หนังสือข่าวทหารอากาศ ฉบับเดือน ธันวาคม 2563

Page 1

ขาวทหารอากาศ ISSN 0125 6173 ปที่ ๘๐ ฉบับที่ ๑๒ เดือนธันวาคม ๒๕๖๓

ขาวทหารอากาศ

ปที่ ๘๐ ฉบับที่ ๑๒ เดือนธันวาคม ๒๕๖๓

http://www.airforcemagazine.rtaf.mi.th

ISSN 0125 6173


บทบรรณาธิการ

สวัสดีครับ ท่านผู้อ่านที่รักทุกท่าน ในวันที่ ๕ ธันวาคม นับเป็นวันส�าคัญอย่างยิ่ง ส� า หรั บ ปวงชนชาวไทย ๔ ประการ คื อ เป็ น วั น คล้ า ยวั น พระราชสมภพของ พระบาทสมเด็ จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ซึ่งพระองค์ทรงเป็นมิ่งขวัญของชาติ และปวงประชาชนมาตลอด ๗๐ ปี ที่ทรงบ�าเพ็ญ พระราชกรณียกิจนานัปการ ในการท�านุบา� รุงบ้านเมือง และบ�าบัดทุกข์บา� รุงสุข แก่พสกนิกรตลอดมา โดยมิได้ ทรงย่ อ ท้ อ เหน็ ด เหนื่ อ ยต่ อ ความยากล� า บากหรื อ อุปสรรคอันใด เพือ่ ทรงน�าความมัน่ คงและความก้าวหน้า มาสู่ประเทศชาติทรงเป็นศูนย์รวมดวงใจ และเป็น ที่เคารพสักการะเทิดทูนเหนือเศียรเกล้าของปวงชน ชาวไทยอย่างไม่มีวันเสื่อมคลาย นอกจากนี้รัฐบาล ยังได้ประกาศให้เป็น “วันชาติ” และ “วันพ่อแห่งชาติ” นอกจากนี้ นั ก ปฐพี วิ ท ยาทั่ ว โลก ได้ ป ระจั ก ษ์ ถึ ง พระวิสัยทัศน์อันกว้างไกล ในการอนุรักษ์และพัฒนา ทรั พ ยากรดิ น ของพระองค์ ท ่ า น จึ ง ลงมติ ใ ห้ วั น ที่ ๕ ธันวาคมของทุกปีเป็น “วันดินโลก” อีกด้วย ดังนัน้ คณะผู้จัดท�าหนังสือข่าวทหารอากาศจึงขออัญเชิญ พระบรมฉายาลักษณ์ของพระองค์ทา่ นขึน้ เป็นภาพปก อีกวาระหนึ่ง

และเพือ่ เป็นการเฉลิมพระเกียรติของพระองค์ทา่ น กองทั พ อากาศและพสกนิ ก รชาวไทยจึ ง ได้ ร ่ ว มใจ จัดพิธีท�าบุญตักบาตรอุทิศถวายเป็นพระราชกุศล แด่ พ ระองค์ ท ่ า นรวมทั้งหากท่านมีโอกาสเดินทาง ไปพักผ่อนในภาคเหนือก็ ข อเชิ ญ ไปกราบสั ก การะ พระมหาธาตุนภเมทนีดลและพระมหาธาตุนภพลภูมสิ ริ ิ ณ ดอยอินทนนท์ ซงึ่ เป็นยอดเขาทีส่ งู ทีส่ ดุ ในประเทศไทย เพื่อน้อมส�านึกในพระมหากรุณาธิคุณ และเพื่อความ เป็ น สิ ริ ม งคลแก่ ต นเองและครอบครั ว ส� า หรั บ พระมหาธาตุ เ จดี ย ์ น ภเมทนี ด ล มี ค วามหมายว่ า พระสถูปเจดีย์บรรจุพระบรมธาตุที่ยิ่งใหญ่เพียงฟ้า จรดดิ น ให้ ส มกั บ พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ พระบรม เดชานุภาพ อีกทั้งพระบารมีที่แผ่ไพศาลสุดแผ่นดิน จรดแผ่นฟ้านอกจากท่านจะได้ชมสถานที่ท่องเที่ยว ของเราที่ ส วยงามแล้ ว ท่ า นจะได้ สั ม ผั ส อากาศ ที่ ห นาวเย็ น ซึ่ ง แสดงว่ า ประเทศไทยเราได้ เ ข้ า สู ่ ฤดูหนาว โดยอากาศจะเย็นเร็วขึ้น ขอให้ทุกท่าน ดู แ ลรั ก ษาสุ ข ภาพด้ ว ยช่ ว งนี้ อ ากาศจะแห้ ง และ ลมแรง เสี่ ย งต่ อ การเกิ ด เพลิ ง ไหม้ และมลพิ ษ จากฝุ ่ น PM 2.5 ทั้ ง นี้ กองทั พ อากาศได้ เ ตรี ย ม ความพร้อมในการช่วยเหลือประชาชนทุก ๆ ด้าน อยู่เสมอ ส� า หรั บ เรื่ อ งเด่ น ในฉบั บ นี้ ไ ด้ แ ก่ วั น ดิ น โลก, แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล 2021, การใช้ ประโยชน์ จ ากกิ จ การอวกาศ ส� า หรั บ การรั บ มื อ การแพร่ระบาดของเชือ้ โรค COVID-19 และเศรษฐกิจ ดิจิทัล รวมทั้งคอลัมน์ประจ�าที่น่าสนใจอีกมากมาย เชิญพลิกอ่านตามอัธยาศัยครับ 


สารบัญ ๕ ๑๐ ๑๕ ๑๙ ๒๓ ๒๗ ๓๒ ๓๔ ๓๙ ๔๓ ๔๗ ๕๐ ๕๑ ๕๖ ๕๗ ๖๒ ๖๗ ๗๒ ๗๕ ๘๐ ๘๕ ๘๘ ๙๑ ๙๗

ป ที่ ๘๐ ฉบั บ ที่ ๑๒ เดื อ นธั น วาคม ๒๕๖๓

วันดินโลก World Soil Day - มัทนะพาธา ๑๐๐ ป ทิวงคต "พระบิดาแห งกองทัพอากาศ" เป ดปูม ๑๐๐ ป การบินของบุพการี กองทัพอากาศ - พล.อ.อ.มณฑล สัชฌุกร แนวโน มการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล 2021 - น.อ. สรรสิริ สิริสันตคุปต ๖๘ ป โรงเรียนจ าอากาศ จากอดีต ก าวสู ป จจุบัน - ปชส.รร.จอ. ยศ.ทอ. การใช ประโยชน จากกิจการอวกาศสําหรับการรับมือการแพร ระบาดของเชือ้ โรค COVID-19 - น.ท.รณชัย วุฒวิ ทิ ยารักษ เวลาการ ตูน - มีสกรีน RED EAGLE อินทรีแดง แผลงฤทธิ์ : การยิงป นรณยุทธ สุดยอดการใช อาวุธ สําหรับนักแม นป น - น.ต.ภฤศพงศ ช อนแก ว ครูภาษาพาที : การ ดเชิญสักใบไหมคะ (INVITATION CARD) - Annihilation MANNED to UNMANNED AIRCRAFT เปลีย่ นเครือ่ งบินให เป นโดรน - น.อ.วัชรพงษ กลีบม วง มุมกฏหมาย : หมิ่นประมาทเป นอย างไร - ร.อ.ชานุวัฒน แสงสุวรรณ ธรรมประทีป : มรรค ๘ ในการรับมือกับไวรัส COVID-19 - กอศ.ยศ.ทอ. มุมท องเที่ยว : เกาะหลีเป ะ - สุวดี เกร็ดเล็กเกร็ดน อย ประชาคมอาเซียน+3 : สัตว ประจําชาติของสาธารณรัฐ ประชาชนจีน - @Zilch "บางแก ว" - rtaf's eyesview อาถรรพ ศึกวันคริสต มาส : พักรบ ๑ วัน เพื่อนกันจนวันตาย - ผาแต ม เศรษฐกิจดิจิทัล Digital Economy - น.อ.ดร.ณัฐวุฒิ สามไพบูลย ทหารหาญ ทางการแพทย (Military Medicine) - น.ท.ชัชวาลย จันทะเพชร จับจิต จับใจ กับ อ.หนู : เรียนรู พฤติกรรมการรวมกลุ ม ผ านมุมมอง ทางจิตวิทยาสังคม - อ.หนู ทําความรู จักกับการข าวกรองภูมิสารสนเทศ - น.ท.รัตนสุทธิ สุทธิแย ม รอบรู เทคโนโลยีป องกันประเทศ - สทป. ขอบฟ าคุณธรรม : …เจตนานัน้ สําคัญทีส่ ดุ … - 1261 ในรั้วสีเทา ศูนย บรรเทาสาธารณภัย : กองทัพอากาศเทคโนโลยีทางทหาร และภารกิจ ในการช วยเหลือและบรรเทาสาธารณภัย - ร.อ.หญิง วิวัสวัน เปล งวิทยา

๑๙

๒๗

๔๓

๖๗


4

ข าวทหารอากาศ คณะผูจ้ ดั ท�าหนังสือข่าวทหารอากาศ เจ้าของ กองทัพอากาศ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์

พล.อ.อ.ม.ร.ว.ศิริพงษ์ ทองใหญ่ พล.อ.อ.ธนนิตย์ เนียมทันต์ พล.อ.อ.คงศักดิ์ วันทนา พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ์ พล.อ.อ.ตรีทศ สนแจ้ง พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน พล.อ.อ.แอร์บูล สุทธิวรรณ

พล.อ.อ.อมร แนวมาลี พล.อ.อ.ปอง มณีศิลป พล.อ.อ.ชลิต พุกผาสุข พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง พล.อ.อ.จอม รุ่งสว่าง พล.อ.อ.มานัต วงษ์วาทย์

ที่ปรึกษา พล.อ.อ.ธงชัย แฉล้มเขตร พล.อ.อ.ศักดิ์พินิต พร้อมเทพ พล.อ.ต.สหัสชัย มาระเนตร

พล.อ.อ.มณฑล สัชฌุกร พล.อ.ต.หญิง สุมาลี ฤทธิบุตร

ผู้อ�านวยการ/บรรณาธิการ

พล.อ.ท.ฐานัตถ์ จันทร์อ�าไพ เจ้ากรมกิจการพลเรือนทหารอากาศ

รองผู้อ�านวยการ

พล.อ.ต.ธรรมรงค์เดช เจริญสุข พล.อ.ต.วิสุทธิ์ สมภักดี น.อ.นิโรจน์ จ�าปาแดง น.อ.สมบัติ วงศาโรจน์ ผู้ช่วยบรรณาธิการ ผู้จัดการ

พล.อ.ต.สมพร แต้พานิช

ผู้ช่วยผู้อ�านวยการ

น.อ.นินาท มูลจนะบาตร์ น.อ.ธนินรัฐ ภูพงศ์พยัคฆ์

น.อ.นิโรจน์ จ�าปาแดง น.อ.อภิรัตน์ รังสิมาการ น.ท.หญิง มุตสิตา มาหะศักดิ์

ประจ�าบรรณาธิการ

น.ท.หญิง สุภาวดี โคตรเวียง พ.อ.อ.ธรรมวัฒน์ รัตนวิจารณ์ พ.อ.อ.ชัยชนะ โสระสิงห์ จ.อ.หญิง ศุภวัลย์ กระจ่างนฤมลกุล นางจันทร์สม ค�ามา น.ส.ณัฐวดี ธ�ารงวงศ์ถาวร

น.ท.หญิง รัชนก เกิดสุข พ.อ.อ.พันธกานต์ พูลผล พ.อ.อ.หญิง วาสนา รับสมบัติ น.ส.อุไรวรรณ บุญณรงค์ น.ส.รสสุคนธ์ บุญประเทือง น.ส.กมลรัตน์ เหมือนศิริ

กองวารสารและสื่อสิ่งพิมพ์ (เพื่อพลาง) ส�านักกิจการพลเรือนและประชาสัมพันธ์ กรมกิจการพลเรืิอนทหารอากาศ ถนน พหลโยธิน แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๕๓๔ ๔๔๗๑, ๐ ๒๕๓๔ ๔๒๔๑ โทรสาร ๐ ๒๕๓๔ ๔๔๗๑ ส่งบทความและภาพกิจกรรมได้ที่ rtafmag@gmail.com

หนังสือข่าวทหารอากาศ ความเปนมา หนังสือข่าวทหารอากาศ เป็นนิตยสารรายเดือนของกองทัพอากาศ เริม่ ด�าเนินการเมือ่ ปี พ.ศ.๒๔๘๓ ขึน้ กับกรมข่าวทหารอากาศ โดย นาวาอากาศเอก สกล รสานนท์ เป็นบรรณาธิการคนแรก ด�าเนินการโดยทุนของข้าราชการทหารอากาศ พ.ศ.๒๔๙๘ ได้โอนกิจการมาอยูใ่ นความอ�านวยการของกรมยุทธศึกษาทหาร อากาศ ตามค�าสั่ง ทอ.(เฉพาะ) ที่ ๕๘๐/๙๘ ลง ๒๓ ธ.ค.๒๔๙๘ ๑ ม.ค.๒๕๕๓ ได้เข้าอยู่ในกิจการสวัสดิการกองทัพอากาศ ก�ากับดูแล โดยคณะอนุ ก รรมการบริ ห ารวารสารและสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ ก องทั พ อากาศ ตามอนุมัติ ผบ.ทอ./ประธานกรรมการสวัสดิการกองทัพอากาศ เมื่อ ๒๘ ธ.ค. ๒๕๕๒ ก�าหนดให้ใช้ระเบียบคณะกรรมการสวัสดิการกองทัพอากาศ ว่าด้วยการ บริหารวารสารและสื่อสิ่งพิมพ์กองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๕๒ ๑ ม.ค.๒๕๖๑ ได้เข้ามาอยู่ในการก�ากับดูแลของกรมกิจการพลเรือน ทหารอากาศ ตามค�าสั่ง ทอ. (เฉพาะ) ที่ ๑๓๖/๖๐ ลง ๒๖ ก.ย.๒๕๖๐

ภารกิจ ด�าเนินกิจการหนังสือข่าวทหารอากาศ ให้เป็นไปตามนโยบายของผูบ้ ญั ชาการ ทหารอากาศ โดยมีผู้อ�านวยการหนังสือข่าวทหารอากาศ (จก.กร.ทอ.) เป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ

วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ในกิจการทั่วไป ๒. เพือ่ แสดงความคิดเห็นด้านการทหาร การเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิง่ แวดล้อม อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม ๓. เพื่อเผยแพร่กิจการของกองทัพอากาศ

การด�าเนินงาน ๑. เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน แสดงความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ ในการพัฒนากองทัพอากาศและส่วนรวม ๒. เนื้อหาที่น�ามาลงในหนังสือข่าวทหารอากาศ - ต้องไม่ขดั ต่อวัตถุประสงค์/นโยบายของผูบ้ ญ ั ชาการทหารอากาศ - ต้องไม่กระทบต่อความมั่นคงของชาติ บุคคล หรือ ส่วนรวม - ต้องได้รับการพิจารณาและเห็นชอบจากคณะผู้จัดท�าหนังสือข่าว ทหารอากาศ

ก�าหนดการเผยแพร่ นิตยสารรายเดือน

พิมพ์ที่ บริษัท ที.เค.เอส. เทคโนโลยี จ�ากัด (มหาชน) ๓๐/๘๘ หมู ่ ๑ ถ.เจษฎาวิถ ี ต.โคกขาม อ.เมือง จ.สมุทรสาคร ๗๔๐๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๗๘๔ ๕๘๘๘ โทรสาร ๐ ๒๗๘๔ ๕๘๕๘

อ่านบทความเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ได้ที่ www.airforcemagazine.rtaf.mi.th และ www.rtaf.mi.th บทความและความคิดเห็นของผู้เขียนในหนังสือฉบับนี้ ไม่มีส่วนผูกพันกับทางราชการแต่ประการใด ออกแบบปก : พ.อ.อ.ชัยชนะ โสระสิงห์ ภาพประกอบบทความและภาพกราฟกส์เวกเตอร์บางส่วนน�ามาจาก : www.google.com, www.freepik.com


ข าวทหารอากาศ

5

วันดินโลก มัทนะพาธา

วันดินโลก (World Soil Day) ถูกก�าหนดให้ ตรงกับวันที่ ๕ ธันวาคม ของทุกปี สืบเนื่องมาจาก การประชุมสภาโลกแห่งปฐพีวทิ ยา (World Congress of Soil Science) ครั้งที่ ๑๗ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๔๕ โดย สหภาพวิทยาศาสตร์ทางดินนานาชาติ (International Union of Soil Sciences) ได้ตระหนักถึงพระราช กรณียกิจของ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในการ พั ฒ นา “ทรั พ ยากรดิ น ” โดยเฉพาะการพั ฒ นา ด้านการเกษตร จึงได้เลือกวันที่ ๕ ธันวาคม ของทุกปี ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพฯ เป็นวัน ดินโลก (World Soil Day) เพือ่ เทิดพระเกียรติพระวิรยิ ะ อุตสาหะของพระองค์ ในด้านการปกป้องและพัฒนา ทรัพยากรดิน

โดยศาสตราจารย์ เ กี ย รติ คุ ณ ดร. สตี เ ฟน นอร์ตคลิฟฟ (Emeritus Professor Dr.Stephen Nortcliff) กรรมการบริหารสหภาพวิทยาศาสตร์ ทางดิ น นานาชาติ เข้ า เฝ้ า ทู ล ละอองธุ ลี พ ระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดนิ เพือ่ มนุษยธรรม (The Humanitarian Soil Scientist) เมื่อวันที่ ๑๖ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๖ และขอพระบรม ราชาอนุ ญ าตให้ วั น ที่ ๕ ธั น วาคมของทุ ก ปี เ ป็ น “วันดินโลก” (World Soil Day) เพื่อให้ประชาชน คนไทยได้ น ้ อ มร� า ลึ ก ถึ ง โครงการในพระราชด� า ริ ที่เกี่ยวข้องกับดินของพระองค์ฯ ผู้เขียนจึงขอน�า โครงการฯ ต่าง ๆ ทีพ่ ระองค์ฯ ได้ใช้พระปรีชาสามารถ ในการพัฒนาทรัพยากรดิน โดยเฉพาะการพัฒนา ด้านการเกษตร ดังนี้


6

โครงการทดลองแก้ปัญหาดินเปรี้ยว นครนายก

โครงการศึกษาฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรมเขาชะงุ้ม

๑. โครงการทดลองแก้ปัญหาดินเปรี้ยว เป็นพระราชด�ำริแก้ปัญหาดินเปรี้ยวในจังหวัด นครนายก ด้วยการใช้วิธีธรรมชาติเปลี่ยนถ่ายดิน จากแปลงหนึง่ สูแ่ ปลงหนึง่ เพือ่ ลดความเปรีย้ วของดิน อีกทัง้ ยังได้ใช้ปนู มาร์ล และสาหร่ายในการปรับสภาพ น�้ำให้ดีขึ้น และต่อมาก็ได้พระราชทานพระราชด�ำริ ให้มูลนิธิชัยพัฒนาด�ำเนินการศึกษาผลกระทบของ การใช้เถ้าลอยลิกไนท์ เพื่อแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว เพิ่มเติมอีกด้วย

๒. โครงการศึกษาฟืน้ ฟูทดี่ นิ เสือ่ มโทรมเขาชะงุม้ (อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ) ตั้งอยู่ที่บ้านเขาชะงุ้ม หมู่ที่ ๒ ต�ำบลเขาชะงุ้ม อ�ำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี เป็นศูนย์ศึกษาวิจัย และสาธิตวิธกี ารฟืน้ ฟูปรับปรุงดินเสือ่ มโทรมให้สามารถ ใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเป็นรูปแบบ และส่งเสริมอาชีพเกษตรกรที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียง กับพืน้ ทีโ่ ครงการ ได้เรียนรูว้ ธิ กี ารจัดการดิน น�ำ ้ และพืช อย่างถูกต้อง มีความยั่งยืนไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะท�ำให้เกษตรกรมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น


ข่าวทหารอากาศ

7

โครงการหญ้าแฝก

๓. โครงการหญ้าแฝก เป็นการใช้หญ้าแฝกในการอนุรักษ์ดินและน�้ำ โดยทรงทดลองปลู ก หญ้ า แฝกเพื่ อ ให้ ป ้ อ งกั น การ พังทลายของดิน จนปัจจุบันมีหน่วยงานกว่า ๕๐ หน่วยงาน ด�ำเนินงานสนองพระราชด�ำริการพัฒนา และรณรงค์การใช้หญ้าแฝก ส่งผลให้การด�ำเนินงาน ก้าวหน้ามากขึ้นตามล�ำดับ ๔. โครงการแกล้งดิน เกษตรกรในจังหวัดนราธิวาส ประสบปัญหา ดินเปรี้ยวท�ำให้เพาะปลูกไม่ได้ผล จึงมีพระราชด�ำริ ให้ ท� ำ การศึ ก ษาวิ จั ย และพั ฒ นาดิ น พรุ เพื่ อ แก้ ไ ข ปัญหาดินเปรี้ยว ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง จังหวัดนราธิวาส ให้เป็นดินที่มีคุณภาพ สามารถ โครงการแกล้งดิน ท�ำการเพาะปลูกได้ พระองค์ทรงแนะน�ำให้ใช้วิธ ี “การแกล้งดิน” คือ เริ่มจากการแกล้งดินให้เปรี้ยว สุดขีด ด้วยการท�ำดินให้แห้งและเปียกสลับกัน เพือ่ เร่ง จากนั้ น จึ ง ท� ำ การปรั บ ปรุ ง ดิ น ที่ เ ป็ น กรดจั ด นั้ น ปฏิ กิ ริ ย าทางเคมี ข องดิ น พรุ ที่ มี ส ารประกอบของ ด้วยวิธีการต่าง ๆ ที่จะลดความเป็นกรดลงมาให้อยู ่ ก�ำมะถัน จนท�ำให้ดินมีสภาพเป็นกรดจัดเมื่อดินแห้ง ในระดับที่จะปลูกพืชเศรษฐกิจ เช่น ข้าว ได้


8

๕. โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน เป็นพื้นที่ที่ราษฎรน้อมเกล้าฯ จ�ำนวน ๒๑๖ ไร่ ตั้ ง อยู ่ ที่ อ� ำ เภอพนมสารคาม จั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา ซึ่งผืนดินมีสภาพความทุรกันดาร จึงมีพระราชด�ำริ ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด�ำเนินการฟื้นฟูทรัพยากร ธรรมชาติ ทั้งดิน น�้ำ ป่าไม้ ในพื้นที่ดังกล่าว (รวมทั้ง หมู่บ้านรอบ ๆ ศูนย์ฯ) โดยมีการร่วมมือกันแบบ บู ร ณาการ มี ก ารวางแผนปลู ก พื ช และเลี้ ย งสั ต ว์ ทั้ ง ยั ง ตั้ ง เป็ น แหล่ ง ศึ ก ษา ค้ น คว้ า ตลอดจนเป็ น สนามทดลองทางด้านการเกษตร เพื่อให้เกษตรกร และผู้ที่สนใจเข้ามาดูงานและน�ำแนวพระราชด�ำริ ไปปฏิ บั ติ ต าม เพื่ อ พั ฒ นาอาชี พ และเพิ่ ม ผลผลิ ต ของตนท�ำให้มีฐานะความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ๖. โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย ตัง้ อยู่ อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี ซึง่ พืน้ ทีแ่ ห่งนี้ เคยอุดมสมบูรณ์ แต่ได้ถูกราษฎรเข้าบุกรุกท�ำลายป่า เพื่อประกอบอาชีพเกษตรกรรม จนไม่เหลือป่าไม้ และสัตว์ป่า ท�ำให้พื้นที่แห้งแล้ง ฝนไม่ตกตามฤดูกาล และสภาพพืน้ ดินเสือ่ มโทรมอย่างหนัก จึงได้พระราชทาน พระราชด�ำริให้พฒ ั นาพืน้ ที่ เป็นศูนย์ศกึ ษาการพัฒนา ด้านป่าไม้อเนกประสงค์ ให้ใช้ประโยชน์จ ากพื้ นที ่ ให้สมดุลกับทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ ๗. โครงการศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ ตั้งอยู่ที่ อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ พระราชทานพระราชด�ำริให้พฒ ั นาทรัพยากรธรรมชาติ ทัง้ ด้านทรัพยากรต้นน�ำ ้ ด้านเกษตรกรรม ด้านปศุสตั ว์ และโคนม รวมทั้งด้านอุตสาหกรรม เนื่องมาจาก มีพระราชประสงค์ที่จะให้ท�ำหน้าที่เสมือนพิพิธภัณฑ์ ธรรมชาติที่มีชีวิต ที่ประชาชนจะเข้าไปเรียนรู้และ น�ำไปปฏิบัติได้จริง

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ


ข่าวทหารอากาศ

โดยในด้านดินและเกษตรกรรมมีพระราชด�ำริ ให้ศึกษาพัฒนาสภาพดินในพื้นที่ท่ีมีความลาดชัน ซึง่ น�ำไปใช้ประโยชน์ไม่ได้ ให้เกิดประโยชน์ตอ่ ประชาชน อย่างสูงสุด โดยได้ท�ำการทดลองปลูกพืชที่เหมาะสม ทดสอบประโยชน์ของดินชนิดนีใ้ นรูปแบบอืน่ ๆ รวมทัง้ ศึกษาความยากง่ายในการชะล้างพังทลายของดิน ดังกล่าวไว้เพื่อหาวิธีป้องกัน และเพื่อลดผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมในระยะยาว ส่งผลให้ประชากรได้มี พื้นที่ท�ำกินและอยู่อาศัยได้อย่างไม่ล�ำบากมากนัก เมื่อประจักษ์ถึงโครงการต่าง ๆ ในพระราชด�ำริ ทีเ่ กีย่ วข้องกับดิน ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ก็ทำ� ให้ น้ อ มร� ำ ลึ ก ถึ ง พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ อั น หาที่ สุ ด มิ ไ ด้

9

ของพระองค์ฯ ที่ได้พระราชทาน “ภูมิปัญญาแห่ง แผ่ น ดิ น ” ให้ แ ก่ ป วงชนชาวไทย ดั ง นั้ น วั น ที่ ๕ ธันวาคม ของทุกปี จึงนับเป็นวันดินโลก (World Soil Day) ที่ปวงชนชาวไทยได้มีโอกาสเทิดพระเกียรติ พระวิริยอุตสาหะของพระองค์ ในด้านการปกป้อง และพัฒนาทรัพยากรดิน ซึ่งเป็นพระราชประสงค์ ของพระองค์ที่เคยได้ตั้งปณิธานไว้ตามพระราชด�ำรัส ที่ตรัสไว้กับปวงชนชาวไทยที่ว่า “…อันทีจ่ ริงเราชือ่ “ภูมพิ ล” ทีแ่ ปลว่า “ก�ำลัง ของแผ่นดิน” แม่ก็อยากให้เธออยู่กับดิน เมื่อฟัง ค�ำพูดแล้วกลับมาคิด ซึ่งแม่คงจะสอนเราและมี จุดมุ่งหมายว่าอยากให้ติดดินและอยากให้ท�ำงาน ให้แก่ประชาชน...”

อ้างอิง - ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ (ส�ำนักงาน กปร.) มูลนิธิชัยพัฒนา เรารักพระเจ้าอยู่หัว


10

(ต่อจากฉบับทีแ่ ล้ว)


ข่าวทหารอากาศ

พระประวัติรับราชการโดยย่อ ได้รับพระราชทานสุพรรณบัฏตั้งกรม ๑. วันที่ ๑๕ มกราคม ๒๔๓๔ เป็น กรมขุนพิศณุโลกประชานารถ (ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๘ แผ่นที่ ๔๓ วันที่ ๒๔ มกราคม รัตนโกสินทรศก ๑๑๐ หน้า ๓๘๕) ๒. วันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๔๕๔ เป็น กรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ (ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๒๘ วันที่ ๑๑ พฤศจิกายน รัตนโกสินทรศก ๑๓๐ หน้า ๑๗๑๘) ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรยศทหารบก ๑. วันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๔๔๒ เป็น นายร้อยตรี ๒. วันที่ ๒๑ กันยายน ๒๔๔๖ เป็น นายร้อยเอก ๓. วันที่ ๒๓ เมษายน ๒๔๔๙ เป็น นายพันเอก ๔. วันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๔๕๑ เป็น นายพลตรี ๕. วันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๔๕๓ เป็น นายพลโท ๖. วันที่ ๗ ธันวาคม ๒๔๕๔ เป็น นายพลเอก ๗. วันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๔๖๐ เป็น จอมพล ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรยศทหารเรือ วันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๔๕๘ เป็น นายนาวาเอกพิเศษทหารเรือ ได้รับพระราชทานยศเสือป่า ๑. วันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๔๕๔ เป็น นายกองตรี ๒. วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๔๕๕ เป็น นายกองเอก ต�ำแหน่ง พ.ศ.๒๔๔๙ - ๒๔๕๒ ทรงด�ำรงต�ำแหน่งผู้ช่วยผู้บัญชาการกรมยุทธนาธิการ และผู้บัญชาการโรงเรียนทหารบกอีกต�ำแหน่งหนึ่ง พ.ศ.๒๔๕๒ - ๒๔๕๖ ทรงด�ำรงต�ำแหน่งเสนาธิการทหารบก พร้อมกับทรงรั้ง หน้าที่เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารบก (เปลี่ยนการจัดโรงเรียนทหารบก เป็นกรมยุทธศึกษาทหารบก) จนถึงเดือนมิถุนายน ๒๔๕๖

11


12

พ.ศ.๒๔๕๓ ทรงด�ำรงต�ำแหน่งผู้บังคับการกรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็กรักษาพระองค์อีกต�ำแหน่งหนึ่ง พ.ศ.๒๔๕๔ - ๒๔๕๖ ทรงด�ำรงต�ำแหน่งผู้แทนเสนาบดีกระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๔๕๖ - ๒๔๖๓ ทรงด�ำรงต�ำแหน่งเสนาธิการทหารบกอีกครั้งหนึ่ง พ.ศ.๒๔๖๑ - ๒๔๖๒ เป็นผู้ทรงอ�ำนวยการและบังคับบัญชากองทหารไปร่วมรบ ในสงครามโลกครั้งที่ ๑ ต�ำแหน่งพิเศษ ๑. วันที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๔๕๒ เป็น พันเอกพิเศษ กรมทหารม้าที่ ๗ มณฑลพิศณุโลก (ค�ำสั่ง ๒๓๑/๑๗๗๗๒ ร.ศ.๑๒๘) ๒. วันที่ ๒๘ มกราคม ๒๔๕๒ เป็น ราชองครักษ์พิเศษ ๓. วันที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๔๕๓ เป็น องคมนตรี ๔. วันที่ ๗ มกราคม ๒๔๕๔ เป็น นายทหารพิเศษประจ�ำกรมทหารรักษาวังของ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ๕. วันที่ ๘ มกราคม ๒๔๕๔ เป็น ผู้แทนเสนาบดีกระทรวงกลาโหมตามค�ำสั่ง กระทรวงกลาโหม ๑๘๗/๑๙๗๑๐ ลง ๒๑ ธ.ค. ร.ศ.๑๓๐ (พ.ศ.๒๔๕๔) และค�ำสั่งกระทรวง กลาโหมที่ ๑๙๗/๒๐๗๑๖ ลง ๘ ม.ค. ร.ศ.๑๓๐ เพราะจอมพลกรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช เสนาบดีกระทรวงกลาโหม ได้รับพระราชทานบรมราชานุญาตให้ไปรักษาพระองค์ที่ยุโรป โดยก�ำหนดออกเดินทางในต้น ม.ค.๒๔๕๔ ได้ทรงเป็นผู้แทนเสนาบดีอยู่ ๑ ปี กับ ๘ เดือนเศษ ๖. วันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๔๕๔ เป็น นายทหารพิเศษประจ�ำกรมทหารบกม้า กรุงเทพรักษาพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ๗. วันที่ ๑๐ เมษายน ๒๔๕๕ เป็น ผู้บังคับการพิเศษกรมเสือป่าที่ ๑ รักษาดินแดนพิศณุโลก ๘. วันที่ ๓ เมษายน ๒๔๕๗ เป็น อุปนายกผู้อ�ำนวยการสภากาชาดสยาม ๙. วันที่ ๓ มกราคม เป็น คุรุบัณฑิตในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๑๐. พ.ศ.๒๔๕๙ เป็น เนติบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ๑๑. วันที่ ๘ เมษายน ๒๔๖๐ เป็น นายเสือป่าพิเศษในกรมเสือป่าม้าหลวงรักษาพระองค์


ข าวทหารอากาศ

๑๒. วันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๔๖๑ เป็น คณาธิบดีเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมี ศักดิ์รามาธิบดี ๑๓. วันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๔๖๒ เป็น ผู้บังคับการพิเศษโรงเรียนนายร้อยชั้นประถม ๑๔. วันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๔๖๓ เป็น นายทหารพิเศษประจ�ากรมทหารบกม้า นครราชสีมาของสมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนารถ ไปราชการพิเศษ วันที ่ ๙ สิงหาคม ๒๔๔๓ เสด็จแทนพระองค์ไปในงานพระบรมศพ สมเด็จพระเจ้าอุมแบร์โตที ่ ๑ แห่งอิตาลี ณ กรุงโรม วันที่ ๖ มิถุนายน ๒๔๔๘ เสด็จแทนพระองค์ไปในงานพระราชพิธีอภิเษกสมรสระหว่าง มกุฎราชกุมารวิลเฮล์มและมกุฎราชกุมารีเซซิลีแห่งปรัสเซีย ณ กรุงเบอร์ลิน วันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๔๕๔ เสด็จแทนพระองค์ไปในงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในสมเด็จ พระเจ้ายอร์ชที่ ๕ และพระราชินีแมรี่ ณ พระมหาวิหารเวสต์มินสเตอร์

13


14

(อ่านต่อฉบับหน้า) อ้างอิง - หนังสือทีร่ ะลึก เนือ่ งในโอกาสครบรอบ ๑๐๐ ปี การทิวงคต จอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ ภูวนารถ กรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ พระบิดาแห่งกองทัพอากาศ


ข าวทหารอากาศ

เปดปูม ๑๐๐ ป การบิน ของบุพการี กองทัพอากาศ พล.อ.อ.มณฑล สัชฌุกร

(ต่อจากฉบับที่แล้ว)

พ.ศ.๒๕๐๕ ได้ รั บ มอบเครื่ อ งบิ น ติ ด อาวุ ธ แบบ T-28 จากสหรัฐอเมริกา จ�านวน ๔๐ เครื่อง ก�าหนดชื่อเป็น เครื่องบินฝึกแบบที่ ๑๓ (บ.ฝ.๑๓) แต่เนื่องจากใช้งานเป็นเครื่องบินโจมตี จึงเปลี่ยนชื่อ เป็นเครื่องบินโจมตี และฝึกแบบที่ ๑๓ (บ.จฝ.๑๓) ต่อมาได้รับเพิ่มเติมอีก ๘๐ เครื่อง ระหว่างปี ๒๕๐๗ ถึง ๒๕๑๘ ในปีเดียวกันได้รบั มอบเฮลิคอปเตอร์แบบ H-34 จ�านวน ๑๓ เครื่อง จากสหรัฐอเมริกา ก�าหนดชื่อ เป็นเฮลิคอปเตอร์แบบที่ ๔ (ฮ.๔) และได้รับเพิ่มเติม อีก ๕๒ เครือ่ ง ระหว่างปี ๒๕๐๖ - ๒๕๑๒ ต่อมาในปี ๒๕๐๗ กองทัพอากาศดัดแปลง ฮ.๔ เป็นเฮลิคอปเตอร์ พระที่นั่ง จ�านวน ๑ เครื่อง และดัดแปลงเพิ่มเติมอีก ๑ เครื่อง ในปี ๒๕๐๙ นับเป็นเฮลิคอปเตอร์พระที่นั่ง แบบแรก และได้รับเฮลิคอปเตอร์แบบ H-43 จาก สหรัฐอเมริกา จ�านวน ๔ เครื่อง ก�าหนดชื่อเป็น เฮลิคอปเตอร์แบบที่ ๕ (ฮ.๕)

เฮลิคอปเตอร์แบบที่ ๔ (Sikosky H-34 Choctaw)

เฮลิคอปเตอร์แบบที่ ๕ (Kaman H-43B Huskie)

เครื่องบินโจมตีและฝกแบบที่ ๑๓ (North American T-28D Trojan)

15


16

เครื่องบินขับไล่แบบที่ ๑๗ ก (North American F-86L Sabre)

พ.ศ.๒๕๐๖ ได้รบั เครือ่ งบินขับไล่ทกุ กาลอากาศ แบบ F-86L จากสหรัฐอเมริกา จ�านวน ๑๗ เครื่อง ก�าหนดชือ่ เป็น เครือ่ งบินขับไล่แบบที ่ ๑๗ ก (บ.ข.๑๗ ก) และได้รบั เครือ่ งบินธุรการแบบ U-10 จากสหรัฐอเมริกา จ�านวน ๑๒ เครื่อง ก�าหนดชื่อเป็น เครื่องบินธุรการ แบบที่ ๑ (บ.ธ.๑) วันที่ ๑๗ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๐๖ เปิดการอบรม ช่างอากาศทีร่ บั สมัครจากบุคคลพลเรือนเป็นครัง้ แรก เรี ย กว่ า “ช่ า งพลเรื อ น” ด� า เนิ น การอบรมตาม หลักสูตร ๖ เดือน นับว่าได้ผลเป็นที่น่าพอใจ วันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๐๗ รัฐบาลตกลงใจ ให้ความช่วยเหลือทางทหารแก่รัฐบาลสาธารณรัฐ เวียดนามในกรณีสงครามเวียดนาม โดยอนุมัติให้ กองทัพอากาศจัดส่งนักบิน และเจ้าหน้าทีไ่ ปปฏิบตั กิ าร ในสาธารณรัฐเวียดนาม มีนาวาอากาศตรี ไวพจน์ สุกมุ ลจันทร์ เป็นผูบ้ งั คับหน่วยบินล�าเลียง ทหารอากาศ ชุ ด แรกนี้ ไ ปปฏิ บั ติ ก ารที่ ส าธารณรั ฐ เวี ย ดนาม

เครื่องบินขับไล่แบบที่ ๑๗ ก (North American F-86L Sabre)

เครื่องบินธุรการแบบที่ ๑ (Helio U-10BCourier)


ข าวทหารอากาศ

17

หน่วยบินวิกตอรี่ที่ปฏิบัติการในสงครามเวียดนาม

ตั้ ง แต่ วั น ที่ ๒๙ กั น ยายน ๒๕๐๗ โดยเรี ย กว่ า “หน่วยบินวิกตอรี่ (Victory)” ระหว่ า งปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ดั ง กล่ า ว หน่ ว ยบิ น วิ ก ตอรี่ ไ ด้ รั บ ภารกิ จ ในการบิ น ขนส่ ง สิ่ ง อุ ป กรณ์ และผู้บาดเจ็บจากการรบ รวม ๓,๙๔๖ เที่ยวบิน น�้ า หนั ก สิ่ ง อุ ป กรณ์ ๑๓,๕๑๔.๗ ตั น ผู ้ โ ดยสาร ๓๔,๓๑๐ คน เครื่องบินประสบอันตรายจากการยิง ของอาวุ ธ ทางพื้ น ดิ น ของข้ า ศึ ก หลายครั้ ง และ เป็นผลให้มีการสูญเสียเจ้าหน้าที่ประจ�าเครื่องบิน

จากการรบ จ�านวน ๒ คน ทหารอากาศในหน่วยบิน วิกตอรี่ ได้รับเหรียญ Distinguished Flying Cross ของสหรัฐอเมริกา เหรียญ Armed Forces Honour Medal ชั้น ๑ และชั้น ๒ ของสาธารณรัฐเวียดนาม และเหรี ย ญชั ย สมรภู มิ ป ระดั บ เครื่ อ งหมายเปลว ระเบิด หน่วยบินวิกตอรี่ปฏิบัติการบินในสาธารณรัฐ เวียดนาม รวม ๗ ชุด ๆ ละ ๓ ผลัด ชุดสุดท้าย เดินทางกลับประเทศไทย เมือ่ วันที ่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๑๔


18

เรืออากาศโท อนาวิล ภักดีจิต ได้รับเหรียญ Distinguished Flying Cross ของสหรัฐอเมริกา และอีกหลายท่านได้รับเหรียญ Armed Forces Honour Medal ของสาธารณรัฐเวียดนาม (อ่านต่อฉบับหน้า) อ้างอิง - หนังสือ ๔ แผ่นดินราชวงศ์จักรี ๑๐๐ ปี การบินของบุพการีทหารอากาศ


ข าวทหารอากาศ

19

แนวโน มการเปลี​ี่ยนแปลง ทางดิจิทัล 2021 (Digital Transformation Trends for 2021)

น.อ. สรรสิริ สิริสันตคุปต์

คงไม่ มี ใ ครที่ คิ ด ว่ า ปี ค.ศ.2020 จะพาพวกเรา เปลี่ยนแปลงไปสู่วิถีใหม่ (New Normal) เมื่อมอง หกเดือนสุดท้ายของปี ค.ศ.2020 จะเห็นว่าการระบาด ของไวรัส COVID-19 นั้น ท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ทางดิจิทัลที่มากขึ้นกว่า ๑๐ ปี ที่ผ่านมา ด้วยความ พยายามในการเปลีย่ นแปลงทางดิจทิ ลั มีอย่างต่อเนือ่ ง และพบว่าความต้องการนั้นเพิ่มขึ้นที่ต้องการมาก คื อ การเชื่ อ มต่ อ บนเครื อ ข่ า ยที่ มี ค วามปลอดภั ย และเชือ่ ถือได้ตลอดเวลา ซึง่ สิง่ เหล่านีม้ คี วามเกีย่ วข้อง อย่างไรส�าหรับการคาดการณ์ การเปลี่ยนแปลงทาง ดิจิทัลของปี ค.ศ.2021 เทคโนโลยีหลักอย่าง ปัญญา ประดิษฐ์ (AI) และการสื่อสารไร้สาย 5G จะยังอยู่ ในการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัลหรือไม่หรือเราจะได้ เห็นเทคโนโลยีใหม่ ๆ ทีเ่ กิดขึน้ มาเป็นผูน้ า� สิง่ ต่อไปนี้ จั ด เป็ น แนวโน้ ม การเปลี่ ย นแปลงทางดิ จิ ทั ล ของ ปี ค.ศ.2021 ที่ผู้เขียน และ Daniel Newman นั้น เชื่อว่าจะกลายมาเป็นส่วนที่ส�าคัญส�าหรับเทคโนโลยี ของปี ค.ศ.2021 โดยบทความในฉบับนีม้ มี มุ มองและ รายละเอียดที่น่าสนใจดังนี้

5G จะเข้าสู่กระแสหลักในที่สุดในเวลานี้ เราคงได้ยนิ เกีย่ วกับประโยชน์ของ 5G มาหลายปี แต่ก็ยังไม่ได้เห็นจนกระทั่งต้องมานั่ง ท�างานร่วมกัน ในแบบดิจิทัล อย่างเช่น การท�างานจากที่บ้านหรือ การประชุมผ่านวิดีโอ ซึ่งได้กลายเป็นวิถีชีวิตใหม่ ของเราในปี ค.ศ.2020 ความต้องการในการเชื่อมต่อ บนเครือข่ายที่เชื่อถือได้ มีความปลอดภัย และมี แบนด์วิดท์ที่สูงขึ้นนั้น จะเป็นประโยชน์อย่างแท้จริง


20

ที่ส�าคัญเราทุกคนเห็นด้วยการที่เราได้ใช้สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต และอุปกรณ์พกพาอืน่ ๆ รวมถึงความต้องการ ในการเชื่อมต่อของอุปกรณ์และสิ่งของในส่วนของ IoT (Internet of Things) ได้อย่างสมบูรณ์ ก็มจี า� นวน ทีเ่ พิม่ มากขึน้ เรือ่ ย ๆ ถือเป็นการตอกย�า้ ถึงความจ�าเป็น ของการเชื่อมต่อบนเครือข่ายความเร็วสูงแบบหลาย ช่องทาง (Multi-lane Superhighway) ซึ่งบริษัท โทรคมนาคมต่าง ๆ รู้อยู่แล้วว่าพวกเรานั้นต้องการ ในปัจจุบันธุรกิจต่าง ๆ คงไม่สามารถตัดการเชื่อมต่อ บนเครื อ ข่ า ยความเร็ ว สู ง ได้ และการปรั บ มาใช้ บนเครือข่าย 5G นั้น ได้กลายเป็นส่วนที่ส�าคัญของ การด�าเนินงานทางธุรกิจ ประกอบกับเราหลายคนยังคง ต้องท�างานจากที่บ้านโดยรวมอย่างต่อเนื่อง ที่ส�าคัญ ผู้เขียน และ Daniel Newman เชื่อว่าสิ่งที่ตามมา จะแสดงให้เห็นถึงความต้องการบนเครือข่าย 5G ซึง่ จะ กลายเป็ น กระแสหลั ก ที่ ม ากขึ้ น ในปี ค.ศ.2021

ในขณะเดียวกันผู้ผลิตสมาร์ทโฟนรายใหญ่ทุกราย บนโลกอย่าง Samsung Apple Motorola และ Xiaomi ก�าลังจะเปิดตัวสมาร์ทโฟน 5G ในทุกระดับ ราคา โดยบริษัท Qualcomm ซึ่งเป็นหนึ่งในผู้น�า ทางเทคโนโลยี 5G จะช่วยให้ 5G มีราคาที่ถูกลง ส�าหรับผู้ใช้ทุกคนที่ต้องการสมาร์ทโฟน 5G ในปีหน้า (ค.ศ.2021) Cybersecurity ต้องเพิม่ ความสามารถให้สงู ขึน้ มื่อย้อนเวลากลับไป การรักษาความปลอดภัย ทางไซเบอร์ (Cybersecurity) ได้ ห ลุ ด ออกจาก แนวโน้มทางเทคโนโลยีทสี่ า� คัญในปีทแี่ ล้ว (ค.ศ.2020) ด้วยการแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 ท�าให้ ความปลอดภัยบนโลกไซเบอร์กลายเป็นสิง่ ส�าคัญขึน้ มา อีกครั้ง แฮกเกอร์ใช้ประโยชน์จากการแพร่ระบาด ของไวรัส COVID-19 เพือ่ ขยายการโจมตีอย่างต่อเนือ่ ง ต่ อ ธุ ร กิ จ ทั่ ว โลก อาทิ การโจมตี ธ นาคารเพิ่ ม ขึ้ น


ข าวทหารอากาศ

ร้อยละ ๒๓๘ และการโจมตีคลาวด์เซิร์ฟเวอร์เพิ่มขึ้น ร้อยละ ๖๐๐ โดยได้ตรวจพบตั้งแต่เดือนมกราคม ถึงเมษายน ค.ศ.2020 ในช่วง COVID-19 มีพนักงาน น้อยลงที่ท�างานในที่ท�างาน (Onsite) บนเครือข่าย เดียวกันทีม่ คี วามปลอดภัยของบริษทั จึงมีความจ�าเป็น อย่างมากที่บริษัทต่าง ๆ จะต้องเชื่อมโยงเครือข่าย ของตนและปรับปรุงกลยุทธ์ การรักษาความปลอดภัย ทางไซเบอร์ให้ครอบคลุมไปยังเครือข่ายภายในบ้าน อันรวมถึงอุปกรณ์พกพาที่ถูกใช้โดยพนักงานจ�านวน มากทีท่ า� งานจากทีบ่ า้ น (Workfrom Home) นอกเหนือ จากการใช้ไฟร์วอลล์และระบบตรวจจับการบุกรุก (Intrusion Detection System : IDS) ซึ่งเป็น ผลิตภัณฑ์ส�าหรับใช้ในการรักษาความปลอดภัยทาง ไซเบอร์ ที่สามารถหาซื้อได้จากบริษัทอย่าง Cisco และ Fortinet รวมถึงบริษัท IBM และ Splunk

21

ที่ มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ นการระบุ ค วามปลอดภั ย และ การจัดการเหตุการณ์ (Security Identify and Event Managemen : SIEM) Microsoft นั้นก็เป็น อี ก หนึ่ ง บริ ษั ท ที่ ล งทุ น อย่ า งมากส� า หรั บ การรั ก ษา ความปลอดภัยทางไซเบอร์ด้านต่าง ๆ เช่น Active Directory ซอฟต์แวร์ และระบบคลาวด์สิ่งหนึ่งที่ ผู้ผลิตซอฟต์แวร์ ระบบคลาวด์ และฮาร์ดแวร์ ควรท�า คื อ เพิ่ ม ความพยายามในการท� า ให้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละ บริ ก ารของตนปลอดภั ย มากยิ่ ง ขึ้ น เพื่ อ รั บ มื อ กั บ อั ต ราการโจมตี ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ทางไซเบอร์ ที่ เ ราคง ได้เห็นแล้วตลอดปี ค.ศ.2020 ที่ส�าคัญผู้เขียนและ Daniel Newman เชื่อว่าปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) และการเรียนรูข้ องเครือ่ ง (Machine Learning : ML) จะมีความส�าคัญในการรักษาความ ปลอดภัยทางไซเบอร์ เนือ่ งจากเราจะได้เห็นการโจมตี


22

ทางไซเบอร์ ที่ เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะต้ อ งใช้ อัลกอริธึมปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence Algorithm) ที่ซับซ้อนมากขึ้นในการค้นหา เฝ้าคอย ติดตาม และตอบสนองต่อปฏิกิริยา หรือกิจกรรม ทีน่ า่ สงสัยทางไซเบอร์ได้อย่างต่อเนือ่ ง (Automation) ทัง้ นีเ้ พือ่ เพิม่ ความสามารถในการรักษาความปลอดภัย ทางไซเบอร์ให้สูงขึ้น ข้อคิดที่ฝากไว้ การแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 ได้เปลี่ยน ทั้ ง วิ ถี แ ห่ ง การด� า เนิ น ชี วิ ต และความเร็ ว ของการ เปลี่ยนแปลงทางดิจิทัลซึ่งก็มีแนวโน้มที่จะด�าเนิน ต่อไปในปี ค.ศ.2021 ทิศทางของแนวโน้มและล�าดับ ของความส�าคัญใหม่ ๆ ที่ทุกองค์กรต้องเผชิญในปี ค.ศ.2020 นัน้ จะท�าให้เราทราบถึงจุดของการตัดสินใจ

และจุดที่ต้องลงทุนทางเทคโนโลยี เพื่อขับเคลื่อน กลยุทธ์ตา่ ง ๆ ขององค์กรไปสูก่ ารเปลีย่ นแปลงทางดิจทิ ลั ที่ถูกก�าหนดไว้ในปี ค.ศ.2021 ไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้น สิ่งหนึ่งที่ต้องยอมรับคือการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล ที่เกิดขึ้นจะยังคงเป็นจุดที่น่าสนใจของทุกองค์กร ทั่วโลก

อ้างอิง - www.forbes.com/sites/danielnewman/ - http://www.cioworldmagazine.com/topics/columist/sansiri-sirisantakupt/


ข าวทหารอากาศ

23

ปชส.รร.จอ. ยศ.ทอ.

จุ ด เริ่ ม ต้ น ของโรงเรี ย นจ่ า อากาศ เกิ ด จาก การรวมกันของกองโรงเรียนต่าง ๆ ได้แก่ กองโรงเรียน ช่างอากาศ กองโรงเรียนสือ่ สาร กองโรงเรียนทหารราบ กองโรงเรี ย นการอาวุ ธ กองโรงเรี ย นการถ่ า ยรู ป กองโรงเรียนจ่าอากาศ กองยุทธศึกษาทหารอากาศ พยาบาล และกองโรงเรียนพลาธิการ โดยใช้ชื่อว่า “กองโรงเรียนจ่าอากาศ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ” ขึ้นตรงต่อ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ เมื่อวันที่ สิรวีร์ มณีวงษ์ เป็นผู้บังคับการโรงเรียนจ่าอากาศ ๒๔ ธันวาคม ๒๔๙๕ ซึ่งถือเป็นวันคล้ายวันสถาปนา กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ตัง้ แต่ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๒ โรงเรียนจ่าอากาศ สืบมา ปัจจุบันมี นาวาอากาศเอก เป็นต้นมา


24

ปัจจุบัน โรงเรียนจ่าอากาศ กรมยุทธศึกษา ทหารอากาศ จัดการเรียน การสอน เป็น ๒ หลักสูตร คือ หลักสูตรโรงเรียนจ่าอากาศ พ.ศ.๒๕๖๒ ได้แก่ เหล่าทหารแพทย์ ระยะเวลาศึกษา ๒ ปี และหลักสูตร โรงเรียนจ่าอากาศ พ.ศ.๒๕๖๓ ได้แก่ เหล่าทหาร อากาศโยธิน เหล่าทหารอุตุ เหล่าทหารสารวัตร เหล่าทหารช่างอากาศ เหล่าทหารต้นหน (บังคับการบิน) เหล่าทหารสือ่ สาร เหล่าทหารต้นหน (ควบคุมอากาศยาน และแจ้งเตือน) เหล่าทหารสรรพวุธ เหล่าทหารสือ่ สาร (คอมพิวเตอร์) เหล่าทหารถ่ายรูป เหล่าทหารพัสดุ เหล่ า ทหารสารบรรณ และเหล่ า ทหารการเงิ น ระยะเวลาศึกษา ๒ ปี จะเห็นได้ว่าหลักสูตรของ โรงเรียนจ่าอากาศ มีความแตกต่างกันตามอัตลักษณ์ ของแต่ละเหล่าทหาร โรงเรียนจ่าอากาศ มีแนวคิด ในการพั ฒ นาหลั ก สู ต ร ให้ ต อบสนองภารกิ จ ของ กองทั พ อากาศ รั ก ษาความเป็ น มาตรฐานของ กองทัพอากาศในแต่ละเหล่าสายวิทยาการ และได้รบั การรับรอง และเทียบคุณวุฒจิ ากกระทรวงศึกษาธิการ

โดยส�านักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา (สอศ.) และ ส�านักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) และตามยุ ท ธศาสตร์ ก องทั พ อากาศ ๒๐ ปี พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ คื อ เสริ ม สร้ า งสมรรถนะและความพร้ อ มในการ ป้องกันประเทศ ด�ารงระดับความพร้อมของขีดความ สามารถอยู่ตลอดเวลา ด้วยการเสริมสร้างศักยภาพ ก�าลังทางอากาศให้มีคุณภาพ โรงเรียนจ่าอากาศ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ได้วางแผนการจัดการเรียน การสอนและเพิ่มศักยภาพให้แก่นักเรียนจ่าอากาศ โดยพลอากาศเอก มานัต วงษ์วาทย์ อดีตผูบ้ ญ ั ชาการ ทหารอากาศ ได้อนุมัติงบประมาณในการด�าเนินงาน “โครงการจั ดหาเครื่ อ งช่ วยฝ กอบรมปฏิ บั ติการ ซ่อมบ�ารุงอากาศยานเสมือนจริง (Virtual Reality : VR)” และ “โครงการอุปกรณ์ชว่ ยฝกอบรมการซ่อม บ�ารุงอากาศยานผ่านคอมพิวเตอร์ (Computer-Based Training: CBT)” เพือ่ การพัฒนาบุคลากรปฏิบตั งิ าน อากาศยาน Initial Course ให้มคี วามรูแ้ ละความช�านาญ


ข าวทหารอากาศ

ต่อการซ่อมบ�ารุง สร้างขีดสมรรถนะให้ได้มาตรฐาน ลดปัญหาด้านความไม่ปลอดภัย ที่อาจจะเกิดขึ้น ในการฝึกปฏิบตั งิ านอันเกิดจากความไม่ชา� นาญ ทัง้ ยัง ขจัดข้อจ�ากัดด้านการฝึกกับอากาศยานจริง โดยการฝึ ก ภายในห้ อ งฝึ ก ปฏิ บั ติ ซ ่ อ มบ� า รุ ง อากาศยานเสมื อ นจริ ง สามารถฝึ ก ฝนและลงมื อ ปฏิบัติได้บ่อยครั้ง ทั้งยังสามารถทบทวนเพื่อให้เกิด ความมัน่ ใจได้มากขึน้ และทีส่ า� คัญการอบรมในห้องเรียน เพียงอย่างเดียว ไม่สามารถพัฒนาการฝึกอบรมให้กบั ก� า ลั ง พลสายช่ า งอากาศให้ มี ค วามเชี่ ย วชาญและ ช�านาญการได้ เป้ า หมายต่ อ ไปของการพั ฒ นาคุ ณ ภาพ การศึกษาของโรงเรียนจ่าอากาศ กรมยุทธศึกษา ทหารอากาศ วิ สั ย ทั ศ น์ ก องทั พ อากาศ ก� า หนดไว้ ว ่ า “กองทัพอากาศชั้นน�าในภูมิภาค” (One of the Best Air Forces in ASEAN) ซึ่งการก้าวสู่เป้าหมาย ตามวิสยั ทัศน์ดงั กล่าว จ�าเป็นต้องพัฒนาขีดสมรรถนะ

25

ของบุคลากรอย่างต่อเนือ่ ง โดยการให้ฝกึ ศึกษา อบรม อันเป็นรากฐานส�าคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อพัฒนาขีดความสามารถให้ทัดเทียมกับนานาชาติ ซึง่ เป็นปัจจัยส�าคัญทีจ่ ะขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ให้บรรลุ ตามวิสัยทัศน์ของกองทัพอากาศที่ก�าหนดไว้ ด้ ว ยปั จ จั ย ดั ง กล่ า ว โรงเรี ย นจ่ า อากาศ กรมยุ ท ธศึ ก ษาทหารอากาศ ได้ ก� า หนดวิ สั ย ทั ศ น์ ปี ๒๕๖๔ - ๒๕๖๘ ไว้วา่ “เป็นสถาบันผลิตนายทหาร ชัน้ ประทวนหลักทีม่ ขี ดี สมรรถนะสูง เพือ่ ตอบสนอง การเป็นกองทัพอากาศชั้นน�าในภูมิภาค” โรงเรียน จ่าอากาศ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ด�าเนินการ ศึกษาตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ซึง่ เป็น ไปตามกฎกระทรวงว่าด้วย ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธกี าร ประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑ ก�าหนดให้ มีระบบการประกันคุณภาพภายใน ประกอบด้วย การประเมินคุณภาพภายใน การติดตามตรวจสอบ คุณภาพการศึกษา และการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และมีกลไกการด�าเนินการตามขัน้ ตอนอย่างเป็นระบบ


26

โรงเรียนจ่าอากาศ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ได้รบั การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ เมื่อ ๒๗ - ๒๙ พ.ย.๖๒ ผลการประเมินระดับสถาบัน ได้รับการ รับรองมาตรฐานการศึกษา จากส�านักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การ มหาชน) หรือ สมศ. ดังนี้ มาตรฐานที ่ ๑ คุณลักษณะของผูส้ า� เร็จการศึกษา ที่พึ่งประสงค์ ระดับคุณภาพดีเยี่ยม มาตรฐานที่ ๒ การบริหารจัดการศึกษาระดับ คุณภาพดีมาก มาตรฐานที่ ๓ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ระดับคุณภาพดีมาก สื บ เนื่ อ งจากผลการตรวจประเมิ น คุ ณ ภาพ ภายใน และผลการประเมิ น คุ ณ ภาพภายนอก รอบสอง รอบสามและรอบสี่ จุดหมายการประกัน คุณภาพการศึกษานั้น ตามพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒)

พ.ศ.๒๕๔๕ คือ “การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง” ซึ่งอาจ กล่าวได้ว่า ย่างก้าวส�าคัญของการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา คือ เริ่มต้นจากการแก้ไขตามข้อเสนอแนะ ในแต่ละครัง้ ทีผ่ า่ นมา ซึง่ โรงเรียนจ่าอากาศ กรมยุทธศึกษา ทหารอากาศ ได้น�าไปก�าหนดแผน พัฒนาคุณภาพ การศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม ด้วยการร่วมแรง ร่วมใจ ร่วมกันคิด ร่วมกันท�า ร่วมตรวจสอบ และประเมิน ครบถ้วนตาม PDCA (Plan Do Check Act) เป้าหมาย สุดท้าย การบริหารงานด้านการศึกษาก็จะบรรลุผล สูงสุด และเมือ่ เราด�าเนินการได้อย่างสมบูรณ์ครบถ้วน ตามระบบประกันคุณภาพการศึกษา ก็เชื่อมั่นได้ว่า “คุณภาพ คือ นักเรียนที่ส�าเร็จการศึกษา จะมี คุ ณ ภาพและมาตรฐานตามที่ ก องทั พ อากาศ ก�าหนด” และก้าวไปอย่างมีคณ ุ ภาพและยัง่ ยืน ส่งผลให้ กองทัพอากาศมีบุคลากรระดับมืออาชีพ และก้าวสู่ การเป็นกองทัพอากาศชั้นน�าในภูมิภาคต่อไป


ข่าวทหารอากาศ

27

การใช้ประโยชน์จากกิจการอวกาศ ส�าหรับการรับมือการแพร่ระบาด ของเชื้อโรค COVID-19 น.ท.รณชัย วุฒิวิทยารักษ์ โรคระบาดนั บ ว่ า เป็ น หนึ่ ง ในภั ย คุ ก คาม ที่ ส ามารถสร้ า งความเสี ย หายต่ อ ชี วิ ต มนุ ษ ย์ ได้เป็นจ�านวนมาก หากพิจารณาในประวัติศาสตร์ ที่ ผ ่ า นมาจะพบว่ า ในปี พ.ศ.๒๔๖๑ โลกได้ เ คย ประสบกับการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สเปน (Spanish Flu) ซึ่งเกิดจากเชื้อไวรัสโคโรนาชนิ ด A (H1N1) โดยมี ผู ้ ติ ด เชื้ อ ทั่ ว โลกถึ ง ประมาณ ๕๐๐ ล้านคน และผู้เสียชีวิตประมาณ ๕๐ - ๑๐๐ ล้านคน ส�าหรับประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตประมาณ ๘๐,๐๐๐ คน หลังจากเหตุการณ์ในครั้งนั้นผ่านไป ประมาณ ๑๐๐ ปี ก็เกิดสถานการณ์การแพร่ระบาด ของเชื้อไวรัสโคโรนาอีกครั้ง โดยองค์การอนามัยโลก (World Health Organization : WHO) ได้ตงั้ ชือ่ เรียก ของโรคนีว้ า่ COVID-19 และประกาศว่าเป็นการระบาด รุนแรงทั่วโลก เมื่อ ๑๑ มี.ค.๖๓ จากสถานการณ์ ปัจจุบันที่มีการแพร่ระบาดของเชื้อโรค COVID-19 อย่างแพร่หลาย ท�าให้ทุกประเทศทั่วโลกด�าเนินการ ระดมสรรพก�าลังเพือ่ ป้องกันการแพร่ระบาด ตลอดจน บรรเทาความรุนแรงของผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ เทคโนโลยี ในทุ ก ด้ า นถู ก น� า มาใช้ ง านโดยเฉพาะเทคโนโลยี ด้านกิจการอวกาศ ไม่ว่าจะเป็นดาวเทียมประเภท

Communication, Earth Observation และ Global Navigation ล้วนแต่มปี ระโยชน์และสามารถ ประยุกต์ให้เข้ากับสถานการณ์นี้ได้เป็นอย่างดี หากย้อนไปดูขอ้ มูลในอดีต การใช้ดาวเทียม มาช่วยเหลืองานด้านการแพทย์และการสาธารณสุข จะพบกับค�าว่า Telemedicine หรือการให้การรักษา พยาบาลจากระยะทางไกล ซึ่ ง ได้ ถู ก ริ เ ริ่ ม ใช้ ง าน มาตั้ ง แต่ เ มื่ อ ครั้ ง มนุ ษ ย์ เ ริ่ ม มี ก ารเดิ น ทางออกไป ยังอวกาศ เพื่อเป็นการช่วยเหลือให้นักบินอวกาศ เกิดความเข้าใจถึงผลกระทบต่อสุขภาพที่มีมาจาก สภาวะไร้นา�้ หนัก ซึง่ Telemedicine นีส้ ามารถใช้งาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท�าให้ยังคงมีความต้องการ ส�าหรับการใช้งาน Telemedicine อยู่อย่างต่อเนื่อง ในเวลาต่อมาองค์การ NASA ได้เริ่มท�าการทดลอง โดยใช้ดาวเทียมเป็นเครื่องมือหลักในการด�าเนินการ ตั้ ง แต่ ใ นปี ค.ศ.1966 โดยดาวเที ย มที่ ถู ก ใช้ ง าน ในเวลานัน้ คือ ดาวเทียม Applications Technology Satellite-1 (ATS-1) ที่ ส ามารถช่ ว ยสนั บ สนุ น การดูแลผู้ป่วยที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกลในมลรัฐอลาสกา สหรัฐอเมริกา ที่ซึ่งขาดแคลนอุปกรณ์ทางการแพทย์ ตลอดจนมีอัตราการเกิดโรคระบาดค่อนข้างสูง

ดาวเทียม Applications Technology Satellite-1 (ATS-1)

สถานีรบั สัญญาณดาวเทียมแบบเคลือ่ นทีส่ า� หรับภารกิจ Telemedicine


28

จากการใช้งานดาวเทียมในการสนับสนุนงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุขทีเ่ กิดผลลัพธ์เป็นทีน่ า่ พึงพอใจท�าให้มีการใช้งานดาวเทียมสนับสนุนด้าน การแพทย์ในอีกหลายประเทศ เช่น เครือรัฐออสเตรเลีย สาธารณรัฐแอลเบเนีย แคนาดา สาธารณรัฐอินเดีย สาธารณรัฐอิตาลี สาธารณรัฐโรมาเนีย สหพันธรัฐรัสเซีย และ สกอตแลนด์ โดยได้รับการปรับปรุงและพัฒนา เทคโนโลยี ส� า หรั บ การใช้ ง านให้ ดี ขึ้ น เป็ น ล� า ดั บ จนกระทั่ ง ต่ อ มาในปี ค.ศ.1996 องค์ ก าร ESA ได้จดั หาระบบติดต่อสือ่ สารผ่านดาวเทียมเพือ่ เชือ่ มต่อ การสื่อสารจากทีมแพทย์ในสาธารณรัฐอิตาลีไปยัง โรงพยาบาลในดินแดนห่างไกลในพื้นที่ซาราเจโว และบอสเนีย เพื่อให้ความช่วยเหลือด้านการแพทย์ ส�าหรับพลเรือนและทหาร ในปี ค.ศ.2001 องค์การ Indian Space Research Organisation (ISRO) สาธารณรัฐอินเดีย ได้กอ่ ตัง้ ระบบเครือข่าย Satellite-Telemedicine ขึน้ เพื่ อ ใช้ ภ ายในประเทศส� า หรั บ สนั บ สนุ น งานด้ า น การแพทย์และการรักษาพยาบาล ในหลากหลาย สาขาทางการแพทย์ เช่น โรคหัวใจ โรคเบาหวาน จักษุวิทยา และรังสีวิทยา เป็นต้น โดยใช้เครื่องมือ ที่ส�าคัญคือ ดาวเทียม GSAT-3, GSAT-12 และ INSAT-3C ทั้งนี้เนื่องจาก ๗๕ % ของแพทย์ทั้งหมด ต้ อ งปฏิ บั ติ ง านในเขตชนบทซึ่ ง อยู ่ ห ่ า งไกลและ ต้ อ งปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นการดู แ ลประชากรส่ ว นใหญ่ ของประเทศ ซึ่ ง จากการเก็ บ สถิ ติ พ บว่ า การใช้ Telemedicine สามารถประหยัดค่าใช้จ่ายของ ผู้ป่วยได้มากถึงประมาณ ๘๑ % จากการที่ไม่ต้อง เดินทางไปยังเมืองใหญ่ที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียง

ดาวเทียม GSAT-3

นอกจากนีร้ ะบบ Telemedicine ยังสามารถ น�ามาประยุกต์ใช้งานได้เป็นอย่างดีในการช่วยเหลือ ด้านการแพทย์และการสาธารณสุขระหว่างการเกิด เหตุการณ์สึนามิเมื่อปี ค.ศ.2004 ซึ่งเป็นเหตุการณ์ ภัยธรรมชาติครัง้ ใหญ่และส่งผลต่อประชาชนจ�านวนมาก ในพื้นที่บริเวณทะเลอันดามัน และหมู่เกาะนิโคบาร์ อีกด้วย หลังจากนั้น ในปี ค.ศ.2013 สหรัฐอเมริกา ได้ จั ด ตั้ ง ระบบ Hughes Network Systems ผ่านดาวเทียม Spaceway-3 เพือ่ ท�าหน้าทีต่ ดิ ต่อสือ่ สาร ทางการแพทย์จากรถพยาบาลและเรือพยาบาลขนาดใหญ่ ทีป่ ฏิบตั หิ น้าทีใ่ นเขตชนบทของมลรัฐเมน นิวแฮมเชียร์ และเวอร์มอนท์ สหรัฐอเมริกา ทั้งนี้ในปัจจุบันเทคโนโลยี Telemedicine ได้รับการพัฒนาขึ้นไปอีกเป็นอย่างมากในหลายด้าน อาทิ เ ช่ น ความเสถี ย รและคุ ณ ภาพของสั ญ ญาณ ในการเชื่อมต่อ เทคโนโลยีในการจัดเก็บและบริหาร ข้ อ มู ล ที่ มี ข นาดใหญ่ ข องคนไข้ การตรวจรั ก ษา และการวิเคราะห์ลักษณะของโรคเบื้องต้นโดยใช้ ระบบปัญญาประดิษฐ์ และการวินิจฉัยโรคทางไกล ผ่ า นจอภาพด้ ว ยการใช้ ร ะบบสื่ อ สาร เป็ น ต้ น โดยเทคโนโลยี ดั ง กล่ า วเหล่ า นี้ ไ ด้ ถู ก น� า มาใช้ เป็ น อย่ า งดี กั บ สถานการณ์ ก ารแพร่ ร ะบาดของ COVID-19 ในปั จ จุ บั น เพราะการรั ก ษาแบบ Telemedicine สามารถลดการสั ม ผั ส ใกล้ ชิ ด ระหว่ า งแพทย์ แ ละคนไข้ หรื อ การตรวจรั ก ษา แบบ Face-to-Face ตลอดจนช่วยให้ผู้ป่วยไม่ต้อง เดินทางมาโรงพยาบาลห่างไกล เป็นเหตุให้ช่วยลด อั ต ราความเสี่ ย งในการแพร่ ก ระจายของเชื้ อ โรค ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยอาศั ย เทคโนโลยี

ดาวเทียม GSAT-12

ดาวเทียม INSAT-3C


ข่าวทหารอากาศ

29

Telemedicine Robot ได้รับการพัฒนาโดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ด้ า นการสื่ อ สารมาเป็ น ตั ว กลาง ดั ง นั้ น ระบบ การสื่ อ สารผ่ า นดาวเที ย มจึ ง เป็ น อี ก หนึ่ ง ตั ว เลื อ ก ที่มีประสิทธิภาพและสามารถเข้าถึงได้ โดยแพทย์ สามารถวินิจฉัยผู้ป่วยเบื้องต้นและสามารถแนะน�า ให้ ค นไข้ ท� า การกั ก ตั ว ได้ ทั น ที ตลอดจนคนไข้ ที่ อ ยู ่ ร ะหว่ า งการกั ก ตั ว ยั ง สามารถเข้ า ถึ ง บริ ก าร ทางการแพทย์ได้ นอกจากนีร้ ะบบดาวเทียมยังสามารถ ช่วยสนับสนุนเทคโนโลยีในด้านอื่น ๆ ในการต่อสู้ กับการแพร่ระบาดของไวรัสนี้ เช่น ระบบหุ่นยนต์ ตรวจรักษาโรค ระบบโดรนในการน�าส่งเวชภัณฑ์ หรืออาหาร การใช้ AI เพื่อรวบรวมข้อมูลส�าหรับ การรักษาโรค เป็นต้น น อ ก เ ห นื อ จ า ก ด า ว เ ที ย ม ป ร ะ เ ภ ท Communication แล้ว ยังสามารถใช้งานดาวเทียม ประเภทอื่น เช่น ดาวเทียม Earth Observation และ Global Navigation ในการสนับ สนุ นงาน ด้ า นสาธารณสุ ข ในการสร้ า งแผนที่ ก ารกระจาย ความหนาแน่นของประชากร เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ กลุ่มเสี่ยงของโรค อาทิเช่น หน่วยงาน Center for Systems Science and Engineering (CSSE) แห่งมหาวิทยาลัย Johns Hopkins สหรัฐอเมริกา ได้ น� า เทคโนโลยี นี้ ม าใช้ ใ นการติ ด ตามต� า แหน่ ง ของผูป้ ว่ ยโรค COVID - 19 แบบ Real Time โดยเก็บ รวบรวมข้อมูลของผูป้ ว่ ยจากแหล่งข้อมูลทีส่ า� คัญ เช่น องค์ ก ารอนามั ย โลก, European Centre for Disease Prevention and Control (ECDC), National Health Commission of the People’s

Republic of China (NHC), Centers for Disease Control and Prevention (CDC) เป็นต้น มาใช้ ประกอบกับแผนที่ผ่านดาวเทียมจากระบบ ArcGIS ของบริษัท ESRI และข้อมูลจากดาวเทียม NOAA ทั้งนี้ข้อมูลที่ประมวลผลได้นับว่ามีความส�าคัญและ ได้ถูกน�าไปใช้งานอย่างแพร่หลายรวมถึงหน่วยงาน UNCEA ขององค์ ก ารสหประชาชาติ นอกจากนี้ ในส่วนของศูนย์ปฏิบตั กิ ารภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค ก็ ไ ด้ ใ ช้ ง านแผนที่ ด าวเที ย มระบบ Earthstar Geographics ของบริษัท ESRI มาช่วยสนับสนุน ในการระบุต�าแหน่งผู้ป่วยด้วยเช่นเดียวกัน อี ก หนึ่ ง ตั ว อย่ า งที่ ส ามารถแสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความส� า คั ญ ของการใช้ เ ทคโนโลยี ด ้ า นอวกาศ มาช่วยในการจ�ากัดการแพร่ระบาดของโรคได้อย่าง ชัดเจน คือ ในช่วงที่สถานการณ์แพร่ระบาดของโรค COVID-19 ในสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น อยู ่ ใ น ขั้ น รุ น แรง ได้ มี ก ารน� า เทคโนโลยี ด ้ า นอวกาศ ในหลากหลายสาขามาเป็นตัวช่วยที่ส�าคัญ โดยมี การใช้งานระบบดาวเทียมน�าร่อง จากระบบ BeiDou Navigation System (BDS) ซึง่ ประกอบด้วยดาวเทียม หลายสิบดวง เพื่อส่งสัญญาณในการระบุต�าแหน่ง ส�าหรับการควบคุมผู้ป่วย โดยสามารถใช้งานร่วมกับ Software บนโทรศัพท์แบบ Smartphone เช่น Application Wuhan Mini Neighborhood ที่ ช ่ ว ยในการระบุ พื้ น ที่ ที่ มี ก ารระบาดของโรค ช่วยระบุต�าแหน่งผู้ป่วยหนักที่ไม่สามารถเดินทาง ไปยังโรงพยาบาลได้ ตลอดจนช่วยให้โดรนสามารถ


30

การติดตามผู้ป่วยโรค COVID-19 แบบ Real Time ด้วยข้อมูลจากดาวเทียม

ท� ำ กำรขนส่ ง ยำและเวชภั ณ ฑ์ ไ ปยั ง ผู ้ ป  ว ยได้ แ บบ อั ต โนมั ติ ซึ่ ง ในเหตุ ก ำรณ์ นี้ มี ก ำรใช้ โ ดรนจ� ำ นวน มำกกว่ำหนึ่งหมื่นตัว ครอบคลุมพื้นที่ในหลำยเขต จังหวัด นอกจำกนี้อีกหนึ่งภำรกิจที่ส�ำคัญคือกำรใช้ โดรนในกำรพ่นน�ำ้ ยำฆ่ำเชือ้ ด้วยระบบ Drone-based Aerial Biocontrol ที่สำมำรถบรรจุน้�ำยำได้มำกถึง ๑๐ ลิตรในแต่ละเที่ยวท�ำให้ครอบคลุมพื้นที่ในกำร ฉีดพ่นได้ถงึ ประมำณ ๕,๐๐๐ ตำรำงเมตร ภำยในเวลำ ประมำณ ๑๐ - ๑๕ นำที จึงนับได้ว่ำรวดเร็วกว่ำ กำรใช้ แ รงงำนคนรวมทั้ ง ลดควำมเสี่ ย งในโอกำส ที่ ผู้ ป ฏิ บั ติ ง ำนจะติดเชื้อได้ ทั้งนี้ร ะบบกำรฉี ด พ่ น ยำฆ่ ำ เชื้ อ นี้ ไ ด้ ป ฏิ บั ติ ภ ำรกิ จ รวมทั้ ง หมดไปแล้ ว เป็นพื้นที่มำกกว่ำ ๖๐๐ ล้ำนตำรำงเมตร นอกจำกนี้ ยังมีกำรจัดท�ำ HaiGe Smart Epidemic Prevention Management Platform เพื่อน�ำข้อมูลที่ได้รับไปใช้ ในกำรพยำกรณ์และวำงแผนกำรเดินทำงทีเ่ หมำะสม ส� ำ หรั บ ป้ อ งกั น กำรแพร่ ร ะบำดของโรค และเมื่ อ ท� ำ กำรเชื่ อ มต่ อ ฐำนข้ อ มู ล ของผู ้ ป  ว ยโดยอำศั ย Algorithm ในกำรติดตำมผู้ปวย เข้ำกับข้อมูลทำง Geographic ทีไ่ ด้รบั จำกดำวเทียม Earth Observation ประกอบกับกำรเปรียบเทียบกับเส้นทำงที่มีผู้ปวย ใช้รว่ มกันในแต่ละวันทีผ่ ำ่ นมำจะท�ำให้สำมำรถแสดงผล กำรแพร่กระจำยของเชื้อโรคแบบ Real Time และ สำมำรถระบุพิกัดหรือต�ำแหน่งที่มีควำมเสี่ยงของ กำรแพร่ระบำดสูงได้ ตลอดจนวำงแผนเส้นทำงที่มี ควำมปลอดภั ย ส� ำ หรั บ กำรเดิ น ทำง และยั ง เป็ น

การใช้โดรนเพื่อสนับสนุนงานด้านการแพทย์

กำรติดตำมควำมเคลื่อนไหวของผู้ติดเชื้อ COVID-19 ก่อนเข้ำรับกำรรักษำเพื่อเป็นข้อมูลให้กับหน่วยงำน ที่ท�ำหน้ำที่รักษำพยำบำลได้อีกด้วย นอกจำกเทคโนโลยีดำวเทียมจะมีประโยชน์ ส� ำ หรั บ ช่ ว ยในกำรรั ก ษำพยำบำลทำงตรงแล้ ว ดำวเทียมยังมีประโยน์ทำงอ้อมในกำรสนับสนุนกำร ลดอัตรำกำรแพร่ระบำดโดยใช้กำรเชือ่ มต่อทำงสังคม ตำมหลักกำร Social Distancing กล่ำวคือ ลดกำร สัมผัสโดยตรงระหว่ำงบุคคล เช่น กำรออกมำตรกำร ให้ประชำชนอยู่แต่ในบ้ำนของตน โดยมุ่งเน้นไปที่ กำรลดกิจกรรมนอกบ้ำนทีไ่ ม่มคี วำมจ�ำเป็น กำรท�ำงำน จำกทีบ่ ำ้ น (Work from Home) หรือในประเทศไทย ที่ มี ก ำรรณรงค์ ใ ห้ ค นอยู ่ บ ้ ำ น หยุ ด เชื้ อ เพื่ อ ชำติ เป็ น ต้ น ดำวเที ย มสื่ อ สำรนั บ ว่ ำ เป็ น เทคโนโลยี ที่สำมำรถช่วยสนับสนุนมำตรกำรเหล่ำนี้และช่วยลด


ข่าวทหารอากาศ

การรวมตัวกันของบุคคล ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อมต่อ เครือข่ายการติดต่อสือ่ สาร และสัญญาณอินเทอร์เน็ต เพื่ อ ให้ ค นที่ อ ยู ่ ใ นพื้ น ที่ ห ่ า งไกล สามารถท� า งาน จากบ้านได้ หรือแม้กระทั่งอุปกรณ์ให้ความบันเทิง เช่น โทรทัศน์ผ่านดาวเทียม หรือระบบอินเทอร์เน็ต ผ่านดาวเทียม ที่จะท�าให้คนสามารถพักผ่อนอยู่บ้าน และลดกิจกรรมภายนอกบ้านได้อกี ทางหนึง่ นอกจากนี้ ดาวเทียมยังสามารถช่วยอ�านวยความสะดวกให้กับ ประชาชนในห้วงที่สถานการณ์ไม่ปกติ เช่น การที่มี การปิดเส้นทางต่าง ๆ ในการคมนาคมขนส่งเพือ่ ควบคุม การแพร่ระบาดของโรค การใช้งานระบบดาวเทียม น�าร่องจะสามารถช่วยแนะน�าเส้นทางที่เหมาะสม ในการเดินทาง หรือหลีกเลี่ยงเส้นทางที่ถูกปิดในช่วง เวลาต่าง ๆ ได้ เป็นต้น เทคโนโลยีทางอวกาศไม่ว่าจะเป็น ระบบ ดาวเทียมสื่อสาร ดาวเทียมน�าร่อง หรือดาวเทียม ส�ารวจโลก จะสามารถน�ามาใช้เป็นตัวช่วยในการ ต่ อ สู ้ กั บ สถานการณ์ ก ารแพร่ ร ะบาดของโรคได้ เป็นอย่างดี ทั้งในทางตรงและทางอ้อม ไม่ว่าจะเป็น การใช้งานระบบการสื่อสารผ่านดาวเทียมในการ สนับสนุนงานด้านการแพทย์และการสาธารณสุข อ้างอิง

31

สถานี รั ก ษาพยาบาลเคลื่ อ นที่ เ ชื่ อ มต่ อ ดาวเที ย ม การติดตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นแบบ Real Time เพื่อน�าข้อมูลไปประกอบการวางแผนต่าง ๆ หรือ การใช้ ง านอิ น เทอร์ เ น็ ต ผ่ า นดาวเที ย ม เป็ น ต้ น โดยเฉพาะเมื่อน�าข้อมูลที่ได้รับไปรวมกับเทคโนโลยี ของระบบอัตโนมัติ ข้อมูลในรูปแบบของ Big Data ในส่วนทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกัน จะมีบทบาททีส่ า� คัญเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะต่อวงการแพทย์และการรักษาพยาบาล รวมถึ ง การต่ อ สู ้ กั บ การแพร่ ร ะบาดของเชื้ อ ไวรั ส COVID-19 ที่เกิดขึ้นอยู่ทั่วโลก ถึงแม้สถานการณ์ของประเทศไทยในปัจจุบนั จะสามารถควบคุ ม การแพร่ ร ะบาดของเชื้ อ ไวรั ส COVID-19 ไว้ ไ ด้ ดี ใ นระดั บ หนึ่ ง แต่ ก ารป้ อ งกั น และการเตรียมพร้อมรับมือหากเกิดการแพร่ระบาด ในระลอกที่ ๒ นับว่าเป็นสิง่ ทีส่ า� คัญ การใช้เทคโนโลยี ด้านกิจการอวกาศมาเป็นส่วนหนึ่งในการวางแผน รับมือสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจึงเป็นอีกหนึ่งทางออก ที่ จ ะช่ ว ยป้ อ งกั น และบรรเทาผลกระทบที่ เ กิ ด ขึ้ น และท�าให้การแก้ไขสถานการณ์เป็นไปได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ตลอดจนสามารถสร้างความเชือ่ มัน่ ให้กับประชาชนได้มากขึ้น

- องค์การพิพธิ ภัณฑ์วทิ ยาศาสตร์แห่งชาติ. (2020). National Science Museum Thailand. Retrieved from www.nsm.or.th: http://www.nsm.or.th/other-service/674-online-science/knowledge-inventory/sci-trick/ sci-trick-science-museum/4308-spanish-flu.html - Bedi, R. (2020). How satellite technology is fighting COVID-19. Retrieved from edn.com: https://www.edn.com/how-satellite-technology-is-fighting-covid-19/ - VSSC. (2020). GSAT12. Retrieved from vssc.gov.in: https://www.vssc.gov.in/VSSC/index.php/gsat-12 - Gunter’sSpacePage. (2020). GSat 3. Retrieved from space.skyrocket.de: https://space.skyrocket.de/ doc_sdat/gsat-3.htm - Yuan, Y. (2020). SpaceWatchGL Op-Ed: How Space Technologies Help Fight The Coronavirus In China. Retrieved from spacewatch.global: https://spacewatch.global/2020/03/spacewatch-gl-op-edhow-space-technologies-help-fight-the-coronavirus-in-china/ - UNCEA. (2020). UNCEA Dashboard. Retrieved from uncea.org: https://www.uneca.org/covid-19/ pages/dashboard - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2020). CU Researchers Present Telemedicine Robots for Care of COVID-19 Patients. Retrieved from chula.ac.th: https://www.chula.ac.th/en/news/27447/ - กรมควบคุ ม โรค. (2020). Covid-19 EOC-DDC Thailand. Retrieved from ddc.moph.go.th: https://ddcportal.ddc.moph.go.th/portal/apps/opsdashboard/index.html#/20f3466e075e45e5946aa87c96e8ad65


32

มีสกรีน THE BORN LOSER

ภาพที่ ๑ - รูดี้ ลูกพี่ลูกน้องของฉัน เรียนแพทย์อยู่ ภาพที่ ๒ - ตอนนี้ เขาท�างานเป็นศัลยแพทย์พลาสติกน่ะ ภาพที่ ๓ - ไม่เป็นไรหรอก - บางที สักวันหนึ่ง พวกเขาคงจะให้รูดี้ผ่าตัดคนก็ได้นะ cousin (n.) - ลูกพี่ลูกน้อง (a child of your aunt or uncle) ออกเสียงว่า ‘เค้อะเซิ่น’ medical school - โรงเรียนแพทย์ school ในที่นี้หมายถึง คณะหนึ่งของมหาวิทยาลัยที่สอนวิชา เฉพาะสาขา ได้แก่ business school law school และ art school เป็นต้น as (prep.) - เป็นค�าบุพบท ใช้อธิบายว่าบุคคลนัน้ หรือสิง่ นัน้ ว่าท�าหน้าทีอ่ ะไร (Used to describe the fact that someone or sth has a particular job or function) Ex. john works as a security guard. (จอห์นท�างานเป็นเจ้าหน้าทีร่ กั ษาความปลอดภัย) chin up - เป็นส�านวน (idiom) ใช้ในการปลอบใจให้ผู้ฟังรู้สึกดีขึ้น เนื่องจากมีปัญหาหรือ ไม่พอใจบางอย่าง ประโยคเต็ม คือ Keep your chin up. to operate on - ผ่าตัด Ex. The doctor operated on his eyes. (หมอผ่าตัดตาของเขา) plastic surgeon (n.) - ศัลยแพทย์พลาสติก ออกเสียงว่า surgeon ออกเสียงว่า ‘เซ้อร์เจิ่น’ คือแพทย์ ที่ผ่าตัดตกแต่งบาดแผล หรือเสริมความงาม


ข าวทหารอากาศ

33

BLONDIE

ภาพที่ ๑ - ข่าวลือเกี่ยวกับเชฟที่นี่ เป็นความจริงไหมครับ ? - ใช่ครับ คุณจะต้องกรอกข้อมูลส่วนตัวย่อ ๆ ก่อน ภาพที่ ๒ - หลังจากเขาตรวจสอบข้อมูลแล้ว เขาก็มาพบคุณสักครู่หนึ่ง เพื่อตัดสินใจว่าคุณมีค่าพอ กับประสบการณ์ของเขาหรือไม่ ภาพที่ ๓ - เห็นมั้ย ? ผมบอกคุณแล้วว่า นี่เป็นภัตตาคารที่ยอดเยี่ยมนะ! - มานี่ ให้ฉันจัดเน็คไทของคุณหน่อย rumors (n.) to determine chef (n.) fill out profile (n.) to straighten

- ข่าวลือ (a piece of information or story that people talk about but that may not be true) Ex. I heard a rumour that they are getting married. (ฉันได้ยินข่าวลือว่าเขาจะแต่งงานกัน) - ในที่นี้แปลว่า ตัดสินใจ (to decide) - เชฟ (พ่อครัวมืออาชีพ, อาวุโสสูงสุดในร้าน - the most senior cook in a restaurant) - เป็นส�านวน (idiom) แปลว่า กรอกข้อมูลในแบบฟอร์ม (to complete a form by writing information on it) Ex. Before you check in a hotel, you need to fill out a registration form. (ก่อนคุณเข้าพักในโรงแรม คุณต้องกรอกฟอร์ม ลงทะเบียนก่อน) - ข้อมูลส่วนตัว (useful in formation of someone ออกเสียงว่า ‘โพรฟายล’ เน้น เสียง ‘L’ ท้ายค�าด้วย - จัดให้ตรง (to make sth. straight) Ex. He stood up and straightened his shoulders. (เขายืนขึ้นและยืดไหล่ตรง)


34

RED

EAGLE

อินทรีแดง แผลงฤทธิ์

น.ต.ภฤศพงศ์ ช้อนแก้ว

การยิงป นรณยุทธ สุดยอดการใช อาวุธ สําหรับนักแม นป น การยิงปืนรณยุทธ เป็นการยิงปืนทางยุทธวิธี ในระบบการใช้อาวุธทางทหารและต�ารวจ มีรูปแบบ เป็ น การยิ ง ฉั บ พลั น และรวมถึ ง การเคลื่ อ นที่ ยิ ง โดยประเภทอาวุธที่ใช้ยิง สามารถใช้ได้ทั้งปืนพก อัตโนมัติ (Automatic pistol) ปืนลูกโม่ (Revolver) ปืนลูกซอง (Shotgun) ปืนกลมือ (Supmachine gun) ปืนเล็กยาวหรือปืนเล็กสั้น (Assault rifle) มีทั้งการ ยิ ง ในรู ป แบบเชิ ง รุ ก และเชิ ง รั บ แทบเรี ย กได้ ว ่ า เป็นขั้นสูงสุดของการใช้อาวุธ เป็นการยิงปืนเพื่อให้ สามารถท�าลายเป้าหมายได้อย่างรวดเร็ว แม่นย�า และหนั ก หน่ ว ง โดยอั น ที่ จ ริ ง แล้ ว ผู ้ ที่ จ ะสามารถ ท� า การยิ ง ในลั ก ษณะนี้ จ ะต้ อ งมี ค วามเข้ า ใจใน กระบวนการขั้นพื้นฐานการยิงปืนเสียก่อน ตั้งแต่ ความเข้าใจในกระบวนการท�างานและส่วนประกอบ ต่าง ๆ ของอาวุธปืนที่จะท�าการยิงเสียก่อน จากนั้น จึงเริ่มท�าการฝึกในขั้นตอนการยิงพื้นฐานและท�าการ ฝึ ก ยิ ง ในขั้ น ที่ สู ง ขึ้ น เป็ น ล� า ดั บ ถั ด ไป การฝึ ก ยิ ง ในช่วงแรกนี้อาจต้องใช้เวลาอยู่พอสมควรส�าหรับผู้ท่ี เริ่มฝึกใช้อาวุธใหม่ และส�าหรับหลายท่านการยิงปืน นั้นอาจจะมีความช�านาญในการใช้อยู่พอสมควรแล้ว แต่ในเรื่องของมารยาทในสนามฝึก หรือสนามยิงปืน

และมาตรการระมั ด ระวั ง ในการใช้ อ าวุ ธ ถื อ ว่ า มีความส�าคัญด้วยเช่นกันเพราะเป็นพื้นฐานส�าคัญ ของผู ้ ที่ ใ ช้ อ าวุ ธ ในสนามยิ ง ปื น ที่ ดี เ พื่ อ ให้ เ กิ ด ความปลอดภั ย ทั้ ง กั บ ตนเองและผู ้ อื่ น เนื่ อ งจาก อุบตั เิ หตุจากการใช้อาวุธนัน้ เป็นเรือ่ งทีท่ กุ คนไม่อยาก ให้เกิดขึ้น และถือว่าเป็นสิ่งที่ผิดพลาดมากถ้าหาก การยิงปืนครัง้ ใด ๆ ไม่วา่ จะเป็นการฝึกหรือการแข่งขัน แล้วมีกระสุนลั่นออกมาถูกผู้อื่นหรือตนเองจนได้รับ บาดเจ็บหรือเสียชีวิต


ข่าวทหารอากาศ

35

ล�ำดับต่อไปเป็นการยิงขั้นกลาง (Rapid Turn) Intermediate Firing Technique การยิงปืนขั้นนี้ เป็นการยกระดับการยิงปืนให้สงู ขึน้ มีลกั ษณะเป็นการ ยิงฉับพลันเพื่อเพิ่มความเร็วในการใช้อาวุธ ซึ่งผู้รับ การฝึกต้องมีพนื้ ฐานการยิงปืนทีด่ แี ละถูกวิธมี าก่อนแล้ว รวมถึงการยิงปืนตามค�ำสั่งจากครูฝึก มีทั้งการยิง จากท่า Hi Position หรือการยิงปืนพกจากซองปืน เป็นต้น บางครั้งในการยิงแต่ละครั้งอาจจะใช้เวลา เข้ามาจับ เพือ่ ผูร้ บั การฝึกจะได้ทราบขีดความสามารถ ในการใช้อาวุธของตนเองและพัฒนาความสามารถ ในการใช้อาวุธให้เพิม่ มากขึน้ และสุดท้ายการยิงขัน้ สูง (Static and Moving Turn) Advance Firing Technique เป็นการยิงปืนลักษณะหมุนอยู่กับที่ และการเคลือ่ นที่ สามารถยิงได้ทงั้ ปืนทีม่ ขี นาดล�ำกล้อง ยาวและล�ำกล้องสั้นแบบปืนพก โดยใช้ปลายเท้า เป็นจุดหมุน ได้แก่ การยิงปืนหมุนอยู่กับที่ (Static การยิงข้ามเครื่องกีดขวาง Turn) การเคลื่อนที่ยิง (Moving Turn) การยิงแก้ไข เหตุติดขัด การยิงเป็นคู่ Buddy และการยิงประกอบ ส�ำหรับการฝึกการใช้อาวุธทางทหารหลัก ๆ ชุดโจมตี เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพถูกแบ่งออกเป็น ๓ ขั้น ได้แก่ การยิงขั้นเบื้องต้น (Static Front) Basic Firing Technique เน้นการยิงปืนพกขั้นพื้นฐานโดยจะเน้น ยิงตรงหน้าไม่มีการหมุนหรือเคลื่อนที่แต่อย่างใด เป็นการยิงเพือ่ ปูพนื้ ฐานให้ทหารหรือเป็นการทบทวน เบื้องต้นให้กับผู้เข้ารับการฝึก บางครั้งอาจเหมือน เป็นการอุ่นล�ำกล้องก่อนท�ำการยิงจริงโดยจะมีล�ำดับ ขั้นตอนการยิง ๗ ขั้นตอน อันเป็นการยิงแบบ slow fire หรือเรียกว่า “การยิงแบบประณีต” มีด้วยกัน ๓ ท่า ได้แก่ ท่ายืนยิง นั่งยิง และนอนยิง โดยทุกท่า จะเริ่ ม จากการจั บ ถื อ ปื น ที่ ถู ก ต้ อ ง การจั ด ท่ า ยื น ทีม่ นั่ คงในการใช้อาวุธปืน การเล็งปืนตามหลักการเล็ง ที่ถูกต้อง การหายใจ การเหนี่ยวลั่นไก การเล็งตาม และการผ่อนคลาย ซึ่งทุกขั้นตอนจะมีความประณีต ในการปฏิบัติด้วยเช่นกัน การยิงประกอบชุดโจมตี


36

เมื่อผู้รับการฝึกได้ท�าการฝึกยิงใน ๓ ขั้น การยิง ดังกล่าวแล้ว จากนั้นจึงจะเป็นการฝึกยิงในลักษณะ การยิงท�านองรบหรือการยิงแบบรณยุทธเป็นล�าดับ ถัดไป โดยจะท�าให้ผู้รับการฝึกมีความเข้าใจและเพิ่ม ขีดความสามารถในการใช้อาวุธที่มากขึ้น ซึ่งจะมีการ ฝึกยิง ได้แก่ การยิงข้ามเครือ่ งขีดขวางทีม่ ลี กั ษณะเป็น แบบทีเ่ รียกว่า “การยิงระบบ IDPA และ IPSC” การยิง ในอาคาร (CQB : Close Quarter Battle) และการยิง จากยานพาหนะ หรื อ เป็ น ชุ ด ตอบโต้ ท างยุ ท ธวิ ธี (CAT : Counter Assault Team) เพื่อใช้ส�าหรับ ชุดรักษาความปลอดภัยขบวนรถ ซึง่ ทัง้ หมดจะเป็นการ ฝึ ก ยุ ท ธวิ ธี ท างทหารที่ มี ป ระโยชน์ ใ นการน� า ไปใช้ ในการปฏิบัติการทางทหาร ปั จ จุ บั น การยิ ง ปื น รณยุ ท ธนั้ น ได้ ก ลายเป็ น ที่นิยมมากในหมู่พลเรือนและเริ่มเป็นกีฬามาตั้งแต่ ยุค ปี ค.ศ.1950 โดยเริม่ ต้นทีร่ ฐั แคลิฟอร์เนียในประเทศ สัญลักษณ์สมาพันธ์ยิงปืนรณยุทธ์นานาชาติ สหรั ฐ อเมริ ก า ซึ่ ง ได้ รั บ ความนิ ย มแพร่ ห ลาย เป็นอย่างมาก เนื่องจากชาวสหรัฐอเมริกาส่วนใหญ่ หรือ “IPSC : International Practical Shooting Confederation” จะมีปืนไว้ในครอบครองเกือบทุกครัวเรือน พวกเขา จึงน�ามาฝึกซ้อมแข่งขันกันจนขยายวงการเล่นออกไป อย่างรวดเร็ว โดยใช้ชื่อว่า “IPSC” หรือชื่อเต็ม ๆ ว่า “International Practical Shooting Confederation” หรือเรียกเป็นไทยว่า “สมาพันธ์ยงิ ปืนรณยุทธนานาชาติ” มีประธานคนแรกคือ ผูก้ าร เจฟฟ คูเปอร์ มีวตั ถุประสงค์ เพื่อมุ่งเน้นทักษะการใช้อาวุธปืนโดยให้เกิดความ สมดุลระหว่างทักษะด้านความแม่นย�า ความรุนแรง และความรวดเร็วหลังจากนัน้ ไม่นานการแข่งขัน IPSC ก็ได้แพร่หลายขยายวงกว้างไปอย่างรวดเร็วทั้ง ยุโรป อเมริกากลาง อเมริกาใต้ ออสเตรเลีย เอเชียและ แอฟริกา จนกระทั่งได้มีการจัดตั้งอย่างเป็นทางการ ในการประชุมใหญ่ในเมืองโคลัมเบีย รัฐมิสซูร ี่ ช่วงเดือน พฤษภาคม ปี ค.ศ.1976 มีสมาชิก IPSC กว่า ๖๐ ประเทศ ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยด้วย สัญลักษณ์สมาคมยิงปืนรณยุทธแห่งประเทศไทย


ข าวทหารอากาศ

ส�าหรับการคิดคะแนนในการยิงปืนแบบ IPSC คือ การน�าคะแนนที่ได้จากการยิงในแต่ละสนาม (Course of Fire) มาหารด้วยเวลาทีใ่ ช้ในการท�าการยิง และจะได้เป็น Hit Factor นักกีฬาที่ได้ Hit Factor มากที่สุดจะเป็นผู้ชนะ ซึ่งหมายถึงนักกีฬาที่ยิงแม่น ทีส่ ดุ และใช้เวลาน้อยทีส่ ดุ จะเป็นผูช้ นะ (Score / Time Spend = Hit Factor) ทัง้ นีก้ ารแข่งขัน IPSC ได้แบ่งออก เป็น ๕ ระดับ ดังต่อไปนี้ ระดับ Level 1 : การแข่งขันภายในชมรม หมายถึง การแข่งขันทีไ่ ม่ได้ขอการรับรองจากสมาคม กีฬายิงปืนรณยุทธแห่งประเทศไทย ระดับ Level 2 : การแข่งขันระดับประเทศ หมายถึง การแข่งขันที่สมาคมกีฬายิงปืนรณยุทธ แห่งประเทศไทยรับรอง ระดับ Level 3 : การแข่งขันระหว่างประเทศ หมายถึง การแข่งขันที่ ผ่านการรับรองจากสมาคมฯ และ สมาพันธ์ IPSC เช่น Thaland IPSC National Championship ระดับ Level 4 : การแข่งขันระดับทวีป หมายถึง การแข่งขันชิงแชมประดับภูมิภาค ซึ่งต้องได้รับการ อนุ มั ติ จ ากสมาพั น ธ์ IPSC ล่ ว งหน้ า ๓ ปี เช่ น AustralAsia Championship, Europien Championship ระดับ Level 5 : การแข่งขันระดับโลก หมายถึง การแข่งขันชิงแชมปโลก (World Shoot) ซึ่งผู้จัด จะต้องเป็นประเทศที่ได้รับการอนุมัติจากสมาพันธ์ ล่วงหน้า ๓ ปี

สัญลักษณ์สมาคมยิงปืนสั้นเพื่อป้องกันตัว นานาชาติ “IDPA : International Defensive Pistol Association”

37

ต่อมาจึงได้เกิด “สมาคมยิงปืนสั้นเพื่อป้องกัน ตัวนานาชาติ” หรือทีเ่ รียกว่า “IDPA : International Defensive Pistol Association” หมายถึ ง “สมาคมยิ ง ปื น สั้ น เพื่ อ ป้ อ งกั น ตั ว นานาชาติ ” ซึ่งถือว่าเป็นกีฬายิงปืนที่สามารถน�าใช้ในชีวิตจริงได้ และเป็ น ที่ นิ ย มจั ด แข่ ง ขั น กั น มากทั้ ง ในบ้ า นเรา และต่างประเทศ สมาคมนี้ก่อตั้งเมื่อเดือนตุลาคม ปี ค.ศ.1996 ในการประชุมทีเ่ มืองมาเรียตา รัฐโอไฮโอ จุดเด่นของการแข่งขันในระบบ IDPA คือ การออกแบบ สนามยิงปืนให้มสี ถานการณ์คล้ายจริง เมือ่ ผูย้ งิ เข้าไป ในสนามและเข้าใจถึงเรือ่ งราวทีถ่ กู น�าเสนอทีเ่ กีย่ วข้อง กับการใช้ปนื พกเพือ่ ต่อสูป้ อ้ งกันตัวเอง แต่จะมีขอ้ จ�ากัด หลายอย่างตาม กฎ กติกา ที่ตั้งเอาไว้ตามเกณฑ์ ข้อก�าหนดของนานาชาติ ผูย้ งิ จะได้รบั ความสนุกสนาน ร่วมไปกับนักกีฬาคนอื่น ๆ โดยสามารถยิงวัดฝีมือ ร่วมกับนักกีฬาคนอืน่ ๆ ในทุกระดับ จนเกิดการเสริมสร้าง มิตรภาพทีด่ รี ะหว่างนักกีฬาด้วยกัน ซึง่ ในการแข่งขัน IDPA ผู้ท่ีจะท�าการยิงจะต้องมีปืนสั้น ซองปืน และ อุปกรณ์อนื่ ๆ ทีใ่ ช้ในการพกซ่อนปืนเพือ่ ป้องกันตัวเอง เท่านั้น ด้วยวิสัยทัศน์ของผู้ก่อตั้งและความมุ่งมั่น

สัญลักษณ์สมาคม IDPA แห่งประเทศไทย


38

ลักษณะของเป้าในการแข่ง IDPA ตามมาตรฐาน

ทุม่ เททีม่ ใี ห้แก่องค์กร ท�ำให้ปจั จุบนั ในสหรัฐอเมริกา กีฬา IDPA กลายเป็นกีฬายิงปืนที่มีการพัฒนาเร็ว มากทีส่ ดุ มีสมาชิกมากกว่า ๒๐,๐๐๐ คน จาก ๕๐ รัฐ และมีชมรมมากกว่า ๓๐๐ ชมรม ที่จัดการแข่งขัน ทุกสัปดาห์ ทุกเดือน และมีสมาชิกในประเทศอื่น ๆ อีกมากกว่า ๕๐ ประเทศทัว่ โลก นอกจากนี้ กฎ กติกา และรายละเอียดการแข่งขันการยิงค่อนข้างมีมาก เหตุเพราะผูร้ ว่ มก่อตัง้ IDPA ได้อนุมตั ขิ อ้ ตกลงร่วมกัน ครั้งเมื่อได้ก�ำหนดหลักการและค�ำแนะน�ำของ IDPA ไว้แล้วว่า “กีฬาชนิดนี้จะเป็นกีฬาที่ช่วยพัฒนา ทักษะการยิงปืนของบุคคลในการใช้อาวุธปืนพก ทีซ่ อ่ นไว้เพือ่ ป้องกันตนเองเมือ่ ตกอยูใ่ นสถานการณ์ อันตราย” จึงได้มีข้อบังคับไว้มากมายตามหนังสือ กฎ และกติกา กีฬายิงปืน IDPA เช่น ต้องใช้ที่ก�ำบัง การบรรจุกระสุนเพิม่ หลังทีก่ ำ� บัง และจ�ำกัดจ�ำนวนนัด ของกระสุนต่อรอบยิง จะเห็นได้ว่ากีฬายิงปืนนั้นถูกพัฒนาไปอย่าง รวดเร็วในหมู่ประชาชนพลเรือน ซึ่งพื้นฐานของการ ยิงปืนนั้นได้มาจาก การพัฒนาขีดความสามารถของ ก�ำลังทหารและเจ้าหน้าที่ต�ำรวจเพื่อให้เกิดความ

รูปแบบการแข่งขัน IDPA

แม่นย�ำในการใช้งาน หากเปรียบเทียบกีฬาทัง้ ๒ ชนิด กีฬายิงปืน IPSC จะเป็นการยิงปืนรณยุทธแบบเชิงรุก ซึง่ ส่วนใหญ่ในหมูท่ หารต�ำรวจมักจะนิยมใช้ในการฝึก เพื่อปฏิบัติการทางทหารและปฏิบัติงานในสายงาน ของต�ำรวจ ส่วนกีฬายิงปืน IDPA จะเป็นในลักษณะ การยิงปืนรณยุทธแบบเชิงรับ ทีพ่ ลเรือนก็สามารถฝึก และเรียนรู้ไว้เพื่อใช้ป้องกันตนเองได้ สิ่งที่ผู้ยิงต้องมี คือเทคนิคการยิงทีด่ บี วกกับความเร็วและความแม่นย�ำ ในการยิงเป็นอย่างมาก เพือ่ ให้สามารถท�ำลายเป้าหมาย ได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งยังต้องใช้การเคลื่อนไหวย้าย ทีก่ ำ� บังไปมาอย่างต่อเนือ่ งท�ำให้เกิดความสนุกในการ แข่งขันจนเกิดเป็นทีน่ ยิ มในหมูน่ กั แม่นปืนหรือผูเ้ ล่นปืน ทั้งนี้ผู้ใช้อาวุธปืนทั้งหลายจึงต้องพึงพิจารณาและ ตระหนักอยูเ่ สมอว่า การน�ำอาวุธปืนออกมาใช้ยงิ หรือ ใช้ในการฝึกแต่ละครั้งต้องอยู่บนความไม่ประมาท ต้องมีความรอบคอบในการใช้งาน และต้องศึกษากฎ กติกาการใช้อาวุธในแต่ละสนามยิงปืนให้เป็นอย่างดี เพื่ อ มิ ใ ห้ เ กิ ด อั น ตรายในการใช้ อ าวุ ธ และถื อ เป็ น มารยาทส�ำคัญของนักเล่นปืนที่ดี

อ้างอิง - คู่มือการฝึกเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการพิเศษ พัน.1 กรมปฏิบัติการพิเศษ หน่วยบัญชาการอากาศโยธิน สมาคมยิงปืนรณยุทธแห่งประเทศไทย - หนังสือ กฎ และกติกา กีฬายิงปืน IDPA (อ้างอิง IDPA Rulebook 2015 ฉบับแก้ไข ma-v1.0 แปลครั้งที่ ๑ (พ.ศ.๒๕๕๘))


ข าวทหารอากาศ

ครูภาษาพาที Annihilation

การ ดเชิญสักใบไหมคะ (Invitation Card) ภาพกองทัพอากาศไทย โดดเด่นเป็นศูนย์กลางเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างเหล่าทัพมิตรประเทศ ไม่ใช่ภาพฝันอีกต่อไป ธรรมชาติความมีน�้าใจของคนไทยที่ชอบการประนีประนอมถนอมน�้าใจผู้อื่น และเราทุกคนมีส่วนร่วมในการท�าภาพฝันนี้ให้เป็นจริงได้ ในเรื่องของการเชื่อมความสัมพันธ์นี้สิ่งหนึ่ง ที่ ต ามมาคื อ การจั ด กิ จ กรรมงานเลี้ ย งต่ า ง ๆ และในฐานะเจ้ า ภาพที่ ดี เ รามี ค วามจ� า เป็ น ที่ จ ะต้ อ ง ออกจดหมายเชิญ หรือออกบัตรเชิญทีน่ า� ไปเชิญด้วยตนเองหรือมีการส่งทางอีเมลหรือส่งผ่านแอปพลิชนั ไลน์บนมือถือ ปัจจุบันหลายท่านเริ่มได้รับบัตรเชิญให้เข้าร่วมงานเลี้ยงหรือกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ ผ่านช่องทางดังกล่าวและอาจต้องออกบัตรเชิญเป็นภาษาอังกฤษเอง ดังนัน้ หากทุกท่าน ได้รบั ทราบรูปแบบข้อความของบัตรเชิญประเภทต่าง ๆ ทีน่ า� เสนอในบทความนี ้ น่าจะเป็นประโยชน์ตอ่ ไป ในอนาคต และสามารถป้องกันความเข้าใจทีค่ ลาดเคลือ่ นทีอ่ าจก่อให้เกิดความเคอะเขินในภายหลังได้ เช่น มีการก�าหนดเครือ่ งแต่งกายให้ใส่ชดุ เครือ่ งแบบราตรีสโมสรครึง่ ท่อน แต่เรากลับใส่ชดุ อืน่ ไป เป็นต้น ส�าหรับ บัตรเชิญภาษาอังกฤษที่น�ามาเป็นตัวอย่างในบทความนี้เป็นบัตรเชิญของกองทัพอากาศสหรัฐฯ ซึ่งมี องค์ประกอบทั่วไป (Elements of an Invitation) ดังนี้ ๑. ใครเป็นเจ้าภาพ ๒. รูปแบบงานเลี้ยงเป็นแบบใด (What Kind) ๓. เมื่อใด (When) ๔. ที่ไหน (Where) ๕. การแต่งกาย (Dress)

เจ้าภาพ อาหารกลางวัน (Lunch), อาหารเย็น (Dinner), งานเลี้ยงรับรอง (Reception), พิธี (Ceremony) วันที่, วัน (Date and day of the week), เวลา (Time) สถานที่ (Place หรือ Venue) - เครื่องแบบปกติเทาคอแบะ (Service Dress) - ชุดพิธีการ (Formal Wear) เราจะใส่เครื่องแบบสโมสร (Mess Dress) ซึง่ เทียบเท่ากับงาน ทีพ่ ลเรือนสุภาพบุรษุ แต่งกายชุดทักซิโด้ หรือสูทด�า โบว์ไทสีด�า (Black Tie) หรือ Formal Dress Uniform ส�าหรับงาน ที่พลเรือน แต่งกายชุดทักซิโด้หรือสูทด�า โบว์ไทสีขาว (White Tie) ส�าหรับสุภาพสตรีพลเรือนสวมชุดราตรียาว

39


40

๖. การตอบรับค�ำเชิญ (RSVP)

- สูทล�ำลอง สวมเนกไท (Sports Coat and Tie) - สูทสีเข้มผูกเนกไท (Business Suit) - ชุดสุภาพ (Appropriate Attire) - ชุดล�ำลอง (Casual Dress) หรือชุดล�ำลองที่ใส่แล้ว สุภาพดูดี (Smart Casual ดูตวั อย่างได้ที่ https://www. thebalancecareers.com/smart-casual-dress- code-4051121) - เครือ่ งแบบปกติเทาคอพับ หรือเครือ่ งแบบท�ำงานปกติ ประจ�ำวัน (Uniform of the Day) - เครือ่ งแบบฝึก (Utility Uniform) บางครัง้ ในบัตรเชิญ ของกองทัพสหรัฐอาจใส่คำ� ว่า Utilities เนือ่ งจากเครือ่ ง แบบฝึกมีหลายชนิด เช่น Airman Battle Uniform (ABU), Battle Dress Uniform (BDU), และ Desert Camouflage Uniform (DCU) ส�ำหรับข้อมูลการ แต่งกายเครื่องแบบทหาร เสื้อผ้าหน้าผม สามารถอ่าน เพิ่มเติมได้โดยการพิมพ์ค้นหาใน Google โดยพิมพ์ ค�ำว่า afi36-2903.pdf ข้อมูลการตอบรับค�ำเชิญ (RSVP Information)

เพื่อให้เข้ากับยุคสมัยดิจิทัล ทุกท่านสามารถดูตัวอย่างการท�ำบัตรเชิญหรือการเชิญแบบออนไลน์ ได้ที่เว็บไซต์ของ US Air Force Clubs ซึ่งมีการอ�ำนวยความสะดวกแก่หน่วยงานต่าง ๆ ในการจัดท�ำ บัตรเชิญหรือการเชิญในรูปแบบต่าง ๆ แบบส�ำเร็จรูปโดยผู้ใช้สามารถคลิกเลือกข้อมูลตามที่ต้องการได้ ทัง้ นีส้ ามารถเรียนรูต้ วั อย่างการใช้งานบัตรเชิญหรือการเชิญต่าง ๆ ได้ที่ http://usaf.memberplanet.com/ create-and-customize-an-event.html#invitations นับเป็นการประหยัดค่าใช้จา่ ย ง่ายต่อการได้มา ซึ่งข้อมูลที่ต้องการ เช่นการตอบรับค�ำเชิญ จ�ำนวนคนที่ต้องการไปร่วมงานด้วย หรือการให้ผรู้ บั เชิญ กรอกข้อมูลเฉพาะ เช่น อาหารที่แพ้ (Food Allergies) หรือ ความต้องการในการใช้เก้าอี้รถเข็น ส�ำหรับคนป่วยหรือคนพิการ (Wheelchair Accessibility) เป็นต้น ส�ำหรับรูปแบบข้อมูลทีม่ กั พบบนบัตรเชิญ ที่พบเห็นได้ทั่วไป มีดังนี้


ข่าวทหารอากาศ

โดยปกติแล้วจะใส่ตราสัญลักษณ์ของหน่วยงาน (Organizational Emblem) ไว้บริเวณด้านบน ของบัตรเชิญเหนือข้อความต่าง ๆ หรืออาจใส่บริเวณด้านหน้าของปกบัตรเชิญดังนี้ ๑. ตราสัญลักษณ์ของหน่วยงาน (Organizational Emblem) ปกติแล้วตราสัญลักษณ์ของหน่วยงาน จะอยู่ด้านบนของบัตรเชิญหรือบนปกบัตรเชิญ เช่น ตรากองทัพอากาศ (RTAF Emblem) นอกจากนี ้ อาจมีการใส่รูปธงหรือสัญลักษณ์อื่น ๆ ตามที่เจ้าภาพต้องการ ๒. เจ้าภาพ (Host) บัตรเชิญอาจขึ้นต้นด้วยการระบุต�ำแหน่งและหน่วยงานของเจ้าภาพ เช่น The Commander, 56th Fighter Wing (ผู้บัญชาการ กองบินขับไล่ ๕๖) ส�ำหรับชื่อฝูง หรือ กองบิน หากเป็ น รู ป แบบของกองทั พ สหรั ฐ ฯ จะน� ำ เลขล� ำ ดั บ ที่ ไ ว้ ด ้ า นหน้ า ฝู ง หรื อ กองบิ น แต่ ส� ำ หรั บ กองทัพอากาศไทย เรานิยมใช้ค�ำว่าฝูงหรือกองบินขึ้นก่อน ตามด้วยตัวเลขของฝูงหรือกองบินนั้น ๆ ซึ่งเป็นชื่อเฉพาะที่เป็นไปตามความนิยมแต่ละเหล่าทัพนั่นเอง หากเชิญร่วมกับภรรยาจะระบุว่า Mrs. ตามด้วย ชือ่ -สกุล ของเจ้าภาพชายดังในตัวอย่างต่อไปนี้ เจ้าภาพมีต�ำแหน่งคือ The Commander, 56th Fighter Wing (ผูบ้ ญ ั ชาการ กองบินขับไล่ ๕๖) ส่วนภรรยาใช้วธิ กี ารระบุชอื่ -สกุลของสามี แต่ใส่คำ� น�ำหน้าว่า Mrs. (หากเห็นบัตรเชิญแบบนี้อย่าตกใจว่าเขาพิมพ์ผิด แต่เป็นรูปแบบตามความนิยมนั่นเอง) หรืออาจใส่ Mrs. ตามด้วยนามสกุลของเจ้าภาพฝ่ายชายเท่านั้น เช่น Mrs.Barry

อีกรูปแบบหนึ่งที่เป็นที่นิยมเช่นกัน คือ การใส่ ยศ-ชื่อ-สกุล ของเจ้าภาพ ตามด้วยต�ำแหน่ง (ถ้ามี) กรณีที่ใช้ ยศ-ชื่อ-สกุล ขึ้นก่อน เวลาใส่ต�ำแหน่งจะละค�ำว่า the หน้าต�ำแหน่งออก เช่น

๓. ส�ำหรับส�ำนวน “มีความยินดีขอเรียนเชิญท่านร่วมงาน…” เรานิยมใช้สำ� นวนดังนีต้ อ่ จากบรรทัด ของชื่อเจ้าภาพ request the pleasure of your company at ... (ใส่ชนิดของงาน) (กรณีเชิญคูส่ มรสด้วย request the pleasureof your company and spouse at…) cordially invites you to ... (ใส่ชนิดของงาน) request the honor of your presence at ... (ขอเชิญท่านเป็นเกียรติร่วมงาน...ใส่ชนิดของงาน)

41


42

กรณีไม่ใส่ชื่อเจ้าภาพเป็นการ์ดออกในนามของหน่วยงาน เราอาจขึ้นต้นบัตรเชิญด้วยส�านวนดังนี้ THE HONOR OF YOUR PRESENCE IS REQUESTED AT THE ... (ใส่ชนิดของงาน) (ขอเชิญท่านเป็นเกียรติร่วมงาน...ใส่ชนิดของงาน) ตัวอย่างขอเชิญร่วมเป็นเกียรติในพิธีเลื่อนชั้นยศ

ส�าหรับตัวอย่างชนิดของงานเลีย้ งหรือพิธตี า่ ง ๆ โดยทั่วไป มีดังนี้ a farewell dinner = งานเลีย้ งอ�าลา (อาหารค�า่ ) ถ้าอาหารกลางวัน เปลีย่ นค�าว่า dinner เป็น lunch แทน a welcome lunch = งานเลี้ยงต้อนรับ (อาหารกลางวัน) ถ้าอาหารเย็นเปลี่ยนค�าว่า lunch เป็น dinner แทน a reception = งานเลี้ยง หรือ งานเลี้ยงรับรอง the retirement ceremony = พิธีเกษียณอายุราชการ the promotion ceremony = พิธเี ลือ่ นชัน้ ยศเลื่อนต�าแหน่ง the change of command ceremony = พิธีรับส่งหน้าที่ the medal ceremony หรือ the decoration ceremony = พิธปี ระดับเหรียญหรือเครือ่ งหมาย ต่าง ๆ เช่น the bronze star medal presentation ceremony = พิธปี ระดับเหรียญกล้าหาญชัน้ "บรอนซ์ สตาร์" the commendation medal presentation ceremony หรือ the meritorious service medal presentation ceremony = พิธีประดับเหรียญเชิดชูเกียรติส�าหรับนายทหารสัญญาบัตรชั้นยศ น.อ.ขึ้นไป the achievement medal presentation ceremony = พิธีประดับเหรียญเชิดชูเกียรติส�าหรับ นายทหารสัญญาบัตรที่มีชั้นยศต�่ากว่า น.อ. the award ceremony = พิธีมอบรางวัล เช่น Outstanding Airmen of the Year Award รางวัล บุคคลดีเด่นประจ�าปี ส�าหรับฉบับนี้เราได้เห็นรูปแบบและข้อมูลพื้นฐานที่ปรากฏบนบัตรเชิญไปบ้างแล้ว ในฉบับหน้า เราจะได้ทราบถึง ข้อมูลต่าง ๆ ทีน่ า่ สนใจเพิม่ เติมทีร่ ะบุในบัตรเชิญ เพือ่ เป็นเกร็ดความรูป้ ระดับไว้สา� หรับ อนาคตหากต้องใช้งาน แล้วพบกันฉบับหน้านะคะ


ข่าวทหารอากาศ

43

MANNED to UNMANNED

AIRCRAFT เปลีย่ นเครือ่ งบินให้เป็นโดรน น.อ.วัชรพงษ์ กลีบม่วง

QF-4 Phantom

เมื่อกล่าวถึงโดรนกับอากาศยานไร้คนขับ อาจท�าให้เกิดข้อสงสัยว่าต่างกันอย่างไร หรือทั้ง สองอย่ า งคื อ สิ่ ง เดี ย วกั น ความจริ ง แล้ ว โดรนนั้ น หมายถึ ง พาหนะทุ ก ชนิ ด ที่ ไ ม่ มี ค นขั บ อยู ่ ข ้ า งใน (Unmanned) ซึ่งรวมถึงอากาศยานไร้คนขับด้วย ดั ง นั้ น อากาศยานไร้ ค นขั บ จึ ง เป็ น เพี ย งชนิ ด หนึ่ ง ของโดรน หรือถ้าในเชิงคณิตศาสตร์ อากาศยาน ไร้คนขับก็คือสับเซตของโดรนนั่นเอง จากกระแสการพัฒนาเทคโนโลยีโดรนหรือ พาหนะไร้ ค นขั บ เช่ น อากาศยาน รถยนต์ เรื อ เรื อ ด� าน�้า ได้มีก ารแพร่ขยายออกไปเป็น วงกว้ า ง ทั้ ง ในภาคธุ ร กิ จ และความมั่ น คง โดยเฉพาะ อากาศยานไร้คนขับที่มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ด้วยเทคโนโลยีขั้นสูงโดยเฉพาะอากาศยานไร้คนขับ แบบ Stealth อากาศยานไร้คนขับควบคุมด้วย AI ที่ เ ริ่ ม เข้ า มาทดแทนเครื่ อ งบิ น ที่ บั ง คั บ ด้ ว ยนั ก บิ น ในการปฏิบัติภารกิจที่มีความเสี่ยงสูง หรือการบิน ลาดตระเวนต่อเนื่องเป็นเวลานาน และผลที่ตามมา

คือเครือ่ งบินหลายแบบทีอ่ าจถูกอากาศยานไร้คนขับ ทดแทนนัน้ จะเป็นอย่างไรต่อไป การเลือกทีจ่ ะจ�าหน่าย เครือ่ งบินดังกล่าวทิง้ หรือปลดประจ�าการอาจไม่คมุ้ ค่า เนื่องจากมีอายุการใช้งานที่ยังคงบินได้อีกยาวนาน และถูกจัดหามาด้วยงบประมาณราคาสูง แนวคิด การท�าให้อากาศยานทีบ่ งั คับด้วยนักบิน เป็นอากาศยาน ไร้คนขับ (Manned to Unmanned) อาจเป็นทางเลือก ที่เหมาะสมทางเลือกหนึ่งส�าหรับการน�าเครื่องบิน ดังกล่าวมาใช้งานให้เกิดความคุ้มค่าสูงสุด หากย้อนอดีตกลับไปราวช่วงหลังสงครามโลก ครัง้ ที่ ๒ กองทัพอากาศสหรัฐฯ ได้ดดั แปลงเครือ่ งบิน B-17 Flying Fortress ให้เป็นอากาศยานไร้คนขับโดยใช้ การบังคับจากภาคพืน้ เพือ่ ใช้ในภารกิจการบินตรวจจับ การแผ่รงั สีในการทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ นอกจากนัน้ ยังมีเครื่องบิน QF-4 Phantom ที่ถูกดัดแปลงเป็น อากาศยานไร้คนขับ นอกจากสหรัฐฯ แล้วยังมีจีน ทีน่ า� เอาเครือ่ งบินรบทีป่ ลดประจ�าการแล้วมาดัดแปลง เป็นอากาศยานไร้คนขับเพือ่ ใช้เป็นเป้าอากาศ


44

MiG-19

Cessna 206

ROBOpilot ติดตั้งในห้องนักบิน

ROBOpilot ติดตั้งในห้องนักบิน

ส�ำหรับกำรฝึกของหน่วยต่อสู้อำกำศยำน ซึ่งจีนได้น�ำ เครื่องบิน J-6 ถอดแบบมำจำก MiG-19 และเครือ่ งบิน J-7 ถอดแบบมำจำก MiG-21 ของรัสเซีย มำดั ด แปลงเป็ น อำกำศยำนไร้ ค นขั บ โดยใช้ เ ป็ น เป้ำอำกำศส�ำหรับฝึกยิงอำวุธต่อสู้อำกำศยำน แม้ว่ำ จะมีกำรดัดแปลงอำกำศยำนหรือเครื่องบินรบปกติ ให้กลำยเป็นอำกำศยำนไร้คนขับแต่ทงั้ หมดยังคงเป็น กำรบั ง คั บ จำกภำยนอกเหมื อ นกั บ เครื่ อ งบิ น วิ ท ยุ บังคับ เนือ่ งจำกเครือ่ งบินนัน้ ถูกออกแบบมำเพือ่ ให้ นักบินเข้ำไปนั่งบังคับ กำรดัดแปลงให้กลำยเป็น อำกำศยำนไร้ ค นขั บ ให้ เ หมื อ นกั บ อำกำศยำน ไร้ ค นขั บ ในปั จ จุ บั น ที่ ถู ก ออกแบบมำโดยตรง อำจไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งง่ ำ ยนั ก ดั ง นั้ น จึ ง เกิ ด แนวคิ ด ที่ จ ะ ให้ หุ ่ น ยนต์ ม ำบั ง คั บ เครื่ อ งแทนนั ก บิ น แทนที่ จ ะ พยำยำมดั ด แปลงตั ว เครื่ อ งบิ น ซึ่ ง ท� ำ ได้ ย ำกกว่ ำ แนวคิ ด กำรสร้ ำ งหุ ่ น ยนต์ แ ทนนั ก บิ น เกิ ด ขึ้ น ที่ ศูนย์ทดลองและวิจยั ของ ทอ.สหรัฐฯ ซึง่ มีกำรพัฒนำ ROBOpilot หุ่นยนต์บังคับเครื่องบิน รวมกับบริษัท DZYNE Incorporated ซึ่ ง ได้ มี ก ำรทดสอบบิ น ครั้งล่ำสุดเมื่อ ก.ย.๖๓ ROBOpilot เป็นหุน่ ยนต์ในโครงกำรพัฒนำ หุน่ ยนต์ในกำรบังคับเครือ่ งบินแทนนักบินเปลีย่ นจำก Manned เป็น Unmanned สำมำรถถอดเปลี่ยน ที่นั่งนักบินแล้วเอำ ROBOpilot เข้ำไปใส่แทนและ เปลีย่ นกลับได้โดยใช้เวลำไม่นำน ส�ำหรับ ROBOpilot มีอุปกรณ์หลักคือแขนขำกลในกำรควบคุมคันบังคับ Rudder และสวิตช์ตำ่ ง ๆ คอมพิวเตอร์สำ� หรับควบคุม กำรบิน ซึ่งอำศัยข้อมูลจำก GPS เซนเซอร์ต่ำง ๆ แบบเดียวกับกำรอ่ำนข้อมูลบนแผงหน้ำปัดในห้อง นั ก บิ น และกล้ อ งวี ดิ โ อส� ำ หรั บ ส่ ง สั ญ ญำณภำพ มำที่ ส ่ ว นควบคุ ม ภำคพื้ น ส� ำ หรั บ เครื่ อ งบิ น ที่ ใ ช้ ในโครงกำรคือ เครือ่ งบิน Cessna 206 ซึง่ ทดสอบบิน ครัง้ แรกเมือ่ ส.ค.๖๒ ส�ำหรับกำรทดสอบบินครัง้ ล่ำสุด เมื่อ ก.ย.๖๓ เป็นกำรทดสอบบินครั้งที่ ๔ หลังจำก เกิดอุบัติเหตุตอนลงจอดในกำรทดสอบบินครั้งก่อน ส� ำ หรั บ กำรทดสอบครั้ ง นี้ ได้ ท� ำ กำรบิ น ที่ รั ฐ ยู ท ำ สหรัฐฯ ใช้เวลำในกำรบิน ๒.๒ ชัว่ โมง โดย ROBOpilot สำมำรถน�ำเครือ่ งบินขึน้ ไต่ระดับควำมสูงและลงจอด ได้อย่ำงสมบูรณ์


ข่าวทหารอากาศ

45

เครื่องบิน An-2 ไร้คนขับที่ถูกอาร์เมเนียยิงตก

ในขณะที่ ROBOpilot ก�ำลังอยู ่ ร ะหว่ ำ ง กำรพัฒนำ ได้มีข่ำวกำรใช้เครื่องบิน An-2 ซึ่งไม่มี นักบินบังคับในกำรปะทะกันระหว่ำงอำเซอร์ไบจำน กับอำร์เมเนียจำกกรณีพิพำทเรื่องเขตแดน เหตุใด จึงรูว้ ำ่ เครือ่ งบิน An-2 ซึง่ เป็นเครือ่ งบินยุคสงครำมเย็น ที่ใช้ในภำรกิจล�ำเลียงและโดดร่ม ผลิตโดยสหภำพ โซเวียต ไม่มีนักบินบังคับและถูกสงสัยว่ำอำจเป็น อำกำศยำนไร้คนขับ จำกข้อมูลทีม่ กี ำรรำยงำนทำงฝัง่ ของอำร์เมเนีย พบว่ำ เครื่องบิน An-2 ได้บินผ่ำน เขตแดนของอำร์เมเนียเป็นจ�ำนวนมำกและถูกยิงตก จำกกำรส� ำ รวจซำกเครื่ อ งที่ ถู ก ยิ ง ตกพบเพี ย ง ห้องนักบินทีว่ ำ่ งเปล่ำ และไม่มกี ำรรำยงำนว่ำมีนกั บิน สละเครื่ อ งหลั ง เครื่ อ งถู ก ยิ ง และที่ ส� ำ คั ญ คื อ ไม่ มี อุ ป กรณ์ ใ ดเลยที่ ดู เ หมื อ นเป็ น หุ ่ น ยนต์ ที่ ม ำบั ง คั บ เครื่องบินแทนนักบิน หำกเป็นเช่นนั้นแล้ว เครื่องบิน An-2 หลำยล�ำบินเข้ำมำในอำร์เมเนียได้อย่ำงไร ข้อสังเกตจำกลักษณะกำรบินของเครื่องบิน An-2 ของอำเซอร์ไบจำน ที่บินด้วยควำมเร็วต�่ำ และบินในระดับทีม่ องเห็นได้งำ่ ย ท�ำให้ฝำ่ ยอำร์เมเนีย

สำมำรถใช้อำวุธต่อสู้อำกำศยำนยิงเครื่องบิน An-2 ตกเป็นจ�ำนวนมำก แต่ภำยหลังจำกที่ยิงเครื่องบิน An-2 ได้ อ ำวุ ธดั ง กล่ ำ วก็ ถู ก ฝ่ ำยอำร์ เ ซอร์ ไ บจำน โจมตีทันที แสดงว่ำอำเซอร์ไบจำนใช้เครื่องบิน An-2 เป็นเป้ำหลอกให้อำวุธต่อสูอ้ ำกำศยำนของอำร์เมเนีย เผยตัวออกมำท�ำให้ฝ่ำยอำร์เซอร์ไบจำนรู้ต�ำแหน่ง และโจมตีได้ ส�ำหรับ เครื่องบิน An-2 ที่บินเข้ำไป ในฝ่ำยอำร์เมเนียโดยไม่มีนักบินนั้นคำดว่ำนักบิน ท� ำ กำรโดดร่ ม ออกมำก่ อ นที่ เ ครื่ อ งจะบิ น เข้ ำ เขต อำร์เมเนีย โดยท�ำกำรตั้งควำมเร็วและล๊อคคันบังคับ ให้บินตรงไปข้ำงหน้ำตำมควำมสูงที่ก�ำหนด เพื่อล่อ ให้ฝ่ำยตรงข้ำมยิง นอกจำกนั้นแล้ว เครื่องบิน An-2 ยั ง ถู ก ติ ด ตั้ ง ลู ก ระเบิ ด ไปด้ ว ย ซึ่ ง หำกไม่ ถู ก ยิ ง ตก และบินไปจนกระทั่งน�้ำมันหมดและตกลงในพื้นที่ ส่วนหลังของฝ่ำยอำร์เมเนียก็สำมำรถสร้ำงควำม เสียหำยพื้นที่ส่วนหลังได้ และจำกข้อมูลภำพถ่ำย จำกดำวเทียมพบว่ำอำเซอร์ไบจำนวำงก�ำลัง เครือ่ งบิน An-2 รำว ๕๐ เครื่อง ไว้ที่สนำมบิน Yevlakh ใกล้กับ แนวชำยแดน


46

MiG-21

แม้ว่าอาเซอร์ไบจานจะไม่ได้ใช้เทคโนโลยี ขั้นสูงในการท�าให้ เครื่องบิน An-2 ที่ปลดประจ�าการ เป็ น จ� า นวนมากกลายเป็ น อากาศยานไร้ ค นขั บ แต่แนวคิดดังกล่าวก็ถือว่ามีความแยบยล ซึ่งท�าให้ ฝ่ายอาร์เมเนียคาดไม่ถงึ และสร้างความได้เปรียบให้กบั อาเซอร์ไบจานในการเอาชนะระบบต่อสู้อากาศยาน ของอาร์เมเนียได้แต่ตอ้ งแลกกับเครือ่ งบินจ�านวนมาก ที่ต้องถูกท�าลายไป แนวคิด Manned to Unmanned สามารถ แปลงอากาศยานแบบปกติให้กลายเป็นอากาศยาน ไร้คนขับที่สามารถปฏิบัติภารกิจที่มีความเสี่ยงหรือ ปฏิบัติต่อเนื่องเป็นเวลานาน และที่ส�าคัญอาจท�าให้ ไม่ ต ้ อ งจั ด หาอากาศยานไร้ ค นขั บ มาประจ� า การ อ้างอิง

-

แม้ แ ต่ ประเทศในภู มิ ภาคอาเซี ย นอย่ า งเวี ย ดนาม ก็ ไ ด้ มี ก ารน� า เครื่ อ ง MiG-21 ที่ ป ลดประจ� า การ มาท�าการพัฒนาให้กลายเป็นอากาศยานไร้คนขับ โดยมีแผนในการพัฒนาทีน่ า่ สนใจคือการพัฒนาระบบ ควบคุมทีส่ ามารถท�าให้เครือ่ งขึน้ บินและลงจอดได้เอง แบบอัตโนมัติ การพัฒนาเครื่องบินปลดประจ�าการ ให้กลายเป็นอากาศยานไร้คนขับไม่เพียงแต่เป็นการ ใช้เครื่องบินให้เกิดความคุ้มค่าแต่ยังเป็นการเพิ่ม ขี ด ความสามารถในการวิ จั ย และพั ฒ นาด้ า น อากาศยานไร้คนขับที่ต้องใช้เทคโนโลยีขั้นสูงอีกด้วย ซึ่งในอนาคตอันใกล้เราอาจเห็นฝูงเครื่องบินรบที่มี หุ่นยนต์บังคับเครื่องแทนนักบินก็เป็นได้

Azerbaijani military turns Soviet biplane aircraft into drones, https://defence-blog.com ‘ROBOpilot’ Returns to Flight After Mishap, www.airforcemag.com US Air Force’s ROBOpilot returns to flight, www.janes.com QF-4 Aerial Target, www.military.com Meet China’s new-old killer drones, https://foreignpolicy.com


ข าวทหารอากาศ

47

หมิ่นประมาทเป นอย างไร (ต่อจากฉบับทีแ่ ล้ว)

การหมิน่ ประมาททางอินเทอร์เน็ตเป็นอย่างไร การหมิ่นประมาททางอินเทอร์เน็ต ซึ่งถือเป็น เทคโนโลยีที่ก�าลังมีบทบาทมากในชีวิตประจ� า วั น สังคมปัจจุบัน การพิมพ์ข้อความ หรือแสดงกริยา ต่าง ๆ โดยการใส่ความดังกล่าวนั้นต่อบุคคลที่สาม ซึง่ เป็นการกระท�าให้ผถู้ กู ใส่ความนัน้ ได้รบั ความเสียหาย อาจถือเป็นการหมิ่นประมาททางอินเทอร์เน็ตได้ กรณีความผิดทางอาญา ในการหมิ่นประมาท ทางอินเทอร์เน็ต จะมีความผิดตามประมวลกฎหมาย อาญา มาตรา ๓๒๖ โดยหากน�าข้อความหรือภาพ ทีม่ ลี กั ษณะหมิน่ ประมาทไปลงไว้ในเว็บไซต์ คนทัว่ ไป ย่อมสามารถเข้าถึงข้อมูลดังกล่าวได้ อันเป็นลักษณะ

ร.อ.ชานุวัฒน์ แสงสุวรรณ รรก.นายทหารพระธรรมนูญ บน.๑

ของการโฆษณาด้วยภาพ หรือตัวอักษรทีท่ า� ให้ปรากฏ ด้วยวิธีใดอย่างหนึ่ง ซึ่งในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๒๙ บัญญัติว่า “ถ้าความผิดฐานหมิ่น ประมาท ได้กระท�าโดยการโฆษณา ด้วยเอกสาร ภาพวาด ภาพระบายสี ภาพยนตร์ ภาพ หรือตัวอักษร ที่ท�าให้ปรากฏ ไม่ว่าด้วยวิธีใด ๆ แผ่นเสียง หรือสิ่ง บันทึกเสียง บันทึกภาพ หรือบันทึกอักษร กระท�า โดยการกระจายเสียง หรือกระจายภาพ หรือโดย กระท�าการปาวประกาศด้วยวิธีอื่น ผู้กระท�าต้อง ระวางโทษจ� า คุ ก ไม่ เ กิ น สองป และปรั บ ไม่ เ กิ น สองแสนบาท” ผู้กระท�าจะต้องรับโทษหนักกว่า มาตรา ๓๒๖ เพราะการโฆษณาเป็นการท�าให้ขอ้ ความ


48

หรื อ ภาพที่ มี ลั ก ษณะหมิ่ น ประมาทกระจายไปสู ่ คนจ�ำนวนมากกว่าการหมิ่นประมาททั่ว ๆ ไป ตั ว อย่ า ง เช่ น เมื่ อ ได้ รั บ อี เ มล์ ที่ มี ข ้ อ ความ หมิ่นประมาท และได้ Forward ต่อไปให้ผอู้ นื่ จะมี ความผิดฐานหมิ่ น ประมาทหรื อ ไม่ นั้ น ประเด็ น นี ้ เกิดขึ้นได้บ่อยมากในปัจจุบัน เพราะการส่งข้อความ หรือภาพที่เราได้รับมาไปให้เพื่อนหรือคนรู้จักกันนั้น ท�ำได้ง่ายและไม่จ�ำกัดจ�ำนวน การ Forward mail ไปให้ ผู ้ อื่ น นั้ น ถื อ เป็ น ความผิ ด ฐานหมิ่ น ประมาท เพราะผู ้ ก ระท� ำ นั้ น เมื่ อ ได้ รั บ ทราบข้ อ ความแล้ ว ได้ท�ำการเผยแพร่ต่อไป เท่ากับเป็นการใส่ความ ผู้เสียหายต่อไปอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งเป็นการขยายความ เสี ย หายออกไปอี ก จึ ง ถื อ เป็ น ความผิ ด ฐานหมิ่ น ประมาทแล้ว ถ้าหาก Forward mail ต่อไปให้ บุคคลอืน่ อีกหลายคน จะถือว่าเป็นการหมิน่ ประมาท ด้วยการโฆษณาที่ต้องรับโทษหนักขึ้นตามประมวล กฎหมายอาญา มาตรา ๓๒๘ คือ จ�ำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ

หมิ่ น ประมาททางแอปพลิ เ คชั น ไลน์ ก ลุ ่ ม มี ความผิดฐานหมิ่นประมาทด้วยการโฆษณาหรือไม่ ในยุคที่โซเชียลเข้ามามีบทบาทมากในปัจจุบัน การใช้แอปพลิเคชันต่าง ๆ ก็ต้องระมัดระวังเช่นกัน มิฉะนั้นอาจเกิดเหตุเช่นคดีนี้ค�ำพิพากษาศาลฎีกา ที่ ๕๒๗๖/๒๕๖๒ คดี นี้ จ� ำ เลยส่ ง ข้ อ ความลงใน แอปพลิ เ คชั น ไลน์ ก ลุ ่ ม ซึ่ ง มี ข ้ อ ความที่ มี ลั ก ษณะ หมิ่นประมาทบุคคลอื่น โดยคดีเรื่องนี้มีประเด็นว่า การกระท�ำของจ�ำเลยเป็นความผิดฐานหมิน่ ประมาท ด้วยการโฆษณาตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๒๘ หรือไม่ มีข้อพิจารณาดังต่อไปนี้ การกระท�ำที่จะเป็นความผิดฐานหมิ่นประมาท ด้วยการโฆษณา ต้องผ่านองค์ประกอบตามมาตรา ๓๒๖ มาก่อน กล่าวคือ ต้องเป็นการใส่ความโดย ระบุ ถึ ง ตั ว บุ ค คลผู ้ ถู ก ใส่ ค วามหรื อ หากไม่ ร ะบุ ถึ ง ผู ้ ที่ ถู ก ใส่ ค วามโดยตรงก็ ต ้ อ งได้ ค วามว่ า หมายถึ ง บุคคลใดบุคคลหนึ่งโดยเฉพาะ และเป็นการใส่ความ ต่อบุคคลที่สาม โดยประการที่น่าจะท�ำให้ผู้อื่นนั้น


ข่าวทหารอากาศ

เสียชือ่ เสียง ถูกดูหมิน่ หรือถูกเกลียดชัง โดยความผิด ฐานนี้จะส�ำเร็จเมื่อบุคคลที่สามรู้และเข้าใจข้อความ ที่ใส่ความ และแม้การโฆษณาจะมีผู้ทราบและเข้าใจ ข้อความเพียงแค่คนเดียวก็ส�ำเร็จแล้ว ข้อส�ำคัญก็คอื ว่าต้องมีการโฆษณาแล้ว กล่าวคือ ต้ อ งได้ มี ก ารเผยแพร่ ข ้ อ ความไปสู ่ ส าธารณชน หรือประชาชนทั่วไปเมื่อคดีนี้จำ� เลยส่งข้อความลงใน แอปพลิเคชันไลน์กลุ่ม มีลักษณะเป็นเพียงเจตนา การแจ้งหรือไขข่าวไปยังเฉพาะกลุ่มบุคคลซึ่งอยู่ใน กลุ่มไลน์เท่านั้น ยังไม่ถึงกับเป็นการกระจายข่าวไปสู่ สาธารณชนหรือประชาชนทั่วไป จึงไม่ผิดฐานหมิ่น ประมาทด้วยการโฆษณาตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๒๘ อย่างไรก็ตาม การส่งข้อความหมิ่นประมาท เข้ า ไปในกลุ ่ ม ไลน์ ก็ ยั ง คงถื อ ว่ า เป็ น การใส่ ค วาม ผู้อื่น (ผู้ที่ถูกกล่าวถึง) ต่อบุคคลที่สาม (ผู้รับข้อความ ในกลุ่มไลน์ที่อ่านและเข้าใจความหมายของข้อความ หมิน่ ประมาท) ในประการทีน่ า่ จะท�ำให้ผถู้ กู กล่าวถึงนัน้

49

เสือ่ มเสียชือ่ เสียง การกระท�ำดังกล่าวของจ�ำเลยยังคง เป็นความผิดฐานหมิน่ ประมาทตามประมวลกฎหมาย อาญา มาตรา ๓๒๖ กล่ า วโดยสรุ ป ตามค� ำ พิ พ ากษาศาลฎี ก าที่ ๕๒๗๖/๒๕๖๒ การใช้แอปพลิเคชันไลน์แจ้งข่าว เฉพาะผู้ซึ่งอยู่ในกลุ่มไลน์เท่านั้น ยังไม่ถึงกับเป็นการ กระจายข่ า วไปสู ่ ส าธารณชน ไม่ เ ป็ น การโฆษณา จึ ง ไม่ ผิ ด ฐานหมิ่ น ประมาทด้ ว ยการโฆษณาตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๒๘ แต่มีความผิด ฐานหมิ่นประมาท (ธรรมดา) ตามประมวลกฎหมาย อาญา มาตรา ๓๒๖ ดังนัน้ การใช้สทิ ธิเสรีภาพในการพูด แสดงความ คิดเห็น ติชม ก็ควรต้องค�ำนึงถึงกฎหมาย ซึง่ เป็นกติกา ของสั ง คมที่ ช ่ ว ยให้ ค นอยู ่ ร ่ ว มกั น อย่ า งสงบและ มี สั นติ สุ ข แต่ ห ากสิ ท ธิ เ สรี ภาพของใครถู ก ละเมิ ด ก็เป็นหน้าทีข่ องคนนัน้ ในการปกป้องรักษาสิทธิเสรีภาพ ที่ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายของตนเอง

อ้างอิง - ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๒๖ - มาตรา ๓๓๓, ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๔๒๐ และมาตรา ๔๒๓


50

ธรรมประทีป

มรรค ๘ ในการรับมือกับไวรัส COVID-19

ฉบับนีม้ เี นือ้ หามาแนะนําแนวทางในการปฏิบตั ติ น เพือ่ รับมือกับการแพรระบาด ของไวรัส COVID-19 ใหกบั ประชาชนคนไทย ๘ ประการ โดยนําเสนอตั้งแตวิธีการ รับมือกับขอมูลขาวสาร จนถึง การรูจักใชเวลาคุณภาพ กับครอบครัวใหเกิดประโยชนสูงสุด ดังตอไปนี้ ๑. ติ ด ตามสถานการณ อ ย า งใกล ชิ ด เพื่ อ ความ “รูเทาทัน” ไมใชเพื่อความ “ตื่นตระหนก” จนกลาย เปนความวิตกกังวลเกินจริง ๒. เสพข อ มู ล ข า วสารอย า งมี ส ติ เ พื่ อ สนองการ อยากรู “ความจริง” ไมใชแคสนองความ “อยากรูอ ยากเห็น” อันเปนความสามารถระดับสัญชาตญาณเทานั้น ๓. อาน ติดตาม อางอิง สงตอเฉพาะ Fact News หรือขาวจริง ไมใช Fake News หรือขาวปลอม ๔. ปลูกฝงนิสัยไมเชื่ออะไรงาย ๆ ใหแกตัวเอง ดวยการหมัน่ คนควาหาความรูจ ริงดวยตนเอง มากกวาฟง แต “คําเขาวา” แลวก็รบี สงตอขอมูลผิด ๆ อันเปนการ ซํ้าเติมสถานการณใหแยลงกวาเดิม อางอิง :

๕. ปฏิบตั ติ ามคําแนะนําของผูร จู ริงในเรือ่ ง การรับมือกับไวรัส COVID-19 อยางมีสติ และ ดวยความเห็นอกเห็นใจเจาหนาที่ที่ตรากตรํา ทํางานหนักเพื่อสวัสดิภาพของทุกคน ๖. อย า เป น แนวร ว มในการสร า งความ รุนแรง ราวฉาน ในสังคม ดวยการพูด เขียน แชรขา วหรือขอความทีก่ อ ใหเกิดความเขาใจผิด หรือความเกลียดชังเติมลงไปในสังคม เพราะลําพัง การรับมือกับไวรัสก็ยากพออยูแลว ๗. รวมมือกันฟนฝาวิกฤติครัง้ ใหญในประวัตศิ าสตร ของมนุษยชาติดวยความเห็นอกเห็นใจในเพื่อนมนุษย ไมเหยียดยํ่า ไมซํ้าเติมใคร ใหเจ็บชํ้านํ้าใจ แตควร ใหกําลังใจกัน ยกยองกัน สงเสริมเติมพลังใหกันดวย ปยวาจาและดวยการสนับสนุนตามศักยภาพของตน ในดานตาง ๆ เทาที่ตนจะพึงทําได ๘. ใช วั น เวลาที่ ไ ด ม าจากการหยุ ด อยู  กั บ บ า น หรือ Stay Home ใหเกิดประโยชนสูงสุดดวยการใช วันเวลาคุณภาพกับครอบครัว และการพัฒนาตัวเอง ให เ กิ ด ประโยชน สู ง สุ ด ไม ใ ช ก ารนอนเล น ไปวั น ๆ อยางไรคา สําหรับบางคนอาจใชเวลาดังกลาวนี้ จัดบาน อ า นหนั ง สื อ ฝ ก สมาธิ ภ าวนา เรี ย นภาษาเพิ่ ม เติ ม หรือทํางานศิลปะเพื่อชุบชูใจใหสดชื่นรื่นเย็น ไมเปน คนวิตกจริตไปกับขอมูลขาวสารที่ลนเกิน

http://thebuddh.com/?p=46116 พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี คําสอนทานพุทธทาสภิกขุวาดวยการทํางาน คือ การปฏิบัติธรรม


ข าวทหารอากาศ

51

มุมท องเที่ยว

เกาะหลีเปะ สุวดี

ã

นจังหวัดทางภาคใต้ของไทยนั้นขึ้นชื่อเรื่อง ความสวยงามของหาดทราย และเกาะต่าง ๆ ตามชายฝังอันดามันที่เลื่องชื่อ เช่น เกาะหลีเป๊ะ ท�าให้นักท่องเที่ยวมากมายอยากมาสัมผัสสักครั้ง นอกจากนั้นเมื่อได้มาสัมผัสยังได้ความประทับใจ หลาย ๆ ด้าน เช่นเดียวกับคณะของผู้เขียนซึ่งกว่าจะ ได้มาอายุก็ปาเข้าเลข ๕ แล้ว การเดินทางทริปนี้ เราจึงเลือกใช้บริการแพคเก็จทัวร์ ๓ วัน ๒ คืน ซึ่งบริษัททัวร์จะจัดการให้เราหมดทุกอย่าง ตั้งแต่ การเดินทางจากสนามบินดอนเมืองจนถึงหาดใหญ่ และรถตู้ไปยังท่าเรือปากบารา รวมทั้งเรือจากท่าเรือ ไปเกาะหลีเป๊ะ ตลอดจนที่พัก เรือหางยาวไปด�าน�้า พร้อมอุปกรณ์ และดูแลความปลอดภัยตลอดการเดินทาง สะดวกสบาย เหมาะสมกับวัย แค่เตรียมตัว เตรียมใจ เตรียมร่างกายให้พร้อมส�าหรับทริปนี้ก็พอ วันนี้เลย อยากน�าเรื่องราวจากการเดินทางมาเล่าให้ฟังกันค่ะ ทริปนีค้ ณะเราเดินทางโดยสายการบินแอร์เอเชีย (Air Asia) จากสนามบินดอนเมือง ไปสนามบินหาดใหญ่ เพื่อไม่ให้เสียเวลาอยู่ในสนามบินนาน เราสามารถ check in online ไว้ล่วงหน้าทั้งขาไปและขากลับ


52

เราเลื อ กเดิ น ทางไปเที่ ย วบิ น ช่ ว งเย็ น ของวั น พุ ธ เพื่ อ ไม่ ต ้ อ งลางานแต่ ต ้ อ งหาที่ พั ก ที่ ส ะดวกและ ราคาประหยัด ซึง่ คณะเราโชคดีทมี่ เี พือ่ นอยู่ กองบิน ๕๖ และได้จองบ้านพักรับรองไว้ให้ ๑ หลัง บ้านพัก กว้างขวางมากพอที่คณะเรา ๑๒ คน ได้นอนพัก อย่างสบาย ตอนเช้าเดินเล่นออกก�ำลังเบา ๆ รอบ บ้ า นพั ก ไปจนถึ ง หน้ า กองบิ น ฯ อากาศเย็ น สบาย บรรยากาศร่ ม รื่ น และกว้ า งขวางมาก ไปจนถึ ง ตลาดเล็ก ๆ ริมถนนหน้ากองบินฯ จึงซื้ออาหารเช้า ง่าย ๆ ส�ำหรับสมาชิกทุกคน รับประทานระหว่าง การเดินทางไปเกาะหลีเป๊ะด้วย หลั ง ทานมื้ อ เช้ า อิ่ ม กั น แล้ ว คณะเดิ น ทาง เตรียมพร้อมรอรถตูม้ ารับ เวลา ๐๘.๓๐ น. การเดินทาง จากกองบิน ๕๖ หาดใหญ่ไปท่าเรือปากบารา จว.สตูล ใช้เวลาเดินทาง ๒ ชั่วโมง ถึงท่าเรือ แล้วไกด์ได้มา ต้อนรับและแนะน�ำรายละเอียดต่าง ๆ ให้คณะทัวร์ ทุกคนเข้าใจ และเริ่มดูแลการเดินทางไปเกาะหลีเป๊ะ อย่างเป็นทางการ แต่คณะเรามาถึงก่อนเวลา ๑ ชัว่ โมง ก่อนเรือ Speed Boat ออกเรือไปหลีเป๊ะ จึงเดินซือ้ ของ รับประทานอาหารมื้อกลางวันเติมพลังกันให้พร้อม

ตามอัธยาศัย ก่อนเวลาเรือออกเล็กน้อยทุกคนจะได้ รับบัตรมีหมายเลข เพื่อให้เจ้าหน้าที่เรียกขึ้นเรือ ตามล�ำดับ การจัดการดีมากไม่วนุ่ วายโกลาหล เมือ่ เรา ขึ้ น เรื อ ไปยั ง เกาะหลี เ ป๊ ะ เรื อ ได้ แ วะระหว่ า งทาง เพื่อให้เราถ่ายรูป ๒ จุด จุดแรกคืออุทยานแห่งชาติ ตะรุเตา จะให้เวลาเดินชมหาดทรายขาว ๆ น�้ำทะเล สวย ๆ และถ่ายภาพ ๑๕ นาที พวกเราก็ไม่รอช้า หาจุดรวมพลถ่ายรูปกัน ทั้งภาพหมู่ ภาพเดี่ยวกัน อย่างสนุกสนาน จุดที่ ๒ คือเกาะไข่ หาดทรายขาว นุ่มเท้า พวกเราเดินเท้าเปล่าเพื่อสัมผัสผืนทราย และรับพลังจากธรรมชาติกันอย่างเต็มที่ ถ่ายรูปกัน เพลิน ๆ ได้รูปสวย ๆ มามากมาย ให้เวลา ๑๕ นาที เช่นกัน ซึ่งทุกคนรู้สึกว่ายังไม่เต็มอิ่มกับการชมเกาะ ทีส่ วยงามขนาดนี้ พวกเราจึงรีบเก็บภาพความสวยงาม จากเกาะไข่ให้คุ้มกับเวลาอันมีค่า จากนั้นเรือก็พาเรา มุง่ สูเ่ กาะหลีเป๊ะ โดยเรือจะจอดบริเวณหาดพัทยา หรือ ทีภ่ าษาถิน่ เรียก บันดาหยา ซึง่ เป็นหาดทีน่ กั ท่องเทีย่ ว นิยมมาพักมากที่สุด เพราะมีร้านอาหารมากมาย ร้ า นขายของที่ ร ะลึ ก ร้ า ยขายเสื้ อ ผ้ า ชุ ด ว่ า ยน�้ ำ ส่วนถนนคนเดินไกด์บอกว่าเวลากลางคืนจะคึกคัก


ข่าวทหารอากาศ

ครึกครื้นมาก ลงจากเรือแล้วเดินทางต่อเข้าที่พัก ด้วยรถสามล้อซึง่ รีสอร์ททีจ่ องไว้มารอรับคณะของเรา ขอพักให้คลายเหน็ดเหนื่อยกับการเดินทางกันก่อน เพือ่ เตรียมพร้อมไปชมพระอาทิตย์ตกดินทีห่ าดซันเซ็ต หลังชมพระอาทิตย์ตกเสร็จแล้ว ก็กลับมาทีห่ าดพัทยา เพื่อเดินเที่ยวตลาดคนเดิน ทานอาหาร และเดินเล่น ชายหาด ชมการควงกระบองไฟ การละเล่นรอบกองไฟ ของทัง้ ชาวไทยพอสมควรแก่เวลาก็แยกย้ายกันพักผ่อน เพือ่ เตรียมตัวให้พร้อมส�ำหรับด�ำน�ำ้ วันถัดไป เช้าวันรุง่ ขึน้ ทุกคนเตรียมพร้อมมาก ทัง้ ชุดด�ำน�ำ ้ ครีมกันแดด หมวก แว่นตา มารอรับประทานอาหาร เช้าที่รีสอร์ทจัดให้ รอไกด์มารับลงเรือ ช่วงเช้าไกด์ พาด�ำน�้ำ ๓ จุดคือเกาะอาดัง ร่องน�้ำจาบัง และเกาะ หินงาม ซึ่งจะขอรวมภาพใต้น�้ำไว้ตรงนี้เลย จะเห็น ปะการั ง ที่ ยั ง อุ ด มสมบู ร ณ์ ม าก มี ทั้ ง ปะการั ง แข็ ง ดอกไม้ทะเล ปลาสวยงามนานาชนิด ตืน่ ตาตืน่ ใจมาก อยากอยูใ่ นโลกใต้ทะเลไปเลย แต่นา่ เสียดายทีร่ อ่ งน�ำ้ จาบังซึ่งเป็นไฮไลท์ที่มีปะการังสวยที่สุด น�้ำแรงมาก จนขุ่นไม่สามารถมองเห็นปะการังได้ ใกล้เที่ยงไกด์ พาไปยังเกาะราวี เพือ่ พักทานอาหารซึง่ เป็นข้าวกล่อง

53


54

นาทีนั้นเราเหนื่อยจากการด�ำน�้ำ ล่องเรือ ทุกอย่าง อร่อยหมด หลังทานอาหารเราเดินเล่นให้อาหารย่อย หาดทรายทีน่ ขี่ าวสะอาดนุม่ เท้า มีขอนไม้สวย ๆ เรียงราย มีชิงช้า ท�ำให้เราถ่ายรูปกันรัว ๆ แบบนับไม่ถ้วน เกาะราวี ช่วงบ่ายก็เริม่ ด�ำน�ำ้ กันต่อ จุดต่อไปเป็นเกาะยาง หลายคนเริม่ งอแงไม่อยากลงด�ำน�ำ้ แล้วเพราะเหนือ่ ย บางคนก็มีอาการเวียนหัว คลื่นไส้ เมาคลื่น จึงแค่ จอดเรือชมทะเล หลังจากนั้น จึงมุ่งกลับหาดพัทยา เข้าที่พัก ซึ่งเวลาก็เกือบ ๕ โมงเย็นแล้ว อิ่มท้องแล้ว เดินเล่นกันตามสบาย แยกย้ายกันพักผ่อนเร็วกว่าวันก่อน เพราะพลังเหลือน้อย มื้อค�่ำเราไปรับประทานอาหาร ทีร่ า้ นจ่ายาว ซึง่ ดูแล้วลูกค้าส่วนใหญ่เป็นชาวต่างชาติ ในใจต่ า งก็ คิ ด ว่ า จะคิ ด ราคาอาหารแบบแพง ๆ เหมือนคนต่างชาติ แต่พอเจ้าของรู้ว่าเป็นคนไทย มาจากกรุงเทพฯ ก็ดูแลอย่างดี เค้าบอกว่าดีใจที่มี คนจากกรุงเทพฯ มาเที่ยว วัน ๆ พบแต่คนต่างชาติ กั บ ชาวบ้ า นในพื้ น ที่ เจ้ า ของร้ า นจั ด อาหารทะเล สด อร่อย มาให้เต็มที่ แถมใจดีคิดราคาแบบคนไทย ด้วยกัน อิ่ม อร่อย ประทับใจค่ะ รับประทานอาหาร เสร็จแล้วก็เดินชมสินค้าบนถนนคนเดิน ไปจนถึง ชายหาดพั ท ยา ซึ่ ง ช่ ว งกลางคื น ร้ า นอาหารและ เครื่ อ งดื่ ม ต่ า ง ๆ บริ เ วณชายหาดจะเปิ ด บริ ก าร นักท่องเที่ยวและมีการแสดง บริเวณชายหาดเกือบ ตลอดทั้งคืน เช้าวันรุ่งขึ้นมีโปรแกรมดูพระอาทิตย์ขึ้นที่หาด ซันไรท์ ซึง่ ต้องตืน่ ตัง้ แต่ตี ๕ ครึง่ เพือ่ รอชมดวงอาทิตย์ ขึ้นที่ขอบฟ้าชมดวงอาทิตย์ค่อย ๆ ขึ้นจากขอบฟ้า สวยงามประทับใจมาก มีกิจกรรมเดินเล่นชายหาด สูดอากาศบริสุทธิ์ เก็บภาพประทับใจไว้มากมาย พอแสงแดดเริ่มจ้าขึ้นจึงเดินกลับ เพื่อเตรียมเก็บ กระเป๋า ทานอาหาร ขึ้นเรือกลับ พวกเรานั่งเรือ Speed Boat จากหลีเป๊ะมุ่งตรงไปท่าเรือปากบารา ใช้เวลา ๑.๓๐ ชั่วโมง รถตู้มารับเพื่อไปส่งสนามบิน แต่ ค ณะเราขึ้ น เครื่ อ งกลั บ กรุ ง เทพเกื อ บ ๒ ทุ ่ ม จึงมีเวลาหลายชั่วโมงที่จะแวะซื้อของที่ตลาดกิมหยง


ข่าวทหารอากาศ

ที่ ต ลาดกิ ม หยง เราแวะรั บ ประทานอาหาร ร้านเก่าแก่ อาหารสุดแสนอร่อย ชือ่ ร้านในรู เป็นร้าน อาหารเก่าแก่อาหารอร่อยขึน้ ชือ่ ในย่านตลาดกิมหยง ร้านเป็นตึกแถว ๒ ชัน้ ในร้านตัง้ โต๊ะได้ ประมาณ ๕-๖ โต๊ะเท่านั้น ลูกค้าที่มารอหน้าร้านอยากทานอาหาร อร่อยต้องใจเย็น ๆ เติมพลังเรียบร้อย คณะเราก็ แยกย้ายซือ้ ของกันตามต้องการ มีของฝาก และผ้าปาเต๊ะ ซึง่ สวยงามขึน้ ชือ่ ของหาดใหญ่ ได้มากันคนละหลายชุด ๔ โมงเย็น ทุกคนเริ่มหมดแรงช็อปปิ้งแล้วจึงตัดสินใจ ให้รถตูม้ าส่งทีส่ นามบินก่อนเวลาหลายชัว่ โมง แต่ทกุ คน ยอมมานั่งรอสบาย ๆ แอร์เย็น ๆ หิวก็มีร้านอาหาร ให้นั่งทาน ไม่นานก็ถึงเวลาขึ้นเครื่องกลับสู่สนามบิน ดอนเมือง ถึงสนามบินโดยสวัสดิภาพ การเดินทางไปเที่ยวเกาะหลีเป๊ะครั้งนี้ ท�ำให้ ความคิดของผู้เขียนเปลี่ยนไปมากจากที่คิดว่า ผู้คน ทางใต้นา่ กลัวและคงจะเดินทางล�ำบาก แต่ได้สมั ผัสแล้ว ที่นี่เดินทางง่าย ไม่ล�ำบากอย่างที่คิด บนเกาะมีความ สะดวกสบาย ไม่วุ่นวายจนเกินไป มีมุมให้เราได้ พักผ่อนมากมาย ผู้คนจิตใจดี ยิ้มแย้มแจ่มใส เต็มใจ ให้ ค� ำ แนะน� ำ และบริ ก ารนั ก ท่ อ งเที่ ย วทั้ ง ชาวไทย มาเลย์ ฝรั่ ง ต่ า งชาติ มี ร ้ า นค้ า ร้ า นสะดวกซื้ อ มีสัญญาณโทรศัพท์ แต่ราคาอาจจะสูงกว่าปกติ ที่พัก หลาย ๆ แห่ง มีนำ�้ และไฟฟ้าให้เราใช้ตลอด ๒๔ ชัว่ โมง ทีน่ มี่ คี วามสวยงามของทะเลทีส่ วยมาก หาดทรายขาว ละเอียดนุ่มเท้า และที่ส�ำคัญปะการังยังคงความอุดม สมบูรณ์มาก มีปลาหลากหลายชนิด นอกจากนี้ยังมี ท่าเรือบริการนักท่องเทีย่ วเชือ่ มต่อถึงประเทศเพือ่ นบ้าน ทัง้ พม่า มาเลย์ ไม่แปลกใจเลยทีเ่ กาะหลีเป๊ะได้กลายเป็น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว และสวรรค์ ข องนั ก ท่ อ งเที่ ย วไป เรี ย บร้ อ ยแล้ ว ผู ้ เ ขี ย นจึ ง อยากเชิ ญ ชวนให้ ม าชม ความงามทางธรรมชาติ ข องหมู ่ เ กาะทางภาคใต้ ตลอดจนวัฒนธรรม อาหารการกิน วิถชี วี ติ ของชาวใต้ ดูสักครั้งหนึ่ง

55


56

ASEAN + 3 Community Little Tidbits เกร็ดเล็กเกร็ดน้อยประชาคมอาเซียน @Zilch

National Animal of the People's Republic of China

สัตว์ประจ�าชาติของสาธารณรัฐประชาชนจีน

Giant Panda

The giant panda is referred to as the national treasure of China. It has also been a symbol of World Wide Fund for Nature (WWF) since its inception in 1961. Its colors are black and white; black around the eyes, shoulders, and legs with the rest of the body being white. It has an average height of 0.75 meters. It has a lifespan of about fifteen to twenty years. Until 2015, the giant panda was an endangered species. Giant pandas mostly feed on bamboo shoots, leaves, and roots. These animals also eat mice, grass, insects, and some fruits. For their habitats, they spend time in bamboo forests at least 1,200 m to 3,100 m above sea level. Giant pandas possess strong molar teeth and jaws which helps them crush bamboo with ease. When feeding, they sit like human beings.

หมีแพนด้ายักษ์

หมีแพนด้ายักษ์ได้รับการเอ่ยถึงว่าเป็นสมบัติ ล�้ า ค่ า ของประเทศจี น นอกจากนี้ แ ล้ ว มั น ยั ง เป็ น ตราสัญลักษณ์ของกองทุนสัตว์ปา่ โลก (WWF) นับตัง้ แต่ การเริ่มต้นก่อตั้งกองทุนดังกล่าวในปี ค.ศ.1961 สีของหมีแพนด้ายักษ์คือสีขาวและด�า มันจะมี สีดา� บริเวณรอบดวงตา ไหล่ และขา ส�าหรับส่วนทีเ่ หลือ ของล�าตัวจะมีสขี าว ส่วนสูงโดยเฉลีย่ ของมันคือ ๐.๗๕ เมตร ส�าหรับอายุขัยโดยเฉลี่ยจะอยู่ที่ ๑๕ – ๒๐ ปี ในปี ค.ศ.2015 หมีแพนด้ายักษ์กลายเป็นสิ่งมี ชีวติ ทีใ่ กล้สญ ู พันธุ์ ส่วนใหญ่แล้ว พวกมันกินหน่อไม้ไผ่ ใบไม้ และรากไม้เป็นอาหาร นอกจากนี้แล้วมันยังกิน หนู หญ้า แมลง และผลไม้บางประเภท ส�าหรับถิ่น ที่อยู่อาศัยนั้น พวกมันใช้เวลาอยู่ในป่าไผ่ที่ความสูง ขั้นต�่า ราว ๆ ๑,๒๐๐ – ๓,๑๐๐ เมตรเหนือระดับ น�้าทะเล หมี แ พนด้ า ยั ก ษ์ มี ฟ ั น กรามและขากรรไกรที่ แข็ ง แรง ซึ่ ง ช่ ว ยให้ พ วกมั น บดเคี้ ย วไม้ ไ ผ่ ไ ด้ อ ย่ า ง ง่ายดาย เมื่อใดที่พวกมันกินอาหาร พวกมันจะนั่ง ในท่าเดียวกันกับมนุษย์

ข้อมูลจาก : https://www.worldatlas.com/articles/what-are-the-national-animals-of-china.html รูปจาก : https://phys.org/news/2009-12-panda-genome-resembles-dog-chinese.html https://en.wikipedia.org/wiki/Green_pheasant


ข าวทหารอากาศ

“ºÒ§á¡ŒÇ”

rtaf's eyesview

หลายคนที่ ก� า ลั ง ตั ด สิ น ใจมองหาสุ นั ข สั ก ตั ว มาเลี้ยง ผู้เขียนขอแนะน�าน้องสุนัขสายพันธุ์ไทย ที่มีความซื่อสัตย์ รักเจ้าของ และมีหน้าตาน่ารัก เป็นเอกลักษณ์โดดเด่น หลาย ๆ คนก็มักจะนึกถึง น้องสุนัขไทยบางแก้ว กันใช่ไหมคะ “บางแก้ว” เป็ น น้ อ งสุ นั ข ไทยสายพั น ธุ ์ ห นึ่ ง ที่ เ ป็ น ที่ นิ ย มเลี้ ย ง อย่างมากในเหล่าคนรักสุนัข เพราะไทยบางแก้ว เป็นน้องสุนัขที่ฉลาด มีเสน่ห์ ปราดเปรียว แข็งแรง และขึ้ น ชื่ อ เรื่ อ งความดุ ที่ มี ค วามสามารถในการ ป้องกันภัยหรือเฝ้าบ้าน ไร่ นา ได้เป็นอย่างดี ซึง่ เชือ่ ว่า ยังมีอีกหลาย ๆ คน ที่หลงใหลเสน่ห์ของน้องสุนัข บางแก้ว และก�าลังมีความคิดอยากจะเลีย้ ง ก่อนตัดสินใจ จะเลีย้ งน้องสุนขั ไทยบางแก้วแต่ยงั ไม่รวู้ า่ ต้องเตรียมตัว

57


58

อย่างไร มาท�าความรู้จักกับสุนัขบางแก้วให้มากขึ้น รวมถึ ง เรี ย นรู ้ ลั ก ษณะนิ สั ย และวิ ธี ก ารเตรี ย มตั ว มีอะไรบ้าง มาติดตามอ่านกันเลย รู้จักน้องสุนัขไทยบางแก้วเป็นสุนัขพันธุ์ไทย ขนาดกลาง ทีม่ รี า่ งกายแข็งแรง ปราดเปรียว บางแก้ว มีต้นก�าเนิดมาจากวัดบางแก้ว ต�าบลบางแก้ว อ�าเภอ บางระก� า จั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลก ซึ่ ง เป็ น แหล่ ง ชุ ม ชน ริมแม่นา�้ ยมในอดีต โดยสันนิษฐานกันว่า บางแก้วเป็น สุนขั ทีเ่ กิดจากการผสมข้ามสายพันธุน์ นั่ ก็คอื พันธุไ์ ทย พันธุ์สุนัขจิ้งจอก และสุนัขป่า ซึ่งพอผสมกันแล้ว จะมีลกั ษณะ ขนยาวปานกลาง ๒ ชัน้ ปากแหลม หาง เป็นพวง ที่เป็นลักษณะของสุนัขจิ้งจอก กะโหลก เป็นสามเหลีย่ ม ใบหูตงั้ สัน้ ปลายแหลม โคนหูหา่ งกันมาก เป็ น ลั ก ษณะของสุ นั ข ป่ า ส่ ว นลั ก ษณะของสี ห รื อ รูปร่างคล้ายสุนัขพันธุ์พื้นบ้านของไทยทั่วไปนั่นเอง ส�าหรับจุดเด่นที่ถือเป็นเสน่ห์ของน้องสุนัขบางแก้ว มีอปุ นิสยั รักเจ้าของ รักถิน่ ฐาน ซือ่ สัตย์ ฝึกง่าย ฉลาด ว่องไว และมีนสิ ยั ดุกว่าสุนขั พันธุไ์ ทยอืน่ ๆ จึงเป็นทีน่ ยิ ม เลี้ยงไว้เฝ้าบ้าน ไร่นา สวน


ข าวทหารอากาศ

59

เตรียมตัวก่อนเลี้ยง ส�าหรับผูท้ กี่ า� ลังมีแผนทีจ่ ะเลีย้ งบางแก้ว ก่อนอืน่ จะต้องมีการเตรียมความพร้อมโดยการส�ารวจตัวเอง ก่อนว่า เราพร้อมที่จะเลี้ยงหรือเปล่า เพราะอย่าง ที่ บอกไปว่ า บางแก้ วเป็ นสุ นัข ที่ มี นิสั ย ค่ อ นข้ า งดุ หากไม่ได้รับความรักและความเอาใจใส่อย่างถูกต้อง จากผู้เลี้ยง ก็อาจจะมีพฤติกรรมก้าวร้าว อาจสร้าง ปัญหาให้กับสมาชิกในครอบครัว หรือเพื่อนบ้านของ ผูเ้ ลีย้ งได้ ซึง่ เราสามารถเตรียมความพร้อมง่าย ๆ ดังนี้ สิ่งแรกที่ผู้เลี้ยงต้องลงมือท�าก่อนที่จะรับเลี้ยง สุ นั ข บางแก้ ว คื อ ควรศึ ก ษาและท� า ความเข้ า ใจ ในลักษณะนิสยั โดยในน้องสุนขั เด็กส่วนมากจะมีนสิ ยั ชอบกั ด แทะและขุ ด ดิ น เพราะเป็ น น้ อ งสุ นั ข ที่ มี พลั ง งานสู ง ผู ้ เ ลี้ ย งจึ ง ต้ อ งหาของเล่ น ให้ กั ด เล่ น เมื่อโตขึ้นจะเริ่มมีนิสัยหวงถิ่นที่อยู่ สิ่งของ รวมถึง หวงเจ้าของ ซึง่ พร้อมทีจ่ ะเข้าต่อสูห้ รือปกป้องเจ้าของ หากเกิดอันตรายขึ้น ถ้าหากไม่ได้รับการอบรมก็อาจ จะมีพฤติกรรมก้าวร้าวได้ รวมถึงบางแก้วยังมีนิสัย ชอบลงไปนอนแช่น�้า ซึ่งผู้เลี้ยงก็ต้องคอยดูแลอย่าง สม�่าเสมอ เพราะมักจะพบเป็นโรคผิวหนังบ่อยกว่า สุนัขสายพันธุ์อื่น ๆ ส�าหรับการหาข้อมูลก็สามารถ


60

ท�าได้หลากหลายวิธ ี ไม่วา่ จะเป็นหาข้อมูลจากหนังสือ อินเทอร์เน็ต หรืออาจเข้าไปสอบถามข้อมูลโดยตรง จากฟาร์ ม รวมถึ ง ผู ้ เ ลี้ ย งก็ ค วรสร้ า งความเข้ า ใจ กับสมาชิกทุกคนภายในครอบครัวเพื่อจะได้เลี้ยงได้ อย่างถูกวิธี และช่วยลดข้อผิดพลาดในการเลี้ยง เลี้ยงบางแก้วต้องมีพื้นที่ บางแก้วเป็นสุนัขที่มี ความตืน่ ตัว อยากรูอ้ ยากเห็น และชอบออกก�าลังกาย พื้นที่ที่เหมาะสมในการเลี้ยงจึงต้องมีบริเวณกว้าง โล่ง จะดีมาก ๆ หากในบริเวณบ้านมี ต้นไม้ ที่สร้าง ความร่มเย็น เพราะบางแก้วขี้ร้อน ซึ่งเรามักจะพบ แอบหลบร้อนไปนอนอยูใ่ นอ่างบัว อ่างน�า้ หรือกะละมัง การมีตน้ ไม้อยูร่ อบ ๆ บ้าน ก็จะสามารถช่วยคลายร้อน ให้ได้ดที เี ดียว ส�าหรับผูเ้ ลีย้ งทีม่ คี วามจ�าเป็นต้องจ�ากัด พื้ น ที่ ใ นช่ ว งเวลาที่ อ อกไปท� า ธุ ร ะนอกบ้ า นหรื อ กลัวจะแสดงความก้าวร้าวกับแขกที่มาเยี่ยมบ้าน

ผู ้ เ ลี้ ย งก็ อ าจจะหาซื้ อ กรงขนาดที่ เ หมาะสมกั บ ขนาดตัวของสุนัข ไม่คับแคบและมีความแข็งแรง หรือฝึกให้อยูใ่ นกรงเป็นระยะ ๆ เพือ่ สร้างความเคยชิน เลี้ยงบางแก้วต้องมีเวลา การจัดสรรแบ่งเวลา ที่ ดี ถื อ เป็ น สิ่ ง ที่ ผู ้ เ ลี้ ย งควรต้ อ งมี และเป็ น สิ่ ง ที่ ขาดไม่ได้เลย เพราะว่าบางแก้วมีพลังงานอยู่ในตัวสูง และมีนิสัยซุกซน ถ้าหากไม่ได้รับการดูแลและใส่ใจ อย่ า งใกล้ ชิ ด จากผู ้ เ ลี้ ย ง ก็ อ าจจะมี นิ สั ย ก้ า วร้ า ว


ข าวทหารอากาศ

ดุร้าย ไม่สามารถควบคุมได้ โดยผู้เลี้ยงควรมีเวลา ฝึกทักษะ มีเวลาเพื่อพาไปออกก�าลังกายและมีเวลา ดู แ ลสุ ข ภาพ ซึ่ ง จะช่ ว ยท� า ให้ สุ นั ข มี สุ ข ภาพจิ ต ใจ ที่แข็งแรง ร่าเริงนั่นเองและข้อส�าคัญของการพา ออกก�าลังกายนอกบ้านคือ การได้ออกไปพบปะสังคม ภายนอก ได้เจอทั้งคนและสุนัขตัวอื่น ๆ ท�าให้รู้จัก การปรับตัว มีพลังงานสมดุล มีความสงบ อารมณ์ มั่นคง ไม่หวั่นไหว หรือตื่นตกใจง่าย เมื่อเติบโตขึ้น ก็จะมีอารมณ์มั่นคง ผ่อนคลาย เป็นมิตร อ่อนโยน และไม่ก้าวร้าว การที่ เ ราจะเลี้ ย งสุ นั ข บางแก้ ว สั ก ตั ว หนึ่ ง ไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งยากเลยใช่ ไ หมเพี ย งแค่ ท� า ความเข้ า ใจ สายพันธุ์ ธรรมชาติของสุนัข และเตรียมพร้อมรับมือ กับปัญหาที่อาจเกิดขึ้นเท่านี้ บางแก้วที่ขึ้นชื่อว่า ดุ ก็จะกลายเป็นสุนขั ทีน่ า่ รัก ย�า้ กันอีกครัง้ ว่าหัวใจส�าคัญ ก่อนตัดสินใจรับน้องสุนขั มาเลีย้ งคือการถามตัวคุณเอง ให้แน่ใจว่าสามารถให้ความรักความเอาใจใส่ และเวลา ได้ดีหรือไม่ เพื่อจะได้ไม่เกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมา ในอนาคตได้

ภาพจาก - https://sites.google.com/site/sunakhthiybangkaew3627/khxmul-nakreiyn-naksuksa - https://boxmeaww.com/บางแก้ว - www.google.co.th

61


62

ผาแต ผาแต้ม น.อ.เอกกมล ชวลิกุล นศ.วทอ.รุนที่ ๕๔

อาถรรพศึกวันคริสตมาส : พักรบ ๑ วัน เพื่อนกันจนวันตาย ขึ้นชื่อวา “ทหาร” เราตางรูดีกันวา พวกเขาเหลา นัน้ คือผูผ า นการฝกฝนใหเปนเครือ่ งจักรสังหาร ถูกโปรแกรม ใหมีความจงรักภักดีตอชาติแผนดินอยางสุดจิตสุดใจ และเหนืออื่นใด คือ “คําสั่ง” ที่ประดุจดังมันสมอง ขับเคลื่อนใหทหารมีชีวิตชีวาและทรงอานุภาพสมดัง อาวุธชัน้ เลิศ หากทหารไมถกู ใชงานแลวก็ตา งจากอาวุธ ที่ ร อวั น ขึ้ น สนิ ม พยุ ห ะสงครามที่ โ หมพั ด มาหลาย ศตวรรษ ชี้ประจักษวา ความปราณีในสงครามไมตาง อะไรกับเลหเพทุบายของซาตานที่ไมอาจไวใจ แตจะมี สักกีค่ นทีร่ วู า ในคํา่ คืนวันคริสตมาสอันแสนเหน็บหนาว ในมหาสงครามโลกครัง้ ที่ ๑ มีทหารกลุม หนึง่ ตัง้ ประจันหนา ประหัตประหารกันมานานหลายป ไดพรอมใจกันพักรบ ๑ วัน ในวันขอบคุณพระเจา ตางกอดคอกันรองเพลง รวมรับประทาน และแขงขันฟุตบอลกัน แตเมือ่ หมดเวลา สัญญาพักรบ พวกเขาจะเลือกทําสิ่งใด ระหวางคําสั่ง หรือมิตรภาพ และคําตอบนั้นเกิดเปนคําถามมาจนถึง ปจจุบันวา เปนการกระทําที่เหมาะสมตอความเปน ทหารหรือไม เมื่อป ค.ศ.1914 กองทหารอังกฤษและเยอรมัน ไดสูรบกันในสมรภูมิ Ploegsteert ประเทศเบลเยี่ยม ผลัดกันแพผลัดกันชนะ ยืดยื้อยาวนานมาจนถึงวัน คริสตมาส ขณะตรึงกําลังกันอยูในสนามเพลาะ หิมะ

ผาแตม ก็ไดโปรยปรายลงมาทามกลางเปลวไฟสงคราม ดูเหมือน หิมะจะชวยดับไฟแคนจากการสูญเสียเพือ่ นทหารลงไป ไดชั่วขณะ และฉุกใหหวนคิดถึงงานฉลองวันคริสตมาส กับคนรักอยางที่เคยทํากันมา ตางคิดกันไปนานาวา ตนจะอยูร อดไปรวมฉลองเทศกาลคริสตมาสในปถดั ไป ไดหรือไม หรือตองทอดรางกายสังเวยคําสัง่ ของกองทัพ ไว ณ ที่แหงนี้ สถานการณรบยังคงสงบนิ่ง ยังผลให หลายคนรูส กึ หอเหี่ยวใจ ถูกรุมเราไปดวยอารมณความ ผูกพันกับเทศกาลคริสตมาส แลวจู ๆ ใครบางคนก็เริ่ม รองเพลงคริสตมาส (Silent Night) ขึ้นจากฝงเยอรมัน เปนบทเพลงงาย ๆ แตทรงพลัง สะกดจิตใจใหเหลาทหาร หลงลืมกฎขอบังคับของกองทัพ และเริ่มครวญเพลง ตอ ๆ กันไปอยางไมสนใจตอสถานการณรบ และแลว ปาฏิหาริยวันคริสตมาสก็เกิดขึ้น เสียงเพลงถูกสายลมหนาวพัดพาไปถึงยังฝง ทหาร อังกฤษ แตฝา ยอังกฤษกลับไมดาํ เนินการใด ๆ ทางยุทธวิธี ตอสถานการณทอี่ อ นไหวนัน้ ตรงกันขามกลับรองเพลงรับ อยางไมสะทกสะทาน นัยวาฝายนั้นกลารองเพลง ในสนามรบ เราก็ จั ก ร อ งด ว ยเช น กั น อี ก ด า นหนึ่ ง ก็มองวา นี่คือความปรารถนาที่อัดแนนอยูในสวนลึก ของจิตใจที่ทหารตองการปลดปลอยความรูสึกกดดัน จากการรบ เมื่อตางฝายตางสลับกันรองเพลง จึงเกิด


ข่าวทหารอากาศ

เป็นสูญญากาศแห่งการพักรบชั่วคราวโดยไม่มีการ ลงนาม รุ่งเช้า ทหารเยอรมันสองนายตัดสินใจท�าในสิ่งที่ ขัดต่อธรรมเนียมรบอย่างไม่นา่ เชือ่ พวกเขาเดินออกจาก บังเกอร์ของสนามเพลาะตรงเข้ามาหาทหารอังกฤษ โดยไม่มอี าวุธ ฝ่ายอังกฤษคิดว่านีค่ งเป็นอุบายของข้าศึก จึงเตรียมตัวสู้รบ แต่เมื่อเห็นว่าอีกฝ่ายไร้อาวุธจึงยอม เชื่อใจ คาดคะเนได้ว่าทหารสองนายนี้คงเป็นควันหลง ของคอนเสิร์ตคริสต์มาสเมื่อคืน ที่ต้องการเข้ามาแสดง ความปรารถนาดีต่อเพื่อนมนุษย์ และศัตรูร่วมแดน เดียวกันที่มีพระเจ้าเป็นกลาง ทหารอังกฤษนายหนึ่ง วางอาวุธแล้วเดินเข้าไปจับมือทักทายทหารเยอรมัน นายนั้ น ในเขตแดนที่ รู ้ กั น ว่ า No man’s land หรือดินแดนที่ไม่มีฝักฝ่าย เมื่อไม่มีใครเป็นเจ้าของ มั น ก็ ค งเป็ น ดิ น แดนของพระเจ้ า ที่ เ ตรี ย มไว้ ส� า หรั บ งานสังสรรค์ของเหล่าทหารหาญทีเ่ บือ่ หน่ายกับสงคราม ที่ไม่มีวันจบสิ้น เรือ่ งราวทีก่ ล่าวมานี้ มีประจักษ์พยานจากจดหมาย ของ ร.อ.ชาเตอร์ (A.D. Chater) ทหารอังกฤษ ผู้เขียน กลับไปเล่าเรื่องราวให้กับมารดาของตนเองฟัง “ช่วงเวลาประมาณสิบโมงเช้า เราสังเกตเห็น ทหารเยอรมันคนหนึ่งยืนโบกไม้โบกมืออยู่ฝั่งตรงข้าม ของบังเกอร์ และมีทหารเยอรมันสองนายเดินตรงมา ที่ เรา เราจึ ง เตรี ย มตั ว เข้ า ต่ อ สู ้ แต่ ก็ สั ง เกตเห็ น ว่ า คนทั้งสองไม่ได้พกอาวุธมาด้วย ทหารอังกฤษคนหนึ่ง ตั ด สิ น ใจเดิ น ออกจากสนามเพลาะไปพบพวกเขา

63

สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น คื อ พวกเขาต่ า งจั บ มื อ กั น และอวยพร วันคริสต์มาสให้แก่กันและกัน” เมื่ อ ทหารคนอื่ นเห็ นดั งนั้ น จึ งพากั นตั ด สิ นใจ วางอาวุธแล้วเดินเข้าไปจับมือทักทายกับอีกฝ่ายราวกับ เพื่อนรักที่จากกันมานาน ทั้ง ๆ ที่ก่อนหน้านี้ต่างก็ต่อสู้ กันอย่างเอาเป็นเอาตาย ทัง้ สองฝ่ายตกลงท�าสนธิสญั ญาใจ พักรบกัน ๑ วัน เพื่อร่วมฉลองเทศกาลคริสต์มาส เป็นที่รู้จักมาจนถึงปัจจุบันว่า “พักรบวันคริสต์มาส” (Christmas Truce) ต่างแบ่งปันบุหรี่ แลกเปลีย่ นของขวัญ เล็ก ๆ น้อย ๆ ตามธรรมเนียมเทศกาลคริสต์มาส และจัดทีมแข่งขันฟุตบอลกันในพื้นที่ท�าการเกษตร เมืองเซ็นต์ อีฟส์ (Saint Yves) ประเทศเบลเยียม ขณะท�าการแข่งขันฟุตบอล พลาธิการของแต่ละฝ่าย ก็ น� า เสบี ย งอาหารออกมาประกอบเลี้ ย ง ตั้ ง วงดื่ ม ฉลองกัน ต่างบรรเลงเพลงกันอย่างสนุกสนาน บ้างก็ ร่วมถ่ายรูปกัน ผลการแข่งขันเยอรมันเป็นฝ่ายชนะ ๓ ต่อ ๒ “วันนั้นผมอายุเพียง ๑๙ ปี และเป็นหนึ่งในทีม ฟุตบอลด้วย เราเตะฟุตบอลกันเพื่อความสนุกสนาน เท่านั้น ไม่ได้เอาผลแพ้ชนะอย่างจริงจัง” เออร์นี่ย์ วิลเลี่ยมส์ อดีตทหารผ่านศึกชาวอังกฤษที่ยังมีชีวิตอยู่ เล่าถึงฟุตบอลนัดประวัติศาสตร์ครั้งนั้น ในท่ามกลางงานเลี้ยงอันรื่นเริง มีเพียงพิธีฝังศพ ทหารที่สร้างความโศกเศร้าให้กันอยู่บ้าง แต่การมีศัตรู ที่เป็นผู้เข่นฆ่ามาช่วยฝังศพกลับสร้างความรู้สึกตื้นตัน ใจอย่างอธิบายไม่ถูก ยิ่งเมื่อเห็นภาพดินกลบหน้าศพ ด้วยแล้วก็ยิ่งเกิดความรู้สึกสลดหดหู่ จากทัง้ สองฝ่าย ความรูส้ กึ และค�าถาม มากมายประดังถาโถมเข้าสู่จิตใจของ แต่ละคน ยิ่งเมื่อเวลาลดน้อยถอยลง ทุกที พวกเขาก็ยงิ่ รูส้ กึ ยากทีจ่ ะจัดการ กั บ ความรู ้ สึ ก ที่ ขั ด แย้ ง ภายในใจตน ต่างน�าเอารูปถ่ายครอบครัวคนรักของตน ให้ อี ก ฝ่ า ยดู บ่ ง บอกถึ ง ความเป็ น มนุ ษ ย์ ที่ ทุ ก คนล้ ว นมี ค นรั ก ที่ อ ยาก กลับไปหา อยากร่วมฉลองวันคริสต์มาส เหมือนทุกปีที่ผ่านมา ในช่วงเวลานี้ พวกเขาต่างสัมผัสได้ถึงมนุษยธรรม ของอีกฝ่ า ย และประทั บใจกั บ งาน ฉลองคริสต์มาสอันแสนวิเศษนี้


64

เมื่ อ ถึ ง เที่ ย งคื น ของอี ก วั น งานเลีย้ งก็ถงึ เวลาเลิกรา เสียงนกหวีด ดังขึ้นเป็นสัญญาณหมดเวลาพักรบ ช่ ว งเวลาสั น ติ อั น แสนสั้ น ได้ ห มด ลงแล้ว ทั้งสองฝ่ายจับมือกันอวยพร ให้ ก ลั บ บ้ า นได้ อ ย่ า งปลอดภั ย นายทหารเยอรมันคนหนึ่งกล่าวกับ ทหารอังกฤษว่า “นายเป็นเพื่อนฉัน หากนายไม่ยิงฉัน ฉันก็ไม่ยิงนาย” ก วทุกคนก็แยกย้ายกันกลับไป และแล้ ยังบังเกอร์ของตนพร้อมความรู้สึกที่ หักล้างกับค�าสัตยาบันของตนอย่าง รุนแรง เมื่อการสู้รบเริ่มขึ้นอีกครั้ง ปรากฏว่าไม่มีทหาร คนใดยิงปืนเลยแม้แต่นัดเดียว แม้ผู้บังคับบัญชาจะสั่ง การให้สู้เพียงใดแต่ก็ไร้ผล ไม่มีทหารคนใดยอมปฏิบัติ ตามค�าสั่ง ตัวผู้บังคับบัญชาทุกระดับชั้นเองก็ไม่มีใคร ยิงปืนเข้าใส่อีกฝ่ายด้วยเช่นกัน สถานการณ์การสู้รบ ตกอยู่ในสภาวะหยุดนิ่งราวกับตุ๊กตาหิมะต้องลม อนาธิปไตยในกองทหารทั้งสองฝ่ายด�าเนินไปอยู่ ไม่ขกี่วัน ผู้บัญชาการทหารระดับสูงของสองชาติก็เริ่ม รับไม่ได้กับสิ่งที่เกิดขึ้น จึงตัดสินใจสับเปลี่ยนก�าลังพล โดยให้ย้ายก�าลังพลไปประจ�าการพื้นที่อื่น แล้วให้อีก กองพลย้ายเข้ามาแทนที่ และมีนายทหารบางคนถูกสั่ง ลงโทษ แต่ดูเหมือนพวกเขาเหล่านั้นจะยอมรับกับสิ่งที่ เกิดขึ้นได้ เพราะเชื่อกันว่าพระเจ้าได้ตอบรับค�าอวยพร ของพวกตนแล้ว อย่างน้อยก็ช่วงระยะเวลาหนึ่ง หลังสิน้ สุดสงครามโลกครัง้ ที่ ๑ มีไม้กางเขนร�าลึก ปักไว้อยู่นอกบริเวณป่า Ploegsteert อันเป็นสนาม ฟุตบอลที่ทหารทั้งสองฝ่ายเตะฟุตบอลร่วมกันในวัน คริสต์มาส ค นักการทหารหลายคนให้ทัศนะถึงการพักรบใน วั น คริ ส ต์ ม าสนั้ น ว่ า เป็ น เหตุ ก ารณ์ ที่ สุ ่ ม เสี่ ย งมาก และไม่น่าจะมีโอกาสเกิดขึ้นได้อีก แต่แล้วอาถรรพ์ วั น คริ ส ต์ ม าสก็ เ กิ ด ขึ้ น อี ก ครั้ ง ในอี ก ๓๐ ปี ต ่ อ มา ในยุทธการแห่งบัลจ์ (Battle of the Bulge) ของ สงครามโลกครั้งที่ ๒ ในป่าอาเดนส์ ชายแดนเยอรมัน ในปี ค.ศ.1944 สงครามได้ด�าเนินมาแล้วได้ ๕ ปี และยังไม่มีท่าทีว่าจะยุติ ค�าพูดสวยหรูที่ทหารทุกฝ่าย มักได้ยินจากปากผู้บังคับบัญชาของตน เป็นค�าพูด

ลม ๆ แล้ง ๆ ที่ฟังแล้วชวนให้มีความหวัง แต่ใน สถานการณ์จริงกลับชวนให้สนิ้ หวัง “ถ้าท�าส�าเร็จเราจะ ได้กลับบ้านก่อนวันคริสต์มาส” ค�าพูดนี้ไม่เคยเกิดขึ้น จริงสักครั้ง แต่แล้วกลับมีเหตุการณ์มหัศจรรย์เกิดขึ้น ในวันคริสต์มาสในป่าอาเดนส์ ทหารอเมริ กั น สามนายช่ ว ยกั น พยุ ง ร่ า งเพื่ อ น ทหารอีกคนทีบ่ าดเจ็บเดินลุยฝ่าหิมะเข้าไปในป่าอาเดนส์ อันกว้างใหญ่ หลังพลัดหลงกับหน่วยของตนขณะถูก ทหารเยอรมันโจมตี กระทั่งมาพบกระท่อมน้อยหลัง หนึ่งกลางไพรในยามค�่าคืน หญิงเจ้าของกระท่อมเห็น สภาพทหารทีอ่ ดิ โรย เหน็บหนาว และอีกนายก็บาดเจ็บ เธอจึ ง ตั ด สิ น เชิ ญ ให้ เ ข้ า มาในกระท่ อ ม และน� า อาหารร้อน ๆ มาให้แม้จะพูดคุยกันคนละภาษาแต่ดว้ ย สั ญ ชาตญาณของความเป็ น เพื่ อ นมนุ ษ ย์ ด ้ ว ยกั น เรื่องภาษาจึงไม่ใช่ปัญหา อลิซาเบธ วิกเก้น (Elisabeth Vincken) และ ฟริส วิกเก้น (Fritz Vincken) ลูกชายวัย ๑๒ ปีของเธอ


ข่าวทหารอากาศ

เป็นเจ้าของกระท่อมหลังนี้ หลังหลบภัยสงครามเข้ามา อยูใ่ นป่า แต่แล้วโชคชะตาก็นา� พาทหารมาเคาะถึงประตู กระท่อมในค�่าคืนวันคริสต์มาส และไม่ควรมีเหตุการณ์ ระทึ ก ขวั ญ ไปมากกว่ า นี้ แต่ แ ล้ ว เสี ย งเคาะประตู กระท่อมก็ดังขึ้น ฟริส เข้าใจว่าคงเป็นคุณพ่อของเขา ที่กลับมาแล้ว แต่ทว่าเมื่อเขาเปิดประตูกระท่อมออก ภาพที่เห็นกลับเป็นทหารเยอรมัน ๔ นาย ที่มาพร้อม อาวุธครบมือ อลิซาเบธเองก็ตกใจกับภาพที่เห็น “คุณผู้หญิงครับ พวกผมหลงทางและหิวมาก พอจะมีอาหารให้พวกเราได้ทานบ้างไหมครับ” ทหารเยอรมันนายหนึ่ง พูดกับเธออย่า งสุภาพ อ่อนโยน ท�าให้เธอใจชืน้ ขึน้ มาบ้างว่าไม่นา่ จะมีอนั ตรายใด ๆ ทหารทั้งหมดก็ยังดูเด็ก ๆ อลิซาเบธ จึงเชิญทหาร เยอรมันทั้ง ๔ นายเข้ามาในกระท่อม แต่เมื่อพวกเขา เดินเข้ามาพบกับทหารอเมริกันที่อยู่ข้างใน ทั้งสองฝ่าย จึงเล็งปืนเข้าหากัน “อย่านะ อย่าฆ่ากัน นี่มันคืนวันคริสต์มาสนะ จะต้องไม่มีการฆ่ากันในคืนนี้” อลิซาเบธ ตะโกนบอก ทหารทั้งสองฝ่ายแทบในทันที ทหารสองฝ่ายยังจ้องปืนใส่กันอยู่ชั่วขณะหนึ่ง ก่ อ นค่ อ ย ๆ วางปื น ลงแต่ ยั ง คงจ้ อ งตากั น อย่ า ง

65

หวาดระแวง อลิซาเบธให้พวกเขาน�าปืนออกไปวางไว้ นอกบ้านเพือ่ เห็นแก่วนั ขอบคุณพระเจ้า แล้วเธอก็กลับ เข้าไปท�าอาหารต่อในครัว ไม่นานกลิน่ ไก่อบก็หอมตลบ อบอวลไปทั่วกระท่อม ทหารเยอรมันนายหนึ่งยื่นไวน์ และบุหรี่ให้ทหารอเมริกัน ส่วนทหารอเมริกันก็มอบ กาแฟส�าเร็จรูปให้เป็นการตอบแทน ความหวาดระแวง ต่อกันจึงค่อย ๆ ลดลง ทหารเยอรมันนายหนึ่งเคยเป็น นักศึกษาแพทย์มาก่อน ได้เข้าพยาบาลทหารอเมริกัน ที่บาดเจ็บ ช่างเป็นความบังเอิญและโชคดีของทหาร อเมริกันอย่างไม่น่าเชื่อ และในยามนี้คงไม่มีอะไรดีไป กว่าการร่วมโต๊ะอาหาร กล่าวค�าอธิษฐาน และทาน อาหารร่วมกัน โดยมีเมนูไก่อบเป็นของขวัญจากพระเจ้า ส่ ว นภาษาหรื อ อวั จ นภาษาก็ ดู เ หมื อ นไม่ ใช่ ป ั ญ หา เมื่อทุกคนต่างก็เข้าใจในความเป็นมนุษย์ด้วยกัน เช้าวันต่อมา ก่อนทหารจะแยกย้ายกันกลับไปยัง แนวทหารของตน ทหารเยอรมั น ได้ แ นะน� า ทหาร อเมริกนั ว่า “ไม่ควรเดินทางไปยังเมืองมอนเชาว์ (Monschau) เพราะต้องเจอกับทหารเยอรมัน” พร้อมกับ มอบเข็มทิศเดินทางให้ใช้หาทิศทาง ส่วนอลิซาเบท ได้มอบอาวุธคืนให้พวกเขาพร้อมกับสวดอ้อนวอนให้ ทุกคนปลอดภัย “ฉันหวังว่าสักวันพวกคุณจะได้กลับบ้าน


66

ปลอดภัยในที่ที่คุณอยู่ ขอพระเจ้าอวยพรและคอย ดูแลคุณ” เธอกล่าวอวยพร แล้วพวกเขาก็จับมือกัน กล่าวค�าขอบคุณ และอ�าลาจากกันไป เรื่ อ งราวในค�่ า คื น อั น แสนสั้ น ในกระท่ อ มเล็ ก ในป่ า ใหญ่ แ ห่ ง นั้ น ควรหายไปพร้ อ มกั บ การยุ ติ ล ง ของสงครามโลกครั้ ง ที่ ๒ แต่ เ มื่ อ ฟริ ส ย้ า ยไปอยู ่ ฮอนโนลู ลู ฮาวาย เขาตั ด สิ น น� า เรื่ อ งราวอั น แสน น่าประทับใจนี้ ประกาศลงสื่อต่าง ๆ เพื่อตามหาทหาร อเมริกันและทหารเยอรมันที่เขาพบในค�่าคืนนั้น แต่ดู เหมือนจะไร้วแี่ วว กระทัง่ เรือ่ งราวทีเ่ ขาเล่าขานได้ไปเข้าตา ประธานาธิบดีเรแกนของสหรัฐฯ เข้าเขาจึงช่วยเป็น กระบอกเสียงให้อีกทางในการตามหาวีรบุรุษสงคราม โดยในปี ค.ศ.1985 เรแกนมีโอกาสได้เดินทางไปเยือน เยอรมันและได้กล่าวถึงเรื่องนี้ว่า "จ�าเป็นต้องได้รับการ บอกเล่า และเล่าขาน เพราะไม่มใี ครได้ยนิ เรือ่ งราวการ สร้างสันติภาพและการปรองดองมากนัก" แต่ถึงอย่าง นัน้ ก็ดเู หมือนจะไร้ผล ไม่มกี ารตอบรับใด ๆ กลับมาเลย ทุกคนคิดว่า ทหารหาญเหล่านั้นคงจะเสียชีวิตกัน หมดแล้ว แต่เมื่อรายการทีวีน�าเรื่องราวของฟริสไปท�า เป็นสารคดีชื่อ Unsolved Mysteries ในปี ค.ศ.๑๙๙๕

ได้มีโทรศัพท์ติดต่อเข้ามาในรายการ อ้างว่าเรื่องราวที่ รายการน�ามาเสนอนัน้ ตรงกับประสบการณ์ทเี่ ขาพบเจอ ในช่ ว งที่ เขาเป็ น ทหารสมั ย สงครามโลกครั้ ง ที่ ๒ ทางรายการจึงติดต่อกลับไปยังฟริส เพื่อร่วมบินไปพบ กับชายคนนั้นทันที ไม่กี่วันหลังคริสต์มาส ปี ค.ศ.1995 ฟริสก็ได้ พบกับ ราฟ แบลงค์ (Ralph Blank) อดีตทหารผ่านศึก ชาวอเมริกันที่เขาตามหา โดยราฟมีเข็มทิศที่ได้รับจาก ทหารเยอรมันเป็นหลักฐาน จากนั้นไม่นานฟริสก็ได้พบ กับทหารอเมริกันอีก ๒ นายที่เหลือ แต่ไม่พบทหาร เยอรมันที่เขาตามหาแม้แต่คนเดียว การได้เขียนบทความเรื่องนี้ท�าให้ผู้เขียนนึกถึง เหตุการณ์วนั คริสต์มาส ปี พ.ศ.๒๕๔๕ เมือ่ ครัง้ ไปปฏิบตั ิ ภารกิจที่อิรัก คืนนั้นเราก�าลังฉลองเทศกาลคริสต์มาส ในค่ายคาบาล่า เมืองคาบาล่า จู่ ๆ ก็เกิดคาร์บอมขึ้น ๒ ครั้ง ที่ป้อมยามของค่าย ถ้ามีรถขนระเบิดสักคันเข้า มาในค่ายได้ อาจจะมีผู้บาดเจ็บล้มตายกันหลายพันคน สิ่ ง นี้ บ ่ ง บอกให้ เ ห็ น ว่ า “หากมี ค วามศรั ท ธา ต่อสิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตใจต่างกัน สถานการณ์ก็ย่อม แตกต่างกัน”


เศรษฐกิจ ดิจิทัล

ข่าวทหารอากาศ

67

Digital Economy น.อ.ดร.ณัฐวุฒิ สามไพบูลย์

ในยุคที่เทคโนโลยีดิจิทัลมีการพัฒนาอย่าง ก้าวกระโดด การเชือ่ มต่อกับโลกอินเทอร์เน็ตสามารถ เข้าถึงกลุ่มผู้ใช้ได้อย่างหลากหลายและครอบคลุม ท�าให้รปู แบบการด�าเนินชีวติ ของมนุษย์เปลีย่ นไปจาก ยุคก่อนอย่างสิน้ เชิง รวมทัง้ อุปกรณ์การติดต่อสือ่ สาร ประเภท Smart Device ทีม่ รี าคาลดลงจนกลายเป็น ปั จ จั ย ส� า คั ญ ในชี วิ ต ประจ� า วั น ที่ ผู ้ ค นต้ อ งมี ไ ว้ ใ ช้ ประจ�าตัว โดยรวมขีดความสามารถในการประมวลผล และบรรจุแอปพลิเคชันพร้อมใช้งานไว้อย่างมากมาย ผู ้ ใ ช้ ส ามารถเลื อ กใช้ บ ริ ก ารต่ า ง ๆ ที่ ต ้ อ งการได้ ผ่ า นระบบทางดิ จิ ทั ล ด้ ว ยเพี ย งปลายนิ้ ว สั ม ผั ส โดยเฉพาะสถานการณ์ ก ารแพร่ ร ะบาดของโรค ติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา (COVID-19) ทีเ่ ผชิญอยู่ ยิง่ ท�าให้ บทบาทของการใช้ประโยชน์จากข้อมูลและการท�า ธุรกรรมทางดิจิทัลมีความโดดเด่นขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ท� า ให้ ภ าพของการด� า เนิ น ธุ ร กิ จ ผ่ า นระบบดิ จิ ทั ล ได้รับการจับตามากยิ่งขึ้น และเป็นช่องทางส�าคัญ ที่เรียกได้ว่าไม่ว่าผู้ด�าเนินธุรกิจประเภทใดก็ไม่อาจ ปฏิเสธมันได้ในยุคปัจจุบันและในอนาคต เศรษฐกิจดิจทิ ลั (Digital Economy) หมายถึง เศรษฐกิจที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นการน�า เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) เข้ามาใช้ในภาคธุรกิจ หลากหลายประเภท ทั้งภาคอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ภาคการผลิตขนาดย่อย ภาคการบริการ ภาคการเกษตร ภาคการศึกษา ภาคการขนส่ง และภาคอืน่ ๆ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพของการด�าเนินการ ตลอดจนเพิม่ มูลค่า

ของสินค้าหรือบริการ ก่อให้เกิดความสามารถในการ แข่งขันในตลาดระดับต่าง ๆ ได้ โดยเศรษฐกิจดิจิทัล ได้เข้าแทนทีเ่ ศรษฐกิจแบบดัง้ เดิมมากขึน้ ในลักษณะที่ เชื่อมโยง ผู้ขาย/ผู้ให้บริการ และ ตัวสินค้า/บริการ เข้ากับ ผู้ซือ/ผู้รับบริการ ตั้งแต่การจ�าหน่ายจนถึง การจัดส่ง จนอาจกล่าวได้ว่า การด�าเนินธุรกิจแบบ ดั้ ง เดิ ม จะถู ก บั ง คั บ ให้ เ ปลี่ ย นรู ป แบบไปเป็ น แบบ เศรษฐกิ จ บนแพลตฟอร์ ม ดิ จิ ทั ล ที่ ต ้ อ งมี ก ารใช้ เทคโนโลยี ส ารสนเทศมาประยุ ก ต์ เ ข้ า กั บ รู ป แบบ การด�าเนินการไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง มิเช่นนั้น ธุรกิจ ก็อาจเข้าสูก่ ารล่มสลายไปเนือ่ งจากรูปแบบการบริโภค หรือการใช้บริการของมนุษย์เปลีย่ นไปตามเทคโนโลยี ที่เกิดการเปลี่ยนแปลง เรียกง่าย ๆ ได้ว่าเข้าสู่ยุคที่ “อินเทอร์เน็ตเข้ามาเปลี่ยนแปลงวิถีการด�ารงชีวิต และการด�าเนินธุรกิจ” อย่างแท้จริง มาเจาะลึกกันลงไปว่า ในยุคที่อินเทอร์เน็ต เข้ามาเปลีย่ นแปลงเศรษฐกิจให้เข้าสูย่ คุ ของเศรษฐกิจ ดิจิทัลนั้น ผู้ซื้อหรือผู้รับบริการมีอัตราการเติบโต ด้ า นการใช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต มากน้ อ ยเพี ย งใด และมี พฤติกรรมในการเลือกซื้อสินค้าหรือบริการตลอดจน การช�าระเงินผ่านช่องทางดิจิทัลอย่างไร ผู้ขายหรือ ผูใ้ ห้บริการมีการปรับเปลีย่ นวิถกี ารน�าเสนอตลอดจน การส่งมอบสินค้าหรือบริการอย่างไร องค์กรภาครัฐ มีการวางแผนและให้การสนับสนุนผู้เกี่ยวข้องเพื่อ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัลอย่างไร Designed Image by upklyak/Freepik


68

ผู้ซื้อ/ผู้รับบริการ จากผลการส�ารวจข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรม ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ โดย ส�านักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Transactions Development Agency) พบว่ามีผใู้ ช้ อินเทอร์เน็ตถึง ๔๗.๕ ล้านคน จากจ�านวนประชากร ทัง้ สิน้ ๖๖.๔ ล้านคน คิดเป็นสัดส่วนผูใ้ ช้อนิ เทอร์เน็ต กว่า ๗๐% โดยในระยะเวลา ๙ ปีทผี่ า่ นมามีการเติบโต สูงกว่า ๑๕๐% และพบว่าชัว่ โมงการใช้งานอินเทอร์เน็ต ของคนไทยเฉลี่ยอยู่ที่วันละ ๑๐ ชั่วโมง ๒๒ นาที โดยชั่ ว โมงเฉลี่ ย การใช้ ง านอิ น เทอร์ เ น็ ต นั้ น ไม่ มี ความแตกต่างเมื่อแยกตามกลุ่มอาชีพ ทั้งนักเรียน/ นักศึกษา พ่อบ้าน/แม่บ้าน เจ้าของกิจการ/ประกอบ ธุรกิจส่วนตัว อาชีพอิสระ/ฟรีแลนซ์ และกลุม่ ทีว่ า่ งงาน/ ไม่มีงานท�า ซึ่งบ่งชี้ถึงว่าประชากรไทยไม่ว่าอาชีพใด ต่างก็เข้าถึงและใช้งานอินเทอร์เน็ตด้วยกันทั้งสิ้น นอกจากนี้ ยังพบข้อมูลตัวเลขเชิงสถิติที่น่าสนใจว่า กลุ่ม Generation Z (เกิดหลังปี ๒๕๔๐) และ Baby Boomer (เกิดปี ๒๔๘๙-๒๕๐๗) มีการใช้อนิ เทอร์เน็ต เฉลีย่ ถึงกว่า ๑๐ ชัว่ โมง ในขณะทีก่ ลุม่ Generation Y

(เกิดปี ๒๕๒๓-๒๕๔๐) ยังคงเป็นกลุม่ หลักทีค่ รองแชมป์ ชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตสูงสุดถึง ๕ ปีซ้อน (ชั่วโมง การใช้งานอินเทอร์เน็ตเฉลี่ย ๑๐ ชั่วโมง ๓๖ นาที) เมื่อมองลึกลงไปถึงกิจกรรมออนไลน์ที่นิยม พบว่าการใช้อินเทอร์เน็ตเชิงซื้อสินค้าหรือรับบริการ มีตวั เลขทีส่ งู ถึง ๕๗% หรือเรียกได้วา่ เกือบ ๒๔ ล้านคน ของคนไทย หรื อ ประมาณ ๑ ใน ๓ ของประเทศ มีวิถีชีวิตที่ซื้อสินค้าหรือบริการผ่านระบบดิจิทัลแล้ว ซึ่งการใช้บริการสั่งอาหารออนไลน์เป็นกิจกรรมที่มี ตัวเลขเพิ่มสูงขึ้นจาก ๑๑.๔% (ปี ๒๕๖๑) เป็น ๒๖.๕% (ปี ๒๕๖๒) เลยทีเดียว นอกจากนี้ ในการ ช�าระค่าสินค้าหรือบริการทางออนไลน์นั้น มีคนที่ ช�าระค่าสินค้าและบริการผ่านทางอินเทอร์เน็ตอยู่ที่ ๖๐.๖% ซึ่ ง หมายถึ ง กว่ า ครึ่ ง ของผู ้ ซื้ อ สิ น ค้ า หรื อ บริการออนไลน์ (ประกอบไปด้วยทุกเพศทุกวัยและ ทุก Generation) มีความมั่นใจและเลือกที่จะช�าระ ค่าสินค้าหรือบริการผ่านระบบดิจิทัล และพบว่าการ ช�าระค่าสินค้าหรือบริการออนไลน์นั้น ติด ๑ ใน ๕ ของกิ จ กรรมออนไลน์ ย อดฮิ ต เป็ น ปี แ รกที่ มี ก าร ส�ารวจข้อมูลมาอีกด้วย


ข่าวทหารอากาศ

จะเห็นได้ว่าพฤติกรรมออนไลน์ของคนไทย ซึ่ ง สะท้ อ นถึ ง ทั ก ษะความรู ้ ด ้ า นดิ จิ ทั ล (Digital Literacy) ในเชิงด�าเนินธุรกรรมออนไลน์ โดยรวมนัน้ เติบโตและขยายตัวขึน้ อย่างรวดเร็ว ท�าให้ผปู้ ระกอบการ ตั้งแต่รายใหญ่จนถึงรายย่อยหรือเป็นระดับบุคคล ต้องปรับตัวรองรับและเปลี่ยนวิถีการด�าเนินธุรกิจ ทีส่ อดคล้องกับเศรษฐกิจดิจทิ ลั ทีท่ วีสว่ นแบ่งการตลาด ไปจากการตลาดในรูปแบบดั้งเดิมมากขึ้น ผู้ขาย/ผู้ให้บริการ จากรูปแบบในการอุปโภคและบริโภคของ ผู้ซื้อสินค้าหรือบริการที่เปลี่ยนแปลงไป ท�าให้ผู้ขาย หรือผู้ให้บริการมีความจ�าเป็นต้องปรับเปลี่ยนวิธีการ ด�าเนินธุรกิจใหม่ ให้สามารถตอบสนองต่อความ ต้องการ (Demand) ที่มาในรูปแบบของการใช้งาน ผ่านช่องทางดิจทิ ลั มากยิง่ ขึน้ โดยจะต้องสร้างช่องทาง การจัดจ�าหน่ายและการจัดส่งบนแพลตฟอร์มดิจิทัล ทีต่ อบโจทย์และครอบคลุมความต้องการอย่างเหมาะสม และสามารถให้บริการได้ตลอดเวลา โดยในปัจจุบัน พบว่าแพลตฟอร์มยอดนิยมของคนไทยที่ใช้น�าเสนอ และซื้ อ ขายสิ น ค้ า หรื อ บริ ก ารออนไลน์ ได้ แ ก่ แพล็ ต ฟอร์มการสื่อสารแบบสังคมออนไลน์ เช่ น Facebook Fanpage, LINE, Instagram และ Twitter แพลตฟอร์มการซื้อขายสินค้าและบริการ (e-Marketplace) เช่น Shopee, Lazada, Agoda, Booking และ Traveloka เป็นต้น โดยแพลตฟอร์ม ต่ า ง ๆ มี คุ ณ สมบั ติ ที่ ส นั บ สนุ น ทั้ ง การจั ด รู ป แบบ การน�าเสนอสินค้าหรือบริการ การสืบค้นหรือค้นหา สิ น ค้ า หรื อ บริ ก ารที่ ต ้ อ งการ การวิ เ คราะห์ ค วาม ต้ อ งการและเสนอสิ น ค้ า หรื อ บริ ก ารที่ ต รงหรื อ ใกล้เคียงด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI) ที่มีการ

69

รวมกลุ่มของภาคธุรกิจเข้าไว้ด้วยกัน โดยสามารถ วิเคราะห์และเสนอความต้องการแบบ Active ให้กับ ผู ้ ใ ช้ บ ริ ก ารออนไลน์ ไ ด้ ทั น ที ที่ พ บพฤติ ก รรม ความต้องการหรือสนใจในตัวสินค้นตลอดจนบริการ ในแพล็ตฟอร์มอื่นที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการน�าระบบ Bot มาโต้ตอบกับผูส้ นใจสินค้าหรือบริการเพือ่ คอยให้ ข้อมูลตามทีต่ อ้ งการด้วย จุดนีท้ า� ให้ภาคธุรกิจสามารถ สร้างสินค้าและบริการแบบใหม่ทตี่ รงต่อความต้องการ ของตลาดได้งา่ ยขึน้ นอกจากนี ้ การมีหลายแพลตฟอร์ม ที่สนับสนุนท�าให้ช่องทางการจัดจ�าหน่ายและบริการ มีความหลากหลายมากยิ่งขึ้นตามไปด้วย ส� า หรั บธุ ร กิ จที่ ยั ง คงมี ก ารขายสิ นค้ า หรื อ ให้บริการทีร่ า้ นค้าหรือสถานทีบ่ ริการ เช่น ร้านอาหาร เครื่องดื่ม ร้านขายของ ร้านนวดสปา บ้านพัก/ที่พัก ก็ต้องมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการประชาสัมพันธ์ หรื อ โฆษณาให้ เ ป็ น ที่ รู ้ จั ก และเข้ า ถึ ง กลุ ่ ม ลู ก ค้ า เป้ า หมายได้ ม ากขึ้ น โดยอาศั ย แพลตฟอร์ ม ดิ จิ ทั ล ที่เหมาะสม เช่น การปักหมุดแสดงต�าแหน่งร้านค้า พร้ อ มค� า แนะน� า ถึ ง สิ น ค้ า หรื อ บริ ก าร ตลอดจน การบอกเส้นทางการเดินทางไปบนแพล็ตฟอร์มแผนที่ ดิจิทัล เป็นต้น รูปแบบดังกล่าวส่งผลให้เกิดเป็น นวัตกรรมในการสร้างโอกาสสร้างรายได้ทางธุรกิจ การให้ บ ริ ก ารที่ มี ผู ้ ป ระกอบการเป็ น ระดั บ บุ ค คล ทั่ วไปได้ เช่ น การเกิ ด ขึ้ นของที่ พั ก แบบ Airbnb ที่ใครก็ได้ในโลกมาลงโฆษณาห้องพักที่ว่างอยู่ให้กับ นักเดินทางทัว่ โลกได้เข้าพัก โดยเจ้าของทีพ่ กั สามารถ เลือกเองได้ว่าจะให้ลูกค้าคนใดเข้าพักและมีการเพิ่ม ระบบ Rating ให้คนทีเ่ คยมารีววิ ซึง่ รูปแบบการด�าเนิน ธุรกิจในลักษณะนี้สะท้อนถึงการปรับเปลี่ยนวิถีไปสู่ ความเป็นเศรษฐกิจดิจิทัลได้เป็นอย่างดี


70

ทางด้านธุรกิจการขนส่งก็มกี ารพัฒนาไปตาม รูปแบบของเศรษฐกิจดิจิทัลที่มีการน�าเทคโนโลยี การติ ด ต่ อ สื่ อ สารแบบ Location-Based บน แพลตฟอร์ ม แผนที่ ภู มิ ส ารสนเทศแบบดิ จิ ทั ล เข้ามาเป็นสื่อกลางเชื่อมระหว่างผู้ให้บริการและ ผู้รับบริการ โดยผู้ให้บริการที่สามารถให้บริการได้ ตามค�าร้องขอ (Request) ของผู้รับบริการที่ถูกส่ง เข้ามาในระบบก็จะสามารถเลือกตอบรับการให้บริการ นั้น ๆ แบบออนไลน์ในลักษณะการท�า Matching ระหว่างอุปสงค์และอุปทานได้ นอกจากนี ้ ผูใ้ ห้บริการ อาจไม่ได้เป็นเจ้าของทรัพยากรเอง แต่ใช้วิธีการ เป็นสื่อกลางที่ให้บริการบนแพลตฟอร์มของการท�า Matching ดังกล่าว ซึ่งเปิดให้ผู้บริการที่มีทรัพยากร และผู้รับบริการมาลงทะเบียนเพื่อเข้าใช้งานตาม ข้อก�าหนด เช่น การให้บริการรถประเภท Grab Taxi, Taxi-Beam, Taxi OK, All Thai Taxi, Uber และ Easy Taxi เป็นต้น ทั้งนี้ บริการในลักษณะดังกล่าว ยังช่วยให้ผู้รับบริการทราบข้อมูลราคาค่าใช้จ่าย โดยประมาณและข้อมูลเกี่ยวกับผู้ให้บริการ เช่น ชื่อ เบอร์โทรศัพท์มือถือ และหมายเลขทะเบียนรถ (มีลงทะเบียนเอาไว้เพือ่ การก�ากับควบคุมให้เกิดความ ปลอดภัย) และต�าแหน่งของผูท้ ตี่ อบรับการให้บริการ แสดงบนแผนที่ ดิ จิ ทั ล ให้ ท ราบต� า แหน่ ง และเวลา การเดินทางมาถึงผูร้ บั บริการทีค่ า� นวนบนพืน้ ฐานของ สภาพการจราจรจริงบริเวณนัน้ ๆ อีกด้วย นอกจากนี ้ ผู้รับบริการยังสามารถส่งข้อมูลการติดตามเส้นทาง การเดินทาง (Tracking) ให้กับผู้อื่นเพื่อให้ทราบ

รายละเอียดเกี่ยวกับการเดินทางนั้น ๆ ตั้งจุดแต่เริ่ม จนกระทั่งถึงจุดหมายปลายทางได้อีกด้วย ในส่ ว นของการจั ด ส่ ง สิ น ค้ า หรื อ บริ ก าร (Delivery) นั้ น ระบบขนส่ ง ที่ บ ริ ห ารจั ด การ บนแพลตฟอร์มดิจิทัลมีบทบาทมากในยุคปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวงการธุรกิจประเภทส่งอาหาร ถึ ง บ้ า น (Food Delivery) ตั้ ง แต่ ช ่ ว งการเริ่ ม แพร่ระบาดของ COVID-19 เมื่อต้นปี ๖๓ เป็นต้นมา เช่น Grab Food, Panda และ Lalamove ที่มี ระดับการให้บริการตั้งแต่รับสั่งอาหารจนถึงจัดส่ง ให้ถึงที่บ้าน ท�าให้ธุรกิจประเภทอาหารไม่ถูกจ�ากัด อยูเ่ ฉพาะในเขตพืน้ ทีท่ มี่ รี า้ นตัง้ อยูเ่ ท่านัน้ นอกจากนี้ ผู้ให้บริการท�าอาหารรายย่อยก็สามารถลงทะเบียน ร้านเข้าสูร่ ะบบพร้อมระบุประเภทและราคาของอาหาร พร้อมทั้งพิกัดของที่ตั้งร้าน เพื่อเปิดให้บริการอาหาร แก่ผู้บริโภคแบบออนไลน์ได้ในทันที ท�าให้เศรษฐกิจ ระดับไมโครถูกขับเคลื่อนด้วยระบบดิจิทัล เป็นการ พลิกโฉมของธุรกิจประเภทอาหารไปอย่างมากทีเดียว ในส่ ว นของการช� า ระเงิ น ค่ า สิ น ค้ า หรื อ บริการนั้น นอกเหนือจากการใช้บัตรเครดิต/เดบิต หรือเงินสดจ่ายปลายทางในการช�าระแบบดัง้ เดิมแล้ว มี ก ารเงิ น บนแพลตฟอร์ ม ดิ จิ ทั ล ที่ แ ปลงเงิ น เป็ น เงิ น ดิ จิ ทั ล ในกระเป๋ า เงิ น อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เ กิ ด ขึ้ น มากมาย ทั้งรูปแบบของบัตรสมาชิกที่สะสมยอดเงิน ส� า หรั บ ใช้ จ ่ า ย (แบบเติ ม เงิ น ) และรู ป แบบของ แอปพลิเคชันประเภทกระเป๋าสตางค์ เป็นต้น


ข่าวทหารอากาศ

การสนับสนุนและส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ของภาครัฐ รัฐบาลได้วางนโยบาย Thailand 4.0 พร้อมทัง้ จัดท�าแผน Digital Economy Thailand หรือแผน พัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เพื่อขับเคลื่อน เศรษฐกิจดิจิทัลเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายทั้งการ ปฏิ รู ป ประเทศสู ่ เ ศรษฐกิ จ ดิ จิ ทั ล ซึ่ ง เป็ น แนวทาง ระยะยาว และการผลักดันในระยะเร่งด่วน ประกอบ ไปด้วยโครงการปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานเชิงดิจิทัล จ� า พวกโครงข่ า ยอิ น เทอร์ เ น็ ต ความเร็ ว สู ง เพื่ อ ให้ ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้อย่างครอบคลุม และทัว่ ถึง การสร้างความตระหนักในการใช้เทคโนโลยี ดิจิทัลเกี่ยวกับการใช้หรือรับบริการเชิงธุรกิจให้กับ ประชาชน การสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรและ งานวิจัยด้าน ICT เพื่อลดการพึ่งพาการน�าเข้าจาก ต่างประเทศทั้งด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์โดยเน้น การปฏิรูปการศึกษาให้เยาวชนไทยมีความสามารถ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมากยิ่งขึ้น รวมทั้ง การปฏิ รู ป กฎหมายด้ า นดิ จิ ทั ล ที่ ยั ง ล้ า หลั ง และ ไม่ เอื้ อต่ อการเป็นเศรษฐกิจดิจิทัล เช่น เอกสาร หลั ก ฐานต่ า ง ๆ ในการท� า ธุ ร กรรมหรื อ นิ ติ ก รรม ที่ต้องมีการเปลี่ยนรูปแบบให้รองรับเอกสารแบบ อิเล็กทรอนิกส์ เช่น การใช้ลายเซ็นดิจิทัล เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีวางยุทธศาสตร์การสร้างความเชือ่ มัน่ ในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อมุ่งเน้นการสร้างความ มั่ น คงปลอดภั ย ตลอดจนความเชื่ อ มั่ น ในการท� า

71

ธุรกรรมบนระบบดิจิทัล บนพื้นฐานของการให้ความ คุ้มครองความเป็นส่วนตัวและข้อมูลส่วนบุคคลและ การรักษาความมัน่ คงปลอดภัยทางไซเบอร์ควบคูไ่ ปด้วย จะเห็ น ว่ า ภาครั ฐ ได้ พ ยายามปรั บ เปลี่ ย น รูปแบบการให้ความช่วยเหลือตลอดจนการให้การ สนับสนุนประชาชนทางด้านเศรษฐกิจมาเป็นรูปแบบ ที่อยู่บนแพลตฟอร์มดิจิทัลมากยิ่งขึ้น เช่น โครงการ ลงทะเบี ย นเพื่ อ รั บ เงิ น เยี ย วยาผลกระทบจาก COVID-19 โครงการชิมช้อปใช้ โครงการเราเที่ยว ด้วยกัน และโครงการคนละครึ่ง ที่เป็นรูปแบบของ การลงทะเบียนเพื่อขอเข้าใช้บริการแบบออนไลน์ ผ่านอุปกรณ์ประเภท Smart Device และคอมพิวเตอร์ พร้อมทั้งเสนอข้อมูลสินค้าและบริการประกอบแบบ ออนไลน์ที่กระตุ้นให้ประชาชนเรียนรู้ ฝึกปฏิบัติ เพื่ อ เพิ่ ม ทั ก ษะด้ า นดิ จิ ทั ล เชิ ง พานิ ช ย์ ใ ห้ ม ากขึ้ น รวมทั้ ง ยั ง น� า ระบบแอปพลิ เ คชั น เป๋ า ตั ง ซึ่ ง เป็ น การใช้ เ งิ น บนแพลตฟอร์ ม ดิ จิ ทั ล เข้ า มาประกอบ การให้ บ ริ ก าร โดยผู ้ ที่ ส นใจจะรั บ บริ ก ารจะต้ อ ง เรียนรู้และใช้บริการผ่านรูปแบบที่ก�าหนด นับเป็น อีกหนึง่ การขับเคลือ่ นสูเ่ ศรษฐกิจดิจทิ ลั ของประเทศไทย ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ดิจิทัล มีนวัตกรรมเชิงธุรกิจเกิดขึ้นมากมาย ซึ่งในปี ๒๕๖๓ นี้ เป็นที่คาดการณ์ว่าเศรษฐกิจดิจิทัลไทย จะพุ่งทะยานแตะเพดานถึง ๕.๕ แสนล้านบาท และ ในวันนึงทุกคนอาจจะปฏิเสธการท�าธุรกรรมแบบ ดิจิทัลบนโลกออนไลน์ไม่ได้


72

ทหารหาญ

ทางการแพทย์

MILITARY MEDICINE น.ท.ชัชวาลย์ จันทะเพชร การแพทย์ด้านเวชศาสตร์ทหารในปัจจุบัน ไม่เพียงแต่มบี ทบาทในการรักษาก�าลังพลทหารเท่านัน้ แต่ยงั รวมถึงครอบครัวของทหารและพลเรือนอืน่ ๆ ด้วย ความก้าวหน้าในการักษาช่วยชีวติ ในสนามรบมีประโยชน์ ต่ อ ปั ญ หาทางการแพทย์ ใ นแต่ ล ะวั น ที่ ผู ้ ค นทั่ ว ไป ต้องเผชิญ ในขณะที่ความก้าวหน้าทางการแพทย์ ทีส่ า� คัญถูกสร้างขึน้ เพือ่ ปกป้องก�าลังพล แต่สงิ่ เหล่านี้ ก็สง่ ผลต่อการช่วยเหลือพลเรือนด้วยเช่นกันบุคลากร ทางการแพทย์ทหารได้รับการฝึกฝนให้ดูแลในระดับ สูงสุดภายใต้สถานการณ์ทยี่ ากล�าบากทีส่ ดุ ผูเ้ ชีย่ วชาญ ทีผ่ า่ นการฝึกอบรมเหล่านีส้ ามารถจดจ�าและเข้าดูแล การบาดเจ็ บ ที่ ส� า คั ญ ในสนามรบได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว ด้ ว ยการใช้ ก ระบวนการและเทคโนโลยี ขั้ น สู ง นอกจากนีใ้ นภาวะอืน่ ทีไ่ มใช่ภาวะสงคราม เวชศาสตร์ ทหารยังเกีย่ วข้องกับสถานการณ์อนื่ ๆ เช่น วิกฤติการณ์ ด้านสาธารณสุข ในภาวะฉุกเฉินภัยธรรมชาติ ความขัดแย้ง ที่เกิดขึ้นใหม่และการต่อต้านการก่อการร้าย ดังนั้น การแพทย์ทางทหารจึงต้องเผชิญกับความท้าทาย และข้อก�าหนดใหม่ ๆ กับการเปลีย่ นแปลง ข้อก�าหนด เหล่านี้รวมถึงบริการทางการแพทย์ในภัยธรรมชาติ อุบตั เิ หตุการโจมตีของผูก้ อ่ การร้ายและในโรคระบาด ผลกระทบของการแพทย์ทหารต่อพลเรือนไม่ได้หยุด อยูแ่ ค่การทดลอง แต่ได้สร้างสรรค์นวัตกรรมในกลยุทธ์ ในการรั ก ษาชี วิ ต และอวั ย วะแขนขาได้ ถู ก รวมไว้

ในการปฏิ บั ติ ข องพลเรื อ นด้ ว ย องค์ ค วามรู ้ แ ละ ทรัพยากรเหล่านี้ช่วยในการรักษาของแพทย์ทหาร แพทย์เวชศาสตร์ฉกุ เฉิน เวชกิจฉุกเฉิน และพาราเมดิก หรือนักปฏิบัติการฉุกเฉินทางการแพทย์ ให้สามารถ ป้ อ งกั น การเสี ย ชี วิ ต และท� า ให้ ผู ้ ไ ด้ รั บ บาดเจ็ บ ส่งโรงพยาบาลภายในชั่วโมงเร่งด่วน Military Operations: Tactical Combat Casualty Care (TCCC) แบ่งเป็น ๓ ห้วง แผนการจั ด การขั้ น ต้ น เมื่ อ อยู ่ ภ ายใต้ สถานการณ์ยงิ (Care under fire) เกิดขึน้ ในพืน้ ที่ ปะทะหรือ Hot zone ๑. เจ้าหน้าทีฝ่ า ยใช้กา� ลังทางยุทธวิธตี อ้ งคง ความได้เปรียบทางยุทธวิธีให้มากที่สุด เช่น ยิงข่ม ยิงคุม้ กัน การใช้ควัน (Smoke) เพือ่ อ�าพราง ถ้าผูร้ า้ ย ใช้อาวุธสารเคมี ให้ลดความรุนแรงของสารนั้น ๒. หาที่ก�าบัง เจ้าหน้าที่ยิงตอบโต้เพื่อยุติ การยิงฝายตรงข้าม สร้างพื้นที่ปลอดภัย ๓. ให้ผู้ได้รับบาดเจ็บที่ยังคงยิงสู้ได้ ยังคง ยิงสู้ต่อไป เพื่อคงก�าลัง ๔. ให้ ผู ้ ไ ด้ รั บ บาดเจ็ บ ดู แ ลตนเองก่ อ น หากท�าได้ ใช้ Tourniquet (สายรัด) ห้ามเลือด ๕. ให้ผบู้ าดเจ็บเข้าทีก่ า� บัง หาทางออกจาก พื้นที่ปะทะไปสู่พื้นที่ปลอดภัย ป้องกันไม่ให้ผู้ได้รับ บาดเจ็บได้รับบาดแผลเพิ่มเติม


ข่าวทหารอากาศ

ในห้วงนี้ บุคลากรทางการแพทย์ไม่มบี ทบาท โดยตรงแต่เป็นบทบาทของเจ้าทีท่ างยุทธวิธเี ป็นหลัก ซึ่งได้รับการฝึกฝนมาเป็นพิเศษโดยจะไม่เสียเวลา ท�าหัตการหรือใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือ เช่น ไม่เปิด ทางเดินหายใจโดยใช้อุปกรณ์ ไม่ท�า CPR : Cardio Pulmonary Resuscitation หรือช่วยปั ้ ม หั วใจ ในขณะนั้น การท�าภารกิจให้ส�าเร็จและการไม่ถูกยิง หรื อ โดนระเบิ ด เพิ่ ม เป็ น ความช� า นาญทางยุ ท ธวิ ธี ของเจ้าหน้าที่เป็นส�าคัญ แผนการจัดการเบื้องต้นส�าหรับการดูแล ในพืน้ ทีห่ ลังเหตุการณ์ปะทะ (Tactical Field Care) เกิดในพืน้ ทีน่ อกเขตปะทะหรือ Warm Zone จะท�าเมือ่ ฝ่ายเราสามารถยุตกิ ารปะทะได้แล้วในห้วงนี้ พึงระลึกอยู่เสมอว่าเหตุปะทะอาจจะเกิดขึ้นซ�้าได้อีก จากฝ่ายตรงข้ามมีก�าลังเพิ่มขึ้น

73

๑. น�าผู้ได้รับบาดออกจากพื้นที่ ไปไว้ยัง ต�าแหน่งปลอดภัย ๒. ถ้าผูไ้ ด้รบั บาดเจ็บเป็นเจ้าหน้าทีท่ มี่ อี าวุธ และมีระดับความรู้สึกตัวลดลง ควรได้รับการถอด อาวุธจากตัวโดยทันที ๓. จัดการต่อตามหลัก M.A.R.C.H. M - Massive Hemorrhage ห้ามเลือด ให้หยุดไหล A - Airway ตรวจทางเดิ น หายใจ ไม่ให้อุดกั้น R - Respiration เปิดดูพลันทรวงอก C - Circulation ตรวจระบบการไหล เวียนของเลือด หาจุดเลือดออกตามร่างกาย H - Head & Hypothermia ป้องกัน การบาดเจ็บที่ศีรษะ/ไม่ให้ตัวเย็น


74

แผนการดูแลในการส่งต่อผูบ้ าดเจ็บ Tactical Evacuation Care เกิดขึ้นในพื้นที่ปลอดภัย หรือ Cold Zone ท�ำในพืน้ ทีป่ ลอดภัย ซึง่ สำมำรถท�ำกำรรักษำ ผู้บำดเจ็บได้หลำยอย่ำงตำมควำมจ�ำเป็นเร่งด่วน เพื่อเตรียมพร้อมสู่กำรรักษำที่เฉพำะเจำะจงต่อไป เตรี ย มควำมพร้ อ มเรื่ อ งกำรส่ ง ต่ อ โดยจั ด เตรี ย ม ยำนพำหนะในกำรส่ ง ต่ อ ผู ้ บ ำดเจ็ บ ซึ่ ง อำจเป็ น ยำนพำหนะปกติที่ใช้ใน EMS หรือกำรขนส่งทำงอื่น ควรมีจดั กำรเส้นทำงทีจ่ ะน�ำส่งให้ไปได้อย่ำงไม่ตดิ ขัด เพื่อส่งต่อผู้บำดเจ็บไปยังโรงพยำบำลที่เหมำะสม เฝ้ำระวังอำกำรผูบ้ ำดเจ็บโดยตลอดและระวังตืน่ ตัวเสมอ กับภำวะคุกคำมอื่นที่อำจเกิดขึ้นได้ตลอดเวลำ การประเมินติดตาม ประเมิน Pulse Oximetry เพื่อเป็นข้อมูล อ้างอิง

ทำงกำรรักษำเพิ่มเติม และจ�ำแนกเพิ่มเติมระหว่ำง ภำวะช๊ อ ค หรื อ ภำวะสู ญ เสี ย ควำมร้ อ น ท� ำ แผล ที่มองเห็นได้ ตรวจหำแผลเพิ่มเติม ให้ยำแก้ปวด หำกจ�ำเป็นเช่น NSAIDS, Acetaminophen แนวทางการพัฒนา ๑. All Hazards plan จัดท�ำแผนรองรับ ภัยคุกคำมรูปแบบต่ำง ๆ ๒. Be ready for infectious disease outbreak มีควำมพร้อมในกำรรับมือโรคระบำด ๓. Civilian cooperation ควำมร่วมมือ กับภำคพลเรือน ๔. บทบำทเป็นผู้น�ำในภำวะภัยพิบัติ ๕. Educate Military Trauma System ให้ควำมรู้ระบบกำรดูแลกำรบำดเจ็บในทำงทหำร

- Andrew N.Pallak, M.D., Luke Brown M.D., Phtls: Prehospital Trauma Life Support; 9th Edition. Berlington, Massachusetts: Jones Bartlett Learning, 2020. - Ren, G. Inaugural editorial: Military Medical Research. Military Med Res 1, 1 (2014). https://doi.org/10.1186/2054-9369-1-1 - Fu, X. Military medicine in China: old topic, new concept. Military Med Res 1, 2 (2014). https://doi.org/10.1186/2054-9369-1-2


ข่าวทหารอากาศ

75

จับจิต จับใจ ¡Ñº Í.˹Ù

àÃÕ¹ÃÙŒ¾ÄµÔ¡ÃÃÁ¡ÒÃÃÇÁ¡ÅØ‹Á ¼‹Ò¹ÁØÁÁͧ·Ò§¨ÔµÇÔ·ÂÒÊѧ¤Á

พฤติ ก รรมรวมกลุ  ม และการเคลื่ อ นไหว ทางสังคมเปนเครื่องมือหนึ่งในการกอใหเกิดการ เปลี่ ย นแปลงทางสั ง คมในหลายบริ บ ท ในความ เป น จริ ง ในช ว ง ๒๐๐ ป ที่ ผ  า นมาหลั ง การปฏิ วั ติ อุตสาหกรรม พฤติกรรมดังกลาวนีก้ ลายเปนสวนหนึง่ ของการแสดงออกของกลุ  ม คนในรู ป แบบต า ง ๆ แพรหลายไปทั่วโลก ดังนั้นนักวิจัยทางสังคมจึงได ไตร ต รองถึ ง เหตุ ผ ลเบื้ อ งหลั ง การเปลี่ ย นแปลง ทางสังคมหรือสถิติทางสังคม เนื่องจากการถอดรหัส วาตัวขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมคืออะไร

จะชวยใหนักวิจัยทางสังคมเขาใจ “กองกําลัง หรือ กลุมคน” เหลานี้ไดดีข้ึน รูวิธีจัดการหรือควบคุม และวิธีการหรือเวลาที่จะทํานายการเปลี่ยนแปลง ทางสั ง คมหรื อ อื่ น ๆ ซึ่ ง แนวทางในการศึ ก ษา พฤติ ก รรมรวมหมู  ต อ งอาศั ย ความรู  ค วามเข า ใจ ในลั ก ษณะทางจิ ต วิ ท ยาบางประการของมนุ ษ ย ต อ งมี ค วามเข า ใจในการดํ า เนิ น ชี วิ ต ของมนุ ษ ย โดยเฉพาะในบริบทและสถานการณของสังคมนั้น ๆ โดยใช วิ ธี ก ารศึ ก ษาในรู ป แบบและมุ ม มองแบบ ผสมผสานวิธี


76

พฤติกรรมรวมหมู่ (Collective Behavior) เป็นรูปแบบหนึง่ ของการแสดงพฤติกรรมนี้ เขาเชือ่ ว่า คืออะไร ผู ้ ค นมั ก จะยอมจ� า นนในความเป็ น ปั จ เจกบุ ค คล พฤติกรรมรวมหมู่ หมายถึง กระบวนการ และการตัดสินทางศีลธรรมในฝูงชนและยอมแพ้ต่อ และเหตุการณ์ทางสังคมที่ไม่สะท้อนโครงสร้างทาง อ�านาจการสะกดจิตใจ หรือควบคุมของผูน้ า� ทีก่ า� หนด สั ง คมที่ มีอ ยู ่ เช่น กฎหมาย สมาคม และสถาบั น พฤติกรรมของฝูงชนตามที่พวกเขาต้องการส�าหรับ ทางสังคม เป็นต้น โดยเกิดขึน้ ในลักษณะ “เกิดขึน้ เอง” Pamela Oliver (2008) อธิ บายว่ า พฤติ ก รรม จากข้อมูลของ Jaap Van Ginneken พฤติกรรมรวมหมู่ รวมกลุม่ คือพฤติกรรมทีเ่ กิดขึน้ เองและไม่มโี ครงสร้าง คือการกระท�าที่ไม่เป็นไปปกติซ่ึงผู้คนปฏิบัติตาม ซึง่ เกีย่ วข้องกับคนจ�านวนมากทีม่ ปี ฏิกริ ยิ าตอบสนอง บรรทัดฐานที่แพร่หลาย หรือ แสดงออกในลักษณะ ต่อสิง่ เร้าทัว่ ไป แม้วา่ เธอจะไม่ได้ชแี้ จงว่า “สิง่ เร้าทัว่ ไป พฤติกรรมทีเ่ บีย่ งเบนไป ซึง่ บ่งบอกว่าผูค้ นเริม่ ละเมิด (a common stimulus)” หมายถึงอะไร แต่เธออาจ บรรทัดฐานเหล่านั้น รวมทั้ง Charles Tilly มองว่า อ้างถึงประเด็นทางสังคมเชิงลบที่กลุ่มสังคมก�าลัง พฤติ ก รรมรวมกลุ ่ ม เกี่ ย วข้ อ งกั บ การศึ ก ษาฝู ง ชน ต่ อ ต้ า น ในช่ วงหั วเลี้ ย วหั วต่ อ นี้ สิ่ ง ส� า คั ญ คื อ ต้ อ ง (Crowds) ความนิยมชัว่ ครู่ (Fads) ภัยพิบตั ิ (Disasters) ชีใ้ ห้เห็นว่าเหตุการณ์ทวั่ ไปทีด่ า� เนินผ่านค�าจ�ากัดความ ความตื่นตระหนก (Panics) และการเคลื่อนไหว ต่าง ๆ คือพฤติกรรมรวมหมู่คือการกระท�าร่วมกัน ทางสังคม (Social Movements) เขาระบุวา่ พฤติกรรมนี้ ที่เกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ อาจขาดการจัดระเบียบ อาจเกิดขึ้นโดยธรรมชาติและไม่สามารถคาดเดาได้ อาจไม่ถกู ควบคุมโดยบรรทัดฐานทีก่ า� หนดไว้และอาจ ในหลายท้ อ งที่ แ ละเกี่ ย วข้ อ งกั บ ผู ้ ค นจ� า นวนมาก ถึงขั้นไร้สาระหรือเหตุผลได้ในบางกรณี เช่นในกรณีของการจลาจล เขาเชื่อว่าการใช้ค�าว่า ปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกับกระบวนการ “เกิดขึน้ เอง” “ฉุกเฉิน” “ความเห็นของคนส่วนใหญ่ เกิดพฤติกรรมรวมกลุ่ม (Groundswell)” “การปะทุ (Outburst)” “การหลัง่ ไหล กระบวนการเกิดพฤติกรรมรวมหมู่มีหลาย (Outpouring)” และ “การระเบิด (Explosion)” ท�าให้ เงื่อนไขจากสาเหตุหลายประการ ดังนี้ การศึกษาพฤติกรรมรวมหมู่ท�าได้ค่อนข้างยาก ๑. สภาพของสังคมและวัฒนธรรมเอือ้ อ�านวย ในขณะที่ Ashley Crossman มองว่าพฤติกรรม เช่น สังคมประกอบด้วยคนจ�านวนมาก มีวัฒนธรรม รวมกลุม่ เป็นพฤติกรรมทางสังคมประเภทหนึง่ ทีเ่ กิดขึน้ แตกต่างกัน สมาชิกยังไม่ได้ตั้งถิ่นฐานเป็นหลักแหล่ง ในฝูงชนหรือกลุม่ คน เขาระบุวา่ จลาจล (Riots) ม็อบ แน่นอน มีการอพยพโยกย้ายถิ่นฐานเป็นประจ�า เช่น (Mobs) อุปทานหมู่ (Mass hysteria) ความนิยมชัว่ ครู่ สังคมเมือง สังคมอุตสาหกรรม เป็นต้น (Fads) ข่าวลือ (Rumor) และ ประชามติ (Public Opinion)


ข่าวทหารอากาศ

๒. โครงสร้างของสังคมเอื้ออ�านวย เช่ น สั ง คมไม่ มี บ รรทั ด ฐานที่ แ น่ น อน ไม่ ก� า หนดว่ า พฤติ ก รรมใดเป็ น พฤติ ก รรมที่ ถู ก ต้ อ งเหมาะสม แก่การปฏิบัติ ไม่ยอมเปลี่ยนแปลงบรรทัดฐานของ สั ง คมแม้ ว ่ า จะล้ า หลั ง ไม่ ทั น ต่ อ การเปลี่ ย นแปลง ทางสังคมและวัฒนธรรมทีเ่ กิดสิง่ ใหม่ขนึ้ เป็นจ�านวนมาก จึงท�าให้เกิดพฤติกรรมรวมกลุ่มเพื่อเรียกร้องให้เกิด การเปลี่ยนแปลงขึ้น ๓. การเปิดโอกาสให้ประชาชนเกิดพฤติกรรม รวมหมู่ เช่น ระบบการเมืองการปกครอง เป็นระบบ ที่เปิดโอกาสให้ประชาชนได้แสดงความคิดเห็นและ ตัดสินใจในรูปแบบประชามติ จึงเปิดโอกาสให้เกิดการ รวมกลุ่มและน�าไปสู่พฤติกรรมรวมหมู่ได้ ๔. อิทธิพลของนวัตกรรมหรือสิง่ แปลกใหม่ ที่เข้าสู่สังคม ท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่านิยมและ เจตคติของคนในสังคม และต้องการเปลี่ยนแปลง สังคมวัฒนธรรม แต่คนบางกลุ่มยังไม่ยอมให้มีการ เปลี่ยนแปลง จึงเกิดพฤติกรรมรวมหมู่ในรูปแบบ ต่าง ๆ ขึน้ เพือ่ ผลักดันให้เกิดการเปลีย่ นแปลงดังกล่าว ๕. องค์การทางสังคมไม่มั่นคง ไม่สามารถ ปฏิ บั ติ บ ทบาทและหน้ า ที่ ข องตนได้ ไม่ ส ามารถ ตอบสนองความต้องการของสมาชิกได้ โดยเฉพาะ ในภาวะทีเ่ กิดสถานการณ์ไม่ปกติขนึ้ ในสังคม สมาชิก ไม่สามารถพึง่ พาอาศัยได้ จึงเกิดพฤติกรรมรวมหมูข่ นึ้ ๖. การจัดระเบียบสังคมและการควบคุม สั ง คมล้ ม เหลว หรื อ การควบคุ ม สั ง คมเข้ ม งวด แบบเผด็จการ ท�าให้สังคมเกิดภาวะสับสน วุ่นวาย ไร้ระเบียบในสังคม น�าไปสู่การสั่งสมความคับข้องใจ ของบุคคลและกลุ่มคนในสังคมในระยะเวลาหนึ่ง เช่น ความไม่เป็นธรรมในสังคม การทุจริตไม่โปร่งใส การเล่นพรรคเล่นพวกในแวดวงราชการ เป็นต้น สิง่ เหล่านีถ้ อื เป็นพลังผลักดันให้เกิดพฤติกรรมรวมหมู่ เพื่อต่อต้านพฤติกรรมดังกล่าวขึ้นได้ ๗. เกิดสภาวการณ์บางอย่างขึน้ แบบเฉียบพลัน และโดยบังเอิญ ไม่คาดคิดมาก่อน ท�าให้เกิดความ ตระหนกตกใจ ผู้คนจึงเกิดพฤติกรรมรวมหมู่ขึ้นได้ เช่น การแตกตื่น ข่าวลือ การจลาจล เป็นต้น ๘. ความต้องการของบุคคลหรือกลุม่ บุคคล บางคน เพือ่ ผลประโยชน์บางอย่างท�าให้เกิดพฤติกรรม รวมหมู่บางประเภทขึ้น เช่น การโฆษณาชวนเชื่อ

77

(Propaganda) เป็ น ต้ น หรื อ ความสามารถของ บุคคลหรือกลุ่มที่อยู่เบื้องหลัง เช่น การจัดตั้งที่ดี การเตรี ย มการอย่ า งดี คณะกรรมการผู ้ ริ เ ริ่ ม มี คุณภาพ เป็นต้น ท�าให้เกิดพฤติกรรมรวมหมู่ขึ้นได้ (ความนิยมชั่วครู่) ๙. ความขัดแย้งทางสังคมและวัฒนธรรม ระหว่างกลุม่ ชนชาติตา่ ง ๆ ในสังคม เช่น ความขัดแย้ง ทางโครงสร้างชนชัน้ ความขัดแย้งระหว่างอุดมการณ์ ทางการเมืองที่แตกต่างกัน ความขัดแย้งระหว่าง ผู้ปกครองกับประชาชน เป็นต้น ๑๐. ปัจจัยทางจิตวิทยา คือ การแพร่ระบาด ทางอารมณ์ของบุคคลที่ถูกกระตุ้นเร่งเร้าจนพร้อม ที่จะแสดงพฤติกรรมซึ่งละเมิดบรรทัดฐานทางสังคม โดยเฉพาะเมื่ อ การเข้ า รวมกลุ ่ ม กั บ บุ ค คลอื่ น ที่ มี สภาวะทางอารมณ์เหมือนกัน ท�าให้เกิดพฤติกรรม รวมหมู่บางประเภทขึ้นได้ ทฤษฎีการแพร่ระบาดทางอารมณ์ การแพร่ระบาดทางอารมณ์ (Emotional Contagion) คือพฤติกรรมทีเ่ กิดขึน้ โดยทีส่ ภาพจิตใจ ของกลุ่มคนมีอารมณ์เป็นตัวกระตุ้นในระดับรุนแรง มีความตื่นเต้นสูง และระดับความรุนแรงนี้แพร่ขยาย ไปสู่แวดวงที่กว้างออกไป บุคคลที่ติดต่อสังสรรค์กัน ในกลุ่มจะรู้สึกอะไรบางอย่างร่วมกัน ซึ่งท�าให้สภาพ จิตใจมีลักษณะตื่นเต้นเหมือน ๆ กัน บุคคลจะรู้สึก ประทับใจเมื่อเห็นอาการเคลื่อนไหวแสดงความรู้สึก ของบุคคลอืน่ ความรูส้ กึ ดังกล่าวนี้ อาจแสดงออกทาง ค�าพูดโดยเฉพาะการแสดงท่าทีและท่าทางประกอบ เช่น การทุบโต๊ะ การชูมือ ยกมือพร้อม ๆ กับน�้าเสียง ทีเ่ น้นจังหวะสูงต�า่ ความเร็วในการพูด นัยน์ตาทีแ่ สดง ความรูส้ กึ โกรธ ชิงชังเคียดแค้น เศร้า รวมทัง้ ความเร็ว และจังหวะในการหายใจ การเปลีย่ นสีหน้า ความเข้มข้น และเหงื่อตามร่างกาย ทุกสิ่งดังกล่าวนี้ เมื่อบุคคล แสดงออกท�าให้มีอิทธิพลต่อกันและกัน ในขณะที่ ตั ว เขาแสดงพฤติ ก รรมออกมา ผู ้ อ่ื น เห็ น เขาและ ตั ว ของเขาเองมองเห็ น ผู ้ อื่ น ซึ่ ง ก็ ห มายความว่ า ทุกคนมีส่วนช่วยในการแสดงออกในการตอบสนอง และสนั บ สนุ น ซึ่ ง กั น และกั น ท� า ให้ พ ร้ อ มที่ จ ะ กระท�าการอย่างใดอย่างหนึ่งลงไปพร้อมกัน เช่น เวลาเราไปชมคอนเสิรต์ แล้วนักร้องบอกให้เราร่วมกัน ชูมือขวา หรือลุกขึ้นมาเต้นร่วมสนุกด้วยกัน เป็นต้น


78

องค์ประกอบของการแพร่ระบาดทางอารมณ์ (Elements of Emotional Contagion) มีอยู่ ๓ ลักษณะ ดังนี้ ๑. จิ ต อยู ่ ใ นสภาพที่ ถู ก ชั ก จู ง ได้ ง ่ า ย (Heightened Suggestibility) เนื่องจากในขณะนี้ สภาพของโครงสร้างไม่แน่นอน บุคคลจะมองตัวอย่าง จากผู้อื่น และเนื่องจากอารมณ์ของเขานั้นเครียด อยู ่ แ ล้ ว เขาก็ พ ร้ อ มที่ จ ะท� า ตามคนอื่ น ที่ ท� า เป็ น ตัวอย่างทันที โดยไม่ค�านึงว่าการกระท�านั้นเป็นผลดี หรือผลร้ายตามมา เช่น กรณีไฟไหม้ ผู้พักในโรงแรม กระโดดจากตึ ก ที่ สู ง มากได้ รั บ บาดเจ็ บ หลายคน และถึงแก่ชีวิตก็มี ๒. จิ ต อยู ่ ใ นสภาพถู ก กระตุ ้ น ได้ ง ่ า ย (Heightened Stimulation) ปัจเจกบุคคลแต่ละคน จะมี บุ ค ลิ ก ภาพเฉพาะของตน หลายคนมี จิ ต ใจ ที่ เ ข้ ม แข็ ง เชื่ อ มั่ น ในตนเอง ในขณะที่ บุ ค คล อีกจ�านวนไม่น้อยที่พร้อมจะถูกกระตุ้นให้เปลี่ยนไป ในทิศทางใดทิศทางหนึง่ อย่างง่ายดาย บุคคลประเภท หลังนี้เอง เมื่อตกอยู่ในสภาพแวดล้อมของกลุ่มที่มี อาการตืน่ เต้นและมีการกระท�าทีร่ นุ แรงมากระทบใจ ท่ามกลางผูค้ นทีอ่ ยูก่ นั อย่างใกล้ชดิ (ซึง่ ท�าให้มองเห็น อากัปกิริยาที่แสดงออกมา เช่น ลมหายใจ กล้ามเนื้อ ที่ตึงเครียด เหงื่อออก) การกระตุ้นจะเป็นไปในรูป การติดต่อตอบสนองเป็นวงกลม ดังนี้

A กระตุ้น B ท�าให้เกิดความกลัวใน B ความกลัวของ B กระตุ้นให้ C กลัว และมีผลสะท้อนกลับไปที่ A ให้กลัวยิ่งขึ้นอีก

๓. มีประสบการณ์เดียวกัน (Homogeneity of Experience) การแพร่ระบาดทางอารมณ์จะเกิด เฉพาะในหมูบ่ คุ คลซึง่ มีความโน้มเอียงและมีเบือ้ งหลัง ความเป็นมาเหมือนหรือใกล้เคียงกัน ในกรณี เช่น นักเรียนบางกลุ่มยกพวกตีกัน หรือคนงานก่อความ วุน่ วาย เป็นต้น ทัง้ สองกรณีนี้ ขณะทีน่ กั เรียนวิวาทกัน คนงานหรืออีกหลายกลุ่มรับรู้แต่ไม่ถึงขั้นดึงดูดให้ เข้าไปร่วมในเหตุการณ์นั้นด้วยเพราะอาจไม่ได้มี ประสบการณ์เดียวกันหรือใกล้เคียงกัน ท�าให้พฤติกรรม รวมหมู่ถูกจ�ากัดในลงที่แคบลงได้ ความส�าคัญของการแพร่ระบาดทางอารมณ์ (Significance of Emotional Contagion) การแพร่ระบาดทางอารมณ์มักก่อให้เกิด พฤติกรรมร่วมในรูปแบบต่าง ๆ กัน ซึ่งพอจะสรุป ความส�าคัญได้ดังนี้ คือ ๑. การแพร่ระบาดทางอารมณ์ท�าให้เกิด ความเป็ น อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วกั น ทางจิ ต ทั้ ง นี้ มิ ใ ช่ เป็ น เพราะมาจากการมี ก ฎเกณฑ์ ห รื อ โครงสร้ า ง ของกลุ่มที่แน่นอน แต่เป็นเพราะว่า ในขณะที่เกิด เหตุการณ์นนั้ ทุกคนมีพนื้ ฐานทางอารมณ์อย่างเดียวกัน ซึง่ ทุกคนรูส้ กึ ต่อเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ และทุกคนมีความ เข้าใจร่วมกัน ท�าให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน แต่เป็นช่วงเวลาสั้น ๆ ไม่ยาวนานนัก และช่วงเวลา ดังกล่าวนี้เองที่ก่อให้เกิดความเข้มแข็งเด็ดเดี่ยวและ ก�าลังใจในการท�างาน ตัวอย่างเช่น การช่วยกันค้นหา เด็กหลงหลังเหตุการณ์วิกฤตบางอย่าง ท�าให้เกิดเป็น พลังหรือความร่วมมือของผู้คนในสังคม เป็นต้น ๒. ในบางกลุ่มคนซึ่งด�ารงอยู่ได้เพราะการ แพร่ระบาดทางอารมณ์ มักมีระดับของการควบคุม ตนเองหรื อ วิ นั ย ที่ ไ ม่ ดี นั ก ดั ง นั้ น การรวมกลุ ่ ม กั น จะท�าให้มีการส่งเสริมให้ระบายความกดดันภายใน และอนุ ญ าตให้ แ สดงพฤติ ก รรมนอกแบบแผน ตั ว อย่ า งเช่ น การชุ ม นุ ม ของพวกคลั่ ง ศาสนา การแตกตื่นในกลุ่มฝูงชนบ้าคลั่ง ซึ่งเป็นข้อที่ควร ระวังเมื่อเกิดพฤติกรรมรวมหมู่ขึ้น ๓. ขอบเขตของการแพร่ระบาดทางอารมณ์ ขึ้ น อยู ่ กั บ ความสามารถในการติ ด ต่ อ ถึ ง กั น การติดต่อถึงกันท�าได้โดยผ่านสื่อมวลชนต่าง ๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ ซึ่งท�าให้คนส่วนรวม เกิ ด ความรู ้ สึ ก ตื่ น เต้ น บางครั้ ง อาจมี ลั ก ษณะ


ข่าวทหารอากาศ

ความกระวนกระวาย กระสับกระส่าย โดยเฉพาะ เกี่ยวกับปัญหาการเมือง ปัญหาเกี่ยวกับสงคราม ซึง่ ในสถานการณ์ดงั กล่าวการรับรูข้ อ้ มูลข่าวสารจะมี ความสับสนค่อนข้างสูงอาจเป็นปัจจัยที่ท�าให้เกิด พฤติกรรมรวมหมู่ที่ยากจะคาดเดาได้ โดยโลกในยุคปัจจุบัน ถือเป็นโลกแห่งการ เปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม เศรษฐกิจ เทคโนโลยี ที่มีความผันผวน รุนแรงและรวดเร็ว เป็นการท้าทาย ความสามารถในการปรับตัวทั้งของปัจ เจกบุ ค คล องค์ ก ารและสั ง คมให้ ส อดคล้ อ งกั บ บรรทั ด ฐาน ทางสังคมที่ย่อมมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว ตามไปด้วย ซึง่ พฤติกรรมรวมหมูถ่ อื เป็นพฤติกรรมหนึง่ ที่ แ สดงถึ ง การเคลื่ อ นไหวเปลี่ ย นแปลงทางสั ง คม (Social Dynamic) ซึง่ ถ้าเราเข้าใจเกีย่ วกับธรรมชาติ อ้างอิง

79

และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดพฤติกรรมต่าง ๆ เหล่านี้ ย่อมน�าไปสู่การรับฟัง และมุ่งหาแนวทาง ในการปรั บ หรื อ แก้ ไ ขปั ญ หาได้ อ ย่ า งเหมาะสม โดยเน้นมีมุมมองบริบทต่าง ๆ เป็นองค์รวม และ ความคิดเชิงระบบ เนื่องจากกระบวนการทางสังคม มีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ สมาชิกในสังคม พื้นที่หรืออาณาเขต ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก ในสังคม ไปจนถึงกระบวนการจัดระเบียบทางสังคม โดยในแต่ละองค์ประกอบล้วนมีความส�าคัญทั้งสิ้น ดังนัน้ การแก้ปญ ั หาทางสังคมหรือพฤติกรรมรวมหมู่ ที่เกิดขึ้นควรเป็นหน้าที่ที่ทุกคนในสังคมที่ช่วยกัน แก้ไข โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คนในสังคมนั้น ๆ สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างปกติสุข

- Crossman, A. (2013). Collective Behaviour. Retrieved on October 30, 2020. From URL: http://sociology.about.com/od/C_Index/g/Collective-Behaviour.htm - Ginneken, J. V. (2003). Collective behaviour and public opinion – Rapid shifts in opinion and communication. Mahwah, NJ: Erlbaum. - Oliver, P. (2008). “Repression and Crime Control: Why Social Movement Scholars Should Pay Attention to Mass Incarceration as a Form of Repression.” Mobilisation 13 (1):1-24. - Tilly, C. (1990). Coercion, Capital, and European States, AD 990-1990. Cambridge, Mass.: B. Blackwell. ภาพประกอบบทความ: www.freepik.com


80

ท�ำควำมรู้จักกับกำรข่ำวกรองภูมิสำรสนเทศ (Geospatial Intelligent, GEOINT)

ตอนที่ ๑

น.ท.รัตนสุทธิ สุทธิแย้ม ข่ าวกรองภูมิส ารสนเทศ (Geospatial Intelligence) หรือที่ถูกเรียกกันสั้น ๆ ว่า GEOINT ถูกให้ความหมายไว้ตั้งแต่ปี ค.ศ.2005 ตามกฎหมาย ในหัวข้อ ๑๐ ของประมวลกฎหมายสหรัฐอเมริกา มาตรา ๔๖๗ ว่า Geospatial Intelligence (GEOINT) หมายถึง การแสวงประโยชน์ การวิเคราะห์ภาพ และข้อมูลภูมิสารสนเทศ เพื่ออธิบาย ประเมินค่า และเพื่อแสดงลักษณะทางกายภาพ รวมถึงกิจกรรม ต่าง ๆ โดยอ้างอิงต�าแหน่งทางภูมิศาสตร์บนพื้นโลก ข่าวกรองภูมสิ ารสนเทศ ประกอบด้วย ภาพ ข่าวกรองการภาพ และข้อมูลภูมิสารสนเทศ ซึ่งใน มาตรา ๔๖๗ นัน้ ก็ยงั ได้ให้คา� นิยาม องค์ประกอบของ ข่าวกรองภูมิสารสนเทศทั้ง ๓ อย่างไว้ ดังนี้ ภาพ (Imagery) หมายถึง ความเหมือน หรื อ การเป็ น ตั ว แทนน� า เสนอคุ ณ ลั ก ษณะของสิ่ ง ที่เป็นธรรมชาติ หรือสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น หรือวัตถุ หรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง และข้อมูลต�าแหน่งทาง ภูมิศาสตร์ที่ได้มาในเวลาเดียวกัน ความเหมือนหรือ การเป็นตัวแทนน�าเสนอที่ได้กล่าวไปนั้น

หมายรวมถึงผลิตภัณฑ์ที่ถูกผลิตโดยระบบ การข่ า วกรองการเฝ้ า ตรวจและลาดตระเวนทาง อวกาศ (Space-based Intelligence Surveillance and Reconnaissance System) โดยดาวเทียม (Satellite) หรือระบบการข่าวกรองการเฝ้าตรวจ และลาดตระเวนทางอากาศ (Airborne ISR System) ทั้งจากอากาศยานทั่วไป และอากาศยานไร้คนขับ (Unmanned Aerial Vehicles : UAVs) หรือด้วย วิธีการอื่น ๆ ที่คล้ายคลึงกัน ภาพนี้ยังหมายรวมถึงภาพที่ได้จากกล้อง ถ่ายภาพทั่ว ๆ ไป แต่ในบริบทของ GEOINT นี้จะ ไม่ ไ ด้ ร วมถึ ง ภาพในทางลั บ ที่ ถู ก ถ่ า ยโดยองค์ ก ร หรือถูกถ่ายในนามของหน่วยงานทีท่ า� หน้าทีร่ วบรวม ข่าวกรองบุคคล (Human Intelligence : HUMINT) ข่าวกรองการภาพ (Imagery Intelligence : IMINT) หมายถึ ง ข้ อ มู ล ทางเทคนิ ค ข้ อ มู ล ทาง ภูมศิ าสตร์ และข้อมูลข่าวกรองทีไ่ ด้ผา่ นกระบวนการ ตี ค วามหรื อ กระบวนการวิ เ คราะห์ ภ าพและวั ส ดุ ที่อยู่แวดล้อมข้างเคียงมาแล้ว


ข่าวทหารอากาศ

ข้ อ มู ล ภู มิ ส ารสนเทศ (Geospatial Information) หมายถึง ข้อมูลที่ถูกระบุต�าแหน่ง ทางภู มิ ศ าสตร์ แ ละลั ก ษณะของธรรมชาติ หรื อ ลักษณะของสิ่งปลูกสร้าง ระบุข้อมูลคุณสมบัติ หรือ คุ ณ ลั ก ษณะส� า คั ญ และขอบเขตบนพื้ น โลก ทั้ ง นี้ ยังหมายรวมถึง ข้อมูลทางสถิติ ข้อมูลที่ได้มาจาก สิ่งอื่น ๆ เช่น จากเทคโนโลยีการส�ารวจ การส�ารวจ ระยะไกล และการท�าแผนที่ การสร้างแผนภูมิแสดง ข้อมูลเกีย่ วกับรูปร่าง และเนือ้ ทีข่ องโลก (Geodetic) ฯลฯ ภาพด้านล่างนี้จะแสดงให้เห็นตัวอย่างของ องค์ประกอบของ GEOINT ทั้งสามอย่างที่กล่าว ข้างต้น และผลของการรวมองค์ประกอบทั้งหมด ให้เป็นหนึ่งเดียวกัน Imagery เฟรมแรกในภาพ แสดงภาพซึ่งมี ลักษณะคล้ายกับภาพถ่ายธรรมดาทั่วไป Imagery Intelligence เฟรมทีส่ องในภาพ แสดงภาพเดียวกันเฟรมแรก แต่เพิม่ เติมการวิเคราะห์ รูปภาพหรือวิเคราะห์ข้อมูลแวดล้อมอื่น ๆ ที่จ�าเป็น ต้องใช้ในกระบวนการการวิเคราะห์

81

ตัวอย่างเช่น หากวิเคราะห์ภาพพบว่าอาคาร ต่าง ๆ ทีป่ รากฏอยูใ่ นภาพนัน้ เป็นส่วนหนึง่ ของโรงงาน ทีใ่ ช้ในการผลิตอาวุธบางประเภท ข้อมูลนัน้ จะถือเป็น ข่าวกรองการภาพ (Imagery Intelligence : IMINT) และข้ อ มู ล นั้ น จะถู ก บั น ทึ ก ไว้ บ นภาพดั ง ที่ แ สดง ในกล่องค�าบรรยายภาพสีขาว Geospatial Information เฟรมที่สาม ในภาพแสดงแผนที่ ที่มีข้อมูลภูมิสารสนเทศ ซึ่งให้ รายละเอี ย ดต่ า ง ๆ เช่ น เส้ น ทางคมนาคมขนส่ ง เครือข่าย ต�าแหน่ง และรูปร่างของอาคารและข้อมูล ระดับความสูง GEOINT Product เฟรมขนาดใหญ่ที่อยู่ ด้ า นล่ า งในภาพ เป็ น ผลผลิ ต ของ การข่ า วกรอง ภูมสิ ารสนเทศ (GEOINT) ซึง่ รวมส่วนประกอบทัง้ สาม ไว้ดว้ ยกัน เพือ่ ให้ได้ขอ้ มูลทีม่ ากขึน้ และอยูใ่ นรูปแบบ ทีเ่ ป็นประโยชน์เพือ่ ตอบสนองต่อความต้องการเฉพาะ หรือต่อค�าขอข้อมูล (Requests for Information : RFI) โดยแสดงองค์ประกอบส�าคัญของข้อมูล (Essential Elements of Information : EEI)


82

แม้ว่าค�าจ�ากัดความของค�าว่า “GEOINT” ตามกฎหมายของสหรั ฐ อเมริ ก า จะหมายถึ ง การ แสวงประโยชน์และการวิเคราะห์ภาพและข้อมูล ภูมิสารสนเทศเท่านั้น แม้จะรวมถึงการประมวลผล และการวิเคราะห์ข้อมูล แต่ก็ยังมีประเด็นส�าคัญ อี ก หลายอย่ า งซึ่ ง เป็ น ส่ ว นส� า คั ญ ของฟั ง ก์ ชั น งาน GEOINT แตไมได้เป็นส่วนหนึง่ ของนิยามทางกฎหมาย อย่างเช่น การฝึกอบรม สถาปัตยกรรมการรวบรวม ข้ อ มู ล เทคโนโลยีก ารวิจัยและพัฒนาการจัดเก็ บ และการเผยแพร่หรือกระจายข้อมูล GEOINT ต่อไปนีจ้ ะอธิบายถึงหมวดหมูห่ ลักและแหล่ง ที่ ม าของข้ อ มู ล ส� า หรั บ องค์ ป ระกอบทั้ ง สามของ GEOINT: ภาพ (Imagery) ข่ า วกรองการภาพ (Imagery Intelligence) และข้อมูลภูมิสารสนเทศ (Geospatial Information) ภาพ (Imagery) ข้อมูล GEOINT ประเภทนี้ ถูกรวบรวมโดยระบบอุปกรณ์รับรู้ (Sensors) และ แพลตฟอร์ม (Platforms) อุปกรณ์รับรู้จะท�าหน้าที่ รวบรวมข้อมูลและแพลตฟอร์มที่กล่าวถึงนี้ หมายถึง ยานพาหนะใด ๆ หรือวัตถุใด ๆ ที่มีตัวอุปกรณ์รับรู้ ติดอยู่ ตัวรับรูห้ รือแพลตฟอร์มทีใ่ ช้จะเป็นแบบใดนัน้ ขึ้ น อยู ่ กั บ ประเภทของข้ อ มู ล ที่ ต ้ อ งการรวบรวม เงื่อนไขที่จะถูกรวบรวม และวัตถุประสงค์ที่จะใช้ ซึ่งชนิด หรือประเภทของแพลตฟอร์มและเซ็นเซอร์ ต่าง ๆ จะได้กล่าวต่อไป

แพลตฟอร์ม (Platforms) ส่วนนีจ้ ะกล่าวถึง แพลตที่เป็น Space-based (Satellite) เครื่องบิน (Airborne) พื้นดิน (Ground-based) และในทะเล (Sea-based) แพลตฟอร์มเหล่านี้อาจเป็นได้ท้ัง แบบที่มีคนควบคุม (manned) หรือไร้คนควบคุม (Unmanned) แพลตฟอร์มภาคอวกาศ (Space-based Platform) : ดาวเทียม (Satellites) ข้อมูลภาพ ที่ถูกรวบรวมจากดาวเทียมในอวกาศนั้นมีที่มาจาก ๒ แหล่ ง ได้ แ ก่ ดาวเที ย มที่ รั ฐ บาลเป็ น เจ้ า ของ (Government System) และดาวเทียมของภาคเอกชน ที่ใช้ในเชิงพานิชย์ (Commercial System) วงโคจร ของดาวเทียมจะอยูส่ งู กว่าเพดานบินของแพลตฟอร์ม ที่เป็นเครื่องบิน ท�าให้สามารถเก็บรวบรวมข้อมูล ได้เหนือน่านฟ้าใด ๆ ซึง่ หมายรวมถึงสามารถเก็บรวบรวม ข้อมูลเหนือน่านฟ้าอธิปไตยของประเทศอื่น ๆ ทั้งที่ เป็นมิตรและประเทศไม่เป็นมิตร ซึ่งแพลตฟอร์ม ที่เป็นเครื่องบินแบบทั่วไปไม่สามารถเข้าไปได้ ดาวเทียมของทางราชการ (Government System) อุปกรณ์รับรู้ที่ติดอยู่กับระบบดาวเทียม ของรัฐบาลจะเป็นแหล่งข้อมูล GEOINT ที่ส�าคัญที่ใช้ ส�าหรับการข่าวกรองและมีวัตถุประสงค์ด้านความ มั่นคงของชาติเป็นหลัก ระบบเหล่านี้จะถูกน�ามาใช้ เมื่อรัฐบาลต้องการดุลพินิจในการรวบรวมข่าวสาร เมื่อใดหรือที่ใด ๆ ที่ต้องการ


ข่าวทหารอากาศ

ดาวเที ย มเชิ ง พานิ ช ย์ (Commercial System) อุปกรณ์รับรู้ที่ติดอยู่กับระบบดาวเทียม เชิ ง พานิ ช ย์ นี้ จ ะให้ ข ้ อ มู ล ที่ ไ ม่ ไ ด้ มี ชั้ น ความลั บ ส่ ว นมากจะเป็ น ข้ อ มู ล ที่ น� า ไปใช้ ป ระโยชน์ ใ นเชิ ง พาณิชย์และมีผลผลิตที่ได้จากข้อมูลเชิงพานิชย์นี้ อาจถูกน�าไปใช้รว่ มกันกับภาคราชการหรือหน่วยงาน รัฐบาลและหน่วยงานทหารภายนอกได้ เช่น ประชาคม ข่าวกรอง หรือองค์กรพัฒนาเอกชน เช่น องค์กร บรรเทาสาธารณภั ย ที่ ไ ม่ แ สวงหาผลก� า ไร หรื อ พันธมิตรในอุตสาหกรรมเอกชน แพลตฟอร์ ม ภาคอากาศ (Airborne Platforms) ได้แก่ อากาศยานไร้คนขับ (Unmanned Aerial Vehicles : UAVs) อากาศยานทั่วไปทั้งแบบ ปีกตรึง (Fixed wing) และปีกหมุน (Rotary wing) และยั ง รวมถึ ง บอลลู น (Balloon) หรื อ เรื อ เหาะ (Airship) อุ ป กรณ์ รั บ รู ้ แ ละกล้ อ งที่ ติ ด ตั้ ง อยู ่ บ น แพลตฟอร์มประเภทนี้สามารถให้ความครอบคลุม และความต่อเนื่องเหนือสถานที่หรือเป้าหมาย อีกทั้ง แพลตฟอร์มประเภทนีย้ งั สามารถเข้าประจ�าต�าแหน่ง เหนื อ พื้ น ที่ ห รื อ เหนื อ เป้ า หมายได้ ร วดเร็ ว และมี ความคล่องตัวมากกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับดาวเทียม ด้วยเหตุนี้ ผูบ้ ญั ชาการหน่วยรบในภูมภิ าคทีค่ รอบครอง แพลตฟอร์มประเภทนีจ้ ะสามารถสัง่ ใช้งานแพลตฟอร์ม ประเภทนี้ ไ ด้ แ บบเรี ย ลไทม์ แต่ อ ย่ า งไรก็ ต าม แพลตฟอร์มประเภทเครื่องบินนี้ก็มีข้อจ�ากัด ในเรื่อง ของน่านฟ้าที่อาจถูกปฏิเสธการรุกล�้าเข้าไปในเขต อ� า นาจอธิ ป ไตยของประเทศอื่ น รวมถึ ง การไม่ สามารถปฎิบตั กิ ารได้ในสภาวะอากาศหรือบรรยากาศ ทีไ่ ม่เอือ้ อ�านวย เป็นอุปสรรค หรืออันตรายต่อการบิน

83

แพลตฟอร์มภาคพืน้ ดิน (Ground Based Platforms) คือวัตถุทอี่ ยูน่ งิ่ หรือเคลือ่ นทีอ่ ยูบ่ นพืน้ ดิน หรืออาจอยู่ใต้พื้นดิน โดยที่มีกล้องหรืออุปกรณ์รับรู้ ติดอยู่ แพลตฟอร์มภาคพื้นดินนี้อาจมีการควบคุม หรือไม่มีก็ได้ เช่น กล้องที่ติดตั้งอยู่บนเสา หรือติดตั้ง อยู่ตามอาคาร รวมถึงติดตั้งอยู่บนยานพาหนะ หรือ แม้ ก ระทั่ ง กล้ อ งที่ ต ้ อ งใช้ ค นถื อ ในการถ่ า ยภาพ (hand-held photography)


84

แพลตฟอร์ ม ภาคทะเล (Sea Based Platforms) แพลตฟอร์ ม ที่ ใ ช้ ใ นทะเล ได้ แ ก่ เรือส�ำรวจใต้น�้ำ เรือด�ำน�้ำ หรือทุ่น พวกเขำมีกล้อง หรื อ อุ ป กรณ์ รั บ รู ้ ที่ อ ำจอยู ่ เ หนื อ หรื อ ใต้ ผิ ว น�้ ำ แพลตฟอร์มอำจเป็นได้ทั้งแบบมีคนขับและไร้คนขับ แพลตฟอร์มแต่ละประเภท แต่ละชนิด มีขอ้ ดี และข้อด้อยแตกต่ำงกันไป ซึ่งกำรเลือกใช้ก็ขึ้นอยู่กับ ลักษณะของพื้นที่ที่ต้องกำรหรือประเภทของข้อมูล ที่ต้องกำร ซึ่งในบทควำมตอนที่ ๒ ผู้เขียนจะกล่ำวถึง ข้อดีพนื้ ฐำนและข้อเสียของกำรใช้งำนของแพลตฟอร์ม แต่ ล ะแบบ และจะพำผู ้ อ ่ ำ นไปท� ำ ควำมรู ้ จั ก กั บ อุปกรณ์รับรู้ (Sensors) และปรำกฏกำรณ์วิทยำ (Phenomenology) ของอุปกรณ์รับรู้แต่ละชนิด ในตอนต่อไป (อ่ำนต่อฉบับหน้ำ)

อ้างอิง

- UNITED STATE SYSTEM FOR GEOSPATIAL INTELLIGENCEGEOSPATIAL INTELLIGENCE (GEOINT) BASIC DOCTRINE, (2018). - Joint Publication 2-03, Geospatial Intelligence in Joint Operations, (2017).


ข่าวทหารอากาศ

85

ʶҺѹ෤â¹âÅÂÕ»‡Í§¡Ñ¹»ÃÐà·È Defence Technology Institute

รอบรูเทคโนโลยีปองกันประเทศ

สทป. ศูนยฝกอบรมระบบอากาศยานไรคนขับ สถาบั น เทคโนโลยี ป  อ งกั น ประเทศ (Defence Technology Institute Unmanned Aircraft Systems Training Centre : DTI-UTC) ผาน การรั บ รองจากสถาบั น ฝ ก อบรมด า นการบิ น Approved Training Organization (ATO) ตามประกาศข อ บั ง คั บ ของสํ า นั ก งานการบิ น พลเรื อ นแห ง ประเทศไทย (Civil Aviation Training Center) ในการจัดตั้งศูนยฝกระบบ อากาศยานไรคนขับ ตามมาตรฐานสากลแหงแรก ของประเทศและเป น หนึ่ ง ในภู มิ ภ าคอาเซี ย น เพือ่ ตอบสนองความตองการในการพัฒนาบุคลากร ของกระทรวงกลาโหม หน ว ยงานความมั่ น คง และบุคคลทั่วไป รวมทั้งเพื่อรองรับการขยายตัว ของการใชงานระบบอากาศยานไรคนขับภายใน ประเทศที่เติบโตขึ้นอยางรวดเร็ว

ตั้ ง แต ต  น ป ๒๕๖๓ เป น ต น มาสถาบั น เทคโนโลยี ป อ งกั นประเทศ หรื อ สทป. ได เ ข า สู  กระบวนการขอรั บ รองการเป น สถาบั น ฝ ก อบรม ดานการบินระบบอากาศยานไรคนขับจากสํานักงาน การบินพลเรือนแหงประเทศไทย (CAAT) ปจจุบัน ศูนยฝกอบรมระบบอากาศยานไรคนขับ สถาบัน เทคโนโลยี ป  อ งกั น ประเทศ DTI-UTC ได ผ  า น ขัน้ ตอนการรับรองจากสถาบันฝกอบรมดานการบิน Certificate of Training Organization Approval ตามประกาศข อ บั ง คั บ ของ CAAT และได รั บ ใบประกาศนียบัตร (Certificate) รับรองการเปน สถาบันฝกอบรมดานการบินเปนที่เรียบรอยแลว เมื่อวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๖๓ พรอมการรับรอง หลักสูตรฝกอบรมนักบินระบบอากาศยานไรคนขับ จํานวน ๒ หลักสูตร ดวยกัน ไดแก


86

๑. Remote Pilot Licence (RPL) ภาค ทฤษฏี ภาคการฝึกจ�าลอง Simulator และภาคอากาศ ทั้ ง แบบ Aeroplane และแบบ Multi Rotor ตามหลั ก สู ต รนั ก บิ น อากาศยานไร้ ค นขั บ ที่ ไ ด้ รั บ การรั บ รองจากส� า นั ก งานการบิ น พลเรื อ นแห่ง ประเทศไทย ให้แก่ก�าลังพลของเหล่าทัพ หน่วยงาน พลเรือน ภาคเอกชน และบุคคลทั่วไป ๒. Instructor Remote Pilot Licence (IRPL) หลักสูตรครูการบินระบบอากาศยานไร้คนขับ รวมถึงการด�าเนินการภารกิจด้านการศึกษา รวบรวม ข้อมูล สร้างเครือข่ายการวิจัยและพัฒนา ด้านการ ฝึกอบรม และการใช้งาน พร้อมทั้งให้ความรู้ บริการ ส่งเสริม สนับสนุน ทดสอบ ซ่อมบ�ารุง และบูรณาการ ความร่ ว มมื อ ในด้ า นวิ จั ย และพั ฒ นา และการ ประยุกต์ใช้งานร่วมกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ ภายใน และภายนอกประเทศ มี ส ่ ว นร่ ว มในการพั ฒ นา มาตรฐานด้ า นการบิ น ระบบอากาศยานไร้ ค นขั บ ให้กับประเทศ และมิตรประเทศ ในภูมิภาคอาเซียน


ข่าวทหารอากาศ

สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ จึงได้ ก�าหนดจัดพิธีรับมอบใบรับรองจากสถาบันฝึกอบรม ด้านการบิน Certificate of Training Organization Approval ตามประกาศข้อบังคับของ CAAT และได้รบั ใบประกาศนียบัตร (Certificate) รับรองการเป็น สถาบันฝึกอบรมด้านการบิน จากส�านักงานการบิน พลเรือนแห่งประเทศไทยขึน้ ในวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๖๓ โดยมี พลเอก พอพล มณีรินทร์ ประธานกรรมการ สถาบันเทคโนโลยีปอ้ งกันประเทศ ประธานในพิธี และ พลอากาศเอก ดร.ปรีชา ประดับมุข ผู้อ�านวยการ สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ ให้เกียรติรับมอบ ใบรับรองสถาบันฝึกอบรมด้านการบิน จาก ดร.จุฬา สุขมานพ ผู้อ�านวยการส�านักงานการบินพลเรือน แห่งประเทศไทย ณ ห้องแกรนด์ ไดมอนด์ บอลรูม อาคารอิมแพ็ค ฟอรั่ม การจัดพิธีส�าคัญในครั้งนี้ได้รับเกียรติจาก ผูบ้ ริหารจากส�านักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย เข้าร่วมแสดงความยินดีกับคณะผู้บริหาร ที่ปรึกษา และเจ้าหน้าที่สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ จากจุดเริม่ ต้นของความส�าเร็จในครัง้ นีจ้ ะเป็นก้าวส�าคัญ

87

ในการผลั ก ดั นให้ ศูนย์ ฝ ึ ก อบรมระบบอากาศยาน ไร้ ค นขั บ สถาบั น เทคโนโลยี ป ้ อ งกั น ประเทศ เจริ ญ เติ บโตก้ า วหน้ า อย่ า งยั่ ง ยื นต่ อ ไป ศูนย์ฝึกอบรมระบบอากาศยานไร้คนขับ สถาบั น เทคโนโลยี ป ้ อ งกั น ประเทศ DTI-UTC ขอเชิญชวนให้ท่านที่ใช้งานอากาศยานไร้คนขับ หรือ โดรน ตระหนักถึงการสร้างมาตรฐานการบิน อย่ า งปลอดภั ย และร่ ว มกั น รั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม และประเทศชาติ เข้ารับการฝึกอบรมนักบินโดรน ตามหลักสูตรที่เป็นไปตามมาตรฐานสากล ซึ่งคาดว่า จะเปิดรับสมัครในช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ นี้ และเริ่มเปิดการฝึกอบรมได้ในเดือนมีนาคม ๒๕๖๔ ดูรายละเอียดได้ที่เว็บไซต์ www.dti.or.th และ facebook fanpage : Defence Technology Institute โดยการด� า เนิ น งานจั ด ตั้ ง ศู น ย์ ฝ ึ ก อบรมระบบ อากาศยานไร้คนขับที่กล่าวมาข้างต้นนั้นสอดคล้อง และบรรลุ ซึ่ ง วิ สั ย ทั ศ น์ ข อง สถาบั น เทคโนโลยี ป้องกันประเทศ คือ “เป็นผูน้ า� ด้านเทคโนโลยีปอ้ งกัน ประเทศในภู มิ ภ าค ตอบสนองความต้ อ งการ ของกองทัพไทย และพันธมิตรอาเซียน”


88

ขอบฟ้าคุณธรรม พอ ซืซื่ อ่ อตรง ตรง รัรับบผิผิดดชอบ ชอบ รูรู้จ้จักักพอ บวก .... มองไปข้ มองไปข้าางหน้ งหน้าา .... แก้ แก้ไไขที ขที่ต่ตัวัวเรา เรา คิคิดดบวก

โดย 1261

อยา่ า่ ท�ท�าาคนดี คนดีใใหห้ห้หมองมั มองมัว อยา่ ปลอ่ ยคนชัว่ ให้ลอยนวล ... ...... อย

... เจตนานั้นส�าคัญที่สุด ... ผู้เขียนมีเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับตัวเองคล้าย ๆ กัน ในเวลาใกล้กนั จะเล่าให้ฟงั เรือ่ งมีอยูว่ า่ ผูเ้ ขียนต้องหาซือ้ ก๊อกน�า้ มาเปลีย่ นให้อา่ งล้างหน้าทีใ่ ช้งานอยู่ เมือ่ ก๊อกทีใ่ ช้ มานานกว่ายี่สิบปี เกิดปิดได้ไม่สนิทมีน�้าหยดตลอดเวลา ของเดิมนั้นเป็นยี่ห้อคอตโต้ ยี่ห้อของคนไทยเรา จึงตั้งใจ เข้าไปค้นในเว็บของคอตโต้ ปรากฏว่าแบบเดิมเขาเลิก ผลิตแล้ว จึงต้องเลือกแบบอื่น ๆ แทน และเพื่อความ สะดวกผูเ้ ขียนก็เลือกรุน่ ทีค่ อตโต้เขาขายผ่านลาซาด้าด้วย เพราะผูเ้ ขียนซือ้ ของผ่านระบบนีบ้ อ่ ยจนรูจ้ กั คนส่งของดี นัดรับของได้ทวั่ ไป เมือ่ เลือกของทีต่ อ้ งการได้แล้ว ทีเ่ ลือก

ได้ง่ายเพราะเขามีของแถมด้วยเป็นเหยือกใส่น�้าที่ก�าลัง นิยมใช้กันนี่แหละ คอตโต้เขาท�าไว้เป็นของแถม เคยเห็น แล้ ว ชอบ แต่ เ มื่ อ ถึ ง เวลาส่ ง ของ ของแถมไม่ ม าด้ ว ย แต่เขามีใบเสร็จมีเอกสารครบสามารถโทรไปถามเขาได้ จึงรู้ว่าของแถมจะตามมาทีหลัง หลังจากหมดระยะเวลา คื น ของแล้ ว แถมรู ้ ว ่ า สถานที่ ที่ ส ่ ง ของก็ อ ยู ่ ใ กล้ ๆ สนามบินดอนเมือง ริมถนนวิภาวดีรังสิตข้างร้านเจ๊เล้ง นีเ่ อง จึงบอกเขาว่า ไม่ตอ้ งส่งหรอกเดีย๋ วมารับเองเพราะ อยูไ่ ม่ไกล เมือ่ ไปรับของแถมจึงได้ความรูว้ า่ ก๊อกเดิมทีน่ า�้ หยดนั้นอาจจะซ่อมได้เพราะที่น่ีเขาเป็นศูนย์ซ่อมด้วย


ข่าวทหารอากาศ

เมื่อท�าการเปลี่ยนก๊อกอันใหม่แล้ว วันหนึ่งผู้เขียนก็ตั้งใจ จะเอาก๊อกเก่าไปซ่อม แต่กอ่ นหน้าสักสองสามวัน ผูเ้ ขียน ไปซื้อผลไม้ที่ซอยแอนเน็กซ์ คนขายสองคนวิ่งเข้าวิ่งออก ขายไปช่วยกันดูลูกที่ร้องงอแงไป เมื่อกลับมาถึงบ้าน ผู้เขียนสังเกตเห็นว่าเขาคิดเงินขาดไปยี่สิบบาท จึงเอา เหรียญใส่ถงุ วางไว้หน้ารถ กันลืมว่าต้องเอาไปให้เขา เมือ่ ต้องเอาก๊อกน�า้ ไปซ่อมก็ตงั้ ใจว่าจะเลยไปซือ้ ผลไม้ดว้ ยจะ ได้คนื เงินให้เขา และระหว่างทางไปซ่อมก๊อกน�า้ ขาไปต้อง ผ่านซักรีดของกรมสวัสดิการฯ ก็เอาผ้าไปซักเสียด้วย ตรงที่ รับผ้าที่ซักรีดนี่เขามักจะมีขนมอร่อย ๆ มาขายบ่อย ๆ วันนี้จึงได้สาคูเปียกมาถ้วยใหญ่เลยในราคายี่สิบบาท ส่งผ้าแล้วเลยไปส่งซ่อมก๊อกน�า้ ผูเ้ ขียนคิดว่าการเอาของไป ซ่อมคือเอาไปส่งให้เขาซ่อมแล้วว่าง ๆ ก็ไปรับ แต่ผดิ คาด ไปถึงเขามีโต๊ะรับบริการซ่อมของ มีช่างนั่งอยู่พอบอกว่า เอาก๊อกมาซ่อม แทนที่เขาจะออกใบรับซ่อมให้ เขาถาม ว่าลุงรีบไหม ผู้เขียนบอกว่าไม่รีบหรอก เขาบอกว่างั้นลุง นัง่ ก่อน เดีย๋ วเขาดูให้ แล้วเขาก็แกะทุกอย่างออกมาหมด ท�าความสะอาดให้ทีละชิ้น อันไหนไม่ดีเปลี่ยนให้ เขาท�า อย่างตัง้ ใจมาก ผูเ้ ขียนนัง่ ดูอย่างเอาใจช่วย ราว ๆ สามสิบ นาทีเขาเอาไปทดสอบ กลับมาบอกว่าใช้ได้แล้วครับ ลุงช่วยลงชื่อและเบอร์โทรฯ ไว้ด้วยนะครับ ผู้เขียนถาม ว่าค่าบริการเท่าไร เขาบอกว่าไม่มีค่าบริการครับ ผู้เขียน

89

ประทับใจมาก คิดในใจว่าจะขอบคุณเขายังไง นึกถึงสาคูเปียก ทีซ่ อื้ มาเมือ่ กีไ้ ด้ จึงรีบเอาก๊อกน�า้ ไปเก็บในรถ และจะเอา ขนมมาให้เขา ระหว่างทางมีเจ้าหน้าที่คนหนึ่งวิ่งตามหา ผู้เขียน พอเจอก็บอกว่าช่างให้เอาปุ่มยางเล็ก ๆ อันหนึ่ง ที่ปิดหัวน็อตของก๊อกน�้ามากดปิดให้ เมื่อผู้เขียนเอาขนม ไปให้เขาผูเ้ ขียนบอกเขาว่า ขนมนีแ้ ทนค�าขอบคุณของลุง นะรับไว้เถอะ เขายิ้มอย่างมีความสุข ผู้เขียนก็มีความสุข ได้ก๊อกน�้าใหม่ ๆ มาอันหนึ่งราคามากกว่าสองพันบาท แถมหาซือ้ ไม่ได้แล้วด้วย ขับรถไปถึงร้านขายผลไม้ ผูเ้ ขียน เอาเศษสตางค์ยี่สิบบาทไปให้แม่ค้า เขาถามว่าค่าอะไร ผู้เขียนบอกเขาว่าหลายวันก่อนเขาคิดเงินไม่ถูก ผู้เขียน ได้ของไปมากกว่าเงินทีจ่ า่ ยยีส่ บิ บาท เขาบอกว่าแสดงว่า หนูคิดเงินขาดไป ผู้เขียนก็บอกว่าขาดหรือเกินไม่รู้ล่ะ แต่ของที่ได้มีค่าเกินไปยี่สิบบาท เขาท�าท่าเหมือนว่าจะ รับหรือไม่รับเงินดี แต่ผู้เขียนบอกเขาว่ารับเงินนี่ไปก่อน เดี๋ยวจะซื้อมะพร้าวสักห้าลูกด้วยร้อยหนึ่งพอดี เขาก็รับ เงิ น ยี่ สิ บ บาทไป แล้ ว เขาก็ เ ลื อ กมะพร้ า วให้ อ ย่ า งดี เฉาะให้อย่างดี เมือ่ จะเอามะพร้าวใส่ถงุ เขาหยิบมะพร้าว อีกลูกหนึ่งขึ้นมา แล้วบอกว่าลูกนี้หนูแถมให้ลุง ผู้เขียน เข้าใจเจตนาของเขา ว่าเขาต้องการคืนเงินยี่สิบบาทให้ ผู้เขียน เขายิ้มแย้มแจ่มใสจนรู้ว่าเขามีความสุขใจมาก ผู ้ เ ขี ย นก็ มี ค วามสุ ข ที่ ไ ด้ เ ห็ น อย่ า งนั้ น ผู ้ เ ขี ย นคิ ด


90

ในใจว่า วันนี้เงินยี่สิบบาทสร้างความสุขให้กับชีวิตคนได้ มากมายขนาดนี้เลยหรือ ทั้งช่าง ทั้งคนขายผลไม้และ ผู้เขียนเองมีความสุขใจ อิ่มใจกันทั่วหน้า ไม่จ�าเป็นต้อง เป็นร้อยเป็นพันบาทเลย หรือว่าเจตนาดีทเี่ รามีให้กนั และ กันต่างหากที่สร้างความสุขให้กับชีวิตคนเราได้มากมาย ขนาดนี้ เงินไม่นา่ ซือ้ ความสุขได้แต่มนั เป็นสือ่ ให้เกิดความ สุขได้ สิ่งนี้เป็นคุณธรรมที่ยิ่งใหญ่ในหัวใจของมนุษย์ ถ้าท่านมีเจตนาที่ดีต่อสิ่งต่าง ๆ ในโลกใบนี้ โลกใบนี้ก็จะ ยิ้มกับท่านตลอดเวลา เป็นที่มาของหัวข้อในวันนี้ เจตนา หรือ เจตนารมณ์ เป็นค�าที่ได้ยินกันบ่อย ๆ ค�าเต็ม ๆ คือเจตนารมณ์ คือ เป็นทัง้ เจตนา และ อารมณ์ รวมกันแปลได้ว่า มีอารมณ์ที่ตงั้ ใจ ตัง้ เป้าหมายจะท�าสิ่งใด สิง่ หนึง่ แต่เนือ่ งจากเจตนารมณ์นนั้ เป็นได้ทงั้ บวกและลบ คือท�าได้ทั้งเรื่องดีและเรื่องไม่ดี เวลาเขียนเวลาพูดก็จะ ยาวขึ้นเรื่อย ๆ จึงนิยมเหลือแค่ เจตนา เฉย ๆ แล้วเติมดี หรือร้ายเข้าไป นีค่ อื เสน่หข์ องภาษาไทย ตัวอย่างของเรือ่ ง ในวันนี้ก็คือ ช่างซ่อมก๊อกน�้านั้นเขามีเจตนาที่ดีอย่าง แน่นอนที่จะช่วยผู้เขียน จะได้ไม่ต้องเดินทางไป ๆ มา ๆ และเขารู้ว่ามันไม่น่าจะซ่อมยากอะไร เขาจึงซ่อมให้ จนเรียบร้อย ทัง้ ๆ ทีเ่ ขาออกใบรับซ่อมไว้กอ่ นก็ได้ แม้จะ เป็นนโยบายของร้านหรืออย่างไรก็แล้วแต่ ถ้าเขาไม่มี เจตนาจะช่วยเขาก็ไม่ต้องช่วย และด้วยเจตนาดีของเขา อย่ า งนี้ ความสุ ข จึ ง มาลงที่ ผู ้ เ ขี ย นอย่ า งไม่ ไ ด้ ตั้ ง ใจ ส่วนสาคูเปียกนั้นมันเป็นความบังเอิญที่ใช้เป็นเครื่องมือ ในการขอบคุณได้มากกว่าค�าว่าขอบคุณเฉย ๆ ส่วนผูเ้ ขียน นั้นมีเจตนาจะเอาเงินไปให้คนขายผลไม้ เพราะรู้ว่าเขา คิดเงินไม่ครบ ส่วนเจ้าของร้านเขาไม่รู้เรื่องด้วย เขาจึงมี ความสุขเมื่อผู้เขียนบอกเขา ส่วนของแถมนั้นมันเป็น เครื่ อ งมื อ ในการขอบคุ ณ ที่ เ ขาท� า ได้ อ ย่ า งแนบเนี ย น ด้ ว ยค� า ว่ า ลู ก นี้ ห นู แ ถมให้ ลุ ง และนี่ คื อ สั ง คมไทย วัฒนธรรมไทย มันน่ารักน่าหลงใหลตรงนี้แหละ คนทั้ง โลกถึงอยากมาเมืองไทย เรือ่ งของเจตนานัน้ เห็นได้ชดั เจนในกรณีทศี่ าลตัดสิน คดีต่าง ๆ จะมีค�าพูดที่ชัดเจนว่า เจตนาท�าผิด หรือไม่ เจตนาท�าผิด โทษจะแตกต่างกันมาก เรื่องเจตนาจึงเป็น เรื่องที่ส�าคัญมาก แต่ในวันนี้ผู้เขียนจะกล่าวถึงเฉพาะ เจตนาดีเท่านั้น เพราะเจตนาที่ดีย่อมเป็นผลดีกับผู้ตั้งใจ และสังคมส่วนรวมก็มีส่วนได้รับอานิสงค์นี้ไปด้วย เช่น - หากคนไทยทุกคนมีเจตนาจะเคารพกฎหมายบ้าน เมืองอย่างเคร่งครัด ถ้าเป็นอย่างนี้จริง ๆ ทุกคนก็จะ

พยายามไม่ท�าผิดกฎหมาย ส่วนตัวก็จะสบายใจไม่มีเรื่อง ต้องไปโรงพัก ไปศาล สังคมก็จะสงบเรียบร้อย นอนหลับ ฝันดีกันทุกบ้าน - หากคนไทยทุกคนมีเจตนาจะอ่านหนังสือให้ได้ อาทิตย์ละหนึง่ เล่ม ถ้าเป็นได้จริง คนไทยจะเป็นผูม้ สี ติ ใช้ ปัญญาในการด�ารงชีวิต ใช้เหตุใช้ผล เพราะการอ่านคือ การสร้างปัญญาให้มนุษย์ สังคมส่วนรวมก็จะไม่งมงาย ไม่หลอกลวงกันในเรื่องไม่มีสาระ แค่สองเรื่องที่กล่าวมาถ้าท�าได้จริง ๆ บ้านเมืองของ เราคงน่าอยู่อีกมากมายนัก แต่ผู้เขียนก็รู้ว่ามันเป็นแค่ ความฝัน เพราะไม่ใช่เรือ่ งง่ายเลย ทีค่ นเราจะสร้างเจตนา ที่ดี รักษามันไว้ให้ได้ และพยายามท�าให้ได้ดังที่ตั้งใจไว้ เพราะการจะท�าได้นั้นต้องมีการฝึก มีการทดสอบตนเอง อยู่เสมอ ซึ่งการฝึกตนเองให้ท�าได้ดังเจตนานั้นมีขั้นตอน ที่ส�าคัญอยู่สองขั้นตอน คือ การเตรียมความพร้อมของ กายและใจไม่ให้ละเลยต่อเจตนาทีต่ งั้ ไว้ และการสร้างแรง บันดาลใจให้กับเจตนานั้นให้มากยิ่งขึ้น (ติดตามอ่านต่อฉบับหน้า)


INSIDE THE AIR FORCE

ในรั้วสีเทา

๙๑ ขาวทหารอากาศ

พล.อ.เฉลิมพล ศรีสวัสดิ์ ผบ.ทสส. ตรวจเยี่ยมและมอบนโยบายการปฏิบัติงานใหแก ทอ. โดยมี พล.อ.อ.แอรบูล สุทธิวรรณ ผบ.ทอ. ใหการตอนรับ โดยจัดใหมีการตรวจแถวกองทหารเกียรติยศ ณ บก.ทอ. เมื่อวันที่ ๑๐ พ.ย.๖๓

พล.อ.อ.แอรบลู สุทธิวรรณ ผบ.ทอ. บรรยายพิเศษในหัวขอ “แนวทางการรับราชการ และประสบการณ ในการทํางาน” ใหแก นนอ.ชั้นปท่ี ๕ โดยมี พล.อ.ท.ณรงค อินทชาติ ผบ.รร.นนก. ใหการตอนรับ ณ หองนภัศวิน สโมสร นนอ.รร.นนก. เมื่อวันที่ ๑๖ พ.ย.๖๓

พล.อ.อ.แอรบูล สุทธิวรรณ ผบ.ทอ. รับเยี่ยมคํานับจาก พ.ท.Jean Gosselin ผชท.ทหารแคนาดา/ กรุงเทพฯ พรอมคณะ เพื่ออําลาในโอกาสครบวาระการปฏิบัติหนา ที่ ณ หองรับรองพิเศษ ๑ บก.ทอ. เมื่อวันที่ ๑๗ พ.ย.๖๓


ในรั้วสีเทา

INSIDE THE AIR FORCE ขาวทหารอากาศ ๙๒

พล.อ.อ.สุรพล พุทธมนต รอง ผบ.ทอ. บรรยายพิเศษในหัวขอ “แนวทางการรับราชการ และประสบการณ ในการทํางาน” ใหแก นนอ.ชั้นปท่ี ๕ โดยมี พล.อ.ท.ณรงค อินทชาติ ผบ.รร.นนก. ใหการตอนรับ ณ หองนภัศวิน สโมสร นนอ. รร.นนก. เมื่อวันที่ ๑๖ พ.ย.๖๓

พล.อ.อ.ปราโมทย ศิรธิ รรมกุล ผช.ผบ.ทอ./หน.ศูนยเรงรัดติดตามการจัดซือ้ จัดจางของ ทอ. พรอมคณะ ตรวจเยี่ยม พอ. ในสวนสงกําลังบํารุง เพื่อติดตามการจัดซื้อจัดจาง ประจําปงบประมาณ ๒๕๖๔ โดยมี พล.อ.ท.ธนวิตต สกุลแสงประภา จก.พอ. ใหการตอนรับ ณ หองประชุม พอ.(๑) เมื่อวันที่ ๑๓ พ.ย.๖๓

พล.อ.อ.เดชอุดม คงศรี ผช.ผบ.ทอ. บรรยายพิเศษใหแกผเู ขารับการอบรมผูป ฏิบตั หิ นาทีน่ ายทหารคนสนิท ประจําผูบ งั คับบัญชา โดยมี พล.อ.ต.ครรชิต วานิชย เลขานุการ ทอ. ใหการตอนรับ ณ หองบรรยาย บก.ทอ. เมื่อวันที่ ๒๕ พ.ย.๖๓


INSIDE THE AIR FORCE

ในรั้วสีเทา

๙๓ ขาวทหารอากาศ

พล.อ.ท.ฐานัตถ จันทรอําไพ จก.กร.ทอ. พรอมคณะ ตรวจเยี่ยมสายวิทยาการดานกิจการพลเรือน และประชาสัมพันธ บน.๒ พรอมฟงบรรยายสรุป และเยี่ยมชมแหลงทองเที่ยวในเขตทหาร โดยมี น.อ.ชวภณ ยิ้มพงษ ผบ.บน.๒ ใหการตอนรับ ณ บน.๒ จว.ลพบุรี เมื่อวันที่ ๑๓ พ.ย.๖๓

พล.อ.ท.ธนวิตต สกุลแสงประภา จก.พอ. พรอมคณะ ตรวจเยี่ยมสายวิทยาการแพทย บน.๒๑ โดยมี น.อ.วิทวัส ครองธานินทร รอง ผบ.บน.๒๑ ใหการตอนรับ ณ บน.๒๑ จว. อุบลราชธานี เมื่อวันที่ ๒๔ พ.ย.๖๓

พล.อ.ท.สมควร รักดี ผบ.อย. เปนประธานในพิธีมอบเครื่องหมายแสดงความสามารถนักเหินเวหา ทอ. เปนกิตติมศักดิ์ ใหแกคณะบุคคลผูทําคุณประโยชนใหกับ ทอ. ณ หองประชุม บก.อย.(๒) เมื่อวันที่ ๒๕ พ.ย.๖๓


ในรั้วสีเทา

INSIDE THE AIR FORCE ขาวทหารอากาศ ๙๔

พล.อ.ต.ไพฑูรย ไลเลิศ จก.สบ.ทอ. เปนประธานในพิธีเปดการศึกษาหลักสูตรนายทหารสารบรรณใหม รุนที่ ๕ ณ หองประชุม บก.ทอ.๑ เมื่อวันที่ ๔ พ.ย.๖๓

พล.อ.ต.สรวิชญ สุรกุล จก.กง.ทอ. พรอมคณะ ตรวจเยี่ยมหนวยสายวิทยาการการเงิน สน.ผบ.ดม. โดยมี น.อ.ขจรฤทธิ์ แกวอําไพ รอง ผบ.ดม. ใหการตอนรับ ณ สน.ผบ.ดม. เมื่อวันที่ ๑๗ พ.ย.๖๓

พล.อ.ต.อนันตชยั ทองเจริญ จก.จร.ทอ. พรอมคณะ ตรวจการปฏิบตั ริ าชการ ตรวจสอบและประเมินผล แผนบริหารความเสี่ยง (RM) และการจัดการความรู (KM) บน.๔๖ โดยมี น.อ.ภาณุวัตร เรืองประยูร ผบ.บน.๔๖ ใหการตอนรับ ณ หองประชุม ๔๐๖ บน.๔๖ จว.พิษณุโลก เมื่อวันที่ ๒๓ พ.ย.๖๓


INSIDE THE AIR FORCE

ในรั้วสีเทา

๙๕ ขาวทหารอากาศ

พล.อ.ต.เสกสรร คันธา ผบ.รร.การบิน บรรยายพิเศษในหัวขอ “ประสบการณในการทํางานและแนวทาง การปฏิบัติราชการ” ใหแก นนอ.ชั้นปที่ ๕ ณ หองนภัศวิน สโมสร นนอ.รร.นนก. เมื่อวันที่ ๒๔ พ.ย.๖๓

น.อ.เจริญ วัฒนศรีมงคล ผบ.บน.๑ ดําเนินการฝกวินัยทหารตามคูมือพระราชทาน โดยการฝกทบทวน บุคคลทามือเปลา ใหแกขา ราชการ ลูกจาง และพนักงานราชการ บน.๑ ณ บริเวณดานหนาหอบังคับการบิน บน.๑ จว.นครราชสีมา เมื่อวันที่ ๑๘ พ.ย.๖๓

น.อ.พรประเสริฐ ผานภพ ผบ.บน.๕ นํากําลังทหารและรถบรรทุกเขาชวยเหลือชาวประมงพื้นบาน ที่ลงทะเบียนขอนําเรือประมงขึ้นฝงบริเวณพื้นที่ บน.๕ เพื่อหลบคลื่นลมแรงดานอาวประจวบคีรีขันธ อ.เมืองประจวบคีรีขันธ จว.ประจวบคีรีขันธ เมื่อวันที่ ๑๑ พ.ย.๖๓


ในรั้วสีเทา

INSIDE THE AIR FORCE ขาวทหารอากาศ ๙๖

น.อ.ภูศิษฏ ทิมเกิด ผบ.บน.๔๑ พรอมดวยทหารกองประจําการ พัน.อย.บน.๔๑ รวมกิจกรรมจิตอาสา พัฒนา กําจัดวัชพืช และพัฒนาคลองแมขา โดยมีระยะทางในการรวมพัฒนากวา ๑.๕ กม. ณ บริเวณ สะพานขามถนนมหิดล อ.เมือง จว.เชียงใหม เมื่อวันที่ ๒๕ พ.ย.๖๓

น.อ.รัชตภาคย ธรรมธีรศรี ผบ.บน.๕๖/ผอ.ศบภ.บน.๕๖ พรอมเจาหนาทีแ่ ละกําลังพล ใหความชวยเหลือ ผูประสบอุทกภัยจากเหตุการณเกิดนํ้าปาไหลหลากและนํ้าทวมขัง ณ พื้นที่หมู ๒ และหมู ๖ ต.สํานักแตว อ.สะเดา จว.สงขลา เมื่อวันที่ ๒๒ พ.ย.๖๓

น.อ.พานิช โพธิน์ อก ผบ.กกล.ทอ.ฉก.๙ นําขาราชการ กกล.ทอ.ฉก.๙ ใหการตอนรับ ศ.นพ.เกษม วัฒนชัย องคมนตรี ประธานกรรมการมูลนิธิ รพ.สมเด็จพระยุพราช พรอมคณะ มาเปนประธานพิธเี ปดการประชุม วิชาการ ครั้งที่ ๒๓ ประจําป ๒๕๖๓ ณ กกล.ทอ.ฉก.๙ จว.ปตตานี เมื่อวันที่ ๑๙ พ.ย.๖๓


ข่าวทหารอากาศ

97

¡Í§·Ñ¾ÍÒ¡ÒÈà·¤â¹âÅÂÕ·Ò§·ËÒà áÅÐÀÒáԨ㹡Òê‹ÇÂàËÅ×Í áÅкÃÃà·ÒÊÒ¸ÒóÀÑ ¾Ô·Ñ¡É ÃÑ¡ÉÒ ¾Ñ²¹Ò ÊÒ¹µ‹Í

à¾×่͹ํҾҡͧ·Ñ¾ÍÒ¡ÒÈä»ÊÙ‹¡Òû¯ÔºÑµÔÀÒáԨ䴌Í‹ҧªÒÞ©ÅÒ´ áÅÐÁÕ¤ÇÒÁÂÑ่§Â×¹ (Sustainable Smart Air Force) ร.อ.หญิง วิวัสวัน เปลงวิทยา

ภารกิ จ ด า นการบรรเทาสาธารณภั ย ของ ประเทศ ถือเปนภารกิจที่หนวยงานและภาคสวน ตางๆ ใหความสําคัญมีการระดมความรวมมืออยาง ตอเนื่อง ไมวาจะเปนหวงของการเตรียมความพรอม การเผชิญเหตุ และการฟนฟู กองทั พ อากาศ หนึ่ ง ในหน ว ยงานของรั ฐ ดานความมั่นคงที่พรอมดวยกําลังพล ยุทโธปกรณ และเทคโนโลยีตา ง ๆ เดินหนาสานตอนโยบายเรงดวน ของรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม ประจําป ๖๔

โดยมุงเนนแนวทางในการวางรากฐานการพัฒนา ทุกดานอยางสมดุล เพือ่ พัฒนาศักยภาพของประเทศ ใหพรอมเผชิญภัยคุกคามในรูปแบบตาง ๆ ที่อาจ ส ง กระทบต อ ความมั่ น คงและความเป น อยู  ข อง ประชาชน นําสูการปฏิบัติภารกิจไดอยางชาญฉลาด เช น การส ง เสริ ม การสร า งสรรค นวั ต กรรมต า ง ๆ จากเทคโนโลยี ท างการทหาร เพื่ อ นํ า ไปปรั บ ใช ในการดูแล และประเมินสถานการณของสาธารณภัย อันเกี่ยวของกับวิถีชีวิตของพี่นองประชาชน


98

ในห้วงปีทผี่ า่ นมา กองทัพอากาศได้นา� ระบบ เทคโนโลยีภมู สิ ารสนเทศ (Geographic Information System: GIS) ทีเ่ ป็นการบูรณาการของทัง้ อากาศยาน พร้อมอุปกรณ์ทางทหารและองค์ความรู้ต่าง ๆ จาก บุคลากรผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ซึ่งปกติใช้ส�าหรับ การบริหารจัดการและการเฝ้าระวังป้องกันอุทกภัย ในพื้ น ที่ ส นามบิ น น� า มาปรั บ ใช้ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ สูงสุดส�าหรับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในหลายพื้ น ที่ ข องประเทศ โดยเฉพาะเหตุการณ์ อุทกภัย ซึง่ เป็นภัยทีส่ ร้างความเสียหายและผลกระทบ สูงสุดของประเทศ กองทัพอากาศได้จบั มือกับจังหวัด น�าร่อง เพือ่ ทดลองและประเมินความเป็นไปได้ในการ น�าเทคโนโลยีทางทหารมาสนับสนุนหน่วยงานภาค พลเรื อ น เช่ น การน� า เทคโนโลยี เ ข้ า มาใช้ ใ นการ วางแผนบริหารและจัดการเชิงพื้นที่โดยการใช้ระบบ GIS ส�ารวจเส้นทางน�้าการสร้างแบบจ�าลองระดับน�้า และทิศทางการไหลของน�้ารวมถึงการจัดท�าแผนที่ ภาพถ่ายทางอากาศของพื้นที่เสี่ยงภัย เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อให้ทราบถึงบริเวณที่สมควรตั้งเป็นจุดรวมพล หรือพื้นที่ปลอดภัยส�าหรับชุมชนต่าง ๆ รวมไปถึง เรื่องของการวางแผนการดูแลพื้นที่น�้าท่วมซ�้าซาก ในจังหวัดให้มีความครอบคลุม และทันต่อระดับน�้า ในระยะต่าง ๆ โดยละเอียด นอกจากนั้นยังสามารถ ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดังกล่าวในเรื่องของการ วิเคราะห์พื้นที่ที่เหมาะสมในการสร้างแก้มลิงอีกด้วย ซึ่งผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมาออกมาเป็นที่น่าพอใจ

และได้ ข ยายขอบเขตการใช้ ง านไปยั ง ภารกิ จ อื่ น ที่กองทัพอากาศสามารถปฏิบัติงานได้เช่น ภารกิจ ส�ารวจสิ่งกีดขวางเส้นทางการไหลของน�้า ในพื้นที่ แม่นา�้ น้อย, แม่นา�้ เจ้าพระยา, คลองรังสิตประยูรศักดิ์ คลองประเวศบุรีรมย์ รวมถึงการส�ารวจสถานภาพ ปัจจุบันของเส้นทางลุ่มน�้ากุ่ม จากประตูระบายน�้า สุรสั วดี อ่างเก็บน�า้ หนองหาร จว.สกลนคร นอกจากนัน้ ยังมีการสร้างแบบจ�าลองทิศทางไหลของน�้าส�าหรับ การวางแผนบริหารจัดการพืน้ ทีเ่ พือ่ สร้างบ่อกักเก็บน�า้ รองรั บสถานการณ์ น�้าแล้ ง ณ กองบิ น ๒ ลพบุ รี (Wing 2 Model) และได้ต่อยอดองค์ความรู้ด้วยการ แลกเปลีย่ นทางวิชาการด้าน GIS กับกรมทรัพยากรน�า้ รวมทั้ ง การถ่ า ยทอดวิ ท ยาการการใช้ อ ากาศยาน ไร้คนขับขนาดเล็กสร้างแผนทีภ่ มู ปิ ระเทศแบบ ๓ มิติ (Photogrammetry) เพือ่ การส�ารวจทางภูมปิ ระเทศ ที่ได้มาตรฐานทางวิศวกรรมส�ารวจด้วย นอกจากนั้ น ยั ง มี ก ารปฏิ บั ติ ก าร ISR (Intelligence Surveillance and Reconnaissance) เพือ่ สนับสนุนการแก้ปญั หาหมอกควันและไฟป่าอีกด้วย เนื่ อ งจากที่ ผ ่ า นมามี ส ถานการณ์ ไ ฟป่ า เกิ ด ขึ้ น ใน หลายพื้นที่ นอกจากจะท�าให้พื้นที่ป่าถูกท�าลายแล้ว มลพิษทางอากาศก็เป็นปัญหาทีต่ ามมา กองทัพอากาศ ตระหนักถึงความส�าคัญของปัญหา จึงจัดอากาศยาน ไร้ ค นขั บ ร่ ว มปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ส� า รวจจุ ด ความร้ อ น จากการเผาไหม้ ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ และ บิ น ลาดตระเวนตรวจสอบการลั ก ลอบเผาป่ า


ข่าวทหารอากาศ

เพื่อสนับสนุนภารกิจการแก้ปัญหาหมอกควันและ ไฟป่า และป้องกันการเผาซ�้าในพื้นที่ที่เกิดความร้อน มากทีส่ ดุ หรือทีเ่ รียกว่า ปฏิบตั กิ าร ISR (Intelligence Surveillance and Reconnaissance) โดยการ ปฏิบัติที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง ใช้ระบบตรวจจับ หรือ Sensor จากอากาศยานไร้คนขับ และข้อมูล จากดาวเทียมเพื่อการหาจุดความร้อนที่เป็นแหล่ง ก�าเนิดไฟป่า หรือ Hot Spot โดยท�าการบูรณาการ สัญญาณภาพจากระบบตรวจจับทุกส่วน รวบรวม ส่ ง มายั ง ส่ ว นบั ญ ชาการและควบคุ ม ในลั ก ษณะ Near Real Time เพื่อให้ผู้บัญชาการสถานการณ์ และหน่วยปฏิบตั ใิ นพืน้ ทีท่ ราบถึงพิกดั และเข้าควบคุม ไฟป่าได้อย่างรวดเร็ว และแม่นย�าซึ่งข้อมูลดังกล่าว จะถู ก น� า ไปใช้ ป ระโยชน์ โ ดยกระทรวงทรั พ ยากร ธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม ซึ่ ง เจ้ า หน้ า ที่ ข องกรม อุทยาน และกรมป่าไม้ จะวางแผนจัดชุดดับไฟป่า เข้าไปยังพื้นที่รับผิดชอบ ซึ่งจะท�าให้การดับไฟป่า แต่ ล ะครั้ ง นั้ น ตรงจุ ด และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้ น ทั้งนี้ ความส�าคัญของ Video Down Link แบบ Near Real Time คือข้อมูลที่ยืนยันสภาพพื้นที่เกิด ไฟป่ า เพื่ อการประสานงานให้ก�าลังภาคพื้ นและ อากาศยานเข้ า ปฏิ บั ติ ก ารควบคุ ม ไฟป่ า ในส่ ว น การจัดท�าแฟ้มเป้าหมายนั้นเป็นประโยชน์ในกรณีที่ พืน้ ทีไ่ ฟป่านัน้ ยังไม่ดบั หรือยังควบคุมไม่ได้ ซึง่ จะต้อง น�ามาวางแผนควบคุมในวันถัดไป ทั้งนี้ อากาศยาน ไร้คนขับ สามารถตรวจจับจุดความร้อนทีเ่ ป็นลักษณะ

99

ไฟที่ ม อด แต่ ยั ง มี เ ชื้ อ ไฟที่ มี ข นาดเล็ ก ได้ ท� า ให้ เจ้าหน้าที่สามารถท�าการดับไฟป่าได้ ๑๐๐% จากภารกิจการดับไฟป่าครั้งล่าสุดที่พบเจอ ปัญหาของเจ้าหน้าทีใ่ นการผสมสารดับไฟป่า ซึง่ ในแต่ละ ภารกิจมีความเร่งด่วน และใช้ปริมาณสารจ�านวนมาก จึงมีนโยบายให้ศนู ย์วจิ ยั พัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การบินและอวกาศ กองทัพอากาศ ตลอดจนสายวิทยาการ ทีเ่ กีย่ วข้องร่วมกันบูรณาการองค์ความรู้ เพือ่ ท�าการวิจยั และพัฒนาอุปกรณ์ขนึ้ เพือ่ แก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงเกิดเป็น นวัตกรรม “เครือ่ งผสมสารอัตโนมัตใิ นภารกิจยับยัง้ ไฟป่า” มีคณ ุ สมบัตใิ นการผสมสารยับยัง้ ไฟป่าสูตร Firewall II และ PHOS-CHEK G75 ได้ครั้งละ ๓,๐๐๐ ลิตร สามารถปฏิบัติได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น ซึ่งจะช่วย บรรเทาความเดือดร้อนให้แก่ประชาชน รวมทั้งลด ความเสียหายอันเนื่องมาจากไฟป่า โดยใช้ทรัพยากร ของกองทัพอากาศ รวมถึงที่ได้รับการสนับสนุนจาก ภาครัฐและเอกชนให้เกิดประโยชน์สูงสุดที่สุด ทัง้ นีก้ องทัพอากาศยังคงมุง่ มัน่ ปฏิบตั ภิ ารกิจ ด้านบรรเทาสาธารณภัยอย่างต่อเนื่อง โดยก�าชับ ให้ศนู ย์บรรเทาสาธารณภัยทัง้ ส่วนกลางและต่างจังหวัด เร่ ง ด� าเนิ นการวางแผน รวมถึ ง การบู ร ณาการกั บ ภาคพลเรือน เพื่อเตรียมการเผชิญเหตุหรือซักซ้อม การปฏิบัติร่วมกันและออกปฏิบัติภารกิจได้อย่าง ทันท่วงที ตามนโยบายท่านผู้บัญชาการทหารอากาศ ที่ว่า “ใจถึงใจไปทันที”



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.