การถ่ายภาพ บทที่2

Page 1

หน่วยที่ องค์ประกอบในการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

2

หลักการทำงานของกล้องถ่ายภาพ การเกิดภาพในกระบวนการถ่ายภาพเกิดจากแสงสว่างจากแหล่งกำเนิดแสง ตกกระทบวัตถุทเ่ี ราต้องการจะบันทึกภาพ แล้วแสงนัน้ เกิดการสะท้อนและ หักเหผ่านชิน้ เลนส์ถา่ ยภาพ โดยทีป่ ริมาณของแสงจะถูกควบคุมโดยขนาด ของรู ร ั บ แสงและความเร็ ว ชั ต เตอร์ เพื ่ อ ให้ ต กกระทบกั บ วั ส ดุ ไ วแสง ทีใ่ ช้ในการบันทึกภาพ ในปริมาณทีพ่ อดี

ดวงตากับกล้องถ่ายภาพ การทำงานของกล้องรูปก็มลี กั ษณะคล้ายกับดวงตาของคนเราหลายประการ กล่าวคือ - ทัง้ ดวงตาและกล้องถ่ายภาพ มีเลนส์ทำหน้าทีห่ กั เหแสงให้ไปปรากฎ เป็นภาพทีฉ่ ากหลัง - ดวงตามีมา่ นตา (Iris) สำหรับปรับขนาดให้แสงผ่านเข้าไปในดวงตา แตกต่างกันไป สำหรับกล้องถ่ายภาพจะมีไดอะแฟรม (diaphragm) สำหรับปรับขนาดรูรบั แสง (Aperture) - ทั้งเลนส์และกล้องรูปมีระบบกลไก สำหรับปิด - เปิดให้แสงผ่านเลนส์ หรือเหมือนกัน คือ ดวงตาควบคุมด้วยหนังตา และกล้องถ่ายภาพ ควบคุมด้วยชัตเตอร์ (Shutter) -ฉากรับภาพในดวงตาประกอบไปด้วยเส้นประสาททีไ่ วต่อแสง เรียกว่า เรตินา (Retina) เมือ่ รับภาพแล้วจะมีประสบสาทเชือ่ มโยงไปยังส่วน ทีร่ บั รู้ เกีย่ วกับการมองเห็น ส่วนในกล้องถ่ายภาพนัน้ ฉากรับภาพก็คอื ฟิลม์ ซึง่ เป็นวัสดุไวแสงนัน่ เอง ส่ ว นที ่ แ ตกต่ า งกั น ที ่ ส ำคั ญ ประการหนึ ่ ง คื อ ดวงตาปรั บ รู ม่านตาให้รบั แสงมากหรือน้อยได้โดยอัตโนมัติ ในห้องมืดม่านตา (Iris) จะ ขยายกว้างขึ้นเพื่อให้แสงเข้าไปได้มากเท่าที่จะทำได้ และในที่มีแสง มากม่านตาจะป้องกันแสงให้ผา่ นเข้าไปได้นอ้ ยลง ส่วนในกล้องถ่ายภาพ ไม่สามารถปรับหน้ากล้องได้โดยอัตโนมัตทิ ง้ั หมด ในกล้องรุน่ ใหม่บางรุน่ ออกแบบมาให้ปรับไดอะแฟรมในระบบกึง่ อัตโนมัติ (Semi - automatic) ข้ อ แตกต่ า งที ่ ส ำคั ญ อี ก ประการหนึ ่ ง ก็ ค ื อ ดวงตาของคน มักรับรู้สิ่งต่าง ๆ ที่เป็นส่วนสำคัญเพียงส่วนเดียว ตรงกันข้ามกับกล้อง ถ่ายภาพ ซึ่งไม่สามารถเลือกบันทึกรายละเอียดในส่วนของวิวอย่างเช่นที่ ตาเรามองเห็นได้ (Eye sees selectively while the camere sees indiscriminately) ดวงตาหรือนัยน์ตามนุษย์สามารถกำหนดให้ความสนใจ 4

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ องค์ประกอบในการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

2

เฉพาะจุดได้โดยตัดสิง่ ต่าง ๆ ออกไป แต่กล้องถ่ายภาพจะบันทึกทุกสิง่ ลงไป ยกตัวอย่างเช่น เมือ่ บันทึกภาพคนทีย่ นื อยูแ่ ละตัดเสาโทรเลข ตาเรา สามารถแยกภาพคนออกมาได้จากฉากหลัง โดยเลือกรับรู้เฉพาะคน ที่ยืนอยู่ และตัดความสนใจของฉากหลังที่ไม่อยู่ในความสนใจออกไปได้ แต่สำหรับการบันทึกภาพของกล้องถ่ายภาพ เสาหรือกิ่งไม้ที่อยู่ใน ตำแหน่งเหนือศรีษะจะปรากฎให้เห็นในภาพ ทำให้มองดูเหมือนกับว่า มีเสาหรือกิ่งไม้ยื่นออกมาจากศรีษะของคนคนนั้น ทั้งนี้เนื่องจากผู้ถ่าย มิ ไ ด้ ร ั บ รู ้ แ ละให้ ค วามสนใจต่ อ สิ ่ ง ที ่ อ ยู ่ ใ นฉากหลั ง ของวั ต ถุ ดั ง นั ้ น ในการถ่ายภาพผู้ถ่ายจึงต้องพยายามมองเห็นสิ่งต่าง ๆ อย่างเดียว กับที่กล้องเห็นจึงจะทำให้ได้ภาพออกมาดี

องค์ประกอบในการถ่ายภาพ ดั ง ที ่ ไ ด้ ก ล่ า วไว้ แ ล้ ว ว่ า ในการที ่ จ ะสร้ า งภาพถ่ า ยขึ ้ น มา จำเป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องมีองค์ประกอบพืน้ ฐาน 3 ประการ คือ 1. แสงสว่างทีใ่ ช้ในการมองเห็นและใช้เพือ่ การถ่ายภาพ 2. กล้องถ่ายภาพและอุปกรณ์ 3. ฟิลม์ ถ่ายภาพหรือวัสดุไวแสงทีใ่ ช้ในการบันทึกภาพ

แสงที่ใช้เพื่อการถ่ายภาพ แสงที่ใช้เพื่อการถ่ายภาพสามารถจำแนกประเภทของแสงตาม ชนิดของ แหล่งกำเนิดแสงดังนีค้ อื 1. แสงธรรมชาติ (Natural light) คือแสงสว่างจากดวงอาทิตย์ในเวลากลางวันและแสงทีไ่ ด้จาก การสะท้อนทางอ้อม 2. แสงประดิษฐ์หรือแสงเทียม (Artificial light) เป็นแสงสว่างทีไ่ ด้จากสิง่ ประดิษฐ์ของมนุษย์โดยกรรมวิธตี า่ งๆ เช่น แสงจากหลอดไฟฟ้า, แฟลช, ตะเกียง, เทียนไข รังสีตา่ ง ๆ

ลักษณะของแสงที่ใช้ในการบันทึกภาพ - Specular light เป็นแสงจากแหล่งกำเนิดแสงทีส่ อ่ งหรือตกกระทบกับวัตถุ โดยตรง โดยไม่มอี ะไร บังทำให้เกิด high light สว่างมากและปรากฎเงา ดำเข้มชัดเจนมีความตัดกันสูง 5

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ องค์ประกอบในการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

2

- Diffused light ลักษณะเป็นแสงร่ม แสงไม่แข็ง และส่วน high light ไม่สว่างจ้า แสงมาจากหลายทิศทาง เนือ่ งจากมีวตั ถุทท่ี ำหน้าทีก่ รองแสงมา บังอยูร่ ะหว่างแหล่งกำเนิดแสงกับวัตถุ ทำให้ลดความเข้มของ แสงลง และมีการกระจายของแสง - Reflected light แสงสะท้อน แสงจากแหล่งกำเนิดแสงจะไม่สอ่ งกระทบ กับวัตถุ โดยตรงแต่แสงจะตกกระทบกับวัตถุทม่ี กี ารสะท้อนแสง แล้วส่องไป ยังบริเวณเงามืดของวัตถุทไ่ี ม่ถกู แสง ซึง่ จะช่วยลบเงาเข้มให้ออ่ นลง หรือเพือ่ เพิม่ รายละเอียดในส่วนเงาให้เห็นฃัดเจนยิ่งขึน้

ส่วนประกอบที่จะเป็นสำหรับกล้องถ่ายภาพโดยทั่วไป วิวฒ ั นาการของการกล้องถ่ายภาพได้เจริญก้าวหน้าขึน้ อย่างมาก ในปัจจุบนั ดังทีจ่ ะเห็นได้จากท้องตลาดว่าบริษทั ผูผ้ ลิตต่างก็ได้ผลิตกล้อง ขึ้นมาหลายแบบ กล้องแต่ละรุ่นแต่ละแบบต่างก้มีคุณประโยชน์และ ประสิทธิภาพไม่เหมือนกัน ซึ่งเรื่องนี้นับว่าเป็นเรื่องสำคัญที่จะต้องศึกษา หารายละเอียดกัน แต่ผู้สนใจควรได้เริ่มศึกษาเรื่องส่วนประกอบใหญ่ ๆ ที่จำเป็นจะต้องมีในกล้องถ่ายภาพโดยทั่วไปเสียก่อน เพราะเมื่อมี ความรู ้ ค วามเข้ า ใจเรื ่ อ งส่ ว นประกอบส่ ว นใหญ่ ๆ ดั ง กล่ า วแล้ ว ต่อไปเมือ่ จะศึกษากล้องถ่ายภาพแบบใดจะได้ทำความเข้าใจได้สะดวกยิง่ ขึน้ ซึง่ โดยทัว่ ไปแล้วกล้องถ่ายภาพจะแบ่งส่วนประกอบและการทำงานออกเป็น 2 ส่วนหลัก ก็คอื - เลนส์ถา่ ยภาพ (Lens) - ตัวกล้อง (Camera Body)

6

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ องค์ประกอบในการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

2

เลนส์ถ่ายภาพ (Lens) เปรียบเสมือนเป็นดวงตาของกล้อง ถ่ายภาพ ทำด้วยแก้วเลนส์ที่ออกแบบเป็นพิเศษ มีรูปขนาดต่าง ๆ กัน เลนส์มีหน้าที่ส่องดูสิ่งที่จะถ่ายแล้วรับภาพสิ่งนั้นส่งผ่านไปถึงฟิล์มซึ่ง เลนส์ เ ป็ น ส่ ว นประกอบที ่ ส ำคั ญ ที ่ จ ะทำหน้ า ที ่ ส ำคั ญ ในการควบคุ ม คุณภาพ ของภาพถ่าย องศาของการ รับภาพและทัศนมิติ การจะได้ภาพ คมชัดอยู่ที่เลนส์ ต้องมีคุณภาพใสทำจากแก้วหรือพลาสติก ทำหน้าที่ หักเหแสงสะท้อน จากวัตถุ เกิดเป็นภาพจริงหัวกลับบนระนาบของฟิล์ม กล้องบางรุ่น อาจมีเลนส์ชิ้นเดียวหรือหลายชิ้น เลนส์จะฉาบน้ำยา เคลื อ บผิ ว เลนส์ เ พื ่ อ ให้ ม ี คุ ณ ภาพในการรั บ แสงและลดแสงสะท้ อ น ภายในกระบอกเลนส์จะมีม่าน (Diaphragm) ทำด้วยแผ่นโลหะบาง ๆ จัดเป็นชุดเรียงซ้อนประกอบกันเพื่อให้เกิดเป็นช่องว่างตรงศูนย์กลาง (ถ้าเป็นกล้องแบบราคาถูก ๆ จะเจาะเป็นรูสำเร็จ มีขนาดเล็กหรือใหญ่ ตามที่กล่องนั้นผลิต ม่านเลนส์หรือช่องว่างนี้จะสามารถหรี่ให้เล็กหรือ ขยายให้ใหญ่ เพื่อเป็นการควบคุมปริมาณแสงสว่างที่ส่องผ่านมาจาก เลนส์แล้วส่งต่อไปถึงฟิล์ม ม่านเลนส์ที่หรี่รูเล็ก แสงจะผ่านได้น้อย ถ้ า ขยายตั ว ให้ เ ป็ น รู ข นาดใหญ่ ป ริ ม าณของแสงก็ จ ะผ่ า นได้ ม าก การที่ม่านเลนส์หรี่หรือขยายตัวให้เกิดเป็นรูหรือช่องขนาดต่าง ๆ นั้น เรียกว่า ขนาดรูรบั แสง (Aperture) รูรบั แสงขนาดหนึง่ ๆ จะมีเลขกำกับ ไว้ทกุ ขนาด เพือ่ จะได้ใช้เป็นทีส่ งั เกตได้สะดวก เลขกำกับขนาดรูรบั แสง แต่ละตัวเรียกกันว่าเลขหน้ากล้อง (f.number)

7

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ องค์ประกอบในการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

2

คุณสมบัติของเลนส์ 1. ทางยาวโฟกัสของเลนส์ (Focal Lengh) คือระยะทางระหว่าง เลนส์ ถึงระนาบโฟกัสหรือฟิลม์ ความยาวของเลนส์จะมีผลต่อมุมของวิว เลนส์ทม่ี คี วามยาวโฟกัสสัน้ เช่น F 28 มุมของวิวจะกว้างเหมาะสำหรับ ถ่ายภาพวิวหรือภาพหมูท่ ม่ี จี ำนวนคนมาก เลนส์ทม่ี ที างยาวโฟกัสมาก เช่น F.50 ขึน้ ไปมุมของภาพจะแคบกว่า F.28 2. ความเร็วของเลนส์ (Lens Sped) หมายถึงปริมาณของแสง ทีผ่ า่ นเลนส์ เข้าไปในกล้องถ่ายภาพได้มากน้อยเพียงใด เมือ่ เปิดรูรบั แสง กว้างสุดตัวเลขจะบอกไว้ทเ่ี ลนส์เป็น f/value f / value = ทางยาวโฟกัสเลนส์ หาร เส้นผ่าศูนย์กลางของเลนส์ ประเภทของเลนส์ เลนส์ ม ี ห ลายประเภท ผลิ ต ขึ ้ น เพื ่ อ สนองความต้ อ งการ ของช่างภาพ ซึ่งกล้องสามารถถอดเปลี่ยนเลนส์ได้ ช่างภาพสามารถ เลือกใช้เลนส์ตามความต้องการ 1. เลนส์ปกติ (Normal Lenses) มีมมุ มองของเลนส์ใกล้เคียง กับสายตาของมนุษย์คอื ประมาณ 40 องศา ซึง่ เมือ่ ซือ้ กล้องจะได้เลนส์ ชนิดนี้มากับกล้อง ความยาวโฟกัสโดยประมาณของเส้นทะแยงมุม ของภาพทีป่ รากฎบนฟิลม์ ประมาณ 50 มม. หรือกล้องใช้ฟลิ ม์ ขนาด 6x6 ซม. ความยาวโฟกัสประมาณ 85 มม.

8

2. เลนส์มมุ กว้าง (wide lense) จะมีความยาวโฟกัสสัน้ สามารถ ถ่ายภาพมุมกว้าง แต่อาจเกิดความผิดเพี้ยนของภาพเมื่อใช้เลนส์ มุมกว้างมาก ๆ เลนส์มมุ กว้างจะมีความยาวโฟกัส ตัง้ แต่ 35 มม. ลงมา เช่น 28 มม. 24 มม. 16 มม. หรือ 12 มม. อาจแยกได้ดงั นี้ - เลนส์มมุ กว้างธรรมดา ทางยาวโฟกัส 24 - 35 มม. - เลนส์มมุ กว้างรับภาพบิดโค้ง ทางยาวโฟกัส 15 - 24 มม. - เลนส์มมุ กว้างพิเศษรับภาพโค้งกลม หรือเรียกเลนส์ตามปลา (Fish eye lens) มีทางยาวโฟกัส 15 - 8 มม. เลนส์มุมกว้างเป็นเลนส์ที่เหมาะสำหรับถ่ายภาพในสถานที่แคบ หรือถ่ายภาพวัตถุทม่ี ขี นาดใหญ่ แต่บางครัง้ เกิดปัญหาในเรือ่ งส่วนผิดเพีย้ น เลนส์มุมกว้างทางยาวโฟกัสยิ่งสั้นความผิดเพี้ยนยิ่งมาก ความผิดเพี้ยน อันเกิดจากเลนส์มุมกว้างมากๆ บางครั้งช่างภาพยังไปใช้ประโยชน์ใน การสร้างภาพแปลก ๆ ได้เหมือนกัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ องค์ประกอบในการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

2

3. เลนส์ถ่ายภาพไกล (Telephoto lens) มีความยาวโฟกัส ยาวกว่าเลนส์มาตรฐาน เช่น 135 มม. , 500 มม. , 1000 มม. เป็นต้น เป็นเลนส์ที่ประกอบด้วยกลุ่มของชิ้นเลนส์หลาย ๆ กลุ่ม จัดวางโดย เลนส์ น ุ น โฟกั ส ยาว ไว้ ห น้ า เลนส์ เ ว้ า โฟกั ส สั ้ น แม้ ว ่ า วั ต ถุ อ ยู ่ ไ กล จะให้ได้ภาพขนาดใหญ่หรือภาพที่ไม่สามารถเข้าไปใกล้ ๆ ได้ เช่น ภาพสัตว์ กีฬา เลนส์ถา่ ยภาพไกลยิง่ มีโฟกัสยาวมาก มุมในการรับภาพ จะยิง่ แคบลง เช่นเลนส์ 500 มม. มีมมุ รับภาพ 5 องศา เลนส์ 1000 มม. มีมมุ รับภาพ 2.5 องศาเป็นต้น เลนส์โฟกัสยาวมาก ความชัดลึกจะ น้อยลง คือถ้าใช้เลนส์ถา่ ยภาพไกลฉากหลังจะพร่ามัว - เลนส์ถา่ ยภาพไกลระยะสัน้ (Short telephoto) มีความยาว โฟกัสระหว่าง 80 - 135 มม. - เลนส์ถา่ ยภาพไกลระยะปานกลาง (Medium telephoto) มี ความยาวโฟกัสระหว่าง 150 - 250 มม. - เลนส์ถา่ ยภาพไกล (Long Telephoto) มีความยาวโฟกัส ระหว่าง 300 - 600 มม. - เลนส์ถา่ ยภาพไกลระยะพิเศษ (Super Long Telephoto) มี ความยาวโฟกัสระหว่าง 700 - 2000 มม. 4. เลนส์ซูม (Zoom Lens) เป็นเลนส์ที่สามารถปรับความ ยาวโฟกัส ของเลนส์ได้ตามความต้องการสามารถตัง้ กล้องในตำแหน่งเดิม แต่เปลี่ยนขนาดของภาพที่ต้องการจะถ่ายได้ โดยปรับที่กระบอกเลนส์ ซึ ่ ง ออกแบบมาลั ก ษณะแหวนเดี ่ ย ว และแหวนคู ่ ก ารปรั บ ตำแหน่ ง หรือซูมในตำแหน่งทีไ่ กลสุด จะได้ภาพทีค่ มชัดกว่าการซูมตำแหน่งทีไ่ กลสุด

9

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ องค์ประกอบในการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

2

เลนส์พเิ ศษ นอกจากเลนส์ที่กล่าวข้างต้น ยังมีเลนส์ที่ออกแบบลักษณะ พิเศษให้เหมาะสมกับงานต่างๆ 1. เลนส์มาโคร (Macro Lens)ใช้ในการถ่ายภาพวัตถุทอ่ี ยูใ่ กล้ ๆ ทีไ่ ม่สามารถเข้าถ่ายใกล้ ๆ เนือ่ งจากข้อจำกัดของความยาวโฟกัส เกินกว่า 1 ฟุต หรือ 1 1/2 ฟุต เช่นภาพวัตถุเล็ก ๆ แมลง , ดอกไม้เล็ก ๆ ฯลฯ นอกจากนี ้ ย ั ง สามารถใช้ ถ ่ า ยภาพแทนเลนส์ ป กติ โดยออกแบบมา ให้ปรับระยะตัง้ แต่ระยะใกล้สดุ 2 - 3 นิว้ จนถึงระยะไกลสุด 2. เลนส์ตาปลา (Fisheye - Lens) จัดอยูใ่ นจำพวกเลนส์มมุ กว้าง พิเศษ มุมกว้างของวิวประมาณ 180 องศา มีความยาวโฟกัสตัง้ แต่ 1.5 12 มม. มีหน้ากล้องเปิดกว้างตัง้ แต่ F./18 , F/3.5 , F/4 เมือ่ ถ่ายภาพด้วย เลนส์นจ้ี ะได้ภาพแปลกออกไป เลนส์ตาปลาทีม่ ขี นาดความยาวโฟกัสมาก เช่น 8 มม. ภาพบนฟิล์มจะปรากฎเป็นกรอบวงกลมสีดำภายนอกภาพ เลนส์ตาปลาจึงเหมาะสำหรับถ่ายภาพเพื่อผลพิเศษในการบิดเบือนภาพ ให้ดแู ปลก ๆ ออกไป 3. เลนส์เทเลพลัส (Teleplvs or tele - extenders) ลักษณะเป็น กระบอกภายในติ ด ตั ้ ง เลนส์ ข นาดเล็ ก ใช้ ส ำหรั บ สวมต่ อ ระหว่ า ง เลนส์ ธ รรมดา กั บ ตั ว กล้ อ งเพื ่ อ เพิ ่ ม ความยาวโฟกั ส เป็ น 2 เท่ า ทีน่ ยิ มใช้มขี นาด 1.5x, 2 x, 3 x, 4 x เมือ่ ใช้เทเลพลัสขนาด 2x กับเลนส์ปกติ 50 มม. จะกลายเป็นเลนส์ทม่ี คี วามยาวโฟกัสเท่ากับ 100 มม. 10

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ องค์ประกอบในการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

2

4. เลนส์ถ่ายใกล้ (Close-up Lens) เป็นเลนส์ที่ผลิตขึ้นเพื่อใช้ ถ่ายภาพขนาดเล็กมาก ซึ่งคุณสมบัติเลนส์ธรรมดาไม่สามารถถ่ายใน ระยะใกล้ ๆ ได้ ลักษณะเป็นเลนส์สวมหน้ากล้องคล้ายฟิลเตอร์โดยทัว่ ไป จะจำหน่ายเป็นชุด ชุดหนึง่ จะมี 3 อัน แต่ละอันจะมีหมายเลขบอก เช่น CLOSE + 1, CLOSE UP + 2 หรือ CLOSE + 4 ซึง่ หมายถึงขยาย 1 เท่า , 2 เท่า , และ 4 เท่า หรือจะใช้รว่ มกันโดย + 1 และ + 4 ก็ได้แต่มขี อ้ จำกัด ของ CLOSE UP LENS คือลักษณะจะเป็นเลนส์นนู เมือ่ ใช้ CLOSE UP LENS ขอบภาพทัง้ 4 ด้าน จะเบลอ CLOSE UP LENS จะนิยมถ่ายภาพ ทีม่ ขี นาดเล็ก และถ่าย COPY เช่น ภาพถ่ายต้นฉบับทีข่ นาด 1 x 1 นิว้ แต่ตอ้ งการถ่ายให้เต็มเฟรมเป็นต้น

การดูแลบำรุงรักษาเลนส์กล้องถ่ายภาพ

11

เลนส์เป็นชิ้นส่วนที่สำคัญและมีราคาแพงควรหมั่นดูแลรักษา คุณภาพ ของเลนส์ อย่างสม่ำเสมออย่าลืมว่าถ้าเลนส์ขาดความคมชัด พร่ามัวจากฝุน่ ละออง ความชืน้ ภาพทีไ่ ด้ยอ่ มขาดความคมชัดและความ ถูกต้องของภาพได้ 1. ควรทำความสะอาดเลนส์ดว้ ยลูกยางเป่าลมเป็นประจำ 2. ในกระเป๋ากล้องหรือใส่เลนส์ควรมียาดูดซับความชืน้ 3. เลนส์ควรมีซอง กระเป๋าหรือกล่องสำหรับเก็บเลนส์โดยเฉพาะ 4. เมือ่ ซือ้ กล้องหรือเลนส์ควรจัดหาฟิลเตอร์ UV หรือสกายไลท์ ใส่บังเลนส์ไว้ เพื่อกันรอยขีดข่วน และป้องกันเลนส์ได้ด้วย ฟิลเตอร์ UV และสกายไลท์ยงั สามารถ ลดรังสีแสงสะท้อน ได้ดว้ ย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ องค์ประกอบในการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

2

5. ควรทำความสะอาดเลนส์ดว้ ยชุดทำความสะอาดเลนส์ทกุ ครัง้ หลังจากการถ่ายภาพ 6. หมั่นตรวจเลนส์โดยถอดออกจากกล้อง เปิดหน้ากล้อง กว้างสุดและส่องดูกบั ท้องฟ้าว่าเลนส์มรี อยขีดข่วน หรือขึน้ รา หรือไม่ถ้าขึ้นราส่งร้านซ่อม ทำความสะอาดหรือล้างเลนส์ ทันที 7. เมือ่ ถอดเลนส์ออกจากกล้อง ควรกดปุม่ ล็อคเลส์ทก่ี ล้อง และ เมื่อใส่ไปยังตำแหน่งเดิม โดยสังเกตุจุดมาร์คของเลนส์และ กล้องเช่นจะมีจุดมีแดงหรือขาว การใส่เลนส์ไปยังกล้อง ต้องให้จดุ นีต้ รงกันแล้วหมุนให้ดงั คลิก๊ 8. ระวังการตกหล่นจะทำให้เลนส์ชำรุด 9. เลนส์เมือ่ ไม่ได้ใช้ตอ้ งมีฝาปิดทัง้ หน้าเลนส์ และท้ายเลนส์

12

ตัวกล้องถ่ายภาพ (Camera boby) เป็นกล่องมืดทีท่ ำหน้าที่ เป็นผนังกัน้ สำหรับป้องกันมิให้แสงสว่างจากภายนอกส่องรัว่ เข้าไปถึงฟิลม์ หรือวัสดุไวแสงทีใ่ ช้สำหรับถ่ายภาพได้ นอกจากนีต้ วั กล้องยังเป็นโครงสร้าง สำหรับใช้ตดิ อุปกรณ์อน่ื ๆ และระบบควบคุมการทำงานของกล้องถ่ายภาพ ต่าง ๆ ดังนีค้ อื 1. ทีห่ มุนฟิลม์ (Film advancer) มีสว่ นสัมพันธ์กนั อยู่ 3 ส่วน คือ ส่วนแรกจะเป็นช่องสำหรับเก็บฟิลม์ ดิบทีย่ งั ไม่ได้บนั ทึกภาพ สำหรับ ส่งป้อนไปที่ช่องขึงฟิล์ม ส่วนที่สองจะเป็นช่องขึงฟิล์ม ทำเป็นช่อง 4 เหลี่ยมจัตุรัสหรือช่อง 4 เหลี่ยมผืนผ้ามีขนาดตามช่องแบ่งของฟิล์ม ที ่ ก ำหนด ด้ า นหลั ง ช่ อ ง 4 เหลี ่ ย มมี ส ปริ ง กดแผ่ น โลหะเรี ย บ ๆ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ องค์ประกอบในการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

2

ทำหน้ า ที ่ ก ดหลั ง ฟิ ล ์ ม ให้ ต ิ ด แนบสนิ ท กั บ ช่ อ งขึ ง ฟิ ล ์ ม และในส่ ว นที ่ สามจะเป็นช่องเก็บฟิล์มที่ถ่ายแล้ว เป็นตอนสุดท้ายในชุดที่หมุนฟิล์ม ฟิลม์ แต่ละช่องหรือแต่ละภาพเมือ่ ถ่ายแล้ว จำเป็นจะต้องเลือ่ นเข้าช่องเก็บ (ยกเว้นกรณีพเิ ศษ) เพือ่ เลือ่ นฟิลม์ ทีจ่ ะถ่ายภาพต่อไปเข้าแทนที่ 2. ม่านชัตเตอร์ (Shutter) เป็นม่านที่ทำหน้าที่สำคัญในการ เปิดปิดให้แสงผ่านเข้าไปตกกระทบฟิลม์ ตามระยะเวลาทีก่ ำหนดทำด้วยแผ่นโลหะ บาง ๆ เรียงซ้อนกันอย่างสนิท จนกระทัง่ แสงผ่านไม่ได้ เรียกว่าชัตเตอร์ปดิ เวลาต้องการให้แสงผ่าน ใบชัตเตอร์จะแยกตัวออกจากกัน ในลักษณะนี้ เรียกว่าชัตเตอร์เปิด ชัตเตอร์จะทำงานร่วมกับม่านเลนส์ หรือขนาดรูรบั แสงซึง่ ทำหน้าที่ ควบคุมปริมาณแสงสว่างให้ผ่านเข้ากล้องเป็นปริมาณมากหรือน้อย แต่มา่ นชัตเตอร์ทำหน้าที่ เปิดแสงสว่างให้เข้ากล้องไดตามเวลาทีก่ ำหนด ม่านชัตเตอร์มอี ยู่ 2 แบบ คือ ชัตเตอร์แผ่น (Leaf - shutter) มีทง้ั ชนิด ทีอ่ ยูก่ ลางเลนส์ (between-the-Lens-shutter) และชนิดทีอ่ ยูห่ ลังเลนส์ (behind-the-Lens-shutter) อีกแบบหนึง่ เรียกว่า ชัตเตอร์มา่ น (focalplane-shutter) ทำเป็นแผ่นทำงานอยูห่ น้าฟิลม์ ถ่ายภาพ

3. ช่องมองภาพ (Viewer หรือ View-finder) เป็นจอรับภาพ ติดอยู่กับกล้องถ่ายภาพ มีอยู่หลายแบบบางแบบทำด้วยกระจกฝ้า อยู ่ ด ้ า นท้ า ยกล้ อ งหรื อ อยู ่ บ นหลั ง กล้ อ ง บางแบบทำเป็ น ท่ อ ยาว ๆ อยู ่ ด ้ า นบนหรื อ ด้ า นข้ า ง บางแบบทำเป็ น กรอบมองไม่ ม ี ก ระจก แต่มีศูนย์หน้าศูนย์หลังให้ และแบบปริซึมสะท้อนแสง (Penta-prism) ซึ่งช่วยให้มองภาพได้แจ่มชัดเป็นพิเศษ 13

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ องค์ประกอบในการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

2

นอกจากนี้แล้วยังมีส่วนประกอบและระบบต่าง ๆ ที่ทำหน้าที่ ในการควบคุมการถ่ายภาพที่สำคัญอีกหลายส่วน ซึ่งไม่ได้กล่าวถึง เนื่องจากว่ากล้องถ่ายภาพ แต่ละแบบแต่ละรุ่นหรือแต่ละยี่ห้อก็จะ มีส่วนประกอบและระบบการทำงานที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งถ้าหาก สนใจก็จะสามารถศึกษาได้จากคูม่ อื การใช้งานของกล้องถ่ายภาพแต่ละรุน่ ได้ กล้องถ่ายภาพแบบต่าง ๆ มีคำนิยามในวิชาถ่ายภาพกล่าวไว้ว่า “กล้องถ่ายภาพแบบหนึ่ง จะเหมาะสำหรั บ งานถ่ า ยภาพประเภทหนึ ่ ง โปรดอย่ า ได้ เ ข้ า ใจว่ า มีกล้องถ่ายภาพกล้องหนึ่งแล้ว จะสามารถใช้งานถ่ายภาพได้ทุกงาน เสมอไป”

14

กล้องสะท้อนภาพเลนส์เดีย่ ว (Single lens reflect camera) ระบบการทำงานของกล้องแบบนี้ก็คือ แสงสะท้อนจากวัตถุ จะผ่านเลนส์เข้าไปยังกล้องซึง่ ภายในมีกระจกสะท้อนภาพวางทำมุม 45 องศา เพือ่ สะท้อนภาพขึน้ สูป่ ริซมึ 5 เหลีย่ ม ซึง่ เรียกว่า “Penta prism” ภาพที่เห็นในช่องภาพจะเป็นภาพที่ถูกต้อง เมื่อกดชัตเตอร์ถ่ายภาพ ระบบกลไกของกล้องจะทำให้กระจกสะท้อนภาพกระดกตัวขึน้ บนด้านบน พร้อมกับม่านชัตเตอร์กจ็ ะเปิดออกไปแสงผ่านตรงเข้าไปยังฟิลม์ ทีอ่ ยูด่ า้ นหลัง จากนั้นม่านชัตเตอร์และกระจกสะท้อนภาพก็จะปิดกลับสู่ตำแหน่งเดิม ชัตเตอร์ของกล้องชนิดนีม้ กั จะติดตัง้ อยูด่ า้ นหลังกระจกติดกับระนาบของฟิลม์ เรียกว่า ชัตเตอร์มา่ น เนือ่ งจากกล้องแบบนีป้ ระกอบไปด้วยเลนส์ถา่ ยภาพเพียง ตัวเดียว เท่านั้น และภาพที่มองจากช่องมองภาพนั้น เป็นภาพที่มองผ่าน เลนส์ ถ ่ า ยภาพนั ่ น เอง ดั ง นั ้ น ภาพที ่ ม องเห็ น ในช่ อ งมองภาพ และ ภาพที่ปรากฎฟิล์มจึงเป็นภาพที่มีลักษณะเหมือนกัน กล้องสะท้อนภาพเลนส์เดีย่ วผลิตมาเป็น 2 แบบตามขนาดของ ฟิลม์ ทีใ่ ช้ คือ กล้องทีใ่ ช้กบั ฟิลม์ 35 มม. และขนาด 6x6 ซม. (หรือ 21/4 x 2 1/4 นิว้ ) สาเหตุทอ่ี อกแบบให้ใช้ฟลิ ม์ ขนาดใหญ่ขน้ึ ก็เพือ่ ให้ได้ผลทาง ความคมชัดของภาพสูง ได้ภาพทีม่ เี กรนละเอียดและมีความอิม่ ตัวของสีสงู จึงมีราคาแพงกว่ากล้องขนาด 35 มม. มาก ระบบการทำงานของกล้องนี้ คล้ายกับแบบทีใ่ ช้กบั ฟิลม์ 35 มม. คือใช้เลนส์เพียงชุดเดียว ต่างกัน ออกไปตรงที่ภาพจะสะท้อนจากกระจกไปยังกระจกรับภาพ (Ground grass) สำหรับปรับความคมชัดของภาพ จึงต้องมองภาพจากด้านบน ของกล้องและภาพทีเ่ ห็นจะกลับซ้ายเป็นขวา อย่างไรก็ตาม กล้องทีใ่ ช้ฟลิ ม์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ องค์ประกอบในการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

2

ขนาด 6x6 ซ.ม. นี้ สามารถถอดประกอบชิน้ ส่วนต่าง ๆ ออกได้เป็นหลาย ส่วนคือ เลนส์ กล่องบรรจุฟิล์ม และฝาครอบที่มองภาพซึ่งสามารถ เปลีย่ นเป็นแบบเพนต้าปริซมึ ได้ ส่วนกล้องสะท้อนภาพเลนส์เดีย่ ว 35 มม. บางรุ่นเช่น Nikon F.3 สามารถถอดหัวปริซึมออกได้เมื่อต้องการ ปรับโฟกัสด้วยกระจกรับภาพแทน เนื่องจากภาพที่เห็นในช่องมองภาพ เป็นภาพเดียวกับภาพที่ปรากฎบนฟิล์ม จึงไม่มีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องการ เหลื ่ อ มของภาพ สามารถถ่ า ยภาพวั ต ถุ ใ กล้ ๆ ได้ นอกจากนี ้ ย ั ง สามารถปรับหน้ากล้องและความเร็วชัตเตอร์ได้ทุกระดับ มีระบบต่าง ๆ ควบคุ ม กล้ อ งโดยอั ต โนมั ต ิ สามารถถอดเปลี ่ ย นเลนส์ ไ ด้ ท ุ ก ขนาด ความยาวโฟกัส กล้องนี้จึงมีขอบข่ายการใช้งานกว้างมาก เป็นที่นิยม ของภาพสมัครเล่น และช่างภาพอาชีพโดยทัว่ ไป อาจจะสรุปข้อดีของกล้องสะท้อนภาพเลนส์เดี่ยวได้ดังนี้คือ 1.สามารถปรับโฟกัสภาพได้ชดั เจนและภาพทีม่ องเห็นตรงกับภาพทีป่ รากฎบนฟิลม์ 2.สามารถถอดเปลีย่ นเลนส์ได้ทกุ ขนาดความยาวโฟกัส 3. มีระบบหน้ากล้อง ชัตเตอร์ ตลอดจนระบบอัตโนมัตอิ น่ื ๆ เช่น ระบบวัดแสงอัตโนมัติ เป็นต้น 4. สามารถใช้ได้ทง้ั กับฟิลม์ 35 มม. และฟิลม์ 120. (6 X 6 ซม.) ตามขนาดของกล้อง 5. สามารถถ่ายภาพได้อย่างต่อเนื่องและรวดเร็ว

กล้องสะท้อนภาพเลนส์คู่ (Twin lens reflex camera) กล้องชนิดนี้ใช้เลนส์ 2 ตัว ซึ่งมีขนาดความยาวโฟกัสเท่ากัน ติดตัง้ อยูบ่ นแท่นเดียวกันเลนส์ตวั บนใช้สำหรับมองภาพ แสงสะท้อนจาก วัตถุจะผ่านจากเลนส์ตัวบนไปยังกระจกสะท้อนภาพที่ตั้งอยู่หลังเลนส์ สะท้อนไปสูก่ ระจกรับภาพ (ground glass) ภาพทีเ่ ห็นบนกระจกรับภาพ จะกลับซ้ายเป็นขวา และกลับขวาเป็นซ้าย ส่วนเลนส์ตวั ล่างนัน้ ใช้สำหรับ ถ่ายภาพโดยตรงโดยแสงผ่านเลนส์ตวั ล่าวไปปรากฎภาพบนฟิลม์ ฃการปรับภาพ ทำโดยมีกลไกสัมพันธ์กับแผงเลนส์เลื่อนเข้าออกพร้อมกันทั้ง 2 ตัว ทำให้เลนส์มองภาพและเลนส์ถา่ ยภาพอยูใ่ นระยะโฟกัสในเวลาเดียวกันทัง้ 2 ตัว กล่าวคือ เมือ่ ปรับภาพชัดบนกระจกรับภาพ ภาพทีป่ รากฎบนฟิลม์ ก็จะชัดด้วย ชัตเตอร์ที่ใช้กับเลนส์ชนิดนี้จะอยู่ระหว่างเลนส์ตัวล่าง เป็นแบบชัตเตอร์ไดอะแฟรม (Diaphragm shutter) 15

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ องค์ประกอบในการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

2

ส่วนฟิลม์ ทีใ่ ช้สำหรับกล้องสะท้อนภาพเลนส์คเู่ ป็นฟิลม์ No.120 ขนาด 6 x 6 ซม. (2 1/2 x 2 1/4 นิว้ ) ข้อดีและข้อเสีย เนื่องจากกล้องแบบนี้ใช้เลนส์มองภาพเลนส์ถ่ายภาพคนละตัว กันดังนั้นภาพที่ตามองเห็นจึงไม่ใช่ภาพเดียวกันกับภาพที่ปรากฎบนฟิล์ม จึงทำให้เกิดการเหลือ่ มของภาพขึน้ เช่นเดียวกับกล้องแบบมีเครือ่ งหาระยะ ในการถ่ า ยภาพใกล้ จ ึ ง จำเป็ น ต้ อ งแก้ ค วามเหลื ่ อ มของภาพด้ ว ย โดยทัว่ ไปกล้องชนิดนีถ้ อดเปลีย่ นเลนส์ไม่ได้ แต่มบี างยีห่ อ้ เท่านัน้ เช่นกล้อง Mamiya รุน่ C 330 ออกแบบมาให้ถอดเปลีย่ นเลนส์ได้ อย่ า งไรก็ ต าม กล้ อ งแบบนี ้ ก ็ ม ี ข ้ อ ดี ท ี ่ ใ ช้ ฟ ิ ล ์ ม ขนาดใหญ่ และสามารถปรั บ หน้ า กล้ อ งและความเร็ ว ชั ต เตอร์ ไ ด้ ห ลายขนาด นอกจากนีย้ งั สามารถถ่ายภาพมุมสูง (High angle shots) และภาพมุม ต่ำ (Low angle shots) ได้ดี ด้วยการจับถือกล้องชูขึ้นเหนือหัวหรือ วางราบกับพืน้ ดิน ปัจจุบนั กล้องชนิดนีม้ ผี นู้ ยิ มใช้นอ้ ย

กล้องใหญ่ (View and studio camera) กล้องใหญ่ หรือทีเ่ รียกว่า View camera และ Studio camera เป็นกล้องที่ใช้กันอย่างกว้างขวางในหมู่ช่างภาพอาชีพ สำหรับถ่ายภาพโฆษณา อุตสาหกรรม สถาปัตยกรรมและในห้องภาพ (Studio) ทัว่ ๆ ไป ทัง้ นีเ้ พราะสามารถถ่ายภาพได้ ฟิลม์ Negative และ Positive ขนาดใหญ่ซง่ึ มีคณ ุ ภาพสูงในการนำมาขยายภาพขนาดใหญ่

16

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ องค์ประกอบในการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

2

ส่วนประกอบพื้นฐานของกล้องแบบนี้ประกอบด้วยผนัง 2 ด้าน ด้านหนึง่ ติดตัง้ ผงเลนส์และอีกด้านหนึง่ ติดตัง้ ฟิลม์ ต่อเชือ่ มกันด้วย Bollow ทึกแสง (Light - tight bellow) ผนัง 2 ด้านนีป้ กติจะยึดติดกับรางเดีย่ ว (monorail) และสามารถหมุ น ปุ ่ ม ยึ ด หดเบลโล่ ว ไปตามราง เพื ่ อ ปรั บ โฟกั ส ภาพ แผงที ่ ย ึ ด เลนส์ ส ามารถถอดเปลี ่ ย นเลนส์ ไ ด้ ตามความเหมาะสม เลนส์แต่ละตัวจะติดตั้งชัตเตอร์ไดอะแฟรมไว้ด้วย (diaphragm shutter) ผนังด้านหลังเป็นฉากรับภาพ ground glass เพือ่ มองและปรับภาพ ภาพของวัตถุบนฉากรับภาพนีจ้ ะมีลกั ษณะหัวกลับ กล้องชนิดนี้เวลาใช้ต้องติดตั้งบนขาตั้งกล้องเสมอ เนือ่ งจากกล้องมีขนาดใหญ่ และมีนำ้ หนักมาก ฟิ ล ์ ม ที ่ ใ ช้ ส ำหรั บ กล้ อ งนี ้ เ ป็ น ฟิ ล ์ ม แผ่ น (Sheet film) เช่ น เดี ย วกั บ กล้ อ งหนั ง สื อ พิ ม พ์ แ ต่ ส ามารถเลื อ กใช้ ไ ด้ ห ลายขนาด ตั ้ ง แต่ ข นาด 4 x 5 นิ ้ ว , 5 x 7 นิ ้ ว หรื อ 8 x 10 นิ ้ ว ฟิ ล ์ ม นี้เวลาใช้สามารถบรรจุใส่ตลับ (holder) ได้ทั้งด้านหน้าและด้านหลัง เมื่อต้องการถ่ายจึงสอดตลับเข้าไปทางด้านหลังกล้องหน้ากระจกรับภาพ อย่างไรก็ตามยังมีตลับใส่ฟิล์มแบบบรรจุฟิล์มมาหลาย ๆ แผ่นและฟิล์ม แบบม้วน (Roll film) ก็สามารถนำมาใช้กับกล้องนี้ได้เช่นเดียวกัน นอกจากนีย้ งั สามารถใช้ได้กบั ฟิลม์ โพลาลอยด์ขนาด 4 x 5 นิว้ อีกด้วย อย่ า งไรก็ ต ามกล้ อ งนี ้ ก ็ ม ี ข ้ อ เสี ย ที ่ ไ ม่ ส ามารถนำติ ด ตั ว ไปได้ ส ะดวก การใช้กล้องต้องตั้งบนขาตั้งกล้อง (Tripod) หรือ Studio stand เลนส์สำหรับกล้อง View camera มีความไวน้อยและมี depth of field น้อยกว่ากล้องขนาดเล็กกว่า การถ่ายภาพอย่างรวดเร็วทำได้อยาก เพราะว่าจะต้องทำงานหลายอย่างก่อนและหลังการถ่ายภาพแต่ละภาพ ฟิล์มแผ่นมีราคาแพง และตลับใส่ฟิล์มทำให้การจับถือเชื่องช้า ยืดยาด และจะต้องบรรจุฟลิ ม์ ใน hoder เฉพาะในห้องมือหรือในถุงมืดเท่านัน้ กล้องถ่ายภาพเพื่อผลพิเศษเฉพาะอย่าง เป็นกล้องที่ประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อใช้สำหรับถ่ายภาพเฉพาะอย่าง ตามลักษณะของงานนั้น ๆ ได้แก่ กล้องโพลาลอยด์ กล้องพาโนรามา กล้องถ่ายภาพใต้นำ้ กล้องถ่ายภาพจากกล้องจุลทรรศน์ และกล้องชนิด อืน่ ๆ อีกหลายประเภท ในทีน่ จ้ี ะขอยกมากล่าวเพียงบางประเภท คือ 1. กล้องโพลาลอยด์เป็นกล้องทีส่ ามารถผลิตภาพออกมาดูได้ ทัน ทีหลังจากถ่ายภาพนั้นแล้ว โดยไม่ต้องผ่านกระบวนการล้างฟิล์ม และ อัดขยายภาพกล้องอินสแตนท์ (Instant camera) ก็จดั อยูใ่ นประเภทนี้ 17

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ องค์ประกอบในการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

2

ฟิลม์ ทีใ่ ช้สำหรับกล้องโพลาลอยด์จะถูกบรรจุอยูใ่ นกล่อง รวมกับ สารเคมีทจ่ี ะใช้ทำปฏิกริ ยิ าภายในกล้อง เมือ่ ถ่ายเสร็จแล้วผูถ้ า่ ยสามารถ ดึงภาพออกมาดูได้ทนั ที ภาพจะค่อย ๆ ปรากฎให้เห็นภายใน 1 - 2 นาที ข้อเสียของกล้องแบบนี้ก็คือ ไม่สามารถนำไปอัดและขยายภาพได้ ถ้าต้องการฟิลม์ Negative ทีน่ ำไปอัดขยายได้ จะต้องใช้กล้องโพลาลอยด์ ชนิดพิเศษและใช้ฟลิ ม์ ทีบ่ รรจุอยูใ่ นกล่องเป็นแพค (film pack) นอกจากนี้ คุณภาพก็ไม่ดีเท่ากับภาพที่อัดขยายในห้องมืด

18

2. กล้องพาโนรามา (Panoramic camera) เป็นกล้องทีเ่ ลนส์ สามารถหมุนตามแนวนอน เมื่อแสงหักเหจากเลนส์ผ่านช่องแคบ ๆ ซึง่ หมุนตามเลนส์ไปตกลงบนฟิลม์ ซึง่ วางในแผงโค้งตลอดแนวด้านหลังกล้อง จึงสามารถถ่ายได้มมุ ของวิวกว้างถึง 140 องศา โดยภาพไม่ผดิ เพีย้ น 3. กล้องถ่ายภาพใต้นำ้ (Underwater camera) เป็นกล้องที่ สร้างขึ้นเพื่อนำไปถ่ายภาพใต้น้ำ จึงต้องบรรจุในกล่องที่แข็งแรงป้องกัน น้ำเข้าไปในตัวกล้อง และทนทานต่อความกดดันของน้ำเมือ่ ดำลงไปลึก ๆ และต้องมีระบบกลไกควบคุมกล้องจากภายนอกในการปรับโฟกัสตัง้ หน้ากล้อง การเลือ่ นฟิลม์ และการกดชัตเตอร์ มีกล้องบางยีห่ อ้ เช่นกล้อง “Nikonos” สามารถถ่ายภาพใต้นำ้ หรือบนพื้นดินโดยไม่ต้องใช้กล่องบรรจุอุปกรณ์พิเศษแต่อย่างใด กล้อง แบบนี้ต้องต่อเชื่อมอุปกรณ์แต่ละชิ้นเป็นพิเศษเพื่อป้องกันน้ำเข้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ องค์ประกอบในการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

2

การเก็บรักษากล้องถ่ายภาพ กล้ อ งถ่ า ยภาพเป็ น อุ ป กรณ์ ท ี ่ ส ำคั ญ ที ่ ส ุ ด ในการถ่ า ยภาพ การรูจ้ กั ใช้และเก็บรักษากล้องอย่างทะนุถนอมจะส่งผลให้ชา่ งภาพได้ภาพทีด่ ใี นบัน้ ปลาย การป้องกันและรักษากล้องถ่ายภาพควรปฏิบัติดังนี้คือ 1. ควรทำความสะอาดเลนส์และตัวกล้องด้วยชุดอุปกรณ์สำหรับ ทำความสะอาดเลนส์ โ ดยเฉพาะ เนื ่ อ งจากเลนส์ เ ป็ น ส่ ว นประกอบ ของกล้องที่บอบบางที่สุด ซึ่งประกอบไปด้วยชิ้นแก้วหลายชิ้นที่ผนึก ติ ด กั น ไว้ ผิ ว หน้ า เคลื อ บไว้ ด ้ ว ยสารกั น แสงสะท้ อ น แม้ แ ต่ เ ศษผง ก็อาจทำให้เป็นรอยขีดข่วนทีผ่ วิ เลนส์ได้ เวลาทำความสะอาดเลนส์จงึ ควร ใช้ลูกยางเป่าลมซึ่งมีแปรงขนอ่อนอยู่ที่ปลายด้านที่ลมออก (blower) ใช้ปดั และเป่าฝุน่ ละอองทีต่ ดิ อยูท่ ผ่ี วิ เลนส์ออกเสียครัง้ หนึง่ ก่อน แล้วจึง ใช้ ก ระดาษสำหรั บ เช็ ด เลนส์ อ ี ก ครั ้ ง หนึ ่ ง ถ้ า หากเลนส์ ส กปรกมาก เช่นมีรอยนิ้วมือเปื้อน ควรใช้น้ำยาสำหรับล้างเลนส์ (lens cleaning solvent) หยดลงบนกระดาษเช็คเลนส์ 1 - 2 หยดแล้วเช็ดทีผ่ วิ เลนส์โดย เช็ดวนไปทางเดียวแต่เบา ๆ ตลอดอย่างใช้วธิ ถี ไู ปถูมา ห้ามใช้ปากเป่าหรือ ใช้ผ้าเช็ดหน้าและกระดาษอื่น ๆ เช็ดเลนส์เป็นอันขาด อย่างไรก็ตาม ถ้าไม่จำเป็นก็ไม่ควรเช็ดเลนส์บ่อย ๆ เพราะอาจทำให้สารที่เคลือบเลนส์ หลุดออกได้ ส่วนการทำความสำอาดตัวกล้อง ควรใช้ลูกยางเป่าลม ปัดฝุน่ ละอองทีอ่ ยูใ่ นซอกมุมต่าง ๆ ออกให้หมด 2. หากไม่ใช้กล้องถ่ายภาพ ควรใช้ฝากครอบกล้อง และเก็บไว้ ในกระเป๋ า หนั ง หุ ้ ม กล้ อ งเสมอ เพราะจะช่ ว ยป้ อ งกั น การกระแทก กระเทือนจากภายนอกได้มากเวลาถ่ายภาพก็ควรใช้สายสะพายคล้องคอไว้เสมอ 3. เมือ่ เลิกใช้กล้องทุกครัง้ ไม่ควรขึน้ ไกชัตเตอร์คา้ งไว้กอ่ นเก็บ ควรเปิดหน้ากล้องไว้ท่ี f/stop กว้างสุด และตัง้ ความเร็วชัตเตอร์ไว้ท่ี B ตั้งระยะไว้ที่อินฟินิตี้ เสมอเพื่อคลายและปลดระบบกลไกของกล้อง ให้อยูใ่ นสภาพปกติ มิฉะนัน้ อาจทำให้สปริงและกลไกยืดได้ 4. เพือ่ ป้องกันอันตรายทีจ่ ะเกิดขึน้ กับเลนส์ ควรสวมฟิลเตอร์ U-V filter หรือ skylight filter ไว้ตลอดเวลาเพราะนอกจากจะให้ผล ทางด้านการกรองแสงอุลตร้าไวโอเล็ทแล้ว ยังสามารถป้องกันเลนส์ จากฝุน่ ละอองและความสกปรกต่าง ๆ ได้อกี ด้วย 5. ควรเก็บกล้องและอุปกรณ์ไว้ในทีเ่ ย็น แห้ง และสะอาดเสมอ และควรวางสารดูดความชืน้ เช่นถุงใส่สารซิลกิ าเจล (Silica gel) ไว้ใกล้ ๆ เพือ่ ดูดความชืน้ ป้องกันเชือ้ ราทีอ่ าจเกิดขึน้ ได้ 6. ช่างภาพที่มีกล้องและอุปกรณ์หลายอย่าง ควรมีกระเป๋า 19

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ องค์ประกอบในการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

2

ใส่กล้องและอุปกรณ์ที่มีฟองน้ำหรือผ้าบุไว้เป็นช่อง ๆ สำหรับแยกเก็บ อุปกรณ์เป็นส่วน ๆ เพื่อป้องกันการกระทบกระเทือนและความร้อน เมื่อนำไปใช้งาน 7. ไม่ควรเก็บกล้องและอุปกรณ์ไว้ในทีร่ อ้ นชืน้ เช่น ในรถยนต์ หรือในตู้เสื้อผ้าเพราะจะทำให้เลนส์เสื่อมคุณภาพ และมีผลเสียต่อฟิล์ม ทีอ่ ยูใ่ นกล้องด้วย 8. ควรตรวจสอบกล้องของท่านและทำความสะอาดกล้องทุกครัง้ โดยสม่ำเสมอหลังจากใช้งานแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิง่ เมือ่ ไปเทีย่ วชายทะเล ถูก กั บ ไอน้ ำ เค็ ม ตรวจดู ท ี่ ต ัว กล้ อ ง สภาพภายในเลนส์ ชั ต เตอร์ ไดอะแฟรม และระบบกลไกต่าง ๆ 9. อย่างพยายามซ่อมกล้องของท่านด้วยตัวเอง กล้องประกอบ ไปด้วยชิ้นส่วนเล็ก ๆ และวงจรควบคุมกลไกต่าง ๆ ละเอียดซับซ้อนมาก ดังนัน้ หากมีสว่ นหนึง่ ใดของกล้องชำรุด ขัดข้อง จึงควรส่งให้ชา่ งผูช้ ำนาญ และเชื่อถือได้ตรวจซ่อมให้ ฟิล์มถ่ายภาพ ฟิ ล ์ ม เป็ น สารไวแสง เป็ น ฉากรั บ ภาพภายในกล้ อ งนั ่ น เอง เมื ่ อ โดนฉายแสงหรื อ เมื ่ อ กดชั ต เตอร์ ภาพจะเกิ ด เป็ น ภาพแฝงที ่ ฟิลม์ เรียกว่า LATENT IMAGE ซึง่ ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้ ต้องผ่านกระบวนการล้างฟิลม์ จึงสามารถมองเห็นได้แต่กย็ งั เป็นภาพเนกาตีฟ นั่นคือภาพตรงข้างกับความจริงเช่น ผมจะเป็นสีขาว ฟันจะเป็นสีดำ เมื่อนำไปอัดลงบนกระดาษภาพจึงเป็น โพสิตีฟ นั่นคือ ภาพถูกต้อง ผมจะเป็นสีดำ ฟันจะเป็นสีขาว ประเภทของฟิล์ม โดยทัว่ ไปแบ่งฟิลม์ ออกเป็น 2 ประเภทคือ 1. แบ่งตามลักษณะภาพทีบ่ นั ทึก Neg., Pos 2. แบ่งตามขนาด,ลักษณะการบรรจุ

20

แบ่งตามลักษณะที่บันทึกบนฟิล์ม Negative Film เมือ่ นำฟิลม์ ทีถ่ า่ ยไปผ่านกระบวนการล้างฟิลม์ จะได้ภาพในฟิล์ม มีน้ำหนัก,สี ตรงข้ามกับวัตถุจริง ต้องนำฟิล์มนี้ไป อัดขยายลงบนกระดาษไวแสงอีกครัง้ จึงจะได้ภาพตรงตามทีเ่ ห็น Positive or Reversal Film ฟิล์มที่บันทึกภาพได้น้ำหนัก,สีตาม ภาพที ่ เ ป็ น จริ ง ถู ก ต้ อ งตามธรรมชาติ เรี ย กทั ่ ว ไป “ฟิ ล ิ ม สไลด์ ” มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ องค์ประกอบในการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

2

แบ่งฟิล์มตามขนาดและลักษณะการบรรจุ ฟิ ล ์ ม แบบตลั บ (Cassette film) บรรจุ อ ยู ่ ใ นตลั บ พลาสติ ก จะเปิดเฉพาะช่องทีจ่ ะฉายแสง ใช้สำหรับกล้องบอกซิขนาดต่าง ๆ มีรหัส 110 (ขนาด 16 ม.ม.) 126 (ขนาด 35 ม.ม.) มี 12,20 ภาพ เมือ่ ถ่ายเสร็จ ไม่ต้องกรอฟิล์มกลับ ฟิล์มแบบแมกกาซีน (Magazine film) ฟิล์มขนาด 35 ม.ม. บรรจุในกลักโลหะ,พลาสติก โดยม้วนฟิล์มเก็บไว้กับแกน จะมีหัวฟิล์ม โผล่ อ อกมา มี ร ู ห นามเตยทั ้ ง 2 ด้ า น เมื ่ อ ถ่ า ยหมดม้ ว นจะต้ อ ง กรอกลับก่อนนำออกจากล้องมีรหัส 135 ขนาดภาพ 2.4x36 ม.ม. มี 24,36 ภาพ ถ้าใช้กบั กล้อง Half frame จะได้จำนวนเพิม่ 2 เท่า ฟิล์มแบบม้วน (Roll film) ฟิล์มจะม้วนเก็บบนแกน มีกระดาษ สีดำทึบแสงรองอยูด่ า้ นหลังยาวไปตลอดทัง้ ม้วน ขอบฟิลม์ ไม่มรี หู นามเตย มีรหัส 120 มีขนาด 6x4.5 , 6x6 , 6x7 , 6x9 ซ.ม. ฟิล์มแผ่น (Sheet film) บรรจุเป็นแผ่นอยู่ในกล่อง แต่ละแผ่น จะมีกระดาษคั่นอยู่ ทำรอยหยักใหห้สังเกตุอยู่มุมขวาบนด้าน emulsion จะหันเข้าหาตัว มีขนาด 4x5 , 5x7 , 8x10 , 11x14 นิว้ ขึน้ อยูก่ บั กล้องทีใ่ ช้ ิ โครงสร้างของฟิล์มขาวดำ โครงสร้างของฟิลม์ ขาวดำจะประกอบไปด้วยชัน้ ต่าง ๆ ดังนี้ 1. Topcoat อยูช่ น้ั บนสุดฉาบด้วยสารซึง่ เป็นวัสดุใสเพือ่ ป้องกัน ไม่ให้สว่ นหน้าของฟิลม์ เป็นลอยขีดข่วนเสียหาย 2. Emulsion เป็ น ชั ้ น ของเยื ่ อ ไวแสงประเภทเงิ น โบรไมค์ เป็นสารแขวนลอยอยู่ในเวลาติดแผ่เป็นเยื่อบางอยู่บนฐานของฟิล์ม เมื่อถูกกับแสงจะเป็นโลหะเงิน 3. Subbing จะเป็ น เยื ่ อ เหนี ย วช่ ว ยยึ ด จั บ Emulsion ให้ตดิ กับฐานฟิลม์ 4. Support เป็นแผ่นโปร่งใสซึ่งแข็งและยืดหยุ่นได้บ้างสำหรับ เป็นฐานสำหรับเป็นฐานรองรับเยือ่ ไวแสง ทำด้วยเซลลูโลสอาซิเตท 5. Adhesive layer เป็ น ตั ว ช่ ว ยยึ ด จั บ ส่ ว นที ่ อ ยู ่ ล ่ า งสุ ด ของฟิลม์ ให้เกาะติดกับฐานฟิลม์ 6. Antihalation Backing เป็นสารที่ทำหน้าที่ดูดกลืนแสง ที่อาจเล็ดลอดผ่านมาจากฃชั้นของเยื่อไวแสงไม่ให้สะท้อนกลับขึ้นไป

21

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ องค์ประกอบในการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

2

คุณสมบัติของฟิล์มถ่ายภาพ ความไวแสงของฟิลม์ คือความไวต่อแสงของเยือ่ ไวแสงบนฟิลม์ ที ่ ม ี ต ่ อ แสงที ่ ใ ช้ ใ นการถ่ า ยภาพ ฟิ ล ์ ม บางชนิ ด มี ค วามไวแสงมาก ไม่ต้องการฉายแสงมากก็บันทึกภาพได้ แต่ถ้าฟิล์มมีความไวแสงต่ำ ก็ต้องใช้แสงมากเช่นกัน ความไวแสงทีน่ ยิ มใช้มี 3 ระบบคือ 1. ASA เป็นระบบของประเทศสหรัฐอเมริกาฟิล์มที่มีตัวเลข ASA สู ง แสดงว่ า มี ค วามไวแสงมากกว่ า ASA น้ อ ย และเพิม่ หรือลดเป็นอัตราส่วนเช่น ASA 64 ไวเป็น 2 เท่าของ 32 2. DIN เป็นระบบของประเทศเยอรมันนี นิยมใช้ทางยุโรป DIN 24 จะมีความไวแสงเป็น 2 เท่าของ DIN 21 3. ISO เป็นระบบที่ต ั้งขึ้นเพื่อใช้เป็นมาตรฐานสากลจาก ที ่ ป ระชุ ม นา ๆ ชาติ ข องผู ้ ผ ลิ ต ฟิ ล ์ ม ทั ่ ว โลก ISO 200 จะมีความไวแสงมากกว่า ISO 100 นอกจากนีย้ งั อาจแบ่งฟิลม์ ทีม่ คี วามไวแสงต่างกันออกไปคือ 1. ฟิลม์ ความไวแสงต่ำ จะมี ISO 100 ลงไปเนือ้ ฟิลม์ จะละอียด เหมาะสำหรับถ่ายภาพในลักษณะแสงสว่างมาก ๆ สามารถนำฟิล์มไป ขยายภาพให้มขี นาดใหญ่ได้ดี 2. ฟิ ล ์ ม ที ่ ม ี ค วามไวแสงปานกลางคื อ ISO 100 - 200 เหมาะสำหรั บ ถ่ า ยภาพทั ่ ว ๆ ไป ที ่ ม ี แ สงสว่ า งปานกลางเนื ้ อ ฟิ ล ์ ม ละเอียดพอสมควร 3. ฟิล์มที่มีความไวแสงสูง คือ 200 - 400 เกรนเนื้อของฟิล์ม ค่อนข้างหยาบไม่เหมาะสำหรับนำไปขยายภาพขนาดใหญ่ใช้ถ่ายได้ดี ในทีม่ แี สงน้อย 4. ฟิล์มที่มีความไวแสงสูงพิเศษมีความไวแสงอยู่ในระดับ ISO 400 ขึ ้ น ไป เหมาะสำหรั บ ถ่ า ยภาพในที ่ ท ี ่ ม ี แ สงน้ อ ยมากเนื ้ อ ฟิ ล ์ ม หยาบมากเช่นกัน ดั ง นั ้ น เมื ่ อ ถ่ า ยภาพในสถานที ่ ม ี แ สงมากก็ ค วรใช้ ฟ ิ ล ์ ม ที ่ ม ี ความไวแสงต่ำแต่ถ้าต้องการถ้ายภาพที่มีแสงสว่างสลัว ๆ หรือแสง น้อยควรเลือกใช้ฟลิ ม์ ทีม่ คี วามไวแสงสูงพิเศษ

22

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ องค์ประกอบในการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

2

ความไวต่อสีของฟิล์ม สำหรับฟิล์มขาว - ดำ จะมีความไวต่อแสงสีต่าง ๆ แตกต่าง กันโดยถูกบันทึกไวบนฟิล์มเป็นสีดำ สีเทาแตกต่างกันหลายระดับ และจะมีความไวต่อแสงสีในสเปรคตรัมซึง่ มองไม่เห็นตัง้ แต่แสงอุลตราไวโอเลต ทีอ่ ยูด่ า้ นหน้า และแสงอินฟาเรตทีป่ ลายอีกด้านหนึง่ ของแสงสีนน้ั คือฟิลม์ แต่ละชนิดจะมีความไวต่อแสงสีต่างกัน ฟิลม์ Panchromatic Film เป็นฟิล์มที่บันทึกแสงสีทุกแสงสีตามสัดส่วนของความ สว่างของสี ใกล้เคียงกับที่ตาเรามองเห็น จึงเป็นฟิล์มที่นิยมใช้ถ่ายภาพ ขาว-ดำ ทัว่ ไป ฟิลม์ Opthochromatic film เป็นฟิลม์ ทีม่ คี วามไวต่อแสงสีทกุ แสงสี ยกเว้นแสงสีแดง จึ ง ทำให้ ส ามารถล้ า งฟิ ล ์ ม ภายใต้ ห ลอดไฟนิ ร ภั ย สี แ ดงได้ บางที เ ราเรี ย กว่ า ฟิ ล ์ ม ออร์ โ ท หรื อ ฟิ ล ์ ม ลิ ธ เหมาะสำหรั บ ถ่ า ยภาพ ลายเส้นหรือ ภาพฮาล์พโทนหรือภาพลายสกรีนซึง่ ใช้มากในงานการพิมพ์ Blue - sensitive film เป็นฟิล์มที่บันทึกเฉพาะแสงสีน้ำเงินเพียงสีเดียวและจะ บอดสีอน่ื ทุกสี ใช้สำหรับการ COPY ภาพลายเส้นขาว - ดำ ใช้มากในงาน การพิมพ์ ฟิลม์ Infra - red จะมี ค วามไวต่ อ แสงสี อ ิ น ฟาเรตขาวดำเมื ่ อ ใช้ ก ั บ ฟิ ล เตอร์ พ ิ เ ศษ ปล่ อ ยให้ แ สงอิ น ฟาเรตผ่ า นเข้ า ไปได้ อ ย่ า งเดี ย ว ก็จะสามารถถ่ายภาพ ที่โดยปกติแล้วไม่สามารถมองเห็นได้สำหรับฟิล์ม อินฟาเรตจะเป็นฟิล์มที่แตกต่างไปจากฟิล์มธรรมดาคือ จะใช้เยื่อไวแสง ทีไ่ วต่อแสงอินฟาเรด แทนชัน้ ของเยือ่ ไวแสงทีไ่ วต่อสีนำ้ เงิน เกรน

23

เกรนของภาพเป็นผลเนื่องมากจากการรวมกันของผลึกเกลือเงิน ถ้าการรวมตัวของผลึกเกลือเงินเป็นกลุ่มใหญ่ เราจะเห็นภาพปรากฏเป็น เม็ดทรายเรียกว่าเกรนหยาบ ซึ่งจะทำให้ความคมชัดของภาพลดลง แต่ถ้าการรวมตัวของผลึกเป็นกลุ่มเล็ก ๆ เรียกว่าเกรนละเอียดภาพที่ได้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ องค์ประกอบในการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

2

จากฟิลม์ ทีม่ เี กรนละเอียดจะมีความคมชัดทีด่ กี ว่า ฟิลม์ ทีม่ คี วามไวแสงสูง จะมีเกรนหยาบ ฟิลม์ ความไวแสงต่ำจะมีเกรนละเอียดกว่า การฉายแสง ทีฟ่ ลิ ม์ ยังมีผลต่อเกรนของภาพด้วยกล่าวคือ ถ้าให้แสงมากฟิลม์ จะมีเกรน หยาบ การขยายภาพให้ใหญ่ขน้ึ ก็จะเห็นเกรนของภาพมีขนาดใหญ่ขน้ึ ด้วย แต่ บ างครั ้ ง ภาพที ่ เ ห็ น เม็ ด เกรนหยาบอาจเป็ น ภาพที ่ ด ู แ ปลก และเกิดความงามขึ้นอีกแบบ คอนทราส คอนทราสหรือการตัดกันของฟิล์มหมายถึง ความสามารถของ ฟิล์มที่จะบันทึก และแยกความแตกต่างระหว่างระดับโทนสีในฟิล์ม ให้เห็นเด่นชัดระดับโทนสีในฟิลม์ ขาวดำ จะมีตง้ั แต่สขี าว สีเทาหลายระดับ ไปจนถึงดำ ส่วนฟิลม์ ทีม่ คี วามสามารถบันทึกค่าของสีระดับต่าง ๆ ได้เพียง 2 - 3 สีกจ็ ะมีความตัดกันของภาพสูงเช่นฟิลม์ ไฮ - คอนทราสจะบันทึกได้ เฉพาะโทนสีขาวและสีดำเท่านั้น โดยทั่ว ๆ ไป ไปฟิล์มที่มีความไวแสง ต่ำจะให้ผลของคอนทรานสูง ส่วนฟิลม์ ทีม่ คี วามไวแสงสูงจะมีคอนทราสต่ำ คือจะมีโทนสีระดับต่าง ๆ ต่อเนือ่ งกันมากกว่าคุณสมบัตใิ นด้านการตัดกัน ของภาพนีส้ ามารถทำให้ลดหรือเพิม่ ได้ โดยวิธที างกระบวนการถ่ายภาพ กระบวนการล้าง อัด ขยาย

24

อุณหภูมิสี อุ ณ หภู ม ิ เ ป็ น สิ ่ ง ที ่ ส ำคั ญ เป็ น พิ เ ศษต่ อ การถ่ า ยภาพสี เพราะฟิล์มสีแต่ละชนิดจะผสมสารเพิ่มความไวแสงสีต่าง ไม่เหมือนกัน จึ ง ทำให้ ฟ ิ ล ์ ม สี ม ี ค วามไวและมี ก ารผลิ ต สี ข องภาพไม่ เ หมื อ นกั น ถ้าใช้แหล่งกำเนิดของแสงต่างชนิดกัน การจำแนกฟิล์มสีตามอุณหภูมิสี อาจแบ่งได้เป็น 3 ประเภทด้วยกัน คือ 1. ฟิลม์ สีชนิดทีใ่ ช้กบั แสงแดด (Daylight type) เป็นฟิลม์ ทีใ่ ช้ถา่ ย ภาพโดยใช้แหล่งกำเนิดแสงจากดวงอาทิตย์ ฟิล์มชนิดนี้มีอุณหภูมิสี ประมาณ 5,000 - 6,000 องศาเคลวิน (Kelvin) หรือเค ( Kํ ) ยังใช้ได้ กับแสงจากไฟแฟลชอิเล็คโทรนิค (Electronic fliash) หลอดแฟลชสีนำ้ เงิน (Blue flash bulb) ซึง่ จะทำให้ภาพมีสสี รรทีถ่ กู ต้องตามธรรมชาติมากทีส่ ดุ 2. ฟิลม์ สีชนิดทีใ่ ช้กบั ไฟโฟโต้ฟลัด (Photoflood lamp) เป็นฟิลม์ ทีส่ มดุลย์กบั แสงทีม่ อี ณ ุ หภูมสิ ี 3,400 Kํ เป็นฟิลม์ ชนิด A (Film type A) หากนำฟิล์มนี้ไปถ่ายกับแสงแดดภาพถ่ายจะมีสีออกทางฟ้า - น้ำเงิน แต่ถา้ นำไปถ่ายกับแสงทีม่ อี ณ ุ หภูมสิ ตี ำ่ กว่า 3,400 องศาเคลวิน ภาพจะ ออกสีเหลือง ๆ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ องค์ประกอบในการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

2

3. ฟิลม์ สีชนิดทีใ่ ช้กบั หลอดไฟทังสเตน (Photographic tungsten lamp) เป็นฟิลม์ ทีส่ มดุลย์กบั แสงทีม่ อี ณ ุ ฟภูมสิ ี 3,200 องศาเคลวิน เป็นฟิลม์ ชนิด B (Film type B) หรือ L ใช้ถา่ ยกับไฟถ่ายภาพทังสเตน หรือแสงไฟตามบ้าน หากนำฟิลม์ ชนิดนีไ้ ปถ่ายกับแสงแดดหรือไฟหลอด โฟโต้ฟลัดแล้วภาพจะมีสอี อกฟ้า - น้ำเงินมาก เราอาจเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิสีของแหล่งกำเนิดแสงใด ๆ ก็ได้ โดยใช้แว่นกรองแสงที่ตัดแสงสีแดงหรือแสงสีน้ำเงินจากแหล่งกำเนิดแสง เพือ่ ทำให้อณ ุ หภูมสิ ขี องแหล่งกำเนิดแสงมีคา่ องศาเคลวินสูงขึน้ หรือต่ำลง แว่นกรองแสงทีป่ รับค่าของอุณหภูมสิ เี รียกว่า “แว่นกรองแสงทีใ่ ช้ปรับความ สมดุลของแสง” (Light balance filtrer) ปกติการเลือกฟิลม์ สีเพือ่ ถ่ายภาพ ต้องคำนึงถึงแสงทีจ่ ะใช้ในการถ่ายภาพด้วย โดยเลือกฟิลม์ ให้มอี ณ ุ หภูมสิ ี เท่ากับอุณหภูมขิ องกำเนิดแสงเช่น ถ้าจะถ่ายกับไฟทังสเตนก็ตอ้ งใช้ฟลิ ม์ ชนิด B หรือ L แต่ถา้ ต้องนำฟิลม์ นีไ้ ปถ่ายกับแสงแดดจัดซึง่ มีอณ ุ หภมิสสี งู ถึง 5,500 องศาเคลวิน ก็ตอ้ งใช้แว่นกรองแสงสีเหลืองเบอร์ 85 B ปรับ ซึ ่ ง หากไม่ ใ ช้ แ ว่ น กรองแสง ภาพที ่ ไ ด้ จ ะมี ส ี อ อกสี ฟ ้ า ตรงกั น ข้ า ม หากนำฟิล์มชนิด Daylight ไปถ่ายภาพในห้องที่มีแสงไฟทังสเตน ซึง่ อุณหภูมสิ เี พียง 3,200 องศาเคลวิน ก็ตอ้ งใช้แว่นกรองแสงสีนำ้ เงินเบอร์ 80 A ปรับ มิฉะนัน้ แสงภาพทีไ่ ด้จะมีสอี อกเหลือง ๆ

ตัวอักษร ตัวเลข และรหัสต่าง ๆ บนกล่องฟิลม์ บริษัทผู้ผลิตฟิล์มชนิดต่าง ๆ จะมีตัวอักษรตัวเลขและรหัสต่างๆ บอกไว้ที่กล่องบรรจุฟิล์มเสมอเพื่อบอกใฟ้ผู้ใช้ฟิล์มทราบถึงคุณสมบัติ และชนิดของฟิล์มแบบต่าง ๆ ทั้งนี้เพื่อจะได้นำไปใช้ได้ถูกต้องตรงกับ ชนิดของกล้องและวัตถุประสงค์ตวั อักษร ตัวเลข และรหัสทีค่ วรทราบมีดงั นี้ 1. ยีห่ อ้ ของฟิลม์ เช่น Kodak , Fuji , Sakura , Agfa , Mitubishi , liford และ Konica 2. ตัวเลขบอกรหัสของฟิลม์ และจำนวนภาพ C 135 - 36 หมายความว่า เป็นฟิล์มสี (NO.135) สำหรับกล้อง 35 มม. จำนวน 36 ภาพ C 135 - 24 หมายความว่า เป็นฟิล์มสี (NO.110) สำหรับกล้อง 35 มม. จำนวน 24 ภาพ EN 135 - 36 หมายความว่า เป็นฟิลม์ สไลด์สี daylight (NO.135) สำหรับกล้อง 35 มม. จำนวน 36 ภาพ 25

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


หน่วยที่ องค์ประกอบในการถ่ายภาพ

Photography 12-400-262

2

EN 120 - 12 หมายความว่า เป็นฟิลม์ สไลด์สี daylight (No.120) สำหรับกล้อง 120 ขนาด 6x6 ซม. จำนวน 12 ภาพ 3. ตัวอักษรบอกชนิดของฟิลม์ เช่น ฟิลม์ สี Negative มักมีคำว่า Color เช่น Kodacolor , Fujicolor, Mitsubishicolor, Sukuracolor ฟิลม์ สี Positive หรือ slide ซึง่ มักจะมีคำว่า “chrome” อยูด่ ว้ ยเช่น Ektachrome, Fujichrome , Agfachrome เป็นต้น นอกจากนัน้ ตัวอักษรชนิดของแหล่งกำเนิดแสง เช่น Daylight ใช้กบั แสงอาทิตย์ Type B ใช้กบั ไฟทังสเตน 3200 องศาเคลวิน และ Type A ใช้กบั แสงไฟทีม่ อี ณ ุ หภูมสิ ี 3400 องศาเคลวิน สำหรับฟิลม์ ขาวดำจะมีคำว่า “Pan” ซึง่ มาจากคำ Panchromatic film เช่น Kodak verichrome pan, Aga Isopan, Fuji Neopan เป็นต้น 4. ความไวแสงของฟิลม์ ฟิล์มสีทุกชนิดมักมีค่าความไวแสงของฟิล์มบอกไว้ เช่น ASA/ Iso 100 หรือ DIN 21,ISO 400,ISO 200, JIS 100 เป็นต้น 5. วันหมดอายุของฟิลม์ (Film expiration) ได้แก่ตัวเลขและตัวอักษรบอกเดือนปีที่ฟิล์มหมดอายุ เช่น 11 2001 หมายถึงฟิล์มม้วนนี้จะหมดอายุการใช้งานในเดือน พฤศจิกายน ปี ค.ศ. 2001 หรือบางม้วนจะบอกเดือนและปีทห่ี มดอายุ เช่น FEB. 2002 เป็นต้น การเก็บรักษาฟิล์มถ่ายภาพ เพือ่ ให้ฟลิ ม์ มีอายุการใช้งานทีถ่ ตู อ้ ง และป้องกันสีผดิ เพีย้ น 1. ควรเก็บฟิลม์ ไว้ในทีไ่ ม่โดนแสงโดยตรงหรือในทีม่ ดื และอุณหภูมิ ประมาณ 20 องศา 2. ห้องทีใ่ ช้สำหรับเก็บฟิลม์ ต้องเป็นห้องทีไ่ ม่มคี วามชืน้ 3. บริเวณทีเ่ ก็บฟิลม์ ต้องปราศจากสารเคมี และสารกัมมันตภาพ รังสี 4. ฟิลม์ ควรเก็บไว้ในกลักฟิลม์ ทีม่ สี ดี ำอยูเ่ สมอ 5. กรณีฟลิ ม์ ทีท่ ำการเก็บในตูเ้ ย็นต้องใส่ถงุ รัดให้ดี และก่อนนำมา ใช้ต้องรอให้ฟิล์มมีอุณหภูมิปกติเสียก่อน 6. สำหรับฟิล์มที่หมดอายุการใช้งานไม่นำใช้งานเพราะสีจะผิด เพี้ยนและไม่ได้ภาพตามที่ต้องการ 26

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

วิทยาเขตภาคพายัพ

เชียงใหม่


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.