หนังสือข่าวทหารอากาศ ฉบับเดือน มิถุนายน 2555

Page 79

ดินไหลหรือโคลนถล่ม (Debris flow) คือดินถล่มชนิดหนึ่งที่มักเกิดขึ้นในบริเวณเทือกเขาที่เป็นพื้นที่ ต้นน้�ำ เมือ่ มีฝนตกหนักติดต่อกันเป็นเวลานาน จนทำ�ให้ดนิ และหินชุม่ น้�ำ จนไม่สามารถทรงตัวอยูไ่ ด้เกิดการพังทลาย ในลักษณะไหลปะปนกับน้ำ�ในลักษณะของโคลนลงสู่ที่ตำ่�ด้วยความเร็วสูงและมีพลังในการพัดพาต้นไม้และ หินกรวดทรายตามลงมาด้วย โดยปกติสาเหตุของการเกิดภัยพิบตั จิ ากน้�ำ หลากและดินถล่มแถบภูเขาและทีร่ าบเชิงเขาในประเทศไทย จะมาจาก ๒ สาเหตุหลัก คือ ๑. สาเหตุทางธรรมชาติ : ไม่สามารถควบคุมหรือควบคุมได้ยาก แต่สามารถตรวจสอบและเตือนภัยได้ คือ ลักษณะของชั้นดินและชั้นหิน ความลาดชันของภูมิประเทศ และปริมาณบริเวณรับน้ำ�ฝน ๒. สาเหตุจากมนุษย์ : ซึ่งสามารถหยุดยั้ง ควบคุม และปรับเปลี่ยนให้อยู่ในรูปที่ดีขึ้นได้ คือ การบุกรุก และตัดไม้ทำ�ลายป่า การใช้ประโยชน์ที่ดินที่ไม่มีการควบคุม และการก่อสร้างบ้านเรือนและโครงสร้างพื้นฐานที่ กีดขวางทางน้ำ� ถึงแม้วา่ ดินถล่มจะเป็นปรากฏการณ์ทเี่ กิดขึน้ ได้ทวั่ ไปในบริเวณภูเขาทีม่ คี วามลาดชันสูง แต่อย่างไรก็ตาม ในบริเวณทีม่ คี วามลาดชันต่�ำ ก็สามารถเกิดดินถล่มได้ ถ้ามีปจั จัยทีก่ อ่ ให้เกิดดินถล่มทีเ่ หมาะสม โดยทัว่ ไปบริเวณ ที่มีดินถล่มเกิดได้เสมอๆ คือ บริเวณที่ใกล้กับแนวรอยเลื่อนที่มีพลัง และการยกตัวของแผ่นดินขึ้นเป็นภูเขาสูง บริเวณที่ทางน้ำ�กัดเซาะเป็นโตรกลึกและชัน บริเวณที่มีแนวรอยแตกและรอยแยกหนาแน่นบนลาดเขาบริเวณ ที่มีการผุพังของหินและทำ�ให้เกิดชั้นดินหนาบนลาดเขา ในบริเวณที่มีความลาดชันต่ำ� และมีดินที่เกิดจากการผุพัง ของชั้นหินที่บนลาดเขาหนา ดินถล่มมักเกิดจากการที่น้ำ�ซึมลงในชั้นดินบนลาดเขาและเกิดแรงดันของน้ำ�เพิ่มขึ้น ในชั้นดินโดยเฉพาะในช่วงที่ฝนตกหนัก การเกิดดินถล่มในโลกได้มีมาตั้งแต่ในยุคธรณีกาล โดยวิเคราะห์ได้จากหลักฐานทางด้านธรณีวิทยา ดังจะเห็นได้จากตะกอนรูปพัดทีเ่ กิดจากการสะสมของดินและหินทีถ่ ล่มอยูบ่ นสองฝัง่ ของลำ�น้�ำ จากพืน้ ทีร่ บั น้�ำ ทีเ่ ป็น เขาสูงลงสู่พื้นที่ราบ สำ�หรับประเทศไทย การพิบัติของลาดดินที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาตินั้นมีมานานหลายร้อย หลายพันปีมาแล้ว ซึง่ มีหลักฐานจากร่องรอยตะกอนน้�ำ พัดพารูปพัด (Alluvium fan) พบได้บริเวณปลายลำ�น้�ำ ที่ มีความลาดชันสูง เช่น ลุ่มน้ำ�ปิง วัง ยม น่าน ในภาคเหนือ ลุ่มน้ำ�ตาปีในภาคใต้ ลุ่มน้ำ�ป่าสักในภาคกลางตอนบน ลุม่ น้�ำ ปราจีนบุรใี นภาคตะวันออก และทางตะวันตกของประเทศไทยบริเวณ อ.ท่าม่วง อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี ต่อเชื่อมกับ อ.กำ�แพงแสน จ.นครปฐม ซึ่งเกิดจากลำ�น้ำ�แควน้อย – แควใหญ่ และเป็นแหล่งทรายพื้นใหญ่ที่เราใช้ ในการก่อสร้างในกรุงเทพฯ อยู่ในปัจจุบัน การพิบตั ขิ องลาดดินในบริเวณภูมปิ ระเทศทีเ่ ป็นพืน้ ทีส่ งู ชันมีสาเหตุเนือ่ งมาจากฝนตกหนักและ เกิดขึน้ ร่วมกับน้ำ�หลากเป็นส่วนใหญ่ โดยเกิดขึ้นเมื่อเศษหิน/ดิน (Colluvial/ Residual soil) บนลาดเขาถึงจุด Field capacity เช่น ในกรณีที่น้ำ�หรือความชื้นในชั้นดินบนลาดเขา ซึ่งจะเคลื่อนที่ลงมาด้วยแรงดึงดูดของโลก ไหลออก จากชัน้ ดินด้วยความเร็วทีไ่ หลเข้าและต่อเนือ่ งด้วยปริมาณน้�ำ ฝนทีต่ กหนักมากเกินกว่าความสามารถในการซึมซับ ได้ของชั้นหินที่รองรับชั้นดินนี้อยู่ภายใต้สถานการณ์ที่มีปริมาณน้ำ�ฝนตกหนักมากเกินกว่าความสามารถในการ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.