BASIC OF ART_3

Page 1

พื้นฐานทางศิลปะ Basic of Art

1

BASIC OF ART : พืน้ ฐานทางศิลปะ

อาจารย์ณงค์ณุช นทีพายัพทิศ


การจัดวางภาพ น้าหนักสี (VALUES) หมายถึง จานวนความเข้มข้นตามที่สายตารับรู ้ น้ าหนักสีที่แตกต่างบนภาพขาวดา คือ สิ่งสาคัญที่ทาให้เกิดภาพที่น่าสนใจ ขึ้ น การคานึ งถึงน้ าหนักอ่อนแก่จะช่วยให้เกิด ความน่าดูในงานออกแบบ เช่น 1. ช่วยให้ภาพต่าง ๆ เกิดมิติขนึ้ 2. ช่วยให้เกิดความรูส้ ึกเคลื่อนไหว 3. ช่วยให้เกิดความรูส้ ึกหนักเบา การให้น้ าหนักของแสงและ สีมีหลักการพิจารณา 1. น้ าหนักของแสง คือ เงาที่เกิดขึ้ นจาก แสงวัตถุเมื่อได้รบั แสงแล้วสามารถแบ่ง เงาออกได้ 4 อย่างคือ 1.1 SHADE เป็ นเงาของวัตถุ เอง 1.2 SHADOW เป็ นเงานของ วัตถุที่ตกทอดลงกับพื้ น จะ มีความเข้มกว่าเงาของวัตถุ เอง 1.3 LIGHT เป็ นส่วนที่ได้รบั แสง มากที่สุด จะสะท้อนแสง ออกมาให้เห็น 1.4 HIGH LIGHT เป็ นส่วนที่ ได้รบั แสงมากที่สุด จะ สะท้อนแสงออกมาให้เห็น ได้อย่างชัดเจน โดยเฉพาะ วัตถุที่มีความแวววาว 2. น้ าหนักของสี เป็ นสิ่งที่แสดงออกซึ่ง ความลึก หนา ใกล้ ไกล เช่น ภูเขาที่อยู่ ใกล้จะเป็ นสีเขียว ส่วนที่อยูไ่ กลออกไป 2

ก็เป็ นสีเขียวอมฟ้า การออกแบบโดยใช้ ส่วนประกอบของการออกแบบที่มี ลักษณะสามมิติประกอบกับสองมิติ คือ จุด เส้น รูปร่าง ดังกล่าวมา สรุปได้วา่ ในการออกแบบใด ๆ ผูอ้ อกแบบ จะต้องคานึ งถึงลักษณะของรูปแบบ ความรูส้ ึกของแรงยืดหยุน่ และแรงเชื่อม แน่นที่รวมกัน ความงาม ประโยชน์ใช้ สอย สร้างความสมดุลให้เกิดขึ้ นเป็ น รูปแบบมีหน่วยสมบูรณ์ ช่วยให้ผสู้ นใจ หรือผูบ้ ริโภคได้ประโยชน์จากการ ออกแบบนั้นด้วย 3. สี COLCOR หลักการเกี่ยวกับสี 1. สีทุกสีคุณสมบัติสาคัญคือ สามารถดูด แสงและสะท้อนแสงจากวัตถุน้ัน 2. สีทุกสีสมั พันธ์กบั ความอ่อนแก่ของสี จากดาไปจนถึงขาว 3. สีทุกสีสามารถเปลี่ยนความเข้มได้ตาม ปริมาณของเนื้ อสีที่ผสม 4. ความสว่างของแสงและความชัดเจน ของสีสามารถเปลี่ยนแปลงได้โดยการ ผสมสีกบั สีอื่น 5. สีอ่อนรับรูไ้ ด้เร็วกว่าสีแก่ สีอุ่นรับรูไ้ ด้เร็วกว่าสีเย็น 6. สีทุกสีมีกาลังส่องสว่าง ก่อให้เกิดการ รับรูแ้ ละสามารถเปลี่ยนความเข้มได้ จากหลักการทั้ง 5 ประการจึงทาให้เกิด เป็ นทฤษฎีสีขนมาว่ ึ้ า  การที่เรามองเห็นวัตถุใดได้เพราะวัตถุ นั้นดูดแสงสีอื่น สะท้อนแต่สีของมันเอง  สีโดยทัว่ ไปหมายถึงลักษณะความเข้ม ของแสง  สว่างที่ปรากฏแก่ตาให้มองเห็น แม่สีของนักฟิ กส์ (สีของแสง)

BASIC OF ART : พืน้ ฐานทางศิลปะ

อาจารย์ณงค์ณุช นทีพายัพทิศ


การจัดวางภาพ คือสีที่มาจากแสงเมือ่ ผสมกันแล้วจะเกิดสี ใหม่ ในทางวิทยาศาสตร์กาหนดไว้ 3 สี คือ สีแดง – RED สีเขียว – GREEN สีน้ าเงิน – BLUE

PED + BLUE = MAGENTA GREEN + BLUE = CYAN GREEN + RED = YELLOW แต่ RED + GREEN + BLUE = WHITE สีคู่ตรงข้าม RED + CYAN = WHITE GREEN + MAGENTA = WHITE BLUE + YELLOW = WHITE

การนาไปออกแบบการจัดการแสดงแสงสี บนเวที การใช้ไฟสีในวงการภาพยนตร์ สีของนักจิตวิทยา นั กวิทยาสนใจในเรื่องสีมสี ่วน เกี่ยวข้องกับความรูส้ ึกของมนุ ษย์ คือ

สีของนั กเคมี (สีของวัตถุที่สงั เคราะห์ขน) ึ้ นั กเคมีหาทางผลิตสีขนเพื ึ้ ่อใช้ใน วงการอุตสาหกรรมและวงการศิลปะ หรือ เราเรียกอีกอย่างหนึ่ งว่า “วัตถุธาตุ ” (PIGMENTARY PRIMARIES) แม่สีวตั ถุ ธาตุน้ั นหมายถึง การใช้สีหลักผสมกันจะ ได้สีใหม่ขนึ้ มีอยู่ดว้ ยกัน 3 สี 1. สีแดง – RED 2. สีน้ าเงิน – BLUE 3. สีเหลือง – YELLOW

จะเห็นได้วา่ แม่สีของฟิ สิกส์ท้งั หมดเมือ่ ผสมกันจะได้สีขาว และสีตรงข้ามก็เช่นกัน จะได้สีขาวแม่สีของแสงนี้ มีประโยชน์ ใน 3

BASIC OF ART : พืน้ ฐานทางศิลปะ

อาจารย์ณงค์ณุช นทีพายัพทิศ


การจัดวางภาพ เมือ่ นาแม่สีท้งั สามผสมกันแล้วจะได้สีข้นั ที่ สอง (SECONDARY COLOR) ในอัตราการ ผสมของสีข้นั ที่ 1 แต่ละคู่โดยใช้ผสมละ เท่า ๆ กัน แดง + น้ าเงิน = ม่วง (VIOLET) แดง + เหลือง = ส้ม (ORANGE) น้ าเงิน + เหลือง= เขียว (GREEN) สี่ข้นั ที่สาม (CHROMA COLOE) หมายถึงสี ที่ผสมระหว่างสีข้นั ที่หนึ่ งกับสีข้นั ที่สองแต่ ละคู่จะเกิด แดง + ม่วง= แดงม่วง RED – VIOLET แดง + ส้ม= แดงส้ม RED – ORANGE น้ าเงิน + ม่วง= น้ าเงินม่วง BLUE – VIOLET น้ าเงิน + เขียว =น้ าเงินเขียว BLUE – GREEN เหลือง + เขียว = เหลืองเขียว YELLOW – GREEN เหลือง + ส้ม=เหลืองส้ม YELLOW – ORANGE

การใช้สี เมือ่ เข้าใจว่าทฤษฎีสีพนฐานจากสี ื้ ทั้ง 3 ขั้นนั้ นเกิดจากการผสมของตัวแม่สี หรือสีข้นั ที่ 1 ดังนั้ นการใช้สีนอกจากจะ ผสมกนดังได้กล่าวแล้ว ยังมีวถิ ีการเปลี่ยน ความเข้มของสีแท้ มีวธิ ีการอยู่ 4 ประการ คือ 1. เปลี่ยนความเข้มของสีแท้ (HUE IN TENSITY) 2. การจัดลาดับความเข้มของสี (ACHROMATIC SCALE) 3. การใช้สีอุ่นและสีเย็น (WARM AND COOL) 4. การใช้สีตดั กัน (SIMUL TANEOUS CONTRAST) การเปลี่ยนแปลงความเข้มของสีแท้ สีแท้ หมายถึงสีที่มคี วามเข้ม จานวนหนึ่ ง เช่น สีแดงสด เหลืองสด การ เปลี่ยนแปลงความเข้มของสีกระทาได้โดย 1. ใช้สีขาวผสมกับสีแท้น้ั น ๆ สี ใหม่ที่เกิดขึ้ นเรียกว่า “สีผสม ขาว” (TINT) 2. ใช้สีดาผสมกับสีแท้น้ั น ๆ สี ใหม่ที่เกิดขึ้ นเรียกว่าสีผสมดา (SHADE) 3. ใช้สีเทาผสมกับสีแท้น้ั น สีใหม่ ที่เกิดขึ้ นเรียกว่า สีผสมเทา (TONE)

4

BASIC OF ART : พืน้ ฐานทางศิลปะ

อาจารย์ณงค์ณุช นทีพายัพทิศ


การจัดวางภาพ การผสมสีแท้ดว้ ย TINT, TONE, SHADE จะทาให้ความเข้มของสีเปลี่ยนไป เมือ่ สีแท้ผสมด้วยที่ขาวจะทาให้มนี ้ าหนั ก สว่างขึ้ นเมือ่ สีแท้ผสมกับสีดาจะทาให้มี น้ าหนั กเข้มขึ้ น ในการผสมความเข้มและแสงสว่าง จะต้องขึ้ นอยู่กบั อัตราการผสมของ TINT, SHADE การจัดลาดับความเข้มของสี ในการออกแบบการจัดลาดับความ เข้มของสีมคี วามสาคัญมาก ผูอ้ อกแบบ จะต้องมีความเข้าใจว่าสีแท้ ๆ เมือ่ เป็ นสี ดาขาวและจะมีน้ าหนั กอยู่ในระดับใด เรา อาจจะใช้แนวสกุลของสี ( FAMILY OF COLOR) เป็ นแนวพิจารณา สกุลของสีจะ ยึดเอาแม่สีเป็ นหลัก คือ สีแดง สีเหลือง สี น้ าเงิน ก. สกุลของสีแดง ได้แก่ สีที่มสี ี แดงเข้าไปผสมอยู่คือ สีมว่ งแดง , สีแดงส้ม , สีมว่ งส้ม และสี เหลืองส้ม ข. สกุลของสีเหลือง ได้แก่ สีที่มสี ี เหลืองปนอยู่คือสีเขียว , เหลือง ส้ม , สีสม้ , สีแดงส้ม สีเขียวน้ า เงิน ค. สกุลของสีน้ าเงิน ได้แก่ สีที่มสี ี น้ าเงินไปผสมอยู่คือ สีน้ าเงิน เขียว , สีน้ าเงินม่วง , สีเขียว สี ม่วง , สีแดงม่วง , สีเหลืองเขียว 5

ง. การใช้สีรอ้ นและสีเย็น ในวงสีธรรมชาติหรือสีท้งั 12 สีที่ ได้จากสีข้นั ที่ 1, 2 และ 3 ตามทฤษฎี ถ้า เราพิจารณาจะพบว่า มีสีส่วนหนึ่ งที่มี ความเข้มและสว่าง ในการกาหนดบาง ตาราอาจใช้วา่ วรรณะของสี สามารถแบ่ง ได้ 2 กลุ่มด้วยกันคือ 1. วรรณะเย็น ( COOL TONE COLOR) ประกอบด้วยสีเหลือง , สีเหลืองส้ม , สีสม้ , สีแดงส้ม , สีแดง , สีแดงม่วง , สีมว่ ง วรรณะเย็นนี้ จะแสดงออกทาง อารมณ์ในรูปความสุขทางจิตใจ ความเงียบ ความสง่าหรูหรา 2. วรรณะ ( WARM TONE COLOR) ประกอบด้วยสีเหลือง , สีเหลืองเขียว , สีเขียว , สีน้ า เงิน , สีน้ าเงินม่วง และ สีมว่ ง จะพบได้วา่ มีสีเหลืองและสีมว่ งจะอยู่ใน 2 วรรณะทั้งวรรณะร้อนและวรรณเย็นการใช้ สีก็พิจารณาดูวา่ สีที่ใช้ในการออกแบบนั้ น มีสภาพมีส่วนรวมทั้งหมดไปในสีประเภท ใด จะได้เลือกใช้ถกู กับบรรยากาศตามที่ ต้องการ

BASIC OF ART : พืน้ ฐานทางศิลปะ

อาจารย์ณงค์ณุช นทีพายัพทิศ


การจัดวางภาพ การใช้สีตดั กัน การใช้สีตดั กัน มีความจาเป็ นมาก ในการออกแบบบริเวณที่ตอ้ งการเน้นให้ ส่วนนั้ นเด่นชัดเจน หรือตัดกับบริเวณส่วน อื่น เพราะช่วยให้ผพู้ บเห็นได้สมั ผัส รูปแบบได้ทนั ทีเมือ่ เราพูดถึงสีตดั กันคือ -สีที่อยู่ในตาแหน่ งตรงกันข้ามใน วงสีท้งั 12 สี ซึ่งจะมีสีตดั กัน 6 คู่ -สีที่ตรงข้ามกันนั้ นเมือ่ นามาผสม ด้วยบริเวณเท่า ๆ กัน จะเป็ นสีตายหรือสี กลางคือ ไม่เกิดสีใหม่ -สีที่ตรงข้ามนั้ นเมือ่ นามาระบาย บนพ้นที่เท่า ๆ กันจะใกล้กนั จะให้ ความรูส้ ึกตัดกัน จนไม่สามารถมองเห็น บริเวณที่ใกล้กนั ชัดเจน สีตรงข้ามได้แก่ สีแดง ตรงข้ามกับ สีเขียว สีน้ าเงิน ตรงข้ามกับ สีสม้ สีสม้ เหลือง ตรงข้ามกับ สีม่วงน้ าเงิน สีเหลือง ตรงข้ามกับ สีม่วง สีสม้ แดง ตรงข้ามกับ สีเขียวน้ าเงิน สีเขียวเหลือง ตรงข้ามกับ สีม่วงแดง

วิธีใช้สีตรงข้ามหรือสีตดั กัน นิ ยม นามาใช้ในวงการประยุกต์ศิลป์ กันอยู่บ่อย ๆ ซึ่งการใช้ก็จาเป็ นจะต้องคานึ งถึงการให้ เป็ นตามกฎเกณฑ์ที่จะหลีกเลี่ยงการใช้สี ตรงข้ามด้วยกันคือ

6

 ใช้สีให้ปริมาณต่างกัน เช่น สีแดง 80% สีเขียว 20% โดยคานึ งถึง ปริมาณของเนื้ อสีและเนื้ อที่  ใช้สีที่ 3 มาผสมในสีตดั กันทั้ง 2 สี เพื่อให้สีท้งั สีท้งั สองหม่นลง  โดยการฆ่าสีตรงข้ามสีใดสีหนึ่ ง ด้วยสีคู่ของมันเอง  ใช้สีดาหรือสีขาวมาคัน่ กลาง ระหว่างสีตดั กันทั้ง 2 สี  โดยการทาเป็ นลวดลายหรือช่องไฟ (SPACE) เล็กๆ  ทาเป็ นลักษณะของ VALUE อีกวิธีหนึ่ งในเรื่องของการใช้สีที่มี บทบาทงานออกแบบคือ สีเอกรงค์ (MONOCHROMES) หมายถึง สีๆ เดียว หรือสีที่แสดงอิทธิผลเด่นชัดออกมาเพียงสี เดียว มีหลักเกณฑ์คือเมือ่ วางสีสดใสที่ตอ้ ง เน้นจุดเด่นของภาพแล้วสีที่เป็ น ส่วนประกอบรอบๆ ทุกสีจะต้องลดความ สดใสลงหมด และต้องนาเอาสีจุดเด่นที่ ต้องการนั้ นเข้าไปผสมด้วยทุกๆแห่ง ส่วนสาคัญ สีที่จะนามาประกอบ นั้ นจะต้องไม่เกิน 5 สี จากกลุ่มสีวรรณะ ร้อนหรือวรรณะเย็น รวมทั้งสีเอกรงค์ที่ ต้องการด้วยก็จะได้สีอนั มีน้ าหนั กผสม กลมกลืนกันโดยธรรมชาติ สีเอกรงค์มอี ิทธิพลครอบงาสี ส่วนรวม (TONALITY) อยู่มาก เพราะ

BASIC OF ART : พืน้ ฐานทางศิลปะ

อาจารย์ณงค์ณุช นทีพายัพทิศ


การจัดวางภาพ โครงสร้างของเอกรงค์ก็จาเป็ นจะต้องอยู่ ในกฎเกณฑ์ของสีส่วนรวม จะแตกต่างกัน ตรงจุดที่วา่ การแสดงสีส่วนรวมส่วนใหญ่ นั้ นสีใช้สีสดใส จิตวิทยาของสี (PSYCHOLOGY OF COLOR) มนุ ษย์รจู้ กั ใช้สีและเข้าใจอิทธิพล ของสีที่เร้าอารมณ์มาตั้งแต่ดึงดาบรรพ์ แล้ว จะพบได้สีขาวที่เจ้าสาวใช้เป็ นวิวาห์ สี เหลืองเป็ นสีของแสงแดด สีแดงเป็ นสีของ เปลวเพลิง และบรรยากาศสีเขียวแสดง ความอิจฉาริษยา สีก่อให้เกิดอารมณ์ สี ก่อให้เกิดอารมณ์และความรูส้ ึกทั้ง ทางบวกและทางลบ ทั้งนี้ ขึ้ นอยู่กบั สภาวะแวดล้อม ภูมิ กาเนิ ด วัฒนธรรม ขนบธรรมเนี ยบ ประเพณี เชื้ อชาติ o สีแดง –RED เป็ นสีที่มพี ลังกระตุน้ อารมณ์สงู สุด เด็กจะรูจ้ กั และมี ความประทับใจในสีนี้มาก เพราะสี แดงมีความสัน่ สะเทือนของคลื่น แสงสูงมาก ใช้เป็ นสื่อความหมาย ของความเร่าร้อน ความกล้าหาญ ความชัว่ อันตราย อารมณ์เสีย ความเกลียด ชัน่ อัคคี o สีเหลือง – YELLOW เป็ นสีที่อ่อน ที่สุด ซึ่งจัดเป็ นสีบริสุทธิ์ ให้ความ อบอุ่น ให้ความศักดิ์สิทธิ์คุณค่า 7

BASIC OF ART : พืน้ ฐานทางศิลปะ

o ทางลบให้ความรุนแรง แสดงความ ทรยศ ความคดโกง ความเขลา o สีเขียว – GREEN เป็ นสีประเภท เดียวกับสีฟ้า ซี่งหมายถึง สันติ ความมุง่ หวัง ความบริสุทธิ์ ความเจริญงอกงาม สดชื่น คุณค่า ทางลบอาจตีความเป็ น o สีฟ้า - BLUE เป็ นสีธรรมชาติของ ท้องฟ้ า ซึ่งอาจหมายถึง สรวง สวรรค์ ความเป็ นจริง ความปราด เปรี่อง คุณค่าทางลบ แสดงความ เย็นชา ความสิ้ นหวัง และหมด อาลัย o สีมว่ ง – VIOLLET เป็ นสีของความ เศร้ารองจากสีดา ความผิดหวัง ถูก ทอดทิ้ ง มีเลศนั ย o สีดา - BLACK ในนิ ยามของสีถือ ว่าสีดาไม่เป็ นสีเพราะไม่มกี าร สะท้อนของแสงสีใดสีดาเป็ นสีของ ความกลัว และความกักขฬะ แต่ ในทางตรงกันข้ามสีดาอาจใช้แสดง คุณค่าหรือพลัง เราจะพบเห็นได้ จากสีของครุยบัณฑิต o สีขาว - WHITE เป็ นสัญลักษณ์ของ แสงสว่าง ชัยชนะ ความบริสุทธิ์ และความร่าเริงคุณค่าทางลบ สี ขาวแสดงความจืดชืด ความสว่าง และปี ศาจ

อาจารย์ณงค์ณุช นทีพายัพทิศ


การจัดวางภาพ การออกแบบกับคุณประโยชน์ของสี นั กออกแบบจะต้องนาเอาหลักการ ต่างๆ ของสีไปดัดแปลงให้สอดคล้องกับ จุดมุง่ หมายของรูปแบบที่จะออกแบบ อย่างไรก็ตามคุณประโยชน์ ของสีที่มผี ลต่อ การออกแบบพอจะกล่าวได้คือ 1. สร้างความรูส้ ึกสีให้เกิด ความรูส้ ึกต่อผูพ้ บเห็นแตกต่างกันไป โดย ขึ้ นอยู่กบั ประสบการณ์และภูมหิ ลังของผูด้ ู สีบางสีสามารถช่วยบาบัดโรคจิตบางชนิ ด ได้ การใช้สีกบั อาคารภายในและภายนอก สร้างความรูส้ ึกต่อการสัมผัสและการสร้าง บรรยากาศอย่างมาก 2. สร้างความสนใจสีมอี ิทธิพลต่อ ผลงานออกแบบช่วยสร้างความประทับใจ และความสนใจอันดับแรกที่เราพบเห็น 3. สีบอกสัญลักษณ์ของวัตถุ ซึ่งเกิดจากประสบการณ์และภูมหิ ลัง เป็ น ต้นว่า สีแดงแทนไฟสีเขียนแทนพืชหรือ ความปลอดภัย 4. สีช่วยในการรับรูแ้ ละจดจา งานออกแบบต้องการให้ผทู้ ี่พบเห็นเกิด ความประทับใจ สีในงานออกแบบจึงสะดุด ตาและมีเอกภาพ สรุปได้วา่ นั กออกแบบ หรือศิลปิ นนั้ นให้ความสนใจกับเนื้ อสีใน ส่วนที่ผสมกันโดยตรงนั กออกแบบจะ สร้างสรรค์ใช้สีอื่นๆตามกรรมวิธีตาม รูปแบบใดก็ได้ 8

หลักการออกแบบ (PRINCIPLES OF ART) 1. ความกลมกลืน (HARMONY) 2. สัดส่วน (PROPORTION) 3. ความสมดุล (BALANCE) 4. จังหวะ (BALANCE) 5. การเน้น (EMPHSIS) 6. เอกภาพ (UNITY) 7. การตัดกัน (CONTRART) จังหวะลีลาของจุดและการจัดวาง (RHYTHM DESIGN) การออกแบบจะต้องจัดสีสนั รูปทรง และรูปร่างให้เหมาะสม ให้มี จังหวะทีเหมาะสม ซึ่งคาว่าจังหวะ (RHYTHM) เป็ นนามธรรม (ABSTRACT) เมือ่ จังหวะเหมาะสม องค์ประกอบของ ภาพก็มกี ารประสานกลมกลืนการซ้าและ ความแตกต่างเป็ นสิ่งที่ทาให้เกิดจังหวะได้ จังหวะ หมายถึง การจัดวาง ตาแหน่ งรูปร่าง รูปทรง ในการออกแบบ การจัดช่องไฟที่คานึ งถึงรูปแบบและพื้ นไป พร้อมๆกัน

BASIC OF ART : พืน้ ฐานทางศิลปะ

การจัดจังหวะมีรูปแบบ 1. การจัดช่วงจังหวะแบบซ้ากัน โดย การซ้ารูปทรง รูปร่าง สี ต้องมี ความพอเหมาะจะเกิดความงามขึ้ น อาจารย์ณงค์ณุช นทีพายัพทิศ


การจัดวางภาพ 2. การจัดช่วงจังหวะต่อเนื่ อง เป็ นการ เปลี่ยนแปลงด้านใดด้านหนึ่ งให้ เกิดขึ้ น

รวมตัวกันขึ้ นเป็ นผลงาน ความ สวยงาม น่ าสนใจ ย่อมขึ้ นอยู่กบั คุณภาพ การทางานของผูอ้ อกแบบ

ข้อควรคานึ งในการจัดจังหวะ

ส่วนประกอบของการออกแบบที่ สาคัญตามลาดับ 8 อย่างด้วยกันคือ

1. ในการจัดวางลักษณะของรูปทรง จะต้องมีลักษณะใกล้เคียงกันและ คานึ งถึงทิศทางเพื่อให้เกิดความ กลมกลืน

 จุด (POINT- DOT)  เส้น (LINE_CALLIGRAPHY)รูปร่าง ,รูปทรง (SHAPE_FORM)

2. เรื่องรูปและพื้ น ช่องไฟจะต้อง สร้างความสัมพันธ์กบั รูปแบบ

 ทิศทาง (DIRECTION)  ขนาด สัดส่วน(SIZE_PRPORTION)

3. การรวมกันของรูปร่างหรือร่างรูป ใช้แนวของแนวคิดที่วา่ ด้านต่อด้าน มุมต่อมุม มุมต่อด้าน

 ลักษณะผิว (TEXTURE)  ช่องไฟ-บริเวณว่าง (SPACE)  น้ าหนั กสี (VALUES)

ส่วนประกอบในการออกแบบประเภท สองมิติ สิ่งต่างๆ ที่เราเห็นว่างาม มี ประโยชน์ ตามความประสงค์ เป็ นผลสรุป ของการออกแบบอย่างเหมาะสมในการ ออกแบบบ้านเป็ นผลของการบูรณาการ เข้ากับ ( ORGANIZATION) ตามสัดส่วนที่ พอดีส่วนประกอบของความงามของ ทิวทัศน์ เบื้ องหน้า การออกแบบประกอบ ขึ้ นด้วยส่วนประกอบของการออกแบบ (ELEMENTS FO DESIGN) โดยมีการ 9

 สี (COLOR) ส่วนประกอบตอนนี้ จะทาความ เข้าใจร่วมกันเฉพาะสองมิติ เท่านั้ นคือ จุด (POINT- DOT) เส้น (LINE) รูปร่าง (SHAPE) จุด (POINT- DOT) เป็ นพื้ นฐาน เบื้ องต้นและมีความสาคัญยิ่งในการ

BASIC OF ART : พืน้ ฐานทางศิลปะ

อาจารย์ณงค์ณุช นทีพายัพทิศ


การจัดวางภาพ ออกแบบ ไม่วา่ เด็กหรือผูใ้ หญ่สามารถที่จะ เขียนจุดได้โดยไม่ตอ้ งใช้ความสามารถใน เรื่องทางศิลปะ แต่การจะออกแบบจุดให้มี การรวมกันอย่างสวยงามจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจ จุดเมือ่ เรียงต่อกันตาม ตาแหน่ งที่เหมาะสมและซ้าๆ กันก็จะทา ให้เกิดเป็ นเส้น รูปร่าง รูปทรงใน ธรรมชาติก็ได้ออกแบบไว้อย่างเป็ น ระเบียบมีจงั หวะมีความสัมพันธ์กนั อย่าง พอเหมาะ พอดี เช่น ข้าวโพด รวงข้าว เป็ นต้น การออกแบบจุดไม่ยากเกินกว่า ความสามารถออกแบบด้วยจุดให้เห็นเป็ น รูปแบบต่างๆได้ ซึ่งวิธีการในการออกแบบ ด้วยจุดนี้ มีหลักเบื้ องหลักเบื้ องต้นที่เสนอ 2 ประการคือ การกาหนดตาแหน่ ง ( POSIRITION) คือ การเรียงลาดับของจุดบนบริเวณว่างที่ เหมาะสมให้เป็ นระเบียบเป็ นแถว ตาม นอน ตามตั้ง ซึ่งสามารถเข้าใจกันได้ การซ้ากัน ( REPETITION) คือการซ้ากัน ช่วยให้กาหนดตาแหน่ งของจุดเป็ นกลุ่ม เป็ นก้อน มีลีลาจังหวะตามที่เห็นว่า เหมาะสม 10

ในการออกแบบจุดอาจสรุปเป็ น หัวข้อสาหรับเสนอแนะได้หลายประการ คือ 1. การออกแบบจุดโดยให้มลี ักษณะซ้ากัน ตามลาดับ ( REGULARREPETITIONSEQUENCE) เน้นเฉพาะการออกแบบจุดที่จุดที่ ต่อเนื่ องกันตามแนวนอนหรือตามแนว ขวางอย่างใดอย่างอย่างหนึ่ ง 2. การออกแบบจุดโดยให้มลี ักษณะซ้ากัน เป็ นจังหวะ ( REGULAR REPETTION RHYTHM) การออกแบบให้เป็ นจังหวะต่าง กับการออกแบบให้ซ้ากัน แสดงถึงลีลา การเคลื่อนไหวในทิศทางต่างๆ มากกว่า ทิศทางในแนวนอนเพียงอย่างเดียว การ ออกแบบเป็ นจังหวะนี้ สามารถช่วยพัก สายตากับผูพ้ บเห็นและให้ความ ต่อเนื่ องกัน การสร้างภาพสามมิติ ได้ทาความเข้าใจเกี่ยวกับส่วนประกอบ ของการออกแบบเกี่ยวกับจุด เส้น รูปร่าง รูปทรงแล้วในบทที่ 5 ซึ่งส่วนประกอบ เหล่านั้ นมีลักษณะสองมิติและมีส่วนคาบ เกี่ยวกันคือระหว่างสองมิติและสามมิติ ซึ่ง ได้แก่ รูปทรงและรูปร่าง

BASIC OF ART : พืน้ ฐานทางศิลปะ

อาจารย์ณงค์ณุช นทีพายัพทิศ


การจัดวางภาพ 3. เส้นซิกแซก

ในบทนี้ จะทาความเข้าใจเกี่ยวกับ องค์ประกอบที่มลี ักษณะเป็ น 3 มิติ คือ

4. รูปวงกลม

 ทิศทาง(DIRECTION) 

5. เส้นลักษณะลูกศร

ขนาด-สัดส่วน (SIZE-PROPORTION)

ลักษณะผิว (TEXTURE)

ช่องไฟ (SPACE)

จากข้อมูลเหล่านี้ เราสามารถนามา ประยุกต์ใช้กบั รูปแบบทาให้เกิดความรูส้ ึก เคลื่อนไหวได้ 2 ประการ

น้ าหนั กสี (VALUES)

1.ทาให้เกิดความเคลื่อนไหวในแบบที่ออก 2.เป็ นการเน้นข้อความหรือภาพให้เด่นชัด ขึ้ น

ทิศทาง (DIRECTION) ขนาด-สัดส่วน (SIZE-PROPORTION) หมายถึง ลักษณะที่แสดงให้รวู้ า่ การ ออกแบบนั้ นมีลักษณะจูงใจผูพ้ บเห็น ใน การออกแบบเกี่ยวกับทิศทางนั้ น ผูอ้ อกแบบจะต้องคานึ งถึงองค์ประกอบ เป็ นอย่างมากว่า เส้น จุด รูปร่าง รูปทรง เมือ่ บูรณาการเข้าด้วยกันจะให้ความรูส้ ึก ไปในทิศทางเดียวกัน ทิศทางหรือความ เคลื่อนไหว ใกล้กนั มีความกลมกลืนกัน ทิศทางตรงข้ามกันมีความตัดกัน เส้นและส่วนประกอบต่างๆที่จะทาให้เกิด ทิศทางได้แก่ 1. เส้นเฉียง

ขนาด (SIZE) หมายถึงบริเวณพื้ นที่ใน ขอบเขตหนึ่ งส่วนที่ประกอบเป็ นรูปร่างมี จานวนมากกว่าหนึ่ ง เรารับรูข้ นาดด้วย การเปรียบเทียบด้วยการกะประมาณจาก ประสบการณ์เดิมของเรา สัดส่วน ( PROPORTION) หมายถึง ปริมาณของส่วนประกอบในการออกแบบ ที่สมั พันธ์กนั ในการออกแบบนั้ นทั้งหมด หรืออัตราส่วนที่กาหนดลงในแบบหรือ ภาพหรืองานที่วา่ เท่าใดกับของจริงตาม ธรรมชาติ ซึ่งแบ่งออกได้ 3 แบบคือ

2. เส้นโค้ง 11

BASIC OF ART : พืน้ ฐานทางศิลปะ

อาจารย์ณงค์ณุช นทีพายัพทิศ


การจัดวางภาพ 1. UNDER PROPORTION เป็ นสัดส่วน ที่ผิดจากความเป็ นจริง เป็ นต้นว่า ช้างตัว 2. เล็กกว่าคน ภูเขาเล็กกว่ากว่าต้นไม้ มดใหญ่กว่าควาย ซึ่งในการ ออกแบบอาจจะเกิดขึ้ นได้ในกรณีที่ ต้องการเน้น 2. NARMAL PROPORTION เป็ นสัดส่วนที่ ถูกต้องตามความจริง เช่นเด็กเล็กกว่า ผูใ้ หญ่ เป็ นการออกแบบโดยปกติทวั ่ ไป 3. OVER PROPORTION เป็ นสัดส่วนที่ผิด เกินความเป็ นจริง เช่น คนหัวโตกว่าตัว เป็ นการออกแบบล้อเลียน หลักการในการพิจารณา เกี่ยวกับความ กลมกลืนของขนาด คือ 1. ขนาดใกล้กนั ย่อมให้ ความรูส้ ึกกลมกลืนกัน 2. ขนาดที่ต่างกัน ย่อมให้ ความรูส้ ึกที่ตดั กัน

ลักษณะผิว (TEXTURE) พื้ นผิว หมายถึง คุณสมบัติของผิว วัตถุที่แสดงต่อสายตา หรือความรูส้ ึกของ คนเราทาให้เกิดความรูส้ ึกถึงความขรุขระ ความแข็ง หรือความละเอียดอ่อนของสีที่ เราได้นอกจากจะแสดงต่อสายตาแล้วจาก คุณภาพที่ปรากฏยังทาให้เกิดความรูส้ ึกใน จิตใจด้วย พวกที่มพี นผิ ื้ วหยาบ จะให้ ความรูส้ ึกไปทางหนั ก มีความแข็งแรง ไม่ แจ่มใส ขุนมัว ทึบ ส่วนพวกที่พนผิ ื้ ว ละเอียดจะให้ความรูส้ ึกแจ่มใส เบา อ่อนแอ ไม่แข็งแรง ในงานออกแบบ ลักษณะผิวจึงมีความสาคัญต่อความรูส้ ึก สัมผัสและประสาทตาเป็ นอย่างยิ่ง แหล่ง ของลักษณะผิว และ สาเหตุที่ทาให้เกิด เป็ นลักษณะผิวนั้ น อาจจะประมวลเป็ น ข้อเสนอแนะ 4 ประการคือ 1. เกิดจากการดูดซึมและการ สะท้อนของแสง ที่มคี วามเข้ม ต่างๆ กันบนวัสดุแต่ละชนิ ด

12

BASIC OF ART : พืน้ ฐานทางศิลปะ

อาจารย์ณงค์ณุช นทีพายัพทิศ


การจัดวางภาพ 2. ทาให้ตารับรูพ้ ร้อมๆกันทั้งแสง และวัตถุเป็ นลักษณะผิวของสิ่ง นั้ นๆ 3. เกิดจากความแตกต่างของแสง สว่างและความมืดที่กระจายแผ่ ไปทัว่ ๆผิวของวัตถุน้ั น ทาให้ เกิดริ้ วรอยความละเอียดของ ลักษณะผิววัตถุน้ั น 4. เกิดจากความแตกต่างของสีที่ ปรากฏบนระนาบผิวของวัตถุ นั้ นตามคลื่นของแสง ที่สะท้อน ต่างๆกัน 5. เกิดจากความแตกต่างของ ความทึบแสง ความโปร่งแสง หรือความมัวของวัตถุน้ั นๆ สะท้อนแสง ทาให้เห็นความตื้ น ลึกริ้ วรอยของลักษณะผิวบน วัตถุน้ั นลักษณะผิวขรุขระบาง ชนิ ด เขามักจะนามาประกอบ รูปทรงบางส่วนที่ใช้จบั ถือ เพื่อให้กระชับมือไม่หลุดง่าย ตรงกันข้ามกับลักษณะผิวที่เป็ น มันมีประกายดึงดูดล่อตาแต่ อาจจะไม่ช่วยในการจับต้อง เท่าใดนั ก สรุปได้ว่า ลักษณะผิวเป็ นส่วนประกอบ สาคัญ ซึ่งช่วยให้รปู ทรงที่ได้ออกแบบนั้ นมี ความงดงาม ขณะเดียวกันก็ยงั ช่วยอานวย ประโยชน์ สาหรับหน้าที่ใช้สอยด้วย อย่างไรก็ดีส่วนประกอบที่มลี ักษณะสาม 13

มิติคือ ทิศทาง ขนาดสัดส่วน และลักษณะ ผิวดังกล่าวแล้วยังมีสิ่งที่เกี่ยวพันอีก ช่องไฟ (SPACE) หมายถึง การจัดที่วา่ งของภาพหรือแบบให้ มีความพอเหมาะพอควรและมีระเบียบ เป็ นสิ่งที่ตอ้ งคานึ งมาก อย่าจัดให้แน่ หรือ มากจนเกินไป ซึ่งแบ่งออกได้ดงั นี้ 1. ช่องไฟที่ติดต่อเป็ นช่องไฟที่ ติดกันไปเรื่อยๆ เช่นการปลูก เสายกทาเป็ นรั้วบ้านจะ ติดต่อกัน 2. ช่องไฟที่ขาดเป็ นช่วง ๆ ติดต่อกันไป

BASIC OF ART : พืน้ ฐานทางศิลปะ

3. ช่องไฟที่เป็ นช่วงติดต่อกัน ช่องไฟนี้ คล้ายกับแบบที่ 2 แต่ มีส่วนเชื่อมติดต่อกันไป

อาจารย์ณงค์ณุช นทีพายัพทิศ


การจัดวางภาพ 4. ช่องไฟกระจายเป็ นช่องไฟที่มี ศูนย์รวมอยู่หนึ่ งจุด แล้ว กระจายออกไปทุกทิศเป็ นวง รัศมีของกลม

6. .ช่องไฟเพิ่ม เป็ นช่องไฟที่มี ปริมาณเพิ่มมากขึ้ นเรื่อย ๆ Positive – Negative or Shape – Form พื้ นและรูปร่าง การสร้างสรรค์งานศิลปะกระดาษใน ลักษณะนี้ นั้ นจาเป็ นอย่างยิ่งจะต้องยึดถือ หลักการของรูปและพื้ นเป็ นสาคัญ เพราะ ส่วนที่ถกู ตัดเปิ ดออกไปนั้ น เราใช้ชนส่ ิ้ วน ของตัวรูปร่างเดิมเองโดยการตัดรูปร่างพื้ น ให้ขาดออกจากกัน ในบางทฤษฎีเรียกว่า รูปร่างร่วมด้วยเหตุนี้จึงควรคานึ งเสมอว่า 1. ในการออกแบบควรให้มคี วามรูส้ ึก ว่าภาพมีรปู ร่างร่วมกัน 2. ภาพที่ได้ออกมาควรให้มคี วามรูส้ ึก ว่า สมดุลกันเป็ นรูปร่าง เป็ นต้น

5. ช่องไฟซ้า เป็ นช่องไฟซ้ากัน เรื่อย ๆ ไป

14

BASIC OF ART : พืน้ ฐานทางศิลปะ

อาจารย์ณงค์ณุช นทีพายัพทิศ


การจัดวางภาพ

รูปร่างปิ ด-เปิ ด ลักษณะต่างๆ

ภาพตัดออกจากสี่เหลี่ยมผืนผ้าเจาะเป็ น ทรงโค้งมน

15

ภาพทุกภาพจะมีลักษณะแบ่งครึ่งเมือ่ ตัด ออกแล้วเปิ ดขึ้ นเป็ นภาพต่อซ้อนซ้ากัน

BASIC OF ART : พืน้ ฐานทางศิลปะ

อาจารย์ณงค์ณุช นทีพายัพทิศ


การจัดวางภาพ ลักษณะต่อเนื่ องรูปซ้าๆกัน

ภาพตัดออกแบบต่อเนื่ องขึ้ นด้านบน

การออกแบบตัดกระดาษรูปร่างเปิ ด-ปิ ด ในลักษณะต่างๆ 16

BASIC OF ART : พืน้ ฐานทางศิลปะ

อาจารย์ณงค์ณุช นทีพายัพทิศ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.