเพื่อให้นักศึกษา สามารถเข้าพบได้ตามเวลาที่ได้กำหนดไว้ 3.2.3 อาจารย์เปิดช่องทางการสื่อสารทางสารสนเทศ เช่น E mail, FaceBook ฯลฯ อีกทั้ง มีการเพิ่มช่องทางการอุทธรณ์ของนักศึกษา ในกรณีที่นักศึกษาสงสัยเรื่องการ ประเมินผลในรายวิชาหรือเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ดังนี้ 1) ให้สอบถามจากอาจารย์ผู้สอนประจำวิชา 2) ให้ยื่นคำร้องขอดูกระดาษคำตอบ ภายใน 1 ภาคการศึกษา หลังจากวันประกาศผล การศึกษา
มคอ. 2 122 3) นักศึกษาสามารถยื่นคำร้องอุทธรณ์ได้โดยตรงต่อคณบดี/อธิการบดี หรือคณะ กรรมการที่มหาวิทยาลัยแต่งตั้ง การพัฒนานักศึกษาและการส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 หลักสูตรภูมิ สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม ได้มีระบบและกลไก โดยอาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ซึ่งทำการพิจารณาวางแผนโครงการ/กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ วัตถุประสงค์ งบประมาณ และระยะเวลาในการจัดโครงการ/กิจกรรม อีกทั้งมีการออกแบบรายวิชาต่างๆ ตาม โครงสร้างของหลักสูตรที่สอดคล้องกับทักษะที่จำเป็นสำหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อัน ประกอบด้วย (1) กลุ่มวิชาหลัก (2) กลุ่มทักษะชีวิตและวิชาชีพ (3) กลุ่มทักษะการเรียนรู้และนวัต กรรม และ (4) กลุ่มทักษะสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม มีการติดตาม อัตราการคงอยู่ของนักศึกษา อัตราการสำเร็จการศึกษา ผ่านระบบและกลไกของอาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตร และคณะกรรมการประจำคณะฯ หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม มีการสร้างระบบ และกลไก การสร้างแบบประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อหลักสูตร โดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มเป้าหมาย 1) นักศึกษาในหลักสูตร 2) นักศึกษานอกหลักสูตร นำผลการประเมินรายงานในการประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อีกทั้งมีการ นำเอาผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อหลักสูตรที่จัดทำโดยมหาวิทยาลัยแม่โจ้ รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ ผ่านการประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และคณะกรรมการประจำคณะฯ หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม มีผลการจัดการ ข้อร้องเรียนของนักศึกษาผ่านหลายช่องทาง เช่น กล่องรับข้อร้องเรียนและแสดงความคิดเห็นของ นักศึกษา การร้องเรียนผ่านอาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ผู้สอน หรืออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จากนั้นนำข้อร้องเรียนดังกล่าวเข้าที่ประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
มคอ. 2 123 4. อาจารย์ 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.1.1 หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม ในการรับ อาจารย์ใหม่ได้มีการกำหนดกรอบอัตรากำลังผ่านคณะไปยังมหาวิทยาลัย เมื่อได้รับการจัดสรรกรอบ อัตรากำลัง สาขาวิชาดำเนินการสรรหาอาจารย์ตามขั้นตอนการดำเนินการสรรหาบุคลากรของคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม ซึ่งในการรับอาจารย์ใหม่ มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ 4.1.1.1 กำหนดคุณสมบัติ 1) คุณสมบัติทั่วไปเป็นไปตามนโยบายการพัฒนามหาวิทยาลัยเพื่อมุ่งสู่ มหาวิทยาลัยที่เน้นการผลิตบัณฑิตเฉพาะทาง ระดับบัณฑิตศึกษาและวิจัย (ค1) 2) คุณสมบัติเฉพาะของผู้สมัคร - สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าระดับปริญญาเอก สาขาวิชาภูมิ สถาปัตยกรรม หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งต้องมีผลงานทางวิชาการและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ สาขาวิชาที่สมัคร โดยต้องมีคุณวุฒิในระดับปริญญาตรี หรือปริญญาโท ในสาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม มีความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ/ภาษาต่างประเทศอื่น ๆ ได้เป็นอย่างดี 4.1.1.2 การคัดเลือกหรือการสอบคัดเลือก โดยการสอบข้อเขียน หรือ สอบสัมภาษณ์ และ/หรือทดสอบ ความสามารถในการสอน โดยคณะกรรมการที่มหาวิทยาลัย/คณะแต่งตั้ง 4.1.1.3 การแต่งตั้งและประเมินผลการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามระเบียบของ มหาวิทยาลัย 4.1.2 แต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่ระบุไว้ในแนว ทางการบริหารเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2558 และระเบียบ / ประกาศของ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ที่ประกาศใช้ในขณะนั้น และระเบียบ / ประกาศอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยอนุโลม 4.1.3 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทำหน้าที่สนับสนุน ช่วยเหลือ และดำเนินกิจกรรม ได้ครบถ้วน ตามเกณฑ์ของการประกันคุณภาพหลักสูตร 4.1.4 กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนในหลักสูตรมีส่วนร่วม ในกิจกรรมตามข้อ 4.1.2 และ ข้อ 4.1.3 หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม มีการจัดทำ แผนการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เป็นรูปธรรม ภายใต้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยการทำงาน
มคอ. 2 124 ร่วมกับคณะฯ เพื่อจัดทำแผนในการส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรของหลักสูตรฯ ได้พัฒนาความรู้ และทักษะวิชาชีพทั้งในประเทศและต่างประเทศ มีระบบการส่งเสริมสนับสนุนบุคลากรที่มีศักยภาพ สูงให้มีโอกาสประสบความสำเร็จและก้าวหน้าในอาชีพอย่างรวดเร็วตามสายงานโดยมีการทำ แผนพัฒนารายบุคคลผ่านระบบออนไลน์ของมหาวิทยาลัย มีการส่งเสริมและสนับสนุนให้อาจารย์ทุก คนได้พัฒนาตนเองให้มีคุณภาพ ตามมาตรฐานวิชาชีพอย่างต่อเนื่องโดยไม่จำกัดจำนวน ตามเงื่อนไข ของประกาศคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อมและมหาวิทยาลัยแม่โจ้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม มีอาจารย์ที่มี คุณวุฒิปริญญาโท ร้อยละ 100 มีอาจารย์ที่กำลังศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก ร้อยละ 16.67 มีการ ส่งสริมและสนับสนุนให้อาจารย์ขอตำแหน่งทางวิชาการเพิ่มขึ้น อาทิ เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ รอง ศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ ตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด ปัจจุบันมีอาจารย์ที่ดำรงตำแหน่งรอง ศาสตราจารย์และผู้ช่วยศาสตราจารย์ คิดเป็นร้อยละ 33.33 นอกจากนี้คณะยังได้ส่งเสริมและ สนับสนุนให้บุคลากรสายวิชาการ ทำงานวิจัย และนำผลงานวิจัยนั้นๆ มาเสนอผลงานทางวิชาการใน รูปแบบต่างๆ ในงานประชุมวิชาการระดับชาติ และระดับนานาชาติ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม มีการติดตามอัตรา การคงอยู่ของอาจารย์ ผ่านระบบและกลไกของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และคณะกรรมการ ประจำคณะฯ หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม มีการสร้างระบบ และกลไก การสร้างแบบประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ที่มีต่อหลักสูตร นำผลการประเมิน รายงานในการประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อีกทั้งมีการนำเอาผลการประเมินความพึงพอใจ ของนักศึกษาต่อหลักสูตรที่จัดทำโดยมหาวิทยาลัยแม่โจ้ รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ ผ่านการ ประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และคณะกรรมการประจำคณะฯ 5. หลักสูตร การเรียนการสอนและการประเมินผู้เรียน 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม มีระบบและกลไก ในการออกแบบหลักสูตรสอดคล้องตามกรอบ TQF (Thailand Qualifications Framework for
มคอ. 2 125 Higher Education) หรือเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และใช้ระบบและกลไกการ พัฒนาหลักสูตรภายใต้มหาวิทยาลัย ข้อมูลที่ใช้ในการพัฒนาหลักสูตรและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร อยู่ภายใต้แนวปฏิบัติของมหาวิทยาลัย ว่าด้วยเรื่อง แนวปฏิบัติการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนา/ ปรับปรุงหลักสูตร และคณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตร พ.ศ. 2554 และ พ.ศ. 2559 หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม เป็นหลักสูตร หลักสูตรปรับปรุง คาดว่าเปิดรับนักศึกษาในปีการศึกษา 2560 โดยมีแผนการปรับปรุงหลักสูตรทุก ๆ 5 ปี เพื่อให้ทันสมัย และสอดคล้องกับความต้องการของสังคมที่เปลี่ยนแปลง ได้กำหนดรอบ ระยะเวลาการปรับปรุงหลักสูตรในปี พ.ศ. 2559 เพื่อใช้กับนักศึกษาในปีการศึกษา 2560 โดยมีการ ดำเนินการตามขั้นตอนดังนี้ 1) ให้แต่งตั้งกรรมการปรับปรุงหลักสูตรเพื่อปฏิบัติหน้าที่ ตามแนวทางที่กำหนด ไว้ในประกาศของมหาวิทยาลัย 2) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรร่วมกันพิจารณารายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่ มีความเหมาะสม 3) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเชิญผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอก มาร่วมนำเสนอ ข้อคิดเห็นในการพัฒนาหลักสูตร 4) แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร และคณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตร พ.ศ. 2554 ภายใต้แนวปฏิบัติของมหาวิทยาลัย 5) ดำเนินการจัดทำเล่ม มคอ.2 และแนวทางปฏิบัติในการเปิด/ปิด/ปรับปรุง หลักสูตรของมหาวิทยาลัย 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม เป็นหลักสูตร ปรับปรุง มีระบบและกลไก ดำเนินงานของหลักสูตรผ่านเวทีการดำเนินงานดังนี้ 5.2.1 จัดประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อย่างน้อยภาคการศึกษาละ 2 ครั้ง อาจารย์ประจำหลักสูตร ร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุม เพื่อการเตรียมการจัดการเรียนการสอน และการประเมินการบริหารหลักสูตร 5.2.2 จัดประชุมร่วมกันระหว่างอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอนทุก รายวิชาในหลักสูตรอย่างน้อย ภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง เพื่อ การแบ่งภาระงานสอน จากภาระงานขั้นต่ำ (9 ชั่วโมง/สัปดาห์) และจากนั้น กำหนดอาจารย์ผู้สอนตามความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ในการสอน วางแผนการจัดการเรียนการสอน การประเมินผล
มคอ. 2 126 การกำกับติดตามและการตรวจสอบการจัดทำ มคอ.3 และ มคอ.4 ทุกภาค การศึกษา โดยทำการจัดส่งก่อนเปิดสอนแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา อีกทั้งกำกับรายวิชาที่ มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคมและการทำนุบำรุงและวัฒนธรรม การให้ความเห็นชอบการประเมินผลการเรียนการสอน เก็บรวบรวมข้อมูลผลการดำเนินงานของหลักสูตรเพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุง หลักสูตร หาแนวทางที่จะทำให้หลักสูตรบรรลุเป้าหมาย 5.3 การประเมินผู้เรียน หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม จะดำเนินการ จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชาและรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ ภาคสนาม ตามแบบ มคอ 5.และ มคอ 6. ภายใน 30 วัน ทุกภาคการศึกษา โดยทำการจัดส่งหลังส่ง เกรดแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา และอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ทำหน้าที่รับผิดชอบ ควบคุม ตรวจสอบผลการดำเนินการเรียนการสอนตามแบบฟอร์ม มคอ 5 และ มคอ 6 เมื่อสิ้นสุดการ เรียนการสอนในแต่ละเทอม จากนั้นดำเนินส่งผลการเรียนให้คณะฯ ดำเนินการต่อไปยังมหาวิทยาลัย จะต้องผ่านการพิจารณาผลการเรียนจากคณะกรรมการที่แต่งตั้งจากอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ก่อน เพื่อตรวจสอบความถูกต้องในการตัดเกรด และเป็นไปตามเกณฑ์ของคณะ 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม จะดำเนินการ จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา 6. สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ หลักสูตรได้จัดการบริหารทรัพยากรสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ในแต่ละด้านดังนี้ 6.1 การบริหารงบประมาณ 1) จัดสรรงบประมาณเพื่อจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ 2) ส่งเสริมให้มีการใช้ทรัพยากรร่วมกันระหว่างหลักสูตรภายในคณะเดียวกัน/ต่างคณะ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
มคอ. 2 127 6.2 ทรัพยากรสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่มีอยู่เดิม มหาวิทยาลัย มีอาคารเรียนรวม 2 อาคาร ได้แก่ (สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 2) 1) อาคารสุวรรณวาจกกสิกิจ เป็นสถานที่สอน พื้นที่ประมาณ 1,544 ตารางเมตร ประกอบด้วยห้องบรรยาย 4 ห้อง ห้องปฏิบัติการ 3 ห้อง ห้องประชุม 3 ห้อง และห้องปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์ 2 ห้อง 2) อาคารศูนย์เรียนรวม (อาคารเรียนรวมแม่โจ้ 70 ปี) เป็นสถานที่สอน พื้นที่ประมาณ 2,426 ตารางเมตร ประกอบด้วยห้องบรรยาย 12 ห้อง ห้องบริการคอมพิวเตอร์/อินเตอร์เน็ต 5 ห้อง ห้องปฏิบัติการ 1 ห้อง ห้องประชุม 3 ห้อง ห้องโถงแสดงผลงาน 2 ห้อง 3) อาคารปฏิบัติการภูมิทัศน์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม เป็นสถานที่สอน พื้นที่ประมาณ 5,494 ตารางเมตร ประกอบด้วยห้องเรียนขนาดเล็ก 4 ห้อง ห้องเรียนขนาดใหญ่ 3 ห้อง ห้องปฏิบัติการ 6 ห้อง ห้องประชุมขนาดใหญ่ 1 ห้อง ห้องสมุด 1 ห้อง 4) อาคารคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (หลังใหม่) อาคาร 5 ชั้น มีพื้นที่ 7,650 ตาราง เมตร ประกอบด้วย ห้องบรรยาย 9 ห้อง ห้องปฎิบัติการ 3 ห้อง
มคอ. 2 128 แบบรายงานข้อมูลจำนวนหนังสือใช้สำหรับปีการศึกษา 2560 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีทรัพยากรที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนที่ให้บริการใน สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และห้องสมุดคณะต่าง ๆ ประกอบด้วยหนังสือ วิทยานิพนธ์ วารสาร และหนังสือพิมพ์ จุลสาร กฤตภาค โสตทัศนวัสดุ และฐานข้อมูลสำเร็จรูป CD ROM CD ROM MULTIMEDIA โดยทรัพยากรดังกล่าวข้างต้นมีจำนวนดังนี้ จำนวนหนังสือ ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 หมวด คำอธิบายหมวด ภาษาไทย (เล่ม) ภาษาอังกฤษ (เล่ม) รวม 000 เบ็ดเตล็ด 12,398 2,248 14,646 100 ปรัชญา 3,190 329 3,519 200 ศาสนา 4,329 359 4,688 300 สังคมศาสตร์ 48,571 7,361 55,932 400 ภาษาศาสตร์ 4,492 1,702 6,194 500 วิทยาศาสตร์ (บริสุทธิ์) 17,640 7,960 25,600 600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ 48,608 14,779 63,387 700 ศิลปวัฒนธรรม ภาษา 4,393 1,167 5,560 800 วรรณกรรม วรรณคดี 2,674 579 3,253 900 ประวัติศาสตร์ 7,309 966 8,275 รวม 153,604 37,450 191,054 สื่อโสตทัศนวัสดุ ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 รายการ จำนวน CD/DVD เกษตร 257 CD/DVD สารคดี 1,043 CD/DVD บทเรียนภาษา 226 CD/DVD ซีดีรอมทั่วไป 1,274 CD/DVD บันเทิง 2,501 รวม 5,301
มคอ. 2 129 ห้องสมุดคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มีหนังสือและเอกสารทาง วิชาการ ทั้งภาษาไทยและอังกฤษ และวารสารที่สนับสนุนการเรียนการสอนและการวิจัย รวมทั้งสิ้น 2,332 ชิ้น ดังรายละเอียดต่อไปนี้ รายการ จำนวน หน่วยนับ ปัญหาพิเศษและวิทยานิพนธ์ 935 เรื่อง หนังสือเกี่ยวกับศิลปะ วิจิตรศิลป์ มัณฑณศิลป์ 785 เล่ม หนังสือด้านเทคโนโลยี 262 เล่ม หนังสือเบ็ดเตล็ดทั่วไป 104 เล่ม DVD/CD ภาพและข้อมูล 27 ชุด VCD/CD ภาพยนตร์ 219 เรื่อง นอกจากนี้ยังมีห้องสมุดของหน่วยงานอื่น ๆ ในจังหวัดเชียงใหม่ เช่น มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนา วิทยาเขตพายัพ มหาวิทยาลัยพายัพ มหาวิทยาลัยราชมงคล เป็นต้น และยังมีการติดต่อสื่อสารแบบเชื่อมโยงเครือข่ายในฐานข้อมูล Journal Link และวิทยานิพนธ์ / งานวิจัยออนไลน์ตลอดจนสหบรรณานุกรม สำหรับทรัพยากรการเรียนการสอนด้านพืชพรรณ หลักสูตรมีความพร้อมในการจัดการเรียน การสอนในด้านที่เกี่ยวข้องกับพืชพรรณ โดยมีฐานการเรียนรู้ด้านพืชพรรณในมหาวิทยาลัยคือ สนาม วังซ้าย และสวนป่าสมพร ยกตรี รวมทั้งมีโรงปฏิบัติการ (โรงเรือนเพาะชำ) เพื่อใช้ในการฝึกทักษะด้าน ภูมิทัศน์แก่นักศึกษา นอกจากนั้นยังมีการจัดการเรียนการสอนนอกสถานที่ในแหล่งเรียนรู้ด้านพืช พรรณ และภูมิสถาปัตยกรรม เช่น สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ แม่ริม อุทยานแห่งชาติ ต่างๆ เป็นต้น 6.3 การจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้เพิ่มเติม 1) มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ดำเนินการจัดสรรงบประมาณสำหรับหนังสือ ตำราและ วารสารวิชาการ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นประจำทุกปีและเวียนแจ้งอาจารย์ให้เสนอชื่อสื่อที่ต้องการ 2) คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อมจัดให้มีการประชุมเพื่อ พิจารณาจัดสรรงบประมาณเพื่อจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอน ทั้งหนังสือตำรา อุปกรณ์เครื่องมือ ปฏิบัติการ รวมทั้งครุภัณฑ์ต่างๆ ร่วมกับทุกหลักสูตรเป็นประจำทุกปี 3) มีการตั้งคณะกรรมการต่างๆ ในระดับคณะ เช่น คณะกรรมการห้องสมุด เพื่อทำ หน้าที่รวมรวมความต้องการด้านสื่อการสอนต่างๆ จากคณาจารย์ และนักศึกษาเป็นประจำทุกปี
มคอ. 2 130 4) คณะได้รับการสนับสนุนจากภาคเอกชน ทั้งภาคธุรกิจ และศิษย์เก่า ด้านทรัพยากร การเรียนการสอนเป็นประจำทุกปี 6.4 การประเมินความเพียงพอของสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 1) มหาวิทยาลัยแม่โจ้จัดให้มีการประเมินความพึงพอใจด้านทรัพยากรสนับสนุนการ เรียนการสอนโดยนักศึกษาจำแนกเป็นรายวิชาในทุกภาคการศึกษา โดยประเมินผ่านระบบออนไลน์ 2) คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อมได้จัดให้มีคณะกรรมการที่ เกี่ยวข้อง เช่นคณะกรรมการห้องสมุด เพื่อทำหน้าที่ในการติดตามและประเมินความพอเพียงของ ทรัพยากรต่างๆ และแจ้งให้คณะกรรมการประจำคณะทราบ
มคอ. 2 131 7. ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) ข้ อ ที่ ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงาน ปีการศึกษา ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ปีที่ 4 ปีที่ 5 ปีที่ 6 1 อาจารย์ประจำหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วน ร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวน การดำเนินงานหลักสูตร ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 2 มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบมคอ. 2 ที่ สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือ มาตรฐานคุณวุฒิสาขา / สาขาวิชา (ถ้ามี) ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 3 มีรายละเอียดรายวิชา และรายละเอียดของ ประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบมคอ. 3 มคอ. 4 อย่างน้อยก่อนเปิดสอนในแต่ละภาค การศึกษาให้ครบทุกรายวิชา ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 4 จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และ รายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบมคอ. 5 และมคอ. 6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอน ให้ครบทุกรายวิชา ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 5 จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตาม แบบมคอ. 7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 6 มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตาม มาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ในมคอ. 3 และ มคอ. 4 (ถ้ามี) อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่ เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 7 มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กล ยุทธ์การสอน หรือ การประเมินผลการเรียนรู้จากผล การประเมินการดำเนินงานที่รายงานในมคอ. 7 ปีที่ แล้ว ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
มคอ. 2 132 ข้ อ ที่ ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงาน ปีการศึกษา ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ปีที่ 4 ปีที่ 5 ปีที่ 6 8 อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคนได้รับการปฐมนิเทศหรือ คำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 9 อาจารย์ประจำหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทาง วิชาการ และ/หรือวิชาชีพอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 10 จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ถ้ามี) ที่ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพไม่น้อย กว่าร้อยละ 50 ต่อไป ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 11 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย และ/ หรือบัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่ น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.0 ✓ ✓ 12 ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิต ใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.0 ✓ 13 มีการประเมินความรู้ความสามารถของนักศึกษา ทางด้านภาษาต่างประเทศ และเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ (Exit Exam) ✓ ✓ รวมตัวบ่งชี้บังคับที่ต้องดำเนินการ (ข้อ 1 5)ในแต่ ละปี 5 5 5 5 5 5 รวมตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 9 10 10 10 12 13
มคอ. 2 133 หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของหลักสูตร 1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน 1.1 การประเมินกลยุทธ์การสอน 1.1.1 การประชุมร่วมกันระหว่างอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และอาจารย์ผู้สอนใน การจัดการเรียนการสอน 1.1.2 การประเมินประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนของคณาจารย์ โดยการ สอบถาม สัมภาษณ์ หรือใช้แบบสอบถาม จากนักศึกษาโดยอาจารย์ผู้สอน 1.1.3 การประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยการสังเกตพฤติกรรม การทำกิจ กรรมการเรียนการสอน และผลการเรียนจากการวัดและประเมินผล 1.2 การประเมินทักษะของอาจารย์ในการใช้แผนกลยุทธ์การสอน 1.2.1 การประเมินการสอนโดยนักศึกษาทุกปลายภาคการศึกษาโดยมหาวิทยาลัยเป็น ผู้จัดทำการประเมิน 1.2.2 คณาจารย์วิเคราะห์และประเมินจุดที่ควรพัฒนาของกลยุทธ์การเรียนการสอนใน แต่ละภาคการศึกษา รวมถึงผลการเรียนของนักศึกษา และนำไปเขียนไว้ในรายงานผลการดำเนินงาน รายวิชา 2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม 2.1 โดยนักศึกษาและบัณฑิต ประเมินหลักสูตรจากนักศึกษาทุกชั้นปี และบัณฑิตที่จบตามหลักสูตร โดยวิธีการ สัมภาษณ์ แบบสำรวจ และเปิดเว็บไซด์เพื่อรับข้อมูลย้อนกลับ 2.2 ผู้ทรงคุณวุฒิและ/หรือผู้ประเมินภายนอก ประเมินหลักสูตรจากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ และ/หรือผู้ประเมินภายนอก โดยดู จากรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร ข้อมูลย้อนกลับจากนักศึกษาทุกชั้นปี บัณฑิตที่จบตาม หลักสูตรและนายจ้าง/ผู้ประกอบการ และการเยี่ยมชม
มคอ. 2 134 2.3 นายจ้าง/ผู้ประกอบการ ประเมินนายจ้าง/ผู้ประกอบการ โดยการประเมินความพึงพอใจต่อคุณภาพบัณฑิตและ การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการทำงาน 3. การประเมินผลการดำเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร ประเมินตามตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุในหมวดที่ 7 ข้อ 7 โดยคณะกรรมการประเมิน อย่างน้อย 3 คน ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาอย่างน้อย 1 คน 4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุงหลักสูตร และแผนกลยุทธ์การสอน 4.1 อาจารย์ประจำวิชาจัดทำรายงานผลการดำเนินการรายวิชาเมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษาเสนอ ผ่านอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและคณะกรรมการประจำคณะ 4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร เมื่อสิ้นสุดปี การศึกษา เสนอผ่านคณะกรรมการประจำคณะ 4.3 จัดประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร คณาจารย์ผู้สอน รวมถึง เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณาทบทวนผลการดำเนินการของหลักสูตร เพื่อหาแนวทางในการ พัฒนาปรับปรุงหลักสูตร แผนกลยุทธ์การสอน และการดำเนินการอื่น ๆ เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการ สอนในปีต่อไป
มคอ. 2 135 เอกสารแนบ เอกสารแนบ รายการ 1 ตารางเปรียบเทียบโครงสร้างหลักสูตร กับ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร โครงสร้างหลักสูตรเดิม โครงสร้างหลักสูตรใหม่ 2 ตารางเปรียบเทียบรายละเอียด ตามโครงสร้างหลักสูตรเดิม หลักสูตรใหม่ 3 สาระสำคัญของการปรับปรุงหลักสูตร 4 ประวัติและผลงานของอาจารย์ผู้รับผิดหลักสูตร/อาจารย์ประจำหลักสูตร 5 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม 6 7 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม รายงานสรุปผลการประชุมคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรม 8 รายงานสรุปการประชุมคณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรม 9 10 11 12 ข้อบังคับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ว่าด้วยการศึกษาขั้นปริญญาตรี พ ศ 2556 ข้อบังคับสภาสถาปนิกว่าด้วยการรับรองปริญญา อนุปริญญา และประกาศนียบัตรในการ ประกอบวิชาชีพควบคุม พ.ศ. 2545 ระเบียบคณะกรรมการสภาสถาปนิกว่าด้วยการกำหนดวัตถุประสงค์และขอบเขตหมวด วิชาของมาตรฐานวิชาการในสาขาสถาปัตยกรรมควบคุม พ.ศ. 2552 สรุปโครงสร้างหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เรียงตามข้อบังคับสภาสถาปนิก ว่าด้วยการรับรองปริญญา อนุปริญญา และ ประกาศนียบัตร ในการประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม พ.ศ. 2545 (หลักสูตร 5 ปี)
มคอ. 2 136 เอกสารแนบ 1 ตารางเปรียบเทียบโครงสร้างหลักสูตร กับ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร โครงสร้างหลักสูตรเดิม โครงสร้างหลักสูตรใหม่ หมวดวิชา เกณฑ์มาตรฐาน โครงสร้างเดิม โครงสร้างใหม่ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต 30 30 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 6 6 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 6 6 กลุ่มวิชาภาษา 12 12 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 6 6 หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 90 หน่วยกิต 132 130 กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ 51 50 กลุ่มวิชาชีพบังคับ 75 74 กลุ่มวิชาชีพเลือก 6 6 หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต 6 6 รวม ไม่น้อยกว่า 150 หน่วยกิต 168 166
มคอ. 2 137 เอกสารแนบ 2 ตารางเปรียบเทียบรายละเอียด ตามโครงสร้างหลักสูตรเก่า หลักสูตรใหม่ เอกสารแนบ 3 สาระการปรับปรุงแก้ไข หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566) มหาวิทยาลัยแม่โจ้

Exploration of major change in the modern societies around the world that affect the way people live economic, social, cultural and political; review of how people respond, resist or adjust to keep face with those social changes in order to live their life

(Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week) (3 0 6)

มคอ. 2 138 เอกสารแนบ 4 รายละเอียดวิชา หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ฉบับ พ.ศ. 2564 1. กลุ่มสังคมและวัฒนธรรม 10700 101 สังคมโลกสมัยใหม่ในชีวิตประจำวัน 3 (3 0 6) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญในโลกสมัยใหม่ส่งผลต่อการใช้ชีวิตของมนุษย์ในด้าน ต่างๆ ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมือง และด้านอื่นๆ การใช้ชีวิตอย่างรู้เท่าทันการ เปลี่ยนแปลงทางสังคมนำไปสู่การปรับตัวในโลกสมัยใหม่ (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10700 101 Modern World in Daily Life 3 (3 0 6) Prerequisite : None
10700 102 อารยธรรมและโลกสมัยใหม่ 3
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี พัฒนาการและความสัมพันธ์ของอารยธรรมที่สำคัญในพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ และ พื้นที่ทางวัฒนธรรม ตามภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ ที่มีอิทธิพลต่อสังคมโลก และบริบทของโลก สมัยใหม่ (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10700 102 Civilization and Modern World 3 (3 0 6) Prerequisite : None Development and relations of important civilizations in different geographical and cultural spaces according to historical backgrounds and their influences on societies and context of Modern World (Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week)
มคอ. 2 139 10700 103 ประวัติศาสตร์และพัฒนาการของล้านนา 3 (3 0 6) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ความสำคัญของประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ความเป็นมาของล้านนา พัฒนาการด้าน การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10700 103 History and Development of Lanna 3 (3 0 6) Prerequisite : None Importance of local history; background of Lanna; development of politics, economy, society and culture of Lanna from the ancient time to present. (Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week) 10700 104 ผู้สูงอายุและสังคมผู้สูงวัย 3 (3 0 6) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับผู้สูงอายุและสังคมผู้สูงวัย สถานการณ์ผู้สูงอายุ การดำเนิน นโยบายและการจัดการเรื่องผู้สูงอายุ แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับผู้สูงอายุ การเปลี่ยนแปลงที่อยู่ อาศัยและการย้ายถิ่นของผู้สูงอายุ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตในกลุ่มผู้สูงอายุ (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10700 104 Elderly and Ageing Society 3 (3 0 6) Prerequisite : None Introduction with the elderly and ageing society; elderly situation; policy implementation and management of the elderly; concept and theories of ageing; elderly migration, and improving the quality of life among elderly (Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week) 10700 105 มนุษย์ สังคม เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม 3 (3 0 6) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ศึกษาความเป็นมาของมนุษย์ ความสัมพันธ์ของมนุษย์ และธรรมชาติ วิวัฒนาการ ของสังคม เทคโนโลยี และผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ประชากร การเปลี่ยนแปลงของ สังคมโลก ความเสี่ยง และผลกระทบในการพัฒนาที่มีต่อธรรมชาติและระบบนิเวศและการพัฒนา อย่างยั่งยืนเพื่อรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์)

10700 105 Man, Society, Technology and Environment (3 0 6)

Prerequisite : None

Study of the origin of human beings, human relation with natural being, social evolution, technology and its impacts on society and environment, population, global change and risk society, the impact of development towards environment and ecological system, sustainable development for preservation of natural resources and environment

(Lecture 3 hours, Practice 0 hours, Self Study 6 hours/week)

10700 106 (3 0 6

10700 106 Thai Society and Culture 3 (3 0 6)

Prerequisite : None

Studying the formation of Thai society, the factors that determine the characteristics of socio economic political, Trends to structure of Thai society in the present and the characteristic that continue from Thai society in the past, including trend of change in Thai society and culture.

(Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week)

10700 107 (2 2 5)

มคอ. 2 140
3
สังคมและวัฒนธรรมไทย 3
) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ศึกษาความเป็นมาของสังคมไทย ปัจจัยที่กำหนดลักษณะทางการเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ตลอดจนโครงสร้างของสังคมไทยในปัจจุบัน และลักษณะที่สืบเนื่องจากสังคมไทยในอดีต รวมทั้งแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์)
วรรณกรรมไทยร่วมสมัยกับการเกษตรและสิ่งแวดล้อม 3
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ลักษณะวรรณกรรมไทยร่วมสมัย ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณกรรมไทยร่วมสมัย กับสังคม กลวิธีการนำเสนอและคุณค่า แนวทางการศึกษาวรรณกรรมไทยร่วมสมัย การวิเคราะห์ วิจารณ์วรรณกรรมไทยร่วมสมัยกับการเกษตรและสิ่งแวดล้อม (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์)

10700 107 Agricultural and the Environmental in Contemporary Thai Literature (2 2 5)

Prerequisite : None

Features of contemporary Thai literature, its relationship to Thai society, narrative techniques and aesthetic values, literary approaches to contemporary Thai literature, literary criticism relating to agriculture and the environment in contemporary Thai literature

(Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week)

10700 108 (2 2 5)

Prerequisite

Studying the definition of food; the relation of human and food; the roles and influences of local market to culture; the connecting of food, culture, ritual, and belief; the movement of food from production sector to consumer; the power relations of multiple actors in the food chain; the dynamics of food culture, including the effects of food to societ

มคอ. 2 141
3
อาหารกับสังคม 3
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ศึกษาความหมายของอาหาร ความสัมพันธ์ของมนุษย์กับอาหาร อิทธิพลของตลาด กับวัฒนธรรมท้องถิ่น ความเชื่อมโยงของอาหารกับวัฒนธรรม พิธีกรรมและความเชื่อของมนุษย์ การเคลื่อนที่ของอาหารจากแหล่งผลิตไปสู่ผู้บริโภค ความสัมพันธ์เชิงอานาจของผู้ปฏิบัติการหลาก หลาย กลุ่มในห่วงโซ่อาหาร พลวัตของวัฒนธรรมอาหาร รวมถึงผลกระทบของอาหารที่มีต่อสังคม (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10700 108 Food and Society 3 (2 2 5)
: None
(Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week) 10700 109 จิตอาสาเพื่อพัฒนาสังคม 3 (2 2 5) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ศึกษาความหมาย ลักษณะและแนวคิดเกี่ยวกับจิตอาสาและการพัฒนาสังคม ทิศทางของการดำเนินกิจกรรมจิตอาสาในสังคมไทย วิเคราะห์ปัญหาสังคมไทย รวมถึงสร้างสรรค์ กิจกรรมและโครงการจิตอาสาเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาสังคม (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์)

10700 Spirit Social

Prerequisite

Studying the definitions, characters, and concepts of volunteering and social development; Trends of volunteering activities of Thai society; Analyzing social problems of Thailand, including creating activities and volunteering projects for social problems solving and social development. Lecture Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week) Sufficiency Economy Sustainable Development (2 2 5

Prerequisite : None

Definition, background, characteristics, conditions and key points of the concept of sufficiency economy, Including the relationship between the concept of sufficiency economy affecting sustainable development. With an emphasis on Thai case studied. Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week (

มคอ. 2 142
109 Volunteer
for
Development 3 (2 2 5)
: None
(
2 hours,
11400 110 เศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาที่ยั่งยืน 3 (2 2 5) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ความหมาย ความเป็นมา คุณลักษณะ เงื่อนไขและประเด็นสำคัญของแนวคิด เศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงที่ส่งผลต่อการพัฒนาที่ ยั่งยืน โดยเน้นการศึกษากรณีตัวอย่างของไทย (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 11400 110
and
3
)
(
) 11400 111 อาเซียนศึกษา 3
2 2 5) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ศึกษาประวัติศาสตร์และพัฒนาการของอาเซียน หลักการพื้นฐานของอาเซียน กรอบความร่วมมือด้านต่างๆ ของสมาชิกอาเซียน ความร่วมมือระหว่างอาเซียนและคู่เจรจา กฎ บัตรอาเซียน ปัญหาและอุปสรรคของการเป็นประชาคมอาเซียน ประเด็นร่วมสมัยเกี่ยวกับอาเซียน ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับ ประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์)

11400 111 ASEAN Studies

Prerequisite : None

3 (2 2 5)

The History and evolution of ASEAN; Principles of ASEAN; Scope of co operations among ASEAN’ s member states; ASEAN and external partners; ASEAN Charter; ASEAN and its problems and obstacles towards ASEAN Community; Contemporary issues about ASEAN; the basic information relevant to 10 ASEAN’ s member states.

(Lecture 2 hours, Practice 2 hours, Self Study 5 hours/week)

11400 112 3 (2 2 5) :

Prerequisite

Definition, type and forms of corruption : direct and indirect corruption, policy corruption . Causes and impacts of conflict of interest . corruption impact on political, economic and social sector include economic growth and development of the country .Corruption concepts and theories .Good governance, anti corruption laws and international corruption. Attitude and awareness in disastrous effect of corruption. Public conscious in anti corruption and self development for corruption avoidance.

(Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week)

มคอ. 2 143
การต่อต้านการทุจริต
วิชาบังคับก่อน
ไม่มี ความหมายของการทุจริต ประเภทและรูปแบบของการทุจริต ทุจริตโดยตรง ทุจริตโดยอ้อม ทุจริตเชิงนโยบาย ผลประโยชน์ส่วนตนและส่วนรวมสาเหตุและปัจจัยที่ก่อให้เกิด ความขัดแย้งของผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม ผลกระทบของการทุจริตที่มีต่อ สภาวะทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ผลกระทบของการทุจริตที่มีต่อพัฒนาการและความ เจริญเติบโตของประเทศ สาเหตุและปัจจัยที่ก่อให้เกิดการทุจริต หลักธรรมาภิบาลสากลในการ ปฏิบัติงานนโยบายและแนวทางในการบริหารงานด้านธรรมาภิบาล กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการ ป้องกัน และปราบปราม การทุจริตในระดับสากลระดับประเทศทัศนคติและความตระหนักถึง ผลกระทบที่ร้ายแรงของการทุจริต จิตสำนึกความเป็นพลเมืองดีในการป้องกันและต่อต้านการ ทุจริต แนวทางในการพัฒนาตนเองเพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 11400 112 Anti corruption 3 (2 2 5)
: None

Prerequisite

Importance, concepts, and practices related to digital citizenship: digital communication, digital literacy, trading / business through digital commerce, digital access, use of Media digital etiquette, digital law, digital rights & responsibilities, digital security, and the use of digital media in a healthy way. understanding the impact of digital technology on society. and use it to create positive social change.

(Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week) 3 (3 0 6)

มคอ. 2 144 10800 113 พลเมืองดิจิทัล 3 (3 0 6) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ความสำคัญ แนวคิดและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการเนพลเมืองดิจิทัล ได้แก่ การ สื่อสารดิจิทัล (Digital Communication) การรู้เท่าทันดิจิทัล (Digital Literacy) การซื้อขาย/ ธุรกิจผ่านสื่อดิจิทัล (Digital Commerce) การเข้าถึงสื่อดิจิทัล ( Digital Access) การใช้สื่ออย่างมี มารยาท (Digital Etiquette) กฎหมายดิจิทัล (Digital Law) สิทธิทางดิจิทัลและความรับผิดชอบ (Digital Right & Responsibilities) ความปลอดภัยทางดิจิทัล (Digital Security) และการใช้สื่อ ดิจิทัลอย่างมีสุขภาวะทางกายทางใจ (Digital Health) ไปจนถึงเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยี ดิจิทัลที่มีต่อสังคมและใช้เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในเชิงบวก (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10800 113 Digital Citizenship 3 (3 0 6)
: None
10800 114 ความฉลาดทางดิจิทัล
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ความสำคัญ แนวคิดและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับทักษะความฉลาดทางดิจิทัล ได้แก่ ทักษะในการรักษาอัตลักษณที่ดีของตนเอง (Digital Citizen Identity) ทักษะการคิดวิเคราะห์ มี วิจารณญาณที่ดี (Critical Thinking) ทักษะในการรักษาข้อมูลส่วนตัว (Privacy Management) ทักษะในการจัดสรรเวลาหน้าจอ (Screen Time Management) ทักษะในการบริหารจัดการ ข้อมูลที่ผู้ใช้งานมีการทิ้งไว้บนโลกออนไลน์ (Digital Footprints) ทักษะในการรับมือกับการกลั่น แกล้งบนโลกไซเบอร์(Cyberbullying Management) ทักษะการใช้เทคโนโลยีอย่างมีจริยธรรม (Digital Empathy) และสามารถวิเคราะห์ บูรณาการทักษะ สร้างสรรค์ข้อมูลและสื่อด้วยเครื่องมือ ดิจิทัลหรือเทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาหรือหาทางออกแก่สังคม (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์)

10800 114 Digital Intelligence Quotient (3 0 6)

Prerequisite

Importance, concepts and practices regarding digital intelligence skills such as digital citizen identity, critical thinking, privacy management, screen time management, digital footprints, cyberbullying management, digital empathy, and ability to analyze, integrate skills, create information and using media digital tools or technology to solve problems or find solutions to society

(Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week) ( 0

มคอ. 2 145
3
: None
2. กลุ่มคุณค่าความเป็นมนุษย์และการใช้ชีวิต 10700 201 จิตวิทยากับพฤติกรรมมนุษย์ 3
3
6) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ศึกษาแนวคิดทางด้านพฤติกรรม พื้นฐานชีววิทยาของพฤติกรรม พัฒนาการมนุษย์ กระบวนการทางจิต บุคลิกภาพ พฤติกรรมสุขภาพ และพฤติกรรมทางสังคม (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10700 201 Psychology and Human Behavior 3 (3 0 6) Prerequisite : None Perspectives in behavior; biological foundations of behavior; human development; mental processes; personality; health behavior; social behavior (Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week) 10700 202 สุขภาพสำหรับคนรุ่นใหม่ 3 (2 2 5) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี แนวคิด ทฤษฎี ความสำคัญ ปัจจัยที่มีผลต่อการมีสุขภาวะที่ดี การเสริมสร้างและ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาพ การสำรวจ ตรวจสอบและการประเมินสุขภาวะเบื้องต้น การออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ อาหารและยาในชีวิตประจาวัน การจัดการภัยพิบัติและการ ช่วยเหลือในภาวะวิกฤติ อนามัยเจริญพันธุ์ของแต่ละช่วงวัย และการจัดการสุขภาวะทางจิตที่ เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมยุคใหม่ (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์)

10700 202 Health Care for New Generation 3 (2 2 5)

Prerequisite : None

Concepts, theories, importance, factors for health wellness . Health promotion and behaviors modification, survey, testing and introduction to health assessment. Exercise for health, diet and drug in daily life. Disaster management and helping in crisis . Reproduction health of each life stage and mental health management for social modern era.

(Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week)

10700 203 3 (2 2 5) 203 Liberal Arts of Intellectuals (2 2 5)

Prerequisite : None

Bringing science to the knowledge and the arts in the lives of students, studies about oneself, knowing others techniques and tactics of oneself and others, communication and relationship, personality development thinking skills and problem analysis, economic, social and political situation in the present and to raise awareness in the public as well as in social life happily.

(Lecture 2 hours, Practice 2 hours, Self Study 5 hours/week)

10700 204 (3 0 6)

มคอ. 2 146
ศาสตร์และศิลป์แห่งปัญญาชน
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี การนำศาสตร์ว่าด้วยวิชาความรู้และการมีศิลปะในการดำเนินชีวิตของนักศึกษา ทำการศึกษาเกี่ยวกับการรู้จักตนเอง การรู้จักผู้อื่น เทคนิคและกลวิธีในการรู้จักตนเองและผู้อื่น การสื่อสารและมนุษยสัมพันธ์ การพัฒนาบุคลิกภาพ ทักษะการคิดและการวิเคราะห์ปัญหา สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองในปัจจุบัน รวมไปถึงการปลูกจิตสำนึกในสาธารณ สมบัติตลอดจนการดำรงชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุข (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10700
3
มนุษย์กับความงามทางศิลปะ 3
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ศิลปะ ดนตรีและนาฏศิลป์ เป็นผลงานที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น ซึ่งศิลปะทั้ง ส่วนนี้ มี 3 ความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน ซึ่งส่งผลต่อจิตใจยังความสมบูรณ์ของความเป็นมนุษย์มนุษย์จึงรู้ดีว่า สุนทรียศาสตร์เป็นกระบวนการสร้างคุณค่าที่มีความสำคัญสูงสุด เมื่อมีความรู้ความเข้าใจในศิลปะ

Arts, music and dances are works that human beings create .The arts in the 3 aforementioned branches are inter related to one another are affect human minds, enriching and completing the humanity. Therefore, human beings know well that aestheticism is a process of the creation of the most important value. With knowledge and comprehension of the 3 branches of arts, students can appreciate the beauty in different forms in the nature, environs and art works, which will generate happiness and joy, and enable them to select things that are tasteful and valuable to life, and to have greater societal and cultural capabilities that ease their minds so that they can work with others, which will enable students to work happily in the future.

(Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week)

10700 205 (1

มคอ. 2 147 ทั้ง 3 ส่วน ก็สามารถชื่นชมความงามในธรรมชาติ สภาพแวดล้อมและผลงานศิลปะในรูปแบบต่างๆ ได้ ซึ่งทำให้มนุษย์มีความสุขความเพลิดเพลิน สามารถเลือกสรรสิ่งจำเป็นสาหรับชีวิตได้อย่างมี รสนิยมและมีคุณค่า สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความสุข และยังเป็นการเพิ่มศักยภาพ ทางด้านสังคมวัฒนธรรมให้สูงขึ้น กล่อมเกลาจิตใจเพื่อให้สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น นำไปสู่การ ประกอบอาชีพในอนาคตได้อย่างมีความสุข (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10700 204 Humans and Artistic Beauty 3 (3 0 6) Prerequisite : None
ศิลปะกับความคิดสร้างสรรค์ 3
4 4) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ศิลปะเป็นพื้นฐานของความคิดสร้างสรรค์และความสวยงาม ซึ่งเราสามารถนาไป ใช้ในชีวิตประจาวัน ทำให้เกิดประโยชน์ต่อชีวิตและยังใช้กับงานด้านอื่นๆ นับว่ามีบทบาทต่อการ ดำรงอยู่และความเจริญต่อมนุษย์ สามารถแสดงออกถึงความรู้สึกนึกคิด และความงดงามในจิตใจ ด้วยผลงานศิลปะ ทั้งในส่วนของทฤษฏีสี องค์ประกอบศิลป์ และงานประติมากรรม และการฝึกฝน เชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างสรรค์ผลงานศิลปะอันเปี่ยมด้วยคุณค่าต่อสังคม (บรรยาย 1 ชั่วโมง ปฏิบัติ 4 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 4 ชั่วโมง/สัปดาห์)

10700 205 Art and creativity (1 4 4

Prerequisite : None

Arts pave the foundation for creativity and beauty that students can apply to their daily lives, which is beneficial to living. At the same time, these two aspects can also be applied to other matters . Thus, it can be said that arts play important roles in sustaining and developing mankind by enabling human beings to express their thoughts and beauty in their minds through art works. All the topics, namely theory of colors, art composition, sculpture and practical training, will enable students to create art works that are valuable for the society.

(Lecture 1 hours, Practice 4 hour, Self Study 4 hours/week) 206 3 (3 0 6)

มคอ. 2 148
3
)
10700
คติชนวิทยา
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคติชนวิทยา ข้อมูลคติชนวิทยาประเภทตำนานและนิทาน พิธีกรรม เพลงพื้นบ้าน ความเชื่อในวิถีชีวิตมนุษย์ คติชนวิทยากับสังคมปัจจุบัน (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10700 206 Folklore 3 (3 0 6) Prerequisite : None The foundation of knowledge in folklore, The folklore records, the types of mythology, tale, ritual, folksong, the way of life and believes, folklore and urban society. (Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week) 10700 207 ศิลปะและโบราณคดีในประเทศไทยเพื่อสุนทรียะ 3 (3 0 6) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศิลปะและโบราณคดี พัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรม ในประเทศไทย ศิลปะและโบราณคดีในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยทวารวดี สมัยศรีวิชัย สมัย ลพบุรี สมัยหริภุญไชย สมัยล้านนา สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา สมัยรัตนโกสินทร์ (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์)

Prerequisite

Studying overview of major perspectives; concepts; and principal in adjustment . Apply concepts in modern life, i. e . self esteem and modern life; value and value change; gender roles; work; stress; anxiety; anger; love; intimate relationship; loneliness; death and loss.

(Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week) 3 (3 0 6)

มคอ. 2 149 10700 207 Appreciation in Art and Archaeology in Thailand 3 (3 0 6) Prerequisite : None Introduction to art and archaeology; social and cultural development in Thailand; art and archaeology in pre historic Davaravati Srivijaya Lopburi Haripunjaya Lanna Sukhothai Ayuttaya Rattanakosin (Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week) 10700 208 จิตวิทยาการปรับตัวสำหรับชีวิตสมัยใหม่ 3 (3 0 6) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ศึกษาแนวคิด มโนทัศน์ หลักการปรับตัว และประยุกต์ใช้มโนทัศน์การปรับตัวต่อ ชีวิตสมัยใหม่ การรับรู้คุณค่าในตนเองกับชีวิตสมัยใหม่ ค่านิยมและการปรับเปลี่ยนค่านิยม บทบาท ทางเพศสภาพ งานและการทางาน ความเครียด ความวิตกกังวล ความโกรธ ความรัก ความสัมพันธ์ ใกล้ชิด ความเหงา ความตายและการสูญเสีย (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10700 208 Adjustment Psychology for Modern Life 3 (3 0 6)
: None
10700 209 จิตวิทยาเพื่อการดำเนินชีวิตในสังคมสมัยใหม่
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ศึกษาแนวคิด มโนทัศน์ หลักการจิตวิทยาสมัยใหม่และการประยุกต์ใช้ในการ ดำเนินชีวิตในสังคมสมัยใหม่ เพื่อพัฒนาการตน การเรียนรู้ อารมณ์ แรงจูงใจ บุคลิกภาพ ความเครียดและสุขภาพจิต (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์)

10700 209 Psychology for Living in Modern Society (3 0 6)

Prerequisite : None

Studying overview of major perspectives, concepts, principal in modern psychology and apply concepts to living in modern society i. e. self development; learning; emotion; motivation; personality; stress and mental health

(Lecture 3 hours, Practice 0 hours, Self Study 6 hours/week)

10700 (3 0 6) Human relations Assertiveness, Team work and resolving conflict, Leadership and decision making, work life balance. Lecture hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/ 3 (2 2 5)

มคอ. 2 150
3
210 ความสุขและความสำเร็จในการทำงาน 3
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี การประยุกต์ใช้ศาสตร์ทางจิตวิทยาเพื่อการทำงานอย่างมีความสุขและประสบ ความสำเร็จ ศึกษาแบบของกรอบแนวคิดและอุปนิสัยแห่งความสำเร็จ การบริหารเวลา มนุษย สัมพันธ์ในการทำงาน การสื่อสารและการแสดงออกอย่างเหมาะสม การทำงานเป็นทีมและการ แก้ปัญหาความขัดแย้ง ภาวะผู้นำและการตัดสินใจ การปรับสมดุลชีวิตและการทำงาน (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10700 210 Happiness and success at work 3 (3 0 6) Prerequisite : None Applying science of Psychology to work happily and successfully .Study Mindset and characteristics of success, Time management,
at work, Communication and
(
3
week) 10700 211 การพัฒนาบุคลิกภาพความเป็นผู้ประกอบการที่ยั่งยืน
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี การประยุกต์ใช้ศาสตร์ทางจิตวิทยาในการเสริมสร้างบุคลิกภาพเพื่อความเป็น ผู้ประกอบการที่ยั่งยืน เน้นศึกษาพื้นฐานจิตใจ อารมณ์ และพฤติกรรมของแต่ละบุคคล ศึกษา เรียนรู้บุคลิกภาพความเป็นผู้ประกอบการ การจัดทำแผนการเสริมสร้างบุคลิกภาพสู่การเป็น ผู้ประกอบการที่ยั่งยืน (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์)

10700 211 Lasting Entrepreneurial Personality Development (2 2

Prerequisite : None

Applying science of Psychology to develop lasting entrepreneurship personality . Study focuses on the mental, emotional, and behavioral elements of individual . Study about entrepreneurial personalities . Planning of enhancing per sonalities to be a lasting entrepreneur.

(Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week)

10700 (2 basic knowledge about the definitions, genres, characteristics, and values of Thai literatures, the relationship between Thai literature and society, way of life, and arts Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week)

มคอ. 2 151
3
5)
212 วรรณคดีกับชีวิต 3
2 5) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับความหมาย ประเภท ลักษณะ และคุณค่าของวรรณคดีไทย ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีไทยกับสังคม วิถีชีวิต และศิลปะแขนงต่างๆ (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10700 212 Literature and Life 3 (2 2 5) Prerequisite : None The
(
10700 213 วัฒนธรรมข้าวและประเพณีชาวนาไทย 3 (3 0 6) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคติชนวิทยาและการศึกษาวิถีชีวิตชาวบ้าน ข้อมูลคติชน วิทยา ประเภทตำนานและนิทาน พิธีกรรมเกี่ยวกับข้าวและการเพาะปลูกในวัฒนธรรมข้าวของ ชาวนาไทย เพลงพื้นบ้าน ประเพณี ค่านิยม ข้อห้ามในวัฒนธรรม การทำนาของชาวนาไทย ข้อมูล วัฒนธรรมข้าวและประเพณีไทยในสังคมปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลง (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์)

10700 213 Rice Culture and Thai Farmers Traditions 3 (3 0 6)

Prerequisite : None

The foundation of knowledge in folkloristics and the study of folk life. The folklore records, the types of legends, fable stories, ritual practices of rice and rice farming in the rice culture of Thai farmers, folklore songs, traditions, values, taboos in the rice farming culture of Thai farmers, cultural archives of rice and Thai traditions in the dynamic of the present society.

(Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week)

10700 214 3 (3 0 6) 214 Agriculture for Life 3 (3 0 6)

Prerequisite : None

Evolution and importance of agriculture; biodiversity in the ecosystem; environmental factors affecting agricultural production; agricultural production systems; resources from microorganism, plants, land animals and aquatic animals: diversity of resources, utilization, management and conservation for sustainable and environmental friendly agriculture; communication of agricultural knowledge; royal initiative development and agriculture.

(Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week)

มคอ. 2 152
เกษตรเพื่อชีวิต
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี วิวัฒนาการ และความสำคัญของการเกษตร ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบ นิเวศวิทยา ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อปัจจัยการผลิตทางการเกษตร ระบบการเกษตร ทรัพยากร การผลิตด้านจุลินทรีย์ พืช สัตว์ ประมงความหลากหลายของทรัพยากร การนำมาใช้ ประโยชน์ การจัดการและการอนุรักษ์เพื่อการเกษตรที่ยั่งยืนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การ สื่อสารองค์ความรู้ทางการเกษตร การพัฒนาตามแนวพระราชดำริกับการเกษตร (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10700
มคอ. 2 153 3. กลุ่มภาษาและการสื่อสาร ก. รายวิชาภาษาไทย 10700 301 ภาษาไทยเพื่อการนำเสนอ 3 (2 2 5) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ฝึกทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการนำเสนอในรูปแบบต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เหมาะสมกับสถานการณ์และสื่อต่างๆ อย่างสร้างสรรค์ (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10700 301 Thai Language for Presentation 3 (2 2 5) Prerequisite : None Practice using Thai language skills for various presentations, able to present them through various media appropriately and creatively. (Lecture 2 hours, Practice 2 hours, Self Study 5 hours/week) 10700 302 การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3 (2 2 5) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ฝึกทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ การประยุกต์ใช้ภาษาไทยในชีวิตประจำวันผ่านสื่อสมัยใหม่อย่างมีวิจารณญาณ (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10700 302 Thai Society and Culture 3 (2 2 5) Prerequisite : None Practice listening, speaking, reading and writing skills and using Thai language for creative communication. Apply Thai language in daily life through new media with critical thinking. (Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week) 10700 303 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับชาวต่างประเทศ 3 (2 2 5) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ฝึกทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์)

Prerequisite : None

Studying Thai language for use in academic writing, focusing on vocabulary, transliteration, punctuation, sentence arrangement, formal and informal languages, plotting, writing a paragraph, introduction, summary, writing academic reports, writing academic articles, and compiling the content in a special problem proposal.

(Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week 3 (2 2 5)

มคอ. 2 154 10700 303 Thai for Communication for Foreigners 3 (2 2 5) Prerequisite : None Practice listening, speaking, reading, writing and using Thai language to communicate correctly, appropriately and effectively (Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week) 10700 304 ภาษาไทยเพื่องานเขียนเชิงวิชาการ 3 (2 2 5) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ศึกษาภาษาไทยเพื่อใช้ในงานเขียนเชิงวิชาการที่สาคัญในระดับอุดมศึกษา เน้นการ เขียนที่ถูกต้อง เหมาะสมชัดเจน ทั้งในเรื่องการใช้คา คาทับศัพท์ เครื่องหมายวรรคตอน การเรียบ เรียงประโยค ระดับภาษา การวางโครงเรื่อง การเขียนย่อหน้า คานา บทสรุป การเขียนรายงานเชิง วิชาการ การเขียนบทความเชิงวิชาการ และการเรียบเรียงเนื้อหาในโครงการร่างปัญหาพิเศษ (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10700 304 Technical Writing in Thai 3 (2 2 5)
) 10700 305 ภาษาไทยสำหรับหน่วยงานราชการ
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ศึกษาและทบทวนหลักเกณฑ์การใช้ภาษาไทยในการเขียนสาหรับการทำงานใน หน่วยงานราชการ หรือการติดต่อสื่อสารกับหน่วยงานราชการ การเขียนหนังสือราชการ การเขียน หนังสือเชิญประชุมและรายงานการประชุม การสัมภาษณ์ รวมถึงการปฏิบัติตนในขณะพูด มารยาทในการพูดและการฟัง (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์)

10700

Prerequisite

Study and on principles for Thai language in the context of governmental organization as official documents, letters, and report as well as conducting interviews, and training on speaking and listening manner. Lecture hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week)

10700 306 Thai Language for official purposes in the digital society 3 (2 2 5)

Prerequisite : None

Thai language for official purposes in the digital society, language phenomenon, knowledge of digital communications, Type of official purposes and how to use appropriate levels of language, writing in document, electronic media and the internet.

(Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week) 3 (2 2 5)

มคอ. 2 155
305 Thai Language for Governmental Organization 3 (2 2 5)
: None
review
writing
such
(
2
10700 306 ภาษาไทยเพื่อกิจธุระยุคดิจิทัล 3 (2 2 5) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ภาษาไทยเพื่อกิจธุระยุคดิจิทัล ปรากฏการณ์ทางภาษา ความรู้เกี่ยวกับการสื่อสาร เพื่อกิจธุระดิจิทัล ประเภทการติดต่อกิจธุระและแนวทางการใช้ภาษา การติดต่อกิจธุระรูปแบบ เอกสารการติดต่อกิจธุระรูปแบบสื่ออิเลกทรอนิกส์และอินเทอร์เน็ต (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์)
ข. รายวิชาภาษาต่างประเทศ 10700 307 ทักษะภาษาอังกฤษสาหรับศตวรรษที่ 21
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในระดับสูงขึ้น ทักษะภาษาอังกฤษสาหรับการดำเนิน ชีวิตประจำวันในศตวรรษที่ เน้นคำศัพท์ ไวยากรณ์ การฟัง การพูด การอ่าน และ การเขียน โดยมี เนื้อหาที่พื้นฐานมาจากภาษาอังกฤษสำหรับการดำเนินชีวิตประจำวันในศตวรรษที่ 21 (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์)

10700 307 English skill for 21st century 3 (2 2 5)

Prerequisite : None

English for communicative purposes on higher level; English skill for 21st Century in everyday life focusing on vocabulary, grammar, listening, speaking, reading and writing; based on English for 21st Century content.

(Lecture 2 hours, Practice 2 hours, Self Study 5 hours/week)

10700 308 3 (2 2 5)

มคอ. 2 156
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน เน้นคำศัพท์ ไวยากรณ์ ทักษะการ ฟัง การพูด การอ่านและการเขียน (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10700 308 English for everyday 3 (2 2 5) Prerequisite : None English for communicative purposes in everyday life; focusing on vocabulary, grammar, listening, speaking, reading and writing skills. (Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week) 10700 309 สนทนาภาษาอังกฤษ 3 (2 2 5) วิชาบังคับก่อน : ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน หรือ ทักษะภาษาอังกฤษสาหรับศตวรรษที่ 21 พัฒนาความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษและสื่อสารในชีวิตประจำวัน โดย ครอบคลุมถึงภาษาอังกฤษในการทำงาน และฝึกการออกเสียงที่ถูกต้อง (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10700 309 English Conversation 3 (2 2 5) Prerequisite : English for everyday or English skill for 21st century Developing English verbal communication skill for daily life, in a workplace and practice English pronunciation. (Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week)

10700 310 Basic English for Business and Startups 3 (2 2 5)

Prerequisite : English for everyday or English skill for 21st century

Basic business English vocabulary, grammar, business conversation, expression and idioms, oral business presentation skills for business and startups Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week)

10700 311 (2 2 5)

มคอ. 2 157 10700 310 ภาษาอังกฤษเบื้องต้นสำหรับธุรกิจและสตาร์ทอัพ 3 (2 2 5) วิชาบังคับก่อน : ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน หรือ ทักษะภาษาอังกฤษสาหรับศตวรรษที่ 21 คำศัพท์ภาษาอังกฤษธุรกิจเบื้องต้น ไวยากรณ์ บทสนทนาเกี่ยวกับการทำธุรกิจ สำนวนเกี่ยวกับธุรกิจ ทักษะการพูดเพื่อนำเสนองานทางธุรกิจเพื่อทำธุรกิจและสตาร์ทอัพ (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์)
(
ภาษาอังกฤษเพื่อการสมัครงาน 3
วิชาบังคับก่อน : ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน หรือ ทักษะภาษาอังกฤษสาหรับศตวรรษที่ 21 การใช้ทักษะภาษาอังกฤษในการอ่านประกาศรับสมัครงานภาษาอังกฤษเพื่อสังคม โลก และสามารถเลือกงานที่เหมาะสมกับคุณสมบัติของตนเอง จดจาคาศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการ สมัครงานและนำไปใช้ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม เขียนเอกสารต่างๆ ในการสมัครงาน ได้แก่ resume, cover letter และสามารถใช้ทักษะการสื่อสารในการสัมภาษณ์งานได้อย่างถูกต้องและ เหมาะสมตามธรรมเนียมของบริบททางสังคมที่แตกต่างกัน (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10700 311 English for Job Seekers 3 (2 2 5) Prerequisite : English for everyday or English skill for 21st century Usage of English skills in reading job advertisements and choosing appropriate job, remembering vocabulary related to job application, writing job application documents : resume, letter of application and applying English communication skills to job interview with proper etiquette. (Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week)

Prerequisite : English for everyday or English skill for 21st century

Developing English skills in academic context, focusing on vocabulary, grammar, reading, listening, speaking and writing skills. Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week) (2 2 English Science Innovation (2 2 5)

Prerequisite : English for everyday or English skill for 21st century

Specific vocabulary and grammatical structures in the context of science and innovation, using intrigated skills, and 21st century skills

(Lecture 2 hours, Practice 2 hours, Self Study 5 hours/week)

มคอ. 2 158 10700 312 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 3 (2 2 5) วิชาบังคับก่อน : ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน หรือ ทักษะภาษาอังกฤษสาหรับศตวรรษที่ 21 พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษด้านคำศัพท์ ไวยากรณ์ การอ่าน การฟัง การพูดและ การเขียน ในบริบทเชิงวิชาการ (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10700 312 English for Academic Purposes 3 (2 2 5)
(
10700 313 ภาษาอังกฤษเชิงวิทยาศาสตร์และนวัตกรรม 3
5) วิชาบังคับก่อน : ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน หรือ ทักษะภาษาอังกฤษสาหรับศตวรรษที่ 21 คำศัพท์เฉพาะด้าน โครงสร้างทางไวยากรณ์ ในบริบทของวิทยาศาสตร์และ นวัตกรรม โดยใช้ทักษะสัมพันธ์ด้านการฟัง พูด อ่านและเขียน ประกอบกับการใช้เทคโนโลยีที่ เหมาะสมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10700 313
for
and
3

Specific vocabulary and grammatical structures in the context of agricultural sciences, using integrated skills Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week) (2 2 5)

Prerequisite skill for 21st century

Specific vocabulary and grammatical structures in the context of global society, integrated language Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/

มคอ. 2 159 10700 314 ภาษาอังกฤษสำหรับวิชาชีพเกษตร 3 (2 2 5) วิชาบังคับก่อน : ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน หรือ ทักษะภาษาอังกฤษสาหรับศตวรรษที่ 21 คำศัพท์เฉพาะด้าน โครงสร้างทางไวยากรณ์ในบริบททางด้านเกษตร โดยใช้ทักษะ สัมพันธ์การฟัง พูด อ่าน และเขียน (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10700 314 English for Agricultural Profession 3 (2 2 5) Prerequisite : English for everyday or English skill for 21st century
(
10700 315 ภาษาอังกฤษเพื่อสังคมโลก 3
วิชาบังคับก่อน : ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน หรือ ทักษะภาษาอังกฤษสาหรับศตวรรษที่ 21 ศึกษาคำศัพท์เฉพาะด้าน โครงสร้างทางไวยากรณ์ในบริบทสังคมโลก โดยใช้ทักษะ สัมพันธ์ การฟัง การพูด การอ่านและการเขียน (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10700 315 English for Global Society 3 (2 2 5)
: English for everyday or English
using
skills (
week)

10700 316 English for Green Science and Technology in Daily Life 3 (2 2 5)

Prerequisite : English for everyday or English skill for 21st century English vocabulary and structures in the fields of science and technologyfor environment, focusing on practice of overall English language skills and English learning strategies for communicating in science and technology areas (Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week)

10700 317 (2 2

มคอ. 2 160 10700 316 ภาษาอังกฤษเชิงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสีเขียวในชีวิตประจำวัน 3 (2 2 5) วิชาบังคับก่อน : ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน หรือ ทักษะภาษาอังกฤษสาหรับศตวรรษที่ 21 คำศัพท์และโครงสร้างทางไวยากรณ์ภาษาอังกฤษในบริบททางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดล้อม มุ่งเน้นการฝึกฝนทักษะภาษาอังกฤษและกลวิธีการเรียน ภาษาอังกฤษเพื่อใช้สื่อสารเนื้อหาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์)
ภาษาอังกฤษเพื่อผู้ประกอบการทางการเกษตรสร้างสรรค์ 3
5) วิชาบังคับก่อน : ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน หรือ ทักษะภาษาอังกฤษสาหรับศตวรรษที่ 21 คำศัพท์และโครงสร้างภาษาอังกฤษทางด้านการเกษตรเพื่อประยุกต์ใช้ในการเป็น ผู้ประกอบการทางการเกษตรสร้างสรรค์ในยุคดิจิทัล (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10700 317 English for Creative Agripreneurs 3 (2 2 5) Prerequisite : English for everyday or English skill for 21st century Vocabulary and structures in the context of agriculture for applying to become a creative agripreneur in the digital age (Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week)

10700 318 Adjustment Psychology for Modern Life 3 (2 2 5)

Prerequisite : English for everyday or English skill for 21st century

Vocabulary and expressions used for tourism industry; practice of integrated language skills essential for tourism careers.

(Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week)

10700 319 3 (2 2 5) Entrepreneur International Business (2 2

Prerequisite : English for everyday or English skill for 21st century

Business vocabulary, idiomatic term, key concept, cultural etiquette, and applications to enhance entrepreneurial qualities and international business ventures.

(Lecture 2 hours, Practice 2 hours, Self Study 5 hours/

มคอ. 2 161 10700 318 ภาษาอังกฤษสำหรับการท่องเที่ยวสมัยใหม่ 3 (2 2 5) วิชาบังคับก่อน : ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน หรือ ทักษะภาษาอังกฤษสาหรับศตวรรษที่ 21 ฝึกทักษะทางภาษาเพื่อใช้ติดต่อสื่อสารในด้านงานบริการการท่องเที่ยวอย่างมี ประสิทธิภาพ และเหมาะสม (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์)
ภาษาอังกฤษสำหรับผู้ประกอบการและการค้าระหว่างประเทศ
วิชาบังคับก่อน : ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน หรือ ทักษะภาษาอังกฤษสาหรับศตวรรษที่ 21 คำศัพท์สำคัญในแวดวงธุรกิจ สำนวนภาษา องค์ความรู้ มารยาทและวัฒนธรรม ทางการค้าและประยุกต์องค์ความรู้ เพื่อเพิ่มคุณลักษณะความเป็นผู้ประกอบการและการค้า ระหว่างประเทศ (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10700 319 English for
and
3
5)
week)
มคอ. 2 162 10700 320 ภาษาอังกฤษเพื่อการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ 3 (2 2 5) วิชาบังคับก่อน : ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน หรือ ทักษะภาษาอังกฤษสาหรับศตวรรษที่ 21 คำศัพท์ สำนวน และทักษะภาษาอังกฤษที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อและการ ประกอบอาชีพ (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10700 320 English for Further Studies and Future Careers 3 (2 2 5) Prerequisite : English for everyday or English skill for 21st century Vocabulary, expressions, and skills essential for further studies and future careers. (Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week) 10700 321 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านการเกษตร 3 (2 2 5) วิชาบังคับก่อน : ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน หรือ ทักษะภาษาอังกฤษสาหรับศตวรรษที่ 21 ฝึกทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อสื่อสารเกี่ยวกับการเกษตรในชีวิตประจำวัน (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10700 321 Communicative English for Agriculture 3 (2 2 5) Prerequisite : English for everyday or English skill for 21st century Practicing English communication skills to communicate effectively in Agriculture topics in everyday life (Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week)

10700 322 English for Accounting Professional 3 (2 2 5)

Prerequisite : English for everyday or English skill for 21st century

Study grammatical structure, vocabulary, idioms in accounting field, focusing on listening, speaking, reading, and writing skills, so that students can apply the language knowledge and skills in their professional context together with producing their effective financial report in English version.

(Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week) 3 (2 2 5)

มคอ. 2 163 10700 322 ภาษาอังกฤษสำหรับวิชาชีพบัญชี 3 (2 2 5) วิชาบังคับก่อน : ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน หรือ ทักษะภาษาอังกฤษสาหรับศตวรรษที่ 21 ศึกษาโครงสร้างทางไวยากรณ์ คำศัพท์ และสำนวนเกี่ยวข้องในการทำงานใน วิชาชีพบัญชีโดยเน้นทักษะการเรียนรู้ทั้งสี่ด้าน คือ ฟัง พูด อ่าน และการเขียน เพื่อให้นักศึกษา สามารถสนทนาภาษาอังกฤษในสำนักงานและการปฏิบัติงานบัญชีได้ สามารถอ่านและฟังข้อมูลที่ เกี่ยวข้องกับงานบัญชี พร้อมทั้งใช้ภาษาอังกฤษในการจัดทำรายงานทางการเงิน และนำเสนอ รายงานอย่างมีประสิทธิภาพ (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์)
4. กลุ่มการคิดคำนวณ การใช้เหตุผลและเทคโนโลยี 10700 401 การรู้สารสนเทศ
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี การรู้สารสนเทศ แหล่งสารสนเทศ ทรัพยากรสารสนเทศ การค้นคว้าและการใช้ สารสนเทศ การเลือกและการประเมินสารสนเทศ ทั้งในรูปแบบสิ่งพิมพ์และออนไลน์ สังคมสารสนเทศ การอ้างอิงตามหลักวิชาการทั้งสิ่งพิมพ์และออนไลน์ (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10700 401 Information Literacy 3 (2 2 5) Prerequisite : None Information literacy, Information sources, information resources, Research and information use, information selection and evaluation, Printed and online .Information society, Academic referencing, printed and online resources. (Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week)

(Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week) 403 3 (2 2 5)

มคอ. 2 164 10300 402 การใช้ชีวิตในสังคมดิจิทัล 3 (2 2 5) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ศึกษาเกี่ยวกับแนวคิดเกี่ยวกับความเข้าใจและการใช้ดิจิทัล สิทธิและความ รับผิดชอบการใช้ชีวิตในสังคมดิจิทัล ความสาคัญของข้อมูลสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งข้อมูล การ พัฒนาทักษะในการสืบค้นและอ้างอิงข้อมูล การใช้และจัดการสารสนเทศได้อย่างถูกต้องและมี ประสิทธิภาพ และมีวิจารณญาณ ตระหนักในจรรยาบรรณและผลกระทบที่มีต่อบุคคลและสังคม รวมทั้งกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10300 402 Living in Digital Society 3 (2 2 5) Prerequisite : None Study about digital literacy concept, rights and responsibilities, the life patterns in digital society, importance of ICT data, access to sources, development of searching and referencing skills, and appropriate use of ICT .Study the computer crime act and follow with discretion and ethics.
10300
โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการศึกษา
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ศึกษาเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมประยุกต์ที่ใช้งานแพร่หลายสาหรับการศึกษา ได้แก่ โปรแกรมการประมวลผลคำ โปรแกรมตารางคำนวณ โปรแกรมนำเสนอผลงาน และโปรแกรมอื่นๆ ที่น่าสนใจ รวมทั้งการทำความเข้าใจหน้าที่การทำงานของแต่ละโปรแกรม และการเลือกเครื่องมือ ที่เหมาะสมในการทำงาน (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10300 403 Educational Software 3 (2 2 5) Prerequisite : None Study about the use of widely used applications for education, including word processing programs spread sheet program, presentation program and other interesting programs .Understand the functions of each tool .Target the right tools for the tasks you have to perform. (Lecture 2 hours, Practice 2 hours, Self Study 5 hours/week)
มคอ. 2 165 10300 404 การตัดสินใจในชีวิตประจำวัน 3 (3 0 6) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ความหมายของการตัดสินใจ กระบวนการตัดสินใจ ข้อมูลและสารสนเทศ การ วิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น การตัดสินใจภายใต้ความแน่นอน การตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยง การ ตัดสินใจภายใต้ความไม่แน่นอน สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10300 404 Decision in Daily Life 3 (3 0 6) Prerequisite : None Definition of decision, decision process, data and information, basic data analysis, decision making under certainty, decision making under risk, decision making under uncertainty, information for decision. (Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week) 10300 405 การคำนวณทางธุรกิจและการลงทุนสำหรับผู้ประกอบการยุคใหม่ 3 (2 2 5) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ความรู้เบื้องต้นสำหรับผู้ประกอบการยุคใหม่ การคำนวณอัตราดอกเบี้ย การ คำนวณภาษี มูลค่าของเงินและเงินงวด การคำนวณสินเชื่อ การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน ผลตอบแทน และความเสี่ยงจากการลงทุน ค่าเสื่อมราคา แหล่งเทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจและการลงทุน การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปช่วยในการคำนวณ กรณีศึกษาและการประยุกต์ใช้การแก้ปัญหาทางธุรกิจ และการลงทุนของผู้ประกอบการ (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10300 405 Business and Investment Calculations for Modern Entrepreneurs 3 (2 2 5) Prerequisite : None Basic knowledge for modern entrepreneurs; interest rate calculation; tax calculation; value of money and annuity; loan calculation, break even point analysis; return and investment risk; depreciation; information technology for business and investment resources; using Package Software helps to calculate . Case studies and application of business solutions and entrepreneurial investment (Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week)

Importance of food; food consumption culture; technological applications to food in everyday life; use of food beyond consumption; nutritional service; small food enterprise and marketing; logistics and supply chain; nutraceuticals; general knowledge of medicine dosage and its danger and drug; consumers' rights and protection on nutrition and medicine.

(Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week) 407 (3 0 6)

มคอ. 2 166 10400 406 นานาสาระเกี่ยวกับอาหารและยา 3 (3 0 6) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี การใช้ประโยชน์จาก อาหารนอกเหนือจากการบริโภค การให้บริการด้านอาหาร ธุรกิจอาหารขนาดเล็ก การตลาดอาหาร โลจิสติกส์และซัพ พลายเชน เภสัชโภชนภัณฑ์และอาหาร ฟังก์ชั่น ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา อันตรายจากการใช้ยา ความรู้เกี่ยวกับยาเสพ ติดให้โทษ สิทธิของ ผู้บริโภคและการคุ้มครองผู้บริโภคทางอาหารและยา (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10400 406 Food and Society 3 (3 0 6) Prerequisite : None
10400
ทักษะดิจิทัลในศตวรรษที่ 21 3
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี แฟลทฟอร์มการเรียนรู้ล่าสุด ทักษะดิจิทัลสำหรับเครื่องมือเพิ่มประสิทธิภาพสำนักงาน ในที่ทำงาน โซเชียลมีเดียและเครื่องมือที่ทันสมัยสำหรับธุรกิจออนไลน์ เทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่น โดรน หุ่นยนต์ ความจริงเสมือน และปัญญาประดิษฐ์ (AI) ในศตวรรษที่ 21 ความปลอดภัยทางไซ เบอร์และการป้องกันข้อมูล การรู้เท่าทันดิจิทัลทางสังคมในการสื่อสารผ่านโซเชียลมีเดีย (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10400 407 Digital Skills in 21st Century 3 (3 0 6) Prerequisite : None Latest online learning platforms .Digital skills for office productivity tools in workplace .Social media and modern tools for online business .Modern technologies including drones, robots, virtual reality, and Artificial Intelligence (AI) in the 21st century. Cybersecurity and data protection. Socialized digital literacy in social media communication. (Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week)
มคอ. 2 167 10400 408 อาหารและเทคโนโลยี 3 (3 0 6) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี องค์ประกอบของอาหารและคุณค่าทางโภชนาการของแต่ละองค์ประกอบ การ เปลี่ยนแปลงของอาหาร เทคโนโลยียืดอายุ การเก็บและแปรรูปอาหาร เทคโนโลยีการบรรจุอาหาร เทคโนโลยีกับการจัดเก็บและการกระจายสินค้าอาหาร เทคโนโลยี การจัดการของเหลือใน อุตสาหกรรมอาหาร (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10400 408 Food and Technology 3 (3 0 6) Prerequisite : None Food compositions and their nutrition, Food changes, Technology for food preservation and processing, Food packaging technology, Technology for food product storation and distribution, Technology for waste management in food industry (Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week) 10300 409 คณิตศาสตร์เพื่อชีวิตสมัยใหม่ 3 (3 0 6) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ธรรมชาติของคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ในทางการเงิน วิทยาศาสตร์ธรรมชาติและ ศิลปะ วิทยาศาสตร์การตัดสินใจ และเทคโนโลยีการสื่อสาร คณิตศาสตร์เพื่อความมีประสิทธิภาพ และการประยุกต์ใช้สำหรับการใช้ชีวิต การทำงาน และปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10300 409 Mathematics for Modern Life 3 (3 0 6) Prerequisite : None The nature of mathematics; Mathematics in Finance, Natural Sciences and the Arts, Decision Sciences, and Communication Technologies; Mathematics for Efficiency; and Applications for living, working and including agricultural problems. (Lecture 3 hours, Practice 0 hours, Self Study 6 hours/week)

Prerequisite

Critique quantitative scientific and technological information, Scientific and Mathematical methods, Potential and limitations of science and technology, Statistical reasoning to describe and interpret data presented in daily life, and Applying critical mathematical and scientific reasoning skills through the issues drawn from the real world and current events.

(Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week) (2 2 5

มคอ. 2 168 10300 410 ความฉลาดรู้ด้านวิทยาศาสตร์สำหรับโลกสมัยใหม่ 3 (3 0 6) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี การวิจารณ์สารสนเทศเชิงปริมาณทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิธีการทาง วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ศักยภาพและข้อจำกัดของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การให้เหตุผล ทางสถิติเพื่ออธิบายและแปรผลข้อมูล และการประยุกต์ใช้ทักษะการให้เหตุผลเชิงวิเคราะห์ทาง วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์กับประเด็นเหตุการณ์สำคัญในโลกปัจจุบัน (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10300 410 Scientific Literacy for the Modern World 3 (3 0 6)
: None
10300 411 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต 3
) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี เป็นการศึกษาวิทยาศาสตร์โดยรวมที่มีผลกระทบต่อชีวิตทั้งบวกและลบ บทบาท วิทยาศาสตร์ต่อชีวิต มนุษย์และเอกภพ ภูมิอากาศและภัยพิบัติ พลังงานกับชีวิตประจาวัน มนุษย์ สิ่งแวดล้อมและปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม เคมีในอาหาร ผลิตภัณฑ์เคมีในชีวิตประจำวัน เทคโนโลยีชีวภาพในชีวิตประจาวัน สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมและผลกระทบ คณิตศาสตร์ใน ชีวิตประจำวัน คณิตศาสตร์เพื่อการตัดสินใจในสังคมยุคใหม่ สถิติในชีวิตประจำวัน เทคโนโลยี สารสนเทศในชีวิตประจำวัน เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนสังคม (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10300 411 Science for life 3 (2 2 5) Prerequisite : None This course emphasizes on positive and negative impact of science to life; roles of science on human and universe; weather and disaster; energy in everyday life ; Human environment and environmental issues; food chemistry; food

industry; pollution and prevention; biotechnology in everyday life; genetically. Modified organism and its impact; Mathematics in everyday life; Mathematics for decision making in modern era; Statistics on daily basis; information technology and way of life; and information technology for social cooperation. Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week) 3 (2 2 5

Prerequisite : None

This course emphasizes on learning process of human on nature and evolution of Science and technology that makes up of various economic eras ic. agriculture economy, industrial economy, information economy, and molecular economy. It also focuses on nanotechnology and scientific development for everyday life science, development of materials science, metal, ceramic, polymer, fabric and other fields. Researching herbs to cater to the local pharmaceutical industry in the future, bioinformatics, agriculture and industry, development of human genomics and bioinformatics, protein and medical applications, smart technology, artificial intelligence and the integration of science and technology.

(Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week)

มคอ. 2 169
(
10300 412 การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 (2 2 5) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี กระบวนการเรียนรู้ธรรมชาติของมนุษย์ตั้งแต่ยุคแรกเริ่ม วิวัฒนาการของ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ก่อให้เกิดเศรษฐกิจในยุคต่างๆ ได้แก่ ยุคแห่งการเกษตร (Agriculture Economy) ยุคอุตสาหกรรม (Industrial Economy) ยุคสารสนเทศ (Information Economy) ยุคแห่งโมเลกุล (Molecular Economy) นาโนเทคโนโลยี การพัฒนาการของวิทยาศาสตร์ในด้าน บริการเพื่อชีวิตประจาวัน การพัฒนาด้านวัสดุศาสตร์ โลหะ เซรามิค พอลิเมอร์ สิ่งทอและด้านอื่น ๆ การค้นคว้าด้านสมุนไพรและการให้ความสำคัญกับภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่อุตสาหกรรมยาในอนาคต ชีวสารสนเทศทางด้านการเกษตรและอุตสาหกรรม พัฒนาการด้านจีโนมนุษย์และชีวสารสนเทศ โปรตีนและการประยุกต์ใช้ทางการแพทย์ เทคโนโลยีฉลาด ปัญญาประดิษฐ์ และการบูรณาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10300 412 Development of Science and Technology
)

(Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week) 3 (3 0 6)

มคอ. 2 170 10300 413 วิทยาศาสตร์รอบตัวในศตวรรษที่ 21 3 (2 2 5) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี พัฒนาทักษะศตวรรษที่ 21 เช่น การแสดงความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม การ คิดอย่างมีวิจารณญาณ การสื่อสาร และการทำงานร่วมกับผู้อื่น เป็นต้น และประยุกต์ใช้ทักษะ ศตวรรษที่ 21 ในชีวิตประจาวัน เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ของพอลิเมอร์ สิ่งทอ และของรอบตัว วิทยาศาสตร์เคมีภัณฑ์และเทคโนโลยีเพื่อสุขภาพ พลังงานและการเกษตร เทคโนโลยีโลหกรรม ผลิตภัณฑ์แก้วและเซรามิค (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10300 413 Science in daily life for 21st century skill 3 (2 2 5) Prerequisite : None Development of 21st Century skills, for instance creativity, critical thinking, communication and collaboration. Applying the 21st Century skills in daily life, for example, polymer and textile products in daily life, chemical products and health technology, energy and agricultural products, metallurgy technology, and ceramic glass products.
5 .กลุ่มการเป็นผู้ประกอบการ 10500 501 เศรษฐศาสตร์เพื่อชีวิตประจำวันและการประกอบการ
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี การศึกษาเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญของเศรษฐศาสตร์เพื่อชีวิตประจำวัน และการประกอบการที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน วิวัฒนาการทางเศรษฐกิจ ภาวะเงิน เฟ้อ เงินฝืด ปัจจัยการผลิต บทบาททางเศรษฐกิจของภาครัฐที่มีผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน เศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับการเงินการคลัง และการวางแผนทางการเงินเพื่อการประกอบการ เพื่อให้ เกิดวิธีคิดต่อ การเข้าใจและสามารถปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของภาวะเศรษฐกิจใน ชีวิตประจำวันได้และสามารถพัฒนาใช้เป็นแนวคิดในการประกอบธุรกิจอันนำไปสู่การเป็นเจ้าของ กิจการในอนาคตได้ (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์)

10500 501 Economics in Daily Life and Operations 3 (3 0 6)

Prerequisite : None

This course aims to study the meaning and important of Daily Life and Operation Economics. Economy Evolution, Inflation, Deflation, Production Factors, Government roles in daily life economy, financial economics and financial planning for operation are also included.This course will help to understand and adapt the daily life behaviors follow to the economy changes as well as able to apply knowledge for operating their own businesses in the future.

(Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week)

10400 502 3 (2 2 5)

มคอ. 2 171
ผู้ประกอบการนวัตกรรมทางการเกษตร
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี แนวคิด องค์ความรู้ และทักษะการเป็นผู้ประกอบการใหม่เพื่อประกอบธุรกิจ นวัตกรรมเกษตร การบริหารจัดการนวัตกรรม กฎหมายธุรกิจนวัตกรรม การจัดการทรัพย์สินทาง ปัญญา แหล่งทุนสาหรับผู้ประกอบการนวัตกรรม ผู้ประกอบการธุรกิจเพื่อสังคม ผู้ประกอบการ ขององค์กร แบบจำลองการดำเนินธุรกิจนวัตกรรม และตัวอย่างธุรกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10400 502 Entrepreneurship 3 (2 2 5) Prerequisite : None Agripreneurial concepts, knowledges and skills for agtech startups, innovation management, innovative regulation, intellectual property management, startup fundraising, social entrepreneurship, corporate entrepreneurship, business models and example for startup and innovation driven enterprise. (Lecture 2 hours, Practice 2 hours, Self Study 5 hours/week)
มคอ. 2 172 10200 503 การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางธุรกิจ 3 (2 2 5) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี โปรแกรมสำเร็จรูปที่ใช้ทางธุรกิจ ประโยชน์ ข้อดี ข้อเสียและหลักการทำงาน โดยทั่วไปของโปรแกรมสำเร็จรูป โดยจะศึกษาโปรแกรมสำเร็จรูปในกลุ่มของการประมวลผลคำ การทำงานโดยใช้กระดาษตาราง (Worksheet) และการสร้างงานเพื่อนำเสนองานในลักษณะต่างๆ ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางธุรกิจที่สามารถ ส่งเสริมการเป็นผู้ประกอบการ (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10200 503 Application of business software packages 3 (2 2 5) Prerequisite : None Introduction to standard software programs for business, costs and benefits, and principles of the programs with emphases on word processing, worksheet and Create presentation with program business application software programs. The application of technology with business software packages that can promote entrepreneurship. (Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week) 10200 504 การเป็นผู้ประกอบการ 3 (2 2 5) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ศึกษาความหมายและแนวคิดของการเป็นผู้ประกอบการ คุณลักษณะและแรง บันดาลใจในการเป็นผู้ประกอบการ การคัดเลือกธุรกิจที่เหมาะสมกับผู้ประกอบการและการ ตั้งเป้าหมายรวมถึงศึกษาภาพรวมของการเขียนแผนธุรกิจ (บรรยาย 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10200 504 Entrepreneurship 3 (2 2 5) Prerequisite : None Study the meaning, concept and mindset of entrepreneurship, including entrepreneurial characteristics and inspiration. Screening the right business for the entrepreneur and goals setting, including studying of the overview of writing a business plan. (Lecture 2 hours, Practice 2 hour, Self Study 5 hours/week)

Prerequisite : None

Learn the basics of marketing using smartphones. The advancement and trend of digital. Marketing principles and examples of marketing by content marketing, website, social media, e mail marketing, consumer experience marketing and artificial intelligence ( Experience Marketing & AI) , super application, web site, E marketplace, influencer and Online PR. Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week) 3 (3 0 6)

มคอ. 2 173 10200 505 การตลาดบนสมาร์ทโฟน 3 (3 0 6) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ศึกษาหลักการพื้นฐานการทำการตลาดโดยใช้สมาร์ทโฟน ความก้าวหน้าของ การตลาดดิจิทัล หลักการและตัวอย่างในการทำการตลาดโดยเครื่องมือการทำการตลาดโดยเนื้อหา (Content Marketing), เว็บไซด์, สื่อสังคมออนไลน์, การทำการตลาดด้วยอีเมล์, การทำการตลาด จากประสบการณ์ของผู้บริโภคและปัญญาประดิษฐ์ (Experience Marketing & AI), แอพลิเคชัน เฉพาะของผลิตภัณฑ์ (Super App), เว็บไซด์สื่อกลางการติดต่อซื้อขาย, ผู้มิอิทธิพลทางความคิด และ ประชาสัมพันธ์ออนไลน์ (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10200 505 Marketing on smartphone 3 (3 0 6)
(
10200 506 การวางแผนการเงินในชีวิตประจำวัน
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ศึกษาถึงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบันทึกรายรับ รายจ่าย และงบการเงินส่วน บุคคล การออม การจัดหาแหล่งเงินทุน การขอสินเชื่อ การคำนวณดอกเบี้ย การลงทุน การสร้าง ความมั่งคั่งส่วนบุคคล (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10200 506 Financial Planning for Daily Life 3 (3 0 6) Prerequisite : None Learn the basics of recording income, expenditures and personal financial statements, saving, financing, loan application, calculating investment interest and personal wealth creating. (Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week)

Prerequisite : None

Role of taxation for business organization; an important of taxation for entrepreneur; regulations; laws, evaluation and collection of taxes for entrepreneurship including, personal income tax, withholding tax, special business tax, value added tax, corporate income tax, stamp duty, and other related taxes

(Lecture 3 hours, Practice 0 hour, Self Study 6 hours/week)

มคอ. 2 174 10200 507 ภาษีอากรสาหรับผู้ประกอบการ 3 (3 0 6) วิชาบังคับก่อน : ไม่มี บทบาทของการภาษีอากรต่อองค์กรธุรกิจ ความสำคัญของภาษีอากรสำหรับ ผู้ประกอบการ หลักเกณฑ์ กฎหมาย วิธีการประเมิน และการจัดเก็บภาษีอากรของผู้ประกอบการ ซึ่งได้แก่ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษี เงินได้นิติบุคคล อากรแสตมป์ และภาษีท้องถิ่นอื่นๆ (บรรยาย 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 0 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห์) 10200 507 Taxation for Entrepreneurship 3 (3 0 6)
มคอ. 2 175 เอกสารแนบ 5 ประวัติและผลงานของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร / อาจารย์ประจำหลักสูตร เอกสารแนบ 6 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม เอกสารแนบ 7 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม เอกสารแนบ 8 รายงานสรุปผลการประชุมคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรม วันที่ ..... .......... 2565 เวลา 10.00 น. ณ ห้องประชุม 2 202 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม เอกสารแนบ 9 รายงานการประชุมคณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรม วันที่ ...................... 2565 เวลา 10.00 น. ณ ห้องประชุม 2 202 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม เอกสารแนบ 10 ข้อบังคับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ว่าด้วยการศึกษาขั้นปริญญาตรี พ ศ 2556
มคอ. 2 176
มคอ. 2 177
มคอ. 2 178
มคอ. 2 179
มคอ. 2 180
มคอ. 2 181
มคอ. 2 182
มคอ. 2 183
มคอ. 2 184
มคอ. 2 185
มคอ. 2 186
มคอ. 2 187
มคอ. 2 188 เอกสารแนบ 10
มคอ. 2 189
มคอ. 2 190
มคอ. 2 191
มคอ. 2 192
มคอ. 2 193 เอกสารแนบ 12
มคอ. 2 194
มคอ. 2 195
มคอ. 2 196 เอกสารแนบ 13 สรุปโครงสร้างหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เรียงตามข้อบังคับสภาสถาปนิก ว่าด้วยการรับรองปริญญา อนุปริญญา และประกาศนียบัตร ในการประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม พ.ศ. 2545 (หลักสูตร 5 ปี) โครงสร้างหลักสูตรตามข้อบังคับของสภาสถาปนิก หน่วยกิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หมวดวิชาหลัก 46 หมวดวิชาพื้นฐาน 27 หมวดวิชาเทคโนโลยี 28 หมวดวิชาสนับสนุน 25 รายวิชาชีพ เลือก [6] รายวิชาเลือกเสรี (ไม่กำหนดในข้อบังคับสภา) [6] รวม (ยกเว้นรายวิชาชีพ เลือก และรายวิชาเลือกเสรี) 156 รายละเอียดโครงสร้างหลักสูตร เปรียบเทียบตามข้อบังคับสภาสถาปนิก หมวดวิชาหลัก (หลักสูตร 5 ปี ไม่น้อยกว่า 45 หน่วยกิต) 46 1 ปฎิบัติการออกแบบศิลปะ 3 2 การออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม 22 3 การออกแบบร่างภูมิสถาปัตยกรรม 3 4 การเตรียมวิทยานิพนธ์ 3 5 วิทยานิพนธ์ 9 6 การออกแบบพืชพรรณ 6 หมวดวิชาพื้นฐาน (หลักสูตร 5 ปี ไม่น้อยกว่า 20 หน่วยกิต) 27 1 ทฤษฎีการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม ประวัติศาสตร์ภูมิสถาปัตยกรรม 8 2 ความรู้เกี่ยวกับเมืองและชุมชน ผังเมือง 3 3 วัสดุพืชพรรณ วิทยาศาสตร์พืชพรรณ 6 4 นิเวศวิทยา ธรณีสัณฐานวิทยา 3
มคอ. 2 197 5 การเขียนแบบ การแสดงแบบ การนำเสนอผลงาน 7
มคอ. 2 198 โครงสร้างหลักสูตรตามข้อบังคับของสภาสถาปนิก หน่วยกิต หมวดวิชาเทคโนโลยี (หมวดเทคโนโลยี+หมวดสนับสนุน หลักสูตร 5 ปี ไม่น้อยกว่า 35 หน่วยกิต) 28 1 พื้นฐานวัสดุและการก่อสร้าง เทคโนโลยีและโครงสร้างในการก่อสร้าง 6 2 การออกแบบก่อสร้างภูมิสถาปัตยกรรม เทคโนโลยีภูมิสถาปัตยกรรม การจัดการพืชพันธุ์และ เกษตรภูมิทัศน์ 15 3 คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบงานภูมิสถาปัตยกรรม 4 5 การวิเคราะห์พื้นที่ การสำรวจพื้นที่สำหรับงานภูมิสถาปัตยกรรม 3 หมวดวิชาสนับสนุน (หมวดเทคโนโลยี+หมวดสนับสนุน หลักสูตร 5 ปี ไม่น้อยกว่า 35 หน่วยกิต) 25 1 ประวัติศาสตร์ศิลปะและสถาปัตยกรรม 3 2 ทฤษฎีและปฎิบัติการเกี่ยวกับการออกแบบสถาปัตยกรรมสาขาอื่นๆ 5 3 การปฎิบัติวิชาชีพและจริยธรรม 2 4 กฎหมาย 3 5 การสื่อสารเพื่อการนำเสนอผลงาน 3 6 การฝึกงาน/สหกิจศึกษา 9 9 วิชาเสริมความรู้อิ่นๆ รวมหมวดวิชาหลัก หมวดวิชาพื้นฐาน หมวดวิชาเทคโลยี หมวดวิชาสนับสนุน 126 หมวดศึกษาทั่วไป (ไม่กำหนดแต่ใช้พิจาณาประกอบ) 30 รวมจำนวนหน่วยกิตที่ต้องยื่นขอรับรองปริญญา (หลักสูตร 5 ปี ไม่น้อยกว่า100 หน่วยกิต) 156
มคอ. 2 199 รายละเอียดโครงสร้างหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เรียงตามข้อบังคับสภาสถาปนิก ว่าด้วยการรับรองปริญญา อนุปริญญา และประกาศนียบัตร ในการประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม พ.ศ. 2545 (หลักสูตร 5 ปี) สรุปโครงสร้างหลักสูตรตามข้อบังคับของสภาสถาปนิก หน่วย กิต (บ ป ศ) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หมวดวิชาหลัก 46 หมวดวิชาพื้นฐาน 27 หมวดวิชาเทคโนโลยี 28 หมวดวิชาสนับสนุน 25 วิชาชีพ เลือก (ไม่กำหนดในข้อบังคับสภา) [6] วิชาเลือกเสรี (ไม่กำหนดในข้อบังคับสภา) [6] รวม (ยกเว้นวิชาชีพเลือกและวิชาเลือกเสรี) 156 รายละเอียดวิชาในโครงสร้างหลักสูตร เปรียบเทียบตามข้อบังคับสภาสถาปนิก หน่วย กิต (บ ป ศ) หมวดวิชาหลัก (หลักสูตร 5 ปี ไม่น้อยกว่า 45 หน่วยกิต) 46 1 ปฎิบัติการออกแบบศิลปะ 3 การออกแบบเบื้องต้น 3 (1 6 5) 2 การออกแบบและการวางผังภูมิสถาปัตยกรรม 22 การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 1 2 3 12 (2 6 7) การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 4 5 (2 9 8) การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 5 5 (2 9 8) 3 การออกแบบร่างภูมิสถาปัตยกรรม 3 การออกแบบร่างภูมิสถาปัตยกรรม 1 2 3 3 (0 3 1) 4 การเตรียมวิทยานิพนธ์ 3 การเตรียมวิทยานิพนธ์ 3 (2 2 5) 5 วิทยานิพนธ์ 9 วิทยานิพนธ์ 9 (0 27 0) 6 การออกแบบพืชพรรณ 6
มคอ. 2 200 การออกแบบวางผังพืชพรรณ 1 2 6 (2 3 5) รายละเอียดวิชาในโครงสร้างหลักสูตร เปรียบเทียบตามข้อบังคับสภาสถาปนิก หน่วย กิต (บ ป ศ) หมวดวิชาพื้นฐาน (หลักสูตร 5 ปี ไม่น้อยกว่า 20 หน่วยกิต) 27 1 ทฤษฎีการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม ประวัติศาสตร์ภูมิสถาปัตยกรรม 8 ภูมิสถาปัตยกรรมเบื้องต้น 3 (3 0 6) แนวคิดและปรัชญาในงานภูมิสถาปัตยกรรม 3 (3 0 6) ประวัติศาสตร์ภูมิสถาปัตยกรรม 2 (2 0 4) 2 ความรู้เกี่ยวกับเมืองและชุมชน ผังเมือง 3 การวางผังเมืองและชุมชนอย่างยั่งยืน 3 (2 3 5) 3 วัสดุพืชพรรณ วิทยาศาสตร์พืชพรรณ 6 วัสดุพืชพรรณและการเลือกใช้ 1 2 6 (2 3 5) 4 นิเวศวิทยา ธรณีสัณฐานวิทยา 3 นิเวศวิทยาภูมิทัศน์ 3 (2 3 5) 5 การนำเสนอผลงาน การแสดงแบบ การเขียนแบบ 7 เลขะนิเทศ 1 2 (0 6 3) เลขะนิเทศ 2 3 (1 6 5) เทคโนโลยีการเขียนแบบ 2 (0 6 3) หมวดวิชาเทคโนโลยี (หมวดเทคโนโลยี+หมวดสนับสนุน หลักสูตร 5 ปี ไม่ น้อยกว่า 35 หน่วยกิต) 28 1 พื้นฐานวัสดุและการก่อสร้าง เทคโนโลยีและโครงสร้างในการก่อสร้าง 6 กลศาสตร์โครงสร้างสำหรับงานสถาปัตยกรรมและงานภูมิทัศน์ 3 (2 2 5) ระบบโครงสร้างงานสถาปัตยกรรมและภูมิสถาปัตยกรรม 3 (2 3 5) 2 การออกแบบก่อสร้างภูมิสถาปัตยกรรม เทคโนโลยีภูมิสถาปัตยกรรม การ จัดการพืชพันธุ์และเกษตรภูมิทัศน์ 15 การก่อสร้างทางภูมิสถาปัตยกรรม 1 4 12 (2 3 5) การบริหารงานก่อสร้างและการดูแลรักษางานภูมิสถาปัตยกรรม 3 (2 3 5) 3 คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบงานภูมิสถาปัตยกรรม 4 คอมพิวเตอร์พื้นฐานสำหรับงานภูมิสถาปัตยกรรม 2 (1 3 3) คอมพิวเตอร์ขั้นสูงในงานภูมิสถาปัตยกรรม 2 (1 3 3)
มคอ. 2 201 4 การวิเคราะห์พื้นที่ การสำรวจพื้นที่สำหรับงานภูมิสถาปัตยกรรม 3 การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลในงานภูมิสถาปัตยกรรม 3 (2 3 5) รายละเอียดวิชาในโครงสร้างหลักสูตร เปรียบเทียบตามข้อบังคับสภาสถาปนิก หน่วย กิต (บ ป ศ) หมวดวิชาสนับสนุน (หมวดเทคโนโลยี+หมวดสนับสนุน หลักสูตร 5 ปี ไม่น้อย กว่า 35 ) 25 1 ประวัติศาสตร์ศิลปะ 3 ประวัติศาสตร์ศิลปะและสถาปัตยกรรม 3 (3 0 6) 2 ทฤษฎีและปฎิบัติการเกี่ยวกับการออกแบบสถาปัตยกรรมสาขาอื่นๆ 5 การออกแบบสถาปัตยกรรม 5 (2 6 7) 3 การปฏิบัติวิชาชีพและจริยธรรม 2 การปฏิบัติวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรม 2 (2 0 4) 4 กฎหมาย 3 กฎหมายที่ดิน ผังเมือง และสิ่งแวดล้อม 3 (3 0 6) 5 การสื่อสารเพื่อการนำเสนอผลงาน 3 การสื่อสารในการปฏิบัติวิชาชีพ 3 (2 2 5) 6 การฝึกงาน สหกิจศึกษา 9 สหกิจศึกษา หรือการเรียนรู้อิสระ หรือการศึกษาหรือฝึกงานหรือฝึกอบรม ต่างประเทศ 9 (0 27 0) 7 วิชาเสริมความรู้อิ่น (กลุ่มวิชาชีพ เลือก) (ไม่นับรวมในการขอรับรอง ปริญญา) 6 ศิลปนิยม 3 (3 0 6) ภูมิศาสตร์กายภาพ 3 (3 0 6) นิเวศวิทยาและหลักอนุรักษ์วิทยา 3 (3 0 6) วัสดุและเทคนิควิธีการก่อสร้างภูมิทัศน์ 3 (3 0 6) ปฏิบัติงานภูมิสถาปัตยกรรมภาคสนาม 3 (1 4 4) การจัดการพื้นที่นันทนาการ 3 (3 0 6) ภูมิทัศน์วัฒนธรรม 3 (3 0 6) การออกแบบสิ่งแวดล้อมในงานสถาปัตยกรรมสถาปัตยกรรม 3 (3 0 6) ภูมิสารสนเทศเพื่องานภูมิสถาปัตยกรรม 3 (2 3 5)
มคอ. 2 202 โทรสัมผัสเพื่อการวางแผนที่ดิน 3 (2 3 5) การอนุรักษ์และการฟื้นฟูชุมชนเมือง 3 (3 0 6) รายละเอียดวิชาในโครงสร้างหลักสูตร เปรียบเทียบตามข้อบังคับสภาสถาปนิก หน่วย กิต (บ ป ศ) การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเมือง 3 (3 0 6) ภูมิสถาปัตยกรรมเชิงปฏิบัติการ 3 (1 4 4) ภูมิทัศนศึกษาภายในประเทศ 3 (0 90 0) ภูมิทัศนศึกษาต่างประเทศ 3 (0 90 0) สัมมนาภูมิสถาปัตยกรรม 3 (2 2 5) การบริหารจัดการธุรกิจภูมิทัศน์ 3 (2 2 5) การประเมินผลกระทบทางสายตา 3 (3 0 6) รวมหมวดวิชาหลัก หมวดวิชาพื้นฐาน หมวดวิชาเทคโลยี และหมวดวิชา สนับสนุน (ไม่รวมรายวิชาชีพ เลือก และรายวิชาเลือกเสรี) 126 หมวดศึกษาทั่วไป (ไม่กำหนดแต่ใช้พิจารณาประกอบ) 30 รวมจำนวนหน่วยกิตที่ขอรับรองปริญญา (หลักสูตร 5 ปี ไม่น้อยกว่า 100 หน่วยกิต) 156
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.