มนุษยสาร

Page 1


จากใจคณบดี : ๓ เท่ากับ ๑ กับภารกิจการสอน สวัสดีคณาจารย์ ทุกท่านครับ การปฏิบตั ิหน้าที่หรื อการทาหน้าที่ของครู อาจารย์ที่ดีและมี ประสิ ทธิภาพนั้นดูเหมือนว่าจะไม่ยากเกินความสามารถของเราในฐานะอาจารย์ระดับอุดมศึกษาแต่ ทว่าผลลัพธ์หรื อผลิตผลที่เราได้ฟมู ฟักตลอดระยะเวลาสี่ ปี สามารถสะท้อนความเอาจริ งเอาจังในการ ทาหน้าที่ดงั กล่าวได้อย่างดีจากเสียงสะท้อนจากตัวบัณฑิต พ่อแม่ผปู ้ กครองที่ส่งลูกมาเรี ยน และผูใ้ ช้ บัณฑิต ส่วนผูท้ ี่รู้ดีที่สุดก็คงไม่พน้ ตัวเราในฐานะผูใ้ กล้ชิด คอยประสิ ทธิประสาทวิชาให้กบั นักศึกษา นัน่ เอง ย่อมเข้าใจดีวา่ บัณฑิตที่เราผลิตออกไปนั้นมีคุณภาพมากน้อยเพียงใด ส่วนคนอื่น ๆ ที่กล่าวมา นั้นรวมทั้งนักศึกษาส่วนใหญ่ก็อาจไม่สามารถชี้ได้อย่างชัดเจนว่าตัวบัณฑิตหรื อนักศึกษาที่จบจาก แต่ละสาขาวิชามีความสามารถเป็ นที่ยอมรับในระดับใด “รู้แต่ ว่าอดทน อดกลั้น และสู้ งานแม้ จะได้ เงินไม่ เป็ นไปตามวุฒิการศึกษาทีส่ าเร็จก็ตาม” คาพูดดังกล่าวคงยากที่จะรับได้สาหรับครู อาจารย์ที่ต้ งั ใจจริ งต่ออนาคตของลูกศิษย์ ในฐานะครู อาจารย์ ก็คงปฏิเสธไม่ได้วา่ วิชาความรู ้ สังคมที่หลากหลายไร้พรมแดน รวมทั้งวิทยาการที่ล้ าหน้าทันสมัยของระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้ครู อาจารย์ ต้องตระหนักว่า ความรู ้ที่สอนให้กบั ศิษย์ ต้องทันต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว และต้องทาอย่างไรให้ ความรู ้ดงั กล่าวเข้ามาเป็ นส่วนหนึ่งของการเรี ยนการสอนเพื่อเสริ มสร้างความเข้มแข็งด้านความรู ้และทักษะทางปั ญญาในการพัฒนาชีวติ ของ นักศึกษาเพื่อต่อสูก้ บั สังคมพลวัตรในการยังชีพและพัฒนาชุมชนและสังคมที่เราอยูใ่ ห้ยงั่ ยืนและสมศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์ ต่อไป การปฏิรูป การทางานในฐานะครู อาจารย์ ที่เป็ นที่กล่าวขานในยุคปั จจุบนั ก็คือ “การปฏิรูปการทางาน ๓ = ๑” สิ่ งที่ครู อาจารย์ ต้องปฏิบตั ิสามอย่าง ประกอบด้วย การเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ การบริ การวิชาการและการทาวิจยั ถ้าทาสามสิ่ งดังกล่าวอย่างต่อเนื่องและเป็ นประจาก็ เท่ากับหนึ่งหรื อ (๓ = ๑) นัน่ เอง การเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญมีอยูห่ ลายวิธีแล้วแต่ครู อาจารย์จะเลือกให้ตรงกับจุดประสงค์ เนื้อหา หรื อลักษณะธรรมชาติของ แต่ละวิชาหรื อกิจกรรมต่าง ๆ ที่ตอ้ งการให้เกิดกับผูเ้ รี ยน เป็ นที่ทราบโดยทัว่ กันว่ามหาวิทยาลัยมีนโยบายและใช้เป็ นแนวปฏิบตั ิในการจัดการเรี ยน การสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญแบบใฝ่ รู ้ (Active Learning) ซึ่งก็ถือว่าเป็ นวิธีที่มีประสิ ทธิภาพส่งผลต่อการเรี ยนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และวิธี สอนที่นิยมใช้กนั อย่างแพร่ หลายอีกหลายวิธีเช่น Problem Based Learning (PBL) Professional Learning Competency (PLC) Project Based Learning เป็ นต้น การบริ การวิชาการ (Academic Ser-vices) ก็ถือว่าเป็ นสิ่ งที่ครู อาจารย์ ต้องให้นกั ศึกษาได้มีประสบการณ์ในการมีส่วนร่ วมในการ ให้ความรู ้เพื่อให้เกิดการเข้าใจอย่างลึกซึ้งในศาสตร์ที่ศึกษา (Internalization) หรื อความรู ้ที่ได้ศึกษามาประยุกต์ ใช้กบั การบริ การวิชาการ หรื อครู อาจารย์ นาสิ่ งที่ได้จากการบริ การวิชาการผ่าน/ถ่ายโอนให้กบั นักศึกษาได้วเิ คราะห์และสังเคราะห์เพื่อเกิดทักษะทางปั ญญาต่อไป ส่วนสุดท้ายคง หนีไม่พน้ การทาวิจยั เพื่อค้นหาความจริ งด้านวิชาการผ่านมือนักศึกษาเกิดการเรี ยนรู ้และได้องค์ ความรู ้ต่อยอดต่อไป ก็หวังเป็ นอย่างยิ่งว่าเราชาว มนุษย์ ศาสตร์ฯ ในฐานะผูท้ ี่ทาหน้าที่ประสิ ทธิประสาทวิชาเพื่อนาพาลูกศิษย์ ของเราให้กา้ วทันและปรับตัวอยูไ่ ด้อย่างมีความสุขกับโลกแห่งการ เปลี่ยนแปลงได้นานเท่านานคงต้องคิดถึงการปฏิรูปการทาหน้าที่ครู อาจารย์ดว้ ยสูตร ๓ = ๑ ดังกล่าวและแน่นอนที่สุด “ผลคือ เราในฐานะครู อาจารย์ ก็ต้องเกิดความภาคภูมใิ จในการทาหน้ าทีอ่ ย่ างดีทสี่ ุ ด ส่ วนศิษย์ของเราก็คงยืนหยัดอยู่ได้ ในสังคมอย่ างภาคภูมใิ จกับอาจารย์ และสถาบันที่ มีคุณภาพอย่ างมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ”

ดร.ประจักร์ รอดอาวุธ คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ๒


หม่อมหลวงบ ุญเหลือ เทพยส ุวรรณ บ ุปผางามแห่งย ุค บ ุคคลสาคัญของโลก “วรรณคดี ที่ แท้ แ ล้ วก็คือ โลกจำลองชี วิ ต มนุ ษ ย์ ชี วิ ต นั้ น เรี ยนรู้ ได้ หลำยแง่ มุม หลำกมุม มอง กำรตี ค วำม วรรณคดี จึ ง ไม่ ค วรมี ข้ อ บั งคั บ หรื อต ำรำที่ ยึ ด ไว้ เป็ นแบบฉบับ ตำยตั ว เหมื อ นสู ต รคณิ ต ศำสตร์ ” เป็ นแนวทางการเรี ย น การสอนวรรณคดี ที่ ลูก ศิ ษ ย์ลูก หารุ่ น แล้ว รุ่ น เล่ าได้รับ การปลูก ฝั ง จากบรมครู ผูเ้ ป็ นนักปราชญ์แ ห่ ง วงวรรณกรรมไทย นามว่า หม่ อ มหลวงบุ ญ เหลื อ เทพยสุ ว รรณ มาตลอด ตัว ผูเ้ ขี ยนเองแม้จ ะเกิ ด ไม่ท ัน ได้มี ว าสนาเป็ นลู ก ศิ ษ ย์ของท่ า น

อนัญญา วารีสอาด

แต่ก็ได้รับการปลูกฝังแนวคิดนี้ของท่านมาตลอดจากบรรดาครู ของผูเ้ ขียนที่เคยเป็ นลูกศิษย์ของท่าน และวันนี้เมื่อผูเ้ ขียนมาเป็ นครู ก็ยงั คงใช้แนวทางของท่าน ในการสั่งสอนลูกศิษย์เช่นกัน แต่สิ่งหนึ่งที่ผเู้ ขียนพบว่ามีแง่มุมความงามที่หลากหลายไม่ต่างจากวรรณคดีก็คือตัวของ “หม่ อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ” ผูเ้ ป็ นบรมครู ของเรานี่เอง ฉากชีวติ ของหม่อมหลวงบุญเหลือเริ่ มต้นขึ้นเมื่อวันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๔๕๔ แต่เนื่องจากหม่อมนวล มารดาของท่านจากไปตั้งแต่ท่านอายุได้เพียง ๕ ขวบ ท่านจึงเป็ นลูกสาวที่เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์ววิ ฒั น์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร) ใส่ ใจดูแลเป็ นพิเศษ การใกล้ชิดกับบิดาและการเติบโตมาใน วังบ้ ำน หม้ อ สถานที่ที่ได้รับสมญาว่า “กรมศิลป์ ย่ อย ๆ” เพราะเหตุวา่ เป็ นแหล่งรวมของศิลปวัฒนธรรม โดยเฉพาะอย่างยิง่ การแสดงละคร ก็ทาให้หม่อมหลวงบุญ เหลือซึมซับความเป็ นศิลปิ น ความเป็ นคนช่างสังเกต และความเป็ นนักวิจารณ์มาอย่างไม่รู้เนื้อรู้ตวั ตั้งแต่วยั เยาว์ ซึ่งนัน่ เป็ นพื้นฐานที่ดีสาหรับท่านในการ เรี ยนต่อในระดับปริ ญญาตรี ที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การเรี ยนต่อระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยมินเนโซตา สหรัฐอเมริ กา และการ ทางานในฐานะนักเขียน นักวิชาการ และการเป็ นอาจารย์ ดังจะเห็นได้วา่ ท่านสามารถสวมหัวโขนสองใบคือเป็ นทั้ง นักเขียน และ นักวิจำรณ์ ไปพร้อม ๆ กันได้อย่างสบาย ๆ ซึ่งเป็ นสิ่ งที่นอ้ ยคนนักจะทา ได้ ผลงานการประพันธ์ของท่านมีความหลากหลาย ทั้งงานวิชาการอย่างเช่น หัวเลีย้ วของวรรณคดีไทย และ วิเครำะห์ รสวรรณคดี ตาราที่ท่านตั้งใจแต่งไม่ให้ เป็ นตารา แต่ก็กลายเป็ นตาราที่ลูกศิษย์ลูกหาได้ใช้เป็ นแนวทางในการศึกษาวรรณคดีมาแล้วรุ่ นต่อรุ่ น จนได้รับการคัดเลือกให้เป็ นหนึ่งในหนังสื อดีร้อยเล่มที่ คนไทยควรอ่าน นวนิยาย เช่น เรื่ องสะใภ้ แหม่ ม ที่บอกเล่าเรื่ องราวของสังคมไทยในยุคสมัยที่ความเจ็บปวดจากการถูกตะวันตกคุกคามยังคงไม่เลือนหายไป ความเป็ น “แหม่ม” เป็ นสิ่ งที่น่ารังเกียจ ไม่ใช่เป็ นความอินเทรนด์อย่างทุกวันนี้ จึงกลายเป็ นศึกหนักของ “แหม่ม” ผูเ้ ข้ามาเป็ นสะใภ้คนไทยในห้วงเวลาของ ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม และ เรื่ องทุติยวิเศษ ที่นาเสนอภาพสังคมในช่วงเปลี่ยนแปลงการปกครอง หม่อมหลวงบุญเหลือตั้งคาถามว่าในเมื่อผูห้ ญิงก็คือ เมีย แม่ และพี่สาวของผูช้ าย เหตุใดผูห้ ญิงจึงมีส่วนร่ วมในทางการเมืองไม่ได้ เรื่ องสั้น เช่น ฉำกหนึ่งในชี วิต ซึ่งแต่งเป็ นทานองหนังสื อรวมเรื่ องสั้นหลาย เรื่ อง ๆ ของท่าน เรื่ องคนถูกคนผิด ซึ่งภายหลังได้รับคัดเลือกจาก The School of Oriental and African Studies (SOAS), University of London ให้เป็ น หนังสื ออ่านประกอบสาหรับนักศึกษาและอาจารย์ในสถาบันด้วย เป็ นต้น อย่างไรก็ตาม หนังสื อที่สะท้อนตัวตนของท่านได้ดีที่สุด เห็นจะเป็ น ควำมสำเร็ จและควำมล้ มเหลว หนังสื อที่ท่านแต่งขึ้นเพื่อฉลองวันเกิดครบ ๕ รอบของท่าน ท่านเล่าไว้วา่ ความสาเร็ จในชีวติ ของท่าน คือการเป็ นครู ที่ดี ที่มีลูกศิษย์ลูกหารักใคร่ ไม่ใช่การใฝ่ หาความสาเร็ จในยศศักดิ์เงินทองเหมือนคน ทัว่ ไป ดังนั้นแม้ท่านจะตีความชีวติ การรับราชการของท่านตามเกณฑ์ของสังคมที่มองว่า การที่ท่านเดี๋ยวลาออกจากราชการ เดี๋ยวกลับมารับราชการใหม่อยู่ บ่อยครั้ง จนต้องจบชีวติ ราชการด้วยเงินบานาญอันน้อยนิดจนน่าใจหาย ว่าเป็ น ควำมล้ มเหลว แต่นนั่ ก็ไม่สู้จะสาคัญนัก เพราะความสุ ข ความสาเร็ จของท่าน ไม่ได้วดั กันที่ลาภ ยศ เงินตรา แต่อยู่ที่การได้ทางานที่ท่านรักและเป็ นประโยชน์ต่างหาก ชีวติ ของหม่อมหลวงบุญเหลือปิ ดฉากลงเมื่อวันที่ ๗ มิถุนายน ๒๕๒๕ แต่ถึงแม้บุปผางามดอกนี้จะจากไป แต่เมล็ดพันธุ์ทางภูมิปัญญาของท่านก็ ยังคงงอกงามต่อไป เมื่อลูกศิษย์ลูกหาได้ร่วมกับนายแพทย์ชม เทพยสุ วรรณ สามีของท่าน ก่อตั้ง กองทุนหม่ อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ ขึ้นมาเพื่อสื บ สานปณิ ธานของท่านในเรื่ องการศึกษาและวรรณกรรมต่อไป ยิง่ กว่านี้ล่าสุ ดด้วยคุณูปการที่หม่อมหลวงบุญเหลือมีต่อวงการศึกษา วรรณกรรม และการพัฒนาสตรี ก็ทาให้ท่านได้รับการยกย่องจาก ยูเนสโก ให้ เป็ น บุคคลสำคัญของโลกทำงด้ ำนกำรศึกษำ วัฒนธรรม ภำษำและวรรณคดี กำรส่ งเสริ มสถำนภำพสตรี และกำรส่ งเสริ มสันติภำพ เมื่อวันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ ที่ผา่ นมา


“ความมัน่ คงแห่งชาติ และ ย ุทธศาสตร์ของประเทศ” ภายหลังจากการลงพื้นที่ของนายกรัฐมนตรี พร้อมคณะ ว่าด้วยเรื่ องของการบริ หารจัดการน้ า หรื อที่เรี ยกกัน ว่าเป็ นการ “ทัวร์นกขมิ้น” ซึ่งเริ่ มจากจังหวัดอุตรดิตถิ์จนถึงจังหวัดปทุมธานี รวมระยะทาง 1,042 กิโลเมตร เพื่อเป็ น การรับทราบข้อมูลจากการทางานร่ วมกันระหว่างคณะยุทธศาสตร์เพื่อวางระบบการบริ หารจัดการทรัพยากรน้ า หรื อ กยน.นัน่ เอง กับผูแ้ ทนจังหวัดของแต่ละจังหวัด รวมถึงการรับฟังปั ญหาของแต่ละเขตพื้นที่ อีกทั้งการวางแนวทาง และเตรี ยมความพร้อมในการบริ หารจัดการน้ าให้เกิดประสิ ทธิภาพ ถือเป็ นการทางานร่ วมกันเชิงบูรณาการในระดับ

บารมีบุญ แสงจันทร์

ส่ วนกลางและส่วนภูมิภาค สาหรับยุทธศาสตร์ ของประเทศทางด้านภูมิศาสตร์ หากจะว่าไปแล้ว บริ เวณพื้นที่ต้ งั แต่จงั หวัดนครสวรรค์บา้ นเรา ที่ เป็ นจุดกาเนิ ดของแม่น้ าเจ้าพระยา เรื่ อยไปจนถึ งจังหวัดสมุทรปราการ ซึ่ งเป็ นจังหวัดสุ ดท้ายก่อนที่ จะไหลลงสู่ อ่าวไทย เปรี ยบเสมื อนเป็ น “ดินแดนหัวใจ” (Heart Land) หรื อเขตพื้นที่ที่มีความสาคัญทางยุทธศาสตร์ มีผลต่อการพัฒนาประเทศ จากอดีตสู่ ปัจจุบนั แม่น้ าเจ้าพระยาเป็ น แหล่งหล่อเลี้ยงที่ผสมกลมกลืนระหว่างผูค้ นแต่ละช่วงเวลากับสายน้ า กลายเป็ นวิถีชีวติ นามาซึ่งความเจริ ญเติบโตทางสังคมและประเทศ สาหรับปี ที่ผา่ นมา อาจจะเรี ยกว่าเป็ น “ฮาร์ ทแลนด์ แสนระทม” ก็วา่ ได้ ที่ประสบกับสภาพปั ญหาหรื อมหาอุทกภัยครั้งใหญ่ เริ่ มตั้งแต่ทางตอนบน ต่อด้วย ตอนกลาง และตอนปลายของแม่ น้ าเจ้า พระยา ส่ ง ผลต่ อ ภาคส่ ว นต่ า งๆ ไม่ ว่า จะเป็ นภาคการผลิ ต ระบบเศรษฐกิ จ ทั้ง ภาคการเกษตรและ ภาคอุตสาหกรรม โดยเฉพาะแหล่งผลิตวัตถุดิบที่เปรี ยบเสมือนเป็ นต้นน้ าของสายการผลิต ที่ดิน ผืนนา ไร่ สวนผลผลิต ต่างๆจมอยูใ่ ต้บาดาล ต่อ ด้วยนิคมอุตสาหกรรม โรงงานหรื อแหล่งประกอบการต่างๆที่ประสบกับภัยธรรมชาติดว้ ยเช่นกัน สุ ดท้ายคือผูบ้ ริ โภคสิ นค้าหรื อผูร้ ับบริ การ หาก จะว่าไปแล้วก็คือคนส่วนใหญ่ของประเทศที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดจากเหตุการณ์ในครั้งนี้ สาหรับเหตุการณ์ที่เกิดในช่วงเวลาที่ไล่เลี่ยกัน คือประเด็นในเรื่ องทางการเมือง จากกรณี เรี ยกร้องและยื่นข้อเสนอของกลุ่ม “นิ ติราษฎร์ ” ให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ มีหลายฝ่ ายจับกลุ่มพูดคุยและวิพากษ์กนั ไปต่างๆนานา เช่น อาจจะนาไปสู่การเข้ามาแทรกแซงทางการเมืองของบรรดา เหล่าทหารหรื อกองทัพก็เป็ นได้ แม้ก่อนหน้านี้ จะได้รับการยืนยันจากผูน้ าเหล่าทัพแล้วว่าจะไม่มีการปฏิ วตั ิหรื อรัฐประหารแต่อย่างใด หาก เหตุการณ์ดงั กล่าวไม่ส่งผลกระทบต่อสถาบัน สาหรั บการแก้ไขรั ฐธรรมนู ญ ซึ่ งก่ อนหน้านี้ มีการมองกันว่าเป็ นเรื่ องของระยะเวลาว่ามีความ เหมาะสมหรื อไม่ เพราะประเทศเพิ่งผ่านพ้นวิกฤตอันเนื่ องมาจากมหาอุทกภัยครั้ งใหญ่มาไม่เท่ าไหร่ ก็ควรที่ จะฟื้ นฟูเยียวยาให้กับผูไ้ ด้รั บ ผลกระทบก่อนมิใช่หรื อ แต่เมื่อผ่านมาสักระยะหนึ่งก็มองกันว่าหากมีการแก้ไขจริ ง จะใช้คณะกรรมการจากภาคส่ วนใดที่จะเข้ามามีส่วนในการ แก้ไข โดยเฉพาะในส่วนของสมาชิกสภาร่ างรัฐธรรมนูญ บางส่ วนเสนอว่าควรจัดให้มีการเลือกตั้งจากภาคประชาชนทั้งหมด แต่บางส่ วนมองว่า นอกจากมาจากภาคประชาชนในรายจังหวัดแล้ว ควรจะมาจากผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านการเมือง และนักวิชาการด้านรัฐศาสตร์ และนิ ติศาสตร์ ล่าสุ ด ประเด็นของข้อเรี ยกร้องที่นาไปสู่การยืน่ ข้อเสนอ โดยเฉพาะประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 ว่ามีความเหมาะสมหรื อไม่ ที่บางฝ่ ายมองว่าเป็ น เรื่ องที่ละเอียดอ่อน โดยต้องมีการรับฟังความคิดเห็นจากทุกภาคส่ วน บ้างก็มองว่าเป็ นเรื่ องที่ไม่สอดรับกับวิสัยของคนไทย หรื อมองว่าเป็ นเรื่ อง ความแตกต่างของกระบวนการในการบ่มเพาะความเป็ นประชาธิปไตยแต่ละพื้นที่ ที่มีลกั ษณะไม่เหมือนกัน ครับอย่างไรก็ตาม ขอให้ทุกภาคส่ วน ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ขอให้ยดึ ผลประโยชน์สาธารณะ รวมถึงความภาคภูมิใจในเกียรติภูมิ, ความเสี ยสละของบรรพบุรุษหรื อความเป็ นมาของการก่อ ร่ างสร้างรัฐ เพราะสิ่ งเหล่านี้จกั นามาซึ่ง “ความมัน่ คงแห่งชาติ” เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไม่วา่ จะเป็ นเรื่ องของการเรี ยกร้องและมีเสนอให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนู ญ กับการลงพื้นที่ของนายกรัฐมนตรี พร้อมทั้ง คณะ เรื่ องของการบริ หารจัดการน้ ากับการพัฒนาประเทศ ซึ่งเรื่ องหนึ่งเป็ นเรื่ องของ “ความมัน่ คง” และอีกเรื่ องหนึ่งเป็ นเรื่ องของ “ยุทธศาสตร์ ” ที่ ผ่านมาอาจเป็ นการวัดกระแสเท่านั้นเองว่า จะ“เอา” หรื อ “ไม่เอา” กับ “พอใจ” หรื อ “ไม่พอใจ”กับทั้งสองเหตุการณ์ ซึ่ งถือเป็ นภาระของรัฐบาลที่ จะต้องดาเนิ นการอย่างรอบด้าน จะว่าไปหากมองถึงระยะยาวกับสภาพปั ญหาที่กาลังก่อตัว เรื่ องหนึ่ งเป็ นเรื่ องของ “การเมือง”ส่ วนอีกเรื่ องหนึ่ ง เป็ นเรื่ องของ “ธรรมชาติ” อาจจะส่งผลกระทบที่แตกต่างกัน ซึ่งขึ้นอยูก่ บั สภาพของปั ญหาและระดับของความรุ นแรงก็เป็ นได้ (ขอบคุณครับ) ๔


โวหารภาพพจน์ในเพลงไทยล ูกทงุ่ ของ “ชาย เมืองสิงห์” ตอนที่ ๑ บทนา ตั้งแต่อดีตจนถึงปั จจุบนั “เพลง” มีบทบาทมากในวิถีชีวติ ของคนไทย อยูค่ ูก่ บั คนไทยมานาน เป็ นเครื่ อง ผ่อนคลายอารมณ์ความรู ้สึกและตอบสนองอารมณ์พ้นื าานของมนุษย์ได้เป็ นอย่างดี ไม่วา่ จะเป็ นความรู ้สึกรัก โกรธ เสี ยใจ ดีใจ บางครั้งเพลงก็ใช้เป็ นสื่ อบอกถึงความรู ้สึกต่าง ๆ ได้ ปั จจุบนั แนวเพลงต่าง ๆ เกิดขึ้นมากมาย อย่างไรก็ ตามสิ่ งสาคัญที่สุดของเพลงหนึ่ง ๆ ก็คือเนื้อร้อง เนื้อร้องของเพลงที่ดีและได้รับความนิยมจะต้องใช้ภาษาที่สละสวย

สุ กญ ั ญา คงสู น

สื่ ออารมณ์ความรู ้สึกได้ชดั เจน และมีเพลงจานวนมากมายที่ใช้ภาพพจน์ (figures of speech) นาเสนอเนื้อร้อง ทาให้ผฟู ้ ังเห็นภาพโดยไม่ตอ้ งกล่าว ออกมาตรงๆ ซึ่งนับว่าเป็ นแง่งามของภาษาไทยอย่างหนึ่งที่มีเสน่ห์ชวนให้ผฟู ้ ังหลงใหลและทาให้เพลงนั้นเป็ นที่นิยมมากขึ้น เพลงลูกทุ่งมีบทบาทและอยูค่ ู่กบั คนไทยมานาน และเนื้ อเพลงลูกทุ่งที่ได้รับความนิ ยมก็ใช้ภาษาที่สละสลวย มีการใช้ภาพพจน์เพื่อให้ เกิดจินตภาพและสื่ ออารมณ์ความรู ้สึกอย่างชัดเจน เพลงลูกทุ่งเป็ นที่นิยมและติดหูคนไทยจนเรี ยกได้วา่ เป็ นเอกลักษณ์ที่สาคัญยิง่ ของชาติ เพลงลูกทุ่งไทยของ ชาย เมืองสิ งห์ ศิลปิ นแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง นักร้อง-นักแต่งเพลงลูกทุ่ง ปี พ.ศ. ๒๕๓๘ นับว่ามีบทบาท สาคัญมากในวงการเพลงลูกทุ่งไทย ผลงานการประพันธ์เพลงของท่าน ทั้งแต่งเองร้องเอง และแต่งให้ผอู ้ ื่นร้องมีจานวนมากกว่า ๑,๐๐๐ เพลงด้วยกัน และหลายเพลงก็ได้รับรางวัลมากมาย เช่นเพลงทุกข์ร้อยแปด, พ่อลูก อ่อน, ทาบุญร่ วมชาติ, ลูกสาวใครหนอ, มาลัยดอกรัก เป็ นต้น สาหรับบทความนี้ใช้เกณฑ์การวิเคราะห์โวหารภาพพจน์ของ วิภา กงกะนันทน์ (๒๕๓๓ : ๓๓) ซึ่ งได้ให้ความหมายของภาษาภาพพจน์ ว่า ภาพพจน์ (figures of speech) หมายถึงถ้อยคาที่เรี ยบเรี ยงอย่างใช้โวหาร ไม่กล่าวอย่างตรงไปตรงมาทั้งนี้ โดยมีเจตนาให้มีประสิ ทธิ ผลต่อความ เข้าใจและความรู ้สึกยิง่ ขึ้นกว่าการใช้ถอ้ ยคาบอกเล่าตามธรรมดา โดยภาพพจน์แต่ละชนิดมีลกั ษณะดังนี้ ๑. ภาพพจน์แบบอุปมา (simile) เป็ นโวหารที่ เปรี ยบเที ยบของสองสิ่ งที่ ไม่จาเป็ นต้องนามาเปรี ยบกันว่าเหมือนกัน คาที่ ผูใ้ ช้โวหาร ประเภทนี้ใช้ในการเปรี ยบเทียบ คือ คาว่า เหมือน คล้าย ดุจ ดูราว กล ประหนึ่ง เพียง ดัง่ ราวกับ เฉก ฯลฯ (วิภา ๒๕๓๓: ๔๐) เช่น - “พีเ่ ป็ นผู้แพ้ เหมือน แพอับปาง ต้ องแรมร้ างหาทางไม่ เจอ” (เพลงกิ่งทองใบหยก)  จากเนื้ อเพลงกิ่งทองใบหยกในท่อนนี้ มีการเปรี ยบเทียบว่าตนเองเป็ นเสมือนแพที่ อบ ั ปางหรื อแพที่แตก ย่อมเคว้งคว้างและไร้ หนทางที่จะดาเนินต่อไป เพราะเนื้อหาในเพลงนี้เป็ นเรื่ องราวเกี่ยวกับชายที่ผิดหวังจากความรัก เพราะหญิงที่ตนรักไปแต่งงานกับคนอื่นที่มีาานะ ดีกว่า ดังนั้นชายผูน้ ้ ีจึงยอมเสี ยสละและเป็ นผูแ้ พ้ และยอมจานนในความพ่ายแพ้ในที่สุด เพราะเห็นว่าทั้งคู่ก็เหมาะสมกันราวกับกิ่งทองใบหยก - “หลงรักน้ องอัดแน่ นในอก เหมือน ตกขุมนรกหัวอกแทบพัง” (เพลงลูกสาวใครหนอ)  จากเนื้ อ เพลงลู ก สาวใครหนอในท่ อนนี้ มี ก ารเปรี ยบเที ย บเวลาที่ ค นเรามี ค วามรั ก หรื อ หลงรั ก ใครสัก คน มัน ย่อ มกระวน กระวายทรมานใจ อยากพบเจออยากเห็นหน้าอยูต่ ลอดเวลา มันเป็ นความรู ้สึกที่ตราตรึ งอยูใ่ นหัวใจเปรี ยบเสมือนการตกนรกที่มนั ร้อนรุ่ มอยู่ทุก เวลา ๒. ภาพพจน์แบบอุปลักษณ์ (Metaphor) เป็ นโวหารที่เปรี ยบเทียบของสองสิ่ งที่ไม่จาเป็ นต้องนามาเปรี ยบเทียบกันว่าเป็ นสิ่ งเดียวกัน หรื อเท่ากันทุกประการ โดยใช้คาว่า “เป็ น” “เท่า” “คือ” ในการเปรี ยบเทียบ (วิภา ๒๕๓๓: ๓๓) เช่น - “เจ้ าอ่ อนวัยไร้ มารยา เป็ น หงส์ อยู่ฝูงกาค่ าควรไฉน” (เพลงแม่สื่อแม่ชกั )  จากเนื้ อ เพลงแม่ สื่ อ แม่ ช ัก ในท่ อ นนี้ จะเห็ น ว่า มี ก ารเปรี ย บเที ย บโดยใช้ค าว่า “เป็ น” มาเป็ นค าเชื่ อ มเปรี ย บ และมี ก าร เปรี ยบเทียบผูห้ ญิงที่อายุยงั น้อยว่าไม่มีเล่ห์เหลี่ยมมารยาแต่อย่างใด ผิดกับบุคคลที่มีเล่ห์เหลี่ยม คอยแต่หลอกลวง เปรี ยบเป็ นหงส์ที่อยูใ่ นฝูง กา ย่อมมีสีที่มีความแตกต่างกันมาก เพราะหงส์น้ นั มีสีขาว มีความงดงาม ส่วนกานั้นมีสีดา ไม่มีสง่าราศี ๕


- “เอาลานาวานั้น เป็ น ม่ านบังต่ างเรือนและเหย้ า” (เพลงนาวาสวรรค์)  จากเนื้ อเพลงนาวาสวรรค์ในท่อนนี้ จะเห็ นว่ามีการเปรี ยบเที ยบโดยใช้คาว่า “เป็ น” มาเป็ นคาเชื่ อมเปรี ยบ ใช้การเปรี ยบเที ยบ โดยเอาเรื อมาเปรี ยบเป็ นม่านและเป็ นบ้านเรื อนที่อยูอ่ าศัย เพลงนาวาสวรรค์น้ ี เป็ นการใช้จินตนาการของคนแต่งเพลงที่กาลังล่องเรื ออยู่ แต่อยาก ให้บนเรื อนั้นมีหญิงที่ตนรักอยูด่ ว้ ย จึงเปรี ยบเรื อเป็ นม่านและบ้านเรื อนซึ่งใช้เป็ นที่อยูอ่ าศัยได้ ๓. ภาพพจน์แบบนามนัย (Metonymy) การใช้โวหารแบบนี้ คือ การเอ่ยถึงสิ่ งหนึ่ งแต่ให้มีความหมายเป็ นอย่างอื่น (วิภา ๒๕๓๓: ๔๒ ) เช่น - “จงรักนวลสงวนตัว ระวัง ลิน้ ชายชั่วหน่ อยนะดวงใจ” (เพลงรอหน่อยน้องติ๋ม)  จากเนื้ อ เพลงรอหน่ อ ยน้อ งติ๋ ม ในท่ อนนี้ มี ก ารใช้ค าแทนสิ่ ง ใดสิ่ ง หนึ่ ง ที่ มีล ก ั ษณะสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสิ่ งที่ ตอ้ งการเปรี ยบ กล่าวคือมีการใช้คาที่มีความหมายแคบให้มีความหมายกว้างขึ้น คือคาว่า “ลิ้น” ซึ่ งคาว่า “ลิ้น” นี้ ราชบัณฑิตยสถาน (๒๕๔๖ : ๑๐๑๔) ได้ให้ ความหมายว่าหมายถึงอวัยวะที่อยูใ่ นปาก มีหน้าที่กลั้วอาหารให้เข้ากันแล้วส่ งลงในลาคอ, ช่วยในการออกเสี ยง และให้รู้รส แต่คาว่า “ลิ้น” ใน เนื้อเพลงนี้หมายรวมไปถึงคาพูด เป็ นการตักเตือนให้รักนวลสงวนตัวและระวังคาพูดของคนให้มาก ถ้าพลาดพลั้งอาจเสี ยทีได้ - “ผัวเดียวไม่ รักไม่ เป็ นไร ผัวดีไฉนไม่ เป็ นแหล่ ง เห็นทาปากแข็งแต่ ใจอ่ อนเปลีย่ นแปลง ทีน่ อน เดือนละกีห่ น” (เพลงเมียพี่มีชู)้  จากเนื้ อเพลงแม่ยอดยาหยีในท่อนนี้ มีการใช้คาแทนสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ งที่ มีลก ั ษณะสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสิ่ งที่ตอ้ งการเปรี ยบ กล่าวคือ ใช้คาที่มีความแคบ ให้มีความหมายกว้างขึ้น คือคาว่า “ที่นอน” ราชบัณฑิตยสถาน (๒๕๔๖ : ๕๓๑)ให้ความหมายไว้วา่ ฟูก, เบาะ, เครื่ องปูลาด สาหรับนอน แต่ในเพลงนี้ กล่าวถึงภรรยาที่ หนี ตามชู ้ไป แล้วสามี เกิ ดความคับแค้นใจและโกรธเคือง จึ งต่อว่าออกมาในรู ปของเนื้ อเพลงว่า “เปลี่ยนแปลงที่ นอนเดื อนละกี่หน” ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า “ที่นอน” ในที่ น้ ี คงมีความหมายรวมไปถึงผูช้ ายอื่นที่ ภรรยาลักลอบได้เสี ยด้วย หรื อ เรี ยกว่าชายชูน้ นั่ เอง ๔. ภาพพจน์แบบปฏิพจน์หรื อปฏิวาทะ (Oxymoron) คือการนาคาที่มีความหมายตรงกันข้ามหรื อค้านกันมารวมกัน เพื่อให้เกิดคาซึ่ งมี ความหมายใหม่ หรื อมีความหมายที่ให้ความรู ้สึกขัดแย้ง หรื อเพิ่มน้ าหนักให้แก่ความหมายของคาแรก (วิภา ๒๕๓๓: ๔๒) เช่น - เป็ นสาวได้ เพียงครั้งหนึ่ง ถ้ านึกไม่ ถึงน้ำผึง้ ก็ขม (เพลงหญิงม่าย)  จากเนื้ อเพลงหญิ งม่ ายในท่ อนนี้ มีการนาคาที่ มีความหมายตรงกันข้ามมารวมกันเกิ ดเป็ นความหมายขัด แต่มีผลพิเศษทาง อารมณ์ เช่น คาว่า “น้ าผึ้งก็ขม” ความจริ งแล้วถ้ากล่าวถึงน้ าผึ้ง ก็จะนึ กถึงแต่สิ่งที่ มีรสหวานมากๆ ไม่มีรสใดเที ยมรสหวานของน้ าผึ้งได้ แต่ สาหรับเนื้อหาของเพลงนี้น้ าผึ้งก็ขม มีความหมายไปถึงความรักของผูห้ ญิงที่ผิดหวัง เสี ยใจ จนต้องเป็ นหญิงม่าย ไร้ซ่ ึ งราคา และไม่มีชายใดอยาก ได้เป็ นภรรยา - “สวยแยบยลยากจนแม้ การศึกษา บ้ านนอกคอกนาทีจ่ ริงโสภางำมตำบำดใจ” (เพลงกาคาบพริ ก)  จากเนื้ อเพลงกาคาบพริ กในท่อนนี้ มีการนาคาที่ มีความหมายตรงกันข้ามมารวมกันเกิ ดเป็ นความหมายขัด แต่มีผลพิเศษทาง อารมณ์ เช่น คาว่า “บาดใจ” ราชบัณฑิตยสถาน (๒๕๔๖: ๖๒๑)ให้ความหมายไว้วา่ เจ็บแค้นใจ แต่ถา้ เป็ นความหมายในเนื้ อเพลงนี้ ก็คือชื่นชม ความสวยงามของผูห้ ญิงว่าสวยบาดใจ คือสวยถูกใจมากๆ นัน่ เอง ไม่ได้หมายถึงความเจ็บแค้นใจ เพราะผูห้ ญิงสวยๆ ก็ยอ่ มถูกใจผูช้ ายและทาให้ หลงใหล หาได้ทาให้เจ็บแค้นใจแต่อย่างใด มีต่อฉบับหน้ า —>> ๖


นาเด่ง เครือ่ งดนตรีบรมคร ูคกู่ ะเหรีย่ ง ตอนที่ ๑ ความเป็ นมาของชาวกะเหรี่ยงตาบลไล่ โว่ อาเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี. ตำบลไล่โว่ อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกำญจนบุรี เป็ นพื้นที่ที่ชำวกะเหรี่ ยงกลุ่มหนึ่งได้ต้ งั ถิ่นฐำนอำศัยอยู่ ในพื้นที่แห่งหนึ่งมำนำนกว่ำร้อยปี ทุกคนที่นี่มีพทุ ธศำสนำเป็ นหลักยึดมัน่ ในกำรดำเนินชีวติ โดยได้รับอิทธิพลทำง ศำสนำพุทธมำจำกชำวมอญ ซึ่งเป็ นกลุ่มชำติพนั ธุ์ที่อำศัยอยูใ่ กล้ชิดกันภำยในอำเภอสังขละบุรี ชำวกะเหรี่ ยงกลุ่มที่ กล่ำวถึงนี้ คือ กะเหรี่ ยงโป ภำษำกะเหรี่ ยงออกเสี ยงว่ำ โพล่ง หรื อ โผล่ว คำว่ำ “โผล่ว” มีควำมหมำยว่ำ “คน”

ภิญโญ ภู่เทศ

คำว่ำ โผล่ว จึงเป็ นคำที่ชำวกะเหรี่ ยงในพื้นที่ตำบลไล่โว่ใช้เรี ยกชื่อแทนชนเผ่ำตัวเอง สำหรับคนภำยนอกในบำงครั้งเรี ยกว่ำ “กะเหรี่ ยงทุ่งใหญ่” วัฒนธรรมชำวกะเหรี่ ยงตำบลไล่โว่ ชำวกะเหรี่ ยงตำบลไล่โว่ ยังคงรักษำประเพณี และ ควำมเชื่ อต่ำงๆ ของชนเผ่ำ ไว้อ ย่ำ งเคร่ ง ครั ด เช่ น ภำษำ กำรแต่ ง กำย พิ ธี ก รรมต่ ำ งๆ บำงครั้งอำจจะเกี่ยวข้องกับสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ที่ชำวกะเหรี่ ยงนับถือ รวมถึงดนตรี และบทเพลงต่ ำ งๆ ของชนเผ่ ำ ที่ ย งั คงสื บ ทอดมำถึ ง ปั จ จุ บัน ซึ่ งยัง คงมี บทบำทสำคัญ และสะท้อนให้ทุกคนรู ้และเข้ำใจถึงวิถีชีวิตของชำวกะเหรี่ ยง ซึ่ งเป็ นกลุ่มชนที่รักสงบ บท เพลงต่ำงๆ ที่แฝงด้วยภูมิปัญญำเหล่ำนี้ จะเป็ น สื่ อ กลำงในกำรท ำควำมเข้ำ ใจระหว่ ำ งชำวกะเหรี่ ยงต ำบลไล่ โ ว่ แ ละ บุคคลภำยนอกซึ่งแวะเวียนไปเยีย่ มเยียนอย่ำงไม่ขำดสำย

วัฒนธรรมดนตรีชาวกะเหรี่ยงตาบลไล่ โว่ นำเด่งฺ (พิณกะเหรี่ ยง) เป็ นเครื่ องดนตรี ที่แสดงถึงอัตลักษณ์ทำงชำติพนั ธุ์ของชำวกะเหรี่ ยง นับแต่อดีตนำเด่งฺเป็ นเครื่ องดนตรี ที่ชำว กะเหรี่ ยงนิยมเล่นเพื่อผ่อนคลำยหลังจำกเหน็ดเหนื่อยจำกกำรทำงำน หนุ่มชำวกะเหรี่ ยงใช้นำเด่งฺและเพลงร้องเป็ นสื่ อในกำรจีบสำว บอกรักและ ควำมในใจด้วยบทเพลงให้หญิงสำวหลงใหลประทับใจ ตำมเนื้ อหำและทำนองเพลงที่มีแต่ควำมจริ งใจสื่ อออกมำเหมือนกับ บทเพลงนำเด่งฺ บท หนึ่งที่ร้องว่ำ “นำเด่งฺ ยู สี้ นำเด่งอัว่ ” แปลว่ำ เสี ยงนำเด่งไพเรำะจับใจ นำเด่งฺ เป็ นเครื่ องดนตรี ด้ งั เดิมที่อยูใ่ นวัฒนธรรมของชำวกะเหรี่ ยงมำยำวนำน ไม่สำมำรถหำที่มำได้อย่ำงแน่ชดั ว่ำมีตน้ กำเนิ ดมำอย่ำงไร และใครเป็ นผูค้ ิ ดค้นและสร้ ำง แต่ช ำวกะเหรี่ ยงยืนยันและยอมรั บอย่ำ งภูมิใจว่ำ นำเด่ งฺ เป็ นเครื่ องดนตรี ของชนเผ่ำที่ สำคัญที่ สุดชนิ ด หนึ่ ง ที่สืบทอดมำจำกบรรพบุรุษมำยำวนำน นำเด่งฺ นี้ยงั ปรำกฏอยูใ่ นวัฒนธรรมของชำว กะเหรี่ ยงอีกเผ่ำหนึ่งมำช้ำนำนแล้วเช่นกัน คือ กะเหรี่ ยงเผ่ำสะกอ หรื อที่เรี ยก ตนเองว่ำ “ปกำเกอญอ” กะเหรี่ ยงกลุ่มนี้มีเครื่ องดนตรี ลกั ษณะคล้ำยกับนำเด่งฺ มีชื่อ เรี ยกเป็ นภำษำ ปกำเกอญอ ว่ำ “เตหน่ำ” ซึ่งมีลกั ษณะท่วงท่ำกำรบรรเลง ลีลำในกำร เล่น และสำเนียงเสี ยงร้องคล้ำยคลึงกับกำรเล่นนำเด่งฺมำก แต่จะมีควำมแตกต่ำงกัน ในเรื่ องภำษำที่นำมำเป็ นเนื้อร้อง และลักษณะของเครื่ องดนตรี บำงอย่ำงเท่ำนั้น ตัวอย่ำงเช่น จำนวนสำย กล่ำวคือ นำเด่งฺในพื้นที่ตำบลไล่โว่ จะมีเพียง ๖ สำย แต่ สำหรับ เตหน่ำ ที่พบในพื้นที่อื่นหรื อในพื้นที่ของภำคเหนือปั จจุบนั ส่วนมำกมี มำกกว่ำ ๖ สำย โดยมีจำนวนตั้งแต่ ๗ - ๑๒ สำย ลักษณะที่แตกต่ำงกันของนำเด่งฺ อีกประกำรหนึ่งคือรำยละเอียดของลักษณะรู ปทรงเครื่ องดนตรี ที่มีควำมแตกต่ำงกัน ขึ้นอยูต่ ำมจินตนำกำรและควำมสำมำรถ ควำมชำนำญของ ช่ำงทำเครื่ องดนตรี


ระบบเสียงนาเด่ งฺ นำเด่งฺเป็ นเครื่ องดนตรี ประเภทพิณ (Harp) เสี ยงเกิ ดจำกกำรสั่นสะเทื อนของเส้นลวดที่ ขึงตึง (Chordophones) ซึ่ งแต่ละเส้นจะขึงตึ ง ต่ำงกัน ตำมแต่ละเสี ยงของเส้นลวด ลำตัวนำเด่งฺทำหน้ำที่เป็ นกล่องเสี ยงช่วยให้เสี ยงดังกังวำนมำกขึ้น ฉะนั้นวิธีกำรทำตัวนำเด่งฺจึงต้องขุดเนื้ อไม้ บำงส่วนออก เพื่อให้เป็ นกล่องเสี ยงของนำเด่งฺ จะทำหน้ำที่ช่วยให้เสี ยงสั่นสะเทือนดังกังวำนมำกขึ้น หำกไม่มีกล่องเสี ยง ก็คล้ำยกับเอำเส้นลวด ไปผูกกับไม้สองอันขึงให้ตึงแล้วดีด กำรสัน่ สะเทือนของเส้นลวดจะไม่กงั วำน กล่องเสี ยงจึงเป็ นสิ่ งสำคัญที่ช่วยให้ดนตรี ประเภทนำเด่งฺมีเสี ยงดัง ไพเรำะมำกขึ้น นำเด่งฺของชำวกะเหรี่ ยงโป ตำบลไล่โว่ มีจำนวนสำยทั้งหมด ๖ สำย แต่กำรตั้งเสี ยงนำเด่งฺน้ นั ใช้บนั ไดเสี ยง ๕ เสี ยง (Pentatonic Scale) ทั้งนี้เนื่องจำกทำนองเพลงที่ใช้ประกอบกำรบรรเลงนำเด่งฺใช้โน้ต ๕ เสี ยง และมีทำนองสั้นๆ เล่นซ้ ำกันหลำยๆรอบ เนื้ อร้องมีควำมสั้น-ยำวได้ไม่ จำกัดแต่ยงั คงมีทำนองที่ใช้เสี ยงโน้ตหลัก ๕ เสี ยงเช่นเดิม และสำมำรถเปลี่ยนระดับเสี ยงสูง-ต่ำ หรื อเปลี่ยนบันไดเสี ยงได้ตำมควำมเหมำะสมกับ เสี ยงของผูร้ ้องเพลงเป็ นสำคัญ ในกำรฝึ กหัดกำรบรรเลงนำเด่งฺของชำวกะเหรี่ ยงโป ตำบลไล่โว่น้ ี กำรตั้งสำยถือว่ำเป็ นสิ่ งสำคัญมำกที่สุด ผูฝ้ ึ กหัด จะต้องจดจำเสี ยงในกำรตั้งสำยนำเด่งฺให้แม่นยำ กำรฝึ กทักษะกำรจำระดับเสี ยงถือเป็ นพื้นฐำนที่ดีของนักดนตรี นำเด่งฺ ต้องใช้ระยะเวลำแล้วแต่ ควำมสำมำรถของแต่ละบุคคล กำรตั้งสำยนำเด่งฺของกะเหรี่ ยงโป ตำบลไล่โว่ มี ๒ แบบ ทั้งสองแบบนี้มีเพลงที่เป็ นต้นแบบในกำรตั้งสำยอยูท่ ้ งั สองเพลง คือ เพลง “นอ ไม้ห่ง” และเพลง “นำเด่งฺยสู ้ ี นำเด่งฺอวั่ ” เพลงที่ ๑ “นอไม้ ห่ง” นอไม้ห่งเป็ นเพลงนำเด่งฺที่เก่ำแก่เพลงหนึ่ง มีเนื้อร้อง ๔ วรรค (ถะคูลีมุ่ง) ชำวกะเหรี่ ยงนิยมใช้เพลงนอไม้ห่ง ฝึ กหัดกำรเล่นนำเด่งฺเป็ น เพลงแรกหรื อเพลงครู จำกคำบอกเล่ำสรุ ปว่ำเพลงนอไม้ห่งนี้เป็ นเพลงหนึ่งที่ได้สืบทอดต่อกันมำตั้งแต่อดีต เป็ นเพลงสำคัญเพลงหนึ่งที่นกั นำเด่งฺ ในตำบลไล่โว่รู้จกั เป็ นอย่ำงดี เพรำะทุกคนที่เล่นนำเด่งฺได้จะต้องร้องและเล่นเพลงนอไม้ห่งนี้ได้ทุกคน เนื่องจำกเป็ นเพลงพื้นฐำนสำหรับกำรตั้ง สำยและกำรหัดเล่นนำเด่งฺ ทำนองของเพลงนอไม้ห่งนั้น จึงเป็ นทำนองพื้นฐำนที่สำมำรถใช้ร้องกับเนื้อเพลงอื่นๆ ได้ เพลงนอไม้ ห่ง นอไม้ห่ง นอไม้ห่งเฮ เก่อโผล่วอ่ำโหล่วเชอเบอเอ่ น้ องนอไม้ ห่ง น้ องเอ๋ ย คนเยอะ ไม่ กล้ าบอกพูดคุย เล่อเก่มือนำเน่นอเฮ นอไม้ห่งโหล่วนี่โหล่วเกว่ เวลากลางคืน นะน้ องเอ๋ ย น้ องเอ๋ ย พูดไปยิม้ ไป ระดับเสียงเทียบกับโน้ ตเพลง

---ซ นอ

-ล–ม ไม้ ห่ง

-ซ-ล นอ ไม้

-ม-ซ ห่ง เฮ

---ซ เก่อ

-ซ-ม -ซ-ม โผล่ว อ่า โหล่วเชอ

-ร-ด เบอ เอ

---ม เล่อ

-ร-ด เก มือ

-ซ-ด นา เน

-ซ-ซ นอ เฮ

---ม นอ

-ร–ด ไม้ ห่ง

-ซ-ซ โหล่ว เกว่

หลักในการตั้งสายสาหรับเพลงนอไม้ห่ง นี้ ใช้ ๕ เสียง คือ ๑- ๖ ๕ - ๓ ๒ - ๖ สายที่ ๑ (บนสุด) A เสียง ลา ล สายที่ ๒ D เสียง เร ร สายที่ ๓ E เสียง มี ม สายที่ ๔ G เสียง ซอล ซ สายที่ ๕ A เสียง ลา ล สายที่ ๖ C เสียง โด ด ๘

-ซ-ด โหล่ว นี่ ๖ ๒ ๓ ๕ ๖ ๑

มีต่อฉบับหน้ า —>>


ภาพกิจกรรม ปฐมนิเทศและบายศรีสู่ ขวัญนักศึกษา ปี การศึกษา ๒๕๕๕

ประชุมอาจารย์ คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ ประจาปี การศึกษา ๒๕๕๕


คณะศึกษาดูงานจาก ม.มหาสารคาม

การตรวจ SAR ระดับสาขาวิชา

สัมภาษทุนนักศึกษา

๑๐


ในความเคลือ่ นไหว วัน เดือน ปี ๔ พ.ค. – ๓๑ พ.ค. ๒๕๕๕ ๒๗ พ.ค. ๒๕๕๕

กิจกรรม / เรื่ อง เพิ่มพูนประสบการณ์ด้านการสอนและทัศนศึกษา ณ ประเทศญี่ปนุ่ ประชุมวิชาการด้ านจริยศาสตร์ อาหาร ณ ประเทศ เยอรมัน ๑๔ – ๑๙ พ.ค. ๒๕๕๕ เข้ าร่วมการแข่งขันกีฬา เจ้ าหน้ าที่ บุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ณ มหาวิทยาลัย ราชภัฏภูเก็ต ๑ – ๓ มิ.ย. ๒๕๕๕ เข้ าร่วมกิจกรรม Art Camp ประจาปี ๒๕๕๕ ๗ มิ.ย. ๒๕๕๕ นิเทศนักศึกษาฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ ณ จังหวัด นครสวรรค์ และพิจิตร ๗ – ๘ มิ.ย. ๒๕๕๕

ปรชุมเชิงปฏิบตั กิ ารเพื่อนวัตกรรมด้ านการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อมธรรมชาติ ณ จังหวัดชลบุรี ๑๒ – ๑๔ มิ.ย. ๒๕๕๕ ฝึ กอบรมศิลปะการพัฒนาบุคลิกภาพ ณ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

อาจารย์ ผศ.เสาวดี ธนะวิภาคะนนท์ อ.เจิด บรรดาศักดิ์ อ.ธีรพล ชูศกั ดิ์ รศ.บุศราคา เริงโกสุม อ.วิพกั ตร์ คล้ านสุบนิ อ.กิตติศกั ดิ์ แก้ วดุก อ.สุนนั ทา เทียมคา อ.ไชยา อูช๋ นะภัย อ.พัชรี ดินฟ้า อ.ประสพ ยลสิริธมั อ.ชนิกา พรหมมาศ อ.นวพร ละม้ ายศรี อ.ชูชาติ คุ้มขา อ.อนัญญา วารี สะอาด อ.พิมพ์อมุ า ธัญธนกุล อ.ปรี ดี ปลื ้มสาราญกิจ

๑๑


อวยพรวันเกิด สุ กญ ั ญา คงสู น

ลมฝนพลิ้วแผ่วมา เย็นชุ่มชอุ่มงาม มิถุนามิชา้ ที นาพามาบัดดล อวยพรรับวันเกิด ไตรมาสสามเดือนนี้ ยศเลื่อนเงินเดือนกอง ผศ.ดร.ขอให้ได้ หมายปองใดได้อย่างหวัง รถรามาพร้อมบ้าน

เลื่อนเวลาพาเปลี่ยนผัน สุ ขทุกยามเมื่อได้ยล กรกฏารี่ รับฝน สุ ขท่วมท้นล้นทวี พรใดเลิศประเสริ ฐศรี ขอจงมีความสุ ขใจ อีกทั้งทองก็มากหลาย อีกโรคภัยไม่แผ้วพาน มีพลังทาการงาน สุ ขเบิกบานสาราญใจ

จัดทาโดย

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

ทีป่ รึกษา

คณบดี, รองคณบดี และหัวหน้าสานักงาน

บรรณาธิการ

อาจารย์สุกญั ญา คงสู น

วัตถุประสงค์

เพื่อเผยแพร่ ข่าวสารและเป็ นสื่ อแลกเปลี่ยนทัศนะทางวิชาการในคณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ๓๙๘ ถนนสวรรค์วถิ ี อาเภอเมืองฯ จังหวัดนครสวรรค์ ๖๐๐๐๐ โทร ๐๕๖ - ๒๑๙๑๐๐ - ๒๙ ต่อ ๒๒๐๒ หรื อ ๒๒๐๘


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.