enviroment

Page 1

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน 4.1

บทนํา

การศึ ก ษาสภาพแวดล อ มป จ จุ บั น เพื่ อ ใช เ ป น ข อ มู ล ประกอบการศึ ก ษาประเมิ น ผลกระทบ สิ่งแวดลอมและสุขภาพที่คาดวาอาจจะเกิดขึ้นจากการดําเนินโครงการ โดยไดแบงการศึกษาออกเปน 4 ดาน คือ ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางกายภาพ ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางชีวภาพ คุณคาการใชประโยชนของมนุษย และคุณคาคุณภาพชีวิต 4.2

ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางกายภาพ

4.2.1 แผนดินไหว การศึกษาดานธรณีวิทยาแผนดินไหว (Earthquake Geology) ในประเทศไทยนั้น เทาที่ปรากฎโดย สวนใหญ เปนการศึกษาธรณีวิทยาแผนดินไหวในภาพกวาง เชน Warnitchai and Lisantono, 1996 ได ทําการศึกษาถึงโครงสรางทางธรณีวิทยาและขอมูลที่เกี่ยวของกับแผนดินไหว โดยจัดทําแผนที่แหลงกําเนิด แผนดินไหวในพื้นที่เอเซียตะวันออกเฉียงใต โดยแบงพื้นที่เปน 12 เขต พบวาประเทศไทยจัดอยูใน Zone F (Tenasserim Range) ทางภาคตะวันตกและ Zone G (Northern Thailand) ทางภาคเหนือของประเทศไทย และ จากการรวบรวมขอมูลการเกิดแผนดินไหว ทั้งจากการบันทึกทางประวัติศาสตรยอนหลัง และจากสถานี ตรวจวัดตางๆ ในชวงเวลา ค.ศ.1910-1983 ในขณะที่ Chuaviroj (1991) จัดทําแผนที่รอยเลื่อนมีพลังใน ประเทศไทย สามารถแบงได 13 รอยเลื่อน ตอมาปญญา จารุศิริ และคณะ (2543) ไดทําการศึกษาสาเหตุของ แผนดินไหวในประเทศไทยที่มีความสัมพันธกับโครงสรางทางธรณีวิทยาของเอเซียตะวันออกเฉียงใต โดย การแปลความหมายจากภาพถายดาวเทียม Landsat 5 TM ผลการศึกษาการแปรสัณฐานเปลือกโลก จุดกําเนิด แผนดินไหวและผลการหาอายุตะกอนดินที่เกี่ยวเนื่องกับรอยเลื่อน ทําใหทราบวารอยเลื่อนที่เกิดขึ้นใน ประเทศไทยหลายแนวยังมีการเคลื่อนตัวหรือมีพลังอยูที่เรียกวา “Active Fault” (รอยเลื่อนมีพลัง หมายถึง รอยเลื่อนที่จะมีแผนดินไหวเกิดขึ้นอีกในอนาคตอยางนอย 1 ครั้ง ในระยะ 10,000 ป) ไดแก รอยเลื่อนเชียง

4-1


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.