มนุษยสาร

Page 1

ผลิตบัณฑิตให้มีปัญญา ปี ที่ ๑๒

ฉบับที่ ๑๐-๑๒

สร้างคุณค่า

และศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์

เดือนตุลาคม-ธัรวาคม

พ.ศ. ๒๕๕๔

ฉบับนี้มีอะไร จากใจคณบดี ชื่อ….นาม ยามนํ้าท่วม ตัว๋ เงินน่ารู ้

เจ้าหญิงม่านแก้ว ราชาวดี ประมวลภาพเหตุการณ์น้ าํ ท่วม อวยพรวันเกิด


นา้ ท่ วมผ่ านไปแต่ กาลังใจยังอยู่เพื่อคณะและสถาบัน สวัสดีคณาจารย์ทุกท่านครับในช่วงที่ผา่ นมาทุกคนคงทราบกันดีวา่ คณะและมหาวิทยาลัยได้รับผลกระทบจากมหา อุทกภัยยังผลให้เกิดความเสี ยหายอย่างมากเนื่ องจากระดับน้ าท่วมสู งเกือบถึงสองเมตร ทาให้วสั ดุและอุปกรณ์สานักงานและ ของสาขาวิชาต่างๆ ของคณะนั้นไม่สามารถใช้การได้ แต่ก็ยงั โชคดีที่รัฐบาลได้อนุมตั ิงบเยียวยาและฟื้ นฟูเพื่อช่วยเหลือกับ มหาวิทยาลัยและคณะรวมทั้งสิ้ น ๗๓ ล้านเศษ ทางสกอ.เป็ นผูพ้ ิจารณาอนุมตั ิวา่ รายการที่เสนอไปนั้นจะตัดหรื อให้รายการ ใดซึ่ งเป็ นค่าใช้จ่ายที่จาเป็ นพื้นฐาน งบประมาณที่อนุมตั ิส่วนใหญ่เป็ นค่าซ่อมแซมอาคาร วัสดุและครุ ภณั ฑ์ที่จาเป็ นต่อการ จัดการเรี ยนการสอน เช่น คอมพิวเตอร์ โต๊ะและเก้าอี้ ค่าซ่อมอาคาร ค่าซ่ อมแอร์ เป็ นต้น คณะได้รับเงินช่วยเหลือในครั้งนี้ ส่ วนใหญ่เป็ นเครื่ องดนตรี สาขาวิชาดนตรี วัสดุการเรี ยนการสอนของสาขาวิชานาฏศิลป์ และการละคร และค่าซ่อมอาคาร ต่าง ๆ สังกัดคณะมนุษย์ โดยคณะจะต้องดาเนินการใช้งบประมาณให้แล้วเสร็ จภายในเดือนกุมภาพันธ์ ส่ วนสาขาวิชาอื่น ๆ ก็คงจะต้องรองบเงินกูจ้ ากธนาคารโลก (World Bank) ที่รัฐบาลอาจกูห้ รื อไม่ก็ตอ้ งรอมติของรัฐบาลต่อไป ซึ่ งมหาวิทยาลัย รวมทั้งแต่ละคณะได้เสนอยอดเงินเพื่อขอรับการช่วยเหลือรวมทั้งสิ้ นประมาณ ๑๗๕ ล้านบาท ซึ่ งก็หวังว่าคงจะได้รับการ ช่วยเหลือต่อไป แต่ถา้ ไม่มีเงินช่วยเหลือจากธนาคารโลกทางมหาวิทยาลัยและคณะต่างๆ ก็คงต้องทาใจและอาจจะต้องใช้ งบประมาณของมหาวิทยาลัยหรื อจากของคณะซึ่ งมีไม่มากในแต่ละปี ก็คงต้องทาใจและใช้งบประมาณอันน้อยนิดของคณะ และสาขาวิชาอย่างประหยัด ก็หวังว่าคงจะไม่มีเหตุการณ์อย่างนี้เกิดขึ้นกับคณะ มหาวิทยาลัยรวมทั้งจังหวัดและประเทศอัน เป็ นที่รักของพวกเราอีกต่อไป อาจารย์ทุกท่านก็คงมีความคาดหวังที่คล้ายกันคือขออย่าให้เกิดเหตุการณ์เช่นนี้อีก แต่คงไม่มีใครที่สามารถจะคาด เดาได้อย่างแม่นยาว่าจะเกิดอะไรกับแผ่นดินไทยนี้อีกเพราะธรรมชาติก็คือธรรมชาติ อาจจะเกิดเหตุการณ์ใดๆ ย่อมเป็ นไป ได้ท้ งั สิ้ นแม้แต่ประเทศที่มีความเจริ ญสู งสุ ดในทุกๆ ด้าน โดยเฉพาะด้านเทคโนโลยีอย่างประเทศญี่ปุ่นก็ยงั ไม่วายที่จะได้รับ ความเสี ยหายจากภัยธรรมชาติ ไฉนเลยกับประเทศไทยนั้นที่ยงั ขาดความพร้อมรวมทั้งความตระหนักในด้านการป้ องกันภัย ธรรมชาติที่จะรอดพ้นกับธรรมชาติที่อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลาไม่ชา้ ก็เร็ ว อย่างไรก็ตามชีวิตก็คงต้องดาเนินต่อไป ตราบใดที่พวกเรายังมีชีวิต มีภารกิจที่ตอ้ งดาเนินต่อไปอย่างต่อเนื่องก็คงไม่มีอะไรดีไปกว่า “การตั้งตนเองอยูบ่ นความไม่ ประมาท” ก็อาจจะทาให้พวกเรามีชีวิตที่สามารถดาเนินต่อไปได้อย่างมีความสุ ขในยุคแห่งความไม่แน่นอนของธรรมชาติ ก็ ขอเป็ นกาลังใจให้อาจารย์ที่ได้รับผลกระทบไม่มากก็นอ้ ยจากอุทกภัยในครั้งนี้จงมีกาลังใจในการดาเนินชีวิตหลังเหตุการณ์ ดังกล่าวอย่างไม่ประมาทและมีความสุ ขตลอดไปเพื่อวันใหม่ที่รอพวกเราอยู่

ดร. ประจักร์ รอดอาวุธ คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

๒ มนุษยสาร ปี ที่ ๑๒ ฉบับที่ ๑๐ - ๑๒


บารมีบุญ แสงจันทร์ หลังจากเหตุการณ์การพัดผ่านของพายุท้ งั ห้าลูก ได้แก่ พายุนกเต็น ต่อด้วย ไหหม่า เนสาด ไห่ถาง และนาแกล ถือ เป็ นจุดเริ มต้นที่ทาให้เกิดเหตุการณ์น้ าท่วม ซึ่ งเริ่ มจากทางตอนเหนื อของประเทศ ในแถบจังหวัดแพร่ น่าน สุ โขทัย อุตรดิตถิ์ จากนั้นเพิ่มขยายเป็ นวงกว้างและเพิ่มจานวนให้กบั จังหวัดที่ได้รับผลกระทบ ไม่เว้นแม้แต่จงั หวัดนครสวรรค์เรา สาหรับชื่ อ นาม ยามน้ าท่วมซึ่ งเป็ นที่มาสาหรับหัวข้อในสัปดาห์น้ ีวา่ มีจงั หวัดที่ได้ประสบภัยน้ าท่วม และมีพ้นื ที่ใดบ้างที่ตกเป็ นข่าว และทาให้คนทัว่ ไปได้รู้จกั ประเดิมนามแรก คือ “บางระกาโมเดล” ที่นายกรัฐมนตรี คุณยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร กาหนดให้เป็ นอาเภอต้นแบบ สาหรับการทางานร่ วมกันหรื อ การบูรณการในการทางานระหว่างจังหวัดและหน่วยงานของส่ วนกลางในการแก้ปัญหาและ หาทางในการป้ องกันสาหรับปั ญหาที่เกิดขึ้นในภาวะน้ าท่วมเช่นนี้ นามที่สอง “โพธิ์ ประทับช้าง” ซึ่ งถือเป็ นอาเภอหนึ่งในจังหวัดพิจิตร ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ในครั้งนี้ นามที่สาม “พลเทพ” คือชื่อประตูระบายน้ าที่ต้ งั อยูใ่ นอาเภอวัดสิ งห์ จังหวัดชัยนาท ในการระบายน้ าจากแม่น้ า เจ้าพระยาออกสู่ แม่น้ าน้อย จังหวัดสุ พรรณบุรี ที่ตกเป็ นข่าวคราวโด่งดังไปทัว่ ประเทศ นามที่สี่ “ท่าวุง้ ” ซึ่ งก็เป็ นชื่ออาเภอหนึ่งในจังหวัดลพบุรี ที่ได้รับผลกระทบจากน้ าท่วมมาตั้งแต่ปีที่แล้ว และมา เกิดขึ้นซ้ าในปี นี้ อีกด้วย นามที่หา้ “โผงเผง” เป็ นชื่ อตาบลหนึ่งในจังหวัดอ่างทอง ซึ่ งเป็ นตาบลแรกที่รับน้ าต่อจากจังหวัดสิ งห์บุรี และถูก กล่าวว่าเป็ นตาบล ที่มีพ้นื ที่ที่น้ าท่วมซ้ าซากไปแล้ว เพราะท่วมกันได้ทุกปี นามที่หก “สหรัตนะนคร” เป็ นชื่อเขตนิคมอุตสาหกรรม หนึ่งในจานวนนิคมอุตสาหกรรมที่ได้รับผลกระทบ ซึ่งถือ เป็ นพื้นที่อุตสาหกรรม และแหล่งรายได้ทางเศรษฐกิจระดับประเทศเลยทีเดียว ที่สายน้ าโหมกระหน่ า นามที่เจ็ด “บ้านพร้าว” เป็ นชื่ อประตูระบายน้ าที่คนั่ ระหว่างคลองรังสิ ต และคลองเปรมประชากร ที่เปรี ยบเป็ น ปราการด่านสุ ดท้ายก่อนที่มวลน้ าจะเข้าสู่ กรุ งเทพมหานคร นามที่แปด “บางโฉมศรี ” เป็ นชื่อประตูระบายน้ าที่ต้ งั อยูใ่ นอาเภออินทร์ บุรี จังหวัดสิ งห์บุรี ที่พงั ลงและได้สร้าง ความเสี ยหายให้กบั สองจังหวัด นัน่ ก็คือจังหวัดลพบุรีนนั่ เอง นามที่เก้า “เกาะเทโพ” เป็ นชื่ อตาบลหนึ่งในอาเภอเมือง จังหวัดอุทยั ธานี ซึ่ งเป็ นจุดบรรจบกันระหว่างแม่น้ า เจ้าพระยากับแม่น้ าสะแกกรัง และถูกระบุวา่ เป็ นเขตน้ าท่วมเต็มพื้นที่ 100เปอร์เซ็นต์เต็ม เป็ นตาบลแรกของอุทยั ธานี และนามที่สิบ “บ่อนไก่” ซึ่ งเป็ นชื่อที่ชาวนครสวรรค์ หรื อชาวตลาดปากน้ าโพรู ้จกั กันดีวา่ เป็ นชื่ อตลาดสดแห่งหนึ่ง แต่จากนี้ไปจะเป็ นที่รู้จกั เพิ่มขึ้นในนามว่าเป็ นบริ เวณ ชื่ อเรี ยกคันดินหรื อแนวพนังกั้นน้ า ที่ทาให้เกิดน้ าท่วมครั้งใหญ่ของ เมืองอีกด้วย…นัน่ เองครับ (ขอบคุณครับ)

มนุษยสาร ปี ที่ ๑๒ ฉบับที่ ๑๐ - ๑๒ ๓


เฉี ยงตะวัน ยอดดาเนิน

ต่อจากครั้งที่แล้วนะครับ คราวนี้เรามาพูดถึงประเภทเช็คกันบ้าง เนื่องจากเช็คเอาบทบัญญัติในเรื่ องของตัว๋ แลกเงินมาใช้ เพราะฉะนั้นโดยพื้นฐานเช็คจึงมีความคล้ายคลึงกับตัว๋ แลก เงิน คือ เช็ คระบุชื่อและเช็ คผู้ถือ หมายถึง เช็คที่ระบุชื่อผูร้ ับเงินตามเช็คหรื อให้ใช้เงินแก่ผมู ้ ีเช็คในครอบครองซึ่ งหลักเกณฑ์เหมือนกับตัว๋ แลกเงิน ประเภทระบุชื่อและตัว๋ แลกเงินประเภทไม่ระบุชื่อหรื อเรี ยกอีกอย่างว่าผูถ้ ือ แต่ต่างกันตรงที่วา่ เช็คนั้นจะมีแบบฟอร์ มที่พิมพ์ โดยธนาคารจึงมีลกั ษณะที่ค่อนข้างจะตายตัว คือจะเป็ นลักษณะแบบฟอร์ มว่า “จ่าย................หรื อผูถ้ ือ” (แบบฟอร์ มเช็คของ บางธนาคารอาจแตกต่างกันบ้างนะครับ แต่โดยรวมก็ประมาณนี้) ซึ่ งการกรอกข้อความดังกล่าวจะมีผลดังนี้ - จ่าย นายดา ---(ขีดฆ่า คาว่า “หรื อผูถ้ ือ” )--- เป็ นเช็คระบุชื่อ - จ่าย ..............หรื อผูถ้ ือ(ไม่ได้กรอกหรื อแก้ไขอะไร) เป็ นเช็คผูถ้ ือ - จ่าย นายดา หรื อผูถ้ ือ(กรอกชื่อแต่ไม่ได้ขีดฆ่าคาว่าหรื อผูถ้ ือ) เป็ นเช็คผูถ้ ือ - จ่าย เงินสด หรื อผูถ้ ือ(กรอกคาว่าเงินสดลงไป) เป็ นเช็คผูถ้ ือ คาว่าเงินสดไม่มีผลตามกฎหมายแต่ในทางปฏิบตั ิมกั เรี ยกกันว่า “เช็คเงินสด” - จ่าย เงินสด ---(ขีดฆ่า คาว่า “หรื อผูถ้ ือ” )--- ไม่สมบูรณ์เป็ นเช็คเนื่องจากขาดรายการตามเช็คที่ตอ้ งระบุวา่ ให้ใช้เงิน แก่ผถู ้ ูกระบุชื่อหรื อผูถ้ ือ ตัวอย่างข้างต้นนี้ เป็ นเรื่ องในทางปฏิบตั ิที่เกิดขึ้นในการกรอกเช็คซึ่ งจะมีผลแตกต่างกัน ดังนั้นใครที่อยากจะโก้ริ อ่านจะใช้เช็คต้องระวังให้ดี นอกจากนี้ เช็คยังมีขอ้ แตกต่างจากตัว๋ แลกเงินโดยทัว่ ไปในเรื่ องของการขีดคร่ อม ซึ่ งการขีดคร่ อมเช็คจะทาให้เช็ค นั้นไม่สามารถจ่ายออกมาเป็ นเงินสดได้ ต้องจ่ายผ่านบัญชีธนาคารเท่านั้น ซึ่ งมีดงั นี้ เช็คขีดคร่ อมทัว่ ไป ทาได้ดว้ ยการขีดเส้นคู่ขนานเอาไว้ดา้ นหน้าของเช็ค(ซึ่งโดยมากแล้วมักขีดเฉียงไว้ที่มุมซ้ายบน) ในระหว่างเส้น คู่ขนานนั้นต้องไม่กรอกข้อความอะไรไว้ หรื อกรอกว่า “และบริ ษทั ” หรื อข้อความทานองนั้นไว้ในเส้นคู่ขนานก็ได้ (จะ กรอกหรื อไม่กรอกก็มีผลไม่แตกต่างกัน) ซึ่ งผลของการการขีดคร่ อมทัว่ ไปทาให้ตอ้ งจ่ายให้แก่ธนาคารใดก็ได้ที่ผทู ้ รงได้ เป็ นเจ้าของบัญชี เช็คขีดคร่ อมเฉพาะ ทาได้ดว้ ยการขีดเส้นคู่ขนานเอาไว้ดา้ นหน้าของเช็ค แต่ในระหว่างเส้นคู่ขนานนั้นได้กรอกชื่อธนาคารเอาไว้ ซึ่ งผล ของการการขีดคร่ อมเฉพาะ ธนาคารผูจ้ ่ายต้องจ่ายให้แก่ธนาคารที่ระบุไว้ในเส้นขนานที่ผทู ้ รงได้เป็ นเจ้าของบัญชีเท่านั้น การขีดคร่ อมเช็ค เป็ นการสร้างความปลอดภัยให้แก่ผทู ้ รงเช็ค ทาให้สามารถติดตามได้วา่ เงินตามเช็คนั้นจ่ายผ่านที่ บัญชีธนาคารใดบ้าง ต่างจากการไม่ขีดคร่ อมจะทาให้เช็คจ่ายเป็ นเงินสดซึ่ งไม่สามารถรู ้ได้เลยว่าเงินนั้นมีความเป็ นไป อย่างไร เนื้อที่หมดแล้ว พบกันใหม่เมื่อชาติตอ้ งการครับ ๔ มนุษยสาร ปี ที่ ๑๒ ฉบับที่ ๑๐ - ๑๒


อนัญญา วารี สะอาด*

นวนิยายเรื่ องแต่ ปางก่อน ของแก้วเก้าเป็ นนวนิยายไทยเรื่ องแรก ๆ ที่นาเสนอความรักของตัวละครเอกในลักษณะ ข้ามภพชาติ ภายหลังการตีพิมพ์รวมเล่มครั้งแรกใน พ.ศ. ๒๕๒๗ นวนิยายเรื่ องนี้ได้รับความนิยมจากกลุ่มผูอ้ ่านเป็ นอย่าง มากจนต้องมีการตีพิมพ์ซ้ าออกมาอีกหลายครั้ง และยังได้มีการดัดแปลงเป็ นละครโทรทัศน์อีกถึงสองครั้ง ครั้งแรกนาแสดง โดยฉัตรชัย เปล่งพาณิ ช และจริ ยา สรณะคมณ์ และครั้งล่าสุ ดนาแสดงโดยศรราม เทพพิทกั ษ์ และแอน ทองประสม เนื้อหาของเรื่ องแต่ ปางก่ อนเริ่ มต้นขึ้นตั้งแต่ในชาติแรกเจ้านางม่านแก้วและท่านชายใหญ่ถูกขัดขวางความรักจน ต้องพลัดพรากกันไป ต่อมาในชาติที่ ๒ ในขณะที่เจ้านางม่านแก้วได้กลับชาติมาเกิดใหม่เป็ นราชาวดีแล้ว ท่านชายใหญ่กลับ ยังคงเป็ นเพียงวิญญาณ ทาให้ท้ งั สองไม่อาจลงเอยกันได้ จนกระทัง่ ในชาติที่ ๓ เมื่อราชาวดีกลับชาติมาเกิดใหม่เป็ นอันตรา และท่านชายใหญ่กลับมาเกิดเป็ น ม. ล. จิราคม ทั้งคู่จึงได้สมหวังในความรักและ ครองคู่กนั อย่างมีความสุ ข เมื่อพิจารณา อย่างผิวเผินแต่ ปางก่อนอาจดูเหมือนเป็ นนวนิยายที่นาเสนอเรื่ องราว รัก ๆ ใคร่ ๆ ของหนุ่มสาวโดยทัว่ ไป แต่หาก พิจารณาอย่างลึกซึ้ งจะเห็นได้วา่ แต่ ปางก่อนนาเสนอค่านิ ยมของสังคมที่เปลี่ยนไปในแต่ละช่วงเวลา (ภพชาติ) ได้อย่าง แนบเนียนและน่าสนใจ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การนาเสนอค่านิยมความเป็ นหญิงของสังคมไทยที่เปลี่ยนไปผ่าน อัตลักษณ์ของนางเอกที่เปลี่ยนไปเมื่อกลับชาติมาเกิดใหม่ในแต่ละครั้ง ในภพชาติแรกสมัยรัชกาลที่ ๖ เจ้านางม่านแก้วมีอตั ลักษณ์ที่โดดเด่นคือ “หายากทีเดียวผูห้ ญิงที่อ่านภาษาอังกฤษ และฝรั่งเศสได้ ญาติ ๆ ของฉันดูจะไม่มีใครเป็ นกันสักคน” (๑๔๕) และ “ก็เธอออกอ่อนหวาน แล้วก็เก่งหลายอย่าง ท่านชาย ใหญ่ประทานหนังสื อมาให้ เธอก็อ่านได้หมด” (๘๔) การที่เธอไม่เพียงแต่เป็ นกุลสตรี ที่เรี ยบร้อยอ่อนหวานเท่านั้น แต่ยงั มี ความรู ้ความสามารถอ่านภาษาอังกฤษและฝรั่งเศสได้ทาให้เธอเป็ นตัวแทนของ “แม่เรื อนสมัยใหม่” ซึ่งเป็ นรู ปแบบความ เป็ นหญิงแบบใหม่ที่มีตน้ แบบมาจากกุลสตรี ตะวันตกที่ผหู ้ ญิงไม่เพียงต้องเรี ยบร้อยอ่อนหวานเป็ นแม่บา้ นแม่เรื อนแต่ตอ้ งมี ความรู ้ไปพร้อมกันด้วย ตามทัศนะของท่านชายใหญ่ พระเอกของเรื่ องที่เป็ นนักเรี ยนนอก เจ้านางม่านแก้วได้รับการชื่นชม อย่างมาก เธอคือผูห้ ญิงในอุดมคติที่ไม่เพียงช่วยสามีดูแลบ้านเรื อนได้ แต่ยงั สามารถเป็ นเพื่อนคู่คิดของสามีได้อีกด้วย ทว่า ความคิดดังกล่าวของท่านชายใหญ่กลับเป็ นสิ่ งที่แตกต่างกันโดยสิ้ นเชิงกับความเห็นของหม่อมเพยีย (มารดาของท่าน) ซึ่ง เป็ นตัวแทนของอุดมการณ์ทางเพศแบบเก่าหรื อแบบกระแสหลักของสังคมในเวลานั้นที่เห็นว่าผูห้ ญิงต้องเป็ นแม่บา้ นแม่ เรื อน และไม่ควรยุง่ เกี่ยวกับเรื่ องทางวิชาการซึ่ งสังคมมองว่าเป็ นเรื่ องของผูช้ าย ทัศนะของหม่อมเพยียต่อความเป็ นหญิง เช่นนี้ส่งผลให้เธอปฏิเสธที่จะยอมรับเจ้านางม่านแก้ว ซึ่ งเป็ นสาเหตุสาคัญประการหนึ่ งที่ทาให้ความรักของเจ้านางม่านแก้ว และท่านชายใหญ่ตอ้ งมีอุปสรรคและพลัดพรากกันไปในที่สุด

มนุษยสาร ปี ที่ ๑๒ ฉบับที่ ๑๐ - ๑๒ ๕


ในชาติที่ ๒ เจ้านางม่านแก้วกลับชาติมาเกิดใหม่เป็ นราชาวดี เธอเป็ นตัวแทนของผูห้ ญิงในยุคของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม ซึ่ งเป็ นช่วงเวลาที่สังคมไทยกาลังตื่นตัวเรื่ องสิ ทธิ สตรี รัฐบาลพยายามให้การศึกษาและเปิ ดโอกาสให้ผหู ้ ญิงได้ ทางานนอกบ้านมากขึ้น ราชาวดีซ่ ึ งเรี ยนจบจาก “โรงเรี ยนฝรั่ง” หรื อ “คอนแวนต์” ได้เป็ น “ครู ในโรงเรี ยนกุลนารี วิทยา ซึ่ง ได้ชื่อว่ามีระเบียบแบบแผนในการอบรมเป็ นเยีย่ มไม่แพ้คุณภาพการสอนหนังสื อ” (๔๒) ในช่วงเวลานี้ดูเหมือนว่าความรู ้กบั ผูห้ ญิงดูเหมือนจะเป็ นเรื่ องที่ไปด้วยกันได้มากขึ้น ความรู ้ไม่ได้ทาให้ราชาวดีดูแปลกไปจากผูห้ ญิงคนอื่นเหมือนเจ้านางม่าน แก้วในอดีตชาติ นอกจากนั้น สังคมยังยอมให้ เธอทางานนอกบ้านได้ ต่างจากเจ้านางม่านแก้วในอดีตชาติที่ถึงแม้จะเก่งเพียงใดก็ตอ้ งถูกเก็บไว้ในบ้าน แต่ถึงกระนั้นผูห้ ญิง อย่างราชาวดีก็ยงั คงถูกตีกรอบจากสังคมอยูด่ ี ดังเช่นที่ราชาวดีกล่าวว่า “หวนนึกถึงตัวเอง ความจริ งการยึดอาชีพครู เป็ นสิ่ งที่ ไม่แปลกนักสาหรับหญิงสาวเช่นหล่อนในสมัย พ.ศ. ๒๔๙๐ ที่สงครามมหาเอเชียบูรพาพึ่งจบลงไม่กี่ปี กุลสตรี ผมู ้ ีการศึกษา จบชั้นมัธยมจากโรงเรี ยนสตรี มีชื่อเสี ยงออกจะนิยมอาชีพอื่นได้ยากเต็มที (๑๑) ซึ่ งนัน่ หมายความว่าถึงแม้ราชาวดีจะเก่งแค่ ไหน เธอก็ไม่มีสิทธิ เลือกประกอบอาชีพได้ตามใจชอบเหมือนผูช้ ายคือจะไปเป็ นล่ามหรื อนักการทูตไม่ได้ ต้องเป็ นครู เท่านั้น การสร้างเงื่อนไขเช่นนี้เป็ นการแสดงให้เห็นว่าผูห้ ญิงก็ยงั คงไม่มีความเท่าเทียมกับผูช้ ายอย่างแท้จริ ง ต่อมาในชาติที่ ๓ ราชาวดีกลับมาเกิดเป็ นอันตรา เธอเป็ นตัวแทนของผูห้ ญิงยุคใหม่ของสังคมไทยในยุค พ.ศ. ๒๕๒๐ ซึ่ งเป็ นช่วงเวลาที่สังคมไทยกาลังก้าวไปสู่ ความเป็ นสังคมทุนนิยมสมัยใหม่ หญิงไทยถูกเรี ยกร้องให้ทางานในฐานะ กลไกหนึ่งในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ เราจึงเห็นภาพของอันตราออกมาช่วยพ่อ แม่และพี่ชายดูแลกิจการของ ครอบครัว ดังความตอนหนึ่งกล่าวว่า “ชื่ออันตราค่ะ งานที่จดั คืนนี้ก็มีเขากับพี่ชายเขา นี่แหละเป็ นหัวเรี่ ยวหัวแรง” (๓๕๒) แต่พร้อมกับที่สังคมยอมให้อนั ตรามีความเท่าเทียมกับผูช้ ายในเรื่ องของหน้าที่การงานและเป็ นตัวของตัวเองได้มากขึ้นเมื่อ เทียบกับเจ้านางม่านแก้วและราชาวดีที่ตอ้ งอยูใ่ นกรอบมากกว่า แต่ถึงกระนั้นเธอก็ยงั คงไม่เป็ นอิสระจากกรอบของสังคม อย่างแท้จริ ง ดังจะเห็นได้วา่ สาเหตุที่ทาให้อนั ตราได้รับ การชื่นชมนั้นเป็ นเพราะ “หล่อนมีลกั ษณะเป็ นสาวสมัยใหม่ที่ คล่องแคล่ว สามารถ แต่เมื่อหล่อนยิม้ ด้วยรอยยิม้ ที่ผอ่ งแผ้วเหมือนฟ้ าใสยามอรุ ณ อันตราก็คือตัวแทนความอ่อนหวานของ สตรี ยคุ เก่านัน่ เอง” (๓๕๔) การเป็ น หญิงสมัยใหม่ที่เก่งกล้าสามารถ แต่ขณะเดียวกันก็เรี ยบร้อยอ่อนหวานเหมือน กุลสตรี ยคุ เก่าทาให้อนั ตราได้รับ การยอมรับในฐานะ “สตรี ที่สมบูรณ์แบบ” เธอจึงเป็ นหญิงสาวที่เหมาะสมกับชายหนุ่มผู ้ มีการศึกษาและ ชาติตระกูลอย่าง ม. ล. จิราคม พระเอกของเรื่ องที่กลับชาติมาเกิดใหม่แล้วเป็ นอย่างยิง่ จากปรากฏการณ์ดงั กล่าวจะเห็นได้วา่ ถึงแม้การเกิดมาเป็ นเพศหญิงจะเป็ นเรื่ องทางสรี รวิทยาที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่ ความเป็ นหญิงกลับเป็ นเรื่ องของการประกอบสร้างทางสังคม ดังนั้นภาพความเป็ นหญิงที่ควรจะเป็ นหรื อได้รับการยอมรับ จากสังคมของผูห้ ญิงในรุ่ นของเจ้านางม่านแก้ว ราชาวดี และอันตรา จึงต่างกัน

*

อาจารย์สาขาวิชาภาษาไทย

การอ้างอิงเนื้อหาจากนวนิยายเรื่ องแต่ปางก่อนในบทความนี้ ยดึ ตาม แก้วเก้า. แต่ ปางก่อน. พิมพ์ครั้งที่ ๑๐. กรุ งเทพฯ: ณ บ้านวรรณกรรม, ๒๕๓๙.

๖ มนุษยสาร ปี ที่ ๑๒ ฉบับที่ ๑๐ - ๑๒


มนุษยสาร ปี ที่ ๑๒ ฉบับที่ ๑๐ - ๑๒ ๗


๘ มนุษยสาร ปี ที่ ๑๒ ฉบับที่ ๑๐ - ๑๒


มนุษยสาร ปี ที่ ๑๒ ฉบับที่ ๑๐ - ๑๒ ๙


สุ กญั ญา คงสู น

ขออานวยอวยชัยในวันเกิด พรประเสริ ฐที่ท่านคิดประสิ ทธิ์ ผล เดือนตุลาพฤศจิกายน ทัว่ ทุกคนเปรมปรี ด์ ิทวีชยั ไม่มีทุกข์สุขใจภัยแผ้วผ่าน ทั้งการงานมิ่งมิตรสนิทใคร่ ให้ยศเลื่อนเงินเดือนยิง่ ก้าวไกล เงินทองไหลมากองทองมากมี ทาผศ.รศ.ขอให้ผา่ น มีผลงานวิจยั ได้ทุกปี ให้สุขล้นพ้นทุกข์พนั ทวี สมฤดีทุกสิ่ งที่คิดไว้เอย มนุษยสาร :เจ้ าของ คณะมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ ที่ปรึ กษา คณบดี, รองคณบดีทุกฝ่ าย, หน.สานักงานคณบดี บรรณาธิการ ผศ.ศุภาวีร์ เลิศผาติวงศ์ กองบรรณาธิการ ผศ.ศุภาวีร์ เลิศผาติวงศ์ และหัวหน้าสาขาวิชาทุกสาขา พิสูจน์อกั ษร อ.ชูชาติ คุม้ ขา และ อ.ณัฐวุฒิ เชื้อชวด ออนไลน์ นางดวงใจ ฉ่ ามะนา, นางสาวสดใส เลิศเดช, นายศรพิชยั โนนทอง, นางสาวขวัญเรื อน กระจ่างเอี่ยม, ว่าที่ ร.ต เอกลักษณ์ นาคพ่วง และ นายวงศ์สถิตย์ พริ กสี วัตถุประสงค์ : เพื่อเผยแพร่ ข่าวสาร และเป็ นสื่ อแลกเปลี่ยนทัศนะทางวิชาการในสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

๑๐ มนุษยสาร ปี ที่ ๑๒ ฉบับที่ ๑๐ - ๑๒


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.