การถ่ายภาพ บทที่3

Page 1

หน่วยที่ หลักการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

3

หลักเบื้องต้นในการถ่ายภาพ ช่างภาพจะต้องเข้าใจ ส่วนประกอบของกล้อง ระบบการทำงาน จึงจะสามารถ - ภาพถ่ายทีม่ คี วามคมชัด - ได้ Neg ทีพ่ อดี เมือ่ อัดขยายภาพแล้ว ไม่มดื ,สว่างไป - มีรายละเอียดในส่วนสว่าง (Highlight) และเงามืด (Shadow) ซึ่งช่างภาพจะต้องเข้าใจพื้นฐานในการถ่ายภาพที่สำคัญคือ - ทราบอัตราความไวแสงของฟิลม์ ทีใ่ ช้บนั ทึกภาพ - การตัง้ ความเร็วชัตเตอร์ (Shutter Speed) เข้าใจหลักการควบคุมเวลาในการฉายแสงลงบนฟิลม์ - การเปิดเลนส์,รูรบั แสง (Lens opening,Aperture) เข้าใจหลักการควบคุมปริมาณแสง - การปรับโฟกัส (Focus) เข้าใจหลักการควบคุมความคมชัดของภาพ การฉายแสง (Exposure) ปริมาณของแสงที่ตกกระทบบนฟิล์ม เป็นผลมาจากความเข้ม ของแสงทีผ่ า่ นเลนส์ และเวลาทีแ่ สงปรกกฎบนฟิลม์ - ขนาดรูรบั แสง ทำหน้าทีค่ วบคุมความเข้มของแสงทีต่ กบนฟิลม์ - ความเร็วชัตเตอร์ ทำหน้าทีค่ วบคุมเวลาทีแ่ สงตกกระทบฟิลม์ ในการถ่ายภาพจะต้องตัดสินใจว่าควรจะตั้งรูรับแสง (F/stop) กับความเร็วชัตเตอร์ (Shutter speed) ที่เท่าใด จึงจะให้แสงปรากฏ บนฟิลม์ ได้พอดี ทัง้ นีจ้ ะขึน้ อยูก่ บั ความไวแสงของฟิลม์ ด้วย 1. อัตราความไวแสงของฟิล์ม ฟิล์มชนิดขาว - ดำ และฟิล์มสี ตามปกติจะมีเลขบอกอัตรา หรือบอกหน่วยความไวแสง ไว้ให้ทก่ี ล่องของฟิลม์ แต่ละชนิด ยกเว้นฟิลม์ บางประเภทที่ผลิตสำหรับช่างภาพอาชีพจะบอกเป็นเลขรหัสเท่านั้น เมือ่ ซือ้ ฟิลม์ สิง่ ทีจ่ ำเป็นก็คอื จะต้องดูเลขบอกอัตราความไวแสง ของฟิลม์ ซึง่ จะมีบอกไว้ทข่ี า้ งกล่องฟิลม์ เสมอ อัตราความไวแสงของฟิลม์ ที ่ ต ้ อ งการให้ ด ู น ี ้ เป็ น ตั ว เลขบอกให้ ร ู ้ ว ่ า ฟิ ล ์ ม ม้ ว นนั ้ น จะสามารถ รับแสงได้มากน้อยเพียงใด ถ้ารับได้นอ้ ยจะบอกเป็นตัวเลขอัตราต่ำ เช่น ISO 25, ISO 32 และค่อย ๆ มากขึน้ ไปตามลำดับ เรื่องของตัวเลขอัตราความไวแสงนี้ ถ้าจะเปรียบก็คล้ายกับขวด 27

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ หลักการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

3

หรือแก้วทีบ่ รรจุนำ้ เหมือนกัน เช่น ขวดใบหนึง่ ใช้บรรจุนำ้ ได้ 200 ซีซี ฟิลม์ ขนาดนีร้ บั แสงได้ ISO 200 เป็นต้น เมือ่ รูป้ ริมาตรการบรรจุ หรืออัตรารับแสงได้เช่นนีแ้ ล้ว เรือ่ งต่อไป ก็คอื วิธกี ารบรรจุแสงฟิลม์ การบรรจุแสงลงฟิลม์ ก็คอื การถ่ายภาพนัน่ เอง และเครือ่ งมือถ่ายภาพก็คอื กล้องถ่ายภาพ การทีจ่ ะรูว้ ธิ บี รรจุแสงลงฟิลม์ ได้ ก็ต้องมีความเข้าใจในเรื่องกลไกการทำงานของกล้องถ่ายภาพ 2. ความเร็วชัตเตอร์ กล้องถ่ายภาพจำเป็นต้องมีเลขบอกอัตราความเร็วชัตเตอร์ไว้ให้ แต่สำหรับกล้องถ่ายภาพสมัยใหม่ ที่มีระบบการถ่ายภาพอัตโนมัติ เช่น กล้อง AUTO จะไม่มเี ลขบอกความเร็วชัตเตอร์บอกให้รู้ ตัวเลขที่บอกความเร็วชัตเตอร์มีอยู่สองระบบ แบบแรกจะเป็น ชัตเตอร์ไดอะแฟรมทีอ่ ยูท่ เ่ี ลนส์ (Leaf Shutter, Shutter Blade) กับอีก แบบหนึ่งเป็นชัตเตอร์ม่านที่ระนาบฟิล์ม ชนิดผ้าดำหรือแผ่นโลหะบาง (Focal plane Shutter, Shutter Curtain) ส่วนปุม่ ปรับจะทำเป็นแป้น หมุนอยู่บนกล้องด้านขวาหรือซ้าย แล้วมีตัวเลขบอกอัตราความเร็ว ชัตเตอร์อยูบ่ นแป้นนัน้ อัตราที่ใช้เป็นความเร็วชัตเตอร์กำหนดเป็นตัวเลข เมื่อผู้ใช้ จะใช้อตั ราใด ก็ให้หมุนตัวอักษรหรือตัวเลขให้ตรงกับเครือ่ งหมายหัวลูกศร หรือเครือ่ งหมายสามเหลีย่ ม หรือเครือ่ งหมายเส้นตรง

28

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ หลักการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

3

เครือ่ งหมาย B ย่อมาจากคำว่า Brief Time หรือ Bulb แปลว่า ช่วงเวลาสัน้ ๆ หรือหลอดไฟ ชัตเตอร์ใช้ถา่ ยในกรณีคล้ายกับชัตเตอร์ T แต่เวลาอาจจะสั้นกว่า หรือใช้แทนชัตเตอร์ T ในกรณีที่กล้องนั้นไม่มี ชัตเตอร์ T การทำงานของชัตเตอร์ B ต้องอาศัยการใช้สายลัน่ ไก (Cable release) เข้าช่วยแล้วตั้งกล้องให้แน่นบนขาตั้งกล้อง์ ระหว่างที่ กดปุ่ม อยู ่ น ั ้ น ม่ า นชั ต เตอร์ จ ะเปิ ด ให้ แ สงเข้ า กล้ อ งได้ ต ลอดเวลา พอปล่ อ ย ปุม่ กดชัตเตอร์ ม่านชัตเตอร์จงึ จะปิด เครื่องหมายตัวเลขส่วนมากจะเริ่มจากตัว 1 คือ กล้องจะ เปิดให้แสงผ่านเลนส์เป็นเวลา 1 วินาที่ และต่อไปคือ 2 และมากขึน้ ทีละ เท่าตัวคือ 4,8,15,30,60,125,250,500 เลขเหล่านี้ เป็นความเร็วเศษส่วน ของวินาทีทุกอัตรา เช่น 1/2 วินาที, 1/60 วินาที แต่การที่ไม่เขียน ที่กล้องก็เป็นเพราะไม่มีเนื้อที่ จึงจำเป็นต้อง ละไว้ให้เข้าใจกันเอง เวลาเขียนบันทึกแสดงรายละเอียดการถ่ายภาพ ผู้ถ่ายจะต้องเขียน แสดงเศษส่ ว น และบอกเป็ น วิ น าที ให้ เ ต็ ม ที ่ ท ุ ก ครั ้ ง ด้ ว ย และอีกประการหนึ่ง สำหรับอัตราความเร็วที่ใช้สำหรับม่านชัตเตอร์หน้า ระหว่างเลนส์ ส่วนมากจะมีเพียงอัตรา 1/500 วินาที แต่ถ้าเป็นกล้อง ชัตเตอร์มา่ นจะมีถงึ 1/1,000 วินาที 1/4,000 วินาที หรือ1/8,000 วินาที แถวบนคือเลขบอกอัตราความไวแสงของฟิลม์ 125 ISO หรือ 22 DIN ตัวอักษรในช่องล่าง 2 ช่อง แนะนำให้เอาเลขบอกอัตรา ความไวแสง ของฟิลม์ ทีร่ ะบุไว้ไปตัง้ ในเครือ่ งวัดแสงในตัว และตาราง ข้างล่างเป็นตาราง บอกสภาพของแสงแดด เช่น แดดจัด แดดอ่อน หรือมืดฟ้ามัวฝนอย่างไร และเมื ่ อ นำไปใช้ ก ั บ กล้ อ งถ่ า ยภาพประเภท ระบบแมนนวลที ่ ต ั ้ ง ความเร็วชัตเตอร์ และรูรบั แสงด้วยตนเอง ก็ให้ใช้ความเร็วชัตเตอร์ 1/125 วิ น าที เพราะความเร็ ว ชั ต เตอร์ ข นาดนี ้ เหมาะสำหรั บ ใช้ ถ ่ า ยภาพ ความเป็นอยู่ปกติโดยทั่วไปได้ และเมื่อใช้ ความเร็วตามอัตราดังกล่าว ในแสงแดดทีส่ ว่างหรือมืดไม่เท่ากัน ตามหลักการถ่ายภาพให้ได้แสงพอดี ก็จำเป็นจะต้องใช้วิธีเปิดขนาด รูรับแสงเพื่อควบคุมให้ปริมาณแสงสว่าง ตกกระทบบนฟิลม์ ได้พอดีตามที่ ฟิลม์ ต้องการ ตัวอย่างคำแนะนำการถ่ายภาพในกล่องฟิลม์ 125 ISO , 22 DIN DAYLIGHT EXPOSURE GUIDE FOR ADJUSTABLE CAMERAS SHUTTER SPEED AT 1/125 SECOND Bright or Hazy Sun Weak Hazy Sun Cloudy Bright Heavy Overcast Open Shade (Distinct Shadow) (Soft Shadows) (No Shadow) x f.16 f.11 f.8 f.5.6 f.4 X 18 for backlighted closeup subjects. Subject shaded from sun but lighted by a large of sky. 29 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ หลักการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

3

3. ขนาดรูรบั แสง (Aperture) ในกระบอกเลนส์ ถ ่ า ยภาพ ถ้ า เรามองผ่ า นเลนส์ ช ิ ้ น หน้ า เข้าไปข้างในกระบอกเลนส์ จะเห็นแผ่นโลหะบาง ๆ สีดำเรียงตัวซ้อน เป็นลายขัดกันอย่างมีระเบียบ และตรงระหว่างลายขัดนั้น จะเห็นมี ช่องว่างเป็นรูโหว่อยู่ตรงกลางกระบอกเลนส์พอดี แผ่นโลหะบาง ๆ สีดำ ทัง้ ชุดนีเ้ รียกว่า ม่านเลนส์ (Diaphragm) ไดอะแฟรม ทำหน้าทีป่ ดิ -เปิด รู ร ั บ แสง (Aperture) เพื ่ อ ความคุ ม ปริ ม าณแสงที ่ จ ะผ่ า นเข้ า กล้ อ ง ให้มากน้อย เรียกว่าปรับขนาดรูรบั แสง (F-mumber) หรือ (F-stop) f-number = ความยาวโฟกัสของเลนส์ เส้นผ่าศูนย์กลางรูรบั แสง F-number มาตรฐาน F./ 1.0,1.4, 2, 2.8, 4, 5.6, 8, 11, 16, 22, 32 ดังนัน้ เอฟ-นัมเบอร์ทม่ี คี า่ มาก รูรบั แสงจะมีขนาดเล็ก เอฟ-นัมเบอร์ทม่ี คี า่ น้อยรูรบั แสงจะมีขนาดกว้าง

30

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ หลักการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

3

ตัวเลขแต่ละตัว หรือแต่ละช่อง จะมีปริมาณของแสงผ่านได้เป็น อัตราช่องละ 1 เท่า มากหรือน้อย กว่ากันทีละช่อง เลขแต่ละช่องเรียกว่า เอฟ. สตอพ (f. stop) ตามตัวเลขกำกับขนาดรูรับแสงนี้ f.22 จะเป็นเลขที่หรี่รูรับแสง ได้เล็กที่สุด (เลนส์บางตัวมีเลขมากกว่า เช่น 32 และ 45) เลขแต่ละช่วง เช่นจาก f.16 - f.11 เมือ่ ใช้เปิดขนาดรูรบั แสง แสงจะผ่านเข้ากล้องได้ สตอพ ละ 1 เท่าเสมอ ( เช่น 2 แล้วเป็น 4 และเป็น 8 เป็นต้น) ขนาดรูรับแสงที่ม่านเลนส์เปิดขยายให้กว้างหรือหรี่ให้เล็กลงนั้น ใช้ประโยชน์ในการควบคุมปริมาณของแสงเพื่อปรับแสงให้เข้ากล้อง และไปบรรจุลงบนเยื่อไวแสงของฟิล์มตามต้องการ เช่น เวลาถ่ายภาพ ตอนแดดจัด ก็เปิดขนาดรูรบั แสงแคบ ๆ แต่พอแดดค่อย ๆ มืดลง หรือไป ถ่ายภาพในอาคาร หรือในทีร่ ม่ ซึง่ มีแสงสว่างน้อยลง ก็ตอ้ งเปิดขนาด รูรับแสงให้กว้างขึ้น เพื่อให้แสงสว่างผ่านเข้ากล้องไปถึงฟิล์มได้ตาม อั ต ราที ่ ต ้ อ งการ เพื ่ อ ความเข้ า ใจมากขึ ้ น ให้ อ ่ า นคำแนะนำ ทีบ่ ริษทั ผูผ้ ลิตฟิลม์ ซึง่ ได้นำมาพิมพ์ให้ดดู ว้ ย ตัวอย่างคำแนะนำการถ่ายภาพในกล่องฟิลม์ 125 ISO , 22 DIN DAYLIGHT EXPOSURE GUIDE FOR ADJUSTABLE CAMERAS SHUTTER SPEED AT 1/125 SECOND Bright or Hazy Sun Weak Hazy Sun Cloudy Bright Heavy Overcast Open Shade (Distinct Shadow) (Soft Shadows) (No Shadow) x f.16 f.11 f.8 f.5.6 f.4 X 1.8 for backlighted closeup subjects. Subject shaded from sun but lighted by a large of sky.

31

ในช่องแรก ทางด้านซ้ายมือมีคำอธิบายว่า ถ่ายภาพสิ่งที่ อยู่กลางแดดจัด หรือตอนที่มีหมอกแดด (เห็นแสงและเงาชัดเจน) สภาพแสงเช่นนี้เมื่อใช้อัตราความเร็วชัตเตอร์ 1/125 วินาที จะต้องเปิด รูรบั แสง f.16 จึงจะได้แสงเข้ากล้องพอดี ดูเลยไปอีกช่อง ทางด้านซ้ายมือมีคำอธิบายว่า แดดอ่อนลง (เห็ น แสงและเงาเพี ย งเลื อ นลาง) แสดงว่ า แดดไม่ จ ้ า เท่ า ตอนแรก เขาก็แนะนำให้เปิดขนาดรูรบั แสงให้โตเป็น f.11 แสงจึงจะเข้ากล้องได้พอดี คำอธิบายในตารางช่องต่อ ๆ ไป ก็จะเห็นได้วา่ ตัวเลขขนาดรูรบั แสงจะค่อย โตขึ้นตามลำดับ ในขณะนี้สภาพแสงสว่างในที่ที่ต้องการถ่ายน้อยลง ถ้าเราเปิดขนาดรูรับแสง และตั้งความเร็วชัตเตอร์ได้ตามคำแนะนำ ดั ง กล่ า วนี ้ แ ล้ ว จะถ่ า ยภาพได้ แ สงเข้ า ฟิ ล ์ ม ได้ พ อดี เ สมอ หลั ก ของ การถ่ า ยภาพเบื ้ อ งต้ น มี ห ั ว ใจสำคั ญ ที ่ เ รี ย กว่ า เป็ น หั ว ใจของการ ถ่ายภาพอยู่ 3 ประการ คือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ หลักการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

3

- ต้องรูอ้ ตั ราความไวแสงของฟิลม์ (ทัง้ ฟิลม์ ขาว-ดำ และฟิลม์ สี) - ต้องตัง้ อัตราความเร็วชัตเตอร์ให้สมั พันธ์กบั การเคลือ่ นทีข่ องวัตถุ - ต้องตัง้ เลขขนาดรูรบั แสงสัมพันธ์กบั สภาพแสงสว่างทีใ่ ช้ในการถ่าย ภาพ ให้ถกู ต้องตามสภาพความเป็นจริง อาจจะมีข้อสงสัยว่าเหตุใดในคำอธิบายในกล่องฟิล์มถ่ายภาพ จึงกำหนดให้ใช้ความเร็วชัตเตอร์ 1/125 วินาที ที่เดียว ทั้ง ๆ ที่แป้น หรือแหวนบอกอัตราความเร็วมีเป็นจำนวนมากทีก่ ำหนดให้ใช้ความเร็วชัตเตอร์ วินาที หรือ ในฟิลม์ ไวแสงสูง กำหนดเป็น 1/250 วินาทีนน้ั เป็นการกำหนด ไว้เพียงกลาง ๆ เพื่อใช้ถ่ายกับสภาพสิ่งแวดล้อมหรืออาการเคลื่อนไหว ของสิง่ ทีต่ อ้ งการถ่ายตามธรรมดาโดยทัว่ ๆ ไปเท่านัน้ ถ้าเป็นกรณีพเิ ศษ เช่น รถวิ่งเร็ว ๆ หรือคนกระโดดโลดเต้น หรือเล่นกีฬา ก็ต้องเปลี่ยน ความเร็วชัตเตอร์เป็น 1/500 หรือ 1/1,000 วินาที ให้สงู ขึน้ เป็นต้น และใน ทางตรงกันข้ามถ้าถ่ายภาพสิง่ ทีอ่ ยูน่ ง่ิ ๆ หรือในทีม่ แี สงสว่างน้อยก็อาจจะ ต้องลดความเร็วชัตเตอร์ให้ชา้ ลง 1/8 วินาทีหรือถึง 1 นาที หรือเปิดชัตเตอร์ ให้แสงเข้ากล้องนานเป็นหลาย ๆ นาทีกท็ ำได้ ความสัมพันธ์ระหว่างรูรับแสงกับความเร็วชัตเตอร์ เนื ่ อ งจากรู ร ั บ แสงและความเร็ ว ชั ต เตอร์ ทำงานสั ม พั น ธ์ ซึ่งกันและกัน เมื่อมีการปรับหรือเปลี่ยนรูรับแสงและความเร็วชัตเตอร์ ปริมาณของแสง ทีเ่ ข้าไปในกล้องก็จะเปลีย่ นไปด้วย เช่นฟิล์มความไวแสง ISO 100 ต้องการปริมาณแสง 100% จึงจะถ่ายภาพรับแสงได้พอดี (normal) ดังนั้นถ้าหากเราเปิดรูรับแสง ให้ แ สงเข้ า ไป 20% ก็ ต ้ อ งใช้ ค วามเร็ ว ชั ต เตอร์ ใ ห้ แ สงเข้ า ไป 80% ถ้าเปิดรูรบั แสง 50% ต้องใช้ความเร็วชัตเตอร์ 50% ถ้าเปิดรูรบั แสง 80% ก็ตอ้ งใช้ความเร็ว 20% จึงจะได้ปริมาณแสงทีเ่ ท่ากัน

32

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ หลักการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

3

การเปลี่ยนแปลงอัตราความเร็วชัตเตอร์ ให้พอเหมาะกับสิ่ง เคลือ่ นไหวทีต่ อ้ งการถ่ายก็เกิดมีขอ้ ต้องสงสัยขึน้ มาทันที ยกตัวอย่างง่ายๆ อย่างคำแนะนำในกล่องฟิลม์ บอกไว้วา่ กลางแดดจัดใช้ฟลิ ม์ ไวแสง ASA 100 ความเร็วชัตเตอร์ 1/125 วินาที ตั้งขนาดรูรับแสง f.16 (โปรดดูที่ ตารางคำแนะนำในกล่องฟิล์ม ASA 100) ในโอกาสเดียวกันนี้ถ้าเรา ต้ อ งการถ่ า ยภาพนั ก กี ฬ ากำลั ง วิ ่ ง แข่ ง ขั น สมมติ ว ่ า จะต้ อ งเปลี ่ ย น ความเร็วชัตเตอร์จาก 1/125 มาเป็น 1/250 วินาที ความเร็วชัตเตอร์ อัตรานีม้ คี วามเร็วมากขึน้ สิง่ ทีเ่ ปลีย่ นไปจากเดิมคือแสงทีเ่ คยเข้ากล้อง ได้ ในอัตราความเร็วชัตเตอร์ 1/125 วินาที จึงต้องลดน้อยลง 1 เท่าตัว ถ้า ถ่ายไปตามนี้ เนกาตีฟทีล่ า้ งจะได้รบั แสงน้อยไป 1 เท่า (under exposed) เมื่อเป็นเช่นนี้เราจะต้องมีการชดเชยแสงให้เข้าฟิล์มพอดี คือเพิ่มแสง ให้เข้ากล้องอีก 1 เท่า ให้เท่ากับทีข่ าดไป การเพิม่ แสง หรือชดเชยแสงนี้ กระทำได้ด้วยการขยายขนาดรูรับแสงให้กว้างขึ้นอีก 1 เท่าตัว เช่น แต่เดิมกำหนดไว้ท่ี f.16 พอเปลีย่ นความเร็วชัตเตอร์เป็น 1/250 วินาที จาก 1/125 วินาที เมือ่ นับจาก f.16 เลยไปก็ถงึ f.11 ก็จะได้ 1 เท่าตัวพอดี ดังนี้เป็นต้น และในทำนองเดียวกัน ถ้าเราต้องการเปลี่ยนความเร็ว ชั ต เตอร์ ส ู ง ขึ ้ น เป็ น 1/500 วิ น าที เราก็ ต ้ อ งเพิ ่ ม ขนาดรู ร ั บ แสง จากทีก่ ำหนดไว้เดิม (f.16) มาเป็น f.8 คือความเร็วชัตเตอร์เพิม่ จากเดิม มาเป็น 1/500 วินาที นับเป็น 2 เท่า หรือเรียก 2 stop เราก็ตอ้ งชดเชยแสง จากเดิมที่ f.16 เป็น f.8 รวมเป็น 2 stop เช่นเดียวกัน และในทาง ตรงกันข้ามถ้าต้องการลดความเร็วชัตเตอร์ให้ช้าลงกว่าที่กำหนดกี่เท่า เราก็ใช้วธิ หี รีข่ นาดรูรบั แสงให้เล็กลงไปตามลำดับเช่นเดียวกัน การชดเชยแสง ความเร็วชัตเตอร์ของกล้องนั้นได้กำหนดไว้ให้ เหมาะกับการถ่ายภาพสิ่งต่าง ๆ เช่น ถ่ายภาพนิ่งก็กำหนดความเร็ว ชัตเตอร์ชา้ ๆ ไว้ให้และต้องการถ่ายภาพสิง่ เคลือ่ นไหวเร็ว ๆ ก็ตอ้ งเลือกใช้ อัตราความเร็วชัตเตอร์สงู ๆ ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้ได้ภาพทีไ่ ม่สน่ั ไหวพร่ามัวนัน่ เอง เหตุผลที่ต้องเปลี่ยนความเร็วชัตเตอร์และหน้ากล้อง - เพือ่ ขจัดความสัน่ ไหว อันเนือ่ งมาจากกล้อง - เพือ่ หยุดการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุ - ทำให้วตั ถุทเ่ี คลือ่ นทีพ่ ร่ามัว - เพือ่ ควบคุม depth of field

33

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ หลักการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

3

ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วชัตเตอร์ กับการเคลื่อนที่ของวัตถุ การปรั บ ตั ้ ง ความเร็ ว ชั ต เตอร์ เ พื ่ อ หยุ ด ภาพของวั ต ถุ ท ี ่ ก ำลั ง เคลือ่ นที่ จะขึน้ อยูก่ บั - ความเร็วของวัตถุ - ระยะห่างระหว่างกล้องกับวัตถุ - มุมทีว่ ตั ถุเคลือ่ นทีก่ บั ตำแหน่งกล้อง หลักในการตั้งความเร็วชัตเตอร์และหน้ากล้อง - ศึกษาจากคำแนะนำทีต่ ดิ มากับฟิลม์ จะเป็นตารางแนะนำ หรือใช้ สัญญลักษณ์แทน -ใช้เครื่องวัดแสงวิธีนี้มีความแน่นอนในการวัดแสง เพื่อหาค่า ของหน้ากล้องและความเร็วชัดเตอร์ที่เหมาะสม ซึ่งมีทั้งชนิดที่ติดตั้ง อยูก่ บั ตัวกล้อง (Built-in light meter) และชนิดมือถือ (hand held light meter) ชนิดของเครือ่ งวัดแสง (Types of exposure meters) - เครือ่ งวัดแสงชนิดสะท้อนแสงจากวัตถุ (Reflected light meter) ใช้วัดความเข้มของแสงที่สะท้อนจากวัตถุ ถ้าเป็นวัตถุที่มีความสว่าง ปานกลาง (average brightness) จะได้ค่าที่เที่ยงตรงมาก แต่ถ้าเป็น วั ต ถุ ท ี ่ ม ี ล ั ก ษณะมื ด หรื อ สว่ า งมากเกิ น ไป ค่ า ที ่ ไ ด้ อ าจผิ ด พลาดได้ จะต้องมีการชดเชยแสงช่วย เครื่องวัดแสงที่ใช้ในกล้องถ่ายภาพ 35 mm.SLR.จะใช้ แบบนี้เซลวัดแสงจะติดอยู่หลังกระจกรับภาพ บริเวณ กระจก prism แสดงผลด้วยเข็มชี,้ แบบดวงไฟ LED หรือ แบบตัวเลข LCD - เครื่องวัดแสงแบบวัดแสงตกกระทบบนวัตถุ (Incident light meter)เป็นเครือ่ งวัดแสงแบบมือถือ จะมีพลาสติกผ้ารูปโดมครอบด้านบน ของเซลรับแสงในทิศทางต่าง ๆ ได้รอบด้าน เซลจะอ่านค่าเสมือนว่า สามารถสะท้อนแสงได้ 18% วิธีวางเครื่องวัดแสงไว้หน้าวัตถุหันเซล รับแสงไปยังทีต่ ง้ั กล้อง แล้วอ่านค่าการฉายแสง

34

- เครื่องวัดแสงแบบวัดเฉพาะจุด (Spot meter) ลักษณะการ ทำงานแบบวัดแสงสะท้อน แต่ถูกออกแบบมาสำหรับใช้วัดแสงเฉพาะจุด หรื อ พื ้ น ที ่ เ ล็ ก ๆ เพื ่ อ ต้ อ งการถ่ า ยภาพให้ จ ุ ด ที ่ ต ้ อ งการมี แ สงพอดี แสดงค่าเป็นตัวเลข มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ หลักการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

-

3

ระบบวัดแสงของกล้อง 35 mm.SLR ( Through The Lens Metering ) ระบบอ่านค่าของแสงเฉลีย่ ทัว่ ทัง้ ภาพ Averaging meters ระบบวัดแสงแบบเฉลีย่ ส่วนกลางของภาพ Center Weighting ระบบวัดแสงแบบจุด Spot meters ระบบวัดแสงจากระนาบฟิลม์ off the Film meters ระบบควบคุมการถ่ายภาพของกล้อง 35 mm.SLR. - M ระบบควบคุมโดยผู้ถ่ายภาพ Manual-Exposure Control - A ระบบปรับความเร็วชัตเตอร์อัตโนมัติ Aperture-Priority - S ระบบปรับหน้ากล้องอัตโนมัติ Shutter-Priority - P ระบบโปรแกรมอัตโนมัติ Program

ช่วงความชัดลึก (Depth of field) จากการหรีข่ นาดรูรบั แสงให้เล็กลง และขยายรูรบั แสงให้กว้างขึน้ เพื่อเป็นการชดเชยแสงดังกล่าวแล้ว ในการนี้จะมีผลเกิดกับภาพถ่าย ขึ้นอย่างหนึ่งคือ ช่วงความชัดลึก กล่าวคือในการถ่ายภาพครั้งใด ถ้าเปิดขนาดรูรบั แสงกว้างมาก ช่วงความชัดในการถ่ายภาพจะน้อยลงและ ถ้าหรีข่ นาดรูรบั แสงให้เล็กลง ช่วงความชัดก็จะมากขึน้ ช่ ว งความชั ด ที ่ ม ากขึ ้ น หรื อ น้ อ ยลงนี ้ ให้ ว ั ด จากศู น ย์ ก ลาง ของระยะที่ปรับในกล่องถ่ายภาพ เช่น ปรับระยะถ่ายภาพไว้ 15 ฟุต ก็ จ ะเปิ ด ขนาดรู ร ั บ แรงให้ ก ว้ า งปานกลาง ภาพอาจจะชั ด ใกล้ จ าก ศูนย์กลางเข้ามา 3 ฟุต คือเริม่ ชัดตัง้ แต่ระยะ 12 ฟุต และไกลจาก ศูนย์กลางออกไปอีก 5 ฟุต คือชัดไปถึง 20 ฟุต ดังนัน้ ในการถ่ายภาพ คราวนี้ ภาพถ่ายจะชัดตั้งระยะ 12 - 20 ฟุต แต่วัตถุที่ใกล้เข้ามา และไกลออกไปจะอยู ่ น อกระยะชั ด ภาพที ่ อ ยู ่ ใ นระยะชั ด ดั ง กล่ า ว แล้วเรียกตามภาษาการถ่ายภาพว่า ช่วงความชัดลึก (depth of field) ประโยชน์ของช่วงความชัดลึก ช่วงความชัดลึกมีอยู่ 2 อย่างคือ ช่วงความชัดลึกน้อย และช่วงความชัดลึกมาก ช่วงของความชัดนี้ สามารถควบคุมให้เกิดประโยชน์ และเป็นไปตามความต้องการได้ 35

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ หลักการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

3

ตัวอย่างง่าย ๆ เช่น การถ่ายภาพในห้องทีม่ แี สงสว่างพอสมควร อย ่ า งห ้ อ งเร ี ย นหร ื อ ห ้ อ งประช ุ ม ในสภาพแสงสว ่ า งเช ่ น น ี ้ ถ้าอ่านคำอธิบายในกล่องฟิลม์ จำกำหนดไว้วา่ ถ้าใช้ฟลิ ม์ ไวแสง ASA 100 ใช้อัตราความเร็วชัตเตอร์ 1/125 วินาที ขนาดรูรับแสง f.4 หรือ f.2.8 ดังนีเ้ ป็นต้น

36

ก็พอจะทราบแล้วว่า เลขบอกขนาดรูรบั แสง f.4 และ f.2.8 เป็น เลขทีก่ ว้างมาก เมือ่ ถ่ายภาพ ภาพทีไ่ ด้จะมีชว่ งความชัดลึกน้อยมาก คือ ชัดเฉพาะตรงระยะที่กำหนด นอกจากพื้นที่ใกล้เข้ามาและไกลออกไป จะอยูน่ อกระยะชัดหมด คือพร่ามัวจนอาจดูไม่รเู้ รือ่ ง เมือ่ เป็นเช่นนีก้ จ็ ะ ผิดความมุง่ หมาย และการถ่ายภาพในห้องประชุม เราจำเป็นต้องถ่ายให้ เห็นคนในห้องเป็นจำนวนมาก และคนที่เห็นก็ต้องให้ชัดตลอดด้วย เมือ่ เป็นเช่นนี้ ก็ควรใช้วธิ ตี ง้ั กล้องให้นง่ิ แล้วลดความเร็วชัดเตอร์ ให้ชา้ ลง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ หลักการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

3

จากเดิมลดลงทีละช่อง เมือ่ ลดความเร็วลงช่องหนึง่ ก็ให้หรีข่ นาด รูรับแสงเพิ่มขึ้นภาพที่ได้ก็คมชัดตลอด เรื่องนี้จึงเป็นประโยชน์ในการ ควบคุมความ ชัดลึกได้อย่างหนึง่ อีกกรณีหนึ่งเป็นผลที่ตรงกันข้าม คือภาพบางประเภทที่เรา ต้องการจะเน้นจุดสำคัญของภาพให้เด่น โดยการถ่ายภาพให้ชัดตรงจุด แห่งความสนใจเพียงจุดเดียว นอกนัน้ ปล่อยให้พร่ามัวอยูน่ อกระยะชัดหมด การถ่ายภาพประเภทนี้จึงจำเป็นจะต้องเปิดขนาดรูรับแสงให้กว้างมาก ๆ เมื่อเปิดกว้าง ๆ เราก็ต้องเพิ่มความเร็วชัตเตอร์ให้สูงขึ้น ซึ่งอาจจะถึง 1/500 หรือ 1/1,000 วินาที แต่เป็นการใช้ความเร็วชัตเตอร์เพื่อเป็นการ ชดเชยแสงให้กว้างมากขึน้ เท่านัน้ เอง เลนส์กบั ความชัดลึก ( Lens & Depth of field ) ขึน้ อยูก่ บั ส่วนประกอบทีส่ ำคัญ ดังนี้ - รูรบั แสง (Aperture) - ระยะโฟกัส (Focusing Distance) - ความยาวโฟกัสของเลนส์ (Focal length)

37

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ หลักการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

-

-

38

3

อุปกรณ์ประกอบทีใ่ ช้กบั กล้องถ่ายภาพ (Camera accessories) ทีบ่ งั แสง Lenshood or Lens shade แว่นกรองแสงหรือฟิลเตอร์ Filter ฟิลเตอร์แก้ความผิดเพีย้ นของสี ฟิลเตอร์สำหรับงานถ่ายภาพ ขาว-ดำ ฟิลเตอร์สำหรับตัดแสง ฟิลเตอร์ทใ่ี ช้เพือ่ ผลพิเศษ สายลัน่ ไกชัตเตอร์ Shutter cable release อีเลคโทรนิคส์แฟลช Flash เครือ่ งขับเคลือ่ นฟิลม์ Motor drive, Auto winder ขาตัง้ กล้อง Tripod กระเป๋าใสกล้อง Camera bags & Case

ฟิลเตอร์ (Filter) เป็ น อุ ป กรณ์ ท ี ่ ถ ู ก นำมาประกอบเข้ า กั บ กล้ อ งถ่ า ยภาพ เพื ่ อ ขยายขอบเขตการใช้ ง าน ให้ ถ ่ า ยได้ ภ าพที ่ ด ี ข ึ ้ น ,เพื ่ อ ให้ ไ ด้ ผ ลพิ เ ศษ ลักษณะโดยทัว่ ไปเป็นวัสดุโปร่งใส ทำด้วยแก้ว,เจลาติน, อืน่ ๆ หลักการทำงาน ฟิ ล เตอร์ จ ะกรองเอาแสงที ่ ไ ม่ ต ้ อ งการออกไป ปล่ อ ยให้ แ สง เฉพาะส่วนทีต่ อ้ งการ เข้าไปในกล้องเพือ่ บันทึกลงบนฟิลม์ เท่านัน้ แสงสีที่มองเห็นด้วยตาในธรรมชาติทั่วไปไปถูกสร้างขึ้นมาจาก แม่สีของแสงขั้นต้น 3 สี คือ สีแดง สีน้ำเงินและสีเขียว สีที่เรามองเห็น เป็นสีขาวนัน้ เป็นส่วนผสมของแม่สแี สงทัง้ สาม ฟิลม์ ขาว-ดำ จะบันทึกแสงสีตา่ ง ๆ ออกมาในรูปของสีเทาระดับ ต่าง ๆ แต่เนือ่ งจากฟิลม์ แต่ละประเภทจะมีความไวต่อแสงสีทต่ี า่ งกัน เช่น ฟิ ล ์ ม Panchromatic จะมี ค วามไวต่ อ แสงสี ม ่ ว งและสี น ้ ำ เงิ น มาก ทำให้สที ง้ั สองมีแนวโน้มออกมาสว่างในภาพถ่าย ขาว-ดำ นอกจากนีย้ งั ไวต่อแสง UV (Ultra Violet) ซึ่งมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า แต่จะปรากฏ เป็นสีสว่างในภาพ ฟิล์มแพนไม่ไวต่อแสงสีเขียว สีเขียวจึงปรากฏมืด กว่ า ปกติ ใ นภาพ ดั ง นั ้ น จะเห็ น ว่ า ตาเรามองเห็ น ความสว่ า งของสี ไม่ตรงกับทีฟ่ ลิ ม์ บันทึก ฟิลเตอร์จะทำหน้าที่กรองแสง ที่สะท้อนจากวัตถุมากระทบ กับฟิลเตอร์ โดยจะดูดกลืน (absorbed) หรือปล่อยแสงผ่าน (transmilted) เข้ า ไปกระทบฟิ ล ์ ม ขึ ้ น อยู ่ ก ั บ แสงสี ท ี ่ ส ะท้ อ นและสี ข องฟิ ล เตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ หลักการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

3

ช่างภาพจะต้องเลือกใช้ ฟิลเตอร์ ภายใต้คณ ุ สมบัติ emulsion ฟิลม์ สภาพ แสงสี เพือ่ ให้ได้ภาพถ่ายทีต่ รง ใกล้เคียงทีส่ ดุ เท่าทีต่ าเห็น กฎการปล่อยให้ผ่านและการดูดกลืนแสงสี (Law of transmission and absorbtion) ฟิ ล เตอร์ จ ะยอมให้ แ สงสี เ ดี ย วกั บ ตั ว ของมั น เองผ่ า นไปได้ และจะดูดกลืนแสงสีที่เป็นสีตรงข้าม ผลที่ได้จากกฎนี้คือ แสงสีที่ผ่าน ฟิลเตอร์ไปถึงฟิลม์ จะทำให้ neg มีสดี ำทึบ เมือ่ อัดขยายเป็นภาพขาว-ดำ จะกลับเป็นสีสว่าง ส่วนแสงสีทถ่ี กู ดูดกลืน จะผ่านไปถึงฟิลม์ ได้นอ้ ย ฟิลม์ neg จะบาง เมื่ออัดขยายเป็นภาพขาว-ดำ จึงเป็นสีเข้ม-ดำมากกว่า Filter Factors เมื่อใช้ฟ ิลเตอร์ จะดูดกลืนแสงที่ผ่านเข้ากล้องบางส่วน จึง จำเป็นต้องชดเชยแสง โดยการเพิม่ การฉายแสงให้มากขึน้ ตัวเลขทีจ่ ะช่วย คำนวณค่าการฉายแสงเพิ่มคือ Filter Factors ซึ่งจะบอกไว้ที่ฟิลเตอร์ แต่ละตัว เช่น ฟิลเตอร์สีเหลืองมีค่า Filter Factor = 2 เมื่อถ่ายภาพ คือจะต้องเปิดรับแสงเพิม่ เป็น 2 เท่า ก็คอื มีคา่ = เปิดหน้ากล้องเพิม่ ขึน้ 1 Stop แต่ ถ ้ า ใช้ ก ล้ อ งที ่ ม ี ร ะบบวั ด แสงผ่ า นเลนส์ ก็ ไ ม่ จ ำเป็ น ต้ อ งใช้ ค่ า ชดเชยแสง เนื ่ อ งจากเครื ่ อ งวั ด แสงจะอ่ า นค่ า ความเข้ ม ของแสง เมือ่ ผ่านฟิลเตอร์เรียบร้อยแล้ว จึงไม่ตอ้ งเพิม่ ฟิลเตอร์สำหรับถ่ายภาพ ขาว-ดำ - ฟิลเตอร์แก้คา่ โทนสี (Correction filter) ใช้เพือ่ แก้คา่ ของโทนสี เทาระดั บ ต่ า ง ๆ เพื ่ อ ให้ ม ี ล ั ก ษณะเดี ย วกั บ ค่ า ความสว่ า งที ่ ต ารั บ รู ้ - คอนทราสฟิลเตอร์ (Contrsst Filter) ใช้เพือ่ แบ่งแยกค่าโทนสีเทา เพิม่ ความตัดกันระหว่างสี 2 สี ให้โทนสีตดั กันยิง่ ขึน้ - ฟิลเตอร์ตัดหมอกควัน (Haze Filter) ใช้เพื่อลดหมอกควันใน บรรยากาศ ซึ่งปกติมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า แต่จะปรากฏในภาพถ่าย บดบังรายละเอียด - ฟิลเตอร์โพลาไรซ์ (Polarizing Filter) ใช้เพื่อเพิ่มสีน้ำเงินของ ท้องฟ้าให้คล้ำขึน้ ควบคุมการสะท้อนแสง และเพือ่ ขจัดหมอกควัน - ฟิลเตอร์ทอนแสง (Neutral density Filter) ใช้สำหรับลดปริมาณ แสงที่จะผ่านเข้าไปยังฟิล์ม โดยไม่มีผลเปลี่ยนแปลงต่อความสว่างของ ภาพ ใช้เพือ่ ควบคุมความชัดลึกของภาพ หรือลดความเร็วชัตเตอร์ลง การใช้ Electronic Flash ในการถ่ายภาพ - ช่วยให้สามารถถ่ายภาพได้ในสภาพแสงน้อย หรือแสงไม่พอ 39

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ หลักการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

3

- สามารถใช้ร่วมกับแสงธรรมชาติ เพื่อเปิดให้เห็นรายละเอียด ในส่วนทีเ่ ป็นเงา กรณีถา่ ยภาพย้อนแสง - ใช้ชว่ ยจับภาพทีเ่ คลือ่ นไหวให้หยุดนิง่ ภาพคมชัด การใช้งาน Electronic Flash การตัง้ ขนาดรูรบั แสงของกล้องถ่ายภาพ เมือ่ ใช้ไฟแฟลช จะขึน้ กับ - ความไวแสงของฟิล์ม - ระยะทางจากกล้อง (แฟลช) ถึงวัตถุทถ่ี ถู า่ ย - Guide Number ของแฟลช F.No = GN = 28 5 5 F.No = 5.6 การปรับตัง้ ใช้งาน Electronic Flash ในระบบต่าง ๆ - M mode ระบบปรับตัง้ Manual - A mode ระบบปรับตัง้ Automatic - MD mode ระบบปรับตัง้ เมือ่ ใช้กบั Motor Drive - TTL mode ระบบวัดแสงแฟลชผ่านเลนส์ Through The Lens Flash metering อุปกรณ์สำหรับถ่ายภาพในระยะใกล้ ฟิลเตอร์ถา่ ยใกล้ (Filter Close-up) วิ ธ ี ท ี ่ ง ่ า ย สิ ้ น เปลื อ งน้ อ ยที ่ ส ุ ด ในการถ่ า ยภาพระยะใกล้ การทำงานเช่นเดียวกับแว่นที่ใช้กับคนสายตายาว ซึ่งจะช่วยให้เห็น ภายในระยะใกล้ดขี น้ึ การใช้ ง านจะสวมไว้ ห น้ า เลนส์ ท ี ล ะตั ว หรื อ หลาย ๆ ตัวพร้อมกันก็ได้ แต่เพื่อให้ได้ภาพที่มีคุณภาพ ควรสวม Filter ที่มี No สูงไว้ติดกับเลนส์ และฟิลเตอร์ที่มีค่าน้อยกว่าสวมถัดมา ฟิลเตอร์ที่ No สูงจะสามารถถ่ายได้ใกล้และมีกำลังขยายมากกว่า ฟิลเตอร์ที่มีเบอร์ต่ำ ฟิลเตอร์นจ้ี ะไม่ลดทอนแสง จึงไม่ตอ้ งชดเชยแสง ขีดจำกัดคือจะไม่สามารถถ่ายภาพได้ภาพทีม่ ขี นาดเท่าของ จริงได้ บริเวณขอบภาพจะสูญเสียความคมชัด โดยเฉพาะจะเห็นชัดมากขึ้น เมื่อใช้กับฟิลเตอร์ที่มีกำลังขยายสูงมาก

40

ท่อต่อเลนส์ (Extension tube) ต่อเข้าระหว่างตัวกล้องกับเลนส์ เพือ่ เพิม่ ระยะทางและกำลังขยาย ซึ ่ ง จะขึ ้ น อยู ่ ก ั บ ความยาวของท่ อ ภายในท่ อ ต่ อ จะไม่ ม ี ช ิ ้ น เลนส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


Photography 12-400-262

หน่วยที่ หลักการถ่ายภาพ

3

จึงไม่มีผลต่อการลดคุณภาพของภาพ เลนส์ที่มีทางยาวโฟกัสต่างกัน ก็จะได้อัตราขยายต่างกัน เช่นเมื่อใช้ท่อต่อที่ยาว 50 ม.ม.กับเลนส์ 24 ม.ม.จะได้กำลังขนาย 2:1 ขี ด จำกั ด ท่ อ ต่ อ เลนส์ จ ะไม่ ม ี ผ ลต่ อ คุ ณ ภาพของภาพที ่ ไ ด้ ราคาไม่ แ พงหาซื ้ อ ได้ ไ ม่ ย าก แต่ ถ ้ า หากใช้ ท ่ อ ต่ อ ที ่ ย าวขึ ้ น จะทำให้ ปริมาณแสงที่จะตกกระทบฟิล์มลดลงไปด้วย จึงต้องชดเชยแสงเพิ่ม ข้อจำกัดอีกอย่างก็คอื ไม่สามารถเชือ่ มต่อการทำงานระหว่างเลนส์กบั กล้อง ถ่ า ยภาพเหมื อ นปกติ ไ ด้ และไม่ ส ามารถโฟกั ส ที ่ ร ะยะอนั น ต์ ไ ด้ จึงไม่ควรใช้กับการถ่ายภาพไกลมาก เลนส์มาโคร (Macro Lens) เป็นเลนส์ทอ่ี อกแบบเพือ่ ใช้ในการถ่ายภาพใกล้โดยเฉพาะให้ อัตรา ขยายโดยทั่วไป 1:2 ถ้าเพิ่มท่อต่อเลนส์จะได้ 1:1 ภาพที่ได้จะมีคุณภาพ สูงกว่าการใช้อปุ กรณ์เสริมอืน่ และยังใช้ถา่ ยภาพในระยะปกติได้ ข้อด้อยของเลนส์มาโคร - ความไวแสงของเลนส์จะลดลง - น้ำหนักของเลนส์จะเพิม่ มากขึน้ - ราคาแพงมากขึ้น วงแหวนกลับเลนส์ (Lens-Reversing Ring) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการกลับด้านเลนส์ เนื่องจากการถ่ายภาพ โดยการกลับเลนส์ทง้ั ชุด มีผลทำให้สามารถถ่ายภาพในระยะใกล้ได้มากขึน้ กว่าปกติ สะดวก,ง่าย,ราคาไม่แพง ข้อด้อย คือคุณภาพความคมชัด บริเวณมุมภาพขอบภาพจะไม่ชัดเจน เบลโล (Bellow) ทำงานเช่นเดียวกับท่อต่อเลนส์ ต่างกันตรงที่สามารถเลื่อน ระยะให้หา่ งกัน มากหรือน้อยได้ สามารถขยายภาพได้สงู สุด 3:1 (50 ม.ม.) จนถึง 20:1 (เลนส์พเิ ศษ) ซึง่ จะไม่มผี ลต่อการละคุณภาพของภาพ ประโยชน์ของ Bellow 1. ใช้ถา่ ยภาพใกล้มาก ต้องการกำลังขยายสูง 2. เบลโลว์บางชนิดสามารถเลือ่ นปรับแนวเลนส์ได้ เพือ่ แก้การผิดส่วน,ควบคุม Perspective เหมือนกล้องวิว 3. บางชนิดออกแบบให้สามารถกลับด้านเลนส์ 4. ต่อเข้ากับรางเลือ่ น ซ้าย-ขวา เพือ่ ถ่ายภาพขนาดใหญ่ 5. สามารถติดตัง้ แฟลช ซึง่ จะช่วยควบคุมทิศทางของแสง 41 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 6. วิทยาเขตภาคพายั พ พเชีเิ ศษที ยงใหม่ม ใช้รว่ มกับเลนส์ ่ กี ำลังขยายสูงได้


หน่วยที่ หลักการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

3

7. นิยมใช้ในการถ่ายภาพเพือ่ ทำสำเนาภาพสไลด์ ข้อด้อย คือความยุ่งยากไม่คล่องตัวในการใช้งาน ราคาแพง และมีการสูญเสียแสงไปกับระยะทางทีเ่ พิม่ ขึน้ ซึง่ จะต้องมีการชดเชยแสง ข้อควรปฎิบัติในการถ่ายภาพระยะใกล้ - ควรติดตั้งกล้องบนขาตั้งกล้องเมื่อใช้อุปกรณ์เสริมในการ ถ่ายภาพระยะใกล้ - ควรติดตั้งสายลั่นไกชัตเตอร์หรือใช้ระบบตั้งเวลาถ่ายภาพ อัตโนมัติ เพือ่ ลดการสัน่ สะเทือน - ในกล้องถ่ายภาพที่มีระบบล็อคกระจก ควรใช้การล็อคกระจก ทุกครัง้ เมือ่ ถ่ายภาพระยะใกล้ สปีดต่ำ - เลือกใช้ความเร็วชัตเตอร์สงู ทีส่ ดุ - การถ่ายภาพใกล้กลางแจ้ง อาจมีปัญหาวัตถุที่ถ่ายสั่นไหวจาก ลมพัด อาจใช้เชือก,ลวดผูก หรือใช้วสั ดุ เช่นกระดาษแข็งสีขาว บัง และยังช่วยเป็นวัตถุเสริมแสงเงา (Fill Reflector) ได้ ไม่ควรใช้สอี น่ื - เลือกใช้ขนาดช่องรับแสงแคบทีส่ ดุ เพือ่ ความชัดลึก - เลือกใช้ฟลิ ม์ ความไวแสงสูง - ใช้แฟลชอิเลคทรอนิคส์ช่วยเสริมแสง,จับภาพเคลื่อนไหล, เพิม่ ความคมชัด - ฉากรับภาพที่เป็นแบบ Split imageจะทำได้ยาก เนื่องจาก ปริ ม าณแสงลดลง จะทำให้ ฉ ากรั บ ภาพมื ด ดำไปซี ก หนึ ่ ง เพือ่ ให้การ โฟกัสทำได้งา่ ย ควรใช้ฉากรับภาพแบบอืน่ แทน ขาตัง้ กล้อง (camera support) เป็ น อุ ป กรณ์ เ สริ ม ที ่ จ ะช่ ว ยถื อ กล้ อ งแทนมื อ มนุ ษ ย์ ป้องกันการสั่นสะเทือนจากสาเหตุต่าง ๆ ทำให้ใช้ความเร็วชัตเตอร์ต่ำ ถ่ายภาพในสภาพแสงน้อยได้ ภาพที่ได้จะคมชัด นอกจากนี้ยังช่วยตรึง องค์ประกอบภาพไม่ให้เปลี่ยนไปขณะถ่ายภาพ สามขา (Tripod) - เลือกใช้ขาตัง้ ชนิดปรับกล้องในแนวตัง้ ถ่ายภาพบุคคล - เลือกใช้ให้เหมาะกับงาน ขนาดเล็กถ่ายภาพมุมต่ำ - ปรับเลื่อนขาจากท่อนบนสุดก่อน 42

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ หลักการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

3

- การปรับความสูงของท่อนกลาง เป็นขัน้ ตอนสุดท้าย - หันขาด้านหนึง่ ไว้ดา้ นหน้า ตัวผูถ้ า่ ยอยูร่ ะหว่างขาด้านหลัง ไม่ควรโดนขาด้านใดขณะทำ - ขยายขาท่อนต่าง ๆ ก่อนถ่ายออก เพือ่ คาดเดาความสูง ขาเดีย่ ว (Monopod) จะให้ ค วามแข็ ง แรง มั ่ น คงกว่ า ใช้ ม ื อ แต่ จ ะน้ อ ยกว่ า สามขา ตั ้ ง กล้ อ ง ข้ อ ดี ค ื อ ขนาดกระทั ด รั ด น้ ำ หนั ก เบา พกพาสะดวก เหมาะสำหรับใช้ในการถ่ายภาพในบริเวณที่แคบ เครือ่ งช่วยขับเคลือ่ นฟิลม์ (Winder & Motor Drive) ไวเดอร์ (Winder) ช่วยเลื่อนฟิล์ม,ขึ้นไกชัตเตอร์โดยอัตโนมัติ หลังจากการถ่ายภาพแต่ละภาพ มีทง้ั ระบบเลือ่ นทีละภาพ (Single frame) ส่วนระบบเลื่อนแบบต่อเนื่อง (Continuous) จะเลื่อนภาพต่อเนื่อง ด้วยอัตราเร็วคงทีป่ ระมาณ 1.5 ภาพ/วินาที ตราบทีย่ งั กดปุม่ ชัตเตอร์คา้ งอยู่ มี ป ระโยชน์ ใ นการถ่ า ยภาพบุ ค คล (Portrait) ช่ ว ยในการ ถ่ายภาพในบางตำแหน่งทีไ่ ม่สะดวกต่อการขึน้ ฟิลม์ มอเตอร์ไดร์ฟ (Motor Drive) มีกำลังการใช้งานสูงกว่าไวน์เดอร์ บางรุ ่ น สามารถเลื ่ อ นภาพได้ 6-8 ภาพ/วิ น าที บางรุ ่ น สามารถ เลื อ กอั ต ราเร็ ว ของการถ่ า ยภาพได้ และอาจมี ร ะบบกรอฟิ ล ์ ม กลั บ มีประโยชน์ในการถ่ายภาพที่เกิดขึ้นต่อเนื่อง สำหรับมอเตอร์ไดร์ฟที่ใช้ใน การถ่ า ยภาพจำนวนมาก ๆ จะต้ อ งใช้ ก ั บ ที ่ บ รรจุ ฟ ิ ล ์ ม ขนาดใหญ่ โดยเฉพาะขนาดบรรจุ 33 ฟุต รีโมทคอนโทรล (Remote Control) ช่วยให้สามารถถ่ายภาพจากระยะทีไ่ กล มีสว่ นประกอบ - ตัวส่งสัญญาณ (Transmitter) ควบคุมโดยผูถ้ า่ ย - ตัวรับสัญญาณ (Reciever) ติดกับกล้องถ่ายภาพ Infrared Remote control จะทำงานในทิ ศ ทางตรง ส่งสัญญาณได้ในระยะ 60 ฟุต Radio Remote Control ทำงานด้วยสัญญาณวิทยุควบคุม ในระยะรั ศ มี 100 ฟุ ต ถ่ า ยภาพด้ ว ยกล้ อ งหลายตั ว พร้ อ มกั น ได้ โดยกล้ อ งแต่ ล ะตั ว จะมี ต ั ว รั บ สั ญ ญาณ มี ป ระโยชน์ ใ นการถ่ า ยภาพ แบบสังเกตุพฤติกรรม 43

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ หลักการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

3

Inter - Valometer ใช้ ร ่ ว มกั บ มอเตอร์ ไ ดร์ ฟ เพื ่ อ ถ่ า ยภาพในช่ ว งเวลาที ่ ต ั ้ ง ไว้ สำหรับถ่ายภาพบันทึกเหตุการณ์ ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงขณะหนึ่งเพื่อ สังเกตุ การเปลีย่ นแปลงส่วนใหญ่จะตัง้ ระยะห่างระหว่างภาพไว้ 1 sec.-1min. Self – Timer ใช้สำหรับถ่ายภาพของตัวผู้ถ่ายเอง ช่วยให้กล้องนิ่ง ไม่สั่น สะเทือนเมือ่ ถ่ายภาพด้วยกำลังขยายสูง หรือถ่ายด้วยเลนส์ถา่ ยไกลมาก ๆ สายลัน่ ไกชัตเตอร์ (Cable Release) ใช้กับการถ่ายภาพด้วยความเร็วชัดเตอร์ต่ำ ๆ ทำให้สามารถ กดชัตเตอร์โดยไม่มีการสั่นสะเทือนของกล้องได้ภาพที่คมชัด บางรุ่น จะมีลอ็ คเมือ่ ถ่ายที่ B เทเลคอนเวอร์เตอร์ (Tele – Converter) เป็นวิธีเพิ่มทางยาวโฟกัสให้กับเลนส์ โดยใช้เทเลคอนเวอร์เตอร์ ซึ ่ ง ลั ก ษณะเป็ น ท่ อ ต่ อ ที ่ ม ี ช ิ ้ น เลนส์ อ ยู ่ ภ ายใน ใช้ เ ชื ่ อ มต่ อ ระหว่ า ง เลนส์กับกล้องถ่ายภาพ โดยจะมีกำลังในการขยายแตกต่างกันไปเช่น 2x,3x,1.5x เป็นต้น ข้ อ ดี คื อ จะให้ ร ะยะโฟกั ส ใกล้ ส ุ ด ของเลนส์ ค งที ่ เ ท่ า เดิ ม โดยทั ่ ว ไปจะให้ ภ าพที ่ ม ี ค ุ ณ ภาพดี แต่ จ ะมี ก ารสู ญ เสี ย ความคมชั ด ไปเล็กน้อย และจะมีการสูญเสียแสงลงไปด้วย ฝาหลังกล้องถ่ายภาพ (camera back) ฝาหลั ง แบบบั น ทึ ก ข้ อ มู ล (Data back) สามารถใช้พิมพ์ข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับการถ่ายภาพ,วัน-เวลา, ตัวเลข,ตัวอักษรลงบนฟิลม์ ขณะทำการถ่ายทำ ฝาหลังบรรจุฟลิ ม์ โพลาลอยด์ (Ploaroid Fim Back) ช่ ว ยในการถ่ า ยภาพด้ ว ยฟิ ล ์ ม โพลาลอยด์ เพื ่ อ ใช้ ท ดสอบ, วิเคราะห์ภาพได้ทนั ที เพือ่ ตรวจสอบการจัดแสง การฉายแสง ก่อนการถ่าย ภาพจริง ปัจจุบนั ได้มกี ารดัดแปลงฝาหลังกล้องถ่ายภาพ ให้สามารถบันทึก เป็นภาพนิ่ง ลงบน CCDภาพที่ได้สามารถนำไปฉายดูทางจอโทรทัศน์ หรือพิมพ์ออกมาเป็นภาพ 44

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ หลักการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

3

ช่องมองภาพ (Finder) กล้องบางรุน่ สามารถถอดเปลีย่ นใช้ชอ่ งมองภาพแบบต่าง ๆ ได้ ยางครอบเลนส์มองภาพ (Rubber Eye Cup) ใช้กับช่องมองภาพป้องกันแสงรบกวนจากภายนอก บางรุ่นจะมี ม่านปิด กรณีตง้ั เวลาถ่ายตนเองอัตโนมัติ สกรีน (Screen) กล้องบางรุ่นสามารถถอดเปลี่ยนโฟกัสซึ่งสกรีนได้ ให้สามารถ เลือกใช้ได้ตามลักษณะงาน และความเหมาะสม คำแนะนำสำหรับการถ่ายภาพ 1. ศึกษาส่วนประกอบ,หลักการทำงาน,คุณสมบัติของกล้อง 2. ฟิ ล ์ ม ที ่ ใ ช้ ถ ่ า ยภาพเป็ น ฟิ ล ์ ม ชนิ ด ใด,ความไวแสงเท่ า ใด บรรจุฟลิ ม์ ใส่กล้องให้เรียบร้อย ขึน้ ฟิลม์ 3. เลื อ กมุ ม กล้ อ งสำหรั บ ถ่ า ยภาพ โดยดู จ ากช่ อ งมองภาพ เลือกมุมทีด่ ที ส่ี ดุ 4. จั ด วั ต ถุ ท ี ่ ถ ู ก ถ่ า ยให้ อ ยู ่ ใ นตำแหน่ ง ที ่ เ หมาะสม จัดทำให้ดูมีชีวิตชีวา 5. ทำการวั ด แสง ปรั บ ตั ่ ง หน้ า กล้ อ ง ความเร็ ว ชั ต เตอร์ ถ้าสภาพแสงเปลีย่ นไป จะต้องตัง้ ใหม่ 6. ปรับโฟกัสระยะภาพให้คมชัด 7. จัดองค์ประกอบภาพ 8. บอก Subject ให้รตู้ วั ก่อนกดชัดเตอร์ ควรจับถือกล้องให้แน่น มัน่ คง ใช้นว้ิ กดชัตเตอร์เบา ๆ 9. เมื ่ อ ถ่ า ยภาพเสร็ จ ถ้ า หากต้ อ งการถ่ า ยภาพต่ อ ไปทั น ที ก็ขึ้นฟิล์มได้เลย แต่ถ้าจะทิ้งระยะการถ่ายภาพต่อไปนาน ก็ไม่ควรขึ้นชัตเตอร์ทิ้งไว้

45

ก่อนซื้อกล้องควรตรวจสอบอย่างไร 1. ศึ ก ษาข้ อ มู ล รายละเอี ย ดของกล้ อ ง ยี ่ ห ้ อ รุ ่ น ที ่ ส นใจ จากเอกสาร หนังสือ ในรูปร่างลักษณะ ระบบการทำงาน สอบถามจากผูร้ ู้ ผูม้ ปี ระสบการณ์ในการใช้กล้อง 2. ตรวจดู ส ภาพทั ่ ว ๆ ไป ของกล้ อ งที ่ จ ะซื ้ อ อย่ า งละเอี ย ด ในกรณีที่เป็นการซื้อกล้องมือสอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ หลักการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

3

3. ตรวจดูชิ้นส่วนภายในและภายนอก ความประณีตในการ ประกอบ ดูนอ็ ต เกลียว ว่ามีการถอดเปลีย่ นหรือไม่ 4. จั บ กล้ อ งเขย่ า เบา ๆ ซึ ่ ง ไม่ ค วรจะมี เ สี ย ง ถ้ า มี เ สี ย ง สั่นคลอนมาก อาจมีอาการผิดปกติ ควรถอดเลนส์ตรวจ ดูอกี ครัง้ 5. ตรวจดู ใ นช่ อ งมองภาพ ทดสอบระบบปรั บ ระยะชั ด ดู ความสะอาดของจอภาพ 6. ตรวจสอบระบบวัดแสง โดยใช้มอื บังหน้ากล้อง 7. เปิดฝาปิดหลังกล้องตรวจดูการหมุนของหนามเตยลอง ใส่ฟลิ ม์ ขึน้ ฟิลม์ กดชัตเตอร์ทกุ ระดับความเร็ว 8. ทดสอบการทำงานของกระจกสะท้อนภาพ ดูเลนส์ 9. ทดสอบการทำงานของกล้อง + แฟลช 10. ตรวจสอบระบบปลีกย่อยอืน่ ๆ เช่นระบบตัง้ เวลาถ่ายตนเอง ทดลองกับ Motor Drive การเก็บรักษากล้องถ่ายภาพ 1. ทำความสะอาดกล้อง เลนส์ ทุกครั้งหลังการใช้งานด้วยชุด อุปกรณ์สำหรับทำความสะอาดเฉพาะ 2. เมื่อยังไม่ได้ใช้งาน ควรใช้ฝาปิดเลนส์ เก็บไว้ในกระเป๋าหุ้ม 3. เมื่อเลิกใช้กล้องทุกครั้ง อย่าขึ้นฟิล์มทิ้งไว้ปรับหน้ากล้อง ไว้ทก่ี ว้างสุด ชัตเตอร์ B เลนส์ infinity 4. สวมฟิลเตอร์ UV หรือ Skylight เพื่อป้องกันการขีดข่วน ฝุ่นละออง 5. เก็บกล้องไว้ในทีแ่ ห้ง เย็น สะอาด ใช้ Silica gel 6. เก็บกล้องไว้ในกระเป๋าใส่กล้อง เมือ่ นำไปใช้งาน 7. ไม่เก็บกล้องไว้ในทีร่ อ้ น ชืน้ เช่น รถยนต์ ตูเ้ สือ้ ผ้า 8. ตรวจสอบกล้องทำความสะอาด เมื่อกลับจากการเที่ยว ชายทะเล 9. เมือ่ กล้องมีปญ ั หา เสีย อย่าซ่อมเอง

46

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.