นิยามศัพท์

Page 21

แบบแผนกำรสร้ำงพระรำชวัง ดำเนินไปเช่นเดียวกับพระบรมมหำรำชวังทุกประกำร เช่น มีกำรแบ่งเขตเป็นพระรำชฐำนชั้นนอก ชั้นกลำง และชั้นใน ล้อมรอบด้วยป้อมปรำกำร มี ประตูทำงเข้ำออกทั้ง ๔ ด้ำน รวมทั้งมีตำหนักแพ ที่ประทับริมน้ำ เช่นเดียวกับท่ำรำชวรดิฐของ วังหลวงทุกประกำร สิง่ ก่อสร้ำงในพระรำชวัง พระรำชวังนี้ เคยมีสิ่งก่อสร้ำงที่สำคัญหลำยหลัง เช่นเดียวกับ พระบรมมหำรำชวัง แต่เนื่องด้วยมีกำรเปลี่ยนแปลงกำรใช้สอยมำเป็นสถำนที่ รำชกำร อำคำรต่ำงๆ ที่ยังคงเหลืออยู่ในปัจจุบัน คงมีแต่พระรำชมณเฑียรที่ประทับ ที่เรียกว่ำ พระวิมำน ๓ หลัง พระทีน่ ั่งอิศรำวินิจฉัย พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ พระทีน ่ ั่งศิวโมกข์พิมำน วัด บวรสถำนสุทธำวำส พระทีน่ ั่งอิศเรศรำชำนุสรณ์ เก๋งนุกิจรำชบริหำรตำหนักแดง และศำลำลง สรง เป็นต้น พระทีน่ งั่ ทีส่ ำคัญในพระรำชวังบวรสถำนมงคล ได้แก่ - พระรำชมณเฑียร - พระทีน ่ ั่งอิศรำวินิจฉัย - พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ - พระทีน ่ ั่งศิวโมกข์พิมำน - พระอุโบสถวัดบวรสถำนสุทธำวำส - พระทีน ่ ั่งอิศเรศรำชำนุสรณ์ พระรำชมณเฑียร พระรำชมณเฑียร เรียกว่ำ หมูพ ่ ระวิมำนสมเด็จพระบวรรำชเจ้ำมหำสุรสิงหนำท โปรด เกล้ำฯ ให้สร้ำงขึน้ เป็นที่ประทับ ประกอบด้วย อำคำร ๓ หลังเชื่อมติดต่อกัน มีเฉลียงรอบนอก เดินได้รอบ พระวิมำนหมู่นี้สันนิษฐำนว่ำ ทำตำมแบบสมัยอยุธยำ คือเป็นอำคำร ๓ หลัง เป็นที่ ประทับในฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนำว แต่ลดส่วนลงมำสร้ำงเป็นหมู่เดียวกัน พระที่นั่งดังกล่ำว เรียกตำมชื่อห้องได้ ๑๑ องค์ ดังต่อไปนี้ ๑. พระที่นั่งวสันตพิมำน เป็นพระวิมำนหลังใต้ ๒. พระที่นั่งวำยุสถำนอมเรศ เป็นพระวิมำนหลังกลำง ๓. พระที่นั่งพรหมเมศธำดำ เป็นพระวิมำนหลังเหนือ ๔. พระที่นั่งภิมุขมณเฑียร ๕. พระที่นั่งปฤษฎำงค์ภิมุข ๖. ท้องพระโรงหลัง ๗. พระที่นั่งพรหมพักตร์ เป็นท้องพระโรงหน้ำเดิม นอกจำกนัน้ ยังมีพระที่นั่งหลังขวำง ตำมทิศทั้งสี่ ได้แก่ ๘. พระที่นั่งบูรพำภิมุข ๙. พระที่นั่งทักษิณำภิมุข ๑๐. พระที่นั่งปัจฉิมำภิมุข ๑๑. พระที่นั่งอุตรำภิมุข guru.sanook.com/14/พระรำชวังบวรสถำนมงคล-%26/


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.