ภูมิปัญญาไทย

Page 1

Portfolio Assignment 2

Photo: http://www.pixpros.net/forums/showthread.php?t=68220&page=8


Portfolio

จัดทำโดย นำงสำวธนำพร ศรีคล้ำย 5645560529 เสนอ ม.ร.ว.จักรรถ จิตรพงศ์ วิชำ Art Rattanakosin

“ทุนภูมิปัญญาท้องถิ่นของไทย เป็นทรัพยากรทางปัญญาที่ สาคัญ ไม่เพียงเพื่อสร้างความภาคภูมใิ จในรากเหง้าของ ตนเอง แต่ยังเป็นทุนที่พร้อมจะแปรสภาพ เป็นทุนอย่างอื่น” ดร. เทิดชาย ช่วยบารุง


๑ ความหมายภูมิปัญญา ๒ ตัวอย่างภูมิปัญญาไทย ๓ Highlights


ความหมายภูมิปัญญา

ภูมปิ ญ ั ญาไทย มาจากคานาม ๓ คา คือ “ภูม”ิ “ปัญญา” “ไทย” ความหมายตามพจนานุกรม ฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๒๕ “ภูมิ” (พูม) น. พื้น, ชั้น, พื้นเพ ปัญญา (ปัน-ยา) น. ความรู้ความสามารถไทย (ไท) น. ชื่อประเทศและ ชนชาติที่อยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดต่อกับลาว เขมร มาเลเซีย พม่า ภูมิปัญญาไทย หมายถึง พื้นความรู้ความสามารถของคนไทย, ชาติไทยและประเทศไทย

ภูมปิ ญ ั ญา เป็นเรือ่ งที่สั่งสมกันมาตั้งแต่อดีตและเป็นเรือ่ งของการจัดการความสัมพันธ์ระหว่าง มนุษย์กับสิ่งต่างๆ โดยผ่านกระบวนการทางจารีตประเพณี วิถีชีวิต การทามาหากินและพิธีกรรม ต่างๆ เพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างความสัมพันธ์เหล่านี้ มีเป้าหมายเพื่อให้เกิดความสุขทั้งใน ส่วนที่เป็นชุมชน หมู่บ้านและปัจเจก หากเกิดปัญหาความไม่สมดุลขึ้น ก็จะก่อให้เกิดความไม่สงบ สุขในหมู่บ้านและชุมชน นอกจากนี้ภูมิปัญญายังหมายถึง ประสบการณ์ในการประกอบอาชีพใน การศึกษาเล่าเรียนด้วย ปรีชา อุยตระกูล, บทบาทของหมอพื้นบ้านในสังคมชนบทอีสาน. (ขอนแก่น : สถาบันวิจยั และพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2531), หน้า 9.


ภูมปิ ญ ั ญา คือ ความรู้ ความคิด ความเชื่อ ความสามารถ ความจัดเจนที่กลุ่มชนได้จากประสบการณ์ที่สั่งสมไว้ในการปรับตัวและดารงชีพในระบบ นิเวศหรือสภาพแวดล้อมธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทางสังคม-วัฒนธรรม ที่มีพัฒนาการ สืบสานกันมา เป็นความรู้ ความคิด ความเชื่อ ความสามารถ ความชัดเจน ที่เป็นผล ของการใช้สติปัญญาปรับตัวกับสภาวะต่างๆ ในพื้นที่ที่ชุมชนนั้นตั้งถิ่นฐานอยู่ เอกวิทย์ ณ ถลาง, ภูมปิ ญ ั ญาชาวบ้านสีภ่ มู ภิ าค : วิถชี วี ติ และกระบวนการเรียนรู้ของ ชาวบ้าน. (นนทบุร:ี โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2540), หน้า 11-12.

ภูมปิ ญ ั ญา (Wisdom) หมายถึง ความรู้ความสามารถของคนทั้งมวลที่เกิดจากการ เรียนรู้ ศึกษา สังเกต อบรม สั่งสอนซึ่งคนได้สั่งสมถ่ายทอดและสืบเนื่องกันมาอย่างไม่ขาด สาย จากอดีตจนถึงปัจจุบัน นับเป็นเวลายาวนาน ซึ่งภูมิปัญญาเป็นองค์ความรู้ที่มีคุณค่าที่ คนได้นามาประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิตทาให้การอยู่ร่วมกันในสังคมมีความผาสุก อุดม สมบูรณ์ เจริญก้าวหน้าและอยู่รอดปลอดภัยในสังคมโลกปัจจุบัน โกวิทย์ พวงงาม, การจัดการตนเองของชุมชนและท้องถิน่ , หน้า 150.

ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ หมายถึง ส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมที่เป็นความรู้ ความคิด ความสามารถ ความเห็น ความเชื่อ ความนิยม ความฉลาดรอบคอบในสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวกับที่อยู่อาศัย การทามาหากิน วิถีชีวิต การ ป้องกันรักษาโรคภัยไข้เจ็บและการใช้ภาษาที่เกิดขึ้น สั่งสม พัฒนาและใช้ประโยชน์ สืบต่อจนเป็นมรดกตก ทอดของพื้นบ้านมาแต่โบราณ เอี่ยม ทองดี และคณะ, พลังประวัตศิ าสตร์ทอ้ งถิน่ ต่อการพัฒนาชุมชน : กรณีศึกษาชุมชนอาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม. (นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล, 2542), หน้า 60.


๒ •

ตัวอย่างภูมิปัญญาไทย

สมุน ไพร ทรั พ ยากรที่

ธรรมชาติ เป็ นผู้ รั งสรรค์ เ พื่ อ การดารงอยู่ ... ของวิเศษจาก ธรรมชาติที่บรรพบุรุตค้นพบ

• การประกอบอาชีพ

• เครื่องมือเครื่องใช้ อุปกรณ์ที่

ภูมิปัญญาชนบท ที่ได้รับการสืบ ทอด ... เทคนิควิธีการจากรุ่นหนึ่ง สู่อีกรุ่นหนึ่ง

ถูกคิดค้นเพื่อ ความสะดวกสบาย ข อ ง ผู้ ค น . . . วิ ศ ว ก ร ช น บ ท ผู้ รังสรรค์ผลงาน

ที่มา kpspstaff.awardspace.com/doythaiweb/home.html


• ทีอ่ ยูอ่ าศัย ศาสตร์แห่ง ความลงตัวของการสร้าง สิ่งก่อสร้าง ... ภูมิปัญญา จากอดีตที่พัฒนาสูป่ ัจจุบนั

• มวยไทย มรดกภูมิ ปัญญาของบรรพชนไทย

• ความเชื่อ ความลึกลับที่ไม่ ลึ ก ลั บ เขาเชื่ อ กั น เพื่ อ อะไร... แล้วทาไม ... ความเชื่อไม่ใช่สิ่ง ลึกลับเสมอไป


สมุนไพร

ทรัพยากรทีธ่ รรมชาติ เป็นผู้รงั สรรค์เพือ่ การดารงอยู่ ...

ของวิเศษจากธรรมชาติที่บรรพบุรุตค้นพบ

สมุนไพรกาเนิดจากธรรมชาติ ใช้ในการส่งเสริมสุขภาพและ รักษาโรค ในพระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 ได้ระบุว่า " ยาสมุนไพร หมายความว่ายาที่ได้จากพฤกษชาติ สัตว์ หรือ แร่ธาตุ ซึ่งมิได้ผสม ปรุงหรือแปรสภาพ "

ในระหว่างปีพ.ศ. 2527 - 2528 ได้มีการกาหนดให้มีสมุนไพร 57 ชนิด ที่สามารถรักษาอาการโรคได้ถึง 24 อาการ ต่อมาในปี พ.ศ. 2537 ได้ตัดอาการโรค บางอาการออก เช่น บิด ฯลฯ และได้เพิม่ บางอาการโรคเข้าไป เช่น ปวดฟัน ลมพิษ และโรคเริม งูสวัด และยังมีการปรับปรุง แก้ไขการใช้สมุน ไพรรวมกันเป็น 61 ชนิด สามารถรักษาอาการโรค 21 อาการ ได้แก่: โรคกระเพาะอาหาร, โรคท้องเสีย ท้องเดิน, โรคพยาธิลาไส้ , ลดอาการคลื่นไส้ อาเจียน , ท้องผูก, ท้องอืด ท้องเฟ้อ แน่น จุกเสียด, เบื่ออาหาร, ปวดฟัน , ไอ ระคายคอจากเสมหะ, ขัดเบา, กลากเกลื้อน, ชันนะตุ, แผลไฟไหม้ น้าร้อนลวก, ฝี แผลพุพอง, โรคเริม งูสวัด, ลมพิษ, แพ้ หรืออักเสบจาก แมลงสัตว์กัดต่อย , เป็นไข้, เหา, เคล็ดขัดยอก, นอนไม่หลับ ที่มา : http://www.bloggang.com/data/k/klongrongmoo/picture/1334301365.jpg , http://xn--o3cepkej9b3gpeg.net/, http://iam.hunsa.com/saranchana6410/article/2271 http://kpspstaff.awardspace.com/doythaiweb/veget.html , http://1.bp.blogspot.com/_p1dicvMB_V4/S-pVo299BkI/AAAAAAAAAGs/KPczpRsXdqg/s1600/%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%A2.jpg , https://encrypted-tbn0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcQ2m5oe6CxXMqRBNl5kdmFI4JWaG47Epnace4wrxwi6lL6i32zL


วิธกี ารเก็บสมุนไพรส่วนทีใ่ ช้เป็นยา การเก็บส่วนของพืชสมุนไพรเอามาทาเป็นยานัน้ ถ้าเก็บในระยะเวลา ที่ไม่เหมาะก็มีผลต่อการออกฤทธิ์ในการรักษาโรคของสมุนไพรได้ นอกจากนั้นยังจะต้องคานึงถึงวิธีการเก็บยานั้นว่าถูกต้องหรือไม่ด้วย เช่นกัน การเลือกเก็บส่วนที่เป็นยาอย่างถูกวิธีการนั้น จะมีผลอย่าง มากต่อประสิทธิภาพของยา ที่จะนามารักษาโรค หากปัจจัยต่างๆ ดังกล่าวเปลี่ยนแปลงไป ปริมาณตัวยาที่มีอยู่ในสมุนไพรนั้นๆก็จะ เปลี่ยนแปลงตามไปด้วย ทาให้ยาที่ได้มานั้นไม่เกิดผลดีในการ บาบัดรักษาโรคได้เท่าที่ควร

การใช้สมนุไพรรักษาโรค การใช้สมุนไพรรักษาโรค คือการใช้ฤทธิ์ทางเคมีที่มีในเภสัชวัตถุทางธรรมชาติ เป็นสิ่งบาบัด ซึ่งคนไทยมีภูมิปัญญาในการเลือกสรรเภสัชวัตถุที่มีในธรรมชาติเพื่อการรักษาโรคมาช้านาน ไม่ว่าจากสัตว์ พืช แร่ธาตุต่างๆ มากกว่า 1000 ชนิด โดยการสังเกตุศึกษาสืบต่อกันมา จนตอนนี้สามารถบัญญัติสรรพคุณสมุนไพร เพื่อรักษาโรคได้อย่างชัดเจน ตามรส 9 ประการ หมายถึงสมุนไพรชนิดไหนมีรสใด ก็ประมาณว่าจะสามารถบรรเทาอาการเจ็บป่วย ต่างๆได้ตามนี้จ้ะ รสฝาด - ใช้ในการสมานแผล แก้ท้องร่วง บิด บารุงธาตุ รสหวาน - มีคุณสมบัติซึมซาบไปตามเนื้อ แก้อ่อนเพลีย แก้หอบ ชุ่มคอ รสเบือ่ เมา -ใช้แก้พิษสัตว์กัดต่อย พิษน้าร้อนลวก พิษดี พิษโลหิต แก้ปวดบ รสขม - บารุงโลหิต แก้ไข้ตัวร้อน ร้อนใน เจริยอาหาร รสเผ็ดร้อน - แก้ลมจุกเสียด แน่นเฟ้อ ขับลม บารุงธาตุ ย่อยอาหาร รสมัน - แก้โรคทางเส้นเอ็น ปวดเมื่อย ไขข้อพิการ เอ็นพิการ รสหอมเย็น - ทาให้ชื่นใจ บารุงหัวใจ อ่อนเพลีย แก้ร้อนใน บารุงครรภ์ รสเค็ม - มีคุณสมบัติซึมซาบไปตามผิวหนัง รักษาบาดแผล แก้โรคผิวหนัง แก้ท้องเฟ้อ รสเปรีย้ ว - แก้ในทางเสมหะ ฟอกโลหิต แก้ไอ ระบายท้อง แก้เลือดไหลตามไรฟัน

คลายร้อนด้วยสมุนไพรไทย มะตูม เป็นพืชสมุนไพรไทยที่คนไทยคุ้นเคยกันดี เอกลักษณ์ของพืชชนิดนี้คือ กลิ่น มีกลิ่นหอมเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวมีการนาไปแปรรูปหลากหลาย หลักๆ เป็นในรูปผลแห้งพร้อมชงได้ทันที เรียกได้ว่าสะดวกดี สาหรับสรรพคุณของ มะตูมคือเป็นยาระบาย ขับลม ท้องเฟ้อ ช่วยย่อยอาหาร บารุงธาตุ ขับถ่ายดี เจริญอาหาร ขับเสมหะ แก้กระหายน้า และยังแก้อาการร้อนในได้ดีอีกด้วย ตรีผลา อันนี้ไม่ใช่พืชตัวเดียว แต่หมายถึง ผลไม้ 3 ชนิด อันได้แก่ ลูกสมอ ไทย ลูกสมอพิเภก และมะขามป้อม ว่ากันว่าเป็นสูตรยาที่มีสรรพคุณช่วยรักษา ความสมดุลธาตุ สรรพคุณคือเป็นยาระบาย ช่วยล้างพิษออกจากร่างกาย แก้ ลมจุกเสียด เป็นยาบารุงธาตุ แก้กระหายน้า แก้ไอ แก้เสมหะ แก้เจ็บคอ ทา ให้ชุ่มคอ นอกจากนีย้ ังแก้เลือดออกตามไรฟัน ใบเตย สรรพคุณโดยย่อคือ เป็นยาบารุงหัวใจ ช่วยลดอาการกระหายน้า แก้ โรคเบาหวาน (เฉาพะการลดระดับน้าตาลในเลือด) ชุ่มคอ สังเกตจากร้าน เหล้ายาดองต่างๆ จะมีน้าใบเตยเป็นเครื่องเคียงมาตรฐาน


ต้มยากุง้

คุณค่าทางสมุนไพร - หัวหอม : ช่วยบรรเทาอาการหวัด หายใจไม่ออก

ต้มยา เป็นอาหารประเภทแกง รับประทาน กับข้าวสวย เน้นรสชาติเปรี้ยวและเผ็ดเป็นหลัก ออกเค็ม และหวานเล็กน้อย ต้มยาสามารถใส่เนื้อสัตว์ที่ หลากหลาย นิยมใส่ใบมะกรูด ตะไคร้ ข่า พริก ส่วน เครื่องปรุงหลัก ได้แก่ มะนาว น้าปลา น้าตาล น้าพริกเผา ต้มยามี ๒ ประเภท คือ ต้มยาประเภทไม่ ใส่กะทิ หรือเรียกกันว่าต้มยาน้าใส ซึ่งถือว่าเป็นต้น ตารับของต้มยา และต้มยาประเภทใส่กะทิหรือเรียกกัน ว่าต้มยาน้าข้น ต้มยาเป็นอาหารที่ได้รับความนิยมทั้งใน และต่างประเทศ http://ich.culture.go.th/index.php/th/ich/social-practices-rituals-andfestive-events/269-nature-universe/124-----m-s http://www.thaigoodview.com/node/116782g

- พริกแห้ง : ช่วยเจริญอาหาร ขับลม เป็นยาระบาย ช่วยขับเสมหะ แก้หวัด - ใบมะกรูด : ช่วยป้องกันและรักษาโรคมะเร็ง - ตะไคร้ : ลดอาการจุกเสียด แน่นท้อง ท้องอืดท้องเฟ้อ - น้ามะนาว : ขับเสมหะ แก้กระหายน้า แก้ร้อนใน บารุงเลือด แก้โรคเลือดออกตามไรฟัน - พริกขีห้ นู : ช่วยกระตุ้นการทางานของกระเพาะอาหารทาให้เจริญอาหาร ถ้ากินปริมาณไม่มากช่วย ลดการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร , สารแคปไซซินช่วยป้องกันการเกิดมะเร็งและอาจช่วยป้องกันโรคหัวใจและ หลอดเลือด , ช่วยขับลม ขับเสมหะ , แก้อาเจียน แก้ปวดเมื่อย http://sv6.postjung.com/picpost/data/250/250806-5287314aa2479.jpg


การนวดไทย

การนวดไทยมีประวัติความเป็นมายาวนาน เชื่อว่า ไทยได้รับความรู้ด้านการนวดมาจากพุทธศาสนา ในยุค ทวาราวดี และมีการพัฒนา สังเคราะห์ขึ้นเป็นหลักวิชา โดยมี วิธีการนวดและธรรมเนียมปฏิบัติที่เป็นเอกลักษณ์ และมี มาตรฐาน การนวดไทยแบ่งเป็น ๒ สาย คือ สายราชสานัก และสายเชลยศักดิ์ การนวดไทย ถือเป็นวัฒนธรรมและวิถี ชีวิตด้านสุขภาพ (Health Lifestyle) ที่ช่วยให้คนไทย พึ่งตนเองได้ทางสุขภาพในทุกระดับ โดยยึดหลักสัจธรรมและ ความเชื่อพื้นฐานเรื่องธาตุเจ้าเรือน การนวดไทยทรงคุณค่าใน แง่การทาให้บุคคลมีสุขภาพกายและใจที่ดี รวมทั้งช่วยสร้าง ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลอีกด้วย การประคบสมุนไพร

การอบสมุนไพร โดยวิธีอบไอน้าที่ได้จากการต้มสมุนไพร เป็นวิธีบาบัดรักษา อย่างหนึ่ง ซึ่งมีประโยชน์ต่อผิวหนัง กล้ามเนื้อ และมดลูก เช่น ช่วยผ่อนคลายกล้ามเนื้อ และเส้นเอ็น ช่วยบารุงผิวพรรณ บรรเทาอาการคัน รักษาผดผื่น กระตุ้นการหมุนเวียนโลหิต ช่วยบรรเทาอาการบวมแก้เหน็บชา ช่วยให้หญิงหลังคลอดบุตร มดลูกแห้ง และมดลูกเข้าอู่ได้เร็วขึ้น

โดยการใช้สมุนไพรที่มีคุณสมบัตติ ่อกล้ามเนื้อ และหลอดเลือด เช่น ไพล ขมิ้นขัน ขมิ้นอ้อย ตะไคร้ มะกรูด และการบูร แล้วนามาประคบ ประโยชน์ที่ได้รับคือ ช่วยให้เนื้อเยื่อพังผืดยืดตัวออก ลดการติดขัดของ ข้อต่อบริเวณที่ประคบ ลดอาการเกร็งของกล้ามเนื้อ ทีม่ า http://ich.culture.go.th/index.php/th/ich/socialpractices-rituals-and-festive-events/269-natureuniverse/127-----m-s http://healthbeautyherb.com/wp-content/uploads/2013/03/imgmass_17.jpg http://www.tipfishspa.com/images/HerbalBall.jpg


การประกอบอาชีพ ภูมิปัญญาชนบท ที่ได้รับการสืบทอด ... เทคนิควิธีการจากรุ่นหนึ่ง สู่อีกรุ่นหนึ่ง ที่มา : http://kpspstaff.awardspace.com/doythaiweb/work.html

เกษตรกรรม 1

การทาการเกษตรแบบผสมผสาน ตามแนวพระราชดาริ โดยการนา ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ โดยการปลูกพืชผักสวนครัว ไม้ยืนต้น และการ เลี้ยงสัตว์ผสมผสานกันไป - การทานา การใช้แรงงานสัตว์ - การใช้เครื่องทุ่นแรงต่างๆ เช่น เกวียน ควาย - การใช้หุ่นไล่กา

ที่มา :

1

http://www.4toart.com/uploadfile/7Galerie-BuffoloSchool(choose)-4056W.jpg ,


เกวียน 2

อุปกรณ์ในการทาเกวียน จะทาขึ้นทั้งหมด โดยการตีเหล็กเอง เช่น กบ ก็มี หลายขนาน สิ่วก็มีหลายขนาด ฆ้อนในการแกะสลักจะเป็นฆ้อนไม้ การตัดไม้ ต้องใช้เลื่อยมือไม่ใช้เลื่อยไฟฟ้าเพราะเนื้อไม้จะแตก ลายทีน่ ยิ มแกะสลักบนเกวียน มีลายเม็ดข้าวสาร ลายกนก ลายดอก ลายย้อย ลายเครือ การแกะ ลายบนเกวียนจะมีการกะระยะทาเป็นช่วง ๆ จุด ขนาดของเกวียน การประยุกต์ใช้ จุดประสงค์เดิมของการทาเกวียน เพื่อใช้เป็นพาหนะเดินทาง ขนสิ่งของ ต่าง ๆ แต่ทุกวันนี้ทาเพื่อโชว์ในสถานที่ต่าง ๆ ในพิพิธภัณฑ์ ศูนย์การค้า จึงทา ให้มีการทาเกวียนขนาดเล็ก เดิมทีเดียวทาขนาดเล็ก ๆ เพื่อเป็นของเล่น ต่อมามีผู้ เห็นว่าดี ก็เลยมีคนมาขอซื้อ และสั่งทามากขึ้น

เรียนวิชาทาเกวียนมาด้วยวิธใี ดกับใคร ความเชือ่ เกีย่ วกับเกวียน เรียนมาจากครอบครัว พ่อเป็นต้นตารับลาย พ่อ เมื่อลูกค้าสมัยก่อนมาซื้อเกวียนไปใช้ มักจะมีการทาพิธีแก้เคล็ดเนื่องจาก เรียนรู้เอง เกิดเองในสันดาน เริ่มเรียนมาแต่อายุ ๑๓ ปี เป็น เกวียนทาด้วยไม้ ที่คนไทยเชื่อว่ามีผีสางเทวดาอารักษ์รักษาอยู่ และมีตาไม้อยู่ คนชอบศิลปะทุกชนิด โดยเฉพาะการแกะสลัก ซึ่งแต่เดิม ด้วย จึงต้องทาพิธีแก้เคล็ด โดยที่เมื่อนาเกวียนไปแล้วจะให้หญิงสาวถลกผ้านุ่ง ลวดลายมีเพียงอย่างเดียว แต่ปัจจุบนั นี้เกิดลวดลายมากขึ้น คืนค่อมหัวเกวียน ประมาณ ๑ ชั่วโมงและความเชื่อเรื่องตาไม้ ในลาเกวียนเช่น ตอนแรกทาแต่เกวียน เริ่มทาประตูโบสถ์ ปี ๒๕๑๕ - ตาไม้อยู่ห่างทอก หัวแหนบ ปามกีม ไม่ดี วัสดุอปุ กรณ์ - ตาไม้อยู่หางเถ้า จะขายของดี วัสดุที่ใช้ทา มีทั้งไม้พยุง ไม้ประดู่ ไม้แคน (ตะเคียน) ไม้ - ตาไม้อยู่ คั่น ไม่ดี ที่ทายากคือไม้พยุงเพราะมียางเหนียว แหล่งไม้เราจะหามาเอง ซื้อ - ตาอยู่ท้องท้องเต็ง ตาอยู่ทอกทอกเต็ง มาเอง ราคาซื้อไม้ต้นละประมาณ ๑ หมื่นบาท เอามาเป็นต้น ๆ เลย ต้นหนึ่งพอลาเกวียน ๑ ลา แต่ไม่ได้ล้อ ส่วนประทุนจ้างเขา ทีม่ าข้อมูล นายทุย หาสาลี http://province.m-culture.go.th/yasothon/phumpunya.html ทา ไม้สักก็ทาเกวียนได้ แต่ไม่นิยมทาเพราะสู้ฝนไม่ได้ 2

ที่มา : https://encryptedtbn2.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcQOIhD9rRoqIf_P0Yx0qZizdXTbDtmSYhrHXYNI-R0Qn-8dgvTg


เรือกอและ

http://www.manager.co.th/aspbin/Image.aspx?ID=2636324

เรือกอและเดิมเป็นเรือขุด ซึ่งใช้ไม้ใหญ่มาขุดเป็นลาเรือ สามารถ นาออกทาการประมงชายฝั่งได้ ต่อมาไม้ใหญ่หายากขึ้นจึงเปลี่ยนจากเรือ ขุดมาเป็นเรือทีข่ ึ้นด้วยไม้กระดาน เรือกอและในปัจจุบันได้เปลี่ยนแปลงแบบ ไปจากที่เคยมีหัวเรือและท้ายเรือเชิดสูงขึ้นกลายเป็นหัวเรือสัน้ และท้ายเรือ ตัดไว้สาหรับตั้งเครื่องยนต์ ซึ่งมีชอื่ เรียกว่า “ปาตะกือระ” แต่ส่วนประกอบ อื่นๆทีแ่ สดงเอกลักษณ์ของเรือกอและที่ไม่เคยเปลี่ยนแปลงคือ การตกแต่ง ลวดลายจิตรกรรมที่วิจิตรพิศดารบนเรือกอและแต่ละลา ลวดลาย จิตรกรรมที่ตกแต่งบนเรือกอและถือเป็นวัฒนธรรมสัมพันธ์ระหว่างศิลปะ ไทย อิสลาม และจีน และเป็นวัฒนธรรมทางศิลปกรรมของกลุ่มชนพื้นบ้าน ที่สามารถสะท้อนการแสดงออกซึ่งวัฒนธรรมท้องถิ่น ที่ผสมผสานหลาย วัฒนธรรมเข้าด้วยกัน http://ich.culture.go.th/index.php/th/ich/traditional-craftsmanship/241-craft/106-----m-s


หัตถกรรมพืน้ บ้าน ที่มา : http://kpspstaff.awardspace.com/doythaiweb/work.html

1

เครื่องจักรสาน

- การทาเครื่องจักรสาน เครื่องมือ - เครื่องใช้ในการเกษตร การประมง - การนาผักตบชวามาทาผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ เช่น กระเป๋า - การทอผ้า - การทอเสื่อ - การทาเครื่องปั้นดินเผา

หัตถกรรมเครื่องจักรสารเป็นภูมปิ ัญญาท้องถิ่นของชุมชนที่สาคัญ อย่างยิ่งต่อการดารงชีวิตตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงปัจจุบัน หัตถกรรมเครื่องจักสาน เป็นตัวอย่างหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึงภูมิปัญญาอันเฉลียวฉลาดของคนไทยใน ท้องถิ่น ที่ใช้ภูมปิ ัญญาสามารถนาสิ่งที่มีอยู่ในชุมชนมาประยุกต์ทาเป็นเครื่องมือ เครื่องใช้ในชีวิตประจาวันได้ ซึ่งมีประโยชน์ในการดารงชีวิต 2 จะเห็นได้ว่าหัตถกรรมเครื ่องจักสานมีมานานแล้วและได้มีการพัฒนามา ตลอดเวลา โดยอาศัยการถ่ายทอดความรู้จากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง การ ดารงชีวิตประจาวันของชาวบ้านส่วนใหญ่ไม่ได้เอาความรู้จากหนังสือมาเกี่ยวข้อง การเรียนรู้ต่างๆอาศัยวิธีการฝึกหัด และบอกเล่าซึ่งไม่เป็นระบบในการบันทึกสะท้อน ให้เห็นการเรียนรู้ ความรู้ที่สะสมที่สืบทอดกันมาจากอดีตมาถึงปัจจุบันหรือที่เรียก กันว่าภูมปิ ัญญาท้องถิ่น ดังนั้นกระบวนถ่ายทอดความรู้จึงมีความสาคัญอย่างยิ่งที่ทา ภูมปิ ัญญาท้องถิ่นนั้นคงอยู่ต่อเนื่องและยั่งยืน

1

ที่มา : http://taxclinic.mof.go.th/upload/iblock/8d7/8d790d9641fecdcba485ce25166ca722.jpg 2

http://www.houseword.com/tag/%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E 0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%99/


เครื่องจักสานไม้ไผ่ (บ้านนาดี) ที่มา : สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอเขื่องใน

ประวัตคิ วามเป็นมา การจักสานไม้ไผ่บ้านนาดี หมู่ที่ 5 ตาบลศรีสุข อาเภอเขื่องใน จังหวัด อุบลราชธานี สืบทอดมาจากบรรพบุรุษที่มาพร้อมการการอพยพมาตั้งบ้านเรือนครั้งแรก เนื่องจากชุมชนนี้มีอาชีพหลักคือทานาเลี้ยงสัตว์ จึงมีทาเครื่องไม้เครื่องมือในการประกอบ อาชีพ และพืน้ ที่ดังกล่าวเป็นดินร่วนปนทรายเหมาะจึงทาให้มีต้นไผ่ขึ้นอยู่เป็นจานวนมาก ชาวบ้านจึงได้นามาจักสานเป็นเครื่องใช้ในครัวเรือน เช่น ไซดักปลาก ข้องใส่ปลา กระติบ ข้าว ตะกร้า มวยนึ่งข้าว และกล่องข้าว จึงมีการสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น โดยเฉาะกล่องข้าวและ กระติบข้าวเป็นที่นิยมกันมาก เนื่องจากคนในภาคอีสานนิยมรับประทานข้าวเหนียวซึ่งต้องใส่ ในกล่องข้าวหรือกระติบ

ปัจจุบันบ้านนาดีได้มีการก่อตั้งกลุ่มตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2548 โดยการรวมตัวกัน ของคนในชุมชนที่จักสานไม้ไผ่ขึ้นใช้ในครัวเรือนตนเอง โดยการนาของนายฟอง บุญชัย ผู้ เฒ่าวัย 79 ปี เนื่องจากเห็นว่า เครื่องจักสานที่ผลิตขึ้นมีคนในหมู่บ้านใกล้เคียงมาขอซื้อ และวัตถุดิบหาง่าย มีอยู่ในชุมชนและหมู่บ้านใกล้เคียง เครื่องจักสานบ้านนาดีทีมีผู้สนใจของ ซื้อ เพราะเห็นว่าเครื่องจักสานที่บ้านนาดีมีคุณภาพดีคงทนถาวร รูปแบบเป็นเอกลักษณ์ แบบโบราณ ราคาไม่แพง และได้รับมาตรฐานอุสาหกรรม (มผช.) และ เมื่อมีพ่อค้าคน กลางมาขอซื้อ สมาชิกกลุ่มจึงรวมตัวกันผลิตให้เป็นรูปแบบที่ได้มาตรฐานเดียวกัน ผลิตภัณฑ์ที่มีชื่อของกลุ่มจักสานบ้านนาดี คือ ข้องใส่ปลา และกล่องข้าว

เทคนิค/เคล็ดลับในการผลิต ไม้ไผ่ที่ใช้สาหรับจักสานของกลุ่มจักสานบ้านนาดี จะเลือกเฉพาะไม้ไผ่ที่มีลา ต้นแก่จัดแต่ไม่แห้ง และไม่มีหนอนหรือมอดกัน ลาต้นปล้องยาว เมื่อตัดไม้ไผ่เป็นท่อน แล้วจะนามาตามให้แห้ง ก่อนการเลาเป็นตอก การเลาตอกก็จะใช้ฝีมือของคนที่ชานาญ แล้ว เพื่อให้ได้เส้นตอกที่มี ความ หนา บาง กลามให้มีขนาดและมาตรฐานเดียวกัน เมื่อเลาเสร็จแล้วจะนาตอกมาผึ่งแดดอีกครั้งหนึ่งก่อนจะนามาจักสาน

อัตลักษณ์/จุดเด่นของผลิตภัณฑ์ อัตลักษณ์หรือจุดเด่นของ เครื่องจักสานบ้านนาดี คือ จักสานด้วยไม้ไผ่ที่ลาต้นแก่ พอดี โดยไม้ไผ่ที่นามาจักจะเลาให้เป็นเส้นกลมเล็ก ๆ เมือ่ นามาจักสานจะให้ความถี่ สานเป็นสอง ชั้น ทาให้มีความคงทนถาวร โดยเฉพาะกล่องข้าว สานด้วยเส้นตอกกลมเล็กทาให้มีความแน่นหนา ด้านบนสานด้วยเส้นหวายเพื่อให้คงทนถาวร ฐานกล่องข้าวทาด้วยก้านใบตาล ด้านนอกจะลงแล็ก เกอร์ให้เป็นเงาเพื่อกันไม่ให้ตัวมอดมากัดได้ ลักษณะของกล่องข้าวจะเป็นกล่องข้าวแบบโบราณ สามารถเก็บความร้อนของข้าวเหนียวให้ร้อนได้นานข้าวไม่เปียก แฉะ มีการระบายความร้อนได้ใน ตัว ไม่มีกลิ่นอับเพราะระบายอากาศได้ดี มีความเบา พกพาได้สะดวก มีให้เลือกหลายขนาด ขนาดใหญ่ กลาง เล็ก เหมาะสาหรับเป็นของใช้ในครัวเรือน หรือเป็นของฝากได้ และสามารถผลิต ได้ขนาดใหญ่ตามที่ต้องการโดยการสั่งให้ผลิตเป็นครั้งคราวไป “กล่องข้าว” ที่ผลิตจากบ้านนาดี หมู่ที่ 5 ตาบลศรีสุข อาเภอเขื่องใน จังหวัด อุบลราชธานี จะมีความละเอียด มีทั้งแบบเส้นกลม และแบบเส้นแบน เส้นไม้ไผ่ไม่หยาบ เส้นเรียบ นุ่มมือเวลาหยิบจับ มีความแข็งแรง ทนทาน โดยวัสดุที่ใช้ส่วนมากจะใช้วัสดุจากธรรมชาติ ที่มีใน ท้องถิ่น อ่านเพิ่มเติม:http://www.cddubon.net/webapp/Fileskm/km340401082012233335.pdf


ผ้ามัดหมี่ ผ้ามัดหมี่ คือ ผ้าที่ทอจากด้ายหรือไหม ที่ผูกมัดแล้วย้อมโดยการคิดผูกให้เป็น ลวดลาย แล้วนาไปย้อมสีก่อนทอ เป็น ศิลปะการทอผ้าพื้นเมืองชนิดหนึ่งที่นิยม ทากันมานานแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ในภาคกลางบางจังหวัด อาทิ จังหวัด ชัยนาท จังหวัดอุทัยธานี จังหวัด สุพรรณบุรี จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัด ลพบุรี ภาคเหนือมีการทอที่จังหวัด เชียงใหม่ และจังหวัดน่าน เป็นต้น หนังสือมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ๒๕๕๓ ของกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม

หนังสือมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ๒๕๕๓ ของกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม


เครื่องมุกไทย

http://www.thaitambon.com/ thailand/Nakhonphatom/73 0511/02613145435/1453_4 476.jpg

เครื่องมุกไทย เป็นงานประณีตศิลป์ชั้นสูงอย่างหนึ่งของไทย ที่ทรงคุณค่า มีเอกลักษณ์เฉพาะที่ไม่มีชนชาติใดทาเสมอเหมือน มีหลักฐานปรากฏมานานแล้ว กว่า ๔๐๐ ปี เป็นงานช่างที่ต้องใช้ฝีมือความละเอียดอ่อนและความวิริยะอุตสาหะ อย่างมากในการสร้างสรรค์ผลงาน ด้วยความยากลาบากของความโค้งของเปลือก หอยมุกไฟเพือ่ บรรจงฉลุเปลือกหอยมุกไฟที่มีคุณสมบัติพิเศษสามารถสะท้อนแสง เป็นประกายดุจสีรุ้งให้มีความเล็กละเอียดยิ่งกว่าปลายหัวเข็มหมุด และนาไปติด ประดับตกแต่งชิ้นงาน หรือหุ่นโครงสร้างภายในซึ่งทาด้วยวัสดุที่มีน้าหนักเบา เช่น หวาย ไม้ไผ่ โดยใช้ยางรักเป็นตัวประสานให้ชิ้นมุกยึดติดกับภาชนะหรือหุ่น โครงสร้างภายในนั้นให้เป็นลวดลาย เมื่อยางรักแห้งสนิทจึงนาไปขัดด้วยกระดาษ ทรายให้ลวดลายปรากฏเสมอกันทั้งหมดจนเกิดความเงางาม ปัจจุบันจานวนช่าง ประดับมุกของไทยที่ยังคงวิธีการทาแบบดั้งเดิมนั้นมีจานวนเหลือจนสามารถนับจาน วนคนได้ http://ich.culture.go.th/index.php/th/ich/traditio nal-craftsmanship/241-craft/131-----m-s


อุตสาหกรรมในครัวเรือน ที่มา : http://kpspstaff.awardspace.com/doythaiweb/work.html 1

1

ตาลโตนด ที่มา : สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดเพชรบุรี

ภูมปิ ัญญาท้องถิ่นสามารถนาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรมา แปรรูป และสามารถเก็บไว้ได้นาน - การทาน้าตามลจากอ้อย จากมะพร้าว - การนาพืชสมุนไพรมาแปรรูป เป็นสบู่ แชมพู ยารักษาโรค ฯลฯ ที่มา :

1

“น้าตาลโตนด” เป็นผลผลิตที่สาคัญมากในอดีต น้าตาลโตนดเป็น สินค้าที่สามารถเรียกเก็บภาษีได้เป็นอันดับ ๑ ของจังหวัดเพชรบุรี นับตั้งแต่รัชกาล ที่ ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เป็น ต้นมา มีการเรียกเก็บภาษีน้าตาล และภาษีน้าตาลหม้อจนสามารถนาเงินภาษี 2 น้าตาลไปสมทบในการสร้าง “พระนครคีร”ี ในสมัยสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ อีกด้วย ปัจจุบนั น้าตาลโตนด เป็นสินค้าพื้นเมือง ที่เป็นสัญลักษณ์หนึ่งของ จังหวัดเพชรบุรี ผลิตมาก ในเขตในการทาอาหารและขนมหวานของเมืองเพชรที่มี อาเภอบ้านลาด นอกจากนี้ น้าตาลโตนดยังเป็นส่วนผสมสาคัญอยู่มากมาย และทา ให้ขนมหวานเมืองเพชร มีรสชาติหอมหวานเป็นเอกลักษณะโดดเด่นเป็นที่ติดอกติด ใจ มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก และตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน

http://www.siamfreestyle.com/images/content_images/attraction_images/cha/cha_att80006001.jpg


ขัน้ ตอนการทาน้าตาลโตนด ๑) การพาดตาล คือการนาไม้พะองไปมัดติดกับต้นตาล ๒) การนวดตาล ต้นตาลตัวผู้ ได้น้าตาลจากงวงตาล ใช้ไม้คาบนวดที่งวงตาล โดยนวดจากโคน ไปหาปลาย หรือจากปลายไปหาโคน ตัดงวงตาลทิ้งให้เหลือเพียงต้นละ ๒ งวง ต้นตาลตัวเมีย ได้น้าตาลจากผลตาลอ่อน ใช้ไม้คาบนวดไปตามช่องของผลตาล อ่อนโดยนวดจากโคนไปหาปลาย หรือจากปลายไปหาโคนเช่นเดียวกับตาลตัวผู้ วันแรกให้นวดเพียงเบา ๆ และนวดให้แรงขึ้นตามลาดับจนกว่าจะได้ที่

๓) การปาดตาล จะต้องนวดให้ได้ ที่แล้ว ประมาณ ๓ – ๗ วัน ให้นากระบอกใส่น้าแช่งวง ตาลที่นวดแล้วให้มิดงวงเป็นเวลา ๒ วัน ๑ คืน คนทาตาลจะต้องขึ้นไป ปาดตาลทุกวัน วันละ ๑ แว่น ความหนาของแว่นเท่ากับ ๑ คมมีด เมื่อ เห็นว่าน้าตาลเริ่มไหลดีจึงนากระบอกมารองน้าตาล ๔) การรองตาล กระบอกรองน้าตาลต้องผ่านการรมควันให้เรียบร้อย ใส่ไม้พะยอมไว้ก้น กระบอก เพื่อไม่ให้น้าตาลมีรสเปรี้ยว นาไปผูกติดกับงวงตาล ในช่วงเวลา บ่าย หรือเย็น ทิ้งไว้จนถึงรุ่งเช้า (เช้ามืด) คนทาตาลจึงไปเก็บกระบอก น้าตาลลงมา

๕) การเคีย่ วตาล ๕.๑ นาน้าตาลในข้อ ๔ เทลงในกระทะใบบัว ใช้กระชอนและผ้าขาวบางกรองเอา สิ่งปนเปื้อน และไม้พะยอมออก เคีย่ วน้าตาลประมาณ ๑ ชั่วโมง ใช้ไฟอ่อน ปาน กลาง หรือไฟแรง ตามความเหมาะสม ขณะเคี่ยวตาลตองหมั่นคนน้าตาลอย่าง สม่าเสมอ เพื่อไมให้น้าตาลติดก้นกระทะ ไหม้ หรือล้นออกมา เคี่ยวจนได้ที่ เรียกว่า“ปุด” จึงยกลงจากเตา

๕.๒ ใช้เหล็กกระแทก กระแทกน้าตาล จนกว่าน้าตาลจะมีความข้น หนืด ๕.๓ ใช้ไม้ขนวนกวนน้าตาลอีก เพื่อช่วยให้น้าตาลมีสีเหลืองนวล และแห้ง ๕.๔ ใช้ภาชนะตักน้าตาลนาไปหยอดบนเบ้าตาล หรือใส่ปี๊บ ตาม ความต้องการของตลาด

อ่านเพิม่ เติม: province.m-culture.go.th/petchaburi/ภูมิปัญญาการทาน้าตาลโตนด%20%20.pdf


เครื่องมือเครื่องใช้ อุปกรณ์ทถี่ กู คิดค้นเพือ่ ความสะดวกสบายของผูค้ น ... วิศวกรชนบทผูร้ ังสรรค์ผลงาน

สุ่มไก่ สุ่มไก่เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับครอบไก่ขังไก่ จากัดบริเวณของไก่ นิยม เลี้ยงไก่พื้นบ้านหรือไก่ชน วัสดุที่นิยมนามาทาสุ่ม ได้แก่ หวาย ไม้ไผ่ รวก ไผ่ต่างๆ(ไผ่สีสุก ไผ่ป่า ไผ่หก ฯลฯ)และเหล็กเส้นกับตาข่าย ปัจจุบันเราพบเห็นสุ่มที่ทาด้วยไม้ไผ่รวก และไม้ไผ่ต่างๆมากว่าวัสดุ อย่างอื่นคงเป็นเพราะวัสดุธรรมชาติที่หาได้ง่าย ราคาไม่แพง สามารถ หาได้ตามป่าและเทือกเขา อายุการใช้งานของสุ่มที่ทาด้วยไม้ไผ่ ระหว่าง ไม้ไผ่รวกกับไม้ไผ่ชนิดอื่นๆเชื่อกันว่าไม้ไผ่รวกไม่ค่อยทนทานหากเปรียบ กันด้วยไม้ไผ่ชนิดอื่นๆ เช่นไม้ไผ่ป่า อย่างไรก็ตามสุ่มนั้นหากรู้จักใช้และ รักษาถูกวิธีแล้ว เช่น ไม่ตากแดด ตากฝน ตากหมอก ก็จะสามารถใช้ได้ นาน ๕-๖ ปี ทีม่ า ศูนย์ข้อมูลลกลางทางวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม www.m-culture.in.th/moc_new/album/175049/สุ่มไก่/


บ้านโคกหนองขาม หมู่2 ตาบลในเมือง อาเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น

ความเป็นมาของการทาสุ่ม ในหมู่บ้านมีชาวบ้านจานวนมากที่ชื่น ชอบและนิยมกีฬาชนไก่ จึงมีการเลี้ยงไก่ชนเป็นจานวนมาก และ อุปกรณ์ที่จาเป็นในการเลี้ยงดูไก่ชนอย่างใกล้ชิดคือสุ่มไก่ ซึ่งสุ่มไก่ นี้สานได้ง่าย มีราคาถูกและใช้ประโยชน์ได้ดี การสานสุ่มไก่นี้ได้ สืบทอดกันมาเป็นเวลาช้านานมากสืบทอดมาทั้งแต่รุ่น บรรพบุรุษ จึงได้มีการสานสุ่มสืบต่อกันมาเรื่อยๆ จนถึงปัจจุบันก็ได้สานสุ่ม เป็นอาชีพ เพราะด้วยวัยที่มากขึ้นทุกวัน ไม่สามารถออกไปทางาน ได้ จึงยึดอาชีพสานสุ่มไก่ขายเป็นหลัก และภายในหมู่บ้านก็หาคน ที่จ ะมาสานสุ่ม ไก่นี้ ยากมากส่ว นมากก็ จะเป็ นคนแก่ ที่อ ยู่แ ต่บ้ า น และส่วนใหญ่ก็เสียชีวิตกันหลายคนแล้ว และในการสานสุ่มไก่ขาย ก็ เ ป็ น การใช้ วั ส ดุ ธ รรมชาติ ที่ มี อ ยู่ ม ากมายในหมู่ บ้ า นให้ เ กิ ด ประโยชน์ ตาจึงยึดอาชีพสานสุ่มไก่เป็นหลักและยังเป็นการใช้เวลา ว่างให้เป็นประโยชน์อีกด้วย

เครื่องมือและอุปกรณ์ 1. เลื่อยคันธนูใช้เลื่อยตัดข้อปลายลาไผ่และเลื่อยตัดปากสุ่มเมื่อสานสุ่มไก่ เสร็จแล้ว 2. มีดพร้าใช้ผ่าลาไผ่และเหลาจักตอกไผ่เพื่อแยกส่วนในและส่วนผิวของ ไผ่ ซึ่งส่วนผิวที่ใช้งานจะมีความเหนียวง่ายต่อการจักสาน 3. ค้อน ใช้ตอกตะขอข้อไผ่หลักหมุดยึดส่วนหัวสุ่มไก่เมื่อสานขึ้นรูป 4. ไม้ไผ่ที่ไม่อ่อนหรือแก่จนเกินไปอายุประมาณ 2 ปีวิธีการจักสาน1.การ จักตอกไผ่ 1.1 ใช้เลื่อยคันธนูเลื่อยตัดข้อปล้องแรกของไผ่ทิ้งเพื่อให้ผ่าลาไผ่ได้สะดวก 1.2 ผ่าลาไผ่ออกมาเป็นเส้น ๆ 1.3 จักตอกเส้นไผ่เป็นตอกยืน ตอกยาว และตอกไผ่ตีน (ส่วนข้อไผ่ที่มีตา ไผ่) ความกว้างของตอกแต่ละแบบโดยประมาณ คือ ตอกยืน 1.3–1.7 ซม. ตอกยาว 0.8 ซม.และตอกไผ่ตีน 1.6–2.0 ซม. ซึ่งไผ่หนึ่งลาเหลาจักตอก ได้ตอกยืนใช้สานสุ่มไก่ได้ 1 ใบ และตอกยาวสานสุ่มไก่ได้ 2 ใบ 1.4 ส่วนที่เป็นข้อไผ่นามาเหลาเป็นตะขอข้อไผ่หลักหมุดยึดหัวสุ่ม เพื่อ ไม่ให้สุ่มขยับเขยื้อนในขณะสานขึ้นรูป ประโยชน์ของสุม่ ใช้ในการกักขังไก่หรือเป็นการจากัดบริเวณของไก่ โดยเฉพาะไก่ชนที่คนใน หมู่บ้านชอบเลี้ยงเพื่อไม่ให้ไก่ออกไปรบกวนคนข้างบ้าน ที่มา ศูนย์ข้อมูลลกลางทางวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม www.m-culture.in.th/moc_new/album/185072/สุ่มไก่-บ้านโคกหนองขาม/


ทีอ่ ยูอ่ าศัย ศาสตร์แห่งความลงตัวของการสร้างสิง่ ก่อสร้าง ... ภูมปิ ญ ั ญาจากอดีตทีพ่ ฒ ั นาสูป่ จั จุบนั 1

สถาปัตยกรรมไทยเป็นหนึ่งในเอกลักษณ์ไทยที่สะท้อนภาพชีวิตแบบไทย ทั้งในด้านความเป็นอยู่ ทัศนคติ ค่านิยม และความเชื่อม โดยเฉพาะในเรือ่ ง "บ้าน" หรือ "เรือน" ซึ่งเป็นสถานที่ที่ผูกพันมาตั้งแต่เกิด แม้ว่าปัจจุบันการดาเนินชีวิตและรูปลักษณ์ของบ้านจะแปรเปลีย่ นไป แต่หากมองกันอย่างลึกซึ้งแล้ว ชีวิตในบ้านของคนไทย ยังไม่เคยเปลีย่ น ซึ่งค่านิยมบางประการยังคงดาเนินการสืบทอดจากคนรุ่นหนึ่งสู่คนอีกรุ่นหนึ่งอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม บ้านมิได้มีความหมายเพียงเป็นที่อาศัยนอน ในตอนกลางคืนและออกไปทางานตอนเช้าเท่านั้น แต่บ้านคือที่อยู่อาศัยของครอบครัวที่มีชีวิตชีวา มีความรักและความอบอุ่นเป็นที่พึ่งในทุ กโมงยามที่ต้องการ 2 ที่มา

1 2

www.ku.ac.th/e-magazine/may48/know/home.html http://info.dla.go.th/public/travel.do?cmd=goDetail&id=204340&random=1385528956187


โครงสร้าง เรือนไทยมีโครงสร้างแบบเสาและคานซึ่งถ่ายน้าหนักมาจากหลังคาลงพื้น โดยผ่านเสาลงสู่ฐานราก เสาบ้านมีลักษณะสอบเข้า และเป็นเสากลม โคนโต ปลายสอบ ทั้งนี้ เพื่อความมั่นคงของเรือนไทยไม่ให้ทรุดตัวได้ง่าย เนือ่ งจากฤดูน้าหลาก พื้นดินจะ เป็นโคลนตม และตัวเรือนอาจเกิดการทรุดตัวได้ง่ายหากไม่มีการล้มสอบของเสาเรือน ไม่นยิ มทาฝ้าเพดาน - ทาให้อากาศจากใต้ถุนตัวเรือนพัดผ่านเข้ามาภายในตัวเรือนได้ ในลักษณะของความต่างของ อุณหภูมิอากาศ ( Stack ventilation ) คือ อากาศร้อนใต้หลังคาจะไหลผ่านตามช่องว่าง เล็กๆ ระหว่างกระเบื้องหลังคา อากาศที่เย็นกว่าใต้ถุนและตัวเรือนจะไหลเข้ามาแทนที่ ทาให้เกิดการ ระบายอากาศภายในเรือนรู้สึกเย็นสบาย

ฐานราก - ขุดลงจากชัน้ ดินเดิม ≈ ๘๐ - ๑๐๐ ซม - ระแนะหรือแระ( ฐานราก ) = เป็นแผ่นไม้กระดานสี่เหลี่ยมขนาด ≈ ๐.๔๐ x ๐.๔๐ หนา ๕ - ๗ ซม. = เป็นแผ่นไม้กลมแบน ๓๐ - ๕๐ ซม.หนา ๕ - ๗ ซม. วางไว้ก้นหลุมรับน้าหนักเสา - งัว = ท่อนไม้กลม ๑๕ ซม. ยาว ๕๐ - ๗๐ ซม. ทาหน้าที่รองรับกงพัด - กงพัด = ไม้เหลีย่ ม ๕ x ๑๕ ซม. ยาว ๕๐ - ๗๐ ซม. บากเจาะรูที่โคนเสาสาหรับสอดกงพัดหรือใช้กงพัดคู่ประกับขนาบกับโคนเสา

ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2 http://board.postjung.com/m/536390.html


ฝาเรือนไทยทั่วไปทาเป็น ๒ ชนิด ๑. ฝากรุ นิยมทาฝาเรือนครัว ระบายอากาศและควันได้ดี = กระเเชงอ่อน เสื่อลาแผน ฟาก ขัดเเตะ จากสาคู ใบตาล ทางมะพร้าว ใบเตย ๒. ฝากระดาน = โบราณห้ามมิให้เข้าฟากระดานตามขวาง ( แนวนอน ) ถือว่าเอาอย่างตามฝาโลงผีเป็นอัปมงคล - ฝาสาเร็จรูป = ฝาที่ประกอบเข้าเสร็จพร้อมที่จะนาไปปรุงเรือนหนึ่งฝาของฝาสาเร็จนี้เรียกหน่วยเป็น " กระแบะ " - ฝาปะกน = สันนิษฐานว่าช่างปรุงเรือนนาเอาเศษไม้ที่เหลือจากไม้โครงสร้าง และทาเครื่องเรือนมาใช้ประโยชน์ โดยเข้าร่องประกลลูกฟัก เกิด รูปแบบ ( Pattern ) ที่นิยมขึ้น ฝาปะกน โบราณเขียน " ปกล " น่าจะกร่อนมาจากคาว่า " ปากกล " - ฝาสายบัว = ฝากระดานวางแนวตั้งต่อชนกัน แล้วตีทับแนวไม้ปิดร่องที่ต่อชนกัน เห็นเป็นเส้นในแนวตั้งไม่มีลูกนอน ( ลูกเซน ) เหมือนฝาปะกน - ฝาสาหรวด = ฝาที่มีลูกตั้งเป็นหลักห่างประมาณ ๑ คืบ มีลูกนอน ( ลูกเซน ) ขัดขวางระหว่างลูกตั้งในแนวเดียวกัน ลาดับจากตีนฝาจนถึง ปลายฝา ด้านในกรุด้วยใบจาก ใบเตย กระแชงอ่อน หรือ ไผ่ขัดเเตะ นิยมใช้กับเรือนครัว เพื่อการระบายอากาศและควัน - ฝาประจาห้อง = ฝานี้เข้ากับโครงเรือนด้านยาว ด้านรีหรือด้านแป ก็เรียก ฝานี้นั่งบนพรึง มีขนาดความยาวฝา = ๑ ห้อง เสา ๑ กระแบะ จึงเรียกฝาประจันห้อง - ฝาประจันห้อง = ฝาที่คั่นสาหรับเเบ่งเรือน เป็นห้องเล็กตามความยาวเรือนเป็นฝากลางระหว่างห้องที่แบ่งออกจึงเรียก ฝาประจันห้อง - ฝาเสี้ยว = ฝาตรงส่วนระเบียง ( พาไล ) ด้านบนฝาตัดเสี้ยวตามความสาดหลังคาระเบียง คือ การเข้าปากไม้เเบบรางลิ้น ( เข้าลิ้น ) - ฝาหุ้มกลอง = ฝาเรือนด้านขื่อ ด้านสกัด หรือด้านขวาง เรียก " ฝาหุ้มกลอง " เพราะฝานี้จะหุ้มฝาด้านยาวเหมือนกับหนังหุ้มกลอง หากด้านยาวหุ้มด้าน สกัด ถือว่าไม่เป็นมงคลเพราะจะเหมือนกับการเข้าฝาของโลงศพ ฝาหุ้มกลองนี้ยังเป็น ๒ กระแบะหากทากระแบะเดียว ถือว่า เป็นฝาโลงใส่ผีอีกเช่นกัน

ฝาปะกน ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2 http://board.postjung.com/m/536390.html


1

มวยไทย

มรดกภูมิปัญญาของบรรพชนไทย

ที่มา : ๒๕๕๗ มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม

มวยไทย มีร่องรอยพัฒนาการมาตั้งแต่สมัยสุวรรณภูมิ เริ่มชัดเจนขึ้นในสมัยทวารวดี รุ่งเรือง ในสมัยสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ เป็นศิลปะการต่อสู้ที่มีกลวิธีในการใช้ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ได้แก่ มือ เท้า เข่า ศอก อย่างละ ๒ ศีรษะอีก ๑ รวมเรียกว่า นวอาวุธ อย่าง ผสมกลมกลืน ทั้งในการต่อสู้ป้องกัน ตัวและเชิงกีฬา มวยไทย มีความสาคัญทั้งต่อบุคคล ชุมชน สังคม และ ประเทศชาติ มีส่วนสาคัญยิ่งในการดารงเอกราชของชาติ ไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ในสมัยก่อน ชายฉกรรจ์ไทยแทบทุกคน ทั้งพระมหากษัตริย์ เจ้านายชัน้ ผู้ใหญ่ ขุน นางฝ่ายทหาร และ สามัญชน จะได้รับการฝึกฝนมวยไทยไว้เพื่อป้องกันตัวและชาติ บ้านเมือง เพราะการใช้ อาวุธ เช่น กระบี่ กระบอง พลอง ดาบ ง้าว ทวน ประกอบกับมวยไทย จะทาให้การใช้อาวุธนั้นเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการต่อสู้ป้องกันตัว ระยะประชิด ศิลปะมวยไทย คือ ศิลปะการต่อสู้ที่ใช้หลักพื้นฐานและทักษะ การต่อสู้ในระดับต่างๆ คือ ท่าร่าง เชิงมวย ไม้มวย และเพลง มวย อย่างผสมผสานกันจนมีประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งการรุกและ การรับ ท่าร่าง คือการเคลื่อนตัวและการเคลื่อนที่ เชิงมวย คือ ท่าทางของการใช้นวอาวุธในการต่อสู้ แบ่งออกเป็น เชิงรุก ได้แก่ เชิงหมัด เชิงเตะ เชิงถีบ เชิงเข่า เชิงศอก และเชิงหัว เชิงรับ ได้แก่ ป้อง ปัด ปิด เปิด ประกบ จับ รั้ง เป็นต้น ซึ่งเชิงมวยนี้ถือว่าเป็น พื้นฐานสาคัญในศิลปะมวยไทย ไม้มวย หมายถึงการ ผสมผสาน การใช้หลักพื้นฐานของศิลปะการต่อสู้ เข้ากับท่าร่างและเชิงมวย ถ้าใช้เพื่อการรับเรียกว่า “ไม้รับ” ถ้าใช้เพื่อการรุก เรียกว่า “ไม้รุก” ไม้มวย ยังแบ่งออกเป็นแม่ไม้ ลูกไม้ และไม้เกร็ด แม่ไม้ คือ การปฏิบัติการหลัก ที่เป็นแม่บทของการ ปฏิบัติการรุกและรับ ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบ ๓ ประการ คือ กาลัง พื้นที่ ที่ใช้กาลัง และจังหวะเวลาในการใช้ กาลัง ลูกไม้ คือ การปฏิบัติ การรองที่แตกย่อยมาจากแม่ไม้ ซึ่งแปรผันแยกย่อยไปตามการ พลิกแพลงของท่าร่างและเชิงมวย ที่นามาประยุกต์ใช้ และไม้เกร็ด คือ เคล็ดลับต่างๆ ที่นามาปรุงทาให้แม่ไม้และลูกไม้ที่ปฏิบตั ิมี ความพิสดารมากยิ่งขึ้น


2

ไม้มวยนั้น มีการตั้งชื่อไม้มวยต่างๆให้ไพเราะ เข้าใจและ จดจาได้ง่ายโดยเทียบเคียงลักษณะท่าทาง ของการต่อสู้กับชื่อ หรือลีลาของตัวละคร เหตุการณ์ หรือสัตว์ในวรรณคดี เช่น เอราวัณเสยงา หนุมานถวายแหวน มณโฑนั่งแท่น อิเหนา แทงกฤช ไม้มวยบางไม้ เรียกชื่อตามสิ่งที่คุ้นเคยในวิถี ชีวิตของคนไทย เช่น เถรกวาดลาน คลื่นกระทบฝั่ง หนูไต่ราว มอญยันหลัก ญวนทอดแห เป็นต้น เพราะเมื่อเอ่ยชื่อ ท่ามวยแล้ว จะทาให้นึกถึงท่าทางของการต่อสู้ได้อย่างชัดเจน ส่วน เพลงมวย หมายถึง การแปรเปลี่ยนพลิกแพลงไม้มวยต่างๆ ต่อเนื่องสลับกันไปอย่างพิศดารและงดงามใน ระหว่างการต่อสู้ ในอดีตมวยไทยชกกันด้วยมือเปล่า หรือใช้ด้ายดิบพันมือ หรือ เรียกกันว่า “คาดเชือก” จึงสามารถใช้ มือในการจับ หัก บิด ทุ่ม คู่ต่อสู้ได้ นักมวยจึงใช้ชั้นเชิงในการต่อสู้มากกว่าการใช้พละกาลัง จึงเกิดไม้ มวยมากมาย แต่เมื่อมวยไทยได้พัฒนาเป็นกีฬามากขึ้น มีการออกฎกติกาต่างๆ เพื่อป้องกันอันตรายที่จะ เกิดขึ้นแก่ นักมวย และตัดสินได้ง่าย ไม้มวยทีม่ ีมาแต่อดีตบางไม้จึงไม่ สามารถนามาใช้ในการแข่งขันได้ และบางไม้นักมวยก็ไม่สามารถ ใช้ได้ถนัดเนื่องจากมีเครื่องป้องกันร่างกายมาก ไม้มวยบางท่าจึง ถูกลืม เลือนไปในที่สุด

มวยไทย มีวิวัฒนาการมาหลายยุคหลายสมัย จึงได้หลอมรวม ศิลปวัฒนธรรมหลายด้านเข้า ด้วยกันอย่างผสมผสานกลมกลืน เช่น ความเชื่อในเรื่องจิตวิญญาณ คาถาอาคม ดนตรี วรรณกรรม คุณธรรม จริยธรรม เป็นธรรมเนียมนิยมทีน่ ักมวยไทยยังคงยึดถือ ปฏิบัติกันอยู่ใน ปัจจุบนั ได้แก่ การขึ้นครู การครอบครู การไหว้ครู การแต่งมวย และดนตรีปี่มวย โดยเหตุนี้ มวยไทยจึงเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ เป็นเครื่องมือ ที่ใช้ในการฝึกคนที่วิเศษอย่างหนึ่ง เพราะการฝึกมวยไทยช่วย พัฒนาร่างกาย อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญา ให้เป็นผู้มีความ สมบูรณ์ทั้งกาย ใจ สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข นอกจากนี้ มวยไทยยังเป็นสื่อที่ทาให้ ชาวต่างชาติเข้าใจและ ชื่นชมประเพณีวัฒนธรรมไทยมากขึ้นอีกด้วย ที่มา

1

http://samkok911.blogspot.com/2014/02/cao-rub-mustache.html http://info.dla.go.th/public/travel.do?cmd=goDetail&id=204340&random=1385528956187 http://ich.culture.go.th/index.php/th/ich/folk-sports-games-and-martial-arts/261-sport/93-----m-s

2


ความเชื่อ

ความลึกลับที่ไม่ลึกลับ เขาเชื่อกันเพื่ออะไร... แล้วทาไม ...

ความเชื่อไม่ใช่สิ่งลึกลับเสมอไป 1. เรื่องไม้มงคล ภูมิปัญญาท้องถิ่นจะนาไม้มงคลปลูกไว้ในบริเวณบ้าน โดยมีวัตถุประสงค์ 1.1 เพื่อเป็นขวัญและเป็นสิริมงคล เช่น - ต้นขนุน เชื่อว่า จะมีผู้ค้าจุนสนับสนุนให้ได้ดี - ต้นมะยม เชื่อว่า จะมีผู้นยิ มชมชอบ - ต้นมะขาม เชื่อว่า จะเป็นผู้เกรงขาม มีอานาจวาสนา - ต้นคูณ เชื่อว่า จะมีชีวิตที่รารวย ทาสิ่งใดจะเจริญเป็นทวีคูณ ฯลฯ 1.2 ให้ร่มเงา ให้ความสดชื่น ร่มเย็น 1.3 ให้ผลผลิต ที่สามารถนามารับประทาน และจาหน่ายได้ 2. เรื่องการทาขวัญพระแม่โพสพ ( การทาขวัญข้าว ) - เป็นการแสดงความกตัญญู - การสร้างขวัญและกาลังใจในการประกวดอาชีพเกษตรกรรม (การทานา) - เพื่อให้ได้ผลผลิตมากและอุดมสมบูรณ์ 3. การสร้างศาลเทพารักษ์ - เป็นเครื่องสักการะบูชา โดยมีความเชื่อว่า สิ่งศักดิ์สิทธิ์จะคุ้มครอง ให้ดาเนินชีวิตอย่างเป็นสุข - เป็นขวัญ , กาลังใจ และเป็นสิรมิ งคล 4. กุศโลบาย ในการดาเนินชีวิต - ไม่ให้กวาดบ้านในยามค่าคืน เพราะผีบ้านผีเรือนจะนอน(ในความเป็นจริง เพราะกลัวว่าจะกวาดเอาสิ่งที่มีค่าทิ้งไป) - ห้ามเล่นแอบในยามค่าคืน เพราะผีจะลักพาตัวไป ( เพราะกลัวจะเกิดอันตราย หรือได้รับบาดเจ็บ )

ที่มา

1

kpspstaff.awardspace.com/doythaiweb/home.html http://kpspstaff.awardspace.com/doythaiweb/home.html

1


ประเพณีความเชือ่ 1.

ประเพณีทิ้งกระจาด เป็นประเพณีตามคติความเชื่อทางพระพุทธศาสนานิกาย มหายาน เป็นการจาเริญเมตตาธรรมแก่ดวงวิญญาณด้วยการนาเอาสิ่งของของ ผู้ตายมาแจกจ่ายเป็นทานแก่ผู้ยากไร้

2. ประเพณีเสนเฮือน เป็นประเพณีไทยโซ่ง เป็นพิธีคล้ายพิธีไหว้เจ้าของคนจีนในวัน ตรุษจีน คือ ทาบุญเซ่นไหว้บรรพชน มีหมอเซ่นผีเป็นเจ้าพิธี

3. ประเพณีไหว้พระแข เป็นประเพณีคนไทยเชื้อสายเขมรเป็นพิธีบวงสรวงและไหว้ พระจันทร์ พิธีเสี่ยงทายฝนฟ้าประจาปี 4. ประเพณีปากดง เป็นพิธีทาบุญลานข้าวของไทยโซ่งซึ่งทากันตอนที่ได้ข้าวใหม่ มี การตาข้าวเม่าและข้าวฮาง มีการเซ่งไหว้บรรพชนคล้ายพิธีเสนเฮือน 5. ประเพณีทาบุญหลังบ้าน เป็นประเพณีของไทยพวน เกิดจากความเชื่อว่าในสมัย พุทธกาลเกิดผีห่าขึ้นที่เมืองไพศาลี มีคนเจ็บป่วยล้มตายจานวนมาก ต้องเชิญ เสด็จพระพุทธองค์มาโปรดบันดาลให้ฝนตกชาระซากอศุภไหลลงสูทะเล 6. งานนมัสการหลวงพ่อโตวัดป่าเลไลยก์ เป็นงานประเพณีสืบต่อกันมาแต่โบราณ กาล ประชาชนชาวสุพรรณบุรีและจังหวัดต่างๆที่มีศรัทธานับถือหลวงพ่อโตมา สักการะกันเป็นจานวนมาก ที่มา 1 http://www.siamfreestyle.com/images/content_images/attraction_images/spr/spr_att650003013.jpg http://kpspstaff.awardspace.com/doythaiweb/home.html

1


๓ Highlights “ พัฒนาข้าวบนฐานภูมิปัญญาไทย “ “ 12 ภูมิปัญญาบ้านทรงไทย สอนให้รู้ว่า... “

“ บ้านเรือนไทย (Eco-house) “


พัฒนาข้าวบนฐานภูมิปญ ั ญาไทย โดย พีรเดช ทองอาไพ ยุคที่ข้าวแพงอย่างทุกวันนี้ อาจมองว่าน่าจะทาให้ชาวนายิ้มออก แต่ว่าถ้าหันไปมองต้นทุนที่ใช้ ก็จะเห็นว่าจริง ๆ แล้วถึงแม้ข้าวจะ มีราคาสูงขึ้นอย่างน่าตกใจ แต่ต้องไม่ลืมว่าต้นทุนการผลิตไม่ว่าจะเป็นปุ๋ยและสารเคมีต่าง ๆ ก็เพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย และยิ่งไป กว่านั้น ด้วยพฤติกรรมการปลูกข้าวที่เปลี่ยนไปจากเดิม คือการเปลี่ยนจาก “คนทานา” มาเป็น “ผู้จัดการนา” นั่นก็หมายความ ว่าจ้างคนอื่นมาทาเกือบทุกขั้นตอน รวมทั้งมีเครื่องทุ่นแรงต่าง ๆ เข้ามาช่วยมากมายตั้งแต่ไถที่ไปจนถึงเก็บเกี่ยว ดังนั้นการผลิต ข้าวของเราจึงใกล้เคียงหรือมุ่งเข้าไปสู่อุตสาหกรรมการปลูกข้าวมากขึ้นทุกที หมายความว่าใครมีทนุ มากก็ผลิตข้าวได้มาก ใครมี ทุนน้อยก็ผลิตได้น้อย หากเป็นเช่นนี้ต่อไปอีกไม่นานเราก็คงไม่มีชาวนาตัวจริงเหลืออยู่อีกเป็นแน่ คนในชุมชนบางกลุ่มเริ่มมองเห็นปัญหาและอยากจะแก้ไข จึงได้ลองทาวิจัยด้วยตนเองเพื่อหาทางพัฒนาการปลูกข้าวในชุมชนโดย อาศัยภูมิปัญญาดั้งเดิมที่สั่งสมมาในอดีตเป็นตัวช่วย หลายคนที่คิดว่าชาวนาหรือชุมชนต่าง ๆ ทาวิจัยไม่ได้เพราะการวิจัยสงวนไว้ สาหรับนักวิจัยเท่านั้น ก็คงต้องทาความเข้าใจเสียใหม่ว่าการวิจัยคือกระบวนการสร้างความรู้ ดังนั้น หากมีความรู้เกิดขึน้ ก็คือการ วิจัย ดังนั้นไม่ว่าใครก็สามารถทาวิจัยได้ วิธีวิจัยของชาวบ้านกลุ่มที่จะยกตัวอย่างให้ดูนี้ก็เป็นกระบวนการที่เป็นระบบมีเหตุมีผล และได้เปิดโอกาสให้แต่ละคนร่วมกันหาทางสร้างความรู้เพื่อนาไปพัฒนาร่วมกัน ยกตัวอย่างโครงการการพัฒนาแนวข้าวปลูกหอมมะลิคุณภาพดีของเกษตรกรในพื้นที่ตาบลศรีสว่าง อาเภอโพนทราย จังหวัด ร้อยเอ็ด ซึ่งมีคุณบุญเรือง จริยา เป็นหัวหน้าทีม ร่วมกับนักวิจัยในชุมชนอีกหลายคน เป็นการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาเรื่องการผลิต เมล็ดพันธุ์ดีเพื่อใช้ในการปลูกของตนเอง เพราะว่าปัญหาที่เกิดขึ้นคือชาวบ้านเริ่มตระหนักแล้วว่าการปลูกข้าวหอมมะลิที่เคยขึ้นชื่อ ของชาวทุ่งกุลาร้องไห้ เริ่มจะมีปัญหาเรื่องคุณภาพ นั่นคือกลิ่นหอมลดลง และมีการปลอมปนมากขึ้น ทั้งโดยการจงใจและแบบไม่ ตั้งใจหรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ และด้วยเหตุนี้เองจึงเป็นจุดเริ่มต้นให้ชาวบ้านหันหน้ามาหารือกันโดยใช้กระบวนการวิจัยเป็นเครื่องมือ เริ่มแรกเลยก็คือการหารือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันว่าอะไรเป็นสาเหตุของเรื่องนี้ จนตั้งข้อสงสัยว่าปัญหาอาจเกิดมาจาก กระบวนการผลิตข้าวหอมมะลิในปัจจุบันก็เป็นได้ เพราะว่ามีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการทานาจากเดิมเป็นนาดา กลายมาเป็นนา หว่านกันมากขึ้น ซึ่งก็หมายความว่าต้องใช้เมล็ดพันธุ์จานวนมากขึ้น เมล็ดพันธุ์ที่ใช้ก็ไม่มีการคัดเลือก เพราะว่าใช้วิธีไปตักเอามา จากยุ้งฉางแล้วเอาไปหว่านเลย ตรงนี้คือจุดเริ่มต้นที่ทาให้เกิดการปลอมปน เพราะไม่มีใครบอกได้ว่าเมล็ดข้าวที่เก็บไว้นั้นเป็น พันธุ์เดียวกันทั้งหมดโดยไม่มกี ารปน และที่สาคัญอีกอย่างหนึ่งคือเวลาเก็บเกี่ยวก็มีการใช้เครื่องเกี่ยวนวดเข้ามาแทนแรงคน การ เกี่ยวข้าวโดยใช้เครื่องจักรนี้จะเกีย่ วในขณะที่ข้าวยังไม่สุกเต็มที่และบางทีก็เปียกน้า หากเอาไปขายก็มักจะได้รับคาตาหนิจากลูกค้า เพราะว่าคุณภาพไม่ดี หรือหากจะเอามาทาพันธุ์กม็ ักจะมีปัญหาเพราะว่าอาจมีการปนเปื้อนพันธุ์ข้าวในระหว่างเก็บเกี่ยวได้เช่นกัน อ่านเพิ่มg9, www.arda.or.th/easyknowledge/easy-articles-detail.php?id=61\ http://static.tlcdn2.com/data/11/pictures/0213/02-20-2014/p18h7utouv1rqd1fqu1i4krsq1qss5.jpg


การผลิตข้าวแต่เดิมนั้นเป็นการผลิตเพื่อใช้ในการบริโภคในครัวเรือน ต่อมาในภายหลังถึงได้ยกระดับขึ้นมากลายเป็นสินค้าส่งออกนารายได้เข้า ประเทศเป็นจานวนมหาศาล ดังนั้นวิธีคิดและวิธีปฏิบัติจึงเปลี่ยนไปด้วย กลายเป็นการใช้เครื่องจักรมากขึ้นในทุกขั้นตอน การที่จะหันกลับไปใช้ ภูมิปัญญาดั้งเดิม เหมือนที่เคยทามาในอดีต ก็ต้องมีขั้นตอนและกระบวนการ ขั้นแรกก็คือการศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นดั้งเดิมเกี่ยวกับการทานา แบบเก่าในการคัดพันธุ์ข้าวปลูก ซึ่งวิธีการง่าย ๆ ก็คือเข้าไปในนาแล้วดูว่ามีต้นข้าวแปลกปลอมปนมาหรือไม่ หากมีก็ตัดทิ้งไปจากแปลง หรือ คัดพันธุ์ที่ปนออกตั้งแต่ข้าวเริ่มออกรวง และช่วงที่มีการเก็บเกี่ยวและการนวดการตี นั่นก็หมายความว่าทั้งหมดนี้ต้องทาด้วยมือ หรือทาด้วย แรงงานคนล้วน ๆ ไม่ใช่การใช้เครื่องจักรสมัยใหม่อย่างที่คุ้นเคยกันในปัจจุบัน จากการที่ชาวบ้านกลุ่มนี้ได้ร่วมกันย้อนกลับไปหาวิธีการดั้งเดิมตามภูมิปัญญาที่เคยใช้กันอยู่ในอดีต ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการคัดพันธุ์ในทุก ขั้นตอนเท่าที่จะทาได้ เพื่อไม่ให้มีพันธุ์อื่นปลอมปนเข้ามาทาให้คุณภาพเสียไป การเลือกพื้นที่ที่จะใช้ในการผลิตเมล็ดพันธุ์ รูปแบบการปลูกซึ่ง เน้นที่นาดา เพราะว่าไม่ได้ใช้เมล็ดพันธุ์มากเหมือนนาหว่าน การเก็บเกีย่ วก็ใช้แรงงานคน ไม่ได้ใช้รถเกี่ยวข้าว เพราะว่ารถเกีย่ วข้าวนั่นแหละคือ ตัวการสาคัญของการปนเปื้อนเมล็ดพันธุ์มาจากที่อื่น ทั้งหมดนี้ก็เป็นเพียงขั้นตอนสั้น ๆ ที่ทาให้ต้นทุนการผลิตข้าวลดลงได้ เพราะว่าหากแต่ละ ไร่ใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวประมาณ 25 กิโลกรัม ในตาบลศรีสว่างแห่งเดียว ซึ่งมีพื้นที่ปลูกข้าวประมาณ 2.7 หมื่นไร่ ก็หมายความว่าต้องใช้เมล็ด พันธุ์ข้าวมากถึง 650 ตัน หากราคากิโลกรัมละ 15 บาท ก็หมายความว่าต้องเสียเงินซื้อเมล็ดพันธุ์เกือบ 10 ล้านบาท ดังนั้นการหันมาให้ ความสนใจในการผลิตเมล็ดพันธุ์ไว้ใช้เองหรือจะผลิตเพื่อขายก็ย่อมทาได้ ซึ่งเป็นวิธีการหนึ่งที่จะช่วยรักษาคุณภาพของข้าวหอมมะลิให้ดี ดงั เดิม และเป็นการเพิ่มราคาให้ดีกว่าการขายข้าวเพื่อเอาไปสีไว้กินอีกต่างหาก ทั้งหมดนี้เป็นเรื่องของการสร้างต้นแบบของชาวบ้าน เพื่อนาไปสู่การ พึ่งพาตนเอง และที่สาคัญคือเป็นกระบวนการใช้ความรู้ที่สร้างขึ้นในชุมชนเพื่อแก้ปัญหาของตนเองอย่างยั่งยืนครับ

อ่านเพิ่มg9, http://www.arda.or.th/easyknowledge/easy-articles-detail.php?id=62g

พัฒนาข้าวบนฐานภูมิปัญญาไทย

ปัญหาสาคัญมากข้อหนึ่งก็คือการขาดแคลนเมล็ดพันธุ์ มีการประเมินกันว่าในแต่ละปี เกษตรกรต้องการเมล็ดพันธุ์ข้าวประมาณ 9 แสนถึงล้าน ตัน ในขณะที่หน่วยราชการทีเ่ กี่ยวข้องและมีหน้าที่ผลิตเมล็ดพันธุ์ดังกล่าว สามารถผลิตได้เพียง 5 หมื่นตันเท่านั้น ดังนั้นหน่วยงานรัฐจึง กลายเป็นข้อจากัดของการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว สิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้นคือเอกชนเข้ามามีบทบาทมากขึ้นและก็แน่นอนว่าทุกอย่างเป็นธุรกิจ และหากเป็น เช่นนี้ต่อไปก็หมายความว่าอนาคตธุรกิจเมล็ดพันธุ์ข้าวจะกลายเป็นของเอกชนโดยสมบูรณ์ และชาวนาก็พอใจที่จะซื้อหามาใช้เพราะว่าสะดวกดี แต่นั่นก็หมายความว่าต้นทุนการปลูกข้าวย่อมเพิ่มสูงขึ้นไปอีก ดังนั้นการที่ชาวบ้านในตาบลศรีสว่าง จังหวัดร้อยเอ็ดพยายามหาทางออกโดย การผลิตเมล็ดพันธุ์ขึ้นมาใช้เอง จึงเป็นเรื่องที่น่าสนใจ


“ 12 ภูมปิ ญ ั ญาบ้านทรงไทย สอนให้รวู้ า่ ... “ ที่มา:http://www.baanlaesuan.com/ideas.aspx?articleId=1348

“บ้านเรือนไทย” เป็นภูมปิ ญ ั ญาในการสร้าง บ้านพักอาศัยทีม่ มี าตัง้ แต่สมัยโบราณ เป็น สถาปัตยกรรมทีต่ อบสนองการอยูร่ ว่ มกับสภาพ ภูมอิ ากาศของบ้านเราได้เป็นอย่างดี ปัจจัย บางอย่างในอดีตสร้างข้อจากัดในการสร้างบ้าน วิธกี ารส่วนใหญ่จงึ ให้ธรรมชาติเข้ามามีบทบาทใน การทาให้บา้ นของเราน่าอยูแ่ ละเย็นสบาย


วันเวลาผ่านไป บ้านกลายเป็นสิ่งก่อสร้างที่ผสานเข้ากับเทคโนโลยีมากมาย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องวัสดุในการก่อสร้าง เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ช่วยให้คนใน บ้านสะดวกสบายขึ้น จนบางครั้งเราก็ลืมไปว่าการได้มาซึ่งสิ่งเหล่านี้ อาจแลกมาด้วยทรัพยากรโลกที่กาลังลดน้อยลงทุกที จะดีแค่ไหนหากเรา สามารถผสมผสานภูมิปัญญาในอดีตเข้ากับเทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่อบ้านแสนรักที่ยั่งยืนอยู่คู่กับธรรมชาติไปนานเท่านาน 1.บ้านไทย ไม่มรี วั้ หมู่บ้านในอดีตมีลักษณะความเป็นอยู่แบบเครือญาติ ไม่มีรั้วเป็นสิ่งกั้นขอบเขต หรือหากมีก็จะเป็นรั้ว ลักษณะโปร่ง อาจทาด้วยไม้ตั้งเป็นซี่ห่างๆ หรือเป็นรั้วต้นไม้ที่สร้างความร่มรื่นให้บริเวณบ้าน ทั้งหมดเพื่อป้องกันสัตว์ ร้ายบุกรุกเท่านั้น เพราะฉะนั้นจึงเห็นได้ว่าไม่มีสิ่งใดเป็นอุปสรรคที่จะกั้นกาบังกระแสลม รั้วสาเร็จแบบโปร่ง บ้านในเมืองมักมีรั้วสูงเพื่อความปลอดภัย แต่ตัวบ้านก็ไม่ได้มีการยกใต้ถุนสูงเพื่อรับลม รั้วที่เกิดขึ้นจึงเป็นการบังทิศทาง ลมทั้งหมด การออกแบบรั้วให้มีความโปร่งแต่ก็ยังแข็งแรงปลอดภัยน่าจะดีกว่า ไม่อึดอัดทางสายตาและก็ยงั สามารถให้ ลมพัดผ่านได้ด้วย 2.ค้ายัน เพือ่ การกันแดดทีม่ ากกว่า “ค้ายัน” ก็คือไม้เอียงๆทแยงจากเสาบ้าน ออกไปรับชายหลังคาบ้าน ค้ายันของบ้านไทยมีไว้ก็เพื่อช่วยถ่าย น้าหนักของชายหลังคาไม่ให้แอ่นตกลงมา เพราะหลังคาของบ้านไทยจะต้องยื่นยาวออกจากตัวบ้านเพื่อกันฝนกันแดด และ กันลมหนาวในหน้าหนาว ในบางครั้งค้ายันหรือเท้าแขนนี้จะสามารถพับเก็บได้ ทาให้ชายคาที่ถูกยันอยู่สามารถพับลงมา กลายเป็นฝาผนังบ้าน ยื่นได้ยาว ไม่ต้องมีย้าคัน ปัจจุบันนี้มีเทคโนโลยีในการก่อสร้างมากมายที่ช่วยให้โครงสร้างแข็งแรงขึ้น สามารถยื่นหลังคาออกไปโดย ไม่ต้องมีเสารับได้มากขึ้น แต่ต้องมีการคานวณอย่างละเอียดโดยวิศวกร โครงสร้างเหล็กเบากว่าและสามารถยื่นได้ยาว กว่าโครงสร้างคอนกรีต หรือใช้โครงสร้างแขวนเหมือนสะพานก็ได้ 3.จริงๆแล้วบ้านเรือนไทยเป็นระบบก่อสร้างสาเร็จรูป ชิ้นส่วนประกอบของเรือนไทยมีลักษณะเป็นแบบสาเร็จรูป ไม่ว่าจะเป็นพื้น โครงหลังคา ประตูหน้าต่าง หรือฝาผนัง เมื่อ ตรวจสอบทุกอย่างเสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็จะยกขึ้นประกอบบนเสาที่ตั้ง ทาให้เรือนไทยสามารถเคลื่อนย้ายหรือรื้อลงมาเก็บ รักษาไว้ได้ สิ่งสาเร็จรูปช่วยราคาต้นทุนวัสดุสาเร็จรูปที่ผลิตในปริมาณมากจะช่วยลดราคาต้นทุนในการผลิตได้ ยิ่งเป็นที่นิยมมากก็จะ ยิ่งถูก แต่ประเด็นสาคัญอีกสิ่งอย่างคือเรื่องความรวดเร็วในการก่อสร้าง ปัจจุบันมีบ้านสาเร็จรูปมากมาย ควรเลือกให้ เหมาะสมกับการใช้งาน เพราะแต่ละบริษัทก็มีจุดประสงค์และกลุ่มลูกค้าที่ต่างกันไป


4.ชานเรือน การใช้งานที่คุ้มค่าและยืดหยุ่น ในอดีตการใช้ชีวิตของคนไทยมักใช้เวลานอกห้องนอนเสียเป็นส่วนใหญ่ เรือนไทยจึงให้ความสาคัญกับ ลานหรือชานบ้านมาก หากรวมพื้นที่ชานของเรือนไทยและระเบียงหน้าห้อง จะเป็นพื้นที่โล่งที่ไม่มฝี าผนังกั้นประมาณ 60 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ทั้งหมดเลยทีเดียว ลานหรือชานนี้ยังเป็นพื้นที่เปิดโล่งเพื่อเป็นตัวกระจายลมไปสู่ส่วนต่างๆของ บ้านได้อย่างสะดวก อีกทั้งยังเป็นพื้นที่ส่วนกลางสาหรับเรือนที่ต้องการขยายครอบครัว ให้ต่อเติมเพิ่มห้องต่างๆเข้าไป ได้ในภายหลัง เว้นช่องในบ้านลองออกแบบบ้านแยกออกจากกันเป็นห้องๆและเชื่อมกันด้วยชานหรือระเบียงแทน พื้นที่ว่างเหล่านี้ เปรียบเสมือนชานของเรือนไทยที่ช่วยระบายความร้อน และยังคอยดักลมให้สามารถพัดสู่ทุกห้องได้ดีขึ้นด้วย ยอมเสีย พื้นที่ใช้สอยให้กลายเป็นชานสักนิด รับรองว่าบ้านของเราจะเย็นกว่าบ้านที่ทึบตันแน่นอน 5.ฝาไหล อะไรๆก็เลยเย็น “ฝาไหล” เป็นการทาฝาไม้สองชั้นที่ตีเว้นช่องสลับกัน หากเลื่อนมาซ้อนกัน ก็จะเป็นฝาผนังที่ทึบตัน แต่หากเลื่อนขยับฝา ชั้นในก็จะทาให้เกิดช่องว่างที่ฝา ทาให้แสงและลมสามารถผ่านเข้าออกได้ นิยมทาในบริเวณที่ต้องการให้เป็นช่องมอง ผ่านออกจากตัวบ้าน หรือต้องการลมในบางเวลา การระบายอากาศด้วยเทคโนโลยี การทาฝาไหลกับบ้านสมัยใหม่อาจเป็นไปได้ยาก จึงมีนวัตกรรมที่เรียกว่า เครื่องปรับอากาศ เกิดขึ้น เพื่อใช้ในการ ช่วยระบายอากาศและสร้างอากาศเย็น บ้านที่สมดุลไม่ใช่บ้านที่ไม่เปิดเครื่องปรับอากาศเลย แต่เป็นบ้านที่สามารถใช้ เครื่องปรับอากาศเพื่อให้บ้านเย็นสบายได้อย่างพอดีมากกว่า 6. หน้าบันรูปพระอาทิตย์เชยๆ แท้จริงนั้นมีประโยชน์ “หน้าบัน” คือส่วนที่อยู่ด้านหน้าหลังคาของเรือนไทย เป็นรูปจั่วสามเหลี่ยม บางแห่งจะทาเป็นรูปรัศมีดวง อาทิตย์ ซึ่งหากพิจารณาในรายละเอียด จะเห็นเป็นไม้แบนตีเว้นช่องในแนวของเส้นรัศมีที่สามารถกันฝนสาดได้ ขณะเดียวกันก็มีช่องว่างเพียงพอสาหรับการถ่ายเทอากาศร้อนที่สะสมจากแผ่นหลังคา เป็นการสร้างสภาวะน่าสบายให้ บ้านอีกแบบหนึ่ง หน้าบันที่ออกแบบเองเราสามารถนาแนวคิดนี้มาใช้กับบ้านในปัจจุบันได้ไม่ยาก บ้านที่มีหลังคาจั่วก็ออกแบบให้ที่หน้า บันสามารถระบายอากาศได้ โดยใช้อิฐบล็อกช่องลม หรือผนังเหล็กบางที่ออกแบบมาเพื่อการระบายอากาศโดยเฉพาะ หากกลัวนกหรือแมลงเข้าไปในหลังคา ก็ควรติดมุ้งลวดหรือตะแกรงเหล็กหลังหน้าบันนี้ ที่มา:http://www.baanlaesuan.com/ideas.aspx?articleId=1348


7. ไม้กระถางและอ่างบัวที่ชานเรือน ช่วยอะไรนอกจากความสวยงาม การมีชานเรือนขนาดใหญ่ทาให้ความร้อนจากแสงแดดสามารถสะสมอยู่ในพื้นลานได้มาก แม้พื้นไม้จะไม่ สะสมความร้อนมากนัก แต่หากโดนแดดมากเกินไป ชานเหล่านี้ก็จะร้อนและทาให้บ้านร้อนได้ จึงมีการจัดวางกระถางต้นไม้และอ่างบัวที่ต้องการแดด โดยตรงไว้ตามจุดต่างๆของชานบ้าน เพื่อเป็นร่มเงาบังแดดและลดการเก็บสะสมความร้อน กระถางต้นไม้และอ่างบัวนี้ยังสามารถเลื่อนไปที่อื่นได้ ในยาม ที่จะมีงานเลี้ยงหรืองานบุญที่บ้านซึ่งต้องการชานโล่ง แบ่งพื้นเป็นก้อน ช่วยลดความร้อน พื้นที่ภายนอกที่สะสมความร้อนมาก เช่น ลานจอดรถคอนกรีต จะสะสมความร้อนไว้มากและทาให้บ้าน ของเราร้อนไปด้วย การเลือกใช้วัสดุที่มีความหนาแน่นน้อยกว่าและมีช่องว่างในเนื้อวัสดุมากกว่า จะทาให้พื้นนั้นไม่สะสมความร้อนมากนัก ปัจจุบันมีวัสดุ ที่สามารถดูซับน้าเข้าไปเก็บไว้ในตัวเองได้ และค่อยๆคายไอน้าออกมาเพื่อให้บริเวณนั้นๆเย็นขึ้น หรือใช้เป็นบล็อกที่มีรูและปลูกหญ้าลงไปได้ ก็ช่วยได้ เยอะเช่นกัน 8.ครัวไทย ภูมิปัญญาขั้นสุดยอด ครัวไทยไม่ค่อยอบอ้าวและมีปัญหาเรื่องควันรบกวน เพราะพื้นและฝาผนังห้องครัวของเรือนไทยจะมี ลักษณะโปร่ง ควันไฟจะถ่ายเทออกจากห้องครัวทางฝาที่โปร่ง โดยลมที่พัดขึ้นจากใต้ถุนบ้านผ่านทางพื้นที่มีร่องระหว่างแผ่นไม้ ทั้งยังทาให้อากาศและน้า ระบายออกไปได้ดีด้วย นอกจากนี้คนไทยยังใช้สภาวะที่มีอยู่ของห้องครัวให้เกิดประโยชน์อีกประการ นั่นคือการแขวนเครื่องใช้หรือภาชนะทาจากไม้ไว้ที่ เพดานของห้อง ควันไฟจากการทาอาหารจะลอยขึ้นรมภาชนะเครื่อง ช่วยป้องกันแมลงได้อย่างดี การระบายอากาศในครัว สาหรับบ้านสมัยใหม่ ลองออกแบบครัวให้แยกออกมาจากตัวบ้าน เพื่อป้องกันเรื่องของควันไฟและความ ร้อนที่อาจพัดเข้าไปภายในบ้านได้ ควรคานึงถึงช่องเปิดว่าต้องมีทางให้ลมเข้าและออก ช่องหน้าต่างสามารถเปิดโล่งได้มากที่สุด ปัจจุบันมีเทคโนโลยี เครื่องดูดควันเข้ามาช่วย แต่เราก็ไม่ควรฝากความหวังไว้กับเจ้าเครื่องนี้ทั้งหมด อย่างไรก็ต้องมีการระบายอากาศโดยธรรมชาติไว้ด้วย 9. การเข้าลิ้นสลัก เข้าเดือย เรือนไทยมีความเป็นบ้านสาเร็จรูปเพราะสามารถถอดประกอบได้ ชิ้นส่วนต่างๆจะนามาเข้าลิ้นสลัก เข้าเดือย เพื่อประกอบเป็นบ้าน ซึ่งเทคนิ คนี้ช่วยให้ บ้านสร้างเสร็จเร็ว โครงสร้างมีความแข็งแรงและมีความยืดหยุ่นสูง สามารถต้านทานแรงลมและฝนได้ดี แถมยังไม่ต้องกังวลเรื่องสนิมเหมือนบ้านใน ปัจจุบันที่ใช้ตะปูเป็นตัวยึด ใช้ได้กับการตกแต่งภายใน นาลักษณะการเข้าลิ้นสลัก เข้าเดือยนี้ไปใช้กับงานออกแบบเฟอร์นิเจอร์น็อกดาวน์ก็น่าสนใจดี เพราะสะดวกในการติดตั้ง อีกทั้งงานตกแต่งภายในก็ ต้องการความยืดหยุ่นของการจัดพื้นที่ห้องให้หลากหลายขึ้น


10. บ้านไทยสร้างด้วยวัสดุเบาๆ มีประโยชน์อย่างไรกับเรื่องพลังงาน เรือนไทยทาด้วยไม้และวัสดุเบา ซึ่งเป็นวัสดุที่เก็บความร้อนและกันความร้อนได้น้อย ตอนกลางวันความร้อนก็จะเข้าสู่ตัว บ้านได้รวดเร็ว แต่คนไทยสมัยก่อนตอนกลางวันก็ใช้ชีวิตอยู่นอกชาน ใต้ถุนบ้าน หรือในทุ่งนา ความร้อนที่เข้ามาในห้องจึง ไม่มีผลกับชีวิตมากนัก แต่เมื่อตกดึก ไม้ก็จะคลายความร้อนออกอย่างรวดเร็ว ทาให้ภายในห้องไม่ร้อนอบอ้าวนั่นเอง วัสดุเบามีรูพรุน น่าทาบ้าน วัสดุเบา เช่น คอนกรีตมวลเบา อิฐช่องลม จะมีช่องว่างในเนื้อวัสดุ ทาให้เก็บความร้อนได้น้อย แต่อย่างไรก็ตามต้องเลือก พื้นที่รอบบ้านที่มีความเป็นธรรมชาติ มีต้นไม้ให้ความร่มรื่นด้วย 11. ใต้ถุนสูง เรือนไทยมักปลูกติดริมน้า เพื่อความสะดวกในการสัญจรและประกอบอาชีพกสิกรรม ตัวเรือนจึงออกแบบให้ยกสูงเพื่อ ป้องกันน้าท่วมในฤดูน้าหลาก นอกจากนี้เรายังสามารถใช้พื้นที่ใต้ถุนเป็นที่พักผ่อน ทางาน เลี้ยงสัตว์ เก็บของ ป้องกันโจร และสัตว์ร้ายขึ้นเรือน เนื่องจากบันไดของเรือนไทยสามารถยกเก็บเข้าบ้านได้ ส่วนในแง่ของการออกแบบ ใต้ถุนที่โล่งจะช่วย ให้ลมพัดผ่านสะดวกมากขึ้น และตัวเรือนด้านบนยังเป็นเกราะป้องกันความร้อนให้พื้นที่ใต้ถุนได้เป็นอย่างดี ยกพื้นบ้านเพื่อความเย็นสบาย เมื่อประโยชน์ของใต้ถุนมีมากขนาดนี้ ใครกาลังคิดปลูกบ้าน อย่าลืมทาใต้ถุนให้บ้าน นอกจากนี้การปลูกต้นไม้และพืชคลุม ดิน ยังทาให้สภาพแวดล้อมบริเวณใต้ถุนและรอบบ้านดูร่มรื่นเย็นสบายด้วย 12. ตอม่อที่โผล่ขึ้นมาจากพื้น มีประโยชน์อะไร เรือนไทยภาคใต้มีตอม่อทาด้วยอิฐหรือแท่งหินก็เพื่อกันมดและแมลง และยังช่วยกันความชื้นจากดิน อีกทั้งหากเกิดอุทกภัย การย้ายบ้านทั้งหลังจะทาได้ง่าย เนื่องจากตัวโครงสร้างบ้านที่ทาด้วยไม้นั้นสามารถยกแยกออกจากตัวตอม่อที่ทาด้วยอิฐ หรือแท่งหินได้ การดีดบ้าน เมื่อบ้านเดิมมีปัญหาเรื่องพื้นที่ดินต่าเกินไป ปัจจุบันก็มีเทคโนโลยีดีดบ้านเพื่อหนีปัญหาน้าท่วม ดูเป็นการแก้ปัญหาที่ปลาย เหตุแต่ก็ได้ผลที่ดี โดยต้องเลือกบริษัทที่น่าเชื่อถือและมีความชานาญในการดาเนินการ

ที่มา:http://www.baanlaesuan.com/ideas.aspx?articleId=1348


“บ้านเรือนไทยประหยัดพลังงาน (eco-house)” บ้านประหยัดพลังงาน (ECO-HOUSE) หมายถึง บ้านทีป่ ระกอบไปด้วยวัสดุที่สามารถช่วยลดความร้อนภายในบ้านได้มากที่สุดเท่าที่ เป็นไปได้ โดยนอกจากวัสดุก่อสร้างบ้านแล้วยังเกี่ยวข้องกับการออกแบบที่เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศสาหรับประเทศไทยอีกด้วย เมื่อกล่าวถึงการประหยัดพลังงานกับเรือนไทยนั้น ก่อนอื่นต้องขอ ยกตัวอย่างบรรพบุรุษไทยที่สามารถปรับเปลีย่ นสภาพเรือนที่อยู่ อาศัย และการแก้ปัญหาเพื่อให้ดารงอยู่ได้ในสภาพต่างๆ ที่เกิดจากภัย ธรรมชาติ เช่น การยกใต้ถุนสูงเพื่อหลีกหนีจากภัยน้าท่วม มีหลังคาทรง สูง เพื่อระบายน้าฝนให้เร็ว เป็นต้น คราวนี้เรามาดูกันว่าเราสามารถ ปรับการใช้สอยของอาคารเรือนไทยให้เข้ากับที่ อยู่อาศัยในปัจจุบันได้ อย่างไร โดยคานึงถึงการประหยัดพลังงาน

ชานเรือนนั้นเป็นตัวเชื่อมของเรือนนอนแต่ละ หลังเข้าด้วยกัน เป็นตัวสร้างกิจกรรมภายใน ครัวเรือนให้เกิดขึ้นเป็นการให้แขกบ้านแขก เรือน เข้ามานั่งพูดคุย เรือนไทยบางหลังก็ยัง ปลูกต้นไม้ใหญ่กลางชานบ้านเพื่อให้เกิดร่มเงา ในบ้านเป็นการลดความร้อนในระดับหนึ่งพื้นที่ ของชานเรือนก็ปูด้วยไม้เว้นระยะให้ลมจากใต้ ถุนบ้านลอดเข้ามา และยังเป็นการระบายน้าฝน ให้ออกจากตัวเรือนชานได้รวดเร็วอีกด้วย ทีม่ า prcengineering.blogspot.com/2010/09/eco-house.html www.vcharkarn.com/varticle/38787

การปลูกไม้กระถาง และอ่างบัวบนชาน เรือน เป็นภูมปิ ัญญาของบรรพบุรุษโดย แท้ เพราะนอกจากความสวยงามของการ ปลูกไม้กระถามแล้ว ต้นไม้ยังผลให้เกิดความ ร่มรื่นและคายออกซิเจนเข้าสู่ตัวบ้าน ส่วน อ่างบัวนั้นมีไว้เพื่อระบายความร้อน น้าใน อ่างเมื่อโดนแดดหรือความร้อนก็จะระเหย กลายเป็นไอ และเมื่อลมพัดก็จะเกิดอากาศ ที่เย็นสบายเข้าสู่ตัวบ้าน

การยกใต้ถุนสูงนั้น เป็นการหนีเรื่องปัญหาน้า ท่วมของคนโบราณ และยังได้ใช้ประโยชน์ของ ใต้ถุนด้วยการนั่งพักผ่อน ทางานจักรสาน ทาน ข้าว เก็บของ และเลี้ยงสัตว์ การยกใต้ถุนนั้น ก็เพื่อให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก สามารถนั่ง ทากิจกรรมได้โดยไม่ต้องเปิดแอร์ และยัง สามารถหนีน้าท่วมในฤดูน้าหลากได้อีกด้วย


ช่องแมวลอด เป็นช่องระหว่างชนเรือนกับพื้นเรือน เป็นช่อง ที่นาลมจากใต้ถุนบ้านเข้ามาสู่ชานบ้าน ทาให้บริเวณชานบ้าน เย็นสบาย และเมื่อยกพื้นสูงขึ้นเป็นช่องแมวลอดแล้วระดับ ความสูงนั้นก็พอดีกับการนั่ง ได้อย่างสบาย

ฝาบ้าน เรือนไทยเองนั้นมีฝาบ้านหลากชิดแล้วแต่ประโยชน์ใช้สอย ในพื้นที่ต่างกัน เช่นฝาสารวม ที่ทาด้วยไม้ไผ่หรือไม้กระบอกที่ สานกันเป็นโครงสร้างแล้วกรุด้วยแฝกทาให้ อาการถ่ายเทได้ สะดวก เหมาะที่จะใช้กับเรือนครัวเพื่อระบายควัน ชายคาบ้านเรือนไทยนั้น จะทอดยาวเพื่อเป็นการบัง แดดและลดอุณหภูมิอีกระดับหนึ่งก่อนการเข้าไปใน ห้องนอน ฝาไหล เป็นการนาฝาไม้ตีเว้นช่องสลับกัน 2 ฝา วางอยู่บนราง ไม้ เมื่อเลื่อนมาเหลื่อมกันก็จะเป็นฝาผนังทึบ เมื่อเลื่อนฝา ออกมาซ้อนกันก็จะทาให้เกิดเป็นช่องว่างทาให้ลมและแสงเค้ามาใน ตัวเรือนได้

ฝาเกล็ด เป็นฝาไม้กระดานมาตีปิดเป็นแนวนอนกับไม้โครง คร่ า ว โดยวางให้ ไ ม้ ก ระดานเหลื่ อ มกั น เป็ น ล าดั บ คล้ า ย ภูมปิ ัญญาของบรรพบุรุษในการสร้างเรือนนั้นเป็นการแก้ปัญหาด้วยหลักการง่ายๆ เกล็ดปลา บ้านในสมัยปัจจุบันสามารถนามาประยุกต์ใช้ไ ด้ สมควรที่สถาปนิกที่ต้องการสร้างบ้านเพื่อลดการใช้พลังงาน ควรรับไปพิจารณา ด้วย การเว้นช่องระหว่างบานไม้คล้ายกระจกบานเกล็ดท า และในขณะเดียวกันนั้น ผู้ที่มีบ้านอยู่แล้ว สามารถนาแนวความคิดการปลูกเรือน เป็นหน้าต่างไม้บานเกล็ดสามารถให้ลมไหลผ่านได้ และเป็น ไทยมาปรับแต่งประยุกต์ใช้ในบ้าน เพื่อลดการใช้พลังงาน เช่นการปลูกต้นไม้บัง การบังสายตาจากภายนอก แดดและเป็นการช่วยกรองอากาศอีกทางหนึ่ง การขุดสระ หรือปลูกบัวกระถางก็เพื่อ การปลูกต้นไม้ใหญ่ เพื่อลดความร้อนที่เข้ามากระทบกับตัว การระเหยของไอน้าเพื่อความเย็นในตัวบ้าน และการต่อยื่นชายคาหรือกันสาด เพื่อ เรือน ควรปลูกต้นไม้ตามแนวแดดอ้อมใต้ คือปลูกด้านทิศ ลดการกระทบของแสงแดดที่จะเข้ามาในตัวบ้าน สิ่งเหล่านี้เป็นการถ่ายลดระดับ ตะวันออก ทิศใต้ และทิศตะวันตก ส่วนทางทิศเหนือควรเปิดเอาไว้ อุณหภูมิก่อนที่จะเข้าสู่ตัวบ้าน ดังนั้นทุกท่านสามารถนาหลักการง่ายๆข้างต้นนามา เพื่อรับแสงธรรมชาติ เพื่อลดการใช้แสงประดิษฐ์ในเวลากลางวัน ปรับใช้ในที่อยู่อาศัยปัจจุบันเพื่อการลดการใช้พลังงานได้อย่างดี http://www.vcharkarn.com/varticle/38787


Thank you


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.