แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้ำห้วยโจ้ อ. สันทราย. เชียงใหม่

Page 1



รายงานผลการวิจัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เรื่อง

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย. เชียงใหม่ GUIDELINES TO CONSERVE, REVITALIZE, AND DEVELOP HUAYJO WATERFRONT LANDSCAPE, SANSAI, CHIANGMAI.

โดย

จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ 2560



รายงานผลการวิจัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เรื่อง แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย. เชียงใหม่ GUIDELINES TO CONSERVE, REVITALIZE, AND DEVELOP HUAYJO LANDSCAPE, SANSAI, CHIANGMAI.

ได้รับการจัดสรรงบประมาณวิจัย

WATERFRONT

ประจ้าปี 2558

จ้านวนเงิน 105,300บาท

หัวหน้าโครงการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จรัสพิมพ์ บุญญานันต์

วันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2560



ค้าน้า ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีแหล่งน้​้าธรรมชาติประเภท ล้าห้วย ล้าคลอง และแม่น้า มากมาย ช่วยหล่อเลี้ยงสรรพชีวิตในระบบนิเวศ ทั้งในพื้นที่ธรรมชาติ และพื้นที่ในย่านชุม ชนเมือง เป็นทรัพยากร อันส้าคัญอย่างยิ่งต่อการด้ารงชีวิตของทั้งคน พืช และสัตว์ทั้งหลาย ความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่แหล่งน้​้า ย่อมส่งผลดีต่อคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของสมาชิกในระบบนิเวศนั้นๆ ในปัจจุบันชุมชนมนุษย์มีการ ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง พื้นที่ธรรมชาติลดปริมาณลงกลายเป็นพื้นที่อยู่อาศัยของมนุษย์ เกิดปัญหาการรุก ล้​้าพื้นที่ริมน้​้าในแทบจะทุกพื้นที่ของประเทศไทย และส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในที่สุด ส้าหรับล้าน้​้า ห้วยโจ้ เป็นล้าน้​้าขนาดเล็ก ที่ไหลผ่านพื้นที่ที่มีสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพที่หลากหลาย ทั้งพื้นที่ป่า ชุมชน พื้นที่ เกษตรกรรม สถาบั นการศึกษา ย่านพาณิช ยกรรม มีความเหมาะสมที่จะเป็นพื้นที่ศึกษา ค้นคว้าถึงแนวทางในการแก้ปัญหาดังกล่าวส้าหรับพื้นที่ย่านชานเมืองซึ่งเกิดการเปลี่ยนแปลงของการใช้ พื้นที่อย่างมากในช่วงระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงจัดท้าโครงการศึกษาวิจัย เรื่องแนว ทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย. เชียงใหม่นี้ ขึ้น โดยได้เดินทาง ไปส้ารวจพื้นที่เบื้องต้น และได้เห็นถึงความเสื่อมโทรมของสภาพแวดล้อมโดยรอบแหล่งน้​้า การขาดการ อนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาพื้นที่ดังกล่าว อันส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ รวมไปถึงคุณภาพชีวิตของผู้ชนใน ชุมชนที่อยู่โดยรอบ โครงการศึกษาวิจัยขึ้น โดยมีเป้าหมายเพื่อจะให้เป็นแนวทางชี้น้าในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาสภาพแวดล้อมของพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย. เชียงใหม่ ให้เป็นไปอย่างถูกต้องและ เหมาะสม และหวังว่าจะเป็นต้นแบบส้าหรับพื้นที่ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันภายในประเทศ การวิจัยนี้ได้เริ่มด้าเนินการตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2557 และสิ้นสุดในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2559 เป็นงานวิจัยที่มีกิจกรรมบางส่วนที่บูรณาการเข้ากับการเรียนการสอน ในรายวิชา ภส 536 การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 6 ในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ซึ่งเป็นรายวิชาในหลักสูตรภูมิ สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ผู้ด้าเนิน การศึกษาวิจัย ได้รั บความร่ ว มมือเป็นอย่างดีจากผู้ที่มีส่ ว นเกี่ยวข้องกับการใช้ประโยชน์พื้นที่ บริเวณโดยรอบล้าน้​้าห้วยโจ้ ทั้งชาวบ้านในชุมชน เจ้าของกิจการ ผู้ประกอบการ นักศึกษา และเจ้าหน้าที่ ของรัฐ ซึ่งได้ให้ข้อมูลอันเป็นประโยชน์เป็นอย่างยิ่ง ในการด้าเนินงานวิจัย ผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงการวิจัยนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงาน องค์กร และตัวแทนของ ชุมชนต่างๆที่รับผิดชอบต่อการดูและพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย. เชียงใหม่ ทั้งจะเป็น เครื่องมือที่จะช่วยในการประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง อันจะเกิดประโยชน์สูงสุดต่อ คุณภาพชีวิตของคนในชุมชนสืบต่อไป ผู้ด้าเนินการศึกษาวิจัย มีนาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้ถือก้าเนิดขึ้นและด้าเนินการไปได้ด้วยดีจนกระทั่งเสร็จสิ้นได้ ก็ด้วยความช่วยเหลือจาก หลายๆฝ่ า ย หน่ ว ยงานแรกที่ จ ะต้ อ งขอขอบคุ ณ คื อ ส้ า นั ก งานวิ จั ย และส่ ง เสริ ม วิ ช าการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ที่สนับสนุนทุนการวิจัย (ได้รับการจัดสรรงบประมาณวิจัย ประจ้าปี 2558) รวมทั้ง ขอบคุณเจ้าหน้าที่ส้านักวิจัยทุกท่านที่ช่วยเหลืออ้านวยความสะดวกด้วยดีเสมอมา กลุ่ ม คนต่อ มาที่ ต้อ งขอขอบคุ ณ คื อนั ก ศึ ก ษาชั้ น ปี ที่ 5 สาขาวิ ช าภู มิ ส ถาปั ต ยกรรม คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม ซึ่งได้เข้าร่วมด้าเนินกิจกรรมซึ่งบูรณาการการวิจัยเข้า กับการเรียนการสอน ในภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2557 โดยมีบทบาทส้าคัญในการลงพื้นที่เก็บ ข้อมูลเบื้องต้น และช่วยวิเคราะห์ข้อมูลในบางส่วน ซึ่งทุกคนก็ให้ความร่วมมือด้วยดีอย่างยิ่ง เข้ามาช่วย เก็บข้อมูลการวิจัยด้วยความตั้งใจ ช่วยให้งานวิจัยด้าเนินไปได้สะดวกมากขึ้น ขอขอบคุณประชาชนในชุมชนโดยรอบพื้นที่ศึกษา ที่ช่วยให้ ข้อมูล พร้อมด้ว ยมิตรไมตรีที่ดี ตลอดระยะเวลาทีเ่ ข้าไปเก็บข้อมูลท้าการวิจัย ท้าให้การท้างานเป็นไปด้วยความราบรื่นตลอดมา

ผู้ด้าเนินการวิจัย


สารบัญเรื่อง ค้าน้า กิตติกรรมประกาศ สารบัญเรื่อง สารบัญตาราง สารบัญภาพ สารบัญแผนที่ สารบัญแผนภาพ สารบัญแผนภูมิ บทคัดย่อ Abstract

หน้า (2) (3) (4) (6) (7) (12) (14) (14) (15) (17)

บทที่ 1 บทน้า ความเป็นมาและความส้าคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ของการวิจัย ขอบเขตการวิจัย ระเบียบวิธีวิจัย ค้านิยามศัพท์ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย งบประมาณในการวิจัย ระยะเวลาในการด้าเนินการวิจัย ข้อจ้ากัดและปัญหาในการท้าวิจัย

1 2 2 4 4 5 6 7 7

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แนวคิดและทฤษฎี ภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้า คุณลักษณะของภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้า การวางผังภูมิทัศน์เชิงนิเวศ การอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้า งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

8 8 9 10 10 11


สารบัญเรื่อง (ต่อ) หน้า

บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย แหล่งข้อมูลงานวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล การประมวลผลข้อมูล บทที่ 4 ผลของการศึกษาวิจัยและการอภิปราย ผลการศึกษาสภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานของพื้นที่โครงการ ผลการส้ารวจปัจจัยทางธรรมชาติ ผลการส้ารวจปัจจัยทางวัฒนธรรม และสิ่งที่มนุษย์สร้าง ผลการส้ารวจปัจจัยทางด้านสุนทรียภาพ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามผู้ใช้พื้นที่โครงการ ผลการวิเคราะห์ศักยภาพและข้อจ้ากัดของพื้นที่ แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนา พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ ตามศักยภาพ และข้อจ้ากัดของพื้นที่และความคิดเห็นของผู้ใช้พื้นที่โครงการ บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ที่มา ประเด็นปัญหา และข้อมูลพื้นฐานของโครงการ ผลการวิจัย การอภิปรายผล ปัญหาที่พบในการวิจัย ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม

19 21 22 23 24 25 38 77 106 114 127 137

168 169 175 176 176 177


สารบัญตาราง ตารางที่ 1 ตารางที่ 2 ตารางที่ 3 ตารางที่ 4 ตารางที่ 5 ตารางที่ 6 ตารางที่ 7 ตารางที่ 8 ตารางที่ 9 ตารางที่ 10 ตารางที่ 11

งบประมาณที่ใช้ในการวิจัย กิจกรรมภายในพื้นที่ว่างของชุมชนชุมชนตลาดเก่ามีนบุรี กรุงเทพมหานคร พื้นที่ว่างในชุมชนที่มีการประกอบกิจกรรมของผู้อาศัยใน ชุมชนมากกว่า 1 กิจกรรม จ้านวนครัวเรือนและกลุ่มตัวอย่าง รายชื่อต้าบลและจ้านวนหมู่บ้านในอ้าเภอสันทราย ประเภทการใช้ที่ดินในเขตอ้าเภอสันทราย คุณลักษณะของดินและปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดินภายในพื้นที่โครงการ ระดับความรุนแรงของปัญหาการใช้พื้นที่ที่พบ แนวทางการจัดการการใช้ประโยชน์ที่ดิน และภูมิทัศน์ริมล้าน้​้าห้วยโจ้ ในอนาคต การประเมินคุณค่าของปัจจัยที่มีผลต่อศักยภาพในการใช้ประโยชน์พื้นที่ ศักยภาพและข้อจ้ากัดของพื้นที่โครงการในแต่ละบริเวณ

หน้า 6 16 17 21 27 30 52 124 126 127 135


สารบัญรูปภาพ ภาพที่ 1 ภาพที่ 2 ภาพที่ 3 ภาพที่ 4 ภาพที่ 5 ภาพที่ 6 ภาพที่ 7 ภาพที่ 8 ภาพที่ 9 ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่

10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22

อ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ มีความสูงประมาณ 420 เมตร เหนือระดับน้​้าทะเล ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของพื้นที่โครงการ สภาพภูมิประเทศบริเวณโดยรอบอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ ซึ่งอยู่ภายในป่า อนุรักษ์บ้านโปง แผนผัง รูปตัด และภาพถ่าย บริเวณอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ แผนผัง รูปตัด และภาพถ่าย ห้วยโจ้ บริเวณพื้นที่ป่าไม้และสวนผลไม้ ใต้อ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ แผนผัง รูปตัด และภาพถ่ายของห้วยโจ้ บริเวณที่ไหลผ่านชุมชนบ้านโปง แผนผัง รูปตัด และภาพถ่ายของห้วยโจ้ บริเวณที่ไหลผ่านพื้นที่เกษตรกรรม และพื้นที่ชุมชนบ้านวิเวก แผนผัง รูปตัด และภาพถ่ายของห้วยโจ้ บริเวณที่ไหลผ่านศูนย์วิจัย หม่อนไหม และมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แผนผัง รูปตัด และภาพถ่ายของห้วยโจ้ บริเวณพื้นที่พาณิชยกรรม และพื้นที่ชุมชนบ้านแม่โจ้ แผนผัง รูปตัด และภาพถ่ายของห้วยโจ้ บริเวณที่ไหลผ่านพื้นที่เกษตรกรรม บ้านแม่โจ้ สภาพพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้บริเวณที่ 1 สภาพพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้บริเวณที่ 2 สภาพพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้บริเวณที่ 3 สภาพพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้บริเวณที่ 4 สภาพพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้บริเวณที่ 5 พื้นที่ป่าอ่างบริเวณเก็บน้​้าห้วยโจ้ ไม้เด่นในพื้นที่ป่าเต็งรังเรือนยอดชั้นบน ไม้เสริมในพื้นที่ป่าเต็งรังเรือนยอดชั้นบน ลักษณะพืชพรรณในพื้นที่ป่าเต็งรังเรือนยอดชั้นรอง พืชพันธุ์ในพื้นที่ป่าเต็งรังเรือนยอดชั้นรอง ลักษณะพืชพรรณในพื้นที่ป่าเต็งรังเรือนยอดชั้นไม้พุ่ม พืชพันธุ์ในพื้นที่ป่าเต็งรังเรือนยอดชั้นไม้พุ่ม พันธุ์ไม้พื้นล่างที่พบภายในพื้นที่ศึกษา

หน้า 39 39 47 47 48 49 49 50 50 58 59 60 61 62 65 65 66 66 66 67 67 67


สารบัญรูปภาพ (ต่อ) ภาพที่ 23 ภาพที่ 24 ภาพที่ 25 ภาพที่ 26 ภาพที่ 27 ภาพที่ 28 ภาพที่ 29 ภาพที่ 30 ภาพที่ 31 ภาพที่ 32 ภาพที่ 33 ภาพที่ 34 ภาพที่ 35 ภาพที่ 36 ภาพที่ 37 ภาพที่ 38 ภาพที่ 39 ภาพที่ 40 ภาพที่ 41 ภาพที่ 42 ภาพที่ 43

พันธุ์ไม้ริมน้​้าและวัชพืชที่พบภายในพื้นที่ศึกษา พันธุ์ไม้ในพื้นที่สาธารณะที่พบภายในพื้นที่ศึกษา พันธุ์ไม้ท้องถิ่นในพื้นที่ชุมชนบ้านโปงที่พบภายในพื้นที่ศึกษา พรรณไม้ที่พบในพื้นที่ศึกษา Zone A. พื้นที่ปลายน้​้า พรรณไม้ที่พบในพื้นที่ศึกษา Zone B. พื้นที่ปลายน้​้า พรรณไม้ที่พบในพื้นที่ศึกษา Zone C. พื้นที่ปลายน้​้า พรรณไม้ที่พบในพื้นที่ศึกษา Zone D. พื้นที่ปลายน้​้า พรรณไม้ริมถนน และริมล้าห้วยโจ้ ภายในพื้นที่โครงการ สัตว์ที่พบภายในพื้นที่โครงการ ผู้ใช้ภายในพื้นที่โครงการ ภาพถ่ายทางอากาศแสดงการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินบริเวณพื้นที่ ป่าอนุรักษ์บ้านโปง ภายในระยะเวลา 10 ปี ภาพถ่ายทางอากาศแสดงการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินบริเวณชุมชน บ้านวิเวกและชุมชนบ้านโปง ภายในระยะเวลา 10 ปี ภาพถ่ายทางอากาศแสดงการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินบริเวณพื้นที่ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ภายในระยะเวลา 10 ปี ภาพถ่ายทางอากาศแสดงการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินบริเวณพื้นที่ พาณิชยกรรม และชุมชนบ้านแม่โจ้ ภายในระยะเวลา 10 ปี อาคารพักอาศัยโครงสร้างไม้บริเวณบ้านวิเวก อาคารพักอาศัยโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก อาคารชั่วคราวโครงสร้างคอนกรีต บริเวณบ้านวิเวก อาคารชั่วคราวโครงสร้างไม้ บริเวณบ้านวิเวก อาคารเรียนคณะสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตัวอย่างอาคารขนาดใหญ่ ที่มีรูปแบบร่วมสมัย อาคารเรียนคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตัวอย่างอาคาร ขนาดใหญ่ที่มีรูปแบบสมัยใหม่ อาคารศูนย์กล้วยไม้และไม้ดอกไม้ประดับ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตัวอย่าง อาคารขนาดใหญ่ที่มีรูปแบบหลังสมัยใหม่ แสดงเอกลักษณ์หลังคาแบบ ล้านนาประยุกต์

หน้า 68 68 69 74 74 75 75 76 76

77 78 79 80 81 91 92 92 93 93 94 94


สารบัญรูปภาพ (ต่อ) ภาพที่ 44 ภาพที่ 45 ภาพที่ 46 ภาพที่ 47 ภาพที่ 48 ภาพที่ 49 ภาพที่ 50 ภาพที่ 51 ภาพที่ 52 ภาพที่ 53 ภาพที่ 54 ภาพที่ 55 ภาพที่ 56 ภาพที่ 57 ภาพที่ 58 ภาพที่ 59 ภาพที่ 60 ภาพที่ 61 ภาพที่ 62 ภาพที่ 63 ภาพที่ 64 ภาพที่ 65 ภาพที่ 66 ภาพที่ 67 ภาพที่ 68

อาคารเทพศาสตร์สถิตย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตัวอย่างอาคารขนาดใหญ่ ที่มีรูปแบบหลังสมัยใหม่ แสดงเอกลักษณ์หลังคาแบบล้านนาประยุกต์ อาคารพาณิชย์ บริเวณริมถนนทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 1001 ด้านหน้ามหาวิทยาลัยแม่โจ้ อาคารพาณิชย์บางแห่งเพิ่มหน้าจั่วขนาดเล็กด้านหน้าอาคาร เพื่อแสดง ลักษณะแบบไทยประยุกต์ กลุ่มอาคารหอพักขนาดใหญ่ เป็นอาคารสูง 5 ชั้น บริเวณบ้านแม่โจ้ อาคารหอพักขนาดใหญ่ สูง 3 ชั้น อุโบสถและเจดีย์ภายในวัดแม่โจ้ อาคารเรียนไม้ 2 ชั้น ภายในโรงเรียนบ้านแม่โจ้ อ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ แท้งค์เก็บน้​้าบาดาล บริเวณพื้นที่ป่าบ้านโปง ระบบประปาหมู่บ้าน ชุมชนบ้านวิเวก ระบบประปาภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ส้านักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค อ้าเภอสันทราย ถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1001 หรือถนน เชียงใหม่ – พร้าว ถนนทางหลวงชนบท หมายเลข 7065 หรือถนนบ้านโปง ถนนทางหลวงชนบท หมายเลข 4034 หรือ ถนนเลียบคันคลอง ถนนซอยบ้านแม่โจ้ 9 ถนน median strip ระบบสาธารณูปการบริเวณต้นน้​้าและกลางน้​้า ระบบสาธารณูปการบริเวณกลางน้​้าและปลายน้​้า มุมมองจากจุดที่ 1 บริเวณตอนต้นของอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ มุมมองจากจุดที่ 2 บริเวณตอนกลางของอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ มุมมองจากจุดที่ 3 บริเวณตอนท้ายของอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ มุมมองจากจุดที่ 4 บริเวณค่ายลูกเสือแทนคุณ ใต้อ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ ภายในป่าบ้านโปง มุมมองจากจุดที่ 5 บริเวณที่ตั้งศูนย์เรียนรู้การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ภายในป่าบ้านโปง มุมมองจากจุดที่ 6 บริเวณป่าบ้านโปง

หน้า 95 95 96 96 97 97 98 98 99 99 100 100 102 102 103 103 104 105 105 108 108 109 109 110 110


สารบัญรูปภาพ (ต่อ) ภาพที่ 69 ภาพที่ 70 ภาพที่ 71 ภาพที่ 72 ภาพที่ 73 ภาพที่ 74

มุมมองจากจุดที่ 7 บริเวณพื้นที่เกษตรกรรม ชุมชนบ้านโปง มุมมองจากจุดที่ 8 บริเวณพื้นที่ชุมชนบ้านโปง มุมมองจากจุดที่ 9 บริเวณพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ ชุมชนบ้านท่ายาว มุมมองจากจุดที่ 10 บริเวณพื้นที่เกษตรกรรม ชุมชนบ้านท่ายาว มุมมองจากจุดที่ 11 บริเวณพื้นที่เกษตรกรรม และพื้นที่ชุมชนบ้านแม่โจ้ ทัศนียภาพโดยทั่วไปบริเวณอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ มีความสวยงามมาก

ภาพที่ 75 ภาพที่ 76 ภาพที่ 77 ภาพที่ 78 ภาพที่ 79 ภาพที่ 80 ภาพที่ 81

ทัศนียภาพในปัจจุบัน บริเวณศาลาชมวิวริมอ่างเก็บน้​้า การปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณป้ายโครงการอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ การปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณเหนือเขื่อน อ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ การปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณศาลาชมวิว อ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ ทัศนียภาพบริเวณด้านหน้าศาลาชมวิว สังเกตจะมีจุดจอดจักรยาน ทัศนียภาพ บริเวณศาลาชมวิว เสริมทางเท้าบริเวณริมอ่างเก็บน้​้า เพื่อกิจกรรมเดินเล่น และวิ่งออกก้าลังกาย ทัศนียภาพบริเวณสะพานท่าน้​้าส้าหรับกิจกรรมชมวิว พักผ่อนหย่อนใจ และตกปลา สภาพพื้นที่ในปัจจุบันของพื้นที่ใต้อ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ (บริเวณค่ายลูกเสือแทนคุณ) ทัศนียภาพบริเวณทางเข้าค่ายเยาวชนอนุรักษ์ป่าไม้ (ค่ายลูกเสือแทนคุณเดิม) ทัศนียภาพบริเวณด้านหน้ากลุ่มอาคารบริการ ทัศนียภาพบริเวณลานรวมพล ทัศนียภาพบริเวณลานกางเต้นท์มองไปยังอาคารเอนกประสงค์ ทัศนียภาพบริเวณลานกางเต้นท์มองไปยังหอสังเกตการณ์ ทัศนียภาพบริเวณลานกางเต้นท์ในยามค่้าคืน ทัศนียภาพมุมสูงบริเวณลานกางเต้นท์ ทัศนียภาพบริเวณป้ายสื่อความหมายและสะพานแขวน ทัศนียภาพบริเวณจุดขึ้นลงทางเดินชมเรือนยอดไม้ ป้ายสื่อความหมายบนทางเดินชมเรือนยอดไม้

ภาพที่ 82 ภาพที่ 83 ภาพที่ 84 ภาพที่ 85 ภาพที่ 86 ภาพที่ 87 ภาพที่ 88 ภาพที่ 89 ภาพที่ 90 ภาพที่ 91 ภาพที่ 92 ภาพที่ 93

หน้า 111 111 112 112 113 138 140 141 141 142 142 143 144 144 145 147 148 148 149 150 150 151 151 152 153


สารบัญรูปภาพ (ต่อ) ภาพที่ 94 ภาพที่ 95 ภาพที่ 96 ภาพที่ 97 ภาพที่ 98 ภาพที่ 99 ภาพที่ 100 ภาพที่ 101 ภาพที่ 102 ภาพที่ 103 ภาพที่ 104 ภาพที่ 105 ภาพที่ 106 ภาพที่ 107 ภาพที่ 108 ภาพที่ 109 ภาพที่ 110 ภาพที่ 111 ภาพที่ 112 ภาพที่ 113

มุมมองจากทางเดินชมเรือนยอดไม้ไปยังสะพานเชือก พื้นที่บริเวณโดยรอบโรงอาหารและร้านค้า อุปกรณ์ออกก้าลังกายภายในสวนสุขภาพ ม้านั่งและศาลาพักผ่อนภายในสวนสุขภาพ พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้บริเวณที่ไหลผ่านมหาวิทยาลัยแม่โจ้ สวนพักผ่อนหย่อนใจริมน้​้าห้วยโจ้ พื้นที่นั่งพักผ่อนหย่อนใจริมน้​้าห้วยโจ้ ท่าน้​้าบริเวณหอพักนักศึกษา ศาลาท่าน้​้าส้าหรับพักผ่อนหย่อนใจ โรงจอดรถหลังคาพลังงานแสงอาทิตย์ ร้านค้าซึ่งได้รับการปรับปรุงให้มีความสวยงาม ทันสมัยมากขึ้น บริเวณด้านข้างร้านค้าส่วนที่ติดกับสวนพักผ่อนหย่อนใจ ม้านั่งรอบต้นไม้ด้านหน้าโรงอาหารเทิดกสิกร เวทีแสดงอเนกประสงค์และที่จอดรถ ทางเข้าสวนสุขภาพบุญศรีเฉลิมพระเกียรติ สวนน้​้าพุภายในสวนสุขภาพ ปลูกไม้ดอกไม้ประดับสวยงาม อุปกรณ์ออกก้าลังกายภายในสวนสุขภาพถูกจัดไว้เป็นกลุ่ม สะดวกต่อการใช้ พื้นที่นั่งพักผ่อนหย่อนใจภายในสวนสุขภาพ ศาลาริมน้​้าและท่าน้​้าได้รับการปรับปรุงใหม่ การปรับปรุงภูมิทัศน์ริมตลิ่งล้าน้​้าห้วยโจ้บริเวณที่ไหลผ่าน มหาวิทยาลัยแม่โจ้

หน้า 153 154 155 155 156 159 159 160 160 161 161 162 162 164 164 165 165 166 166 167


สารบัญแผนที่ แผนที่ 1 แผนที่ 2 แผนที่ 3 แผนที่ 4 แผนที่ 5 แผนที่ 6 แผนที่ 7 แผนที่ 8 แผนที่ 9 แผนที่ 10 แผนที่ 11 แผนที่ 12 แผนที่ 13 แผนที่ 14 แผนที่ 15 แผนที่ 16 แผนที่ 17 แผนที่ 18 แผนที่ 19 แผนที่ 20 แผนที่ 21 แผนที่ 22 แผนที่ 23 แผนที่ 24 แผนที่ 25 แผนที่ 26 แผนที่ 27 แผนที่ 28 แผนที่ 29 แผนที่ 30

แสดงที่ตั้งของล้าน้​้าห้วยโจ้ ในเขต อ. สันทราย จ. เชียงใหม่ แสดงเขตการปกครองจังหวัดเชียงใหม่ แสดงสภาพภูมิประเทศของอ้าเภอสันทราย แสดงสถานที่ตั้งโครงการในระดับต้าบล แสดงชุมชนที่อยู่โดยรอบพื้นที่โครงการ แสดงถนนเข้าถึงพื้นที่โครงการ แสดงการเชื่อมโยงกับพื้นที่อื่นๆ แสดงเส้นชั้นความสูงและระดับความสูงจากระดับน้​้าทะเล การวิเคราะห์ระดับความสูงของพื้นที่จากระดับน้​้าทะเล การวิเคราะห์ความลาดชันของพื้นที่ แหล่งน้​้าและการระบายน้​้า แหล่งน้​้าและการระบายน้​้าผ่านสถานที่ส้าคัญภายในพื้นที่โครงการ ภาพถ่ายแหล่งน้​้าบริเวณต่างๆภายในพื้นที่โครงการ การวิเคราะห์น้าบาดาลบริเวณพื้นที่โครงการ ชุดดินในพื้นที่โครงการ ขอบเขตพื้นที่ชุดดินในพื้นที่โครงการ ทิศทางการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์และทิศทางของลมประจ้าถิ่น การแบ่งพื้นที่ย่อยในการวิเคราะห์สภาพภูมิอากาศระดับพื้นที่ การแบ่งพื้นที่ย่อยในการศึกษาวิเคราะห์พืชพรรณในพื้นที่โครงการ การวิเคราะห์พืชพรรณในพื้นที่ศึกษาบริเวณที่ 1 พื้นที่ต้นน้​้า การวิเคราะห์พืชพรรณในพื้นที่ศึกษาบริเวณที่ 2 พื้นที่กลางน้​้า ภาพพืชพรรณประกอบแผนที่ในพื้นที่ศึกษาบริเวณที่ 2 พื้นที่กลางน้​้า การวิเคราะห์พืชพรรณในพื้นที่ศึกษาบริเวณที่ 3 พื้นที่ปลายน้​้า ต้าแหน่งการวิเคราะห์พืชพรรณในพื้นที่ศึกษาบริเวณที่ 3 พื้นที่ปลายน้​้า แสดงการใช้ที่ดินภายในพื้นที่โครงการ แสดงพื้นที่ก้าหนดการใช้ที่ดินจากผังเมืองรวมเมืองเชียงใหม่ แสดงพื้นที่ก้าหนดการใช้ที่ดินจากผังเมืองรวมจังหวัดเชียงใหม่ ประเภทของอาคารเดิมในพื้นที่ ประเภทของอาคารเดิมในพื้นที่ต้นน้​้าห้วยโจ้ ประเภทของอาคารเดิมในพื้นที่กลางน้​้าห้วยโจ้

หน้า 3 28 29 34 35 36 37 40 41 42 44 45 46 51 54 55 56 57 63 64 70 71 72 73 82 83 84 87 88 89


สารบัญแผนที่ (ต่อ) แผนที่ 31 แผนที่ 32 แผนที่ 33 แผนที่ 34 แผนที่ 35 แผนที่ 36 แผนที่ 37 แผนที่ 38 แผนที่ 39 แผนที่ 40 แผนที่ 41 แผนที่ 42 แผนที่ 43 แผนที่ 44 แผนที่ 45 แผนที่ 46 แผนที่ 47 แผนที่ 48 แผนที่ 49

ประเภทของอาคารเดิมในพื้นที่กลางน้​้าห้วยโจ้ ต้าแหน่งในการวิเคราะห์มุมมองตลอดความยาวของพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ ต้าแหน่งล้าน้​้าห้วยโจ้และแหล่งน้​้าภายในพื้นที่โครงการ การประเมินคุณค่าของพืชพรรณที่มีผลต่อศักยภาพของการใช้ พื้นที่ โครงการ การประเมินคุณค่าของการใช้ประโยชน์ที่ดินเดิมที่มีผลต่อต่อศักยภาพ ของการใช้พื้นที่โครงการในอนาคต การประเมินคุณค่าของการเข้าถึงพื้นที่ริมน้​้าที่มีผลต่อต่อศักยภาพของ การใช้พื้นที่โครงการในอนาคต ผลการสังเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่ที่เหมาะกับการพัฒนาเพื่อเป็น พื้นที่นันทนาการและพักผ่อนหย่อนใจ ผลการสังเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่ที่เหมาะกับการพัฒนาเพื่อเป็น พื้นที่พัฒนาคุณภาพน้​้าและระบบนิเวศ ผลการสังเคราะห์ศักยภาพและข้อจ้ากัดของพื้นที่โครงการในภาพรวม แผนผังแม่บทการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่ริมอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ แผนผังรายละเอียดการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณศาลาชมวิว แผนผังรายละเอียดการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่ริมอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ แผนผังการปรับปรุงภูมิทัศน์ค่ายเยาวชนอนุรักษ์ป่าไม้ แผนผังรายละเอียดการวางผังภูมิทัศน์บริเวณกลุ่มอาคารบริการ แผนผังรายละเอียดการวางผังภูมิทัศน์บริเวณลานกางเต้นท์และ ทางเดินศึกษาธรรมชาติ แผนผังรายละเอียดการวางผังภูมิทัศน์บริเวณทางเดินชมเรือนยอดไม้ แผนผังแม่บทการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ บริเวณโรงอาหาร และสวนสุขภาพ ภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แผนผังแม่บทการปรับปรุงภูมิทัศน์ริมน้​้าห้วยโจ้ บริเวณร้านค้า โรงอาหารเทิดกสิกร และหอพักนักศึกษา แผนผังแม่บทการปรับปรุงภูมิทัศน์ บริเวณสวนสุขภาพบุญศรี เฉลิมพระเกียรติ

หน้า 90 107 128 129 130 131 132 133 134 139 140 143 146 147 149 152 157 158 163


สารบัญแผนภาพ แผนภาพที่ 1

กรอบแนวคิดของการวิจัย

หน้า 18

สารบัญแผนภูมิ แผนภูมิที่ 1 แผนภูมิที่ 2 แผนภูมิที่ 3 แผนภูมิที่ 4 แผนภูมิที่ 5 แผนภูมิที่ 6 แผนภูมิที่ 7 แผนภูมิที่ 8 แผนภูมิที่ 9 แผนภูมิที่ 10 แผนภูมิที่ 11 แผนภูมิที่ 12 แผนภูมิที่ 13 แผนภูมิที่ 14 แผนภูมิที่ 15 แผนภูมิที่ 16 แผนภูมิที่ 17 แผนภูมิที่ 18 แผนภูมิที่ 19 แผนภูมิที่ 20 แผนภูมิที่ 21 แผนภูมิที่ 22

ชุมชนที่ผู้ตอบแบบสอบถามอาศัยอยู่ ต้าบลที่ผู้ตอบแบบสอบถามอาศัยอยู่ ระยะห่างของบ้านพักอาศัยหรือสถานประกอบการกับล้าน้​้าห้วยโจ้ เพศชองผู้ตอบแบบสอบถาม จ้านวนสมาชิกในครัวเรือนของผู้ตอบแบบสอบถาม อายุของสมาชิกในครัวเรือน/ที่พักอาศัยของผู้ตอบแบบสอบถาม อาชีพของผู้ตอบแบบสอบถาม ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในพื้นที่โครงการของผู้ตอบแบบสอบถาม ปริมาณน้​้าใช้อุปโภคบริโภคเฉลี่ยต่อเดือนของผู้ตอบแบบสอบถาม ค่าน้​้าเฉลี่ยต่อเดือนของผู้ตอบแบบสอบถาม ค่าน้​้าเฉลี่ยต่อเดือนของผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามที่มี/ไม่มี มีการบ้าบัดน้​้าเสีย ก่อนระบายน้​้าทิ้ง วิธีการบ้าบัดน้​้าเสียที่ใช้ในพื้นที่โครงการ ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามที่เคย/ไม่เคยใช้น้าจากล้าน้​้าห้วยโจ้ ในการท้าประโยชน์ ลักษณะของกิจการที่ใช้ประโยชน์จากล้าน้​้าห้วยโจ้ ลักษณะของกิจการที่ใช้ประโยชน์จากล้าน้​้าห้วยโจ้ วิธีการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน คุณภาพของน้​้าในล้าน้​้าห้วยโจ้ ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามที่เคย/ไม่เคย ท้ากิจกรรมบริเวณ พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ ใช้พื้นที่บริเวณล้าน้​้าห้วยโจ้ ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามที่เคย/ไม่เคยมีส่วนร่วมในการ อนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ ประเภทของกิจกรรมที่เคยมีส่วนร่วมในการ อนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนา พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้

หน้า 114 115 115 116 116 117 117 118 118 119 119 120 120 120 121 121 122 122 123 123 124 125


แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย. เชียงใหม่ GUIDELINES TO CONSERVE, REVITALIZE, AND DEVELOP HUAYJO WATERFRONT LANDSCAPE, SANSAI, CHIANGMAI. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์1 CHARASPIM BOONYANUNT 1

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ. เชียงใหม่ 50290

บทคัดย่อ ในปัจจุบันล้าห้วยโจ้และพื้นที่โดยรอบประสบปัญหาในด้านต่างๆ เนื่องจากความเจริญเติบโตของ ชุมชนเมือง ท้าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินจากพื้นทีเกษตรกรรม ไปเป็นพื้นที่อยู่อาศัย ก่อให้เกิดปัญหาการรุกล้​้าพื้นที่ล้าน้​้าห้วยโจ้ การพังทลายของตลิ่ง สภาพแวดล้อมพื้นที่ริมล้าน้​้าเสื่อมโทรม และปริมาณน้​้าไม่เพียงพอต่อการอุปโภคบริโภคและการเกษตรกรรม ในฤดูแล้ง โครงการวิจัยเรื่อง “แนว ทางการอนุ รั กษ์ ฟื้น ฟู และพัฒ นาสภาพแวดล้ อมทางด้านกายภาพ พื้นที่ริมน้​้าห้ว ยโจ้ อ. สั นทราย. เชียงใหม่” เกิดขึ้นเพื่อศึกษาหาแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมต่อไปในอนาคตของพื้นที่ โดยท้าการศึกษาถึง ปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อทางการอนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพของพื้นที่ริมล้าน้​้าห้วยโจ้ น้าไปวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อหาศักยภาพและข้อจ้ากัดของพื้นที่ และน้าข้อมูลดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ เพื่อหาแนวทางการอนุ รั กษ์ฟื้ น ฟูและพัฒ นาสภาพแวดล้ อมทางกายภาพของพื้น ที่ริมล้ าน้​้า ห้ ว ยโจ้ ที่ สอดคล้องกับระบบนิเวศและชุมชนที่มีอยู่เดิม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยนี้ ประกอบด้วย แบบสอบถาม แบบส้ารวจ และการสังเกตการณ์ ท้าการ เก็บรวบรวมข้อมูล ทั้งข้อมูลทุติยภูมิ ซึ่งเป็นการรวบรวมจากเอกสาร หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลจาก แบบสอบถาม ข้อมูลจากการส้ารวจ โดยใช้การถ่ายภาพ เสก็ตช์ภ าพ การจดบันทึก และการก้าหนด ต้าแหน่งในผังพื้นฐาน (Base Map) และข้อมูลจากการสังเกตการณ์ภาคสนาม น้าข้อมูลทั้งหมดมา วิเคราะห์ด้วยวิธีการที่เหมาะสม ประกอบด้วย การวิเคราะห์ปัจจัยต่างๆลงในผังพื้นฐาน (Base Map) การ ซ้อนทับแผนที่ (Overlay Mapping) การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณา (Descriptive Statistics) การใช้สถิติ แบบร้อยละ (Percentage) และค่าเฉลี่ย (Mean) ในที่สุดแล้วจึงน้าผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้มา ประมวลผลร่วมกัน เพื่อสรุปถึงผังพื้นที่แสดงศักยภาพและข้อจ้ากัดในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิ


ทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ จากนั้นคัดเลือกพื้นที่ สาธิต ท้าการเสนอแนะแนวทางในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และ พัฒนาทางด้านกายภาพของพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ ที่สอดคล้องกับระบบนิเวศและความต้องการของชุมชน ผลของการวิจัยสามารถสรุปได้ถึงแนวทางทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทั ศน์พื้นที่ริมน้​้า ห้วยโจ้ อ. สันทราย. เชียงใหม่ และพื้นที่ที่เหมาะสม โดยการก้าหนดขอบเขตของพื้นที่อนุรักษ์ ฟื้นฟู และ พัฒ นาภูมิทัศน์ พื้น ที่ริ มน้​้ า ให้ ชัดเจน การส่ งเสริมกิจกรรมให้ ส อดคล้ องกับการอนุรักษ์และการอยู่กับ ธรรมชาติ การเพิ่มปริมาณกักเก็บน้​้า การฟื้นฟูคุณภาพน้​้าในแหล่งน้​้า การลดการปล่อยน้​้าเสียจากสถาน ประกอบการและครัวเรือนลงในล้าน้​้า การขุดลอกแหล่งน้​้าในบริเวณที่ตื้นเขิน ก้าจัดวัชพืชทั้งในน้​้า และ บนฝั่ง การปลูกพืชคลุมดินบริเวณริมตลิ่งที่มีความลาดชันสูง เพื่อป้องกันการพังทลายของหน้าดิน การ ส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการฟื้นฟูระบบนิเวศริมน้​้า การก้าหนดวัตถุประสงค์ในการพัฒนา พื้นที่ในแต่ละบริเวณ ให้เหมาะสมกับความต้องการในการใช้พื้นที่ของคนในชุมชน ปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ พื้นที่ริมน้​้าให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งเอาไว้ โดยลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อมให้เหลือ น้อยที่สุด และการส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในทุกๆขั้นตอนของการพัฒนา ไปจนถึงการดูแลรักษาพื้นที่ การเสนอแนวทางการอนุ รั ก ษ์ฟื้น ฟูและพัฒ นาพื้นที่ ริมน้​้ าห้ ว ยโจ้ เป็ นการสร้างสรรค์การใช้ ประโยชน์พื้นที่ริมน้​้าที่หลากหลาย ทั้งพื้นที่อนุรักษ์ป่าไม้ พื้นที่เพื่อการศึกษาระบบนิเวศ พื้นที่เกษตรกรรม เป็นต้น นอกจากนี้ยังเป็นการพัฒนาการใช้ประโยชน์จากพื้นที่รกร้างว่างเปล่า ช่วยเสริมสร้างความเข้มแข็ง ให้ แ ก่ชุม ชน ช่ว ยสร้ างระบบเชื่อ มโยงของพื้ นที่เ ปิดโล่ ง ตลอดแนวล้ าน้​้า ห้ ว ยโจ้ ปรั บปรุ งทั้ง ในเรื่อ ง ทัศนียภาพ ประโยชน์ใช้สอยของพื้นที่ และการเข้าถึงของพื้นที่เดิม และปรับปรุงการเชื่อมโยงระหว่าง พื้ น ที่ ริ ม น้​้ า และพื้ น ที่ ชุ ม ชนที่ อ ยู่ โ ดยรอบ และที่ ส้ า คั ญ ที่ สุ ด คื อ ช่ ว ยฟื้ น ฟู ร ะบบนิ เ วศภู มิ ทั ศ น์ ริ ม น้​้ า ที่ เหมาะสมกับการอยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตทั้งคนและสัตว์ต่างๆ เพื่อให้เกิดความยั่งยืนต่อไปในอนาคต


ABSTRACT Nowadays, Huay Jo canal and the surrounding areas are experiencing problems in various aspects due to urban growth which causes changes in the utilization of land from agricultural areas to residential areas. This has resulted in the problems of the encroachment of the Huay Jo canal area, erosion of the bluffs canal area, environment degradation and the quantity of water is not sufficient for use. The research project entitled " Guidelines to Conserve, Revitalize, and Develop Huay Jo Waterfront Landscape, Sansai, Chiangmai.� aims to study the appropriate practices to future generations of the space by studying the various factors that affect the way the conservation, rehabilitation and development of the physical environment of the Huay Jo canal area, to analyse and synthesize, to find the potential and the limitations of the space, and the application of that information to find ways to conserve, restore and develop the physical environment of the Huay Jo canal area, corresponding to the eco-system and the existing communities. Tools used in this research consisted of a questionnaire survey and observations. All data were collected including those from secondary sources such as documents from the relevant agencies, primary data from questionnaire survey, data using photography, sketching notes and the base map, and data from observations in the field. All data was analysed by means of appropriate analysis factors into the base map chart, overlay analysis (Overlay Mapping), spatial statistics (Descriptive Statistics), portrays a statistical model (percentage) and the average (Mean) in the end. Then, all analyzed information was processed together to summarize the potential areas and conservation restrictions. Rehabilitation and development of the Huay Jo waterfront landscape areas then were selected as a design demonstration area, following the guidelines in the conservation, restoration, and development of Huay Jo waterfront landscape area, corresponding to the eco-system, and the needs of the communities. The results of this research summarized the conservation practices, rehabilitation and development of the Huay Jo waterfront landscape areas, San Sai, and the appropriate spaces by clearly identifying the scopes of the restoration and development of the waterfront landscape area, promoting activities in accordance with conservation and with nature, increasing water retention, improving water quality, reducing emissions


and waste water from the household into the canal, dredging the water channel in the areas where shallow Weed, both in water and on-shore, planting ground covers along the steep bluffs, so as to prevent soil erosion, encouraging communities participation in ecological restoration activities along the waterfront, defining the objectives of developing in each area to suit the needs of the community, Improving the waterfront landscape areas to suit the design purposes, minimizing the impacts on the environments and encouraging community participations in all stages of developments as well as area maintenance. Proposed guidelines for conservation, restoration and development of the Huay Jo waterfront area was the creative utilization of the waterfront areas including a wide variety of forest conservation areas, ecological educational areas, agricultural areas, etc. It was also a development that took advantage of the neglected area, helped to strengthen communities, created a system linkage of open spaces along the Huay Jo canal, improved all views benefited from living space and accesses to the areas, linked between the spaces and waterfront areas and surrounding communities, and most importantly, helped restore the waterfront landscape ecology that was appropriate to the habitats of all living things, people, fauna and flora to achieve sustainability in the future. **************************************************



บทที่ 1 บทนา 1. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา 1.1 ความส้าคัญของล้าน้​้าห้วยโจ้และความสัมพันธ์กับพื้นที่โดยรอบ ห้วยโจ้เป็นล้าน้​้าขนาดเล็ก มีต้นก้าเนิดจากอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ ในเขตบ้านปง ต้าบลปุาไผ่ อ้าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ทอดตัวเป็นระยะทางยาวประมาณ 9.7 กิโลเมตร ไปบรรจบกับห้วย หนองหารทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ เพื่อไหลไปรวมกับแม่น้าปิงซึ่งอยู่อยู่ห่างออกไปทางทิศตะวันตกจาก ห้วยหนองหารเพียง 2 กิโลเมตร แม้ว่าจะเป็นระยะทางสั้นๆ แต่ล้าน้​้าสายนี้ไหลผ่านพื้นที่ที่มีความ หลากหลายทางระบบนิเวศวิทยาอย่างมาก เนื่องจากผ่านพื้นที่ที่ มีการใช้ประโยชน์ที่ดินที่แตกต่างกัน ประกอบด้วย พื้นที่ปุาอนุรักษ์บ้านโปง พื้นที่รกร้าง พื้นที่ชุมชน พื้นที่เกษตรกรรม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ซึ่ง เป็นสถาบันการศึกษาขนาดใหญ่ พื้นที่พาณิชยกรรม และพื้นที่พักผ่อนหย่อนใจอีกด้วย ด้วยเหตุนี้ล้าน้​้า ห้ ว ยโจ้ จึ ง มี บ ทบาทส้ า คั ญ ในฐานะที่ เ ป็ น เส้ น ทางล้ า เลี ย งน้​้ า ส่ ง น้​้ า ไปยั ง หลายพื้ น ที่ โ ดยรอบ ดั ง นี้ (ส้านักงานจังหวัดระนอง, 2553) 1.1.1 เป็นแหล่งน้​้าส้าคัญ ส่งน้​้าจากอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ ไปเสริมให้กับอ่างเก็บน้​้าห้วย เกี๋ยง และอ่างเก็บน้​้าห้วยฮัก เพื่อให้อ่างเก็บน้​้าต่างๆ ดังกล่าว มีน้าส่งให้กับพื้ นที่หมู่บ้านจัดสรรเขื่อนแม่ กวง พื้นที่ประมาณ 2,100 ไร่ เพื่อใช้ในการเพาะปลูกและการอุปโภคบริโภคได้ตลอดปี 1.1.2 เป็นแหล่งน้​้าส้าคัญส่งให้กับพื้นที่บริเวณท้ายอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ ส้าหรับสนับสนุน โครงการฟาร์มมหาวิทยาลัยแม่โจ้ บนพื้นที่ประมาณ 907 ไร่ เพื่อใช้ในการปลูกปุาเศรษฐกิจและไม้ผล 1.1.3 ส่งน้​้าให้ประปาหมู่บ้านโปง ซึ่งอยู่ทางทิศใต้ของอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ 1.2 ที่มาของประเด็นปัญหาที่ท้าการวิจัย ปัจจุบันล้าห้วยโจ้และพื้นที่โดยรอบมีการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมไปจากเดิมอย่าง เห็ นได้ชัด อัน เป็ นผลสื บเนื่องมาจากการที่มหาวิทยาลั ยแม่โ จ้มีการเจริญเติบโตขยายตัว ขึ้นอย่างมาก จ้านวนนักศึกษา คณาจารย์ และบุคลากรมีปริมาณที่สูงขึ้นอย่างก้าวกระโดดในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ส่งผล ให้มีการอพยพของผู้คนเข้ามาในพื้นที่ เกิดการก่อสร้างหมู่บ้านจัดสรร และหอพักเพิ่มขึ้น อันก่อให้เกิด การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินจากพื้นที่เกษตรกรรม ไปเป็นพื้นที่อยู่อาศัย เหล่านี้ในที่สุดสร้าง ปัญหาหลายๆด้านต่างๆตามมา พอจะสรุปคร่าวๆได้ดังนี้


2

1.2.1 เนื่องจากความต้องการในการใช้น้าที่เพิ่มมากขึ้น ท้าให้ล้าห้วยโจ้มีปริมาณน้​้าน้อย เกิดสภาพน้​้านิ่ง น้​้าเน่าเสีย การเพิ่มขึ้ นของจ้านวนประชากรยังเป็นปัจจัยส้าคัญที่ช่วยเร่งให้เกิดการเน่า เสียของน้​้าอีกด้วย 1.2.2 การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินจากพื้นที่เกษตรกรรมไปเป็นพื้นที่หมู่บ้าน จั ดสรร ท้ าให้ เ กิด ปั ญหาการรุ ก ล้​้ า พื้น ที่ล้ า น้​้า ห้ ว ยโจ้ และการพั งทลายของตลิ่ ง อั นเนื่อ งมาจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพหน้าดิน 1.2.3 ปัญหาสภาพแวดล้อมพื้นที่ริมล้าน้​้าเสื่อมโทรม ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากข้อ 1.2.1 และ ข้อ 1.2.2 1.2.4 ปัญหาประชากรในชุมชนโดยรอบและในมหาวิทยาลัย ไม่ตระหนักถึงความส้าคัญ ของห้วยโจ้ ท้าให้ขาดการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพ พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ จากความส้าคัญและประเด็นปั ญหาที่เกิดขึ้นดังกล่าว ผู้ วิจัยจึงริเริ่มโครงการวิจัยเรื่อง “แนว ทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพ พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย. เชียงใหม่” ขึ้น เพื่อศึกษาหาแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมต่อไปในอนาคต 2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 2.1 เพื่อศึกษาถึงปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อทางการอนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาสภาพแวดล้อมทาง กายภาพของพื้นที่ริมล้าน้​้าห้วยโจ้ ทั้งปัจจัยทางธรรมชาติ ปัจจัยทางด้านวัฒนธรรมและส่งที่มนุษย์สร้าง และปัจจัยทางด้านสุนทรียภาพ 2.2 เพื่อศึกษาศักยภาพและข้อจ้ากัดของพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ ในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาที่ สอดคล้องกับลักษณะสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพที่มีอยู่เดิม 2.3 เพื่อศึกษาแนวทางการอนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพของพื้นที่ริมล้าน้​้า ห้วยโจ้ ที่สอดคล้องกับระบบนิเวศและชุมชน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีและการใช้ประโยชน์ที่ยั่งยืน 3. ขอบเขตการวิจัย 3.1 ขอบเขตของการศึกษา 3.1.1 ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับสภาพภูมิทัศน์พื้นที่ริมล้าน้​้าห้วยโจ้ทั้งในด้าน ความส้าคัญ ปัญหา ความสัมพันธ์กับพื้นที่โดยรอบ


3

3.1.2 ศึกษาเอกสารทั้งทางด้านทฤษฎี และกรณีตัวอย่าง เกี่ยวกับแนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมล้าน้​้าอย่างยั่งยืน 3.1.3 ศึกษาปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวข้อง ในการพิจารณาสภาพภูมิทัศน์ พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ ประกอบด้วย ปัจจัยทางด้านธรรมชาติ ปัจจัยทางด้านวัฒนธรรมและสิ่งที่มนุษย์สร้าง และปัจจัยทางด้าน สุ น ทรี ย ภาพ โดยท้ า การวิ เ คราะห์ ใ นประเด็ น ต่ า งๆ ทั้ ง ที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ปั ญ หา และที่ เ กื้ อ หนุ น ให้ เ กิ ด สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม 3.1.3 ศึกษาพฤติกรรมการใช้สภาพแวดล้อม ของกลุ่มบุคคลต่างๆ ที่ใช้พื้นที่พื้นที่ริมล้า น้​้าห้วยโจ้ 3.1.4 ศึกษาถึงปัจจัยที่มีอิทธิพล ต่อการพัฒนาภูมิทัศน์ของพื้นที่ล้าริมน้​้าห้วยโจ้ ใน อนาคต 3.2 ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่ศึกษาคือบริเวณล้าน้​้าห้วยโจ้และพื้นที่ข้างเคียง ความยาวของพื้นที่เท่ากับความยาว ของล้าน้​้าห้วยโจ้ เริ่มตั้งแต่อ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ ในเขตบ้านปง ต้าบลปุาไผ่ อ้าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ทอดตัวเป็นระยะทางยาวประมาณ 9.7 กิโลเมตร ไปบรรจบกับห้วยหนองหารทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ส่วนความกว้างของพื้นที่วัดจากล้าน้​้าห้วยโจ้ออกไปทั้งสองฝั่งของล้าน้​้าเป็นระยะทางข้างละประมาณ 200-500 เมตร ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขอบเขตทางด้านภูมิศาสตร์กายภาพที่อยู่ข้างเคียงของแต่ละพื้นที่ เช่น ถนน การใช้ที่ดินเดิม เป็นต้น

แผนที่ 1 แสดงที่ตั้งของล้าน้​้าห้วยโจ้ ในเขต อ. สันทราย จ. เชียงใหม่ ที่มา: ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ จาก https://earth.google.com/


4

4. ระเบียบวิธีวิจัย 4.1 ท้าการส้ารวจขั้นต้น เพื่อรวบรวมข้อมูลพื้นฐานของสภาพภูมิทัศน์ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สัน ทราย จ. เชียงใหม่ ได้แก่ ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ตั้ง อาคารสิ่งสิ่งปลูกสร้างเดิมในพื้นที่ สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศ ลักษณะประชากร ลักษณะของพืชพรรณทั่วไป เป็นต้น 4.2 ก้าหนดขอบเขตการศึกษาและขอบเขตเขตพื้นที่ท้าการศึกษาให้ชัดเจน 4.3 ท้าการเก็บข้อมูลปัจจัยต่างๆที่จะท้าการศึกษาโดยละเอียด โดยแบ่งข้อมูลออกเป็น 2 ประเภท คือ 4.3.1 ข้อมูลปฐมภูมิจากการเก็บข้อมูล ภาคสนาม ได้แก่ภาพถ่าย แผนที่ การจดบันทึก การแจกแบบสอบถาม 4.3.2 ข้อมูลทุติยภูมจิ ากเอกสารและหนังสือต่างๆ 4.4 ท้าการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ เพื่อก้าหนดปัญหาทางกายภาพของสภาพภูมิทัศน์ริมน้​้าห้วยโจ้ใน ด้านต่างๆ รวมถึงความส้าคัญและคุณภาพของภูมิทัศน์ริมน้​้า 4.5 ประเมินผลและจ้าแนกสภาพพื้นที่ศึกษา ตามศักยภาพและข้อจ้ากัดในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และ พัฒนาสภาพภูมิทัศน์ริมน้​้าห้วยโจ้ โดยใช้เทคนิคการซ้อนทับแผนที่ (Overlay Mapping) เพื่อหาแนว ทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนา และท้าการสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาพื้นที่ที่จะใช้เป็นพื้นที่สาธิตในการ ออกแบบปรับปรุงเพื่อเสนอแนวทางในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาทางด้านกายภาพ โดยใช้ค้าบรรยาย ประกอบกับภาพวาด แผนที่ และรูปถ่ายให้เห็นชัดเจน และเข้าใจง่าย 4.6 ประเมินผลและสรุปผลการวิจัย ข้อเสนอแนะ และการน้าไปใช้ 5 คานิยามศัพท์ 5.1 ค้าว่า “อนุรักษ์” หมายถึง รักษาให้คงเดิม (ราชบัณฑิตยสถาน, 2549) 5.2 ค้าว่า “ฟื้นฟู” หมายถึง ท้าให้กลับเจริญงอกงามขึ้นมาใหม่ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2549) 5.3 ค้าว่า “พัฒนา” หมายถึง ท้าให้เจริญ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2549) 5.4 ภูมิทัศน์ หมายถึง “ลักษณะภาพภูมิประเทศโดยทั่วไปของบริเวณใดบริเวณหนึ่ง รวมทั้ง ภูมิประเทศที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและที่เกิดขึ้นโดยการกระท้าของมนุษย์” (ราชบัณฑิตยสถาน, 2549) 5.5 พื้นที่ริมน้​้า หมายถึง บริเวณพื้นที่ที่ผืนดินและผืนน้​้ามาบรรจบกัน ครอบคลุมทั้งพื้นที่ที่เป็น แหล่งน้​้า และผืนดินที่อยู่ติดกัน เป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายขององค์ประกอบทางภูมิทัศน์และกิจกรรม ต่างๆ ซึ่งต่างก็ส่งผลกระทบซึ่งกันและกัน นับเป็นพื้นที่ที่ดึงดูดให้มีการใช้ประโยชน์ที่หลากหลาย ด้วยเหตุ นี้ นักวางผังบริเวณจึงให้ความสนใจในศึกษาหาแนวคิด เพื่อที่จะออกแบบวางผังพื้นที่เหล่านี้ ให้เหมาะแก่ การใช้ประโยชน์ (Hue, 2009)


5

5.6 ดังนั้นจากค้านิยามทั้งสองมารวมกัน “ภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้า” จึงหมายถึง ลักษณะภาพภูมิ ประเทศโดยทั่วไป ทั้งภูมิประเทศที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและที่เกิดขึ้นโดยการกระท้าของมนุษย์ ของ บริเวณริมล้าน้​้า ครอบคลุมทั้งพื้นที่ที่เป็นแหล่งน้​้า และผืนดินที่อยู่ติดกัน อย่างไรก็ดี ในการศึกษาวิจัยนี้ ภูมิ ทัศ น์ พื้น ที่ ริ ม น้​้ าไม่ไ ด้ ห มายถึ ง แค่ ลั กษณะภาพภู มิป ระเทศทั่ ว ไปเพี ย งประการเดีย ว แต่ ยัง รวมถึ ง องค์ประกอบอื่นๆ ซึ่งสามารถจ้าแนกออกได้ตามโครงสร้างหลัก 3 ส่วน ดังนี้ (Hue, 2009) 5.6.1 ผืนน้​้า และระบบนิเวศของแหล่งน้​้านั้นๆ รวมถึงสิ่งก่อสร้างโดยมนุษย์ที่อยู่ในบริเวณ แหล่งน้​้านั้น 5.6.2 ผืนดินที่เชื่อมต่อกับแหล่งน้​้านั้นๆ ซึ่งมีองค์ประกอบทางภูมิทัศน์ที่หลากหลาย ทั้งที่ เป็นปัจจัยทางธรรมชาติ และปัจจัยที่มนุษย์สร้างขึ้น 5.6.3 กิจกรรมที่เกิดขึ้น ในกรณีที่แหล่งน้​้านั้นติดกับชุมชน หรือเข้าถึงได้โดยมนุษย์จะเกิด กิจกรรมการใช้ประโยชน์พื้นที่ริมน้​้าขึ้นในรูปแบบต่างๆ 5.7 กล่าวโดยสรุป “ภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้” ได้แก่ลักษณะภาพรวมของพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ ครอบคลุมทั้งพื้นที่ที่เป็นแหล่งน้​้า และผืนดินที่อยู่ติดกันในระยะห่างจากขอบล้าน้​้าประมาณ 200-500 เมตร ขึ้นอยู่กับขอบเขตทางภูมิศาสตร์ที่อยู่ข้างเคียงในแต่ละบริเวณ มีคุณลักษณะที่หลากหลาย อันเกิด จากองค์ประกอบและปัจจัยต่างๆ ทั้งทางธรรมชาติ และที่เกิดจากการสร้างสรรค์ กิจกรรม และวัฒนธรรม ของมนุษย์ 6. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย 6.1 ได้พัฒนาองค์ความรู้ในด้านภูมิสถาปัตยกรรม เกี่ยวกับหลักการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ภูมิทัศน์ พื้นที่ริมน้​้า 6.2 หน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคชุมชนจะสามารถน้าเอาข้อมูลที่ได้นี้ ไปประยุกต์ใช้เพื่อ การศึกษา อนุรักษ์ ปรับปรุง และพัฒนา ภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ หรือพื้นที่อื่นๆที่มีลักษณะคล้ายคลึง กัน ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืนต่อไปในอนาคต 6.3 เป็นการเผยแพร่ข้อมูลและปลูกจิตส้านึกในคุณค่าของทรัพยากรแหล่งต้นน้​้าล้าธาร ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น


6 7. งบประมาณที่ใช้ในการวิจัย (จ้าแนกตามงบประเภทต่าง ๆ)

ตารางที่ 1 งบประมาณที่ใช้ในการวิจัย

รายการ 1. งบบุคลากร ค่าจ้างชั่วคราวรายเดือน 2. งบด้าเนินงาน 2.1 ค่าตอบแทน - ค่าปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ - ค่าสมนาคุณนักวิจัย - ค่าค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ 2 ท่าน (1,500 x 2= 3,000 บาท) 2.2ค่าใช้สอย - ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ 6 ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม สัมมนา 7 ค่าจ้างเหมาในการจัดท้าแบบสอบถามและเก็บข้อมูลแบบสอบถาม 8 ค่าจ้างเหมาในการจัดพิมพ์งานและจัดท้ารูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์ 9 ค่าจ้างเหมาในการจัดพิมพ์งานและจัดท้ารูปเล่มหนังสือคู่มือ เพื่อการเผยแพร่ ผลงานวิจัยในรูปแบบหนังสือคู่มือส้าหรับประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2.3 ค่าวัสดุ - วัสดุเกษตร - วัสดุวิทยาศาสตร์ - วัสดุส้านักงาน - วัสดุเชื้อเพลิง - วัสดุอื่นๆ 2.4 ค่าบริหารโครงการ 3. งบลงทุน (ถ้ามี) รวมงบประมาณที่เสนอขอ (ถัวจ่ายทุกรายการ)

จ้านวนเงิน

-

9477 3,000 -

10,000 19,000 19,000

34,293 10,530 105,300 บาท


7

8. ระยะเวลาในการดาเนินการวิจัย เริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2557 สิ้นสุดเดือนมีนาคม พ.ศ. 2559 9. ข้อจากัดและปัญหาที่พบในการทาวิจัย ในการวิจัยครั้นพบปัญหาและอุปสรรค ซึ่งสามารถสรุปปัญหาต่างๆที่พบได้ดังนี้ 9.1 การส้ารวจพื้นที่ริมน้​้ามีหลายพื้นที่ที่เป็นปุารกชัฏ ไม่สามารถเข้าถึงได้ จึงท้าการส้ารวจให้ ครอบคลุมพื้นที่ให้มากที่สุดเท่าที่จะเข้าถึงได้เท่านั้น และเสริมด้วยการใช้เทคโนโลยีภาพถ่ายทางอากาศ


8

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.1 แนวคิดและทฤษฏี ในการวิจัยนี้ ผู้วิจัยได้พัฒนากรอบแนวคิด จากการศึกษาทฤษฎีต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง จากเอกสาร ทางด้านวิชาการ ดังจะได้อธิบายดังต่อไปนี้ 2.1.1 ภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้า 2.1.2 คุณลักษณะของภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้า 2.1.3 การวางผังภูมิทัศน์เชิงนิเวศ 2.1.4 การอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้า 2.1.1 ภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้า ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว ภูมิทัศน์ หมายถึง “ลักษณะภาพภูมิประเทศโดยทั่วไปของบริเวณใด บริ เ วณหนึ่ ง รวมทั้ ง ภู มิ ป ระเทศที่ เ กิ ด ขึ้ น ตามธรรมชาติ แ ละที่ เ กิ ด ขึ้ น โดยการกระท้ า ของมนุ ษ ย์ ” (ราชบัณฑิตยสถาน, 2549.) ส่วนค้าว่าพื้นที่ริมน้​้า หมายถึง บริเวณพื้นที่ที่ผืนดินและผืนน้​้ามาบรรจบกัน ครอบคลุม ทั้งพื้นที่ที่เป็นแหล่งน้​้า และผืนดินที่อยู่ติดกัน เป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายขององค์ประกอบทางภูมิทัศน์ และกิ จ กรรมต่ า งๆ ซึ่ง ต่ า งก็ ส่ ง ผลกระทบซึ่ง กั น และกั น นั บ เป็ น พื้น ที่ ที่ ดึ ง ดู ด ให้ มี ก ารใช้ป ระโยชน์ ที่ หลากหลาย ด้วยเหตุนี้ นักวางผังบริเวณจึงให้ความสนใจในศึกษาหาแนวคิด เพื่อที่จะออกแบบวางผังพื้นที่ เหล่านี้ ให้เหมาะแก่การใช้ประโยชน์ (Hue, 2009) ดังนั้นจากค้านิยามทั้งสองมารวมกัน “ภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้า” จึงหมายถึง ลักษณะภาพภูมิ ประเทศโดยทั่วไป ทั้งภูมิป ระเทศที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและที่เกิดขึ้นโดยการกระท้าของมนุษย์ ของ บริเวณริมล้าน้​้า ครอบคลุมทั้งพื้นที่ที่เป็นแหล่งน้​้า และผืนดินที่อยู่ติดกัน อย่างไรก็ดี ในการศึกษาวิจัยนี้ ภูมิ ทัศ น์ พื้ น ที่ ริ มน้​้ าไม่ไ ด้ ห มายถึง แค่ลั กษณะภาพภูมิ ประเทศทั่ ว ไปเพี ยงประการเดีย ว แต่ยั งรวมถึ ง องค์ประกอบอื่นๆ ซึ่งสามารถจ้าแนกออกได้ตามโครงสร้างหลัก 3 ส่วน ดังนี้ (Hue, 2009) 2.1.1.1 ผืนน้​้า และระบบนิเวศของแหล่งน้​้านั้นๆ รวมถึงสิ่งก่อสร้างโดยมนุษย์ที่อยู่ใน บริเวณแหล่งน้​้านั้น 2.1.1.2 ผืนดินที่เชื่อมต่อกับแหล่งน้​้านั้นๆ ซึ่งมีองค์ประกอบทางภูมิทัศน์ที่หลากหลาย ทั้งที่เป็นปัจจัยทางธรรมชาติ และปัจจัยที่มนุษย์สร้างขึ้น 2.1.1.3 กิจกรรมที่เกิดขึ้น ในกรณีที่แหล่งน้​้านั้นติดกับชุมชน หรือเข้าถึงได้โดยมนุษย์จะ เกิดกิจกรรมการใช้ประโยชน์พื้นที่ริมน้​้าขึ้นในรูปแบบต่างๆ


9

กล่ า วโดยสรุ ป “ภู มิ ทั ศ น์ พื้ น ที่ ริ ม น้​้ า ห้ ว ยโจ้ ” ได้ แ ก่ ลั ก ษณะภาพรวมของพื้ น ที่ ริ ม น้​้ า ห้ ว ยโจ้ ครอบคลุมทั้งพื้นที่ที่เป็นแหล่งน้​้า และผืนดินที่อยู่ติดกันในระยะห่างจากขอบล้าน้​้าประมาณ 200-500 เมตร ขึ้นอยู่กับขอบเขตทางภูมิศาสตร์ที่อยู่ข้างเคียงในแต่ละบริเวณ มีคุณ ลักษณะที่หลากหลาย อันเกิด จากองค์ประกอบและปัจจัยต่างๆ ทั้งทางธรรมชาติ และที่เกิดจากการสร้างสรรค์ กิจกรรม และวัฒนธรรม ของมนุษย์ 2.1.2 คุณลักษณะของภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้า คุ ณ ลั ก ษณะของพื้ น ที่ ริ ม น้​้ า สามารถแบ่ ง ออกได้ 5

ประการ ประกอบด้ ว ย

(Hue, 2009) 2.1.2.1 ลักษณะชีววิทยาทางธรรมชาติ (Natural biological aspect) เกิดจาก องค์ประกอบต่างๆ ของส่วนของพื้นผิวและบรรยากาศของโลกที่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ ทั้งลักษณะภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ธรณีวิทยา ดิน แหล่งน้​้า พืชพรรณ และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ 2.1.2.2 ลักษณะความเป็นพื้นทีส่ าธารณะ (Public aspect) พื้นที่ริมน้​้าส่วนใหญ่จัดเป็น พื้น ที่ส าธารณะที่มีคุณภาพสู ง เช่น พื้นที่สี เขียวสาธารณะ พื้นที่ย่านการค้า พื้นที่ช ายหาด และพื้นที่ พักผ่อนหย่อนใจ เป็นต้น 2.1.2.3 ลักษณะทางวัฒนธรรมเชิงประวัติศาสตร์ (Historical cultural aspect) นับ จากอดีต ผู้คนนิยมสร้างบ้านเรือนริมน้​้า และใช้น้าเพื่อประโยชน์ในการด้ารงชีวิต ตลอดจนเป็นเส้นทาง คมนาคมหลัก ก่อนที่จะมีการประดิษฐ์รถยนต์และสร้างถนนหนทางในเวลาต่อมา ด้วยเหตุนี้พื้นที่ริมน้​้าจึง เป็นสถานที่ต้นก้าเนิดของชุมชนมนุษย์มาเป็นเวลายาวนาน และมีลักษณะทางวัฒนธรรมเชิงประวัติศาสตร์ เฉพาะตัวของแต่ละพื้นที่ 2.1.2.4 คุณลักษณะของความหลากหลาย (Diversity characteristic) พื้นที่ริมน้​้าเป็น พื้นที่ที่มีคุณลักษณะที่มีความหลากหลายอย่างมาก ไม่ว่าจะพิจารณาในทางกายภาพ ทางนิเวศวิทยา หรือ ทางการใช้พื้นที่ 2.1.2.5 คุณลักษณะเฉพาะตัว (Characteristic aspect) พื้นที่ริมน้​้าช่วยสร้าง คุณลักษณะเฉพาะตัวของพื้นที่ในลักษณะต่างๆ เช่น ลักษณะความเป็นศูนย์รวม ขอบเขต ย่าน เส้นทาง และจุดหมายตา เป็นต้น จากคุณลักษณะของพื้นที่ริมน้​้าทั้ง 5 ประการดังกล่าว เราสามารถน้ามาใช้เป็นแนวทางในการ เก็บข้อมูลเบื้องต้นของพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ เพื่อน้าข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาศักยภาพและข้อจ้ากัดของพื้นที่ ซึ่งจะเป็นพื้นฐานในการก้าหนดแนวทางในการใช้ประโยชน์ที่ดินต่อไป


10

2.1.3 การวางผังภูมิทัศน์เชิงนิเวศ การวางผังเชิงนิเวศหมายถึงการใช้ข้อมูลทางด้านสังคมและทางชีววิทยาในการชี้ให้เห็น ถึงศักยภาพและข้อจ้ากัดเพื่อประกอบการตัดสินใจในการใช้ประโยชน์จากภูมิทัศน์ วิธีการวางผังเชิงนิเวศ เป็นขบวนการเพื่อศึกษาระบบทางชีววิทยาและสังคมวิทยาของพื้นที่เพื่อหาลักษณะการใช้พื้นที่ที่เหมาะสม ที่สุดในแต่ละบริเวณ ซึ่งสามารถสรุปได้ 11 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้ (Steiner, 1991) 2.1.3.1 การศึกษาปัญหาและศักยภาพในการวางผัง 2.1.3.2 การตั้งเปูาหมายในการวางผัง 2.1.3.3 การวิเคราะห์ภูมิทัศน์ในระดับภูมิภาค 2.1.3.4 การวิเคราะห์ภูมิทัศน์ในระดับท้องถิ่น 2.1.3.5 การศึกษาในรายละเอียด 2.1.3.6 แนวความคิด และทางเลือกในการวางผังบริเวณ 2.1.3.7 การวางผังภูมิทัศน์ 2.1.3.8 การมีส่วนร่วมของประชาชน และการให้ความรู้แก่ชุมชน 2.1.3.9 การออกแบบในรายละเอียด 2.1.3.10 การน้าแผนผังและงานออกแบบไปใช้ในการปฏิบัติ 2.1.3.11 การบริหารงาน เมือ่ ศึกษาแนวคิดดังกล่าวข้างต้น เราสามารถน้าเอาวิธีการวางผังเชิงนิเวศนี้ มาประยุกต์ใช้ในการ ด้าเนินการศึกษาวิจัยครั้งนี้ได้ โดยมุ่งเน้นเปูาประสงค์ในการน้าเสนอแนวทางในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และ พัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้า ด้าเนินการครอบคลุม 9 ขั้นตอน ด้าเนินการโดยผู้วิจัย ตั้งแต่ขั้นตอนการศึกษา ปัญหาและศักยภาพในการวางผัง ไปจนถึง การออกแบบในรายละเอียด ส่วน 2 ขั้นตอนสุดท้ายนั้น ผู้วิจัย สามารถประสานงานไปยั งชุ มชน และหน่ ว ยราชการส่ ว นท้อ งถิ่ น ที่ มีห น้า ที่รับ ผิ ด ชอบโดยตรง เพื่ อ สนับสนุนให้สามารถน้าเอาผลการศึกษาวิจัยไปใช้ประโยชน์ได้ 2.1.4 การอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้า กองอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ และศิลปกรรม (ม.ป.ป.) ก้าหนดนโยบายด้านการ อนุรักษ์และพัฒนา สภาพแวดล้อมทางแม่น้า คู คลอง 7 ประการ ประกอบด้วย 2.1.4.1 การก้าหนดแนวทาง และการควบคุมการใช้ที่ดินริมแม่น้า คู คลอง ให้สมดุลกับ สภาพแวดล้อมโดยรอบ ไม่ให้มีผลกระทบต่อสภาพแม่น้า คู คลอง แหล่งโบราณสถาน และมรดกทาง วัฒนธรรม


11

2.1.4.2 การอนุรักษ์สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ แหล่งศิลปกรรม มรดกทางวัฒนธรรม และวิถีชีวิตดั้งเดิมของชุมชนริ มน้​้ า เพื่อให้ คงเอกลักษณ์และรักษามรดกทางวัฒ นธรรมที่มีคุณค่าของ ท้องถิ่น 2.1.4.3 การควบคุมและจัดระเบียบของชุมชนริมแม่น้า คู คลอง 2.1.4.4 การฟื้นฟูคุณภาพน้​้าของแม่น้าคูคลอง 2.1.4.5 การส่งเสริมการใช้ประโยชน์แม่น้า คู คลอง อย่างเหมาะสมไม่ ให้เกิดผล กระทบต่อสภาพแวดล้อม และวิถีชีวิตของชุมชนริมฝั่งแม่น้า คู คลอง 2.1.4.6 การส่งเสริมความรู้ความเข้าใจให้ทุกฝุายได้รับรู้ความตระหนักต่อคุณค่าและ ความส้าคัญต่อแม่น้า คู คลอง และได้เข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และพัฒนา 2.1.4.7 การก้าหนดองค์กรและปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารการจัดการ ที่เกี่ยวข้องกับการการอนุรักษ์และพัฒนาแม่น้า คู คลอง เมื่อพิจารณานโยบายทั้ง 7 ประการข้างต้น จะเห็นได้ว่าประโยชน์ที่จะได้รับจากงานวิจัยชิ้นนี้ สอดคล้องกับนโยบายในหัวข้อ 2.1.4.1, 2.1.4.2, 2.1.4.5, และ 2.1.4.6 ดังนั้นในการจัดท้าแนวทาง อนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ ริมน้​้าห้ว ยโจ้ อ. สันทราย. เชียงใหม่ จึงควรศึกษาถึงแผน ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติงานของภาครัฐควบคู่กันไป เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด 2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในหัว ข้อนี้ ผู้วิจั ยได้ท้าการศึกษาผลงานการศึกษาวิจัยและโครงการในลั กษณะที่คล้ ายคลึงกัน หลายๆผลงาน ดังจะได้แสดงเป็นล้าดับต่อไป 2.2.1 โครงการจัดท้าแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาสภาพแวดล้อม แม่น้าปิงและล้าน้​้าสาขา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2547) ได้จัดท้าโครงการนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อฟื้นฟูและ พัฒนาสภาพแวดล้อมของแม่น้าปิง และล้าน้​้าสาขา ที่มีความเสื่อมโทรมและมีปัญหาต่างๆเกิดขึ้นมากมาย อาทิ เช่น ปัญหาความตื้นเขินของล้าน้​้า การบุกรุกพื้นที่ริมน้​้าของชาวบ้าน นิเวศภูมิทัศน์ริมน้​้าเสื่อมโทรม การพังทลายของตลิ่งริมน้​้า ปัญหาความแห้งแล้งของแหล่งน้​้าในฤดูแล้ง และการเกิดอุทกภัยในฤดูฝน เนื่องจากสภาพปุาต้นน้​้าที่ถูกท้าลาย ท้าให้เกิดการขาดแคลนน้​้าในการอุปโภคและบริโภคในบางฤดูกาล นอกจากนี้ยังมีวัตถุประสงค์ที่จะก้าหนดแนวทางการอนุรักษ์และพัฒนาแม่น้าปิง และล้าน้​้าสาขาอย่าง เหมาะสมและยั่งยืนอีกด้วย ส้าหรับขอบเขตของการศึกษาโครงการ ประกอบด้วย การส้ารวจความคิดเห็นและความ ต้องการของประชาชนในพื้นที่ศึกษา การเสนอแผนงานและจัดท้าการประชาสัมพันธ์และการสร้างการมี


12

ส่วนร่วมของชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การศึกษาและวิเคราะห์ปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวข้อง การ จัดท้าระบบฐานข้อมูลแม่น้า คู คลอง ในพื้นที่แม่น้าปิงและล้าน้​้าสาขา การจัดท้าทะเบียนหลักเกณฑ์ วิธีการ และขั้นตอนในการก้าหนด แม่น้า คู คลอง ที่ควรจะต้องอนุรักษ์ และท้าการคัดเลือกพื้นที่อนุรักษ์ การก้าหนดแผนแม่บทและกลยุทธ์เพื่อวางกรอบในการอนุรักษ์และพัฒนาสภาพแวดล้อมแม่น้าปิง และ ล้าน้​้าสาขา การคัดเลือกพื้นที่ แม่น้า คู คลอง ตัวอย่าง การด้าเนินการในพื้นที่ตัวอย่าง การจัดท้าประชา พิจารณ์ และการจัดท้ารายงานการศึกษา เพื่อเสนอการวิเคราะห์ผลประโยชน์ตอบแทนจากการด้าเนินการ ตามแผนงาน/โครงการ พื้นที่ตั้งโครงการนี้คือแม่น้าปิงและล้าน้​้าสาขา นับว่ามีบริบทที่คล้ายคลึงกัน กับพื้นที่ริม ล้าน้​้าห้วยโจ้ ในแง่ของสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ เนื่องจากอยู่ในเขตภาคเหนือเช่นเดียวกัน เพียงแต่ว่า พื้นทีล่ ้าน้​้าห้วยโจ้มีขนาดเล็กกว่ามาก ดังนั้นทั้งขอบเขตและรายละเอียดเนื้อหาที่จะศึกษาในงานวิจัยนี้จึงมี ไม่ ม ากและไม่ซั บ ซ้อ นเท่ า โครงการจั ด ท้า แผนแม่บ ทและแผนปฏิ บั ติก ารเพื่ อการอนุ รัก ษ์ และพัฒ นา สภาพแวดล้อมแม่น้าปิงและล้าน้​้าสาขา 2.2.2 โครงการจัดท้าแผนผังแม่บทการพัฒนาพื้นที่ถนนราชด้าเนินและพื้นที่เกี่ยวเนื่อง ส้านักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2546) ได้ด้าเนินโครงการจัดท้า แผนผังแม่บทการพัฒนาพื้นที่ถนนราชด้าเนินและพื้นที่เกี่ยวเนื่อง โดยรวมเอาพื้นที่ติดริมแม่น้าเจ้าพระยา ในบริเวณเกาะรัตนโกสินทร์ด้วย พื้นที่แห่งนี้มีความส้าคัญอย่างยิ่ง ทั้งในแง่ของประวัติศาสตร์ การเมือง และด้านการค้า ซึ่งก้าลังเผชิญปัญหาหลายๆด้านในขณะนั้น งานวิจัยโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาพื้นที่ให้ เกิดการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างเต็มประสิทธิภาพมากขึ้น ก่อให้เกิดสภาพแวดล้อมของเมืองและชุมชนน่า อยู่ นอกจากนี้ยังเป็นการพัฒนาธุรกิจและกิจกรรมทางสังคมของนครหลวงอีกด้วย ส้าหรับกรอบแนวคิด เบื้องต้นในการจัดท้าผังแม่บทในครั้งนี้ ได้ก้าหนดเป็นวิสัยทัศน์ในการพัฒนาพื้นที่ 5 ข้อ ดังนี้ 2.2.2.1 ด้ารงไว้ซึ่งความเป็นถนนราชพิธี รัฐพิธี และประชาพิธี 2.2.2.2 ถนนที่เป็นสื่อถึงการเชื่อมต่อแห่งประวัติศาสตร์ของราชจักรีวงศ์ 2.2.2.3 ถนนที่เป็นช่องทางผ่านที่ส้าคัญของกรุงเทพฯ ที่น้าไปสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่ และชุมชนน่าอยู่อย่างยั่งยืน 2.2.2.4 ถนนสายหลักที่พัฒนากิจกรรมเพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่แสดงถึงวิถึ ชีวิตของคนเมือง 2.2.2.5 ถนนที่เน้นการพัฒนาอย่างมีระบบ ที่สอดคล้องกับแผนแม่บทที่เกี่ยวข้อง ส้ า หรั บ แนวความคิ ด เบื้ อ งต้ น คณะผู้ ด้ า เนิ น งานได้ เ สนอไว้ เ ป็ น ประเด็ น ที่ ส้ า คั ญ ประกอบด้วย การเสนอแผนผังการอนุรักษ์พื้นที่ การเสนอแนวทางการควบคุมรูปแบบสถาปัตยกรรม และ


13

ศิลปกรรม การเสนอร่างการออกแบบและวางผังทางด้านกายภาพในส่วนที่มีความส้าคัญ การเสนอแนว ทางการควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดิน การปรับปรุงโครงสร้างของพื้นที่ให้มีความชัดเจนทางจินตภาพ และ การเสนอแนวทางการออกแบบวางผังเพื่อแก้ปัญหาทางกายภาพ ผลของการด้าเนินงานถูกน้าเสนอใน รูปแบบผังแม่บท และรายละเอียดแนวทางในการออกแบบปรับปรุงในพื้นที่ที่ส้าคัญ แม้ว่าลักษณะพื้นที่ของโครงการนี้จะมีความแตกต่างอย่างมากกับพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ซึ่ง เป็นพื้นที่โครงการวิจัย แต่อย่างไรก็ดี เราสามารถน้าเอารายละเอียดขั้นตอนในการด้าเนินงานมาใช้เป็น แบบอย่างในการด้าเนินโครงการนี้ได้ 2.2.3 แนวทางการพัฒนาพื้นที่ริมน้​้าเมืองนครสวรรค์ รุ จี รอดชะ (2541) ได้ ท้าการศึกษาพื้นที่ริ มน้​้าเมืองนครสวรรค์เพื่อหาแนวทางที่ เหมาะสมในการพัฒนาต่อไปในอนาคต เพื่อแก้ปัญหาความเสื่อมโทรมของพื้นที่ริมน้​้าซึ่งเกิดจากปัญหา การขาดการดูแลเอาใจใส่ และขาดการพัฒนาให้อยู่ในสภาพอันควร ในการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยให้ความส้าคัญต่อการศึกษาประวัติความเป็นมาของพื้นที่ตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน ตลอดจนวิถีชีวิต ของคนเมืองที่เปลี่ยนแปลงไปผ่านช่วงกาลเวลา นอกจากนี้ยังได้ท้าการเก็บข้อมูลทางกายภาพ และทาง วัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องอย่างละเอียด โดยแบ่งพื้นที่เก็บข้อมูลออกเป็น 7 พื้นที่ย่อยๆ ข้อมูลที่ได้จะถูกน้ามา วิเคราะห์และสังเคราะห์ เพื่อหาศักยภาพและข้อจ้ากัดของพื้นที่โครงการ จากนั้ นจึงเสนอแนวทางในการ พัฒนาพื้นที่โครงการในรายละเอียดต่อไป งานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาชิ้นนี้ นับว่ามีความคล้ายคลึงกับพื้นที่ศึกษาหลายประการ ทั้ง ในแง่ของพื้นที่ตั้งโครงการที่อยู่ริมน้​้า ตลอดจนขั้นตอนและกระบวนการที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งสามารถน้ามา ให้เป็นกรณีศึกษาได้ อย่างไรก็ดีทั้งสองโครงการมีความแตกต่างกันที่สภาพแวดล้อม เนื่องจากสถานที่ตั้ง ของโครงการกรณีตัวอย่างนี้มีสภาพแวดล้อมเป็นสังคมเมืองซึ่งมีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน ในขณะที่ พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ เป็นพื้นที่ย่านชานเมือง ที่ยังคงมีลักษณะทางธรรมชาติมากกว่า 2.2.4 การวางผังภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าในเขตเมือง (Urban Waterfront Landscape Planning) ไดยัน ฮู (2552) ท้าการศึกษาเพื่อค้นหาปัจจัยที่มีผลต่อความน่าสนใจและดึงดูดใจของ พื้นที่ภูมิทัศน์ริมน้​้า โดยท้าการวิเคราะห์เปรียบเทียบพื้นที่ริมน้​้า ที่มีสภาพภูมิทัศน์ที่แตกต่างกัน 2 แห่ง คือ ท่าเรือเวสต์เทิร์นในเมืองมาลโม (Western Harbor in Malmö) ประเทศสวีเดน และทะเลสาบจินจีใน เมืองซูโจว (Jinji Lake in Suzhou) ประเทศจีน โดยวิธีการสัมภาษณ์ แจกแบบสอบถาม รวบรวมข้อมูล แล้ว หาสาเหตุและผลลัพธ์


14

จากการวิเคราะห์เปรียบเทียบข้อดี และข้อเสียที่พบจากทั้งพื้นที่ศึกษาทั้งสองแห่งได้ข้อสรุปดังนี้ โครงการในประเทศจีนในอดีตมีการพัฒนาระบบน้​้าและระบบปูองกันน้​้าเสียมาอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่ง อิทธิพลการวางผังของประเทศตะวันตกได้แพร่ขยายเข้ามาในประเทศจีน ท้าให้นักออกแบบมุ่งเน้นไปที่ การวางผังจนละเลยระบบแนวคิดแบบเดิมๆ ท้าให้คุณภาพของน้​้าเสื่อมโทรมลง และในการออกแบบส่วน ใหญ่ยังคงลอกเลียนแบบมาจากตะวันตก โดยละเลยรูปแบบวัฒนธรรมดั้งเดิมไป ส่วนโครงการในประเทศ สวีเดนนั้น มีหลายส่วนที่ยังคงด้าเนินโครงการอยู่ การก่อสร้างโครงการใช้เวลานาน 10 ปี แต่ก็สามารถใช้ งานได้ยาวนานถึง 50 ปี ในขณะที่โครงการในประเทศจีนใช้เวลาก่อสร้างสั้นกว่าเพียง 2 ปี แต่มีอายุการใช้ งานนานเพียง 10 ปี เท่านั้น ในด้านพื้นที่พักผ่อนหย่อนใจที่ช่วยดึงดูดประชาชนให้มาใช้พื้นที่ พบว่าพื้นที่ ท่าเรือเวสต์เทิร์นมีการใช้พื้นที่น้อยกว่าในบริเวณทะเลสาบจินจิ ซึ่งมีมากมาย ทั้ง ร้านอาหาร โรงแรม บาร์ ห้างสรรพสินค้า นอกจากนี้ยังมีเทศกาลงานประเพณีอีกหลายอย่างที่ช่วยเพิ่มชื่อเสียงและเสน่ ห์ให้กับพื้นที่ เช่น เทศกาลดอกไม้ หรือการแข่งเรือ เป็นต้น รูปลักษณ์ของพื้นที่ภูมิทัศน์ริมน้​้าของทั้งสองแห่งก็แตกต่าง กันอย่างสิ้นเชิง ในขณะที่พื้นที่ท่าเรือเวสต์เทิร์นมีลักษณะธรรมชาติซึ่งส่งเสริมระบบนิเวศริมน้​้า แต่ใน ทะเลสาบจินจิ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ดาดแข็งท้าจากคอนกรีต ลักษณะสถาปัตยกรรมในสองพื้นที่ก็มี ความแตกต่างกัน ในพื้นที่ท่าเรือเวสต์เทิร์น อาคารจะไม่สูงมากนัก ใช้วัสดุที่สร้างจากไม้หรืออิฐ แต่ในพื้นที่ ทะเลสาบจินจินิยมสร้างบ้านเรือนและอาคารต่างๆด้วยคอนกรีต เพื่อความมั่นคงแข็งแรง ไดยัน ฮู (2552) ยังได้ท้าการวิเคราะห์งานออกแบบของกรณีศึกษาทั้งสองแห่ง พบว่ามีจุดที่ สมควรปรับปรุงแก้ไขเพื่อสร้างความน่าสนใจ ในพื้นที่ท่าเรือเวสต์เทิร์น ได้แก่ ลานหินที่แข็งกระด้างภายใน สวนสาธารณะดาเนีย ทางเข้าของบริเวณพื้นที่สเก็ตบอร์ดที่ไม่เด่นชัด ส้าหรับในพื้นที่ทะเลสาบจินจิ มีจุดที่ สมควรปรับปรุงได้แก่ พื้นที่ดาดแข็งริมน้​้าที่แคบและเล็กเกินไป นอกจากนี้ยังมีศาลาพักผ่อนที่ออกแบบใน สไตล์ตะวันตก ซึ่งสมควรได้รับการปรับปรุงให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของท้องถิ่นให้มากขึ้น ในตอนท้ายไดยัน ฮู (2552) ได้สรุปถึงคุณสมบัติของพื้นที่ริมน้​้าที่ดี ดังนี้ 2.2.4.1 สร้างสรรค์การใช้ประโยชน์พื้นที่ริมน้​้าที่หลากหลาย 2.2.4.2 เสริ มสร้ างความเข้ม แข็ง ให้ แ ก่ ชุ มชน โดยลดพื้น ที่ อุ ตสาหกรรมลง และ พัฒนาการใช้ประโยชน์จากพื้นที่รกร้างว่างเปล่า 2.2.4.3 สร้างระบบเชื่อมโยงของพื้นที่เปิดโล่ง 2.2.4.4 ปรับปรุงทั้งในเรื่องทัศนียภาพ ประโยชน์ใช้สอยของพื้นที่ และการเข้าถึงของ พื้นที่เดิม 2.2.4.5 ปรับปรุงการเชื่อมโยงระหว่างพื้นที่ริมน้​้าและพื้นที่เมือง จากผลการศึกษาวิเคราะห์พื้นที่ริมน้​้าของเขา เราสามารถน้ามาใช้เป็นส่วนหนึ่งของแนวทางการ พัฒนาพื้นที่ภูมิทัศน์ของพื้นที่โครงการที่อยู่ในเขตชุมชนเมืองและย่านพาณิชยกรรมได้


15

2.2.5 การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากแหล่งอาหารในลุ่มน้​้าปิงเก่า จังหวัดล้าพูน สุรพล ด้ารงกิตติกุล และคณะ (2552) ได้ด้าเนินโครงการวิจัยนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ หาแนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาแหล่งน้​้าให้เป็นประโยชน์ในแง่ของการเป็นแหล่งอาหารของ ชุมชน และแนวทางการปลูกจิตส้านึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรแหล่งน้​้าที่ชัดเจนเป็นรูปธรรม โดยก้าหนด พื้นที่ศึกษาในพื้นที่ชุมชนบริเวณสองฝั่งน้​้าปิงเก่า ภายใต้เขตปกครองของเทศบาลต้าบลอุโมงค์ โดยอาศัย กระบวนการการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อค้นคว้าหาภูมิปัญญาท้องถิ่นที่จะช่วยพื้นฟูและอนุรักษ์แหล่งน้​้า ให้สามารถใช้ประโยชน์เป็นแหล่งอาหารได้เช่นเดียวกับในอดีต ในการด้าเนินการมีการเก็บข้อมูลโดยการส้ารวจ สอบถาม และการสัมภาษณ์ปราชญ์ ชุมชนและผู้เกี่ยวข้อง จัดท้าภาพผังล้าเหมืองด้วยระบบ GPS จากนั้นท้าการวิเคราะห์หาแนวทางการ จัดท้าแผนพัฒนาแหล่งน้​้า เป็นแหล่งอาหาร นอกจากนี้ยังมีการจัดกิจกรรมนักสืบสายน้​้า เพื่อช่วยพัฒนา องค์ความรู้และปลูกจิตส้านึกในการรักษาสิ่งแวดล้อมพื้นที่ริมน้​้าให้แก่เยาวชน ผลการวิจัยชี้ให้เห็นถึงปัญหาน้​้าเน่าเสียจากขยะ ปัญหาการบุกรุกพื้นที่ริมน้​้า การตื้นเขิน ของแหล่งน้​้า และได้สรุปถึงประเภทของผักพื้นบ้านและพืชน้​้าที่เป็นแหล่งอาหารของชุมชน ยกตัวอย่าง เช่น ผักไผ่ ผักหนาม ผักหนอก โสน บัว ผักบุ้ง ผักกระเฉด เป็นต้น นอกจากนี้ในการวิจัยยังได้จัดท้า ฐานข้อมูลเพื่อบริหารจัดการแหล่งน้​้าของชุมชนด้วยการน้าระบบเทคโนโลยีแผนที่ GPS ในการส้ารวจ ข้อมูลล้าเหมืองจ้านวนรวม 67 สาย เป็นความร่วมมือระหว่างหน่วยงานทั้งภาครัฐ และสถาบันการศึกษา ตลอดจนชุมชน ซึ่งจะเป็นจุดเริ่มต้นของการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการน้​้าร่วมกันต่อไป นอกจากนี้ยัง พบว่า ประชาชน เยาวชน นักเรียน และนักศึกษาในพื้นที่ ต่า งให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมเสริมสร้าง จิตส้านึกในการอนุรั กษ์ส ภาพแวดล้ อมของล้ าน้​้าปิง อันจะเป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการ ด้าเนินงานต่อไปในอนาคตอีกด้วย จากผลการวิจัยชิ้นนี้ เราได้เรียนรู้ถึงแนวทางในการใช้ประโยชน์พื้นที่ริมน้​้าอย่างยั่งยืน โดยชุมชนในรูปแบบของการเป็นแหล่งอาหาร ซึ่งเราสามารถน้ามาปรับใช้กับพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ ในบริเวณ ที่ไหลผ่านย่านชุมชน ที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่นดั้งเดิมในเรื่องผักพื้นบ้านและพืชน้​้าที่ใช้ทานได้ และยังสามารถ เป็นตัวอย่างของการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลแผนที่เพื่อการบริหารจัดการน้​้าอีกด้วย 2.2.6 กรุงเทพมหานคร

บทบาทพื้นที่ว่างในชุมชนริมคลองแสนแสบ กรณีศึกษาชุมชนตลาดเก่ามีนบุรี

ทิพวรรณ ทองอาจ และ อารยา ศานติสรร (2549) ท้าการศึกษาบทบาทพื้นที่ว่างใน ชุมชนตลาดเก่ามีนบุรี ซึ่งตั้งอยู่ริมคลองแสนแสบ เพื่อหาข้อสรุปที่จะสามารถเป็นแนวทางในการปรับปรุง พื้นที่ดังกล่าวได้ต่อไปในอนาคต จากการศึกษาสามารถจ้าแนกประเภทของที่ว่างในพื้นที่ศึกษาออกได้ 7


16

ประเภท ได้แก่ 1) พื้นที่ว่างบริเวณรอบอาคาร 2) พื้นที่ว่างทางเดินเท้า 3) พื้นที่ว่างบริเวณริมคลอง 4) พื้นที่ว่างเปิดโล่ง (คลอง) 5) พื้นที่ว่างลานจอดรถ 6) พื้นที่ว่างในสถาบันการศึกษา 7) พื้นที่ว่างอันเกิดจาก การถูกละทิ้ง จากนั้นจึงท้าการวิเคราะห์บทบาทของที่ว่างทั้ง 7 ประเภทดังกล่าว โดยพิจารณาจากรูปแบบ ของกิจกรรมที่เกิดขึ้นของผู้คนที่เข้ามาใช้พื้นที่ ทั้งผู้ที่อาศัยอยู่ในชุมชนและผู้ที่มาจากภายนอกชุมชน การเก็บข้อมูลกระท้าทั้งการเก็บข้อมูลทางด้านกายภาพของพื้นที่ โดยการส้ารวจ สังเกต ถ่ายภาพ จัดท้าผังและท้าการวิเคราะห์ และยังได้เก็บ ข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม เพื่อส้ารวจความคิดเห็น ของผู้อาศัยในชุมชน และผู้อาศัยนอกชุมชน ต่อการท้ากิจกรรมภายในพื้นที่ว่างของชุมชน โดยจ้าแนก กิจกรรมออกเป็น 3 กลุ่ม ตามทฤษฎีของ แจน เกฮ์ล (Jan Gehl, 1987) ประกอบด้วย 1) กิจกรรมที่ จ้าเป็น เช่น การเดินทางไปโรงเรียน การรอรถเมล์ ฯลฯ 2) กิจกรรมทางเลือก เช่น การเดินเล่น นั่ง พักผ่อนหย่อนใจ และ 3) กิจกรรมทางสังคม เช่น การพบปะสังสรรค์พูดคุย การเล่นเป็นกลุ่มของเด็ก ฯลฯ ผลการวิเ คราะห์ แ บบสอบถาม พบว่า ในพื้ นที่ ว่ างทั้ ง 7 ประเภท มีลั กษณะของกิ จกรรมที่ ผู้ ต อบ แบบสอบถามเลือกท้าแตก ต่างกัน ดังที่จะแสดงในตารางต่อไปนี้ (ตารางที่ 2 และ 3) ตารางที่ 2 กิจกรรมภายในพื้นที่ว่างของชุมชนชุมชนตลาดเก่ามีนบุรี กรุงเทพมหานคร ประเภทของการประกอบกิจกรรม

ประเภทของที่ว่างที่เกิดการทากิจกรรมสูงสุดในแต่ละประเภท คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ ผู้อาศัยในชุมชน

ผู้อาศัยนอกชุมชน

กิจกรรมจ้าเป็น

พื้นที่ว่างทางเดินเท้า (100 %)

-

กิจกรรมทางเลือก

พื้นที่ว่างบริเวณริมคลอง (รวม 22.4 %)

พื้นที่ว่างบริเวณริมคลอง (รวม 22.4 %)

กิจกรรมสังคม

พื้นที่ว่าง ในสถาบันการศึกษา (21.4 %)

พื้ น ที่ ว่ า งลานจอดรถ (ส่ ว นบุ ค คล) (8.8 %)

ที่มา: สรุปจาก ทิพวรรณ ทองอาจ และ อารยา ศานติสรร, 2549


17

ตารางที่ 3 พื้นที่ว่างในชุมชนที่มีการประกอบกิจกรรมของผู้อาศัยในชุมชนมากกว่า 1 กิจกรรม ประเภทของพื้นที่ว่าง

พื้นที่ว่างในชุมชนที่มีการประกอบกิจกรรมของผู้อาศัยในชุมชน มากกว่า 1 กิจกรรม ความเห็นจากผู้อาศัยในชุมชน

ความเห็นจากผู้อาศัยนอกชุมชน

1) พื้นที่ว่างบริเวณรอบอาคาร





2) พื้นที่ว่างทางเดินเท้า





3) พื้นที่ว่างบริเวณริมคลอง





4) พื้นที่ว่างเปิดโล่ง (คลอง)





5) พื้นที่ว่างลานจอดรถ





6) พื้นที่ว่างในสถาบันการศึกษา





7) พื้นที่ว่างอันเกิดจากการถูกละทิ้ง





ที่มา: สรุปจาก ทิพวรรณ ทองอาจ และ อารยา ศานติสรร, 2549 จากผลการศึกษาดังกล่ าว แสดงให้ เห็ นถึงลักษณะการเกิดกิจกรรมและประเภทของการเกิด กิจกรรมที่แตกต่างกันในพื้นที่ว่างในชุมชนริมน้​้า ซึ่งเราสามารถน้ามาประยุกต์ใช้ ในการเสนอแนะแนวทาง ในการพัฒนาพื้นที่ริมน้​้าของโครงการวิจัย ซึ่งมีบางส่วนที่มีลักษณะพื้นที่คล้ายคลึงกัน โดยค้านึงถึงการใช้ งานของผู้ใช้ ทั้งผู้ที่อาศัยภายในชุมชน และผู้ที่อาศัยภายนอกชุมชนได้ 2.3 กรอบแนวคิดของการวิจัย จากการศึกษาแนวคิดและทฤษฎีดังที่ได้กล่าวมาข้างต้น จึงสามารถสรุปกรอบแนวคิดในการวิจัย ได้ ดังแสดงในแผนภาพที่ 1

แผนภาพที่ 1 กรอบแนวคิดของการวิจัย


18

กรอบแนวคิดในการวิจัยแนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สัน ทราย. เชียงใหม่ นี้ มุ่งศึกษาเพื่อหาทางออกในการแก้ไขปัญหาแหล่งน้​้าที่อาจน้าไปสู่เงื่อนไขความขัดแย้ ง ของคนในพื้นที่ในอนาคต โดยผ่านหลักการของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ท้าการจัดเก็บข้อมูลภูมิทัศน์พื้นที่ ริมน้​้าห้วยโจ้ ประกอบด้วย ปัจจัยทางธรรมชาติ ปัจจัยทางวัฒนธรรมที่มนุษย์สร้างขึ้น ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ ผู้ใช้และกิจกรรม และปัจจัยทางด้านสุนทรียภาพ จากนั้นจึงท้าการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบเพื่อหา ศักยภาพและข้อจ้ากัดของพื้นที่ อันจะน้าไปสู่ข้อเสนอแนะถึงแนวทางในการอนุรักษ์ การฟื้นฟู และการ พัฒนาพื้นที่ศึกษา ท้าการเผยแพร่แนวความคิดของผลที่ได้ไปยังผู้ใช้พื้นที่และผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อรับฟัง ข้อเสนอแนะ และในท้ายที่สุดก็หวังว่าจะได้ข้อสรุปของแนวทางแนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิ ทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้อย่างเป็นรูปธรรม ทั้งนี้เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการบริหารจั ดการทรัพยาพื้นที่ริมน้​้า อย่างยั่งยืนของชุมชนต่อไปในอนาคต 2.4 สมมุติฐานการวิจัย การก้าหนดพื้นที่ในการอนุรักษ์ ฟื้ นฟู และพัฒนา พื้นที่ริมน้​้า ต้องสอดคล้องกับศักยภาพและ ข้อจ้ากัดของพื้นที่ รวมทั้งวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และความต้องการในการท้ากิจกรรมของคนในชุมชน ซึ่งจะ น้าไปสู่การอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืนระหว่างคนกับพื้นที่ธรรมชาติประเภทแหล่งน้​้าขนาดเล็ก


19

บทที่ 3 ระเบียบวิธีการวิจัย งานวิจัยครั้งนี้หากพิจารณาโดยอาศัยประโยชน์ในการท้าวิจัยเป็นหลักแล้ว จัดเป็นงานวิจัยเชิง ปฏิบัติ (Action Research) ซึ่งเป็นการวิจัยประยุกต์ในลักษณะหนึ่งที่มุ่งหาแนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาพื้นที่ริมน้​้าขนาดเล็ก และน้าความรู้นั้นไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติ โดยมีทิศทางการวิจัยที่ น้าไปสู่การจัดการพื้นที่ริมน้​้า อย่างยั่งยืน ส่ งเสริมให้เกิดสิ่งแวดล้อมที่ดี อันเป็นปัจจัยส้าคัญ ที่จะช่วยให้ ชุ ม ชนในสั ง คมมี ค วามเข้ ม แข็ ง ในหั ว ข้ อ วิ จั ย รู ป แบบผสมผสานระหว่ า งความเป็ น อยู่ ข องชุ ม ชนกั บ ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น วัตถุประสงค์ของการวิจัยในครั้งนี้ก็เพื่อศึกษาแนวทางการอนุรักษ์ฟื้นฟูและ พัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพของพื้นที่ริมล้าน้​้าห้วยโจ้ ที่สอดคล้องกับระบบนิเวศและชุมชน เพื่อ คุณภาพชีวิตที่ดีและการใช้ประโยชน์ ที่ยั่งยืน ซึ่งในการที่จะบรรลุ เปูาหมายดังกล่ าว จ้าเป็นที่จะต้อง ค้านึงถึงปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อทางการอนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพของพื้นที่ริมล้า น้​้าห้วยโจ้ ทั้งปัจจัยทางธรรมชาติ ปัจจัยทางด้านวัฒนธรรม ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับผู้ใช้และกิจกรรม และ ปัจจัยทางด้านสุนทรียภาพ ปัจจัยเหล่านี้ก่อให้เกิดคุณลักษณะเฉพาะตัวของพื้นที่แต่ ละพื้นที่ ทั้งด้านที่เป็น ศักยภาพและด้านที่เป็ นข้อจ้ ากัด ในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒ นาพื้นที่ริมน้​้าห้ ว ยโจ้ ที่สอดคล้องกับ ลักษณะสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพที่มีอยู่เดิม หากจ้าแนกงานวิจัยโดยใช้จุดมุ่งหมายของการวิจัยเป็นฐานของการจ้าแนก งานวิจัยนี้จัดได้ว่าเป็น การวิจัยเชิงวินิจฉัย (Diagnostic research) เนื่องจากเป็นการวิจัยเพื่อศึกษาปัจจัยต่างๆที่ส่งผลต่อ คุณลักษณะของพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ เพื่อให้เข้าใจถึงสาเหตุของที่มาของศักยภาพและข้อจ้ากัดของพื้นที่ จะ ได้ ใ ห้ ข้ อ เสนอแนะถึ ง แนวทางในการอนุรั ก ษ์ ฟื้ น ฟู และพั ฒ นาต่อ ไป โดยมี ขอบเขตการวิจั ย ในด้ า น การศึกษาพฤติกรรมใช้พื้นที่ท้ากิจกรรมของคนในชุมชน ศึกษาถึงความเหมาะสมและปัญหาในการใช้ พื้นที่ และศึกษาถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ ในอนาคต รายละเอียดวิธีด้าเนินการวิจัยคณะผู้วิจัยได้ด้าเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ 3.1 แหล่งข้อมูลการวิจัย จากวัตถุประสงค์การวิจัย ผู้วิจัยได้ก้าหนดแหล่งข้อมูลออกเป็นสองกลุ่ม ได้แก่ 3.1.1 แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ 3.1.1.1 แหล่งข้อมูลพื้นฐานและข้อมูลเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับโครงการ ซึ่งค้นคว้าจาก ข้อมูลที่มีผู้เคยศึกษาค้นคว้ามาก่อนหน้านี้แล้ว ได้แก่ สภาพทั่วไปของที่ตั้งโครงการ ลักษณะทั่วไปของ


20

ท้องถิ่น ลักษณะภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศ การปกครอง ประชากร ทรัพยากรธรรมชาติ ลักษณะทาง เศรษฐกิจ ปัญหาเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมในพื้นที่ โครงการ แผนงานและนโยบายต่างๆ ของหน่วยงาน ท้องถิ่น โดยมีแหล่งที่มาของข้อมูลจากเทศบาลเมืองแม่โจ้ ที่ว่าการอ้าเภอสันทราย เทศบาลต้าบลปุาไผ่ ห้องสมุดมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระบบสารสนเทศออนไลน์ ในรูปแบบของข้อมูลจากเอกสาร แผนงาน แผนที่ แผนผัง ต้ารา เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3.1.1.2 แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ ได้แก่แหล่งข้ อมูลที่ได้ท้าการส้ารวจจากพื้นที่โครงการ โดยตรง โดยท้าการศึกษาในรายละเอียดด้านสถานที่ตั้ง ลักษณะสภาพแวดล้อมทางกายภาพการใช้ที่ดิน ต้าแหน่งอาคารและสิ่งก่อสร้างต่างๆองค์ประกอบทางภูมิทัศน์ สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศเฉพาะ พื้นที่ กิจกรรม ระบบการสัญจร จ้านวนประชากรในพื้นที่ ลักษณะของพืชพรรณ เป็นต้น ท้าการเก็บข้อมูล ในรูปแบบของเอกสาร แผนงาน แผนผัง รูปถ่าย นอกจากนี้ยังมีการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างของผู้ใช้ พื้นที่โดยใช้แบบสอบถามอีกด้วย 3.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม 3.2.1 ประชากร ประชากรในพื้นที่ศึกษา แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ประกอบด้วย 3.2.1.1 ประชาชนทั่วไป ซึ่งประกอบด้วย ครัวเรือนชาวบ้าน ทั้งในเขตชุมชนพักอาศัย และย่านพาณิชยกรรม 3.2.1.3 นักศึกษาและบุคลากรภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ 3.2.2 กลุ่มตัวอย่าง การศึกษาครั้งนี้มีการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างเพื่อเป็นตัวแทนของประชากรที่ต้องการศึกษา โดยใช้เทคนิคการเลือกตัวอย่างแบบผสมผสาน (MixedSampling) กล่าวคือ ใช้การสุ่มตัวอย่างแบ่งชั้น (Stratified Sampling) แบ่งกลุ่มระหว่างประชากรทั้ง 2 กลุ่ม คือประชาชนทั่วไป และนักศึกษาและ บุคลากรที่อยู่ภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แล้วจึงสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) จาก จ้านวนตัวอย่างตามสัดส่วนของจ้านวนครัวเรือนประชากรในแต่ละกลุ่ม เพื่อเป็นตัวแทนของประชากร ใน การให้ข้อมูลพื้นฐานทางด้านสภาพปัญหาของพื้นที่โดยมีขนาดของกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ จ้านวน 300 ตัวอย่าง ดังรายละเอียดในตารางที่ 4


21

ตารางที่ 4 จ้านวนครัวเรือนและกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มประชากร จ้า นวนหมู่บ้ า นที่ อยู่ จ้านวนประชากร ในเขตพื้นที่ศึกษา

จ้านวนกลุ่มตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ

ต.ปุาไผ่

3

2,591

130

5

ต.หนองหาร

3

2,785

140

5

2,600

130

5

มหาวิทยาลัยแม่โจ้

บริเวณหอพัก นักศึกษา ที่มา: จากการวิเคราะห์, 2557

3.3 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3.3.1 แบบสอบถาม คณะผู้วิจัยใช้แบบสอบถาม เพื่อเก็บข้อมูลเกี่ยวกับผู้ใช้และกิจกรรมการใช้พื้นที่ริมน้​้า ห้วยโจ้ โดยแบบสอบถามจะถูกแบ่งออกเป็น 4 ตอน ตอนที่ 1 เป็นการเก็บข้อมู ลทั่วไปของผู้ตอบ แบบสอบถาม ตอนที่ 2 เก็บข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้น้าและคุณภาพน้​้าห้วยโจ้ ตอนที่ 3 เก็บข้อมูล. ในเรื่องพฤติกรรมการใช้พื้นที่ริมน้​้า และตอนที่ 4 เป็นการถามข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการภูมิทัศน์พื้นที่ ริมน้​้าห้วยโจ้ ท้าการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัว อย่ าง ทั้งจากชุมชน และจากนักศึกษาและบุคลากรภายใน มหาวิทยาลัย จุดมุ่งหมายในการเก็บรวบรวมรายละเอียดข้อมูลก็เพื่อที่จะสามารถน้าไปวิเคราะห์เป็น ข้อสรุปที่ชัดเจน เพื่อใช้เป็นส่วนหนึ่งในการสรุปศักยภาพและข้อจ้ากัดของพื้นที่ต่อไป 3.3.2 แบบส้ารวจ ผู้วิจัยท้าการส้ารวจพื้นที่ โดยใช้เครื่องมือคือแผนที่พื้นฐาน (ฺBase Map) สมุดเสก็ตช์ กล้องถ่ายภาพ เพื่อส้ารวจปัจจัยต่างๆที่ส่งผลต่อศักยภาพและข้อจ้ากัดของพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ นอกจากนี้ ผู้ส้ารวจยังท้าแผนผังแสดงการวิเคราะห์สภาพขององค์ประกอบนั้นๆอีกด้วย โดยแบ่งองค์ประกอบที่ ส้าคัญออกเป็น 3 หัวข้อใหญ่ๆ คือ ปัจจัยทางธรรมชาติ ปัจจัยทางวัฒนธรรมและสิ่งที่มนุษย์สร้าง และ ปัจจัยทางด้านสุนทรียภาพ


22

3.3.3 การสังเกตการณ์ โดยผู้วิจัยท้าการสังเกตโดยตรงแบบไม่มีส่วนร่วม (Non-Participation Observation) ใช้เครื่องมือคือแบบท้าผังพฤติกรรม หรือการท้าผังกิจกรรม (Activity Mapping) และการจดบันทึก เกี่ยวกับความสัมพันธ์ของการใช้กิจกรรมของผู้ใช้พื้นที่ และการสังเกตทางอ้อม โดยใช้กล้องถ่ายภาพ บันทึกเป็นหลัก เกี่ยวกับสภาพสภาพภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ การใช้ที่ดิน อาคารสิ่งก่อสร้าง การสัญจร กิจกรรม สภาพปัญหาทางด้านกายภาพ เพื่อตรวจสอบกับข้อมูลทุติยภูมิ จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง ในเบื้องต้น 3.4 วิธีการรวบรวมข้อมูล 3.4.1 การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ เป็นการรวบรวมจากเอกสาร หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีข้อมูลดังนี้ 3.4.1.1 ข้อมูลที่ตั้งและความส้าคัญของโครงการในระดับอ้าเภอสันทราย ได้แก่ ที่ตั้ง และอาณาเขตติ ด ต่ อ ลั ก ษณะภู มิ ป ระเทศ ลั ก ษณะภู มิ อ ากาศ การปกครอง ประช ากร ทรัพยากรธรรมชาติ ลักษณะทางด้านเศรษฐกิจ 3.4.1.2 ข้อมูลที่เกี่ยวกับที่ตั้งและความส้าคัญของล้าน้​้าห้วยโจ้ ซึ่งไหลผ่านพื้นที่ต้าบลปุา ไผ่ เทศบาลเมืองเแม่โจ้ และ ต้าบลหนองหาร ได้แก่ ที่ตั้งและอาณาเขตติดต่อ สภาพภูมิประเทศ สภาพ ภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ ลักษณะทางด้านเศรษฐกิจ และสภาพปัญหาของคุณภาพน้​้าและการใช้ พื้นที่ริมน้​้า 3.4.1.3 ข้อมูลเกี่ยวกับแนวความคิดทฤษฎีที่เกี่ย วข้อง ในหัวข้อ ภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้า คุณลักษณะของภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้า การวางผังภูมิทัศน์เชิงนิเวศ การอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์ พื้นที่ริมน้​้า 3.4.1.4 ข้อมูลเกี่ยวกับงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3.4.2 การรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ 3.4.2.1 จากแบบสอบถาม ผู้วิจัยท้าการรวบรวมข้อมูลจากการแจกแบบสอบถาม จ้านวน 300 ชุดต่อกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งได้แก่ ประชาชนในชุมชน และจากนักศึกษาและบุคลากรภายใน


23

มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้น้าและคุณภาพน้​้าห้วยโจ้ พฤติกรรมการใช้พื้นที่ริมน้​้า และข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ 3.4.2.2 การรวบรวมข้อมูลจากการส้ารวจ ใช้การถ่ายภาพ เสก็ตช์ภาพ การจดบันทึก และการก้าหนดต้าแหน่งในผังพื้นฐาน (Base Map) เกี่ยวกับองค์ประกอบทางภูมิทัศน์ในด้านต่างๆ ได้แก่ 1) ปัจจัยทางธรรมชาติ เช่น สภาพภูมิประเทศ ความลาดชันของตลิ่ง ความ กว้างของพื้นที่ริมน้​้า สภาพภูมิอากาศ ลักษณะพืชพรรณ แหล่งน้​้าและการระบายน้​้า ระดับน้​้า ดิน เป็นต้น 2) ปัจจัยทางวัฒนธรรมและสิ่งที่มนุษย์สร้าง เช่น การใช้ที่ดินเดิม ระบบ สาธารณูปโภค สาธารณูปการ เป็นต้น 3) ปัจจัยทางด้านสุนทรียภาพ เช่น มุมมองที่ดีและไม่ดี ตลอดเส้นทางน้า 3.4.2.3 การรวบรวมข้อมูลจากการสังเกตการณ์ภาคสนาม เป็นการสังเกตโดยตรงแบบ ไม่มีส่วนร่วม ใช้เครื่องมือคือการท้าแบบผังพฤติกรรม หรือผังกิจกรรม (Activity Mapping) เก็บรวบรวม ข้อมูลในรายละเอียดเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม กิจกรรมของผู้ใช้ที่เกิดขึ้นในสภาพแวดล้อมในต้าแหน่งต่างๆ ของพื้นที่ ประเภทของผู้ใช้ที่มีส่วนร่ วมในกิจกรรม เพื่อศึกษารูปแบบพฤติกรรมในสภาพแวดล้อมนั้นๆ หรือประเภทนั้นๆ ท้าให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพการใช้สอยสภาพแวดล้อม 3.5 วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล คณะผู้วิจัยท้าการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ 3.5.1 การวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ ข้อมูลที่ศึกษาจากเอกสาร งานวิจัย และแผนงานที่เกี่ยวข้อง ท้าการวิเคราะห์ตาม ประเด็นการจัดเก็บข้อมูลตามหัวเรื่องในเครื่องมือในการวิจัย และน้ามาประมวลผลการวิเคราะห์ร่วมกับ ข้อมูลที่ศึกษาจากภาคสนามได้แก่ การสังเกตการณ์ การตอบแบบสอบถาม เพื่อประมวลผลสรุปข้อมูล 3.5.2 การวิเคราะห์ข้อมูลจากการปฏิบัติการภาคสนาม ท้าการวิเคราะห์ ข้อมูลจากการส้ารวจโดยการน้าข้อมูลในแต่ละปัจจัยที่มีความส้าคัญ น้ามาวิเคราะห์ลงในผังพื้นฐาน (Base Map) จากนั้นจึงประเมินคุณค่าของพื้นที่ซึ่ง มีลักษณะที่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณาจากเปูาหมายในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนา แล้วน้าเอาแผนที่ที่ผ่านขั้นตอนดังกล่าวมา


24

ซ้อนทับกัน ตามกระบวนการที่เรียกว่า Overlay Mapping ประมวลผลค่าคะแนนทั้งหมด เพื่อวิเคราะห์ หาศักยภาพและข้อจ้ากัดของพื้นที่ที่เหมาะสม 3.5.3 การวิเคราะห์ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ใช้การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณา (Descriptive Statistics) บางส่วนใช้สถิติแบบร้อย ละ (Percentage) และค่าเฉลี่ย (Mean) เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลจากการสังเกต และการเก็บแบบสอบถาม ตามประเด็น เกี่ย วกับ พฤติกรรมการใช้น้ าและคุณภาพน้​้าห้ ว ยโจ้ พฤติกรรมการใช้พื้นที่ริมน้​้า และ ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ 3.6 การประมวลผลข้อมูล เป็นการประมวลผลข้อมูลจากการศึกษาและการวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ ข้อมูลจากการส้ารวจ การสังเกตการ และข้อมูลจากการเก็บแบบสอบถามกลุ่มตัวอย่าง น้ามาประมวลผลร่วมกัน เพื่อสรุปถึง ผังพื้นที่แสดงศักยภาพและข้อจ้ากัดในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ ท้าการ ประเมินและแบ่งพื้นที่ (Zoning) ตามความเหมาะสมส้าหรับการใช้ที่ดินในอนาคต เพื่อหาแนวทางในการ อนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาพื้นที่ดังกล่าว จากนั้นคัดเลือกพื้นที่ส าธิต ท้าการเสนอแนะแนวทางในการ อนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาทางด้านกายภาพ โดยใช้ค้าบรรยายประกอบกับภาพวาด แผนที่ แผนผั ง บริเวณ และภาพถ่ายให้เห็นชัดเจนและเข้าใจง่าย


25

บทที่ 4 ผลการวิจัย ในการรายงานผลการวิจัยนั้น จะรายงานผลใน 7 หัวข้อดังนี้ 4.1 ผลการศึกษาสภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานของพื้นที่โครงการ 4.2 ผลการส้ารวจและวิเคราะห์ปัจจัยทางธรรมชาติ 4.3 ผลการส้ารวจและวิเคราะห์ปัจจัยทางวัฒนธรรม และสิ่งที่มนุษย์สร้าง 4.4 ผลการส้ารวจและวิเคราะห์ปัจจัยทางด้านสุนทรียภาพ 4.5 ผลการวิเคราะห์ศักยภาพและข้อจ้ากัดของพื้นที่ 4.6 ผลการส้ารวจและวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามผู้ใช้พื้นที่โครงการ 4.7 แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนา พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ ตามศักยภาพและข้อจ้ากัดของพื้นที่และ ความคิดเห็นของผู้ใช้พื้นที่โครงการ 4.1 ผลการศึกษาสภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานของพื้นที่โครงการ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวสภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานของพื้นที่โครงการ ได้ท้าการเก็บ รวบรวมข้อมูลใน 2 ระดับ ได้แก่ข้อมูลในระดับอ้าเภอสันทราย และในระดับพื้นที่โครงการซึ่งครอบคลุม พื้นที่ในเขตเทศบาลต้าบลปุาไผ่ และเทศบาลต้าบลหนองหาร ดังต่อไปนี้ 4.1.1 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานของอ้าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 4.1.1.1 ลักษณะที่ตั้ง อาณาเขต และเขตการปกครอง ที่ตั้งและอาณาเขตติดต่อ อ้าภอสันทรายเป็นอ้าเภอหนึ่งภายในจังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยู่ในทางทิศเหนือของ ประเทศไทย บริ เวณเส้ น รุ้ ง ที่ 18°47'37.8"-19°06'17.8" องศาเหนื อ และเส้ น แวงที่ 98°56'20.2"99°07'41.5"1 องศาตะวันออก มีความสูงจากระดับน้​้าทะเลปานกลางตั้งแต่ระดับ 300 เมตร (บริเวณที่ ราบในเขตต้าบลสันพระเนตร ถึงระดับ 888เมตร (บริเวณเนินเขาที่ต้าบลแม่แฝก) มีอาณาเขตติดต่อดังนี้ (แผนที่ 1) 1

วัดจากแผนที่ Google Earth [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.google.co.th/maps/place/อ้าเภอ+ สันทราย+เชียงใหม่/ (12 กันยายน พ.ศ. 2558)


26

ทิศเหนือ

ติดต่อกับ อ้าเภอแม่แตง

ทิศใต้

ติดต่อกับ อ้าเภอสันก้าแพง และอ้าเภอเมืองเชียงใหม่

ทิศตะวันออก

ติดต่อกับ อ้าเภอดอยสะเก็ด

ทิศตะวันตก

ติดต่อกับ อ้าเภอแม่ริม และอ้าเภอเมืองเชียงใหม่

4.1.1.2 ลักษณะภูมิประเทศ อ้าเภอสั น ทรายตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของฝั่ งแม่น้าปิง ในบริเวณที่ราบลุ่ ม แม่น้ าปิ งตอนเหนือ ติดกับ ที่ตั้งของตัวอ้าเภอเมืองเชียงใหม่ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ สภาพภูมิ ประเทศโดยทั่วไปของอ้าเภอสันทรายมีลักษณะที่ผสมผสานกันระหว่างพื้นที่ ชุมชนเมืองในบริเวณที่ราบ และพื้นที่ปุาในบริเวณที่เป็นภูเขา (แผนที่ 3) 1) พื้นที่ราบลุ่มและที่ราบเชิงเขา บริ เ วณที่ เ ป็ น พื้ น ที่ ร าบนั้ น ตั้ ง อยู่ ท างทิ ศ ใต้ ต อนล่ า งและทางทิ ศ ตะวันออกของอ้าเภอซึ่งเป็น ส่ว นหนึ่งของพื้นที่ริมฝั่ งแม่น้าปิง มีความสูงจากระดับน้​้าทะเลปานกลาง ประมาณ 300 - 400 เมตรครอบคลุมพื้นที่ในเขตต้าบลหนองจ๊อม สันทรายหลวง สันทรายน้อย สันปุาเปา สันนาเม็ง และสันพระเนตร นอกจากนี้ยังครอบคลุมพื้นที่ทางทิศตะวันออกของต้าบลแม่แฝก ต้าบลแม่ แฝกใหม่ ต้าบลหนองหาร และพื้นที่ทางทิศใต้ของต้าบลปุาไผ่ ต้าบลเมืองเล็น และต้าบลหนองแหยง อีก ด้วย 2) พื้นที่ภูเขา พื้น ที่ภูเขาในเขตอ้าเภอสั นทราย มีความสู งจากระดับน้​้าทะเลปาน กลาง ตั้งแต่ 400 - 888 เมตร ครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของต้าบลแม่แฝกและต้าบลแม่แฝกใหม่ นอกจากนี้ยังครอบคลุมพื้นที่ทางด้านทิศตะวันออกของต้าบลหนองหาร และพื้นที่ทางด้านทิศเหนือของ ต้าบลปุาไผ่ เมืองเล็น และหนองแหยง 4.1.1.3 ลักษณะภูมิอากาศ เนื่ อ งจากอ้ า เภอสั น ทราย ตั้ ง อยู่ ใ นเขตจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ จึ ง มี ส ภาพอากาศ ค่อนข้างเย็นตลอดปี จากสถิติในระหว่างปี พ.ศ. 2524-2553 รวมระยะเวลา 30 ปี จังหวัดเชียงใหม่มี อุณหภูมิเฉลี่ยเท่ากับ 25.8 องศาเซลเซียส โดยมีค่าอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 32.2 องศาเซลเซียส อุณหภูมิ เฉลี่ยต่้าสุด 20.8 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยตลอดรอบ 30 ปี ร้อยละ 70.9 ปริมาณน้​้าฝน โดยรวมเฉลี่ยต่อปี 1140.2 มม. จ้านวนวันที่มีฝนตกในแต่ละปี โดยเฉลี่ยคือ 117.3 วัน ต่อปี (ศูนย์ อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ, 2558) จังหวัดเชียงใหม่อยู่ภายใต้อิทธิพลของร่องมรสุมและลมพายุหมุนเขตร้อน ที่เคลื่อนเข้ามาใกล้หรือสลายตัวใกล้ กับประเทศไทย แบ่งลักษณะภูมิอากาศออกเป็น 3 ฤดู ได้แก่


27

ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคม จนถึงเดือนตุลาคม ได้รับอิทธิพลจาก ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดื อนพฤศจิกายน ถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ได้รับอิทธิพล ความกดอากาศสูงจาก ประเทศจีนแผ่ลงมาปกคลุมประเทศไทยตอนบน ซึ่งพัดพาความหนาวเย็นมาจาก ประเทศจีน ฤดูร้อน เริ่ มตั้ ง แต่ เดื อ นมี น าคม ถึ งกลางเดื อ นพฤษภาคม มี ห ย่อ มความกด อากาศต่้าเนื่องจากความร้อนปกคลุมประเทศไทยตอนบนเป็ น ระยะๆ ได้รับอิทธิพลจากลมฝุายตะวันตก จากประเทศพม่าเคลื่อนเข้าปกคลุม ทั้งภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 4.1.1.4 การปกครอง อ้าเภอสันทราย แบ่งการปกครองออกเป็น 12 ต้าบล 117 หมู่บ้าน ดังนี้ ตารางที่ 5 รายชื่อต้าบลและจ้านวนหมู่บ้านในอ้าเภอสันทราย ลาดับ

ชื่อตาบล

จานวนหมู่บ้าน

1.

สันทรายหลวง

9

2.

สันทรายน้อย

7

3.

หนองหาร

13

4.

สันพระเนตร

7

5.

แม่แฝก

12

6.

สันนาเม็ง

10

7.

แม่แฝกใหม่

12

8.

สันปุาเปา

6

9.

เมืองเล็น

5

10.

หนองแหย่ง

11

11.

ปุาไผ่

16

12.

หนองจ๊อม

9

ที่มา: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ. ม.ป.พ.


28

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ มาตราส่วน แผนที่ 2 แสดงเขตการปกครองจังหวัดเชียงใหม่ ที่มา: ส้านักงานจังหวัดเชียงใหม่. ม.ป.ป. สัญลักษณ์:

ขอบเขตพื้นที่อ้าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่


29

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ มาตราส่วน แผนที่ 3 แสดงสภาพภูมิประเทศของอ้าเภอสันทราย ที่มา: ส้านักงานจังหวัดเชียงใหม่. ม.ป.ป. สัญลักษณ์:

ขอบเขตพื้นที่อ้าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่


30

4.1.1.5 ประชากร อ้าเภอสันทรายมีจ้านวนประชากรจ้านวนทั้งสิ้น 107,896 คน แบ่งเป็นชาย 51,667 คน และหญิง 56,229 คน (ส้านักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงใหม่, 2554) 4.1.1.6 ทรัพยากรธรรมชาติ 1) การใช้ที่ดินและทรัพยากรดิน เนื่องจากทางด้านทิศเหนือและทิศ ตะวันออกเฉียงเหนือของอ้าเภอสันทราย เป็นพื้นที่ภูเขาปกคลุมไปด้วยปุาไม้ ดังนั้นในเขตอ้าเภอสันทราย จึงมีการใช้ที่ดินประเภทปุาไม้สูงสุด คิดเป็นพื้นที่ 82,027.75 ไร่ หรือ ร้อยละ 38.62 ของพื้นที่ทั้งหมด รองลงมาคือ พื้นที่เกษตรกรรม คิดเป็นพื้นที่ 76,171.88 ไร่ หรือ ร้อยละ 35.86 ทั้งนี้เพราะอาชีพหลักของ ประชากรในอ้าเภอสันทรายประกอบอาชีพเกษตรกรรม ซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ปลูก ข้าว ไม้ผลไม้ยืนต้น พืชไร่ พืชผัก เป็นต้น ส้าหรับพื้นที่อื่นๆที่เหลือถูกใช้ประโยชน์เป็น พื้นที่อยู่อาศัย พื้นที่แหล่งน้​้า และอื่นๆ (ตารางที่ 2 ) ตารางที่ 6 ประเภทการใช้ที่ดินในเขตอ้าเภอสันทราย ประเภทการใช้ที่ดิน

จานวนไร่

ร้อยละ

เกษตรกรรม

76,171.88

35.86

ปุาไม้

82,027.75

38.62

แหล่งน้​้า

3,762.67

1.77

ที่อยู่อาศัย

38,175.78

17.97

อื่นๆ

12,272.84

5.78

รวม

212,410.92

100.00

ที่มา : ส้านักงานจังหวัดเชียงใหม่, 2553.

2) แหล่งน้​้า อ้าเภอสันทรายมีล้าน้​้าสายหลัก 2 สาย คลองชลประทาน 1 สาย และล้าน้​้าสายย่อยอีกมากมายสาย ดังรายละเอียดต่อไปนี้ (ส้านักงานจังหวัดเชียงใหม่, ม.ป.ป.) 2.1) ล้าน้​้าสายหลัก ก. แม่น้าปิง เป็นแม่น้าสายส้าคัญของภาคเหนือ มีต้นน้​้าอยู่ บริเวณภูเขาผีปันน้​้าในอ้าเภอเชียงดาว ไหลผ่านอ้าเภอ แม่แตง แม่ริม สันทราย ผ่านกลางเมืองเชียงใหม่ อ้าเภอสารภี อ้าเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ ไปยัง อ้าเภอปุาซาง อ้าเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดล้าพูน ผ่าน


31

อ้าเภอจอมทอง อ้าเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ ก่อนไหลเข้าสู่อ่างเก็บน้​้าเขื่อนภูมิพลที่อ้าเภอดอยเต่า ลงไป บรรจบกับแม่น้าวังที่จังหวัดตาก ผ่านจังหวัดก้าแพงเพชร บรรจบกับแม่น้าน่านที่ปากน้​้าโพ จังหวัด นครสวรรค์ ข. น้​้าแม่กวง มีต้นก้าเนิดจากเทือกเขาในกิ่งอ้าเภอแม่ออน จ. เชียงใหม่ ไหลผ่านอ้าเภอดอยสะเก็ด อ้าเภอพร้าว อ้าเภอสันทราย โดยผ่านทาง ต้าบลหนองแหย่ง เมือง เล็น สันปุาเปา สันนาเม็ง สันพระเนตร ก่อนจะไหลเข้าสู่เขตอ้าเภอสันก้าแพง ไปผ่านอ้าเภอสารภี และ ไหลผ่านจังหวัดล้าพูน อ้าเภอบ้านธิ อ้าเภอเมืองล้าพูน ลงสู่แม่น้าปิงฝั่งซ้ายที่อ้าเภอปุาซาง 2.2) คลองชลประทานแม่แฝก รับน้​้าจากฝายแม่แฝก (ฝายสินธุกิจ ปรีชา) บริเวณต้าบลแม่แฝก อ้าเภอสันทราย ทอดยาวคู่ขนานกับแม่น้าปิงทางฝั่งทิศตะวันออก ผ่านต้าบล แม่แฝก แม่แฝกใหม่ หนองหาร ปุาไผ่ เมืองเล็น ระบายลงน้​้าแม่กวงที่ต้าบลสันปุาเปา 2.3) ล้าน้​้าสายย่อย สามารถจ้าแนกได้ 2 ประเภท ได้แก่ ก. ล้าห้วยที่ไหลจากเหนือลงใต้ ขนานไปกับแม่น้าปิงทางฝั่ง ตะวันออก เช่น น้​้าแม่คาว ล้าเหมืองหนองหาร เป็นต้น ข. ล้าห้วยที่มีต้นก้าเนิดจากเทือกเขาทางทิศเหนือและทิศ ตะวันออกของอ้าเภอสันทราย ไหลไปทางทิศตะวันตก ส่วนใหญ่ไปลงห้วยหนองหารเพื่อไปบรรจบกับ แม่น้าปิง บางส่วนไหลไปลงน้​้าแม่กวง ซึ่งในที่สุดก็ไหลไปบรรจบกับแม่น้าปิงในที่สุด ล้าห้วยขนาดเล็กนี้มี อยู่มากมายในอ้าเภอสันทราย เช่น ห้วยต้นผึ้ง ห้วยไร่ ห้วยส้ม ห้วยแก้ว ห้วยปวงเจ้าสอน ห้วยวัด ห้วยเตา ไห้ ห้วยโจ้ ห้วยแม่แฝก น้​้าแม่กอง น้​้าแม่ดู่ น้​้าโว้ เหมืองขี้เหล็ก เป็นต้น 3) ปุาไม้ ปุาไม้ในเขตอ้าเภอสันทรายปกคลุมเทือกเขาทางตอนเหนือและ ตะวันออกเฉียงเหนือของอ้าเภอ เกือบทั้งหมดเป็นปุาผลัดใบสมบูรณ์ มีส่วนน้อยในเขตต้าบลแม่แฝกใหม่ และต้าบลหนองแหย่ง ที่มีลักษณะของปุาผลัดใบรอสภาพฟื้นฟู อ้าเภอสันทรายมีพื้นที่ปุาไม้ทั้งสิ้นในปี จ้านวน 82,027.75 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 38.62 ของพื้นที่อ้าเภอ (ส้านักงานจังหวัดเชียงใหม่, ม.ป.ป.) 4.1.1.7 ลักษณะทางเศรษฐกิจ จากการส้ารวจข้อมูลความจ้าเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ของประชากรอ้าเภอสันทราย ในปี พ.ศ. 2554 ประชากรมีรายได้เฉลี่ยต่อหัว 58,617 บาทต่อปี เป็นอันดับที่ 5 ของจังหวัดเชียงใหม่ (ส้านักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ , 2554) รายได้ส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับภาคเกษตรกรรม ประชากร ประกอบอาชีพเกษตรกรรมสูงถึง 85% ทั้งท้านา ท้าสวน ท้าไร่ และเลี้ยงสัตว์ พืชเศรษฐกิจที่ส้าคัญได้แก่ ข้าวนาปี ถั่วเหลือง มันฝรั่ง มะเขือเทศ พริกใหญ่ ล้าไย ลิ้นจี่ มะม่วง การเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ โคนม โคเนื้อ กระบือ สุกร ไก่เนื้อ เป็ด แพะ และแกะ ส้าหรับภาคอุตสาหกรรม มีโรงงานอุตสาหกรรมที่ได้รับอนุญาต ด้าเนินการ จ้านวน 15 แห่ง ธนาคารจ้านวน 8 แห่ง (เจนจิรา มนตรีกุล ณ อยุธยา, 2553)


32

4.1.1.8 การศึกษา อ้าเภอสันทรายมีสถานศึกษารวมทั้งสิ้น 51 แห่ง แบ่งออกเป็นมหาวิทยาลัย จ้านวน 2 แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และมหาวิทยาลัยพายัพ โรงเรียนมัธยมศึกษา 1 แห่ง ได้แก่ โรงเรียนสันทรายวิทยาคม โรงเรียนระดีบประถมศึกษาจ้านวน 38 แห่ง สถานศึกษาเอกชน 8 แห่ง และ สถานศึกษาพิเศษ 1 แห่ง ได้แก่ โรงเรียนศรีสังวาลย์ ส้าหรับในเขตชนบทมีเด็กในชนบทที่มีอายุ 6-15 ปี ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี คิด เป็นร้อยละ 99.9 คือมีจ้านวน 3,967 คน จากจ้านวนเด็กที่ท้าการส้ารวจทั้งสิ้น 3,970 คน ส้าหรับเด็กจบ ภาคบังคับ 9 ปี ได้เรียนต่อมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า มีจ้านวนร้อยละ 99.8 คือมีจ้านวน 587 คน จากจ้านวนเด็กที่ส้ารวจทั้งสิ้น 588 คน (ส้านักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่, 2554) 4.1.2 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานของพื้นที่โครงการ 4.1.2.1 ลักษณะที่ตั้ง อาณาเขต และเขตการปกครอง พื้ น ที่ โ ครงการตั้ ง อยู่ ริ ม ล้ า น้​้ า ห้ ว ยโจ้ ซึ่ ง ไหลจากเนิ น เขาทางด้ า นทิ ศ ตะวันออกเฉียงเหนือของต้าบลปุาไผ่ ทอดตัวเป็นระยะทางยาวประมาณ 9.7 กิโลเมตร ผ่านบ้านโปง บ้าน ไร่ บ้านท่ายาว บ้านเกษตรใหม่ บ้านวิเวก เข้าสู่เขตต้าบลหนองหาร ผ่า นมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และบ้านทุ่ง หมื่นน้อย ไปบรรจบกับห้วยน้​้าปูองทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ เพื่อไหลไปรวมกับห้วยแม่หนองหาร และไปลง แม่น้าปิงซึ่งอยู่อยู่ห่างออกไปทางทิศตะวันตกจากห้วยหนองหาร ส่วนความกว้างของพื้นที่วัดจากล้าน้​้า ห้วยโจ้ออกไปทั้งสองฝั่งของล้าน้​้าเป็นระยะทางข้ างละประมาณ 200-500 เมตร ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขอบเขต ทางด้านภูมิศาสตร์กายภาพที่อยู่ข้างเคียงของแต่ละพื้นที่ เช่น ถนน การใช้ที่ดินเดิม เป็นต้น (แผนที่ 3-4)

ที่ตั้งและอาณาเขตติดต่อ พื้นที่โครงการตั้ง มีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ พื้นทีป่ ุาอนุรักษ์ พื้นที่เกษตรกรรม และที่อยู่อาศัย ทิศใต้ ติดต่อกับ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ที่อยู่อาศัย ทิศตะวันออก ติดต่อกับ พื้นที่ฟาร์มเกษตรของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ พื้นที่เกษตรกรรม ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ห้วยน้​้าปูอง พื้นที่เกษตรกรรม และต้าบลเหมืองแก้ว อ้าเภอแม่ริม


33

4.1.2.2 การเข้าถึงพื้นที่โครงการ (แผนที่ 6) 1) ถนนหลักที่ใช้ในการเข้าถึงพื้นที่โครงการ พื้นที่โครงการสามารถเข้าถึงได้ อย่างสะดวก เนื่องจากมีถนนแม่โจ้ -พร้าว (ถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1001) ตัดผ่านโครงการทาง ตอนใต้ ถนนเส้นนี้เป็นถนนขนาดใหญ่ 6 ช่องการจราจร โดยมีเกาะกลางถนน ทอดตัวในแนวเหนือใต้ จากถนนหลักเส้นนี้สามารถเลี้ยวลัดเลาะขอบพื้นที่โครงการได้ ทั้งทางทิศตะวันออกและทิศตะวันตกของ ถนน 2) การเข้าถึงพื้นที่โครงการทางฝั่งตะวันออกของถนนแม่โจ้ -พร้าว ท้าได้โดย เลี้ยวเข้าทางถนนโยธาธิการ (ชม. 2009) ซึ่งจะลัดเลาะขอบพื้นที่โครงการทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ไป ประมาณ 2.2 กิโลเมตร จากนั้นจึงเลี้ยวขวา ผ่านถนนบ้านโปง (ชม. 7065) ซึ่งทอดยาว ประมาณ 6 กิโลเมตรลัดเลาะขอบพื้นที่โครงการทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ จนกระทั่งถึงอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ 3) การเข้าถึงพื้นที่โครงการทางฝั่งตะวันตกของถนนแม่โจ้ -พร้าว ท้าได้โดยการ เลี้ยวเข้าซอยบ้านแม่โจ้ 9 ซึ่งจะลัดเลาะขอบพื้นที่โครงการทางทิศตะวันใต้ ไปประมาณ 1.5 กิโลเมตร นอกจากนี้ยังสามารถใช้ซอยบ้านแม่โจ้ 7 เข้าถึงพื้นที่ริมน้​้า เนื่องจากเป็นถนนซอยซึ่งเลียบห้วยแม่โจ้ไป ตลอดแนวได้อีกด้วย 4.1.2.3 การเชื่อมโยงกับพื้นที่อื่นๆ เนื่ อ งจากล้ า น้​้ า ห้ ว ยโจ้ มี บ างส่ ว นที่ ไ หลผ่ า นมหาวิ ท ยาลั ย แม่ โ จ้ ซึ่ ง เป็ น มหาวิทยาลัยขนาดใหญ่ มีจ้านวนนักศึกษาและบุคลากรที่เข้ามาใช้พื้นที่ภายในมหาวิทยาลัยจ้านวนมาก ก่อให้เกิดการขยายตัวของชุมชน เกิดเป็นชุมชนเมืองภายใต้เขตการปกครองของเทศบาลเมืองแม่โจ้ ท้าให้ พื้นที่โครงการมีความเชื่อมโยงกับชุมชนโดยรอบหลายๆชุมชนที่ติดกัน ได้แก่ ชุมชนบ้านโปง บ้านไร่ บ้าน ท่ายาว บ้านเกษตรใหม่ บ้านวิเวก บ้านห้วยเกี๋ยง (แผนที่ 5) ซึ่งหากจ้าแนกตามระยะห่า งจากพื้นที่ โครงการแล้วสามารถเชื่อมโยงกับสถานที่ต่างๆมากมาย ดังนี้ (แผนที่ 7) 1) ภายในระยะ 0-1 กิโลเมตรจากพื้นที่โครงการ มีชุมชน 2 แห่ง หมู่บ้าน จัดสรร 5 แห่ง โรงเรียน 2 แห่ง สนามกอล์ฟ 1 แห่ง และมหาวิทยาลัย 1 แห่ง 2) ภายในระยะ 1-3 กิโลเมตรจากพื้นที่โครงการ มีชุมชน 12 แห่ง หมู่บ้าน จัดสรร 3 แห่ง โรงเรียน 4 แห่ง 3) ภายในระยะ 3-5 กิโลเมตรจากพื้นที่โครงการ มีชุมชน 24 แห่ง หมู่บ้าน จัดสรร 4 แห่ง โรงเรียน 7 แห่ง จะเห็ นได้ว่าพื้นที่โครงการตั้งอยู่ในพื้นที่สามารถรองรับการใช้งานของคนใน ชุมชนจ้านวนมาก และมีความหลากหลาย ทั้ง เพศ วัย คุณวุฒิ ฐานะ และอาชีพ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าพื้นที่ โครงการมีความส้าคัญอย่างยิ่ง สมควรได้รับการออกแบบปรับปรุงและฟื้นฟูให้เหมาะสม


34

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ มาตราส่วน แผนที่ 4 แสดงสถานที่ตั้งโครงการในระดับต้าบล ที่มา: จากการวิเคราะห์ข้อมูล จัดท้าแผนที่โดย ผศ.จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ สัญลักษณ์:

ขอบเขตพื้นที่ต้าบลหนองหาร อ้าเภอสันทราย ขอบเขตพื้นที่ต้าบลปุาไผ่ อ้าเภอสันทราย ขอบเขตพื้นที่โครงการ ขอบเขตเทศบาลเมืองแม่โจ้


35

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 5 แสดงชุมชนที่อยู่โดยรอบพื้นที่โครงการ ที่มา: จากการวิเคราะห์ข้อมูล จัดท้าแผนที่โดย ผศ.จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ พื้นที่โครงการ ขอบเขตพื้นที่โครงการ


36

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 6 แสดงถนนเข้าถึงพื้นที่โครงการ ที่มา: จากการวิเคราะห์ข้อมูล จัดท้าแผนที่ขั้นสุดท้ายโดย ผศ.จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ พื้นที่โครงการ ถนนเชียงใหม่-พร้าว (ชม.1001) ถนนโยธาธิการ (ชม. 2009) ถนนบ้านโปง (ชม. 7065) ซอยบ้านแม่โจ้ 9


37

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 7 แสดงการเชื่อมโยงกับพื้นที่อื่นๆ ที่มา: จากการวิเคราะห์ข้อมูล จัดท้าแผนที่ขั้นสุดท้ายโดย ผศ.จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ สัญลักษณ์:


38

4.2 ผลการสารวจและวิเคราะห์ปัจจัยทางธรรมชาติ หัวข้อที่ท้าการส้ารวจและวิเคราะห์ปัจจัยทางธรรมชาติ ประกอบด้วย 7 หัวข้อ ได้แก่ สภาพภูมิ ประเทศ แหล่งธรณีวิทยา แหล่งน้​้าและการระบายน้​้า ดิน พืชพรรณและสัตว์ปุา ภูมิอ ากาศระดับภูมิภาค ภูมิอากาศระดับท้องที่ ดังจะได้แสดงต่อไปนี้ 4.2.1 สภาพภูมิประเทศ พื้ น ที่ โ ค ร ง กา ร มี ลั ก ษ ณ ะเ ป็ น แน ว ย าว ท อ ดตั ว ต าม แ น ว ล้ า ห้ ว ย โ จ้ จา ก ทิ ศ ตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเป็นพื้นที่ปุาบ้านโปง มีลักษณะเป็นปุาอนุรักษ์บนเชิงเขา ซึ่งจุดสุงสุดของพื้นที่ โครงการจะอยู่บริเวณอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ มีความสูงประมาณ 420 เมตร เหนือระดับน้​้าทะเลปานกลาง (ภาพที่ 1) หลังจากนั้นจึงไหลผ่านที่ราบเชิงเขาไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระดับความสูงของพื้นที่จะลดลง เรื่อยๆ ล้าห้วยโจ้ไหลผ่านพื้นที่เกษตรกรรม ชุมชน มหาวิทยาลัย พื้นที่พาณิชยกรรม และหมู่บ้านจัดสรร ไปสิ้นสุดที่ ล้าน้​้าปูองปานกลาง ซึ่งเป็นบริเวณจุดต่้าสุดของพื้นที่โครงการ มีความสูงประมาณ 330 เมตร เหนือระดับน้​้าทะเล ความแตกต่างของระดับชั้นความสูงพื้นที่โครงการ ระหว่างจุดต่้าสุด และจุดสูงสุด คิด เป็น 90 เมตร (แผนที่ 7) พื้นที่โดยรอบทางด้านทิศเหนือของโครงการตั้งแต่บริเวณโดยรอบอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ขึ้นไป เป็นพื้นที่ปุาอนุรักษ์บ้านโปง ซึ่งมีความสูงไล่ระดับสูงขึ้นไปเรื่อยๆ ซึ่งภายในระยะ 2 กิโลเมตรจากอ่างเก็บ น้​้าห้วยโจ้ จะมีระดับความสูงอยู่ตั้งแต่ระดับ 400 เมตร ถึง 659 เมตรเหนือระดับน้​้าทะเล ส่วนพื้น ที่ บริเวณโดยรอบทางตอนกลางและตอนใต้ของพื้นที่เป็นที่ราบเชิงเขา และที่ราบลุ่มริมแม่น้าปิง ซึ่งมีระดับ ความสูงอยู่ตั้งแต่ระดับ 300 เมตร ถึง 400 เมตรเหนือระดับน้​้าทะเลปานกลาง (แผนที่ 8-9) ส้าหรับความลาดชันในพื้นที่นั้น ภายในพื้นที่โครงการส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบเชิงเขา และ ที่ราบลุ่มริมแม่น้าปิง ซึ่งมีความลาดชัน 0-5 % โดยมีพื้นที่บางส่วน ในเขตพื้นที่ปุาอนุรักษ์บ้านโปง ทาง ตอนเหนือของโครงการเท่านั้นที่มีความลาดชัน 5-15 % นอกจากนี้ยังมีพื้นที่บริเวณใต้เขื่อนของอ่างเก็บ น้​้าบ้านโปงที่มีความลาดชันมากกว่า 35% (แผนที่ 9) ความลาดชันภายนอกโครงการในบริเวณพื้นที่ปุาบ้านโปงทางด้านทิศเหนือของโครงการ เนื่องจากเป็นพื้นที่ปุาเขา จึงมีความลาดชันมากน้อยต่างกันไปตามสภาพภูมิประเทศของพื้นที่ โดยพื้นที่ บริเวณหุบเขาและที่ลุ่มร่องน้​้าห้วยโจ้ มีความลาดชันต่้า 0-5 % บริเวณเชิงเขาขึ้นไป มีความลาดชันไล่ ระดับขึ้นไป ตั้งแต่ 5-15% 15-25% และ>35% ขึ้นไป ส่วนความลาดชันของพื้นที่บริเวณโดยรอบของ โครงการทางตอนกลางและตอนใต้นั้นส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม มีความลาดชัน 0-5 % โดยมีพื้นที่บางส่วน เพียงเล็กน้อย เท่านั้นที่มีความลาดชัน 5-15 % (แผนที่ 10)


39

ภาพที่ 1 อ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ มีความสูงประมาณ 420 เมตร เหนือระดับน้​้าทะเลปานกลาง ตั้งอยู่ทางตอนเหนือ ของพื้นที่โครงการ ที่มา: Google Earth (4 ตุลาคม พ.ศ. 2558)

ภาพที่ 2 สภาพภูมิประเทศบริเวณโดยรอบอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ ซึ่งอยู่ภายในปุาอนุรักษ์บ้านโปง ที่มา: Google Earth (4 ตุลาคม พ.ศ. 2558)


40

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 8 แสดงเส้นชั้นความสูงและระดับความสูงจากระดับน้​้าทะเล ที่มา: จากการวิเคราะห์ข้อมูล จัดท้าแผนที่โดย ผศ.จรัสพิมพ์ บุญญานันต์

. 400

พื้นที่โครงการ ขอบเขตพื้นที่โครงการ เส้นชั้นความสูง ระดับความสูง


41

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 9 การวิเคราะห์ระดับความสูงของพื้นที่จากระดับน้​้าทะเล ที่มา: จากการวิเคราะห์ข้อมูล จัดท้าแผนที่โดย ผศ.จรัสพิมพ์ บุญญานันต์

. 400

ขอบเขตพื้นที่ โครงการ เส้นชั้นความสูง ระดับความสูง

300-400 ม. >400-500 ม. >500-600 ม. >600-700 ม. >700 ม.


42

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 10 การวิเคราะห์ความลาดชันของพื้นที่ ที่มา: จากการวิเคราะห์ข้อมูล จัดท้าแผนที่โดย ผศ.จรัสพิมพ์ บุญญานันต์

. 400

ขอบเขตพื้นที่ โครงการ เส้นชั้นความสูง ระดับความสูง

0-5 % >5-15% >15-25% >25-35% >35%


43

4.2.2 แหล่งน้​้าและการระบายน้​้า 4.2.2.1 แหล่งน้​้าและการระบายน้​้าผิวดิน พื้นที่โครงการนี้นับว่ามีความอุดมสมบูรณ์ทางด้านทรัพยากรทางน้​้าผิวดินอย่าง ยิ่ง มีแหล่งน้​้าที่มีความหลากหลายจ้านวนมาก (แผนที่ 11) ประกอบด้วย 1) อ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ เป็นอ่างเก็บน้​้าซึ่งสร้างโดยกรมชลประทาน เกิดขึ้นมา จากพระราชด้าริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เมื่อครั้งได้เสด็จพระราชด้าเนินมายัง ปุาบ้านโปง พร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เมื่อปี วันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2527 สร้างเสร็จและเริ่มจ่ายน้​้าตั้งแต่ พ.ศ. 2528 ตั้งอยู่ที่ บ้านโปง หมู่ 6 ต.ปุาไผ่ อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ สามารถบรรจุน้าได้ถึง 1,250,000 ลูกบาศก์เมตร ด้าเนินการส่งน้​้าให้คลองส่งน้​้าห้วยเกี๋ยง และอ่างเก็บน้​้า ห้วยฮัก นอกจากนี้ยังส่งน้​้าให้แก่ประปาหมู่บ้านและบริเวณพื้นที่เพาะปลูกจ้านวน 1,200 ไร่ ด้านท้ายอ่าง เก็บน้​้าห้วยโจ้อีกด้วย ปัจจุบันการบริหารจัดการน้​้าเป็นแบบรอบเวร (ส้านักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อ ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด้าริ, 2553) 2) ห้วยโจ้ เป็นล้าน้​้าธรรมชาติขนาดเล็ก กว้างประมาณ 3 เมตร มีปริมาณน้​้า มากบ้างน้อยบ้างขึ้นอยู่กับรอบเวรการปล่อยน้​้า และฤดูกาล โดยส่วนมากหากไม่ถึงรอบเวรการปล่อยน้​้า ห้วยโจ้จะมีน้าน้อยมาก การระบายน้​้าจะไหลจากทิศตะวันออกเฉียงเหนืออันเป็นที่ตั้งของอ่างเก็บน้​้าห้วย โจ้ซึ่งอยู่บนที่สูงในหุบเขา ไหลไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ลงน้​้าปูอง 3) คลองส่งน้​้าโครงการชลประทานเขื่อนแม่กวง มีลักษณะเป็นคลองคอนกรีต มีความกว้างประมาณ 2 เมตร พาดผ่านตอนกลางของพื้นที่ บริเวณบ้านเกษตรใหม่ และบ้านไร่ 4) คลองส่งน้​้าโครงการชลประทานอ่างเก็บน้​้าแม่แฝก มีลักษณะเป็นคลอง คอนกรีต มีความกว้างประมาณ 5 เมตร พาดผ่านตอนล่างของพื้นที่ บริเวณบ้านวิเวก 5) บ่อน้​้าขุดขนาดใหญ่ มีหลายบ่อ กระจายตัวอยู่ภายในบริเวณมหาวิทยาลัย แม่โจ้ และพื้นที่ใกล้เคียง 4.2.2.2 น้​้าบาดาล (แผนที่ 14) น้​้าบาดาลภายในพี้นที่เป็นน้​้าที่มีคุณภาพดี มีปริมาณสารทั้งหมดที่ละลายได้ (TDS) น้อยกว่า 500 มิลลิกรัมต่อลิตร (มาตรฐานน้​้าบาดาลเพื่อการอุปโภค-บริโภค ค่า TDS ต้องไม่เกิน 1200 มิลลิกรัมต่อลิตร ระดับความลึกของน้​้าบาดาลบริเวณพื้นที่รอบอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ และพื้นที่ใต้อ่างมี ความลึกเฉลี่ย 12-80 เมตร นอกนั้นในบริเวณพื้นที่เลยลงมาทั้งตอนกลางและตอนใต้ของพื้นที่โครงการ มี ระดับความลึกของน้​้าบาดาลเฉลี่ย 20-250 ม. ปริมาณน้​้าบาดาลภายในพื้นที่ที่คาดว่าจะพัฒนาได้นั้นมี ความมากน้อยลดหลั่นกันตามล้าดับ โดยพื้นที่ที่เป็นปุาเขารอบอ่างเก็บน้​้าและใต้อ่างคาดว่าจะได้น้า น้อย ที่สุดคือ น้อยกว่า 2 ม3/ชม. ถัดลงมาทางตอนกลางของพื้น ที่ครอบคลุมมาถึงบริเวณมหาวิทยาลัยแม่โจ้


44

คาดว่าจะได้น้า 2-10 ม3/ชม. และบริเวณย่านพาณิชยกรรมและที่ชุมชนบริเวณทิศตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งใกล้ กับแม่น้าปิงมากกว่าบริเวณอื่นๆ คาดว่าจะได้น้า 10-20 ม3/ชม. (ส้านักควบคุมกิจการน้​้าบาดาล. ม.ป.พ.)

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 11 แหล่งน้​้าและการระบายน้​้า ที่มา: จากการวิเคราะห์ข้อมูล จัดท้าแผนที่โดย ครรชิตพล แสนแปง และ มทนพรรณ สินธพประเสริฐ เส้นทางน้​้าห้วยโจ้ คลองชลประทาน ทางน้​้าธรรมชาติ แหล่งน้าอื่นๆ ทิศทางการไหลของน้​้า


45

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 12 แหล่งน้​้าและการระบายน้​้าผ่านสถานที่ส้าคัญภายในพื้นที่โครงการ ที่มา: จากการวิเคราะห์ข้อมูล จัดท้าแผนที่โดย ครรชิตพล แสนแปง และ มทนพรรณ สินธพประเสริฐ เส้นทางน้​้าห้วยโจ้ คลองชลประทาน ทางน้​้าธรรมชาติ แหล่งน้าอื่นๆ ทิศทางการไหลของน้​้า


46

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย จ. เชียงใหม่ แผนที่ 13 ภาพถ่ายแหล่งน้​้าบริเวณต่างๆภายในพื้นที่โครงการ ที่มา: จากการวิเคราะห์ข้อมูล จัดท้าแผนที่โดย ครรชิตพล แสนแปง และ มทนพรรณ สินธพประเสริฐ เส้นทางน้​้าห้วยโจ้ คลองชลประทาน ทางน้​้าธรรมชาติ แหล่งน้​้าอื่นๆ ต้าแหน่งถ่ายภาพ


47

ภาพที่ 3 แผนผัง รูปตัด และภาพถ่าย บริเวณอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ ที่มา: จากการวิเคราะห์ ภาพโดย: ครรชิตพล แสนแปง และ มทนพรรณ สินธพประเสริฐ

ภาพที่ 4 แผนผัง รูปตัด และภาพถ่าย ห้วยโจ้ บริเวณพื้นที่ปุาไม้และสวนผลไม้ ใต้อ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ ที่มา: จากการวิเคราะห์ ภาพโดย: ครรชิตพล แสนแปง และ มทนพรรณ สินธพประเสริฐ


48

ภาพที่ 5 แผนผัง รูปตัด และภาพถ่ายของห้วยโจ้ บริเวณที่ไหลผ่านชุมชนบ้านโปง ที่มา: จากการวิเคราะห์ ภาพโดย: ครรชิตพล แสนแปง และ มทนพรรณ สินธพประเสริฐ


49

ภาพที่ 6 แผนผัง รูปตัด และภาพถ่าย ของห้วยโจ้ บริเวณที่ไหลผ่านพื้นที่เกษตรกรรม และพื้นที่ชุมชนบ้านวิเวก ที่มา: จากการวิเคราะห์ ภาพโดย: ครรชิตพล แสนแปง และ มทนพรรณ สินธพประเสริฐ

ภาพที่ 7 แผนผัง รูปตัด และภาพถ่ายของห้วยโจ้ บริเวณที่ไหลผ่านศูนย์วิจัยหม่อนไหม และมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ที่มา: จากการวิเคราะห์ ภาพโดย: ครรชิตพล แสนแปง และ มทนพรรณ สินธพประเสริฐ


50

ภาพที่ 8 แผนผัง รูปตัด และภาพถ่ายของห้วยโจ้ บริเวณพื้นที่พาณิชยกรรม และพื้นที่ชุมชนบ้านแม่โจ้ ที่มา: จากการวิเคราะห์ ภาพโดย: ครรชิตพล แสนแปง และ มทนพรรณ สินธพประเสริฐ

ภาพที่ 9 แผนผัง รูปตัด และภาพถ่ายของห้วยโจ้ บริเวณที่ไหลผ่านพื้นที่เกษตรกรรม บ้านแม่โจ้ ที่มา: จากการวิเคราะห์ ภาพโดย: ครรชิตพล แสนแปง และ มทนพรรณ สินธพประเสริฐ


51

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 14 การวิเคราะห์น้าบาดาลบริเวณพื้นที่โครงการ ที่มา: ส้านักควบคุมกิจการน้​้าบาดาล. ม.ป.พ. จัดท้าแผนที่โดย ผศ.จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ ปริมาณน้​้าที่คาดว่าจะพัฒนาได้ (ม3/ชม.) ขอบเขตต้าบลและเทศบาล เมือง ขอบเขตพื้นที่โครงการ ความลึก 12-80 ม. ความลึก 20-250 ม.

< 2 ม3/ชม. 2-10 ม3/ชม. 10-20 ม3/ชม. > 20 ม3/ชม.


52

4.2.3 ดิน (soil) ดินภายในพื้นที่โครงการมีความหลากหลาย ประกอบด้วย กลุ่มชุดดินที่ 5 18 35 40 และ 48 (แผนที่ 15-16) บริเวณพื้นที่ใต้อ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ ตลอดจนริมล้าน้​้าห้วยโจ้บริเวณที่ไหลผ่านปุา อนุรักษ์บ้านโปง เป็นกลุ่มชุดดินที่ 40 ส่วนพื้นที่บริเวณบ้านโปง ประกอบด้วยกลุ่มชุดดินที่ 35 40 และ 48 ส้าหรับพื้นที่ตอนกลางซึ่งอยู่ในขอบเขตของบ้านท่ายาว บ้านศรีบุญเรือง บ้านห้วยเกี๋ยง ครอบคลุมพื้นที่ ชุ ม ชน เกษตรกรรม มหาวิ ท ยาลั ย แม่ โ จ้ และพื้ น ที่ พ าณิ ช ยกรรมด้ า นหน้ า มหาวิ ท ยาลั ย แม่ โ จ้ นั้ น ประกอบด้วยกลุ่มชุดดินที่ 18 35 และ 40 ในตอนปลายล้าห้วยโจ้ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ บริเวณบ้านแม่ โจ้ เป็นกลุ่มชุดดินที่ 5 (กรมพัฒนาที่ดิน, ม.ป.พ.) รายละเอียดของกลุ่มชุดดินต่างๆที่พบในพื้นที่ จะได้ แสดงในตารางต่อไปนี้ (ตารางที่ 7) ตารางที่ 7 คุณลักษณะของดินและปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดินภายในพื้นที่โครงการ กลุ่มชุดดิน

ตาแหน่งที่พบ

คุณลักษณะของดิน

5

บริเวณบ้านแม่โจ้

18

ต ล อ ด ล้ า น้​้ า ห้ ว ย โ จ้ บริเวณพื้นที่ชุมชนและ พื้ น ที่ เ กษตรกรรมของ บ้านท่ายาวและบ้านศรี บุญเรือง

กลุ่ ม ดิ น เหนี ย วลึ ก มากที่ เ กิ ด จาก ตะกอนล้าน้​้า ปฏิกิริยาดินเป็นกลาง หรื อ เป็ น ด่ า ง การระบายน้​้ า เลว ความอุดมสมบูรณ์ต่้าถึงปานกลาง ตัวอย่างได้แก่ ชุดดินหางดง (Hd) ชุดดินละงู (Lgu) และชุดดินพาน (Ph) กลุ่ ม ดิ น ร่ว นละเอีย ดลึ กมากที่ เกิ ด จากตะกอนล้าน้​้า ปฏิกิริยาดินกลาง หรือเป็น ด่าง การระบายน้​้าเลวถึง ค่อนข้างเลว ความอุดมสมบูรณ์ต่้า ถึ ง ปานกลาง ได้ แ ก่ ชุ ด ดิ น ชลบุ รี (Cb) ชุดดินไชยา (Cya) ชุดดินโคก ส้าโรง (Ksr) และชุ ดดินเขาย้อย (Kyo)

ที่มา: 1) จากการวิเคราะห์ข้อมูล, 2558 2) จากข้อมูลพื้นฐาน (กรมพัฒนาที่ดิน, ม.ป.พ.)

ปั ญ หาการใช้ ป ระโยชน์ ที่ดิน บางพื้ น ที่ ข าดแคลนน้​้ า มี ความอุดมสมบูรณ์ต่้า และ น้​้ า ท่ ว มขั ง ในฤดู ฝ น ท้ า ความเสี ย หายกั บ พื ช ที่ ไ ม่ ชอบน้​้า

ความอุดมสมบูรณ์ต่้ า บาง พื้ น ที่ ข าดแคลนน้​้ า นาน และน้​้าท่วมขังในฤดูฝน ท้า ความเสี ย หายกั บ พื ช ที่ ไ ม่ ชอบน้​้า


53

ตารางที่ 7 คุณลักษณะของดินและปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดินภายในพื้นที่โครงการ (ต่อ) กลุ่มชุดดิน

ตาแหน่งที่พบ

คุณลักษณะของดิน

35

พื้ น ที่ ริ ม น้​้ า ห้ ว ย โ จ้ บริ เ วณพื้ น ที่ บ้ า นโปง และบางส่ ว นของบ้ า น ท่ายาว

40

ริมล้าน้​้าห้วยโจ้ บริเวณ พื้ น ที่ ปุ า อนุ รั ก ษ์ แ ละ พื้ น ที่ ชุ ม ชนบ้ า นโปง และบางส่ วนของพื้ น ที่ บ้านท่ายาว

48

บริ เ วณบ้ า นโปงและ บ้านศรีบุญเรือง

กลุ่มดินร่วนละเอียดลึกถึงลึกมากที่ เกิด จากตะกอนล้ า น้​้ า หรือวั ต ถุต้ น ก้า เนิ ด ดิ น เนื้ อ หยาบ ปฏิ กิริ ย าดิ น เป็นกรดจัดมาก การระบายน้​้าดีถึง ดีปานกลาง ความอุด มสมบูรณ์ต่้ า ได้แก่ ชุดดินดอนไร่ (Dr) ชุดดินด่าน ซ้าย (Ds) ชุดดินห้างฉัตร (Hc) ชุด ดิน โคราช (Kt) ชุ ดดิ น มาบบอน (Mb) ชุดดิน สตึก (Suk) ชุดดินวา ริน (Wn) และชุดดินยโสธร (Yt) กลุ่ ม ดิ น ร่ ว นหยาบลึ ก ถึ ง ลึ ก มากที่ เกิด จากตะกอนล้ า น้​้ า หรื อวั ต ถุต้ น ก้าเนิดเนื้อหยาบ ปฏิกิริยาดินเป็ น กรดจั ด หรือเป็ น กลาง การระบาย น้​้ า ดี ถึ ง ดี ป านกลาง ความอุ ด ม สมบู ร ณ์ ต่้ า ได้ แ ก่ ชุ ด ดิ น จั ก ราช (Ckr) ชุดดินชุมพวง (Cpg) ชุดดิน หุบกระพง (Hg) ชุดดินห้วยแถลง (Ht) ชุดดินสันปุาตอง (Sp) และ ชุดดินยางตลาด (Yl) กลุ่ ม ดิ น ตื้ น ถึง ก้อนหิน หรือเศษหิน และอาจพบชั้นหินพื้นภายในความ ลึก 150 ซม. จากผิว ดิน ปฏิกิริย า ดินเป็นกรดถึงเป็นกลาง การระบาย น้​้ า ดี ความอุ ด มสมบู ร ณ์ ต่้ า ได้ แ ก่ ชุด ดิ น แม่ ริม (Mr) ชุ ด ดิ น น้​้ า ชุ น (Ncu) ชุดดินพะเยา (Pao) และชุด ดินท่ายาง (Ty)

ปั ญ หาการใช้ ป ระโยชน์ ที่ดิน ดิ น ปนทราย ความอุ ด ม สมบู ร ณ์ ต่้ า ขาดแคลนน้​้ า และในพื้ น ที่ ที่ มี ค วามลาด ชัน ดินง่ายต่อการถูกชะล้าง พั ง ทลายสู ญ เสี ย หน้ า ดิ น บางพื้ น ที่ ดิ น เป็ น กรดจั ด มาก

ดิ น ปนทราย ความอุ ด ม สมบู ร ณ์ ต่้ า ขาดแคลนน้​้ า ในพื้ น ที่ ที่ มี ค วามลาดชั น ดิ น ง่ า ยต่ อ การถู ก ชะล้ า ง พังทลายสูญเสียหน้าดิน

ดินตื้นถึงชั้นก้อนกรวดหรือ ลู ก รัง หนามาก ความอุ ด ม สมบู ร ณ์ ต่้ า ขาดแคลนน้​้ า และเกิดการชะล้างพังทลาย สูญเสียหน้าดิน ในพื้นที่ที่มี ความลาดชัน


54

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 15 ชุดดินในพื้นที่โครงการ ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน. ม.ป.พ.

W

ข อ บ เ ข ต พื้ น ที่ โครงการ ห้วยโจ้ แหล่งน้​้า ไม่พบข้อมูล

กลุ่มชุดดินที่ 5 กลุ่มชุดดินที่ 18 กลุ่มชุดดินที่ 35 กลุ่มชุดดินที่ 40 กลุ่มชุดดินที่ 48


55

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 16 ขอบเขตพื้นที่ชุดดินในพื้นที่โครงการ ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน. ม.ป.พ.

40 U

ขอบเขตพื้นที่โครงการ ขอบเขตพื้นที่ชุดดิน ห้วยโจ้ อ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ ชื่อกลุ่มชุดดิน ไม่พบข้อมูล


56

4.2.3 สภาพภูมิอากาศระดับพื้นที่ (Micro Climate) ส้าหรับในหัวข้อนี้จะได้อธิบายให้ครอบคลุมในเรื่องต่างๆประกอบด้วย การไหลเวียนของ อากาศ ทิศทางการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ อุณหภูมิและการสะท้อนกลับของแสงจากพื้นผิวต่างๆ และการ เปลี่ยนแปลงของพืชพรรณ โดยท้าการบรรยายประกอบแผนที่ และภาพถ่าย (แผนที่ 17-18)

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 17 ทิศทางการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์และทิศทางของลมประจ้าถิ่น ที่มา: จากการวิเคราะห์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ทางสัญจรของดวงอาทิตย์ ทิศทางของลมประจ้าถิ่น


57

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 18 การแบ่งพื้นที่ย่อยในการวิเคราะห์สภาพภูมิอากาศระดับพื้นที่ ที่มา: จากการวิเคราะห์, 2557 จัดท้าแผนที่โดย ประพิมพ์พร ประสารกก และ เพ็ญพิชชา พรมวงศ์

พื้นที่ศึกษาบริเวณที่ 1 พื้นที่ศึกษาบริเวณที่ 2 พื้นที่ศึกษาบริเวณที่ 3 พื้นที่ศึกษาบริเวณที่ 4 พื้นที่ศึกษาบริเวณที่ 5


58

4.2.3.1 สภาพภูมิอากาศระดับพื้นที่บริเวณที่ 1 ย่านพื้นที่เกษตรกรรมและชุมชนที่พัก อาศัยเบาบางบ้านแม่โจ้ (แผนที่ 18) การไหลเวียนของอากาศค่อนข้างดี เพราะส่วนมากเป็นพื้นที่การเกษตรและทุ่ง นา กักเก็บความร้อนน้อย ได้รับความร้อนมากช่วงเช้าและกลางวัน พืชพรรณริมน้​้าเป็นขนาดกลาง ไม้พุ่ม และหญ้าวัชพืชคลุมดิน หนาแน่น (ภาพที่ 10)

ภาพที่ 10 สภาพพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้บริเวณที่ 1 ที่มา: จากการส้ารวจ, 2557

4.2.3.2 สภาพภูมิอากาศระดับพื้นที่บริเวณที่ 2 พื้นที่ย่านพาณิชยกรรมและชุมชนที่พัก อาศัยหนาแน่น (แผนที่ 18)


59

การไหลเวียนของอากาศค่อนข้างปานกลาง เพราะเป็นพื้นที่ย่านชุมชน กักเก็บ ความร้อนค่อนข้างมากกว่า โซน1 เพราะส่ว นใหญ่เป็นพื้นที่ดาดแข็ง ได้รับความร้อนมากช่วงเช้าและ กลางวัน พืชพรรณริมน้​้าเป็นขนาดใหญ่ ให้ร่มเงาค่อนข้างดี (ภาพที่ 11)

ภาพที่ 11 สภาพพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้บริเวณที่ 2 ที่มา: จากการส้ารวจ, 2557

4.2.3.3 สภาพภูมิอากาศระดับพื้นที่บริเวณที่ 3 พื้นที่ภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และ พื้นที่ชุมชนที่พักอาศัยหนาแน่นปานกลางบ้านวิเวก (แผนที่ 18) การไหลเวีย นของอากาศปานกลาง กักเก็บ ความร้ อนน้ อยเพราะเป็นพื้น ที่ ธรรมชาติ ได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์น้อย ค่อนข้างร่มทั้งวัน พืชพรรณริมน้​้าเป็นพืชพรรณที่มีหลาย ระดับ ทั้งไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ไม้พุ่ม หญ้าวัชพืชคลุมดิน และมีความหนาแน่นมาก (ภาพที่ 12)


60

ภาพที่ 12 สภาพพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้บริเวณที่ 3 ที่มา: จากการส้ารวจ, 2557

4.2.3.4 สภาพภูมิอากาศระดับพื้นที่บริเวณที่ 4 ย่านพื้นที่เกษตรกรรมและชุมชนที่พัก อาศัยเบาบางบ้านท่ายาว (แผนที่ 18) การไหลเวียนของอากาศค่อนข้างดี กักเก็บความร้อนปานกลางเพราะเป็นพื้นที่ การเกษตรและย่านชุมชนที่ไม่หนาแน่นมาก ได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์ปานกลาง พืชพรรณริมน้​้าเป็น พืชพรรณขนาดกลาง ส่วนใหญ่เป็นพืชสวน มีความหนาแน่นค่อนข้างน้อย (ภาพที่ 13)


61

ภาพที่ 13 สภาพพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้บริเวณที่ 4 ที่มา: จากการส้ารวจ, 2557

4.2.3.4 สภาพภูมิอากาศระดับพื้นที่บริเวณที่ 5 ย่านพื้นที่เกษตรกรรมและชุมชนที่พัก อาศัยเบาบางบ้านโปง และพื้นที่ปุาอนุรักษ์ (แผนที่ 18) การไหลเวียนของอากาศค่อนข้างดี กักเก็บความร้อนน้อยเพราะเป็นพื้นที่เชิง เขาได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์ปานกลาง พืชพรรณริมน้​้าเป็นพืชพรรณที่มีหลายระดับ ทั้งไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่ ไม้พุ่ม หญ้าวัชพืชคลุมดิน ค่อนข้างหนาแน่น (ภาพที่ 14)


62

ภาพที่ 14 สภาพพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้บริเวณที่ 5 ที่มา: จากการส้ารวจ, 2557

4.2.4 พืชพรรณและสัตว์ (Flora and Fauna) 4.2.4.1 พืชพรรณ (Fauna) เนื่ อ งพื้ น ที่ โ ครงการมี ข นาดใหญ่ แ ละมี ค วามหลากหลายของพื ช พรรณมาก เนื่องจากความแตกต่างของสภาพภูมิประเทศของพื้นที่ ในการศึกษาวิจัย จึงท้าการแบ่งพื้นที่วิเคราะห์ ออกเป็น 3 ส่วน ซึ่งมีลักษณะพืชพรรณแตกต่างกัน ได้แก่ พื้นที่ต้นน้​้า พื้นที่กลางน้​้า และพื้นที่ปลายน้​้า (แผนที่ 19)


63

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 19 การแบ่งพื้นที่ย่อยในการศึกษาวิเคราะห์พืชพรรณในพื้นที่โครงการ ที่มา: จากการวิเคราะห์, 2557 จัดท้าแผนที่โดย ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ พื้นที่ศึกษาบริเวณที่ 1 พื้นที่ต้นน้​้า พื้นที่ศึกษาบริเวณที่ 2 พื้นที่กลางน้​้า พื้นที่ศึกษาบริเวณที่ 3 พื้นที่ปลายน้​้า


64

1) ลักษณะพืชพรรณในพื้นที่ศึกษาบริเวณที่ 1 พื้นที่ต้นน้​้า พื้นที่ศึกษาลักษณะพืชพรรณในบริเวณที่ 1 ครอบคลุมพื้นที่ตั้งแต่อ่าง เก็บน้​้าห้วยโจ้ พื้นที่ใต้อ่าง ซึ่งเป็นพื้นที่ปุาเต็งรั งสมบูรณ์ และพื้นที่ชุมชนบ้านโปง ซึ่งเป็นย่านที่พักอาศัย เบาบางและพื้นที่เกษตรกรรมประเภทสวนผลไม้ (แผนที่ 20)

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 20 การวิเคราะห์พืชพรรณในพื้นที่ศึกษาบริเวณที่ 1 พื้นที่ต้นน้​้า ที่มา: จากการวิเคราะห์, 2557 จัดท้าแผนที่โดย ศุภฤกษ์ ฐิตมาดี และ สุเมธา ศุภศิริภิญโญ

พื้นปุาอนุรักษ์ พื้นที่สวนไม้ผล พื้นที่นาข้าว ขอบเขตพื้นที่ศึกษา


65

1.1) ลักษณะพืชพรรณในปุาเต็งรัง จะมีเรือนยอด 3 ชั้น ได้แก่ เรือน ยอดชั้นบน เรือนยอดชั้นรอง และเรือนยอดชั้นไม้พุ่ม นอกจากนี้ยังมีพันธุ์ไม้พื้นล่างที่คลุมดินอยู่ทั่วไป ก. เรือนยอดชั้นบนมีความสูงประมาณ 25-30 เมตร ไม้เด่น คือ เหีย ง หรือพลวง หรือรัง ส่ว นไม้อื่นๆที่ขึ้นเสริม เช่น ก่อแพะ ก่อผัวะ ประดู่ แดง ตะคร้อ เกลื้อน ทิ้งถ่อน หว้า และมะม่วงปุา ผืนปุาค่อนข้างหนาน่า แต่ก็พอมีช่องว่ากระจัดกระจายอยู่บ้าง แสงส่องลอด ลงไปได้ค่อนข้างน้อย

ภาพที่ 15 พื้นที่ปุาอ่างบริเวณเก็บน้​้าห้วยโจ้ ที่มา: จากการส้ารวจ, 2557

ภาพที่ 16 ไม้เด่นในพื้นที่ปุาเต็งรังเรือนยอดชั้นบน ที่มา: จากการส้ารวจ, 2557


66

ภาพที่ 17 ไม้เสริมในพื้นที่ปุาเต็งรังเรือนยอดชั้นบน ที่มา: จากการส้ารวจ, 2557

ข. เรือนยอดชั้นรองมีความสูงไม่เกิน 20 เมตร ไม้เด่นที่พบ เห็นได้ทั่วไป ได้แก่ ตะแบก ตับเต่าต้น มะขามปูอม ยอเถื่อน สลักปุา ติ้ว รัก ปี้จั่น สมอไทย มะม่วงหัวแมง วัน กระท่อใหมู และกระโดน พอมีช่องว่างให้แสงส่องลอดถึงพื้นได้

ภาพที่ 18 ลักษณะพืชพรรณในพื้นที่ปุาเต็งรังเรือนยอดชั้นรอง ที่มา: จากการส้ารวจ, 2557

ภาพที่ 19 พืชพันธุ์ในพื้นที่ปุาเต็งรังเรือนยอดชั้นรอง ที่มา: จากการส้ารวจ, 2557


67

ค. เรือนยอดชั้นไม้พุ่ม ส่วนใหญ่มีความสูงไม่เกิน 7 เมตร ซึ่ง ไม้ที่พบหากเจริญเติบโตภายนอกพื้นที่ปุามักจะมีความสูงมากกว่านี้ แต่เมื่อถูกจ้ากัดด้วยสภาพพื้นที่ภายใน ปุา จึงมีขนาดเล็ ก พรรณไม้ที่พบ ได้แก่ แสลงใจ ตุ่มกาขาว เหมือดโลด ครมเขา เหมือดแอ และปรง เหลี่ยม พบขึ้นกระจายภายใต้ไม้เรือนยอดชั้นบน

ภาพที่ 20 ลักษณะพืชพรรณในพื้นที่ปุาเต็งรังเรือนยอดชั้นไม้พุ่ม ที่มา: จากการส้ารวจ, 2557

ภาพที่ 21 พืชพันธุ์ในพื้นที่ปุาเต็งรังเรือนยอดชั้นไม้พุ่ม ที่มา: จากการส้ารวจ, 2557

1.2) พันธุ์ไม้พื้นล่าง หรือ พันธุ์ไม้คลุมดิน ชนิดที่พบอยู่ทั่วไป ได้แก่ เลา เพ็ค ถั่วผี หญ้าคา หญ้าขน และหญ้าหางหมาจิ้งจอก ไผ่เพ็ค โจค มหาก่าน ปอเตาไห้ ส้มกั้ง ส้านดิน เปราะปุา นางอั้ว ไก่อู เป็นต้น

ภาพที่ 22 พันธุ์ไม้พื้นล่างที่พบภายในพื้นที่ศึกษา ที่มา: จากการส้ารวจ, 2557


68

1.3) พันธุ์ไม้ริมน้​้า บริเวณริมน้​้าห้วยโจ้ และแหล่งน้​้าอื่นๆภายในพื้นที่ ศึกษาพบพันธุ์ไม้น้าหลากหลายชนิด เช่น บัว บอน ไมยราพ หญ้า และวัชพืชต่างๆ เป็นต้น

ภาพที่ 23 พันธุ์ไม้ริมน้​้าและวัชพืชที่พบภายในพื้นที่ศึกษา ที่มา: จากการส้ารวจ, 2557

1.4) พันธุ์ไม้ในพื้นที่สาธารณะ เช่น พื้นที่ริมถนน พื้นที่ว่าง สาธารณะภายในชุมชน ได้แก่ หญ้า เทียนทอง สน เข็ม ไผ่ เป็นต้น

ภาพที่ 24 พันธุ์ไม้ในพื้นที่สาธารณะที่พบภายในพื้นที่ศึกษา ที่มา: จากการส้ารวจ, 2557

1.5) พันธุ์ไม้ท้องถิ่น พบได้ในพื้นที่ชุมชนบ้านโปงทั้งในบริเวณบ้านเรือน หรือสวนส่วนบุคคล ได้แก่ ไผ่ ชะอม บัว ข่า กระท้อน มะพร้าว เป็นต้น


69

ภาพที่ 25 พันธุ์ไม้ท้องถิ่นในพื้นที่ชุมชนบ้านโปงที่พบภายในพื้นที่ศึกษา ที่มา: จากการส้ารวจ, 2557

2) ลักษณะพืชพรรณในพื้นที่ศึกษาบริเวณที่ 2 พื้นที่กลางน้​้า พื้นที่ศึกษาในบริเวณที่ 2 นี้ ครอบคลุมพื้นที่ริมล้าห้วยโจ้ ที่ไหลผ่าน บ้านเรือนและพื้นที่ท้าการเกษตรของชุมชนบ้านท่ายาว และชุมชนบ้านวิเวก บริเวณที่เป็นชุมชนนั้น ปลูก ไม้ผลภายในบ้าน เช่น มะม่วง ลิ้นจี่ ล้าไย ผสมผสานกับไม้ดอกไม้ประดับ ด้านทิศเหนือของพื้นที่ศึกษาใน ส่วนนี้ที่ติดกับล้าห้วยโจ้ มีพื้นที่เกษตรกรรมนาข้าวผืนใหญ่ นอกจากนี้ยังมีทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ และพื้นที่รก ร้างว่างเปล่า ซึ่งเคยเป็นพื้นที่เกษตรกรรมท้าไร่มาก่อนอีกด้วย (แผนที่ 21-22) 3) ลักษณะพืชพรรณในพื้นที่ศึกษาบริเวณที่ 3 พื้นที่ปลายน้​้า พื้นที่ศึกษาบริเวณที่ 3 ครอบคลุมพื้นที่ริมล้าน้​้าห้วยโจ้ที่ไหลผ่าน ชุมชน บ้านวิเวก มหาวิทยาลัยแม่โจ้ พื้นที่พาณิชยกรรมด้านหน้ามหาวิทยาลัย พื้นที่ชุมชนที่อยู่อาศัยหนาแน่น และย่านหอพักบริเวณบ้านแม่โจ้ ตลอดจนพื้นที่เกษตรกรรมบริเวณที่ล้าห้วยโจ้ไหลไปบรรจบกับห้วยปูอง นับว่าเป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายของลักษณะพืชพรรณ ประกอบไปด้วย พื้นที่ท้าเกษตร ปุาผลัดใบ พืช สวน ปุาสัก และสวนไม้ผล (แผนที่ 23-24) พรรณไม้ที่พบมีดังต่อไปนี้ (ภาพที 26-29) 3.1) A. บริเวณชุมชนบ้านวิเวก พบ ไผ่ พลวง ชงโค รัง เต็ง ตะเคียน ชิงชัน ไมยราพ เฟิร์น หญ้า สนสามใบ เป็นต้น 3.2) B. บริเวณชุมชนบ้านวิเวกในส่วนที่ติดกับมหาวิทยาลั ยเลยถึง ภายในมหาวิทยาลัยฝั่งทิศตะวันออกเฉียงเหนือ พบ ไผ่รวก ไผ่เขียง มะขาม กระถิน มะพร้าว เหียง พลวง หางนกยูงฝรั่ง สัก หญ้าคา กก บอน เป็นต้น 3.3) C. บริเวณภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ฝั่งทิศตะวันตกเฉียงใต้ รวม ไปถึง ย่ านพาณิช ยกรรมและชุมชนที่อยู่อาศัยหนาแน่นหน้ามหาวิทยาลั ยแม่โ จ้ พบ จามจุรี กระถิน มะพร้าว ไผ่เขียว สนสามใบ อ้อ หญ้า บอน หารช้าง หารไก่ กล้วย สัก เหียง พลวง หมากเขียว ผักตบชวา กก หญ้าแพรก เป็นต้น 3.4) D. บริเวณพื้นที่เกษตรกรรมปลายน้​้าและชุมชนที่อยู่อาศัยเบา บาง พบ กระถิน มะพร้าว ไผ่เขียว ตะขบ สนสามใบ แปรงล้างขวด อ้อ ผักบุ้งนา เป็นต้น


70

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 21 การวิเคราะห์พืชพรรณในพื้นที่ศึกษาบริเวณที่ 2 พื้นที่กลางน้​้า ที่มา: จากการวิเคราะห์, 2557 จัดท้าแผนที่โดย ศุภฤกษ์ ฐิตมาดี และ สุเมธา ศุภศิริภิญโญ

พื้นเกษตรกรรมนาข้าว พื้นที่สวนไม้ผลบริเวณบ้าน พื้นที่สวนไม้ผลอื่นๆ ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ พื้นที่ว่างเปล่า ขอบเขตพื้นที่ศึกษา


71

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 22 ภาพพืชพรรณประกอบแผนที่ในพื้นที่ศึกษาบริเวณที่ 2 พื้นที่กลางน้​้า ที่มา: จากการวิเคราะห์, 2557 จัดท้าแผนที่โดย ศุภฤกษ์ ฐิตมาดี และ สุเมธา ศุภศิริภิญโญ


72

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 23 การวิเคราะห์พืชพรรณในพื้นที่ศึกษาบริเวณที่ 3 พื้นที่ปลายน้​้า ที่มา: จากการวิเคราะห์, 2557 จัดท้าแผนที่โดย ศุภฤกษ์ ฐิตมาดี และ สุเมธา ศุภศิริภิญโญ

พื้นเกษตรกรรม พื้นที่ปุาผลัดใบ พื้นที่พืชสวน พื้นที่ปลูกต้นสัก บ่อเลี้ยงสัตว์น้า พื้นที่ไม้ผล ขอบเขตพื้นที่ศึกษา


73

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 24 ต้าแหน่งการวิเคราะห์พืชพรรณในพื้นที่ศึกษาบริเวณที่ 3 พื้นที่ปลายน้​้า ที่มา: จากการวิเคราะห์, 2557 จัดท้าแผนที่โดย ศุภฤกษ์ ฐิตมาดี และ สุเมธา ศุภศิริภิญโญ


74

ภาพที่ 26 พรรณไม้ที่พบในพื้นที่ศึกษา Zone A. พื้นที่ปลายน้​้า (แผนที่ 20) ที่มา: จากการส้ารวจ, 2557

ภาพที่ 27 พรรณไม้ที่พบในพื้นที่ศึกษา Zone B. พื้นที่ปลายน้​้า (แผนที่ 20) ที่มา: จากการส้ารวจ, 2557


75

ภาพที่ 28 พรรณไม้ที่พบในพื้นที่ศึกษา Zone C. พื้นที่ปลายน้​้า (แผนที่ 20) ที่มา: จากการส้ารวจ, 2557

ภาพที่ 29 พรรณไม้ที่พบในพื้นที่ศึกษา Zone D. พื้นที่ปลายน้​้า (แผนที่ 20) ที่มา: จากการส้ารวจ, 2557


76

ภาพที่ 30 พรรณไม้ริมถนน และริมล้าห้วยโจ้ ภายในพื้นที่โครงการ ที่มา: จากการส้ารวจ, 2557

4.2.4.2 สัตว์ (Animals) สัตว์ที่พบภายในพื้นที่โครงการมีทั้งสัตว์ที่ชาวบ้านเลี้ยงไว้เพื่อใช้งานด้านการเกษตรกรรม เป็นอาหาร จ้าหน่าย เช่น กระบือ โค ม้า ปลา กุ้ง เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีสัตว์ปุาจ้าพวกนก อีกมากมายหลายชนิด

ภาพที่ 31 สัตว์ที่พบภายในพื้นที่โครงการ ที่มา: จากการส้ารวจ, 2557


77

4.3 ผลการสารวจและวิเคราะห์ปัจจัยทางวัฒนธรรม และสิ่งที่มนุษย์สร้าง 4.3.1 หัวข้อที่ท้าการส้ารวจและวิเคราะห์ปัจจัยทางวัฒนธรรม และสิ่งที่มนุษย์สร้าง นั้น ประกอบด้วย การใช้ที่ดินเดิม อาคารสิ่งปลูกสร้างเดิม ระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ข้อมูล ชุมชนและวัฒนธรรมของชุมชน ดังจะได้แสดงรายละเอียดต่อไป 4.3.1 การใช้ที่ดินเดิม (Existing Land Uses) 4.3.1.1 ประวัติการพัฒนาที่ดิน ประวั ติการพัฒ นาพื้น ที่ เดิ ม พื้ นที่เป็ นพื้น ที่เกษตรกรรม เนื่อ งจาก ชาวบ้านมีอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก ต่อมา ลูกหลานไม่นิยมท้าการเกษตร หันไปท้างานด้านอื่นๆแทน ชาวบ้านซื้อขายที่ให้กับคนนอกพื้นที่ พื้นที่จึงถูกพัฒนาเป็นหอพัก อาคารพาณิชย์ บ้านจัดสรร พื้นที่ให้เช่า เพื่อท้าการเกษตรกรรม (ภาพที่ 33-36) กลุ่มผู้ใช้ที่ดินภายในพื้นที่ ประกอบด้วย พ่อค้าแม่ค้า ชาวบ้าน เกษตรกร นักศึกษา และบุคลากรภายใน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ (ภาพที่ 32) ส้าหรับการเปลี่ยนแปลงการใช้ ที่ดินในพื้นที่โครงการในระยะเวลา 10 ปี (พ.ศ. 2547-2557) มีดังนี้ 1) บริเวณพื้นที่ปุา อนุรัก ษ์ บ้านโปง ที่ ดินไม่ ได้มีการเปลี่ ย นแปลง ยังคงเป็นพื้นที่ปุาและเกษตรกรรม (ภาพที่ 33) 2) บริเวณชุมชนบ้านวิเวก และชุมชนบ้านโปง ชุมชนวิเวกมีหอพัก และร้านอาหารเพิ่มมากขึ้น ส่วนชุมชนบ้านโปงมีจ้านวนชุมชนบ้านพักอาศัยและหมู่บ้านจัดสรรเพิ่มมากขึ้น พื้นที่เกษตรกรรมลดน้อยลง (ภาพที่ 34) 3) บริเวณมหาวิท ยาลั ย แม่โ จ้ มีการสร้า งหอพัก และสระว่ ายน้​้ า เพิ่มขึ้น (ภาพที่ 35) 4) บริเวณพื้นที่พาณิชยกรรม ชุมชนบ้านแม่โจ้ มีการขยายตัวของ จ้านวนหอพักมากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากมีจ้านวนนักศึกษาที่เพิ่ม มากขึ้น นอกจากนี้ จ้านวนอาคารพาณิชย กรรมเพื่อการค้าขายก็เพิ่มมากขึ้นเช่นกัน ท้าให้พื้นที่พาณิชยกรรมลดลง (ภาพที่ 36)

ภาพที่ 32 ผู้ใช้ภายในพื้นทีโ่ ครงการ ที่มา: จากการส้ารวจ


78

ภาพที่ 33 ภาพถ่ายทางอากาศแสดงการเปลี่ยนแปลงการใช้ทดี่ ินบริเวณพื้นที่ปาุ อนุรักษ์ บ้านโปง ภายใน ระยะเวลา 10 ปี ที่มา: google earth


79

ภาพที่ 34 ภาพถ่ายทางอากาศแสดงการเปลี่ยนแปลงการใช้ทดี่ ินบริเวณชุมชนบ้านวิเวก และชุมชนบ้านโปง ภายในระยะเวลา 10 ปี ที่มา: google earth


80

ภาพที่ 35 ภาพถ่ายทางอากาศแสดงการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินบริเวณมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ภายในระยะเวลา 10 ปี ที่มา: google earth


81

ภาพที่ 36 ภาพถ่ายทางอากาศแสดงการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินบริเวณพืน้ ที่พาณิชยกรรม และชุมชนบ้านแม่ โจ้ ภายในระยะเวลา 10 ปี ที่มา: google earth


82

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พนื้ ที่ริมน้า้ ห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 25 แสดงการใช้ที่ดนิ ภายในพื้นทีโ่ ครงการ ที่มา: จากการวิเคราะห์ข้อมูล จัดท้าแผนที่โดย พิมพ์ชนก ระงับทุกข์ และ วราภรณ์ ทองเอี่ยม


83

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้า้ ห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 26 แสดงพื้นที่ก้าหนดการใช้ที่ดินจากผังเมืองรวมเมืองเชียงใหม่ ที่มา: จากผังเมืองรวมเมืองเชียงใหม่ พ.ศ. 2555 จัดท้าแผนที่โดย ผศ.จรัสพิมพ์ บุญญานันต์

ขอบเขตพื้นที่โครงการ ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาปานกลาง ที่ดินประเภทพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม ที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา ที่ดินประเภทสถาบันศาสนา ที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและ สาธารณูปการ


84

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พนื้ ที่ริมน้า้ ห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 27 แสดงพื้นที่ก้าหนดการใช้ที่ดินจากผังเมืองรวมจังหวัดเชียงใหม่ ที่มา: กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมจังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2555 จัดท้าแผนที่โดย ผศ.จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ที่ดินประเภทชุมชน ที่ดินประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม ที่ดินประเภทอนุรักษ์ปุาไม้


85

4.3.1.2 การใช้ที่ดินเดิมในพื้นที่โครงการ (แผนที่ 25) 1) พื้นที่ต้นน้​้าทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของโครงการ ได้แก่ บริเวณอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ และชุมชนบ้านโปง เป็นพื้นที่ปุาไม้ 2) พื้นที่กลางน้​้า บริเวณตอนกลางของโครงการ ได้แก่ บริเวณชุมชน บ้านไร่ บ้านสหกรณ์บ้ านไร่ บ้านท่ายาว และบ้านวิเวก เป็นพื้นที่อยู่อาศัยหนาแน่นเบาบางและพื้นที่ เกษตรกรรม ทั้งพื้นที่ท้านา ท้าสวน และท้าไร่ 3) พื้นที่ปลายน้​้าทางด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของโครงการ ได้แก่ บริเวณมหาวิทยาลัยแม่โจ้ บ้านแม่โจ้ใหม่ และบ้านแม่โจ้ ประกอบด้วยพื้นที่สถานศึกษา พื้นที่พาณิชยก รรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นซึ่งอยู่ด้านหน้ามหาวิทยาลัย ส่วนบริเวณบ้า นแม่โจ้นั้น ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่อยู่ อาศัยหนาแน่นเบาบางและพื้นที่เกษตรกรรม 4.3.1.3 พื้นที่ก้าหนดการใช้ที่ดินจากผังเมืองรวมเมืองเชียงใหม่ พ.ศ. 2555 ภายในบริเวณพื้นที่โครงการ (แผนที่ 26) ก้าหนดไว้ดังต่อไปนี้ 1) พื้นที่ต้นน้​้าและกลางน้​้า ได้แก่ บริเวณ อ่างเก็บน้​้า ห้วยโจ้ ชุมชน บ้านโปง บ้านไร่ บ้านสหกรณ์บ้านไร่ บ้านท่ายาว และบ้านวิเวก ไม่ปรากฏการก้าหนดการใช้ที่ดินจากผัง เมืองรวมเมืองเชียงใหม่ พ.ศ. 2555 2) พื้นที่ปลายน้​้า มีการก้าหนดการใช้ที่ดินดังต่อไปนี้ 2.1) บริเวณมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และโรงเรียนบ้านแม่โจ้ เป็น ที่ดนิ ประเภทสถาบันการศึกษา 2.2) บริเวณด้านหน้ามหาวิทยาลัย เป็นที่ดินประเภทพาณิชย กรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก 2.3) บริเวณวัดแม่โจ้ เป็นที่ดินประเภทสถาบันศาสนา 2.4) บริเวณบ้านแม่โจ้ เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาปาน กลางเป็นส่วนใหญ่ มีเพียงบางส่วนตอนปลายทิศตะวันตกเฉียงใต้ของโครงการ ที่ล้าน้​้าห้วยโจ้ไปบรรจบกับ ล้าน้​้าปูอง ซึ่งถูกก้าหนดให้เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย หมายเหตุ ส้าหรับรายละเอียดข้อก้าหนดการใช้ประโยชน์ ที่ดินประเภทต่างๆ ตามที่ก้าหนดการใช้ที่ดินจากผังเมืองรวมเมืองเชียงใหม่ พ.ศ. 2555 ให้ดูได้ใน ภาคผนวก ก. 4.3.1.4 พื้นที่ก้าหนดการใช้ที่ดินจากผังเมืองรวมจังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2555 ภายในบริเวณพื้นที่โครงการ (แผนที่ 27) ก้าหนดไว้ดังต่อไปนี้ 1) พื้นที่ต้นน้​้าทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของโครงการ ได้แก่ บริเวณอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ และชุมชนบ้านโปง เป็นพื้นที่อนุรักษ์ปุาไม้ โดยมีบางส่วนในบริเวณบ้านไร่ ที่ ก้าหนดเป็นที่ดินประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม


86

2) พื้นที่กลางน้​้า บริเวณตอนกลางของโครงการ ได้แก่ บริเวณชุมชน บ้านไร่ บ้านสหกรณ์บ้านไร่ บ้านท่ายาว และบ้านวิเวก ถูกก้าหนดเป็นที่ดินประเภทอนุรักษ์ชนบทและ เกษตรกรรม 3) พื้นที่ปลายน้​้าทางด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของโครงการ ได้แก่ บริเวณมหาวิทยาลัยแม่โจ้ บ้านแม่โจ้ใหม่ และบ้านแม่โจ้ ถูกก้าหนดเป็นที่ดินประเภทชุมชน หมายเหตุ ส้าหรับรายละเอียดข้อก้าหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภท ต่างๆ ตามก้าหนดการใช้ที่ดินจากผังเมืองรวมจังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2555 ให้ดูได้ใน ภาคผนวก ข. 4.3.2 อาคารเดิม (Existing Buildings) ในการวิเคราะห์อาคารเดิมในพื้นที่โครงการ ได้ท้าการจ้าแนกประเภทของอาคารเดิม ภายในพื้นที่ออกเป็น 6 ประเภท ได้แก่ อาคารที่อยู่อาศัย อาคารขนาดใหญ่ ตึกแถว อาคารสาธารณะ อาคารชั่วคราว และอาคารที่อยู่อาศัยรวม ได้ผลดังต่อไปนี้ (แผนที่ 28-31) 4.3.2.1 ประเภทของอาคารเดิมที่พบภายในพื้นที่ 1) พื้นที่ต้นน้​้าทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของโครงการ ได้แก่ บริเวณอ่าง เก็บน้​้าห้วยโจ้ และชุมชนบ้านโปง อาคารที่พบในบริเวณนี้เป็นอาคารที่พักอาศัยเป็นส่วนใหญ่ สร้างจากไม้ และคอนกรีต มีอาคารสาธารณะอยู่บริเวณค่ายลูกเสือ ใต้อ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ มีลักษณะเป็นอาคารเปิดโล่ง ส้าหรับท้ากิจกรรมเอนกประสงค์ของครูและนักเรียนที่มาเข้าค่าย (แผนที่ 29) 2) พื้นที่กลางน้​้า บริเวณตอนกลางของโครงการ ได้แก่ บริเวณชุมชนบ้านโปง บ้านไร่ บ้านสหกรณ์บ้านไร่ บ้านท่ายาว และบ้านวิเวก อาคารที่พบในบริเวณนี้เป็นอาคารที่พักอาศัยเป็น ส่วนใหญ่ สร้างจากไม้ และคอนกรีต (แผนที่ 30) 3) พื้นที่ปลายน้​้าทางด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของโครงการ ได้แก่ บริเวณ มหาวิทยาลัยบ้านวิเวก แม่โจ้ บ้านแม่โจ้ใหม่ และบ้านแม่โจ้ อาคารที่พบในบริเวณนี้เป็นอาคารที่มี ลักษณะและประเภทการใช้งาน ที่หลากหลาย ได้แก่ (แผนที่ 31) 3.1) อาคารที่พักอาศัยซึ่งสร้างจากไม้ และคอนกรีต พบได้ที่บริเวณ บ้านวิเวกและบ้านแม่โจ้ 3.2) อาคารที่อยู่อาศัยรวม เป็นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก ได้แก่ หอพักและอพาร์ทเม้นท์ พบได้ที่บริเวณหอพักภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และบริเวณบ้านแม่โจ้ 3.3) อาคารพาณิชย์ (ตึกแถว) เป็นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก พบ ได้บริเวณริมถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1001 และซอยบ้านแม่โจ้ 9 3.4) อาคารขนาดใหญ่ เป็นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก ได้แก่ อาคารเรียน อาคารส้านักงาน ภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้


87

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พนื้ ที่ริมน้า้ ห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 28 ประเภทของอาคารเดิมในพื้นที่ ที่มา: จากการวิเคราะห์, 2557 จัดท้าแผนที่โดย กบินทร์ จันทร์ชื่น ศรัณย์ ภู่ประเสริฐ และ อนุวัฒน์ เนติธรรมกุล

อาคารที่อยู่อาศัย อาคารที่อยู่อาศัยรวม อาคารพาณิชย์ (ตึกแถว) อาคารขนาดใหญ่ (อาคารเรียน หอพัก อาคารส้านักงาน) อาคารสาธารณะ อาคารชั่วคราว


88

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พนื้ ที่ริมน้า้ ห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 29 ประเภทของอาคารเดิมในพื้นที่ต้นน้​้าห้วยโจ้ ที่มา: จากการวิเคราะห์, 2557 จัดท้าแผนที่โดย กบินทร์ จันทร์ชื่น ศรัณย์ ภู่ประเสริฐ อนุวฒ ั น์ เนติธรรมกุล และ ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์

อาคารที่อยู่อาศัย อาคารที่อยู่อาศัยรวม อาคารพาณิชย์ (ตึกแถว) อาคารขนาดใหญ่ อาคารสาธารณะ อาคารชั่วคราว


89

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พนื้ ที่ริมน้า้ ห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 30 ประเภทของอาคารเดิมในพื้นที่กลางน้า้ ห้วยโจ้ ที่มา: จากการวิเคราะห์, 2557 จัดท้าแผนที่โดย กบินทร์ จันทร์ชื่น ศรัณย์ ภู่ประเสริฐ อนุวฒ ั น์ เนติธรรมกุล และ ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์

อาคารที่อยู่อาศัย อาคารที่อยู่อาศัยรวม อาคารพาณิชย์ (ตึกแถว) อาคารขนาดใหญ่ อาคารสาธารณะ อาคารชั่วคราว


90

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พนื้ ที่ริมน้า้ ห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 31 ประเภทของอาคารเดิมในพื้นที่กลางน้า้ ห้วยโจ้ ที่มา: จากการวิเคราะห์, 2557 จัดท้าแผนที่โดย กบินทร์ จันทร์ชื่น ศรัณย์ ภู่ประเสริฐ อนุวฒ ั น์ เนติธรรมกุล และ ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์

อาคารที่อยู่อาศัย อาคารที่อยู่อาศัยรวม อาคารพาณิชย์ (ตึกแถว) อาคารขนาดใหญ่ อาคารสาธารณะ อาคารชั่วคราว


91

4.3.2.2 รูปแบบสถาปัตยกรรมเดิมที่พบภายในพื้นที่ 1) อาคารพักอาศัย ลักษณะ: เป็นอาคารทรงไทยหรือล้านนา อาคารไม้ใต้ถุนสูง หลังคาแบบหน้าจั่ว หน้าต่างแบบบานพับ แบ่งเป็น 2 แบบ ได้แก่ อาคารโครงสร้างไม้ ซึ่งเป็นอาคารดั้งเดิม ในพื้นที่และอาคารโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก การใช้สอย: เป็นที่พักอาศัย

ภาพที่ 37 อาคารพักอาศัยโครงสร้างไม้บริเวณบ้านวิเวก ที่มา: จากการส้ารวจ, 2558


92

ภาพที่ 38 อาคารพักอาศัยโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก ที่มา: จากการส้ารวจ, 2558

2) อาคารชั่วคราว ลักษณะ: การใช้สอย:

เป็นอาคารชั้นเดียว หลั งคาแบบเพลิ งหมาแหงน วัสดุ ส่วนใหญ่เป็น ไม้ผสมปูน เป็นอาคารที่ใช้เชิงพาณิชยกรรม เน้นการค้าขายเป็น หลัก

ภาพที่ 39 อาคารชั่วคราวโครงสร้างคอนกรีต บริเวณบ้านวิเวก ที่มา: จากการส้ารวจ, 2558


93

ภาพที่ 40 อาคารชั่วคราวโครงสร้างไม้ บริเวณบ้านวิเวก ที่มา: จากการส้ารวจ, 2558

3) อาคารขนาดใหญ่ ลักษณะ:

การใช้สอย:

อาคารขนาดใหญ่ มี ค วามสู ง ตั้ ง แต่ 25 ม.ขึ้ น ไป สถาปั ต ยกรรมแบบโมเดิ ร์ น วั ส ดุ ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ปู น หลังคาแบบหน้าจั่ว และดาดฟูา เป็นอาคารที่ถูกใช้งานทางราชการ ในด้านการเรียน การสอนและนันทนาการ และส้านักงานราชการ

ภาพที่ 41 อาคารเรียนคณะสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตัวอย่างอาคารขนาดใหญ่ ที่มี รูปแบบร่วมสมัย ที่มา: จากการส้ารวจ, 2558


94

ภาพที่ 42 อาคารเรียนคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตัวอย่างอาคารขนาดใหญ่ที่มี รูปแบบสมัยใหม่ ที่มา: จากการส้ารวจ, 2558

ภาพที่ 43 อาคารศูนย์กล้วยไม้และไม้ดอกไม้ประดับ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตัวอย่างอาคารขนาดใหญ่ที่มี รูปแบบหลังสมัยใหม่ แสดงเอกลักษณ์หลังคาแบบล้านนาประยุกต์ ที่มา: จากการส้ารวจ, 2558


95

ภาพที่ 44 อาคารเทพศาสตร์สถิตย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตัวอย่างอาคารขนาดใหญ่ที่มี รูปแบบหลังสมัยใหม่ แสดงเอกลักษณ์หลังคาแบบล้านนาประยุกต์ ที่มา: จากการส้ารวจ, 2558

4) อาคารตึกแถว ลักษณะ: การใช้สอย:

เป็นอาคารสู งประมาณ 20 ม. เป็นห้ องแถวติดกัน หลังคาแบบหน้าจั่วและ ดาดฟูา เป็นอาคารเชิงพาณิชย์ ประกอบกิจการทางธุรกิจ ต่างๆ

ภาพที่ 45 อาคารพาณิชย์ บริเวณริมถนนทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 1001 ด้านหน้ามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ที่มา: จากการส้ารวจ, 2558


96

ภาพที่ 46 อาคารพาณิชย์บางแห่งเพิ่มหน้าจั่วขนาดเล็กด้านหน้าอาคาร เพื่อแสดงลักษณะแบบไทยประยุกต์ ที่มา: จากการส้ารวจ, 2558

5) อาคารที่อยู่อาศัยรวม ลักษณะ: อาคารมีขนาดใหญ่ สูง 20 ม.ขึ้นไป รูปแบบตะวันตก โครงสร้างเป็นปูน การใช้สอย: เป็นที่พักอาศัย

ภาพที่ 47 กลุ่มอาคารหอพักขนาดใหญ่ เป็นอาคารสูง 5 ชั้น บริเวณบ้านแม่โจ้ ที่มา: จากการส้ารวจ, 2558


97

ภาพที่ 48 อาคารหอพักขนาดใหญ่ สูง 3 ชั้น ที่มา: จากการส้ารวจ, 2558

6) อาคารเพื่อสาธารณะประโยชน์ 6.1) ศาสนสถาน ลักษณะ: รูปแบบอาคารเป็ นศาสนสถานทางพุทธศาสนา มี ลักษณะสถาปัตยกรรม เฉพาะตัว การใช้สอย: เป็ น อาคารศู น ย์ ร วมกิ จ กรรมทางศาสนาของ พุทธศาสนิกชน

ภาพที่ 49 อุโบสถและเจดีย์ภายในวัดแม่โจ้ ที่มา: จากการส้ารวจ, 2558


98

6.2) โรงเรียน ลักษณะ: รูปแบบอาคารเป็นอาคารไม้ 2 ชั้น หลังคาหน้าจั่ว การใช้สอย: ใช้ประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอน

ภาพที่ 50 อาคารเรียนไม้ 2 ชั้น ภายในโรงเรียนบ้านแม่โจ้ ที่มา: จากการส้ารวจ, 2558

4.3.3 ระบบสาธารณูปโภค (Utillities) 4.3.3.1 ระบบสาธารณูปโภคบริเวณต้นน้​้า (บริเวณปุาบ้านโปงและ อ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้) การใช้น้าในการอุปโภคปริโภค ใช้น้าบาดาล โดยผ่านการกรองน้​้าด้วยแท้งค์น้า ที่สร้างขึ้นเองเพื่อใช้ในครัวเรือน ส่วนน้​้าเพื่อการเกษตรนั้นใช้น้าจากอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ ซึ่งมีความจุ .1.25 ล้านลูกบาศก์เมตร ครอบคลุมพื้นที่ชลประทาน 1,200 ไร่ (ส้านักงานจังหวัดเชียงใหม่, 2553)

ภาพที่ 51 อ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ ที่มา: จากการส้ารวจ, 2558


99

ภาพที่ 52 แท้งค์เก็บน้​้าบาดาล บริเวณพื้นที่ปุาบ้านโปง ที่มา: จากการส้ารวจ, 2558

4.3.3.2 ระบบสาธารณูปโภคบริเวณกลางน้​้า (บริเวณชุ มชนบ้านวิเวกและมหาวิทยาลัย แม่โจ้) การใช้น้าในการอุปโภคปริโภค หมู่บ้านวิเวก ใช้น้าจากประปาของหมู่บ้าน อยู่บริเวณภายในวัดวิเวกวนาราม สร้างเมื่อปี 2551 ส้าหรับภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ก่อตั้งโรงผลิตน้​้า ปะปาขึ้นใช้เองภายในมหาวิทยาลัย โดยใช้น้าจากคลองชลประทานแม่แฝก ซึ่งอยู่ใกล้เคียง ไฟฟูาภายใน มหาวิทยาลัยใช้จากโรงไฟฟูาย่อยของมหาวิทยาลัยเอง ตั้งอยู่บริเวณหลังคณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรม ศาสตร์

ภาพที่ 53 ระบบประปาหมู่บ้าน ชุมชนบ้านวิเวก ที่มา: จากการส้ารวจ, 2558


100

ภาพที่ 54 ระบบประปาภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ที่มา: จากการส้ารวจ, 2558

4.3.3.3 ระบบสาธารณูปโภคบริเวณปลายน้​้า (บริเวณพื้นที่พาณิชยกรรมริมถนนทาง หลวงแผ่นดินหมายเลข 1001 และชุมชนบ้านแม่โจ้) ประชาชน ส่วนใหญ่ใช้น้าจากบ่อบาดาล ซึ่งขุดเองลึกประมาณ 16 เมตร พื้นที่ ใช้น้าบาดาล ประกอบด้วย บ้านเรือน ชุมชน หอพัก และประปาของหมู่บ้าน นอกจากนี้การประปาส่วน ภูมิภาคเข้ามาด้าเนินการติดตั้งระบบประปาในเขตเทศบาลบางส่วน ส่วนใหญ่จะอยู่ในย่านพาณิชยกรรม ริมถนนทางหลวงแผ่ นดินหมายเลข 1001 ส่วนพื้นที่เกษตรกรรมใช้น้าจากแหล่ งน้​้าธรรมชาติผิวดิน กระแสไฟฟูาที่ใช้ภายในเขตเทศบาลมาจากการไฟฟูาส่วนภูมิภาคอ้าเภอสันทราย ตั้งอยู่บนถนนแม่โจ้ -สัน ทราย ภาพที่ 55 ส้านักงานการ ไฟฟูา ส่ วนภูมิภาค อ้าเภอ สันทราย ที่ ม า: จากการส้ า รวจ, 2558


101

จะเห็นได้ว่า ระบบสาธารณูปโภคในพื้นที่บริเวณกลางน้​้า (บริเวณชุมชนบ้านวิเวกและ มหาวิทยาลัยแม่โจ้) และบริเวณปลายน้​้า (บริเวณพื้นที่พาณิชยกรรมริมถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1001 และชุมชนบ้านแม่โจ้) มีความพร้อมมากกว่าในพื้นที่บริเวณต้นน้​้า (บริเวณปุาบ้านโปงและ อ่างเก็บ น้​้าห้วยโจ้) 4.3.4 ระบบสัญจร (Circulations) 4.3.4.1 ถนนหลัก ได้แก่ ถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1001 หรือถนน เชียงใหม่ พร้าว ตัดผ่านพื้นที่บริเวณปลายน้​้าทางด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของพื้นที่ โดยเชื่อมโยง จากถนนซุปเปอร์ ไฮเวย์เชียงใหม่ -ล้าปาง ไปยัง อ้าเภอพร้าว ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศเหนือของจังหวัดเชียงใหม่ เป็นถนนสี่ช่อง การจราจร มีเกาะกลาง แต่ละฝั่งของถนนกว้าง 12 เมตร เกาะกลางมีความกว้าง 2 เมตร นอกจากนี้ยังมี ทางเท้าขนาดความกว้าง 1.2 เมตร ขนานทั้งสองฝั่งถนน ถนนมีสภาพดีมาก มีการจราจรค่อนข้างคับคั่ง โดยเฉพาะในช่วงเวลาเย็นหลังเลิกงาน คือตั้งแต่เวลา 16.30 น. เป็นต้นไป (ภาพที่ 56) 4.3.4.2 ถนนรอง บริเวณต้นน้​้า ได้แก่ ถนนทางหลวงชนบท หมายเลข 7065 หรือ ถนน บ้ า นโปง เป็ น ถนนที่ เ ชื่ อ มจากชุ ม ชนบ้ า นวิ เ วก ผ่ า นบ้ า นโปง ไปยั ง อ่ า งเก็ บ น้​้ า ห้ ว ยโจ้ ซึ่ ง อยู่ ท างทิ ศ ตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที่โครงการ เป็นถนนลาดยางมะตอย เป็นถนน 2 ช่องจราจร ค่อนข้างแคบ มีความ กว้างประมาณ 5 เมตร ไม่มีทางเท้า (ภาพที่ 57)

4.3.4.3 ถนนรองบริเวณกลางน้​้า ได้แก่ ถนนทางหลวงชนบท หมายเลข 4034 หรือ ถนนเลียบคันคลอง เป็นถนนตัดเลียบคลองชลประทานแม่แฝก ซึ่งน้าน้​้าจากล้าแม่น้าปิง ซึ่งผันเข้าคลอง โดยเริ่มต้นจากจากโครงการส่งน้​้าและบ้ารุงรักษาแม่แฝก-แม่งัด ต้าบลสันมหาพน อ้าเภอแม่แตง ไหลลงมา สู่ ทิ ศ ใต้ ผ่ า น ต้ า บลแม่ แ ฝก ต้ า บลแม่ แ ฝกใหม่ ต้ า บลหนองหาร หลั ง จากผ่ า นบริ เ วณด้ า นหลั ง ของ มหาวิทยาลัยแม่โจ้แล้ว จึงเปลี่ยนทิศทางไปทางทิศตะวันออก ผ่านต้าบลปุาไผ่ ไปรวมกับล้าน้​้าแม่ดู่ที่ ต้าบลเมืองเล็น ซึ่งจะมีถนนเลียบคันคลองชลประทานนี้ไปตลอดเส้นทางทั้งสองฝั่ง ทั้งสองเส้นต่างเป็น ถนน 2 ช่องจราจรมีความกว้างประมาณ 6 เมตร ไม่มีทางเท้า (ภาพที่ 58) 4.3.4.4 ถนนรองบริเวณปลายน้​้า ได้แก่ ถนนซอยบ้านแม่โจ้ 9 เป็นถนนที่แยกออกจาก ถนนหลักหรือถนน เชียงใหม่ – พร้าว ตัดผ่านชุมชนบ้านแม่โจ้ เลียบด้านทิศใต้ของโครงการไปทางทิศ ตะวันตกเฉียงใต้ เป็นถนนคอนกรีต 2 ช่องจราจรมีความกว้างประมาณ 5 เมตร ไม่มีทางเท้า (ภาพที่ 59) 4.3.4.5 ถนนซอยย่อยที่มีลักษณะพิเศษ เป็นถนนซอยที่ไม่มีชื่อ แยกจากซอยบ้านแม่โจ้ 7 มีลักษณะเป็นถนน ถนนmedian strip (ภาพที่ 60) ด้วยโครงข่ายถนน ทั้งสายหลัก รอง และย่อย ท้าให้พื้นที่โครงการมีความพร้อมด้าน ระบบสัญจร ที่สามารถเข้าถึงพื้นที่โครงการ ในทุกส่วนได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว


102

ภาพที่ 56 ถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1001 หรือถนน เชียงใหม่ – พร้าว ที่มา: วิสุดา วงศิลา และ สุพรรษา วุ่นซิ้ว, 2558

ภาพที่ 57 ถนนทางหลวงชนบท หมายเลข 7065 หรือถนนบ้านโปง ที่มา: วิสุดา วงศิลา และ สุพรรษา วุ่นซิ้ว, 2558


103

ภาพที่ 58 ได้แก่ ถนนทางหลวงชนบท หมายเลข 4034 หรือ ถนนเลียบคันคลอง ที่มา: วิสุดา วงศิลา และ สุพรรษา วุ่นซิ้ว, 2558

ภาพที่ 59 ถนนซอยบ้านแม่โจ้ 9 ที่มา: วิสุดา วงศิลา สุพรรษา วุ่นซิ้ว, 2558


104

ภาพที่ 60 ถนนmedian strip ที่มา: วิสุดา วงศิลา และ สุพรรษา วุ่นซิ้ว, 2558 4.3.5 ระบบสาธารณูปการ (Facilities) 4.3.5.1 ระบบสาธารณูปการบริเวณต้นน้​้า บริเวณอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ และปุาบ้านโปง ภายใน รัศมี 1 กิโลเมตร ได้แก่ ฟาร์มมหาวิทยาลัยแม่โจ้ 4.3.5.2 ระบบสาธารณูปการบริเวณกลางน้​้า ชุมชนบ้านโปง และชุมชนบ้านวิเวก ภายในรัศมี 1 กิโลเมตร มีศาสนสถาน 3 แห่ง โรงเรียน 1 แห่ง และสถานีอนามัย 1 แห่ง 4.3.5.3 ระบบสาธารณูปการบริเวณกลางน้​้า บริเวณมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ภายในรัศมี 1 กิโลเมตร มีสาธารณูปการที่หลากหลายจ้านวนมาก ถึง 10 แห่ง ทั้ง วัด ที่ท้าการราชการ ปูอมต้ารวจ ตลาด โรงเรียน พิพิธภัณฑ์ และมหาวิทยาลัย 4.3.5.4 ระบบสาธารณูปการบริเวณปลายน้​้า บริเวณชุมชนบ้านแม่โจ้ และย่านพาณิชยกรรม ติดกับถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1001 มีสาธารณูปการที่หลากหลายจ้านวนมากเช่นเดียวกัน ถึง 12 แห่ง ทั้ง วัด ที่ท้าการราชการ ปูอมต้ารวจ ตลาด โรงเรียน พิพิธภัณฑ์และมหาวิทยาลัย โดยมีจ้านวนวัดมากถึง 3 แห่ง จะเห็นได้ว่าพื้นทีโ่ ครงการมีระบบสาธารณูปการที่ครบครัน และมีความหลากหลาย สามารถ รองรับความต้องการของผู้ใช้พนื้ ที่โครงการได้เป็นอย่างดี


105

ภาพที่ 61 ระบบสาธารณูปการบริเวณต้นน้า้ และกลางน้​้า ที่มา: วิสุดา วงศิลา สุพรรษา วุ่นซิ้ว, 2558

ภาพที่ 62 ระบบสาธารณูปการบริเวณกลางน้​้าและปลายน้​้า ที่มา: วิสุดา วงศิลา สุพรรษา วุ่นซิ้ว, 2558


106

4.4 ผลการสารวจปัจจัยทางด้านสุนทรียภาพ การวิเคราะห์มุมมองเป็นเรื่องส้าคัญประการหนึ่งในการประเมินศักยภาพของพื้นที่โครงการ ซึ่งใน ครั้งนี้เราได้ท้าการวิเคราะห์มุมมองใช้หลักเกณฑ์ในการจ้าแนกมุมมองประกอบด้วย มุมมองแบบเปิดโล่ง มุมมองแบบโอบล้อม มุมมองแบบวิวกรอง มุมมองแบบปิดทึบ มุมมองเป็นแนวน้าสายตา เป็นต้น โดยได้ ก้าหนดพื้นที่ในการวิเคราะห์ออกเป็น 11 จุด ตามแนวล้าน้​้า ดังนี้ 4.4.1 จุดที่ 1 บริเวณตอนต้นของอ่างห้วยโจ้ เป็นพื้นที่เปิดโล่งและมุมมองแบบธรรมชาติโอบ ล้อม สามารถพัฒนามุมมองเพื่อสร้างจุดเด่นได้ (ภาพที่ 63) 4.4.2 จุดที่ 2 บริเวณตอนกลางของอ่างห้วยโจ้ เป็นมุมมองแบบวิวกรอง พื้นที่ถูกปิดล้อมด้วย ต้นไม้และธรรมชาติ (ภาพที่ 64) 4.4.3 จุดที่ 3 บริเวณตอนท้ายของอ่างห้วยโจ้ เป็นมุมมองแบบเปิดโล่ง ถูกโอบล้อมด้วย ธรรมชาติ สามารถมองเห็นวิวทิวทัศน์ได้โดยรอบ (ภาพที่ 65) 4.4.4 จุดที่ 4 บริเวณค่ายลูกเสือแทนคุณ ใต้อ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ ภายในปุาบ้านโปง ลักษณะพื้นที่ มีพืชพรรณหนาแน่น บริเวณสองข้างทางเป็นมุมมองแบบปิดทึบ มีต้นไม้เป็นแนวน้าสายตา (ภาพที่ 66) 4.4.5 จุดที่ 5 บริเวณที่ตั้งศูนย์เรียนรู้การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ภายในปุาบ้านโปง เป็นมุมมองแบบ ค่อนข้างเปิด มีธรรมชาติโอบล้อม ควรพัฒนาพื้นที่กรอบให้น่าสนใจและเป็นจุดเด่นให้กับพื้นที่ (ภาพที่ 67) 4.4.6 จุดที่ 6 บริเวณปุาบ้านโปง ลักษณะพื้นที่มีพืชพรรณหนาแน่นบริเวณสองข้างทางเป็น มุมมองแบบปิดทึบ มีต้นไม้เป็นแนวน้าสายตา (ภาพที่ 68) 4.4.7 จุดที่ 7 บริเวณพื้นที่เกษตรกรรม ชุมชนบ้านโปง เป็นมุมมองแบบเปิดโล่ง สามารถ มองเห็นวิวทิวทัศน์ได้โดยรอบ ควรพัฒนาให้เป็นเอกลักษณ์เด่นของพื้นที่ (ภาพที่ 69) 4.4.8 จุดที่ 8 บริเวณพื้นที่ชุมชนบ้านโปง เป็นเขตของชุมชน มุมมองค่อนข้างปิด สองข้างทาง เป็นบ้านเรือน มีต้นไม้สลับกับรั้วเป็นแนวน้าสายตา (ภาพที่ 70) 4.4.9 จุดที่ 9 บริเวณพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ ชุมชนบ้านท่ายาว มุมมองรอบข้างเป็นที่อยู่อาศัยเป็น มุมมองน้าสายตาด้วยพันธุ์ไม้ที่ปลูกริมทาง และริมล้าน้​้าธรรมชาติห้วยโจ้ เป็นมุมมองแบบปิดล้อมด้วย พันธุ์ไม้ตามธรรมชาติ มีความรกร้าง (ภาพที่ 71) 4.4.10 จุดที่ 10 บริเวณพื้นที่เกษตรกรรม ชุมชนบ้านท่ายาว มุมมองรอบข้างเป็นพื้นที่ที่อยู่ อาศัยและพื้นที่การเกษตร เป็นมุมมองแบบเปิดโล่งเป็นส่วนใหญ่ (ภาพที่ 72) 4.4.11 จุดที่ 11 บริเวณพื้นที่เกษตรกรรม และพื้นที่ชุมชนบ้านแม่โจ้ มุมมองรอบข้างเป็นที่อยู่ อาศัย พื้นที่รกร้างและล้าน้​้าห้วยโจ้ ส่วนใหญ่เป็นมุมมองแบบเปิดโล่ง (ภาพที่ 73)


107

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พนื้ ที่ริมน้า้ ห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 32 ต้าแหน่งในการวิเคราะห์มุมมองตลอดความยาวของพื้นที่ริมน้า้ ห้วยโจ้ ที่มา: จากการวิเคราะห์ข้อมูล จัดท้าแผนที่โดย เวทย์วศิน วงค์เทพเตียน อากร กฤษณีไพบูลย์ และ ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ สัญลักษณ์ ต้าแหน่งมุมมอง


108

ภาพที่ 63 มุมมองจากจุดที่ 1 บริเวณตอนต้นของอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ ที่มา: จากการส้ารวจ, 2558

ภาพที่ 64 มุมมองจากจุดที่ 2 บริเวณตอนกลางของอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ ที่มา: จากการส้ารวจ, 2558


109

ภาพที่ 65 มุมมองจากจุดที่ 3 บริเวณตอนท้ายของอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ ที่มา: จากการส้ารวจ, 2558

ภาพที่ 66 มุมมองจากจุดที่ 4 บริเวณค่ายลูกเสือแทนคุณ ใต้อ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ ภายในปุาบ้านโปง ที่มา: จากการส้ารวจ, 2558


110

ภาพที่ 67 มุมมองจากจุดที่ 5 บริเวณที่ตั้งศูนย์เรียนรู้การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ภายในปุาบ้านโปง ที่มา: จากการส้ารวจ, 2558

ภาพที่ 68 มุมมองจากจุดที่ 6 บริเวณปุาบ้านโปง ที่มา: จากการส้ารวจ, 2558


111

ภาพที่ 69 มุมมองจากจุดที่ 7 บริเวณพื้นที่เกษตรกรรม ชุมชนบ้านโปง ที่มา: จากการส้ารวจ, 2558

ภาพที่ 70 มุมมองจากจุดที่ 8 บริเวณพื้นที่ชุมชนบ้านโปง ที่มา: จากการส้ารวจ, 2558


112

ภาพที่ 71 มุมมองจากจุดที่ 9 บริเวณพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ ชุมชนบ้านท่ายาว ที่มา: จากการส้ารวจ, 2558

ภาพที่ 72 มุมมองจากจุดที่ 10 บริเวณพื้นที่เกษตรกรรม ชุมชนบ้านท่ายาว ที่มา: จากการส้ารวจ, 2558


113

ภาพที่ 73 มุมมองจากจุดที่ 11 บริเวณพื้นที่เกษตรกรรม และพื้นที่ชุมชนบ้านแม่โจ้ ที่มา: จากการส้ารวจ, 2558 จากการวิเคราะห์มุมมอง สามารถสรุปได้ว่า ในพื้นที่บริเวณต้นน้​้า ภายในปุาบ้านโปง เป็นพื้นที่ที่โอบล้อมไปด้วยธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่ โดยมีพื้นที่เปิดโล่ง 2 บริเวณ คือบริเวณอ่างเก็บน้​้าห้วย โจ้ซึ่งมีทัศนียภาพที่สวยงามที่สุดภายในพื้นที่โครงการ และบริเวณศูนย์เรียนรู้การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ซึ่ง ตั้งอยู่ติดแหล่งน้​้า มุมมองค่อนข้างเปิด พื้นที่เหล่านี้มีศักยภาพที่พัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติและ นันทนาการได้ ส้าหรับพื้นที่กลางน้​้านั้นเนื่องจากมีความหลากหลายของการใช้ประโยชน์ที่ดิน จึงมีลักษณะ ของมุมมองที่หลากหลายตามไปด้วย ทั้งมุมมองแบบเปิดโล่งของพื้นที่เกษตรกรรม มุมมองแบบแนวน้า สายตาตามถนนภายในพื้นที่ชุมชน และภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งเรียงรายไปด้วยอาคารบ้านเรือน ร้ า นค้ า หรื อ หอพัก ต่ า งๆ ส่ ว นพื้ น ที่ ริ ม น้​้ าห้ ว ยโจ้ ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น มุ มมองแบบปิ ด ล้ อ มด้ ว ยพั นธุ์ ไ ม้ ต าม ธรรมชาติ มีความรกร้าง ซึ่งควรได้รับการปรับปรุงพัฒนา


114

4.5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามผู้ใช้พื้นที่โครงการ ผู้วิจัยได้ท้าการสุ่มตัวอย่างเพื่อเก็บแบบสอบถามจ้านวนทั้งสิ้น 286 ตัวอย่าง กระจายการเก็บ แบบสอบถามให้ครอบคลุมทั่วพื้นที่โครงการ โดยเปิดโอกาสให้ท้าแบบสอบถามอย่างโดยอิสระ ดังนั้น แบบสอบถามบางข้อที่กลุ่มตัวอย่าง ไม่มีความรู้เพียงพอ หรือไม่มั่นใจในข้อมูล หรือเห็นว่าไม่ส้าคัญก็จะ ไม่ได้ตอบแบบสอบถามนั้นๆดังนั้นจ้ านวนผู้ ตอบแบบสอบถามในแต่ละข้อจึงไม่เท่ากัน ผลของการ วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามสามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้ 4.5.1 ข้อมูลด้านต้าแหน่งที่ตั้ง 4.5.1.1 ข้อมูลบ้านพักอาศัย หรือสถานประกอบการ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นชาวบ้านที่อาศัยอยู่ในเขตชุมชนบ้านโปุงเป็น จ้านวนถึง 33.7 เปอร์เซ็นต์ รองลงมาได้แก่ชาวบ้านในชุมชนบ้านแม่โจ้ จ้านวนร้อยละ 32 และนักศึกษา ที่พ้านักอยู่ในหอพักภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้เป็นจ้านวนร้อยละ 20.3 นอกเหนือจากนั้น ยังมีผู้ที่อาศัย อยู่ในชุมชนอื่นๆอีกบ้าง เช่น ชุมชนบ้านวิเวก บ้านทุ่งหมื่นน้อย บ้านหลิ่งมื่น บ้านศรีสหกรณ์ บ้านไร่ และ บ้านหนองเต่าค้าใหม่ ทั้งนี้ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่พ้านักอยู่ภายในเขตต้าบลหนองหารเป็นจ้านวน ร้อยละ 69.2 เปอร์เซ็นต์รองลงมาพ้านักอยู่ในเขตต้าบลปุาไผ่เป็นจ้านวนร้อยละ 30.3

แผนภูมิที่ 1 ชุมชนที่ผู้ตอบแบบสอบถามอาศัยอยู่


115

แผนภูมิที่ 2 ต้าบลที่ผู้ตอบแบบสอบถามอาศัยอยู่ 4.5.1.1 ข้อมูลระยะห่างของบ้านพักอาศัย หรือสถานประกอบการกับล้าน้​้าห้วยโจ้ เนื่องจากผู้ท้าวิจัยเน้นเก็บข้อมูลกับผู้ที่พ้านักอยู่ภายในรัศมีไม่เกิน 5 กิโลเมตร จากล้าน้​้าห้วยโจ้เป็นหลักผู้ตอบแบบสอบถามท้าโดยส่วนใหญ่มีบ้านพักอาศัยหรือสถานประกอบการ อยู่ ภายในระยะ 0-0.5 กิโลเมตรห่างจากล้าน้​้าห้วยโจ้ เป็นจ้านวนร้อยละ 41.6 ที่เหลือคืออยู่ห่างออกไป ตามล้าดับ ดังแสดงในแผนภูมิที่ 3

แผนภูมิที่ 3 ระยะห่างของบ้านพักอาศัยหรือสถานประกอบการกับล้าน้​้าห้วยโจ้ 4.5.2 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 4.5.2.1 เพศ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงคิดเป็นร้อยละ 65 ในขณะที่เพศชาย มีเพียงร้อยละ 35 เท่านั้น


116

แผนภูมิที่ 4 เพศชองผู้ตอบแบบสอบถาม 4.5.2.2 จ้านวนสมาชิกในครัวเรือน ผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 45.5 มีจ้านวนสมาชิกภายในครัวเรือน 2-3 คน ในขณะที่ร้อยละ 32.1 มีจ้านวนสมาชิกภายในครัวเรือน 4-5 คนนอกจากนี้ยังมีผู้ตอบแบบสอบถามที่มี จ้านวนสมาชิกในครัวเรือนจ้านวน 5-10 คนหรือผู้ที่อยู่อาศัยเพียงล้าพังคนเดียวหรืออื่นๆอีกด้วย แต่มี จ้านวนประมาณร้อยละ 10 หรือน้อยกว่า

แผนภูมิที่ 5 จ้านวนสมาชิกในครัวเรือนของผู้ตอบแบบสอบถาม 4.5.2.2 อายุของสมาชิกในครัวเรือน/ที่พักอาศัย หลั ง จากวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล จากการส้ า รวจพบว่ า ผู้ ที่ อ ยู่ ใ นวั ย ศึ ก ษาใน ระดับอุดมศึกษานั้นสามารถจ้าแนกได้เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ ผู้ที่อยู่ตามล้าพังส่วนใหญ่มีอายุ 20-29 ปี และ กลุ่มผู้ที่อยู่ร่วมกันตั้งแต่ 4 – 5 คนขึ้นไป ส่วนใหญ่มีอายุ 18-19 ปี ทั้งนี้เนื่องจากนักศึกษาจะพ้านักอยู่ รวมกันในหอพักภายในมหาวิทยาลัยในช่วงชั้นปีที่ 1 หลังจากนั้นจึงแยกออกมาเช่าหอพักอยู่ตามล้าพัง ส้าหรับกลุ่มชาวบ้านในชุมชน มีสมาชิกในครัวเรือน 2-3 คน มีอายุแตกต่างกันไปตั้งแต่ 20-69 ปี


117

แผนภูมิที่ 6 อายุของสมาชิกในครัวเรือน/ที่พักอาศัยของผู้ตอบแบบสอบถาม 4.5.2.3 อาชีพหลัก ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นนักศึกษามีจ้านวนร้อยละ 38.7 รองลงมา ได้แก่ผู้ที่ประกอบอาชีพค้าขาย จ้านวนร้อยละ 22.7 และผู้ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป มีจ้านวนใกล้เคียง กันคือร้อยละ 22 นอกจากนี้ยังมีผู้ที่ประกอบอาชีพเกษตรกร จ้านวนร้อยละ 17 ส่วนอาชีพอื่นที่มีสัดส่วน น้อยลงไปมีความหลากหลาย ได้แก่ อาชีพรับราชการ พนักงานบริษัท ธุรกิจส่วนตัว ฯลฯ

แผนภูมิที่ 7 อาชีพของผู้ตอบแบบสอบถาม


118

4.5.2.4 ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ จากการวิเคราะห์แบบสอบถามพบว่าชาวบ้านในชุมชนส่วนใหญ่อาศัยอยู่ใน พื้นที่เป็นระยะเวลานานมากกว่า 15 ปีขึ้นไปหรือคิดเป็นร้อยละ 34.4 ส้าหรับนักศึกษานั้น โดยส่วนใหญ่ จะอาศัยอยู่ในพื้นที่โครงการเป็นระยะเวลาระหว่าง 1 ถึง 5 ปีคิดเป็นร้อยละ 33

แผนภูมิที่ 8 ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในพื้นที่โครงการของผู้ตอบแบบสอบถาม 4.5.3 ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้น้าและคุณภาพน้​้าห้วยโจ้ 4.5.3.1 ปริมาณน้​้าใช้อุปโภคบริโภค เนื่ องจากผู้ตอบแบบสอบถามส่ วนใหญ่ไม่แน่ใจในปริมาณน้​้าที่ตนใช้อุปโภค บริโภค ดังนั้ นจึงมีผู้ตอบค้าถามในข้อนี้ เป็นจ้านวนน้อยกว่าปกติ จากตัวอย่างทั้งหมด 286 ตัวอย่างมี ผู้ตอบข้อนี้เพียง 79 ตัวอย่างเท่านั้นอย่างไรก็ดีผู้ที่ตอบค้าถามส่วนใหญ่ มีปริมาณการใช้น้าเพื่อการอุปโภค บริโภค ตั้งแต่ 0 ถึง 50 ลูกบาศก์เมตรต่อเดือน

แผนภูมิที่ 9 ปริมาณน้​้าใช้อุปโภคบริโภคเฉลี่ยต่อเดือนของผู้ตอบแบบสอบถาม


119

4.5.3.2 ค่าน้​้าเฉลี่ยต่อเดือน ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ จ้านวนร้อยละ 30.9 ต้องจ่ายค่าน้​้าโดยเฉลี่ย เดือนละ 50 - 100 บาทและผู้ตอบแบบสอบถามในปริมาณใกล้เคียงกันคือร้อยละ 30.3 เป็นผู้ที่ต้องเสียค่า น้​้าในแต่ละเดือนเป็นจ้านวนเงิน 100 - 200 บาท

แผนภูมิที่ 10 ค่าน้​้าเฉลี่ยต่อเดือนของผู้ตอบแบบสอบถาม 4.5.3.3 แหล่งน้​้าที่ใช้ในครัวเรือน ที่พักอาศัย หรือกิจการต่าง ๆ ร้อยละ 94.1 ของผู้ตอบแบบสอบถาม ใช้น้าประปาในครัวเรือนที่พักอาศัยหรือ กิจการต่างๆ แหล่งน้​้าที่มีปริมาณผู้ใช้รองลงมาได้แก่น้าบาดาลคิดเป็นร้อยละ 25.7 ของผู้ตอบแบบสอบ ถาม ทั้งหมด ส้าหรับน้​้าจากล้าน้​้าห้วยโจ้มีผู้ใช้เป็นปริมาณน้อย คิดเป็นร้อยละ 3.3 เท่านั้น

แผนภูมิที่ 11 ค่าน้​้าเฉลี่ยต่อเดือนของผู้ตอบแบบสอบถาม 4.5.3.4 การบ้าบัดน้​้าเสีย จากการวิเคราะห์แบบสอบถามปริมาณของผู้ตอบแบบสอบถามที่มีและไม่มีการ บ้าบัดน้​้าเสียก่อนระบายน้​้าทิ้งนั้นมีปริมาณใกล้เคียงกันมาก กล่าวคือ ร้อยละ 49.8 ของผู้ตอบ แบบสอบถาม ตอบว่าไม่มีการบ้าบัดน้​้าเสียในขณะที่ร้อยละ 50.2 ตอบมีการบ้าบัดน้​้าเสียก่อนระบายน้​้า ทิ้ง อย่างไรก็ดีจากแบบสอบถามเป็นที่น่าสังเกตว่ามีนักศึกษาจ้านวนมากที่ไม่มีความรู้ในเรื่องการบ้าบัดน้​้า เสียของหอพักที่ตนพักอยู่ (ตอบว่าไม่มีการบ้าบัดน้​้าเสีย ทั้งที่หอพักภายในมหาวิทยาลัยต่างก็บ้าบัดน้​้าเสีย โดยผ่านระบบบ้าบัดน้​้าของมหาวิทยาลัย) จึงน่าจะมีผู้ให้ข้อมูลผิดจ้านวนหนึ่ง


120

แผนภูมิที่ 12 ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามที่มี/ไม่มี มีการบ้าบัดน้​้าเสียก่อนระบายน้​้าทิ้ง

แผนภูมิที่ 13 วิธีการบ้าบัดน้​้าเสียที่ใช้ในพื้นที่โครงการ วิธีการบ้าบัดน้​้าเสียที่ใช้มากที่สุดในโครงการได้แก่การใช้บ่อเกรอะบ่อซึมที่เป็น ปริมาณร้อยละ 60. 9 รองลงมาคือการใช้ถังบ้าบัดน้​้าเสีย คิดเป็นปริมาณร้อยละ 31.2 4.5.3.5 การใช้น้าจากล้าน้​้าห้วยโจ้ คนส่วนใหญ่ที่ตอบแบบสอบถามไม่เคยใช้น้าจากล้าน้​้าห้วยโจ้ในการใช้ประโยชน์ ในที่อยู่อาศัยหรือกิจการใดใดเลยคิดเป็นร้อยละ 44.9 รองลงมาได้แก่ การใช้ประโยชน์จากล้าน้​้าห้วย โจ้ฉพาะในครัวเรือน ซึ่งมีผู้ตอบในข้อนี้ร้อยละ 40 นอกจากนี้ยังมีผู้ที่ใช้น้าจากล้าน้​้าห้วยโจ้ในการท้า เกษตรกรรมจ้านวนร้อยละ 17.7 และใช้ในการประกอบกิจการอื่นๆอีกร้อยละ 4.2

แผนภูมิที่ 14 ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามที่เคย/ไม่เคยใช้น้าจากล้าน้​้าห้วยโจ้ในการท้าประโยชน์


121

แผนภูมิที่ 15 ลักษณะของกิจการที่ใช้ประโยชน์จากล้าน้​้าห้วยโจ้ ในจ้านวนผู้ใช้น้าในการประกอบกิจการนั้น ส่วนใหญ่ใช้ในร้านค้าขนาดเล็กคิด เป็นร้อยละ 53.3 ของจ้านวนผู้ใช้น้าในการประกอบกิจการทั้งหมด 4.5.3.6 การระบายน้​้าทิ้ง

แผนภูมิที่ 16 ลักษณะของกิจการที่ใช้ประโยชน์จากล้าน้​้าห้วยโจ้ ในเรื่องของการระบายน้​้าทิ้งผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่จ้านวนร้อยละ 55.9 มีการปล่อยน้​้าทิ้ง ลงท่อระบายน้​้าของเทศบาล รองลงมาได้แก่การปล่อยน้​้าทิ้งลงท่อระบายน้​้าและไหลซึมลงพื้นดินเป็น จ้านวนร้อยละ 30.1 นอกจากนี้ยังมีการปล่อยน้​้าทิ้งลงพื้นดินโดยตรงเป็นจ้านวนร้อยละ 21.3 และปล่อย ลงล้าห้วยโจ้เป็นจ้านวนร้อยละ 10.3 4.5.3.7 การจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน ร้อยละ 95.6 ของผู้ตอบแบบสอบถามมีการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนโดย การน้าไปทิ้ง ณ จุดทิ้งขยะของเทศบาล มีส่วนน้อยที่มีวิธีการจัดการขยะมูลฝอยโดยการเผา ฝัง ทิ้งตามที่ ว่างเปล่าในชุมชน ไม่พบว่ามีการทิ้งขยะมูลฝอยในบริเวณริมตลิ่งหรือในล้าน้​้าห้วยโจ้


122

แผนภูมิที่ 17 วิธีการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน 4.5.3.8 คุณภาพของน้​้าในล้าน้​้าห้วยโจ้ คนส่วนใหญ่ร้อยละ 49.8 เห็นว่าคุณภาพของน้​้าในล้าน้​้าห้วยโจ้บริเวณใกล้เคียง กับที่พักอาศัยและกิจการของเขานั้นมีคุณภาพปานกลาง มีตะกอนขุ่น ผู้คนอีกร้อยละ 45.1 เห็น ว่าคุณภาพของน้​้าในล้าน้​้าห้วยโจ้ใกล้เคียงกับที่เขาอยู่อาศัยนั้น มีคุณภาพดีค่อนข้างใสไม่มีกลิ่น เหม็น และมีคนเพียงร้อยละ 4 เท่านั้น ซึ่งมีความเห็นว่าน้​้าในล้าน้​้าห้วยโจ้ ในบริเวณใกล้เคียงกับ พื้นที่ที่เขาอยู่นั้นเป็นน้​้าเน่าเสียสีด้าคล้​้าและมีกลิ่นเหม็น

แผนภูมิที่ 18 คุณภาพของน้​้าในล้าน้​้าห้วยโจ้ 4.5.4 ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้พื้นที่ริมน้​้า 4.5.4.1 กิจกรรมการใช้พื้นที่ริมน้​้า มีผู้ตอบแบบสอบถามถึงร้อยละ 68.5 ที่ไม่เคยใช้พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ในการท้า กิจกรรมใดๆเลย ในขณะที่ผู้ที่เคยใช้พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ท้ากิจกรรมนั้นมีปริมาณร้อยละ 31.5 ส้าหรับ กิจกรรมที่มีผู้นิยมท้าบริเวณพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ 3 อันดับแรก ได้แก่ การเดินเล่น คิดเป็นร้อยละ 37 การนั่ง พักผ่อนหย่อนใจ ร้อยละ 32.6 และการปลูกพืชผลทางการเกษตร ร้อยละ 25


123

แผนภูมิที่ 19 ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามที่เคย/ไม่เคย ท้ากิจกรรมบริเวณพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้

แผนภูมิที่ 20 ใช้พนื้ ที่บริเวณล้าน้​้าห้วยโจ้ 4.5.4.2 ปัญหาการใช้พื้นที่บริเวณล้าน้​้าห้วยโจ้บริเวณริมล้าน้​้า และ/ หรือ บริเวณพื้นที่ ข้างเคียงที่ติดกับล้าน้​้า จากการวิเคราะห์แบบสอบถาม โดยใช้ค้าถามประเมินความรุนแรงของปัญหา ตามล้าดับคะแนน จาก 0 คะแนน (ไม่พบปัญหา) ถึง 5 คะแนน (ระดับความรุ นแรงของปัญหาสูงสุด) ปัญหาการใช้พื้นที่ที่พบมากที่สุดได้แก่ปัญหาสภาพภูมิทัศน์ที่ไม่สวยงามมีหญ้ารกคิดเป็นกับความรุนแรง ของปัญหา 3.52 ที่เหลือนอกนั้นนับว่ามีระดับความรุนแรงอยู่ในระดับปานกลางทั้งสิ้น ซึ่งปัญหารองลงมา ได้แก่ปัญหาพื้นที่เสื่อมโทรมถูกปล่อยทิ้งร้างไม่มีการใช้งาน มีระดับความรุนแรงของปัญหาอยู่ในระดับ 3.35 ปัญหาน้​้าท่วมขังพื้นที่ในฤดูฝนอยู่ในระดับ 3.10 และปัญหาล้าน้​้าตื้นเขินน้​้าน้อยอยู่ในระดับ 3.05 ส้าหรับปัญหาที่มีระดับความรุนแรงน้อยที่สุดเมื่อเทียบกับปัญหาอื่นๆได้แก่ปัญหาเรื่องคุณภาพของน้​้า น้​้า เน่าส่งกลิ่นเหม็น ปลาตาย เกิดมลภาวะ อยู่ในระดับ 2.70


124

ตารางที่ 8 ระดับความรุนแรงของปัญหาการใช้พื้นที่ที่พบ ระดับความรุนแรงของปัญหา ปัญหาการใช้พื้นที่ที่พบ

มาก ที่สุด (5)

มาก (4)

ปาน กลาง (3)

1. พื้นที่เสื่อมโทรม ถูกปล่อยทิ้งร้าง ไม่มีการใช้งาน

3.35

2. เกิดการรุกล้​้าพื้นที่สาธารณะริมน้​้า

2.91

3. ความไม่ปลอดภัย เป็นแหล่งอาชญากรรม

2.87

4. ล้าน้​้าตื้นเขิน น้​้าน้อย

3.05

5. น้​้าเน่าส่งกลิ่นเหม็น ปลาตาย เกิดมลภาวะ

2.70

6. สภาพภูมิทัศน์ทไี่ ม่สวยงาม หญ้ารก

น้อย (2)

น้อย ที่สุด (1)

ไม่มี (0)

3.52

7. การกัดเซาะ พังทลายของพื้นที่ริมตลิ่ง

2.98

8. ปัญหาน้​้าท่วมขังพื้นที่ในฤดูฝน

3.10

4.5.4.3 การมีส่วนร่วมในการ อนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่จ้านวนร้อยละ 73.8 ไม่เคยมีส่วนร่วมในการ อนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่ริมน้​้าห้ วยโจ้ ในขณะที่มีเพียง ร้อยละ 26.2 เท่านั้นที่เคยมีส่วนร่วมใน กิจกรรมดังกล่าว

แผนภูมิที่ 21 ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามที่เคย/ไม่เคยมีส่วนร่วมในการ อนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนา พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้


125

แผนภูมิที่ 22 ประเภทของกิจกรรมที่เคยมีส่วนร่วมในการ อนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ สามารถสรุปกิจกรรมที่ผู้เข้าร่วมเรียงล้าดับจากมากที่สุดถึงน้อยที่สุด ได้ดังนี้ ล้าดับที่ 1 การเข้า ร่วมประชุมในการอนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาริมพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ คิดเป็นร้อยละ 50 7.5 ล้าดับที่ 2 คือการ พัฒนาและปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ คิดเป็นร้อยละ 46.6 และล้าดับที่ 3 ได้แก่ การปลูก จิตส้านึกด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้แก่คนในชุมชน คิดเป็นร้อยละ 23.3 ล้าดับที่ 4 การเป็นสมาชิก หรือตัวแทนในกลุ่มที่มีส่ วนร่วมในการอนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่ริ มน้​้าห้วยโจ้ คิดเป็นร้อยละ 20.5 ล้าดับที่ 5 มี 2 กิจกรรมได้แก่ การพัฒนาหรือปรับปรุงแหล่งน้​้าเพื่อปูองกันภัยแล้งน้​้าท่วมหรือน้​้าเสีย และ การพัฒนาหรือปรับปรุงระบบน้​้าประปาน้​้าใช้ส้าหรับครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 17.8 ล้าดับที่ 6 การเข้า ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการแก้ไขปัญหาการรุกล้​้าล้าน้​้าและด้าเนินการด้านกฎหมาย คิดเป็นร้อยละ 6.8 และ ล้าดับที่ 7 ล้าดับสุดท้ายคือ คิดเป็นร้อยละ 4.1 นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมอื่นๆอีกร้อยละ 2.7 4.5.5 ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการด้านการใช้ประโยชน์พื้นที่ และด้านภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ จากการวิเคราะห์แ บบสอบถามผู้ตอบแบบสอบถามให้ความส้าคัญต่อแนวทางในการ จัดการที่น้าเสนอทั้ง 10 ข้อในระดับมากทั้งสิ้น โดยสามารถเรียงล้าดับแนวทางในการจัดการที่มีผู้ผู้ตอบ แบบสอบถามให้ความส้าคัญจากมากไปน้อยได้ดังนี้ ล้าดับที่ 1 ได้แก่การปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ริมน้​้าให้ สวยงามร่มรื่นอยู่ในระดับ 3.99 ล้าดับที่ 2 การจัดให้เป็นพื้นที่นันทนาการและพักผ่อนหย่อนใจของคนใน ชุมชนอยู่ในระดับ 3.79 ล้าดับที่ 3 การฟื้นฟูระบบนิเวศริมน้​้าและในน้​้าให้เหมาะสมกับการเป็นที่อยู่ของ สัตว์ต่างๆอยู่ในระดับ 3.76 ล้าดับที่ 4 การก้าหนดแนวพื้นที่สาธารณะริมน้​้าให้ชัดเจนอยู่ในระดับ 3.71 ล้าดับที่ 5 การจัดให้เป็นพื้นที่เกษตรกรรมของชุมชนอยู่ในระดับ 3.6 5 ล้าดับที่ 6 การแก้ปัญหาน้​้าท่วมขัง พื้นที่ในฤดูฝนอยู่ในระดับ 3.63 ล้าดับที่ 7 การปรับปรุงระบบบ้าบัดน้​้าเสียในครัวเรือนอยู่ในระดับ 3.62 ล้าดับที่ 8 การจัดให้มีพื้นที่ส้าหรับกิจกรรมวัฒนธรรมประเพณีของชุมชนอยู่ในระดับ 3.58 ล้าดับที่ 9 การแก้ปัญหาการพังทลายของริมตลิ่งอยู่ในระดับ 3.57 และล้าดับที่ 10 การขุดลอกล้าน้​้าแก้ปัญหาล้าน้​้า ตื้นเขินอยู่ในระดับ 3.54


126

ตารางที่ 9 แนวทางการจัดการการใช้ประโยชน์ที่ดิน และภูมิทัศน์ริมล้าน้​้าห้วยโจ้ในอนาคต ระดับสาคัญ แนวทางในการจัดการ

มาก ที่สุด (5)

มาก (4)

1. จัดให้เป็นพื้นที่เกษตรกรรมของชุมชน

3.65

2. จัดให้เป็นพื้นที่นันทนาการและพักผ่อนหย่อนใจของ คนในชุมชน เช่น ตกปลา ออกก้าลังกาย เดินเล่น

3.79

3. ฟื้นฟูระบบนิเวศริมน้า้ และในน้า้ ให้เหมาะสมกับการ เป็นที่อยู่ของสัตว์ต่างๆ

3.76

4. ขุดลอกล้าน้​้า แก้ปัญหาล้าน้​้าตื้นเขิน

3.54

5. ปรับปรุงระบบบ้าบัดน้​้าเสียในครัวเรือน

3.62

6. ปรับปรุงภูมิทัศน์ริมน้​้าให้สวยงาม ร่มรื่น

3.99

7. แก้ปัญหาการพังทลายของริมตลิ่ง

3.57

8. แก้ปัญหาน้​้าท่วมขังพื้นที่ในฤดูฝน

3.63

9. จัดให้มีพื้นที่ส้าหรับกิจกรรมวัฒนธรรม ประเพณีของ ชุมชน เช่น ลอยกระทง ฯลฯ

3.58

10. ก้าหนดแนวพื้นที่สาธารณะริมน้​้าให้ชัดเจน เพื่อ ปูองกันการรุกล้​้าพื้นที่

3.71

ปาน กลาง (3)

น้อย (2)

น้อย ที่สุด (1)

ไม่มี (0)

4.5.5 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ผู้ตอบแบบสอบถามได้ให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมดังนี้ พื้นที่ริมน้​้าค่อนข้างรกร้าง อยากให้มีการพัฒนา สมัยก่อนมีขโมย ลักเล็กขโมยน้อย ควร ปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้า ฟื้นฟูระบบนิเวศ ปรับปรุงภูมิทัศน์ น้าเที่ยว ควรมีการจัดการขยะให้ดียิ่งขึ้น ทั้งการแยกขยะมูลฝอย การทิ้งขยะ หลุมขยะ น้​้าประปา ไม่เพียงพอ ไม่ควรตกปลาในล้าน้​้าห้วยโจ้ เพราะ จะท้าให้ปลาลดปริมาณ เราควรที่จะอนุรักษ์ รักษาความสมดุลให้กับธรรมชาติ


127

4.6 ผลการวิเคราะห์ศักยภาพและข้อจากัดของพื้นที่ 4.6.1 การประเมินคุณค่าของปัจจัยที่มีผลต่อศักยภาพในการใช้ประโยชน์พื้นที่ ในการสั งเคราะห์ พื้น ที่โ ครงการ เพื่อหาศักยภาพของพื้นที่ ผู้ วิจัยได้ประยุกต์วิธีการ ซ้อนทับแผนที่ (Overlay mapping) จากการศึกษาของ Ian Mcharg (1969) โดยการประเมินค่าปัจจัย ต่างๆที่มีผลต่อการใช้ประโยชน์ที่ดิน และรวมผลลัพธ์ของค่าที่ได้ออกมา แสดงผลบนแผนที่ โครงการ เพื่อ สรุปหาศักยภาพและข้อจ้ากัดของพื้นที่ จากหัวข้อ 4.5 สามารถสรุปแนวทางในการจัดการการใช้ประโยชน์ ที่ดินและภูมิทัศน์ริมล้าน้​้าห้วยโจ้ในอนาคต โดยหัวข้อที่ได้รับค่าคะแนนในการประเมินสูงสุด 4 หัวข้อ ตาม ดับจากคะแนนสูงสุด ไปต่้าสุด ได้แก่ 1) ปรับปรุงภูมิทัศน์ริมน้​้าให้สวยงาม ร่มรื่น 2) จัดให้เป็นพื้นที่ นันทนาการและพักผ่อนหย่อนใจของคนในชุมชน เช่น ตกปลา ออกก้าลังกาย เดินเล่น 3) ฟื้นฟูคุณภาพน้​้า และระบบนิเวศทั้งบริเวณริมน้​้าและในน้​้า ให้เหมาะสมกับการเป็นที่อยู่ของสัตว์ต่างๆ และ 4) ก้าหนดแนว พื้นที่สาธารณะริมน้​้าให้ชัดเจน เพื่อปูองกันการรุกล้​้าพื้นที่ ดังนั้นจึงได้ตั้งเปูาหมายของการหาศักยภาพของ พื้น ที่ที่เหมาะสมในการจัดเป็ น พื้น ที่นั นทนาการและพักผ่ อนหย่อนใจของคนในชุมชน โดยเน้นที่การ ปรับปรุงภูมิทัศน์ริมน้​้าให้สวยงาม ร่มรื่น และพื้นที่ที่เหมาะสมในการอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศริมน้​้า ใน การสังเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่โครงการได้ท้าตารางเพื่อแสดงปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อการใช้ประโยชน์พื้นที่ ดังตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 10 การประเมินคุณค่าของปัจจัยที่มีผลต่อศักยภาพในการใช้ประโยชน์พื้นที่ ปัจจัยที่มีผลต่อผลการใช้ประโยชน์ พื้นที่ 1. สภาพภูมิประเทศ 2. แหล่งน้​้าและการระบายน้​้า 3. ดิน 4. สภาพภูมิอากาศระดับพื้นที่ 5. พืชพรรณ 6. การใช้ที่ดินเดิม 7. อาคารเดิม 8. ระบบสาธารณูปโภค 9. ระบบสัญจร/การเข้าถึงพื้นที่รมิ น้​้า 10. ระบบสาธารณูปการ 11. ทัศนียภาพและมุมมอง

หมายเหตุ

3 = มีผลมาก

ค่าคะแนน พืน้ ที่นันทนาการและ พักผ่อนหย่อนใจ 2 2 1 2 3 3 1 2 3 1 2

2 = มีผลปานกลาง

พื้นที่ฟื้นฟูคุณภาพน้าและ ระบบนิเวศ 2 3 2 2 3 3 1 0 1 0 0

1 = มีผลน้อย 0 = ไม่มีผลเลย


128

จากการการประเมินคุณค่าของปัจจัยที่มีผลต่อการใช้ประโยชน์พื้นที่ ได้ข้อสรุปว่า ปัจจั ยที่มีผล มากต่อศักยภาพการใช้ประโยชน์พื้นที่ประเภทพื้นที่นันทนาการและพักผ่อนหย่อนใจ ได้แก่ การใช้ที่ดิน เดิม ลักษณะพืชพรรณ และระบบสัญจรการเข้าถึงพื้นที่ริมน้​้า ส่วนปัจจัยที่มีผลมากต่อศักยภาพการใช้ ประโยชน์พื้นที่ประเภทพื้นที่ฟื้นฟูคุณภาพน้​้าและระบบนิเวศ ได้แก่ แหล่งน้​้าและการระบายน้​้า พืชพรรณ และ การใช้ที่ดินเดิม หลังจากได้ข้อสรุ ปดังกล่าว จึงได้ท้าการเตรียมแผนผั งแสดงคุณ ค่าของปัจจัยนั้นๆ และน้ามา ซ้อนทับ (Overlay mapping) เพื่อหาผลรวมของค่าคะแนน และสรุปเป็นศักยภาพของพื้นที่ในการใช้ ประโยชน์ที่ดินทั้ง 2 ประเภท ต่อไป

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พนื้ ที่ริมน้า้ ห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 33 ต้าแหน่งล้าน้า้ ห้วยโจ้และแหล่งน้​้าภายในพืน้ ที่โครงการ ที่มา: จากการวิเคราะห์ข้อมูล จัดท้าแผนที่ขั้นสุดท้ายโดย ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์


129

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พนื้ ที่ริมน้า้ ห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 34 การประเมินคุณค่าของพืชพรรณที่มีผลต่อศักยภาพของการใช้พื้นที่โครงการ ที่มา: จากการสังเคราะห์ข้อมูล จัดท้าแผนที่ขั้นสุดท้ายโดย ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์


130

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พนื้ ที่ริมน้า้ ห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 35 การประเมินคุณค่าของการใช้ประโยชน์ที่ดินเดิมที่มีผลต่อต่อศักยภาพของการ ใช้พื้นที่โครงการในอนาคต ที่มา: จากการสังเคราะห์ข้อมูล จัดท้าแผนที่ขั้นสุดท้ายโดย ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์


131

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พนื้ ที่ริมน้า้ ห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 36 การประเมินคุณค่าของการเข้าถึงพื้นที่ริมน้​้าที่มผี ลต่อต่อศักยภาพของการใช้ พื้นที่โครงการในอนาคต ที่มา: จากการสังเคราะห์ข้อมูล จัดท้าแผนที่ขั้นสุดท้ายโดย ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์


132

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พนื้ ที่ริมน้า้ ห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 37 ผลการสังเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่ที่เหมาะกับการพัฒนาเพื่อเป็นพื้นที่ นันทนาการและพักผ่อนหย่อนใจ ที่มา: จากการสังเคราะห์ข้อมูล จัดท้าแผนที่ขั้นสุดท้ายโดย ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์


133

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พนื้ ที่ริมน้า้ ห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 38 ผลการสังเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่ที่เหมาะกับการพัฒนาเพื่อเป็นพื้นที่พัฒนา คุณภาพน้​้าและระบบนิเวศ ที่มา: จากการสังเคราะห์ข้อมูล จัดท้าแผนที่ขั้นสุดท้ายโดย ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์


134

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พนื้ ที่ริมน้า้ ห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 39 ผลการสังเคราะห์ศักยภาพและข้อจ้ากัดของพื้นที่โครงการในภาพรวม ที่มา: จากการสังเคราะห์ข้อมูล จัดท้าแผนที่ขั้นสุดท้ายโดย ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์

4.6.2 ศักยภาพและข้อจ้ากัดของพื้นที่โครงการ


135

จากการซ้อนทับแผนที่ (overlay Mapping) และรวมค่าคะแนนของคุณค่าของปัจจัยที่มี ผลต่อศักยภาพในการใช้ประโยชน์พื้นที่ เมื่อน้ามาสังเคราะห์จะสามารถแบ่งพื้นที่ออกเป็น 7 โชนย่อยๆ ที่ มีศักยภาพและข้อจ้ากัดที่มีความแตกต่างกัน ดังแสดงในตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 11 ศักยภาพและข้อจ้ากัดของพื้นที่โครงการในแต่ละบริเวณ พื้นที่

ศักยภาพ

A 1 พื้นที่เกษตรกรรม (นา - เป็นพื้นที่สีเขียว ข้าว) - มีมุมมองที่เปิดกว้าง

A 2 พื้นที่เกษตรกรรม (แปลงไม้ผล)

- เป็นพื้นที่สีเขียว - มีมุมมองแบบปิดล้อม - เป็นพื้นที่ราบ

B 1 พื้นที่อยู่อาศัยและ พาณิชยกรรม

- เป็นย่านการค้าที่มีอยูเ่ ดิม - เข้าถึงได้สะดวก

B 2 พื้นที่ชุมชน

-เป็นย่านที่อยู่อาศัยที่เงียบ สงบ - มีกิจกรรมที่หลากหลาย

ข้อจากัด

ความเป็นไปได้ในการ พัฒนา - เป็นพื้นที่ที่มีระดับต่า้ สุด - อนุรักษ์พื้นที่เกษตรกรรม ของพื้นที่โครงการ และเป็น - เพิม่ กิจกรรมพักผ่อนของ บริเวณทีล่ ้าน้​้าห้วยโจ้ ไหล ชุมชน มาบรรจบกับห้วยน้​้าปูอง - ฟื้นฟูระบบนิเวศริมน้​้า จึงมีความเสี่ยงต่อการเกิด และโครงการบ้าบัดน้​้าด้วย น้​้าท่วม วิธีธรรมชาติ - แหล่งน้​้ามีการเจือปนของ สารเคมีที่ใช้ในการเกษตร - แหล่งน้​้ามีการเจือปนของ - อนุรักษ์พื้นที่เกษตรกรรม สารเคมีที่ใช้ในการเกษตร - เพิม่ กิจกรรมพักผ่อนของ ชุมชนและส่งเสริมการ ท่องเที่ยวเชิงเกษตร - ฟื้นฟูระบบนิเวศริมน้​้า และโครงการบ้าบัดน้​้าด้วย วิธีธรรมชาติ - มีการขยายตัวรุกล้​้าพื้นที่ - เพิ่มพื้นที่สีเขียวภายใน เกษตรกรรม ย่านพาณิชยกรรม - มีมลพิษต่ออากาศและน้​้า - ส่งเสริมการขายผลิตภัณฑ์ มีการทิ้งขยะ น้​้าเสีย ในบาง การเกษตรอินทรีย์ จุด - ชุมชนมีการขยายตัว รุก - การพัฒนาและจัดสรร ล้​้าพื้นที่เกษตรกรรม และ พื้นที่ท้ากิจกรรมต่างๆ พื้นที่ริมน้​้าในบางจุด - ส่งเสริมการพัฒนาและ - มีมลพิษต่ออากาศและน้​้า บ้าบัดแหล่งน้​้า มีปล่อยน้​้าเสีย ในบางจุด และการเผาขยะ

ตารางที่ 11 ศักยภาพและข้อจ้ากัดของพื้นที่โครงการในแต่ละบริเวณ (ต่อ)


136

พื้นที่

ศักยภาพ

C พื้นที่การศึกษา

- เป็นพื้นที่ที่เข้าถึงง่าย - มีกิจกรรมที่หลากหลาย ทั้งด้านการศึกษา การอยู่ อาศัย การพักผ่อนและ นันทนาการ - ทางมหาวิทยาลัยมี งบประมาณสนับสนุนใน การพัฒนาพื้นที่

D 1 พื้นที่อนุรักษ์

- มีระบบนิเวศทีส่ มบูรณ์ พืชพรรณมีความ หลากหลาย - มีความเป็นส่วนตัว - มีทัศนียภาพที่สวยงาม

D 2 พื้นที่ปุาไม้

- เป็นปุาไม้ที่มีความอุดม สมบูรณ์ เป็นทรัพยากรที่ ทรงคุณค่า - มีความเชื่อมโยงกับปุาขุน แม่กวงซึ่งเป็นปุาสงวน แห่งชาติ และ ชุมชนบ้าน โปง

ที่มา: จากการสังเคราะห์ข้อมูล, 2559

ข้อจากัด

ความเป็นไปได้ในการ พัฒนา - ฟื้นฟูระบบนิเวศริมน้​้า - พัฒนาเป็นพื้นที่ นันทนาการเพื่อการเรียนรู้ ระบบนิเวศริมน้​้า และพื้นที่ พักผ่อนหย่อนใจ

- มีอาคารหนาแน่น พื้นที่ โล่งส้าหรับท้ากิจกรรมไม่ มากนัก - พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้รกร้าง ขาดการดูแลรักษา - เนื่องจากการขยายตัวของ มหาวิทยาลัยจึงมีแนวโน้มที่ จะมีการสร้างอาคารเพิ่ม มากขึ้น ท้าให้พื้นที่สีเขียว ลดลงในอนาคต - เป็นพื้นที่ลาดชัน - จัดเป็นพื้นที่อนุรักษ์ - การเข้าถึงท้าได้ยาก สิง่ แวดล้อม - สามารถพัฒนาพื้นที่ บางส่วน ส้าหรับการศึกษา ด้านธรรมชาติควบคูไ่ ปกับ การนันทนาการได้ - ติดกับชุมชน มีความเสี่ยง - จัดเป็นพื้นที่อนุรักษ์ปุาไม้ ที่จะเกิดการรุกล้า้ พื้นที่ - ส่งเสริมกิจกรรมให้ สอดคล้องกับการอนุรักษ์ และการอยู่กับธรรมชาติ


137

4.7 แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนา พื้นที่ริมน้าห้วยโจ้ แนวทางการอนุรั กษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาพื้นที่ริมน้​้าห้ วยโจ้ มีที่มาจากผลของการวิเคราะห์และ สังเคราะห์พื้นทีโ่ ครงการ ดังที่ได้เสนอมาแล้วในหัวข้อ 4.1-6 โดยเน้นที่ 1) ผลของการวิเคราะห์ข้อมูลจาก แบบสอบถามของผู้ใช้พื้นที่โครงการ ในหัวข้อ 4.5 ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความต้องการของสมาชิกในชุมชนที่ อยากให้มีการปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ริมน้​้าให้สวยงามร่มรื่น การจัดให้เป็นพื้นที่นันทนาการและพักผ่อน หย่อนใจของคนในชุมชน และการฟื้นฟูระบบนิเวศริมน้​้าและในน้​้าให้เหมาะสม และ 2) ผลของการ สังเคราะห์พื้นที่โครงการ ดังแสดงในหัวข้อ 4.6 ซึ่งมีข้อสรุปว่าพื้นที่บริเวณต่างๆนั้นมีลักษณะอย่างไร มี ศักยภาพและข้อจ้ากัดในด้านไหนบ้าง และมีความเป็นไปได้ในการพัฒนาอย่างไร จากนั้นจึงพิจารณาว่า พื้นที่เหล่านั้น พื้นที่ไหนที่เหมาะสมที่จ ะเป็นพื้นที่อนุรักษ์หรือฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ และพื้นที่ใด เหมาะที่จะน้ามาพัฒนาให้เป็นพื้น ที่นันทนาการและพักผ่อนหย่อนใจ และการปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ ริมน้​้า ทั้งในพื้นที่อนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนานั้นมีแนวทางที่เป็นไปได้อย่างไรบ้าง 4.7.1 แนวทางการอนุรักษ์ระบบนิเวศริมน้​้า พื้นที่ที่เหมาะสมส้ าหรับการอนุรักษ์ระบบนิเวศริมน้​้า ได้แก่ พื้นที่ภ ายในปุาบ้านโปง (พื้นที่โซน D 1 และ D 2) แนวทางการอนุรักษ์ ได้แก่ 4.7.1.1 ก้าหนดขอบเขตของพื้นที่อนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมให้ชัดเจน ประชาสัมพันธ์ให้ สาธารณะชนรับทราบ 4.7.1.2 ส่งเสริมกิจกรรมให้สอดคล้องกับการอนุรักษ์และการอยู่กับธรรมชาติ โดย สามารถพัฒนาพื้นที่บางส่วน ส้าหรับการศึกษาด้านธรรมชาติควบคู่ไปกับการนันทนาการได้ เช่น กิจกรรม นันทนาการแบบไม่ออกเหงื่อ (Passive Activities) กิจกรรมปลูกจิตส้านึกในการอนุรักษ์ธรรมชาติ กิจกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เป็นต้น 4.7.2 แนวทางการฟื้นฟูระบบนิเวศริมน้​้า พื้นที่ที่เหมาะสมส้าหรับการฟื้นฟูระบบนิเวศริมน้​้า ได้แก่ พื้นที่ริมน้​้าที่ถูกบุกรุก รบกวน จากกิจ กรรมต่ างๆ ท้าให้ เกิ ดความเสื่ อมโทรมของพื้นที่ เช่น พื้นที่ การศึกษา พื้นที่ชุ มชน และพื้น ที่ พาณิชยกรรม (พื้นที่โซน A 1 A 2 B 1 B 2 และ C) การฟื้นฟูระบบนิเวศริมน้​้าสามารถด้าเนินการควบคู่ ไปกับการพัฒนาพื้นที่ริมน้​้าเพื่อให้เหมาะสมกับการท้ากิจกรรมอื่นๆได้ แนวทางการฟื้นฟูระบบนิเวศริมน้​้า ได้แก่ 4.7.2.1 เพิ่มปริมาณกักเก็บน้​้า เพื่อให้น้าในล้าน้​้าห้วยโจ้มีปริมาณเพิ่มมากขึ้น 4.7.2.2 ฟื้นฟูคุณภาพน้​้าในแหล่งน้​้า ลดการปล่อยน้​้าเสียจากสถานประกอบการณ์และ ครัวเรือนลงในล้าน้​้า 4.7.2.3 ขุดลอกแหล่งน้​้าในบริเวณที่ตื้นเขิน ก้าจัดวัชพืชทั้งในน้​้า และบนฝั่ง


138

4.7.2.4 ปลูกพืชคลุมดินบริเวณริมตลิ่งที่มีความลาดชันสูง เพื่อปูองกันการพังทลายของ หน้าดิน 4.7.2.5 ส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการฟื้นฟูระบบนิเวศริมน้​้า เพื่อให้เกิด ความยั่งยืน 4.7.3 แนวทางการพัฒนาพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ 4.7.3.1 ก้าหนดขอบเขตของพื้นที่พัฒนาสภาพแวดล้อมให้ชัดเจน ประชาสัมพันธ์ให้ สาธารณะชนรับทราบ รับความความคิดเห็นจากคนในพื้นที่โครงการ และผู้ใช้พื้นที่ 4.7.3.2 ก้าหนดวัตถุประสงค์ในการพัฒนาพื้นที่ในแต่ละบริเวณ ให้เหมาะสมกับความ ต้องการในการใช้พื้นที่ของคนในชุมชน เช่น พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจและนันทนาการ พื้นที่เกษตรกรรม ขนาดเล็ก พื้นที่ธรรมชาติ เป็นต้น 4.7.3.3 ปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งเอาไว้ โดย ลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อมให้เหลือน้อยที่สุด 4.7.3.4 ส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในทุกๆขั้นตอนของการพัฒนา ไปจนถึ งการดูแล รักษาพื้นที่ เพื่อให้เกิดความยั่งยืน 4.7.4 โครงการตัวอย่างการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ 4.7.4.1 การปรับปรุงพื้นที่ริมอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ เพื่อเป็นพื้นที่ส้าหรับกิจกรรมพักผ่อน และนันทนาการแบบไม่ออกเหงื่อ เช่น กิจกรรมตกปลา (ในบางฤดูกาล) กิจกรรมชมดาว กิจกรรมนั่งเล่น ชมทัศนียภาพ เป็นต้น พื้นที่บริเวณโดยรอบอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ เป็นพื้นที่ที่มีทัศนียภาพที่สวยงามของปุา เขาที่รายล้อม เป็นสถานที่ที่มีคนมาพักผ่อน ปั่นจักรยาน วิ่งออกก้าลังกาย และตกปลา อยู่เดิม แต่สิ่ง อ้านวยความสะดวกเดิม เริ่มช้ารุดทรุดโทรม ไม่พอเพียง และไม่สวยงาม

ภาพที่ 74 ทัศนียภาพโดยทั่วไปบริเวณอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ มีความสวยงามมาก


139

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พนื้ ที่ริมน้า้ ห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 40 แผนผังแม่บทการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่ริมอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ ที่มา: จากการออกแบบ จัดท้าแผนผังโดย ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ -


140

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พนื้ ที่ริมน้า้ ห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 41 แผนผังรายละเอียดการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณศาลาชมวิว ที่มา: จากการออกแบบ จัดท้าแผนผังโดย ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ -

ภาพที่ 75 ทัศนียภาพในปัจจุบัน บริเวณศาลาชมวิวริมอ่างเก็บน้​้า


141

ภาพที่ 76 การปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณปูายโครงการอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้

ภาพที่ 77 การปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณเหนือเขื่อน อ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้


142

ภาพที่ 78 การปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณศาลาชมวิว อ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้

ภาพที่ 79 ทัศนียภาพบริเวณด้านหน้าศาลาชมวิว สังเกตจะมีจุดจอดจักรยาน


143

ภาพที่ 80 ทัศนียภาพ บริเวณศาลาชมวิว

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พนื้ ที่ริมน้า้ ห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 42 แผนผังรายละเอียดการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่ริมอ่างเก็บน้า้ ห้วยโจ้ ที่มา: จากการออกแบบ จัดท้าแผนผังโดย ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ -


144

ภาพที่ 81 เสริมทางเท้าบริเวณริมอ่างเก็บน้​้า เพื่อกิจกรรมเดินเล่น และวิ่งออกก้าลังกาย

ภาพที่ 82 ทัศนียภาพบริเวณสะพานท่าน้​้าส้าหรับกิจกรรมชมวิว พักผ่อนหย่อนใจ และตกปลา


145

4.7.4.2 การปรับปรุงพื้นที่ใต้อ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ (บริเวณค่ายลูกเสือแทนคุณ) เพื่อเป็น พื้นที่ส้าหรับกิจกรรมนันทนาการเพื่อการเรียนรู้ระบบนิเวศ ได้แก่ ค่ายเยาวชนอนุรักษ์ปุาไม้ ลานรอบกอง ไฟ กิจกรรมศึกษาธรรมชาติ ฐานเรียนรู้ระบบนิเวศในพื้นที่ต่างๆ เช่น ริมน้​้า บนสะพานชมเรือนยอดไม้ เป็นต้น ส้าหรับสภาพพื้นที่บริเวณค่ายลูกเสือแทนคุณเดิมนั้น มีสภาพปุาปลูกที่อุดมสมบูรณ์ พรรณไม้ที่พบ ในพื้นที่ ได้แก่ ประดู หว้า เต็ง ตะแบก มะม่วงปุา สิ่งปลูกสร้างส้าหรับให้บริการภายในค่ายลูกเสือเป็น โครงสร้างไม้ มีลักษณะเป็นโครงสร้างชั่วคราว มีความช้ารุดทรุดโทรม เนื่องจากสร้างมาไม่ต่้ากว่า 20 ปี

ภาพที่ 83 สภาพพื้นที่ในปัจจุบันของพื้นที่ใต้อ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ (บริเวณค่ายลูกเสือแทนคุณ) แนวความคิดหลักในการปรับปรุงค่ายลูกเสือแทนคุณ คือการเน้นกิจกรรมในท้าการฝึกอบรม เยาวชนเกี่ยวกับการอนุรั กษ์ทรัพยากรธรรมชาติ จากเดิมที่เป็นกิจกรรมของค่ายลูกเสือธรรมดาทั่วไป เนื่องจากบริบทของพื้นที่ที่อยู่ท่ามกลางผืนปุาอนุรักษ์บ้านโปง เพื่อปลูกฝังทัศนคติ ให้คนรุ่นใหม่ได้หันมา สนใจและเห็นความส้าคัญของการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทรัพยากรปุาไม้ ภายใน พื้นที่จัดให้เป็นสถานที่ตั้งค่ายพักแรมส้าหรับเยาวชนทั่วไป ตลอดจนกลุ่ม ลูกเสือและเนตรนารี มีอาคาร ศูนย์เรียนรู้ทางธรรมชาติ อาคารเอนกประสงค์ อาคารโรงอาหารและโรงครัว หอสังเกตการณ์ ทางเดิน ศึกษาธรรมชาติและปูายสื่อความหมาย สะพานทางเดินชมเรือนยอดไม้ สะพานเชือก และสะพานแขวน ส้าหรับฝึกการทรงตัว


146

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พนื้ ที่ริมน้า้ ห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 43 แผนผังการปรับปรุงภูมิทัศน์ค่ายเยาวชนอนุรักษ์ปุาไม้ ที่มา: จากการออกแบบ จัดท้าแผนผังโดย ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ -


147

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พนื้ ที่ริมน้า้ ห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 44 แผนผังรายละเอียดการวางผังภูมิทัศน์บริเวณกลุ่มอาคารบริการ ที่มา: จากการออกแบบ จัดท้าแผนผังโดย ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ -

ภาพที่ 84 ทัศนียภาพบริเวณทางเข้าค่ายเยาวชนอนุรักษ์ปุาไม้ (ค่ายลูกเสือแทนคุณเดิม)


148

ภาพที่ 85 ทัศนียภาพบริเวณด้านหน้ากลุ่มอาคารบริการ

ภาพที่ 86 ทัศนียภาพบริเวณลานรวมพล


149

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พนื้ ที่ริมน้า้ ห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 45 แผนผังรายละเอียดการวางผังภูมิทัศน์บริเวณลานกางเต้นท์และทางเดินศึกษา ธรรมชาติ ที่มา: จากการออกแบบ จัดท้าแผนผังโดย ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ -

ภาพที่ 87 ทัศนียภาพบริเวณลานกางเต้นท์มองไปยังอาคารเอนกประสงค์


150

ภาพที่ 88 ทัศนียภาพบริเวณลานกางเต้นท์มองไปยังหอสังเกตการณ์

ภาพที่ 89 ทัศนียภาพบริเวณลานกางเต้นท์ในยามค่้าคืน


151

ภาพที่ 90 ทัศนียภาพมุมสูงบริเวณลานกางเต้นท์

ภาพที่ 91 ทัศนียภาพบริเวณปูายสื่อความหมายและสะพานแขวน


152

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้า้ ห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 46 แผนผังรายละเอียดการวางผังภูมิทัศน์บริเวณทางเดินชมเรือนยอดไม้ ที่มา: จากการออกแบบ จัดท้าแผนผังโดย ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ -

ภาพที่ 92 ทัศนียภาพบริเวณจุดขึ้นลงทางเดินชมเรือนยอดไม้


153

ภาพที่ 93 ปูายสื่อความหมายบนทางเดินชมเรือนยอดไม้

ภาพที่ 94 มุมมองจากทางเดินชมเรือนยอดไม้ไปยังสะพานเชือก

4.7.4.3 การปรับปรุงพื้นที่บริเวณริมล้าน้​้าห้วยโจ้ภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ล้าน้​้าห้วยโจ้ ไหลผ่านมหาวิทยาลัยแม่โจ้โดยผ่านบริเวณบ้ านพักอาจารย์ หอพักนักศึกษา สวนสุขภาพบุญศรีเฉลิมพระ เกียรติ สวนปุา


154

ในปัจจุบันพื้นที่ริมล้าน้​้าห้วยโจ้มีสภาพเป็นปุารกร้าง เข้าถึงได้ยาก พื้นที่ต่างๆที่ล้าน้​้า ห้วยโจ้ไหลผ่าน มีการใช้พื้นงานเดิมอยู่แล้วแต่มีความช้ารุดทรุดโทรมไม่สวยงาม ยกตัวอย่างเช่น บริเวณ หอพักนักศึกษา ขาดพื้นที่พักผ่อนริมน้​้า บริเวณนั่งพักผ่อนขาดการดูแลรักษา ร้านค้าร้านอาหารภายนอก โรงอาหารเก่าและล้าสมัย บริเวณสวนสุขภาพ มีความเสื่อมโทรมอย่างมาก ทางเท้าไม่ชัดเจน อุปกรณ์ออก ก้าลังกายไม่มีมาตรฐาน ลานอเนกประสงค์มีสภาพไม่เหมาะสมในการใช้งาน ศาลาริมน้​้าเก่าและผุ พังไม่ สามารถใช้งานได้ เป็นต้น แนวความคิดหลักในการปรับปรุง ในพื้นที่บริเวณหอพักนักศึกษา ควรจัดพื้นที่พักผ่อน ริมน้​้าให้ชัดเจน เข้าไปใช้งานได้ง่าย มีทัศนียภาพที่สวยงาม ปูพื้นผิวบริเวณที่นั่งเพื่อความเป็นระเบียบ เรียบร้อยสะอาดและง่ายต่อการเข้าใช้ บริเวณร้านค้าร้ านอาหารภายนอกโรงอาหาร ท้าการปรับปรุงให้มี ความทันสมัยมากขึ้น ทั้งปูายสื่อความหมาย สี ความสะอาด ความสะดวกในการเข้าใช้บริการ บริเวณ ด้านหน้าโรงอาหาร ปรับปรุงม้านั่งใหม่โดยจัดไว้โดยรอบต้นไม้ที่ปลูกไว้อย่างเป็นระเบียบด้านหน้า ส่ วนใน สวนสุขภาพบุญศรีเฉลิมพระเกียรติ ท้าการปรับปรุงทางเท้า โดยปูผิวทางเท้าใหม่ ออกแบบเส้นทางให้มี การวนลู ป ง่ า ยต่ อ การใช้ ส อย เพิ่ ม จุ ด หมายตา ได้ แ ก่ ส วนน้​้ า พุ ซึ่ ง ปลู ก ไม้ ด อกไม้ ป ระดั บ ที่ ส วยงาม ปรับเปลี่ยนมานั่งพักผ่อนหย่อนใจให้สวยงาม เป็นระเบียบ น่าใช้ บริเวณริมน้​้าท้าการปลูกไม้คลุมดิน เช่น ถั่วบราซิล ซึ่งนอกจากจะช่วยปูองกันการพังทลายของดินแล้ว ยังมีความสวยงามจากการให้ดอกอีกด้วย และท้าก้าแพงกันดินระดับต่้าบริเวณริมล้าน้​้าโดยตลอด

ภาพที่ 95 พื้นที่บริเวณโดยรอบโรงอาหารและร้านค้า


155

ภาพที่ 96 อุปกรณ์ออกก้าลังกายภายในสวนสุขภาพ

ภาพที่ 97 ม้านั่งและศาลาพักผ่อนภายในสวนสุขภาพ


156

ภาพที่ 98 พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้บริเวณที่ไหลผ่านมหาวิทยาลัยแม่โจ้


157

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พนื้ ที่ริมน้า้ ห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 47 แผนผังแม่บทการปรับปรุงภูมิทัศน์พนื้ ที่ริมน้า้ ห้วยโจ้ บริเวณโรงอาหารและสวน สุขภาพ ภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ที่มา: จากการออกแบบ จัดท้าแผนผังโดย ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ -


158

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พนื้ ที่ริมน้า้ ห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 48 แผนผังแม่บทการปรับปรุงภูมิทัศน์ริมน้​้าห้วยโจ้ บริเวณร้านค้า โรงอาหารเทิด กสิกร และหอพักนักศึกษา ที่มา: จากการออกแบบ จัดท้าแผนผังโดย ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ -


159

ภาพที่ 99 สวนพักผ่อนหย่อนใจริมน้​้าห้วยโจ้

ภาพที่ 100 พื้นที่นั่งพักผ่อนหย่อนใจริมน้​้าห้วยโจ้


160

ภาพที่ 101 ท่าน้​้าบริเวณหอพักนักศึกษา

ภาพที่ 102 ศาลาท่าน้​้าส้าหรับพักผ่อนหย่อนใจ


161

ภาพที่ 103 โรงจอดรถหลังคาพลังงานแสงอาทิตย์

ภาพที่ 104 ร้านค้าซึ่งได้รับการปรับปรุงให้มีความสวยงาม ทันสมัยมากขึ้น


162

ภาพที่ 105 บริเวณด้านข้างร้านค้าส่วนที่ติดกับสวนพักผ่อนหย่อนใจ

ภาพที่ 106 ม้านั่งรอบต้นไม้ด้านหน้าโรงอาหารเทิดกสิกร


163

แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พนื้ ที่ริมน้า้ ห้วยโจ้ อ. สันทราย. จ. เชียงใหม่ แผนที่ 49 แผนผังแม่บทการปรับปรุงภูมิทัศน์ บริเวณสวนสุขภาพบุญศรีเฉลิมพระเกียรติ ที่มา: จากการออกแบบ จัดท้าแผนผังโดย ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ -


164

ภาพที่ 107 เวทีแสดงอเนกประสงค์และที่จอดรถ

ภาพที่ 108 ทางเข้าสวนสุขภาพบุญศรีเฉลิมพระเกียรติ


165

ภาพที่ 109 สวนน้​้าพุภายในสวนสุขภาพ ปลูกไม้ดอกไม้ประดับสวยงาม

ภาพที่ 110 อุปกรณ์ออกก้าลังกายภายในสวนสุขภาพถูกจัดไว้เป็นกลุ่มสะดวกต่อการใช้


166

ภาพที่ 111 พื้นที่นั่งพักผ่อนหย่อนใจภายในสวนสุขภาพ

ภาพที่ 112 ศาลาริมน้​้าและท่าน้​้าได้รับการปรับปรุงใหม่


167

ภาพที่ 113 การปรับปรุงภูมิทัศน์ริมตลิ่งล้าน้​้าห้วยโจ้บริเวณที่ไหลผ่านมหาวิทยาลัยแม่โจ้


168

บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 5.1 ทีม่ า ประเด็นปัญหา และข้อมูลพื้นฐานของโครงการ ห้วยโจ้เป็นล้าน้​้าขนาดเล็ก ไหลผ่านพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางระบบนิเวศวิทยา เนื่องจากผ่าน พื้นที่ที่มีการใช้ประโยชน์ ที่ดินที่แตกต่างกัน ประกอบด้วย พื้นที่ปุาอนุรักษ์บ้านโปง พื้นที่รกร้าง พื้นที่ ชุมชน พื้นที่เกษตรกรรม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ซึ่งเป็นสถาบันการศึกษาขนาดใหญ่ พื้นที่พาณิชยกรรม และ พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ นอกจากนี้ห้วยโจ้ยังมีบทบาทส้าคัญในฐานะที่เป็นแหล่งต้นน้​้า ส่งน้​้าไปยังหลาย พื้ น ที่ โ ดยรอบ ในปั จ จุ บั น ล้ า ห้ ว ยโจ้ แ ละพื้ น ที่ โ ดยรอบประสบปั ญ หาในด้ า นต่ า งๆ เนื่ อ งจากความ เจริญเติบโตของชุมชนเมือง ท้าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินจากพื้นทีเกษตรกรรม ไปเป็น พื้นที่อยู่อาศัย ก่อให้เกิดปัญหาการรุกล้​้าพื้นที่ล้าน้​้าห้วยโจ้ การพังทลายของตลิ่ง สภาพแวดล้อมพื้นที่ริม ล้าน้​้าเสื่อมโทรม และปริมาณน้​้าไม่เพียงพอต่อการใช้งาน โครงการวิจัยเรื่อง “แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพ พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ อ. สันทราย. เชียงใหม่” เกิดขึ้นเพื่อศึกษา หาแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมต่อไปในอนาคตของพื้นที่ โดยท้าการศึกษาถึงปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อทางการ อนุ รั ก ษ์ ฟื้ น ฟู แ ละพั ฒ นาสภาพแวดล้ อ มทางกายภาพของพื้ น ที่ ริ ม ล้ า น้​้ า ห้ ว ยโจ้ น้ า ไปวิ เ คราะห์ แ ละ สังเคราะห์เพื่อหาศักยภาพและข้อจ้ากัดของพื้นที่ และน้า ข้อมูลดังกล่าวไปประยุกต์ใช้เพื่อหาแนวทางการ อนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพของพื้นที่ริมล้าน้​้าห้วยโจ้ ที่สอดคล้องกับระบบนิเวศ และชุมชนที่มีอยู่เดิม งานวิจัยชิ้นนี้จัดเป็นงานวิจัยเชิงปฏิบัติ (Action Research) มุ่งหาแนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาพื้นที่ริมน้​้าขนาดเล็ก และน้าความรู้นั้นไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติ โดยมีทิศทางการวิจัยที่ น้าไปสู่การจัดการพื้นที่ริมน้​้า อย่างยั่งยืน ส่งเสริมให้เกิดสิ่งแวดล้อมที่ดี แต่อย่างไรก็ดีหากจ้าแนกงานวิจัย โดยใช้จุ ดมุ่ งหมายของการวิจั ย เป็ น ฐานของการจ้ าแนก งานวิ จัย นี้ จัด ได้ ว่า เป็ นการวิ จัย เชิ งวิ นิจ ฉั ย (Diagnostic research) เนื่องจากเป็นการศึกษาปัจจัยต่างๆที่ส่งผลต่อคุณลักษณะของพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ เพื่อให้เข้าใจถึงสาเหตุของที่มาของศักยภาพและข้อจ้ากัดของพื้นที่ จะได้ให้ข้อเสนอแนะถึงแนวทางในการ อนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาต่อไปในอนาคต ประชากรในพื้นที่ศึกษา แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ประกอบด้วยประชาชนทั่วไป และนักศึกษาพร้อม ด้วยบุคลากรภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ใช้เทคนิคการเลือกตัวอย่างแบบผสมผสาน (MixedSampling) กล่าวคือ ใช้การสุ่มตัวอย่างแบ่งชั้น (Stratified Sampling) แบ่งกลุ่มระหว่างประชากรทั้ง 2 กลุ่ม คือ ประชาชนทั่วไป และนักศึกษาและบุคลากรที่อยู่ภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แล้วจึงสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) จากจ้านวนตัวอย่างตามสัดส่วนของจ้านวนครัวเรือนประชากรในแต่ละกลุ่ม เพื่อเป็นตัวแทนของประชากร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบสอบถาม แบบส้ารวจ และการ


169

สังเกตการณ์ ท้าการเก็บรวบรวมข้อมูล ทั้งข้อมูลทุติยภูมิ ซึ่งเป็นการรวบรวมจากเอกสาร หน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ข้อมูลจากแบบสอบถาม ข้อมูลจากการส้ารวจ โดยใช้การถ่ายภาพ เสก็ตช์ภาพ การจดบันทึก และการก้าหนดต้าแหน่งในผังพื้นฐาน (Base Map) และข้อมูลจากการสังเกตการณ์ภาคสนาม น้าข้อมูล ทั้งหมดมาวิเคราะห์ด้วยวิธีการที่เหมาะสม ประกอบด้วย การวิเคราะห์ปัจจัยต่างๆลงในผังพื้นฐาน (Base Map) การซ้อนทับแผนที่ (Overlay Mapping) การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณา (Descriptive Statistics) การใช้สถิติแบบร้อยละ (Percentage) และค่าเฉลี่ย (Mean) ในที่สุดแล้วจึงน้าผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้มาประมวลผลร่วมกัน เพื่อสรุปถึงผังพื้นที่แสดง ศักยภาพและข้อจ้ากัดในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ จากนั้นคัดเลือกพื้นที่ สาธิต ท้าการเสนอแนะแนวทางในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาทางด้านกายภาพของพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ ที่ สอดคล้องกับระบบนิเวศและความต้องการของชุมชน 5.2 ผลการวิจัย 5.2.1 ผลการศึกษาสภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานของพื้นที่โครงการ พื้นที่โครงการครอบคลุมบริเวณริมล้าน้​้าห้วยโจ้ซึ่งมีความยาวประมาณ 9 กิโลเมตร เรื่อง ของพื้นที่มีขนาดประมาณ 200 ถึง 500 เมตร พื้นที่โครงการมีความหลากหลายของการใช้ประโยชน์ที่ดิน เป็ นอย่างมากโดยล้ าน้​้ าจะไหลจากที่ตะวันออกเฉียงเหนือไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ผ่ านพื้นที่ปุาไม้ ชุมชน สถาบันการศึกษา พาณิชยกรรม และเกษตรกรรม บริเวณที่เป็นพื้นที่ปุาไม้นั้น มีความเป็นพื้นที่ที่มี ความลาดชันสูง ส่วนพื้นที่อื่นอื่นนั้นค่อนข้างเป็นพื้นที่ราบ การเข้าถึงพื้นที่โครงการท้าได้อย่างสะดวก เนื่ องจากมี ถนนแม่โ จ้ -พร้ า ว (ถนนทางหลวงแผ่ นดิน หมายเลข 1001) ตั ดผ่ านโครงการทางตอนใต้ นอกจากนี้ยังมีโครงข่ายถนนครอบคลุมทั่วทั้งโครงการเนื่ องจากมีความเจริญของชุมชนอย่างทั่วถึง แม้แต่ บริ เ วณพื้ น ที่ ที่ เ ป็ น ปุ า ไม้ ก็ ส ามารถเข้ า ถึ ง ได้ อ ย่ า งสะดวก และเนื่ อ งจากพื้ น ที่ โ ครงการเป็ น ที่ ตั้ ง ของ มหาวิทยาลัยในระดับภูมิภาค จึงเกิดความเจริญของชุมชนขึ้นโดยรอบพื้นที่ ด้วยเหตุนี้จึงมีสาธารณูปการ ครบครัน เช่น โรงเรียน ตลาด ธนาคาร สถานีต้ารวจ พื้นที่โครงการสามารถเชื่อมโยงกับพื้นที่ดังกล่าวได้ อย่างสะดวก ในภาพรวมแล้วพื้นที่นี้ถือว่าเป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายของระบบนิเวศทั้งพื้นที่ธรรมชาติ และชุมชนมนุษย์ และเป็นพื้นที่ที่เหมาะสมในการเป็นถิ่นที่อยู่อาศัยทั้งของมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ 5.2.2 ผลการส้ารวจและวิเคราะห์ปัจจัยทางธรรมชาติ พื้นที่โครงการส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบ มีความลาดชัน 0-5 % ยกเว้นในบริเวณพื้นที่พื้นที่ ปุาอนุรักษ์บ้านโปง ซึ่งมีความสูงไล่ระดับสูงขึ้นไปเรื่อยๆ ซึ่งภายในระยะ 2 กิโลเมตรจากอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ จะมีระดับความสูงอยู่ตั้งแต่ระดับ 400 เมตร ถึง 659 เมตรเหนือระดับน้​้าทะเลปานกลาง มีความลาดชัน ประมาณ 5-15 % เป็นที่ตั้งของอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ ซึ่งสามารถบรรจุน้าได้ถึง 1,250,000 ลูกบาศก์เมตร เป็นต้นก้าเนิดของห้วยโจ้ มีความส้าคัญในแจกจ่ายน้​้าเพื่อใช้ในการเกษตรแก่ฃุมชน น้​้าบาดาลภายในพี้นที่


170

เป็นน้​้าที่มีคุณภาพดี มีความลึกเฉลี่ยส่วนใหญ่อยู่ที่ 12-80 เมตร และทางทิศตะวันตกเฉียงใต้บริเวณปลาย น้​้า แหล่งน้​้าบาดาลจะลึกมากขึ้น คือมีความลึกประมาณ 20-250 ม.ปริมาณน้​้าที่คาดว่าจะพัฒนาได้ 010 ม3/ชม. ซึ่งถือว่ามีปริมาณน้​้าน้อย ไม่เพียงพอต่อการอุ ปโภคบริโภค โดยเฉพาะในฤดูแล้ง ยกเว้นใน พื้นที่ปลายน้​้าซึ่งมีปริมาณน้​้าที่คาดว่าจะพัฒนาได้ 10-20 ม3/ชม. ปริมาณน้​้าบาดาลส่งผลต่อปริมาณน้​้า ให้ห้วยโจ้ในหน้าแล้งอย่างมาก หากมีการใช้น้าบาดาลในปริมาณมาก ปริมาณน้​้าในห้วยโจ้ก็จะน้อยลง ดิน มีความหลากหลายทั้งดินเหนียว ดินร่วน และหินกรวด ส่วนใหญ่มีความอุดมสมบูรณ์ต่้า การไหลเวียนของ อากาศค่อนข้างดีในพื้นที่ที่เป็นพื้นที่ ปุา เกษตรกรรม และชุมชน ลักษณะพืชพันธุ์ที่พบในพื้นที่โครงการ แตกต่างกันไปตามการใช้ประโยชน์ที่ดินที่แตกต่างกัน ยกตัวอย่างดังนี้ ในปุาเต็งรัง จะมีเรือนยอด 3 ชั้น ยกตัวอย่าพืชพรรณ เช่น เหียง หรือพลวง หรือรัง ก่อ แพะ ก่อผัวะ ประดู่ แดง ตะคร้อ เกลื้อน ตะแบก ตับเต่าต้น มะขามปูอม ยอเถื่อนแสลงใจ ตุ่มกาขาว เหมือดโลด ครมเขา เป็นต้น พันธุ์ไม้พื้นล่าง หรือ พันธุ์ไม้คลุมดินที่พบ ได้แก่ เลา เพ็ค ถั่วผี หญ้าคา หญ้าขน และหญ้าหางหมาจิ้งจอก ฯลฯ ปุาไม้มีสภาพอุดมสมบูรณ์ดี พัน ธุ์ไม้ในพื้น ที่ส าธารณะ เช่น หญ้า เทียนทอง สน เข็ม ไผ่ พันธุ์ไม้ท้องถิ่น เช่น ไผ่ ชะอม บัว ข่า กระท้อน มะพร้าว เป็นต้น บริเวณที่เป็นชุมชน ปลูกไม้ผลภายในบ้าน เช่น มะม่วง ลิ้นจี่ ล้าไย ผสมผสานกับไม้ ดอกไม้ประดับ และไม้ให้ร่มเงาเช่น กระถิน มะพร้าว ไผ่เขียว ตะขบ เป็นต้น บริเวณพื้นที่เกษตรกรรม ปลูกข้าว หญ้าเลี้ยงสัตว์ สวนไม้ผล แปลงไม้ตัดดอก บริเวณมหาวิทยาลัยแม่โจ้และพื้นที่พาณิชยกรรมด้านหน้ามหาวิทยาลัย ปลูกพันธุ์ไม้ที่ หลากหลาย ทั้งไม้ยืนต้นให้ร่มเงา ไม้ดอกไม้ประดับต่างๆ เช่น จามจุรี กระถิน มะพร้าว ไผ่เขียว สนสามใบ อ้อ หญ้า บอน หารช้าง หารไก่ กล้วย เป็นต้น บริเวณพื้นที่ริมตลิ่ง ล้าห้วยโจ้ เป็นพื้นที่รกร้าง มีพื้นพันธุ์ปกคลุมอยู่อย่างหนาแน่น ทั้ง บัว บอน ไมยราพ หญ้า และวัชพืชอื่นๆ เป็นต้น 5.2.3 ผลการส้ารวจและวิเคราะห์ปัจจัยทางวัฒนธรรมและสิ่งที่มนุษย์สร้าง พื้นที่โครงการเดิมเป็นพื้นที่เกษตรกรรม เนื่องจากชาวบ้านมีอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก ต่อมา ลูกหลานไม่นิยมท้าการเกษตร หันไปท้างานด้านอื่นๆแทน ชาวบ้านซื้อขายที่ให้กับคนนอกพื้นที่ พื้นที่จึงถูกพัฒนาเป็นหอพัก อาคารพาณิช ย์ บ้านจัดสรร พื้นที่ให้เช่าเพื่อท้าการเกษตรกรรม กลุ่มผู้ใช้ ที่ ดิ น ภายในพื้ น ที่ ประกอบด้ ว ย พ่ อ ค้ า แม่ ค้ า ชาวบ้ า น เกษตรกร นั ก ศึ ก ษา และบุ ค ลากรภายใน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การใช้ประโยชน์ที่ดินภายในพื้นที่โครงการมีความหลากหลาย ประกอบด้วย พื้นที่ปุา ไม้ พื้นที่อยู่อาศัยหนาแน่นเบาบาง พื้นที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก พื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่สถาบันการศึกษา และพื้นที่พาณิชยกรรม ซึ่งท้าให้ลักษณะและประเภทของอาคารมีความหลากหลายด้วยเช่นเดียวกัน ตาม การใช้งาน ตั้งแต่ อาคารที่พักอาศัย ทั้งในลักษณะ ชั้นเดียว 2 ชั้น ใช้วัสดุ ไม้ คอนกรีต หรือผสมผสาน อาคารพาณิชยกรรม ทั้งในรูปแบบ ชั้นเดียว ไปจนถึง 4 ชั้น (บริเวณด้านหน้ามหาวิทยาลัย) อาคารขนาด


171

ใหญ่ เช่น อาคารเรียน อาคารหอพัก โรงอาหาร ส่วนใหญ่จะก่อสร้างด้วยคอนกรีต อาคารส่วนใหญ่มี รูปแบบเรียบง่าย ขาดเอกลักษณ์ ระบบสาธารณูปโภคในบริเวณพื้นที่โครงการจะเพียบพร้อมภายในพื้นที่ สถาบันการศึกษา (มหาวิทยาลัยแม่โจ้) ซึ่งมีระบบผลิตน้​้าประปาเองภายในโครงการ โดยใช้น้าจากคลอง ชลประทานแม่แฝก บริเวณพื้นที่พาณิชยกรรมริมถนนทางหลางแผ่นดิน ด้านหน้ามหาวิทยาลัยใช้น้าปะปา ของเทศบาลเมืองแม่โจ้ แต่ในพื้นที่ชุมชนต่างๆใช้น้าประปาชุม ชนซึ่งผลิตได้ในปริมาณน้อย ไม่เพียงพอ ตามบ้านมีการขุดบ่อบาดาล ซึ่งจะเกิดความขาดแคลนในฤดูแล้ง ถนนที่วิ่งผ่านพื้นที่โครงการมีตั้งแต่ถนน ทางหลวงแผ่นดินสาย 1001 ขนาดใหญ่ ถนนทางหลวงชนบท ขนาดกลาง และถนนซอยต่างๆ ซึ่งมีสภาพ ดี มีความสะดวกในการเดินทางเชื่อมโยงระหว่างพื้นที่โครงการและพื้นที่อื่นๆ ส้าหรับระบบสาธารณูปการ นับว่ามีทุกอย่างครบครันภายใน ระยะ 2 ก.ม. จากพื้นที่โครงการ ทั้ง ตลาด โรงพยาบาล สถานีต้ารวจ ธนาคาร ที่ท้าการเทศบาลเมือแม่โจ้ ที่ท้าการองค์การบริหารส่วนต้าบลปุาไผ่ และที่ท้าการองค์การบริหาร ส่วนต้าบลหนองหาร 5.2.4 ผลการส้ารวจและวิเคราะห์ปัจจัยทางสุนทรียภาพ ในพื้นที่บริเวณต้นน้​้า ภายในปุาบ้านโปง เป็นพื้นที่ที่โอบล้อมไปด้วยธรรมชาติเป็นส่วน ใหญ่ โดยมีพื้นที่เปิดโล่ง 2 บริเวณ คือบริเวณอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ซึ่งมีทัศนียภาพที่สวยงามที่สุดภายในพื้นที่ โครงการ และบริเวณศูนย์เรียนรู้การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ซึ่งตั้งอยู่ติดแหล่งน้​้า มุมมองค่อนข้างเปิด พื้นที่ เหล่ านี้ มีศักยภาพที่พัฒนาเป็ น แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติและนันทนาการได้ ส้าหรับพื้นที่กลางน้​้านั้น เนื่องจากมีความหลากหลายของการใช้ประโยชน์ที่ดิน จึงมีลักษณะของมุมมองที่หลากหลายตามไปด้วย ทั้งมุมมองแบบเปิดโล่งของพื้นที่เกษตรกรรม มุมมองแบบแนวน้าสายตาตามถนนภายในพื้นที่ชุมชน และ ภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งเรียงรายไปด้วยอาคารบ้านเรือน ร้านค้า หรือหอพักต่างๆ ส่วนพื้นที่ริมน้​้า ห้ ว ยโจ้ ส่ ว นใหญ่เป็ น มุมมองแบบปิ ดล้ อมด้ว ยพันธุ์ไ ม้ตามธรรมชาติ มีความรกร้าง ซึ่งควรได้รับการ ปรับปรุงพัฒนา 5.2.5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามผู้ใช้พื้นที่โครงการ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นชาวบ้านที่อาศัยอยู่ในเขตชุมชนบ้านโปุงเป็นจ้านวนถึง 33.7 เปอร์เซ็นต์ รองลงมาได้แก่ชาวบ้านในชุมชนบ้านแม่โจ้ จ้านวนร้อยละ 32 และนักศึกษาที่พ้านักอยู่ ในหอพักภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้เป็นจ้านวนร้อยละ 20.3 และอื่นๆ ร้อยละ 94.1 ของผู้ตอบแบบสอบถาม ใช้น้าประปาในครัวเรือนที่พักอาศัยหรือกิจการ ต่างๆ แหล่งน้​้าที่มีปริมาณผู้ใช้รองลงมาได้แก่น้าบาดาลคิดเป็นร้อยละ 25.7 ของผู้ตอบแบบสอบ ถาม ทั้งหมด ส้าหรับน้​้าจากล้าน้​้าห้วยโจ้มีผู้ใช้เป็นปริมาณน้อย คิดเป็นร้อยละ 3.3 เท่านั้น คนส่วนใหญ่ที่ตอบแบบสอบถามไม่เคยใช้น้าจากล้าน้​้าห้วยโจ้ในการใช้ประโยชน์ในที่อยู่ อาศัยหรือกิจการใดใดเลยคิดเป็นร้อยละ 44.9 รองลงมาได้แก่ การใช้ประโยชน์จากล้าน้​้าห้วยโจ้เฉพาะใน


172

ครัวเรือน ซึ่งมีผู้ตอบในข้ อนี้ร้อยละ 40 นอกจากนี้ยังมีผู้ที่ใช้น้าจากล้าน้​้าห้วยโจ้ในการท้าเกษตรกรรม จ้านวนร้อยละ 17.7 และใช้ในการประกอบกิจการอื่นๆอีกร้อยละ 4.2 ในเรื่องของการระบายน้​้าทิ้งผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่จ้านวนร้อยละ 55.9 มีการ ปล่อยน้​้าทิ้งลงท่อระบายน้​้าของเทศบาล รองลงมาได้แก่การปล่อ ยน้​้าทิ้งลงท่อระบายน้​้าและไหลซึมลง พื้นดินเป็นจ้านวนร้อยละ 30.1 นอกจากนี้ยังมีการปล่อยน้​้าทิ้งลงพื้นดินโดยตรงเป็นจ้านวนร้อยละ 21.3 และปล่อยลงล้าห้วยโจ้เป็นจ้านวนร้อยละ 10.3 คนส่วนใหญ่ร้อยละ 49.8 เห็นว่าคุณภาพของน้​้าในล้าน้​้าห้วยโจ้บริเวณใกล้เคียงกับที่พัก อาศัยและกิจการของเขานั้นมีคุณภาพปานกลาง มีตะกอนขุ่น ผู้คนอีกร้อยละ 45.1 เห็นว่าคุณภาพของน้​้า ในล้าน้​้าห้วยโจ้ใกล้เคียงกับที่เขาอยู่อาศัยนั้น มีคุณภาพดีค่อนข้างใสไม่มีกลิ่นเหม็น และมีคนเพียงร้อยละ 4 เท่านั้น ซึ่งมีความเห็นว่าน้​้าในล้าน้​้าห้วยโจ้ ในบริเวณใกล้เคียงกับพื้นที่ที่ เขาอยู่นั้นเป็นน้​้าเน่าเสียสีด้า คล้​้าและมีกลิ่นเหม็น ดังนั้นจึงสามารถสรุปได้ว่าน้​้าในล้าน้​้าห้วยโจ้มีคุณภาพดีถึงปานกลาง มีผู้ตอบแบบสอบถามถึงร้อยละ 68.5 ที่ไม่เคยใช้พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ในการท้ากิจกรรมใดๆ เลย ในขณะที่ผู้ที่เคยใช้พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ท้ากิจกรรมนั้นมีปริ มาณร้อยละ 31.5 ส้าหรับกิจกรรมที่มีผู้นิยม ท้าบริเวณพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ 3 อันดับแรก ได้แก่ การเดินเล่น คิดเป็นร้อยละ 37 การนั่งพักผ่อนหย่อนใจ ร้อยละ 32.6 และการปลูกพืชผลทางการเกษตร ร้อยละ 25 ปัญหาการใช้พื้นที่ที่พบมากที่สุดได้แก่ปัญหาสภาพภูมิทัศน์ที่ไม่สวยงามมีหญ้ารกคิดเป็น กับความรุนแรงของปัญหา 3.52 ที่เหลือนอกนั้นนับว่ามีระดับความรุนแรงอยู่ในระดับปานกลางทั้งสิ้น ซึ่ง ปัญหารองลงมาได้แก่ปัญหาพื้นที่เสื่อมโทรมถูกปล่อยทิ้งร้างไม่มีการใช้งาน มีระดับความรุนแรงของปัญหา อยู่ในระดับ 3.35 ปัญหาน้​้าท่วมขังพื้นที่ในฤดูฝนอยู่ ในระดับ 3.10 และปัญหาล้าน้​้าตื้นเขินน้​้าน้อยอยู่ใน ระดับ 3.05 ส้ า หรั บ ปั ญ หาที่มีร ะดับ ความรุนแรงน้อยที่สุ ด เมื่อเที ยบกับปัญ หาอื่นๆได้แก่ปัญ หาเรื่อ ง คุณภาพของน้​้า น้​้าเน่าส่งกลิ่นเหม็น ปลาตาย เกิดมลภาวะ อยู่ในระดับ 2.70 จากการวิเคราะห์แบบสอบถาม สามารถเรียงล้าดับแนวทางในการจัดการที่มีผู้ผู้ตอบ แบบสอบถามให้ความส้าคัญจากมากไปน้อยได้ดังนี้ ล้าดับที่ 1 ได้แก่การปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ริมน้​้าให้ สวยงามร่มรื่นอยู่ในระดับ 3.99 ล้าดับที่ 2 การจัดให้เป็นพื้นที่นันทนาการและพักผ่อนหย่อนใจของคนใน ชุมชนอยู่ในระดับ 3.79 ล้าดับที่ 3 การฟื้นฟูระบบนิเวศริมน้​้าและในน้​้าให้เหมาะสมกับการเป็นที่อยู่ของ สัตว์ต่างๆอยู่ในระดับ 3.76 ล้าดับที่ 4 การก้าหนดแนวพื้นที่สาธารณะริมน้​้าให้ชัดเจนอยู่ในระดับ 3.71 ล้าดับที่ 5 การจัดให้เป็นพื้นที่เกษตรกรรมของชุมชนอยู่ในระดับ 3.6 5 ล้าดับที่ 6 การแก้ปัญหาน้​้าท่วมขัง พื้นที่ในฤดูฝนอยู่ในระดับ 3.63 ล้าดับที่ 7 การปรับปรุงระบบบ้าบัดน้​้าเสียในครัวเรือนอยู่ในระดับ 3.62 ล้าดับที่ 8 การจัดให้มีพื้นที่ส้าหรับกิจกรรมวัฒนธรรมประเพณีของชุมชนอยู่ในระดับ 3.58 ล้าดับที่ 9 การแก้ปัญหาการพังทลายของริมตลิ่งอยู่ในระดับ 3.57 และล้าดับที่ 10 การขุดลอกล้าน้​้าแก้ปัญหาล้าน้​้า ตื้นเขินอยู่ในระดับ 3.54


173

5.2.6 ผลการสังเคราะห์ข้อมูลพื้นที่โครงการ จากการซ้อนทับแผนที่ (overlay Mapping) และรวมค่าคะแนนของคุณค่าของปัจจัยที่มี ผลต่อศักยภาพในการใช้ประโยชน์พื้นที่ เมื่อน้ามาสังเคราะห์จะสามารถแบ่งพื้นที่ออกเป็นโชนย่อยๆ ที่มี ศักยภาพและข้อจ้ากัดที่มีความแตกต่างกัน ดังนี้ 5.2.6.1 พื้นที่เกษตรกรรม (นาข้าวและสวนผลไม้) เป็นพื้นที่สีเขียว มีมุมมองที่เปิดกว้าง มีความเสี่ยงต่อการเกิดน้​้าท่วมขัง ควรอนุรักษ์พื้นที่เกษตรกรรมไว้คงเดิม เพิ่มกิจกรรมพักผ่อนของชุมชน และฟื้นฟูระบบนิเวศริมน้​้าและโครงการบ้าบัดน้​้าด้วยวิธีธรรมชาติ ควรมีการก้าหนดในเรื่องการน้าน้​้ามาใช้ การกักเก็บน้​้า และการปล่อยน้​้าลงล้าห้วย 5.2.6.2 พื้นที่อยู่อาศัยและพาณิชยกรรม เป็นย่านการค้าที่มีอยู่เดิม สามารถเข้าถึงได้ สะดวก มีการขยายตัวรุกล้​้าพื้นที่เกษตรกรรม มีมลพิษต่ออากาศและน้​้า มีการทิ้งขยะ น้​้าเสีย ในบางจุด ควรเพิ่มพื้นที่สีเขียวภายในย่านพาณิชยกรรม ส่งเสริมการขายผลิตภัณฑ์การเกษตรอินทรีย์ ควรส่งเสริมให้ มีระบบบ้าบัดน้​้าเสีย ก่อนปล่อยน้​้าที่ผ่านการอุปโภคบริโภคลงในล้าน้​้าห้วยโจ้ ควบคุมการจัดการเรื่องขยะ อย่างถูกวิธีเพื่อไม่ให้มีการทิ้งขยะลงสู่แหล่งน้​้า และรณรงค์ให้คนในชุมชนตระหนักถึงความส้าคัญของล้า น้​้าห้วยโจ้ 5.2.6.3 พื้น ที่ ชุม ชน เป็น ย่ านที่ อยู่ อ าศั ย ที่เ งี ยบสงบ มีกิ จ กรรมที่ ห ลากหลาย การ ขยายตัวรุกล้​้าพื้นที่เกษตรกรรม มีมลพิษต่ออากาศและน้​้า มีการทิ้งขยะ น้​้าเสีย ในบางจุด ควรมีการ พัฒ นาและจั ดสรรพื้น ที่ท้ากิจกรรมต่างๆ ประกอบด้ว ย พื้นที่พักผ่ อนหย่อนใจและนันทนาการ พื้นที่ เกษตรกรรมซึ่งมุ่งเน้นเกษตรอินทรีย์ การปรับปรุงภูมิทัศน์ริมล้าน้​้าเพื่อลดปัญหาการรกร้างของพื้นที่ริมน้​้า ในบางส่วน การปลูกพืชพรรณที่ช่วยลดการพังทลายของหน้าดิน รวมถึงส่งเสริมการพัฒนาและบ้าบั ด แหล่งน้​้า ตลอดจนควบคุมการจัดการเรื่องขยะอย่างถูกวิธี 5.2.6.4 พื้นที่สถาบันการศึกษา เป็นพื้นที่ที่เข้าถึงง่าย มีกิจกรรมที่หลากหลาย ทั้งด้าน การศึกษา การอยู่อาศัย การพักผ่อนและนันทนาการ มีอาคารหนาแน่น พื้นที่โล่งส้าหรับท้ากิจกรรมไม่ มากนั ก พื้ น ที่ ริ ม น้​้ า ห้ ว ยโจ้ ร กร้ า ง ขาดการดู แ ลรั ก ษา ควรฟื้ น ฟู ร ะบบนิ เ วศริ ม น้​้ า พั ฒ นาเป็ น พื้ น ที่ นันทนาการเพื่อการเรียนรู้ระบบนิเวศริมน้​้า และพื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ การปลูกพืชพรรณที่ช่วยลดการ พังทลายของหน้าดิน รวมถึงส่งเสริมการพัฒนาและบ้าบัดแหล่งน้​้า ตลอดจนควบคุมการจัดการเรื่องขยะ อย่างถูกวิธี เช่นเดียวกับพื้นที่ชุมชนและพื้นที่พาณิชยกรรม 5.2.6.5 พื้นที่อนุรักษ์ปุาไม้ มีระบบนิเวศที่สมบูรณ์ พืชพรรณมีความหลากหลาย เป็น พื้นที่ลาดชัน เข้าถึงยาก ส่วนพื้นที่ปุาไม้ที่อยู่ติดกับชุมชน มีความเสี่ยงที่จะถูกรุกล้​้าปุาไม้ ควรจัดเป็นพื้นที่ อนุรักษ์สิ่งแวดล้ อม โดยสามารถพัฒนาพื้นที่บางส่วน ส้าหรับการศึกษาด้านธรรมชาติควบคู่ไปกับการ นันทนาการได้


174

5.2.7 แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนา พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ การก้าหนดพื้นที่ในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนา พื้นที่ริมน้​้า ได้เป็นตามสมมติฐานที่ตั้ง ไว้ กล่าวคือ มีความต้องสอดคล้องกับศักยภาพและข้อจ้ากัดของพื้นที่ รวมทั้งวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และ ความต้องการในการท้ากิจกรรมของคนในชุมชน ซึ่งจะน้าไปสู่การอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืนระหว่างคนกับ พื้นที่ธรรมชาติประเภทแหล่งน้​้าขนาดเล็ก 5.2.7.1 แนวทางการอนุรักษ์ระบบนิเวศริมน้​้า พื้นที่ทเี่ หมาะสมส้าหรับการอนุรักษ์ระบบนิเวศริมน้​้า ได้แก่ พื้นที่ภายในปุาบ้าน โปง แนวทางการอนุรักษ์ ได้แก่ การก้าหนดขอบเขตของพื้นที่อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้ชัดเจน ประชาสัมพันธ์ ให้สาธารณะชนรับทราบ และการส่งเสริมกิจกรรมให้สอดคล้องกับการอนุรักษ์และการอยู่กับธรรมชาติ โดยสามารถพัฒนาพื้นที่บางส่วน ส้าหรับการศึกษาด้านธรรมชาติควบคู่ไปกับการนันทนาการได้ 5.2.7.2 แนวทางการฟื้นฟูระบบนิเวศริมน้​้า พื้นที่ที่เหมาะสมส้าหรับการฟื้นฟูระบบนิเวศริมน้​้า ได้แก่ พื้นที่ริมน้​้าที่ถูกบุกรุก รบกวนจากกิจกรรมต่างๆ ท้าให้เกิดความเสื่อมโทรมของพื้นที่ แนวทางการฟื้นฟูระบบนิเวศริมน้​้า ได้แก่ การเพิ่มปริมาณกักเก็บน้​้า โดยการสร้างฝายชะลอน้​้าขนาดเล็กระหว่างแนวล้าน้​้าห้วยโจ้ เพื่อให้น้าในล้าน้​้า ห้วยโจ้มีปริมาณเพิ่มมากขึ้น การฟื้นฟูคุณภาพน้​้าในแหล่งน้​้า ลดการปล่อยน้​้าเสียจากสถานประกอบ การณ์และครัวเรือนลงในล้าน้​้า การขุดลอกแหล่งน้​้าในบริเวณที่ตื้นเขิน ก้าจัดวัชพืชทั้งในน้​้า และบนฝั่ง การปลูกพืชคลุมดินที่เหมาะสมบริเวณริมตลิ่งที่มีความลาดชันสูง เพื่อปูองกันการพังทลายของหน้าดิน การการส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการฟื้นฟูระบบนิเวศริมน้​้า เพื่อให้เกิดความยั่งยืน 5.2.7.3 แนวทางการพัฒนาพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ สามารถท้าได้ดังนี้ ก้าหนดขอบเขตของพื้นที่พัฒนาสภาพแวดล้อมให้ชัดเจน ประชาสัมพันธ์ให้สาธารณะชนรับทราบ รับความความคิดเห็นจากคนในพื้นที่โครงการ และผู้ใช้พื้นที่ ก้านดแนวคิดหลั ก และด้าเนิ น การจั ดท้าผั งแม่บทการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพั ฒ นา พื้นที่ริมน้​้า ก้าหนด วัตถุประสงค์ในการพัฒนาพื้นที่ในแต่ละบริเวณ ให้เหมาะสมกับความต้องการในการใช้พื้นที่ของคนใน ชุมชน เช่น พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจและนันทนาการ พื้นที่เกษตรกรรมขนาดเล็ก พื้นที่ธรรมชาติ เป็นต้น ปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งเอาไว้ โดยลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับ สิ่งแวดล้อมให้เหลือน้อยที่สุด และการส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในทุกๆขั้นตอนของการพัฒนา ไปจนถึง การดูแลรักษาพื้นที่ เพื่อให้เกิดความยั่งยืน 5.2.7.4 โครงการตัวอย่างการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ จากผลการวิจัย ผู้วิจัยได้จัดท้าโครงการตัวอย่างการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนา พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ ดังนี้ 1) การปรับ ปรุงพื้นที่ริมอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ โดยจัด เป็นพื้นที่ส้าหรับกิจกรรม พักผ่อน และนันทนาการแบบไม่ออกเหงื่อ เช่น กิจกรรมตกปลา (ในบางฤดูกาล) กิจกรรมชมดาว กิจกรรม


175

นั่งเล่ น ชมทัศนี ย ภาพ เป็ น ต้น และพื้นที่ส้ าหรับกิจกรรมนันทนาการแบบออกเหงื่อ เช่น ทางวิ่ง ทาง จักรยาน เป็นต้น 2) การปรับปรุงพื้นที่ใต้อ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ (บริเวณค่ายลูกเสือแทนคุณ) เพื่อ เป็นพื้นที่ส้าหรับกิจกรรมนันทนาการเพื่อการเรียนรู้ระบบนิเวศ ได้แก่ ค่ ายเยาวชนอนุรักษ์ปุาไม้ ลานรอบ กองไฟ กิจกรรมศึกษาธรรมชาติ ฐานเรียนรู้ระบบนิเวศในพื้นที่ต่างๆ 3) การปรับปรุงพื้นที่บริเวณริมล้าน้​้าห้วยโจ้ภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ล้าน้​้า ห้วยโจ้ไหลผ่านมหาวิทยาลัยแม่โจ้โดยผ่านบริเวณบ้านพักอาจารย์ หอพักนักศึกษา สวนสุขภาพบุญศรี เฉลิมพระเกียรติ สวนปุา ควรจัดพื้นที่พักผ่อนริมน้​้าให้ชัดเจน เข้าไปใช้งานได้ง่าย มีทัศนียภาพที่สวยงาม ปูพื้นผิวบริเวณที่นั่งเพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยสะอาดและง่ายต่อการเข้าใช้ 5.3 การอภิปรายผล เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบลักษณะของพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ กับคุณลักษณะของภูมิทัศน์พื้นที่ริมน้​้าซึ่ง อธิบายโดย Hue (2009) จะพบว่าพื้นที่ภูมิทัศน์ริมน้​้าห้วยโจ้ มีคุณสมบัติหลายประการที่สอดคล้องและมี หลายประการที่มีค วามแตกต่างจากทฤษฎีดัง กล่ าว ทั้ งนี้เนื่องจากบริบ ทสภาพแวดล้ อมเฉพาะพื้น ที่ กล่ า วคื อ ในด้ า นที่ มี ค วามสอดคล้ อ งนั้ น ล้ า น้​้ า ห้ ว ยโจ้ มี ลั ก ษณะชี ว วิ ท ยาทางธรรมชาติ (Natural biological aspect) ที่ชัดเจน มีคุณลักษณะของความหลากหลาย (Diversity characteristic) ทั้งในทาง กายภาพ ทางนิ เวศวิทยา หรื อทางการใช้พื้นที่ ส่ ว นในด้านที่มีความแตกต่างหรือยังไม่ชัดเจน ได้แก่ ลักษณะความเป็นพื้นที่สาธารณะ (Public aspect) พื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้จัดเป็นพื้นที่สาธารณะที่มีคุณภาพ ต่้า การเข้าถึงพื้นที่ ริมน้​้าโดยตรงท้าได้ยาก พื้นที่มีความรกร้าง ขาดการใช้ประโยชน์ ซึ่งขัดแย้งกับผลการ วิเคราะห์ข้อมูลจากการตอบแบบสอบถาม ในเรื่องแนวทางในการจัดการที่มีผู้ผู้ ตอบแบบสอบถามให้ ความส้าคัญจากมากไปน้อยได้ดังนี้ ล้าดับที่ 1 ได้แก่การปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ริมน้​้าให้สวยงามร่มรื่นอยู่ ในระดับ 3.99 ล้าดับที่ 2 การจัดให้เป็นพื้นที่นันทนาการและพักผ่อนหย่อนใจของคนในชุมชนอยู่ในระดับ 3.79 นอกจากนี้ในด้านที่มีความแตกต่างหรือยังไม่ชัดเจนยังมีอีก 2 หัวข้ อซึ่งมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน คือลักษณะทางวัฒนธรรมเชิงประวัติศาสตร์ (Historical cultural aspect) และ คุณลักษณะเฉพาะตัว (Characteristic aspect) ซึ่งนับว่าพื้นที่โครงการยังไม่มีความเด่นชัดในเรื่องดังกล่าว ทั้งนี้เนื่องจากการ เปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินที่เกิดขึ้นในช่วง 20 ปีที่ผ่านมาท้าให้ลักษณะทางวัฒนธรรมที่เป็นชนบทเดิมอันเกิด จากพื้นที่เกษตรกรรม มีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นพื้นที่อยู่อาศัยมากขึ้น ดังนั้นในแนวทางการอนุรักษ์พัฒนา และฟื้นฟูภูมิทัศน์ริมน้​้าห้วยโจ้จึงต้องค้านึงถึงลักษณะทางวัฒนธรรมเชิงประวัติศาสตร์และคุณลักษณะ เฉพาะตัวดั้งเดิม อันเป็นลักษณะของพื้นที่เกษตรกรรมชนบท ซึ่งก้าลังลบเลือนไป ด้วยเหตุนี้นอกจากการ พัฒนาพื้นที่นันทนาการและพักผ่อนหย่อนใจส้าหรับคนในชุมชนและสถาบันศึกษาแล้ว การอนุรักษ์พื้นที่ ปุาไม้และเกษตรกรรมเดิมจึงเป็นเรื่องส้าคัญอีกด้วย


176

การเสนอแนวทางการอนุรัก ษ์ฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่ริมน้​้าห้วยโจ้ มีความสอดคล้องกับ แนวทาง สรรค์สร้างพื้นที่ภูมิทัศน์ริมน้​้าซึ่งมีคุณสมบัติที่ดี จากผลการศึกษาวิจัยของ ไดยัน ฮู (2552) กล่าวคือ 1) เป็นการสร้างสรรค์การใช้ประโยชน์พื้นที่ริมน้​้าที่หลากหลาย ทั้งพื้นที่อนุรักษ์ปุาไม้ พื้นที่เพื่ อการศึกษา ระบบนิเวศ พื้นที่เกษตรกรรม เป็นต้น 2) เป็นการพัฒนาการใช้ประโยชน์จากพื้นที่รกร้างว่างเปล่า ช่วย เสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชน 3) สร้างระบบเชื่อมโยงของพื้นที่เปิดโล่ง (Green Connector) ตลอดแนวล้าน้​้าห้วยโจ้ 4) ปรับปรุงทั้งในเรื่องทัศนียภาพ ประโยชน์ใช้สอยของพื้นที่ และการเข้าถึงของ พื้นที่เดิม และ 5) ปรับปรุงการเชื่อมโยงระหว่างพื้นที่ริมน้​้าและพื้นที่ชุมชนที่อยู่โดยรอบ อย่างไรก็ดีในการ ศึกษาวิจัยเรื่อง แนวทางการอนุรักษ์พัฒนาและฟื้นฟูพื้นที่ภูมิทัศน์ริมน้​้าห้วยโจ้ ได้เสนอคุณสมบัติที่ดีของ พื้นที่ภูมทิ ัศน์ริมน้​้าเพิ่มเติม นอกเหนือไปจากที่ข้อสรุปของไดยัน ฮู (2552) อีกด้วย คือ 6) การฟื้นฟูระบบ นิเวศภูมิทัศน์ริมน้​้าที่เหมาะสมกับการอยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตทั้งคน สัตว์ต่างๆ และพืชพรรณ 5.4 ปัญหาที่พบในการวิจัย 5.4.1 ปัญหาการประมาณการรายจ่ายในหมวดงบด้าเนิน การคลาดเคลื่อน ท้าให้ต้องท้าหนังสือ ขอเปลี่ยนแปลงหมวดงบด้าเนินการ โดยลดค่าใช้จ่ายในการจ้างเหมาลง และไปเพิ่มค่าใช้จ่ายในหมวดวัสดุ ซึ่งได้ด้าเนินการเสร็จสิ้นเรียบร้อยดี 5.4.2 ปัญหาเนื่องจากสภาพพื้นที่โครงการบางแห่งเป็นปุารกชัฏ ยากแก่การเข้าถึง ท้าให้ไม่ สามารถเข้าไปส้ารวจได้ในบางแห่ง อย่างไรก็ดี ในปัจจุบันนี้ มีเทคโนโลยีภาพถ่ายดาวเทียมของ Google Earth ที่สามารถช่วยแก้ปัญหาในการส้ารวจพื้นที่ได้ในบางส่วน ซึ่งหากจะแก้ปัญหาได้ดีอาจจะต้องใช้ เทคโนโลยีภาพถ่ายทางอากาศด้วยโดรน ซึ่งจะต้องมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม 5.5 ข้อเสนอแนะ 5.5.1 เนื่องจากงานวิจัยชิ้นนี้เป็นการน้าเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาในเชิงกายภาพ ดังนั้น ซอฟต์แวร์ คอมพิวเตอร์ ในที่มาช่วยในการออกแบบจึงมีความส้าคัญ ซึ่งผู้ที่ต้องการท้าวิจัยในแนวทาง ดัง กล่ า ว จะต้ องค้ า นึ ง ถึ งการจั ด เตรี ย มงบประมาณเพื่ อ จัด ซื้ อซอฟต์แ วร์ คอมพิว เตอร์ ที่ จ้า เป็ นอย่ า ง เหมาะสม 5.5.2 การวิจัยด้านการอนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่ภูมิทัศน์ริมน้​้าในประเทศไทยนับว่ายังมีไม่ มากนักผู้สนใจสามารถเลือกพื้นที่วิจัยที่มีลักษณะเด่นเฉพาะในด้านภูมิทัศน์วัฒนธรรมและท้าการศึกษา ค้นคว้าเพิ่มเติมตามความสนใจเฉพาะ จะได้ผลการวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาพื้นที่ภูมิทัศน์ริมน้​้าที่ สอดคล้องกับระบบนิเวศและภูมิทัศน์วัฒนธรรมสืบไป


177

บรรณานุกรม กรมพัฒนาที่ดิน. ม.ป.พ. “ระบบน้าเสนอแผนที่ชุดดิน” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://eis.ldd.go.th/lddeis/SoilView.aspx (30 ธันวาคม พ.ศ. 2558) กรมพัฒนาที่ดิน. ม.ป.พ. “ระบบตรวจสอบการใช้ประโยชน์ที่ดิน” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://eis.ldd.go.th/lddeis/PLM.aspx (30 ธันวาคม พ.ศ. 2558) กลุ่มงานฝึกอบรมการวิจัย. 2547. ตาราชุดฝึกอบรมหลักสูตร “นักวิจัย”. กรุงเทพ: ส้านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.). กองอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ และศิลปกรรม. (ม.ป.ป.) “นโยบายการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม แม่น้า คู คลอง”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www2.onep.go.th/ncecd/natural/river.html (8 กันยายน พ.ศ. 2556) จรัสพิมพ์ บุญญานันต์. 2547. แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียน ประถมศึกษาระดับ ท้องถิ่น กรณีศึกษา: โรงเรียนในเขตกิ่งอาเภอดอยหล่อ จ.เชียงใหม่. เชียงใหม่: ส้านักวิจัยและส่งเสริม วิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้. เจนจิรา มนตรีกุล ณ อยุธยา. 2553. “การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน กรณีศึกษา อ้าเภอสันทราย จังหวัด เชียงใหม่” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://library.cmu.ac.th/faculty/econ/Exer751409/2553/ Exer2553_no63 (15 ตุลาคม พ.ศ. 2558) ทิพวรรณ ทองอาจ และ อารยา ศานติสรร. 2549. บทบาทพื้นที่ว่างในชุมชนริมคลองแสนแสบ กรณีศึกษา ชุมชน ตลาดเก่ามีนบุรี กรุงเทพมหานคร. น. 441-448. ใน เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 44. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ไพศาล กาญจนวงศ์ และคณะ. 2552. “การจัดท้าฐานข้อมูลปราชญ์ท้องถิ่นทางการเกษตรของชุมชน โดยรอบ มหาวิทยาลัยแม่โจ้”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.tourism.mju.ac.th/ag_guru/ results.asp มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2547. โครงการจัดทาแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนา สภาพ แวดล้อมแม่น้าปิงและลาน้าสาขา. กรุงเทพมหานคร: ส้านักนโยบาย และแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม. ราชบัณฑิตยสถาน. 2549. พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน. ราชบัณฑิตยสถาน. 2546. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร : นาน มีบุ๊คส์พับลิ เคชั่นส์.


178

ระวี อินจินดา. 2542. การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมของชุมชนบ้าน โปง ตาบลปุาไผ่ อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการจัดการมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม). เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รุจี รอดชะ. 2541. แนวทางการพัฒนาพื้นที่ริมน้าเมืองนครสวรรค์. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. สาขาวิชา สถาปัตยกรรมศาสตร์ (การวางผังเมือง). กรุงเทพมหานคร: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ. 2558. สถิติภูมิอากาศเชียงใหม่: รายงานข้อมูลอุตุนิยมวิทยา [ระบบ ออนไลน์]. แหล่ง ที่มาhttp://www.cmmet.tmd.go.th/forcast/climate.xls (4 ตุลาคม พ.ศ. 2558) อ้าเภอสันทราย [ระบบออนไลน์]. โครงการฮักชุมชน. แหล่งที่มา https://hugchumchon.wordpress.com/พื้นที่ศึกษา/อ้าเภอสันทราย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้​้าและการเกษตร. 2554. “ลุม่ น้​้าปิง” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.haii.or.th/wiki/index.php/ลุ่มน้​้าปิง (15 ตุลาคม พ.ศ. 2558) สุรพล ด้ารงกิตติกุล และคณะ. 2552. การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จาก แหล่งอาหารในลุ่มน้าปิงเก่า จังหวัดลาพูน เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยนอร์ท เชียงใหม่. ส้านักควบคุมกิจการน้​้าบาดาล. ม.ป.พ. “แผนที่น้าบาดาล” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://gcl.dgr.go.th/Map_of_Groundwater.html (29 ธันวาคม พ.ศ. 2558) ส้านักงานจังหวัดเชียงใหม่. 2553. “ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ จังหวัดเชียงใหม่”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มาhttp://gis.chiangmai.go.th/index.php?name=infobase&themeID= 7&pid=55&District_ID=14 (14 ตุลาคม พ.ศ. 2558) ส้านักงานจังหวัดระนอง. 2553. “โครงการอ่างเก็บน้​้าห้วยโจ้ อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ." [ระบบ ออนไลน์]. แหล่งที่มา http:\www.ranongcities.com\ king\ index.php?cmd=project_king&cate=2&id=9 (19 สิงหาคม พ.ศ. 2556) ส้านักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด้าริ. 2553 “โครงการอ่าง เก็บน้​้า ห้วยโจ้อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ จังหวัดเชียงใหม่” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.rdpb.go.th/rdpb/visit2/100project/100project_51_1.html (25 ธันวาคม พ.ศ. 2558)


179

ส้านักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2546. “รายงานสรุปส้าหรับผู้บริการ. โครงการ จัดท้า แผนผังแม่บทการพัฒนาพื้นที่ถนนราชด้าเนินและพื้นที่เกี่ยวเนื่อง”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.nesdb.go.th/ specialWork/suvarnabhumi/e_documentSDO/e_doc%20-%20 document/MP_Ratchadamnoen%20Road% 20and%20Surrounding % 20Area/executive%20- %20RRSA%20-%20Thai.pdf (8 กันยายน พ.ศ. 2556) ส้านักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่. 2554. “ข้อมูลความจ้าเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน ระดับหมู่บ้าน (กชช.2ค)” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://chiangmai.cdd.go.th/jpt.html (16 ตุลาคม พ.ศ. 2558) ส้านักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงใหม่. 2554. อ้าเภอสันทราย [Internet]. ศูนย์บริการข้อมูลการค้าการลงทุน จังหวัด เชียงใหม่. แหล่งที่มา: http://tisc.feu.ac.th/content.aspx?file_upload_id=2378 (4 ตุลาคม พ.ศ. 2558) เอกรินทร์ สี่มหาศาล และคณะ. ม.ป.ป. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.5. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพ ฯ: อักษรเจริญทัศน์ Abu Dhabi Urban Planning Council. (n.d.). Abu Dhabi Public Realm Design Manual (Vol. 2007). Abu Dhabi. Chang, S. E. (2015). The Danshui River Cultural Ecosystem as the Amis Tribal Landscape: An Asian Green-grassroots Approach. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 170, 463-473. Hou, D., 2009. Urban Waterfront Landscape Planning. Karlskrona Master’s Thesis for European Spatial Planning and Regional Development, Blekinge Institute of Technology. Good, J. W., Goodwin, R. F., & Stambaugh, S. M. (1990). Waterfront revitalization for small cities. Corvallis, Or.: Extension Service, Oregon State University. Harlan, S. L., Yabiku, S. T., Larsen, L., & Brazel, A. J. (2009). Household water consumption in an arid city: Affluence, affordance, and attitudes. Society and Natural Resources, 22 (8), 691-709. Jan Gehl. 1987. Life between buildings: using public space. New York : Van Nostrand Reinhold Company. Latip, N. S. A., Shamsudin, S., & Liew, M. S. (2012). Functional Dimension at ‘Kuala Lumpur Waterfront’. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 49, 147-155.


180

Lifang, Q., Yichuan, Z., & Wei, C. (2008). Evaluation of urban river landscape design rationality based on AHP. 水科学与水工程, 1(4). Steiner, F., 1991. The Living Landscape: An Ecological Approach to Landscape Planning. New York: McGraw-Hill, Inc. Shaziman, S., Usman, I. M. S., & Tahir, M. (2010). Waterfront as public space: Case study Klang River between Masjid Jamek and Central Market, Kuala Lumpur. th WSEAS International Conference on Energy, Environment, Ecosystems and Sustainable Development (EEESD'2010) and 3 rd WSEAS International Conference on Landscape Architecture (LA'2010). Sirima Na Songkhla. (2008). Debating a “Green” city in rural landscape of Thailand. In Abstracts Oral and Poster Papers (Vol. 2008). Bangkok: Faculty of Forestry, Kasetsart University. Sirima Na Songkhla. (2008). Debating a “Green” city in rural landscape of Thailand. In FORTROP II International Conference Tropical Forestry Change in a Changing World, Kasetsart University, Bangkok, Thailand, November 17-20, 2008: Abstracts Oral and Poster Papers (Vol. 2008). Bangkok: Faculty of Forestry, Kasetsart University. Springuel, N., & Schmitt, C. (2007). Access to the Waterfront-Issues and Solutions Across the Nation. Maine Sea Grant Program. Sustainable Development Unit, EYE on the Aire, Natural England, British Waterways, Yorkshire Wildlife Trust, & The Environment Agency. (2006). Biodiversity and Waterfront Development (Supplementary Planning Document). Leeds: Leeds City Council. The Waterfronts Florida Partnership Program. (2007). Guiding The Way To Waterfront Revitalization : A Best Management Practices Series. Florida: Florida Department of Community Affairs. The Town and Village of Clayton. (2013). Town and Village of Clayton Local Waterfront Revitalization Program. New York. Weijia Shang. (2010). Role of Waterfront in Shaping City Center Landscape: Perception of Tianjin Haihe Riverfront Landscape (Master Thesis). The University of Hong Kong, The University of Hong Kong.




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.