การถ่ายภาพ บทที่4

Page 1

หน่วยที่ การจัดองค์ประกอบของภาพถ่าย

Photography 12-400-262

47

4

การจัดองค์ประกอบของภาพถ่าย Compositon ภาพถ่ายสามารถเล่าเรื่องในตัวของภาพได้อยู่แล้ว และยังสร้าง อารมณ์ ให้สื่อความหมายที่ผู้ถ่ายต้องการสื่อ โดยผ่านภาพไปยังผู้รับ ใช้แทนความคิดในเรื่องใดเรื่องหนึ่งได้ตรง การสร้างสรรค์ภาพถ่าย จึ ง ต้ อ งมี ก ารจั ด วางองค์ ป ระกอบ ที ่ ส ื ่ อ ได้ ท ั ้ ง แนวคิ ด และอารมณ์ ถ้าเรามองผ่านวิวไฟเดอร์ หรือ ช่องมองภาพจะเห็นพืน้ ทีส่ เ่ี หลีย่ ม เราลองทำพืน้ ทีน่ น้ั เป็นแผ่นกระดาษ และเรามีหน้าทีส่ ร้างงานศิลปะขึน้ มา โดยใช้ศาสตร์ทางศิลปะและองค์ประกอบพื้นฐาน เช่น การใช้เส้น องค์ประกอบแนวตัง้ และแนวนอน โค้ง แสงเงา สี พืน้ ผิว ช่องว่าง กรอบ ความสมดุลย์ ความกลมกลืน ความแตกต่าง การเลือกจัด องค์ประกอบเหล่านี้ อย่างพอดีและถูกต้อง จะทำให้ภาพนั้นสามารถ สื่อได้ทั้งความหมายและถ่ายทอดอารมณ์ไปในตัว ตัวอย่างการจัดองค์ประกอบ โดยการที่เรายืนอยู่ถ่ายภาพบุคคล ที่อยู่ตรงหน้าโดยเรายืนอยู่กับที่ บุคคลนั้นก็นิ่งอยู่กับที่เพียงแต่เรา จัดองค์ประกอบโดยการเปลีย่ นมุมกล้องเป็นมุมสูงและมุมต่ำ เราก็จะได้ ภาพออกมาสองอารมณ์ภาพถ่ายจากมุมต่ำจะส่งแบบให้ดูตระหง่าน ผ่าเผย มัน่ คง น่านับถือ ยกย่อง ขณะเดียวกันภาพถ่ายมุมสูงจะทำให้ แบบดูตำ่ ต้อย ขาดความเชือ่ มัน่ ในตนเองเป็นต้น การจัดวางองค์ประกอบต่าง ๆ ภายในภาพ หรือ การจัดทุกสิ่ง ทุกอย่างทีป่ รากฏให้เห็นในช่องมองภาพ (View finder) โดยทีส่ ว่ นประกอบ ต่าง ๆ (elements) ในภาพได้รับการเลือก (selected) เน้นความสำคัญ (emphasized) และจัดส่วนอืน่ ๆ ให้มคี วามสำคัญอันดับรองลงมา (Subordinated) ภาพจะต้ อ งมี ค วามกลมกลื น เป็ น หน่ ว ยเดี ย ว เพื ่ อ บอก เรือ่ งราวเรือ่ งเดียว และรวมเป็นความคิดเดียว สิ่งเหล่านี้จะเป็นไปได้เมื่อมีการเลือกรายละเอียดต่าง ๆ ให้รวม อยู่ในภาพ และจำกัดส่วนอื่น ๆ ที่จะมารบกวนจุดเด่นออกไป เน้นราย ละเอียดของส่วนที่สำคัญเป็นพิเศษ ซึ่งเรียกว่า “ศูนย์แห่งความสนใจ” (Center of interest) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ การจัดองค์ประกอบของภาพถ่าย

Photography 12-400-262

4

หลักเกณฑ์ในการจัดองค์ประกอบของภาพ

การควบคุมรายละเอียด (Control of detait) พยายามหลี ก เลี ่ ย งรายละเอี ย ดที ่ ม ากเกิ น ไป โดยพยายาม เลือกฉากหลังทีเ่ ป็นกลาง (neutral background) โดยการเลือ่ นมุมกล้อง หรื อ ด้ ว ยการควบคุ ม ให้ ม ี ร ะยะชั ด ลึ ก น้ อ ยลง ซึ ่ ง จะทำให้ ฉ ากหน้ า และฉากหลังอยู่นอกระยะชัด แต่ยังคงความชัดของวัตถุไว้ได้ เทคนิคนี้ นิยมถ่ายภาพวัตถุขนาดเล็ก เช่น ดอกไม้

การเลือกระยะโฟกัส (Selective focus) การถ่ า ยภาพวั ต ถุ ใ นระยะไกล จะมี ร ายละเอี ย ดของวั ต ถุ โดยรอบมากเกินไป การเคลือ่ นกล้องเข้าไปใกล้วตั ถุ เลือกโฟกัสเฉพาะจุด ที่ต้องการเพื่อให้รายละเอียดที่อยู่ใกล้หรือไกลอยู่นอกระยะโฟกัสไป

48

การประกอบภาพด้วยเส้นและรูปทรง (Line & Form) การประกอบภาพด้วยเส้น รูปทรง เส้นเหล่านี้อาจเป็นเส้นจริง ๆ ตามทีเ่ ห็น หรือเป็นเส้นตามความนึกคิด เพือ่ ให้สร้างความรูส้ กึ เกิดเป็นเส้น เมื่อนำเส้นมาประกอบกันเป็นรูปทรงต่าง ๆ เช่น สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม จะช่วยจำกัดขอบเขตให้อยูใ่ นความสนใจของผูด้ ู โน้มนำให้เกิดความรูส้ กึ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ การจัดองค์ประกอบของภาพถ่าย

Photography 12-400-262

4

การประกอบภาพแบบซ้ำซ้อน (Repetition) การจัดภาพให้วตั ถุทม่ี ลี กั ษณะเหมือนกัน อยูใ่ นตำแหน่งเรียงกันไป ตามลำดับ โทนและการตัดกัน (Tone & Contrast) ภาพถ่ายที่ดีควรจัดให้วัตถุมีโทนที่แตกต่างกับฉากหลัง เช่น ภาพถ่ า ยวั ต ถุ ท ี ่ ม ี ส ี ส ว่ า งท่ า มกลางฉากหลั ง ที ่ ม ื ด ทึ บ จะช่ ว ยเน้ น วัตถุให้เด่นออกมาจากฉากหลังได้ โทนของภาพเกิดจากลักษณะผิวพื้น รูปทรงและทิศทางที่มาของแสง ทำให้เกิดส่วนสว่างมืดในภาพการตัดกัน ของโทนทำให้เกิดอารมณ์แก่ผดู้ ู โดยทัว่ ไปนิยมถ่ายภาพเป็น 2 แบบ ภาพ High key ภาพถ่ายทีม่ ี โทนหลักเป็นสีสว่างหรือสีขาวมาก ให้ ความรูส้ กึ สดใส มีชวี ติ ชีวา สนุก ร่าเริง ภาพ Low key โทนหลักเป็น สีมดื ดำมาก ให้ความรูส้ กึ อารมณ์ เศร้าโศก เคร่งขรึม ลึกลับ การใช้โทนแสดงบรรยากาศที่ นิยมถ่ายกันมากได้แก่ ภาพย้อนแสง (Silhouette) ซึง่ ให้การตัดกันของภาพ สูง

49

ความสมดุลย์ (Balance) การจัดให้ส่วนประกอบต่าง ๆ ที่ปรากฏในภาพให้มีลักษณะ ที่มี น้ำหนักเท่ากันทัง่ สองด้านไม่เอียงไปด้านใดด้านหนึง่ ความสมดุลย์แบบปกติ (Formal Balance) การจัดให้สว่ นประกอบในภาพ เหมือนกันทัง้ 2 ด้าน ความสมดุลย์ แบบนีจ้ ะให้ความรูส้ กึ มัน่ คง สง่า เป็นการเป็นงาน ความสมดุลย์แบบไม่ปกติ (Informal Balance) การจัดส่วนประกอบที่มีรูปทรง สัดส่วนไม่เหมือนกันทั้ง 2 ด้าน แต่ยงั คงมีนำ้ หนักเท่ากัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ การจัดองค์ประกอบของภาพถ่าย

Photography 12-400-262

4

ช่องว่าง (Space) การกำหนดช่องว่างภายในเฟรม ก็มีส่วนช่วยให้ภาพดูเหมาะสม และมีความหมายขึ้น เช่นการถ่ายภาพวัตถุที่มีการเคลื่อนที่ไปข้างหน้า ก็มีวิธีจัดวางตำแหน่งของวัตถุให้ผู้ดูเกิดความรู้สึกถึงการเคลื่อนที่ได้ โดยการเว้นช่องว่างในทิศทางที่วัตถุนั้นเคลื่อนที่ไป ทั้งนี้เพราะผู้ดูจะ คาดหมายไปตามทิศทางนัน้

มุมกล้อง (Camera angle) ภาพระดับสายตา (Eye level shot) กล้องจะขนานกับพืน้ ดิน ในระดับเดียวกับสายตา ในมุมมองปกติ ภาพมุมต่ำ (Low angle shot) กล้องอยูต่ ำ่ กว่าวัตถุทถ่ี กู ถ่าย ให้ความรูส้ กึ เน้นถึงความสูงใหญ่ ความสง่าผ่าเผยของวัตถุ ภาพมุมสูง (high angle shot) กล้องถ่ายภาพจะอยูส่ งู กว่าวัตถุ ให้ความรูส้ กึ เล็ก ต้อยต่ำ ไม่มคี วามสำคัญ

การควบคุมขนาด (Control of size) การควบคุมความสัมพันธ์ทางด้านขนาด จะช่วยเน้นรายละเอียด หลักและรายละเอียดรอง สายตาของผู้ดูจะให้ความสนใจสูงต่อวัตถุ ที ่ ม ี ข นาดใหญ่ และให้ ค วามสนใจน้ อ ยต่ อ วั ต ถุ ท ี ่ ม ี ข นาดเล็ ก กว่ า รายละเอียดทีม่ ขี นาดเล็กกว่าจะช่วยเน้นวัตถุทม่ี ขี นาดใหญ่ให้เด่นขึน้ 50

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ การจัดองค์ประกอบของภาพถ่าย

Photography 12-400-262

4

การวางตำแหน่งของจุดเด่นหลัก (Placement) การจัดวางตำแหน่งรายละเอียดต่าง ๆ ภายในกรอบของภาพถ่าย สามารถทำให้เกิดผลด้านความคิดและความรู้สึกได้ การวางตำแหน่ง ทีเ่ หมาะสมสำหรับจุดสนใจในภาพ ทีน่ ยิ มทัว่ ไปคือ กฎสามส่วน (rule of thirds) เราจะแบ่งภาพ (แนวตัง้ แนวนอน) ออกเป็นสามส่วน แล้วลากเส้น แบ่งภาพ จุดตัดกันทั้งสี่จุด จะเป็นตำแหน่งที่เหมาะสม สำหรับจัดวาง วัตถุทต่ี อ้ งการจะเน้นให้เป็นจุดเด่นหลัก

การควบคุมความลึก ทัศนมิติ (Derspective control) เป็นการจัดองค์ประกอบเพือ่ เพิม่ ความลึก (มิตทิ ่ี 3 ) ให้แก่ภาพถ่าย เราเรียกส่วนทีเ่ ป็นความลึกนีว้ า่ “Perspective” จะเห็นได้ชดั เมือ่ ถ่ายภาพ ทิวทัศน์ ที่มีวัตถุสิ่งของเรียงเป็นแถวยาวเหยียดตามลำดับ ส่วนที่อยู่ ด้านหน้าจะมีขนาดใหญ่ และค่อย ๆ เล็กลงไปตามระยะทาง ห่างออกไป เช่นเสาไฟฟ้า รางรถไฟ เราสามารถควบคุมความลึกของภาพ โดยการเลือ่ นตำแหน่งกล้อง ให้มีระยะห่าง หรือเข้าใกล้วัตถุ ให้วัตถุที่อยู่ส่วนหน้าทาบทับ (Overlap) กับวัตถุที่อยู่ถัดไปเลนส์ที่มีทางยาวโฟกัสต่างกัน จะให้ความรู้สึกกับ ความลึกต่างกันด้วย เลนส์ทม่ี คี วามยาวโฟกัสยาว จะทำให้ชอ่ งว่างของวัตถุในฉากหลัง มีน้อยลง นั่นคือวัตถุในฉากหลังจะดูมีขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับวัตถุที่ อยู่ข้างหน้า เลนส์ทม่ี ที างยาวโฟกัสสัน้ จะมีชอ่ งว่างมากขึน้ การประกอบภาพ ให้มฉี ากหน้า (Foreground) ก็ชว่ ยทำให้เกิดความลึกได้มาก โดยใช้สง่ิ ทีม่ ี อยู่ในธรรมชาติประกอบเป็นฉากหน้า หรือเป็นกรอบภาพ (Framing) นอกจากนีย้ งั ช่วยเน้นวัตถุทอ่ี ยูภ่ ายในกรอบให้ดเู ด่น น่าสนใจ

51

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.